รายงาน Final Project วิชา ARTD 3302 ออกแบบกราฟฟิกบนบรรจุภัณฑ์ โดย นายอานน วารินทร์
คํานํา รายงานเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อจุดประสงค์หลักในการออกแบบและพัฒนากราฟฟิกบนบรรจุภรรฑ์สินค้าโอ ทอป สบู่ถ่านไม้ไผ่ ของศูนย์เรียนรู้กล่มุร่วมทนุวิสาหกิจชุมชน ต�าบลหนองแซง ซึ่งเป็นสินค้า OTOP ของ จังหวัด ชัยนาท ทั้งนี้ผู้จัดทาได้ศึกษาที่มาและปัญหาของสินค้ารวมถึงบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมส�าหรับบรรจุภัณฑ์สินค้า ในรูป แบบต่างๆ ซึ่งปัญหาเหล่านี้ต้องผ่านการคิดวิเคราะห์ทั้งสิน ทั้งนี้การจัดทารายงานและศึกษาผลิตภัณฑ์ ได้พบปัญกหาต่างๆ มากมาย ซึ่งผู้จัดท�าได้ท�าการแก้ไข และ พัฒนาและปรับปรุงให้เหมาะสมที่สุด สุดท้ายนี้ต้องขอขอบพระคุณ ผศ. ประชิต ทิณบุตร อาจารย์ที่ปรึก าประจา ิชา ARTD3302 การออกแบบ กราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ที่ได้กรุณาแนะน�าและให้ปรึกษาด้วยดีตลอดมา นายอานน วารินทร์ ผู้จัดท า
ส1
สืบค้น
ขั้นตอนการสืบค้นข้อมูลเบื้องต้น (Preliminary Research) การออกแบบพั ฒ นาตราสั ญ ลั ก ษณ์ แ ละรู ป ลั ก ษณ์ บ รรจุ ภั ณ ฑ์ เพื่ อ เชื่ อ มโยงการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรม ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ สบู่ถ่านไม้ไผ่ ของศูนย์เรียนรู้กล่มุร่วมทุนวิสาหกิจชุมชน ต�ำบลหนองแซง จังหวัดชัยนาท
ภาพที่ 1 ภาพถ่านไม้ไผ่ ( ที่มา : อานน วารินทร์ 2559 ) เมื่อกล่าวถึง “ถ่าน” หลายคนคงจะนึกถึงชิ้นไม้ด�ำๆ ที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงส�ำหรับหุงต้มอาหารในครัวเรือน เท่านั่น แต่จริงแล้วถ่านมีคุณสมบัติพิเศษอีกอย่างหนึ่ง คือ สามารถดูดซับกลิ่นเหม็นอับไม่พึงประสงค์ต่างๆได้ซึ่งจะ เห็นจากการน�ำถ่านมาไว้ในตู้เย็น ท�ำให้ตู้เย็นไม่มีกลิ่นเหม็นคาว ใส่ไว้ในตู้เสื้อผ้า และตู้โชว์ เพื่อไม่ให้มีกลิ่นเหม็นอับ ผลผลิตถ่านไม้สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้มากกว่าที่หลายท่านเข้าใจกันเพียงแต่น�ำไปใช้เพื่อเป็นเชื้อเพลิงหุงต้มใน ครัวเรือนเท่านั้น ในประเทศจีน เกาหลี และญี่ปุ่น ซึ่งมีเทคโนโลยีการผลิตถ่านไม้อย่างล�้ำหน้าจะสามารถผลิตถ่าน ขาวหรือ White Charcoal เพื่อใช้ถ่านขาวในเชิงเพื่อสุขภาพโดยเฉพาะ เช่น ใช้ถ่านขาวใส่ลงในกาต้มน�้ำร้อนเพื่อท�ำ น�้ำแร่ เพราะถ่านชนิดนี้จะละลายแร่ธาตุต่างๆ ออกมาเพิ่มคุณภาพและรสชาติของน�้ำร้อน ใช้ชงกาแฟหรือจะใช้ผสม
เหล้าวิสกี้ก็จะได้รสชาติที่นุ่มละมุน นี่เป็นตัวอย่างการใช้ถ่านแบบพิเศษในต่างประเทศ ในบ้านเรา ผลผลิตถ่านส่วน ใหญ่จะเป็นถ่านด�ำทีผลิตภายใต้อุณหภูมิต�่ำซึ่งไม่เหมาะจะน�ำมาใช้เป็นเชื้อเพลิง ปิ้ง – ย่างอาหาร แต่ถ่านด�ำได้เปรียบ กว่าถ่านบริสุทธิ์ตรงที่ผลิตได้จ�ำนวนมากกว่า ซึ่งเหมาะแก่การน�ำไปใช้ท�ำเชื้อเพลิงอื่น ๆ ที่ไม่เป็นการประกอบอาหาร โดยตรง เช่น ใช้เป็นแหล่งพลังงานทดแทนเชื้อเพลิงถ่านหินชนิดต่าง ๆ ซึ่งมักจะมีค่ามลพิษที่สูงมาก แต่อย่างไรก็ดี ถ่านด�ำที่ผลิตด้วยอุณหภูมิสูงที่เราเรียกว่าถ่านบริสุทธิ์นั้น หากมีปริมาณผลผลิตที่มากพอและคงที่ ก็สามารถน�ำไปใช้ ประโยชน์หลากหลายทั้งในครัวเรือนและระดับอุตสาหกรรมได้ สิ่งที่ท�ำให้ถ่านมีความสามารถในการดูดซับกลิ่นได้ โดยเฉพาะ ถ่านไม้ไผ่ (bamboo charcoal) เนื่องจากโครงสร้างของถ่านไม้ไผ่มีลักษณะเป็นรูพรุนเล็กๆ มากมาย โดยกลิ่นเหม็นอับต่างๆจะเเพร่เข้ารูพรูน หากถ่านมีรูพรุนมากๆก็จะท�ำให้ดูดซับกลิ่นได้มากตามไปด้วย ถ่านไม้ไผ่ (Bamboo Charcoal) ภาษาญี่ปุ่นเรียก ทาเคะสึมิ (takezumi) หรือ คิคุตัน (tikutan)ท�ำมา จากไม้ไผ่ ( Bamboo ) เป็นถ่านที่ผ่านกรรมวิธีการผลิตด้วยอุณหภูมิภายในเตามากกว่า 1,000 ºC มีคุณสมบัติที่ เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพของมนุษย์ สัตว์ ธรรมชาติและสภาพแวดล้อมมากมาย
ภาพที่ 2 ภาพสบู่ถ่านไม้ไผ่ ( ที่มา : อานน วารินทร์ 2559 )
ภาพที่ 3 ภาพผลิตภันฑ์ต่างๆ ( ที่มา : อานน วารินทร์ 2559 ) ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสินสินค้า ขนาดบรรจุภัฑณ์ 7 cm x 4.5 CM x 2 cm ผลิตโดย : ศูนย์เรียนรู้กล่มุร่วมทุนวิสาหกิจชุมชน ที่อยู่ : 166 หมู่1 บ้านแหลมทอง ตำ�บลหนองแซง อำ�เภอหันคา จังหวัดชัยนาท 17160 ราคาส่ง 23/ซอง ราคาปลีก 35/ซองข้อมูลสินค้า ชื่อสินค้า : สบู่ถ่านไม้ไผ่ ประเภท : สมุนไพร ที่ไม่ใข่อาหาร สถานะผลิตภัฑณ์ : สบู่ ส่วนผสม : ถ่านไม้ไผ่ วิธีใช้: ใช้ทำ�ความสะอาดผิวหน้าและผิวกาย สรรพคุณของสบู่ถ่านไม้ไผ่ ด้วยประสิทธิภาพของผงถ่านช่วยขจัดสารพิษตกค้างและดูดซับเซลล์ผิวหนังที่ตายแล้วให้หลุดออกจาก รูขุมขน และช่วยซ่อมแซมเซลล์ผิวหนังที่เสื่อมสภาพท�ำให้ผิวหนังสดใสขึ้นส่วนผสมของน�้ำผิ้งบ�ำรุงผิวให้ชุ่มชื่นนวล สดใสเปล่งปลั่ง ไม่แห้งตึง
4
1
3
2
7
8
5 10 6 ภาพที่ 3 ภาพแสดงโครงสร้างและส่วนประกอบทางกราฟิกของผลิตภัณ์ฑ์สบู่ถ่านไม้ไผ่ ( ที่มา : อานน วารินทร์ 2559 )
ผลการวิิเคราะห์ ก.โครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ปัจจุบัน หมายเลข 1 คือ ตัวผลิตภัณฑ์ สบู่ถ่านไม้ไผ่ บรรจุภัณฑ์พลาสสติก 1.1 ขนาดมิติ : กว้าง 4.5 cm ยาว 7 cm สูง 2 Cm 1.2 สีของวัสดุบรรจุภัณฑ์ : สีใส 1.3 วิธีการ/เทคนิค/การบรรจุสินค้า : บรรจุในแพ็คพลาสติก หมายเลข 2 คือ ข้อความชักชวน หมายเลข 3 คือ โลโก้ กอทอง หมายเลข 4 คือ ขื่อของผลิตภัณฑ์ หมายเลข 5 คือ เลขใบจดแจ้ง 18-1-5600004 หมายเลข 6 คือ ราคา หมายเลข 7 คือ โลโก้ ศูนย์เรียนรู้กล่มุร่วมทุนวิสาหกิจชุมชน หมายเลข 8 คือ ขื่อของผลิตภัณฑ์ หมายเลข 9 คือ ข้อความคุณสมบัติ หมายเลข 10 คือ ที่อยู่ 166 หมู่1 บ้านแหลมทอง ตำ�บลหนองแซง อำ�เภอหันคา จังหวัดชัยนาท 17160 หมายเลข 11 คือ วัน/เดือน/ปีที่ผลิต
9 11
Swot Analysis วิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อนของสินค้า STRENGTHS
WEANESSES
OPPORTUNITES
THREATS
จุดแข็ง - ผลิตภัณฑ์เป็นวัสถุดิบมาจากถ่านไม้ไผ่ สิ่งเป็นผลิตภัณฑฺ์ จากธรรมชาติ - ผลิตภัณฑ์ปลอดสารพิษ - ส่วนประกอบของวัสดุดิบมีโอกาสเกิดผลช้างเคียงน้อย
จุดอ่อน - ขาดการพั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบรรจุ ภั ณ ฑ์ ไ ม่ มี ความเป็นเอกลักษณ์ - ก�ำลังการผลิตยังมีน้อย - ผู้ประกอบการขาดทักษะในการพัฒนาสินค้า
อุปสรรค โอกาส - เป็นผลิตภัณฑ์โอทอปที่หน่วยงานรัฐมีนโยบาลที่พร้อม - สิ น ค้ า มี คู ่ แ ข่ ง ทางการตลาดที่ เ ป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เดียวกันอยู่มาก ให้การสนับสนุน - ผลิตภัณฑ์มีศักยภาพที่จะปรับปรุงและพัฒนาเพิ่มมูลค่า ได้อีกมาก - ผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ป็ น สิ น ค้ า ของใช้ ที่ มี อ ยู ่ ใ นชี วิ ต ประจ� ำ วั น มี โอกาสและตลาดรองรับอยู่มาก
ส.2
สร้างสรรค์ตามสมติฐาน Resume
ขั้นตอนการสร้างสรรค์ตามสมติฐาน จากที่ได้ศึกษาจากรณีศึกษาเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาบรรจุภัฑณ์ผลิตภัณฑ์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ชา สมุนไพรรางแดง จังหวัดนนทบุรีจึงได้ข้อสรุปว่า ผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมที่พัฒนาในครั้งนี้ควรมีลักษณะของความเป็น ไทยมีสีสีนที่เรียบง่าย เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มบุคคลทั่วไป วัยรุ่น
ภาพที่ 4 ภาพจ่าเอกสมบัติ วิสูตรพันธุ์ แนะนําผลิตภัณ์ฑ์สบู่ถ่านไม้ไผ่ ( ที่มา : อานน วารินทร์ 2559 )
จากการศึกษาตัวผลิตภัณฑ์สามารถวิเคราะห์ปญหาที่เกิดขึ้นกับผลิตภัณฑ์ได้ดังนี้ 1. จุดบอดทางการมองเห็น-การสื่อสารได้แก่ 1.1. ภาพประกอบไม่มีความน่าสนใจ 1.2. ตัวฉลากยังไม่น่าดึงดูดพอ 1.3. Font ข้อความบนฉลากอ่านได้ยาก 1.4. บรรจุภัณฑ์ยังไม่น่าดึงดูด และไม่น่าสนใจ 1.5. บรรจุภัณฑ์ ยังมีข้อมูลไม่เพียงพอ
2. ความต้องการของผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการมึความต้องการให้ออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีความน่าสนใจน่าดึงดูดผู้บริโภคมากขึ้น และ สามารถนาไปวางขายในห้างสรรพสินค้าได้โดยให้มีกลิ่นอายของธรรมชาติและการอนุรักษ์ธรรมชาติ ต้องการชื่อ ผลิตภัณฑ์มีเอกลักษณ์ แปลก เห็นแล้วเกิดความสนใจ
ภาพที่ 5 Skecthdesign 1 ( ที่มา : อานน วารินทร์ 2559 )
ภาพที่ 6 Skecthdesign 2 ( ที่มา : อานน วารินทร์ 2559 )
ภาพที่ 7 แบบโลโก้ สบู่ถ่านไม่ไผ่ ( ที่มา : อานน วารินทร์ 2559 )
ส.3
สรุุปผล Result
Bamboo Charcoal
166 E
1 ma
l
cm
a o
17160 ho ma
ภาพที่ 8 แบบ pettern สบู่ถ่านไม่ไผ่ ( ที่มา : อานน วารินทร์ 2559 )
l
com
FRONT
BACK
TOP
LEFT SIDE AND RIGHT SIDE
ภาพที่ 9 แบบ pettern กล่องใหญ่สบู่ถ่านไม่ไผ่ ( ที่มา : อานน วารินทร์ 2559 )