Community Profile: Prawet Community 2014

Page 1

1


ฐานขอมูลชุมชน

ชุมชนหลังสน.เกาประเวศ แขวงประเวศ เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร




º··Õè 1 º·¹Ó ¤ÇÒÁ໚¹ÁÒáÅÐ ¤ÇÒÁÊ¤Ñޢͧâ¤Ã§¡Òà Çѵ¶Ø»ÃÐʧ¤

º··Õè 4 ¢ŒÍÁÙÅ´ŒÒ¹»ÃЪҡÃ

3 3

º··Õè 2 ¢ŒÍÁÙÅ·ÑèÇä» ¢ŒÍÁÙÅÃдѺࢵ »ÃÐÇѵԤÅͧ»ÃÐàÇȺØÃÕÃÁ »ÃÐÇѵԢͧªØÁª¹ ʶҹ·ÕèÊ¤ÑޢͧªØÁª¹ ¡ÒÃÊÑÞ¨Ãàª×èÍÁµ‹Í¡ÑºªØÁª¹

¨Ó¹Ç¹»ÃЪҡÃà¾È ÍÒÂØ áÅÐÍÒªÕ¾¢Í§»ÃЪҡÃ㹪ØÁª¹

28

¡ÒÃÈÖ¡ÉҢͧ»ÃЪҡÃ㹪ØÁª¹ áÅÐÈÒʹҢͧ»ÃЪҡÃ㹪ØÁª¹

29

7 8 12 14 15

º··Õè 5 ¢ŒÍÁÙÅ´ŒÒ¹àÈð¡Ô¨

º··Õè 3 ¡ÒúÃÔËÒèѴ¡ÒêØÁª¹

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒêØÁª¹ ¡Ô¨¡ÃÃÁµ‹Ò§æ㹪ØÁª¹

20 22

¼ÅÔµÀѳ± ·Õ蹋Òʹ㨠Çҹ¤ŒÒ㹪ØÁª¹

35 36


สารบัญ

º··Õè 6 ¢ŒÍÁÙÅ´ŒÒ¹¡ÒÂÀÒ¾áÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ

¢ŒÍÁÙÅ´ŒÒ¹ÊÀÒ¾·ÑèÇ仢ͧªØÁª¹ ¨Ó¹Ç¹ªÑ鹢ͧÍÒ¤ÒÃ㹪ØÁª¹ ÊÀÒ¾ÍÒ¤ÒÃ㹪ØÁª¹ ÇÑÊ´ØÍÒ¤ÒÃ㹪ØÁª¹ ¢ŒÍÁÙÅàÊŒ¹·Ò§ÊÑÞ¨Ã㹪ØÁª¹ ÊÒ¸ÒóٻâÀ¤ã¹ªØÁª¹ àÊŒ¹·Ò§¡ÒÃࢌҶ֧¢Í§Ã¶´Ñºà¾ÅÔ§ áÅеÓá˹‹§¶Ñ§´Ñºà¾ÅÔ§. ¾×ª¾Ãó㹪ØÁª¹

40 42 44 46 48 50

º··Õè 8 áËÅ‹§·Ø¹ áÅÐͧ¤ ¡Ã·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡ÑºªØÁª¹ áËÅ‹§·Ø¹áÅÐͧ¤ ¡Ã ·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡ÑºªØÁª¹

º··Õè 9 ¡ÒÃÇÔà¤ÃÒÐË ÊÀÒ¾áÇ´ÅŒÍÁ áÅÐÈÑ¡ÂÀÒ¾ (SWOT Analysis)

52 54

º··Õè 7 â¤Ã§¡ÒÃ㹪ØÁª¹ â¤Ã§¡Òõ‹Ò§æ·ÕèÁÕ㹪ØÁª¹

61

57

¨Ø´à´‹¹¢Í§ªØÁª¹ Strengths ¨Ø´´ŒÍ¢ͧªØÁª¹ Weaknesses âÍ¡ÒʢͧªØÁª¹ Opportunities »˜¨¨Ñ¤ء¤ÒÁ¢Í§ªØÁª¹ Threats

65 65 66 66




บทที่ 1 บทนำ� 2


ที่มาและความสำ�คัญของโครงการ

จากที่ท่านประธานชุมชนหลังสน.เก่าประเวศ

ได้ ข อความอนุ เ คราะห์ ด้ า นวิ ช าการจากคณสถาปั ต ย -กรรมศาสตร์ มหาวิท ยาลัยศิลปากร ในการจั ด ทำ � ฐานข้ อ มู ลชุ ม ชน เพื่อการวางแผนพัฒนาชุ ม ชนอย่ า ง เป็ น ระบบในอนาคต ทางภาควิชาการออกแบบและ วางผั ง ชุ มชนเมือง ได้พ ิจารณาให้ความอนุ เ คราะห์ โดยให้ บ ู ร ณาการร่ ว มกั บ การเรี ย นการสอนในรายวิ ช า 264 441 การปฏิบัติภาคสนามเพื่อการออกแบบ ชุ มชนเมื อง เพื่อให้อาจารย์ผู้สอนและนัก ศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาที่เรียนวิชาดังกล่าว ได้จ ั ด การเรี ย น รู ้ ท ี ่ ส ร้ า งประสบการณ์ ก ารปฏิ บั ติ ง านในภาคสนาม และ ประยุก ต์ใช้ห ลัก การณ์ และทฤษฎี ท ี ่ ส ามารถ ให้ บ ริ ก ารสั ง คม เพื่อเสริมสร้างความเข้ ม แข็ ง ให้ ก ั บ ชุ มชนต่ อ ไป

วัตถุประสงค์

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1. เพื ่ อ ให้ บริ ก ารวิ ช าการแก่ ส ั ง คม โดยมี การ สร้ า งความร่ วมมื อ และมี ส ่ วนร่ วมระหว่ า งหน่ ว ยงาน ราชการและเอกชน สมาชิ ก ในชุ ม ชน และประชาชน ทั ่ วไป ที ่ เ ป็ นการให้ บริ ก ารวิ ช าการ สร้ า งและเผย แพร่ อ งค์ ค วามรู ้ ส ู ่ ส ั ง คม การเก็ บรวบรวมความรู ้ อ ย่ าง เป็ นระบบ และการสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ให้ ก ั บ ชุ ม ชนใน กระบวนการวางแผนพั ฒ นาอย่ า งเป็ นระบบ 2. เพื ่ อ บู ร ณาการการให้ บริ ก ารวิ ช าการ การ ทำ � นุ บำ � รุ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรม กิ จกรรมพั ฒ นานั กศึ กษา และการเรี ย นการสอน ซึ ่ ง เป็ นพั นธกิ จสำ � คั ญ ของ คณะฯ โดยให้ นั ก ศึ ก ษา ได้ ม ี ส ่ วนร่ วมในการวางแผน กำ � หนดหั ว ข้ อ การศึ ก ษาที ่ เ ป็ น ที ่ ส นใจของนั ก ศึ ก ษา และเป็ นประเด็ นที ่ ม ี ค วามสำ � คั ญ ของสั ง คมในปั จ จุ บ ั น

1. ชุ ม ชน และสำ � นั กงานเขตมี ฐานข้ อ มู ล ชุ ม ชน เพื ่ อ ใช้ ป ระโยชน์ ใ นการวางแผนพั ฒนาชุ ม ชน 2. สมาชิ ก ชุ ม ชนเข้ า ร่ ว มโครงการได้ ร ั บ การ ถ่ ายทอดหลั กการทางวิ ชาการ และความตื ่ น ตั ว ใน การมี ส ่ ว นร่ ว มในกระบวนการวางแผนพั ฒนาชุ ม ชน 3. นั ก ศึ ก ษาผู ้ เ ข้ า ร่ ว มโครงการได้ ร ั บ การฝึ ก ทั ก ษะในการปฏิ บ ั ต ิ ก ารในกระบวนการออกแบบ ชุ ม ชนเมื อ งที ่ ม ี การมี ส ่ ว นร่ ว มกั บ หลายฝ่ าย และได้ ช่ ว ยเผยแพร่ ผ ลงานของคณะฯ 4. คณะฯ สามารถสร้ างเครื อ ข่ ายความร่ ว มมื อ ทางวิ ชาการ

3




บทที่ 2 ข้อมูลทั่วไป 6


ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้งและอาณาเขต

" !

เขตประเวศเดิมมีฐานะเป็นตำ�บลประเวศ เป็น

$. 2

เขตการปกครองของอำ � เภอพระโขนง จั ง หวั ด พระประแดง ซึ ่ ง ต่ อ มาได้ ย ้ า ยมาขึ ้ นกั บจั ง หวั ด พระนครในปี พ.ศ. 2470 เมื ่ อ เวลาผ่ า นไป ท้ อ งที ่ อ ำ � เภอพระโขนงมี ส ภาพเป็ นชุ ม ชน ย่ า นการค้ า อุ ตสาหกรรม และที ่ พ ั ก อาศั ย เพิ ่ ม ขึ ้ น ในปี

# $ % พ.ศ. 2506 ง ได้ ต ั ้ ง สุ ข าภิ บาลประเวศขึ ้ น : , " % :! $. : %4 # -ทางราชการจึ 6 +4 )3. $. / $. : *3 & % & 1 7 $0 8 )3 ( 5: : '" 1"7 ครอบคลุ ม3# -พื6#& %้ น " &/ 6 ที ่ ต 7#ำ � : :/ $ ) บลประเวศ ตำ � บลสวนหลวง ตำ � บล . 9 )3 ( $. ) 3 ( $. : : : ) % , $! 8. +3# ' % & & # -6#& % ดอกไม้ บลหนองบอนทั ้ ง ตำ � บล รวมถึ ง บางส่ วนของ )3 )! & / 7# )ตำ 1 (�. & . + # : ตำ � บลบางจากและตำ � บลบางนา และในปี พ.ศ. 2507 พื ้ นที ่ ส่ วนใหญ่ ก ็ ไ ด้ ถ ู ก โอนไปขึ ้ นกั บเทศบาลนครกรุ ง เทพ (ซึ ่ ง ขยายเขตออกมาเป็ นครั ้ ง ที ่ 3) เหลื อ เพี ย งตำ � บลประเวศ และตำ � บลดอกไม้ ท ี ่ ย ั ง คงอยู ่ ในเขตสุ ข าภิ บาล ในปี พ.ศ. 2514 จั ง หวั ดพระนครถู ก รวมเข้ า กั บจั ง หวั ดธนบุ ร ี เปลี ่ ย นฐานะเป็ น นครหลวงกรุ ง เทพ ธนบุ ร ี และในปี พ.ศ. 2515 จึ ง เปลี ่ ย นแปลงฐานะเป็น กรุ ง เทพมหานคร ซึ ่ ง ได้ ย กเลิ ก การปกครองแบบสุ ข าภิ บาล และเทศบาล รวมทั ้ ง เปลี ่ ย นคำ � เรี ย กหน่ วยการปกครอง ใหม่ จากอำ � เภอและ ตำ � บลเป็ นเขตและแขวงตามลำ � ดั บ ตำ � บลประเวศจึ ง ได้ ร ั บการเปลี ่ ย นแปลงฐานะเป็ น แขวง ประเวศ เป็ นพื ้ นที ่ ก ารปกครองของสำ � นั ก งานเขตพระโขนง ภายหลั ง เขตพระโขนงมี ค วามเจริ ญ และประชากรหนาแน่ น ขึ ้ น รวมทั ้ ง พื ้ นที ่ บางแห่ ง อยู ่ ไ กลจากสำ � นั ก งานเขต , " % :! $.

, . "&

. $.

/ $.

, " % ! . 6& $.

ในวั น ที ่ 19 เมษายน พ.ศ. 2532 กรุ ง เทพมหานคร จึ ง ได้ จ ั ด ตั ้ ง สำ � นั กงานเขตพระโขนง สาขา 2 (ประเวศ) ขึ ้ น ดู แ ลแขวงประเวศ แขวงหนองบอน แขวงดอกไม้ แ ละ แขวงสวนหลวง (ต่ อ มาแขวงสวนหลวงโอนไปอยู ่ ใ นการ ดู แ ลของสำ � นั กงานเขตพระโขนง สาขา 3) และในวั น ที ่ 9 พฤศจิ กายน พ.ศ. 2532 กระทรวงมหาดไทยได้ แบ่ ง พื ้ น ที ่ ท างทิ ศ ตะวั น ออกของเขตพระโขนงตั ้ ง เป็ น เขต ประเวศ แบ่ ง ออกเป็ น 4 แขวง ซึ ่ ง รวมแขวงสวนหลวง ไว้ ด ้ ว ยและคงฐานะเป็ น สำ � นั กงานเขตประเวศ สาขา สวนหลวง จนกระทั ่ ง ในปี พ.ศ. 2537 จึ ง แยกออกไปเป็ น เขตสวนหลวง ต่ อ มาในวั น ที ่ 14 ตุ ล าคม พ.ศ. 2540 ได้ ประกาศกระทรวงมหาดไทย เปลี ่ ย นแปลงพื ้ น ที ่ เขต การปกครองของเขตประเวศใหม่ อ ี กครั ้ ง หนึ ่ ง โดยรวม พื ้ น ที ่ แขวงสะพานสู ง (เขตบึ ง กุ ่ ม ) และหมู ่ ท ี ่ 7-12 แขวง ประเวศ (พื ้ น ที ่ เขตประเวศทางด้ านเหนื อ ของถนนคู ่ ข นาน มอเตอร์ เวย์ ด้ านซ้ าย) ไปจั ด ตั ้ ง เป็ น เขตสะพานสู ง ชุ ม ชนหลั ง สน.เก่ าประเวศ ตั ้ ง อยู ่ ใ นพื ้ น ที ่ ข อง แขวงประเขต เขตประเวศ จั ง หวั ด กรุ ง เทพมหานคร โดย อาณาเขตของชุ ม ชน ด้ านทิ ศ เหนื อ ติ ด ต่ อ กั บ ที ่ ด ิ น ที ่ กำ � ลั ง ก่ อ สร้ างโครงการหมู ่ บ ้ านจั ด สรร ด้ านทิ ศ ใต้ ติ ด ต่ อ กั บ คลองประเวศบุ รี รมย์ ด้ านทิ ศ ตะวั น ออก ติ ด ต่ อ กั บ ลาน กี ฬ าบริ เวณวงแหวนกาญจนาภิ เศก ด้ านทิ ศ ตะวั น ตก ติ ด ต่ อ กั บ แฟลตตำ � รวจ สน.ประเวศ อ้ า งอิ ง จาก : http://th.wikipedia.org/wiki/เขตประเวศ 7


ประวัติคลองประเวศบุรีรมย์

8


9


10


11


ประวัติชุมชนหลังสน .เก่าประเวศ จากคำ�บอกเล่าของลุงบุญธรรม จิริยะกุล ซึ่งเป็น ผู้ที่อาวุโสที่สุดของชุมชนหลังสน.เก่าประเวศในปัจจุบัน ได้เล่าถึงประวัติของชุมชนว่าในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ประมาณปีพ.ศ. 2483 มีความวุ่นวายในเมืองจึงมีผู้คนบาง ส่วนย้ายมาตั้งรกรากบริเวณลาดกระบังเพื่อการอยู่อาศัย ที่ปลอดภัยมากขึ้น ลุงบุญธรรมได้ย้ายเข้ามาอยู่ในพื้นที่ซึ่ง เป็นที่ของกรมธนารักษ์ในปีพ.ศ. 2495 หลังเรียนจบ มศ. 3 โดยจ่ายค่าเช่าที่ดินราคา 20 บาทต่อปีสำ�หรับที่ดิน 75 ตารางวา 12

การเข้ า ถึ ง พื้ น ที่ บ ริ เ วณนี้ ใ นสมั ย ก่ อ นทำ � ได้ โดยนั่งรถไฟ มาที่สถานีทับช้าง และทางเรือ ซึ่งการ สั ญ จรทางเรื อ ก็ ไ ด้ พั ฒ นาขึ้ น มาเรื่ อ ยๆจากช่ ว งแรกใช้ เรือเมล์ โดยมีเพียงแค่วันละรอบ และมีเรือแจวแบบ ใช้สามคนแจว ยุคต่อมาได้พัฒนาไปเป็นเรือถิ่นไทย เป็นเรือแท็กซี่หัวแบน และต่อมากลายเป็นยุคของเรือ หางยาว ซึ่งการคมนาคมในการเข้าถึงพื้นที่บริเวณนี้ ก็ได้รับการพัฒนาเรื่อยๆจนมาถึงการตัดถนน ในครั้ง แรกการตัดถนนได้ต่อมาจากวัดมหาบุตร

ชุ ม ชนหลั ง สน.เก่ า ประเวศได้ มี ก ารจั ด ตั้ ง คณะ กรรมการชุมชนครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2533 และจาก นั้ น ได้ จั ด ตั้ ง เป็ น ชุ ม ชนตามระเบี ย บกรุ ง เทพมหานคร เมื่อปีพ.ศ. 2534 ซึ่งขณะนั้นชุมชนแห่งนี้มีถึง 200 หลังคาเรือน จากนั้นมีโครงการจะสร้างทางด่วน พิเศษหมายเลข 9 เมื่อปี พ.ศ.2541 จึงมีโครงการ เวนคืนที่ดินทำ�ให้ชุมชนเหลือเพียง 30 หลังคาเรือน เนื่องจากพื้นที่บริเวณที่เหลืออยู่ไม่อยู่ในเส้นทางที่จะ ทำ�ทางด่วน ซึ่งในปัจจุบันคนผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ตรง นี้เป็นคนเก่าแก่ดั้งเดิมเป็นส่วนใหญ่


ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2547 เป็นต้นมาภายในชุมชน ได้ เ กิ ด โครงการและกิ จ กรรมต่ า งๆขึ้ น ไม่ ว่ า จะเป็ น โครงการกองทุนพัฒนาหมู่บ้าน ศูนย์สุขภาพชุมชน เป็ น ชุ ม ชนเป้ า หมายตามหลั ก เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง โครงการจัดตั้งห้องสมุดชุมชน และ เป็นชุมชน ทบทวนเพื่ อ ขอต่ อ ยอดงบประมาณในการพั ฒ นา ชุมชนต่อไป ปัจจุบันนี้ชุมชนหลัง สน.ประเวศมีลุงมนัส ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา เป็นประธานชุมชนสมัยที่ 6 ซึ่ง โดยมีการเลือกตั้งทุกๆ 2 ปีแต่ในปัจจุบันเปลี่ยนเป็น ทุกๆ 3 ปี ชุมชนแห่งนี้มีความเข้มแข็งมากและต้องต่อ สู่กับการไล่รื้อพื้นที่ โดยคนในชุมชนก็ได้มีการรวมตัว กันเพื่อหาแนวทางการแก้ไขปัญหา และมีหน่วยงาน อย่างสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) เข้ามาให้ ความในการดำ � เนิ น การทำ � โครงการเงิ น ออมเพื่ อ บ้ า น มั่ น คงเพื่ อ นำ � ไปเป็ น หลั ก ในการขอต่ อ สั ญ ญาค่ า เช่ า ที่ดินระยะยาวจากกรมธนารักษ์ ซึ่งปัจจุบันไม่ได้รับ การต่อสัญญามา 5 ปีแล้ว

“ กล่าวโดยสรุปโครงการบ้านมั่นคง เป็นการพัฒนาที่อยู่อาศัยที่ ชาวชุมชนเป็นหลัก เป็นคนคิด คนทำ� วางระบบการบริหารจัดการ เอง โดยหน่วยงานในท้องถิ่นเป็นผู้สนับสนุน รวมทั้งมีสถาปนิกชุมชน วิศวกรเข้าไปช่วยในการออกแบบ วางผัง และเป็นที่ปรึกษาในการ ก่อสร้างให้กับชุมชน ”

และใช้กระบวนการบ้านมั่นคงเป็นกระบวนการพัฒนา ที่จะเปลี่ยนสภาพ วิธีคิด สถานภาพ และความ สัมพันธ์ของชุมชนกับสังคมให้ดีขึ้น 2. เป็นการสร้างความมั่นคงในการครอบครอง ที่ดิน เนื่องจากความมั่นคงในการถือครอง ที่ดินจะ เป็นพื้นฐานให้เกิดการสร้างชุมชนที่มั่นคง ยั่งยืน โดย เน้ น ที่ ดิ น ของรั ฐ ที่ ดิ น ของเอกชนที่ ไ ม่ ไ ด้ ใช้ ป ระโยชน์ รวมทั้ง การหาที่ดินใหม่ในกรณีที่จะต้องมีการรื้อ ย้ายอันจะนำ�ไปสู่การกระจายการถือครองที่ดินที่เป็น ธรรม เช่น การซื้อที่ดิน การเช่าระยะยาว เป็นต้น โดย เน้นสิทธิร่วมกันของชุมชนในการอยู่อาศัย ตลอดจน การปรับแก้กฎระเบียบต่างๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการ หลักการสำ�คัญของโครงการบ้านมั่นคง พัฒนาให้มีความยืดหยุ่นมากยิ่งขึ้น 1. เป็นการดำ�เนินการโดยองค์กรชุมชน โครงการ บ้านมั่นคงจะดำ�เนินการ โดยใช้การบริหารการเงินแทน ที่มา :สถาบันพัฒนาองค์กรณ์ชุมชน.หลักการสำ�คัญของโครงการ การบริหารโครงการก่อนสร้างแบบเดิมที่รัฐเป็นผู้ดำ�เนิน บ้านมั่นคง{อินเทอร์เน็ต}.{เข้าถึงเมื่อ 1 ตุลาคม 2556}.เข้าถึงได้ การให้ โดยรัฐจะอุดหนุนงบประมาณ ค่าพัฒนาระบบ จาก http://www.codi.or.th/baanmankong สาธารณูปโภค และสิ่งแวดล้อมถึงชุมชนโดยตรง ทำ�ให้ ชุ ม ชนเป็ น ตั ว ตั้ ง ในการดำ � เนิ น กระบวนการทุ ก ขั้ น ตอน สามารถคิด วางแผน และจัดการได้อย่างเต็มที่ โดยมี หน่วยงานท้องถิ่นและมหาวิทยาลัยเป็นผู้ช่วยสนั บ สนุ น ตามแนวทางใหม่นี้ ชาวบ้านจะเปลี่ยนบทบาทจาก “ผู้รับประโยชน์” หรือ “ผู้ขอรับความช่วยเหลือ” เป็น “เจ้าของโครงการ” ร่วมกันทั้งชุมชน

3. บ้านมั่นคงมิใช่เป็นเพียงการสร้างที่อยู่ อาศัยที่มั่นคงเท่านั้น แต่จะเน้นการสร้างชุมชนที่ มั่นคง เข้มแข็งเป็นกระบวนการที่นำ�ไปสู่การสร้าง ความมั่นคงของชีวิตด้านสังคมและเศรษฐกิจ เป็น สั ง คมที่ มี ค วามเอื้ อ อาทรต่ อ กั น มี ค วามสั ม พั น ธ์ ต่ อ กั น และมีการจัดการร่วมกัน เป็นการพัฒนาโครงการที่ มั่นคงทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ สภาพกายภาพที่ สวยงาม มีศักดิ์ศรี และการจัดการไปพร้อมๆ กัน 4. บ้านมั่นคงจะเน้นการแก้ปัญหาร่วมกัน ทั้งเมือง โดยมุ่งให้เกิดแนวทางและแผนการแก้ปัญหา ที่ ค รอบคลุ ม ทุ ก ชุ ม ชนที่ ไ ม่ มี ค วามมั่ น คงในเมื อ ง สนับสนุนให้เกิดกลไกการพัฒนาเมืองร่วมกัน โดย ชุมชนเป็นแกนหลัก ร่วมกับภาคีต่างๆ เช่น หน่วยงาน ท้องถิ่น เทศบาล สถาบันการศึกษา ผังเมือง นักพัฒนา เอกชน ฯลฯ เพื่อร่วมกันวางแผนและจัดกระบวนการ พัฒนาเมืองควบคู่กันไป

13


บริบทโดยรอบชุมชน ชุมชนหลังสน.เก่าประเวศ มีบริบทโดยรอบที่สำ�คัญแบ่งออกเป็น 5 ประเภทคือ ศาสนสถาน สถานศึกษา หน่วยงานราชการ พาณิชยกรรม สถานพยาบาล ซึ่งคนในชุมชนสามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวก

14


การสัญจรเชื่อมต่อกับชุมชน

การสัญจรเข้ามาในพื้นที่ชุมชนสามารถใช้การสัญจรจากทางนำ�้ คือคลองประเวศบุรีรมย์ ทางบก คือ การเดินทางโดยรถไฟมาที่สถานีบ้านทับช้าง หรือ การเดินทางโดยแอร์พอร์ตลิ้งค์ มาลงที่สถานีบ้านทับ ช้างก็ได้เช่นกัน การเดินทางโดยรถยนต์นั้น มีถนนสายหลักที่ตัดผ่านชุมชน คือ ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 (ถนนวงแหวนรอบนอก) และ ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (ถนนมอเตอร์เวย์) ถนนสายรองคือ ถนนอ่อนนุช และถนนสายรองคือ ถนนสุขาภิบาล 2 และ ถนน เฉลิมพระเกียรติ ร.9 15





บทที่ 3

การบริหาร จัดการชุมชน 19


р╕Кр╕╕р╕Фр╣Бр╕гр╕Б р╕Ю.р╕и.2534

* % + A1 *1 @% ( *

р╕Др╕Ур╕░р╕Бр╕гр╕гр╕бр╕Бр╕▓р╕г

р╕Бр╕▓р╕гр╕Ър╕гр╕┤р╕лр╕▓р╕гр╕Ир╕▒р╕Фр╕Бр╕▓р╕гр╕Кр╕╕р╕бр╕Кр╕Щ * / A + + ( /" ' ( *

* % 0 >A ) >5 0" > * ,A1 ", #%) ) > 1& ) + 1" * / *

р╕Др╕Ур╕░р╕Бр╕гр╕гр╕бр╕Бр╕▓р╕гр╕Кр╕╕р╕бр╕Кр╕Щ

р╕Др╕Ур╕░р╕Бр╕гр╕гр╕бр╕Бр╕▓р╕гр╕Кр╕╕р╕бр╕Кр╕Щ р╕лр╕ер╕▒р╕Зр╕кр╕Щ.р╣Ар╕БявЛр╕▓р╕Ыр╕гр╕░р╣Ар╕зр╕и р╕Кр╕╕р╕Фр╣Бр╕гр╕Б р╕Ю.р╕и.2534

р╕Др╕Ур╕░р╕Бр╕гр╕гр╕бр╕Бр╕▓р╕гр╕Кр╕╕р╕бр╕Кр╕Щ р╕лр╕ер╕▒р╕Зр╕кр╕Щ.р╣Ар╕БявЛр╕▓р╕Ыр╕гр╕░р╣Ар╕зр╕и р╕Кр╕╕р╕Фр╕Чр╕╡р╣И 2 р╕Ю.р╕и. 2546 * % + A1 *1 @% ( *

* / A + + ( /" ' ( *

* + *A $+ + * (1 ,

* ) A )# ) +

* / 1 .' A )# ) ( *%) ) >

( (1 , р╕ВявОр╕нр╕бр╕╣р╕ер╕ФявОр╕▓р╕Щр╕кр╕▒р╕Зр╕Др╕б * % р╕Др╕Ур╕░р╕Бр╕гр╕гр╕бр╕Бр╕▓р╕гр╕Кр╕╕р╕бр╕Кр╕Щр╕лр╕ер╕▒р╕Зр╕кр╕Щ.р╣Ар╕БявЛр╕▓р╕Ыр╕гр╕░р╣Ар╕зр╕и р╕Кр╕╕р╕Фр╕ЫявДр╕Ир╕Ир╕╕р╕Ър╕▒р╕Щ р╕Ю.р╕и.2556 -8 4 % / ( / 5 3 >A + + ( /" 1 @ / 6 ' ( * $ A / #)"",A + + ( /" 1& ) + * , / 1 @ ( / ) ! +:A )# ) / A# *A * ( - / A / A + + ( /" / ( ' A4 1 7 / % 0 >A * ( - * 1& ) + A A' / * * 1" * / * / )%A *" (# $> * ( * ( * / % ) # / )%A *" (# $>A A' / * ( * /

/ #

* % 0 >A ) >5 0" > * ,A1 ", #%) ) > 1& ) + 1" * / *

20

р╕Др╕Ур╕░р╕Бр╕гр╕гр╕бр╕Бр╕▓р╕гр╕Кр╕╕р╕бр╕Кр╕Щ р╕лр╕ер╕▒р╕Зр╕кр╕Щ.р╣Ар╕БявЛр╕▓р╕Ыр╕гр╕░р╣Ар╕зр╕и р╕Кр╕╕р╕Фр╕Чр╕╡р╣И 2

* + *A $+ + * (1 ,

* ) A )# ) +

* / 1 .' A )# ) ( *%) ) >


ขอมูลดานสังคม คณะกรรมการชุมชนหลังสน.เกาประเวศ ชุดปจจุบัน พ.ศ.2556

* / 1 .' A )# ) ( *%) ) >

/ )%A *" (# $>A A' / * ( * /

( * / ) )9 )9 2 * (1 , 1 .8' ; $ A A3 , * % + A1 *1 @%A1 @ ( * / A -8 4 % ) )9 ( * 2"( ( * / (1".' )9 / 6A A ;A2"( *1 ",8 1 @ / 6A A ;A1 .8'1 .' + / * A $ A A ( * / / <' * , / )%A *" (# $>A A' / *A 1 @ ( * / -8 1 @ 1 , # ) ( * / 4 ? / ) A -8 1 @ *A A % ) # ( (1#"*A A ;

/ 5 3 >A + + ( /" ' ( *

/ #)"",A + + ( /" 1& ) +

/ % 0 >A * ( - *

/ # / A *" (# $>A A' / *

1" * / *

/ A / A + + ( /" *

/ ( ' A4 1 7 * (1 ,

/ / 1 .' A * 2 =# ( *%) ) >

คณะกรรมการชุมชนจัดตั้งครั้งแรก ตามระเบียบ กทม.เมื่อปีพ.ศ. 2534 โดยมี นายสมจิต เดาเฟ็ส เป็น ประธานชุมชน ซึ่งในสมัยนั้นคณะกรรมการและประธาน ชุมชนจะเลือกตั้งทุกๆ 2 ปี และมาเปลี่ยน เป็นทุกๆ 3 ปี เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2556 คณะกรรมการชุมชนชุดต่อ มามีคุณมนัส ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา เป็นประธานชุมชนซึ่ง เป็นคนเดียวกับประธานชุมชนในปัจจุบัน โดยดำ�รงตำ�แหน่ งมา 6 สมัยรวมระยะเวลา 10 ปี

21


กิจกรรมต่างๆในชุมชน

กิจกรรมวันแม่เป็นกิจกรรมที่จัดขึ้น

ประจำ�ทุกปีซึ่งในบางปีก็จัดตรงกับวันที่ 12 สิงหาคม แต่ ในบางปีก็จัดในเวลาที่ใกล้เคียงตามวันและเวลาที่สมาชิก ในชุมชนสะดวกเพื่อให้สมาชิกในชุมชนทุกคนได้มีโอกาส ในการเข้าร่วมงานวันแม่ ซึ่งในงานวันแม่ปีล่าสุด ปี 2556 นอกจากจะจัดกิจกรรมวันแม่แล้วยังมีการจัดทำ�บุญ ประจำ�ปีของชุมชนอีกด้วย

22


กิจกรรมวันเด็กตรงกับเสาร์ที่ 2 ของ

เดือนมกราคมของทุกปีซึ่งทางชุมชนเก่าหลังสน.ประเวศ ก็ได้มีการจัดงานขึ้นเป็นประจำ�ภายในกิจกรรมมีการ แสดงของเด็กๆ มีการแจกของรางวัล ในการทำ�กิจกรรมต่างๆ

"เป็นกิจกรรมที่สนุกที่สุด ของชุมชนเลยค่ะ” 23


ปฏิทินกิจกรรม

ชุมชนหลังสน.เกาประเวศ 1 มกราคม - วันเด็ก เสารที่ 2 ของเดือน

7 กรกฎาคม

2 กุมภาพันธ - 14 วันรณรงคโรคติดตอทางเพศ สัมพันธ

8 สิงหาคม - 12 วันแมแหงชาติ - 22-24 วันตอตานวัณโรค

24

3 มีนาคม

9 กันยายน - 20 วันเยาวชนแหงชาติ


р╕Ыр╕Пр╕┤р╕Чр╕┤р╕Щр╕Бр╕┤р╕Ир╕Бр╕гр╕гр╕б

р╕Кр╕╕р╕бр╕Кр╕Щр╕лр╕ер╕▒р╕Зр╕кр╕Щ.р╣Ар╕БявЛр╕▓р╕Ыр╕гр╕░р╣Ар╕зр╕и 4 р╣Ар╕бр╕йр╕▓р╕вр╕Щ * * % * * "( " !$ ' * * $ '

10 р╕Хр╕╕р╕ер╕▓р╕Др╕б

5 р╕Юр╕др╕йр╕ар╕▓р╕Др╕б * * " ! &%

11 р╕Юр╕др╕ир╕Ир╕┤р╕Бр╕▓р╕вр╕Щ * * ! $ '

6 р╕бр╕┤р╕Цр╕╕р╕Щр╕▓р╕вр╕Щ * * # %

12 р╕Шр╕▒р╕Щр╕зр╕▓р╕Др╕б * * # )% * * & $ ( * * ' $ '

25


26


บทที่ 4

ข้อมูล ด้านประชากร 27


ข้อมูลด้านประชากร ข้อมูลด้านประชากร

ประชากรในชุมชนหลัง สน.เก่าประเวศปัจจุบันมีจำ�นวน 172 คน ประชากรส่วนใหญ่ในชุมชนเป็นคนดั่งเดิมในพื้นที่ที่อยู่ อาศัยในพื้นที่มานานแล้ว จำ�นวนประชากรไม่เพิ่มขึ้นหรือลดลง มากนักเนื่องจากเป็นชุมชนขนาดเล็ก ช่วงอายุส่วนใหญ่ของคนในชุมชนอยู่ในวัยทำ�งานคืออายุ ตั้งแต่ 26-65 ปี ซึ่งส่วนใหญ่จะทำ�งานรับจ้างทั้งเป็นพนักงาน เอกชน และเป็นพนักงานของ กทม. ซึ่งมีรายได้เฉลี่ยครัวเรือนละ 10,000 บาท ต่อเดือน

28


ระดับการศึกษาของประชากรในชุมชนส่วนอยู่ใน ระดับประถมศึกษาทั้งที่กำ�ลัง ศึกษาอยู่ และที่ไม่ได้ศึกษาแล้ว ส่วนกลุ่มที่จบระดับปริญญาตรีนั้นมีอาชีพรับจ้าง ทางด้านศาสนาในชุมชนหลังสน.เก่าประเวศมี 2 ศาสนาหลักๆ คือ ศาสนาพุทธ และศาสนาอิสลาม โดยประชากร ทั้ง 2 ศาสนาอยู่ในพื้นที่ที่แยกกันอย่างเห็นได้ชัด คือ ประชากรที่นับถือศาสนาพุทธอยู่บริเวณขนานไปกับริมคลองประเวศ และประชากรที่ นับถือศาสนาอิสลามอยู่บริเวณทางกลับรถใต้ถนนกาญจนาภิเษก ซึ่งมีกรรมสิทธิ์ที่ดินเป็น ของตนเอง

29


บ้านเลขที่ 302 1. นาง ฟาริดา ตำ�ราเรียง บ้านเลขที่ 304 1. นาง จุรี ชินรัตน์ 2. นาง บุญเรือน บัวผัน 3. นายวัลลภ ปั้นเกตุ 4. นาย มานพ ปั้นเกตุ 5. ด.ช. วันชนะ ปั้นเกตุ 6. นาย รัก บัวผัน บ้านเลขที่ 306 1. นาง สมบัติ บัวผัน 2. นาง ตรีเนตร บัวผัน 3. นาย พรเทพ บัวผัน 4. นาง วราพร บัวผัน 5. นายเสฎฐวุฒิ บัวผัน 6. ด.ญ. วิลาสินี บัวผัน บ้านเลขที่ 308 1. น.ส. เอมอร แซ่กี้ 2. น.ส. วันทนา แซ่กี้ 3. นาย เกียรติพล แซ่กี้ 4. นาง สิริพร พร้อมสุข 5. นาย ชูเดช พร้อมสุข 6. นาย พรเทพ พร้อมสุข 7. นาย เทียนชัย พร้อมสุข 8. นาง บังอร พร้อมสุข 9. นาย เกรียวเดช พร้อมสุข 30

บ้านเลขที่ 48 1. นายวิชัย กิตตินิมิมงคล 2. น.ส.วิมลสิริ กิตตินิมิมงคล บ้านเลขที่ 312/1 1. นาย ชัยฤทธิ์ บัวผัน 2. น.ส.เกวลี บัวผัน 3. นาย สุรชัย บัวผัน 4. นาง เทียมจิตต์ บัวผัน 5. นาง ประไพศรี บัวผัน บ้านเลขที่ 314 1. นาย อนันต์ งามลักษณ์ 2. นาง ราตรี งามลักษณ์ 3. นาย ณัตพล งามลักษณ์ บ้านเลขที่ 316 1. นาย สมหมาย คุณานุคุณ 2. นาง ทองคำ� คุณานุคุณ 3. นายสมภพ คุณานุคุณ 4. ด.ช. ศิริภพ คุณานุคุณ 5. ด.ช. วรภพ คุณานุคุณ 6. น.ส. เสาวลักษณ์ ปานเพ็ชร 7. นาย ชาญ คุณานุคุณ 8. น.ส. นกชรัตน์ คุณานุคุณ 9. น.ส. นุชรา คุณานุคุณ 10. นาย พงศ์เทพ จันสา 11. นาย สงกรานต์ จันสา 12. ด.ช. พีรภพ คุณานุคุณ

บ้านเลขที่ 316/1 1. นาย ซอ อับดุลเลาะ 2. นาย ประเสริฐ อับดุลเลาะ 3. นาย วิศิษฎ์ อับดุลเลาะ 4. นาย วินิจ อับดุลเลาะ บ้านเลขที่ 318 1. นาง สุมาลี แบบทอง 2. นาง สมพิศ ชูทองปาน 3. ด.ญ. ชาลินี จั่งหวัด 4. นาย สมคิด แบบทอง 5. นาย นพรัตน์ แบบทอง 6. นาย วัจรินทร์ แบบทอง 7. นาย วรัตน์ แบบทอง 8. นาง สมพร พลอยดี 9. น.ส. ประภัสสร แบบทอง 10. ด.ญ. แพรว พลอยดี บ้านเลขที่ 320 1. นาง บุญเรือน ปานเก้ว 2. นาย ไพลิน ปานแก้ว 3. นาย นริศ ทองดี 4. นาย นิรันดร์ ทองดี 5. นาย รุจิระ ทองดี 6. นาย สุวิจักขณ์ ปะวะเค 7. ด.ญ. รุจิรา ทองดี 8. ด.ช. กันตพัตณ์ ทองดี 9. น.ส. นิสิตา รัตนสารี

10. น.ส. แววมณี ทองดี 11. นาย บุญเชิด ใจเย็น 12. นาง ประนอม ใจเย็น 13. นาย อภิชา ใจเย็น 14. น.ส. รัขนีวรรณ ใจเย็น บ้านเลขที่ 322 1. นาย บุญธรรม จิริยะกุล 2. นาง กิมฮวย จิริยะกุล 3. น.ส. ระวีวรรณ จิริยะกุล 4. น.ส. สุภาพร จิริยะกุล 5. น.ส. วัลลี จิริยะกุล 6. นาย สุวัฒน์ จิริยะกุล 7. นาย ไพโรจน์ จิริยะกุล 8. นาย วุฒิชัย ภิรมย์ม่วง 9. น.ส. พรวิภา จิริยะกุล 10. นาง อัญชลี จิริยะกุล 11. นาง สุนย์ ภิรมย์ม่วง 12. น.ส. จรัญญา ภิรมย์ม่วง 13. นาย สุชาติ จิริยะกุล 14. นาง จันทรา จิริยะกุล 15. ด.ช. ณัฐนนท์ จิริยะกุล 16. น.ส. ณัฐชญา จิริยะกุล 17. ด.ช. อภิลักษณ์ ภิรมย์ม่วง 18. ด.ช. อภิสิทธิ์ ชูประยูร 19. นาย ลิขิต บัวผัน


บ้านเลขที่ 324 1. นาง สุนันทา 2. น.ส. ผกา บ้านเลขที่ 326 1. นางอุไร 2. นายอรุณ 3. นางอุบล 4. น.ส.จิราภร 5. นายอโนทัย 6. ด.ญ.กาญจนา 7. นางบุญมี 8. นายนุกุล 9. นาย 10. นางนงนุช บ้านเลขที่ 328 1. นายมนัส 2. นางยู่หงษ์ 3. น.ส.วรนุช 4. ด.ช.จิายุ 5. นายสมชาย 6. นางกิมไล้ บ้านเลขที่ 330 1. นายล้อม 2. นางปราณี 3. นางจำ�เรียง 4. นายประเสริฐ 5. ด.ญ.ปิยาภรณ์

พิกุลวงษ์ เกลียวสัมพันธ์ กาญจนเสถียร มะแป้นไพร มะแป้นไพร มะแป้นไพร กาญจนเสถียร กาญจนเสถียร เหมสุวรรณ โพธิ์ทอง โพธิ์ทอง มะแป้นไพร ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา เข็มกลัดทอง เข็มกลัดทอง ราชเกษร กล่ำ�น้อย กล่ำ�น้อย ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา กล่ำ�น้อย กล่ำ�น้อย

6. นายธนพล 7. นายขวัญชัย 8. นางประทวน 9. นายปราโมทย์ บ้านเลขที่ 332 1. นางกนกวรรณ 2. นายเทียนชัย 3. นางขวัญเรือน 4. นาย ณัฐพงษ์ 5. นายณัฐภูมิ 6. ด.ญ.ณัฐมล 7. นายภาณุวัฒน์ 8. ด.ช.ธีรภัทร 9. ด.ช.ฉัตรสุพัฒน์ บ้านเลขที่ 332 1. นางกนกวรรณ 2. นายเทียนชัย 3. นางขวัญเรือน 4. นาย ณัฐพงษ์ 5. นายณัฐภูมิ 6. ด.ญ.ณัฐมล 7. นายภาณุวัฒน์ 8. ด.ช.ธีรภัทร 9. ด.ช.ฉัตรสุพัฒน์ บ้านเลขที่ 332/1 1. นางช่วย 2. นายปลิว

ไทยราช กล่ำ�น้อย พิมสวา บัวทิพย์ อำ�ไพวรรณ์ ดอกไม้ ดอกไม้ แซ่ลิ้ม อำ�ไพวรรณ์ อำ�ไพวรรณ์ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ อำ�ไพวรรณ์ ดอกไม้ ดอกไม้ แซ่ลิ้ม อำ�ไพวรรณ์ อำ�ไพวรรณ์ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ นาตะ

รายชื่อคนในชุมชนหลังสน.เก่าประเวศ 3. นายธิติกร นาตะ 4. ด.ญ.ธิติรัตน์ นาตะ บ้านเลขที่ 378 1. นางฉลอง คำ�ไพเลื่อน 2. นายประเวศ คำ�ไพเลื่อน 3. นายสุวัฒน์ คำ�ไพเลื่อน 4. ด.ช.ธรรมรงค์ คำ�ไพเลื่อน 5. นายสุชาติ คำ�ไพเลื่อน 6. นางเพศศรี คำ�ไพเลื่อน 7. น.ส.วัลภา คำ�ไพเลื่อน บ้านเลขที่ 676 1. นายสมจิตร์ เตาเพ็ส 2. น.ส.เสงียม นาคคะนึก 3. นายวิสุตร เตาเพ็ส 4. น.ส.ลินดา เตาเพ็ส บ้านเลขที่ 678 1. นางซำ�ซียะ พุ่มเพ็ชร 2. นางประไพ บุญรอด 3. นายกิตติ ศรีสะอาด 4. น.ส.รพีพร ยังศิริ 5. นายธีรพล บุญรอด บ้านเลขที่ 680 1. นาย ไซฟอน นาคคะนึก 2. นาง นงเยาว์ นาคคะนึก

3. ด.ญ. วนิดา นาคคะนึก บ้านเลขที่ 682 1. นาง บูลัน นาคคะนึก 2. นาย อภิวัฒน์ เมฆลอย บ้านเลขที่ 686 1. น.ส. วรรณา นาคคะนึก 2. นาง หนับ พุ่มเพ็ชร บ้านเลขที่ 688 1. นายสมคิด สละปรุง 2. นาย อภิโชค สละปรุง 3. นาย สุรศักดิ์ สละปรุง 4. นาย นรสิงห์ ซิงห์ 5. นาง นงลักษณ์ สละปรุง 6. นาย ศักดิ์นรินทร์ ซิงห์ 7. ด.ญ. ธิติญา ซิงห์ 8. นาย ณัฐชัย สละปรุง 9. นาง นะสา สละปรุง 10. ด.ช. ศักดิ์ณัช พิกุลหอม 11. น.ส. รังสิมา ซิงห์ บ้านเลขที่ 690 1. นาง อารีย์ กกฝ้าย 2. นาย อานนท์ กกฝ้าย 3. นาย ขวัญ กกฝ้าย 31


32


33


บทที่ 5

ข้อมูล ด้านเศรษฐกิจ 34


ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจ ภายในชุมชนหลังสน.เก่าประเวศได้มี การฝึกอบรมการทำ�ผลิตภัณฑ์ต่างๆขึ้น เพื่อ ให้แม่บ้านได้มีรายได้เสริม โดยได้รับความ ช่วยเหลือจากหน่วยงานภายนอกอย่าง TK PARK อุทยานการเรียนรู้ได้เข้ามาให้ความรู้ เพื่ออบรมเสริมทักษะและพัฒนาอาชีพ โดย อาชีพที่มีการฝึกอบรมได้แก่ 1. วิชาชีพการทำ�ดอกไม้ใยบัว 2. ฝึกวิชาชีพแกะลายกระจก 3. ฝึกวิชาชีพทำ�ขนมไทย

35


ร้านค้าภายในชุมชน ร้านค้าภายในชุมชน เป็นอาคารที่ผสมผสานกันระหว่างร้านค้าและที่พักอาศัย ซึ่งในชุมชนมีอาคารลักษณะนี้อยู่ 4 แห่งด้วยกัน คือบ้านเลขที่ ส่วนใหญ่จะ เป็นร้านขายของชำ�ซึ่งเป็นแหล่งซื้อขายของใช้ในครัวเรือนของคนในชุมชน

36


37


38


บทที่ 5

ข้อมูล ด้านกายภาพ และสิ่งแวดล้อม 39


ข้อมูลด้านกายภาพ ผังการใช้ประโยชน์อาคาร การใช้ประโยชน์อาคารในพื้นที่ชุมชนหลังสน.เก่า ประเวศสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ อาคารที่เป็นที่พักอาศัย ประกอบด้วยกลุ่มอาคาร ที่พักอาศัยประกอบด้วย 2 ส่วนคือ ส่วนที่ตั้งที่ตั้งอยู่ริม คลองประเวศบุรีรมย์และส่วนที่ตั้งอยู่ทางทิศหนือของ ชุมชน มีลักษณะที่พักอาศัยเป็นบ้านเดี่ยวทั้งชั้นเดียวและ สองชั้น อาคารที่พักอาศัยและร้านค้า เป็นอาคารที่ผสม ผสานกันระหว่างร้านค้าและที่พักอาศัย ซึ่งในชุมชนมี อาคารลักษณะนี้อยู่ 4 แห่งด้วยกัน ส่วนใหญ่จะเป็นร้าน ขายของชำ�ซึ่งเป็นแหล่งซื้อขายของใช้ในครัวเรือนของ คนในชุมชน

40

อาคารสาธารณะของชุมชน ประกอบด้วย 2 อาคาร คือ (1) อาคารอเนกประสงค์ มีลักษณะเป็นอาคาร 2 ชั้น โดยชั้นล่างของอาคารทำ�หน้าที่หลักคือจัดการประชุม และกิจกรรมต่างๆในส่วนชั้นบนของอาคารประกอบด้วย ห้องสมุดชุมชนและศูนย์การเรียนรู้คอมพิวเตอร์ (2) อาคารศูนย์สุขภาพชุมชน มีลักษณะเป็น อาคารชั้นเดียว ทำ�หน้าที่บริการด้านสาธาระณสุขของชุม ชมโดยมีอาสาสมัครสาธารณะสุขเวรเข้าเวรประจำ�ทุกวัน โดยตำ�แหน่งอาคารทั้ง 2 ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของชุมชน ติดกับกำ�แพง ซึ่งสามารถเข้าออกได้สะดวกเพราะอยู่ใน ตำ�แหน่งที่อยู่ศุนย์กลางชุมชนโดยมีพื้นที่ลานโล่งขนาดเล็ก บริเวณต้นโพธิ์เป็นพื้นที่กิจกรรมภายนอกอาคาร


41


42


จำ�นวนชั้นของอาคาร

จำ�นวนชั้นของอาคารในชุมชน อาคารส่วนใหญ่ภายในชุมชนเป็นอาคาร 2 ชั้น โดยคิดเป็น 76% ของจำ�นวนอาคารทั้งหมดส่วนที่เหลือ เป็นอาคารชั้นเดียวโดยมีลักษณะเป็นอาคารยกพื้นสูง เนื่องจากบริเวณที่ตั้งอยู่ริมน้ำ� เป็นการป้องกันเพื่อไม่ให้ น้ำ�ท่วมถึงพื้นที่ใช้สอย

43


สภาพอาคารในชุมชน

สภาพอาคารในชุมชนสามารถแบ่งได้ตามลักษณะขององค์ประกอบของ อาคาร ลักษณะโครงสร้างอาคาร การชำ�รุดสึกหรอของอาคาร การเปลี่ยนแปลง วัสดุก่อสร้างหรือวัสดุตกแต่งอาคาร โดยแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 1.อาคารสภาพดี 2.อาคารสภาพปานกลาง 3.อาคารสภาพควรปรับปรุง โดยลักษณะอาคารส่วนใหญ่ในชุมชนมีสภาพปานกลางคิดเป็น 47 % ของชุมชน 44


45


46


วัสดุอาคารในชุมชน

วัสดุอาคารในชุมชนสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ 1.อาคารโครงสร้างไม้และวัสดุผนังเป็นไม้ 2.อาคารโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กและวัสดุผนังก่ออิฐฉาบ ปูนบางส่วนเป็นผนังไม้ 3.อาคารโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กและวัสดุผนังก่ออิฐฉาบ ปูน โดยอาคารส่วนใหญ่เป็นอาคารโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กและ วัสดุผนังก่ออิฐฉาบปูนบางส่วนเป็นผนังไม้คิดเป็น 60% ของอาคาร ทั้งหมด วัสดุประกอบอาคารส่วนใหญ่จะเป็นวัสดุที่หาง่ายในพื้นที่ใกล้ เคียงชุมชน 47


เส้นทางสัญจรภายในชุมชน

ทางเข้าชุมชนสามารถเข้าได้ 2 ทางคือทางเข้าผ่านสน.ประเวศ และ บริเวณใต้ทางยกระดับกาญจนาภิเษก และทั้ง 2 บริเวณนี้สามารถใช้เป็น พื้นที่สำ�หรับจอดรถยนต์ด้วย เส้นทางสัญจรภายในชุมชนเป็นเส้นทางที่ รถยนต์ขนาดใหญ่ไม่สามารถเข้าไปภายในชุมชนได้แต่สามารถเดินเท้าและรถ จักรยานยนต์ได้ โดยเส้ น ทางหลั ก มี ลั ก ษณะเป็ น คอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก ขนาดกว้ า ง ประมาณ 1.60 เมตร จุดเริ่มต้นของเส้นทางอยู่ที่หน้าแฟลตสน.ประเวศ สิ้น สุดที่บริเวณทางยกระดับกาญจณาภิเษกความยาวประมาณ 200 เมตร และ มีเส้นทางเดินสัญจรคอนกีตเสริมเหล็กริมนำ�้เป็นเส้นยาวตลอดแนวคลอง ประเวศบุรีรมย์ โดยทำ�หน้าที่เป็นเส้นทางเชื่อมระหว่างชุมชนฝั่งทิศตะวันตก และทิศตะวันออก ทั้งสองเส้นนี้เชื่อมโดยสะพานไม้ที่อยู่กึ่งกลางของชุมชน

48


49


50


สาธารณูปโภคภายในชุมชน

สาธารณูปโภคภายในชุมชนหลังสน.เก่าประเวศมีนำ�้ประปาและไฟฟ้าเข้าถึงโดยแต่ละหลังคาเรือนมีมิเตอร์เป็นของตนเอง ระบบไฟฟ้าในชุมชน การเข้าถึงของไฟฟ้าเข้ามาจากไฟฟ้าแรงสูงผ่านหม้อแปลงที่หน้าสน.ประเวศแล้วจึงส่งต่อแต่ละครัว เรือนในชุมชน ในส่วนของไฟฟ้าที่ส่องสว่างภายในชุมชนยังมีบางจุดที่ชำ�รุดขาดการซ่อมแซม ระบบประปาในชุมชน การเข้าถึงของประปาเข้ามาจากท่อหลักที่ถนนเฉลิมพระเกียรติร.9 ผ่านพื้นที่ลานจอดรถของพื้นที่ สน.ประเวศ เข้าสู่ชุมชนที่หน้าแฟลต สน. แนวท่อประปาขนานกับทางเดินคอนกรีตเสริมเหล็กแล้วจึงต่อเข้าสู่แต่ละครัวเรือนผ่าน มิเตอร์ในแต่ละบ้าน การจัดการขยะในชุมชน ในแต่ละหลังคาเรือนจะมีถังขยะภายในบ้าน โดยแต่ละบ้านจะนำ�ขยะมารวมกันในบริเวณที่ กทม.นำ�ถังขยะมาจัดเตรียมไว้ให้โดยทางกทม.จะมาจัดเก็บอาทิตย์ละ 2 ครั้ง ซึ่งมี2 จุดได้แก่ บริเวณหลังสน.ประเวศ และบริเวณ ใต้ทางยกระดับวงแหวนกาญจนาภิเษก และขยะบางส่วนก็ถูกนำ�ไปเข้าโครงการธนาคารขยะที่ชุมชนได้จัดตั้งขึ้น

51


เส้นทางการเข้าถึงและตำ�แหน่งของถังดับเพลิง

เส้ น ทางการเข้ า ถึ ง ของรถดั บ เพลิ ง ในกรณี ที่ เกิดเพลิงไหม้สามารถเข้าถึงได้ 2 จุดได้แก่บริเวณหลัง สน.ประเวศ และบริเวณใต้ทางยกระดับวงแหวนกาญจนา ภิเษก อีกทั้งภายในชุมชนก็ได้มีการจัดเตรียมถังดับเพลิงไว้ ตามจุดต่างๆ โดยทั่วภายในชุมชนและมีเครื่องสูบนำ�้ดับเพลิงที่ สามารถสูบนำ�้จากคลองประเวศบุรีรมย์มาใช้เมื่อเกิดเหตุ เพลิงไหม้ภายในชุมชน

52


53


54


พืชพรรณในชุมชน

การปลูกพืชพรรณในพื้นที่ภายในบริเวณของบ้าน แต่ละหลังงส่วนใหญ่เป็นเป็นไม้ยืนต้น เช่น ตันขนุน ต้น มะยม ต้นมะขาม และต้นมะม่วง ส่วนพื้นที่ว่างที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ของชุมชนได้มี การปลูก กล้วย ต้นอ้อย ต้นมะละกอ และส่วนหน้าบ้าน ของแต่ละหลังมีการปลูกพืชผักสวนครัว อีกทั้งชุมชนยังมี ต้นไม้ใหญ่ที่สำ�คัญคือ ต้นโพธิ์ ที่ตั้งอยู่บริเวณหน้าอาคาร อเนกประสงค์

55


บทที่ 6

โครงการต่างๆ ของชุมชน 56


โครงการต่างๆของชุมชน โครงการกองทุนชุมชนเมื่อดำ�เนินการกองทุนชุมชนไปได้ จะมีเงินปันผลให้กับสมาชิก โดยสมาชิกมีมติร่วมกัน โดยนำ�เงินปันผลของกองทุนชุมชนทั้งหมด 17,000 บาทโดยแบ่งออก เป็น 10,000 บาท นำ�ไปสร้างศูนย์สุขภาพชุมชน และ 7,000 บาท นำ�ไปฝากธนาคารสำ�หรับ กรณีฉุกเฉิน ผลการดำ�เนินงาน ประชาชนเริ่มรู้จักการออมมากขึ้น ประชาชนในชุมชนเกิดการบริหารจัดการเงินชอง ตนเอง มีวินัยในการออม ทำ�ให้มีรายได้เพิ่มมากขึ้น เกิดการมีส่วนร่วมที่เข้มแข็งในชุมชน และ ที่สำ�คัญประชาชนมีความภาคภูมิใจในตนเองที่สามารถสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัวและ ชุมชนได้ ซึ่งจากโครงการกองทุนชุมชนนี้ทำ�ให้เกินโครงการต่างๆขึ้นมากมายในชุมชน ดังนี้ - โครงการพี่สอนน้องโดยจะให้รุ่นพี่ในชุมชนมาสอนการบ้านน้องๆในชุมชนหลังเลิกเรียน - โครงการธนาคารขยะเป็นการรับซื้อขยะจากคนในชุมชนโดยส่วนมากเด็กๆ จะนำ�เงินที่ได้ จากการขายขยะไปหยอดกระปุกออมสิน - โครงการหน้าบ้านน่ามองริมคลองสะอาดเป็นโครงการที่จะมีการรณรงค์ให้คัดแยกขยะ ใน แต่ละบ้านเรือน และมีการชักลากขยะทุกๆเดือน - กลุ่มออมทรัพย์เด็ก เป็นโครงการที่เด็กๆในชุมชนนำ�เงินค่าขนมที่เหลือมาหยอดกระปุก ออมสินโดยมีเด็กๆเข้าร่วมโครงการจำ�นวน 16 คน - กลุ่มออมทรัพย์แม่บ้าน เป็นการเปิดบัญชีออมทรัพย์ให้กับแม่บ้านโดยทุกๆวันที่ 7 ของ เดือนต้องนำ�เงินเข้าบัญชีที่เปิดไว้ - โครงการเงินออมเพื่อบ้านมั่นคง จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ชุมชนมีความมั่นคงมากขึ้นและเป็นขั้น ตอนหนึ่งในกระบวนการทำ�บ้านมั่นคงโดยได้รับความช่วยเหลือจากพอช. 57


โครงการห้ อ งสมุ ด ชุ ม ชนหลั ง สน.เก่ า ประเวศโดยทางชุมชน และ TK PARK อุทยานการ เรียนรู้ได้ทำ�การปรับปรุงพื้นที่ภายในบริเวณอาคาร อเนกประสงค์ให้กลายเป็นห้องสมุดชุมชนเพื่อเป็น แหล่งการเรียนรู้ สถานที่ทำ�กิจกรรม และ เป็น ศูนย์กลางแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของคนในชุมชน ภายในห้องสมุดแบ่งเป็น ห้องสมุดเด็ก ห้องสมุด สำ�หรับผู้ใหญ่ ภายในห้องสมุดได้รวบรวมหนังสือ สำ�หรับเด็ก เยาวชน และผู้ใหญ่ไว้มากมายให้เลือก อ่านได้ตามใจชอบ

58


59


บทที่ 7 แหล่งทุนและ องค์กรที่ เกี่ยวข้อง 60


แหล่งทุนและองค์กรที่เกี่ยวข้อง กองทุนแม่ของแผ่นดิน กองทุนแม่ของแผ่นดิน หมายถึง พระราชทรัพย์ พระราชทานที่สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถได้ พระราชทานให้กับราษฎรที่ทำ�หน้าที่ป้องกันยาเสพติดใน หมู่บ้าน/ชุมชน และเพื่อเป็นการถวายความจงรักภักดีแด่ สถาบันพระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องเทิดทูนไว้สูงสุด และเป็นขวัญกำ�ลังใจแก่ราษฎร สำ�นักงาน ป.ป.ส. ร่วม กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงได้พัฒนาต่อยอดให้พระราช ทรัพย์พระราชทานดังกล่าวเป็นศูนย์รวมของจิตใจของคน ทั้งหมู่บ้าน/ชุมชนจึงมีแนวความคิดที่จะขยายหรือต่อยอด ทรัพย์พระราชทาน ให้เป็น กองทุนแม่ของแผ่นดินโดยมี แนวความคิด ดังนี้ 1.กองทุนแม่ของแผ่นดิน ถือเป็นสิริมงคลสูงสุด เมื่ออยู่ในหมู่บ้าน/ชุมชนใดก็เปรียบเสมือนกำ�ลังใจของ พระองค์ท่านที่พระราชทานให้กับหมู่บ้าน/ชุมชนนั้นๆใน การทำ�ความดี ปกปักรักษาท้องถิ่นของตัวให้รอดพ้นจาก ภยันตรายต่างๆ และเป็นส่วนหนึ่งในความเข้มแข็งของ ประเทศชาติ

2.กองทุนแม่ของแผ่นดิน เป็นกองทุนขวัญถุง สำ�หรับหมู่บ้าน/ชุมชนที่ได้รับพระราชทาน เพื่อความ มุ่งหมาย สร้างให้เป็นศูนย์รวมของกองทุนทั้งหมดใน หมู่บ้าน/ชุมชน และให้เป็นตัวแทนของกองทุนที่ส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดการทำ�ความดีทั้งกายและใจ การทำ� ประโยชน์เพื่อส่วนรวมของหมู่บ้าน/ชุมชน หรือกองทุน เพื่อประโยชน์สาธารณะ การที่กองทุนแม่ของแผ่นดิน หมดสิ้นไป ย่อมหมายความถึง ตัวแทนของความดีหมด สิ้นลงด้วย ทุกคนในหมู่บ้าน/ชุมชนจึงต้องปกปักรักษาให้ งอกงาม ไม่สูญสลาย 3.กองทุนแม่ของแผ่นดิน ใช้เป็นเงื่อนไขกระตุ้น ความตื่นตัวของชุมชนให้ มีความเข้มแข็ง พึ่งตนเองมากยิ่งขึ้น และเป็นแบบอย่างของการพัฒนา การพึ่งตนเอง การระดมทุนในชุมชน และเป็นแบบอย่างของการบูรณาการการเอาชนะยาเสพ ติดอย่างยั่งยืนเข้ากับกระบวนการ พัฒนา

ปีพ.ศ. 2556 ที่ผ่านมาทางชุมชนได้รับเงินทุนจำ�นวน 20,000บาทสำ�หรับ การพัฒนาชุมชน จากกองทุนแม่ของแผนดิน

กองทุนสวัสดิการชุมชน สวัสดิการชุมชน คือการสร้างหลักประกันเพื่อ ความมั่นใจแก่คนในชุมชน ซึ่งหมายความรวมถึงทุกสิ่งทุก อย่างที่ทำ�ให้คนในชุมชนดีขึ้นอาจอยู่ในรูปสิ่งของ เงินทอง น้ำ�ใจ การช่วยเหลือเกื้อกูล เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต ตั้งแต่เกิดจนตาย ผลของการจัดสวัสดิการชุมชนที่สำ�คัญ เช่น ก่อให้เกิดการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย เกิดความ สัมพันธ์/มิตรไมตรีที่ดีของคนในชุมชน รู้สึกมั่นคง ภาค ภูมิใจ อยู่อย่างมีศักดิ์ศรี และมีความสุข ใครควรเป็นผู้จัดสวัสดิการชุมชน สวั ส ดิ ก ารชุ ม ชนมิ ใ ช่ เ รื่ อ งที ทำ � ไปเพื่ อ สร้ า ง สวัสดิการภาพและไม่เน้นเรื่องตัวเงินแบบสงเคราะห์ แต่ มุ่งสร้างความมั่นใจอยู่อย่างมีศักดิ์ศรีและมีความสุข จึง เป็ น เรื่ อ งที่ ช าวชุ ม ชนจะเป็ น ผู้ ร่ ว มกั น สร้ า งให้ เ ป็ น ของ ชุมชนและเพื่อชาวชุมชนเอง ชุมชนจึงควรเป็นผู้จัดการ เอง โดยรัฐหรือองค์กรภายนอก หนุนเสริมแบบเคียงบ่า เคียงไหล่ (ไม่ใช่สัมพันธ์กันแบบผู้ให้กับผู้รับ) ทั้งนี้ การจัด สวัสดิการของชุมชนสามารถสอดแทรกไว้ได้ในทุกกิจกรม ริเริ่มแล้วต่อยอดกันเรื่อยไป ภายใต้ความพร้อมและความ เห็นชอบร่วมกันของชาวชุมชนเอง

ที่มา : กองทุนแม่ของแผ่นดิน[อินเทอร์เน็ต].[เข้าถึงเมื่อ 1 ตุลาคม 2556].เข้าถึงได้จาก http://www.kongtunmae-oncb.com/index.php?st=st02 61


สวัสดิการชุมชนจะเกิดประโยชน์กับใครบ้าง ผู้ที่ได้ประโยชน์จากสวัสดิการชุมชน ได้แก่ทุกคนในชุมชน รวมทั้งคนในสังคม โดยผู้ด้อยโอกาสจะได้รับการช่วยเหลือให้มีโอกาสมีส่วนร่วมและสามารถเป็นทั้งผู้ให้และ ผู้รับอย่างมีศักดิ์ศรี ผู้ที่อยู่ในภาวะปกติได้รับการป้องกัน ช่วยเหลือเกื้อกูล มีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ� ส่วนผู้ที่มีความพร้อมทางการเงิน จะได้รับความอบอุ่น น้ำ�ใจไมตรี มีส่วนร่วมเป็น ผู้ให้ทุนสนับสนุน ที่มา : สถาบันพัฒนาองค์กรณ์ชุมชน.สวัสดิการชุมชน{อินเทอร์เน็ต}.{เข้าถึงเมื่อ 1 ตุลาคม 2556}. เข้าถึงได้จาก http://www.codi.or.th/index.php/component/flexicontent/36-2009-09 -21-08-04-20/196-2010-03-04-09-58-31

กองทุนพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน ( SML ) ที่มาและหลักการของโครงการพัฒนาศักยภาพของหมู่บ้าน/ชุมชน • เพื่อพัฒนาศักยภาพของประชาชน ให้มีความพร้อมในกระบวนการสร้างสรรค์ความคิด และนำ�ไปสู่แนวทางปฏิบัติในด้านการดำ�รงชีวิตและมีอาชีพ อย่างมีคุณ ภาพมั่นคงและยั่งยืน • เป็นเครื่องมือซึ่งทำ�ให้เห็นทิศทางและความต้องการที่แท้จริงของประชาชน • เป็นรูปแบบในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในภาคประชาชน จากการมีส่วนร่วมใน กระบวนการ เพื่อการดำ�รงชีพและการมีอาชีพของประชาชนโดยส่วนรวม • เป็นการเตรียมความพร้อมของประชาชนในหมู่บ้าน เกิดการสร้างผู้นำ�ในท้องถิ่นที่มาจาก ภาคประชาชนโดยแท้จริง เพื่อการพัฒนาการปกครองส่วนท้องถิ่นและการกระจายอำ�นาจ ที่มีประสิทธิภาพในอนาคต นโยบาย SML แบ่งหมู่บ้านออกเป็น 3 ขนาด ตามขนาดของพื้นที่และประชากร ได้แก่ 1. หมู่บ้านขนาดเล็กประชากรไม่เกิน 500 คน ได้รับ 300,000 บาท/ปี 2. หมู่บ้านขนาดกลางประชากร 501-1000 คน ได้รับ 400,000 บาท/ปี 3. หมู่บ้านขนาดใหญ่ประชากรมากกว่า 1,000 คน ได้รับ 500,000 บาท/ปี

ที่มา : กองทุนพัฒนาศักยภาพหมู่บ้านและชุมชน[อินเทอร์เน็ต].[เข้าถึงเมื่อ 1 ตุลาคม

2556].เข้าถึงได้จาก http://archive.wunjun.com/otopbantago/20/111.html 62

โครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับชุมชน เป็นโครงการของรัฐบาลที่ต้องการสร้างเศรษฐกิจระดับชุมชนให้เข้มแข็ง อย่างยั่งยืนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยรัฐบาลมุ่งจัดสรรงบประมาณ โดยตรงไปยังชุมชนทั่วประเทศ ให้ทุกชุมชนมีโอกาสในการได้รับความช่วยเหลือ จากงบประมาณของภาครัฐอย่างรวดเร็ว กำ�หนดเป้าหมายการใช้เงินไว้ 4 ด้าน ได้แก่ การพัฒนาอาชีพสำ�หรับผู้ด้อยโอกาส การพัฒนาการเกษตร การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ และการอนุรักษ์พลังงาน โดยมุ่งให้ทุกภาคส่วนในชุมชนร่วมกัน บริหารจัดการและพัฒนาศักยภาพของตนเองที่มีอยู่อย่างมีศักยภาพเพิ่มมากขึ้น เพื่อ สร้างงาน สร้างรายได้ การลดต้นทุนและปัจจัยการผลิต พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ ระดับชุมชนให้มีมูลค่าเพิ่ม และสร้างโอกาสในการพัฒนาหรือเพิ่มขีดความสามารถใน การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้กับชุมชน ที่มา : โครงการชุมชนพอเพียง[อินเทอร์เน็ต].[เข้าถึงเมื่อ 1 ตุลาคม 2556]. เข้าถึงได้ จาก http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3 %E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%8A%E0% B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%A D%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87


63


บทที่ 9

การวิเคราะห์ สภาพแวดล้อม และศักยภาพ 64


“การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพชุมชน (SWOT Analysis) เป็นเครื่องมือในการประเมิน สถานการณ์ ซึ่งช่วยให้สามารถกำ�หนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมภายใน โอกาสและปัจจัยคุกคาม จากสภาพแวดล้อมภายนอกตลอดจนผลกระทบที่มีศักยภาพจากปัจจัยเหล่านี้ที่มีต่อชุมชน” SWOT มาจากตัวย่อภาษาอังกฤษ 4 ตัว ได้แก่ S มาจาก Strengths หมายถึง จุดเด่นหรือจุดแข็ง ซึ่ง เป็นผลมาจากปัจจัยภายใน เป็นข้อดีที่เกิดจากสภาพ แวดล้อมภายในชุทชน W มาจาก Weaknesses หมายถึง จุดด้อยหรือจุดอ่อน ซึ่งเป็นผลมาจากปัจจัยภายในชุมชน เป็นปัญหาหรือข้อ บกพร่องที่เกิดจากสภาพแวดล้อมภายในต่างๆ ของชุมชน ซึ่งชุมชนจะต้องหาวิธีในการแก้ปัญหานั้น

O มาจาก Opportunities หมายถึง โอกาส ซึ่งเกิดจาก ปัจจัยภายนอกชุมชน เป็นผลจากการที่สภาพแวดล้อม ภายนอกของชุมชน เอื้อประโยชน์หรือส่งเสริมการดำ�เนิน งานของชุมชน โอกาสแตกต่างจากจุดแข็งตรงที่ โอกาสนั้น เป็นผลมาจากสภาพแวดล้อมภายนอกชุมชน แต่จุดแข็ง นั้นเป็นผลมาจากสภาพแวดล้อมภายในชุมชน

ที่มา :

T มาจาก Threats หมายถึง ปัจจัยคุกคาม ซึ่งเกิดจาก ปัจจัยภายนอกชุมชน เป็นข้อจำ�กัดที่เกิดจากสภาพ แวดล้อมภายนอกชุมชน ซึ่งชุมชนเองจำ�เป็นต้องปรับตัว ให้สอดคล้องและพยายามขจัดอุปสรรคต่างๆ ที่เกิดขึ้น

65


SWOT ANALYSIS Strenghts ŕ¸ˆุŕ¸”ŕš ŕ¸‚ŕš‡ŕ¸‡ : ) & # + 1 : ' $. 6 ) *6 " " :, !+ % # + 9 ) + 6 , 1 : # + 9 ) + 6 , 1 : # & 5 . , 5 ! % &2+ % '3 # . ) : *6 $ ) & ! % % # : ) &2 & # )5 " : : & (3 &2 5 # ) . # $ % : ( " ! ) 5# 0 # . ) : ) *5. (3 &2 &2 # # + 6# ' / 6 # * , "3 # 7: / : # 3$

66

Opportunities

Weaknesses ŕ¸ˆุดออน

: # # # # ) 5 6# ) - : 8 #+ (2 % %4 &2 % : # (3 &2 $ " # :, ! (3 &2 + ! 7 # , 6 . # $ % 5# 0 :+ " 7 "2 + % ) # / :

) % !+ . &

) % !+ . 8 ) "

: # 6 # (3 &2 ) . # $ !- 7 (2 0 :+ % ) . # " # (3 &2 )


: & (3 &2 5 # ) . # $ % : ( " ! ) 5# 0 # . ) : ) *5. (3 &2 &2 # # + 6# ' / 6 # * , "3 # 7: / : # 3$

Opportunities ŕš‚อภาส : # . 6 # " ) # 7 5# 0:+ (2 " " . 6+ % % . ) :+ 9 ) &2/ 6 " - # " ) # $ " # + + 9 ) , 0+ : # " # (3 &2 5# % 3$. 6+ % # / 6, 5 . ) : # # (3 &2. 6 , # # %+ . # $ !- 7 5# (2 0/ 6

) % !+ . &

) % !+ . 8 ) "

: # 6 # (3 &2 ) . # $ !- 7 (2 0 :+ % ) . # " # (3 &2 ) : ! * 3$ ! )5 + ( # $. 6+ " 7 "3 + % ) % 3$+ &2 / :, ! $. 6 # " # 3$ :/ 5 & " #+ 5# &2 % &2 " +

Threats ŕ¸›ď˘„ŕ¸ˆŕ¸ˆูยคุภคาล

67


68


แนวทางการพัฒนาพื้นที่ทางกายภาพ

จากการสำ�รวจและเก็บข้อมูลในด้านต่างๆ ของชุมชนหลังสน.เก่าประเวศ ทาง คณะผู้จัดทำ�ได้นำ�ข้อมูลมาวิเคราะห์ และสรุปประเด็นที่ชุมชนจะได้รับจากการทำ�ฐาน ข้อมูลชุมชน ดังนี้ 1.ชุมชนและสำ�นักงานเขตมีฐานข้อมูลชุมชนเพื่อใช้ประโยชน์ในการวางแผน พัฒนาชุมชนด้านต่างๆ ได้แก่ 1.1 พัฒนาด้านกายภาพพื้นที่ริมนำ�้ เพื่อส่งเสริมกิจกรรมสันทนาการเป็นที่พักผ่อน ของชุมชนโดยการจัดหาพื้นที่รองรับกิจกรรมดังกล่าว อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมภูมิทัศน์ ชุมชนเพื่อดึงดูนักท่องเที่ยวให้เป็นจุดแวะพักของกลุ่มนักท่องเที่ยว 1.2 พัฒนาให้มีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่อาศัย มีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยการจัดหาพื้นที่ กิจจกรรมกลางแจ้ง สนามกีฬา สนามเด็กเล่น และควรจัดให้มีทางเดินในชุมชนที่สวยงาม และปลอดภัย 1.3 พัฒนาด้านเศรษฐกิจและให้มีการส่งเสริมอาชีพเสริมในชุมชน 1.4 พัฒนาด้านการบริหารชุมชน เนื่องจากเป็นชุมชนที่เข้มแข็งในการบริหาร จัดการกิจการภายในชุมชน เห็นควรส่งเสริมแนวทางการจัดการให้มีการบริหารอย่างต่อ เนื่องของโครงการต่างๆ 2.ชุมชนมีฐานข้อมูลชุมชนเพื่อใช้ประโยชน์ในการวางแผนเพื่อที่อยู่อาศัยที่มั่นคง 3.สมาชิกชุมชนเข้าร่วมโครงการได้รับการถ่ายทอดหลักการทางวิชาการ และความ ตื่นตัวในการ มีส่วนร่วมในกระบวนการวางแผนพัฒนาชุมชน

69


บทสรุป คณะทำ�งานการจัดทำ�ฐานข้อมูลชุมชนของชุมชนหลังสน.เก่าประเวศได้ดำ�เนินการศึกษารวบรวม เรียบเรียงข้อมูล และจัดทำ�เป็นหนังสือเล่มนี้ ด้วย ความร่วมมือจากฝ่ายพัฒนาชุมชนและสำ�นักงานเขตประเวศ ได้ดำ�เนินการตามกระบวนการทางวิชาการภายใต้การให้คำ�ปรึกษาจากคณะอาจารย์ประจำ� วิชา 264 441 การปฏิบัติภาคสนามเพื่อการออกแบบชุมชนเมือง บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการอย่างสมบูรณ์ โดยผลของการศึกษาครั้งนี้เป็นการรวบรวม ข้อมูลชุมชนในทุกมิติที่จะเป็นประโยชน์ต่อชุมชน ในการนำ�ไปสนับสนุนการจัดทำ�โครงการพัฒนาชุมชนในด้านต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป ทั้งนี้คณะทำ�งานขอขอบพระคุณบุคคลและหน่วยงานที่ให้การสนับสนุน คำ�แนะนำ� ตลอดการดำ�เนินโครงการ ฐานข้อมูลชุมชนนี้เป็นการบันทึกเรื่องราวของชุมชนจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในอนาคตที่ชุมชนจะมีการเปลี่ยนแปลงต่างๆเกิดขึ้น ชุมชนจำ�เป็นจะ ต้องทำ�การปรับปรุงฐานข้อมูลอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อการวางแผนพัฒนาในอนาคตที่สะท้อนคุณลักษณะต่างๆของชุมชนที่เหมาะสมต่อไป

ภาควิชาออกแบบและวางผังชุมชนเมือง สาขาวิชาออกแบบชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

จัดทำ�โดย... นางสาวณภัสสร ธีร์ธวัชวงศ์ นางสาวธนกร จุดาศรี เรือโทสรศิลป์ กุลวงศ์



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.