วัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่นภาคอีสาน ภาคอีสานเป็ นภูมิภาคที่มีความหลากหลายทาง ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี แตกต่างกันไปในแต่ละ ท้ องถิ่นแต่ละจังหวัด ศิลปวัฒนธรรมเหล่านี ้เป็ นตัวบ่ง บอกถึงความเชื่อ ค่านิยม ศาสนาและรูปแบบการ ดาเนินชีวติ ตลอดจนอาชีพของคนในท้ องถิ่นนันๆได้ ้ เป็ นอย่างดี สาเหตุที่ภาคอีสานมีความหลากหลายทาง ศิลปวัฒนธรรมประเพณีสว่ นหนึง่ อาจจะเป็ นผลมาจาก การเป็ นศูนย์รวมของประชากรหลากหลายเชื ้อชาติ และมีการติดต่อสังสรรค์กบั ประชาชนในประเทศใกล้ เคียง จนก่อให้ เกิดการแลกเปลีย่ นทางวัฒนธรรมขึ ้น เช่น ประชาชน ชาวอีสานแถบจังหวัดเลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร อุบลราชธานี อานาจเจริ ญ ที่มีพรมแดนติดต่อกับประเทศลาว ประชาชนของทังสองประเทศมี ้ การเดินทางไปมาหากัน ประเพณีระหว่างกัน
ทาให้ เกิดการถ่ายทอดและแลกเปลีย่ นศิลปวัฒนธรรมและ
ซึง่ เราจะพบว่าชาวไทยอีสานและชาวลาวแถบลุม่ แม่น ้าโขงมีศิลปวัฒนธรรมประเพณีที่คล้ ายๆกัน
และรูปแบบการดาเนินชีวิตก็มีความคล้ ายคลึงกันด้ วย รวมทังชาวเวี ้ ยดนามที่อพยพเข้ ามาในช่วงสงครามเวียดนาม ก็ได้ นาเอาศิลปวัฒนธรรมของเวียดนามเข้ ามาด้ วย
ถึงแม้ ปัจจุบนั ชาวเวียดนามเหล่านี จ้ ะได้ ปรับตัวเข้ ากับวัฒนธรรมของ
ท้ องถิ่นอีสาน (เพื่อให้ การดารงชีวิตเป็ นไปอย่างราบรื่ น) โดยเฉพาะชาวเวียดนามที่เป็ นวัยรุ่นในปั จจุบนั ได้ รับการศึกษาที่ดี เหมือนกับชาวไทยทุกประการ
จนแทบแยกไม่ออกว่าเป็ นคนไทยอีสานหรื อคนเวียดนามกันแน่
วัฒนธรรมตะวันตก(เหมือนเด็กวัยรุ่นของไทย)จนลืมวัฒนธรรมอันดีงามของตัวเอง ใหญ่เป็ นคนสูงอายุยงั คงยึดมัน่ กับวัฒนธรรมของตนเองอยูอ่ ย่างมัน่ คง
ส่วนใหญ่ก็จะเห่อ
แต่ก็ยงั มีชาวเวียดนามบางกลุม่ ส่วน
ท่านสามรถศึกษารูปแบบการดาเนินชีวิตแบบ
เวียดนามได้ ตามชุมชนชาวเวียดนามในจังหวัดที่กล่าวมาแล้ ว ส่วนประชาชนที่อยูท่ างจังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรี สะเกษ นครราชสีมา มีการติดต่อกันกับประชาชนชาวกัมพูชาก็จะรับเอาวัฒนธรรมของกัมพูชามาประยุกต์ใช้ ซึง่ ส่วนใหญ่แล้ ว วัฒนธรรมประเพณีของคนทังสองเชื ้ ้อชาติก็มคี วามคล้ ายคลึงกันอยูแ่ ล้ ว จะเห็นได้ อย่างชัดเจนว่าภาคอีสานเป็ นภูมิภาคที่ มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและวัฒนธรรมต่างๆ
ก็มคี วามแตกต่างกันตามแต่ละท้ องถิ่นและแตกต่างจากภูมิภาค
อื่นๆของไทยอย่างเห็นได้ ชดั ทังวั ้ ฒนธรรมทางด้ านการดารงชีวติ และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้ องกับศาสนา ซึง่ เราสามารถสังเกต รูปแบบวัฒนธรรมที่ดงี ามของชาวอีสานผ่านทางประเพณีต่างๆทีช่ าวอีสานจัดขึ ้นซึง่ สามารถถ่ายทอดวัฒนธรรมอีสานได้ เป็ นอย่างดี จุดประสงค์ ของการทาบุญบัง้ ไฟ มีหลายอย่ าง เช่ น ๑. การบูชาคุณของพระพุทธเจ้ า สืบต่ออายุพระพุทธศาสนา ขอน ้าฝน เชื่อมความ สมัครสมานสามัคคี แสดง การละเล่นการบูชาคุณของพระพุทธเจ้ า ชาวอีสานส่วนมากนับถือพระพุทธศาสนา เมื่อถึงเทศกาลเดือน ๖
ซึง่ เป็ นวันประสูติ วันตรัสรู้ และวันปริ นิพพานของพระพุทธเจ้ า ชาวอีสานจะจัดดอกไม้ ธูปเทียนมาบูชา พระพุทธรูป การทาบุญบังไฟของชาวอี ้ สานถือว่าเป็ นการบูชาพระพุทธเจ้ าด้ วยเช่นกัน ๒. การสืบต่ออายุพระพุทธศาสนา เนื่องจากการทาบุญบังไฟ ้ มีการบวชพระและบวชเณร ในครัง้ นี ้ด้ วย จึงถือ ว่าเป็ นการสืบต่อพระพุทธศาสนา ๓. การขอฝน การทานาไม่วา่ จะเป็ นของภาคใดก็ต้องอาศัยน ้าฝน ชาวอีสานก็เช่นกัน เนื่องจากมนุษย์ไม่ สามารถควบคุมธรรมชาติได้ จึงมีความเชื่อเดียวกันกับสิง่ เหนือธรรมชาติจากตานาน เรื่ องเล่าของชาวอีสาน เชื่อว่า มีเทพบุตรชื่อ โสกาลเทพบุตร มีหน้ าที่บนั ดาลน ้าฝนให้ ตกลงมา จึงทาบุญ บังไฟขอน ้ ้าจากเทพบุตร องค์นนั ้ ๔. การเชื่อมความสามัคคี คนในบ้ านเมืองหนึง่ ที่แตกต่างกันมาอยูร่ วมกัน ถ้ ามิได้ ทากิจกรรม ร่วมกันก็จะมี ฐานะต่างคนต่างอยู่ เมื่อบ้ านเมืองเกิดความยุง่ ยากจะขาดกาลังคนแก้ ไข ดังนัน้ เมื่อทาบุญ บังไฟก็ ้ จะเปิ ด โอกาสให้ คนทังหลายได้ ้ มาร่วมแรงร่วมใจกันประกอบกิจกรรม สร้ างความสามัคคีให้ เกิดขึ ้น ในหมูค่ ณะ ๕. การแสดงการละเล่น เป็ นการเปิ ดโอกาสให้ ทกุ คนมาแสดงการละเล่น คนเราเมื่อได้ เล่น ได้ กินร่วมกัน จะเกิด ความรักใคร่ใยดีตอ่ กัน การเล่นบางอย่างจะสุภาพเรียบร้ อย บางอย่างหยาบโลน แต่ก็ไม่ ถือสาหาความ ถือ เป็ นการเล่นเท่านัน้ ชนิดของบัง้ ไฟ ชนิดของบังไฟมี ้ หลายชนิด ขึ ้นอยูก่ บั จุดมุง่ หมายในการทา อาจจะแยกเป็ นแบบใหญ่ และนิยมทากันมากมี ๓ แบบ คือ แบบมีหาง แบบไม่มหี าง และบังไฟตะไลบั ้ งไฟมี ้ หางเป็ นแบบมาตรฐาน เรี ยกว่า "บังไฟหาง" ้ มีการตกแต่งให้ สวยงามเมื่อเวลาเซิ ้ง เวลาจุดจะพุง่ ขึ ้นสูท่ ้ องฟ้ าได้ สงู มาก ควบคุมทิศทางได้ เล็กน้ อยบังไฟแบบไม่ ้ มีหางเรี ยกว่า "บังไฟก่ ้ อง ข้ าว" รูปร่างคล้ ายกล่องใส่ข้าวเหนียว ชนิดมีขาตัง้ เป็ นแฉก ถ้ าจะเปรี ยบเทียบให้ เห็นชัดก็คล้ ายจรวดนัน่ เองบังไฟตะไล ้ มี รูปร่างกลม มีไม้ บางๆ แบนๆ ทาเป็ นวงกลมรอบหัวท้ ายของบังไฟ ้ เวลาพุง่ ขึ ้นสูท่ ้ องฟ้ าจะพุง่ ไปโดยทางขวาง บังไฟทั ้ งสาม ้ แบบที่กล่าวมา ถ้ าจะแยกย่อยๆ ตามเทคนิคการทาและลักษณะรูปร่ างของบัง้ ไฟ จะแยกเป็ นประเภทได้ ๑๑ ชนิด ดังนีค้ ือ - บังไฟโมดหรื ้ อโหมด
- บังไฟม้ ้ า
- บังไฟช้ ้ าง
- บังไฟจิ ้ นาย
- บังไฟดอกไม้ ้
- บังไฟฮ้ ้ อยหรื อบังไฟร้ ้ อย
- บังไฟหมื ้ ่น
- บังไฟแสน ้
- บังไฟตะไล ้
- บังไฟตื ้ ้อ
- บังไฟพลุ ้ ขอขอบคุณแหล่งข้ อมูล : http://0057.blogspot.com/