1 ข้อมูล สารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Page 1

เทคโนโลยีสารสนเทศ

2 เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน

ขอมูล สารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถึง ระบบที่มีการนําคอมพิวเตอรมาชวยในการ รวบรวม จั ด เก็ บ หรื อ จั ด การกั บ ข อ มู ล ข า วสาร เพื่อใหขอมูลนั้นกลายเปนสารสนเทศที่ดี สามารถ นํา ไปใช ใ นการประกอบการตั ด สิ น ใจได ใ นเวลา อันรวดเร็วและถูกตอง

ระบบสารสนเทศประกอบดวยองคประกอบดังนี้ 1. ฮารดแวร (Hardware) หมายถึงอุปกรณที่เกี่ยวของในการจัดกระทํากับขอมูล ทั้งที่เปนอุปกรณ คอมพิวเตอรและอุปกรณอื่น ๆ เชน เครื่องคอมพิวเตอร เครื่องคิดเลข 2. ซอฟตแวร (Software) หมายถึง ชุดคําสั่ง หรือเรียกใหเขางายวา โปรแกรม ที่สามารถสั่งการให คอมพิวเตอรทํางานในลักษณะที่ตองการภายใตขอบเขตความสามารถที่เครื่องคอมพิวเตอร หรือโปรแกรม นั้น ๆ สามารถทําได 3. ผูใช (User) หมายถึง กลุมผูคนที่ทํางานหรือเกี่ยวของกับระบบสารสนเทศ 4. ขอมูล (Data) หมายถึง ขอเท็จจริงหรือเหตุการณที่เกี่ยวของกับสิ่งตางๆ (เชน คน สัตว สถานที่ สิ่งของตางๆ) ซึ่งมีการเก็บรวบรวมเอาไว และสามารถเรียกมาใชประโยชนไดโดยอาจอยูในรูปแบบตาง ๆ ไมวาจะเปน ตัวหนังสือ แสง สี เสียง สัญญาณอิเล็กทรอนิกส ภาพ วัตถุ หรือ หลาย ๆ อยางผสมผสานกัน ซึ่ง ขอมูลที่ดีจะตองตรงกับความตองการของผูใช 5. โพรซีเยอร (Procedure) หมายถึง ขั้นตอน กระบวนการตาง ๆ ในการปฏิบัติงานในระบบ สารสนเทศ เมื่อทั้ง 5 สวนดังกลาวขางตน ทํางานประสานกัน สงผลใหขอมูลเกิดการประมวลผลและนําไปใช ประโยชน นั่นก็คือ สารสนเทศ นั่นเอง ซึ่งสารเสนทศนี้จะเปนสารสนเทศที่ดี จะตองเปนสารสนเทศที่มี ความถูกตองตรงกับความตองการของผูใชและทันเวลาในการใชงาน กลาวโดยสรุปก็คือ กระบวนการ สารสนเทศเปนกระบวนการที่ทําใหเกิดสารสนเทศขึ้นมานั่นเอง เทคโนโลยี หมายถึง การประยุกตเอาความรูทางดานวิทยาศาสตร ความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม มาทําใหเกิดประโยชนตอมวลมนุษย เทคโนโลยีจึงเปนวิธีการในการสรางมูลคาเพิ่มของสิ่งของ ตางๆ ใหเกิดประโยชนมากยิ่งขึ้น เชน ทรายหรือซิลิกอน เปนสารแรที่พบเห็นอยูตามชายหาด หากนํามาสกัด


เทคโนโลยีสารสนเทศ

3 เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน

ดวยเทคโนโลยีและใชเทคนิควิธีการสรางเปนชิป (chip) สําหรับอุปกรณอิเล็กทรอนิกสตางๆ จะทําใหสาร แรซิลิกอนนั้นมีคุณคาและมูลคาเพิ่มขึ้นไดอีกมาก เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) เปนการนําเทคโนโลยีมาสรางมูลคาเพิ่มใหกับ สารสนเทศ ทําใหสารสนเทศมีประโยชนและใชงานไดกวางขวางมากขึ้น โดยเทคโนโลยีที่กลาวถึงไดแก การจัดเก็บ สื่อสาร ประมวลผลและการนําเสนอขอมูล เปนตน พัฒนาการของเทคโนโลยีทําใหชีวิตความเปนอยูเปลี่ยนไปมาก ลองยอนไปในอดีตโลกมีกําเนิดมา ประมาณ 4600 ลานป เชื่อกันวาพัฒนาการตามธรรมชาติทําใหเกิดสิ่งมีชีวิตถือกําเนินบนโลกประมาณ 500 ลานปที่แลว ยุคไดโนเสารมีอายุอยูในชวง 200 ลานป สิ่งมีชีวิตที่เปนเผาพันธุมนุษย คอย ๆ พัฒนามา คาดคะเนวาเมื่อหาแสนปที่แลวมนุษยสามารถสงสัญญาณทาทางสื่อสารระหวางกันและพัฒนามาเปนภาษา มนุษยสามารถสรางตัวหนังสือ และจารึกไวตามผนึกถ้ํา เมื่อประมาณ 5000 ปที่แลว กลาวไดวามนุษยตองใช เวลานานพอสมควรในการพัฒนาตัวหนังสือที่ใชแทนภาษาพูด และจากหลักฐานทางประวัติศาสตรพบวา มนุษยสามารถจัดพิมพหนังสือไดเมื่อประมาณ 5000 ปที่แลว กลาวไดวาฐานทางประวัติศาสตรพบวา มนุษย สามารถจัดพิมพหนังสือได เมื่อประมาณ 500 ถึง 800 ปที่แลว เทคโนโลยีเริ่มเขามาชวยในการพิมพ ทําใหการสื่อสารดวย ขอความและภาษาเพิ่มขึ้ นมาก เทคโนโลยีพั ฒนามาจนถึงการสื่อสารกัน โดยส งขอความเปน เสี ยงทาง สายโทรศัพทไดประมาณรอยกวาปที่แลว และเมื่อประมาณหาสิบปที่แลว ก็มีการสงภาพโทรทัศนและ คอมพิ ว เตอร ทํ า ให มี ก ารใช ส ารสนเทศในรู ป แบบขา วสารมากขึ้ น ในป จ จุ บัน มี ส ถานนี วิ ท ยุ โทรทั ศ น หนังสือพิมพ และสื่อตาง ๆ ที่ใชในการกระจายขาวสาร มีการแพรภาพทางโทรทัศนผานดาวเทียมเพื่อ รายงานเหตุการณสด เห็นไดชัดวาเทคโนโลยีไดเขามามีบทบาทอยางมาก บทบาทของการพัฒนาเทคโนโลยี รวดเร็วขึ้นเมื่อมีการพัฒนาอุปกรณทางดานคอมพิวเตอรและสวนประกอบ จะเห็นไดวาในชวงสี่หาปที่ผาน มาจะมีผลิตภัณฑใหม ซึ่งมีคอมพิวเตอรเขาไปเกี่ยวของใหเห็นอยูตลอดเวลา การปฏิวัติทางวิทยาศาสตรและการปฏิวัติอุตสาหกรรมเริ่มตนในคริสตศตวรรษที่ 17 และ 18 เปน เหตุการณสําคัญในประวัติศาสตรของมนุษยชาติ ทําใหอารยธรรมในสังคมโลกเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก ทั้ง ทางดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวิทยาการ การปฏิวัติอุตสาหกรรมไดดําเนินสืบเนื่องมาจนถึงปจจุบัน ซึ่งถือกันวาเปนการปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่สาม พลังความรูทางดานวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีที่สั่งสม เพิ่มพูนมาตลอดเวลานี้ ทําใหผูคนมีความเปนอยูที่สะดวกสบายขึ้น ชีวิตยืนยาวขึ้น ประชากรเพิ่มมากขึ้น มี ความกาวหนาทางวัตถุในทุกๆ ดาน รวมทั้งเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหสังคม โลกอันกวางใหญไดติดตอกัน ใกลชิดขึ้นในเวลาอันรวดเร็ว จนดูเสมือนหนึ่งเปนโลกไรพรมแดน ในคริสตศตวรรษที่ 20 คือ คริสตศักราช 1900 –1999 เทคโนโลยีสารสนเทศไดเขามามีบทบาทใน ชีวิตของเรามาก ทําใหเรามีโทรศัพทใช มีคอมพิวเตอรใช นอกจากนี้คอมพิวเตอรยังเชื่อมโยงกันไดผาน สายโทรศัพท มีการสรางเครือขายของคอมพิวเตอรที่ทําใหการติดตอสื่อสารผานทางคอมพิวเตอรทําไดอยาง รวดเร็วและครอบคลุมทั่วโลก ในตนศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยีสารสนเทศมีความเจริญกาวหนากวาเดิมมากชวยใหคอมพิวเตอร สามารถทํากิจกรรมไดคลายคนมากยิ่งขึ้น เชน สามารถอานหนังสือภาษาไทยออกพูดโตตอบกับคนเปน ภาษาไทยได


เทคโนโลยีสารสนเทศ

4 เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน

สังคมที่เราอยูขณะนี้จะเปลี่ยนแปลงไปไดมาก การเดินทางทั้งทางรถและเครื่องบินจะนอยลง เชน แทนที่ตองนั่งรถมาซื้อของที่หางสรรพสินคา เราก็สามารถจะสั่งซื้อผานเครือขายคอมพิวเตอรได แทนที่ครู จะตองเดินทางไปหองสมุดก็สามารถขอดูหรือขออานหนังสือผานเครือขายคอมพิวเตอรไดและแทนที่คน หลายประเทศทั่วโลกตองเดินทางไปประชุมรวมกันก็สามารถมองเห็นหนาตากันหรือพูดคุยปรึกษากันผาน เครือขายคอมพิวเตอรได คอมพิวเตอรสวนใหญจะแสดงผลและโตตอบกับคนในลักษณะเหมือนจริงไดมากขึ้น กลาวคือ เปน ลักษณะสามมิติ ไมใชเนนแคใหมองเห็นจากจอคอมพิวเตอร แตสามารถสรางความรูสึก เชน รูสึกถึงการ สัมผัส ไดยิน ไดกลิ่น สภาพเหมือนจริงจะสงเสริมการเรียนรูไดอยางดีมาก เชน ในวงการแพทย คอมพิวเตอรสามารถ สรางคนไขเทียมใหหมอฝกหัดผาตัด เมื่อลงมือผาตัด จะเห็นสวนตางๆของรางกายที่จําลองขึ้นมาได มี เลือดเทียมไหลออกมาได แมจะผาตัดพลาดกี่ครั้งก็ไมมีใครเปนอันตราย สามารถฝกหัดแลวฝกหัดอีก จนกระทั่งหมอเริ่มมีความชํานาญแลวจึงคอยผาตัดคนจริงๆ

รูปที่ 1 การจําลองดานการแพทย


เทคโนโลยีสารสนเทศ

5 เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน

การทําขอมูลใหเปนสารสนเทศ การทําขอมูลใหเปนสารสนเทศที่จะเปนประโยชนตอการใชงาน จําเปนตองอาศัยเทคโนโลยีเขามา ชวยในการดําเนินการ เริ่มตั้งแตการรวบรวมและตรวจสอบขอมูล การดําเนินการประมวลผลขอมูลให กลายเปนสารสนเทศ และการดูแลสารสนเทศเพื่อการใชงาน

การเก็บรวบรวมขอมูล เปนวิธีการรวบรวมขอมูลเขาสูระบบ นักเรียนอาจเห็นพนักงานการ ไฟฟ า ไปที่ บ า นพร อ มเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร ข นาดเล็ ก เพื่ อ บั น ทึ ก ข อ มู ล การใช ไ ฟฟ า ในการ สอบแขงขันที่มีผูสอบจํานวนมาก ก็มีการใชดินสอระบายตามชองที่เลือกตอบ เพื่อใหเครื่องอาน เก็บรวบรวมขอมูลได เมื่อไปซื้อสินคาที่หางสรรพสินคาก็มีการใชรหัสแทง (bar code) พนักงานจะนําสินคาผานการตรวจของเครื่องเพื่ออานขอมูลการซื้อสินคาที่บรรจุในรหัสแทง เมื่อไปที่หองสมุดก็พบวาหนังสือมีรหัสแทงเชนเดียวกันการใชรหัสแทงนี้เพื่อใหงายตอการเก็บ รวบรวม

รูปที่ 2 ตัวอยางการประมวลผลขอมูลใหอยูในรูปแบบที่สามารถนําไปใชได

การประมวลผล ขอมูลที่เก็บมาไดมักจะเก็บในสื่อตาง ๆ เชน แผนบันทึก แผนซีดี หรือเทป เปน ตน ขอมูลเหลานี้จะถูกนํามาประมวลผลตามตองการ เชน การจัดแบงกลุมขอมูล การจัดเเรียงขอ มูล การสรุปผล การคํานวณ การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใชงาน ประกอบดวยการเก็บรักษาขอมูล การคนหาขอมูล การ ทําสําเนาขอมูล และการสื่อสารเปนตน


เทคโนโลยีสารสนเทศ

6 เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน

ประโยชนของเทคโนโลยีสารสนเทศในดานตางๆ

เทคโนโลยีสารสนเทศกับสิ่งแวดลอม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติหลายอยางจําเปนตองใช สารสนเทศ เชน การดูแลรักษาปา จําเปนตองใชขอมูล มีการใชภาพถายดาวเทียม การติดตาม ขอมูลสภาพอากาศ การพยากรณอากาศ การจําลองรูปแบบสภาวะสิ่งแวดลอมเพื่อปรับปรุง แกไข การเก็บรวมรวมขอมูลคุณภาพน้ําในแมน้ําตางๆ การตรวจวัดมลภาวะ ตลอดจนการใช ระบบการตรวจวัดระยะไกลมาชวย ที่เรียกวาโทรมาตร เปนตน เทคโนโลยีสารสนเทศกับการปองกันประเทศ กิจการทางดานการทหารมีการใชเทคโนโลยี อาวุธยุทโธปกรณสมัยใหมลวนแตเกี่ยวของกับคอมพิวเตอรและระบบควบคุม มีการใชระบบ ปองกันภัย ระบบเฝาระวังที่มีคอมพิวเตอรควบคุมการทํางาน

รูปที่ 3 การใชสารสนเทศเพื่อความมั่นคงของประเทศ

รูปที่ 4 การใชอุปกรณจําลองการฝก

รูปที่ 5 หุนยนตรักษาความปลอดภัย


เทคโนโลยีสารสนเทศ

7 เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการผลิตในอุตสาหกรรมและการพาณิชยกรรม การแขงขันทางดาน การผลิตสินคาอุตสาหกรรมจําเปนตองหาวิธีการในการผลิตใหไดมาก ราคาถูกลงเทคโนโลยี คอมพิวเตอรเขามามีบทบาทมาก มีการใชขอมูลขาวสารเพื่อการบริหารและการจัดการ การ ดําเนินการและยังรวมไปถึงการใหบริการกับลูกคา เพื่อใหซื้อสินคาไดสะดวกขึ้น

รูปที่ 6 การใชหุนยนตในอุตสาหกรรม ที่ตองการความแมนยําสูง

รูปที่ 7 หุนยนตเซอรเพนไทม ซึ่งไดรับทุนสนับสนุนการวิจัย จากมูลนิธิโทเร เพื่อการสงเสริมวิทยาศาสตร ประเทศไทย

รูปที่ 8 การใชเว็บไซตในเชิงพาณิชย

เทคโนโลยี ส ารสนเทศกั บ การศึ ก ษา เทคโนโลยี ส ารสนเทศเพื่ อ การศึ ก ษา โดยการนํ า เอา เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งประกอบดวยเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอรและเครือขายโทรคมนาคม ที่ เ ชื่ อ มต อ กั น สํ า หรั บ ใช ใ นการส ง และรั บ ข อ มู ล และมั ล ติ มี เ ดี ย เกี่ ย วกั บ ความรู โดยผ า น กระบวนการประมวลหรือจัดใหอยูในรูปแบบที่มีความหมายและความสะดวก มาใชประโยชน ในระบบการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย


เทคโนโลยีสารสนเทศ

8 เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน

รูปที่ 9 เว็บไซตเกี่ยวกับสื่อทางการแพทย

ในปจจุบันมีการใชเทคโนโลยีสารสนเทศกันอยางแพรหลายมากในทุกกิจการ แนวโนมที่ เห็นไดอยางชัดเจนคือ มีการใชกันอยางแพรหลายมากขึ้นในกิจการหลากหลายประเภทโดยมีราคาที่ ถูก ลงและมี ขีด ความสามารถในการทํ า งานสูง ขึ้น เรื่ อยๆ แนวโน มดั งกล า วนี้ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ การ พั ฒนาการดานฮาร ด แวร และซอฟตแ วร ซึ่ง ไดมี การคิด คนซอฟต แ วร ใ หมๆ ที่สามารถใช ง าน คอมพิวเตอรและอุปกรณที่เครื่องคอมพิวเตอรควบคุมได กับงานตางๆมากอยางที่ไมเคยทํามากอน ความกาวหนาของเทคโนโลยีสารสนเทศ เปาหมายในศตวรรษที่ 21 มีแนวโนมวา คนจะพยายามทําใหคอมพิวเตอรติดตอสื่อสารงานได เหมือนคนมากขึ้น สรางสภาพการณตางๆ เหมือนคนเราไดเห็น ไดสัมผัสในชีวิตจริงไดยิ่งๆขึ้นไป ตน ศตวรรษที่ 21 คาดวาจะมีแนวโนมดังตอไปนี้ การพัฒนาใหคอมพิวเตอรสามารถฟงภาษาพูด และตอบเปนภาษาพูดได อานตัวอักษรหรือ ลายมือเขียนก็ได โดยเฉพาะในภาษาไทย การติดตอสื่อสารผานคอมพิวเตอรที่เชื่อมโยงกันไดทั่วโลกไดอยางรวดเร็วแบบอินเตอรเน็ตจะ สรางตลาดการคาระดับโลก จะมีคนมาขอซื้อสินคาไดจากทั่วโลกโดยไมตองเดินทาง การใชหองสมุด สามารถอานหนังสือจากหองสมุดที่อยูอีกซีกโลกหนึ่งได การอานหนังสือพิมพ สามารถอานผานจอคอมพิวเตอรได การฟงเสียงวิทยุ สามารถฟงผานคอมพิวเตอรได แมวาสถานีวิทยุ จะอยูคนละมุมโลกในขณะที่ เครื่องรับวิทยุธรรมดาไมสามารถรับสัญญาณได


เทคโนโลยีสารสนเทศ

9 เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน

รูปที่ 10 ความกาวหนาในการนําเทคโนโลยีสารสนเทศไปใชในดานตางๆ

การออกเสียงเลือกตั้งผูแทนราษฎรในยุคหนา อาจปองกันปญหาการซื้อเสียงหรือลักลอบออก เสียงแทนคนอื่นได โดยมีเทคโนโลยีที่ตรวจสอบลายนิ้วมือของผูที่มาลงคะแนนเสียง การเรียนการสอนสามารถเขาสูยุคใหม ครูสอนอยูที่เดียวแตนักเรียนจากตางจังหวัดในทุกภาค สามารถไดยิน ไดฟง และไดเรียน การทํางานในยุคใหม ถึงแมผูรวมงานจะอยูคนละประเทศ ก็สามารถประชุมพรอมกันไดโดยดู ผานหนาจอที่แสดงใหเห็นหนาของผูรวมงานในอีกหองหนึ่ง ในอีกประเทศหนึ่ง การหลงทางในการเดินทางจะมีนอย เนื่องจากจะมีคอมพิวเตอรที่สื่อสารกับดาวเทียม แจงที่อยู ของรถในแผนที่ได การแสดงผลของคอมพิวเตอรจะกาวสูยุคที่คอมพิวเตอรแสดงผลไดเหมือนจริง คือ เปน 3 มิติ ไมใช 2 มิติอยางที่เรามองดูจากจอคอมพิวเตอรในปจจุบัน และทําใหเรารูสึกไดรูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส เสมือนวาเราอยูในสถานที่นั้นจริงๆ การแพทยจะใชวิธีจําลองสภาพเสมือนจริง ชวยในการรักษาไดดียิ่งขึ้น โดยเฉพาะในการผาตัด เชน ถาหมอจะผาเอาเนื้อรายในสมองออกมา ก็สามารถมองภาพ 3 มิติที่ระบุวาตําแหนงของ เนื้อรายนั้นอยู ณ จุดใดในสมองขณะที่ผาตัด ทําใหการผาตัดมีความปลอดภัยมากขึ้น


เทคโนโลยีสารสนเทศ

10 เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน

คอมพิวเตอรและประวัติความเปนมา เมื่อพิจารณาศัพทคําวา คอมพิวเตอร ถาแปลกันตรงตัวตามคําภาษาอังกฤษ จะหมายถึงเครื่องคํานวณ ดังนั้นถากลาวอยางกวาง ๆ เครื่องคํานวณที่มีสวนประกอบเปนเครื่องกลไกหรือเครื่องไฟฟา ตางก็จัดเปน คอมพิวเตอรไดทั้งสิ้น ลูกคิดที่เคยใชกันในรานคา ไมบรรทัดคํานวณ(Slide rule) ซึ่งถือเปนเครื่องมือ ประจําตัววิศวกรในยุคยี่สิบปกอน หรือเครื่องคิดเลข ลวนเปนคอมพิวเตอรไดทั้งหมด ในปจจุบันความ หมายของคอมพิวเตอรจะระบุเฉพาะเจาะจง หมายถึงเครื่องคํานวณอิเล็กทรอนิกส ที่สามารถทํางานคํานวณผลและเปรียบเทียบคาตามชุดคําสั่งดวยความเร็วสูงอยางตอเนื่องและอัตโนมัติ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ไดใหคําจํากัดความของคอมพิวเตอรไวคอนขางกะทัดรัดวา เครื่องอิเล็ กทรอนิกสแบบอัตโนมัติ ทําหนาที่เสมือนสมองกล ใชสําหรั บแกป ญหาตาง ๆ ทั้งที่งายและ ซับซอน โดยวิธีทางคณิตศาสตร การจําแนกคอมพิวเตอรตามลักษณะวิธีการทํางานภายในเครื่องคอมพิวเตอรอาจแบงไดเปนสอง ประเภทใหญ ๆ คือ แอนาล็อกคอมพิวเตอร (Analog computer) แอนะล็อกคอมพิวเตอรเปนเครื่องคํานวณอิเล็กทรอนิกสที่ไมไดใชคาตัวเลขเปนหลักของ การคํานวณ แตจะใชคาระดับแรงดันไฟฟาแทน ไมบรรทัดคํานวณ อาจถือเปนตัวอยางหนึ่งของ แอนาล็อกคอมพิวเตอร ที่ใชคาตัวเลขตามแนวความยาวไมบรรทัดเปนหลักของการคํานวณ โดย ไมบรรทัดคํานวณจะมีขีดตัวเลขกํากับอยู เมื่อไมบรรทัดหลายอันมาประกบรวมกัน การคํานวณผล เชน การคูณ จะเปนการเลื่อนไมบรรทัดหนึ่งไปตรงตามตัวเลขของตัวตั้งและตัวคูณของขีดตัวเลขชุด หนึ่ง แลวไปอานผลคูณของขีดตัวเลขอีกชุดหนึ่งแอนะล็อกคอมพิวเตอรแบบอิเล็กทรอนิกสจะใช หลักการทํานองเดียวกัน โดยแรงดันไฟฟาจะแทนขีดตัวเลขตามแนวยาวของไมบรรทัด

รูปที่ 11 แอนาล็อกคอมพิวเตอร


เทคโนโลยีสารสนเทศ

11 เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน

แอนะล็อกคอมพิวเตอรจะมีลักษณะเปนวงจรอิเล็กทรอนิกสที่แยกสวนทําหนาที่เปนตัว กระทําและเปนฟงกชันทางคณิตศาสตร จึงเหมาะสําหรับงานคํานวณทางวิทยาศาสตรและวิศวกรรม ที่อยูในรูปของสมการคณิตศาสตร เชน การจําลองการบิน การศึกษาการสั่งสะเทือนของตึกเนื่องจาก แผนดินไหว ขอมูลตัวแปรนําเขาอาจเปนอุณหภูมิความเร็วหรือความดันอากาศ ซึ่งจะตองแปลงให เปนคาแรงดันไฟฟา เพื่อนําเขาแอนะล็อกคอมพิวเตอรผลลัพธที่ไดออกมาเปนแรงดันไฟฟาแปรกับ เวลาซึ่งตองแปลงกลับไปเปนคาของตัวแปรที่กําลังศึกษา ในปจจุบันไมคอยพบเห็นแอนะล็อกคอมพิวเตอรเทาไรนักเพราะผลการคํานวณมีความ ละเอียดนอย ทําใหมีขีดจํากัดใชไดกับงานเฉพาะบางอยางเทานั้น ดิจิทัลคอมพิวเตอร (Digital computer) คอมพิ วเตอรที่ พบเห็นทั่ วไปในปจ จุบัน จัดเปน ดิจิทั ลคอมพิวเตอรแทบทั้งหมด ดิจิทัล คอมพิวเตอรเปนเครื่องคํานวณอิเล็กทรอนิกสที่ใชงานเกี่ยวกับตัวเลข มีหลักการคํานวณที่ไมใชแบบ ไมบรรทัดคํานวณ แตเปนแบบลูกคิด โดยแตและหลักของลูกคิดคือ หลักหนวย หลักรอย และสูงขึ้น ไปเรื่อย ๆ เปนระบบเลขฐานสิบที่แทนตัวเลขจากศูนยถึงเกาไปสิบตัว ตามระบบตัวเลขที่ใชใน ชีวิตประจําวัน

รูปที่ 12 Atanasoff-Berry Computer เปน Electronic Digital computer เครื่องแรกของโลก

คาตัวเลขของการคํานวณในดิจิทัลคอมพิวเตอรจะแสดงเปนหลักเชนเดียวกัน แตจะเปน ระบบเลขฐานสองที่มีสัญลักษณตัวเลขเพียงสองตัว คือเลขศูนยกับเลขหนึ่งเทานั้น โดยสัญลักษณ ตัวเลขทั้งสองตัวนี้ จะแทนลักษณะการทํางานภายในซึ่งเปนสัญญาณไฟฟาที่ตางกัน การคํานวณ ภายในดิจิทัลคอมพิวเตอรจะเปนการประมวลผลดวยระบบเลขฐานสองทั้งหมด ดังนั้นเลขฐานสิบที่ เราใชและคุนเคยจะถูกแปลงไปเปนระบบเลขฐานสองเพื่อการคํานวณภายในคอมพิวเตอร ผลลัพธที่ ไดก็ยังเปนเลขฐานสองอยู ซึ่งคอมพิวเตอรจะแปลงเปนเลขฐานสิบเพื่อแสดงผลใหผูใชเขาใจไดงาย


เทคโนโลยีสารสนเทศ

12 เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน

กําเนิดเครื่องคอมพิวเตอร มนุษยพยายามสรางเครื่องมือเพื่อชวยการคํานวณมาตั้งแตสมัยโบราณแลว จึงไดพยายามพัฒนาเครื่องมือ ตาง ๆ ใหสามารถใชงานไดงายเพิ่มขึ้นตามลําดับ ซึ่งพอที่จะลําดับเครื่องมือที่ถูกประดิษฐขึ้นมามีดังนี้ ในระยะ 5,000 ป ที่ผานมา มนุษยเริ่มรูจักการใชนิ้วมือและนิ้วเทาของตนเพื่อชวยในการคํานวณ และ พัฒนาเปนอุปกรณอื่น ๆ เชน ลูกหิน ประมาณ 2,600 ปกอนคริสตกาล ชาวจีนไดประดิษฐเครื่องมือเพื่อใชในการคํานวณขึ้นมาชนิดหนึ่ง เรียกวา ลูกคิด (Abacus) ซึ่งถือไดวาเปนอุปกรณชวยการคํานวณที่เกาแกที่สุดในโลกและยังคงใชงานมา จนถึงปจจุบัน พ.ศ. 2158 นักคณิตศาสตรชาวสก็อตแลนดชื่อ John Napier ไดประดิษฐอุปกรณที่ใชชวยในการคํานวณ ขึ้นมาเรียกวา Napier's Bones เปนอุปกรณที่มีลักษณะคลายกับตารางสูตรคูณในปจจุบัน พ.ศ. 2185 นักคณิตศาสตรชาวฝรั่งเศส ชื่อ Blaise Pascal ไดออกแบบเครื่องมือชวยในการคํานวณโดยใช หลักการหมุนของฟนเฟอง หนึ่งอันถูกหมุนครบ 1 รอบ ฟนเฟองอีกอันหนึ่งทางดานซายจะถูกหมุนไป ดวยในเศษ 1 สวน 10 รอบ เชนเดียวกับการทดเลขสําหรับผลการคํานวณจะดูไดที่ชองบน และไดถูก เผยแพรออกสูสาธารณชนเมื่อ พ.ศ. 2188 แตไมประสบผลสําเร็จเทาที่ควร เครื่องมือนี้สามารถใชไดดีใน การคํานวณบวกและลบ เทานั้น สวนการคูณและหารยังไมดีเทาที่ควร ในป 2216 นักปรัชญาชาวเยอรมันชื่อ Gottfried Wilhelm Baronvon Leibnitz ไดปรับปรุงเครื่องคํานวณ ของปาสคาล ซึ่งใชการบวกซ้ําๆ กันแทนการคูณเลข จึงทําใหสามารถทําการคูณและหารไดโดยตรง ซึ่ง อาศัยการหมุนวงลอของเครื่องเอง เครื่องคิดเลขที่ไลบนิซ สรางขึ้นเรียกวา Leibniz's Stepped และยัง คนพบเลขฐานสอง (Binary Number) คือ เลข 0 และเลข 1 ซึ่งเปนระบบเลขที่เหมาะในการคํานวณ พ.ศ. 2344 นักประดิษฐชาวฝรั่งเศสชื่อ Joseph Marie Jacquard ไดพยายามพัฒนาเครืองทอผาโดยใช บัตรเจาะรูในการบันทึกคําสั่ง ควบคุมเครื่องทอผาใหทําตามแบบที่กําหนดไว ซึ่งเปนแนวทางที่ทําใหเกิด การประดิษฐเครื่องเจาะบัตร (Punched Card Machine) ในเวลาตอมา และถือวาเปนเครื่องจักรที่ใช ชุดคําสั่ง (Program) สั่งทํางานเปนเครื่องแรก พ.ศ. 2373 Charles Babbage ศาสตราจารยทางคณิตศาสตรแหงมหาวิทยาลัยแคมบริดจของอังกฤษ ได สรางเครื่องหาผลตาง (Difference Engine) ซึ่งเปนเครื่องที่ใชคํานวณและพิมพตารางทางคณิตศาสตร อยางอัต โนมั ติ แต ก็ ไ ม สํา เร็ จ ตามแนวคิด ด ว ยขอจํ า กัดทางด า นวิศ วกรรมในสมั ย นั้น แต ไ ดพัฒ นา เครื่องมือหนึ่งเรียกวา เครื่องวิเคราะห (Analytical Engine) เครื่องนี้ประกอบดวยสวนสําคัญ 4 สวน คือ


เทคโนโลยีสารสนเทศ

13 เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน

1. สวนเก็บขอมูล เปนสวนที่ใชในการเก็บขอมูลนําเขาและผลลัพธที่ไดจากการคํานวณ 2. สวนประมวลผล เปนสวนที่ใชในการประมวลผลทางคณิตศาสตร 3. สวนควบคุม เปนสวนที่ใชในการเคลื่อนยายขอมูลระหวางสวนเก็บขอมูลและสวนประมวลผล 4. สวนรับขอมูลเขาและแสดงผลลัพธ เปนสวนที่ใชรับขอมูลจากภายนอกเครื่องเขาสูสวนเก็บ ขอมูลและแสดงผลลัพธที่ไดจากการคํานวณดวย เครื่องวิเคราะหนี้มีลักษณะใกลเคียงกับ สวนประกอบของระบบคอมพิวเตอรในปจจุบัน จึงทําให Charles Babbage ไดรับการยกยองใหเปน "บิดาแหงคอมพิวเตอร" พ.ศ. 2385 สุภาพสตรีชาวอังกฤษชื่อ Lady Augusta Ada Byron ไดทําการแปลเรื่องราวเกี่ยวกับเครื่อง Analytical Engine และไดเขียนขั้นตอนของคําสั่งวิธีใชเครื่องนี้ใหทําการคํานวณที่ยุงยากซับซอนไวใน หนังสือ Taylor's Scientific Memories จึงนับไดวา ออกุสตา เปนโปรแกรมเมอรคนแรกของโลก และยัง คนพบอีกวาชุดบัตรเจาะรูที่บรรจุชุดคําสั่งไวสามารถนํากลับมาทํางานซ้ําใหมไดถาตองการ นั่นคือ หลักการทํางานวนซ้ํา หรือที่เรียกวา Loop เครื่องมือคํานวณที่ถูกพัฒนาขึ้นในศตวรรษที่ 19 นั้น ทํางาน กับเลขฐานสิบ (Decimal Number) แตเมื่อเริ่มตนของศตวรรษที่ 20 ระบบคอมพิวเตอรไดถูกพัฒนาขึ้น เปนลําดับ จึงทําใหมีการเปลี่ยนแปลงมาใชเลขฐานสอง (Binary Number)กับระบบคอมพิวเตอร ที่เปน ผลสืบเนื่อง มาจากหลักของพีชคณิต พ.ศ. 2397 นักคณิตศาสตรชาวอังกฤษ George Boole ไดสรางระบบพีชคณิตแบบใหม เรียกวา พีชคณิต บูลลีน (Boolean Algebra) ซึ่งมีประโยชนมากตอการออกแบบวงจรไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสและการ ออกแบบทางตรรกวิทยาของเครื่องคอมพิวเตอรในปจจุบันดวย พ.ศ. 2423 Dr. Herman Hollerith นักสถิติชาวอเมริกันไดประดิษฐเครื่องประมวลผลทางสถิติเครื่องแรก ซึ่งใชกับบัตรเจาะรู ซึ่งไดถูกนํามาใชในงานสํารวจสํามะโนประชากรของสหรัฐอเมริกา เรียก บัตรเจาะรู นี้วา บัตรฮอลเลอริท หรือบัตรไอบีเอ็ม เพราะผูผลิตคือบริษัท ไอบีเอ็ม พ.ศ. 2480 ศาสตราจารย Howard Aiken ไดพัฒนาเครื่องคํานวณตามแนวคิดของแบบเบจ รวมกับวิศวกร ของบริษัท ไอบีเอ็มไดสําเร็จโดยเครื่องจะทํางานแบบเครื่องจักรกลปนไฟฟาและใชบัตรเจาะรูเปนสื่อใน การนําขอมูลเขาสูเครื่องเพื่อทําการประมวลผล เครื่องมือนี้มีชื่อวา MARK I หรือมีอีกชื่อหนึ่งวา IBM Automatic Sequence Controlled Calculator และนับเปนเครื่องคํานวณแบบอัตโนมัติ เครื่องแรกของโลก พ.ศ. 2486 เปนชวงสงครามโลกครั้งที่ 2 ศูนยวิจัยของกองทัพบกสหรัฐอเมริกา ตองการเครื่องคํานวณหา ทิศทางและระยะทางในการสงขีปนาวุธ ซึ่งถาใชเครื่องคํานวณสมัยนั้นจะตองใชเวลาถึง 12 ชม.ตอการ ยิง 1 ครั้ง ดังนั้น จึงใหทุนอุดหนุนแก John W. Mauchly และ Persper Eckert สรางคอมพิวเตอร


เทคโนโลยีสารสนเทศ

14 เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน

อิเล็กทรอนิกสขึ้นมา มีชื่อวา ENIAC (Electronic Numerical Intergrater and Calculator) สําเร็จในป 2489 โดยนําหลอดสุญญากาศจํานวน 18,000 หลอดมาใชในการสราง ซึ่งมีขอดีคือ ทําใหเครื่องมี ความเร็วและมีความถูกตองแมนยําในการคํานวณมากขึ้น พ.ศ. 2492 Dr. John Von Neumann ไดพบวิธีการเก็บโปรแกรมไวในหนวยความจําของเครื่องไดสําเร็จ เครื่องคอมพิวเตอรที่พัฒนา ขึ้นตามแนวคิดนี้ไดแก EDVAC (Electronic Discrete Variable Automatic Computer) และนํามาใชงานจริงในป 2494 และในเวลาเดียวกันมหาวิทยาลัยเคมบริดจก็ไดมีการสราง คอมพิวเตอรในลักษณะคลายกับเครื่อง EDVAC นี้ และใหชื่อวา EDSAC (Electronic Delay Strorage Automatic Calculator) มีลักษณะการทํางานเหมือนกับ EDVAC คือเก็บโปรแกรมไวในหนวยความจํา แตมีลักษณะพิเศษที่แตกตางออกไปคือ ใชเทปแมเหล็กในการบันทึกขอมูลตอมา ศาสตราจารยแอคเคิท และมอชลี ไดรวมมือกันสรางเครื่องคอมพิวเตอรอีก ชื่อวา UNIVAC I (Universal Automatic Calculator) ซึ่งผลิตขึ้นมาเพื่อขายหรือเชา เปนเครื่องแรกที่ออกสูตลาดซึ่งทําใหคอมพิวเตอร ขยายตัว ออกไปในภาคเอกชน และเริ่มมีการซื้อขายคอมพิวเตอรเพื่อใชงานกันอยางแพรหลาย วิวัฒนาการคอมพิวเตอร เราสามารถแบงยุคคอมพิวเตอรออกเปนชวงตางๆ ไดดังนี้ คอมพิวเตอรยุคที่หนึ่ง อยูระหวางป พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2501 เปนคอมพิวเตอรที่ใช หลอดสุญญากาศซึ่งใชกําลังไฟฟาสูง จึงมีปญหาเรื่องความรอนและไสหลอดขาดบอย ถึงแมจะมีระบบ ระบายความรอนที่ดีมาก การสั่งงานใชภาษาเครื่องซึ่งเปนรหัสตัวเลขที่ยุงยากซับซอน เครื่องคอมพิวเตอร ของยุคนี้มีขนาดใหญโต เชน มารควัน(MARK I) อีนิแอค(ENIAC) ยูนิแวค (UNIVAC)

รูปที่ 13 เครื่องคอมพิวเตอรมารค วัน(MARK I)

รูปที่ 14 เครื่องคอมพิวเตอร ENIAC [ซาย] และUNIVAC [ขวา]


เทคโนโลยีสารสนเทศ

15 เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน

คอมพิวเตอรยุคที่สอง อยูระหวางป พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506 เปนคอมพิวเตอรที่ใชทรานซิสเตอร โดยมี แกนเฟอรไรทเปนหนวยความจํา มีอุปกรณเก็บขอมูลสํารองในรูปของสื่อบันทึกแมเหล็ก เชน จานแมเหล็ก สวนทางดานซอฟตแวรก็มีการพัฒนาดีขึ้น โดยสามารถเขียนโปรแกรมดวยภาษาระดับสูงซึ่งเปนภาษาที่ เขียนเปนประโยคที่คนสามารถเขาใจได เชน ภาษาฟอรแทนภาษาโคบอล(COBOL) เปนตน ภาษาระดับสูง นี้ไดมีการพัฒนาและใชงานมาจนถึงปจจุบัน คอมพิวเตอรยุคที่สาม อยูระหวางป พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512 เปนคอมพิวเตอรที่ใชวงจรรวม (Integrated Circuit : IC) โดยวงจรรวมแตละตัวจะมีทรานซิสเตอรบรรจุอยูภายในมากมายทําใหเครื่องคอมพิวเตอรจะ ออกแบบซับซอนมากขึ้น และสามารถสรางเปนโปรแกรมยอย ๆ ในการกําหนดชุดคําสั่งตาง ๆ ทางดาน ซอฟตแวรก็มีระบบควบคุมที่มีความสามารถสูงทั้งในรูประบบแบงเวลาการทํางานใหกับงานหลาย ๆ อยาง

รูปที่ 15 เครื่องคอมพิวเตอรในยุคที่ 3 [ซาย] และ วงจรวม(Integrated Circuit :IC) [ขวา]

คอมพิวเตอรยุคที่สี่ ตั้งแตป พ.ศ. 2513 จนถึงปจจุบันเปนยุคของคอมพิวเตอรที่ใชวงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integration : VLSI) เชน ไมโครโพรเซสเซอรที่บรรจุทรานซิสเตอรนับหมื่นนับแสนตัว ทําใหขนาดเครื่องคอมพิวเตอรมีขนาดเล็กลงสามารถตั้งบนโตะในสํานักงานหรือพกพาเหมือนกระเปาหิ้วไป ในที่ตาง ๆ ได ขณะเดียวกันระบบซอฟตแวรก็ไดพัฒนาขีดความสามารถสูงขึ้นมาก มีโปรแกรมสําเร็จให เลือกใชกันมากทําใหเกิดความสะดวกในการใชงานอยางกวางขวาง

รูปที่ 16 เครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล (Personal Computer) [ซาย]และไมโครโพรเซสเซอร (Microprocessor) [ขวา]


เทคโนโลยีสารสนเทศ

16 เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน

คอมพิวเตอรยุคที่หา เปนคอมพิวเตอรที่มนุษยพยายามนํามาเพื่อชวยในการตัดสินใจและแกปญหาใหดี ยิ่งขึ้น โดยจะมีการเก็บความรอบรูตาง ๆ เขาไวในเครื่อง สามารถเรียกคนและดึงความรูที่สะสมไวมาใชงาน ใหเปนประโยชน คอมพิวเตอรยุคนี้เปนผลจากวิชาการดานปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence : AI) ประเทศตางๆ ทั่วโลกไมวาจะเปนสหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และประเทศในทวีปยุโรปกําลังสนใจคนควาและ พัฒนาทางดานนี้กันอยางจริงจัง

รูปที่ 17 ตัวอยางงานดานปญญาประดิษฐ : หุนยนต Kismet ของ Massachusetts Institute of Technology(MIT) ประเทศสหรัฐอเมริกา

ชนิดของคอมพิวเตอร พั ฒ นาการทางคอมพิ ว เตอร ไ ด ก า วหน า ไปอย า งรวดเร็ ว และต อ เนื่ อ ง จากอดี ต เป น อุ ป กรณ อิเล็กทรอนิกสที่ใชหลอดสุญญากาศขนาดใหญ ใชพลังงานไฟฟามาก และอายุการใชงานต่ํา เปลี่ยนมาใช ทรานซิสเตอรที่ทําจากชินซิลิกอนเล็ก ๆ ใชพลังงานไฟฟาต่ํา และผลิตไดจํานวนมาก ราคาถูก ตอมาสามารถ สรางทรานซิ สเตอร จํานวนหลายแสนตัว บรรจุบนชิ้น ซิลิกอนเล็ก ๆ เปนวงจรรวมที่เรียกวา ไมโครชิป (microchip) และใชไมโครชิปเปนชิ้นสวนหลักที่ประกอบอยูในคอมพิวเตอร ทําใหขนาดของคอมพิวเตอร เล็กลง ไมโครชิปที่มีขนาดเล็กนี้สามารถทํางานไดหลายหนาที่ เชน ทําหนาที่เปนหนวยความจําสําหรับเก็บ ขอมูล ทําหนาที่เปนหนวยควบคุมอุปกรณรับเขาและสงออก หรือทําหนาที่เปนหนวยประมวลผลกลาง ที่ เรียกวา ไมโครโพรเซสเซอร ไมโครโพรเซสเซอร หมายถึงหนวยงานหลักในการคิดคํานวณ การบวกลบคูณหาร การเปรียบเทียบ การดําเนินการทางตรรกะ ตลอดจนการสั่งการเคลื่อนขอมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง หนวยประมวลผล กลางนี้เรียกอีกอยางวา ซีพียู (Central Processing Unit : CPU)

รูปที่ 18 CPU ของบริษัท Intel


เทคโนโลยีสารสนเทศ

17 เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน

การพั ฒ นาไมโครชิ ป ที่ ทํ า หน า ที่ เ ป น ไมโครโพรเซสเซอร มี ก ารกระทํ า อย า งต อ เนื่ อ งทํ า ให มี คอมพิวเตอรรุนใหม ๆ ี่ดีกวาเกิดขึ้นเสมอ จึงเปนการยากที่จะจําแนกชนิดของคอมพิวเตอรออกมาอยาง ชั ด เจน เพราะเทคโนโลยี ไ ด พั ฒ นาอย า งรวดเร็ ว ขี ด ความสามารถของคอมพิ ว เตอร ข นาดเล็ ก อาจมี ประสิทธิภาพสูงกวาคอมพิวเตอรขนาดใหญ แตอยางไรก็ตามพอจะจําแนกชนิดคอมพิวเตอรตามสภาพการ ทํางานของระบบเทคโนโลยีที่ประกอบอยูและสภาพการใชงานไดดังนี้ ไมโครคอมพิวเตอร (Microcomputer) คอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ (Desktop computer) เปนไมโครคอมพิวเตอรที่มี ขนาดเล็กถูกออกแบบ มาใหตั้งบนโตะ โนตบุคคอมพิวเตอร (Notebook computer) เปนไมโครคอมพิวเตอรที่มีขนาดเล็ก สามารถวางบน ตักได น้ําหนักประมาณ 1.5-3 กิโลกรัมจอภาพแสดงผลเปนแบบราบชนิดมีทั้งแบบแสดงผลสีเดียว หรือแบบ หลายสี โนตบุคที่มีขายทั่วไปมีประสิทธิภาพและความสามารถเหมือน กับแล็ปท็อป ปาลมท็อปคอมพิวเตอร (Palmtop computer) เปนไมโครคอมพิวเตอรสําหรับทํางานเฉพาะอยาง เชน เปนพจนานุกรม เปนสมุดจนบันทึกประจําวัน บันทึกการนัดหมายและการเก็บขอมูลเฉพาะบางอยาง ที่ สามารถพกพาติดตัวไปมาไดสะดวก มินิคอมพิวเตอร (Mini computer) มินิคอมพิวเตอรเปนเครื่องที่สามารถใชงานพรอม ๆ กันไดหลายคน จึงมีเครื่องปลายทางตอได นํามาใชสําหรับประมวลผลในงานสารสนเทศขององคการขนาดกลาง จนถึงองคการขนาดใหญที่มีการวาง ระบบเปนเครือขายเพื่อใชงานรวมกัน เชน งานบัญชีและการเงิน งานออกแบบทางวิศวกรรม งานควบคุมการ ผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม มินิคอมพิวเตอรเปนอุปกรณที่สําคัญในระบบเครือขายคอมพิวเตอรของ องคการที่เรียกวาเครื่องใหบริการ (Server) มีหนาที่ใหบริการกับผูใชบริการ (Client) เชน ใหบริการ แฟมขอมูล ใหบริการขอมูล ใหบริการชวยในการคํานวณ และการสื่อสาร เมนเฟรมคอมพิวเตอร (Mainframe computer) เมนเฟรมคอมพิวเตอรเปนเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญที่มีการพัฒนา มาตั้งแตเริ่มแรก เหตุที่เรียกวา เมนเฟรมคอมพิวเตอรเพราะตัวเครื่อง ประกอบดวยตูขนาดใหญที่ภายในตูมีชิ้นสวนและอุปกรณตาง ๆ อยู เปนจํานวนมาก แตอยางไรก็ตามในปจจุบันเมนเฟรมคอมพิวเตอรมี ขนาดลดลงมาก เมนเฟรมเปนเครื่องคอมพิวเตอรที่มีราคาสูงมาก มัก อยูที่ศูนยคอมพิวเตอรหลักขององคการ และตองอยูในหองที่มีการ ควบคุมอุณหภูมิและมีการดูแลรักษาเปนอยางดี บริษัทผูผลิตเมนเฟรม ได พั ฒนาขีดความสามารถของเครื่ องให สูงขึ้ น ข อเด นของการใช เมนเฟรมอยูที่งานที่ตองการใหมีระบบศูนยกลาง และกระจายการใช รูปที่ 19 เมนเฟรมคอมพิวเตอร


เทคโนโลยีสารสนเทศ

18 เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน

งานไปเปนจํานวนมาก เชน ระบบเอทีเอ็มซึ่งเชื่อมตอกับฐานขอมูลที่จัดการโดยเครื่องเมนเฟรมอยางไรก็ตาม ขนาดของเมนเฟรมและมินิคอมพิวเตอรก็ยากที่จะจําแนกจากกันใหเห็นชัด ปจจุบันเมนเฟรมไดรับความนิยมนอยลง ทั้งนี้เพราะคอมพิวเตอรขนาดเล็กมีประสิทธิภาพและ ความสามารถดี ขึ้น ราคาถูกลง ขณะเดียวกันระบบเครือขายคอมพิวเตอรก็ดีขึ้ นจนทําใหการใชงานบน เครือขายกระทําไดเหมือนการใชงานบนเมนเฟรม ซูเปอรคอมพิวเตอร (super computer) ซูเปอรคอมพิวเตอรเปนเครื่องคอมพิวเตอรที่เหมาะกับ งานคํานวณที่ตองมีการคํานวณตัวเลขจํานวนหลายลาน ตัวภายในเวลาอันรวดเร็ว เชน งานพยากรณอากาศ ที่ ตองนําขอมูลตาง ๆ เกี่ยวกับอากาศทั้งระดับภาคพื้นดิน และระดับชั้นบรรยากาศเพื่อดูการเคลื่อนไหวและการ เปลี่ ย นแปลงของอากาศ งานนี้ จํ า เป น ต อ งใช เ ครื่ อ ง คอมพิวเตอรที่มีสมรรถนะสูงมาก นอกจากนี้มีงานอีก เป น จํ า นวนมากที่ ต อ งใช ซู เ ปอร ค อมพิ ว เตอร ซึ่ ง มี รูปที่ 20 ซูเปอรคอมพิวเตอร ความเร็วสูง เชน งานควบคุมขีปนาวุธ งานควบคุมทาง อวกาศ งานประมวลผลภาพทางการแพทย งานดานวิทยาศาสตร โดยเฉพาะทางดานเคมี เภสัชวิทยา และงาน ดานวิศวกรรมการออกแบบ ซูเปอรคอมพิวเตอรทํางานไดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูงกวาคอมพิวเตอรชนิด อื่น การที่ซูเปอรคอมพิวเตอรทํางานไดเร็ว เพราะมีการพัฒนาใหมีโครงสรางการคํานวณพิเศษ เชนการ คํานวณแบบขนานที่เรียกวา เอ็มพีพี (Massively Parallel Processing: MPP) ซึ่งเปนการคํานวณที่กระทํากับ ขอมูลหลาย ๆ ตัวในเวลาเดียวกัน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.