Ad.KURZ_8.5 X 11.5_TPC_JUL20_Final-Outline.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
12/6/2563 BE
18:44
เครื่องพิ มพ์ อิงค์เจ็ทสี ความเร็วสูง
FW5230 พร้อมชุด เจาะรู, จัดชุด, พั บ, เย็บข้าง, เย็บมุงหลังคา
GD7330 พร้อมชุดเข้าเล่ม ไสกาวอัตโนมัติ l l
พิ มพ์ เร็ว 130 แผ่น/นาที
l
หมึกพิ มพ์ 5 สี กันน�้ำ
l
ส�ำหรับงาน Print on Demand สะดวก และรวดเร็ว
FW1230 พร้อมอุปกรณ์จัดชุด, เย็บลวด, Scan, Email, Copy พิ มพ์ เร็ว 120 แผ่น/นาที
l
งานพิ มพ์ B/W ปริมาณมาก พิ มพ์ ต่อเนื่องได้ ไม่มีความร้อน
l
l
l
หมึกพิ มพ์ 4 สี กันน�้ำ
ตีเบอร์ อัตโนมัติ บนกระดาษ NCR
GD9630 พร้อมชุดป้อน และชุดรับกระดาษ 4,000 แผ่น
หมึกพิ มพ์ สีด�ำ กันน�้ำ
l
พิ มพ์ เร็ว 120 แผ่น/นาที
l l
พิ มพ์ เร็ว 160 แผ่น/นาที
l
หมึกพิ มพ์ 5 สี กันน�้ำ
ส�ำหรับงาน Production Print ประสิทธิภาพสูง ต้นทุนต�่ำ
บริษัท ริโซ่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
825 อาคารไพโรจน์กิจจา ชั้น 10 ถนนเทพรัตน แขวงบางนาเหนือ เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทร. 0 2361 4643 แฟกซ์ 0 2361 4652 http://www.riso.co.th/ or http://www.riso.co.jp/
เพิ่มมูลคางานพิมพ
ดวยสีที่ 5 เครื่องพิมพดิจิตอล 5 ปอมพิมพ (CMYK + Special Colors)
พิมพขาวรองพื้น ไดในครั้งเดียว
นายกสมาคม
คุณพงศ์ธีระ พัฒนพีระเดช อุปนายก
129 อาจจะช้าไปสักหน่อยส�ำหรับค�ำว่า สวัสดีปใี หม่ 2564 เนื่องจากว่ากว่าที่วารสารฉบับ 129 จะถึงมือ ของท่านสมาชิกก็ผ่านพ้ นปีใหม่มาร่วม 3 เดือน เริม ี่ ระแสการระบาดของไวรัส COVID-19 ่ ต้นปีทก ยังคงระบาดอย่างต่อเนื่อง หน้ากากอนามัยยัง คงเป็ น ปั จ จั ย ที่ ส� ำ คั ญ ส� ำ หรั บ การด� ำ เนิ น ชี วิ ต ประจ�ำวัน ผ่านพ้ นกันไปแล้วกับงานประกาศและมอบรางวัล การประกวดสิ่งพิ มพ์ แห่งชาติครั้งที่ 14 หรือ Thai Print Awards 2020 ซึ่งทางทีมงาน ได้ ร วบรวมข้ อ มู ล การประกวดไว้ ใ นวารสาร Thai Print ฉบับนี้ หรือสามารถติดตามได้ทาง เว็บไซต์ www.thaiprintawards.com วารสาร Thai Print ฉบับที่ 129 ฉบับนี้ยังคง ้ หาทีห ่ ลากหลาย รวมไปถึงความเคลือ ่ นไหวในแวดวงการพิ มพ์ เทคโนโลยี น�ำเสนอเนือ ที่มีผลต่อแนวโน้มธุรกิจและอุตสาหกรรมไทย ข้อมูลและสถิติต่าง ๆ ที่สามารถไป ประยุกต์ใช้ได้ในการบริหารธุรกิจ สุดท้ายนี้ ในนามของกองบรรณาธิการ ขอขอบพระคุณผูส ้ นับสนุนทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ หากท่านผู้อ่านมีข้อสงสัยในประเด็นใด ๆ ท่านผู้อ่านทุกท่านสามารถสอบถามข้อมูล ่ ะรับค�ำติชมจากทุกท่าน เพิ่ มเติม หรือแนะน�ำติชม Thai Print Magazine ยังพร้อมทีจ เพื่ อปรับปรุงวารสารของเราต่อไป รวิกาญจน์ ทาพั นธ์ บรรณาธิการ
SPECIAL THANKS
ผู้สนับสนุนเคลือบปกวารสาร เพิ่ มคุณค่าให้งานพิ มพ์ สวย รวดเร็ว ทันใจ บริษัท เอ็ม.พี .ลักก์ ยูวี จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2425 9736-41 ผู้ผลิตและจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์ซองทุกชนิด บริษัท สีทอง 555 จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 3441 7555 โทรสาร 0 3441 7599 ผู้สนับสนุนการแยกสี ท�ำเพลท บริษัท สุนทรฟิล์ม จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2216 2760-8, 0 2613 7008-17 ผู้สนับสนุนการไสกาว เข้าเล่ม บริษัท บางกอกบายน์ดิ้ง จ�ำกัด โทรศัพท์ 0 2682 2177-9
คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม คุณณรงค์ศักดิ์ มีวาสนาสุข คุณวิทยา อุปริพุทธิพงศ์ คุณธีระ กิตติธีรพรชัย คุณนิธิ เนาวประทีป คุณพชร จงกมานนท์ คุณธนิต วิริยะรังสฤษฎ์ เลขาธิการ
คุณภาวิมาส กมลสุวรรณ รองเลขาธิการ
คุณสุวิทย์ มหทรัพย์เจริญ คุณปรเมศวร์ ปรียานนท์ คุณชินธันย์ ธีรณัฐพันธ์ คุณอภิเชษฐ์ เอื้อกิจธโรปกรณ์ คุณปิยะวัฒน์ ปิยไพชยนต์ คุณธนเดช เตชะทวีกิจ เหรัญญิก
คุณประเสริฐ หล่อยืนยง นายทะเบียน
คุณณภัทร วิวรรธนไกร ปฏิคม
คุณชินวัชร์ เฉลยวุฒิโรจน์ รองปฏิคม
คุณวิสุทธิ์ จงพิพัฒน์ยิ่ง ประชาสัมพั นธ์
คุณรัชฐกฤต เหตระกูล
รองประชาสัมพั นธ์
คุณวริษฐา สิมะชัย ที่ปรึกษา
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล คุณพรชัย รัตนชัยกานนท์ คุณวิชัย สกลวรารุ่งเรือง คุณเกษม แย้มวาทีทอง คุณปฐม สุทธาธิกุลชัย คุณพิเชษฐ์ จิตรภาวนากุล คุณภาสกร วงษ์ชนะชัย คุณอุทัย ธนสารอักษร คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ คุณสมชัย ศรีวุฒิชาญ คุณสุรเดช เหล่าแสงงาม คุณมารชัย กองบุญมา คุณสุรพล ดารารัตนโรจน์ คุณรังษี เหลืองวารินกุล คุณธนะชัย สันติชัยกูล คุณพรเทพ สามัตถิยดีกุล คุณอาคม อัครวัฒนวงศ์ คุณสุพันธุ์ มงคลสุธี คุณวรกิจ เหลืองเจริญนุกุล คุณชีวพัฒน์ ณ ถลาง ผศ.ดร.ชวาล คูร์พิพัฒน์ ผศ.บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์ อาจารย์พัชราภา ศักดิ์โสภิณ คุณวิวัฒน์ อุตสาหจิต อาจารย์มยุรี ภาคล�ำเจียก ผศ.ดร.กฤติกา ตันประเสริฐ ผศ.ชนัสสา นันทิวัชรินทร์ คุณชัยวัฒน์ ศิริอ�ำพันธ์กุล ผศ.ผกามาศ ผจญแกล้ว ดร.สุชปา เนตรประดิษฐ์ คุณพิมพ์นารา จิรานิธิศนนท์
ที่ปรึกษากฎหมายพิ เศษ
คุณธนา เบญจาธิกุล
ºÃÉ Ô · Ñ à¾ÃÊ«àÔ´¹· à»à»Íà ¤Í¹àÇÃÔ· µ§้Ô ¨Ó¡´ Ñ
“Trust in quality believe in service เชอ่ืมน่ัในคณุภาพ เชอ่ืมอืในบรกิาร ” ¹Óà¢ÒŒ¡ÃдÒɨҡÂâØû áÅÐËÅÒÂáËŧ‹·ÇèÑâÅ¡ á»ÃûÙÁÇŒ¹áÅÐá¼¹‹ ä«Ê» ¡µÔ/ä«Ê¾ àÔÈÉ
For Quality Services
&
Delivery Service
¡ÃдÒɻ͹´ (Woodfree Paper) ¡ÃдÒÉÍÒõŠÁ¹Ñ (Art Paper) ¡ÃдÒÉÍÒõŠ¡ÒôŠ (C1S / C2S Artcard) ¡ÃдÒÉ¡ÅÍ‹§á»§‡ËŧÑà·Ò (Duplex Board)
72-76 «ÍÂ⪤ªÂ Ñ ¨§¨ÓàÃÞ Ô ¶¹¹¾ÃÐÃÒÁ 3 á¢Ç§ºÒ§â¾§¾Ò§ ࢵÂÒ¹¹ÒÇÒ ¡Ã§Øà·¾ÁËÒ¹¤Ã 10120 Êͺ¶ÒÁÃÒÂÅÐàÍÂ Õ ´à¾Á ่Ô àµÁ Ô ËÃÍ×ʧ่Ñ «Í้×
Cer. No. TH14/7594
à» ´·Ó¡Òà ¨.-Ê. àÇÅÒ 08.30-17.30 ¹.
support@presidentsupply.co.th
PS.SUPPORT
094-4195993, 061-7101331 , 061-9793388
CONTENTS NEWS Grand Opening New Product (V180i, V3100i)
16
การประกวดงานพิ มพ์ แห่งชาติ ครัง ้ ที่ 14 Thai Print Awards 2020
18
สวัสดีปีใหม่ 2564 ไฮเดลเบิร์ก กราฟฟิคส์
INDUSTRIAL
KNOWLEDGE
เชิญสัมผัสเครื่องพิ มพ์ ดิจิตอลสี 48 ใหม่ลา่ สุดจาก Konica Minolta รุน ่ AccurioPress C14000/C12000 ที่โชว์รูม บริษัท เนชั่นไวด์ จ�ำกัด
สาระน่ารู้เกี่ยวกับการพิ มพ์ ออฟเซตการควบคุมคุณภาพ ทางการพิ มพ์ ออฟเซต (6)
26
Press Skill Standards
32
การลดต้นทุนเชิงวิศวกรรม ส�ำหรับอุตสาหกรรมการพิ มพ์ และแพคเกจจิ้ง ตอนที่ 5
40
ภาพรวมของ Digital Marketing
64
36
่ งพิ มพ์ สิ่งทอ เครือ กับการปฏิวัติโลกแห่งแฟชั่น
54
งานมอบรางวัล Thai Print Awards 2020
46
72
JYP ปันชม เปิดบ้านพี่ “อมรินทร์“
47
ความต้องการรูปแบบใหม่ “อาหารปลอดภัย” มาคู่ “สิ่งแวดล้อม”
ประกาศรางวัล Food Waste ครั้งที่ 3
50
4 คีย์เวิร์ด เจาะเทรนด์ เแพ็ กเกจจิ้งแห่งปี 64
80
Epson SureColor SC-R5030L เครื่องพิ มพ์ ป้ายโฆษณา หมึกเรซิ่นฐานน�้ำรุ่นแรก
62
เทคโนโลยีท่ม ี ีผลต่อแนวโน้ม ธุรกิจและอุตสาหกรรมไทย ปี 2564 -2566
84
กระป๋องกระดาษ บรรจุภัณฑ์ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
88
ตลาดส่งออก 20 อันดับแรก ของไทยรายประเทศ
92
เลขที่ 311, 311/1 ซอยศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0 2719 6685-7 โทรสาร 0 2719 6688 E-mail : mayuree.tpa@gmail.com Thaiprint Magazine ฝ่ายประชาสัมพั นธ์สมาคมการพิ มพ์ ไทย จัดท�ำขึ้น เพื่ อบริการข่าวสารและสาระความรู้แก่สมาชิกและ บุคคลทั่วไปที่สนใจข่าวสารเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ข้อคิดเห็นและบทความต่างๆ ที่ปรากฎและตีพิมพ์ ในวารสาร เป็นอิสรทรรศน์ของผู้เขียนแต่ละท่าน สมาคมการพิ มพ์ ไทย ไม่จ�ำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป
INTERVIEW มายการพิ มพ์ ขยายธุรกิจ ตลาดการพิ มพ์ เชิงพาณิชย์ โดยเครื่องพิ มพ์ ดิจิทัล HP Indigo 7K
58
เอมี่ ฉี หรือ Amy Qi บริษัท ซันซิน โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
76
ผู้ประสานงาน มยุรีย์ จันทร์รัตนคีรี และวาสนา เสนาะพิ น ออกแบบกราฟฟิค บริษัท เดคอเดีย ดีไซน์ จ�ำกัด 56/12 ถนนเอกชัย แขวงบางขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพฯ 10150 โทรศัพท์ 0 2893 3131 พิ มพ์ ท่ี บริษัท ก.การพิ มพ์ เทียนกวง จ�ำกัด 43 ซอยปราโมทย์ 3 ถนนสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์ 0 2235 3031 โทรสาร 0 2233 5064
The Thai Printing Association thaiprint.org @thethaiprinting
WWW.MPS4U.COM
OPERATOR FOCUSED, RESULTS DRIVEN
BEYOND
THE MACHINE
MPS019-ADV-A4_EFA-Beyond the machine_flexo, hybrid, offset_USA_2020.indd 1
CO
ICATIO
ECTIV
ITY
MPS GOES BEYOND THE MACHINE. With the use of our advanced connectivity platform you can use actual non-biased performance data which is coming out of the press for maximum performance and business results. We do this through innovations in Connectivity and Productivity, by sharing our knowledge of machine operation and Applications, and by offering best-in-class Service.
PL
NN
NS
AP
PR
RVICE
UCTIV
ITY
SE
OD
FLEXO HYBRID OFFSET PRESSES FOR LABELS & FLEXIBLE PACKAGING
C. ILLIES (Thailand) Co., Ltd. Serm-Mit Tower, 18th Fl. Sukhumvit Rd., Soi 21 (Asoke), Wattana, Bangkok 10110 Phone
02 4019779
02-11-2020 11:43
16
NEWS
Grand Opening New Product (V180i, V3100i) โดย ฟู จิ ซีร็อกซ์ วันอังคารที่ 15 ธันวาคม 2563 ณ IDSC ชั้น 25 อาคารซันทาวเวอร์บี ฟูจิ ซีร็อกซ์ จัดกิจกรรม : Grand Opening New Product (V180i , V3100i) วันอังคารที่ 15 ธันวาคม 2563 เวลา 13.00-16.00 น. ณ IDSC ชั้ น 25 อาคารซั น ทาวเวอร์ บี โดยได้จัดงานในธีมคาเฟ่ ผู้เข้าร่วมงานสามารถสั่งเครื่องดื่ม THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
ได้ ต ามความชอบ เริ่ ม ต้ น เปิ ด งานด้ ว ยการกล่ า วต้ อ นรั บ และจุดประสงค์ของการจัดงาน การน�ำเครื่องพิมพ์ไปใช้งาน ต่อยอดการผลิต โดยคุณกิตติกร นงค์สวัสดิ์
NEWS
อาจารย์มยุรี ภาคล�ำเจียก ผู้ทรงคุณวุฒิด้านบรรจุภัณฑ์
17
กิจกรรมอืน่ ๆ เริม่ ต้นด้วยการสัมมนาในหัวข้อ “The Challenges of Consumer Engagement by Your Print Packaging” บรรยายโดย อาจารย์มยุรีย์ ภาคล�ำเจียก - ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้ า นบรรจุ ภั ณ ฑ์ ซึ่ ง ได้ ก ล่ า วถึ ง บทบาทของบรรจุ ภั ณ ฑ์ ต่อธุรกิจ “บรรจุภัณฑ์เป็นพนักงานขายที่พูดไม่ได้”, วงจรชีวิต ผลิตภัณฑ์ และการตลาดในยุค New Normal, ความหมาย ของ Consumer Engagement รวมไปถึงตัวอย่างของ Digital printed packaging for consumer engagement หลังจากนัน้ เป็นการเปิดตัว เครือ่ งพิมพ์ Versant 180i Press และ Versant 3100i Press โดย คุณฮิโรอากิ อาเบะ และ สาธิตการใช้งาน Live Demo เครื่องพิมพ์ทั้งสองรุ่น ซึ่งเป็น เครือ่ งพิมพ์ขนาดกลาง Versant 180i รองรับงานพิมพ์ 45,000 ชิ้นต่อเดือน ส่วน Versant 3100i รองรับงานพิมพ์มากกว่า 100,000 ชิ้นต่อเดือน และปิดท้ายด้วยการส่งมอบเครื่องพิมพ์ Versant 180i เครือ่ งแรกของประเทศไทยให้กบั หรรษาพริน้ ติง้ จ.ระยอง
www.thaiprint.org
18
NEWS
การประกวดงานพิ มพ์ แห่งชาติ ครัง ้ ที่ 14
Thai Print Awards 2020
“THE UNITY FOR SUSTAINBILITY” เอกภาพเพื่ อ ความยั่งยืนของอุตสาหกรรมการพิ มพ์ และบรรจุภัณฑ์ไทย
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
NEWS
กว่ า ระยะเวลาร่ ว ม 8 เดื อ นนั บ ตั้ ง แต่ เริ่ ม ประชาสั ม พั น ธ์ การประกวดงานพิมพ์แห่งชาติ ครั้งที่ 14 หรือ Thai Print Awards 2020 ภายใต้ แ นวคิ ด “THE UNITY FOR SUSTAINBILITY” เอกภาพเพื่อความยั่งยืนของอุตสาหกรรม การพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ไทย จนกระทั่งถึงวันประกาศผลและ มอบรางวัล ถือได้ว่าประสบความส�ำเร็จเป็นอย่างสูง แม้ว่าช่วง ระยะเวลาการด�ำเนินโครงการนั้นจะอยู่ในช่วงการแพร่ระบาด ของไวรัส COVID-19 ซึ่งก�ำลังระบาดอย่างหนัก แต่ก็ไม่ส่งผล มากนัก เนือ่ งจากมีผสู้ นใจส่งผลงานเข้าร่วมประกวดในกิจกรรม ครั้งนี้เป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งคณะกรรมการตัดสินแต่ละท่านได้ ระดมความคิด และพิจารณาคุณภาพด้านการพิมพ์ของแต่ละชิน้ อย่างละเอียดถี่ถ้วน เพื่อคัดเลือกชิ้นงานที่ดีที่สุด ให้ได้รับ รางวัลอันทรงเกียรติจากการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ ผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งมีความเชี่ยวชาญด้านการพิมพ์จากหลายสาขาเข้าร่วมเป็น คณะกรรมการตัดสิน ได้แก่
1. คุณถิร รัตนะนลิน 2. อาจารย์มยุรี ภาคล�ำเจียก 3. ผศ.บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์ 4. คุณประเสริฐ หล่อยืนยง 5. คุณพชร จงกมานนท์ 6. คุณสุวิทย์ มหทรัพย์เจริญ 7. ผศ.ชนัสสา นันทิวัชรินทร์ 8. คุณประสิทธิ์ คล่องงูเหลือม 9. คุณวีรยุทธ อมรเธียร 10. ผศ.นิมิตร เหม่งเวหา 11. คุณฐานิพรรณ เอื้อจงประสิทธิ์ 12. คุณวรวิทย์ เตชะอ�ำนวยสุข 13. คุณชัยวัฒน์ พฤฒิพงศ์พิบูล
19
กรรมการตัดสิน กรรมการตัดสิน กรรมการตัดสิน กรรมการตัดสิน กรรมการตัดสิน กรรมการตัดสิน กรรมการตัดสิน กรรมการตัดสิน กรรมการตัดสิน กรรมการตัดสิน กรรมการตัดสิน กรรมการตัดสิน กรรมการตัดสิน
www.thaiprint.org
20
NEWS
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
NEWS
21
งานประกาศรางวัล Thai Print Awards 2020 แตกต่างจาก การจัดงานในครั้งก่อน ๆ โดยถูกจัดขึ้นตามวิถี New Normal ภายใต้ แ นวคิ ด “NEW RESILIENCE NOW UNITY” บรรยากาศภายในงานมีความเป็นกันเองไม่ทางการมากนัก โดยคุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์ ประธานโครงการฯ รับหน้าที่ กล่าวแสดงความยินดีแก่ผู้ที่ได้รับรางวัลทุกท่านรวมไปถึง รายละเอียดของโครงการที่มีการเลื่อนจากต้นปีมาเป็นปลายปี เนือ่ งจากสถานการณ์ทสี่ ง่ ผลทัว่ โลก และยังส่งผลให้ Mr. Robert R James ประธานธรรมการซึง่ เป็นชาวออสเตรเลียไม่สามารถ เดินทางมาร่วมการตัดสินได้ ผลงานที่ส่งเข้าประกวดในปีนี้มีทั้งสิ้ น 545 ชิ้น จ�ำนวนผู้ที่ได้รับรางวัล 40 บริษัท แบ่งเป็น • เหรียญทอง 20 รางวัล • เหรียญเงิน 23 รางวัล • เหรียญทองแดง 38 รางวัล • Best of the Best 5 รางวัล รวมรางวัลทั้งหมด 86 รางวัล
www.thaiprint.org
22
NEWS
ผลการประกวดงานพิ มพ์ แห่งชาติ ครัง ้ ที่ 14 Thai Print Awards 2020 THE BEST OF THE BEST BEST IN SHEETFED OFFSET C.A.S PAPER AWARD
OFFSET PRINTING ONLY (ระบบการพิมพ์แบบออฟเซ็ตเท่านั้น) 1. โปสเตอร์ / Poster
บริษัท คอมฟอร์ม จ�ำกัด BEST IN MORE THAN ONE PRODUCTION PROCESS
บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท พงษ์วรินการพิมพ์ จ�ำกัด
THE THAI PRINTING ASSOCIATION AWARD
2. ใบปลิว แผ่นปลิว แผ่นพับ แค็ตตาล๊อก จุลสาร อนุสาร จดหมายข่าว 16 หน้า หรือน้อยกว่า โดยไม่รวมปก / Leaflets, Flyers, Folders, Brochures, Booklets, Catalogues and Newsletter - Up to 16 pages excluding cover 4 or more colors
บริษัท พริ้นติ้ง โซลูชั่น จ�ำกัด BEST CREATIVITY IN PRINTING APPLICATIONS & DESIGNS
4. การ์ด บัตรอวยพร นามบัตร สูจบิ ตั ร บัตรเชิญ ในโอกาสต่างๆ / Cards, Greeting Cards, Name
Cards and Invitation Cards
บริษัท พริ้นติ้ง โซลูชั่น จ�ำกัด บริษัท เกรย์ แมทเทอร์ จ�ำกัด บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน)
5. นิตยสาร วารสาร ทีพ่ มิ พ์ดว้ ยระบบป้อนแผ่น Sheetfed Magazines and Journals - 4 or more colors
บริษัท คอมฟอร์ม จ�ำกัด
PRINTING AND PACKAGING INDUSTRY F.T.I. AWARD
บริษัท ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป จ�ำกัด บริษัท พลัสเพรส จ�ำกัด บริษัท ทรินิตี้ พับลิชชิ่ง จ�ำกัด
6. ปฏิทิน / Calendars
บริษัท เกรย์ แมทเทอร์ จ�ำกัด
บริษทั ศิรวิ ฒ ั นาอินเตอร์พริน้ ท์ จ�ำกัด (มหาชน) BEST IN PACKAGING PRINTING AND CONVERTING PROCESSES THE THAI PACKAGING ASSOCIATION AWARD
บริษัท กรังด์ปรีซ์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท พงษ์วรินการพิมพ์ จ�ำกัด
3. แค็ตตาล๊อก จุลสาร อนุสาร จดหมายข่าว มากกว่า 16 หน้า โดยไม่รวมปก / Brochures, Booklets, Catalogues and Newsletter - 4 or more colors (more than 16 pages excluding cover)
บริษัท เมย์ฟลาวเวอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท เกรย์ แมทเทอร์ จ�ำกัด บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน)
7. งานพิมพ์หนังสือจ�ำนวนจ�ำกัด และงานพิมพ์ เลียนแบบภาพศิลป์ / Limited Edition Books and
บริษัท จันวาณิชย์ ซีเคียวริตี้พริ้นท์ติ้ง จ�ำกัด
Art Reproduction
BEST IN DIGITAL PRINTING
THE FEDERATION OF THAI PRINTING INDUSTRIES AWARD
บริษัท สยามพริ้นท์ จ�ำกัด บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จ�ำกัด บริษัท เปเปอร์มอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
บริษัท นีโอดิจิตอล จ�ำกัด THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท พงษ์วรินการพิมพ์ จ�ำกัด บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จ�ำกัด บริษัท พิมพ์ดี จ�ำกัด
NEWS 8. หนังสือที่พิมพ์ 4 สี หรือมากกว่า Book Printing - 4 or more colors
Digital Printing Only (ระบบการพิมพ์แบบดิจิตอลไม่จ�ำกัดรูปแบบ) 12. หนังสือ
23
16. การ์ด และบัตรเชิญ
Cards/Greeting Cards & Invitation Cards
Book Printing - 4 or more colors
บริษัท พงษ์วรินการพิมพ์ จ�ำกัด
บริษัท เปเปอร์ริสต้า จ�ำกัด
บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท นีโอดิจิตอล จ�ำกัด
ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด สมุยอักษร
บริษัท อิมเมจ ควอลิตี้ แล็บ จ�ำกัด
บริษัท กรังด์ปรีซ์ อินเตอร์เนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน)
ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด พลอยการพิมพ์
9. บรรจุภณ ั ฑ์ทพี่ มิ พ์ดว้ ยระบบออฟเซ็ทป้อนแผ่น Packaging Sheetfed Offset
บริษัท นีโอดิจิตอล จ�ำกัด
17. โปสเตอร์ และสิ่งพิมพ์ประเภทสื่อโฆษณา Posters/Showcards & Point of Sale Materials
13. ใบปลิว แผ่นพับ โบรชัวร์
Leaflets/Flyers/Folders/Brochures (up to 16 pages excluding cover)
บริษัท สปีดเจ็ท จ�ำกัด บริษัท จันวาณิชย์ ซีเคียวริตี้พริ้นท์ติ้ง จ�ำกัด บริษัท สยามทบพันแพคเกจจิ้ง จ�ำกัด บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน)
10. งานพิมพ์จากเครื่องป้อนม้วน - กระดาษ 70 gsm และมากกว่า Web Offset - Stock 70 gsm and up
บริษัท บีบอกซ์ ปริ้นติ้ง จ�ำกัด
บริษัท เอ็ม.ไอ.ดับบลิว กรุ๊ป จ�ำกัด
18. บรรจุภัณฑ์ / Digital-Packaging
บริษัท เอ็ม.ไอ.ดับบลิว กรุ๊ป จ�ำกัด บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน)
14. แค็ตตาล๊อก จุลสาร โบรชัวร์
Catalogues/Booklets & Brochures
บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท จันวาณิชย์ ซีเคียวริตี้พริ้นท์ติ้ง จ�ำกัด บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป จ�ำกัด
11. งานพิมพ์จากเครื่องป้อนม้วน - กระดาษ 65 gsm หรือน้อยกว่า Web Offset - Stock 65 gsm and less
บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท บีบอกซ์ ปริ้นติ้ง จ�ำกัด
บริษัท ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป จ�ำกัด
19. งานพิมพ์ดิจิตอล Inkjet, งานพิมพ์ขนาดใหญ่และป้ายโฆษณา
Digital-Wide format - Signage indoor or Outdoor
บริษัท ทีวีจีไทย จ�ำกัด
15. ปฎิทินและหนังสือภาพ Calendars & Photo Books
บริษัท ลัคก์ แอดเวอร์ไทซิ่ง จ�ำกัด
บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท บีบอกซ์ ปริ้นติ้ง จ�ำกัด
บริษัท คอมฟอร์ม จ�ำกัด
บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จ�ำกัด
บริษัท สยามพริ้นท์ จ�ำกัด
บริษัท สุเมฆา จ�ำกัด
บริษัท อิมเมจ ควอลิตี้ แล็บ จ�ำกัด www.thaiprint.org
24
NEWS
งานพิมพ์บรรจุภัณฑ์อ่อนตัว พิมพ์ด้วยระบบ Flexography, Gravure ฉลาก สติกเกอร์ ป้ายบรรจุหีบห่อ (Label and Tags) 20. บรรจุภัณฑ์อ่อนตัวที่พิมพ์ด้วยระบบ Flexography / Flexography (Flexible Packaging)
24. งานส่งเสริมการขาย
Point of Purchase Corrugated
บริษัท จันวาณิชย์ ซีเคียวริตี้พริ้นท์ติ้ง จ�ำกัด บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน)
30. งานพิมพ์เพื่อประชาสัมพันธ์บริษัท หรือผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ Self Promotion
บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน)
25. งานออกแบบและพัฒนาต่อยอดความคิด สร้างสรรค์โดยใช้กระดาษลูกฟูก บริษัท ทีพีเอ็น เฟล็กซ์แพค จ�ำกัด
Creative Corrugated Design Product
บริษัท สุพรชัย จ�ำกัด
21. บรรจุภัณฑ์อ่อนตัวที่พิมพ์ด้วยระบบ Gravure / Gravure (Flexible Packaging)
บริษัท พีดับบลิว พริ้นติ้ง จ�ำกัด บริษัท ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป จ�ำกัด บริษัท โมโหสตูดิโอ จ�ำกัด
Specialty Categories
(งานพิมพ์ประเภทที่เป็นลักษณ์เฉพาะ)
บริษัท ไพร์ม แพ็คเกจจิ้ง จ�ำกัด บริษัท ฟูจิ ซีล แพคเกจจิ้ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด
บริษัท พริ้นติ้ง โซลูชั่น จ�ำกัด
32. งานออกแบบ Graphic/Functional Appeal
26. งานพิมพ์หลากชิ้นที่ใช้เป็นชุด
Multi - Piece Production & Campaigns
บริษัท ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป จ�ำกัด
22. ฉลาก สติกเกอร์ ป้ายบรรจุหีบห่อ
บริษัท ไอดีลแกรรม จ�ำกัด
Labels and Tags any Process/any substrate
บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท อินท์ชญา จ�ำกัด
บริษัท ทรินิตี้ พับลิชชิ่ง จ�ำกัด
บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน)
27. งานการประดับหรือตกแต่งหลังการพิมพ์ Embellishment
33. งานความคิดสร้างสรรค์ Creativeness
บริษัท ทั้งฮั่วซิน จ�ำกัด
งานกระดาษลูกฟูก (Corrugated) 23. บรรจุภัณฑ์กระดาษลูกฟูก ส�ำหรับสินค้าผู้บริโภค Retail Consumer Packaging
บริษัท ลิมมาร์คแอ็ดเวอร์ไทซิ่ง จ�ำกัด
บริษัท เหรียญทองการพิมพ์ (กิมไป๊) จ�ำกัด
บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน)
บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน)
29. การพิมพ์ปรู๊ฟด้วยระบบดิจิตอล Digital Color Proofing
บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เอ็นพีพี บ็อกซ์ จ�ำกัด THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
บริษัท สยามทบพันแพคเกจจิ้ง จ�ำกัด
ผลการตัดสินทัง ้ หมด
NEWS
25
ตารางสรุปเหรียญรางวัล งานประกวดสิ่งพิ มพ์ แห่งชาติครั้งที่ 14 COMPANY NAME
บริษัท ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์ จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท จันวาณิชย์ ซีเคียวริตี้พริ้นท์ติ้ง จ�ำกัด บริษัท นีโอดิจิตอล จ�ำกัด บริษัท พริ้นติ้ง โซลูชั่น จ�ำกัด บริษัท คอมฟอร์ม จ�ำกัด บริษัท พงษ์วรินการพิมพ์ จ�ำกัด บริษัท พลัสเพรส จ�ำกัด บริษัท สยามพริ้นท์ จ�ำกัด บริษัท เมย์ฟลาวเวอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท ลัคก์ แอดเวอร์ไทซิ่ง จ�ำกัด บริษัท ทีพีเอ็น เฟล็กซ์แพค จ�ำกัด บริษัท ไพร์ม แพ็คเกจจิ้ง จ�ำกัด บริษัท ทั้งฮั่วซิน จ�ำกัด บริษัท สุพรชัย จ�ำกัด บริษัท ไอดีลแกรม จ�ำกัด บริษัท เหรียญทองการพิมพ์ (กิมไป๊) จ�ำกัด บริษัท รุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จ�ำกัด บริษัท ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป จ�ำกัด บริษัท เกรย์ แมทเทอร์ จ�ำกัด บริษัท บีบอกซ์ ปริ้นติ้ง จ�ำกัด บริษัท ทรินิตี้ พับลิชชิ่ง จ�ำกัด บริษัท เปเปอร์มอร์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท อิมเมจ ควอลิตี้ แล็บ จ�ำกัด บริษัท เปเปอร์ริสต้า จ�ำกัด บริษัท สปีดเจ็ท จ�ำกัด บริษัท ฟูจิ ซีล แพคเกจจิ้ง (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท โมโหสตูดิโอ จ�ำกัด บริษัท ลิมมาร์คแอ็ดเวอร์ไทซิ่ง จ�ำกัด บริษัท พีดับบลิว พริ้นติ้ง จ�ำกัด บริษัท อินท์ชญา จ�ำกัด บริษัท สยามทบพันแพคเกจจิ้ง จ�ำกัด บริษัท กรังด์ปรีซ์ อินเตอร์แนชั่นแนล จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เอ็ม.ไอ.ดับบลิว กรุ๊ป จ�ำกัด บริษัท พิมพ์ดี จ�ำกัด ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด สมุยอักษร ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด พลอยการพิมพ์ บริษัท ทีวีจีไทย จ�ำกัด บริษัท ด่านสุทธาการพิมพ์ จ�ำกัด บริษัท สุเมฆา จ�ำกัด บริษัท เอ็นพีพี บ็อกซ์ จ�ำกัด รวมเหรียญรางวัลทั้งหมด
BEST OF THE BEST
GOLD
SILVER
BRONZE
TOTAL
1 1 1 1 1
5 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 -
5 1 1 1 2 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 -
8 1 1 1 2 1 4 2 2 1 1 3 2 2 1 1 1 1 1 1 1
19 4 3 3 3 4 1 2 1 1 1 1 1 1 1 1 2 5 3 3 2 1 2 1 1 1 1 1 1 1 3 2 2 1 1 1 1 1 1 1
5
20
23
38
86
www.thaiprint.org
26 KNOWLEDGE
่ วกับการพิ มพ์ ออฟเซต สาระน่ารูเ้ กีย การควบคุมคุณภาพทางการพิ มพ์ ออฟเซต (6) ดร.อนันต์ ตันวิไลศิริ รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี anan.tanwilai@gmail.com THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
KNOWLEDGE 27
ในการควบคุมคุณภาพงานพิ มพ์ ค่าความเปรียบต่างงานพิ มพ์ (Print contrast) หรือ คอนทราส เป็นค่าที่ใช้ในการบ่งบอกคุณภาพงานพิ มพ์ หากภาพพิ มพ์ มีคอนทราสที่ต�่ำ ่ ท�ำให้ชา่ งพิ มพ์ หรือผูค ั ษณะขาดรายละเอียด ซึง ้ วบคุมการผลิตงานพิ มพ์ จะท�ำให้ภาพนัน ้ มีลก ่ งค่าความเปรียบต่างงานพิ มพ์ จะท�ำให้สามารถผลิตงานพิ มพ์ ได้อย่าง ต้องมีความเข้าใจเรือ มีคุณภาพ ค่าความเปรียบต่างงานพิ มพ์ (Print contrast)
ค่าความเปรียบต่างงานพิมพ์ หรือ คอนทราส เป็นค่าที่ใช้ ในการตรวจสอบความคมชัดในการพิมพ์งาน เพื่อแสดงถึง ความสามารถในการเก็ บ รายละเอี ย ดของภาพในการผลิ ต งานพิมพ์ ค่าความเปรียบต่างงานพิมพ์ที่ดีจะต้องมีการควบคุม การท�ำแม่พิมพ์ ความละเอียดสกรีน ค่าความด�ำหรือเดนซิตี้ ให้เหมาะสมกับกระดาษหรือวัสดุที่ใช้พิมพ์ ส�ำหรับการวัดค่า
ความเปรียบต่างงานพิมพ์นนั้ โดยปกติจะท�ำการวัดค่าความด�ำ ของงานพิมพ์ก่อน (วัดที่บริเวณพื้นทึบของงานพิมพ์, พื้นที่ บริเวณ 100%) และท�ำการวัดค่าความด�ำของพื้นที่สกรีนที่ 75% หรือ 80% หลังจากนั้นเครื่องมือวัดจะท�ำการค�ำนวณค่า ความเปรียบต่างงานพิมพ์ ตัวอย่างการหาค่าความเปรียบต่าง งานพิมพ์ จะสามารถแสดงในรูปที่ 1-5 ตามล�ำดับ
่ ริเวณพื้ นทึบของงานพิ มพ์ ) รูปที่ 1 ภาพพิ มพ์ ที่พิมพ์ ด้วยค่าความด�ำที่ 0.95 (วัดทีบ และค่าความด�ำของพื้ นที่สกรีนที่ 75% อยู่ที่ 0.61 ค่าความเปรียบต่างงานพิ มพ์ จากการค�ำนวณจะเท่ากับ 37.11%
www.thaiprint.org
28 KNOWLEDGE
่ ริเวณพื้ นทึบของงานพิ มพ์ ) รูปที่ 2 ภาพพิ มพ์ ที่พิมพ์ ด้วยค่าความด�ำที่ 1.53 (วัดทีบ และค่าความด�ำของพื้ นที่สกรีนที่ 75% อยู่ที่ 0.77 ค่าความเปรียบต่างงานพิ มพ์ จากการค�ำนวณจะเท่ากับ 49.67%
่ ริเวณพื้ นทึบของงานพิ มพ์ ) รูปที่ 3 ภาพพิ มพ์ ที่พิมพ์ ด้วยค่าความด�ำที่ 1.98 (วัดทีบ และค่าความด�ำของพื้ นที่สกรีนที่ 75% อยู่ที่ 0.87 ค่าความเปรียบต่างงานพิ มพ์ จากการค�ำนวณจะเท่ากับ 56.06% THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
KNOWLEDGE 29
่ ริเวณพื้ นทึบของงานพิ มพ์ ) รูปที่ 4 ภาพพิ มพ์ ที่พิมพ์ ด้วยค่าความด�ำที่ 2.27 (วัดทีบ และค่าความด�ำของพื้ นที่สกรีนที่ 75% อยู่ที่ 1.23 ค่าความเปรียบต่างงานพิ มพ์ จากการค�ำนวณจะเท่ากับ 45.81%
รูปที่ 5 ภาพพิ มพ์ ที่พิมพ์ ด้วยค่าความด�ำที่ 2.47 (วัดที่บริเวณพื้ นทึบของงานพิ มพ์ ) และค่าความด�ำของพื้ นที่สกรีนที่ 75% อยู่ที่ 1.83 ค่าความเปรียบต่างงานพิ มพ์ จากการค�ำนวณจะเท่ากับ 25.91% www.thaiprint.org
30 KNOWLEDGE
จากรูปที่ 1 – 5 จะสามารถสรุปค่าความด�ำจากการวัดจากพืน้ ที่ 100% พืน้ ที่ 75% และค่าความเปรียบต่างงานพิมพ์ ได้ดงั ตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ค่าความเปรียบต่างงานพิ มพ์ ของภาพพิ มพ์ ที่พิมพ์ ด้วยค่าความด�ำที่แตกต่างกัน รูปที่
ค่าความด�ำจากการวัด จากพื้ นที่ 100% (Density of Solid)
ค่าความด�ำจากการวัด จากพื้ นที่ 75% (Density of Tint)
ค่าความเปรียบต่างงานพิ มพ์ (Print Contrast)
1 2 3 4 5
0.97 1.53 1.98 2.27 2.47
0.61 0.77 0.87 1.23 1.83
37.11% 49.67% 56.06% 45.81% 25.91%
และสามารถแสดงผลในรูปแบบกราฟได้ดังต่อไปนี้
รูปที่ 6 แสดงค่าความเปรียบต่างงานพิ มพ์ ท่แ ี ตกต่างกันจากการพิ มพ์ งานด้วยค่าความด�ำที่ต่างกัน
จากตารางและกราฟ จะสามารถสังเกตได้วา่ การพิมพ์งานด้วย ค่าความด�ำที่น้อยเกินไปจากค่ามาตรฐาน (รูปที่ 1 และ 2) หรือ การพิมพ์งานด้วยค่าความด�ำทีม่ ากเกินไปจากค่ามาตรฐาน (รูป ที่ 4 และ 5) จะส่งผลต่อคุณภาพงานพิมพ์ โดยภาพพิมพ์ทพี่ มิ พ์ ด้วยค่าความด�ำที่ไม่ได้มาตรฐาน จะท�ำให้ภาพพิมพ์นั้นสูญเสีย รายละเอียดของภาพไป ตัวอย่างเช่น ในการพิมพ์งานด้วยค่า ความด�ำทีน่ อ้ ยเกินไป ส่วนบริเวณทีเ่ ป็นเงาของภาพจะได้สที ไี่ ม่ เข้มเพียงพอ สามารถสังเกตได้จากรูปที่ 1 และ 2 บริเวณเงาใน ช่องหน้าต่างของโบสถ์ ในขณะเดียวกัน การพิมพ์งานด้วยค่า THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
ความด�ำที่มากเกินไปจากค่ามาตรฐาน รายละเอียดของภาพก็ จะขาดหายไป ตัวอย่างเช่น รายละเอียดของหลังคาในรูปที่ 4 และ 5 ที่กลายเป็นพื้นทึบ ไม่สามารถแสดงรายละเอียดของ หลังคา เนื่องจากการพิมพ์งานด้วยค่าความด�ำที่สูงเกินไป จากกราฟที่แสดงค่าความเปรียบต่างงานพิมพ์ จะสังเกตได้ว่า ค่าความเปรียบต่างงานพิมพ์จะมีคา่ น้อย จากการพิมพ์งานด้วย ค่าความด�ำทีน่ อ้ ย และมีคา่ มากขึน้ ตามล�ำดับ เมือ่ พิมพ์งานด้วย ค่าความด�ำที่สูงขึ้น จนถึงค่าความด�ำมาตรฐานในการพิมพ์งาน และหลังจากนั้นเมื่อพิมพ์งานด้วยค่าความด�ำที่มากขึ้น เกินค่า
KNOWLEDGE
มาตรฐาน ค่าความเปรียบต่างงานพิมพ์ก็จะลดลงตามล�ำดับ ดังนั้นจะสามารถสรุปได้ว่า ค่าความเปรียบต่างงานพิมพ์ที่ดี จะมาจากการพิมพ์งานด้วยค่าความด�ำทีเ่ หมาะสม หรือค่าความด�ำ มาตรฐานที่ทางโรงพิมพ์ได้กำ� หนดขึ้น ในการผลิตงานพิมพ์บน วัสดุแต่ละประเภท ส�ำหรับค่าความเปรียบต่างมาตรฐานของการพิมพ์งานลงบน กระดาษเคลือบผิว จะมีค่ามาตรฐานดังต่อไปนี้ มากกว่า 39% • สี Cyan • สี Magenta มากกว่า 41% • สี Yellow มากกว่า 37% • สี Black มากกว่า 43%
31
ค่าสีและการวัดสีทางการพิ มพ์
ในการควบคุมคุณภาพทางการพิมพ์ การผลิตสีงานพิมพ์เป็นสิง่ ทีส่ ำ� คัญมาก สีทแี่ สดงถึงสัญลักษณ์ของสินค้า หรือโลโก้ จะต้อง มีการก�ำหนดค่าสีอย่างชัดเจน เพือ่ ก�ำหนดการควบคุมคุณภาพ ในการผลิตสีงานพิมพ์ ปัจจุบันเรามีการวัดสีในระบบสี CIE L*a*b* ซึ่งเป็นการแสดงสีในรูปแบบ 3 มิติ โดยค่า L* จะเป็น แกนตั้ง แสดงถึงค่าความสว่างของสี โดยถูกก�ำหนดในตัวเลขที่ 0 – 100 ซึ่งค่า 0 คือ ไม่มีความสว่างของสี และค่า 100 คือ สีขาว ในค่า a* และ b* จะแสดงถึงสีสันต่างๆ และความอิ่มตัว ของสี โดยถูกก�ำหนดในตัวเลขที่ -100 จนถึง 100 ซึ่งจะแสดง ค่าสีที่แตกต่างกันไป
ที่มา: Handbook of Print Media
ในการควบคุมคุณภาพในการผลิตสีงานพิมพ์ นิยมใช่ค่าความ แตกต่างสี หรือ เดลต้า อี เป็นสิ่งที่บอกความแตกต่างระหว่าง สีของตัวอย่างงานทีล่ กู ค้าให้มากับงานพิมพ์ทกี่ ำ� ลังผลิต โดยจะ มีการก�ำหนดดังต่อไปนี้ • ค่าความแตกต่างสีน้อยกว่า 1 เท่ากับ ค่าความแตกต่างสีน้อยมาก • ค่าความแตกต่างสีน้อยกว่า 2 เท่ากับ ค่าความแตกต่างสีน้อย • ค่าความแตกต่างสีน้อยกว่า 3 เท่ากับ ค่าความแตกต่างสีตามมาตรฐานโดยทั่วไป • ค่าความแตกต่างสีมากกว่า 3 เท่ากับ ค่าความแตกต่างสีมาก
∆E up to 1 1 to 2 2 to 3.5 3.5 to 5 over 5
= = = = = =
color difference very small small medium clear marked
Sample of color differences Original ∆E1 ∆E2 ∆ E 3.5 www.thaiprint.org
32 KNOWLEDGE
Pre-Press Skill Standards โดย เพจโรงพิ มพ์ ไทย 5G
มักได้ยินการเปรียบเทียบว่าพรีเพรสท�ำงานเพียง 1 ไฟล์แต่ แท่นพิมพ์ต้องท�ำงาน 1,000 ครั้งให้ได้โปสเตอร์ 1,000 ใบ สบายกว่ากันเยอะเลย.....ความเป็นจริงนั้นพรีเพรสต้องท�ำงาน หลายขัน้ ตอน หลายมือ จ�ำนวนคลิก๊ เมาท์รวมกันหลายพันคลิก๊ จึงได้เป็นเพลทออกมา
ต�ำแหน่งเดินเครื่อง Operator ไปเสียแล้ว เครื่องช่วยคน การตอบโจทย์เทคโนโลยีการพิมพ์คือการฝึกอบรมพรีเพรส ให้รลู้ กึ กว่าเดิม เพือ่ ใช้ซอฟท์แวร์ ใช้เครือ่ งมือได้เต็มที่ ท�ำเพลท ออกมาดี ก็จะช่วยรักษาประสิทธิภาพเครื่องพิมพ์ราคาแพงนั้น ได้สูงสุด
คุณสมบัติพื้นฐานของพรีเพรสคือ ทนต่อการใช้สายตาหน้าจอ คอมพิวเตอร์ได้นาน ใช้นวิ้ มือและคียบ์ อร์ดช�ำนาญ คล่องแคล่ว สามารถติดต่อสือ่ สารกับผูอ้ นื่ ทัง้ ทางวาจาและสือ่ มีเดียช่องทาง ต่าง ๆ ได้ เป็นคนชอบเอะใจฉงนสงสัยว่าไฟล์งานตรงจุดไหนมี แนวโน้มว่าจะผิด และสุดท้ายคือบริหารเวลาเป็น
การเปรียบเทียบด้วยตรรกะข้างต้น ผู้บริหารควรกล่อมเกลา ทัศนคติดังกล่าวให้หมดไปในโรงพิมพ์ แต่ละคนแต่ละแผนก มาขายความรู้ความสามารถเช่นเดียวกัน เพียงแต่ลักษณะ งานต่างกัน
เทคโนโลยีการพิมพ์และระบบการควบคุมทีท่ นั สมัยเป็นตัวช่วย ช่างพิมพ์ท�ำงานเร็วขึ้น จากต�ำแหน่ง Printer จะกลายเป็น THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
กลั บ กั น พนั ก งานพรี เ พรสก็ อ ย่ า ท� ำงานผิ ว เผิ น เพี ย งคลิ๊ ก ๆ ตามทีเ่ ขาว่าก็แล้วกัน โปสเตอร์ 1,000 ใบจะมีคณ ุ ภาพการพิมพ์ดี ก็มาจากพรีเพรสช่วยฝากทัศนคตินี้ไว้ด้วยครับ
KNOWLEDGE 33 ขั้นตอนการท�ำงาน
หัวข้อฝึกอบรม
1. ระบบ Mac OS, PC Platforms 2. Pre-Flight Software 3. File formats (PDF/X, AI, EPS, PS, Tiff) 4. ISO 15930. Graphic technology : Prepress digital data exchange using PDF 5. Color model (RGB/CMYK, Spot Color) 6. Fonts (Opentype, Truetype, Type1) 7. Resolution (DPI, PPI) 8. Pantone (coated /uncoated) 9. หมึกสะท้อนแสง 10. Total Ink Coverage 11. Black Overprint 12. Layer / Transparency 13. ข้อจ�ำกัดทางการพิมพ์ ขนาดตัวเล็กสุด ขนาดเส้นบางสุด งานพิมพ์ยากง่าย 14. หน่วยวัด Point และ Pica 15. เผื่อเจียน Bleed และ Safety zones 1. ทฤษฏีสีเบื้องต้น 2. จัดการสี Color Management System - Color Model (CIE L*a*b*, CIE XYZ) - Color Space เบื้องต้นกับไฟล์ลูกค้า 2. แม่สีบวก RGB แม่สีลบ CMY 3. Color Gamut ของอุปกรณ์ต่างๆ 4. ICC Profiles 5. Printing profile 6. วิธีท�ำ CMS / CMS Software 7. Test form IT8.7/4, IT 8.7/5 8. Device Link Profile 9. Calibration Monitor 10. วิธีใช้ Spectrodensitometer ตามคู่มือ 3. จัดการสารบัญไฟล์ 1. Server 2. Network 3. Data based system 4. Back-up Software 5. Applications 6. Workflow 7. File folder 8. File naming การตั้งชื่อไฟล์ 9. Archival system ระบบการเก็บข้อมูล 10. Retrieval System ระบบการเรียกข้อมูล 11. Job order system ระบบการออกใบจ๊อบ 1. Pre - flight ตรวจเช็คความถูกต้อง และคุณภาพไฟล์ของ ลูกค้าก่อนท�ำดิจิตอลปรู๊ฟ และท�ำเพลท
เป้าหมาย
1. ตรวจพบข้อผิดพลาดในไฟล์ที่ไม่สามารถ มองเห็นบนหน้าจอได้ 2. ลดเวลาตรวจเช็คและภาระให้ขั้นตอนต่อไป 3. ลดจ�ำนวนครั้งการท�ำปรู๊ฟแก้ไข 1-2-3 4. ประเมินปัญหาที่จะเกิดขึ้นกับขั้นตอนต่อไป 5. ประสานงานกับแผนกต่างๆเมื่อไฟล์มีปัญหา ทั้งแผนกประเมินราคา แผนกขาย แผนกวางแผน เป็นต้น
1. รักษาค่าสีในไฟล์ให้ได้ Gamut กว้างที่สุด 2. เลือก printing profile ที่เหมาะสมกับ สเปคลูกค้า 3. ท�ำ CMS เป็น 4. Calibration Monitor ได้ 5. เทียบค่าที่วัดได้กับมาตรฐานแล้วปรับแต่ง 6. Color setting เหมือนกันทุกเครื่องในแผนก ทั้ง Mac OS และ PC
1. เก็บไฟล์เป็นระบบและเรียกใช้ได้รวดเร็ว 2. ไฟล์เก็บรักษาไว้ปลอดภัย 3. Update ไฟล์ได้ง่าย มีประวัติ 4. แยกประเภทไฟล์ไว้เป็นระเบียบ - Text files - Digital image - PDF documents - Plate 1 Bit tiff files - Imposition files 5. สร้าง File naming มาตรฐานได้
www.thaiprint.org
34 KNOWLEDGE
ขั้นตอนการท�ำงาน
หัวข้อฝึกอบรม
4. สร้างไฟล์งานตาม 1. การท�ำงานร่วมกันของ Software / ความต้องการของลูกค้า Application 2. การใช้ Shortcut 3. Output formats 4. Raster & Vector 5. หลักการออกแบบ เช่น Color harmony Balance / Composition 5. ท�ำดิจิตอลปรู๊ฟ 1. Proofing software 2. ระบบเครื่องปรู๊ฟ Laser / Ink jet 3. ประเภทการปรู๊ฟ (Soft, Hardcopy, Contract, Imposition) 4. ISO 12647-7 Standard Digital proof 5. ICC Profile 6. แถบควบคุม Fogra Media Wedge 3.0 7. Mock-up และความส�ำคัญ 8. การพับดัมมี่ 9. คู่มือการเดินเครื่อง Instruction Manual 1. กลับนอก / กลับในตัว / 6. เลย์งาน / จัดหน้า (Imposition Layout) กลับกระดกกริปเปอร์ 2. ยก หน้ายก กรอบ 3. Imposition Software 4. สเปคเครื่องพิมพ์ 5. รูปแบบการเข้าเล่มหลังพิมพ์ 6. กระดาษ (น�้ำหนัก เกรน ไซด์ ลักษณะผิว) 7. Color bar 8. เทคนิคการชดเชยระยะ Creep / Shingling 7. RIP Files 1. RIP workflow 2. Output file formats (1bitTIFF, JDF) 3. Sแreening (AM, FM, Hybrid) 4. Dot Shape 5. Line per inch 6. Trapping ชดเชยการพิมพ์เหลื่อมด้วยวิธี Spread, Choke และขนาดที่เหมาะสม 7. Dot gain Compensation curves THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
เป้าหมาย
1. ไฟล์ตรงตามความต้องการลูกค้า ภายในเวลาที่ก�ำหนด 2. ไฟล์งานสามารถ Output ได้ 3. แก้ไขไฟล์ตามค�ำสั่งลูกค้า 4. สร้าง Master pages 5. สร้าง Style sheets 1. เดินเครื่องปรู๊ฟได้ 2. เลือก ICC Profile ตรงกับการพิมพ์ 3. ตรวจความถูกต้องของสเปคต่าง ๆ Sizes, Resolution, Marks 4. วัดค่าแถบควบคุมและประเมินผลได้ 5. แก้ไขปัญหา Errors เครื่องปรู๊ฟ 6. ท�ำ Mock-up ได้ 7. บ�ำรุงรักษาเครื่องถูกวิธี
1. สร้าง Template ถูกต้อง และลดต้นทุน 2. ใส่มาร์คและเฟอร์นิเจอร์ครบถ้วน 3. เลือกใช้ Color bar ตรงกับสเปคแท่นพิมพ์ 4. ระยะเผื่อขั้นตอนหลังพิมพ์ถูกต้อง
1. Rip files ตามขั้นตอนที่ถูกต้อง 2. แยกสีได้ครบ ตรงตามไฟล์ลูกค้า 3. จัดการเรื่อง Trapping ได้ 4. ใช้ Software ชดเชยเม็ดสกรีนบวมได้ 5. เลือก LPI ได้เหมาะสมกับกระดาษ 6. หารือกับผู้เกี่ยวข้องช่วยเพิ่มคุณภาพ การพิมพ์ เช่น Rich Black, Double Hits
KNOWLEDGE 35
ขั้นตอนการท�ำงาน
8. เดินเครื่อง CTP
หัวข้อฝึกอบรม
1. CTP workflow 2. ระบบ CTP (Thermal, U.V) 3. ประเภทและโครงสร้างของเพลท 4. สเปคเพลทแต่ละแท่นพิมพ์ 5. คู่มือการเดินเครื่อง Instruction Manual 6. การใช้เครื่องวัด Dot reader / Dot meter 7. Linearization 8. Plate control strip 9. Resolution 10. การเก็บรักษาเพลทและการเคลื่อนย้าย 11. การก�ำจัดน�ำ้ ยาล้างเพลท 9. บ�ำรุงรักษาและ 1. คูม่ อื การบ�ำรุงรักษาใน Instruction Manual ท�ำความสะอาดอุปกรณ์ 2. วัตถุอันครายและการก�ำจัด และเครื่องมือ
เป้าหมาย
1. Calibration การฉายแสงและการล้าง 2. ท�ำ Linearization 3. ตรวจคุณภาพเพลทก่อนส่งพิมพ์ 4. แก้ปัญหาเครื่องท�ำงานผิดปรกติในขอบเขต ที่ท�ำได้
1. ตรวจสภาพการท�ำงานของอุปกรณ์และ เครื่องมือประจ�ำวัน 2. เปลี่ยนอะไหล่และวัสดุสิ้นเปลือง 3. บ�ำรุงรักษาตามรอบเวลาก�ำหนด
www.thaiprint.org
36
NEWS
สวัสดีปีใหม่ 2564 ไฮเดลเบิร์ก กราฟฟิคส์
วันที่ 6 มกราคม 2564 เวลา 13.00 น. ณ อาคารสมาคมการพิ มพ์ ไทย ถนนพระราม 9 คุณสุรสิทธิ์ เรืองจรัสพิพัฒน์ และคุณประชา อินทร์ผลเล็ก ผู้แทน บริษัท ไฮเดลเบิร์ก กราฟฟิคส์ (ประเทศไทย) เข้าพบ คุ ณ พงศ์ ธี ร ะ พั ฒ นพี ร ะเดช นายกสมาคมการพิ ม พ์ เนื่องในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ 2564 พร้อมทั้งหารือเกี่ยวกับ การสนั บ สนุ น กิ จ กรรมการสมาคมฯ รวมไปถึ ง แนวทาง การพัฒนาอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2564 เวลา 13.00 น. ณ อาคารสมาคมการพิมพ์ไทย ถนนพระราม 9 THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 44
8/9/2560 2:47:57
SOONTORN FILM
Expert in Digital and Inkjet Printing, using World-Class Technologies
g in t in r P l a it ig D y it l High Qua Digital Offset Printing
g in t in r P t a m r o F e g r a L Inkjet One Stop Service s Digital Offset Printing
Business card, Postcard, Certificate, Brochure, Leaflet, Catalogue, Menu, Pocket book, Magazine, Photo book, Calendar, Packaging, Sticker, Label etc.
Photo books
Photo Books Printing : Baby born photo book, Family photo book, Graduation (School) photo book, Wedding photo book, Travelling photo book, etc.
We are serving for the highest quality of digital printing and services, Including digital offset and inkjet (large format) One stop services, Expertise teamwork, Latest world class technologies, Environmental friendly, Fast services and reasonable prices. Graphic design Digital Photography
Prepress Offset Plate Making
Digital Offset Printing
Inkjet (Large Format) Printing
Soontorn film Co., Ltd.
3/11-15 พระรามที่ 6 ซอย 17 ถนนพระรามที่ 6 แขวงถนนเพชรบุรี เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 0 2216 2760-8 แฟกซ 0 2216 2769 เวลาทำการ จันทร-เสาร 09.00-18.00 น. www.soontornfilm.co.th, email : stfilm@soontornfilm.com
Tablet Publishing (Digital Magazine)
40 KNOWLEDGE
การลดต้นทุนเชิงวิศวกรรม ส�ำหรับอุตสาหกรรมการพิ มพ์ และแพคเกจจิง ้ ตอนที่ 5
(Engineering cost reduction For the printing and packaging industry, part 5) วิรัช เดชาสิริสิงห์ ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบโรงงานอัตโนมัติและการลดต้นทุนในโรงงานและขบวนการผลิต wirach.ton@gmail.com
ในเนื้อหาเล่มที่แล้วได้อธิบายเกี่ยวกับการดูแลรักษา ชุดลูกปืน ส�ำหรับรองรับเพลา ลูกกลิง้ อุปกรณ์หมุน โยก ส่ายและอืน่ ๆ ทุกชนิด และการดูแลรักษาชุดมอเตอร์ไฟฟ้า ทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ในเล่มนีจ้ ะได้อธิบายในหัวข้อที่ 3 เกีย่ วกับเกียร์ ชุดเฟืองและเฟืองโซ่ และระบบส่งก�ำลังชนิดอื่น ๆ อีกที่ใช้ในเครื่องจักร เครี่องพิมพ์ 3.1 ชุ ด เกี ย ร์ ส่ ง ก� ำ ลั ง ที่ถู ก ติ ด ตั้ ง ในเครื่ อ งจั ก ร เครื่องพิ มพ์ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง มีอยู่ 2 ประเภท
ใหญ่ ๆ คือ 3.1.1 ชุดเกียร์สง่ ก�ำลังทีเ่ ป็นระบบปิด อาจจะเป็นชุดเกียร์ทอี่ ยูต่ ดิ กับชุดมอเตอร์ไฟฟ้าหรืออยู่เป็นอิสระโดยมีชุดโซ่ เพลาขับรับก�ำลัง ขับเข้ามายังชุดเกียร์อีกต่อหนึ่งก็ได้
ส�ำหรับเหตุผลที่จะต้องตรวจสอบระดับน�้ำมันหล่อลื่นอยู่เสมอ ก็เพื่อให้แนใจว่า ชุดเกียร์มีน้�ำมันหล่อลื่นอยู่ในชุดเกียร์ในระดับ ที่ถูกต้อง ถ้าน�้ำมันต�่ำกว่าในระดับที่ก�ำหนดอาจท�ำให้ชุดเฟือง และชิ้นส่วนได้รับการหล่อลื่นไม่เพียงพอ ชุดเฟือง ชิ้นส่วนอาจ ช�ำรุดได้ และถ้าระดับน�้ำมันต�่ำกว่าก�ำหนดอาจเป็นไปได้ว่าชุดเกียร์ อาจเกิดการรั่วไหลในบริเวณ ชุดซีล ประเก็น หรือส่วนอื่น ๆ ได้ ซึ่งจะท�ำให้เราสามารถทราบและวางแผนในการซ่อมให้มีสภาพดี เหมือนเดิม 2. เปลี่ยนถ่ายน�้ำมันหล่อลื่นของชุดเกียร์ตามระยะเวลาที่คู่มือ ก�ำหนด เช่นก�ำหนดไว้ เป็นเดือน ปี หรือชั่วโมงการเดินงานของ เครื่องจักร ซึ่งผู้ที่มีหน้าที่ดูแลก็ต้องท�ำตามคู่มือนั้นอย่างถูกต้อง ที่ส�ำคัญก็คือ ชนิดของน�้ำมันหล่อลื่นต้องถูกต้องตามคู่มือที่ก�ำหนด และระดับน�ำ้ มันก็อยู่ในระดับที่ถูกต้องเช่นเดียวกัน
รูปแสดงชุดเกียร์ระบบปิด ทั้งเป็นแบบอิสระและเป็นชุดเดียวกันกับมอเตอร์ไฟฟ้า
ส�ำหรับการดูแลรักษาชุดเกียร์ชนิดนี้ ทางช่างผู้ที่มีหน้าที่ดูแลรักษา มีหน้าที่หลัก ๆ 3 อย่างที่จะต้องท�ำสม�่ำเสมอคือ 1. ตรวจสอบระดับน�ำ้ มันหล่อลืน่ ให้อยูใ่ นระดับทีก่ ำ� หนดไว้อย่าง สม�่ำเสมอ
รูปแสดงระดับน�้ำมันหล่อลื่น ชุดเกียร์ที่ถูกต้อง ที่มองเห็น จากชุด Sight Glass ชุดเกียร์ที่มีชุด Sight Glass ดูระดับน�้ำมัน 2 จุด แสดงว่าเป็นเกียร์ 2 ห้องที่เป็นชุดเดียวกัน ขณะตรวจสอบ ระดับน�้ำมันหล่อลื่นชุเกียร์แบบนี้ต้องตรวจสอบทั้งสองจุด
3. ซ่อมชุดเกียร์ โดยการดูอาการของเกียร์ทชี่ ำ� รุดเช่น มีนำ�้ มันเกียร์ รัว่ ไหลออกมา เช่นบริเวณชุดเพลาทีม่ อี อยซีลติดตัง้ อยู่ สาเหตุแบบนี้ เกิดจากออยซีลช�ำรุดหรือเพลาสึกช�ำรุด ตรวจสอบระดับน�้ำมันหล่อลื่นให้อยู่ในระดับที่ก�ำหนดอยู่เสมอ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
KNOWLEDGE
้ ยาง ชุดออยซีลในชุดเกียร์ส่งก�ำลังเมื่อใช้งานไปนานๆ เนือ จะถูกเสียดสีอยู่ตลอดเวลาจะท�ำให้เนื้อยางสึกและกรอบแข็ง และแตกตัว จะเป็นสาเหตุให้น�้ำมันเกียร์รั่วไหลออกมาได้
41
รูปแสดงการหล่อลื่นเกียร์แบบเปิดโดยใช้ระบบอัตโนมัติจ่าย น�ำ้ มันหล่อลื่นหรือจารบีไปยังชุดเฟืองสักหลาด จากเฟือง สักหลาดจะส่งต่อสารหล่อลื่นไปยังชุดเฟืองที่ท�ำงานจริงต่อไป
3.2 ชุดเฟืองและเฟืองโซ่ส่งก�ำลัง ระบบส่งก�ำลังแบบนี้
ชุดเพลาเกียร์ท่ส ี วมผ่านชุดออยซีล เมื่อชุดเกียร์ท�ำงานเพลา จะหมุนตลอดเวลาโดยจะเสียดสีกับชุดออยซีล จะท�ำให้ เพลาสึกได้และเป็นสาเหตุหนึ่งที่ท�ำให้น�้ำมันเกียร์รั่วไหลออกมา
ส�ำหรับการซ่อมที่ทางช่างของโรงงาน โรงพิมพ์ สามารถท�ำได้คือ การเปลีย่ นชุดออยซีล ประเก็นส�ำหรับหน้าแปลนและเสือ้ เกียร์ และ ลูกปืนรองรับชุดเพลาทุกชุด ส่วนชุดเพลาขับและชุดเฟืองภายใน ถ้าช�ำรุดมี 2 วิธีคือ สั่งอะไหล่ใหม่มาเปลี่ยนหรือถ้าสั่งไม่ได้ต้อง ส่ ง ซ่ อ มให้ กั บ ผู ้ ที่ ช� ำ นาญในการซ่ อ มหรื อ ผลิ ต อะไหล่ ท ดแทน ท�ำมาให้ จากนั้นเราด�ำเนินประกอบและทดสอบการท�ำงานก่อน ใส่เข้าไปใช้งานในเครื่องจักรอีกครั้ง และถ้าชุดเกียร์ชุดนั้นๆช�ำรุดมากและถ้าซ่อมจะมีค่าใช้จ่ายสูง ก็สมควรเปลี่ยนเป็นชุดเกียร์ใหม่ 3.1.2 ชุดเกียร์ส่งก�ำลังที่เป็นระบบเปิด ซึ่งเกียร์แบบนี้ส่วนมาก ติดตัง้ อยูใ่ นชุดเครือ่ งจักรทีเ่ ก่ามาก ตัง้ แต่ 20 ปีขนึ้ ไป แต่ในปัจจุบนั ก็ยังมีใช้งานอยู่อีกมากในโรงานต่าง ๆ
ใช้ในเครื่องจักร เครื่องพิมพ์ทั่วไป ในต�ำแหน่งที่รับโหลดไม่มาก และมีระยะทางในการส่งก�ำลังได้ทงั้ ใกล้และไกล ข้อดีคอื มีราคาถูก ติดตั้งง่าย และสามารถส่งก�ำลังไปขับอุปกรณ์หรือลูกกลิ้งได้ใน คราวเดียวกันหลาย ๆ ชุด
รูปแสดงการส่งก�ำลังด้วยชุดเฟืองโซ่และโซ่ ในเครื่องจักร เครื่องพิ มพ์ ต่างๆ
ส�ำหรับการดูแลรักษาระบบการส่งก�ำลังแบบนี้ แบ่งได้ 3 หัวข้อหลัก ๆ คือ 1. การหล่อลืน่ ชุดเฟืองโซ่และโซ่ ซึง่ ระบบการหล่อลืน่ ส่วนมากจะ เป็นแบบอัตโนมัตแิ ละกึง่ อัตโนมัติ อาจเป็นน�ำ้ มันหล่อลืน่ หรือจารบี หล่อลื่นก็ได้
รูปแสดงชุดเกียร์แบบเปิด ส�ำหรับเครื่องพิ มพ์ และเครื่องจักร ที่ปัจจุบันยังมีใช้งานจริงอยู่อีกมาก
ส�ำหรับชุดเกียร์แบบเปิดนี้หัวใจหลักที่จะท�ำให้ชิ้นส่วนมีอายุการ ใช้งานที่ยาวนานและไม่สึกหรอง่ายคือการหล่อลื่น การหล่อหลื่น แบบนี้จะเป็นแบบใช้ระบบหล่อลื่นแบบศูนย์รวม (Centralised Lubrication Systems) หรือเป็นการหล่อลื่นแบบอัตโนมัติ
รูปแสดงการหล่อลื่นชุดเฟืองโซ่และโซ่แบบอัตโนมัติ และกึ่งอัตโนมัติ
www.thaiprint.org
42 KNOWLEDGE
การหล่อลื่นตามรูปด้านบนเป็นการหล่อลื่นแบบเปิด บางระบบ ก็ถูกติดตั้งมาจากผู้ผลิตเครื่องจักรแล้ว หรือถ้าเป็นเครื่องที่ไม่ได้ ถูกติดตัง้ ระบบนีม้ า เราสามารถหาซือ้ หรือให้ซพั พลายเออร์มาติดตัง้ ให้ได้ ซึ่งในปัจจุบันมีขายอยู่อย่างแพร่หลาย (ส่วนรายละเอียดของ อุปกรณ์การหล่อลืน่ เหมือนกับการหล่อลืน่ ชุดตลับลูกปืนทีไ่ ด้กล่าว ไว้ในฉบับทีผ่ า่ นมา) ทางช่างของผูท้ มี่ หี น้าทีด่ แู ลรับผิดชอบ ต้องคอย ตรวจสอบระบบจ่ายสารหล่อลืน่ ว่าท�ำงานเป็นปกติหรือไม่และมีสาร หล่อลืน่ อยูใ่ นชุดจ่ายสารหล่อลืน่ หรือไม่ เพราะระบบนีต้ อ้ งการสาร หล่อลื่นสม�่ำเสมอ ถ้าระบบช�ำรุดหรือสารหล่อลื่นหมด ชุดเฟืองโซ่ และโซ่อาจช�ำรุดเร็วและถ้าช�ำรุดจนไม่สามารถแก้ไขได้ต้องซื้อมา เปลี่ยนใหม่ทั้งระบบ 2. การปรับตั้งความตึงชุดโซ่ โซ่ส่งก�ำลังเมื่อถูกใช้งานไปนาน ๆ ไม่ว่าจะมีการหล่อลื่นดีเพียงใด โซ่จะมีการยืดตัวตามโหลดและ แรงดึงที่ถูกกระท�ำตลอดเวลา การปรับตั้งความตึงนี้ส�ำคัญมาก เพราะถ้าเราปล่อยให้โซ่หย่อนเวลาเดินเครือ่ ง เวลาเครือ่ งออกตัวจะ ท�ำให้ระบบต่างๆหรือลูกกลิง้ ทีร่ บั ก�ำลังมาจากชุดโซ่กระตุก กระชาก อาจท�ำให้ชิ้นงานเสียหายได้หรือคุณภาพของงานลดลง
3. การท�ำความสะอาดชุดเฟืองโซ่และโซ่ เมื่อเห็นว่าสนิมและ ความสกปรกเกิดขึ้น ก็ต้องด�ำเนินการท�ำให้เรียบร้อย
รูปเฟืองโซ่และโซ่ที่ขาดการดูแลรักษาที่ดี
การดูแลรักษาชุดเฟืองโซ่และโซ่นอกเหนือจากการหล่อลืน่ อย่างถูก ต้องและการปรับความตึงของชุดโซ่แล้ว การท�ำความสะอาดก็เป็น สิ่งที่ไม่ควรละเลย ส�ำหรับอุปกรณ์ท�ำความสะอาดชุดเฟืองโซ่และชุดโซ่ แสดงตามรูป ด้านล่าง
รูปแสดงอุปกรณ์ส�ำหรับท�ำความสะอาด ชุดเฟืองโซ่ โซ่ และชิ้นส่วนเครื่องจักรต่างๆที่สกปรก
รูปแสดงชุดปรับความตึงโซ่แบบกึ่งอัตโนมัติ
ชุดปรับความตึงโซ่แบบนี้ท�ำงานคล้ายแรงดึงของสปริง แต่อุปกรณ์ ทีท่ ำ� ให้เกิดแรงดันหรือแรงกดคือเส้นยางทีย่ ดื หยุน่ ตัวสูง เมือ่ ประกอบ เป็นชุดส�ำเร็จรูปจะเหมือนแขนแรงบิดที่ไปกดโซ่อยู่ตลอดเวลา แต่ลกั ษณะการกดเป็นลักษณะยืดหยุน่ ตัวได้ ถ้าใช้งานไปสักระยะหนึง่ ทางช่างผู้ดูแลต้องคอยปรับแขนให้แรงกดคงตัวอยู่เสมอ และถ้าใช้ ไปนาน ๆ ยางภายในท่อสี่เหลี่ยมจะเสื่อมสภาพลงก็ต้องเปลี่ยนชิ้น ยางใหม่
3.3 ระบบส่งก�ำลังชนิดอื่นๆในเครื่องจักร เช่น เพลา
ส่งก�ำลัง พูลเลย์และสายพาน ชุดคลัทและคลัปปลิ้ง ซึ่งอุปกรณ์ที่ กล่าวมามีความส�ำคัญต่อเครื่องจักร ถ้ามีการดูแลและบ�ำรุงรักษา อย่างดี ก็จะช่วยให้เครื่องจักรท�ำงานอย่างดี งานที่ออกมาก็มี คุณภาพดีและเครื่องจักรก็ไม่ต้องหยุดเนื่องจากอุปกรณ์ช�ำรุด 3.3.1 ชุดเพลาส่งก�ำลัง (Universal drive shaft)
รูปแสดงเพลาขับส่งก�ำลังที่ใช้เครื่องพิ มพ์ เครื่องจักร (Universal Drive Shaft) ชุดเซ็นเซอร์ตรวจเช็ค ความหย่อนและตึงของโซ่ รูปแสดงชุดปรับความตึงโซ่ แบบ Manual โดยช่างผู้ดูแลจะเป็นคนปรับโดยอาศัยประสพการณ์และ ค�ำแนะน�ำจากคู่มือส่วนรูปทางขวามือมีชุดเซ็นเซอร์ ตรวจจับความหย่อนและตึงของโซ่ รูปแสดงต�ำแหน่งส�ำหรับอัดจารบีบนชุดเพลาขับส่งก�ำลัง THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
KNOWLEDGE 43
ส�ำหรับชุดเพลาขับส่งก�ำลัง (Universal Drive Shaft) นี้นับได้ว่า เป็นชิ้นส่วนที่มีความส�ำคัญในเครื่องจักรอยู่มาก เพราะใช้รับ - ส่ง ก�ำลังจากชุดเกียร์ชดุ หนึง่ ไปยังชุดเกียร์อกี ชุดหนึง่ หรือจากชุดเกียร์ ไปขับชุดลูกกลิ้ง ลูกกาวและอื่น ๆ อีกมากในเครื่องจักร ส�ำหรับ การดูแลชุดเพลาขับนั้นไม่มีอะไรยุ่งยาก ให้ด�ำเนินการอัดจารบี หล่ อ ลื่ น บริ เวณจุ ด อั ด ให้ ค รบถ้ ว นตามระยะเวลาที่ ก� ำ หนดไว้ และคอยตรวจเช็คสกรูทุกตัวที่ยึดหน้าแปลนว่าทุกตัวอยู่ในสภาพ ที่ดีและถ้าพบว่าสกรูหลวมก็ท�ำการขันให้แน่น และถ้าพบว่าสกรู ใกล้ชำ� รุดหรือช�ำรุดก็ให้เปลี่ยนใหม่ 3.3.2 พูลเลย์และสายพาน (Pulley and Belt)
สายพาน V-Belt สายพาน Timing Belt สายพาน Flat Belt
ส�ำหรับการส่งก�ำลังในเครือ่ งพิมพ์ เครือ่ งจักร ทีใ่ ช้สายพานในการส่ง ก�ำลัง ที่นิยมและใช้กันอย่างแพร่หลายมีอยู่ด้วยกัน 3 ชนิด (ตามรูป ที่แสดงด้านบน) คือ สานพานแบบ V-Belt,สายพานแบบ Timing Belt และ สายพานแบบ Flat Belt ส�ำหรับการดูแลรักษาสายพานส่งก�ำลังนี้ มีวิธีการดูแลแบบง่าย ๆ 2-3 หัวข้อดังนี้ 1. อย่าให้มสี ารหล่อลืน่ ทุกชนิดมาเปรอะเปือ้ นบริเวณสายพานและ พูลเลย์ในทุกกรณี เพราะจะท�ำให้เกิดการลื่น สายพานเสียความฝืด และเกิดการหมุนฟรี ไม่เกิดการส่งก�ำลัง ต้องหมั่นตรวจสอบและ ถ้าพบเห็นให้ท�ำความสะอาดทันที และน�้ำมันหรือสารหล่อลื่น ถ้าเปื้อนใส่สายพาน อาจท�ำลายคุณสมบัติของเนื้อสายพานได้ 2. ต้องหมั่นตรวจเช็คความตึงสายพานเป็นระยะ เพราะเมื่อใช้งาน ไปสักระยะหนึ่ง สายพานทุกชนิดจะเกิดการยืดตัว และจะเป็น สาเหตุให้การส่งก�ำลังไม่ดี จะได้รอบหรือก�ำลังที่ลดลงไป ซึ่งปกติ การส่งก�ำลังด้วยสายพานทุกชนิด การออกแบบ จะออกแบบให้มี ชุดตั้งความตึงสายพานเอาไว้ทุกครั้ง ทุกต�ำแหน่ง
่ ีสภาพช�ำรุดแล้ว รูปแสดงสายพานส่งก�ำลังชนิดต่าง ๆ ทีม ไม่สมควรใช้งานต่อ ต้องเปลี่ยนใหม่ทันที
3.3.3 ชุดคลัทส่งก�ำลัง ซึ่งอุปกรณ์ชุดนี้ท�ำหน้าที่เป็นตัวกลาง คั่นกลางในการส่งก�ำลังในต�ำแหน่งต่าง ๆ เช่น ระหว่างมอเตอร์ กับเกียร์ ระหว่างเกียร์กับลูกกลิ้ง หรืออื่น ๆ ซึ่งมีอยู่หลายระบบใน การผลิตออกมาใช้งาน แต่ระบบที่นิยมใช้งานกันมีอยู่ 3 แบบคือ แบบ Mechanical Clutch, Air Clutch และ Magnetic Clutch
Mechanical Clutch
Air Clutch
Magnetic Clutch
ปกติอปุ กรณ์ชดุ นีแ้ ทบจะไม่ตอ้ งการดูแลรักษาอะไรเลย แต่ควรระวัง ไม่ให้มีสารหล่อลื่นทุกชนิดหกใส่หรือเปรอะเปื้อนเพราะถ้าเกิดการ ลื่นจะส่งก�ำลังได้ไม่ดีหรือไม่ได้เลย เพราะการส่งก�ำลังชนิดนี้อาศัย ความฝืดของแผ่นคลัท แผ่นโลหะในการตัดต่อก�ำลังและส่งก�ำลัง และถ้าเป็นแบบ Magnetic Clutch ซึ่งใช้ไฟฟ้าและผงเหล็กในการ ท�ำงาน จะท�ำให้เกิดความเสียหายมาก และอีกจุดหนึง่ ก็คอื ชุดลูกปืน ต้องคอยหมั่นสังเกต การฟังเสียง ถ้าเริ่มมีเสียงดังหรือหมุนแกว่ง อาจเป็นไปได้ว่าลูกปืนหรือเพลาช�ำรุด ต้องรีบเปลี่ยนซ่อม หรือถ้า ั หา ต้องหาสาเหตุ อาจเป็นไปได้วา่ มีอปุ กรณ์บางตัว การส่งก�ำลังมีปญ เกิดการช�ำรุด ต้องรีบแก้ไขซ่อมให้กลับมาท�ำงานเหมือนเดิม สรุปในเนื้อหาฉบับนี้ได้อธิบายถึงการใช้งาน การตรวจเช็ค การดูแล รักษาอุปกรณ์ชนิดต่างที่เป็นส่วนหนึ่งในเครื่องจักร ให้อุปกรณ์ ทุ ก ชนิ ด มี อ ายุ ก ารใช้ ง านที่ ย าวนานและไม่ ขั ด ข้ อ ง ก็ จ ะท� ำ ให้ เครื่องจักรท�ำงานได้เต็มประสิทธิภาพและสร้างผลผลิต ผลก�ำไร ให้กับบริษัทได้เป็นที่พอใจของทุกคน ทุกฝ่ายตลอดไป อ่านต่อฉบับหน้า ข้อมูลอ้างอิง • ตามประสบการณ์จริงของผู้เขียน
รูปแสดงชุดปรับตัง ้ ความตึงของสายพานส่งก�ำลัง ในแต่ละชนิด
3. ต้องหมั่นตรวจดูสภาพของสายพานอยู่เสมอ ถ้าเริ่มมีการช�ำรุด ก็ให้ดำ� เนินการเปลีย่ นใหม่ทนั ที โดยไม่ตอ้ งรอให้สายพานขาด เพราะ ถ้าสายพานขาดในขณะเดินงานจะท�ำให้เครือ่ งจักรหยุด และชิน้ งาน จะเสียหาย และต้องเสียเวลาในการเปลี่ยนสายพานใหม่อีกด้วย
เครดิตภาพประกอบ • https://www.linquip.com/blog/wp-content/uploads/2020/05/utype.jpg • https://3.imimg.com/data3/EJ/CJ/MY-1013373/geared-motors-500x500.jpg • http://gw.alicdn.com/bao/uploaded/i1/672142315/O1CN01mLzukn1SyJTD0Dw9m_!672142315.png • https://ijssel.com/predictivemaintenance/product/3d-sight-glass-olieniveau/ • https://www.rpmspecialistcars.co.uk/app/uploads/2019/08/Porsche-rear-main-oil-leak.jpg • https://haberyum.com/wp-content/uploads/2020/08/almanyada-fabrika-siparislerihaziranda-yuzde-2974-artti-LTjC23Or-1200x771.jpg • https://i.all3dp.com/wp-content/uploads/2018/11/16095615/mrpete222-youtube-181116.jpg • https://img.directindustry.com/images_di/photo-m2/28259-15983306.jpg • https://argenbelt.com/wp-content/uploads/2018/06/cadenas_a_rodillos.jpg • https://interflon.com/news/chain-lubrication-solutions • https://www.tracsa.com/blog/153-tensores-de-cadena-y-correa-rosta-una-historia-de-exito.html • https://images-na.ssl-images-amazon.com/images/I/71PZyTSNV0L.jpg • https://agar.com.au/wp-content/uploads/2017/11/Dirt-Off-5L-.png • https://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/2/23/Cardan_Shaft.jpg • https://i.pinimg.com/originals/9c/48/7c/9c487c0bce8b5d73e036dab1bc9ea510.jpg • https://images-na.ssl-images-amazon.com/images/I/81xFzISOxfL._SL1500_.jpg • https://www.petersoncorp.com/wp-content/uploads/Drive-Belt-2.jpg • https://id.misumi-ec.com/pr/technical_zone/product_tips/images/timingbelts2.jpg • https://forbo.azureedge.net/forboimages/679/flat-belts.jpg • https://www.talian.co.th/Flat_belt/5ddb934ff830630013704d03 • https://www.taiwantrade.com/product/magnetic-clutch-electromagnetic-clutchmagnetic-clutches-376501.html
www.thaiprint.org
46
NEWS
คุณพงศ์ธีรีะ พั ฒนพี ระเดช นายกสมาคมการพิ มพ์ ไทย
คุณวิรุฬห์ ส่งเสริมสวัสดิ์
ประธานการจัดงานประกวดสิง ้ ที่ 14 ่ พิ มพ์ แห่งชาติ ครัง
คุณเกรียงไกร เธียรนุกุล
รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
พี ธีประกาศและมอบรางวัล การประกวดสิ่งพิ มพ์ แห่งชาติ Thai Print Awards ครั้งที่ 14 วันพุ ธที่ 23 ธันวาคม 2563 เวลา 17.00 - 21.00 น. ณ เดอะ คริสตัล บลอค ชั้น 19 เกษรทาวเวอร์ สมาคมการพิมพ์ไทยจัดพิธีประกาศผลและมอบรางวัล “การ ประกวดสิ่งพิมพ์แห่งชาติ Thai Print Awards ครั้งที่ 14” เมื่ อ วั น พุ ธ ที่ 23 ธั น วาคม 2563 เวลา 17.00–21.00 น. ณ เดอะ คริสตัล บลอค ชั้น 19 เกษรทาวเวอร์
เพื่อเป็นการกระตุ้นอุตสาหกรรมการพิมพ์ให้เกิดการพัฒนา ด้านคุณภาพสิง่ พิมพ์อย่างต่อเนือ่ ง และคุณเกรียงไกร เธียรนุกลุ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กล่าวแสดง ความยินดีกับผู้ที่ได้รับรางวัล
โดยมี คุ ณ วิ รุ ฬ ห์ ส่ ง เสริ ม สวั ส ดิ์ ประธานการจั ด งานการ ประกวดสิ่ ง พิ ม พ์ แ ห่ ง ชาติ ครั้ ง ที่ 14 กล่ า วต้ อ นรั บ แขก ผู้เข้าร่วมงานและผู้เข้ารับรางวัล คุณพงศ์ธีรีะ พัฒนพีระเดช นายกสมาคมการพิมพ์ไทย ขึ้นกล่าวถึงวัตถุประสงค์ของการ จัดงานภายใต้แนวคิด “NEW RESILIENCE NOW UNITY”
ผลงานทีผ่ า่ นเข้ารอบจากเวทีการประกวดในครัง้ นี้ จะน�ำส่งต่อไป ในการแข่งขันการประกวดสิ่งพิมพ์แห่ง เอเชีย หรือ Asian Print Awards สามารถ ตรวจสอบรายชือ่ ผูไ้ ด้รบั รางวัลได้ทเี่ ว็บไซต์ https://www.thaiprintawards.com/
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
NEWS
47
JYP ปันชม เปิดบ้านพี่ “อมรินทร์”
เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2563 บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำนักงานใหญ่ ณ Convention Hall Amarin Group
ตามที่ ส มาคมผู ้ จั ด พิ ม พ์ ฯ ได้ จั ด โครงการสร้ า งคนรุ ่ น ใหม่ “Junior and Young Publishers and Booksellers” หรือ JYP ให้กบั อุตสาหกรรมหนังสือ โดยเริม่ ต้นจากการจัดกิจกรรม “รุ่นเก๋า รุ่นเก๋ เฮ้...หนังสือ” ท�ำให้เกิดการปันแชร์แนวคิด ประสบการณ์ทั้งจากอดีตนายกสมาคมฯ และผู้บริหารระดับ สูงของธุรกิจหนังสือชั้นน�ำของประเทศ ดังนั้นเพื่อให้เกิดการ เรียนรู้ เข้าใจ และเห็นผลจากการน�ำแนวคิดมาสูภ่ าคปฏิบตั จิ ริง “Junior and Young Publishers and Booksellers” จึงก้าวเดินต่อ ด้วยกิจกรรมJYP ปันชม เปิดบ้าน พี่ “SE-ED” ในครัง้ แรกเดือนพฤศจิกายนทีผ่ า่ นมา และตามมาด้วยกิจกรรม ล่าสุด เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2563 JYP ปันชม เปิดบ้าน พี่ “อัมรินทร์” เพื่อศึกษาดูงาน บริษัท อมรินทร์ พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิง่ จ�ำกัด (มหาชน) ส�ำนักงานใหญ่ ณ Convention Hall Amarin Group น�ำทีมโดยคุณโชนรังสี เฉลิมชัยกิจ นายก สมาคมผู้จัดพิมพ์และผู้จ�ำหน่ายหนังสือแห่งประเทศไทย พร้อมด้วยกรรมการ ทีมงาน JYP และสมาชิก จ�ำนวน 70 คน การศึกษาดูงานครั้งนี้ ได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นและเป็น กันเอง โดยได้รับเกียรติจากคุณระรินทร์ อุทกะพันธุ์ ปัญจ รุ่งโรจน์ กรรมการผู้อ�ำนวยการใหญ่ บมจ.อมรินทร์พริ้นติ้ง
แอนด์พับลิชชิ่ง พร้อมด้วยทีมผู้บริหาร ได้แก่ คุณจุฑามาศ สมิตานนท์ รองกรรมการผูจ้ ดั การ สายงานโรงพิมพ์และบรรจุ ภัณฑ์ คุณอุษณีย์ วิรัตกพันธ์ กรรมการผู้จัดการ สายงาน ส�ำนักพิมพ์ และหม่อมหลวงลือศักดิ์ จักรพันธุ์ กรรมการ ผู้จัดการ บจก.อัมรินทร์บุ๊คส์เซ็นเตอร์ ที่เป็นก�ำลังหลักส�ำคัญ ในการบริหารจัดการทุกภาคส่วนขององค์กร มาร่วมแบ่งปัน ประสบการณ์ในการบริหารจัดการที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม สื่อสิ่งพิมพ์ พร้อมตอบค�ำถามจากคณะ JYP ในแง่มุมต่าง ๆ ทีใ่ ห้ประโยชน์ ต่อการท�ำงาน ความร่วมมือ และการพัฒนาธุรกิจ ของ เพื่อสร้างจุดเด่น ทันสมัย มีนวัตกรรม และผลิตหนังสือดี มีคุณภาพออกมาเติมตลาดให้มากถึง 400- 500 ปกต่อปี ทางสมาคมผู้จัดพิมพ์ฯ ในฐานะผู้ช่วยผลักดันและขับเคลื่อน อุตสาหกรรมหนังสือให้เดินหน้าต่อไปได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน จึงมุ่งหวังให้การจัดกิจกรรม JYP ปันชมเปิดบ้านพี่ ได้สร้าง แรงบันดาลใจ ในการเตรียมความพร้อม พัฒนาผู้นำ� รุ่นใหม่ให้ กับวงการอุตสาหกรรมหนังสือของประเทศ และในครั้งต่อไป JYP จะยังคงสร้างสรรค์กิจกรรมดี ๆ ปันชมองค์ความรู้ในการ ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมหนังสือ ให้ก้าวเดินต่อ ไปได้อย่างยั่งยืน www.thaiprint.org
48 INDUSTRIAL
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
INDUSTRIAL 49
www.thaiprint.org
50
NEWS
พิ ธีมอบรางวัล “คนรุ่นใหม่ไร้ Food Waste” ปี 3
โดย บริษัท ซีพีแรม จ�ำกัด กับสาขามีเดียอาตส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ซีพีแรม ประกาศผลและมอบรางวัลเวทีประกวดคลิปวิดีโอ “คนรุ่นใหม่ไร้ Food Waste” โดยจัดต่อเนื่องมาเป็นปีที่ 3 นับเป็นการผนึกความร่วมมือระหว่างภาคธุรกิจกับภาคการศึกษา คือ บริษัท ซีพีแรม จ�ำกัด กับสาขามีเดียอาตส์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ในการด�ำเนินโครงการจัดการ ประกวดคลิปวิดีโอ “คนรุ่นใหม่ไร้ Food Waste” เพื่อสร้าง ความตระหนักในเรื่องลดความสูญเปล่าทางอาหารในกลุ่ม THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
คนรุ่นใหม่ที่มีส่วนส�ำคัญในการร่วมสร้างการเปลี่ยนแปลง ในการลดความสูญเปล่าของอาหาร รวมถึงการเปลี่ยนแปลง เชิงพฤติกรรม โดยการแชร์ไอเดีย สร้างพลังผ่านวีดีโอคลิป ความยาว 3 นาที ซึ่งได้รับความสนใจจากนักเรียน นักศึกษา เป็นอย่างมากโดยในปีนมี้ นี อ้ ง ๆ นักเรียน นักศึกษาส่งผลงาน เข้าร่วมโครงการกว่า 840 ผลงาน
NEWS
51
ในปี 2563 ผลการประกวดคลิปวิดีโอ “คนรุ่นใหม่ไร้ food waste” ปีที่ 3 ระดับมัธยมศึกษา
รางวัลชนะเลิศ • ทีมไก่ฟ้า จากโรงเรียนเซนต์ดอมินิก ผลงาน “Food Waste Break Heart” รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 • ทีมท�ำไมไม่สนใจ จากกโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย ผลงาน "ท�ำไมไม่สนใจ” รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 • ทีม 4 A.M. โรงเรียนวารีเชียงใหม่ ผลงาน “Life Chage Earth Change” รางวัลชมเชย 1 • ทีมต�ำน�้ำพริกไม่ละลายแม่น�้ำ จากโรงเรียนปริยส์รอยแยลส์วิทยาลัย ผลงาน “เมื่อขยะอาหารมีมากกว่าที่ทานเหลือ” รางวัลชมเชย 2 • ทีม Duckdan Production จากโรงเรียนเลยพิทยาคม ผลงาน “Food Waste Monster” www.thaiprint.org
52
NEWS
รางวัลชนะเลิศระดับอุดมศึกษา
รางวัลชนะเลิศ • ทีม RESET PRODUCTION มหาวิทยาลัยรังสิต ผลงาน “ทิ้งได้ไงหัวใจอยู่ในกล่อง” รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 • ทีมป้าลดข้าวหน้อย จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ผลงาน “ป้า ๆ ลดข้าวหน่อย” รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 • ทีมใต้ตาด�ำ มหาวิทยาลัยนเรศวร ผลงาน “กินเหลือกลัวโดนปรับ” รางวัลชมเชย 1 • ทีม ภสค. เฮ้าส์ จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ผลงาน “กิน (ไม่) เหลือ รวย!!!” รางวัลชมเชย 2 • ทีมปุ๊กปิ๊ก มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผลงาน “เราไม่ได้ทิ้งมัน แต่เราก�ำลังรับมัน” THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
NEWS
ภายในงานประกาศรางวัลการประกวดคลิปวิดีโอ “คนรุ่นใหม่ ไร้ Food Waste” ปีที่ 2 ขึน้ จัดขึน้ ณ โรงภาพยนตร์เฮ้าส์ สามย่าน ศูนย์การค้าสามย่านมิตรทาวน์ กรุงเทพฯ โดยมีนายวิเศษ วิศษิ ฏ์วญ ิ ญู กรรมการผูจ้ ดั การ พร้อมด้วยคณะผูบ้ ริหารระดับสูง บริษัท ซีพีแรม จ�ำกัด พร้อมด้วยผู้ช่วยศาสตราจารย์บุญเลี้ยง แก้วนาพันธ์ประธานสาขาวิชามีเดียอาตส์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ร่วมด้วยนางสาวเบญจมาส โชติ ท อง ผู ้ อ� ำ นวยการฝ่ า ยบริ ก ารทางวิ ช าการ สถาบั น สิ่งแวดล้อมไทยร่วมบรรยายพิเศษในหัวข้อ “สถานการณ์ Food Waste วิกฤตโลก?” อีกด้วย อีกทั้งยังได้รับเกียรติจาก 2 ผู้ก�ำกับภาพยนตร์แถวหน้าของประเทศไทย ประกอบด้วย นายภาคภูมิ วงศ์ภูมิ และคุณกิตติภัค ทองอ่วม เป็นหนึ่งใน คณะกรรมการตัดสินโครงการฯ ครั้งนี้ ทางด้านนายวิเศษ วิศิษฏ์วิญญู กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซีพแี รม จ�ำกัด กล่าวเพิม่ เติมว่า โครงการฯ ดังกล่าว ด�ำเนินการ ต่อเนือ่ งเป็นปีที่ 3 เพือ่ สร้างความตระหนักในเรือ่ งความสูญเปล่า ทางอาหารในกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่มีส่วนส�ำคัญ ในการร่วมสร้าง การเปลี่ยนแปลง และลดความสูญเปล่าทางอาหาร รวมถึง การเปลีย่ นแปลงเชิงพฤติกรรม ปัญหาความสูญเปล่าทางอาหาร หรือ Food Waste ส่งผลกระทบต่อทุกคนในวงกว้างทั้งในมิติ เศรษฐกิจ มิติสิ่งแวดล้อม และความมั่นคงทางอาหารของโลก ซีพแี รมให้ความส�ำคัญและขอร่วมเป็นหนึง่ ในโครงการเพือ่ แก้ไข ปัญหานี้อย่างจริงจังและต่อเนื่อง พร้อมสร้างความตระหนัก ถึงผลเสียที่ก่อเกิดจากอาหารที่ถูกทิ้งอย่างสูญเปล่า รวมถึง ยังมีแนวโน้มรุนแรงมากยิ่งขึ้นในอนาคตอันใกล้ ส�ำหรับจุดเริ่มต้นของโครงการดังกล่าว เกิดจากการตั้งค�ำถาม จากสิ่งที่เราเห็นจากอาหารในจานที่เราทานไม่หมดกองอยู่ตรง หน้า ทีม่ แี ต่เศษอาหารเหลือจากการทาน หรือแม้แต่ผกั และผลไม้ ทีเ่ น่าเสียอยูใ่ นตูเ้ ย็น ประกอบกับการพูดถึงของคนทัว่ โลก รวมถึง องค์กรยูนิเซฟถึงความยากจน การโหยหาอาหาร ความหิวโหย ของเด็กน้อยในแอฟริกา หรือประเทศที่อยู่ในสภาวะสงคราม ทีท่ ำ� ให้ขาดแคลนอาหาร รวมทัง้ การเกิดภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ ที่มนุษย์ไม่สามารถควบคุมได้ แม้แต่ในประเทศไทยเองที่ได้ชื่อ ว่าเป็นอู่ข้าวอู่น�้ำ อยู่ที่ไหนก็ไม่อดตาย แต่ก็ยังมีในหลายพื้นที่ ห่างไกล ทีย่ งั ขาดแคลนอาหาร อาหารไม่เพียงพอ เข้าถึงอาหาร ไม่ครบตามหลักโภชนาการ ซึง่ มีให้เห็นในข่าวอยูบ่ อ่ ยครัง้ ทัง้ นี้ เพือ่ สร้างความตระหนักในเรือ่ งความสูญเปล่าทางอาหารในกลุม่ คนรุ่นใหม่ที่มีส่วนส�ำคัญในการสร้างการเปลี่ยนแปลง และลด ความสูญเปล่าทางอาหาร รวมถึงการเปลีย่ นแปลงเชิงพฤติกรรม อย่างไรก็ตามในการสร้างความตระหนักให้กับสังคมไทยถึง ความส�ำคัญของการลด Food Waste แม้วันนี้เรายังไม่เห็นตัว
53
ชี้วัดเชิงปริมาณที่เด่นชัดนัก แต่เราก็เห็นการเปลี่ยนแปลงใน ทางที่ดีขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม เราจะเห็นคนไทยบริโภคอาหาร ได้หมดจดไม่เหลือไว้โดยสูญเปล่าเพิ่มขึ้น คนไทยเลือกซื้อหรือ เลือกตักรับประทานอาหารแต่พอเหมาะไม่กนิ ทิง้ กินขว้างเพิม่ ขึน้ นั้นแสดงให้เห็นถึงการ “รักอาหาร” และ “รักสิ่งแวดล้อม” มากขึ้น ซึ่งส่งผลให้เกิด “ความยั่งยืนของอาหาร” ขึ้นนั้นเอง นอกจากนี้ ซีพแี รมยังได้เปิดเพจ Facebook ทีช่ อื่ ว่า “สังคมไทย ไร้ Food Waste” พร้อมกันนีย้ งั ได้เปิดกลุม่ ทีช่ อื่ ว่า “กินหมดจด ไร้ Food Waste” เพื่อเป็นศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนและ แชร์ไอเดีย ตลอดจนสร้างแรงบันดาลใจในการลดความสูญเปล่า ทางอาหาร หรือ Food Waste ซึง่ เป็นการขยายผลสูท่ กุ กลุม่ คน ในสังคม โดยจะมีการให้ความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงปัญหา ที่เกิดขึ้น รวมถึงจัดแคมเปญในการร่วมแบ่งปันไอเดียและ มีการมอบรางวัลให้ผู้โชคดีที่มาร่วมกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง โดยสามารถติดตามความเคลือ่ นไหวแคมเปญและกิจกรรมต่าง ๆ ที่น่าสนใจได้ที่ Facebook : “สังคมไทย ไร้ Food Waste” ทั้งนี้ซีพีแรม ด�ำเนินธุรกิจเคียงข้างสังคมอย่างเกื้อกูล ยังคง เดินหน้าสร้างความตระหนักในการลดความสูญเปล่าของอาหาร ในกลุ่มคนรุ่นใหม่ ลุยปลูกฝังสังคมลดการกินทิ้งขว้าง เพื่อยก ระดับสูค่ วามยัง่ ยืนทางอาหาร และร่วมส่งมอบความเป็นอยูท่ ดี่ ี ให้ทุกคนสืบไป สมาคมการพิมพ์ไทยขอแสดงความยินดีกับ ทุกท่านที่ได้รับรางวัลจากการเข้าร่วมโครงการในครั้งนี้
การสร้างความตระหนักให้กับ สังคมไทยถึงความส�ำคัญของ การลด Food Waste เราจะเห็น คนไทยบริโภคอาหารได้หมดจด ไม่เหลือไว้ เลือกตักรับประทาน อาหารแต่พอเหมาะ ไม่กน ิ ทิง ้ กินขว้าง แสดงให้เห็นถึงการ “รักอาหาร” และ “รักสิ่งแวดล้อม” มากขึ้น ซึ่งส่งผลให้เกิด “ความยั่งยืน ของอาหาร” ขึ้นนั้นเอง
สามารถชมผลงานของน้อง ย้อนหลังได้ทาง https://www.facebook.com/foodwasteclipcontest www.thaiprint.org
54 INDUSTRIAL
เครื่องพิ มพ์ สิ่งทอ กับการปฏิวัติโลกแห่งแฟชั่น
เอปสันมุ่งมั่นที่จะเพิ่ มความแข็งแกร่ง ให้กับธุรกิจการพิ มพ์ สิ่งทอ และมุ่งมั่น ที่จะน�ำเสนอผลิตภัณฑ์และบริการ
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
INDUSTRIAL 55
โดยทัว่ ไปแล้ว วงการแฟชัน่ จะมีการเปิดตัวเสือ้ ผ้าคอลเลคชันใหม่ ประมาณ 4 ครั้ง ต่อปี โดยอ้างอิงจากฤดูกาลในแต่ละปี ซึ่งเป็น แนวทางที่ปฏิบัติกันมาหลายสิบปีแล้ว แต่ในปัจจุบันผู้บริโภค ได้ให้ความสนใจเกี่ยวกับวงการแฟชั่นเกินกว่าจะรอคอยการ เปิดตัวคอลเลคชันใหม่บนแคทวอล์ค แต่ยังมองไปถึงเบื้องหลัง ของธุรกิจนั้น ๆ อีกด้วย โดยผู้บริโภคได้มีการเรียกร้องให้ ผู้ประกอบการหันมาให้ความสนใจและเพิ่มความรับผิดชอบ ในเรื่องผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากกระบวนการผลิตมากขึ้น อย่างต่อเนือ่ ง สอดคล้องกับรายงานของ McKinsey / Business of Fashion กล่าวว่า 1 ใน 10 ความต้องการของผูป้ ระกอบการ ในอุตสาหกรรมแฟชั่นคือการสร้างความยั่งยืนให้กับธุรกิจ แฟชัน่ เป็นทีร่ กู้ นั ว่าในอุตสาหกรรมแฟชัน่ นัน้ มีการใช้พลังงาน และวั ส ดุ สิ้ น เปลื อ งโดยเปล่ า ประโยชน์ เ ป็ น จ� ำ นวนมากใน กระบวนการผลิต ก่อให้เกิดมลพิษและของเสียที่ส่งผลกระทบ ต่อสิง่ แวดล้อม แต่กลับมีเพียงผูป้ ระกอบการไม่กรี่ ายทีร่ บั ผิดชอบ อย่างจริงจัง จากปัจจัยนี้เอง เทคโนโลยีการพิมพ์สิ่งทอแบบดิจิทัลจึงได้ เริม่ เข้ามามีบทบาทในอุตสาหกรรมแฟชัน่ โดยครัง้ แรกในปี 2533 ทีม่ กี ารน�ำเทคโนโลยีการพิมพ์แบบอิงค์เจ็ทเข้ามาใช้ในอุตสาหกรรม การพิมพ์สงิ่ ทอ ซึง่ สร้างความสะดวกสบายและยืดหยุน่ มากกว่า การผลิตหรือสกรีนลายสิ่งทอแบบดั้งเดิม เห็นได้เด่นชัดที่สุด
จากต้ น ทุ น ของการผลิ ต ลายผ้ า หากต้ อ งการพิ ม พ์ ล ายที่ มี ความแตกต่างกัน โดยการพิมพ์แบบดั้งเดิมนั้นจะมีขั้นตอน และกระบวนการที่ยุ่งยากและซับซ้อนมากกว่า ตั้งแต่การ เตรียมเพลท ใช้ลายฉลุเพื่อแยกสี ฯลฯ ส่งผลให้มีราคาต้นทุน ที่สูงตามไปด้วยและเหมาะส�ำหรับการผลิตในปริมาณมาก นอกจากนี้การควบคุมสีสันยังท�ำได้ยาก เพราะเป็นการผสมสี จากสารละลาย ซึง่ เป็นมลพิษต่อสิง่ แวดล้อมอีกด้วย แต่สำ� หรับ เทคโนโลยีการพิมพ์แ บบดิจิทัล นั้น จะมีค วามยืด หยุ ่ น กว่ า และไม่มีข้อจ�ำกัดเรื่องจ�ำนวนการพิมพ์ขั้นต�่ ำ ท�ำให้ ลูก ค้ า สามารถผลิตลายสิ่งทอที่แตกต่างกันได้ในปริมาณตามต้องการ นอกจากนี้ยังมีความแม่นย�ำของสีสันที่เที่ยงตรง และช่วยลด มลพิษทีเ่ กิดจากกระบวนการผลิต เพราะไม่มขี นั้ ตอนการผสมสี เหมือนการย้อมสีผา้ แบบในอดีต ช่วยประหยัดค่าใช้จา่ ยในขณะ ที่ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้อย่างลงตัว
เทคโนโลยีการพิ มพ์ แบบดิจิทัล มีความยืดหยุ่นกว่า และไม่มี ข้อจ�ำกัดเรื่องจ�ำนวนการพิ มพ์ ขั้นต�่ำ ท�ำให้ลูกค้าสามารถผลิต ลายสิ่งทอที่แตกต่างกันได้ใน ปริมาณตามต้องการ www.thaiprint.org
56 INDUSTRIAL
ประโยชน์ทสี่ ำ� คัญของการพิมพ์แบบดิจทิ ลั ลงบนสิง่ ทอโดยตรง คือ ช่วยให้สามารถผลิตผ้าหลากหลายสีหรือหลากหลายแบบ ภายในม้วนผ้าเดียวกัน ซึ่งหมายถึงการผลิตที่รวดเร็วขึ้นและ ความสามารถในการจัดการกับการพิมพ์ซำ�้ และการสั่งซ�้ำอย่าง รวดเร็ว โดยในปัจจุบันเทคโนโลยีการพิมพ์สิ่งทอจากเอปสัน สามารถพิ ม พ์ ล งวั ส ดุ ที่ มี ข นาดกว้ า ได้ ก ว้ า งถึ ง 1,800 มม. ซึ่งการพิมพ์แบบดิจิทัลไปยังผ้าโดยตรงนี้เหมาะส�ำหรับผ้า หลายประเภท เช่น ฝ้าย วิสโคส โพลีเอสเตอร์ ไนลอน ผ้าไหม โดยใช้หมึกที่แตกต่างกันตามแต่ประเภทของเนื้อผ้า การพิมพ์แบบดิจิทัลไปยังสิ่งโดยตรงนั้น ไม่เพียงแต่ยืดหยุ่น และตอบโจทย์สงิ่ ทอทีม่ คี วามยาวมาก ส�ำหรับแบรนด์แฟชัน่ และ นักออกแบบนั้น การพิมพ์ผ้าสิ่งทอแบบดิจิทัลช่วยให้พวกเขา สามารถ “ทดลอง” การออกแบบลายสิ่งทอตามจินตนาการ ได้อย่างไม่มีขีดจ�ำกัด ท�ำลายข้อจ�ำกัดด้านสีสันและลวดลาย ที่เทคโนโลยีการผลิตสิ่งทอแบบดั้งเดิม ไม่สามารถตอบสนองได้ เพือ่ ให้มนั่ ใจได้วา่ ชิน้ งานจริงทีจ่ ะถูกผลิต จะตรงกับความตั้งใจของผู้ออกแบบมากที่สุด โดยในปัจจุบัน การพิมพ์ส่ิงทอด้วยระบบการพิมพ์แบบดิจิทัลเป็นที่นิยมมาก ในตลาดแบรนด์แฟชั่น เพราะไม่เพียงแต่ให้คุณภาพงานที่ดี ความยืดหยุน่ นการท�ำงานและการพิมพ์ทรี่ วดเร็วแล้ว ยังสามารถ ช่วยตอบโจทย์ด้านการลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้อีกด้วย นอกเหนือจากสิ่งทอที่เป็นเสื้อผ้าและเครื่องนุ่งห่มแล้วนั้น ยังมีการใช้งานในกลุ่มอุตสาหกรรมป้ายโฆษณาส�ำหรับงาน นิทรรศการและงานแสดงสินค้า ม่านประดับ ผ้าม่าน ผ้าปูทนี่ อน ตลอดไปจนถึงวอลล์เปเปอร์และของตกแต่งบ้าน ซึ่งส่งผลให้ ตลาดการพิมพ์สิ่งทอแบบดิจิทัลทั่วโลกมีมูลค่าถึง 2.2 พันล้าน ดอลลาร์ในปี 2562 และคาดว่าจะสูงถึง 8.8 พันล้านดอลลาร์ ภายในปี 2570 โดยเติบโตที่ CAGR 19.1% จากปี 2563 ถึง 2570 THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
จินตนาการ คือ ข้อจ�ำกัดเดียวที่มี
ในอุตสาหกรรมสิ่งทอแบบดั้งเดิม การออกแบบจะถูกจ�ำกัด อันเนื่องมาจากกระบวนการผลิต ท�ำให้นักออกแบบมีข้อจ�ำกัด อย่างมากในการใช้สีสร้างสรรค์ลวดลายต่าง ๆ ในทางกลับกัน การพิมพ์สิ่งทอแบบดิจิทัลได้ท�ำลายข้อจ�ำกัดเหล่านั้น ท�ำให้ นักออกแบบมีอสิ ระในการสร้างสรรค์จนิ ตนาการได้อย่างไร้ขดี จ�ำกัด และคงจะไม่ผดิ นักหากจะพูดว่า จินตนาการของผูอ้ อกแบบเอง นั่นแหละคือข้อจ�ำกัดเดียวที่มี ส�ำหรับกระบวนการพิมพ์สิ่ง ด้วยระบบดิจิทัล ขจัดอุปสรรคในการผลิต
คุณภาพงานพิมพ์สิ่งทอ คือปัจจัยส�ำคัญในการน�ำเทคโนโลยี การพิมพ์สิ่งทอดิจิทัลมาใช้อย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรม แฟชั่นในปัจจุบัน การพัฒนาเครื่องพิมพ์ให้ใช้งานได้ต่อเนื่อง และมีคุณภาพที่ดียิ่งขึ้น คือสิ่งที่เอปสันได้ให้ความส�ำคัญมา โดยตลอด โดยในปัจจุบัน เอปสันได้มีการพัฒนาหมึกพิมพ์ แบบ Genesta ทีร่ องรับการพิมพ์สงิ่ ทอได้หลากหลายประเภท เพิ่มความสะดวกและความคุ้มค่ามากขึ้นด้วยความรวดเร็วใน กระบวนการผลิต เพือ่ ให้ลกู ค้าได้รบั ผลงานทีด่ เี ยีย่ มในเวลาอันสัน้ ส�ำหรับผู้ผลิตการพิมพ์สิ่งทอแบบดิจิทัลน�ำมาซึ่งโอกาสทาง ธุรกิจและความคล่องตัวทีม่ ากขึน้ ในการท�ำให้การผลิต สามารถ ตอบสนองความต้องการของตลาดได้หลากหลายตลาด ไม่ว่า จะเป็นเครื่องแต่งกายแฟชั่นลักชูรี่ เครื่องแต่งกายฟาสต์แฟชั่น อุปกรณ์การตกแต่งบ้าน ตลอดไปจนถึงการแสดงตัวอย่างก่อน พิมพ์ให้กับแบรนด์ก่อนที่จะผลิตจ�ำนวนมาก ผู้ผลิตสามารถ ผลิตชุดอุปกรณ์สวมใส่ในชีวิตประจ�ำวันให้กับแบรนด์ฟาสต์ แฟชั่น เช่น Zara หรือ H&M ซึ่งมีช่วงเวลาในการเปลี่ยนจาก คอนเซปต์ไปสูห่ น้าร้านค้าภายใน 2 สัปดาห์ หรือแม้แต่ในตลาด
INDUSTRIAL 57
แบรนด์เครือ่ งแต่งกายหรูหราระดับไฮเอนด์ ต่างแข่งขันกันเพือ่ ส่งมอบประสบการณ์การปรับแต่งเฉพาะบุคคล (customised) ได้อย่างรวดเร็ว ลงตัว และแน่นอน ว่าไม่เพียงแต่เสื้อผ้าเครื่อง แต่งกายเท่านัน้ แต่ยงั รวมถึงวัสดุตกแต่งต่างๆ ทีท่ ำ� จากผ้า เช่น ผ้าม่าน ผ้าคลุม เครื่องนอน ตลอดไปจนถึงเครื่องประดับ เช่น กระเป๋าและรองเท้า ตลาดใหม่ส�ำหรับผู้ประกอบการที่เชี่ยวชาญ
การพิมพ์สิ่งทอแบบดิจิทัลนั้น มีข้อได้เปรียบต่าง ๆ ในแบบที่ เทคโนโลยีแบบดั้งเดิมไม่สามารถตอบสนองได้ อันเนื่องมาจาก ความสามารถในการผลิ ต ขั้ น ต�่ ำ ท� ำ ให้ ส ามารถตอบโจทย์ ผู้ประกอบการได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น • ผู้ประกอบการออนไลน์ ที่น�ำเสนอทุกอย่างตั้งแต่หน้ากาก อนามัย เครื่องแต่งกาย ไปจนถึงเฟอร์นิเจอร์ระดับไฮเอนด์ • โรงเรียนสอนแฟชัน่ และการออกแบบ ทีน่ กั เรียนมักจะประสบ ปัญหากับวิธกี ารถ่ายทอดแนวคิดผ่านสิง่ ทอทีม่ จี ำ� หน่ายทัว่ ไป • สตาร์ทอัพรายใหม่ ที่การด�ำเนินการผลิตครั้งแรกแบบ ปริมาณจ�ำกัด • ผลิตภัณฑ์ที่มีความเฉพาะเจาะจงสูง เพื่อรองรับตลาดที่มี ความต้องการพิเศษ เช่น การปรับแต่งเป็นพิเศษเฉพาะบุคคล
เอปสันมุ่งมั่นที่จะเพิ่ มความแข็งแกร่ง ให้กบ ั ธุรกิจการพิ มพ์ สง ิ่ ทอ และมุง ่ มัน ่ ที่จะน�ำเสนอผลิตภัณฑ์และบริการ ที่สร้างความพึ งพอใจให้กับลูกค้า ในตลาดที่ขยายตัวอย่างรวดเร็วนี้ หมึกและอุปกรณ์ทง ั้ หมดของเอปสัน เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดา้ นสิง ่ แวดล้อม ่ ช่วยให้นก ขัน ั ออกแบบ ้ สูงสุด ซึง สามารถสร้างสรรค์ลวดลายสิ่งทอ ของตนเองได้อย่างมั่นใจในแบบ ที่ต้องการ ตั้งแต่สินค้าแฟชั่นไป จนถึงสินค้าที่ใช้ในการตกแต่งภายใน จากมุมมองของผู้ผลิต แน่นอนว่าต้นทุนคือสิ่งส�ำคัญในการ ด�ำเนินธุรกิจ เครื่องพิมพ์สิ่งทอดิจิทัลของเอปสันนั้นมีต้นทุน ในการเป็นเจ้าของ (Cost of Ownership) ทีต่ ำ�่ แต่มาพร้อมกับ การใช้งานง่ายและให้ประสิทธิภาพที่ดีที่สุด จึงเป็นตัวเลือกที่ ช่วยให้นักออกแบบสามารถน�ำเสนอจินตนาการของตนเองไป สู่ความเป็นจริงในเชิงพาณิชย์ ในโลกแฟชั่นที่เปลี่ยนแปลง ตลอดเวลาได้อย่างลงตัวตัวช่วยเพิ่มโอกาส SME
www.thaiprint.org
58
INTERVIEW
มายการพิ มพ์ ขยายธุรกิจ ตลาดการพิ มพ์ เชิงพาณิชย์ โดยเครื่องพิ มพ์ ดิจิทัล HP Indigo 7K การจะลงมือท�ำอะไรให้ประสบความส�ำเร็จนัน ้ ต้องอาศัยความตัง ้ ใจ การไม่หยุดหรือย�ำ่ อยู่ กับที่ พยายามคิดค้นอะไรใหม่ ๆ ให้กบ ั ตนเอง ตั้ ง เป้ า หมายในการใช้ ชี วิ ต และลงมื อ ท� ำ ดังเช่น คุณสมศักดิ์ อมรพิ ทักษ์ ผู้ก่อตั้ง บริษท ั มายการพิ มพ์ จ�ำกัด หรือ My press ที่แปลความหมายตรงตัวได้ว่า “โรงพิ มพ์ ของฉัน” THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
คุณ สมศักดิ์ ได้เล่าว่าบริษัทเริ่มต้นจากการท�ำ ธุรกิจ เล็ ก ๆ โดยเริม่ จากการท�ำเครือ่ งสมัยก่อนทีเ่ ป็นเครือ่ งตีธง แล้วเริม่ ขยาย การท�ำงาน อาศัยการมีระเบียบวินยั และได้ภรรยาเข้ามาช่วยใน การท�ำให้ธุรกิจ มีมาตรฐานหรือสิ่งต่าง ๆ ที่ดีขึ้น แล้วขยายมา เรือ่ ย ๆ งานเริม่ ต้นของเราเป็นงานบิลเล็ก ๆ ซึง่ เราบังเอิญเข้าไป อยูใ่ นกลุม่ ทีเ่ ป็น label กลุม่ ฉลาก ซึง่ งานส่วนใหญ่จะเป็นลูกค้า พวกส่งออกทั้งหมด ก่อนจะขยายงานมาทางด้านฉลากมากขึ้น ประกอบกับเป็นคนทีท่ กุ อย่างท�ำหมด เลยท�ำให้เรามีงานหลาก หลายมาก แล้วจึงเริ่มเข้ามาสู่ธุรกิจบรรจุภัณฑ์
INTERVIEW
โอกาสมาจากศู น ย์ เลยท� ำ งานทุ ก อย่ า งที่ ท� ำ ได้ ทั้ ง หมด จะยากล� ำ บากก็ ท� ำ พยายามจะท� ำ ให้ ส� ำ เร็ จ ท� ำ ให้ เรามี ความหลากหลายในการท�ำงานมาก และจะหนัก label เยอะ เราเพิง่ เริม่ มาขยายงาน Shrink พลาสติก ภายใน 3 ปีนี้ เพราะเรา มองว่าตลาด เริม่ มีการขยายในเรือ่ งของฟิลม์ และสติก๊ เกอร์มว้ น เราเลยเริ่มมองเห็นว่า ธุรกิจตรงนี้น่าจะเติบโตได้ แล้วพอเรา ลงมา 3 ปี ธุรกิจก็เติมโตแบบอัตรา สัดส่วนในแบบก้าวกระโดด ส่วนในเรื่องของฉลาก เราก็คิดว่าอัตราสัดส่วนของเราโตได้ เพราะของเราอยู ่ ในฐานที่ใ หญ่ม าก เราเลยมีความรู้สึกว่า อยากขายไปสู่ธุรกิจอื่น ๆ ให้มีความหลากหลายมากขึ้น โอกาสในการขยายธุรกิจ
เราคิดว่าธุรกิจทีท่ ำ� อยู่ บางส่วนอาจจะเข้าไปสูก่ ารท�ำ ในเรือ่ งของ ธุรกิจที่มี volume จ�ำนวนน้อยกับธุรกิจที่สามารถมีความ premium เราเลยตัดสินใจที่จะลงไปในเครื่อง HP เพราะเรามี
My Press “โรงพิ มพ์ ของฉัน”
หลั ง จากเรี ย นจบจึ ง ได้ ช วนคุ ณ พ่ อ มาท� ำ ธุ ร กิ จ โดยคุ ณ พ่ อ ได้เสนอให้ท�ำโรงพิมพ์ ด้วยความที่เป็นคนทะเยอทะยานสูง มีโครงการในหัวเยอะมาก โดยมีความคิดว่าจะต้องขึ้นมาเป็น ตัวใหญ่ให้ได้ ดังนั้นจะต้องตัด Margin ก�ำไรลดลงค่อนข้างมาก เพื่อจะท�ำให้เปิดตลาดกว้างขึ้น ลูกค้าเริ่มตอบสนอง ด้วยการ เริ่มพิมพ์มากขึ้น แต่จุดนี้อาจต้องใช้ระยะเวลา เพราะทุกอย่าง ไม่สามารถที่จะโตได้เลยทันที
59
ความรู ้ สึ ก ว่ า เครื่ อ ง HP สามารถตอบโจทย์ ไ ด้ ห ลายอย่ า ง เครือ่ ง HP ในเรื่องของฉลาก ลูกค้าส่วนใหญ่ จะไม่ต้องการ จ�ำนวนที่เยอะ แต่โดนบังคับด้วยการสั่งที่เป็น minimum เราเลยตัดสินใจทีจ่ ะลง ในเครือ่ ง HP เป็นดิจทิ ลั ตัวแรกในเอเชีย เราก็มีความเชื่อว่า เครื่องรุ่นนี้จะสามารถท�ำให้เติบโตในด้าน label ได้เพราะว่า เครื่องตัวนี้ถ้าขายในแบบเก่า จะมีก�ำไร margin ที่ สู ง ขึ้ น จึ ง พลิ ก เปลี่ ย นจากการขาย ในขณะที่ ไม่ต้องการ margin สูงมาก แต่ต้องการเป็นเจ้าตลาด คนส่วนใหญ่คิดว่าลงทุนเครื่องถูก น่าจะได้ margin คืนเร็วกว่า แต่การลงทุนเครื่องที่ดีกว่าเหนือกว่า ท�ำให้ท�ำงานได้มากกว่า ในราคาที่สูง และสามารถคืนทุนได้เร็วมากกว่า และความ สูญเสียน่าจะน้อยกว่า และการที่ลูกค้าจะกลับมาใช้บริการอีก มีความเป็นไปได้สูงมาก
แนวทางการบริหารธุรกิจ และผลกระทบจาก Covid-19
ไม่ได้โดนผลกระทบจากโควิดเลย ช่วงนัน้ กลับขายดีขนึ้ ปีทแี่ ล้ว เติบโตประมาณ 3% จากยอดขายที่ 500 กว่าล้าน ถือว่าเป็น จ�ำนวนเปอร์เซ็นต์ที่ค่อนข้างสูง ผมยังเชื่ออีกว่า ปีนี้ My press น่าจะโตได้อีก My press ไม่ได้อยู่ในราคาที่ต�่ำแต่อยู่ในระดับ ราคากลาง แต่ก็มียอดขายสูงสุด ดังนั้นคนท�ำธุรกิจที่ราคาถูก กลับไม่ใช่เจ้าตลาด เราขาย concept ในเรื่องของคุณภาพ บริการ และตอบค�ำถามลูกค้าได้ทุกอย่าง www.thaiprint.org
60
INTERVIEW
ดังนั้นโอกาสที่เราจะโตเยอะมาก แล้วเราก็เริ่มได้แบรนด์ใหญ่ แบรนด์ดังของอเมริกา เลยมีความมั่นใจว่า จะโตได้อีกแน่นอน ส่วนในเรื่องของตัว Print On Demand ผมเชื่อนะว่า ลูกค้าที่ อยูต่ รงนี้ เริม่ ส่งงานเล็ก ๆ น้อย ๆ มากขึน้ เพราะเขามีความรูส้ กึ ว่า พิมพ์กับเรา มีสีที่มีคุณภาพ ตอบค�ำถามเขาได้ดีมาก แล้วระยะ เวลาก็ได้ และจ�ำนวนงานในลักษณะของโลกปัจจุบนั เริม่ เปลีย่ น เริม่ มีการพิมพ์จำ� นวนน้อย แต่หลายไอเทมเยอะขึน้ เพราะฉะนัน้ จึงมีโอกาสที่จะโตขึ้นได้ แต่อาจจะไม่เฉพาะเรื่องของงานพิมพ์ ผู้บริหารเองก็มีส่วนเช่นกัน ต้องมีความรู้มากและเชี่ยวชาญ มากขึ้น รวมไปถึงพนักงาน ถ้าพนักงานมีส่วนร่วมเขาก็ได้ ร่วมแรงแข่งขันกับเราด้วย คืนก�ำไรให้พนักงานที่เขาช่วยกัน ประหยัด แยกกระดาษสี กระดาษขาว หรือใช้กล่องมารีไซเคิลซ�ำ้ ในปั จจุบันนี้ในส่ วนของธุ รกิ จสิ่ งพิ มพ์ จะได้ รั บ ผลกระทบจากดิจท ิ ล ั เข้ามา อย่างพวก commercial พวกหนังสื อพวกนิตยสาร จะมีปิดตัวลงไปบ้าง ในส่วนของ Label มีแนวโน้ม เป็นอย่างไร
เท่าที่ผมไปคุยกับลูกค้า แล้วผมเห็นลูกค้า ส่วนใหญ่ขยาย โรงงาน ผมเลยมีความรู้สึกว่า ผมเชื่อว่าผมน่าจะโต 80 - 90% เพราะสมมติลูกค้าเปิดใหม่ ลูกค้าต้องการงานเล็ก ๆ น้อย ๆ เรามีใจที่จะเอื้อเขาว่า “โอเคพี่ น้อยนะ ผมให้พี่นะ” หรือว่า THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
ทุนถูกไปนะ เขาจะมีความรู้สึกว่า ในเมื่อแบรนด์อยู่กับเราแล้ว ยังไงลูกค้าก็จะพิมพ์กับเรา ความหมาย คือ ไม่จ�ำเป็นต้องขาย ถูกที่สุดแต่เน้นในด้านการให้บริการ ในขณะที่ผมลงทุน หลาย 100 ล้าน ผมก็ไม่รู้สึกกังวลใจอะไร เลยนะ เพราะ concept ของผมก็คือ การขายงานแล้วท�ำให้ ลู ก ค้ า มี ค วามรู ้ สึ ก พึ ง พอใจ ถ้ า ตราบใดลู ก ค้ า ยั ง อยู ่ กั บ เรา ค� ำ ตอบก็ คื อ จบ แต่ ถ ้ า เราขายแล้ ว ลู ก ค้ า ไม่ พึ ง พอใจ ก็ คื อ ความไม่แน่นอนแล้วของตัวเรา ของคนอื่นผมไม่รู้ แต่ผมรู้ แต่ว่าส�ำหรับผม ลูกค้าต้องเป็นที่หนึ่ง
การขายงานแล้วท�ำให้ลูกค้า มีความรู้สึกพึ งพอใจ ถ้าตราบใดลูกค้ายังอยู่กับเรา ค�ำตอบก็คือจบ แต่ถ้าเราขาย แล้วลูกค้าไม่พึงพอใจ ก็คือ ความไม่แน่นอนแล้วของตัวเรา ของคนอื่นผมไม่รู้ แต่ผมรู้แต่ว่า ส�ำหรับผม ลูกค้าต้องเป็นที่หนึ่ง
INTERVIEW
61
เป็นแค่ฉลาก จะท�ำให้มีงานหลากหลายมากขึ้น เราสามารถ พิมพ์การ์ดเราสามารถพิมพ์แคตตาล็อกโบชัวร์ที่สวยงาม โดยที่ใช้เทคโนโลยีของ HP เข้ามาช่วย ถ้าเราไม่มีเขาธุรกิจ บางส่ ว นมั น หายไป ธุ ร กิ จ ที่ เราเคยมี อ ยู ่ ลู ก ค้ า เราจะหาย เพราะมันจะท�ำให้ลูกค้าส่วนพวกนี้ ไม่พิมพ์กับเรา เพราะว่า ต้นทุนของเขาถูกกว่าคนอื่นเยอะเลย เราถึงใช้ค�ำว่า มันเป็น สิ่งที่จ�ำเป็นที่เราจะต้องมี เพราะถ้าเราไม่มี ธุรกิจก็จะอยู่วงนี้ แล้วมันจะแคบลง ดังนั้นการที่เรามี HP มันจะตอบโจทย์ได้ ความพึ งพอใจต่อ HP
เป็นสิง่ จ�ำเป็นส�ำหรับคนทีป่ ระกอบธุรกิจ มันเป็นสิง่ ทีจ่ ำ� เป็นมาก ถ้าคุณไม่มีเขา การประกอบธุรกิจใช้ยากมาก มันเลยเป็นสิ่งที่ จ�ำเป็น ผมใช้คำ� นีโ้ รงพิมพ์ทมี่ เี ครือ่ ง Digital Print จากโทนเนอร์ ตัวเดียว สามารถสร้างขึ้นมาเป็นโรงพิมพ์ได้ ผมว่าเขาเก่งนะ ฉะนั้นผมเลยคิดว่า HP เป็นสิ่งที่จ�ำเป็นมาก ถ้าไม่ได้ในการ ประกอบธุรกิจ ผมคิดว่าจ�ำเป็น อันนี้เป็นความจริง เพราะว่า ไม่มีจะท�ำให้โดนแย่งงานได้ ดังนั้นผู้ที่สามารถตัดสินใจได้ก่อน จะได้เปรียบ ไม่ว่าอะไรก็ตาม ก้าวก่อนจะได้เปรียบเสมอ HP เข้ามาช่วยเพิม่ มูลค่าในงานของเรา คือ งานของเรานอกจาก
ก่อนที่ผมจะตัดสินใจซื้อ HP ผมก็ไปดูมา 3 สียี่ห้อ ถ้าการ ตัดสินใจเครื่องแต่ละตัว มันเหนื่อยกับการที่เราจะต้องศึกษา เครื่องทุกเครื่องที่ดูไม่ตอบโจทย์เขา ไม่สามารถท�ำงานได้สวย หรือได้เป็นหนึ่ง ดังนั้น HP สามารถท�ำงานได้สวย และเป็น ที่หนึ่งจริง เครื่องทุกตัวถ้าคนดูงานเป็น ส่องเข้าไปแล้ว จะไม่ใช่ตอบโจทย์เรา งานไม่สวยพอที่จะสู้คนอื่นได้ ดังนั้น เราถึงเลือก HP ถ้าเป็นเครือ่ งใหญ่จะยิง่ ง่ายกว่านี้ แต่จริง ๆ แล้ว ผมเข้าใจนะ ธุรกิจมันต้องมีเล็กและใหญ่ส�ำหรับผม ต้องมี 2 เครื่องทั้งเครื่องเล็กและเครื่องใหญ่ แต่ส�ำหรับคนอื่นที่เริ่ม ต้นอาจจะต้องมีเล็ก ผมถึงบอกว่าช้าหรือเร็ว ยังไงผมก็ต้องซื้อ เครื่องใหญ่ เพราะว่ามันเป็นสิ่งที่จำ� เป็นจริง ๆ อันนี้ผมพูดจาก สิ่งที่ผมท�ำงานอยู่ แล้วความจ�ำเป็นที่จะต้องมีเขาหรือไม่
www.thaiprint.org
62
NEWS
Epson SureColor SC-R5030L
เอปสันรุกเสริมไลน์เครื่องพิ มพ์ ป้ายโฆษณา ย�้ำจุดยืนลดมลภาวะ พร้อมเปิดตัว R-Series เครื่องพิ มพ์ หมึกเรซิ่นฐานน�้ำรุ่นแรก เอปสัน ผูน้ ำ� เทคโนโลยีการพิมพ์ของโลก ตอกย�ำ้ จุดยืนการเป็น ผูผ้ ลิตสินค้าไอทีทมี่ งุ่ ลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม ตามเป้าหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืนของยูเอ็น ผ่านการเปิดตัว SureColor SC-R5030L เครื่องพิมพ์ป้ายโฆษณาที่ใช้หมึกเรซิ่นฐานน�้ำ (Water-based Resin) รุ่นแรกของเอปสัน นายยรรยง มุนีมงคลทร ผู้อำ� นวยการบริหาร บริษัท เอปสัน (ประเทศไทย)จ�ำกัด เปิดเผยว่า “ส�ำหรับเอปสันแล้ว ความยัง่ ยืน คือหัวใจส�ำคั ญในการท�ำธุรกิจ โดยเอปสันได้มีการท�ำข้อตกลง ในการด� ำ เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ ส อดคล้ อ งกั บ เป้ า หมายการพั ฒ นา ที่ยั่งยืนขององค์การสหประชาชาติ เทคโนโลยีของเอปสัน จึงถูกออกแบบและพัฒนาขึ้นโดยค�ำนึงถึงความเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมมากที่สุด ทั้งในเรื่องการประหยัดพลังงาน ไม่ก่อให้ เกิดการสิ้นเปลืองและไม่มีสารพิษที่เป็นอันตรายกับผู้ใช้และ ธรรมชาติ โดยล่ าสุดทางเอปสันได้เปิดตัวเครื่องพิมพ์ระดับมือ อาชีพส�ำหรับธุรกิจการพิมพ์ปา้ ยโฆษณาและสือ่ ประชาสัมพันธ์ รุ่น SureColor SC-R5030L ที่ใช้หมึกเรซิ่นฐานน�้ำรุ่นแรก ของเอปสั น เพื่ อ ตอบโจทย์ ลู ก ค้ า ที่ ต ้ อ งการใช้ ห มึ ก เรซิ่ น THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
ทั้ ง ยั ง เป็ น การเสริ ม ไลน์ เ ครื่ อ งพิ ม พ์ ใ นตลาดนี้ ซึ่ ง ปั จ จุ บั น เอปสันจ�ำหน่ายแต่เครื่องรุ่นที่ใช้หมึก อีโค่โซเวนท์ที่ปราศจาก กลิ่นและสารนิกเกิ้ลที่เป็นพิษต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม” “SureColor SC-R5030L เป็ น เครื่ อ งพิ ม พ์ ป ้ า ยโฆษณา ขนาดหน้ า กว้ า ง 64 นิ้ ว ที่ ถู ก พั ฒ นาขึ้ น มาเพื่ อ ใช้ กั บ หมึ ก UltraChrome RS ของเอปสัน ซึ่งมีจุดเด่นที่แห้งเร็ว ทนรอย ขีดข่วน และใช้ความร้อนไม่สูงในการท�ำให้หมึกพิมพ์แห้ง ติดลงบนวัสดุ ท�ำให้ผใู้ ช้สามารถน�ำผลงานไปใช้ได้ในทันที ไม่ตอ้ ง รอนาน อีกทั้งยังให้งานพิมพ์ที่มีสีสันสดใส คุณภาพสม�่ำเสมอ และใช้ได้กับวัสดุ หลายชนิด ทั้งไวนิลแบนเนอร์ ผ้า แคนวาส วอลล์ เ ปเปอร์ และฟิ ล ์ ม เป็ น ต้ น อี ก ทั้ ง ยั ง ไม่ มี ก ลิ่ น เหม็ น จึงเหมาะที่จะใช้ใ นสถานที่ที่ต้องการความใส่ใจในเรื่องความ ปลอดภัยมากเป็นพิเศษ เช่น โรงเรียน โรงพยาบาล หรือโรงแรม หมึกเรซิน่ ฐานน�ำ้ ของเอปสันยังได้รบั การรับรองด้านสิง่ แวดล้อม จากหน่วยงานสากลต่า ง ๆ เช่น EcoLogo, REACH, Nordic Swan Ecolabel, GREENGUARD เป็นต้น”
NEWS
63
นอกจากนี้ เอปสั นยั ง ได้ผลิตชิ้นส่วนประกอบทั้งหมดของ เครื่องพิมพ์ซีรีส์ นี้ขึ้นเอง รวมถึงหัวพิมพ์ PrecisionCore และใช้เฟิร์มแวร์และซอฟต์แวร์ของเอปสัน เพื่อรับประกัน ประสิ ท ธิ ภ าพการพิ ม พ์ ขั้ น สู ง สุ ด สามารถเพิ่ ม เวลาในการ ท�ำงานได้นานยิ่งขึ้น และลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบ�ำรุง รวมถึง ใช้เทคโนโลยี Precision Dot ที่ช่วยพิมพ์งานให้ได้คุณภาพ ที่ดีเยี่ยม เครื่องท�ำความร้อน (Heater) ที่ใช้อุณหภูมิที่ต�่ำกว่า ในการอบน�้ำหมึกให้แห้ง เมือ่ เทียบกับเครือ่ งพิมพ์ขนาดเท่ากัน ของแบรนด์อื่น ซึ่งเป็ น ประโยชน์อย่างมากส�ำหรับการพิมพ์ บนวัสดุที่ไวต่อความร้ อ น หรือมีความบางมาก หรือพิมพ์งาน แบบเรียงภาพต่อกันหลายแผ่น (Tiling) ทั้งยังมีเครื่องตรวจจับ อั ล ตร้ า โซนิ ค ที่ ช ่ ว ยลดความเสี่ยงการท� ำงานผิดพลาดของ หัวพิมพ์และเตือนผู้ใ ช้ ถึงปัญหาที่อาจเกิดขึ้น จึงช่วยยืดอายุ การใช้งานของหัวพิมพ์ได้ นายยรรยง กล่าวต่อ “หมึ กเรซิ่นฐานน�้ำของเอปสันได้รับการ พัฒนาสูตรให้ไม่ต้องใช้ความร้อนมากนักในการท�ำให้งานพิมพ์ แห้งติดลงบนวัสดุ ท�ำให้ ไม่เพียงแต่ได้งานพิมพ์ที่มีสีสดใส แต่ยังช่วยประหยัดไฟ และไม่ทำ� ให้สภาพแวดล้อมการท�ำงาน มีอุณหภูมิที่สูง ที่ส�ำคัญหัวพิมพ์ยังมีอายุการใช้งานที่นานขึ้น” SureColor SC-R5030L ใช้หมึก 6 สี ประกอบด้วย C, M, Y, K, LC (ฟ้าอ่อน) และ LM (ชมพูอ่อน) ติดตั้งในชุดจ่ายน�ำ้ หมึก ปริมาณสูงความจุ 1.5 ลิตรต่อสี จ�ำนวน 2 ชุด ส�ำหรับการป้อน น�้ำหมึกอย่างต่อเนื่อง หากหมึกสีใดก็ตามในชุดหนึ่งหมดลง อีกชุดหมึกจะท�ำการจ่ายน�้ำ หมึกต่อเนื่องทันที รวมถึงฟังก์ชั่น Hot Swap ทีช่ ว่ ยให้ผใู้ ช้ถอดเปลีย่ นชุดหมึกได้ในขณะทีก่ ารพิมพ์ ยังด�ำเนินอยู่ ไม่เกิดปัญหาขั้นตอนการพิมพ์สะดุดหรือต้อง
หยุดเติมหมึก นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติการปรับแต่งค่าต่าง ๆ อัตโนมัติ เช่น Advanced Auto Tension Control ที่ควบคุม การป้อนสือ่ สิง่ พิมพ์เข้าเครือ่ งได้อย่างแม่นย�ำไม่สนั่ ไหว การปรับ หัวพิมพ์โดยอัตโนมัติ และการท�ำความสะอาดอัตโนมัติ “การลดมลภาวะ ความเป็นมิตรต่ อ สิ่งแวดล้อม และ ความปลอดภั ย ในที่ ท� ำ งานกลายเป็ นเรื่ อ งส� ำ คั ญ ใน วงการการพิ มพ์ มากขึ้นทุกวัน การใช้เครื่องพิ มพ์ และ หมึกพิ มพ์ ทม ี่ เี ทคโนโลยีทส ี่ ามารถตอบรับแนวโน้มนีไ้ ด้ จึงเป็นสิ่งจ�ำเป็นต่อการท�ำธุร กิจต่อไปในอนาคตของ ผู้ให้บริการด้านการพิ มพ์ ไม่ว่าจะเป็นเอสเอ็มอีหรือโรง พิ มพ์ ขนาดใหญ่ เอปสันจึงเดินหน้ า พั ฒนาผลิตภัณฑ์ ออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง การเปิ ดตัว SureColor SC-R5030L ท�ำให้เอปสันมีเครื่องพิ มพ์ ท่ใี ช้หมึกเรซิ่น ฐานน�้ำให้ลูกค้าได้เลือกใช้ นอกเ ห นือจากเครื่องหมึก อีโค่โซเวนท์ ทัง ิ ค้า ้ ยังช่วยเพิ่ มความแข็งแกร่งให้ไลน์สน เครื่องพิ มพ์ ส�ำหรับป้ายโฆษณาของเอปสันยิ่งขึ้น” นายยรรยง มุนีมงคลทร ผู้อ�ำนวยการบริหาร บริษัท เอปสัน (ประเทศไทย)จ�ำกัด
www.thaiprint.org
64 KNOWLEDGE
ภาพรวมของ Digital Marketing
ธุรกิจของเราจะอยูร่ อดได้อย่างไรในภาวะตลาดบนโลกออนไลน์ เขียนและเรียบเรียงโดย ธีรพงศ์ ประดิษฐ์กุล
ทุกวันนี้เรื่องรอบ ๆ ตัวเรามีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างสิ้นเชิง โดยเฉพาะเรื่องการใช้ชีวิตผ่านอินเตอร์เน็ต แอพพลิเคชั่น เราสังเกตเห็นคนจ�ำนวนมาก ใช้เครือ่ งมือสือ่ สารอย่างแพร่หลาย การเติ บ โตของการค้ า เศรษฐกิ จ ในยุ ค ดิ จิ ทั ล เกิ ด ขึ้ น อย่ า ง รวดเร็ ว และมี ก ารพั ฒ นาอย่ า งรวดเร็ ว รวมไปจนถึ ง ธุ ร กิ จ ขนาดใหญ่ จึงท�ำให้ Digital Marketing เป็นส่วนส�ำคัญอย่างยิง่ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
ในการท�ำธุรกิจ แล้วธุรกิจของเราจะอยู่รอดได้อย่างไรในภาวะ ตลาดบนโลกออนไลน์นี้ ผู้เขียนจึงได้รวบรวมเนื้อหาเบื้องต้น เพื่ อ ความเข้ า ใจในการท� ำ ธุ ร กิ จ ในปั จ จุ บั น มาน� ำ เสนอใน บทความ “ภาพรวมของ Digital Marketing” ก่อนทีเ่ ราจะท�ำ Digital Marketing เราควรทราบทราบภาพรวม คือ
KNOWLEDGE 65 1. การรู้จักตนเอง (Goal & Brand)
2. ช่องทางตลาดทางไหนเหมาะสม (Channel)
Goal (เป้ าหมาย) เป็นขั้นตอนแรก ๆ ที่ต้องก�ำหนด คือ ต้องรู้ว่า เราก�ำลังท�ำอะไร เพื่อสิ่งใดอยู่ ใครคือผู้สนใจในสิ่งที่ คุณท�ำ การท�ำเช่นนีจ้ ะท�ำให้เราก�ำหนดจุดเป้าหมายได้แม่นย�ำขึน้ คอนเทนต์ ที่เราสร้างขึ้นก็จะตรง นอกจากนี้ เป้าหมายยังเป็น แรงบันดาลใจในการสร้างนวัตกรรมหรือวิธีการใหม่ ๆ เพราะ เมื่อคุณเห็นภาพสิ่งที่ต้องการได้ชัดเจน คุณจะเริ่มตั้งค�ำถามถึง วิธกี ารเพือ่ ให้ได้สงิ่ นัน้ จะท�ำอย่างไรให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ ? หรือท�ำอย่างไรจึงจะได้รับผลลัพธ์ที่ดีกว่าเดิม ? ก่อให้เกิดการ พัฒนาธุรกิจในแนวทางใหม่ ๆ ได้
Digital Marketing Channel หรือช่องทางในการท�ำการตลาด ออนไลน์ เป็นพื้นที่ทลี่ ูกค้าจะได้เห็นคอนเทนต์ รวมไปถึงสินค้า และบริการของแบรนด์ จึงเป็นอีกหนึ่งตัวแปรส�ำคัญที่จะท�ำให้ เกิดยอดขายในช่องทางออนไลน์ได้ ซึ่งช่องทาง (Channel) ส่งผลโดยตรงอย่างยิ่งกับ Content Marketing การน�ำเสนอ สินค้าและบริการให้กับลูกค้าที่ใช่ ได้ถูกที่และถูกเวลา สามารถ ท�ำให้การตลาดบรรลุผล และส่งผลให้ปิดการขายได้ เหมือนค�ำ กล่าวที่ว่า “กุญแจสู่ความส�ำเร็จ คือ การอยู่ในสถานที่ที่ใช่ ณ เวลาที่เหมาะสม” เมื่อพูดถึงช่องทาง (Channel) ในการ ท� ำ การตลาดบนโลกออนไลน์ ผู ้ ค นส่ ว นใหญ่ มั ก จะนึ ก ถึ ง Facebook หรือ Instagram ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว ยังมี ช่องทางการท�ำการตลาดอืน่ ๆ ทีน่ า่ สนใจและเป็นประโยชน์ตอ่ ธุรกิจเช่นกัน โดยต้องค�ำนึงถึงกลุ่มเป้าหมายธุรกิจ ว่าพวกเขา อยู่ในช่องทางใดบ้าง การตลาดออนไลน์ท�ำได้หลายช่องทาง มากกว่าแค่ Facebook หรือ Instagram ควรรู้สถิติการใช้งาน เพื่อมองเห็นแนวโน้มพฤติกรรมของผู้ใช้ออนไลน์ที่เปลี่ยนไป เพือ่ ปรับตัวได้ทนั เหตุการณ์ รูพ้ ฤติกรรมของผูใ้ ช้ในช่องทางนัน้ ๆ เพือ่ เลือกช่องทางให้เหมาะสมกับลูกค้า และเหมาะสมกับเป้าหมาย รูป้ ระเภทของคอนเทนต์ทเี่ หมาะสมกับแต่ละช่องทาง เพือ่ น�ำเสนอ รูปแบบที่สามารถให้ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพที่สุดได้
Branding (ตัวตนของแบรนด์) แบรนด์ดิ้ง Branding คือ การสร้าง ออกแบบ จ�ำกัดความ ภาพลักษณ์ของบริษัทของเรา เพือ่ สือ่ สารออกไปสูส่ ายตาของผูบ้ ริโภค ซึง่ Branding marketing ในยุค 4.0 ถือเป็นเรื่องที่ได้รับความสนใจ และถือเป็นสิ่งส�ำคัญ ในการสร้างตราสินค้า สร้างความต่างของตัวเองให้โดดเด่นออกมา จากสินค้าอืน่ ๆ รวมถึงคูแ่ ข่งด้วย วัตถุประสงค์หลักของการสร้าง Branding ก็เพือ่ การสือ่ สารให้ลกู ค้าเกิดความเข้าใจอย่างง่าย ๆ ว่า บริษทั ของเราต้องการขายอะไร หรือน�ำเสนออะไร มีความแตกต่าง และจุ ด เด่ น อะไรบ้ า งที่ จ ะดึ ง ดู ด ความสนใจของผู ้ บ ริ โ ภค ก่อนลงมือท�ำ Digital Marketing การท�ำให้คนรู้จักแบรนด์เรา ในโลกดิจทิ ลั จะต้องเริม่ ต้นจากสร้างแบรนด์ (Digital Branding) ให้ชัดเจน มีความโดดเด่น แตกต่าง และที่ส�ำคัญ คือ เจ้าของ แบรนด์หรือนักการตลาดต้องรู้จักตัวตนของธุรกิจอย่างแท้จริง เพื่อสื่อสาร หรือน�ำเสนออัตลักษณ์แบรนด์ออกไปให้ผู้คน ได้รับรู้ว่า “เราคือใคร เราท�ำอะไร เราขายอะไรอยู่ ?”
วัตถุประสงค์หลักของการสร้าง Branding เพื่ อการสื่อสารให้ลูกค้า เกิดความเข้าใจอย่างง่าย ๆ ว่า บริษท ั ของเราต้องการขายอะไร หรือน�ำเสนออะไร มีความแตกต่าง ่ ะดึงดูด และจุดเด่นอะไรบ้างทีจ ความสนใจของผูบ ้ ริโภค การท�ำให้ คนรูจ ้ ก ั แบรนด์เราในโลกดิจท ิ ล ั จะต้องเริม ่ ต้นจากสร้างแบรนด์ (Digital Branding) ให้ชด ั เจนว่า “เราคือใคร เราท�ำอะไร เราขายอะไรอยู”่
ช่องทางการตลาดออนไลน์ที่คนนิยมใช้กันมีดังนี้ • Facebook / Instagram Advertising • Social Media Content Marketing • Google SEO / YouTube SEO • Google / YouTube Advertising • Email Marketing • Blogging • Guest Blogging
www.thaiprint.org
66 KNOWLEDGE 3. รู้ว่าลูกค้าเราเป็นใคร (Customer)
“ลูกค้า” จึงเป็นตัวแปรส�ำคัญที่คุณจะต้องศึกษา ท�ำความรู้จัก และเข้าใจ การที่คุณมีสินค้าหรือบริการที่ดี แต่ไม่ตอบโจทย์ ความต้องการ ก็จะไม่เกิดยอดขาย ซึ่งปัจจุบันมีเครื่องมือที่จะ ช่วยให้การวิเคราะห์ลูกค้าของคุณง่ายขึ้น มีดังต่อไปนี้ Customer Personal วิเคราะห์ลักษณะนิสัย ความชอบ ความต้องการ และปัญหาของลูกค้า • ข้อมูลพื้นฐาน : ชื่อ อาชีพ ที่อยู่อาศัย ฯลฯ • เป้าหมาย : ความต้องการในสินค้าและบริการ บางอย่างขณะนั้น • ปัญหาที่พบเจอ : ปัญหาที่พบเจอ ประสบการณ์ไม่ดี ที่ท�ำให้เกิดความต้องการสินค้าบริการ • สื่อที่สนใจ : บุคคลที่พวกเขาติดตาม เพจที่ติดตาม Customer Journey การเดินทางของลูกค้าผ่านช่องทางต่าง ๆ ก่อนที่จะตัดสินใจซื้อสินค้าหรือบริการนั้น ๆ เช่น เริ่มต้นจาก ค้นหาบนเว็บไซต์ ศึกษาต่อบนโซเชียล ถามคนใกล้ตัว แล้วจึง ตัดสินใจซื้อ เป็นต้น Digital Touchpoint แต่ละกิจกรรมประจ�ำวัน แต่ละช่วงเวลา ลูกค้ารับชมข้อมูลหรือมีการใช้งานช่องทางไหนบ้าง
หลายครั้งสิ่งที่เกิดขึ้นจากการวิเคราะห์ข้อมูลของลูกค้าท�ำให้ คุณประสบความส�ำเร็จมากกว่าเป้าที่ตั้งไว้ในตอนแรก เพราะ อย่างที่รู้กันว่ากุญแจสู่ความส�ำเร็จของธุรกิจก็คือการที่คุณรู้จัก ลูกค้ามากกว่าคู่แข่ง หรือแม้แต่รู้จักตัวลูกค้าเองมากกว่าที่พวก เขารู้ตัว เพราะยิ่งคุณสามารถเก็บข้อมูลทั้งหมดของลูกค้าได้ มากเท่าไหร่ คุณก็จะยิ่งสามารถจัดการกับปัญหาตรงหน้าที่ดี ได้มากขึ้นเท่านั้น และก็จะยิ่งท�ำให้คุณสามารถคาดการณ์สิ่งที่ จะเกิดขึ้นในอนาคตได้ไม่ยาก รวมถึงท�ำให้คุณสามารถเตรียม การป้องกันสิ่งที่ก�ำลังจะเกิดขึ้นในวันข้างหน้าได้อีกด้วยและ ต่อจากนี้จะเป็นเคสตัวอย่างของการท�ำ Data Analytics จาก ข้อมูลของลูกค้าที่ประสบความส�ำเร็จที่คุณสามารถเรียนรู้แล้ว เอาไปประยุกต์ใช้ในแบบของคุณได้ครับ 4. การวัดผลที่เกิดขึ้น (KPI)
KPI ย่อมาจาก “Key Performance Indicator” • Key: จุดหลัก หัวข้อหลัก หรือ เป้าหมายหลัก • Performance: ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล หรือ ผลของการกระท�ำ • Indicator: ตัวชี้วัดหรือดัชนีชี้วัด พอรวมกัน Key Performance Indicator เลยหมายถึง “ดัชนีชี้ วัดผลงานหรือความส�ำเร็จของงาน” โดยเป็นการเทียบผลการ ท�ำงานกับมาตรฐานหรือเป้าหมายทีต่ กลงกันไว้ ซึง่ นอกจากจะ ประเมินผลการท�ำงานของพนักงานได้แล้ว ยังเป็นวิธที บี่ ริษทั ใช้ ในการวัดและประเมินผลความก้าวหน้าของการบรรลุวสิ ยั ทัศน์ การจะท�ำ KPI ให้ได้ผล ตัวชีว้ ดั ผลการท�ำงานต้องมีความเหมาะสม และโน้มน้าวให้ทกุ คนเชือ่ ถือได้ โดยหลักทีม่ กั จะเอามาใช้กนั ก็คอื SMART KPI ซึง่ ความหมายทีอ่ ยูใ่ นแต่ละตัวของค�ำว่า SMART คือ • S - Specific: มีความเฉพาะเจาะจง • M - Measurable: วัดผลได้จริงแบบเป็นรูปธรรม • A - Attainable: สมเหตุสมผล สามารถท�ำได้จริง • R - Relevant: เป็นไปในทิศทางเดียวกับเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้ • T - Timely: มีกรอบระยะเวลาชัดเจน
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
แต่ละบริษัทหรือต�ำแหน่งก็จะมี KPI ที่ไม่เหมือนกัน เช่น KPI ของฝ่ายขายคือการปิดดีลลูกค้า และเม็ดเงินที่หาได้ แต่ฝ่าย บริการลูกค้าอาจวัด KPI จากว่าพนักงานตอบค�ำถามหรือแก้ ปัญหาให้ลูกค้าครบถ้วนตามเวลาที่ก�ำหนดไว้ได้รึเปล่าเราจะ เห็นว่า KPI เป็นอีกหนึ่งมาตรฐานการชี้วัดผลที่บริษัทต่าง ๆ ยอมรับ ซึ่งบริษัทต้องท�ำความเข้าใจร่วมกันกับบุคลากรในการ ประเมินหรือชี้วัดผลผ่านการใช้ KPI ให้ได้อย่างเหมาะสมด้วย เพื่อพัฒนาและยกระดับศักยภาพองค์กรให้สอดคล้องไปใน ทิศทางเดียวกันด้วย
KNOWLEDGE 67
5. ทีมงานที่มีคุณภาพ (TEAM)
ปัจจุบัน เราปฏิเสธไม่ได้เลยว่า โลกของเราตอนนี้เข้าสู่ยุค ดิจิทัลแทบจะเต็มตัว ธุรกิจต่าง ๆ ได้วางกลยุทธ์เข้าสู่ออนไลน์ กันเกือบหมด หลายบริษัทมีการตั้งทีม Digital Marketing เป็นของตัวเอง หลายบริษทั จ้าง Outsource ให้บริษทั Agency ด�ำเนินการให้ ทัง้ นีท้ งั้ นัน้ การทีเ่ รามีทมี เป็นของตัวเองย่อมดีกว่า เพราะการจ้าง Agency ซึ่งดูแลงานอยู่หลายเจ้า อาจจะไม่ได้ โฟกัสมาที่บริษัทเราอย่างเต็มที่ การที่เรามีทีมเป็นของตนเอง จึงสามารถโฟกัส และบริการจัดการได้เต็มประสิทธิภาพกว่า ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้ว ต�ำแหน่งหลัก ๆ ด้าน Digital Marketing ที่ควรมีในทีม มักจะมีดังต่อไปนี้ 1. Strategic Planner ดูแลภาพรวม และเป็นนักวิเคราะห์ วางกลยุทธ์ วางแผนสร้างแคมเปญต่าง ๆ 2. Content Creator คนคิดเรื่องราวหลังจากรับบรีฟจาก นักวางแผนกลยุทธ์ มีหน้าทีว่ างโครงเรือ่ งและเขียนคอนเทนต์ 3. Graphic Design ออกแบบภาพกราฟฟิกให้เหมาะสมกับ ช่องทางออนไลน์ 4. Online Community Manager ผู้ดูแลชุมชนออนไลน์ ของแบรนด์ ดูแลทุกช่องทางไม่ว่าจะเป็น 5. Social Media หรือทางด้าน Website Ads Manager ผู้จัดการดูแลโฆษณา คือคนที่รู้วิธีการท�ำโฆษณาใน Social Media ต่าง ๆ รวมถึงโฆษณาใน Google
6. Researcher ประเมินส�ำเร็จของแบรนด์บนโลกดิจิตอล โดยการค�ำนวณจาก Engagement, Conversion และ Sales ที่ผ่านมา หาข้อผิดพลาดของกลยุทธ์ เพื่อให้ Ads Manager และ Content Creator ใช้เป็นฐานข้อมูลใน การวิเคราะห์และคิดสร้างสรรค์ต่าง ๆ นอกจากภาพรวมของ 5 ข้อ ในเรื่องภาพรวมของ Digital Marketing ยังมีหลักใหญ่ส�ำคัญอีก การศึกษาองค์ประกอบ ก่อนการท�ำ Digital Marketing เพื่อให้ผู้ที่ลงมือท�ำได้มีหลังใน การน�ำไปใช้ต่อไป เช่น • กลยุทธ์ • การสร้างแบรนด์ • ท�ำความรู้จักตัวตนของลูกค้า • ท�ำการตลาดด้วยคอนเทนต์ • การใช้ผู้ทรงอิทธิพลบนโลกออนไลน์ (Influencer) • ระบบการขายบน E-Commerceและ Social Media • ระบบค้นหาเว็บไซต์บนโลกอินเตอร์เน็ต (SEO/SEM) • การสร้างทีมดิจิทัลมาเก็ตติ้ง • การบริหารงานร่วมกับ Agency ให้ได้ประสิทธิภาพ ผู้เขียนหวังว่า บทความที่ได้รวบรวม น�ำเสนอ ้ ะมีประโยชน์กบ มานีจ ั สมาชิกทุกๆท่าน โดยเฉพาะ ในช่วงเศรษฐกิจที่ยากล�ำบากก็หวังว่าทุกคน จะผ่านเรื่องยากล�ำบากนี้ไปได้ด้วยกัน และขอ ขอบคุณบทความดีดี จากหลาย ๆ แหล่งข้อมูล ประกอบการเขียนครับ www.thaiprint.org
44 Ad PMC Label #103_pc3.indd 441 38 110742 Thaiprint#114_Cs6_pc3.indd 44118 05Ad PMC #113_pc3.indd 144 44 Ad PMCL#109_pc3.indd #102_pc3.indd 044 PMC #101_pc3.indd 113 Ad PMCL #91_pc3.indd 113 38 36 118 38 Ad AdPMC#104_pc3.indd PMCL PMCL PMC #97_pc3.indd #99_pc3.indd Label Label #94_pc3.indd #98_pc3.indd 36 AD PMCL-m19.indd 1
11/10/2557 3:46:08 9/12/2557 8/9/2560 11:47:07 4:04:37 0:17:45 22/1/2560 1:45:14 11/8/2558 2:36:23 1/9/2557 19/4/2557 17:59:23 19/4/2555 16:00:45 28/10/2556 10/11/2555 14/8/2556 4/5/2556 18:36:32 17:05:54 0:08:22 1:01:29 5/31/10 11:26:05 AM
72 INDUSTRIAL
ความต้องการรูปแบบใหม่ “อาหาร ปลอดภัย” มาคู่ “สิ่งแวดล้อม” งานวิจัยผู้บริโภคปี 2563 ภายใต้สถานการณ์โควิด19 ของเต็ดตรา แพ้ ค ร่วมกับอิปซอส (Ipsos)
• 2 ใน 3 ของผู้บริโภคเห็นว่าความปลอดภัยทางอาหารคือประเด็นหลักของสังคม • ประเด็นสิ่งแวดล้อมยังเป็นความวิตกกังวลหลักของโลก นอกเหนือจากเรื่องโควิด-19 • ผู้บริโภค 77% ทั่วโลกเห็นว่า ขยะอาหารก�ำลังเป็นปัญหาส�ำคัญ
เครดิตภาพประกอบ: https://www.tetrapak.com/
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
INDUSTRIAL 73
Tetra Pak Index 2020
COVID-19 and the Food Safety– Environment Dilemma
เครดิตภาพประกอบ: https://www.tetrapak.com/
สถานการณ์โควิด-19 คือ “ภัยคุกคามที่แท้จริง” และ ในขณะเดียวกันความวิตกกังวล “เรื่องสิ่งแวดล้อม” ก็ยังคง ปรากฏอย่างเด่นชัด ก่อให้เกิด ความย้อนแย้งในวิธีคิดของ ผู้บริโภค เมื่อพวกเขาต้องสร้าง สมดุลระหว่างสิ่งส�ำคัญอย่าง ยิ่งยวดต่อการด�ำรงชีวิต นั่นคือ อาหารที่ปลอดภัย กับการใส่ใจ เรื่องความยั่งยืนของโลกที่เรา อาศัยอยู่
งานวิจัยผู้บริโภคปี 2563 ของเต็ดตรา แพ้ค เผยว่าวิกฤตการณ์ ที่ทั่วโลกเผชิญระหว่างความปลอดภัยทางอาหาร และการ ดูแลสิ่งแวดล้อมภายใต้สถานการณ์โควิด19 ระบุ 2 ใน 3 ของ ผู้บริโภคเห็นว่า “ความปลอดภัยทางอาหาร” เป็นประเด็น หลักของสังคม และ “สิง่ แวดล้อม” ยังเป็นความวิตกกังวลหลัก ของโลก ขณะที่ ผู้บริโภค 77% ทั่วโลก เห็นว่า “ขยะอาหาร” ก�ำลังเป็นปัญหาส�ำคัญ เต็ดตรา แพ้ค ผูน้ ำ� เสนอโซลูชนั่ ระบบการแปรรูปและบรรจุภณ ั ฑ์ อาหารชั้ น น� ำ ของโลก เปิ ด เผยงานวิ จั ย ระดั บ นานาชาติ ซึ่ ง ด� ำ เนิ น การร่ ว มกั บ อิ ป ซอส (Ipsos) แสดงให้ เ ห็ น ว่ า “ความปลอดภัยทางอาหาร” ก�ำลังเป็นประเด็นหลักของสังคม โดยผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เชื่อว่า สถานการณ์โควิด-19 คือ “ภัยคุกคามที่แท้จริง” และในขณะเดียวกันความวิตก กังวล “เรื่องสิ่งแวดล้อม” ก็ยังคงปรากฏอย่างเด่นชัด ก่อให้ เกิดความย้อนแย้งในวิธีคิดของผู้บริโภค เมื่อพวกเขาต้องสร้าง สมดุลระหว่างสิ่งส�ำคัญอย่างยิ่งยวดต่อการด�ำรงชีวิต นั่นคือ อาหารที่ปลอดภัย กับการใส่ใจเรื่องความยั่งยืนของโลก ที่เราอาศัยอยู่
www.thaiprint.org
74 INDUSTRIAL
รายงานเต็ดตรา แพ้ค อินเด็กซ์ จัดท�ำเป็นฉบับที่ 13 ในปีนี้ ชีว้ า่ ทัว่ โลกมีความวิตกกังวล เกีย่ วกับความปลอดภัยทางอาหารและ การจัดหาอาหารในอนาคต 40% เพิ่มขึ้นจาก 30% ในปี 2562 นอกจากนี้ ผู้บริโภคมากกว่า 50% ยังเชื่อว่าการยกระดับ ความปลอดภัยทางอาหารเป็นความรับผิดชอบของผู้ผลิต และ ยังคิดว่าเป็นสิ่งส�ำคัญอันดับแรกที่บริษัทผู้ผลิตจ�ำเป็นต้อง จัดการแก้ปญ ั หาตัง้ แต่วนั นีแ้ ละในอนาคต งานวิจยั ครัง้ นีย้ งั ระบุ ว่า สุขภาพมีความเชือ่ มโยงอย่างมากกับประเด็นความปลอดภัย ทางอาหารและสุขอนามัยที่เพิ่มสูงขึ้น โดยผู้บริโภค 2 ใน 3 กล่าวว่า “การมีสขุ ภาพทีด่ ี คือความปลอดภัยของชีวติ ” และ ผูบ้ ริโภค 60% ทัว่ โลก ยังกล่าวว่าพวกเขารูส้ กึ วิตกกังวลเกีย่ วกับ อาหารที่พวกเขาซื้อว่าถูกสุขอนามัยหรือปลอดภัยหรือไม่ เมื่อถามผู้บริโภคว่า “บรรจุภัณฑ์” ควรมีคุณสมบัติข้อใด เป็นหลัก พวกเขาต่างชี้ว่าการรับประกันอาหารปลอดภัยคือ หน้าที่หลักของบรรจุภัณฑ์ และยังแสดงความคิดเห็นเกี่ยว กับนวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมในระบบบรรจุภัณฑ์ที่ส่งผลถึง
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
ความปลอดภัยทางอาหาร โดยผูต้ อบค�ำถามส่วนใหญ่ยงั กล่าวว่า “การใช้บรรจุภณ ั ฑ์ทยี่ งั่ ยืน” คือหนึง่ ในประเด็นหลักทีแ่ บรนด์ อาหารและเครื่องดื่มต้องใส่ใจทั้งในวันนี้และวันหน้า รายงานเต็ดตรา แพ้ค 2563 ยังเน้น “เรื่องขยะอาหาร” ที่ก�ำลังเป็นประเด็นร้อน โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามมากถึง 3 ใน 4 ทีเ่ ห็นว่าเรือ่ งนีน้ า่ วิตกกังวล ผลกระทบจากวิกฤตโควิด-19 ต่อห่วงโซ่อุปทานกระตุ้นให้ผู้คนตระหนักว่า ขยะอาหารก�ำลัง กลายเป็นปัญหาเร่งด่วน โดยมีแนวโน้มว่าความวิตกกังวลนี้ จะเพิ่มสูงขึ้นเมื่อเราจ�ำเป็นต้องจัดหาอาหารให้ประชากรโลก ทีก่ ำ� ลังเพิม่ ขึน้ เรือ่ ย ๆ ผูบ้ ริโภคยังบอกด้วยว่าการลดขยะอาหาร ถื อ เป็ น ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มอั น ดั บ หนึ่ ง ที่ พ วกเขาสามารถ สนับสนุนได้ และยังเป็นปัญหาส�ำคัญที่สุด 1 ใน 3 เรื่องส�ำหรับ บริ ษั ท ผู ้ ผ ลิ ต แต่ ค วามสั บ สนกั บ ข้ อ มู ล บนฉลากยั ง คงเป็ น อุปสรรคในเรื่องนี้ จึงเป็นโอกาสส�ำหรับแบรนด์ต่าง ๆ ในการ ปรับเปลี่ยนวิธีการสื่อสารข้อมูลให้ดีกว่าเดิม
INDUSTRIAL 75
ประเด็นร้อน “เรื่องขยะอาหาร” 3 ใน 4 ของผู้ตอบแบบสอบถาม เห็นว่าเรื่องนี้น่าวิตกกังวล ผลกระทบจากวิกฤตโควิด19 ต่อห่วงโซ่อุปทานกระตุ้นให้ผู้คน ตระหนักว่า ขยะอาหารก�ำลัง กลายเป็นปัญหาเร่งด่วน โดยมี แนวโน้มว่าความวิตกกังวลนี้ จะเพิ่ มสูงขึ้นเมื่อเราจ�ำเป็นต้อง จัดหาอาหารให้ประชากรโลก ที่กำ� ลังเพิ่ มขึ้นเรื่อยๆ ผู้บริโภค ยังบอกด้วยว่าการลดขยะอาหาร ถือเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อม อันดับหนึ่ง รายงานเต็ดตรา แพ้ ค 2563
“รายงานฉบั บ นี้ แ สดงถึ ง ความต้ อ งการรู ป แบบใหม่ ข องผู ้ บริโภค นวัตกรรมที่ผู้บริโภคต้องการเป็นอันดับแรกในวันนี้คือ สิ่งที่สามารถถนอมอาหารให้ปลอดภัยได้ยาวนานขึ้น และหลีก เลี่ยงการสร้างขยะไปพร้อมกับการรักษาคุณค่าทางโภชนาการ ของอาหาร” นายสุภนัฐ รัตนทิพ ผู้อำ� นวยการฝ่ายการตลาด บริษัท เต็ดตรา แพ้ค (ประเทศไทย) จ�ำกัด กล่าว “สิ่งส�ำคัญ อันดับต่อมาคือ ระบบแจ้งวันหมดอายุอจั ฉริยะ ซึง่ เป็นเครือ่ งมือ อีกอย่างหนึ่งเพื่อแก้ไขปัญหาขยะเศษอาหาร นับเป็นเรื่อง น่าสนใจว่าแม้การแพร่ระบาดได้เปลี่ยนแปลงโลกในปัจจุบัน อย่ า งมหาศาล แต่ ผู ้ บ ริ โ ภคยั ง คงชื่ น ชอบบรรจุ ภั ณ ฑ์ แ บบ เรียบง่ายที่ยืนยันได้ว่าน�ำกลับไปรีไซเคิลได้” รายงานน�ำเสนอข้อสรุปว่า ไม่มีโอกาสใดที่ดีไปกว่านี้อีกแล้ว ในการเริ่มพูดคุยถกประเด็นกันในวงกว้างถึงเรื่องความยั่งยืน และบทบาทของบรรจุ ภั ณ ฑ์ ใ นอนาคต โดยบริ ษั ท ต่ า ง ๆ สามารถแสดงออกถึงความมุ่งมั่นต่อปัญหาสองเรื่องนี้และ น� ำ เสนอวิ ธี ก ารแก้ ไขวิ ก ฤตการณ์ ร ะหว่ า งความวิ ต กกั ง วล เรื่องความปลอดภัยทางอาหารและสิ่งแวดล้อมที่ปะทุขึ้นจาก สถานการณ์โควิด19 ในปัจจุบัน
ที่มา: https://mgronline.com/greeninnovation/detail/9630000133122
www.thaiprint.org
76
INTERVIEW
เอมี่ ฉี (Amy Qi) บริษัท ซันซิน โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด “แม้จะพบปัญหา ่ ะ ก็ไม่หยุดทีจ พั ฒนาตัวเอง”
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
INTERVIEW
เอมี่ หรือ Amy Qi จบการศึกษาด้านบริหารจัดการธุรกิจจาก ต่างประเทศ ได้รบั ความไว้วางใจจากคุณพ่อหรือคุณฉี เสีย่ วหยุน ในการควบคุมดูแลจัดการปัญหาฝ่ายขาย การจัดซือ้ เครือ่ งจักร ติดต่อท�ำสัญญาระหว่างภายในและต่างประเทศ บริษทั ซันซิน โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ก่อตั้งขึ้นมา 26 ปี จัดจ�ำหน่าย วัสดุและเครื่องจักรที่เกี่ยวการการพิมพ์เป็นหลัก และไม่ได้ จัดจ�ำหน่ายเพียงแค่ภายในประเทศไทยเท่านัน้ แต่ยงั ครอบคลุม ไปยังประเทศแถบเอเชียอาคเนย์
77
ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการท�ำงาน / แนวทางในการแก้ไข
ปัญหาทั่วไปที่พบในการประสานงานระหว่างพนักงาน หรือ ลู ก ค้ า คื อ เรื่ อ งการสื่ อ สาร วิ ธี แ ก้ ไขปั ญ หาของคุ ณ เอมี่ คื อ การศึกษาภาษาไทยเพิ่มเติม และการรับสมัครพนักงานที่มี ความรูค้ วามเข้าใจในภาษาต่างประเทศ โดยหลัก ๆ คือ ภาษาจีน เพื่อให้สะดวกต่อการประสานงาน เป้าหมายการท�ำงานในปัจจุบันและอนาคต
ต้องการดูแลบริษัทให้พัฒนายิ่งขึ้น และวางเป้าหมายไว้ว่า อยากเรียนด้านการบริหารเพิ่มเติม เพื่อน�ำความรู้มาพัฒนา บริษัทและอุตสาหกรรมการพิมพ์ให้พัฒนายิ่ง ๆ ขึ้นไป มุมมองอนาคตของอุตสาหกรรมการพิ มพ์ และบรรจุภัณฑ์ในประเทศไทย
คุ ณ เอมี่ ม องว่ า อุ ต สาหกรรมการพิ ม พ์ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ์ ใ น ประเทศไทยนัน้ สามารถพัฒนาไปได้อกี ไกล แม้วา่ หนังสือพิมพ์ หรือ นิตยสารบางรายอาจจะเลิกผลิตไปแล้ว แต่ทกุ วันนีค้ นไทยใส่ใจ เรือ่ งรักษ์โลก ซึง่ จะเห็นได้วา่ ผลิตภัณฑ์รกั ษ์โลก ไม่วา่ จะเป็นกล่อง หรือกระดาษรักษ์โลกทีถ่ กู น�ำมาใช้แทนพลาสติกเป็นจ�ำนวนมาก ส่งผลให้การพิมพ์บรรจุภัณฑ์ยังพัฒนาไปได้อีกยาวนาน www.thaiprint.org
78
INTERVIEW
หน้าที่และบทบาทในกลุ่ม Young Printer
เนือ่ งจากสถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า หรือ โควิด-19 ทีก่ ำ� ลังระบาดอยูท่ วั่ โลกในขณะนี้ ท�ำให้กจิ กรรมของกลุม่ YPG ไม่สามารถด�ำเนินไปได้ แต่ถึงอย่างไร คุณเอมี่เองท�ำหน้าที่ เป็นสื่อกลางในการดูแลประสานงานในด้านความต้องการของ สมาชิกภายในกลุ่มว่า ต้องการวัสดุ เครื่องจักร หรือเทคโนโลยี อะไรใหม่ ๆ บ้าง และน�ำข้อมูลที่ได้ไปเสาะหาเทคโนโลยีใหม่ ๆ น�ำมาแชร์ให้สมาชิกในกลุ่มได้รับทราบ สิ่งที่ได้รับจากการเข้าร่วมกลุ่ม Young Printer
เข้ามาเป็นสมาชิก Young Printer Group ได้อย่างไร
การเข้ า ร่ ว มกลุ ่ ม Young Printer เริ่ ม จากคุ ณ พ่ อ หรื อ คุณฉี เสี่ยวหยุน ที่ได้แนะน�ำ เนื่องจากเล็งเห็นว่าสมาคม การพิ ม พ์ ไ ทยนั้ น สามารถเป็ น สื่ อ กลางในการประสานงาน ระหว่างซัพพลายเออร์และโรงพิมพ์ และยังท�ำให้ได้เรียนรู้ มุมมองอุตสาหกรรมด้านการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์มากยิ่งขึ้น THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
การที่ ไ ด้ เข้ า ร่ ว มกลุ ่ ม ที่ มี ส มาชิ ก ที่ อ ยู ่ ใ นวั ย เดี ย วกั น ท� ำ ให้ สื่อสารกันได้อย่างเข้าใจ แม้จะมีช่องว่างเรื่องภาษาแต่ไม่ใช่ ปัญหา เนื่องจากทุกคนสามารถใช้ภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี และคุ ณ เอมี่ เ องก็ ยั ง ไม่ ห ยุ ด ที่ จ ะพั ฒ นาตั ว เองให้ เข้ า ใจ ภาษาไทยมากขึ้ น มี ก ารแชร์ ค วามรู ้ ด ้ า นเทคโนโลยี ใ หม่ ๆ กันภายในกลุ่ม และคอยช่วยเหลือสนับสนุนกัน ส่งผลให้ได้ โอกาสได้ลูกค้าใหม่ ๆ ได้แลกเปลี่ยนความคิดทั้งทางด้านธุรกิจ และประสบการณ์ เพื่อน�ำมาใช้ในการแก้ปัญหาทั้งด้านการใช้ ชีวิตและด้านการท�ำงาน
INTERVIEW
สิ่งที่ได้รับจากการเข้าร่วมกลุ่ม Young Printer... มีการแชร์ ความรู้ด้านเทคโนโลยีใหม่ ๆ กัน ภายในกลุ่ม และคอยช่วยเหลือ สนับสนุนกัน ส่งผลให้ได้โอกาส ได้ลูกค้าใหม่ ๆ ได้แลกเปลี่ยน ความคิดทั้งทางด้านธุรกิจ และประสบการณ์ เพื่ อน�ำมาใช้ใน การแก้ปัญหาทั้งด้านการใช้ชีวิต และด้านการท�ำงาน เอมี ่ ฉี (Amy Qi) บริษัท ซันซิน โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด
www.thaiprint.org
79
80 INDUSTRIAL
4 คีย์เวิร์ด เจาะเทรนด์ เแพ็ กเกจจิ้งแห่งปี 64 โดย กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
INDUSTRIAL
81
เจาะ 4 คีย์เวิร์ดเแพ็ กเกจจิ้ง ปี 2564 ครองใจผู้บริโภคยุคใหม่ หนทางสายใหม่ส�ำหรับ ผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ในการพั ฒนาบรรจุภัณฑ์ เน้น “กินได้ - สร้างสรรค์ ไบโอ - รีไซเคิล” ตอบโจทย์ วิถีนิวนอร์มอลในยุคที่แม้แต่ “บรรจุภณ ั ฑ์” ก็ตอ ้ งไม่เหมือนเดิม
เป็ น ที่ ท ราบกั น ดี ว ่ า มี เ พี ย งไม่ กี่ อุ ต สาหกรรม ที่ ส ามารถ เติบโตฝ่ากระแสการแพร่ระบาดของโควิด-19 หนึ่งในนั้นคือ “อุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์” ที่ปัจจุบันมีการเติบโตคู่ขนาน กันมาอย่างต่อเนื่อง อันจะเห็นได้จาก รูปแบบที่หลากหลาย ของผลิตภัณฑ์ วัสดุแปลกใหม่ที่ถูกพัฒนาขึ้น รวมทั้ง การปรับ เปลี่ยนรูปแบบเพื่อให้สอดรับกับความต้องการของผู้บริโภค ในแต่ ล ะยุ ค สมั ย จากวั ส ดุ ที่ เ ป็ น ไม้ พั ฒ นามาเป็ น โลหะ เปลีย่ นมาใช้พลาสติก และปัจจุบนั ก็หนั กลับมาใช้วสั ดุธรรมชาติ ซึ่งล้วนแล้วพัฒนามาไม่เพียงเพื่อรูปลักษณ์ท่ีสวยงานแต่เพื่อ ตอบโจทย์ความต้องการที่หลากหลาย กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) ในฐานะหน่วยงานที่เข้าใจ ภาพรวมของอุตสาหกรรม ทิศทางการเปลี่ยนแปลงผู้บริโภค จึงได้เปิดเผยถึงแนวโน้มของเทรนด์บรรจุภัณฑ์ในปี 2564 ที่เป็นบรรจุภัณ ฑ์เพื่อความยั่งยืน เป็นมิตรกับสิ่ง แวดล้ อ ม เพื่อเป็นแนวทางส�ำหรับผู้ประกอบการเอสเอ็มอีในการพัฒนา บรรจุภัณฑ์ ผ่าน 4 องค์ประกอบส�ำคัญ ประกอบด้วย www.thaiprint.org
82 INDUSTRIAL
1. บรรจุภัณฑ์สร้างสรรค์
ที่เน้นแข่งขันกันในด้านของความสร้างสรรค์และพัฒนาให้ บรรจุภณ ั ฑ์สามารถน�ำไปใช้ในชีวติ ประจ�ำวัน ในรูปแบบสิง่ ของ หรื อ แม้ แ ต่ ต ่ อ ยอดให้ ส ามารถน� ำ ไปใช้ เ ป็ น เครื่ อ งประดั บ ตกแต่งบ้านได้อีกด้วย นั่นจึงถือเป็นอีกปัจจัยส�ำคัญที่ภาค อุตสาหกรรมไม่ควรมองข้าม ยกตัวอย่างเช่น บรรจุภัณฑ์ ขนมไหว้พระจันทร์ บริษัท เอสซีจี แพคเกจจิ้ง จ�ำกัด (มหาชน) ได้รับรางวัล President Awards จากการประกวดบรรจุภัณฑ์ ดีเด่น ประจ�ำปี 2563 ที่นอกจากจะเป็นบรรจุภัณฑ์ส�ำหรับ ขนมแล้ว ยังน�ำไปใช้เป็นลิน้ ชักใส่เครือ่ งประดับ หรือ เป็นอุปกรณ์ ตกแต่งบ้านได้อีกด้วย
2. บรรจุภัณฑ์ไบโอ หรือบรรจุภัณฑ์ย่อยสลายได้ 100%
ถื อ เป็ น อี ก หนึ่ ง เทรนด์ ที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย มอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ประกอบกับสถานการณ์ ขยะล้นโลก ส่งผลกระทบต่อคุณภาพ ชีวิตและสิ่งแวดล้อมอย่างเลี่ยงไม่ได้ ท�ำให้ทั่วโลกกลับมา ตระหนักถึงปัญหานี้ จนน�ำมาสู่การวิจัยและพัฒนาพลาสติก ทีส่ ามารถย่อยสลายได้ทางชีวภาพ หรือทีเ่ รียกว่า ไบโอพลาสติก THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
(Bioplastic) ในช่วงที่ผ่านมา จึงจะเห็นได้ว่าบรรจุภัณฑ์ที่ ผลิ ต จากเส้ น ใยธรรมชาติ สามารถย่ อ ยสลายได้ เ องนั้ น ถื อ เป็ น การลดการท� ำ ลายสิ่ ง แวดล้ อ ม และปริ ม าณขยะ จากการใช้พลาสติกได้เป็นอย่างดี
INDUSTRIAL 83
3. บรรจุภัณฑ์รีไซเคิล
ปัจจุบัน มีการน�ำขยะมารีไซเคิล เป็นจ�ำนวนมาก ทั้งขยะ พลาสติก โลหะ ขยะอีคอมเมิร์ซ อาทิ กระดาษจากกล่อง บรรจุสินค้าออนไลน์ และ กล่องไปรษณีย์ ที่มีแนวโน้มเพิ่ม ปริมาณขยะประเภทกระดาษมากยิ่งขึ้น ซึ่งภาคอุตสาหกรรม สามารถน�ำไปรีไซเคิลเพือ่ ก่อให้เกิดบรรจุภณ ั ฑ์ใหม่ ทีส่ อดคล้อง กับเทรนด์รักษ์โลก หรืออาจน�ำบรรจุภัณฑ์กระดาษไปพัฒนา เป็นสินค้าใหม่ ถือเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มจากขยะได้อีกทาง หนึ่ ง อาทิ การน� ำ กระดาษรี ไซเคิ ล มาเป็ น ขวดบรรจุ ภั ณ ฑ์ ของ Carlsberg และ โต๊ะเรียนหนังสือจากล่องไปรษณีย์ไทย เป็นต้น 4. บรรจุภัณฑ์กินได้
เนื่องจากผู้บริโภคยุคใหม่ได้ให้ความส�ำคัญกับการหันมาใส่ใจ และดู แ ลสิ่ ง แวดล้ อ มมากขึ้ น ประกอบกั บ สถานการณ์ ใ น ประเทศไทยมีปริมาณขยะพลาสติกและโฟมมากถึง 2.7 ล้านตัน ดังนัน้ แม้วา่ หลายธุรกิจจะปรับตัวมาใช้บรรจุภณ ั ฑ์จากธรรมชาติ มากขึ้นแล้ว แต่ก็ถือได้ว่ายังเป็นการท�ำร้ายสิ่งแวดล้อมทาง อ้ อ มอยู ่ ดี ดั ง นั้ น หากบรรจุ ภั ณ ฑ์ ส ามารถรั บ ประทานได้ จะช่วยให้ปริมาณขยะลดลง อย่างเช่น ฟิล์มแคร์รอต ผลงาน การวิจัยจาก กรมวิชาการเกษตรที่สามารถรับประทานได้ ทั้งยังมีสารเบต้าแคโรทีนอีกด้วย (beta-Carotene)
ปัจจุบันอุตสาหกรรมในกลุ่ม บรรจุภัณฑ์จากข้อมูลของ ส�ำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม มีมูลค่าการส่งออกอยู่ที่ 14,253 ล้านบาท ซึ่งหากได้รับการพั ฒนา ให้สอดคล้องกับความต้องการ ของผู้บริโภค ก็จะสามารถ สร้างมูลค่าที่เพิ่ มมากขึ้น และยังเป็นการดึงดูดผู้บริโภค ยุคใหม่ได้อีกทางหนึ่งด้วยเช่นกัน ที่มา: https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/905587
www.thaiprint.org
84 INDUSTRIAL
เทคโนโลยีทม ี่ ผ ี ลต่อแนวโน้มธุรกิจและ อุตสาหกรรมไทย ปี 2564 -2566 เทคโนโลยีสมัยใหม่ก�ำลังเข้ามาพลิกโฉมภาคอุตสาหกรรมสู่ การปฏิรปู เชิงโครงสร้างครัง้ ใหญ่ ซึง่ นอกจากจะเน้นการแข่งขัน ด้านผลิตภาพตามแนวโน้มการเปลีย่ นแปลงขนาดใหญ่ของโลก (Global megatrend) ที่ก�ำลังเข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
เต็มรูปแบบแล้ว ภาคอุตสาหกรรมยังหันมาเน้นความยั่งยืน ของห่ ว งโซ่ ก ารผลิ ต หลั ง ได้ รั บ ผลกระทบของ COVID-19 โดยเทคโนโลยีหลักที่จะเข้ามามีบทบาทต่อภาคอุตสาหกรรม ในช่วง 3 ปีหน้า อาทิ
INDUSTRIAL 85 5G technology:
ระบบบริการบรอดแบนด์ 5G ซึ่งมี ก�ำลังรับส่งข้อมูลมากกว่าระบบ 4G ถึง 100 เท่า จะหนุนให้ เกิดการปฏิรปู กระบวนการผลิตในภาคอุตสาหกรรมโดยควบคุม การท�ำงานของเครื่องจักรผ่านระบบข้อมูล Big data เพื่อปรับ ระดับสต๊อกของผลผลิตและวัตถุดิบให้สมดุลได้โดยอัตโนมัติ ตัวอย่างสายการผลิตที่ได้พัฒนาบนโครงข่าย 5G เช่น ผู้ผลิต รถยนต์ไฟฟ้า (Electric microcar) ของเยอรมนี (กลุม่ Ericsson และ Vodafone) หรื อ ผู ้ ผ ลิ ต เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ของอั ง กฤษ (ค่าย Bosch) เป็นต้น The Internet of Things (IoT):
IoT devices ก� ำ ลั ง มี บ ทบาทมากขึ้ น ในการเชื่ อ มโยงข้ อ มู ล ของอุ ป กรณ์ ในชีวิตประจ�ำวันผ่านระบบ Sensors ที่ฝังตัวในทุกสิ่ง เช่น การติดตามสัญญาณชีพผู้ป่วย (Heart monitor transplant) การตรวจอาหารหมดอายุในตู้เย็น (Smart fridge) การตรวจ อาการสัตว์ในฟาร์ม (Biochip transponder) เซนเซอร์วัด อุณหภูมใิ นโรงเรือน / เพาะช�ำ / เพาะเลีย้ ง เป็นต้น ซึง่ จะเร่งให้ เกิดการแข่งขันพัฒนาผลิตภัณฑ์ทสี่ ามารถเชือ่ มต่อระบบข้อมูล และการปรับตัวในห่วงโซ่อปุ ทานของกลุม่ ผูผ้ ลิตชิน้ ส่วนอุปกรณ์ ในเกือบทุกอุตสาหกรรม เช่น เครื่องมือแพทย์ เครื่องใช้ไฟฟ้า ยานยนต์ เป็นต้น Drone:
อากาศยานไร้ค นขับที่ค วบคุมได้จากระยะไกล ซึ่งปัจจุบันมีการพัฒนาต่อยอดกับเทคโนโลยีอื่นมากขึ้น เช่น เซนเซอร์ ระบบดาวเทียม IoT และ AI ซึ่งได้ประโยชน์ทั้งการ ลดการใช้แรงงาน ลดเวลาในการเข้าส�ำรวจพืน้ ทีจ่ ริงหรือใช้เป็น เครือ่ งมือประกอบในการประเมินจากภาพทีเ่ ห็นเบือ้ งต้น รวมทัง้ เป็นเครื่องทุ่นแรงในการใช้โดรนเพื่อพ่นยาก�ำจัดวัชพืชหรือ ใส่ปุ๋ย เป็นต้น
www.thaiprint.org
86 INDUSTRIAL
Edge computing: ระบบประมวลผล Big data ทีก่ ำ� ลังเข้า
มาลดข้อจ�ำกัดของ Cloud computing โดยจะเชื่อมโยงข้อมูล ด้านการเปลี่ยนแปลงความต้องการของผู้บริโภคไปสู่การปรับ เปลีย่ นสายการผลิตหรือรูปแบบธุรกิจแบบทันเวลา (Real time) เนือ่ งจากระบบสามารถเข้าถึงข้อมูลลูกค้าได้โดยตรงไม่ตอ้ งผ่าน ศูนย์ขอ้ มูลกลางของ Cloud ส่วนใหญ่จะน�ำไปใช้ในธุรกิจทีเ่ น้น สนองพฤติกรรมผู้บริโภคอย่างรวดเร็ว ทั้งในภาคอุตสาหกรรม การผลิตและบริการ (อาทิ สุขภาพ นันทนาการ และโลจิสติกส์) Artificial intelligence (AI):
การใช้ปัญญาประดิษฐ์ ถูกใช้งานในภาคอุตสาหกรรมมากขึน้ โดยใช้รว่ มกับเทคโนโลยีอนื่ เช่น Cloud และ IoT เพื่อประมวลผล Big data ส�ำหรับ การพัฒนาระบบจดจ�ำและตัดสินใจในธุรกิจโรงพยาบาลและ สุขภาพ ศูนย์บริการ Call-center ภาคการผลิตและบริการที่ ขาดแคลนแรงงาน การใช้หนุ่ ยนต์และระบบอัตโนมัตมิ าท�ำงาน ร่วมกับมนุษย์ (Cobot) เช่น หุน่ ยนต์และโดรนทีใ่ ช้ทำ� งานในไร่นา เป็นต้น โดยผลการศึกษาของ PwC พบว่า ปัจจุบันบริษัท ขนาดใหญ่ทั่วโลกส่วนใหญ่ (ประมาณ 60-70%) ได้ประยุกต์ใช้ AI ในสายการผลิต เช่น กลุ่ม Siemens ใช้ AI ส�ำหรับทดสอบ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
คุณภาพการผลิตเชิงวิศวกรรมและคาดการณ์อุปกรณ์ที่ต้อง ซ่อมบ�ำรุง โดย PwC คาดว่า AI จะสร้างมูลค่าเพิ่มในภาค อุตสาหกรรมทั่วโลกได้ราว 15.7 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปี 2573 ส่วน Emerton data (บริษัทที่ปรึกษาด้าน data science) ได้ส�ำรวจแผนการลงทุนของบริษัทชั้นน�ำของโลก พบว่ากว่า 85% มีแผนจะน�ำ AI มาใช้ในกระบวนการผลิต Blockchain: ระบบการเก็บและบันทึกข้อมูลแบบกระจาย
ฐานข้อมูล (Distributed ledger technology) แทนการรวมศูนย์ ซึง่ เปิดโอกาสให้ผทู้ อี่ ยูใ่ นเครือข่ายแบ่งปันข้อมูลกันได้ แต่จำ� กัด การเข้าถึงด้วยการเข้ารหัส จึงมีความปลอดภัยสูง สร้างโอกาสใน การท�ำธุรกิจระหว่างกันโดยไม่ตอ้ งผ่านตัวกลาง (Peer-to-peer) โดยเฉพาะธุรกรรมทางการเงินผ่านการใช้เงินหรือสินทรัพย์ ดิจิทัล ตลอดจนการจัดเก็บฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่ต้องการ ความปลอดภัยสูง เช่น ฐานข้อมูลแผนทีพ่ นั ธุกรรมทางการแพทย์ หรือการยืนยันตัวตนผ่านชีวมิติ การตรวจสอบการซื้อขายและ กระบวนย้อนกลับในสินค้าเกษตรที่สร้างความสมมาตรของ ข้อมูล (Systematic information) ในห่วงโซ่อุปทานที่มีผลให้ ต้นทุนสินค้าเกษตรลดลง เป็นต้น
INDUSTRIAL 87
Quantum computing: การพัฒนาระบบการประมวล
ผลของคอมพิวเตอร์ผ่านอนุภาคย่อยของอะตอมแทนการใช้ เลขฐานสอง ซึ่งจะเพิ่มความรวดเร็วและเพิ่มความสามารถ การเรียนรู้ของปัญญาประดิษฐ์ ปัจจุบันการพัฒนาเทคโนโลยี นี้สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้เชิงพาณิชย์ โดยมูลค่าตลาดของ เครือ่ งจักรอัจฉริยะบนเทคโนโลยี Quantum มีแนวโน้มจะสูงถึง 8 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปี 2565 (Business insights & lifestyle guides, hivelife.com) โดยเน้นในการผลิตอุปกรณ์ อัจฉริยะ เช่น รถยนต์ไร้คนขับ หุ่นยนต์ เป็นต้น 3D printing:
เทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิตคิ วบคุมการออกแบบและผลิตสินค้า ด้วยระบบดิจทิ ลั ทีม่ ตี น้ ทุนต�ำ่ และมีความ รวดเร็ว สามารถตอบสนองความต้องการ ของกลุม่ ผูบ้ ริโภคชนชัน้ กลางทีม่ ลี กั ษณะ ปัจเจกชนนิยม (Individualization) มากขึน้ เทคโนโลยีดังกล่าวอาจเข้ามามีบทบาท ในการปรับตัวของห่วงโซ่อปุ ทานในภาค อุตสาหกรรม รวมถึงการน�ำวัสดุกลับมาใช้ เป็นวัสดุในการพิมพ์ใหม่อกี ครัง้ (Recycle bot) อาทิ แฟชัน่ การผลิตชิน้ ส่วนยานยนต์ ชิน้ ส่วนอากาศยาน อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ เครื่องมือ/อุปกรณ์และอะไหล่ และการ พิมพ์เนื้อเยื่อขนาดเล็ก
Cultured meat / Plant-based meat: เป็นการผลิต
เนื้อสัตว์จากสเต็มเซลล์ของสัตว์ต้นแบบทั้งเนื้อวัว ไก่ หมู และปลาทูน่า ซึ่งเป็นการผลิตเนื้อสัตว์จากพืชที่มีรูปลักษณ์ เนื้ อ สั ม ผั ส และรสชาติ เ หมื อ นเนื้ อ จริ ง เหล่ า นี้ มี ก ารผลิ ต ที่ เ ป็ น มิ ต รต่อสิ่งแวดล้อม คุณภาพ/มาตรฐานสูงปราศจาก สารปฏิชวี นะและฮอร์โมนตกค้าง ขณะเดียวกันก็ยังได้คุณค่า สารอาหารครบถ้วน ช่วยลดความเสี่ยงจากการบริโภคเนื้อ สัตว์จริงและการขาดแคลนอาหารกรณีเกิดโรคระบาดในสัตว์ หรือภัยธรรมชาติ รวมถึงช่วยตอบโจทย์ในหมู่ผู้บริโภคในกลุ่ม คนรักสุขภาพ (Healthy lifestyle) และกลุ่มผู้สูงอายุ (Aging society) ที่กำ� ลังเพิ่มจ�ำนวนมากขึ้น
ที่มา: https://www.krungsri.com/th/research/industry/Industry-Horizon/industry-summary-outlook-2021-2023
www.thaiprint.org
88 INDUSTRIAL
กระป๋องกระดาษ บรรจุภณ ั ฑ์ทเี่ ป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม โดย อาจารย์มานิตย์ กมลสุวรรณ THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
INDUSTRIAL 89
วันก่อนไป เดินที่ร้านญี่ปุ่น DONKI MALL ทองหล่อ... ไปเห็น คิวคนรอซือ้ มันญีป่ นุ่ เผา เห็นหลายคนในคิวจะหยิบซือ้ กระป๋อง กลมขนมข้าวเกรียบกุง้ ตัวหนอน Calbee จากกล่องลูกฟูกข้าง ๆ ดู ๆ มันน่าจะขายดี ขายในราคากระป๋องละ 39 บาท คาดว่า คงจะน�ำเข้ามาจากญี่ปุ่น เลยลองซื้อมา กิน 1 กระป๋อง สรุปว่า เป็นของผลิตในไทยร่วมกับญี่ปุ่น ตัวกระป๋องท�ำด้วยกระดาษ หัวท้ายเป็นฝาเหล็ก และฝาอะลูมิเนียมดึงเปิด Easy open membrane กระป๋องปิดสนิทอากาศภายนอกไม่เข้า air-tight เก็บสินค้าได้นานเป็นปี ตัวกระป๋องท�ำได้เรียบร้อยมาก เปิดกิน ดูด้านในถึงรู้ว่าเป็นกระป๋องกระดาษของ Thai Fibre Drum (TFD) คุณภาพระดับโลก (ได้รับการยืนยันโดย SONOCO USA ทีเ่ ก็บเอาตัวอย่างไปผ่าพิสจู น์ทดสอบทีอ่ เมริกา เมือ่ 20 ปี ที่แล้ว SONOCO เป็นผู้ผลิตกระป๋องกระดาษใหญ่สุดของโลก ที่อเมริกา)
กระป๋องกระดาษ ทรงกลม / ทรงกระบอก Composite can ท� ำ ด้ ว ยกระดาษคร๊ า ฟซ้ อ นกั น หลายชั้ น และมีชั้นใน เคลือบด้วยแผ่นฟลอยด์อะลูมเิ นียม ท�ำได้หลายขนาดหลายรูป แบบ ตามความต้องการและตามสภาพการใช้งาน TFD บริษัท อุตสาหกรรมถังกระดาษไทย เป็นผูผ้ ลิตกระป๋องและถังกระดาษ รายแรกและรายเดียวในไทย ผลิตกระป๋องกระดาษคุณภาพ ระดับโลกมากว่า 40 ปี เป็นบริษัทในเครืองานของ CPT ที่ผลิต งานบรรจุภัณฑ์กระดาษเฉพาะรูปทรงกระบอก ด้วยมาตรฐาน คุณภาพระดับโลก เพราะเมือ่ น�ำไปบรรจุสนิ ค้า จะต้องปิดสนิท 100% ทุกกระป๋อง อากาศจะซึมผ่านไม่ได้เลย (รูเท่าปลายเข็ม หมุดก็มีไม่ได้) และของเสียต้องเป็นศูนย์ ่ ทางเลือก จึงสรุปได้วา่ กระป๋องกระดาษเป็นอีกหนึง ของบรรจุภัณฑ์สินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม และการสร้างมูลค่าเพิ่ ม
www.thaiprint.org
40 Ad Seethong Pc4.indd 1
24/11/2561 20:44:48
92 INDUSTRIAL
ตลาดส่งออก 20 อันดับแรก ของไทยรายประเทศ
ประเภทหนังสือและสิง ่ พิ มพ์ และบรรจุภัณฑ์กระดาษ (หีบ กล่อง ซองฯ) พ.ศ. 2560 - 2563 (ม.ค. - พ.ย.) THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
INDUSTRIAL 93
ตลาดส่งออก 20 อันดับแรกของไทยรายประเทศ หนังสือและสิ่งพิ มพ์ พ.ศ. 2561 - 2563 (ม.ค. - พ.ย.)
อันดับที่
ประเทศ
มูลค่า : ล้านบาท 2562 2562
2561
2563
(ม.ค.-พ.ย.) (ม.ค.-พ.ย.)
1 ฮ่องกง 403.5 541.9 489.7 339.1 2 สหรัฐอเมริกา 140.5 186.1 171.0 191.2 3 กัมพูชา 188.0 187.2 172.5 153.3 4 ญี่ปุ่น 206.9 205.6 194.6 131.3 5 ฟิลิปปินส์ 519.9 168.3 154.8 128.4 6 อินโดนีเซีย 229.9 108.2 97.5 76.9 7 เมียนม่า 95.0 118.8 113.2 56.4 8 สิงคโปร์ 97.7 74.7 66.6 54.2 9 เวียดนาม 145.6 69.4 62.9 52.2 10 จีน 28.8 36.8 31.5 45.5 11 ศรีลังกา 15.1 27.6 25.7 30.9 12 สหราชอาณาจักร 50.1 66.2 64.1 30.1 13 มาเลเซีย 118.9 83.2 80.1 29.7 14 ลาว 40.4 67.3 55.2 28.6 15 เบลเยียม 19.6 26.4 25.7 24.6 16 ปากีสถาน 4.3 8.6 8.1 20.5 17 เยอรมนี 35.8 29.3 28.2 19.5 18 ฝรั่งเศส 12.4 17.5 14.8 18.0 19 ออสเตรเลีย 36.6 33.1 31.1 17.2 20 อินเดีย 45.2 48.9 46.5 16.6 รวม 20 รายการ 2,434.0 2,105.1 1,933.7 1,464.0 รวมอื่นๆ 211.0 214.6 199.8 114.4 รวมทุกประเทศ 2,645.0 2,319.7 2,133.5 1,578.4
2561
อัตราขยายตัว (%) 2562 2562
2563
9.44 -1.04 64.87 -16.83 376.05 -33.68 67.22 40.91 42.83 -10.05 5.54 -66.91 34.14 3.22 39.87 -49.77 -53.86 15.55 -10.22 -27.03 16.11 3.85 15.03
34.28 32.49 -0.39 -0.63 -67.63 -52.94 24.98 -23.53 -52.34 27.66 82.92 32.18 -30.00 66.43 34.75 102.49 -18.09 41.68 -9.40 8.12 -13.51 1.72 -12.30
-30.75 15.26 23.36 22.95 21.48 11.81 5.31 8.02 8.02 12.12 -11.15 7.11 8.07 8.09 9.71 -32.51 7.82 8.86 9.12 8.32 -17.10 19.66 7.25 7.26 8.13 -21.11 8.69 4.66 4.57 4.87 -50.22 3.59 5.12 5.31 3.57 -18.69 3.69 3.22 3.12 3.43 -17.01 5.50 2.99 2.95 3.31 44.75 1.09 1.59 1.47 2.88 20.15 0.57 1.19 1.20 1.96 -53.11 1.89 2.85 3.01 1.91 -62.98 4.50 3.59 3.75 1.88 -48.12 1.53 2.90 2.59 1.81 -4.26 0.74 1.14 1.20 1.56 153.97 0.16 0.37 0.38 1.30 -31.10 1.35 1.26 1.32 1.23 22.04 0.47 0.76 0.69 1.14 -44.78 1.38 1.43 1.46 1.09 -64.26 1.71 2.11 2.18 1.05 -24.29 92.02 90.75 90.64 92.75 -42.72 7.98 9.25 9.36 7.25 -26.02 100.00 100.00 100.00 100.00
2561
(ม.ค.- พ.ย.) (ม.ค.- พ.ย)
33.29 44.15 0.78 0.82 -69.60 -56.59 28.34 -25.91 -55.36 19.24 78.89 46.25 -28.19 71.26 33.52 126.66 -11.95 24.18 -4.07 14.63 -14.86 4.42 -13.36
สัดส่วน (%) 2562 2562
2563
(ม.ค.- พ.ย.) (ม.ค.- พ.ย.)
่ า : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ ่ สาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร ทีม
ตลาดส่งออก 20 อันดับแรกของไทยรายประเทศ หนังสือและสิ่งพิ มพ์ พ.ศ. 2563 (ม.ค. - พ.ย.)
ฮ่องกง
กัมพูชา
ฟิลิปปินส์
เมียนม่า
เวียดนาม
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
339.1
153.3
สหรัฐอเมริกา
128.4
ญี่ปุ่น
191.2
131.3
ล้านบาท
1
อินโดนีเซีย
3 13
สิงคโปร์
5 14
45.5
ล้านบาท
6 15
จีน
54.2
ล้านบาท
4
12
52.2
76.9
ล้านบาท
2 11
56.4
7 16
ล้านบาท
8 17
9 18
10 18
ศรีลังกา
มาเลเซีย
เบลเยียม
เยอรมนี
ออสเตรเลีย
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
30.9
29.7
สหราชอาณาจักร
30.1
ล้านบาท
24.6
ลาว
28.6 ล้านบาท
19.5
ปากีสถาน
20.5 ล้านบาท
20
17.2
ฝรั่งเศส
18.0
ล้านบาท
อินเดีย
16.6
ล้านบาท
www.thaiprint.org
94 INDUSTRIAL
ตลาดส่งออก 20 อันดับแรกของไทยรายประเทศ
บรรจุภัณฑ์กระดาษ (หีบ กล่อง ซองฯ) พ.ศ. 2561 - 2563 (ม.ค. - พ.ย.) อันดับที่
ประเทศ
มูลค่า : ล้านบาท 2562 2562
2561
1 อินโดนีเซีย 2 เวียดนาม 3 เกาหลีใต้ 4 มาเลเซีย 5 สหรัฐอเมริกา 6 ลาว 7 ญี่ปุ่น 8 ออสเตรเลีย 9 ไต้หวัน 10 จีน 11 อินเดีย 12 กัมพูชา 13 เมียนม่า 14 ฟิลิปปินส์ 15 บังกลาเทศ 16 ฮ่องกง 17 อิหร่าน 18 สิงคโปร์ 19 มอริเชียส 20 เยอรมนี รวม 20 รายการ รวมอื่นๆ รวมทุกประเทศ
2,233.2 2,929.1 694.1 374.8 188.1 373.6 263.6 64.9 159.4 81.9 23.9 70.1 107.8 46.7 101.1 60.0 .1 98.3 1.8 20.1 7,892.5 259.5 8,151.9
2,429.2 2,142.8 766.3 393.8 327.5 368.8 259.8 52.9 153.1 103.1 87.8 97.2 103.2 76.6 57.5 46.8 9.7 89.8 4.4 13.3 7,583.6 193.5 7,777.1
2563
อัตราขยายตัว (%) 2562 2562
2563
สัดส่วน (%) 2562 2562
2561
2,237.7 1,870.5 680.7 379.4 296.3 339.3 237.4 48.9 140.9 90.6 59.8 87.9 96.2 66.8 55.7 43.8 6.5 89.1 1.4 12.5 6,841.2 179.2 7,020.4
12.84 8.78 9.65 -13.44 27.39 31.24 31.87 29.86 11.33 -26.84 -27.41 -17.82 35.93 27.55 26.64 23.70 20.23 10.40 10.34 26.18 8.51 9.85 9.70 13.24 12.53 5.08 7.16 -8.19 4.60 5.06 5.40 5.37 -3.68 74.12 69.69 15.97 2.31 4.21 4.22 5.30 37.96 -1.27 -1.13 -19.23 4.58 4.74 4.83 4.22 2.87 -1.47 0.37 -7.26 3.23 3.34 3.38 3.39 -12.36 -18.41 -19.88 152.04 0.80 0.68 0.70 1.90 -3.01 -3.94 -0.03 -25.04 1.96 1.97 2.01 1.63 18.26 25.89 22.91 13.58 1.00 1.33 1.29 1.59 46.54 267.27 278.19 67.36 0.29 1.13 0.85 1.54 5.52 38.64 36.20 11.23 0.86 1.25 1.25 1.51 11.14 -4.29 -2.00 -5.67 1.32 1.33 1.37 1.40 128.66 64.02 56.36 7.14 0.57 0.98 0.95 1.10 26.16 -43.19 -37.88 9.06 1.24 0.74 0.79 0.94 -89.94 -21.96 -19.37 -23.79 0.74 0.60 0.62 0.51 -99.48 10,842.52 7,225.08 214.58 0.00 0.13 0.09 0.32 -15.84 -8.60 -3.97 -80.78 1.21 1.15 1.27 0.26 19.62 141.91 -23.00 812.01 0.02 0.06 0.02 0.19 23.52 -33.74 -35.73 -5.16 0.25 0.17 0.18 0.18 4.14 -3.91 -3.61 -6.93 96.82 97.51 97.45 98.15 -21.92 -25.42 -23.81 -33.00 3.18 2.49 2.55 1.85 3.05 -4.60 -4.26 -7.59 100.00 100.00 100.00 100.00
1,936.8 1,537.2 858.9 348.3 343.6 274.0 220.2 123.2 105.6 102.9 100.1 97.8 90.8 71.5 60.7 33.4 20.5 17.1 12.6 11.8 6,367.2 120.0 6,487.2
2561
2563
(ม.ค.-พ.ย.) (ม.ค.-พ.ย.)
(ม.ค.- พ.ย.) (ม.ค.- พ.ย)
(ม.ค.- พ.ย.) (ม.ค.- พ.ย.)
่ า : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ ่ สาร ส�ำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร ทีม
ตลาดส่งออก 20 อันดับแรกของไทยรายประเทศ
บรรจุภัณฑ์กระดาษ (หีบ กล่อง ซองฯ) พ.ศ. 2563 (ม.ค. - พ.ย.) อินโดนีเซีย
เกาหลีใต้
สหรัฐอเมริกา
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
1,936.8
858.9
เวียดนาม
2 11
3 12
105.6 ออสเตรเลีย
5 14
จีน
102.9
ล้านบาท
6 15
ล้านบาท
123.2
ล้านบาท
4 13
ล้านบาท
274.0
ล้านบาท
ไต้หวัน
220.2 ลาว
348.3
ล้านบาท
1
343.6
มาเลเซีย
1,537.2
ญี่ปุ่น
7 16
ล้านบาท
8 17
9 18
10 18
อินเดีย
เมียนม่า
บังกลาเทศ
อิหร่าน
มอริเชียส
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
ล้านบาท
100.1
90.8
กัมพูชา
97.8 ล้านบาท
THAIPRINT MAGAZINE ISSUE 129
60.7
ฟิลิปปินส์
71.5
ล้านบาท
20.5
ฮ่องกง
33.4
ล้านบาท
20
12.6
สิงคโปร์
17.1
ล้านบาท
เยอรมนี
11.8
ล้านบาท
THAI PRINTING DIRECTORY 2019-2020
แหล่งรวมข้อมูลล่าสุดของผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการพิมพ์ หนังสือ “THAI PRINTING DIRECTORY 2019-2020” เล่มใหม่ล่าสุดที่รวมรายชื่อข้อมูลล่าสุดของผู้ประกอบการ ในอุตสาหกรรมการพิ มพ์ ทั้งก่อนการพิ มพ์ หลังการพิ มพ์ รวมทั้งผู้จ�ำหน่ายเครื่องจักร วัสดุอุปกรณ์ด้านการพิ มพ์ และการซ่ อ มบ� ำ รุ ง เหมาะส� ำ หรั บ ใช้ เ ป็ น คู่ มื อ การซื้ อ และ เป็นประโยชน์ต่อองค์กรของท่าน
พิ เศษเพี ยง
500 บาท/เล่ม ใบสั่งซื้อหนังสือ
*
จ�ำนวน ................... เล่ม
ชื่อ - นามสกุล...................................................................................... บริษัท.................................................................................................. เลขประจ�ำตัวผู้เสียภาษี......................................................................... ที่อยู่.................................................................................................... โทรศัพท์..................................โทรสาร.................................................
รายละเอียดการช�ำระเงิน
วิธีการชำ�ระเงิน
THAI PRINTING DIRECTORY 2019-2020
• ราคา 500 บาท/เล่ม • ค่าจัดส่ง 100 บาท/เล่ม
*ราคานีย้ งั ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่
โอนเงินผ่านธนาคาร ชื่อบัญชี “สมาคมการพิมพ์ไทย” บัญชี ออมทรัพย์035-2-461-48-1 ธนาคาร ไทยพาณิชย์ สาขาสุขุมวิท ซอย 71
้ ได้ทส สั่งซือ ี่ มาคมการพิ มพ์ ไทย
311, 311/1 ซ.ศูนย์วิจัย 4 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2719-6685-7 โทรสาร 0-2719-6688
หมายเหตุ: กรุณาส่งแฟกซ์หลักฐานการโอนเงินพร้อมใบสั่งซื้อมาที่สมาคมฯ
20191025_TP-Directory_final.indd 1
10/25/19 10:52
สมาคมการพิ ม พ์ ไ ทย THE THAI PRINTING ASSOCIATION 311,311/1 พระราม9 ซอย15 (ซอยศูนย์วิจัย4) ถ.พระราม9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ 0-2719-6658-7 โทรสาร 0-2719-6688 เลขที่.....................................................
ใบสมัครสมาชิก
วันที่......................................................
ข้าพเจ้า (ชื่อ-สกุล) ................................................................................................................................................................................................................ ต�าแหน่ง ................................................................................................................................................................................................................................... สถานที่ติดต่อ เลขที่ ......................................... ตรอก/ซอย ........................................................ ถนน ..................................................................... ต�าบล/แขวง ....................................................... อ�าเภอ/เขต ....................................................... จังหวัด ................................................................. รหัสไปรษณีย์ ............................................................ โทรศัพท์ ............................................................ โทรสาร ........................................................ ในนามของ บริษัทจ�ากัด / ห้างหุ้นส่วน / ร้าน (ภาษาไทย) ....................................................................................................................................... (ภาษาอังกฤษ) .................................................................................................................................... ประเภทธุรกิจ: c ผู้จ�าหน่ายวัสดุ / อุปกรณ์ด้านการพิมพ์ (ระบุ) .............................................................................................................. c ขบวนการก่อนการพิมพ์ (ระบุ) ........................................................................................................................................... c โรงพิมพ์ c ขบวนการหลังการพิมพ์ (ระบุ) ............................................................................................................................................ จ�านวนพนักงาน (ระบุ)................................................................................................ สถานที่ตั้งธุรกิจ เลขที่ .............................................. ตรอก/ซอย ..................................................... ถนน ............................................................... ต�าบล/แขวง .................................................................. อ�าเภอ/เขต ............................................................. จังหวัด ................................................ รหัสไปรษณีย์ ........................... โทรศัพท์ ............................................ โทรสาร ........................................ E-mail ..............................................
ขอสมัครเป็นสมาชิกสามัญ
(ค่าลงทะเบียนสมัครสมาชิก 200 บาท และค่าบ�ารุงสมาชิกราย 2 ปี 3,000 บาท ราคานีย้ งั ไม่รว่ มภาษีมลู ค่าเพิม่ ) ข้าพเจ้ายินดีปฏิบัติตามข้อบังคับของสมาคมฯ และจะสนับสนุนการด�าเนินงานของสมาคมฯ เพื่อประโยชน์แก่ส่วนร่วมทุกประการ ในการนี้ ข้าพเจ้า c เช็ค เป็นจ�านวนเงิน .................................. บาท สั่งจ่ายในนาม สมาคมการพิมพ์ไทย c ให้ไปเก็บค่าสมาชิกได้ที่ ........................................................................................................................................................ หากปรากฏว่า คณะกรรมการปฏิเสธที่จะรับเข้าเป็นสมาชิก ข้าพเจ้าจะได้รับเงินคืนในส่วนที่ช�าระแล้วตามจ�านวนดังกล่าวข้างต้น พร้อมใบสมัครนี้ ข้าพเจ้าได้ส่งเอกสารเพื่อประกอบการพิจารณาดังนี้ c ส�าเนาหนังสือรับรองบริษัท c แผนที่แสดงที่ตั้งของสถานประกอบการ c ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน c ส�าเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น c รูปถ่ายสถานประกอบการ (ถ้ามี) ลงชื่อ..............................................................................ผู้สมัคร (.....................................................................................)
74_Pc4.indd 1
23/5/2561 9:04:18
TC-650 / TC-880 / TC-1050
DX-1400
Automatic Window Patching Machine
Auto High Speed Flute Laminator
QZD-600S
Automatic Folding Box Side Wall Forming Machine
ผูนําเขาสินคาคุณภาพ หลากหลาย
ครบวงจร สําหรับอุตสาหกรรมสิ่งพิมพ เครื่องพิมพฉลากดิจิตอลสี
เครื่องพิมพดิจิตอลสีและขาวดํา
เครื่องพิมพอิงคเจ็ท NEW สําหรับกระดาษลูกฟูก
เครื่องพิมพยูวี อิงคเจ็ท ROLL TO ROLL
FLATBED HIGHJET 2500A
GLORY 1604
HIGHJET 2500B
HYBRID
HIGHJET 2500B-UV
เครื่องพิมพอิงคเจ็ทสําหรับพิมพเสื้อ WINGS COMPACT
RIVAL
LST-0604-RM
ตัดวัสดุหนา ไดถึง
6 mm.
เครื่องยิงเพลท CTP ระบบ Thermal
เครื่องตัดงานดิจิตอล
เครื่องยิงเพลท CTP ระบบ UV
เครื่องตัดฉลากมวนดิจิตอล
CB03II
NEW
NEW
LST03-0806-RM LST03-0806-RM WITH EOT
วัสดุสิ้นเปลืองทางการพิมพ ซอฟตแวรออกแบบ กลองบรรจุภัณฑ
ซอฟตแวร Pre Press สําหรับบรรจุภัณฑ ผายางออฟเซ็ท
5 ซอยสุขุมวิท 54 ถ.สุขุมวิท แขวงพระโขนงใต กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท 02-332-4470 โทรสาร 02-331-4626
นํ้ายาทางการพิมพ
Nationwide
หมึกพิมพออฟเซ็ท
www.nationwide.co.th