วัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่นภาคใต้
1. ประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่า หรือ ประเพณี ลากพระ ช่วงเวลา วันลากพระ จะทากันในวัน ออกพรรษา คือวันแรม 1 คา เดือน 11 โดย ตกลงนัดหมายลากพระไปยังจุดศูนย์รวม วันรุ่งขึ้น แรม 2 คา เดือน 11 จึงลากพระ กลับวัด
ความสาคัญ ประเพณีชักพระหรือลากพระนั้นเป็นประเพณีท้องถินของชาวใต้ ทีได้มีการสืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยศรี วิชัย โดยสันนิษฐานว่าได้เกิดมีขึ้นครั้งแรกในประเทศอินเดีย ซึงเป็นประเพณีความเชือของพราหมณ์ศาสนิกชน และพุทธศาสนิกชน มีพุทธตานานเล่าขานสืบทอดกันมาว่า หลังจากทีพระพุทธเจ้าทรงได้ทรงกระทายมก ปาฏิหารย์ปราบเดียรถีย์ ณ ป่ามะม่วง กรุงสาวัตถี และได้เสด็จไปทรงจาพรรษา ณ ดาวดึงส์ เพือทรงโปรดพระ พุทธมารดา จนพระพุทธมารดาได้ทรงสิ้นพระชนม์ลง จึงทรงได้เสด็จกลับมายังโลกมนุษย์ เมือพระอินทร์ทรง ทราบจึงได้นิมิตบันไดนาค บันไดแก้วและบันไดเงินทอดลงมาจากสรวงสวรรค์ เมือพุทธศาสนิกชนได้ทราบจึง พร้อมใจกันมาเฝ้ารับเสด็จทีหน้าประตูนครสังกัสสะ
ในตอนเช้าของวันแรม1 คา
เดือน 11 พร้อมกับได้
จัดเตรียมภัตตาหารเพือถวายแด่พระพุทธองค์ พิธีกรรม 1. การแต่งนม นมพระ หมายถึงพนมพระเป็นพาหนะทีใช้บรรทุกพระลาก นิยมทา 2 แบบ คือ ลากพระทางบก เรียกว่า นม พระ ลากพระทางน้า เรียกว่า "เรือพระ" นมพระสร้างเป็นร้านม้า มีไม้สองท่อนรองรับข้างล่าง ทาเป็นรูป พญานาค มีล้อ4 ล้ออยู่ใต้ตัวพญานาค ร้านม้าใช้ไม้ไผ่สานทาฝาผนัง ตกแต่งลวดลายระบายสีสวย รอบ ๆ ประดับด้วยผ้าแพรสี ธงริ้ว ธงสามชาย ธงราว ธงยืนห้อยระยาง ประดับต้นกล้วย ต้นอ้อย ทางมะพร้าว ดอกไม้ สดทาอุบะห้อยระย้า มีต้มห่อด้วยใบพ้อแขวนหน้านมพระ ตัวพญานาคประดับกระจกแวววาวสีสวย ข้าง ๆ นม
พระแขวนโพน กลอง ระฆัง ฆ้อง ด้านหลังนมพระวางเก้าอี้ เป็นทีนังของพระสงฆ์ ยอดนมอยู่บนสุดของนมพระ ได้รับการแต่งอย่างบรรจงดูแลเป็นพิเศษ เพราะความสง่าได้สัดส่วนของนมพระขึ้นอยู่กับยอดนม
2. การอัญเชิญพระลากขึ้นประดิษฐานบนนมพระ พระลาก คือพระพุทธรูปยืน แต่ทีนิยมคือ พระพุทธรูปปางอุ้มบาตร เมือถึงวัน ขึ้น 15 คา เดือน 11 พุทธบริษัทจะสรงน้าพระลากเปลียนจีวร แล้วอัญเชิญขึ้น ประดิษฐานบนนมพระ
แล้วพระสงฆ์จะเทศนาเรืองการเสด็จไปดาวดึงส์ของ
พระพุทธเจ้า ตอนเช้ามืดในวันแรม 1 คาเดือน 11 ชาวบ้านจะมาตักบาตรหน้า นมพระ เรียกว่า ตักบาตรหน้าล้อ เสร็จแล้วจึงอัญเชิญพระลากขึ้นประดิษฐานบน นมพระ
ในตอนนี้บางวัดจะทาพิธีทางไสยศาสตร์เพือให้การลากพระราบรืน
ปลอดภัย 3. การลากพระ ใช้เชือกแบ่งผูกเป็น 2 สาย
เป็น
สายผู้หญิงและสายผู้ชาย
โดยใช้
โพน (ปืด) ฆ้อง ระฆัง เป็นเครืองตี ให้จังหวะเร้าใจในการลากพระ คน ลากจะเบียดเสียดกันสนุกสนาน และประสานเสียงร้องบทลากพระ ประเพณีชักพระ ทอดผ้าป่า หรือ ประเพณีลากพระ จังหวัดนครศรีธรรมราช
เพือผ่อนแรง ตัวอย่าง บทร้องทีใช้ ลากพระสร้อย : อี้สาระพา เฮโล เฮโล ไอ้ไหรกลมกลม หัวนมสาว
สาว ไอ้ไหรยาวยาว สาวสาวชอบใจ สาระ ประเพณีลากพระ เป็นการแสดงออกถึงความพร้อมเพรียง สามัคคีพร้อมใจกันในการทาบุญทาทาน จึง ให้สาระและความสาคัญดังนี้
1. ชาวบ้านเชือว่า อานิสงส์ในการลากพระ จะทาให้ฝนตกตามฤดูกาล เกิดคติความเชือว่า "เมือพระหลบ หลัง ฝนจะตกหนัก" นมพระจึงสร้างสัญลักษณ์พญานาค เพราะเชือว่าให้น้า การลากพระจึงสัมพันธ์ เกียวข้องกับวิถีชีวิตของคนในสังคมเกษตร 2. เป็นประเพณีทีปฏิบัติตามความเชือว่า ใครได้ลากพระทุกปี จะได้บุญมาก ส่งผลให้พบความสาเร็จใน ชีวิต ดังนั้นเมือนมพระลากผ่านหน้าบ้านของใคร คนทีอยู่ในบ้านจะออกมาช่วยลากพระ และคนบ้าน อืนจะมารับทอดลากพระต่ออย่างไม่ขาดสาย 3. เกิดแรงบันดาลใจ แต่งบทร้อยกรองสาหรับขับร้องในขณะทีช่วยกันลากพระ ซึงมักจะเป็นบทกลอน สั้น ๆ ตลก ขบขัน และโต้ตอบกัน ได้ฝึกทั้งปัญญาและปฏิภาณไหวพริบ เรือพระ เรือพระ คือ รถหรือล้อเลือนทีประดับตกแต่งให้เป็นรูปเรือ แล้ววางบุษบก ซึงภาษาพื้นเมืองของภาคใต้เรียกว่า "นม" หรือ "นมพระ" ยอดบุษบก เรียกว่า "ยอดนม" ใช้สาหรับ อาราธนาพระพุทธรูปขึ้นประดิษฐานแล้วลากในวันออก พรรษา ลากพระทางน้า เรียกว่า "เรือพระน้า" ส่วนลากพระ ทางบก เรียกว่า "เรือพระบก" สมัยก่อนจะทาเป็นรูปเรือ ให้ คล้ายเรือจริง ๆ และต้องทาให้มีน้าหนักน้อยทีสุด จึงใช้ไม้ไผ่สานมาตกแต่งส่วนทีเป็นแคมเรือและหัวท้ายเรือ คงทาให้แน่นหนา ทางด้านหัวและท้ายทางอนคล้ายหัวและท้ายเรือ แล้วตกแต่งเป็นรูปพญานาค ใช้กระดาษสี เงินสีทองทาเป็นเกล็ดนาค กลางลาตัวพญานาคทาเป็นร้านสูงราว1.50 เมตร เรียกว่า "ร้านม้า" ส่วนทีสาคัญ ทีสุด คือ บุษบก ซึงแต่ละทีจะมีเทคนิคการออกแบบบุษบก มีการประดิษประดอยอย่างมาก หลังคาบุษบกนิยม ทาเป็นรูปจตุรมุข ตกแต่งด้วยหางหงส์ ช่อฟ้า ใบระกา และทุกครอบครัวต้องเตรียม "แทงต้ม" เตรียมหาในกระ พ้อ และข้าวสารข้าวเหนียวเพือนาไปทาขนมต้ม "แขวนเรือพระ" ขอขอบคุณแหล่งข้อมูล : http://0057.blogspot.com/