การบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมนในเขตตำบลคูบางหลวงอำเภอลาดหลุมแก้วจังหวัดปทุมธานี

Page 1


การบริหารจัดการขยะมูลฝอย ในเขตตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี

ยุพา อยู่ยนื

การค้ นคว้ าอิสระนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชู ปถัมภ์ พ.ศ. 2555


COMMUNITY WASTE MANAGEMENT IN KUBANG LUANG SUBDISTRICT LAD LUM KAEO DISTRICT, PATHUM THANI PROVINCE

YUPA UYERN

AN INDEPENDENT STUDY SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS FOR THE DEGREE OF MASTER OF PUBLIC ADMINISTRATION IN PUBLIC ADMINISTRATION GRADUATE SCHOOL VALAYA ALONGKORN RAJABHAT UNIVERSITY UNDER THE ROYAL PATRONAGE 2012



ชื่อเรื่ องการศึกษาอิสระ

การบริ หารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน ในเขตตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ชื่อนักศึกษา ยุพา อยูย่ นื รหัสนักศึกษา 52B53330546 ปริ ญญา รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ ประธานที่ปรึ กษาการค้นคว้าอิสระ ศาสตราจารย์ ดร.อิมรอน มะลูลีม กรรมการที่ปรึ กษาการค้นคว้าอิสระ อาจารย์วลัยพร ชิณศรี ปี การศึกษา 2554 บทคัดย่อ การวิจยั ครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความรู ้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอย ของชุ มชน ศึ กษาลักษณะการจัดการขยะมู ลฝอยของชุ มชน และแนวทางพัฒนาการจัดการขยะมู ลฝอย ของชุ ม ชนในเขตต าบลคู บ างหลวง อ าเภอลาดหลุ ม แก้ ว จัง หวัด ปทุ ม ธานี ท าการศึ ก ษา จากกลุ่มตัวอย่างได้แก่ ประชาชนในตาบลคูบางหลวง จานวน 2 ชุ มชนคือ ชุ มชนหมู่ 3 บ้านคลองบางโพธิ์ เหนื อ และชุ มชนหมู่ 10 บ้านคูขวางมอญ จานวนทั้งสิ้ น 213 ครัวเรื อน โดยใช้สถิ ติค่าความถี่ ค่าร้ อยละ ค่าเฉลี่ย และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพแสดล้อมทัว่ ไปของชุ มชน ด้านการรับรู ้ขอ้ มูลข่าวสารการจัดการขยะมูลฝอยของ ประชาชนส่ วนใหญ่รับรู ้ ทางโทรทัศน์ รองลงมารั บรู ้ ทางหนังสื อพิ มพ์ ด้านปริ มาณขยะมูลฝอย ในครั วเรื อนบ้านต่ อวันมี จานวน 5-10 กิ โลกรั ม ต่ อวัน ปั จจุ บ นั มี ปริ ม าณขยะมูล ฝอยในปริ ม าณ เพิ่มขึ้น ประเภทขยะมูลฝอยในครัวเรื อนและชุมชนส่ วนใหญ่เป็ นถุงพลาสติก 2) รองลงมาเป็ นเศษอาหาร ผูน้ าชุ มชนมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนโดย เผยแพร่ ความรู ้และให้คาปรึ กษาการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกวิธีแก่ประชาชนในชุ มชน รองลงมาเป็ น แกนนาในการขอรับบริ การด้านการจัดการขยะมูลฝอยกับ อบต. คูบางหลวง และ อบต. คูบางหลวง มีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชน คือการเผยแพร่ ความรู ้และให้คาปรึ กษาการจัดการ ขยะมูลฝอยแก่ชุมชนต่างๆ ตลอดเวลา และรองลงมามีการลงพื้นที่ตรวจสอบการจัดการขยะมูลฝอย ของชุมชนเป็ นประจา


ข 3) ด้า นความรู ้ ค วามเข้า ใจในการจัด การขยะมู ล ฝอยของประชาชนอยู่ ใ นระดับ มาก ซึ่ งลัก ษณะการจัด การขยะมู ล ฝอยในด้า นพฤติ ก รรมการจัด การขยะมู ล ฝอยอยู่ ใ นระดับ น้อ ย แต่ประชาชนมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชนในระดับมาก ลักษณะของการจัดการ ขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชนพบว่าประชาชนมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย หรื อการคัด แยกขยะให้ถูกประเภทในระดับน้อย แต่ประชาชนมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชน ในระดับมากเพราะประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในระดับมากซึ่ งสะท้อนให้เห็นถึงวิถีการปฏิบตั ิ ตนของแต่ ล ะคนที่ ไ ม่ ส ร้ า งปั ญหาขยะมู ล ฝอยให้ก ับ ชุ ม ชน ถึ ง แม้จะไม่ ป ฏิ บ ตั ิ เป็ นประจาก็ ไ ม่ ก่อให้เกิดปั ญหาในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน 4) แนวทางพัฒนาการจัดการขยะมู ล ฝอยของชุ ม ชนที่ พ บได้แก่ 4.1) ควรก าหนดเวลา ที่เหมาะสมในการเก็บขนมูลฝอย 4.2) ควรมีการสร้างความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอย ที่ ถู ก ต้องแก่ ป ระชาชน 4.3) ควรมี ก ฎหมายควบคุ ม “ผูก้ ่ อมลพิษ เป็ นผูจ้ ่ า ย” 4.4) ควรรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ สร้ า งจิ ตส านึ กแก่ ประชาชน 4.5) ควรจัดกิ จกรรมส่ งเสริ มการมี ส่วนร่ วมในการ จัดการขยะมูลฝอยแก่ประชาชน 4.6) ควรคัดแยกและสร้ างสถานี ขนถ่ายขยะมูลฝอยขององค์การ บริ หารส่ วนตาบล 4.7) ควรกาจัดมูลฝอยโดยวิธีการเผา


Independent Study Title

Community Waste Management in Kubangluang Subdistrict, Lat Lum Kaeo District, Pathum Thani Province Student Yupa Uyern Student ID 52B53330546 Degree Master of Public Administration Field of Study Public Administration Independent Study Advisor Professor Dr. Imron Maluleem Independent Study Co-Advisor Walaiporn Chinasri Academic Year 2011 ABSTRACT The objective of this research was 1) to study the community’s level of knowledge and understanding concerning waste management 2) to study the characteristics of the waste management practices of the community and 3) provide guidelines to help develop waste management. The sample used consisted of 213 respondents from households in Kubangluang Subdistrict such as moo 3 Ban Klongpoo village and moo 10 Ban Kukwangmon. The tool used to collect the data was a questionnaire. The statistics used to analyze the data were percentage, mean and standard deviation. The findings were as follows : 1) The community acquired their information about community waste management from the television and newspapers. The amount of waste per household was currently 5-10 kilograms per day and these numbers were continually increasing. The main types of waste were plastic bags and food scraps. 2) It is the role of the village leader to participate in waste management including information dissemination, counseling the people and the community, doing site-visits and monitoring the waste management. 3) Although the people’s knowledge and understanding of waste management were high, they did not participate in waste management much. The people also did not generally categorize and separate the waste.


4) Some guidelines to help develop community waste management were given 4.1) trash collection should only be done at appropriate times 4.2) proper knowledge and understanding of waste management should be provided to the residents 4.3) a law stating that “polluters must pay� should be instituted 4.4) there should be a campaign to promote public awareness 4.5) activities to support participation in waste management should be setup 4.6) the waste should be separated by type and an SAO station should be built and 4.7) there should be some waste treatment done by burning. 5) Some recommendations followed this study 5.1) two bins should be provided to each household so that trash can de divided into wet and dry waste 5.2) activities should be set up to increase people’s knowledge of waste management 5.3) policies strictly enforcing waste management should be formulated 5.4) officers and waste collectors must operate following the set standards and procedures and 5.5) the executives should boost the officers morale and level of motivation.


สารบัญ หน้ า บทคัดย่อภาษาไทย...................................................................................................................... ก บทคัดย่อภาษาอังกฤษ................................................................................................................... ข กิตติกรรมประกาศ........................................................................................................................ ง สารบัญ......................................................................................................................................... จ สารบัญตาราง.............................................................................................................................. ช สารบัญแผนภาพ ....................................................................................................................... ฌ บทที่ 1 บทนา............................................................................................................................. 1 1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา..................................................................... 1 1.2 วัตถุประสงค์............................................................................................................... 2 1.3 กรอบแนวคิดการศึกษา............................................................................................. 3 1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ....................................................................................... 3 1.5 ขอบเขตการศึกษา....................................................................................................... 3 1.6 ข้อจากัดการวิจยั ......................................................................................................... 4 1.7 คาจากัดความที่ใช้ในการวิจยั ..................................................................................... 4 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง....................................................................................... 6 2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการบริ หารจัดการ.............................................................................. 6 2.2 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย....................................................................... 10 2.3 นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะมูลฝอย........................................................... 22 2.4 ข้อมูลทัว่ ไปและสภาพทัว่ ไปของตาบลคูบางหลวง................................................... 26 2.5 การบริ การจัดการขยะมูลฝอยในตาบลคูบางหลวง.................................................... 30 2.6 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง..................................................................................................... 31 บทที่ 3 วิธีการดาเนินการวิจยั ....................................................................................................... 39 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง........................................................................................ 39 3.2 เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจยั .................................................................................. 40 3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล.............................................................................................. 44 3.4 การวิเคราะห์ขอ้ มูล.................................................................................................... 44 3.5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล................................................................................. 44


สารบัญ (ต่ อ) หน้ า บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล....................................................................................................... 46 ส่ วนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่าง..............................................................................46 ส่ วนที่ 2 ข้อมูลสภาพแวดล้อมทัว่ ไปของชุมชน...............................................................50 ส่ วนที่ 3 ความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชน................ 54 ส่ วนที่ 4 ลักษณะการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชน................................... 55 ส่ วนที่ 5 ข้อเสนอแนะอื่น ๆ ..............................................................................................59 บทที่ 5 สรุ ป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ.................................................................................. 61 5.1 สรุ ปผลการศึกษา...................................................................................................... 61 5.2 การอภิปรายผล........................................................................................................ 65 5.3 ข้อเสนอแนะจากผูต้ อบแบบสอบถาม........................................................................ 70 5.4 ข้อเสนอแนะในการวิจยั ครั้งต่อไป............................................................................. 71 บรรณานุกรม.................................................................................................................................72 ภาคผนวก .....................................................................................................................................74 เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา..................................................................................................75 ประวัติผวู้ ิจยั ................................................................................................................................ 81


สารบัญตาราง ตารางที่ หน้ า 2.1 สรุ ปข้อเปรี ยบเทียบวิธีการกาจัดขยะมูลฝอย................................................................ 18 2.2 แสดงข้อมูลหมู่บา้ นและครัวเรื อนในเขตองค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง.......... 26 3.1 แสดงประชากรและกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามสัดส่ วนของจานวนครัวเรื อนของชุมชน 40 4.1 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละ ของข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามเพศ........ 46 4.2 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละ ของข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามอายุ........ 47 4.3 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละ ของข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตาม สถานภาพ..................................................................................................................... 47 4.4 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามระดับ การศึกษา...................................................................................................................... 48 4.5 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละ ของข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามอาชีพ.... 48 4.6 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละ ของข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามรายได้... 49 4.7 แสดงค่ า ความถี่ และค่ า ร้ อ ยละ ของข้อ มู ล ทั่ว ไปของกลุ่ ม ตัว อย่ า งจ าแนกตาม ระยะเวลาที่อาศัยในชุมชน......................................................................................... 49 4.8 แสดงค่ า ความถี่ และค่ า ร้ อยละของสภาพแวดล้อมในชุ ม ชนจาแนกตามการรั บ รู ้ 50 ข่าวสารการจัดการขยะมูลฝอย.................................................................................. 4.9 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของสภาพแวดล้อมในชุมชนจาแนกตามปริ มาณขยะ มูลฝอยต่อวัน................................................................................................................ 50 4.10 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของสภาพแวดล้อมในชุมชนจาแนกตามปริ มาณขยะ ในปัจจุบนั .................................................................................................................... 51 4.11 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของสภาพแวดล้อมในชุมชนจาแนกตามประเภทขยะ ในครัวเรื อน.................................................................................................................. 51 4.12 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของสภาพแวดล้อมในชุมชนจาแนกตามประเภทขยะ ในชุมชน....................................................................................................................... 52 4.13 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของสภาพแวดล้อมในชุมชนจาแนกตามผูน้ าชุมชน..... 52 4.14 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของสภาพแวดล้อมในชุมชนจาแนกตามการมีส่วนร่ วม ของ อบต.คูบางหลวง..................................................................................................... 53


ฉซ

สารบัญตาราง (ต่ อ) ตารางที่ หน้ า 4.15 แสดงค่าความถี่และค่าร้อยละของความรู ้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยของ ประชาชนในชุมชนหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 10...................................................................... 54 4.16 แสดงค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของ ประชาชนในชุมชนหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 10...................................................................... 55 4.17 แสดงค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูล ฝอยของประชาชนในชุมชนหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 10......................................................... 57 4.18 แสดงค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแนวทางในการจัดการขยะมูลฝอยของ องค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง.......................................................................... 58


สารบัญภาพ ภาพที่ หน้ า 2.1 แสดงขั้นตอนการจัดการขยะมูลฝอย.......................................................................... 18 2.2 แสดงแผนที่อาณาเขตการปกครองขององค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง........... 28 2.3 แสดงกรอบแนวคิดในการศึกษาวิจยั .......................................................................... 38


บทที่ 1 บทนำ 1.1 ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปัญหำ ในสภาวะปั จจุ บ ันประเทศไทยได้ใ ห้ ค วามส าคัญกับ ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้อ มเป็ นอย่า งมาก เนื่ อ งจากส่ ง ผลกระทบต่ อ คุ ณภาพชี วิต และสภาพความเป็ นอยู่ข องประชาชนทั้ง ทางตรงและ ทางอ้อม ปั ญหาสิ่ งแวดล้อมในประเทศไทยมี หลายประการ เช่ น มลพิษ ต่างๆ ขยะมูล ฝอยและ สิ่ งปฏิ กูล การใช้ทรัพยากรอย่างฟุ่ มเฟื อย ซึ่ งสาเหตุส่วนใหญ่เกิ ดจากการกระทาของมนุ ษย์ เป็ น ปั ญหาที่เกิ ดจากความเห็ นแก่ตวั มักง่ายและขาดระเบียบวินยั รวมถึ งการขยายตัวของชุ มชน และ ความหนานแน่นของประชากร เทคโนโลยีการผลิตสมัยใหม่ ตลอดจนลักษณะนิ สัยการบริ โภคของ ประชาชนในปั จจุบนั ก่อให้เกิดอัตราการเพิ่มปริ มาณของขยะมูลฝอยมากขึ้นไม่วา่ จะมาจากการใช้ สิ่ งของในชี วิตประจาวันของประชาชน การสร้างงานผลิตภัณฑ์ในโรงงานอุตสาหกรรมภาคต่างๆ หรื อแหล่งอื่น และการทิ้งไม่เป็ นที่เป็ นทางทาให้บา้ นเมืองไม่สวยงามและสิ่ งแวดล้อมเป็ นพิษ จาก ข้างต้นที่ได้กล่าวมานั้นล้วนก่อให้เกิดผลกระทบต่อการบริ หารจัดการขยะมูลฝอยที่ยงุ่ ยากและใช้ ระยะเวลายาวนาน เนื่ อ งจากขยะมู ล ฝอยมี ป ริ ม าณมากกว่า ที่ จ ะสามารถย่อ ยสลายได้เ องตาม ธรรมชาติ ทั้งยังส่ งผลในภาพรวมกลับสู่ สภาพแวดล้อมความเป็ นอยูใ่ นเขต วิธีการหนึ่ งที่จะช่วยให้การจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุ มชนเป็ นไปอย่างถูกต้อง และมีประสิ ทธิ ภาพก็คือให้ประชาชนมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับอันตราย และปั ญหาที่เกิดจากมูล ฝอย การสร้างจิตสานึก และทัศนะคติที่ทาให้ประชาชนมีพฤติกรรมเกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยอย่าง ถูก ต้อง และมี ป ระสิ ทธิ ภาพ ณ แหล่ ง กาเนิ ด การส่ ง เสริ ม หรื อกระตุ น้ ให้มี ก ารแยกมู ลฝอยและ หมุ นเวีย นใช้ใ หม่ อย่า งกว้า งขวาง ซึ่ ง จะเป็ นการลดจานวนมู ล ฝอยลงได้อีก วิธี หนึ่ ง แต่ จะต้อ ง ดาเนิ นการควบคู่ไปกับแผนการส่ งเสริ มให้คนในสังคมช่วยกันลดขยะมูลฝอย หลีกเลี่ ยงต่อการก่อ ขยะมูลฝอยเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริ โภควัสดุก่อมูลฝอยโดยไม่จาเป็ น การทาลายมูลฝอยโดย วิธีการฝังกลบและการเผานั้นในประเทศต่างๆ เล็งเห็นว่าเป็ นวิธีที่ไม่สามารถลดปริ มาณมูลฝอยที่ เพิ่มขึ้นเป็ นจานวนมากได้ บุคคลและหน่วยงานหลายฝ่ ายจึงพยายามหามาตรการต่างๆ เพื่อจัดทา นโยบายการจัดการขยะมูล ฝอยที่ เหมาะสม ซึ่ งต่า งเห็ นสอดคล้องกันว่า น่ าจะแก้ปัญหาโดยการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการก่อและทิ้งขยะมูลฝอยในส่ วนของผูผ้ ลิ ตและผูบ้ ริ โภค ด้วยการส่ งเสริ ม ให้หลีกเลี่ยงการก่อให้เกิดขยะมูลฝอยให้มากที่สุด พร้อมทั้งกระตุน้ ให้มีการลดปริ มาณขยะมูลฝอย และสนับสนุนการนาขยะมูลฝอยชนิดต่างๆ ไปหมุนเวียนใช้ประโยชน์ใหม่ให้มากขึ้น


2 ตาบลคูบางหลวงประกอบด้วย 12 หมู่บา้ น มีปริ มาณของเพิ่มขึ้นชัดเจน จาก พ.ศ. 2550 มี ปริ มาณขยะประมาณ 150 ตัน/เดือน และในปี 2551 มีปริ มาณขยะประมาณ 210 ตัน/เดื อน ในปี 2552 มีปริ มาณขยะประมาณ 270 ตัน/เดือน และในปี 2553 มีปริ มาณขยะประมาณ 360 ตัน/เดือน (ฐานข้อมูลจาก อบต.คูบางหลวง ปี 2553) จะพบว่าปริ มาณขยะมูลฝอยมีอตั ราการเพิ่มแบบทวีคูณ ดังนั้น วิธีหนึ่ งที่จะช่ วยลดปั ญหา และความรุ นแรงของปั ญหาขยะมูลฝอย ได้แก่ การรณรงค์ให้ ประชาชนมีความรู ้ ความเข้าใจ เกี่ ยวกับอันตราย และปั ญหาของขยะมูลฝอย สร้างจิตสานึ ก และ ทัศนคติในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องเกี่ยวกับการจัดการขยะในชุ มชน การคัดแยกขยะใน เบื้องต้น การทาขยะรี ไซเคิลใหม่ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มในชุมชน และลดปั ญหาขยะมูลฝอยในชุมชน องค์ก ารบริ หารส่ วนตาบลคู บ างหลวง มี ภารกิ จโดยตรงในการรั ก ษาความสะอาดของ ท้องถิ่น และจัดระเบียบในชุ มชน มีการส่ งเสริ มกิจกรรมด้านสิ่ งแวดล้อมในการจัดการขยะมูลฝอย เพื่อให้ชุมชนในตาบลคูบางหลวงมีความตระหนัก และสามารถคัดแยกขยะในเบื้องต้น ได้รู้จกั การ นาวัสดุ เหลื อใช้มารี ไซเคิล เพื่อประโยชน์ และสร้ างมูลค่าเพิ่มได้ในชี วิตประจาวัน สิ่ งสาคัญก็คือ ลดปริ ม าณขยะในชุ มชนที่ เป็ นสาเหตุ หลักของภาวะโลกร้ อน ผูท้ าการศึก ษา เป็ นพนักงานของ องค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง มีความสนใจที่จะศึกษาระดับความรู้ความเข้าใจในการจัดการ ขยะมูลฝอยของชุ มชนหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 10 ในเขตตาบลคูบางหลวงที่เข้าร่ วมโครงการคัดแยกขยะ มูลฝอยที่ องค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวงจัดทาขึ้น เพราะชุ มชนทั้ง 2 ชุ มชนมีความพร้อม มากกว่าชุ มชนอื่น ๆ ในพื้นที่ และศึกษาลักษณะและแนวทางพัฒนาการจัดการขยะมูลฝอยเพื่อใช้ เป็ นข้อ มู ล ในการพัฒ นารู ป แบบการจัด การขยะมู ล ฝอยให้ แ ก่ ชุ ม ชนต่ า ง ๆ ในเขต เพื่ อ สร้ า ง กระบวนการบริ หารจัดการที่ส่ งเสริ มการมี ส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชนต่าง ๆ ต่อไป 1.2 วัตถุประสงค์ ของกำรวิจัย 1.2.1 เพื่อศึกษาระดับความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนในในเขต ตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี 1.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาลัก ษณะการจัด การขยะมู ล ฝอยของชุ ม ชนในเขตต าบลคู บ างหลวง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี 1.2.3 เพื่ อศึ กษาแนวทางการพัฒนาการจัดการขยะมู ลฝอยของชุ มชนในเขตต าบลคู บางหลวง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี


3 1.3 กรอบแนวคิดกำรวิจัย ในการศึ ก ษาปั จจัย ที่ มี ผ ลต่อการจัดการขยะมู ลฝอยของชุ มชนในเขตตาบลคู บางหลวง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ได้ทาการศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ทาให้สามารถกาหนดกรอบแนวคิดการวิจยั ได้ดงั ต่อไปนี้ 1.3.1 สภาพแวดล้อมทัว่ ไปของการจัดการขยะมูลฝอย 1.3.1.1 การรับรู ้ขอ้ มูลข่าวสารเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย 1.3.1.2 ปริ มาณขยะมูลฝอยแต่ละวัน 1.3.1.3 ประเภทของขยะในบ้านเรื อนและชุมชน 1.3.1.4 ผูน้ าชุมชนการกับการจัดการขยะมูลฝอย 1.3.1.5 อบต. คูบางหลวงกับการจัดการขยะมูลฝอย 1.3.2 ความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชน 1.3.3 ลักษณะการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน 1.3.3.1 พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชน 1.3.3.2 รู ปแบบการมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชน 1.3.3.3 แนวทางพัฒนาการจัดการขยะมูลของในชุมชน 1.3.4 ข้อเสนอแนะอื่นๆ 1.4 ประโยชน์ ทคี่ ำดว่ำจะได้ รับจำกกำรวิจัย 1.4.1 ทาให้ทราบระดับความรู้ความเข้าใจของประชาชนในชุมชนในเขตตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี 1.4.2 ทาให้ทราบลักษณะการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนในเขตตาบลคูบางหลวง อาเภอ ลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี 1.4.3 ทาให้ทราบแนวทางพัฒนาการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน เพื่อนาไปปรับใช้ในการ บริ หารจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชนต่างๆ ในเขตความรับผิดชอบขององค์การบริ หารส่ วนตาบลคู บางหลวง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี 1.5 ขอบเขตของกำรวิจัย การศึ กษาวิจยั การบริ หารจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชนในเขตตาบลคู บางหลวง อาเภอลาด หลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานีในครั้งนี้ ดาเนินการภายใต้ขอบเขตการศึกษาวิจยั ดังต่อไปนี้


4 1.5.1 ขอบเขตด้านเนื้ อหา ได้แก่ ด้านสภาพแวดล้อมทัว่ ไปของชุ มชน ด้านความรู้ความ เข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน ด้านลักษณะการจัดการขยะมูลฝอย ได้แก่ พฤติกรรมการ จัดการขยะมูลฝอยของชุ มชน การมี ส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชน แนวทางการ พัฒนาการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน และด้านข้อเสนอแนะอื่นๆ 1.5.2 ขอบเขตด้านพื้นที่ ได้ทาการศึกษาวิจยั ในชุมชนจานวน 2 แห่ งในตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ซึ่ งได้แก่ ชุ มชนบ้านคลองบางโพธิ์ เหนื อ หมู่ที่ 3 และชุมชน บ้านคูขวางมอญ หมู่ที่ 10 ที่เข้าร่ วมโครงการคัดแยกขยะ 1.5.3 ขอบเขตด้านประชากร เป็ นประชาชนในชุมชน 2 แห่ งในเขตคูบางหลวง อาเภอลาด หลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี และชุมชนบ้านคูขวางมอญ ซึ่ งมีจานวนทั้งสิ้ น 456 ครัวเรื อน โดยทาการ สอบถามกลุ่มตัวอย่างจานวน 213 คน 1.5.4 ขอบเขตด้านระยะเวลา กาหนดระยะเวลาตั้งแต่เริ่ มศึกษาระบบงานเดิ ม ศึกษาหา เอกสาร แนวคิดทฤษฎีและผลงานวิจยั ที่เกี่ ยวข้อง การลงพื้นที่ การดาเนิ นการศึกษา การวิเคราะห์ สรุ ปผลข้อมูล การอภิปรายผลข้อมูลและการนาเสนอข้อมูล มีระยะเวลาทั้งสิ้ น 4 เดือน ตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน 2553– เดือนกุมภาพันธ์ 2554 1.6 ขอบเขตกำรวิจัย ตาบลคูบางหลวงมีท้ งั หมด 12 ชุ มชนแต่ผศู ้ ึกษาทาการศึกษาเฉพาะประชาชนผูอ้ าศัยอยูใ่ น ชุมชนเพียง 2 ชุ มชนเท่านั้นคือ ชุ มชนบ้านคลองบางโพธิ์ เหนื อ หมู่ที่ 3 และชุมชนบ้านคูขวางมอญ หมู่ที่ 10 เพราะเป็ นชุ มชนที่เข้าร่ วมโครงการคัดแยกขยะขององค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง และสามารถนาไปเป็ นตัวแบบในการจัดการขยะมูลฝอยให้แก่ชุมชนต่างๆ ในเขตตาบลคูบางหลวง ได้ต่อไป และการศึกษาวิจยั ในครั้งนี้เป็ นการศึกษาวิจยั เชิงปริ มาณ 1.7 คำจำกัดควำมทีใ่ ช้ ในกำรวิจัย ในการศึ กษาปั จจัยที่ มี ผ ลต่ อการจัดการขยะมูล ฝอยของชุ มชนในเขตตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุ มแก้ว จังหวัดปทุม ธานี มี การก าหนดนิ ยามศัพท์เฉพาะเพื่อความเข้าใจของการ ศึกษาวิจยั ดังนี้ การบริ หารจัดการ หมายถึง การจัดระเบียบทรัพยากรต่างๆ ในองค์การ และการประสาน กิ จกรรมต่า งๆ เข้าด้วยกันโดยอาศัยองค์ประกอบของการบริ หารจัดการประกอบไปด้ วยหลัก 4 ประการคือ คน, เงิ น, สิ่ งของ, และกระบวนการหรื อเทคนิ คการบริ หารจัดการเพื่อให้บรรลุ ตาม วัตถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้


5 ขยะมู ล ฝอย หมายถึ ง บรรดาสิ่ ง ต่ า งๆ ที่ เหลื อจากความจาเป็ นใช้ซ่ ึ ง ในขณะนั้นคนไม่ ต้องการ ทั้งนี้รวมตลอดถึงเศษผ้า เศษอาหาร มูลสัตว์ ซากสัตว์ เถ้า ฝุ่ นละออง และเศษวัสดุ สิ่ งของ ที่เก็บกวาดจากบ้านเรื อนที่อยูอ่ าศัย อาคาร ร้านค้า ถนน ตลาด โรงงานอุตสาหกรรมและอื่นๆ การจัดการขยะมูลฝอย หมายถึง หลักการในการเกี่ ยวข้องกับการควบคุ ม การทิ้งการเก็บ ชั่วคราว การรวบรวม การขนถ่ า ยและการขนส่ ง การแปลงรู ป และการก าจัด ขยะมู ล ฝอยโดย คานึงถึงผลประโยชน์สูงสุ ดในทางสุ ขอนามัย ความสวยงาม การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอย หมายถึง การใช้หลัก 5R ในการจัดการขยะมูลฝอย ซึ่ งการกาจัดขยะมูลฝอยแต่ละรู ปแบบก็มีขอ้ จากัดขึ้นอยู่กบั ลักษณะทางกายภาพและทางเคมีของ ขยะซึ่ งผูท้ ี่จะกาจัดขยะจะต้องพิจารณาก่อนว่าจะใช้รูปแบบใดจึงจะมีความเหมาะสม และไม่ส่งผล กระทบกับสิ่ งแวดล้อมภายหลัง นโยบายการจัดการขยะมูลฝอย หมายถึ ง การวางกรอบแนวทางปฏิบตั ิ กรอบรายละเอียด ต่างๆ ที่เกี่ยวกับการจัดการมูลฝอยโดยตรง ที่หน่วยการบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่นเป็ นผูก้ าหนดเอง ทั้งนี้ เพื่อความเหมาะสมกับสภาพท้องถิ่ นนั้นๆ และตรงกับเจตนารมณ์ของผูบ้ ริ หารของหน่วยการ บริ หารส่ วนท้องถิ่นด้วย พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย หมายถึง การปฏิบตั ิหรื อการกระทาของประชาชนที่ แสดงออกเป็ นกิจวัตรประจาวัน ในการทาให้ขยะมูลฝอยหมดไปจากที่พกั อาศัย เป็ นการดูแลความ สะอาดภายในครัวเรื อน โดยการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย การแยก การทาลาย การทิ้งขยะมูลฝอย ออกจากครัวเรื อน การนาขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ รวมถึงการแก้ปัญหาขยะมูลฝอยใน ครัวเรื อน ผูน้ าของชุ มชน หมายถึ ง แกนนาของชุ มชนที่ได้รับการจัดตั้งตามกฎหมายโดยประชาชน ในชุมชนเป็ นผูเ้ ลือกผ่านระบบเลือกตั้งในชุมชน เป็ นตัวแทนของประชาชนในชุ มชนในการเข้าร่ วม รับนโยบายการบริ หารจัดการงานของทางราชการในด้านต่างๆ


บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง ในการวิจยั เรื่ องการบริ หารจัดการขยะมูล ฝอยของชุ มชนในเขตตาบลคูบางหลวง อาเภอ ลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ในครั้งนี้ ผูว้ ิจยั ได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฏี เอกสารงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง และได้เสนอตามหัวข้อต่อไปนี้ 2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการบริ หารจัดการ 2.2 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย 2.3 นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะมูลฝอย 2.4 ข้อมูลทัว่ ไปและสภาพของตาบลคูบางหลวง 2.5 การบริ การจัดการขยะมูลฝอยในตาบลคูบางหลวง 2.6 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 2.1 แนวคิดเกีย่ วกับการบริหารจัดการ ความหมายของการบริ หารและการบริ หารจัดการมีนกั วิชาการได้ให้ความหมายไว้ หลากหลาย ดังต่อไปนี้ 2.1.1 ความหมายของการบริ หารและการบริ หารจัดการ 2.1.1.1 ความหมายของการบริ หาร สมพงศ์ เกษมสิ น (2523) กล่าวไว้ว่า คาว่า การบริ หารนิ ยมใช้กบั การบริ หาร ราชการ หรื อ การจัด การเกี่ ย วกับ นโยบาย ซึ่ งมี ศ ัพ ท์บ ัญ ญัติ ว่า รั ฐ ประศาสนศาสตร์ (Public Administration) และคาว่า การจัดการ (Management) นิ ยมใช้กบั การบริ หารธุ รกิจเอกชน หรื อการ ดาเนินการตามนโยบายที่กาหนดไว้ สมพงศ์ เกษมสิ น ยังให้ความหมายการบริ หารไว้วา่ การบริ หารมี ลักษณะเด่นเป็ นสากลอยูห่ ลายประการ ดังนี้ 1) การบริ หารย่อมมีวตั ถุประสงค์ 2) การบริ หารอาศัยปัจจัยบุคคลเป็ นองค์ประกอบ 3) การบริ หารต้องใช้ทรัพยากรการบริ หารเป็ นองค์ประกอบพื้นฐาน 4) การบริ หารมีลกั ษณะการดาเนินการเป็ นกระบวนการ 5) การบริ หารเป็ นการดาเนินการร่ วมกันของกลุ่มบุคคล


7 6) การบริ ห ารอาศัย ความร่ ว มมื อ ร่ ว มใจของบุ ค คล กล่ า วคื อ ความร่ ว มใจ (Collective Mind) จะก่อให้เกิดความร่ วมมือของกลุ่ม (Group Cooperation) อันจะนาไปสู่ พลังของ กลุ่ม (Group Effort) ที่จะทาให้บรรลุวตั ถุประสงค์ 7) การบริ หารมีลกั ษณะการร่ วมมือกันดาเนินการอย่างมีเหตุผล 8) การบริ ห ารมี ล ัก ษณะเป็ นการตรวจสอบผลการปฏิ บ ัติง านกับ วัตถุ ป ระสงค์ 9) การบริ หารไม่มีตวั ตน (Intangible) แต่มีอิทธิ พลต่อความเป็ นอยูข่ องมนุษย์ อนันต์ เกตุ วงศ์ (2523) ให้ค วามหมายการบริ หาร ว่า เป็ นการประสานความ พยายามของมนุษย์ (อย่างน้อย 2 คน) และทรัพยากรต่างๆ เพื่อทาให้เกิดผลตามต้องการ ไพบูลย์ ช่างเรี ยน (2532) ให้ความหมายการบริ หารว่า หมายถึง ระบบที่ประกอบ ไปด้วยกระบวนการในการนาทรัพยากรทางการบริ หารทั้งทางวัตถุและคนมาดาเนิ นการเพื่อบรรลุ วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล วิรัช วิรัชนิภาวรรณ (2545) มีความเห็นว่า การบริ หารในฐานะที่เป็ นกระบวนการ หรื อกระบวนการบริ หาร เกิดได้จากหลายแนวคิด เช่น โพสคอร์ บ (POSDCoRB) เกิ ดจากแนวคิด ของ ลูเทอร์ กูลิค (Luther Gulick) และ ลินดอล เออร์ วิค (Lyndall Urwick) ประกอบด้วยขั้นตอน การบริ หาร 7 ประการ ได้แก่ 1) การวางแผน (Planning) 2) การจัดองค์การ (Organizing) 3) การบริ หารงานบุคคล (Staffing) 4) การอานวยการ (Directing) 5) การประสานงาน (Coordinating) 6) การรายงาน (Reporting) 7) การงบประมาณ (Budgeting) ขณะที่ ก ระบวนการบริ ห ารตามแนวคิ ด ของ เฮ็ น รี ฟาโยล (Henry Fayol) ประกอบด้วย 5 ประการ หรื อรวมเรี ยกว่า พอคค์ (POCCC) ได้แก่ 1) การวางแผน (Planning) 2) การจัดองค์การ (Organizing) 3) การบังคับการ (Commanding) 4) การประสานงาน (Coordinating) 5) การควบคุมงาน (Controlling)


8 2.1.2 ความหมายของการบริ หารจัดการ แฮร์ โรลด์ คูนตซ์ (Koontz,2523) ให้ความหมายของการจัดการ หมายถึง การ ดาเนิ นงานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้โดยอาศัยปั จจัยทั้งหลาย ได้แก่ คน เงิน วัสดุสิ่งของ เป็ น อุปกรณ์การจัดการนั้น ธงชัย สันติวงษ์ (2543) กล่าวถึ งลักษณะของงานบริ หารจัดการไว้ 3 ด้าน คือ 1) ในด้านที่เป็ นผูน้ าหรื อหัวหน้างาน งานบริ หารจัดการ หมายถึง ภาระหน้าที่ของบุคคลใดบุคคล หนึ่งที่ปฏิบตั ิตนเป็ นผูน้ าภายในองค์การ 2) ในด้านของภารกิจหรื อสิ่ งที่ตอ้ งทา งานบริ หารจัดการ หมายถึง การจัดระเบียบ ทรัพยากรต่างๆ ในองค์การ และการประสานกิจกรรมต่างๆ เข้าด้วยกัน 3) ในด้านของความรับผิดชอบ งานบริ หารจัดการ หมายถึง การต้องทาให้งาน ต่างๆ สาเร็ จลุล่วงไปด้วยดีดว้ ยการอาศัยบุคคลต่างๆ เข้าด้วยกัน วิรัชนิภาวรรณ (2548) กล่าวไว้วา่ การบริ หารจัดการ (Management Administration) การบริ หารการพัฒนา (Development Administration) แม้กระทั่งการบริ หารการบริ การ (Service Administration) แต่ละคามี ความหมายคล้ายคลึ งหรื อใกล้เคี ยงกันที่ เห็ นได้อย่างชัดเจนมี อย่างน้อย 3 ส่ วน คือ 1. ล้ว นเป็ นแนวทางหรื อ วิ ธี ก ารบริ ห ารงานภาครั ฐ ที่ ห น่ ว ยงานของรั ฐ และ/ หรื อ เจ้า หน้า ที่ ข องรั ฐ นามาใช้ใ นการปฏิ บ ตั ิ ราชการเพื่ อ ช่ วยเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภาพในการบริ หาร ราชการ 2. มีกระบวนการบริ หารงานที่ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ การคิด (Thinking) หรื อ การวางแผน (Planning) การดาเนินงาน (Acting) และการประเมินผล (Evaluating) 3. มีจุดหมายปลายทาง คือ การพัฒนาประเทศไปในทิศทางที่ทาให้ประชาชนมี คุ ณภาพชี วิตที่ ดีข้ ึ น รวมทั้งประเทศชาติ มีความเจริ ญก้าวหน้าและมัน่ คงเพิ่มขึ้ น สาหรับส่ วนที่ แตกต่างกัน คือ แต่ละคามีจุดเน้นต่างกัน กล่าวคือ การบริ หารจัดการเน้นเรื่ องการนาแนวคิดการ จัดการของภาคเอกชนเข้ามาใช้ในการบริ หารราชการ เช่น การมุ่งหวังผลกาไร การแข่งขัน ความ รวดเร็ ว การตลาด การประชาสัมพันธ์ การจูงใจด้วยค่าตอบแทน การลดขั้นตอน และการลดพิธีการ เป็ นต้น ในขณะที่การบริ หารการพัฒนาให้ความสาคัญเรื่ องการบริ หารรวมทั้งการพัฒนานโยบาย แผน แผนงาน โครงการ (Policy, Plan, Program, Project) หรื อกิจกรรมของหน่วยงานของรัฐ ส่ วน การบริ หารการบริ การเน้นเรื่ องการอานวยความสะดวกและการให้บริ การแก่ประชาชน


9 2.1.3 องค์ประกอบของการบริ หารจัดการ วิ รั ช นิ ภาวรรณ (2548) ได้ แบ่ งองค์ ประกอบของการบริ หารจัดการ โดยครอบคลุ ม เรื่ องต่าง ๆ เช่น (1) การบริ หารนโยบาย (Policy) (2) การบริ หารอานาจหน้าที่ (Authority) (3) การบริ หารคุณธรรม (Morality) (4) การบริ หารที่เกี่ยวข้องกับสังคม (Society) (5) การวางแผน (Planning) (6) การจัดองค์การ (Organizing) (7) การบริ หารทรัพยากรมนุษย์ (Staffing) (8) การอานวยการ (Directing) (9) การประสานงาน (Coordinating) (10) การรายงาน (Reporting) และ (11) การงบประมาณ (Budgeting) เช่ นนี้ เป็ นการนา “กระบวนการบริ หาร” หรื อ “ปั จจัย ที่ มีส่ วนส าคัญต่ อการ บริ หาร” ที่เรี ยกว่า แพ็มส์ -โพสคอร์ บ (PAMS-POSDCoRB) แต่ละตัวมาเป็ นแนวทางในการให้ ความหมายพร้อมกันนี้ อาจแบ่งองค์ประกอบของการบริ หารจัดการได้อีก โดยครอบคลุมเรื่ องต่าง ๆ เช่น (1) การบริ หารคน (Man) (2) การบริ หารเงิน (Money) (3) การบริ หารวัสดุอุปกรณ์ (Material) (4) การบริ หารงานทัว่ ไป (Management) (5) การบริ หารการให้บริ การประชาชน (Market) (6) การบริ หารคุณธรรม (Morality) (7) การบริ หารข้อมูลข่าวสาร (Message) (8) การบริ หารเวลา (Minute) (9) และการบริ หารการวัดผล (Measurement) เช่นนี้ เป็ นการนา “ปั จจัยที่มีส่วนสาคัญต่อการบริ หาร” ที่เรี ยกว่า 9M แต่ละตัวมา เป็ นแนวทางในการให้ความหมาย


10 กล่ าวโดยสรุ ปว่า องค์ประกอบของการบริ หารจัดการประกอบไปด้วยหลัก 4 ประการ คือ คน , เงิน , สิ่ งของ , และกระบวนการหรื อเทคนิคการบริ หารจัดการ ที่ผบู ้ ริ หารแต่ละ คนนาไปในในกระบวนการทางานเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้ 2.2 แนวคิดเกีย่ วกับการจัดการขยะมูลฝอย 2.2.1 ความหมายของขยะมูลฝอย พระราชบัญญัติการสาธารณสุ ข พ.ศ. 2535 ให้ความหมายของคาว่า “ขยะ” (Waste) หมายถึง สิ่ งของเหลื อทิ้งจากกระบวนการผลิตและอุปโภคซึ่ งเสื่ อมสภาพจนใช้การไม่ได้หรื อไม่ ต้องการใช้แล้ว บางชนิดเป็ นของแข็งหรื อกากของเสี ย (Solid Waste) มีผลเสี ยต่อสุ ขภาพทางกาย และจิตใจเนื่องจากความสกปรก เป็ นแหล่งเพาะเชื้ อโรคทาให้เกิ ดมลพิษและทัศนะอุจาด มูลฝอย (Solid Waste) ส่ วนคาว่า “มูลฝอย” หมายความว่า เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสิ นค้า ถุงพลาสติก ภาชนะที่ใส่ อาหาร เถ้า มูลสัตว์ หรื อซากสัตว์ รวมตลอดถึงสิ่ งอื่นใดที่เก็บกวาดจาก ถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์หรื อที่อื่น พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานฉบับ พ.ศ. 2525 (อ้างถึงใน พรรณศิริ ศิริพนั ธุ์, 2546: 32) ให้ความหมายของ “ขยะ” ว่าหมายถึง หยากเยื่อ มูลฝอย และได้บญั ญัติความหมายของ มูลฝอยว่า หมายถึง เศษสิ่ งของที่ทิ้งแล้ว ดังนั้น คาว่าขยะมูลฝอยจึงมีความหมายเหมือนกัน จึงใช้ แทนกันได้ มหาวิท ยาลัย สุ โขทัยธรรมาธิ ราช (อ้างถึ งใน พรรณศิ ริ ศิ ริพ ันธุ์ , 2546: 32) ให้ ความหมายของคาว่า “ขยะมูลฝอย” หมายถึ ง บรรดาสิ่ งของที่ไม่ตอ้ งการใช้แล้ว ซึ่ งส่ วนใหญ่เป็ น ของแข็งจะเน่าเปื่ อยได้หรื อไม่ก็ตาม รวมตลอดถึง เถ้า ซากสัตว์ มูลสัตว์ ฝุ่ นละออง และเศษวัสดุ ที่ทิ้งแล้วจากที่ พกั อาศัยสถานที่ ต่างๆ รวมถึ งสถานที่สาธารณะ ตลาดและโรงงานอุตสาหกรรม ยกเว้นอุจจาระและปั สสาวะของมนุษย์ ซึ่ งเป็ นสิ่ งปฏิกลู ที่ตอ้ งการการเก็บและกาจัดที่แตกต่างกัน จึงสรุ ปได้ว่า “ขยะมูลฝอย” หมายถึ ง เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร ภาชนะที่ใส่ อาหาร เถ้า มูลหรื อซากสัตว์ที่เหลือใช้ ที่ไม่ตอ้ งการใช้แล้ว ที่เก็บกวาดจากที่ต่างๆ ซึ่ งมักอยูร่ ู ปที่เป็ น ของแข็ง ยกเว้นอุจจาระและปั สสาวะ ซึ่ งเป็ นสิ่ งปฏิกลู 2.2.2 แหล่งกาเนิดของขยะมูลฝอย กรมส่ งเสริ มการปกครองท้องถิ่น (ม.ป.ป.) ให้รายละเอียดของแหล่งกาเนิ ดขยะมูล ฝอยว่าเกิ ดขึ้นจากกิ จกรรมต่างๆ ในครัวเรื อนและสถานประกอบการต่างๆ ในชุมชน เป็ นขยะมูล ฝอยที่เก็บรวบรวมได้จากสถานที่ทิ้งขยะต่างๆ เช่ น มาจากแหล่งชุ มชนหรื ออาคาร บ้านเรื อน ขยะ


11 จากร้านอาหาร วัสดุ ที่ใช้หีบห่ อ, มาจากการทาความสะอาดทางเท้าที่สาธารณะหรื อตลาด, และมา จากโรงงานอุตสาหกรรมหรื อแหล่งพาณิ ชย์ ซึ่ งมีลกั ษณะคล้ายคลึงกับลักษณะข้างต้น ธเนศ ศรี สถิตย์ (2534) กล่าวถึงที่มาของขยะมูลฝอยและของไม่ใช้แล้ว โดยแหล่งกาเนิ ด ย่อมมีความสัมพันธ์กนั กับชุมชน ซึ่ งอาจจาแนกแหล่งที่มาได้ดงั นี้ 1. ที่อยูอ่ าศัย 2. ย่านธุ รกิจ การค้า ตลาด 3. สถานที่ราชการ สถานบันต่าง ๆ และห้องปฏิบตั ิการทดลองทางวิทยาศาสตร์ 4. สถานพยาบาล โรงพยาบาล 5. บริ เวณเกษตรกรรม 6. บริ เวณที่พกั ผ่อน สถานที่ท่องเที่ยว และถนน กรมควบคุ ม มลภาวะ กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้อ ม ได้ก ล่ า วถึ ง แหล่งกาเนิดของขยะมูลฝอยไว้วา่ ประกอบไปด้วย 1. ชุมชนพักอาศัย เช่น บ้านเรื อน และอาคารชุด 2. ย่านการค้าและสถานบริ การ เช่น ตลาดร้านค้า ธนาคาร ห้างสรรพสิ นค้า 3. สถานที่ราชการ ศาสนสถาน โรงเรี ยน 4. โรงพยาบาล 5. โรงงานอุตสาหกรรม 2.2.3 ประเภทของขยะมูลฝอย กรมควบคุมมลภาวะ กระทรวงทรัพ ยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ได้แบ่งประเภทตาม เกณฑ์ของขยะ เช่ น ขยะเปี ยกกับขยะแห้งหรื อขยะที่สามารถกลับมาใช้ได้อีกกับขยะที่ตอ้ งกาจัด เป็ นต้น ในที่น้ ีขอแบ่งประเภทขยะออกเป็ น 4 ประเภท ดังนี้ 1. ขยะทัว่ ไป (General Waste) เป็ นขยะจากสานักงาน ถนนหนทาง การก่อสร้าง ได้แก่ กระดาษ เศษไม้ กิ่งไม้ ฟาง ข้าว แก้ว กระเบื้อง ยาง เศษอิฐ กรวด ทราย ถุงพลาสติก เศษปูน อิฐหัก หิ น ทราย ขยะประเภทนี้ไม่เกิดการย่อยสลายและเน่าเหม็น การกาจัดขยะทัว่ ไป ควรคัดแยกขยะที่สามารถนามาใช้ใหม่ได้ก่อนการกาจัด 2. ขยะอินทรี ย ์ (Organic Waste) เป็ นขยะจากครัวเรื อน ภัตตาคาร โรงอาหาร ตลาดสด และการเกษตรกรรม ได้แก่ เศษอาหาร เศษผัก เศษเนื้ อ เศษผลไม้ ซากสัตว์ มูลสัตว์ ขยะประเภทนี้ จะเป็ นพวกที่ ย่อยสลายและเน่ าเปื่ อยได้ง่าย เพราะว่าเป็ นสารประกอบอิ นทรี ยท์ ี่ มี ความชื้นค่อนข้างสู ง ประกอบกับขยะประเภทนี้ มีกลิ่นเหม็น การกาจัดขยะประเภทนี้ ควรพิจารณา ความเป็ นไปได้ในการหมักทาปุ๋ ยก่อน


12 3. ขยะอุตสาหกรรม (Industrrial Waste) เป็ นเศษวัสดุ ที่เกิ ดจากการผลิ ตหรื อ ขั้นตอนการผลิ ตของโรงงานอุ ตสาหกรรม อาจเป็ นสารอิ นทรี ยท์ ี่ เน่ าเปื่ อยซึ่ งขึ้นอยู่กบั ชนิ ดของ อุ ตสาหกรรม ซากยานพาหนะที่ หมดสภาพการใช้ง านหรื อใช้ง านไม่ ไ ด้แล้ว รวมทั้ง ชิ้ นส่ ว น ประกอบของยานพาหนะด้วย เช่ น ยาง แบตเตอรี่ เป็ นต้น ในการกาจัดควรพิจารณาการแยก ชิ้นส่ วนที่ยงั สามารถนากลับมาใช้ได้ 4. ขยะติดเชื้ อและขยะอันตราย (Hazardous Waste) เป็ นขยะจากสถานพยาบาล หรื ออื่นๆ ซึ่ ง ต้องใช้ก รรมวิธีใ นการท าลายเป็ นพิ เศษ ได้แก่ วัส ดุ ที่ ผ่า นการใช้ใ นโรงพยาบาล แบตเตอรี่ กระป๋ องสี พลาสติ ก ฟิ ล์ม ถ่ า ยรู ป ถ่ า นไฟฉาย เป็ นต้น การก าจัดขยะติ ดเชื้ อจาก โรงพยาบาลจะทาลายโดยการเผาในเตาเผา ส่ วนขยะอันตรายอื่น ๆ ต้องดาเนินการอย่างระมัดระวัง สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่มที่ 15 ได้แบ่งประเภทของขยะมูลฝอยไว้ 5 ประเภท ได้แก่ 1. เศษอาหารและพืชผัก ที่เหลือจากการรับประทานและการประกอบอาหาร 2. เศษแก้ว เศษกระเบื้องเศษวัสดุก่อสร้าง เช่น ไม้ อิฐ หินและอื่น ๆ 3. วัสดุชิ้นใหญ่ เช่น รถจักรยานพัง หรื อเครื่ องไฟฟ้ าที่ใช้การไม่ได้ ฯลฯ 4. วัสดุที่มีสารพิษ เช่น หลอดไฟ หลอดนีออน แบตเตอรี่ ที่ใช้การไม่ได้ วัสดุติด เชื้อต่าง ๆ เช่น ขยะมูลฝอยที่เก็บได้จากโรงพยาบาล และวัสดุสารเคมีจากโรงงาน เป็ นต้น 5. วัสดุที่ยงั มีสภาพดี เช่น กระดาษหนังสื อพิมพ์ กล่องกระดาษ ขวดที่ไม่แตก ขยะ มูลฝอยประเภทนี้ อาจนาไปขายต่อได้ 2.2.4 รู ปแบบการกาจัดขยะมูลฝอย สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่มที่ 15 ให้รายละเอียดของการกาจัดขยะมูลฝอยที่ใช้อยูใ่ นปั จจุบนั ประกอบด้วย 4 รู ปแบบ ดังนี้ คือ 1. การหมักทาปุ๋ ย (Composting) คือ การย่อยสลายอินทรี ยวัตถุที่มีอยูใ่ นขยะมูล ฝอยโดยอาศัย ขบวนการทางชี วเคมี ข องจุ ลิ น ทรี ย ์ ภายใต้ส ภาวะที่ เ หมาะสมในด้า นความชื้ น อุณหภูมิ ประมาณ ออกซิ เจน รวมทั้งอัตราส่ วนระหว่างคาร์ บอนและไนโตรเจน ทาให้ได้แร่ ธาตุที่ ค่อนข้างคงรู ปมีคุณค่าต่อการบารุ งดิน 2. การนาไปเผา (Incineration) ที่ถูกหลักสุ ขาภิบาลเป็ นขบวนการเผาไหม้ของเสี ย ทั้งส่ วนที่ของ เหลวและก๊าซ ซึ่ งต้องใช้ความร้อนสู งเพื่อทาให้การเผาไหม้เป็ นไปอย่างสมบูรณ์ไม่ ทาให้เกิดกลิ่นและควันรบกวนรวมทั้งไม่ทาให้เกิดปั ญหาด้านมลภาวะทางอากาศ


13 3. การฝังกลบอย่างถูกหลักสุ ขาภิบาล (Sanitary Landfill) การฝังกลบขยะมูลฝอย อย่างถูกหลักสุ ขาภิบาลเป็ นวิธีการที่ควบคุมและดูแลได้ง่ายกว่า 2 วิธีขา้ งต้น โดยการฝังกลบนี้ ขยะ มูลฝอยจะถูกนามาเทกองบนพื้นที่ได้เตรี ยมไว้แล้วใช้เครื่ องจักรกลบดอัดให้แน่นสลับกันไป ซึ่ งจะ ทาให้เกิ ดลักษณะเป็ นชั้นและมีความสู งเพิ่มมากขึ้นตามระดับที่กาหนดไว้ ซึ่ งชั้นความสู งของการ กลบนี้จะขึ้นอยูก่ บั สภาพของภูมิประเทศของพื้นที่ที่ใช้ในการฝังกลบ 4. การลดปริ มาณและการคัดแยก การกาจัดด้วยวิธีน้ ี ไม่ใช่การกาจัดขยะมูลฝอยที่ สมบูรณ์ เพราะหลังจากลดปริ มาณของขยะมูลฝอยลงได้แล้ว ส่ วนที่ เหลื อยังต้องนาไปฝั งกลบ หรื อเผา เพียงแต่ปริ มาณของขยะมูลฝอยที่ตอ้ งกาจัดนั้นมีน้อยลงทาให้ประหยัดงบประมาณ พื้นที่ และพลังงาน นอกจากนี้ ยงั เป็ นการอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและเพิ่มรายได้อีกด้วย โดยปริ มาณ ของขยะมูลฝอยจะลดลงได้ดว้ ยการทาให้มนั เกิดขึ้นน้อยลง การลดปริ มาณขยะมูลฝอยจะเกิดขึ้นได้ มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กบั ความร่ วมมือของหลายๆ ฝ่ าย คือ ฝ่ ายรัฐบาล ผูป้ ระกอบการ ตลอดจน ประชาชนทุกคน แต่ละฝ่ ายจะมีหน้าที่และความรับผิดชอบแตกต่างกันออกไป จารู ญ นาสมุทร (อ้างถึงใน กรมส่ งเสริ มคุณภาพสิ่ งแวดล้อม, 2542) ได้กาหนดวิธีกาจัด ขยะมูลฝอยที่เหมาะกับชุมชน ดังนี้ 1. การนาขยะมูลฝอยไปทิ้ง (Dumping) มีหลายวิธีคือ 1.1 ทิ้งบนดิน (Dumping on Land) การนาขยะมูลฝอยไปทิ้งบนดิ น ส่ วนใหญ่นิยมใช้ถมที่ ลุ่ มเพราะวิธี น้ ี เป็ นวิธี ที่ง่ ายที่ สุดและราคาถู กอี กด้วย โดยหลัก เกณฑ์แล้ว วิธีการนาขยะมาถมที่ลุ่มนั้นจะใช้ได้ผลดี กบั ขยะบางชนิ ด เช่ น เศษอิฐ หิ นกรวด ทราย แก้ว โลหะ และวัสดุอื่น ๆที่ไม่ยอ่ ยสลาย ส่ วนขยะพวกเศษอาหาร พืช ซึ่ งเป็ นขยะที่สลายตัวได้ง่ายจะไม่เหมาะ เพราะจะเกิดการบูดเน่า ส่ งกลิ่นรบกวนแก่ผทู ้ ี่อยูใ่ กล้เคียง 1.2 การนาขยะไปทิ้งทะเล (Disposal at Sea) เป็ นที่กาจัดขยะมูลฝอยวิธี หนึ่ งที่สามารถกาจัดขยะได้ทุกชนิ ด แต่การนาไปทิ้งควรจะให้ห่างจากฝั่ งอย่างน้อย 8 กิ โลเมตร โดยใช้เรื อบรรทุกขยะไปทิ้ง แต่ปัจจุบนั ไม่นิยมเพราะมีขอ้ เสี ยมากกว่าข้อดี 2. การกาจัดขยะแบบเผาในเตาด้วยความร้ อนสู ง (High Temperature Incine ration) เป็ นวิธีการกาจัดที่ ถูกหลักสุ ขาภิ บาลที่ ดีที่สุดวิธีหนึ่ ง ถ้าหากว่าโรงงานเผาขยะได้รับการ ออกแบบและดาเนิ นการที่เหมาะสม จะช่ วยให้การเผามีประสิ ทธิ ภาพดี พวกจุลินทรี ยท์ ุกชนิ ดจะ ถูกทาลายหมด การกาจัดขยะวิธีน้ ี เหมาะกับชุ มชนขนาดใหญ่มีพลเมืองเกินกว่า 100,000 คนขึ้นไป เช่น กรุ งเทพมหานคร เชี ยงใหม่ ขอนแก่น เป็ นต้น วิธีน้ ี เป็ นที่นิยมในกลุ่มประเทศในยุโรป ญี่ปุ่น เป็ นการลงทุนสู ง แต่เมื่อเทียบกับราคาที่ดินที่สูงกว่าก็นบั ว่าคุ ม้ ค่ากับการลงทุน และยังช่ วยขจัด ปั ญหามลภาวะสิ่ งแวดล้อมของน้ า ดิน อากาศ เป็ นอย่างดี


14 3. การฝังที่ถูกหลักสุ ขาภิบาล (Sanitary Landfill) การกาจัดขยะโดยวิธีการฝังดิน เป็ นวิธีการที่ดีกว่าปล่อยให้ขยะกองอยูบ่ นดิน จะช่วยลดอันตรายต่างๆ และยังสามารถกาจัดขยะได้ ทุกชนิดโดยไม่ตกค้างบนดิน และยังช่วยกาจัดเศษขยะที่เหลือตกค้างจากรรมวิธีอื่นๆ เช่น การหมัก เป็ นปุ๋ ย การเผา สิ่ งที่เหลื อและไม่ย่อยสลายก็ตอ้ งนาไปกาจัดโดยการฝั งกลบ วิธีการกาจัดโดยวิธี กลบที่ถูกวิธีดาเนิ นการดังนี้ คือ บดด้วยเครื่ องจักร เพื่อให้ขยะยุบตัวมีความหนาแน่นมากขึ้น เสร็ จ แล้วขยะจะทาเป็ นชั้นบาง ๆ หนาชั้นละประมาณ 0.50 เมตร การบดอัดชั้นบางๆ นี้ จะทับกันต่อเนื่ อง หนาขึ้นเรื่ อย ๆ จนได้ความหนาของชั้นขยะตามที่กาหนด 1 ชั้น ซึ่ งโดยทัว่ ไปจะหนาชั้นละประมาณ 2.0 – 3.0 เมตร การเลื อกสถานที่กาจัดมีความสาคัญต่อระบบการจัดการขยะโดยเฉพาะอย่างยิ่งต่อ ระบบการขนส่ งและระบบการกาจัด การเลือกสถานที่กาจัดต้องคานึงถึงสิ่ งสาคัญดังต่อไปนี้ 3.1 สถานที่ต้ งั และระยะห่างจากจุดกาเนิดขยะ 3.2 ขนาดของที่ดินที่ใ ช้เป็ นที่ กาจัด จะต้องมี ขนาดเพี ยงพอใช้งานได้ นาน 20 – 30 ปี 3.3 สภาพภูมิประเทศ 3.4 ลักษณะการระบายน้ าผิวดิน 3.5 ลักษณะดิน 4. การกาจัดขยะแบบหมักขยะมูลฝอยทาเป็ นปุ๋ ยโรงงาน (Composting) เป็ นอีก วิธีหนึ่งที่เหมาะสม และนิยมทาต่อเนื่องกันมาจนถึงปั จจุบนั เพราะประโยชน์ที่ได้คือปุ๋ ยอินทรี ย ์ ยิ่ง สภาวการณ์ ปั จจุ บ นั ปุ๋ ยมี ราคาแพง ปุ๋ ยอิ น ทรี ย ์ราคาถู ก กว่า จึ ง เป็ นผลผลิ ต อัน หนึ่ ง ที่ ช่ วยเหลื อ เกษตรกรได้ดี 5. การกาจัดขยะมูลฝอยโดยวิธีสกัดไขมัน (Reduction) ขยะบางชนิ ดเป็ นไขมัน สัตว์ การนาไปทิ้งโดยวิธีอื่น ๆ ก็อาจสู ญเปล่าไม่ได้ผลตอบแทน ถ้าหากนามากลัน่ เพื่อสกัดเอา ไขมันออกก็สามารถนาไปใช้ประโยชน์อื่นได้ เช่น การทาสบู่ เครื่ องสาอางชนิ ดต่างๆ วิธีการสกัด ไขมันคือ ใช้วิธีสกัด (Extract) แบบง่าย ๆ 2 แบบคือ แบบแห้ง (Drying method) โดยการนาขยะ แห้งมาละลายในตัวละลาย (Solvent) ใช้สาร Naphtha หรื อ Gasoline เพื่อแยกเอาตัวไขมันออกมา เสร็ จแล้วนาไปกลัน่ แยกตัวละลายออกจากไขมันก็จะได้ไขมันออกมา อีกวิธีหนึ่งคือใช้ความร้อนนึ่ง เรี ยกว่า Cooking Method เป็ นวิธีการนาเอาขยะที่เป็ นไขมันไปเข้าเครื่ องนึ่ งมีความดัน (Pressure cooker) แยกไขมันออกมาได้เป็ น 2 ส่ วน คือเป็ นตะกอนแห้ง และไขมันนาไปใช้ประโยชน์เหมือน วิธีแรก ส่ วนตะกอนแห้งนาไปใช้เป็ นปุ๋ ยได้ 6. การกาจัดโดยวิธีการบด (Grinding) ขยะจาพวกอาหารที่เกิ ด จากครัวเรื อน ภัตตาคาร และสถานที่อื่น ๆ ที่มีเศษขยะจาพวกนี้ มาก ก็อาจกาจัดได้โดยการบดให้ละเอียด เช่น ใช้


15 เครื่ อง บดด้วยมือ หรื อเครื่ องบดไฟฟ้ า เสร็ จแล้วนาขยะเหล่านี้ทิ้งลงในท่อโสโครก เพื่อทาการกาจัด ร่ วมกับน้ าโสโครก ปริ มาณของอินทรี ยว์ ตั ถุที่เกิดจากการเพิ่มโดยวิธีน้ ี จะเพิ่มปริ มาณของแข็งในน้ า โสโครกอีกประมาณ 68 – 4,680 กรัม/คน ค่าใช้จ่ายในการกาจัดน้ าโสโครกจะเพิ่มมากขึ้น 7. การกาจัดโดยวิธีอื่น ๆ เช่น การเลือกวัตถุบางชนิดจากขยะไปใช้ประโยชน์โดย เลือกวัตถุที่ยงั พอมีคุณค่าในการนาไปใช้ประโยชน์ แต่วธิ ี น้ ีควบคุมได้ยาก อาจก่อให้เกิดอันตรายได้ ในส่ วนของกรมการปกครอง (2539: 15) ได้กาหนดแนวทางในการกาจัดขยะมูลฝอยและ ของที่ไม่ใช้แล้ว เป็ นการใช้วธิ ี การต่าง ๆ มาผสมผสานกันให้เกิดการจัดการเชิงบูรณาการ เพื่อส่ งผล ให้เกิดการพัฒนาอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อมแบบยัง่ ยืนโดยเฉพาะท้องถิ่ น ซึ่ งถือว่าเป็ นองค์กรที่มีภารกิ จ รับผิดชอบโดยตรงต่อการกาจัดขยะมูลฝอยและของที่ไม่ใช้แล้วในเขตพื้นที่ ของตน เพื่อให้เกิ ด ประสิ ทธิ ภาพในการวางแผนระยะยาว และการดาเนิ นการอย่างต่อเนื่ อง ท้องถิ่ นสามารถใช้เป็ น พื้นฐานประกอบการตัดสิ นใจในการดาเนิ นงานด้านนี้ ของท้องถิ่นได้อย่างดี สมเหตุสมผลอันจะทา ให้เกิดประสิ ทธิ ภาพและประหยัดค่าใช้จ่ายของท้องถิ่นได้มากขึ้น เพราะขยะมูลฝอยและของที่ไม่ ใช้แล้วนั้นมักลักษณะพิเศษเฉพาะตัว จะต้องมีวิธีการดาเนิ นการออกแบบเพื่อการจัดการกับปั ญหา การกาจัดขยะมูลฝอย โดยต้องอาศัยการดาเนิ นงานของท้องถิ่นในปั จจัยด้านเศรษฐกิจและคานึ งถึง ผลกระทบของท้องถิ่น แนวคิดนี้ไม่จาเป็ นต้องเป็ นโครงการขนาดใหญ่หรื อการใช้เทคโนโลยีสูงมา ดาเนินการ หรื อกาหนดความคาดหวังที่เป็ นไปได้ยาก อาจใช้กรอบแนวคิดการจัดการหลากหลาย รู ปแบบและวิธีการเข้ามาผสมผสานกัน ก็อาจทาให้แก้ไขปั ญหาการกาจัดขยะมูลฝอยได้ เช่น การมี แผนการปฏิ บตั ิการที่ดี สามารถปรับปรุ งด้านเศรษฐกิ จของท้องถิ่ น ลดผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม และช่วยให้เกิดการสนับสนุนของประชาชนในท้องถิ่นได้ 2.2.5 ผลกระทบของการกาจัดขยะมูลฝอย กองวิชาการและแผนงาน กรุ งเทพมหานคร, 2543 ได้รายงานผลกระทบและปั ญหา ที่เกิดจากขยะมูลฝอยเกิดจากชุ มชน มีความจาเป็ นอย่างยิ่งในการที่จะต้องกาจัด หากไม่มีการเก็บ และกาจัดอย่างถูกต้องหรื ออย่างเหมาะสมแล้ว จะทาให้เกิดปั ญหาต่างๆ ต่อชุมชน คือ 1. เกิดมลภาวะต่อสิ่ งแวดล้อม (Pollution) ขยะมูลฝอยเป็ นสาเหตุที่สาคัญอย่างหนึ่ ง ที่ทาให้สิ่งแวดล้อมต่างๆ ของชุ มชนเกิดมลพิษ เช่น น้ าเสี ย อากาศเสี ย เกิดการปนเปื้ อนของดิ น เป็ นต้น 2. แหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรคและแมลง (Breeding Places) ในขยะมูลฝอยอาจจะมี เชื้ อโรคที่ทาให้เกิ ดโรคต่างๆ ปะปนมา เช่ น มูลฝอยจากโรงพยาบาล และการสะสมของมูลฝอย ที่เก็บขนมา ถ้ากาจัดไม่ถูกต้องจะเป็ นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงวันและหนู ซึ่งจะเป็ นพาหะนาโรคมาสู่ คน


16 3. การเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ (Health Risk) ชุ นชนที่ขาดการกาจัดขยะมูลฝอยที่ดีและ ถูกต้องตามหลักเกณฑ์การสุ ขาภิบาล จะทาให้ประชาชนเสี่ ยงต่อการเป็ นโรคต่าง ๆ ได้โดยง่าย เช่น โรคทางเดิ นอาหารที่ เกิ ดจากเชื้ อแบคที เรี ย หรื อพยาธิ ชนิ ดต่างๆ เนื่ องจากขยะมูลฝอยเป็ นแหล่ ง เพาะพันธ์ของแมลง ฉะนั้น การแพร่ ของโรคย่อมเป็ นได้ง่าย นอกจากนั้นยังมีอนั ตรายที่เกิดจากขยะ พิษ เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ มีสารปรอท ทาให้ปวดศีรษะ อ่อนเพลี ย ประสาทหลอนหรื อการ ได้รับสารตะกัว่ จากแบตเตอรี่ รถยนต์ ยาฆ่าแมลงก็จะทาให้อ่อนเพลียซี ด ปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้ อ ความจาเสื่ อม ชักกระตุกและหมดสติได้ 4. การสู ญเสี ยทางเศรษฐกิ จ (Economic Loss) ชุ มชนจะต้องเสี ยค่าใช้จ่ายสาหรับ กาจัดขยะมู ล ฝอยเป็ นประจาอยู่แล้ว และถ้า การก าจัดขยะไม่ ถู ก ต้อง ย่อมส่ ง ผลกระทบผลต่ อ เศรษฐกิ จด้านอื่น ๆ เช่ น นาขยะมูลฝอยทิ้งลงในแหล่งน้ า ก็จะส่ งผลให้เกิ ดน้ าเสี ยเป็ นอันตรายต่อ สัตว์น้ า ซึ่ งจะเป็ นการสู ญเสี ยทางเศรษฐกิจตามมา เป็ นต้น 5. ทาให้ข าดความสง่ า งาม (Esthetics) การเก็ บ รวบรวมและกาจัดขยะมู ล ฝอยที่ ดี จะช่วยให้ชุมชนเกิดความสวยงาม ความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย อันแสดงถึงการมีวฒั นธรรมนาไปสู่ ความเจริ ญของชุมชน ถ้าขาดการเก็บหรื อการจัดการไม่ดี ย่อมทาให้เกิดความไม่น่าดู 6. ก่อให้เกิดเหตุราคาญ (Nuisance) ขยะมูลฝอยก่อให้เกิดเหตุราคาญแก่ประชาชนได้ เนื่องจากความสกปรกและกลิ่นเหม็นที่เกิดจากการเน่าเปื่ อย หรื อการสลายของขยะมูลฝอย ความรู้ เกี่ ยวกับขยะมูลฝอยเป็ นสิ่ งที่ทุกคนต้องมีความรู ้ ความเข้าใจ ในเรื่ องของขยะมูลฝอย แหล่งที่มา การก าจัด ขยะ และผลกระทบจากขยะมู ล ฝอยเพื่ อ น าไปสู่ ก ารบริ ห ารจัด การขยะมู ล ฝอยให้ มี ประสิ ทธิภาพ กรมควบคุ ม มลภาวะ กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้อ ม ได้ก ล่ า วถึ ง ผลกระทบของขยะมูลฝอยที่มีต่อสิ่ งแวดล้อม ดังนี้ 1. ปั ญหากลิ่นเหม็นจากขยะมูลฝอยสร้างความราคาญให้แก่ชุมชนพักอาศัย 2. แหล่ งน้ าเน่ า เสี ย จากการที่ ข ยะมูล ฝอยมี อินทรี ย ์สารเน่ าเปื่ อยปะปนอยู่ เป็ น อันตรายต่ อการดารงชี วิตของมนุ ษ ย์และสั ตว์น้ า รวมทั้ง ผลเสี ย ในด้า นการใช้แหล่ ง น้ า เพื่ อการ นันทนาการ 3. เป็ นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคและสัตว์นาโรคต่าง ๆ เช่น หนู แมลงวันเป็ นต้น 4. การกาจัดขยะมูลฝอยไม่ถูกหลักวิชาการจะสร้างความเดื อดร้ อนราคาญแก่ผทู้ ี่ อยูอ่ าศัยข้างเคียง รวมทั้งส่ งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมและสุ ขภาพของประชาชน 5. ทาให้ชุมชนขาดความสะอาด ความสวยงาม ความเป็ นระเบียบ และไม่น่าอยู่


17 6. การสู ญเสี ยทางเศรษฐกิจ เช่น ชุมชนจะต้องเสี ยค่าใช้จา่ ยในการเก็บขนและการ ก าจัด ขยะมู ล ฝอย ค่ า ชดเชยความเสี ย หายในกรณี ที่ เ กิ ด เพลิ ง ไหม้ และค่ า รั ก ษาพยาบาลหาก ประชาชนได้รับโรคภัยไข้เจ็บจากพิษของขยะมูลฝอย 2.2.6 การจัดการขยะมูลฝอย พรรณศิริ ศิริพนั ธุ์ (2546) กล่ าวว่า การจัดการขยะมูลฝอย หมายถึ ง หลักการในการ เกี่ยวข้องกับการควบคุม การทิ้งการเก็บชัว่ คราว การรวบรวม การขนถ่ายและการขนส่ ง การแปลง รู ป และการกาจัดขยะมูลฝอยโดยคานึงถึงผลประโยชน์สูงสุ ดในทางสุ ขอนามัย ความสวยงาม การ อนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม และที่สาคัญที่สุด คือการยอมรับของสังคม ในการจัดการขยะมูลฝอยอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพจะต้องอาศัย ปั จจัยในหลาย ๆ ด้า นประกอบกัน ได้แก่ การบริ ก าร การรั บรู ้ ขอ้ มู ล ข่าวสารด้านสิ่ งแวดล้อม ประสบการณ์ที่เกี่ ยวกับสิ่ งแวดล้อม และวิธีการจัดการขยะมูลฝอยในแต่ ละประเภท โดยวิธีการจัดการจะต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมในทุกแง่ทุกมุม กรมควบคุ มมลพิษ (2545) กล่ าวไว้ว่ารู ปแบบการจัดการขยะมูลฝอยที่ผ่านมา องค์กร ปกครองส่ วนท้องถิ่ นแต่ละแห่ งได้มีการจัดตั้งงบประมาณและดาเนิ นการออกแบบเพื่อก่ อสร้ า ง ระบบกาจัดขยะมูลฝอย เพื่อรองรั บการกาจัดขยะมูลฝอยของแต่ละท้องถิ่ นเป็ นหลัก ทาให้การ จัดการขยะมูล ฝอยเป็ นไปในลักษณะรู ปแบบต่างคนต่างทา การกระจายงบประมาณในแต่ละปี เพื่อให้ครอบคลุ มในทุกพื้นที่ ก็ยงั คงมีขอ้ จากัด ท้องถิ่ นที่ได้รับงบประมาณและมีการดาเนิ นการ ก่อสร้ างระบบกาจัดขยะมูลฝอยไปแล้ว ก็มกั เกิ ดปั ญหาในการดาเนิ นงานเพื่อดู แลบารุ งรักษาให้ ระบบสามารถดาเนิ นการได้อย่างต่อเนื่ อง ทั้ง นี้ มักประสบปั ญหาขาดแคลนงบประมาณในการ ดาเนิ นการอันเนื่ องมาจากองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นไม่สามารถเก็บค่าธรรมเนี ยมการจัดการขยะ มูลฝอยที่สะท้อนถึ งต้นทุนที่แท้จริ งในการดาเนิ นการได้ ประกอบกับบุคลากรที่เป็ นผูค้ วบคุมดูแล ระบบขาดความรู ้ ความชานาญเฉพาะด้าน ทาให้การกากับดูแลและการจัดการระบบกาจัดขยะมูล ฝอยเป็ นไปอย่างไม่เต็มประสิ ทธิ ภาพ ทาให้เกิ ดปั ญหาทางด้านผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมสะสมใน พื้นที่


18 ขั้นตอนการจัดการขยะมูลฝอย แหล่งกาเนิดมูลฝอย บ้านเรื อน สถานประกอบการ อุตสาหกรรม สถานที่สาธารณะฯลฯ

วิธีการอุปกรณ์บุคลากร รถขนขยะ บุคลากรเวลาขน

การเก็บรวบรวม

การขนย้าย

การกาจัด

พลาสติก ขยะเปี ยก กระดาษ ขยะแห้ง แก้ว โลหะ ขยะอันตราย -ติดเชื้อ - กากอุตสาหกรรม

มูลฝอย

การฝังกลบ การเผา การหมักเป็ นปุ๋ ย การย่อยสลายแบบไร้อากาศ

ภาพที่ 2.1 แสดงขั้นตอนการจัดการขยะมูลฝอย ที่มา: สุ วดี ศรสี ทอง (2546) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2547) ได้สรุ ปเปรี ยบเทียบวิธีการกาจัดขยะมูล ฝอยใน 3 ลักษณะของวิธีการกาจัดขยะมูลฝอย ได้แก่ การเผา การหมักปุ๋ ย/ก๊าซ และการฝังกลบ เพื่อให้เห็นข้อดีขอ้ เสี ยในด้านต่าง ๆ ดังตาราง


19 ตารางที่ 2.1 สรุ ปข้อเปรี ยบเทียบวิธีการกาจัดขยะมูลฝอย ข้ อพิจารณา

การเผา

1. ด้ านเทคนิค 1.1 ความยากง่ายในการ - ใช้เทคโนโลยีค่อนข้าง ดาเนินการและซ่อมบารุ ง สูง การเดินเครื่ องยุง่ ยาก - เจ้าหน้าที่ควบคุมต้องมี ความชานาญสูง 1.2 ประสิ ทธิภาพใน การกาจัด - ปริ มาณมูลฝอยที่กาจัด - ลดปริ มาตรได้ 80-90% ได้ ที่เหลือต้องนาไปฝังกลบ - กาจัดได้ 100% - ความสามารถในการฆ่า เชื้อโรคได้ 1.3 ความยืดหยุน่ ของ - ต่า หากเกิดปั ญหา ระบบ เครื่ องจักรกล ชารุ ดไม่ สามารถปฏิบตั ิงานได้ 1.4 ผลกระทบต่อ สิ่ งแวดล้อม - น้ าผิวดิน - ไม่มี - น้ าใต้ดิน - ไม่มี - อากาศ - มี -กลิ่น แมลง พาหะนาโรค - ไม่มี 1.5 ลักษณะสมบัติของ - ต้องเป็ นสารที่เผาไหม้ มูลฝอย ได้มีค่าความร้อนไม่ต่า กว่า 4,500 kcal/kgและ ความชื้นไม่นอ้ ยกว่า 40% 1.6 ขนาดที่ดิน - ใช้เนื้อที่นอ้ ย 2. ด้านเศรษฐกิจ 2.1 เงินลงทุนในการ -สูง ก่อสร้าง

วิธีการกาจัดขยะมูลฝอย การหมักปุ๋ ย/ก๊ าซ

ฝังกลบ

- ใช้เทคโนโลยีสูง - ใช้เทคโนโลยีไม่สูงนัก พอควร - เจ้าหน้าที่ควบคุมระดับ - เจ้าหน้าที่ควบคุมต้องมี ความรู ้ธรรมดา ระดับความรู ้สูงพอควร

- ลดปริ มาตรได้ 30-35% - สามารถกาจัดได้ 100% ที่เหลือต้องนาไปฝังกลบ หรื อเผา - กาจัดได้เพียงเล็กน้อย - กาจัดได้ 70% - ต่า หากเครื่ องจักรกล ชารุ ดไม่สามารถ ปฏิบตั ิงานได้

- สูงแม้วา่ เครื่ องจักรกลจะ ชารุ ดยังสามารถกาจัด หรื อรอการกาจัดได้

- อาจมีได้ - อาจมีได้ - ไม่มี - อาจมีได้ - เป็ นสารที่ยอ่ ยสลายได้ มีความชื้อ 50-70%

- ใช้เนื้อที่ปานกลาง

- มีความเป็ นไปได้สูง - มีความเป็ นไปได้สูง - อาจมีได้ - มี - รับมูลฝอยได้เกือบทุก ประเภท ยกเว้นมูลฝอยติด เชื้อหรื อสารพิษ - ใช้เนื้อที่มาก - ใช้เนื้อที่มาก

- ปานกลาง

-ค่อนข้างต่า


20

ตารางที่ 2.1 (ต่อ) ข้ อพิจารณา

การเผา

วิธีการกาจัดขยะมูลฝอย การหมักปุ๋ ย/ก๊ าซ - ปานกลาง

2.2 ค่าใช้จ่ายในการ -สูง ดาเนินการและซ่อมบารุ ง 2.3 ผลพลอยได้จากการ - ได้พลังงานความร้อน - ได้ปุ๋ยอินทรี ยจ์ ากการหลัก ใช้ กาจัด จากการเผาเพื่อผลิตไฟฟ้ า อากาศ - ได้ก๊าซมีเทนจากการหลักไร้ อากาศเพื่อผลิตไฟฟ้ า

ฝังกลบ -ค่อนข้างต่า - ได้ก๊าซมีเทน เป็ นเชื้อเพลิงเพื่อ ผลิตไฟฟ้ า

กรมควบคุมมลภาวะ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม กาหนดแนวทาง การจัดการขยะมูลฝอยไว้ 7 แนวทาง แนวทางที่ 1 กาจัดขยะมูลฝอยอย่างถูกหลักวิชาการ เช่น การเผาในเตาเผาขยะ การฝังกลบอย่างถูกสุ ขลักษณะ และการหมักปุ๋ ย เป็ นต้น ซึ่ งแต่ละวิธีมีความแตกต่างกันในด้าน ต้นทุนการดาเนินงาน ความพร้อมขององค์กร ปริ มาณและประเภทของขยะ เป็ นต้น แนวทางที่ 2 การจัดการขยะ โดยอาศัยหลัก 5R คือ - Reduce การลดปริ มาณขยะ โดยลดการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีบรรจุ ภัณฑ์สิ้นเปลือง - Re-use การนามาใช้ซ้ า เช่น ขวดแก้ว กล่องกระดาษ หนังสื อพิมพ์ เป็ นต้น - Repair การซ่อมแซมแก้ไขสิ่ งของต่างๆ ให้สามารถใช้งานต่อได้ - Reject การหลีกเลี่ยงใช้สิ่งของที่ก่อให้เกิดมลพิษ - Recycle การแปรสภาพและหมุนเวียนนากลับมาใช้ได้ใหม่ โดย นาไปผ่านกระบวนการผลิตอีกครั้ง แนวทางที่ 3 การแยกขยะ เพื่อลดขยะที่ตอ้ งนาไปกาจัดจริ ง ๆ ให้เหลือน้อยที่สุด เช่น - ขยะแห้งบางชนิดที่สามารถแปรสภาพนากลับมาใช้ได้อีก ได้แก่ ขวดแก้ว โลหะ พลาสติก - ขยะเปี ยกสามารถนามาหมักทาปุ๋ ยน้ าชีวภาพ


21 - ขยะอันตราย เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋ องฉี ดสเปรย์ ต้องมี วิธีการกาจัดที่ปลอดภัย แนวทางที่ 4 ส่ งเสริ มการผลิ ตที่สะอาดในภาคการผลิ ต โดยการลดใช้วสั ดุ ลด พลังงาน และลดมลพิษ เพิม่ ศักยภาพการใช้ทรัพยากรหมุนเวียน การนาของเสี ยกลับมาใช้ประโยชน์ และการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีอายุการใช้งานได้นานขึ้น แนวทางที่ 5 ส่ งเสริ มให้ภาคธุ รกิจเอกชนมีส่วนร่ วมลงทุนและดาเนินการจัดการ ขยะ แนวทางที่ 6 ให้ความรู ้แก่ประชาชนในเรื่ องการจัดการขยะอย่างถูกหลักวิชาการ แนวทางที่ 7 รณรงค์ และประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างจิตสานึ กให้ประชาชนเข้าใจ และยอมรับว่าเป็ นหน้าที่ของตนเอง ในการร่ วมมือจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชน การจัดการขยะมูลฝอยที่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่ นควรเลื อกใช้เป็ นแนวทางของตน ต้องพิจารณาในหลายองค์ประกอบ ซึ่ งได้แก่ ศักยภาพของท้องถิ่ นในด้านงบประมาณ บุคลากร และเครื่ องมือเครื่ องใช้ ความรู้ความเข้าใจของประชาชนในพื้นที่เกี่ ยวกับการกาจัดขยะ และความ ร่ วมมือของบริ ษทั ห้างร้านต่าง ๆ ในพื้นที่ประกอบกันด้วย 2.2.7 การมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอย การมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชนมีรูปแบบต่าง ๆ ที่มีความหลากหลาย ดังนี้ 1) การใช้หลัก 5 R ของกรมส่ งเสริ มคุณภาพสิ่ งแวดล้อม ( 2540: 102) ได้แก่ R1-Reduce ( การลดปริ มาณขยะเริ่ มต้น) R2-Repair ( การซ่อมแซมใช้ใหม่ ) R3-Reject ( การกาจัด ) R4-Reuse (การใช้ใหม่ซ้ า) R5-Recycle (การแปรรู ปกลับมาใช้ใหม่) 2) การกาจัดโดยการทาปุ๋ ยหมัก การนากลับมาใช้ใหม่ มีการนาไปฝังกลบ ส่ วน กากที่ ใช้ไม่ได้นาไปแยกเผาและผลิ ตกระแสไฟฟ้ า โดยเน้นการคัดแยกขยะ เน้นการมี ส่วนร่ วม รั บ ผิดชอบของทุ ก คน รั ฐตั้ง ศู น ย์รับ ซื้ อขยะรี ไ ซเคิ ล กระจายทุ ก พื้ นที่ ค วบคู่ ก ับ การรณรงค์และ ส่ งเสริ มขบวนการซาเล้งและคนคุย้ ขยะให้มีความเข้มแข็ง 3) การฝังกลบ หมายถึง การกาจัดโดยการบดอัดมูลฝอยด้วยเครื่ องจักรกลเพื่อให้ ขยะมูลฝอยยุบตัวหรื อมีความหนาแน่นมากขึ้น เสร็ จแล้วทาการบดอัดปิ ดทับมูลฝอยที่บอดอัดแล้ว นั้นด้วยวัสดุถมกลบหรื อดินที่มีความเหมาะสม


22 4) การเผามูลฝอยในเตาเผาที่ถูกหลักสุ ขาภิบาล หมายถึงขบวนการเผาไหม้ของ เสี ยทั้งส่ วนที่เป็ นของแข็ง ของเหลวและก๊าซซึ่ งต้องใช้ความร้อนสู งเพื่อทาการเผาไหม้เป็ นไปอย่าง สมบูรณ์ ไม่ทาให้เกิดกลิ่นและควันรบกวนทั้งไม่ทาให้เกิดปั ญหาทางด้านมลภาวะทางอากาศขึ้นได้ 5) การคืนวัสดุจาพวกขวดบรรจุคืนแก่ร้านค้า 6) การนาไปประดิษฐ์เป็ นของเล่น ของใช้ และประดับตกแต่ง โดยสรุ ป การจัดการขยะมูลฝอยโดยชุ มชนมีส่วนร่ วมสามารถดาเนิ นการได้หลายรู ปแบบ และรู ปแบบที่มีความชัดเจนครบวงจรคือการใช้หลัก 5R ในการจัดการขยะมูลฝอยอันได้แก่ R1 การลดปริ มาณขยะเริ่ มต้น R2 การซ่อมแซมสิ่ งที่ชารุ ด R3 การกาจัดโดยวิธีการเผา ฝังกลบ และการ เทกอง R4 การนากลับมาใช้ใหม่ R5 การผลิตใหม่ เป็ นต้น ซึ่ งการกาจัดขยะมูลฝอยแต่ละรู ปแบบก็ มีขอ้ จากัดขึ้ นอยู่กบั ลักษณะทางกายภาพและทางเคมี ของขยะซึ่ งผูท้ ี่ จะกาจัดขยะจะต้องพิจารณา ก่อนว่าจะใช้รูปแบบใดจึงจะมีความเหมาะสม และไม่ส่งผลกระทบกับสิ่ งแวดล้อมภายหลัง 2.3 นโยบายทีเ่ กีย่ วข้ องกับการจัดการขยะมูลฝอย 2.3.1 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะมูลฝอย พระราชบัญญัติการสาธารณสุ ข พ.ศ. 2535 หมวด 3 การกาจัดสิ่ งปฏิกูลและมูลฝอย ระบุวา่ มาตรา 18 การกาจัดสิ่ งปฏิกูลและมูลฝอยในเขตราชการส่ วนท้องถิ่นใดให้เป็ นอานาจหน้าที่ ของราชการส่ วนท้องถิ่นนั้น ในกรณี ที่มีเหตุอนั สมควร ราชการส่ วนท้องถิ่นอาจมอบให้บุคคลใด ดาเนิ นการตามวรรคหนึ่ งแทน ภายใต้การควบคุ มดู แลของส่ วนราชการส่ วนท้องถิ่ น หรื ออาจ อนุญาตให้บุคคลใดเป็ นผูด้ าเนินการกาจัดสิ่ งปฏิกลู หรื อมูลฝอยตามมาตรา 19 ก็ได้ มาตรา 19 ห้ามมิให้ผใู้ ดดาเนินกิจการกับทาการเก็บ ขน หรื อกาจัดสิ่ งปฏิกูล หรื อมูล ฝอยโดยทาเป็ นธุ รกิ จ หรื อโดยได้รับประโยชน์ตอบแทนด้วยการคิดค่าบริ การ เว้นแต่จะได้รับ ใบอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่น มาตรา 20 เพื่อประโยชน์ในการรักษาความสะอาดและการจัดระเบียบในการเก็บขน และก าจัดสิ่ งปฏิ กูล หรื อมู ล ฝอยให้ราชการส่ วนท้องถิ่ นมี อานาจออกข้อก าหนดของท้องถิ่ น ดังต่อไปนี้ 1. ห้ามการถ่าย เท ทิง้ หรื อทาให้มีข้ ึนในที่หรื อทางสาธารณะ ซึ่ งสิ่ งปฏิกูล หรื อมูล ฝอยนอกจากในที่ที่ราชการส่ วนท้องถิ่นจัดไว้ให้ 2. กาหนดให้มีที่รองรับสิ่ งปฏิ กูล หรื อมูลฝอยตามที่ หรื อทางสาธารณะและ สถานที่เอกชน


23 3. กาหนดวิธีการเก็บ ขน และกาจัดสิ่ งปฏิกูล หรื อมูลฝอย หรื อให้เจ้าของ หรื อผู้ ครอบครองอาคาร หรื อสถานที่ใดๆ ปฏิบตั ิให้ถูกต้องด้วยสุ ขลักษณะตามสภาพ หรื อลักษณะการใช้ อาคาร หรื อสถานที่น้ นั ๆ 4. กาหนดอัตราค่าธรรมเนี ยมการให้บริ การของราชการส่ วนท้องถิ่ นในการเก็บ และขนสิ่ งปฏิกลู หรื อมูลฝอยไม่เกินอัตราตามที่กาหนดในกฎกระทรวง 5. กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการเก็บ ขน และกาจัดสิ่ งปฏิกูล หรื อ มูลฝอยเพื่อให้ผรู้ ับใบอนุ ญาตตามมาตรา 19 ปฏิบตั ิ ตลอดจนกาหนดอัตราค่าบริ การขั้นสู งตาม ลักษณะการให้บริ การที่ผรู้ ับใบอนุญาตตามมาตรา 19 จะพึงเรี ยกเก็บได้ 6. กาหนดการอื่นใดที่จาเป็ นเพื่อให้ถูกต้องด้วยสุ ขลักษณะ 2.3.2 นโยบายของรัฐบาล นโยบายและแผนการส่ งเสริ มรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อมแห่ งชาติ พ.ศ. 2540 – 2553 ได้ ก าหนดเป้ าหมายและแผนนโยบายการป้ องกันและแก้ไ ขขยะมู ล ฝอย (กรมส่ ง เสริ ม คุ ณภาพ สิ่ งแวดล้อม, 2542: 87 - 89) ดังนี้ เป้ าหมาย 1. ลดและควบคุมการผลิตขยะมูลฝอย โดยรวมไม่เกิน 1 กิโลกรม/คน/วัน 2. ให้มีการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอยในอัตราไม่นอ้ ยกว่าร้ อยละ 15.00 ของ ปริ มาณขยะที่เกิดขึ้น 3. ปริ มาณขยะมูลฝอยที่ตกค้างจากการบริ การเก็บขน ไม่เกินร้อยละ 10.00 ของ ปริ มาณขยะที่เกิดขึ้น 4. ให้ทุกจังหวัดมีแผนหลักและแผนการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกหลักสุ ขลักษณะ มาตรการที่สาคัญ 1. ด้านสังคม ได้แก่ การรณรงค์ให้ผจู ้ ดั จาหน่ายสิ นค้ามีส่วนร่ วมในการลดปริ มาณ บรรจุภณ ั ฑ์จากการจาหน่ ายสิ นค้าและมีส่วนร่ วมในการเรี ยกคืนซากบรรจุภณ ั ฑ์เสื่ อมคุณภาพการ สร้างจิตสานึ กให้ประชาชนและสนับสนุ นการให้ข่าวสารและความรู ้เกี่ยวกับของเสี ยอันตรายจาก ชุมชน 2. ด้านกฎหมาย ได้แก่ กาหนดระเบียบควบคุม การนาเข้าวัสดุใช้แล้วหรื อสิ นค้าใช้ แล้วจากต่างประเทศ กฎระเบียบเกี่ ยวกับการเรี ยกคืนซากบรรจุภณ ั ฑ์และผลิตภัณฑ์เสื่ อมสภาพ กฎระเบียบให้ประชาชนมีการคัดแยกขยะมูลฝอย โดยเฉพาของเสี ยอันตรายออกจากมูลฝอยทัว่ ไป และกาหนดมาตรฐานและมาตรการเพื่อควบคุมการดาเนิ นงานของสถานที่บาบัดและกาจัดขยะมูล ฝอย


24 3. ด้านการสนับสนุน ได้แก่ การวิจยั และพัฒนา สิ นค้าที่ผลิตจากวัสดุที่ใช้แล้ว ผูผ้ ลิ ตหรื อผูจ้ าหน่ ายมี ส่ วนร่ วมในการเรี ย กคื นซากบรรจุ ภณ ั ฑ์และผลิ ตภัณฑ์เสื่ อมสภาพมาใช้ ประโยชน์ส่งเสริ มและสนับสนุ นให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่ นมีระบบ การเก็บรวบรวมและ ขนส่ งของเสี ยอันตรายจากชุ มชนและสนับสนุ นให้ทุกจังหวัดจัดเตรี ยมพื้นที่ที่เหมาะสม สาหรับ สถานที่สร้างระบบบาบัดและกาจัดขยะมูลฝอย สาหรับแนวทางในการจัดการขยะมูลฝอย ตามกรอบแผนจัดการคุณภาพสิ่ งแวดล้อม พ.ศ. 2545 - 2549 ให้ความสาคัญต่อการจัดการขยะมูลฝอย ส่ งเสริ มให้ภาคเอกชนเป็ นผูร้ ับจ้าง ดาเนิ นการและกากับดูแลโดยองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ส่ งเสริ มอุตสาหกรรมการนากลับมาใช้ ใหม่และธุ รกิจการบริ หารซ่ อมแซมผลิตภัณฑ์ให้มีมากขึ้น รวมทั้งให้เอกชนมีส่วนร่ วมลงทุนแบบ ครบวงจร หรื อบางส่ วน ตั้งแต่การเก็บขน การนาไปขาย ขนส่ วนและกาจัดทาลายทั้งขยะชุ มชนขยะ ที่กลับมาใช้ใหม่ ส่ วนขยะจากการก่อสร้างจะต้องผนวกไว้เป็ นเงื่ อนไขการจัดการในสัญญาของ โครงการก่อสร้างต่างๆ ตั้งแต่ข้ นั ตอนการขออนุญาต 2.3.3 นโยบายการจัดการขยะมูลฝอย พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริ หารส่ วนตาบล พ.ศ. 2537 ให้ไว้ ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 ส่ วนที่ 3 มาตรา 67 ได้กาหนดหน้าที่ขององค์การบริ หารส่ วนตาบลให้มี หน้าที่ตอ้ งทาไว้หลายประการโดยเฉพาะตามมาตรา 67 (2) กาหนดหน้าที่ไว้ว่าต้อง รักษาความ สะอาดของถนน ทางน้ า ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งกาจัดมูลฝอยและสิ่ งปฏิกูล ภายในตาบล จึงเป็ นหน้าที่ตามกฎหมายที่บงั คับให้องค์การบริ หารส่ วนตาบลทุกแห่ งพึงปฏิบตั ิ แต่เนื่ องจากการ ปกครองท้องถิ่นในรู ปแบบองค์การบริ หารส่ วนตาบลนั้น องค์การบริ หารส่ วนตาบลมีอานาจอิสระ พอสมควรที่จะดาเนินกิจกรรมต่างๆ ของตนเองได้โดยเฉพาะการบริ หารงบประมาณประจาปี เป็ น เรื่ องของนโยบายของแต่ละองค์การบริ หารส่ วนตาบลที่จะพิจารณาใช้จ่ายงบประมาณนั้นหนักไป ในเรื่ องใด เช่น อาจเน้นหนักในด้านการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐาน หรื อด้านสาธารณสุ ข ซึ่ ง รวมถึง การจัดการจัดการมูลฝอยด้วย ซึ่ งกิจการดังกล่าวผูบ้ ริ หารระดับสู งขององค์การบริ หารส่ วนตาบลอัน ได้แก่ นายกองค์การบริ หารส่ วนตาบล และสมาชิ กองค์การบริ หารส่ วนตาบลจะพิจารณาตัดสิ นใจ ว่าจะใช้จ่ายงบประมาณอย่างไร เท่าใด สาหรับนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการมูลฝอยในส่ วนที่ เกี่ยวข้องกับที่กระทรวงมหาดไทยสรุ ปได้ดงั นี้คือ บทบาทของกระทรวงมหาดไทยในการจัดการด้านทรั พ ยากรธรรมชาติ และ สิ่ งแวดล้อมกระทรวงมหาดไทยเป็ นกระทรวงหลักที่มีภารกิจหน้าที่รับผิดชอบที่กว้างขวาง ดังคา กล่าวที่ ว่าหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทย คือ "บาบัดทุกข์ บารุ งสุ ข " บทบาทในด้านการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม เป็ นภารกิจหลักอีกด้านหนึ่ งดังที่กาหนดไว้ในแผนมหาดไทย


25 ฉบับที่ 6 (2540 - 2544) ซึ่ งกาหนดว่า "ประชาชนจะได้รับบริ การพื้นฐาน ที่มีคุณภาพและทัว่ ถึ ง รวมทั้งสามารถรองรับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและการขยายตัวของชุ มชน ทั้งนี้ โดยคานึ งถึงการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่างเหมาะสมและยัง่ ยืนไม่เกิดปั ญหาด้านมลภาวะ" ดังนั้น กระทรวงมหาดไทย จึ ง มี บ ทบาทส าคัญ ในการส่ ง เสริ ม สนับ สนุ น ป้ องกัน และอนุ รั ก ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อม โดยมีการดาเนิ นงานทั้งตามอานาจหน้าที่ตามกฎหมายการ กาหนดนโยบาย แผนงาน/โครงการที่เกี่ ยวข้อง การประสานความร่ วมมือของชุ มชนและองค์กร ต่างๆ บทบาทตามอานาจหน้าที่ตามกฎหมาย ส่ วนราชการต่างๆ ในสังกัด มีอานาจหน้าที่ในการ ดาเนิ นการ อานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติขององค์กรปกครองส่ วน ท้องถิ่ น ได้แก่ องค์การ บริ หารส่ วนจังหวัด, เทศบาล , สุ ขาภิบาล สภาตาบล และองค์การบริ หารส่ วนตาบล เมืองพัทยา และ กรุ งเทพมหานคร โดยมี ภารกิ จโดยตรงในเรื่ องการบริ หารจัดการด้านทรั พยากรธรรมชาติ และ สิ่ งแวดล้อม เช่ น การรั กษาความสะอาด การกาจัดมูลฝอยสิ่ งปฏิ กูล การทานุ บารุ งทางน้ า และ โดยเฉพาะ อบต. มีหน้าที่ชดั เจนในเรื่ องการคุม้ ครองดูแล และบารุ งรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อม (มาตรา 67 (7), มาตรา 68 (8) การกาหนดนโยบายของกระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทยได้ให้ความสาคัญกับการ จัดการสิ่ งแวดล้อมโดยกาหนดเป็ นนโยบายต่อเนื่ องในด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม โดยมอบให้องค์ก รปกครองส่ วนท้องถิ่ นเป็ นผู ้ ปรั บ ปรุ ง ระบบการบริ หารงานที่ ดอน และการ คุม้ ครองดูแลที่ดินของรัฐเฝ้ าระวัง และใช้ประโยชน์ร่วมกัน แนวทางการจัด การขยะมู ล ฝอยชุ ม ชนขององค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น กระทรวง มหาดไทย พร้อมด้วยคณะทางานจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง อาทิ: กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่ งแวดล้อม กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงสาธารณสุ ข สานักงานคณะกรรมการพัฒนา เศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ กรมการปกครอง กรมโยธาธิ การ กรมการผังเมือง และ สันนิ บาต เทศบาลแห่ ง ประเทศไทย ได้ร่ ว มกัน พิ จ ารณาหาแนวทางการจัด การขยะมู ล ฝอยชุ ม ชน เพื่ อให้ส อดคล้องกับ ภารกิ จขององค์ก รปกครองส่ วนท้องถิ่ นตามรั ฐธรรมนู ญ พ.ศ.2540 และ พระราชบัญญัติต่างๆ ที่ ออกใหม่หลายฉบับ เพื่อให้การดาเนิ นดาเนิ นงานมีความชัดเจนในทาง ปฏิบตั ิ ไม่ซ้ าซ้อน และเป็ นการประหยัดงบประมาณ สรุ ปได้ดงั นี้ 1. ในหลักการ ให้องค์กรปกครองส่ วนท้อง ถิ่นดาเนิ นการกาจัดขยะแบบรวมศูนย์ กาจัดขยะ โดยใช้วิธีฝังกลบอย่างถูกหลักสุ ขาภิบาล (Sanitary Landfill) โดยองค์กรปกครองส่ วน ท้องถิ่นอาจจะรวมศูนย์กนั ดาเนิ นงานภายในจังหวัด โดยมี อบจ. หรื อองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น อื่นที่มีความพร้อม เป็ นแกนนาในการดาเนินงาน หรื อ รวมศูนย์กนั ดาเนิ นงานระหว่างจังหวัด ได้


26 ตามความเหมาะสมและความพร้อม ทั้งนี้ งบประมาณ อุดหนุ นจากหน่วยงานส่ วนกลางจะพิจารณา เฉพาะศูนย์กาจัดขยะเท่านั้น เพื่อเป็ นการประหยัดงบประมาณและเพื่อประสิ ทธิภาพในการทางาน 2. กรมการปกครองจะศึกษาและพิจารณาแก้ไขระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นสามารถร่ วมกันดาเนิ นงานในลักษณะสหการ ได้ 3. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุ ข จะพิจารณาแก้ไขกฎกระทรวงซึ่ งออกตาม ความในพระราชบัญญัติการสาธารณสุ ข พ.ศ.2535 มาตรา 20(4) เพื่อองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น สามารถเรี ย กเก็ บ ค่ า ธรรมเนี ย มในการก าจัด ขยะได้ เพื่ อ ให้ อ งค์ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ่ น มี งบประมาณเพียงพอในการดาเนินงานกาจัดขยะได้ถูกวิธีและเกิดประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อม 4. ในการดาเนินงานกาจัดขยะ หากองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นใดประสบปั ญหา อุปสรรค คณะทางานจะได้ร่วมกันพิจารณาแก้ไขตามแต่ละกรณี ในเรื่ อ งของนโยบายที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ การจัด การมู ล ฝอยนั้น กระทรวงมหาดไทยเป็ นผู ้ ควบคุ มดู แลการปฏิ บตั ิ ง านขององค์การบริ หารส่ วนตาบลทัว่ ประเทศให้ดาเนิ นไปตามระเบีย บ กฎหมายที่ กาหนดไว้ในการก าหนดนโยบายนั้นจะเป็ นไปในลักษณะกว้างๆ เพื่อ ให้ท ้องถิ่ นได้ พิจารณาวางกรอบเป็ นแนวทางปฏิบตั ิ ส่ วนการกาหนดกรอบรายละเอียดต่างๆ ที่เกี่ยวกับการจัดการ มูลฝอยโดยตรงเช่น การให้ทอ้ งถิ่นต้องกาจัดและทาลายมูลฝอยด้วยวิธีฝังกลบ (Sanitary Landfill ) หรื อประการอื่นใดองค์การบริ หารส่ วนตาบลซึ่ งเป็ นหน่ วยการบริ หารราชการส่ วนท้องถิ่นจะต้อง เป็ นผูก้ าหนดเอง ทั้ง นี้ เพื่ อความเหมาะสมกับ สภาพท้องถิ่ นนั้น ๆ และตรงกับ เจตนารมณ์ ข อง ผูบ้ ริ หารองค์การบริ หารส่ วนตาบล ซึ่ งเป็ นผูแ้ ทนประชาชนในเขตนั้น ๆ ด้วย 2.4 ข้ อมูลทัว่ ไปและสภาพทัว่ ไปของตาบลคูบางหลวง 2.4.1 ลักษณะที่ต้ งั / อาณาเขต และเขตการปกครอง องค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง ตั้งอยูท่ ี่อาคารเลขที่ 99/9 หมู่ที่ 3 ตาบลคู บางหลวง อาเภอลาดหลุ มแก้ว จังหวัดปทุมธานี ได้รับการยกฐานะจากสภาตาบล เป็ นองค์การ บริ หารส่ วนตาบล เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2538 เป็ นองค์การบริ หารส่ วนตาบลขนาดกลางชั้น 2 ซึ่ ง ตั้ง อยู่ท างทิ ศ ตะวัน ตกของแม่ น้ า เจ้า พระยา อยู่ห่ า งจากอาเภอลาดหลุ ม แก้ว เป็ นระยะทาง ประมาณ 7 กิ โลเมตร และห่ างจากตัวจังหวัดปทุ มธานี ไปทางเหนื อ เป็ นระยะทางประมาณ 11 กิโลเมตร มีเนื้ อที่รวมทั้งหมด 29.88 ตารางกิ โลเมตร หรื อประมาณ 18,673 ไร่ มีหมู่บา้ น 12 หมู่บา้ น อยูใ่ นเขตองค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวงเต็มพื้นที่ท้ งั 12 หมู่บา้ น ได้แก่


27 ตารางที่ 2.2 แสดงข้อมูลหมู่บา้ นและครัวเรื อนในเขตองค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง หมู่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านคลองบางเตย 1 หมู่ที่ 2 บ้านคลองบางเตย 2 หมู่ที่ 3 บ้านคลองบางโพธิ์เหนือ 1 หมู่ที่ 4 บ้านคลองบางโพธิ์เหนือ 2 หมู่ที่ 5 บ้านคลองบางโพธิ์เหนือ 3 หมู่ที่ 6 บ้านคลองบางหลวง 1 หมู่ที่ 7 บ้านคลองบางหลวง 2 หมู่ที่ 8 บ้านคูขวางไทย หมู่ที่ 9 บ้านคลองบางหลวง หมู่ที่ 10 บ้านคูขวางมอญ หมู่ที่ 11 บ้านคลองบางหลวงไหว้พระ หมู่ที่ 12 บ้านคลองเจ้า รวม

จานวนครัวเรือน 73 120 222 167 3,487 394 136 372 241 234 535 133 6,114

ชาย 142 183 567 375 465 286 260 408 245 343 514 273 4,055

หญิง 122 192 561 362 425 305 238 455 257 323 527 291 4,058

รวม (คน) 264 375 1,128 737 890 591 498 857 502 666 1,041 564 8,113

(ข้อมูลจากสานักบริ หารการทะเบียน กรมการปกครอง อาเภอลาดหลุมแก้ว ณ เดือน เมษายน พ.ศ. 2552)

2.4.2 มีอาณาเขตติดต่อ ดังต่อไปนี้ ทิศเหนื อ ติดกับองค์การบริ หารส่ วนตาบลบางเตย อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ทิศใต้ ติดต่อกับองค์การบริ หารส่ วนตาบลคลองพระอุดม อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ทิศตะวันออก ติดกับองค์การบริ หารส่ วนตาบลบ้านฉาง อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี ทิศตะวันตก ติดต่อกับองค์การบริ หารส่ วนตาบลคูขวาง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัด ปทุมธานี 2.4.3 เขตการปกครอง แบ่งการปกครองออกเป็ น 12 หมู่บา้ น คือ หมู่ที่ 1 บ้านคลองบางเตย หมู่ที่ 7 บ้านคลองบางหลวง หมู่ที่ 2 บ้านคลองบางเตย หมู่ที่ 8 บ้านคลองคูขวางไทย หมู่ที่ 3 บ้านคลองบางโพธิ์ เหนือ หมู่ที่ 9 บ้านคลองบางหลวง หมู่ที่ 4 บ้านคลองบางโพธิ์ เหนือ หมู่ที่ 10 บ้านคลองคูขวางมอญ หมู่ที่ 5 บ้านคลองบางโพธิ์ เหนือ หมู่ที่ 11 บ้านคลองบางหลวงไหว้พระ


28 หมู่ที่ 6 บ้านคลองบางหลวง หมู่ที่ 12 บ้านคลองเจ้า 2.4.4 สภาพภูมิประเทศและลักษณะภูมิอากาศ สภาพภูมิประเทศ สภาพพื้นที่เป็ นที่ราบลุ่ม มีลาคลองหลายสาย ซึ่ งเหมาะสมต่อการทาการเกษตร ทุกหมู่บา้ น เช่น คลองบางหลวงไหว้พระ คลองพระอุดม คลองบางโพธิ์ เหนือ สภาพภูมิอากาศ สภาพภูมิอากาศโดยทัว่ ไป แบ่งออกเป็ น 3 ฤดู คือ ฤดูร้อนเริ่ มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ เมษายน ฤดูฝนเริ่ มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม - กันยายน และฤดูหนาวเริ่ มตั้งแต่เดือนตุลาคม - มกราคม 2.4.5 จานวนประชากร จานวนประชากรในเขตองค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวงมีประชากรทั้งสิ้ น จานวน 8,113 คน แยกเป็ นชาย 4,055 คน หญิง 4,058 คน (ข้อมูลกรมการปกครอง ณ เมษายน พ.ศ. 2552) ความหนาแน่นเฉลี่ย 271.45 คน / ตาราง กิโลเมตร 2.4.6 แผนที่แสดงอาณาเขตการปกครอง

ภาพที่ 2.2 แสดงแผนที่อาณาเขตการปกครองขององค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง ที่มา : องค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง (2550)


29 2.4.7 ด้านเศรษฐกิจ โครงสร้างทางเศรษฐกิจ/รายได้ประชากร ในเขตองค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง ราษฎรส่ วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม รองลงมาคือรับจ้างบริ ษทั เอกชน ซึ่ งถ้าหากคานวณรายได้ของประชาชนต่อคน/ปี ประชากรจะมี รายได้เฉลี่ย 23,000.-บาท ต่อคน/ปี การเกษตรกรรม ประชากรส่ วนใหญ่ในเขตองค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ผลผลิตทางการเกษตรที่สาคัญที่ทารายได้ให้แก่เกษตรกรได้แก่ ข้าว การเลี้ยงสัตว์ สวนผลไม้ และพืชผลต่างๆ การอุตสาหกรรม การประกอบอุตสาหกรรมในเขตองค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง ส่ วนใหญ่ราษฎร ในพื้นที่ไม่ได้เป็ นเจ้าของกิจการ แต่เป็ นของผูป้ ระกอบการที่เข้ามาลงทุนประกอบอุตสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรม 89 แห่ง การพาณิ ชยกรรม / การบริ การ - ปั๊ มน้ ามันและก๊าซ 5 แห่ง - ร้านค้าทัว่ ไป 105 แห่ง - ห้องเช่า / หอพัก 83 แห่ง 2.4.8 ด้านสังคม / การศึกษา / ศาสนา / ประเพณี / ศิลปวัฒนธรรม การศึกษา ประชาชนส่ วนใหญ่จบการศึกษาภาคบังคับ มีสถานศึกษาในเขตองค์การบริ หารส่ วนตาบล คูบางหลวง คือ 1. โรงเรี ยนวัดสุ วรรณจินดาราม 2. โรงเรี ยนวัดจันทาราม 3. โรงเรี ยนคลองบางโพธิ์ 4. โรงเรี ยนบางโพธิ์ ใหม่ 5. โรงเรี ยนสอนศาสนาฮีดายาตุลอารี ฟีน 6. โรงเรี ยนสอนศาสนาอาลุสนา 7. โรงเรี ยนชมรมมุสลิมคลองบางโพธิ์ 8. โรงเรี ยนบารุ งศึกษาอิสลาม 9. โรงเรี ยนเลาะห์มะตุลเลาะห์ 10. ศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก 1 ศูนย์ (ศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก อบต.คูบางหลวง)


30 การสาธารณสุ ข สถานีอนามัยประจาตาบล 2 แห่ง 1. สถานีอนามัยตาบลคูบางหลวง หมู่ที่ 1 2. สถานีอนามัยตาบลคูบางหลวง หมู่ที่ 6 3. กองทุนหลักประกันสุ ขภาพระดับท้องถิ่น/พื้นที่ตาบลคูบางหลวง ที่ต้ งั : อบต.คูบางหลวง โดยบูรณาการร่ วมกันในการดูแลด้านสาธารณสุ ขทั้ง 12 หมู่บา้ นในตาบลคูบางหลวง – ด้านส่ งเสริ มสุ ขภาพ – ด้านควบคุมโรค – ด้านบริ การสาธารณสุ ข – ด้านอนามัยสิ่ งแวดล้อม – ด้านอนามัยโรงเรี ยน – ด้านการเฝ้ าระวังโรคติดต่อ และโรคไม่ติดต่อในชุมชน – ด้านการรักษาความสะอาดขยะมูลฝอยในชุมชน จานวนพนักงานส่ วนตาบลและลูกจ้างขององค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง พนักงานส่ วนตาบล 16 คน ลูกจ้างประจา 5 คน พนักงานจ้างทัว่ ไป 13 คน พนักงานจ้างตามภารกิจ 15 คน 2.5 การบริการจัดการขยะมูลฝอยในเขตตาบลคูบางหลวง ชุ มชนต่า ง ๆ ในตาบลคู บางหลวง อาเภอลาดหลุ ม แก้ว จังหวัดปทุ มธานี ซึ่ งสภาพทาง กายภาพกึ่ ง ชุ ม ชนเมื อ งกึ่ ง ชนบท เป็ นเพราะจัง หวัด ปทุ ม ธานี เ ป็ นจัง หวัด ปริ ม ณฑล ที่ ค วาม เจริ ญก้าวหน้าและเข้าสู่ ชุมชนอย่างรวดเร็ ว ดังนั้นหน่ วยงานผูร้ ับผิดชอบในการดูแลระบบริ การ สาธารณะจึงจาเป็ นต้องพัฒนาระบบสาธารณู ปโภคและสาธารณู ปการให้เพียงพอต่อความต้องการ ของประชาชนในชุมชน ซึ่ งอานาจหน้าที่ในการดูแลระบบบริ การสาธารณะในด้านต่างๆ ที่มีความ ครอบคลุ มต่อชี วิตและทรัพย์สินของประชาชนทุ กคนตั้งแต่เกิ ดจนตาย จานวน 7 ด้าน ได้แก่ดา้ น โครงสร้ างพื้นฐาน ด้านสาธารณสุ ข ด้านการป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย ด้านการส่ งเสริ ม การศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ด้านส่ งเสริ มการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผูส้ ู งอายุและผูพ้ ิการ


31 ด้านการคุม้ ครอง ดูแล และบารุ งรักษาทรัพยากรธรรมและสิ่ งแวดล้อม ด้านบารุ งรักษาศิลปะ จารี ต ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น แต่สิ่งที่ส่งผลกระทบต่อการดารงชีวติ ของประชาชนมากที่สุด คือด้านการสาธารณสุ ข ที่มี หน้าที่ในการตรวจรั กษาและดูแลสุ ขภาพ การป้ องกันและแก้ไขปั ญหาโรคติดต่อ การรักษาความ สะอาดของบ้านเมือง การดูแลและคุม้ ครองสุ ขภาพอนามัย และการรักษาสิ่ งแวดล้อม เหล่านี้ ลว้ น เป็ นสิ่ งแวดล้อมที่มีอิทธิ พลต่อการดารงชีวติ ของประชาชนทุกคน ซึ่ งหากไม่มีการบริ หารจัดการที่ดี จะส่ งผลกระทบต่อความพึงพอใจและภาพลักษณ์การดาเนิ นงานขององค์การบริ หารส่ วนตาบลคู บางหลวงได้ตลอดเวลา โดยเฉพาะในส่ วนของการรักษาความสะอาดเรี ยบร้ อยของบ้านเมือง คือ การจัดการขยะมูล ฝอยและสิ่ งปฏิ กูล ที่ เกิ ดจากทุ ก ครั วเรื อน สถานประกอบการ สถานบันเทิ ง ศูนย์การค้าและแหล่งท่องเที่ยว จานวนมากต่อวันที่ตอ้ งให้หลักการบริ หารจัดการอย่างเป็ นระบบ และมี ประสิ ทธิ ภาพ โดยต้องเกิ ดจากชุ มชนเกิ ดจากประชาชนในชุ มชนที่ ตอ้ งมี ส่วนร่ วมและให้ ความร่ วมมือในการจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ การจัดการขยะมูลฝอยขององค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวงประกอบไปด้วย ระบบการรวบรวมขนส่ ง และระบบกาจัดโดยมีขอ้ มูลสรุ ปดังนี้ 2.5.1 งานรวบรวมขยะมูลฝอย องค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง ได้ให้บริ การเก็บขนขยะมูลฝอย โดยจัดวางที่ รองรับขยะมูลฝอย ถังรองรับขยะมูลฝอยขนาดจุ 120 ลิตร จานวน 1,200 ใบถังรองรับขยะมูลฝอย ขนาดจุ 240 ลิตร จานวน 300 ใบ ในการรวบรวมขยะมูลฝอย องค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวงมีรถที่ใช้งานได้ คอยให้บริ การเก็บขนขยะมูลฝอยทั้งสิ้ น 2 คันองค์ประกอบขยะมูลฝอยส่ วนใหญ่ เป็ นเศษอาหาร เศษผัก รองมาเป็ นพลาสติก กระดาษ โลหะ ตามลาดับ 2.5.2 ระบบกาจัดมูลฝอย ปั จจุบนั องค์การบริ ห ารส่ วนตาบลคูบางหลวง ใช้วิธีฝังกลบอย่างถูกต้องตามหลัก สุ ขาภิบาลซึ่งปริ มาณขยะมูลฝอยที่นาไปฝังกลบวันละ 9 ตันและสถานที่ฝังกลบตั้งอยูท่ ี่บ่อขยะบาง ไทร ต.ไผ่พระ อ.บางไทร จ.พระนครศรี อยุธยา มีเนื้อที่ประมาณ 30 ไร่ รถเก็ บ ขยะมู ล ฝอยมี ดัง นี้ รถขนขยะชนิ ด อัด ท้า ยความจุ 12 ลบ.ม.จ านวน 2 คัน เจ้าหน้าที่ประจารถจานวน 6 คน


32 2.6 งานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง 2.6.1 งานวิจยั ในประเทศ พฤกษพงศ์ วิ สุ ท ธิ์ ดวงดุ ษ ดี (2550) ศึ ก ษาปั จ จัย ที่ มี ผ ลต่ อการจัด การขยะมู ล ฝอยของ เทศบาลตาบลแม่สาย พบว่าเทศบาลตาบลแม่สายไม่สามารถดาเนิ นการเก็บรวบรวม เก็บขน และ กาจัดขยะมูลฝอยได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ อีกทั้งชุ มชนยังขาดความสามารถในการจัดการขยะมูล ฝอย ณ แหล่งกาเนิด นอกจากนี้การจัดการขยะมูลฝอยในเขตเทศบาลตาบลแม่สายยังขาดการมีส่วน ร่ วมจากภาคประชาสังคม ส่ งผลให้เทศบาลตาบลแม่สายไม่สามารถแก้ไขปั ญหาขยะมูลฝอยชุ มชน ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและยัง่ ยืน ปั จจัยที่มีผลต่อการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลตาบลแม่สาย ประกอบด้วยสมรรถนะองค์การด้านการจัดการขยะมูลฝอย สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคม การมี ส่วนร่ วมของธุ รกิ จซื้ อขายของเก่ าในท้องถิ่ น การมี ส่วนร่ วมของผูน้ าชุ มชน การมีส่วนร่ วม ขององค์กรเอกชน การมีส่วนร่ วมของประชาชน พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรื อนของ ประชาชน นโยบายการจัดการขยะมูลฝอยชุ มชนของประเทศไทยและของเทศบาลตาบลแม่สาย กฎหมายและสภาพบังคับทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลตาบลแม่ สาย ข้อเสนอแนะเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยเทศบาลตาบลแม่สายอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและยัง่ ยืนมี ดังนี้ 1) พัฒนาประสิ ทธิ ภาพในการเก็บรวบรวม การเก็บขน และการกาจัดขยะมูลฝอยให้ถูกต้อง ตามหลัก สุ ขาภิ บ าล 2) น าหลัก การ “ผู ้ก่ อ มลพิ ษ เป็ นผู ้จ่ า ย” มาประยุ ก ต์ ใ ช้ ก ั บ การจัด เก็ บ ค่าธรรมเนี ยมการจัดการขยะมูลฝอยอย่างจริ งจัง 3) เสริ มสร้ างกระบวนการมีส่วนร่ วมทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนในการแก้ไขปั ญหาด้านการจัดการขยะมูลฝอยในท้องถิ่นร่ วมกัน โดยไม่ ยึดพื้นที่เขตการปกครองเป็ นหลักในการดาเนินงาน 4) ดาเนินการบังคับใช้เทศบัญญัติเทศบาลตาบล แม่สาย เรื่ องการกาจัดสิ่ งปฏิ กูลและมูลฝอยพ.ศ.2543 อย่างจริ งจัง 5) ส่ งเสริ มและสนับสนุ นให้ ประชาชนมี พ ฤติ ก รรมการจัด การขยะมู ล ฝอยในครั ว เรื อ นที่ ถู ก ต้อ ง 6) รั ฐ บาลจะต้อ งให้ก าร สนับสนุนงบประมาณในการก่อสร้างศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยของเทศบาลตาบลแม่สายอย่างเร่ งด่วน มาริ ส า สุ ริ น (2551) ศึ ก ษาการจัด การขยะมู ล ฝอยโดยชุ ม ชนเพื่ อ น าไปสู่ ก ารจัด ท า แผนปฏิบตั ิการในเขตเทศบาลตาบลต้นเปา อาเภอสันกาแพงจังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษาพบว่า 1. ด้านบริ บทการจัดการขยะมูลฝอย สามารถสรุ ปเป็ นประเด็นหลักๆ ได้ดงั นี้ คือ ปั ญหาด้านปริ มาณ จานวนขยะในพื้นที่เทศบาลตาบลต้นเปามีจานวนเพิ่มมากขึ้นตามจานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นทั้งที่ อาศัยอยู่ในพื้นที่และเดิ นทางผ่านหรื อมาท่องเที่ยวในพื้นที่ปัญหาด้านการจัดการ 1) ไม่มีการนา วิธีการจัดการขยะรู ปแบบใหม่มาใช้ 2) ถังใส่ ขยะที่เทศบาลมีไว้บริ การประชาชนยังเป็ นถังรวม ไม่ใช่ถงั แบบคัดแยกขยะ 3) ดาเนิ นโครงการคัดแยกขยะไม่ต่อเนื่ อง 2. แนวทางการจัดการขยะมูล ฝอยของชุมชนในปั จจุบนั จากการศึกษาพบว่า เทศบาลได้เริ่ มนาแนวทางการจัดการขยะมูลฝอย


33 ใหม่ๆ เข้ามาจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ เริ่ มมีการจัดอบรมให้ความรู ้กบั ประชาชน ในเรื่ องการคัด แยกขยะที่ใช้ได้กบั ใช้ไม่ได้ พร้อมทั้งมีการส่ งเสริ มให้ประชาชนภายในหมู่บา้ นเก็บขยะรี ไซเคิลไว้ จาหน่ายเป็ นรายได้ของประชาชนเอง มีการนาถังขยะแบบถังเดียวไว้บริ การประชาชน โดยจะนาไป กาจัดที่ อาเภอฮอดโดยวิธีก ารฝั ง กลบ 3. ด้านข้อมูล พื้ นฐานที่ จะนาไปพัฒนาเป็ นแนวทางสู่ แผนปฏิบตั ิการเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยแบบยัง่ ยืน สามารถสรุ ปเป็ นประเด็นหลักๆ ได้ดงั นี้ 1) ควรเริ่ มจากการให้ประชาชนมี ความรู ้ เรื่ องประโยชน์และโทษของขยะมูลฝอย 2) ให้ความรู้ ประชาชนถึงการจัดเก็บขยะให้ถูกวิธี การนาขยะมูลฝอยประเภทต่างๆ กลับมาใช้ใหม่ 3) เทศบาล ควรจัดเตรี ยมถังขยะไว้บริ การประชาชนระบบ 3 ถัง คือ มีถงั ขยะเปี ยก ถังขยะแห้ง และถังขยะมีพิษ 4) มีการจูงใจให้ประชาชนในพื้นที่ร่วมมือกันในการรักษาความสะอาด เช่น มีการประกวดหมู่บา้ น น่าอยู่ โดยมีการประกาศการจัดลาดับและมอบรางวัลประจาเดือนทุกเดือน เป็ นต้น สุ รศักดิ์ โอสถิตพร (2550) รู ปแบบการจัดการขยะมูลฝอยที่เหมาะสมกับเทศบาลตาบลดอย สะเก็ด อาเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชี ยงใหม่ ศึกษาพบว่า 1. แนวคิดและวิธีการจัดการขยะมูลฝอย ของประชาชนที่พกั อาศัยอยูใ่ นเขตเทศบาลตาบลดอยสะเก็ดพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีวิธีจดั การลดขยะ มูลฝอยภายในครัวเรื อนตามหลักการจัดการขยะ 5 R ในระดับมากซึ่ งมีการทามาโดยตลอด โดย วิธีการที่ใช้มากที่สุดคือเวลาเลื อกซื้ อของใช้จะพยายามเลื อกซื้ อของที่มีคุณภาพดี ใช้ได้นานและ สามารถซ่อมแซมใหม่ได้ 2. รู ปแบบการจัดการขยะมูลฝอยที่เหมาะสมกับเทศบาลตาบลดอยสะเก็ด ในความเห็ นของประชาชนให้ความเห็ นว่า เทศบาลตาบลดอยสะเก็ดควรให้ความรู ้ ความเข้าใจ เกี่ ยวกับวิธีการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้องอาทิ การจัดกิ จกรรมรณรงค์เพื่อปลูกจิตสานึ กในการ จากัดขยะมูลฝอย ส่ วนผูบ้ ริ หารเทศบาลให้ความเห็นว่า วิธีการจัดเก็บควรจัดหารถเก็บขยะที่ปิด มิดชิ ดมากกว่านี้ ซึ่ งจะสามารถลดกลิ่ นรบกวนชาวบ้านได้ และควรปรับปรุ งที่รองรับถังเก็บขยะ ของครัวเรื อนต่างๆ เพื่อป้ องกันสุ นขั คุย้ เขี่ยขยะ ควรมีการส่ งเสริ มและรณรงค์ให้ประชาชนมีการคัด แยกขยะก่อนนามาทิ้ง วิธีการกาจัดพบว่า เทศบาลตาบลดอยสะเก็ดควรสร้ างเตาเผาขยะ หรื อหา แหล่ งฝั งกลบ โดยขอความร่ วมมื อหรื อประสานงานกับท้องถิ่ นที่ อยู่ใกล้เคี ยงที่ มีการฝั งกลบที่ เหมาะสม 3. แนวทางการประสานความร่ วมมือระหว่าง ราชการส่ วนกลาง ส่ วนภูมิภาค ส่ วน ท้องถิ่ นต่าง ๆ และประชาชนในการจัดการปั ญหาขยะ ผูบ้ ริ หารเทศบาลให้ความเห็นว่า ต้องมี การบูรณาการร่ วมกันเพื่อประสานความร่ วมมือกันระหว่างหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ทั้งราชการ ส่ วนกลาง ส่ วนภูมิภาค ส่ วนท้องถิ่น และประชาชนในพื้นที่เกี่ยวกับการจัดการปั ญหาขยะในเขต เทศบาลตาบลดอยสะเก็ด ทั้งนี้เพราะขยะเป็ นปั ญหาที่ทุกฝ่ ายควรมีการร่ วมมือปรึ กษา เพื่อแก้ปัญหา ของท้องถิ่ นซึ่ งแต่ละแห่ งจะมีปัญหาแตกต่างกันออกไป ด้านประชาชนให้ความเห็นว่า เทศบาล ตาบลดอยสะเก็ดควรหาแนวทางประสานร่ วมมือกับทุกภาคส่ วนแบบมีส่วนร่ วม โดยมีการวางแผน


34 งานในส่ วนของการจัดการปั ญหาขยะมูลฝอยทั้งระบบซึ่ งประกอบด้วยการศึกษาสภาพปั ญหา การ วางแผนแก้ไขปั ญหาและการกาจัดขยะ การมีส่วนร่ วมในการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการ จัดการขยะมูลฝอย ทั้งนี้ ตอ้ งมีความชัดเจนเกี่ยวกับนโยบายการจัดการปั ญหาขยะมูลฝอยในพื้นที่ เทศบาลตาบลดอยสะเก็ด 4. ประชาชนในเขตเทศบาลตาบลดอยสะเก็ดมีการจัดการขยะมูลฝอย อย่างถูกต้องตามหลักการจัดการขยะ 5 R ในระดับมาก 5. รู ปแบบของการจัดการขยะมูลฝอยของ เทศบาลตาบลดอยสะเก็ด โดยการแบ่งแยกบทบาทในการจัดเก็บขยะให้เทศบาลฯรับผิดชอบ และ ให้องค์การบริ หารส่ วนจังหวัดเป็ นฝ่ ายรับผิดชอบในการกาจัดขยะ โดยมีส่วนกลางเป็ นผูใ้ ห้การ สนับสนุนด้านวิชาการและงบประมาณยังไม่มีความเหมาะสม กัญญา จาอ้าย (2549) ศึกษาการมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชนสันกลาง อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชี ยงใหม่ ผลการวิจยั พบว่า การใช้เอไอซี (A-I-C) เป็ นกระบวนการทาให้ กลุ่มตัวอย่าง ผูน้ าชาวบ้าน และสมาชิ กองค์การบริ หารส่ วนตาบลมีส่วนร่ วมในการรับรู ้ถึงปั ญหา กาหนดเป้ าหมายคิดค้นวิธีการแก้ปัญหา และการดาเนิ นการแก้ไขปั ญหาขยะมูลฝอย และทาให้เกิด กิ จกรรมโครงการที่ได้ดาเนิ นงานในชุ มชนคื อ 1.) โครงการการให้ความรู ้ เกี่ ยวกับขยะและการ จัดการขยะ 2.) โครงการการจัดตั้งกองทุนขยะ และ 3.) โครงการหน้าบ้านน่ามอง จากการติดตาม การดาเนิ นการโครงการพบว่าคณะผูบ้ ริ หารองค์การบริ หารส่ วนตาบลและผูน้ าชาวบ้านได้ไปทัศน ศึกษาดูงานการ 2.6.2 งานวิจยั ต่างประเทศ งานวิจยั ต่างประเทศที่คน้ คว้ามานี้ เป็ นงานวิจยั ที่ดาเนิ นการระหว่างปี พ.ศ. 1990 ถึง 1992 ทั้งหมดเป็ นงานวิจยั ของนักศึกษาระดับปริ ญญาโท และปริ ญญาเอกในมหาวิทยาลัยของประเทศ สหรั ฐ อเมริ ก า ซึ่ งเป็ นประเทศที่ ป ระสบปั ญ หาอย่ า งรุ น แรงในเรื่ องขยะ และมลภาวะของ สภาพแวดล้อม จึงทาให้ตอ้ งศึกษาเพื่อสร้างรู ปแบบในการจัดการขยะและสร้างเสริ มสภาพแวดล้อม ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ฮอง (Hong,1992) มหาวิทยาลัย แห่ งรั ฐออเรกอน ในปี 1991 ได้ทาการวิจยั เรื่ อง “การ วิเคราะห์เชิ งเศรษฐศาสตร์ เพื่ อการรี ไซเคิ ลขยะแข็งในครั วเรื อน กรณี เมือง พอร์ ทแลนด์ รัฐออ เรกอน (การรี ไซเคิล)” เนื่ องจากเห็นความสาคัญว่าการรี ไซเคิล ในครัวเรื อนเป็ นวิธีการลดจานวน ขยะแข็ ง และวิ ธี ก ารรั ก ษาของเหลื อ ใช้ ที่ ย ัง ใช้ ไ ด้ และเป็ นสิ่ ง ส าคัญ ในการจัด การขยะแข็ ง วิทยานิ พนธ์ฉบับนี้ ได้สร้ างรู ปแบบทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อจัดการขยะแข็งภายในครัวเรื อนโดยใช้ เงิ นและเวลาเป็ นสิ่ งจูงใจ ผลการวิจยั ทาให้ทราบความต้องการที่จะรับบริ การจัดเก็บขยะ และผล การเปรี ยบเทียบพฤติกรรมการจัดการขยะ โดยการตั้งราคาค่าเงินให้เป็ นรางวัลจูงใจอีกด้วย


35 ภายใต้ระบบการจ่ายเงินเป็ นก้อน ( Block Payment System) ส่ วนต่างการจ่าย (ช่องว่าง) ระหว่า งเงิ น ก้อ นต่ า งๆ ได้ถู ก น ามาเป็ นตัว ชี้ วัด การตั้ง ราคาที่ ค วรจะเป็ นจริ ง ในการวิ เ คราะห์ ผลการวิจยั นั้น ตัวแปรด้านราคาที่แตกต่างกันระหว่างเงินก้อนต่าง ๆ ถูกใช้เพื่อทดสอบสมมติฐาน ที่วา่ การจูงใจโดยใช้เงินรางวัลเป็ นตัวเร้าจะทาให้ความพยายามในการรี ไซเคิลดีข้ ึน และลดจานวน ขยะลง นอกจากนั้นยังประเมินปั จจัยต่าง ๆ ทางด้านเศรษฐกิจสังคมที่มีผลต่อความพยายามในการรี ไซเคิลและความต้องการบริ การเก็บขยะด้วย เมื่อวิเคราะห์เชิ งทฤษฎี และเชิ งการวิจยั แล้วก็ได้แนวทางเพื่อกาหนดเป็ นนโยบายในการ จัดการขยะดัง กล่ า ว โดยเฉพาะอย่า งยิ่ง ประสิ ท ธิ ผ ลของระบบจ่ า ยเงิ นแบบเป็ นก้อนได้รับ การ ประเมินในรู ปแบบของการเพิ่มของจานวนสิ่ งของที่รีไซเคิลได้และลดจานวนสิ่ งที่รีไซเคิลไม่ได้ ต่อจากนั้นก็เปรี ยบเทียบการตั้งราคาในการจัดการขยะในครัวเรื อน ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลแสดงให้เห็ นว่า ถ้าช่ องว่างของส่ วนต่างการจ่ายเงิ นเพิ่มขึ้นความถี่ ของการมีส่วนร่ วมในการขจัดขยะ โดยการวางตามทางเดินของครัวเรื อนทั้งหลายก็เพิ่มขึ้นแต่จะไม่ ลดความต้องการบริ การเก็บขยะอย่างมีนยั สาคัญแต่ประการใด ระดับการศึกษาและค่าของเวลาเป็ น ปั จจัยสาคัญต่อการตัดสิ นใจที่จะร่ วมมื อของครั วเรื อนแต่ละหลังในการรี ไซเคิ ลบนทางเดิ น อนึ่ ง ผลการวิจยั ยังพบอีกว่า รายได้ของครัวเรื อนเป็ นปั จจัยสาคัญปั จจัยหนึ่งในการก่อให้เกิดขยะแข็ง แต่ ก็ไม่มีความสัมพันธ์กบั ความต้องการบริ การเก็บขยะแต่อย่างใด ภายใต้โครงสร้างราคาในงานวิจยั นี้ วิธีที่เป็ นไปได้ในการลดจานวนขยะที่รีไซเคิลไม่ได้น้ นั คือการเพิ่มการรี ไซเคิลภายในบ้าน เพราะว่าปริ มาณค่าใช้จ่ายทั้งหมดในการใช้บริ การการเก็บขยะ นั้นเป็ นส่ วนที่ เล็ก มากของ รายได้ค รั วเรื อน สรุ ปได้ว่าการรี ไซเคิ ลในครั วเรื อนจะเพิ่ม ขึ้ น หาก ช่องว่างในการจ่ายรางวัลเพื่อการจูงใจเพิ่มขึ้น และเมื่อมีการบริ การจัดเก็บขยะที่มีคุณภาพ แลนซานา (Lansana,1992) ใน ค.ศ. 1991 ได้ทาการวิจยั เรื่ อง การสร้างรู ปแบบอัตราความ ร่ วมมือของครัวเรื อนในการรี ไซเคิล การวิเคราะห์ตวั แปร Spatio-Temporal โดยมีเหตุผลว่า การ จัดการขยะแข็งกาลังเป็ นปั ญหาใหญ่ในหลายชุ มชนในสหรัฐอเมริ กา เนื่ องจากอัตราการผลิตขยะที่ สู งต่ออัตรารายได้ มูลค่าในการจัดการขยะที่เพิ่มสู งขึ้น มลภาวะอันเนื่ องมาจากการถมดินและการ เผาขยะ การที่ยา่ นต่าง ๆ ต่อต้านและไม่ยอมเป็ นแหล่งทิ้งขยะอีกต่อไป ปั ญหาเหล่านี้ ทาให้ชุมชน จานวนหนึ่ งจาต้องคิดค้นหาทางเลื อกใหม่ในการจัดการขยะ การวิจยั ครั้ งนี้ จึงเป็ นการศึกษาการรี ไซเคิลเพื่อให้เป็ นแนวทางหนึ่ งในการกาหนดนโยบายของฝ่ ายบริ หารโดยเน้นการตัดสิ นใจของ ครัวเรื อนว่าทาอย่างไรจึงจะเพิ่มอัตราการมีส่วนร่ วมในกิจกรรมการรี ไซเคิลขยะได้ ข้อมูลเชิงกว้างที่ใช้ในการวิจยั นี้ได้มาจากชุ มชนสองแห่ งในบรู มเคาน์ต้ ี นิ วยอร์ ก ได้มีการ สร้างรู ปแบบ 3 รู ปแบบเพื่อค้นหาองค์ประกอบที่มีอิทธิ พลต่อกระบวนการตัดสิ นใจของครัวเรื อน


36 รู ปแบบเหล่านี้ ถูกประเมินโดยโปรแกรม The Linear Structural Equations Ethodology ( LISREL ) ผลการวิจยั พบว่าองค์ประกอบต่าง ๆ ที่เสริ มสร้างและขวางกั้นความร่ วมมือได้แก่ นโยบาย ลักษณะ ของผู ้อ ยู่ อ าศัย ทัศ นคติ ข องผู ้ค นในชุ ม ชนที่ มี ต่ อ สภาพแวดล้ อ ม สภาพเศรษฐกิ จ ของผู ้ค น แหล่งข้อมูลและการรับรู ้ เกี่ ยวกับการรี ไซเคิลของพวกเขา องค์ประกอบต่าง ๆ เหล่านี้ มีบทบาทที่ เด่ น ชั ด ทั้ง ก่ อ นหน้ า ในระหว่ า ง และหลัง จากที่ มี ก ารด าเนิ น กิ จ กรรมการรี ไ ซเคิ ล ในชุ ม ชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทัศนะคติ ต่อสภาพแวดล้อมของผูค้ นและความรู ้ เรื่ องค่าใช้จ่ายในการรั กษา สภาพแวดล้อม มีอิทธิ พลอย่างยิง่ ต่อความตั้งใจในการรี ไซเคิลของพวกเขา ภายหลังการดาเนินงาน พบว่าอัตราการมีส่วนร่ วมเกิดจากความตระหนักในกิจกรรมการรี ไซเคิล และแผนปฏิบตั ิการ ส่ วน พฤติกรรมการรี ไซเคิลระยะยาวหรื อยัง่ ยืนนั้นพบว่าเกิ ดจากลักษณะของผูค้ นในชุ มชนและความรู้ เกี่ยวกับกิจกรรมการรี ไซเคิลนั้น อนึ่งผลการวิจยั ยังบ่งว่าพฤติกรรมการรี ไซเคิลของชุ มชนเมือง และชุ มชนชานเมืองต่างกัน โดยเห็นได้ชดั ในระหว่างดาเนิ นกิ จกรรม ทั้งนี้ อธิ บายได้วา่ เกิดมาจากความแตกต่างในแผนปฏิบตั ิ การทัศนคติต่อสภาพแวดล้อมและลักษณะของผูค้ นในชุ มชน ผลการวิจยั ครั้งนี้ ได้พฒั นาขึ้นเป็ นกล ยุทธ ใหม่เพื่อช่วยฝ่ ายนโยบายในการเพิม่ ความร่ วมมือของผูค้ นในชุมชน โอกาโมโตะ ( Okamoto,1992) ได้ทาการวิจยั เรื่ อง “องค์ประกอบที่จาเป็ นในการขยาย ปริ ม าณระบบรี ไ ซเคิ ล แบบบู รณาการส าหรั บกระป๋ องอลู มิ เนี ย มและขวดพลาสติก ที่ ใ ช้แล้วใน ประเทศญี่ปุ่น” โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อขยายกิจกรรมการรี ไซเคิลแบบบูรณาการซึ่ ง ประกอบไปด้วย การเก็บรวบรวม การแยกแยะ การจัดเข้าระบบเพื่อรี ไซเคิล และการจัดการด้านการตลาดสาหรั บ กระป๋ องอลู มิเนี ย มและขวดพลาสติ กใช้แล้วในญี่ ปุ่ น ซึ่ ง กาลัง เผชิ ญหน้า กับวิก ฤติ การขยะอย่า ง รุ นแรงในระดับชาติ ทั้งนี้ ผวู ้ ิจยั ได้ศึกษาจากกิ จกรรมการรี ไซเคิลนานาประการของสหรัฐอเมริ กา แหล่ ง ข้ อ มู ล ปฐมภู มิ ข องการศึ ก ษาคื อ งานวิ จ ัย ของสหพัน ธรั ฐ และรั ฐ ต่ า ง ๆ ของสถาบัน อุ ต สาหกรรมทั้ง หลาย บทความเกี่ ย วกับ การจัด การขยะแข็ ง ของแหล่ ง พิ ม พ์ ต่ า ง ๆ ทั้ง ใน สหรัฐอเมริ กาและญี่ปุ่น ผลการวิจยั พบว่า ในการที่จะเพิ่มอัตราการรี ไซเคิลนั้น จาเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้องกระตุน้ ให้ เกิดการมีส่วนร่ วมของประชาชนโดยการให้การศึกษาที่มีผลกระทบในเรื่ องนี้ โดยตรง นอกจากนี้ ยงั ต้องจัดหาคู่มือที่ง่าย ๆ และสะดวกต่อการใช้สาหรับผูเ้ ข้าร่ วมกิจกรรมการศึกษาด้วย การจัดเข้าระบบเพื่อรี ไซเคิล และการจัดการทางด้านการตลาดเป็ นเรื่ องที่มีความสาคัญ สาหรั บขวดพลาสติ กมากกว่าสาหรั บกระป๋ องอลูมิเนี ยม ระบบการรี ไซเคิลที่มีประสิ ทธิ ภาพใน ชุ ม ชนหนึ่ งๆ ต้อ งมี ค วามหลากหลายเพื่ อ ให้ เ ข้า กับ ลัก ษณะของแต่ ล ะชุ ม ชน ซึ่ งจะเป็ นการ ตรวจสอบประสิ ทธิ ภาพของแต่ละช่วงของกิจกรรมการรี ไซเคิล แบบบูรณาการนี้ดว้ ย


37 หวัง ( Wang, 1992) ได้ศึกษา “การประเมินผลกิจกรรมการรี ไซเคิลของเกาะฮอร์ นบี้ และ แนวทางในการจัดการขยะแข็งในเขตเทศบาล” โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อตรวจสอบประสิ ทธิ ภาพของ กิจกรรมรี ไซเคิล ซึ่ งเป็ นการจัดการขยะแข็งในเขตชุ มชนเทศบาลเล็ก ๆ เป็ นกรณี ศึกษาโครงการรี ไซเคิลของเกาะฮอร์ นบี้ ผูว้ จิ ยั ได้พฒั นาโครงสร้างทางระเบียบวิธีเพื่อประเมินการรี ไซเคิลในชุมชนขนาดเล็กเกณฑ์ การประเมิ น ได้แ ก่ ว สั ดุ ที่ ถู ก รี ไ ซเคิ ล ปริ ม าณและอัต ราการรี ไ ซเคิ ล การสนับ สนุ น ทางด้า น การงบประมาณ ความตระหนัก การมีส่วนร่ วม และการยอมรับของประชาชน จากมาตรการเหล่านี้ การรี ไซเคิลของเกาะฮอร์ นบี้ ได้รับการประเมินว่า ประสบความสาเร็ จอย่างสู ง การศึกษาพัฒนาการ ของกิ จ กรรมการจัด การขยะครั้ งนี้ ได้ ใ ช้ แ นวคิ ด ทฤษฎี ซึ่ งปรั บ มาจากการวิ จ ัย นวัต กรรม (Innovation Research ) โดยกล่าวถึงในแง่ของกระบวนการพัฒนาและองค์ประกอบสาคัญต่าง ๆ ที่ ได้ช่วยในการเผยแพร่ เรื่ องการรี ไซเคิลบนเกาะ เมื่อวิเคราะห์ผลการวิจยั แล้วทาให้ได้ขอ้ สรุ ป 2 ประการ ประการแรกคือโครงการนี้ ได้ผา่ น ขั้นตอนสุ ดท้ายของการประเมินและปรับปรุ งแล้ว แลได้เข้าสู่ ข้ นั ตอนใหม่ คือการแนะนาเผยแพร่ วิธี ก ารรี ไ ซเคิ ล ให้แก่ ชุ ม ชนอื่ น ๆ ประการที่ ส อง องค์ป ระกอบสาคัญที่ จะท าให้กิ จกรรมเช่ นนี้ ประสบผลสาเร็ จ ได้แก่ความจาเป็ นที่จะต้องทาการรี ไซเคิล การแต่งตั้งคณะกรรมการบทบาทของ กรรมการแต่ละคน ประวัติทางวัฒนธรรมและการตัดสิ นใจของท้องถิ่ นที่เห็นชอบกับการรี ไซเคิล ความคล้ายคลึงกันของประชากรและทัศนคติในทางบวกที่มีต่อการรี ไซเคิล รวมทั้งการศึกษาและ กฎข้อบังคับที่มีประสิ ทธิ ภาพ อย่างไรก็ตาม ยังคงต้องมีการค้นคว้าวิจยั ต่อไป เพื่อยืนยันสิ่ งที่คน้ พบ โดยสรุ ป จากการศึกษาข้อมูลเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ ยวข้องจะพบว่าปั จจุบนั ปั ญหาขยะ ไม่ใช่เรื่ องที่จะมองข้ามหรื อละเลยเพิกเฉยได้อีกต่อไป หากต้องมีมาตรการในการจัดการที่เหมาะสม และชัดเจน ตั้งแต่การลดปริ มาณการสร้ างขยะการขนถ่ายและการคัดแยกเพื่อนากลับมาใช้ใหม่ให้ เกิ ดประโยชน์สูงสุ ด รวมทั้งการเก็บภาษี ต้ งั แต่ตน้ ทางจากผูผ้ ลิ ตและผูบ้ ริ โภคสาหรับนาไปใช้ใน การจัดการ มิเช่นนั้นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุดงั เช่ นทุกวันนี้ จะก่อให้เกิดปั ญหาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่ งแวดล้อมได้ และการที่จะสามารถแก้ไขปั ญหาขยะให้ได้ผลประชาชนในชุ มชนทุกคนต้องมี ส่ วนร่ วมในการจัดการขยะร่ วมกับภาครัฐตลอดไปด้วย


38 2.7 กรอบความคิดการศึกษา จากการศึกษาทบทวนเอกสารวิชาการ แนวคิดและผลงานวิจยั ที่ เกี่ ยวข้องกับการบริ หาร จัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุ มชนทาให้สามารถกาหนดกรอบแนวคิดในการศึกษาวิจยั ได้ ดังต่อไปนี้ ตัวแปรอิสระ

1. สภาพแวดล้อมของชุมชนเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย ได้แก่ 1.1 สภาพแวดล้อมทัว่ ไปของชุมชน 1.2 การรับรู ้ขอ้ มูลข่าวสารเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย 1.3 ปริ มาณขยะมูลฝอยแต่ละวัน 1.4. ผูน้ าชุมชนการกับการจัดการขยะมูลฝอย 1.5 อบต.คูบางหลวงกับการจัดการขยะมูลฝอย 2. ความรู ้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอย 3. ลักษณะการจัดการขยะมูลฝอย 3.1 พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย 3.2 การมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอย 3.3 แนวทางพัฒนาการจัดการขยะมูลฝอย 4. ข้อเสนอแนะอื่นๆ

ภาพที่ 2.3 แสดงกรอบแนวคิดในการศึกษาวิจยั

ตัวแปรตาม

การบริหารจัดการขยะมูลฝอยของ ประชาชนในในเขตตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุมแก้ ว จังหวัดปทุมธานี


บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรวิจัย การวิจยั ครั้งนี้ศึกษาการบริ หารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนในเขตตาบลคูบางหลวง อาเภอ ลาดหลุ มแก้ว จังหวัดปทุมธานี เป็ นงานวิจยั เชิ งปริ มาณโดยใช้แบบสัมภาษณ์เป็ นเครื่ องมือในการ เก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้ 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3.2 เครื่ องมือที่ใช้ในศึกษาวิจยั 3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล 3.4 การวิเคราะห์ขอ้ มูล 3.5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล 3.1 ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ ำง 3.1.1 ประชากร ประชากรที่ ใ ช้ใ นการวิจ ัย ครั้ งนี้ ไ ด้แ ก่ ประชาชนในตาบลคู บ างหลวง จานวน 2 ชุมชนซึ่ งเข้าร่ วมในโครงการคัดแยกขยะ คือ ชุ มชนหมู่ 3 บ้านคลองบางโพธิ์ เหนื อ 222 ครัวเรื อน และชุมชนหมู่ 10 บ้านคูขวางมอญ 234 ครัวเรื อน รวมทั้งสิ้ น 456 ครัวเรื อน 3.1.2 กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้ ได้จากการกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยทา การเลือกกลุ่มตัวอย่างเป็ นตัวแทนครัวเรื อนในชุมชน จานวน 213 ครัวเรื อน โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่ม ตัวอย่างประชาชนจากครัวเรื อนทั้งหมดในชุมชนหมู่ 3 บ้านคลองบางโพธิ์ เหนื อ และชุ มชนหมู่ 10 บ้านคูขวางมอญ โดยวิธีการสุ่ มตัวอย่างอย่างง่ายแบบทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) โดยใช้สูตร ดังนี้ n=

เมื่อ n N e

N . 1 + N (e)2 คือ จานวนตัวอย่าง หรื อ ขนาดของกลุ่มประชากร คือ จานวนหน่วยทั้งหมด หรื อ ขนาดของประชากร คือ ความคลาดเคลื่อนของการสุ่ มตัวอย่าง


40 n =

456 1 + 456 (0.05)2 = 213.08

ครัวเรื อน

=

213 ครัวเรื อน

ตำรำงที่ 3.1 แสดงประชากรและกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามสัดส่ วนของจานวนครัวเรื อนของชุมชน ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ ำง ชุมชนหมู่ 3 บ้านคลองบางโพธิ์ เหนือ ชุมชนหมู่ 10 บ้านคูขวางมอญ รวม

ครัวเรือน 222 234 456

กลุ่มตัวอย่ำง 104 109 213

การสุ่ มกลุ่มตัวอย่างครัวเรื อนแบบคานวณจากสัดส่ วนของครัวเรื อนในแต่ละชุ มชน โดยให้หลักเกณฑ์ดงั นี้ n = จานวนครัวเรื อนในแต่ละชุมชน x 213 456 3.2 เครื่องมือทีใ่ ช้ ในกำรศึกษำวิจัย 3.2.1 ลักษณะของเครื่ องมือ เครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็ นแบบสอบถามที่ผวู ้ ิจยั สร้างขึ้นเอง ซึ่ งเป็ น ข้อคาถามที่ตอ้ งการหาปั จจัยที่มีผลต่อการจัดการขยะมูลฝอยและการศึกษารู ปแบบการจัดการขยะ มู ล ฝอยของชุ ม ชนหมู่ ที่ 3 และหมู่ ที่ 10 ในเขตตาบลคู บ างหลวง และพัฒ นากระบวนการไป ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในการจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ต่อไป โดยแบ่งออกเป็ น 4 ขั้นตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่าง ตอนที่ 2 ข้อมูลสภาพแวดล้อมทัว่ ไปของการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชน ได้แก่ การรับรู้ขอ้ มูลข่าวสาร ประเภทและปริ มาณขยะมูลฝอย ผูน้ าชุ มชนและองค์การบริ หารส่ วนตาบล กับการจัดการขยะมูลฝอย ตอนที่ 3 ข้อมูลความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชน


41 โดยคาตอบของคาถามทั้งหมดเป็ นแบบตอบถูกผิด เป็ นข้อคาถามเชิ งบวกได้แก่ ข้อ 3 ข้อ 5 ข้อ 6 และข้อ 9 คาถามเชิงลบ ได้แก่ ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 4 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 10 ข้อ 11 ข้อ 12 ถ้าตอบถูก ได้ 1 คะแนน ถ้าตอบผิดได้ 0 คะแนน สาหรับเกณฑ์ที่ใช้ในการวัดระดับความรู ้ ความเข้าใจเกี่ ยวกับการการจัดการขยะ มูลฝอยของประชาชนในชุมชน กาหนดให้เกณฑ์การวัดระดับค่าร้อยละเฉลี่ยเป็ น 3 ระดับ ดังนี้ ร้อยละเฉลี่ย 66.67 – 100.00 หมายถึง มีความรู้ความเข้าใจในระดับมาก ร้อยละเฉลี่ย 33.34 – 66.66 หมายถึง มีความรู้ความเข้าใจในระดับปานกลาง ร้อยละเฉลี่ย 0.00 – 33.33 หมายถึง มีความรู้ความเข้าใจระดับน้อย ตอนที่ 4 ลักษณะการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชน ได้แก่ 4.1 พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชน โดยคาตอบของคาถามทั้งหมดเป็ นแบบมาตราส่ วนประเมินค่า (Rating Scale) 3 ระดับโดยให้ผตู ้ อบแบบสอบถามประเมินค่าความแต่ละข้อให้ตรงกับความเป็ นจริ งมากที่สุดเพียง ข้อเดียว คะแนน 3 หมายถึงปฏิบตั ิทุกครั้งเป็ นประจา คะแนน 2 หมายถึงปฏิบตั ิบา้ งเป็ นบางครั้ง คะแนน 1 หมายถึงไม่เคยปฏิบตั ิ จากเกณฑ์ดงั กล่ าว สามารถจัดช่ วงคะแนนเฉลี่ ยอยู่ระหว่าง 1-3 คะแนน โดย กาหนดในการแบ่งช่วงคะแนนออกเป็ น 3 ช่วงคะแนน ได้ดงั นี้ ช่วงชั้นคะแนน = =

คะแนนสูงสุ ด - คะแนนต่าสุ ด ระดับการวัด 3 1 3

=

0.66

จะได้เกณฑ์การวัดระดับคะแนนที่แบ่งเป็ น 3 ระดับ ได้ดงั นี้ สาหรับเกณฑ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การให้คะแนนเกี่ยวกับพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย ของประชาชนในชุมชน 2 ชุมชน โดยให้เกณฑ์การวัดระดับคะแนนค่าเฉลี่ยในการแบ่งเป็ น 3 ระดับ ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย 2.33 – 3.00 หมายถึง มีการปฏิบตั ิในระดับเป็ นมาก คะแนนเฉลี่ย 1.67 – 2.32 หมายถึง มีการปฏิบตั ิในระดับปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.66 หมายถึง มีการปฏิบตั ิในระดับน้อย


42 4.2 การมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชน โดยผูศ้ ึ ก ษาได้ส ร้ า งแบบสอบถามค าถามปลายปิ ด ด้ว ยการใช้ม าตรวัด แบบ Likert Scale ซึ่ งจะมีขอ้ คาถามที่ใช้วดั 3 ระดับ (Rating scale) มีคาตอบแบบ 3 ตัวเลือก และมี เกณฑ์การให้คะแนนคาถามเชิงนิรมาน (positive questions) ดังนี้ มีส่วนร่ วมมาก ให้คะแนน 3 คะแนน มีส่วนร่ วมปานกลาง ให้คะแนน 2 คะแนน มีส่วนร่ วมน้อย ให้คะแนน 1 คะแนน จากเกณฑ์ดงั กล่าว สามารถจัดช่ วงคะแนนเฉลี่ ยอยู่ระหว่าง 1-3 คะแนน โดยกาหนดใน การแบ่งช่วงคะแนนออกเป็ น 5 ช่วงคะแนน ได้ดงั นี้ ช่วงชั้นคะแนน = =

คะแนนสูงสุ ด - คะแนนต่าสุ ด ระดับการวัด 3 1 3

=

0.66

จะได้เกณฑ์การวัดระดับคะแนนที่แบ่งเป็ น 3 ระดับ ได้ดงั นี้ สาหรับเกณฑ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การให้คะแนนเกี่ยวกับการมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะ มูลฝอยของประชาชนในชุมชนหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 10 ตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัด ปทุมธานี ให้เกณฑ์การวัดระดับคะแนนค่าเฉลี่ยในการแบ่งเป็ น 3 ระดับ ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย 2.33 – 3.00 หมายถึง มีส่วนร่ วมในระดับมาก คะแนนเฉลี่ย 1.67 – 2.32 หมายถึง มีส่วนร่ วมในระดับปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.66 หมายถึง มีส่วนร่ วมระดับน้อย 4.3 แนวทางการพัฒนาการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชน โดยผูศ้ ึ ก ษาได้ส ร้ า งแบบสอบถามค าถามปลายปิ ด ด้ว ยการใช้ม าตรวัด แบบ Likert Scale ซึ่ งจะมีขอ้ คาถามที่ใช้วดั 3 ระดับ (Rating scale) มีคาตอบแบบ 3 ตัวเลือก และมี เกณฑ์การให้คะแนนคาถามเชิงนิรมาน (positive questions) ดังนี้ เห็นด้วยมาก ให้คะแนน 3 คะแนน มีเห็นด้วยปานกลาง ให้คะแนน 2 คะแนน เห็นด้วยน้อย ให้คะแนน 1 คะแนน จากเกณฑ์ดงั กล่าว สามารถจัดช่ วงคะแนนเฉลี่ ยอยู่ระหว่าง 1-3 คะแนน โดยกาหนดใน การแบ่งช่วงคะแนนออกเป็ น 3 ช่วงคะแนน ได้ดงั นี้


43 ช่วงชั้นคะแนน = =

คะแนนสูงสุ ด - คะแนนต่าสุ ด ระดับการวัด 3 1 3

=

0.66

จะได้เกณฑ์การวัดระดับคะแนนที่แบ่งเป็ น 3 ระดับ ได้ดงั นี้ สาหรับเกณฑ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การให้คะแนนเกี่ยวกับแนวทางพัฒนาการจัดการขยะมูล ฝอยของประชาชนในชุ มชนหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 10 ตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุ มแก้ว จังหวัด ปทุมธานี ให้เกณฑ์การวัดระดับคะแนนค่าเฉลี่ยในการแบ่งเป็ น 3 ระดับ ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย 2.33 – 3.00 หมายถึง เห็นด้วยในระดับมาก คะแนนเฉลี่ย 1.67 – 2.32 หมายถึง เห็นด้วยในระดับปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.66 หมายถึง เห็นด้วยระดับน้อย ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะอื่น ๆ 3.2.2 ขั้นตอนในการสร้างเครื่ องมือ การสร้างเครื่ องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการศึกษาวิจยั ครั้งนี้ ได้ดาเนิ นการ ดังนี้คือ 3.2.2.1 ศึกษาเอกสาร บทความ และผลงานการวิจยั ที่เกี่ ยวข้องกับการศึกษาเกี่ยวกับ แนวคิดและหลักการ ตลอดจนความต้องการและปั ญหาการมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอย ของชุมชนในตาบลคูบางหลวง 3.2.2.2 นาข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้ามาสร้างแบบสอบถาม 3.2.2.3 นาแบบสอบถามที่ผศู ้ ึกษาวิจยั พัฒนาขึ้นให้คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ ตรวจสอบเพื่อเสนอแนะ 3.2.2.4 นาแบบสอบถามให้ผเู้ ชี่ยวชาญตรวจสอบเพื่อให้คาแนะนาและนามาปรับปรุ ง แก้ไข 3.2.2.5 การหาความเชื่ อ มั่น (Reliability) ของแบบสอบถาม โดยทดสอบกับ กลุ่ ม ตัวอย่างที่มีลกั ษณะคล้ายคลึ งกับประชากรที่ศึกษา จานวน 30 ชุ ด ที่ ผ่านกระบวนการปรั บปรุ งข้อ คาถามในเครื่ องมือเรี ยบร้ อยแล้วจากการแนะนาและควบคุ มของอาจารย์ที่ ปรึ กษา ใช้วิธีสถิ ติโดย โปรแกรมสาเร็ จรู ปทางสังคมศาสตร์ หาความเชื่ อมัน่ reliability analysis วิธี Cronbach’s Alpha ซึ่ ง ต้องมีค่าความเชื่ อมัน่ ของเครื่ องมือมากกว่าหรื อเท่ากับ 0.7 (กัลยา วาณิ ชย์ปัญญา, 2546) และจากการ ทดสอบกลุ่มตัวอย่างที่มีลกั ษณะคล้ายคลึงกับประชากรให้ตอบแบบสอบถามพบว่ามีความเชื่ อมัน่ ของ แบบสอบถามเท่ากับ 0.74 ทาให้ผศู้ ึกษาสามารถนาแบบสอบถามลงพื้นที่จริ งได้ต่อไป


44 3.2.2.6 นาแบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบคุ ณภาพจากคณะกรรมการควบคุ ม วิทยานิพนธ์และผูเ้ ชี่ยวชาญไปใช้ในงานวิจยั การศึกษาการบริ หารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนใน เขตตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวดปทุมธานีต่อไป 3.3 กำรเก็บรวบรวมข้ อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล ผูศ้ ึกษาวิจยั ทาลงพื้นที่ชุมชนทั้ง 2 แห่ ง โดยทาการศึกษาค้นคว้าหา ข้อมูลจากเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ 3.3.1 ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ได้แก่ เอกสารทางวิชาการ ซึ่ งเป็ นการสารวจแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจยั ที่เกี่ ยวข้องกับการศึกษาในการบริ หารจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนใน ชุมชน เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการศึกษา 3.3.2 ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ได้แก่ เอกสารเกี่ยวกับสถิติการจัดเก็บขยะมูลฝอย ที่ได้จากหน่วยงานสาธารณสุ ขขององค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง สังเกตการและสอบถาม การจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรื อนในชุ มชนตัวอย่างจานวน 2 ชุ มชนได้แก่ ชุ มชนหมู่ที่ 3 บ้าน คลองบางโพธิ์ เหนื อ และชุ มชนหมู่ที่ 10 บ้านคูขวางมอญ จานวน 213 ครัวเรื อน รวมทั้งการ สังเกตสภาพแวดล้อมในชุมชนของชุมชนตัวอย่าง หลังจากนั้นผูศ้ ึกษาวิจยั นาแบบสอบถามทั้งหมดมาวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิ งปริ มาณเพื่อนาเสนอ ผลการศึกษาและการอภิปรายผลต่อไป 3.4 กำรวิเครำะห์ ข้อมูล ผูศ้ ึกษาวิจยั ดาเนิ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยการตรวจสอบข้อมูล ตรวจสอบความถูกต้อง โดยนาแบบสอบถามที่เก็บรวบรวมได้มาตรวจสอบความสมบูรณ์อีกครั้ง ก่อนดาเนินการสรุ ปผล การการศึกษาและแสดงตารางประกอบคาบรรยายเชิงพรรณนา เพื่อศึกษาการบริ หารจัดการขยะมูล ฝอยของชุมชนในเขตตาบลคูบางหลวง ศึกษารู ปแบบและแนวทางพัฒนาการจัดการขยะมูลฝอยใน ชุมชนเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในชุมชนต่าง ๆ ในเขตตาบลคูบางหลวงต่อไป 3.5 สถิติทใี่ ช้ ในกำรวิเครำะห์ ข้อมูล การศึกษาวิจยั ครั้งนี้ผวู ้ จิ ยั ใช้โปรแกรมสาเร็ จรู ปทางสถิติ เพื่อคานวณหา 3.5.1 สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) การวิเคราะห์ขอ้ มูลพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่าง โดยแยกเป็ น


45 3.5.1.1 ค่าสถิติความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ของข้อมูลทัว่ ไปของ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาวิจยั สภาพแวดล้อมทัว่ ไปในการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชน ความรู้ ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอย 3.5.1.2 ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ของ พฤติ ก รรมการจัดการขยะมู ล ฝอยของประชาชน การมี ส่ วนร่ วมในการจัดการขยะมูล ฝอยของ ประชาชนในชุมชน และแนวทางพัฒนาการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชน


บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล การศึกษาการบริ หารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนในเขตตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุม แก้ว จังหวัดปทุมธานี มีวตั ถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาระดับความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนในเขต ตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี 2. เพื่อศึกษาลักษณะการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชนในเขตตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี 3. เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนในเขตตาบล คู บางหลวง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี โดยทาการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างได้แก่ ประชาชนในตาบลคูบางหลวง จานวน 2 ชุมชนคือ ชุ ม ชนหมู่ 3 บ้า นคลองบางโพธิ์ เหนื อ และชุ ม ชนหมู่ 10 บ้านคู ขวางมอญ จานวนทั้ง สิ้ น 213 ครัวเรื อนโดยใช้สถิ ติพ้ืนฐานค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้ อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ ย (Mean) และ ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) แบ่งออกเป็ น 4 ส่ วน ดังนี้ ส่ วนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่าง ส่ วนที่ 2 ข้อมูลสภาพแวดล้อมทัว่ ไปของการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชน ได้แก่ การรับรู ้ขอ้ มูลข่าวสาร ประเภทและปริ มาณขยะมูลฝอย ผูน้ าชุ มชนและองค์การบริ หารส่ วนตาบล กับการจัดการขยะมูลฝอย ส่ วนที่ 3 ข้อมูลความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชน ส่ วนที่ 4 ลักษณะการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชน ได้แก่ พฤติกรรม การจัดการขยะมูลฝอย การมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอย และแนวทางการพัฒนาการจัดการ ขยะมูลฝอย ส่ วนที่ 5 ข้อเสนอแนะอื่น ๆ


47 ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่ าง ตารางที่ 4.1 แสดงค่าความถี่และค่าร้อยละของข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามเพศ เพศ ชาย หญิง

จานวน (N=213) 81 132

ร้ อยละ 38.0 62.0

จากตารางที่ 4.1 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่างจาแนก ตามเพศ พบว่าส่ วนใหญ่เป็ นเพศหญิง จานวน 132 คน คิดเป็ นร้อยละ 62.0 เป็ นเพศชายจานวน 81 คน คิดเป็ นร้อยละ 38.0 ตารางที่ 4.2 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามอายุ อายุ ต่ากว่า 20 ปี 20-40 ปี 41-60 ปี 60 ปี ขึ้นไป

จานวน (N=213) 10 80 101 22

ร้ อยละ 4.7 37.6 47.4 10.3

จากตารางที่ 4.2 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่างจาแนก ตามอายุ พบว่าส่ วนใหญ่มีอายุระหว่าง 41-60 ปี จานวน 101 คน คิดเป็ นร้อยละ 47.4 รองลงมามี อายุระหว่าง 20-40 ปี จานวน 80 คน คิดเป็ นร้อยละ 37.6 มีอายุระหว่าง 60 ปี ขึ้นไป จานวน 22 คน คิดเป็ นร้อยละ 10.3 และมีอายยุต่ากว่า 20 ปี จานวน 10 คน คิดเป็ นร้อยละ 4.7 ตารางที่ 4.3 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามสถานภาพ สถานภาพ สมรส โสด หม้าย หย่า

จานวน (N=213) 134 42 35 2

ร้ อยละ 62.9 19.7 16.4 0.9


48 จากตารางที่ 4.3 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่างจาแนก ตามสถานภาพ พบว่าส่ วนใหญ่มีสถานภาพสมรส จานวน 134 คน คิดเป็ นร้อยละ 62.9 รองลงมามี สถานภาพโสด จานวน 42 คน คิดเป็ นร้ อยละ 19.7 และมีสถานภาพหม้าย 35 คน คิดเป็ นร้อยละ 16.4 และมีสถานภาพหย่า จานวน 2 คน คิดเป็ นร้อยละ 0.9 ตารางที่ 4.4 แสดงค่าความถี่ และค่าร้ อยละของข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามระดับ การศึกษา ระดับการศึกษา ไม่ได้เรี ยนหนังสื อ ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อนุปริ ญญา ปริ ญญาตรี อื่น ๆ

จานวน (N=213) 19 90 79 6 6 13

ร้ อยละ 8.9 42.3 37.1 2.8 2.8 6.1

จากตารางที่ 4.4 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่างจาแนก ตามระดับการศึกษา พบว่าส่ วนใหญ่มีการศึกษาระดับประถมศึกษา จานวน 90 คน คิดเป็ นร้อยละ 42.3 รองลงมามีการศึกษาระดับมัธยมศึกษา จานวน 79 คน คิดเป็ นร้อยละ 37.1 ไม่ได้รับการศึกษา จานวน 19 คน คิดเป็ นร้ อยละ 8.9 มีการศึกษาระดับอื่นๆ คือการศึกษาทางศาสนา จานวน 13 คน คิดเป็ นร้อยละ 6.1 ระดับอนุปริ ญญาและระดับปริ ญญาตรี จานวน 6 คน คิดเป็ นร้อยละ 2.8 ตารางที่ 4.5 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละ ของข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามอาชีพ อาชีพ ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ธุรกิจส่ วนตัว/ค้าขาย พนักงานบริ ษทั เอกชน รับจ้างทัว่ ไป นักเรี ยน/นักศึกษา แม่บา้ น/พ่อบ้าน

จานวน (N=213) 4 38 28 76 5 56

ร้ อยละ 1.9 17.8 13.1 35.7 2.3 26.3


49 จากตารางที่ 4.5 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่างจาแนก ตามอาชี พ ส่ วนใหญ่มีอาชี พรับจ้างทัว่ ไป จานวน 76 คน คิดเป็ นร้อยละ 35.7 รองลงมามีอาชี พ เป็ นแม่ บ ้า นพ่ อบ้า น จานวน 56 คน คิ ดเป็ นร้ อยละ 26.3 ประกอบอาชี พ ธุ ร กิ จส่ ว นตัว /ค้าขาย จานวน 38 คน คิดเป็ นร้อยละ 17.8 มีอาชีพเป็ นพนักงานบริ ษทั เอกชน จานวน 28.0 คิดเป็ นร้อยละ 31.1 ประกอบอาชี พอื่น ๆ คือเกษตรกร จานวน-6 คน คิดเป็ นร้อยละ 2.8 เป็ นนักเรี ยน/นักศึกษา จานวน 5 คน คิดเป็ นร้อยละ 2.3 และประกอบอาชีพข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ จานวน 4 คน คิดเป็ นร้อยละ 1.9 ตารางที่ 4.6 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละ ของข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามรายได้ รายได้ ต่ากว่า 5 5 10 15 มากกว่า 20

จานวน (N=213) 32 148 24 8 1

ร้ อยละ 15.0 69.5 11.3 3.8 0.5

จากตารางที่ 4.6 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่างจาแนก ตามรายได้ ส่ วนใหญ่มีรายได้ระหว่าง 5,001-10,000 บาทต่อเดื อน จานวน 148 คน คิดเป็ นร้อยละ 69.5 รองลงมามี รายได้ต่ ากว่า 5,000 บาทต่ อเดื อน จานวน 32 คน คิดเป็ นร้ อยละ 15.6 มีรายได้ ระหว่าง 10,001-15,000 บาทต่อเดื อนจานวน 24 คน คิดเป็ นร้อยละ 11.3 มีรายได้ระหว่าง 15,00120,000 บาทต่อเดื อน จานวน 8 คน คิดเป็ นร้อยละ 3.8 และมีรายได้มากกว่า 20,000 บาทขึ้นไป จานวน 1 คน คิดเป็ นร้อยละ 0.5


50 ตารางที่ 4.7 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละ ของข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่างจาแนกตามระยะเวลา ที่อาศัยในชุมชน ระยะเวลาที่อาศัยในชุ มชน 10-20 ปี 20-30 ปี มากกว่า 30 ปี ขึ้นไป

จานวน (N=213) 1 14 198

ร้ อยละ 0.5 6.5 93.0

จากตารางที่ 4.7 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่างจาแนก ตามรายได้ ส่ วนใหญ่อาศัยอยู่ในชุ มชนมากกว่า 30 ปี ขึ้นไป จานวน 198 คน คิดเป็ นร้อยละ 93.0 รองลงมาอาศัยอยูเ่ ป็ นเวลา 20-30 ปี จานวน 14 คน คิดเป็ นร้อยละ 6.5 และอาศัยอยูใ่ นชุ มชน 10-20 ปี จานวน 1 คน คิดเป็ นร้อยละ 0.5 ส่ วนที่ 2 ข้ อมูลสภาพแวดล้อมทัว่ ไปของชุ มชน ตารางที่ 4.8 แสดงค่ า ความถี่ และค่ า ร้ อยละของสภาพแวดล้อมในชุ มชนจาแนกตามการรั บรู้ ข่าวสารการจัดการขยะมูลฝอย การรับรู้ ข่าวสารการจัดการขยะมูลฝอย โทรทัศน์ เสี ยงตามสายของชุมชน หนังสื อพิมพ์ แผ่นพับ/เอกสารสิ่ งพิมพ์ จากคาบอกเล่าของเพื่อนบ้านฯ หอกระจายข่าว การฝึ กอบรม/การประชุม รถเคลื่อนที่ประชาสัมพันธ์ ป้ ายผ้า/ป้ ายโฆษณา

จานวน 140 51 93 20 62 20 42 20 52

ร้ อยละ 65.7 23.9 43.7 9.4 29.1 9.4 19.7 9.4 24.4

จากตารางที่ 4.8 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของสภาพแวดล้อมทัว่ ไปของชุ มชนจาแนก ตามการรับรู ้ข่าวสารการจัดการขยะมูลฝอย พบว่าส่ วนใหญ่รับรู ้ทางโทรทัศน์ จานวน 140 คน คิด เป็ นร้อยละ 65.7 รองลงมารับรู้ทางหนังสื อพิมพ์ จานวน 93 คน คิดเป็ นร้อยละ 43.7 รับรู้ จากคา


51 บอกเล่าของเพื่อนบ้าน อสม. กรรมการชุมชน และอปพร. จานวน 62 คน คิดเป็ นร้อยละ 29.1 รับรู้ ทางป้ ายผ้า /ป้ ายโฆษณา จานวน 52 คน คิ ดเป็ นร้ อยละ 24.4 รั บรู้ ทางเสี ย งตามสายของชุ มชน จานวน 51 คน คิดเป็ นร้อยละ 23.9 รับรู้จากการฝึ กอบรม/การประชุม จานวน 42 คน คิดเป็ นร้อยละ 19.7 รับรู ้จากแผ่นพับ/เอกสารสิ่ งพิมพ์และหอกระจายข่าว จานวน 20 คน คิดเป็ นร้อยละ 9.4 ตารางที่ 4.9 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของสภาพแวดล้อมในชุมชนจาแนกตามปริ มาณขยะมูล ฝอยต่อวัน ปริมาณขยะมูลฝอยต่ อวัน น้อยกว่า 5 กิโลกรัม 5-10 กิโลกรัม 11-15 กิโลกรัม

จานวน 62 141 10

ร้ อยละ 29.1 66.2 4.7

จากตารางที่ 4.9 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของสภาพแวดล้อมทัว่ ไปของชุมชนจาแนก ปริ มาณขยะมูลฝอยต่อวัน พบว่าปริ มาณขยะมูลฝอยในครัวเรื อนบ้านต่อวัน ส่ วนใหญ่มีปริ มาณขยะ มูลฝอยจานวน 5-10 กิโลกรัมต่อวัน จานวน 141 ครัวเรื อน คิดเป็ นร้อยละ 66.2 รองลงมามีปริ มาณ ขยะมูลฝอยในครัวเรื อนน้อยกว่า 5 กิโลกรัม จานวน 62 คน คิดเป็ นร้อยละ 29.1 มีปริ มาณขยะมูล ฝอย 11-15 กิโลกรัม จานวน 10 คน คิดเป็ นร้อยละ 4.7 ตารางที่ 4.10 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของสภาพแวดล้อมในชุมชนจาแนกตามปริ มาณขยะ ในปัจจุบนั ปริมาณขยะในปัจจุบัน เท่าเดิม เพิ่มขึ้น ลดลง

จานวน 11 149 53

ร้ อยละ 5.2 70.0 24.9

จากตารางที่ 4.10 แสดงค่ า ความถี่ และค่ า ร้ อยละของสภาพแวดล้อมทั่วไปของชุ ม ชน จาแนกปริ มาณขยะในปั จจุ บนั พบว่าปริ ม าณขยะมูล ฝอยในปั จจุ บนั ส่ วนใหญ่มีปริ ม าณเพิ่มขึ้ น จานวน 149 คน จานวน 70.0 รองลงมามีปริ มาณลดลง จานวน 53 ครัวเรื อน คิดเป็ นร้ อยละ 24.9 และมีปริ มาณเท่าเดิม จานวน 11 ครัวเรื อน คิดเป็ นร้อยละ 5.2


52 ตารางที่ 4.11 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของสภาพแวดล้อมในชุมชนจาแนกตามประเภทขยะ ในครัวเรื อน ประเภทขยะในครัวเรือน กระป๋ อง ถุงพลาสติก กระดาษ เศษอาหาร กิ่งไม้

จานวน 52 203 67 202 115

ร้ อยละ 24.4 95.3 31.5 94.8 54.0

จากตารางที่ 4.11 แสดงค่ า ความถี่ และค่ า ร้ อยละของสภาพแวดล้อมทัว่ ไปของชุ ม ชน จ าแนกตามประเภทขยะในครั ว เรื อ น พบว่ า ประเภทขยะมู ล ฝอยในครั ว เรื อ น ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ถุงพลาสติก จานวน 203 คน คิดเป็ นร้อยละ 95.3 รองลงมาเป็ นเศษอาหาร จานวน 202 ครัวเรื อน คิด เป็ นร้ อยละ 94.8 เป็ นกิ่ งไม้ จานวน 115 ครัวเรื อน คิดเป็ นร้ อยละ 54.0 เป็ นกระดาษ จานวน 67 ครัวเรื อน คิดเป็ นร้อยละ 31.5 เป็ นกระป๋ อง จานวน 52 ครัวเรื อน คิดเป็ นร้อยละ 24.4 ตารางที่ 4.12 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของสภาพแวดล้อมในชุมชนจาแนกตามประเภทขยะ ในชุมชน ประเภทขยะในชุมชน กระป๋ อง ถุงพลาสติก กระดาษ เศษอาหาร กิ่งไม้

จานวน 98 193 51 173 115

ร้ อยละ 46.0 90.6 23.9 81.2 54.0

จากตารางที่ 4.12 แสดงค่ า ความถี่ และค่ า ร้ อยละของสภาพแวดล้อมทัว่ ไปของชุ ม ชน จาแนกตามประเภทขยะในชุ ม ชนพบว่า ประเภทขยะมู ล ฝอยชุ ม ชน ส่ วนใหญ่ เป็ นถุ ง พลาสติ ก จานวน 193 คน คิดเป็ นร้อยละ 90.6 รองลงมาเป็ นเศษอาหาร จานวน 173 ครัวเรื อน คิดเป็ นร้อยละ 81.2 เป็ นกิ่ งไม้ จานวน 115 ครัวเรื อน คิดเป็ นร้อยละ 54.0 เป็ นกระป๋ อง จานวน 98 ครัวเรื อน คิด เป็ นร้อยละ 46.0 และเป็ นกระดาษ จานวน 51 ครัวเรื อน คิดเป็ นร้อยละ 23.9


53 ตารางที่ 4.13 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของสภาพแวดล้อมในชุมชนจาแนกตามผูน้ าชุมชน ผู้นาชุ มชน เป็ นตัวอย่างที่ดีในการจัดการขยะมูลฝอยที่ถกู วิธี เผยแพร่ ความรู ้และให้คาปรึ กษาการจัดการขยะมูล ฝอยที่ถกู วิธี เป็ นแกนนาในการขอรับบริ การด้านการจัดการ ขยะมูลฝอยกับอบต.คูบางหลวง ตรวจสอบและสอดส่ องดูแลการจัดการขยะมูล ฝอยของประชาชนในชุมชนตลอดเวลา

จานวน 72 151

ร้ อยละ 33.8 70.9

73

34.3

จากตารางที่ 4.13 แสดงค่ า ความถี่ และค่ า ร้ อยละของสภาพแวดล้อมทัว่ ไปของชุ ม ชน จาแนกตามผูน้ าชุมชนพบว่าผูน้ าชุมชนกับการมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน ส่ วน ใหญ่เห็นว่ามีการเผยแพร่ ความรู ้และให้คาปรึ กษาการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกวิธี จานวน 151 คน คิด เป็ นร้ อยละ 70.9 รองลงมาเห็ นว่าเป็ นแกนนาในการขอรั บบริ การด้านการจัดการขยะมูลฝอยกับ อบต.คูบางหลวง จานวน 73 คน คิดเป็ นร้อยละ 34.3 เห็ นว่าเป็ นตัวอย่างที่ดีในการจัดการขยะมูล ฝอยที่ถูกวิธี จานวน 72 คน คิดเป็ นร้อยละ 33.8 เห็นว่ามีการตรวจสอบและสอดส่ องดูแลการจัดการ ขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชนตลอดเวลา จานวน 40 คน คิดเป็ นร้อยละ 14.8 ตารางที่ 4.14 แสดงค่าความถี่ และค่าร้อยละของสภาพแวดล้อมในชุมชนจาแนก ตามการมีส่วนร่ วมของ อบต.คูบางหลวง อบต.คูบางหลวง ลงพื้นที่ตรวจสอบการจัดการขยะมูลฝอยของ ชุมชนเป็ นประจา เผยแพร่ ความรู ้และให้คาปรึ กษาการจัดการขยะ มูลฝอยตลอดเวลา

จานวน 132

ร้ อยละ 62.0

134

62.9


54 ตารางที่ 4.14 (ต่อ) ประเภท มีการจัดการขยะมูลฝอยที่มีประสิ ทธิ ภาพ มีการพัฒนารู ปแบบและระบบการจัดการขยะมูล ฝอยของชุมชนตลอดเวลา มีการเปิ ดโอกาสให้ประชาชนในชุมชนเดินทาง ศึกษาดูงานด้านการจัดการขยะมูลฝอยนอกพื้นที่

จานวน 104 60

ร้ อยละ 48.8 28.2

42

19.7

จากตารางที่ 4.14 แสดงค่ า ความถี่ และค่า ร้ อยละของสภาพแวดล้อมทัว่ ไปของชุ ม ชน จาแนกตามการมีส่วนร่ วมของ อบต.คูบางหลวงพบว่า อบต.คูบางหลวงมี ส่วนร่ วมในการจัดการ ขยะมูลฝอยของชุมชน ในด้านการเผยแพร่ ความรู ้และให้คาปรึ กษาการจัดการขยะมูลฝอยตลอดเวลา จานวน 134 คน คิดเป็ นร้อยละ 62.9 รองลงมาเห็นว่า ลงพื้นที่ตรวจสอบการจัดการขยะมูลฝอยของ ชุ ม ชนเป็ นประจ า จ านวน 132 คน คิ ด เป็ นร้ อ ยละ 62.0 เห็ น ว่ า มี ก ารจัด การขยะมู ล ฝอยที่ มี ประสิ ทธิภาพ จานวน 104 คน คิดเป็ นร้อยละ 48.8 มีการพัฒนารู ปแบบและระบบการจัดการขยะมูล ฝอยของชุ ม ชนตลอดเวลา จานวน 60 คน คิ ดเป็ นร้ อยละ 28.2 และเห็ นว่า มี การเปิ ดโอกาสให้ ประชาชนในชุมชนเดินทางศึกษาดูงานด้านการจัดการขยะมูลฝอยนอกพื้นที่ จานวน 42 คน คิดเป็ น ร้อยละ 19.7 ส่ วนที่ 3 ความรู้ ความเข้ าใจในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุ มชน ตารางที่ 4.15 แสดงค่าความถี่และค่าร้อยละของความรู ้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอย ของประชาชนในชุมชนหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 10 รายละเอียด 1. วิธีการที่เหมาะสมในการกาจัดขยะมูลฝอย คือการกองทิ้งไว้ กลางแจ้งให้ย่อยสลายเองตามธรรมชาติ

ตอบถูก (%) 203 (95.3)

ตอบผิด (%) 10 (4.7)

ระดับความรู้ ความเข้ าใจ มาก


55 ตารางที่ 4.15 (ต่อ) ตอบถูก (%) 2. การจัดการขยะมูลฝอยเป็ นทิ้งเป็ นหน้าที่ขององค์การบริ หาร 171 ส่ วนตาบลแต่เพียงผูเ้ ดียวประชาชนไม่เกี่ยว (80.3) 3. ปัญหาเรื่ องขยะมูลฝอยเป็ นปั ญหาส่ วนรวมที่ทุกคนต้องช่วยกัน 182 แก้ไข (85.4) 4. การแยกขยะเป็ นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่เก็บขนขยะประชาชนไม่ 203 มีส่วนเกี่ยวข้อง (95.3) 5. การนัดเวลาทิ้งและเวลาเก็บทาให้สามารถสร้างนิสยั การทิ้ง 191 ขยะได้เป็ นอย่างดี (89.7) 6. การแยกขยะก่อนทิ้งสามารถลดปริ มาณขยะได้ 155 (72.8) 7. การกาจัดขยะโดยวิธีการทิ้งลงในแม่น้ าสามารถป้ องกันและลด 191 ปัญหามลพิษได้ (98.7) 8. การเผาขยะกลางแจ้งสามารถลดปัญหาขยะตกค้างได้เป็ น 144 อย่างดี (66.7) 9. การนาขยะมูลฝอยกลับมาใช้ใหม่ถือว่าเป็ นแนวทางหนึ่ งใน 181 การลดปริ มาณขยะ (85.0) 10. ในการเผาขยะมูลฝอยประเภทพลาสติกไม่ก่อให้เกิดอันตราย 192 (90.1) 11. การเผาโฟมถือว่าเป็ นการกาจัดขยะมูลฝอยที่ถกู วิธี 213 (100.0) 12. เศษอาหารและเศษผัก ควรทิ้งลงในแม่น้ าเพื่อเป็ นอาหาร 202 ให้แก่สตั ว์น้ า (94.8) 186 รวมเฉลีย่ (87.0) รายละเอียด

ตอบผิด (%) 42 (19.7) 31 (14.6) 10 (4.7) 22 (10.3) 58 (27.2) 22 (10.3) 69 (32.4) 32 (15.0) 21 (9.9) -

ระดับความรู้ ความเข้ าใจ มาก

11 (5.2) 27 (13.0)

มาก

มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก

มาก


56 จากตารางที่ 4.15 แสดงระดับความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนใน ชุ มชนหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 10 พบว่าส่ วนใหญ่มีความรู ้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยในระดับ มาก จากคะแนนร้อยละเฉลี่ยคิดเป็ น 87.0 ซึ่ งมีความรู้ความเข้าใจในเรื่ องการเผาโฟมถือว่าเป็ นการ กาจัดขยะมูลฝอยที่ถูกวิธี ตอบถูกร้อยละ 100.0 รองลงเรื่ องการกาจัดขยะโดยวิธีการทิ้งลงในแม่น้ า สามารถป้ องกันและลดปั ญหามลพิ ษ ได้ ตอบถู ก ร้ อยละ 98.7 เรื่ องการแยกขยะเป็ นหน้าที่ ของ เจ้าหน้าที่เก็บขนขยะประชาชนไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง และวิธีการที่เหมาะสมในการกาจัดขยะมูลฝอย คือการกองทิ้งไว้กลางแจ้งให้ย่อยสลายเองตามธรรมชาติ ตอบถูกร้อยละ 95.3 เรื่ องในการเผาขยะ มูลฝอยประเภทพลาสติกไม่ก่อให้เกิดอันตราย ตอบถูกร้อยละ 90.1 เรื่ องการนัดเวลาทิ้งและเวลาเก็บ ทาให้สามารถสร้างนิ สัยการทิ้งขยะได้เป็ นอย่างดี ตอบถูกร้อยละ 89.7 เรื่ องปั ญหาเรื่ องขยะมูลฝอย เป็ นปั ญหาส่ วนรวมที่ทุกคนต้องช่วยกันแก้ไข ตอบถูกร้อยละ 85.4 เรื่ องการนาขยะมูลฝอยกลับมา ใช้ใหม่ถือว่าเป็ นแนวทางหนึ่ งในการลดปริ มาณขยะ ตอบถูกร้อยละ 85.0 เรื่ องการจัดการขยะมูล ฝอยเป็ นทิ้งเป็ นหน้าที่ขององค์การบริ หารส่ วนตาบลแต่เพียงผูเ้ ดียวประชาชนไม่เกี่ยว ตอบถูกร้อย ละ 80.3 เรื่ องการแยกขยะก่อนทิ้งสามารถลดปริ มาณขยะได้ ตอบถูกร้อยละ 72.8 และเรื่ องการเผา ขยะกลางแจ้งสามารถลดปัญหาขยะตกค้างได้เป็ นอย่างดี ตอบถูกร้อยละ 66.7 ส่ วนที่ 4 ลักษณะการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุ มชน 4.1 พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุ มชน ตารางที่ 4.16 แสดงค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของ ประชาชนในชุมชนหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 10

พฤติกรรมกรจัดการขยะมูลฝอย

Mean

SD.

1. มีการทิ้งขยะมูลฝอยลงในภาชนะรองรับขยะมูลฝอยของ ชุมชน 2. มีการแยกขยะอันตราย เช่น ถ่านไฟฉาย หลอดไฟ แบตเตอรี่ มิให้ปะปนกับขยะชนิดอื่น 3. มีการจัดการมูลฝอยประเภทใบไม้ กิ่งไม้ โดยวิธีการฝังกลบ 4. มีการจัดการมูลฝอยประเภทใบไม้ กิ่งไม้ โดยวิธีการเผา

1.22

0.97

ระดับ พฤติกรรม น้อย

1.30

0.46

น้อย

1.15 1.39

0.35 0.49

น้อย น้อย


57 ตารางที่ 4.16 แสดงค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของ ประชาชนในชุมชนหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 10 (ต่อ)

พฤติกรรมกรจัดการขยะมูลฝอย 5. หลีกเลี่ยงใช้วสั ดุที่ยอ่ ยสลายยาก เช่น พลาสติก โฟม 6. มีการนาขยะประเภทพลาสติก ขวดแก้ว กลับมาใช้ใหม่ 7. มีการให้ความช่วยเหลือหรื ออานวยความสะดวกแก่ พนักงานเก็บขนมูลฝอยขององค์การบริ หารส่ วนตาบล รวมเฉลีย่

Mean

SD.

1.85 1.17 1.57

0.74 0.62 0.58

ระดับ พฤติกรรม ปานกลาง น้อย น้อย

1.37

0.60

น้ อย

จากตารางที่ 4.16 แสดงระดับพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุ มชนหมู่ ที่ 3 และหมู่ที่ 10 ตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี พบว่าประชาชนในชุ มชน มีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในระดับน้อย ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.37 ซึ่ งประชาชนมีพฤติกรรมการ จัดการขยะมูลฝอยด้านการหลี กเลี่ ยงใช้วสั ดุ ที่ย่อยสลายยาก เช่ น พลาสติก โฟม มีค่าเฉลี่ ยเท่ากับ 1.85 รองลงมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยด้านการให้ความช่วยเหลือหรื ออานวยความสะดวก แก่พนักงานเก็บขนมูลฝอยขององค์การบริ หารส่ วนตาบล มีค่าเฉลี่ ยเท่ากับ 1.57 มีการจัดการมูล ฝอยประเภทใบไม้ กิ่ ง ไม้ โดยวิ ธี ก ารเผา มี ค่ า เฉลี่ ย เท่ า กับ 1.39 มี ก ารแยกขยะอัน ตราย เช่ น ถ่านไฟฉาย หลอดไฟ แบตเตอรี่ มิให้ปะปนกับขยะชนิ ดอื่น มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.30 มีการทิ้งขยะมูล ฝอยลงในภาชนะรองรับขยะมูลฝอยของชุมชน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.22 มีการนาขยะประเภทพลาสติก ขวดแก้ว กลับมาใช้ใหม่ มีค่าเฉลี่ ยเท่ากับ 1.17 และมีการจัดการมูลฝอยประเภทใบไม้ กิ่ งไม้ โดย วิธีการฝังกลบ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.15


58 4.2 การมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชน ตารางที่ 4.17 แสดงค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการมีส่วนร่ วมในการจัดการ ขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชนหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 10

การมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอย

Mean

SD.

1. การให้ความช่วยเหลือ เก็บกวาดขยะมูลฝอยสิ่ งของในพื้นที่ สาธารณะ และบริ เวณหน้าที่พกั อาศัย 2. มีส่วนร่ วมในการลดปริ มาณขยะโดยการนาวัสดุใช้แล้ว เช่น ภาชนะรู ปทรงต่าง ๆ ที่ใช้หมดมาทาความสะอาด เพื่อใช้ ประโยชน์อย่างอื่นอีก 3. มีส่วนร่ วมในกิจกรรมทาความสะอาดหรื อจัดการ มูลฝอย ร่ วมกับชุมชนหรื อองค์การบริ หารส่ วนตาบล 4. มีส่วนร่ วมในการลดปริ มาณขยะจากแหล่งกาเนิด เช่น ขยะ จากที่บา้ น หรื อสานักงาน 5. มีความยินดีและปฏิบตั ิตาม ให้ความร่ วมมือกับองค์การ บริ หารส่ วนตาบลเมื่อมีนโยบายหรื อมาตรการเกี่ยวกับการ แก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยขององค์การบริ หารส่ วนตาบล 6. มีส่วนร่ วมเสนอแนะและกาหนดมาตรฐานในการแก้ไข ปัญหาขยะมูลฝอยขององค์การบริ หารส่ วนตาบล 7. มีการประสานงานและการแจ้งให้องค์การบริ หารส่ วนตาบล ทราบ เมื่อมีปัญหาทางด้านการจัดเก็บขยะมูลฝอย รวมเฉลีย่

2.49

0.50

ระดับการมี ส่ วนร่ วม มาก

2.44

0.49

มาก

2.14

0.46

ปานกลาง

2.45

0.57

มาก

2.33

0.47

มาก

2.34

0.47

มาก

2.48

0.50

มาก

2.38

0.49

มาก

จากตารางที่ 4.17 แสดงระดับการมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนใน ชุมชนหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 10 ตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี พบว่าประชาชน มีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.38 โดยประชาชนมี การให้ความช่วยเหลือ เก็บกวาดขยะมูลฝอยสิ่ งของในพื้นที่สาธารณะ และบริ เวณหน้าที่พกั อาศัยมี ค่าเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 2.49 รองลงมามีการประสานงานและการแจ้งให้องค์การบริ หารส่ วนตาบล ทราบ เมื่ อมี ปั ญหาทางด้า นการจัดเก็ บขยะมูล ฝอย มี ค่า เฉลี่ ย เท่ ากับ 2.48 มี ส่วนร่ วมในการลด


59 ปริ มาณขยะจากแหล่งกาเนิ ด เช่น ขยะจากที่บา้ น หรื อสานักงาน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.45 มีส่วนร่ วม ในการลดปริ มาณขยะโดยการนาวัสดุใช้แล้ว เช่น ภาชนะรู ปทรงต่างๆ ที่ใช้หมดมาทาความสะอาด เพื่อใช้ประโยชน์อย่างอื่นอีก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.44 มีส่วนร่ วมเสนอแนะและกาหนดมาตรฐานใน การแก้ไขปั ญหาขยะมูลฝอยขององค์การบริ หารส่ วนตาบล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.34 มีความยินดีและ ปฏิบตั ิตาม ให้ความร่ วมมือกับองค์การบริ หารส่ วนตาบลเมื่อมีนโยบายหรื อมาตรการเกี่ยวกับการ แก้ไขปั ญหาขยะมูลฝอยขององค์การบริ หารส่ วนตาบล มี ค่าเฉลี่ ยเท่ากับ 2.33 และมี ส่วนร่ วมใน กิจกรรมทาความสะอาดหรื อจัดการ มูลฝอยร่ วมกับชุ มชนหรื อองค์การบริ หารส่ วนตาบล มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.14 4.3 แนวทางในการจัดการมูลฝอยขององค์ การบริหารส่ วนตาบลคูบางหลวง ตารางที่ 4.18 แสดงค่าเฉลี่ยและส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของแนวทางในการจัดการขยะมูลฝอยของ องค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง แนวทางการจัดการขยะมูลฝอย

Mean

SD.

1. ควรกาหนดเวลาที่เหมาะสมในการเก็บขนมูลฝอย 2. ควรกาจัดมูลฝอยโดยวิธีการเผา 3. ควรทาการคัดแยกและสร้างสถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยของ องค์การบริ หารส่ วนตาบล 4. ควรสร้างความรู ้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยที่ ถูกต้องแก่ประชาชนตลอดเวลา 5. ควรรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างจิตสานึกแก่ประชาชนเรื่ อง ปัญหามูลฝอยในพื้นที่ 6. ควรจัดกิจกรรมส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะ มูลฝอยแก่ประชาชนในชุมชน 7. ควรมีการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความ สะอาดอย่างเคร่ งครัด 8. ควรมีกฎหมายควบคุม “ผูก้ ่อมลพิษ เป็ นผูจ้ ่าย” รวมเฉลีย่

2.63 1.25 1.84

0.57 0.43 0.48

ระดับความ คิดเห็น มาก น้อย ปานกลาง

2.54

0.50

มาก

2.29

0.45

ปานกลาง

2.24

0.43

ปานกลาง

2.29

0.45

ปานกลาง

2.46 2.19

0.70 0.50

มาก ปานกลาง


60 จากตารางที่ 4.18 แสดงระดับความคิดเห็ นเกี่ยวกับแนวทางพัฒนาการจัดการขยะมูลฝอย ขององค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี พบว่าประชาชนใน ชุ มชนหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 10 มีความเห็นในภาพรวมในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.19 โดย ส่ วนใหญ่เห็ นว่าควรกาหนดเวลาที่เหมาะสมในการเก็บขนมูลฝอยมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด เท่ากับ 2.63 รองลงมาเห็ นว่าควรมีการสร้ างความรู ้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้องแก่ประชาชน ตลอดเวลา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.54 เห็นว่าควรมีกฎหมายควบคุ ม “ผูก้ ่อมลพิษ เป็ นผูจ้ ่าย” มีค่าเฉลี่ ย เท่ากับ 2.46 เห็ นว่าควรรณรงค์ประชาสัมพันธ์ สร้ างจิตสานึ กแก่ ประชาชนเรื่ องปั ญหามูลฝอยใน พื้นที่และควรมีการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความสะอาดอย่างเคร่ งครัด มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.29 เห็นว่าควรจัดกิจกรรมส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยแก่ประชาชนใน ชุ ม ชน มี ค่ า เฉลี่ ยเท่า กับ 2.24 เห็ นว่าควรท าการคัดแยกและสร้ า งสถานี ข นถ่ ายขยะมูลฝอยของ องค์การบริ หารส่ วนตาบล มี ค่าเฉลี่ ยเท่ากับ 1.84 และเห็ นว่าควรกาจัดมูลฝอยโดยวิธีการเผา มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.25 ส่ วนที่ 5 ข้ อเสนอแนะอืน่ ๆ จากการสอบถามกลุ่มตัวอย่างซึ่ งเป็ นประชาชนในชุ มชนหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 10 ตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุ มแก้ว จังหวัดปทุ ม ธานี เกี่ ยวกับการบริ หารจัดการขยะมู ลฝอยของชุ มชนพบว่า มี ข้อเสนอแนะอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ 5.1 ควรมีการประชาสัมพันธ์การจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้องแก่ประชาชนอย่างทัว่ ถึงและ ครอบคลุ ม ทุ ก พื้ น ที่ ใ นความรั บ ผิ ด ชอบขององค์ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลคู บ างหลวง เพื่ อ ให้ มี พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้อง 5.2 ควรจัดให้มีถงั ขยะติดตั้งไว้หน้าบ้านเรื อนของประชาชนในชุ มชน ครัวเรื อนและ 2 ถัง โดยแบ่งเป็ นขยะเปี ยกกับขยะแห้ง เพื่อให้ง่ายต่อการคัดแยกขยะทั้งของประชาชนและเจ้าหน้าที่ ผูป้ ฏิบตั ิงาน 5.3 ควรจัดให้มีการศึกษาดูงานของประชาชนในชุ มชนต่างๆ เพื่อสร้ างจิตสานึ กและเกิ ด การกระตุน้ พฤติกรรมการจัดการที่ถูกต้องและการแข่งขันเชิงสร้างสรรค์ให้แก่ชุมชนต่างๆ ในพื้นที่ 5.4 ผูบ้ ริ หารควรมีนโยบายหรื อการบริ หารจัดการที่จริ งจังในการจัดการขยะมูลฝอยของ ประชาชนในชุ มชนต่ าง ๆ เช่ น การจัดทาโครงการแข่ง ขันชุ มชนสะอาดปลอดขยะ ชุ ม ชนรั ก ษ์ สิ่ งแวดล้อม ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องตลอดเวลา


61 5.5 ผูป้ ฏิ บตั ิ งานด้านการจัดเก็บ ขยะต้องมี ก ารดาเนิ นงานตามรู ปแบบและขั้นตอนการ ดาเนิ นงานอย่างเคร่ งครัด ไม่ทาให้เกิดขยะตกค้างหรื อการจัดเก็บล่าช้าส่ งผลต่อความพึงพอใจของ ประชาชนผูไ้ ด้รับความเดือดร้อนจากมลพิษทางกลิ่นและภูมิทศั น์ของพื้นที่ในชุมชนได้ 5.6 ควรมีการสร้ างขวัญและกาลังใจให้แก่ เจ้าหน้าที่ผูป้ ฏิ บตั ิ งานด้านการจัดการขยะมูล ฝอยที่การดาเนินงานในช่วงก่อนเวลาการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานราชการปกติ คือก่อนเวลา 08.3016.30 น. โดยการจัด กิ จ กรรมหรื อการให้ ผ ลตอบแทนการปฏิ บ ตั ิ ง านที่ เ หมาะสมแก่ พ นัก งาน เจ้าหน้าที่ตลอดเวลา 5.7 ควรมีกิจกรรมสร้างความรู ้ความเข้าใจแก่ประชาชนในการจัดการและรักษาสิ่ งแวดล้อม ที่อาจได้รับผลกระทบจากขยะมูลฝอย สรุ ปผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ จากการศึกษาการบริ หารจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชนในเขตตาบลคูบางหลวง อาเภอลาด หลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ทาการศึกษากับกลุ่มตัวอย่างซึ่ งเป็ นครัวเรื อนในเขตชุ มชนหมู่ที่ 3 บ้าน คลองบางโพธิ์ เหนื อ และชุ มชนหมู่ 10 บ้านคูขวางมอญ จานวน 213 ครัวเรื อน ทาให้ทราบระดับ ความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน ซึ่ งพบว่าประชาชนในครัวเรื อนส่ วนใหญ่มี ความรู้ ค วามเข้า ใจในการจัดการขยะมูล ฝอยในระดับมาก ประชาชนในชุ มชนมี ล ัก ษณะด้า น พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในระดับน้อย ด้านการมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของ ประชาชนในชุ มชนอยู่ในระดับ มาก ประชาชนในชุ มชนส่ วนใหญ่เห็ นด้วยกับแนวทางในการ จัด การขยะมู ล ฝอยของชุ ม ชนที่ ผู้วิ จ ัย น าเสนอในระดับ ปานกลาง และมี ข้อ เสนอแนะใน กระบวนการบริ หารจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชน เช่น การกาหนดนโยบายการจัดการขยะมูลฝอย การเพิ่มจานวนขยะมูลฝอย การประชาสัมพันธ์ การศึกษาดูงานชุ มชนต้นแบบ การจัดกิ จกรรมเพื่อ สร้างความรู้ความเข้าใจในการจัดการและรักษาสิ่ งแวดล้อม เป็ นต้น


บทที่ 5 สรุป อภิปรายผลและข้ อเสนอแนะ การศึกษาการบริ หารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนในเขตตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุม แก้ว จังหวัดปทุมธานี เพื่อศึกษาระดับความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน ศึกษา ลักษณะการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนและแนวทางพัฒนาการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชนใน เขตตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ผูศ้ ึกษาสามารถสรุ ป อภิปรายผลและ ข้อเสนอแนะได้ดงั ต่อไปนี้ 5.1 สรุ ปผลการศึกษา 5.1.1 ข้อมูลทัว่ ไปของกลุ่มตัวอย่าง เพศ ส่ วนใหญ่เป็ นเพศหญิง จานวน 132 คน คิดเป็ นร้อยละ 62.0 เป็ นเพศชายจานวน 81 คน คิดเป็ นร้อยละ 38.0 อายุ ส่ วนใหญ่มีอายุระหว่าง 41-60 ปี จานวน 101 คน คิดเป็ นร้อยละ 47.4 รองลงมา มีอายุระหว่าง 20-40 ปี จานวน 80 คน คิดเป็ นร้อยละ 37.6 มีอายุระหว่าง 60 ปี ขึ้นไป จานวน 22 คน คิดเป็ นร้อยละ 10.3 และมีอายยุต่ากว่า 20 ปี จานวน 10 คน คิดเป็ นร้อยละ 4.7 สถานภาพ ส่ ว นใหญ่ มี ส ถานภาพสมรส จ านวน 134 คน คิ ด เป็ นร้ อ ยละ 62.9 รองลงมามีสถานภาพโสด จานวน 42 คน คิดเป็ นร้อยละ 19.7 และมีสถานภาพหม้าย 35 คน คิดเป็ น ร้อยละ 16.4 และมีสถานภาพหย่า จานวน 2 คน คิดเป็ นร้อยละ 0.9 ระดับการศึกษา ส่ วนใหญ่มีการศึกษาระดับประถมศึกษา จานวน 90 คน คิดเป็ นร้ อย ละ 42.3 รองลงมามี ก ารศึ ก ษาระดับมัธ ยมศึ ก ษา จานวน 79 คน คิ ดเป็ นร้ อยละ 37.1 ไม่ ไ ด้รั บ การศึกษา จานวน 19 คน คิดเป็ นร้อยละ 8.9 มีการศึกษาระดับอื่นๆ คือการศึกษาทางศาสนา จานวน 13 คน คิดเป็ นร้อยละ 6.1 มีการศึกษาระดับอนุปริ ญญาและระดับปริ ญญาตรี จานวน 6 คน คิดเป็ น ร้อยละ 2.8 อาชีพ ส่ วนใหญ่มีอาชีพรับจ้างทัว่ ไป จานวน 76 คน คิดเป็ นร้อยละ 35.7 รองลงมามี อาชี พเป็ นแม่บา้ นพ่อบ้าน จานวน 56 คน คิดเป็ นร้อยละ 26.3 ประกอบอาชี พธุ รกิ จส่ วนตัว/ค้าขาย จานวน 38 คน คิดเป็ นร้อยละ 17.8 มีอาชีพเป็ นพนักงานบริ ษทั เอกชน จานวน 28.0 คิดเป็ นร้อยละ 31.1 ประกอบอาชี พอื่นๆ คือเกษตรกร จานวน-6 คน คิดเป็ นร้อยละ 2.8 เป็ นนักเรี ยน/นักศึกษา จานวน 5 คน คิดเป็ นร้อยละ 2.3 และประกอบอาชีพข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ จานวน 4 คน คิดเป็ นร้อยละ 1.9


63 รายได้ต่อเดือน ส่ วนใหญ่มีรายได้ระหว่าง 5,001-10,000 บาทต่อเดื อน จานวน 148 คน คิดเป็ นร้อยละ 69.5 รองลงมามีรายได้ต่ากว่า 5,000 บาทต่อเดือน จานวน 32 คน คิดเป็ นร้อยละ 15.6 มี รายได้ระหว่าง 10,001-15,000 บาทต่อเดื อนจานวน 24 คน คิดเป็ นร้ อยละ 11.3 มีรายได้ ระหว่าง 15,001-20,000 บาทต่อเดือน จานวน 8 คน คิดเป็ นร้อยละ 3.8 และมีรายได้มากกว่า 20,000 บาทขึ้นไป จานวน 1 คน คิดเป็ นร้อยละ 0.5 ระยะเวลาที่อาศัยในชุมชน ส่ วนใหญ่อาศัยอยูใ่ นชุ มชนมากกว่า 30 ปี ขึ้นไป จานวน 198 คน คิดเป็ นร้อยละ 93.0 รองลงมาอาศัยอยูเ่ ป็ นเวลา 20-30 ปี จานวน 14 คน คิดเป็ นร้อยละ 6.5 และอาศัยอยูใ่ นชุมชน 10-20 ปี จานวน 1 คน คิดเป็ นร้อยละ 0.5 5.1.2 ข้อมูลสภาพแวดล้อมทัว่ ไปของชุมชน การรับรู ้ ขอ้ มูลข่าวสารการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุ มชนหมู่ที่ 3 และ หมู่ ที่ 10 ส่ วนใหญ่ รั บ รู ้ ท างโทรทัศ น์ จานวน 140 คน คิ ดเป็ นร้ อ ยละ 65.7 รองลงมารั บ รู้ ท าง หนังสื อพิมพ์ จานวน 93 คน คิดเป็ นร้อยละ 43.7 รับรู้จากคาบอกเล่าของเพื่อนบ้าน อสม. กรรมการ ชุมชน และอปพร. จานวน 62 คน คิดเป็ นร้อยละ 29.1 รับรู้ทางป้ ายผ้า/ป้ ายโฆษณา จานวน 52 คน คิดเป็ นร้อยละ 24.4 รับรู้ทางเสี ยงตามสายของชุมชน จานวน 51 คน คิดเป็ นร้อยละ 23.9 รับรู้จาก การฝึ กอบรม/การประชุม จานวน 42 คน คิดเป็ นร้อยละ 19.7 รับรู้จากแผ่นพับ/เอกสารสิ่ งพิมพ์และ หอกระจายข่าว จานวน 20 คน คิดเป็ นร้อยละ 9.4 ปริ มาณขยะมูลฝอยในครัวเรื อนบ้านต่อวัน ส่ วนใหญ่มีปริ มาณขยะมูลฝอยจานวน 510 กิ โลกรัมต่อวัน จานวน 141 ครัวเรื อน คิ ดเป็ นร้ อยละ 66.2 รองลงมามีปริ มาณขยะมูลฝอยใน ครั วเรื อนน้อยกว่า 5 กิ โลกรั ม จานวน 62 คน คิ ดเป็ นร้ อยละ 29.1 มี ปริ มาณขยะมูล ฝอย 11-15 กิโลกรัม จานวน 10 คน คิดเป็ นร้อยละ 4.7 ปริ มาณขยะมูลฝอยในปั จจุบนั ส่ วนใหญ่มีปริ มาณเพิ่มขึ้น จานวน 149 คน จานวน 70.0 รองลงมามี ป ริ ม าณลดลง จานวน 53 ครั วเรื อน คิดเป็ นร้ อยละ 24.9 และมี ป ริ ม าณเท่ าเดิ ม จานวน 11 ครัวเรื อน คิดเป็ นร้อยละ 5.2 ประเภทขยะมูลฝอยในครัวเรื อน ส่ วนใหญ่เป็ นถุงพลาสติก จานวน 203 คน คิดเป็ น ร้อยละ 95.3 รองลงมาเป็ นเศษอาหาร จานวน 202 ครัวเรื อน คิดเป็ นร้อยละ 94.8 เป็ นกิ่งไม้ จานวน 115 ครัวเรื อน คิดเป็ นร้ อยละ 54.0 เป็ นกระดาษ จานวน 67 ครัวเรื อน คิดเป็ นร้ อยละ 31.5 เป็ น กระป๋ อง จานวน 52 ครัวเรื อน คิดเป็ นร้อยละ 24.4 ประเภทขยะมูลฝอยชุมชน ส่ วนใหญ่เป็ นถุงพลาสติก จานวน 193 คน คิดเป็ นร้อยละ 90.6 รองลงมาเป็ นเศษอาหาร จานวน 173 ครัวเรื อน คิดเป็ นร้อยละ 81.2 เป็ นกิ่ งไม้ จานวน 115


64 ครัวเรื อน คิ ดเป็ นร้ อยละ 54.0 เป็ นกระป๋ อง จานวน 98 ครั วเรื อน คิดเป็ นร้ อยละ 46.0 และเป็ น กระดาษ จานวน 51 ครัวเรื อน คิดเป็ นร้อยละ 23.9 เป็ น ผูน้ าชุมชนกับการมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน ส่ วนใหญ่เห็นว่ามี การเผยแพร่ ความรู ้ และให้คาปรึ กษาการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกวิธี จานวน 151 คน คิดเป็ นร้อยละ 70.9 รองลงมาเห็ นว่า เป็ นแกนนาในการขอรั บ บริ การด้านการจัดการขยะมูลฝอยกับอบต.คูบาง หลวง จานวน 73 คน คิดเป็ นร้อยละ 34.3 เห็ นว่าเป็ นตัวอย่างที่ดีในการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกวิธี จานวน 72 คน คิดเป็ นร้อยละ 33.8 เห็นว่ามีการตรวจสอบและสอดส่ องดูแลการจัดการขยะมูลฝอย ของประชาชนในชุมชนตลอดเวลา จานวน 40 คน คิดเป็ นร้อยละ 14.8 อบต.คูบางหลวงมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชน ส่ วนใหญ่เห็นว่ามี การเผยแพร่ ความรู ้และให้คาปรึ กษาการจัดการขยะมูลฝอยตลอดเวลา จานวน 134 คน คิดเป็ นร้อย ละ 62.9 รองลงมาเห็ นว่า ลงพื้นที่ตรวจสอบการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชนเป็ นประจา จานวน 132 คน คิดเป็ นร้อยละ 62.0 เห็ นว่ามีการจัดการขยะมูลฝอยที่มีประสิ ทธิ ภาพ จานวน 104 คน คิด เป็ นร้อยละ 48.8 มีการพัฒนารู ปแบบและระบบการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนตลอดเวลา จานวน 60 คน คิดเป็ นร้อยละ 28.2 และเห็นว่ามีการเปิ ดโอกาสให้ประชาชนในชุ มชนเดินทางศึกษาดูงาน ด้านการจัดการขยะมูลฝอยนอกพื้นที่ จานวน 42 คน คิดเป็ นร้อยละ 19.7 5.1.3 ความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชน พบว่า ส่ วนใหญ่ มีค วามรู ้ ค วามเข้าใจในการจัดการขยะมู ล ฝอยในระดับ มาก จาก คะแนนร้อยละเฉลี่ยคิดเป็ น 87.0 ซึ่งมีความรู้ความเข้าใจในเรื่ องการเผาโฟมถือว่าเป็ นการกาจัดขยะ มูลฝอยที่ถูกวิธี ตอบถูกร้อยละ 100.0 รองลงเรื่ องการกาจัดขยะโดยวิธีการทิ้งลงในแม่น้ าสามารถ ป้ องกันและลดปั ญหามลพิษได้ ตอบถูกร้อยละ 98.7 เรื่ องการแยกขยะเป็ นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่เก็บ ขนขยะประชาชนไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง และวิธีการที่เหมาะสมในการกาจัดขยะมูลฝอย คือการกองทิ้ง ไว้กลางแจ้งให้ยอ่ ยสลายเองตามธรรมชาติ ตอบถูกร้อยละ 95.3 เรื่ องในการเผาขยะมูลฝอยประเภท พลาสติกไม่ก่อให้เกิดอันตราย ตอบถูกร้อยละ 90.1 เรื่ องการนัดเวลาทิ้งและเวลาเก็บทาให้สามารถ สร้ างนิ สัยการทิ้งขยะได้เป็ นอย่างดี ตอบถูกร้อยละ 89.7 เรื่ องปั ญหาเรื่ องขยะมูลฝอยเป็ นปั ญหา ส่ วนรวมที่ทุกคนต้องช่วยกันแก้ไข ตอบถูกร้อยละ 85.4 เรื่ องการนาขยะมูลฝอยกลับมาใช้ใหม่ถือว่า เป็ นแนวทางหนึ่งในการลดปริ มาณขยะ ตอบถูกร้อยละ 85.0 เรื่ องการจัดการขยะมูลฝอยเป็ นทิ้งเป็ น หน้าที่ขององค์การบริ หารส่ วนตาบลแต่เพียงผูเ้ ดียวประชาชนไม่เกี่ยว ตอบถูกร้อยละ 80.3 เรื่ องการ แยกขยะก่ อนทิ้ งสามารถลดปริ มาณขยะได้ ตอบถูกร้ อยละ 72.8 และเรื่ องการเผาขยะกลางแจ้ง สามารถลดปั ญหาขยะตกค้างได้เป็ นอย่างดี ตอบถูกร้อยละ 66.7


65 5.1.4 ลักษณะการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชน 5.1.4.1 พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชน พบว่าส่ วนใหญ่ประชาชนในชุมชนมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยในระดับน้อย ค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 1.37 ซึ่ งประชาชนมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยด้านการหลีกเลี่ยงใช้วสั ดุ ที่ยอ่ ยสลายยาก เช่น พลาสติก โฟม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.85 รองลงมีพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอย ด้านการให้ความช่วยเหลือหรื ออานวยความสะดวกแก่พนักงานเก็บขนมูลฝอยขององค์การบริ หาร ส่ วนตาบล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.57 มีการจัดการมูลฝอยประเภทใบไม้ กิ่งไม้ โดยวิธีการเผา มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 1.39 มีการแยกขยะอันตราย เช่น ถ่านไฟฉาย หลอดไฟ แบตเตอรี่ มิให้ปะปนกับขยะชนิ ดอื่น มีค่าเฉลี่ ยเท่ากับ 1.30 มี การทิ้งขยะมูลฝอยลงในภาชนะรองรั บขยะมูลฝอยของชุ มชน มี ค่าเฉลี่ ย เท่ากับ 1.22 มีการนาขยะประเภทพลาสติก ขวดแก้ว กลับมาใช้ใหม่ มีค่าเฉลี่ ยเท่ากับ 1.17 และมี การจัดการมูลฝอยประเภทใบไม้ กิ่งไม้ โดยวิธีการฝังกลบ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.15 5.1.4.2 การมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชน พบว่ า ประชาชนมี ส่ ว นร่ ว มในการจัด การขยะมู ล ฝอยของชุ ม ชนในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.38 โดยประชาชนมีการให้ความช่วยเหลือ เก็บกวาดขยะมูลฝอยสิ่ งของในพื้นที่ สาธารณะ และบริ เวณหน้าที่พกั อาศัยมีค่าเฉลี่ยมากที่สุดเท่ากับ 2.49 รองลงมามีการประสานงาน และการแจ้งให้องค์การบริ หารส่ วนตาบลทราบ เมื่อมีปั ญหาทางด้า นการจัดเก็บ ขยะมูลฝอย มี ค่าเฉลี่ ยเท่ากับ 2.48 มีส่วนร่ วมในการลดปริ มาณขยะจากแหล่งกาเนิ ด เช่ น ขยะจากที่บา้ น หรื อ สานักงาน มี ค่า เฉลี่ ยเท่า กับ 2.45 มี ส่วนร่ วมในการลดปริ มาณขยะโดยการนาวัส ดุ ใ ช้แล้ว เช่ น ภาชนะรู ปทรงต่างๆ ที่ใช้หมดมาทาความสะอาด เพื่อใช้ประโยชน์อย่างอื่นอีก มี ค่าเฉลี่ ยเท่ากับ 2.44 มีส่วนร่ วมเสนอแนะและกาหนดมาตรฐานในการแก้ไขปั ญหาขยะมูลฝอยขององค์การบริ หาร ส่ วนตาบล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.34 มีความยินดี และปฏิบตั ิตาม ให้ความร่ วมมือกับองค์การบริ หาร ส่ วนตาบลเมื่อมีนโยบายหรื อมาตรการเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยขององค์การบริ หารส่ วน ตาบล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.33 และมีส่วนร่ วมในกิจกรรมทาความสะอาดหรื อจัดการ มูลฝอยร่ วมกับ ชุมชนหรื อองค์การบริ หารส่ วนตาบล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.14 5.1.4.3 แนวทางในการจัดการมูลฝอยขององค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง พบว่าประชาชนในชุมชนหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 10 มีความเห็นในภาพรวมในระดับปาน กลาง มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.19 โดยส่ วนใหญ่เห็นว่าควรกาหนดเวลาที่เหมาะสมในการเก็บขนมูลฝอย มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด เท่ากับ 2.63 รองลงมาเห็นว่าควรมีการสร้างความรู ้ความเข้าใจในการจัดการขยะ มูลฝอยที่ถูกต้องแก่ประชาชนตลอดเวลา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.54 เห็นว่าควรมีกฎหมายควบคุม “ผูก้ ่อ มลพิ ษ เป็ นผูจ้ ่ า ย” มี ค่ า เฉลี่ ย เท่ า กับ 2.46 เห็ น ว่า ควรรณรงค์ป ระชาสั ม พัน ธ์ ส ร้ า งจิ ตส านึ ก แก่


66 ประชาชนเรื่ องปั ญหามูลฝอยในพื้นที่และควรมีการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความ สะอาดอย่างเคร่ งครัด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.29 เห็ นว่าควรจัดกิจกรรมส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมในการ จัดการขยะมูลฝอยแก่ประชาชนในชุ มชน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.24 เห็นว่าควรทาการคัดแยกและสร้าง สถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยขององค์การบริ หารส่ วนตาบล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.84 และเห็นว่าควรกาจัด มูลฝอยโดยวิธีการเผา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.25 5.2 การอภิปรายผล จากการศึกษาการบริ หารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนในเขตตาบลคูบางหลวง อาเภอลาด หลุ ม แก้ว จัง หวัด ปทุ ม ธานี สามารถสรุ ป ผลการศึ ก ษาและอภิ ป รายผลตามวัต ถุ ป ระสงค์ไ ด้ ดังต่อไปนี้ 5.2.1 ระดับความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชนในในเขตตาบลคูบาง หลวง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี จากค่าร้ อยละในภาพรวมของความรู้ ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยในระดับมาก ของประชาชนในชุ มชนหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 10 ในเขตตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุ มแก้ว จังหวัด ปทุมธานี แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของการรับรู ้ของประชาชนที่อาจเกิดจากการเรี ยนรู ้สื่อและสิ่ งเร้า ต่างๆ ภายนอกที่มีการเผยแพร่ ความรู ้ ความเข้าใจมากมาย เช่ น การเรี ยนรู ้ จากสื่ อประชาสัมพันธ์ การฟั งจากคาบอกเล่า การทดลองปฏิบตั ิตามและการใช้ประโยชน์จากสิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้มาเป็ นอย่างดี จึงทาให้ประชาชนในชุ มชนกลุ่มตัวอย่างมีความรู ้ความเข้าใจในระดับมากได้ โดยเฉพาะมีความรู ้ ว่าการเผาโฟมเป็ นการกาจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกต้อง รองลงมารู ้วา่ การกาจัดขยะโดยวิธีการทิ้งลงใน แม่น้ าไม่สามารถป้ องกันและลดปั ญหามลพิษได้ ซึ่ งข้อคาถามทั้ง 2 ข้อ เป็ นเรื่ องทัว่ ไปที่สามารถ เรี ยนรู้ได้จากประสบการณ์ตรงของตนเอง ว่าการเผาโฟมที่เป็ นวัสดุอนั ตรายต่อสิ่ งแวดล้อมและชั้น บรรยายกาศของโลกรวมทั้งการทิ้งเศษวัสดุ ต่างๆ ที่ เป็ นของเหลื อใช้หรื อสิ่ งสกปรกลงแม่น้ าลา คลองจะเป็ นอันตรายต่อแหล่งน้ าและสิ่ งมีชีวติ ในน้ าได้ ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่ องการคัด แยกขยะว่า เป็ นหน้า ที่ ข องส่ ว นรวมไม่ ใ ช่ ข องเจ้า หน้า ที่ ผูป้ ฏิ บ ัติง านเท่ า นั้น ที่ เป็ นผูด้ าเนิ นการ ประชาชนทุกคนผูผ้ ลิตขยะมูลฝอยในแต่ละวันก็ตอ้ งมีส่วนร่ วมในการคัดแยกขยะที่เกิดจากตนเอง ด้วย ซึ่ งสอดคล้องกับแนวคิดของกรมส่ งเสริ มการปกครองท้องถิ่น (ม.ป.ป.) ได้ให้รายละเอียดของ แหล่งกาเนิ ดขยะมูลฝอยว่าเกิ ดจากการทากิจกรรมต่างๆ ในครัวเรื อนและสถานประกอบการต่างๆ ในชุมชน เป็ นขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมจากสถานที่ทิ้งขยะ เช่น จากแหล่งชุ มชน อาคาร บ้านเรื อน และร้ านอาหารต่างๆ ในส่ วนของวิธี การที่ เหมาะสมในการกาจัดขยะมูลฝอย คื อการกองทิ้งไว้ กลางแจ้งให้ยอ่ ยสลายเองตามธรรมชาติ ประชาชนก็เห็ นว่าไม่ถูกต้องต้อง คือมีวิธีการที่เหมาะสม


67 ต่อสภาพแวดล้อม เช่ น การฝั งกลบ การเผาโดยเตาเผาไร้ ควัน การหมักขยะมูลฝอยเพื่อผลิ ตน้ า ชีวภาพต่างๆ เหล่านี้ ลว้ นเป็ นวิธีการที่เหมาะสมกว่าการทิ้งไว้กลางแจ้งให้เป็ นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้ อ โรคและพาหะนาโรคต่างๆ มากมาย การนัดเวลาทิ้งและเวลาเก็บทาให้สามารถสร้ างนิ สัยการทิ้ง ขยะได้เป็ นอย่างดี การแก้ไขปั ญหาขยะมูลฝอยเป็ นปั ญหาส่ วนรวมที่ทุกคนต้องช่วยกัน การนาขยะ มูลฝอยกลับมาใช้ใหม่ถือว่าเป็ นแนวทางหนึ่ งในการลดปริ มาณขยะ และส่ วนหนึ่งที่สาคัญของการ จัดการขยะมูลฝอยที่มีประสิ ทธิ ภาพ เพราะการมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชน สามารถสนองตอบแนวทางหรื อวิธีการการบริ หารจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชนและหน่ วยงาน ภาครัฐที่รับผิดชอบให้ประสบความสาเร็ จ ได้เป็ นอย่างดี เพราะการจัดการขยะมูลฝอยมิ ใช่ เป็ น หน้าที่ขององค์การบริ หารส่ วนตาบลแต่เพียงผูเ้ ดียวเท่านั้น ประชาชนสามารถร่ วมดาเนิ นการ ร่ วม คัดแยกขยะก่อนทิ้งได้ ทาให้เกิดการบริ หารจัดการขยะมูลฝอยที่มีประสิ ทธิ ภาพและลดปริ มาณขยะ ที่มีในแต่ละวันลงได้ 5.2.2 ลักษณะการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชนในเขตตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุ ม แก้ว จังหวัดปทุมธานี 5.2.2.1 พฤติกรรมการมีส่วนร่ วมของประชาชนในชุมชน ในภาพรวมค่าร้อยละของพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุ มชนอยู่ ในระดับน้อย ซึ่ งได้แก่พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยด้านการหลีกเลี่ ยงใช้วสั ดุที่ย่อยสลายยาก เช่น พลาสติก โฟม การให้ความช่วยเหลือหรื ออานวยความสะดวกแก่พนักงานเก็บขนมูลฝอยของ องค์การบริ หารส่ วนตาบล การจัดการมูลฝอยประเภทใบไม้ กิ่ งไม้ โดยวิธีการเผา การแยกขยะ อันตราย เช่ น ถ่ านไฟฉาย หลอดไฟ แบตเตอรี่ มิให้ปะปนกับขยะชนิ ด การทิ้งขยะมูลฝอยลงใน ภาชนะรองรับขยะมูลฝอยของชุ มชน การนาขยะประเภทพลาสติ ก ขวดแก้ว กลับมาใช้ใหม่ และ การจัดการมูลฝอยประเภทใบไม้ กิ่งไม้ โดยวิธีการฝังกลบ อาจเป็ นเพราะประชาชนในชุ ม ชนที่ เข้า ร่ วมโครงการคัดแยกขยะมู ล ฝอยของ องค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง มีความรู ้ความเข้าใจในเรื่ องการจัดการขยะมูลฝอยในระดับ มาก ซึ่ งสะท้อนให้เห็นถึงวิถีการปฏิ บตั ิตนของแต่ละคนที่ไม่สร้างปั ญหาขยะมูลฝอยให้กบั ชุ มชน ให้ความร่ วมมือและสนับสนุ นกิ จกรรมโครงการที่เกี่ ยวข้องกับการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชน และหน่ วยงานภาครั ฐ เป็ นประจา แสดงออกถึ งพฤติ ก รรมการจัดการขยะมูล ฝอยที่ ปฏิ บตั ิ เป็ น กิ จวัตรประจาวันที่ ไม่ตอ้ งซับซ้อนหรื อยุ่งยาก จึงเป็ นไปได้ที่ประชาชนในชุ มชนจะมีพฤติกรรม การจัดการขยะมูลฝอยที่อยูใ่ นระดับดีอยูแ่ ล้ว ถึงแม้จะไม่ปฏิบตั ิเป็ นประจาก็ไม่ก่อให้เกิดปั ญหาใน การจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนได้ หรื อเป็ นอาจเป็ นไปได้วา่ ชุมชนหรื อผูน้ าชุ มชนมีส่วนร่ วมและ เป็ นแกนนาในการดาเนิ นงานระหว่างประชาชนกับองค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวงในการ


68 จัดการขยะมูลฝอยเป็ นอย่างดี ผูน้ าชุมชนเป็ นตัวอย่างที่ดีในการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกวิธี รวมทั้งมี การตรวจสอบและสอดส่ องดูแลการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชนตลอดเวลา จึงเป็ น การการบริ หารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนที่ดีที่มีประสิ ทธิ ภาพสามารถรองรับผลของพฤติกรรม การจัดการขยะมูลฝอยประชาชนในแต่ละครัวเรื อนได้ โดยไม่ก่อให้เกิ ดปั ญหาการจัดการขยะมูล ฝอยของชุมชน 5.2.2.2 การมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชน ในภาพรวมพบว่าประชาชนมี ส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชนในระดับ มาก ซึ่ งได้แก่ ประชาชนมี ก ารให้ค วามช่ วยเหลื อในการเก็บ กวาดขยะมูล ฝอยสิ่ ง ของในพื้ นที่ สาธารณะและบริ เ วณหน้า ที่ พ กั อาศัย รองลงมาประชาชนมี ก ารประสานงานและการแจ้งให้ องค์การบริ หารส่ วนตาบลทราบ เมื่อมีปัญหาทางด้านการจัดเก็บขยะมูลฝอย ประชาชนมีส่วนร่ วม ในการลดปริ มาณขยะจากแหล่งกาเนิ ด เช่น ขยะจากที่บา้ นหรื อสานักงาน ประชาชนมีส่วนร่ วมใน การลดปริ มาณขยะโดยการนาวัสดุ ใช้แล้ว เช่ น ภาชนะรู ปทรงต่างๆ ที่ใช้หมดมาทาความสะอาด เพื่อใช้ประโยชน์อย่างอื่นอีก มีส่วนร่ วมเสนอแนะและกาหนดมาตรฐานในการแก้ไขปั ญหาขยะมูล ฝอยขององค์การบริ หารส่ วนตาบล มีความยินดี และปฏิ บตั ิตามเพื่อให้ความร่ วมมื อกับองค์การ บริ หารส่ วนตาบลเมื่ อมี นโยบายหรื อมาตรการเกี่ ยวกับการแก้ไขปั ญหาขยะมูลฝอยขององค์การ บริ หารส่ วนตาบล และมีส่วนร่ วมในกิจกรรมทาความสะอาดหรื อจัดการ มูลฝอยร่ วมกับชุ มชนหรื อ องค์การบริ หารส่ วนตาบล เป็ นเพราะปั ญหาขยะมูลฝอยเป็ นปั ญหาสาคัญที่ส่งผลต่อการดารงชี วิตของประชาชน ทุกคน หากทุกคนไม่ให้ความร่ วมมือหรื อมีส่วนร่ วมในการแก้ไขปั ญหาจะก่อให้เกิดปั ญหาต่างๆ ได้แก่ ปัญหาน้ าเน่าเสี ย อากาศเป็ นพิษส่ งกลิ่นเห็น เป็ นแหล่งพาหะนาของโรคติดต่อต่างๆ ส่ งผล กระทบสุ ขาภาพกายและสุ ขภาพจิตของประชาชนและสิ่ งแวดล้อม และอาจกลายเป็ นปัญหามหภาค ได้ตลอดเวลา ซึ่ งเป็ นไปตามรายงานผลกระทบและปั ญหาที่เกิ ดจากขยะมูลฝอยชุ มชนของกอง วิชาการและแผนงาน กรุ งเทพมหานคร (2543) คือ 1) เกิ ดมลภาวะต่อสิ่ งแวดล้อม 2) แหล่งเพาะ พันธ์ ของเชื้ อโรคและแมลง 3) การเสี่ ยงต่อสุ ขภาพ 4) การสู ญเสี ยทางเศรษฐกิ จ 5) ทาให้ขาด ความสวยงาม 6) ก่อให้เกิดเหตุราคาญ จากผลการศึกษาข้างต้นพบว่าประชาชนมีส่วนร่ วมในการ จัดการขยะมูลฝอยตามหลัก 5R ของกรมส่ งเสริ มคุณภาพสิ่ งแวดล้อม (2540) ซึ่ งได้แก่ 1) Reduce (การลดปริ มาณขยะ) 2) Re-use (การนามาใช้ซ้ า) 3) Repair (การซ่ อมแซมแก้ไขสิ่ งของต่างๆ ให้ สามารถใช้งานต่อได้) 4) Reject (การหลีกเลี่ยงใช้สิ่งของที่ก่อให้เกิดมลพิษ) และ 5) Recycle (การ แปรสภาพและหมุนเวียนนากลับมาใช้ได้ใหม่) นอกจากนั้นการมีส่วนร่ วมของประชาชนยังเป็ น ปั จจัยสาคัญของการจัดการขยะมูลฝอยที่มีประสิ ทธิ ภาพที่ สอดคล้องกับงานวิจยั ของพฤกษพงศ์


69 วิสุทธิ์ ดวงดุษดี (2550) ที่ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลตาบลแม่สาย พบว่าการ มีส่วนร่ วมของประชาชนเป็ นปั จจัยที่มีผลต่อการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลตาบลแม่สาย 5.2.3 แนวทางพัฒนาการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนในเขตตาบล คูบางหลวง อาเภอลาด หลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ประชาชนในชุ ม ชนส่ ว นใหญ่ มี ค วามเห็ น ต่ อ แนวทางพัฒนาการจัด การขยะมู ล ฝอยที่ นาเสนอ จานวน 7 แนวทาง ที่ผศู้ ึกษาวิจยั ได้จากการศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้องไว้ และเสนอแนะไว้ใ นแบบสอบถามพบว่า ประชาชนเห็ นด้วยโดยเรี ยงลาดับได้ดังนี้ 1) ควร กาหนดเวลาที่เหมาะสมในการเก็บขนมูลฝอย 2) ควรมีการสร้างความรู้ความเข้าใจในการจัดการ ขยะมูลฝอยที่ถูกต้องแก่ประชาชนตลอดเวลา 3) ควรมีกฎหมายควบคุม “ผูก้ ่อมลพิษ เป็ นผูจ้ ่าย” 4) ควรรณรงค์ประชาสัมพันธ์ สร้ างจิตสานึ กแก่ประชาชนเรื่ องปั ญหามูลฝอยในพื้นที่และควรมีการ บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความสะอาดอย่างเคร่ งครัด 5) ควรจัดกิ จกรรมส่ งเสริ ม การมี ส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยแก่ประชาชนในชุ มชน 6) ควรทาการคัดแยกและสร้าง สถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยขององค์การบริ หารส่ วนตาบล 7) ควรกาจัดมูลฝอยโดยวิธีการเผา จากลาดับความเห็นของประชาชนที่มีต่อแนวทางพัฒนาการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนที่ ผูศ้ ึกษาวิจยั ได้นาเสนอเป็ นทางเลือกที่ประชาชนเห็นด้วยมากที่สุดที่องค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบาง หลวงจะต้องมีการกาหนดเวลาที่เหมาะสมในการจัดเก็บขยะมูลฝอยของชุ มชนต่างๆ ในเขตเพื่อให้ สอดคล้องกับความต้องการ อาทิเช่น ช่วงเวลาที่เหมาะสมคือก่อนเวลา 6 โมงเช้า และช่วงเวลาหลัง 6 โมงเย็น เพราะเป็ นเวลาที่การจราจรไม่หนาแน่น ไม่ส่งผลต่อการประกอบกิจวัตรประจาวันของ ประชาชน ไม่สร้ า งความราคาญจากกลิ่ นเพราะประชาชนยัง ไม่ออกจากบ้านหรื อกลับเข้าบ้า น เรี ย บร้ อ ยแล้ว ดัง นั้น องค์ ก ารบริ ห รส่ ว นต าบลคู บ างหลวงควรน าไปพิ จ ารณาเป็ นแนวทาง พัฒนาการจัดการการขยะมูลฝอยในอนาคตต่อไป ในส่ วนของการสร้างความรู ้ ความเข้าใจในการ จัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้องแก่ ประชาชนตลอดเวลา และการประชาสัมพันธ์ สร้ างจิ ตสานึ กแก่ ประชาชนเรื่ องปั ญหามูลฝอยในพื้นที่และควรมีการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความ สะอาดอย่างเคร่ งครัด เป็ นสิ่ งที่ตอ้ งปฏิ บตั ิควบคู่กนั ตลอดเวลา เพราะประชาชนบางส่ วนที่ละเลย หรื อไม่เห็นความสาคัญของการจัดการขยะมูลฝอยที่เริ่ มต้นจากตนเองก่อนนั้นจะซึ มซับและเข้าใจ รู ปแบบการดารงชีวติ ที่ถูกต้องจากสังคมและส่ วนร่ วมได้ นอกจากนั้น การก าหนดให้มี ก ฎหมายควบคุ ม “ผูก้ ่ อ มลพิ ษ เป็ นผูจ้ ่ า ย” นั้นเป็ นสิ่ ง ที่ ประชาชาชนเห็ นด้วยว่า ผูป้ ระกอบการต่ า งๆ ที่ มี การผลิ ตขยะมูลประเภทต่า งๆ ควรชดเชยการ บริ หารจัดการที่มีประสิ ทธิ ภาพเพื่อเป็ นผลดีต่อสิ่ งแวดล้อมมากกว่าปกติ ทาให้เกิดความเท่าเทียมกัน และความเหมาะสมต่อการรับผิดชอบต่อสังคมส่ วนร่ วมที่พึงมีในทุกท้องถิ่น ประชาชนเห็นว่าควร


70 จัดกิ จกรรมส่ ง เสริ ม การมี ส่ วนร่ วมในการจัดการขยะมู ล ฝอยแก่ ป ระชาชนในชุ ม ชนเพื่ อสร้ า ง จิตสานึ กและทบทวนความรู ้ความเข้าใจวิธีการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้องให้แก่ประชาชนรวมทั้ง การเผยแพร่ ค วามรู ้ ใ หม่ ที่ ป ระชาชนควรรู ้ เพื่ อ การปฏิ บ ตั ิ ตนที่ ถู ก ต้องต่ อไป ประชาชนเห็ นว่า องค์การบริ หารส่ วนตาลคูบางลวงมีการคัดแยกขยะมูลฝอยและสร้างสถานี ขนถ่ายขยะมูลฝอยของ องค์การบริ หารส่ วนตาบล เพื่อให้การบริ หารจัดการขยะมูลฝอยมีประสิ ทธิ ภาพมากยิ่งขึ้น ทาให้ การดาเนิ นงานมีสถานที่ต้ งั ที่ชดั เจน มีแหล่งคัดแยกขยะมูลฝอยที่มีมาตรฐาน สามารถต่อยอดการ ดาเนินงานได้โดยอาจจาหน่ายหรื อนามาประยุกต์ใช้ใหม่กบั ขยะรี ไซเคิลหรื อการผลิตน้ าชี วภาพจาก ขยะอินทรี ยท์ ี่ได้จากการทิ้งของประชาชนในชุ มชนต่างๆ และนามาใช้ในกระบวนการดาเนิ นงาน ขององค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวงด้านการจัดการสวนสาธารณะในท้องถิ่นได้ และเห็นว่า ควรกาจัดมูลฝอยโดยวิธีการเผาโดยการสร้างเตาเผาไร้ควันที่สามารถประหยัดงบประมาณในการ เก็บขนไปฝังยังแหล่งอื่น ซึ่ งสอดคล้องกับงานวิจยั ของสุ รศักดิ์ โอสถิตพร (2550) ได้ศึกษารู ปแบบ การจัดการขยะมูลฝอยที่เหมาะสมกับเทศบาลตาบลดอยสะเก็ด อาเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชี ยงใหม่ ศึกษษาพบว่ารู ปแบบการจัดการขยะมูลฝอยที่เหมาะสมกับเทศบาลตาบลดอยสะเก็ด ในความเห็น ของประชาชนให้ความเห็นว่า เทศบาลตาบลดอยสะเก็ดควรให้ความรู ้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการ จัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้องอาทิ การจัดกิจกรรมรณรงค์เพื่อปลูกจิตสานึ กในการจากัดขยะมูลฝอย ส่ วนผูบ้ ริ หารเทศบาลให้ความเห็นว่า วิธีการจัดเก็บควรจัดหารถเก็บขยะที่ปิดมิดชิดมากกว่านี้ ซึ่ งจะ สามารถลดกลิ่นรบกวนชาวบ้านได้ และควรปรับปรุ งที่รองรับถังเก็บขยะของครัวเรื อนต่างๆ เพื่อ ป้ องกันสุ นขั คุย้ เขี่ยขยะ ควรมีการส่ งเสริ มและรณรงค์ให้ประชาชนมีการคัดแยกขยะก่อนนามาทิ้ง วิธีการกาจัดพบว่า เทศบาลตาบลดอยสะเก็ดควรสร้างเตาเผาขยะ หรื อหาแหล่งฝังกลบ โดยขอความ ร่ วมมือหรื อประสานงานกับท้องถิ่นที่อยูใ่ กล้เคียงที่มีการฝังกลบที่เหมาะสม และงานวิจยั ของมาริ สา สุ ริน (2551) ศึกษาการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุ มชนเพื่อนาไปสู่ การจัดทาแผนปฏิบตั ิการในเขต เทศบาลตาบลต้นเปา อาเภอสันกาแพงจังหวัดเชี ยงใหม่ ในส่ วนของข้อมูลพื้นฐานที่จะนาไป พัฒนาเป็ นแนวทางสู่ แผนปฏิ บตั ิ การเพื่อการจัดการขยะมูล ฝอยแบบยัง่ ยืน ที่ส รุ ปเป็ นประเด็น หลักๆ ดังนี้ 1) ควรเริ่ มจากการให้ประชาชนมีความรู ้เรื่ องประโยชน์และโทษของขยะมูลฝอย 2) ให้ ความรู ้ประชาชนถึงการจัดเก็บขยะให้ถูกวิธี การนาขยะมูลฝอยประเภทต่างๆ กลับมาใช้ใหม่ 3) เทศบาลควรจัดเตรี ยมถังขยะไว้บริ การประชาชนระบบ 3 ถัง คือ มีถงั ขยะเปี ยก ถังขยะแห้ง และถัง ขยะมีพิษ 4) มีการจูงใจให้ประชาชนในพื้นที่ร่วมมือกันในการรักษาความสะอาด เช่น มีการ ประกวดหมู่บา้ นน่าอยู่ โดยมีการประกาศการจัดลาดับและมอบรางวัลประจาเดือนทุกเดือน เป็ นต้น


71 นอกจากแนวทางพัฒนาการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชนที่ ผูศ้ ึ กษาวิจยั กาหนดขึ้ น แล้ว ประชาชนกลุ่ มตัวอย่างได้เสนอแนะแนวทางพัฒนาอื่ น ๆ ที่ ส อดคล้องกับความต้องการในการ จัด การขยะมู ล ฝอยของชุ ม ชน ซึ่ งได้แ ก่ 1) ต้อ งการให้ มี ถ ัง ขยะติ ด ตั้ง ไว้ห น้า บ้า นเรื อ นของ ประชาชนในชุมชน ครัวเรื อนละ 2 ถัง โดยแบ่งเป็ นขยะเปี ยกกับขยะแห้ง เพื่อให้ง่ายต่อการคัดแยก ขยะทั้งของประชาชนและเจ้าหน้าที่ผปู ้ ฏิบตั ิงาน และง่ายต่อการทิ้งขยะของประชาชน 2) ต้องการ ให้จดั กิจกรรมการศึกษาดูงานของประชาชนในชุมชนต่างๆ เพื่อสร้างจิตสานึ กและเกิดการกระตุน้ พฤติ ก รรมการจัด การที่ ถู ก ต้อ งและการแข่ ง ขัน เชิ ง สร้ า งสรรค์ใ ห้ แ ก่ ชุ ม ชนต่ า งๆ ในพื้ น ที่ 3) ผูบ้ ริ หารควรกาหนดนโยบายหรื อการบริ หารจัดการที่จริ งจัง รัดกุมในการจัดการขยะมูลฝอยของ ประชาชนในชุ มชนต่ างๆ เช่ น การจัดทาโครงการแข่ง ขันชุ มชนสะอาดปลอดขยะ ชุ ม ชนรั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้อ ม ต่ า งๆ ที่ เกี่ ย วข้อ งตลอดเวลา ท าให้ เป็ นวัฒนธรรมของชุ ม ชนที่ ต้อ งอยู่อ ย่า งรั ก ษา สิ่ งแวดล้อมไปพร้อมกับการดารงชี วิตประจาวัน 4) ต้องกรให้ผปู ้ ฏิบตั ิงานด้านการจัดเก็บขยะต้อง ดาเนิ นงานตามรู ปแบบและขั้นตอนอย่างเคร่ งครัด ไม่ให้มีขยะตกค้างหรื อการจัดเก็บล่าช้า เพราะ อาจส่ งผลชี วิตความเป็ นอยูข่ องประชาชนได้ และยังส่ งผลต่อความพึงพอใจของประชาชนผูไ้ ด้รับ ความเดือดร้อนจากมลพิษทางกลิ่นและภูมิทศั น์ของพื้นที่ในชุ มชนได้ 5) ต้องการให้ผบู้ ริ หารสร้าง ขวัญและก าลังใจให้แก่ เจ้าหน้าที่ ผูป้ ฏิ บตั ิ งานด้า นการจัดการขยะมู ลฝอยที่ ต้องมี การดาเนิ นงาน ในช่ วงก่อนเวลาการปฏิบตั ิงานของหน่ วยงานราชการปกติ คือ 8.30 น. และหลังเวลาราชการปกติ คือเวลา 16.30 น. 5.3 ข้ อเสนอแนะจากผู้ตอบสอบถาม ผูต้ อบแบบสอบถามซึ่ งเป็ นประชาชนในชุ ม ชนหมู่ ที่ 3 และหมู่ ที่ 6 ตาบลคู บางหลวง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ได้แสนอแนะแนวทางที่เป็ นประโยชน์ต่อการบริ หารจัดการ ขยะมูลฝอยของชุมชนให้มีประสิ ทธิ ภาพได้ดงั นี้ 5.3.1 ควรการประชาสัมพันธ์การจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้องแก่ประชาชนที่มีประสิ ทธิ ภาพ และทัว่ ถึง ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้อง 5.3.2 ควรมีถงั ขยะติดตั้งไว้หน้าบ้านเรื อนของประชาชนในชุมชน ครัวเรื อนและ 2 ถัง โดย แบ่งเป็ นขยะเปี ยกกับขยะแห้ง เพื่อให้ง่ายต่อการคัดแยกขยะ 5.3.3 ให้มีการศึกษาดูงานด้านการจัดการขยะมูลฝอยที่มีประสิ ทธิภาพของชุมชน เพื่อสร้าง จิตสานึกและเกิดการกระตุน้ พฤติกรรมการจัดการที่ถูกต้อง 5.3.4 ผูบ้ ริ หารควรมีนโยบายหรื อการบริ หารจัดการที่จริ งจังในการจัดการขยะมูลฝอยของ ประชาชนในชุมชนต่างๆ


72 3.5 ผูป้ ฏิ บตั ิ งานด้านการจัดเก็บ ขยะต้องมี ก ารดาเนิ นงานตามรู ปแบบและขั้นตอนการ ดาเนิ นงานอย่างเคร่ งครัด ไม่ทาให้เกิดขยะตกค้างหรื อการจัดเก็บล่าช้าส่ งผลต่อความพึงพอใจของ ประชาชนผูไ้ ด้รับความเดือดร้อนจากมลพิษทางกลิ่นและภูมิทศั น์ของพื้นที่ในชุมชนได้ 3.6 ควรมีค่าตอบแทนการปฏิบตั ิงานนอกเวลาของผูป้ ฏิบตั ิงานเพื่อสร้างขวัญและกาลังใจ 3.7 ควรมี กิ จ กรรมสร้ า งความรู ้ ค วามเข้า ใจแก่ ป ระชาชนในการจัด การและรั ก ษา สิ่ งแวดล้อมที่อาจได้รับผลกระทบจากขยะมูลฝอยอย่างต่อเนื่อง 5.4 ข้ อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่ อไป จากการศึกษาการบริ หารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนในเขตตาบลคูบางหลวง อาเภอลาด หลุ มแก้ว จังหวัดปทุมธานี ทาให้ผศู้ ึกษาทราบระดับความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอย ของชุมชน ทราบลักษณะการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน และแนวทางพัฒนาการจัดการขยะมูล ฝอยของชุ มชนในเขตตาบลคูบางหลวงในอนาคตได้ ดังนั้น เพื่อให้เกิดกระบวนการแก้ไขปั ญหา การจัดการขยะมูลฝอยที่ครอบคลุ มและตรงกับประเด็นปั ญหาหรื อบริ บทของชุ มชนต่างๆ ควรต่อ ยอดการศึกษาในส่ วนของปั จจัยที่มีผลต่อการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชนในเขตตาบลคูบางหลวง อาเภอลาดหลุ มแก้ว จัง หวัดปทุ ม ธานี เพื่อกาหนดแนวทางหรื อส่ ง เสริ มสนับสนุ นกิ จกรรมให้ สอดคล้องกับประเด็นปั ญหาการจัดการขยะมูลฝอยอย่างถูกต้องต่อไป ทาให้ชุมชนต่างๆ ในเขต ตาบลคูบางหลวงมีการจัดการขยะมูลฝอยอย่างถูกต้องและสอดคล้องกับแนวทางการบริ หารจัดการ ขยะมูลฝอยขององค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวงต่อไป


บรรณานุกรม


บรรณานุกรม กรมการปกครอง. (2539). คู่มือการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยเพือ่ นากลับมาใช้ ประโยชน์ . กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์ทอ้ งถิ่น. กรมส่ งเสริ มคุณภาพสิ่ งแวดล้อม. (2542). เคล็ดลับในการจัดการขยะ. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์ทอ้ งถิ่น. กองวิชาการและแผนงาน. (2543). การกาจัดขยะมูลฝอยที่เกิดจากชุ มชน. กรุ งเทพฯ: มปท. กัญญา จาอ้าย. (2549). การมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชนสั นกลางอาเภอสั นกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ . วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการส่ งเสริ มสุ ขภาพ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. กัลยา วาณิ ชย์ปัญญา. (2546). การวิเคราะห์ สถิติ สถิติสาหรับการบริหารและการวิจัย. กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ธงชัย สันติวงษ์. (2543). องค์ การและการบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุ งเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. พฤกษพงศ์ วิสุทธิ์ ดวงดุษดี. (2550). การศึกษาปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาล ตาบลแม่ สาย. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์ . พรรณศิริ ศิริพนั ธุ์. (2546). การตั้งถิ่นฐานและพฤติกรรมการทิง้ ขยะของประชาชนต่ อความเห็น ในการจัดการขยะในเขตเทศบาลเมืองสุ โขทัยธานี จังหวัดสุ โขทัย. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทัว่ ไป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . ไพบูลย์ ช่างเรี ยน. (2532). วัฒนธรรมการบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุ งเทพฯ: อักษรเจริ ญทัศน์. มาริ สา สุ ริน. (2551). การจัดการขยะมูลฝอยโดยชุ มชนเพื่อนาไปสู่ การจัดทาแผนปฏิบัติการในเขต เทศบาลตาบลต้ นเปา อาเภอสั นกาแพงจังหวัดเชียงใหม่ . ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการมนุษย์กบั สิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิรัช วิรัชนิภาวรรณ. (2548). การบริหารจัดการและการบริหารการพัฒนาขององค์ กรตาม รัฐธรรมนูญและหน่ วยงานของรัฐ. กรุ งเทพฯ: นิติธรรม. ______. (2545). การบริหารเมืองหลวงและการบริหารท้องถิ่น : สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส ญีป่ ุ่ น และไทย. กรุ งเทพฯ: โฟร์เพซ. สมพงศ์ เกษมสิ น. (2523). การบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุ งเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.


75 สุ รศักดิ์ โอสถิตพร. (2550). รู ปแบบการจัดการขยะมูลฝอยทีเ่ หมาะสมกับเทศบาลตาบลดอยสะเก็ด อาเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชี ยงใหม่ . วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สุ วดี ศรสี ทอง. (2546). การรับรู้ บทบาทของสมาชิกองค์ การบริหารส่ วนตาบลต่ อการพัฒนา สาธารณสุ ขจังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์ครุ ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริ หารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี . อนันต์ เกตุวงศ์. (2523). หลักและเทคนิคของการวางแผน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุ งเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . Harold, K., & Heinz, W. (1988). Ninth Edition Management. New York: McGraw Hillbook. Yamane, T. (1973). Statistics : and Introductory Analysis. 2 rd. New York: Harper And Row.


ภาคผนวก ก เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการศึกษา


77 แบบสอบถามการวิจัย เรื่องปัจจัยทีม่ ีผลต่ อการจัดการขยะมูลฝอยของชุ มชนในเขตตาบลบางคูหลวง อาเภอลาดหลุมแก้ ว จังหวัดปทุมธานี ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลทัว่ ไป 1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง 2.อายุ ( ) ต่ากว่า 20 ปี ( ) 21-40 ปี ( ) 41-60 ปี ( ) มากกว่า 60 ปี 4. สถานภาพ ( ) สมรส ( ) โสด ( ) หม้าย ( ) หย่า 3. ระดับการศึกษา ( ) ไม่ได้ศึกษา ( ) อนุปริ ญญา ( ) ระดับประถมศึกษา ( ) ปริ ญญาตรี ( ) ระดับมัธยมศึกษา ( ) ปริ ญญาโท ( ) อื่นๆ ระบุ.............................................. 4. อาชีพ ( ) ข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ ( ( ) ธุ รกิจส่ วนตัว/ค้าขาย ( ( ) พนักงานษริ ษทั เอกชน ( ( ) รับจ้าง ( 5. รายได้ของครอบครัว ( ) ต่ากว่า 5,000 บาท ( ( ) 10,001 - 15,000 บาท ( ( ) มากกว่า 20,000 บาท ขึ้นไป 6. ระยะเวลาอยูอ่ าศัยในชุมชน...........................ปี

) ) ) )

นักเรี ยน/นักศึกษาระดับอุดมศึกษา เกษียณอายุ แม่บา้ น/พ่อบ้าน อื่นๆระบุ.........................................

) 5,000 - 10,000 บาท ) 15,001 - 20,000 บาท


78 ส่ วนที่ 2 ข้ อมูลสภาพแวดล้ อมทัว่ ไปของชุ มชน โปรดทาเครื่ องหมาย ในช่องว่างที่ท่านเห็นว่าถูกต้องหรื อตรงกับความรู ้ความเข้าใจของท่าน 2.1 ท่านได้รับข้อมูลข่าวสารการจัดการขยะมูลฝอยจาก (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ) ( ) โทรทัศน์ ( ) หอกระจายข่าวชุมชน ( ) เสี ยงตามสายของชุมชน( ( ) การฝึ กอบรม /การประชุม ( ) หนังสื อพิมพ์ ( ) รถเคลื่อนที่ประชาสัมพันธ์ของอบต. ( ) แผ่นพับ/เอกสารสิ่ งพิมพ์ ( ) ป้ ายผ้า/ป้ ายโฆษณา ( ) จากคาบอกเล่าของเพื่อนบ้าน อสม. กรรมการชุมชน อปพร. 2.2 ปริ มาณขยะมูลฝอยในบ้านของท่านต่อวันประมาณ ( ) น้อยกว่า 5 กิโลกรัม ( ) 5-10 กิโลกรัม . ( ) 11-15 กิโลกรัม ( ) 15 กิโลกรัมขึ้นไป 2.3 ปัจจุบนั ปริ มาณขยะมูลฝอยในบ้านท่าน ( ) เท่าเดิม ( ) เพิ่มขึ้น ( ) ลดลง 2.4 ประเภทขยะมูลฝอยในบ้านท่านที่มีจานวนมากที่สุด (เลือก 3 อันดับที่มากที่สุด) ( ) กระป๋ อง ( ) ถุงพลาสติก ( ) กระดาษ ( ) เศษอาหาร ( ) กิ่งไม้ ( ) ขยะอันตราย (หลอดไฟ กระป๋ องสเปรย์ ฯลฯ) ( ) อื่น ๆ (โปรดระบุ) 2.5 ในชุมชนของท่านส่ วนใหญ่มีขยะมูลฝอยประเภทใดบ้าง (เลือก 3 อันดับมากที่สุด) ( ) กระป๋ อง ( ) ถุงพลาสติก ( ) กระดาษ ( ) เศษอาหาร ( ) กิ่งไม้ ( ) ขยะอันตราย (หลอดไฟ กระป๋ องสเปรย์ ฯลฯ) ( ) อื่น ๆ (โปรดระบุ)


79 2.6 ผูน้ าชุมชนของท่านมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) ( ) เป็ นตัวอย่างที่ดีในการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกวิธี ( ) เผยแพร่ ความรู ้และให้คาปรึ กษาการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกวิธี ( ) เป็ นแกนนาในการขอรับบริ การด้านการจัดการขยะมูลฝอยกับอบต.คูบางหลวง ( ) ตรวจสอบและสอดส่ องดูแลการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุมชน ตลอดเวลา ( ) อื่น ๆ ......................................................................................................... 2.7 อบต.คูบางหลวงมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ) ( ) ลงพื้นที่ตรวจสอบการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนเป็ นประจา ( ) เผยแพร่ ความรู ้และให้คาปรึ กษาการจัดการขยะมูลฝอยตลอดเวลา ( ) มีการจัดการขยะมูลฝอยที่มีประสิ ทธิภาพ ( ) มีการพัฒนารู ปแบบและระบบการจัดการขยะมูลฝอยของชุมชนตลอดเวลา ( ) มีการเปิ ดโอกาสให้ประชาชนในชุมชนเดินทางศึกษาดูงานด้านการจัดการ ขยะมูลฝอยนอกพื้นที่ ( ) อื่น ๆ ......................................................................................................... ส่ วนที่ 3 ข้ อมูลความรู้ ความเข้ าใจในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชน โปรดทาเครื่ องหมาย ในช่องว่างที่ท่านเห็นว่าถูกต้องหรื อตรงกับความรู ้ความเข้าใจของท่าน รายละเอียด 1. วิธีการที่เหมาะสมในการกาจัดขยะมูลฝอย คือการกองทิง้ ไว้กลางแจ้งให้ยอ่ ยสลาย เองตามธรรมชาติ 2. การจัดการขยะมูลฝอยเป็ นทิง้ เป็ นหน้าที่ขององค์การบริ หารส่ วนตาบลแต่เพียงผู ้ เดียวประชาชนไม่เกี่ยว 3. ปั ญหาเรื่ องขยะมูลฝอยเป็ นปั ญหาส่ วนรวมที่ทุกคนต้องช่วยกันแก้ไข 4. การแยกขยะเป็ นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่เก็บขนขยะประชาชนไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง 5. การนัดเวลาทิง้ และเวลาเก็บทาให้สามารถสร้างนิสัยการทิง้ ขยะได้เป็ นอย่างดี 6. การแยกขยะก่อนทิ้งสามารถลดปริ มาณขยะได้ 7. การกาจัดขยะโดยวิธีการทิ้งลงในแม่น้ าสามารถป้ องกันและลดปัญหามลพิษได้ 8. การเผาขยะกลางแจ้งสามารถลดปัญหาขยะตกค้างได้เป็ นอย่างดี 9. การนาขยะมูลฝอยกลับมาใช้ใหม่ถือว่าเป็ นแนวทางหนึ่ งในการลดปริ มาณขยะ 10. ในการเผาขยะมูลฝอยประเภทพลาสติกไม่ก่อให้เกิดอันตราย 11. การเผาโฟมถือว่าเป็ นการกาจัดขยะมูลฝอยที่ถูกวิธี

ใช่

ไม่ ใช่


80 12. เศษอาหารและเศษผัก ควรทิ้งลงในแม่น้ าเพื่อเป็ นอาหารให้แก่สัตว์น้ า ส่ วนที่ 4 ลักษณะการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุ มชน 4.1 พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในชุ มชน โปรดทาเครื่ องหมาย ในช่องว่างที่ท่านเห็นว่าถูกต้องหรื อตรงกับความคิดเห็น รายละเอียด

เป็ นประจา บางครั้ง ไม่ เคย

1. ท่านทิ้งขยะมูลฝอยลงในภาชนะรองรับขยะมูลฝอยของชุมชน 2. ท่านและสมาชิกในครอบครัวแยกขยะอันตราย เช่น ถ่านไฟฉาย หลอดไฟ แบตเตอรี่ มิให้ปะปนกับขยะชนิดอื่น 3. ท่านจัดการมูลฝอยประเภทใบไม้ กิ่งไม้ โดยวิธีการฝังกลบ 4. ท่านจัดการมูลฝอยประเภทใบไม้ กิ่งไม้ โดยวิธีการเผา 5. ท่านหลีกเลี่ยงใช้วสั ดุที่ยอ่ ยสลายยาก เช่น พลาสติก โฟม 6. ท่านนาขยะประเภทพลาสติก ขวดแก้ว กลับมาใช้ใหม่ 7. ท่านให้ความช่วยเหลือหรื ออานวยความสะดวกแก่พนักงาน เก็บขนมูลฝอยขององค์การบริ หารส่ วนตาบล 4.2 การมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชน โปรดทาเครื่ องหมาย ในช่องหลังข้อความที่ท่านเห็นว่าถูกต้องหรื อตรงกับความคิดเห็น 3 = มีส่วนร่ วมมาก 2 = มีส่วนร่ วมปานกลาง 1 = มีส่วนร่ วมน้อย รายละเอียด 1. ท่านได้ให้ความช่วยเหลือ เก็บกวาดขยะมูลฝอยสิ่ งของใน พื้นที่สาธารณะ และบริ เวณหน้าที่พกั อาศัย 2. มีส่วนร่ วมในการลดปริ มาณขยะโดยการนาวัสดุใช้แล้ว เช่น ภาชนะรู ปทรงต่าง ๆ ที่ใช้หมดมาทาความสะอาด เพื่อใช้ ประโยชน์อย่างอื่นอีก 3. ท่านมีส่วนร่ วมในกิจกรรมทาความสะอาดหรื อจัดการ มูล ฝอยร่ วมกับชุมชนหรื อองค์การบริ หารส่ วนตาบล 4. ท่านมีส่วนร่ วมในการลดปริ มาณขยะจากแหล่งกาเนิ ด เช่น ขยะจากที่บา้ น หรื อสานักงาน

1

2

3


81 รายละเอียด

3

2

1

5. มีความยินดีและปฏิบตั ิตาม ให้ความร่ วมมือกับองค์การ บริ หารส่ วนตาบลเมื่อมีนโยบายหรื อมาตรการเกี่ยวกับการ แก้ไขปั ญหาขยะมูลฝอยขององค์การบริ หารส่ วนตาบล 6. ท่านมีส่วนร่ วมเสนอแนะและกาหนดมาตรฐานในการแก้ไข ปัญหาขยะมูลฝอยขององค์การบริ หารส่ วนตาบล 7. มีการประสานงานและการแจ้งให้องค์การบริ หารส่ วนตาบล ทราบ เมื่อมีปัญหาทางด้านการจัดเก็บขยะมูลฝอย 4.3 ข้ อเสนอแนะแนวทางในการจัดการมูลฝอยขององค์ การบริหารส่ วนตาบลคูบางหลวง โปรดทาเครื่ องหมาย ในช่องหลังข้อความที่ท่านเห็นว่าถูกต้องหรื อตรงกับความคิดเห็น 3 = เห็นด้วยมาก 2 = เห็นด้วยปานกลาง 1 = เห็นด้วยน้อย รายละเอียด 1. ควรกาหนดเวลาที่เหมาะสมในการเก็บขนมูลฝอย 2. ควรกาจัดมูลฝอยโดยวิธีการเผา 3. ควรทาการคัดแยกและสร้างสถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยของ องค์การบริ หารส่ วนตาบล 4. ควรสร้างความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยที่ ถูกต้องแก่ประชาชนตลอดเวลา 5. ควรรณรงค์ประชาสัมพันธ์สร้างจิตสานึกแก่ประชาชนเรื่ อง ปัญหามูลฝอยในพื้นที่ 6. ควรจัดกิจกรรมส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมในการจัดการขยะมูล ฝอยแก่ประชาชนในชุมชน 7. ควรมีการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการรักษาความ สะอาดอย่างเคร่ งครัด 8. ควรมีกฎหมายควบคุม “ผูก้ ่อมลพิษ เป็ นผูจ้ ่าย”

3

2

1


82 ส่ วนที่ 5 ข้ อเสนอแนะอืน่ ๆ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ขอขอบคุณที่ให้ความร่ วมมือในการตอบแบบสอบถาม นักศึกษาหลักสู ตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ฯ


ประวัติผู้วจิ ัย ชื่อ –นามสกุล วัน เดือน ปี ที่เกิด สถานที่เกิด ที่อยูป่ ั จจุบนั ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2549 ประวัติการทางาน พ.ศ. 2538 พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2552 ตาแหน่งหน้าที่การงานปั จจุบนั ที่ทางานปัจจุบนั

นางยุพา อยูย่ นื 20 ธันวาคม 2509 จังหวัดปทุมธานี 27/1 หมู่ 7 ตาบลคูบางหลวง อาเภอลดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี พยาบาลศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุ ขและสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยมหิดล พยาบาลเทคนิค สถาบันโรคทรวงอก พยาบาลวิชาชีพ สถาบันโรคทรวงอก องค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง หัวหน้าส่ วนสาธารณสุ ขและสิ่ งแวดล้อม ระดับ 6 องค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง หัวหน้าส่ วนสาธารณสุ ขและสิ่ งแวดล้อม ระดับ 7 องค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง องค์การบริ หารส่ วนตาบลคูบางหลวง



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.