พฤกษศิลป์ เฉลิมพระเกียรติ

Page 1

เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 83 พรรษา 5 ธันวาคม 2553

ISBN 978-974-286-845-1

CMYK

เฉลิมพระเกียรติ

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 83 พรรษา 5 ธันวาคม 2553

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


SW 2331-Cover F in-P24-PC7.indd 3

23/12/2553 20:20:40


20:57


SW 2331-Cover F in-P24-PC7.indd 5

23/12/2553 20:23:00


20:57


คําปรารภ ดวยสํานึ กในพระมหากรุ ณาธิคุ ณของพระบาทสมเด็จพระเจ าอยูหัว กระทรวงทรั พยากรธรรมชาติ และ สิง่ แวดลอม ไดจดั กิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั เนือ่ งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 83 พรรษา 5 ธันวาคม 2553 ในฐานะพระมหากษัตริยที่ทรงเปนนักวิทยาศาสตรโดยแท เปนตนแบบแหงการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม และการวาดภาพเปนศิลปะอีกประเภทหนึง่ ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทรงสน พระราชหฤทัย และไดทรงฝกฝนวาดภาพมาตัง้ แตยงั ทรงพระเยาว มีผลงานศิลปะใหพสกนิกรชาวไทยไดชนื่ ชมตลอดมา หนังสือพฤกษศิลป นอกจากจะแสดงถึงความสวยงามในศิลปะภาพวาดพรรณไม โดยการใชเทคนิคสีน้ํา และ สีไม ยังประกอบดวยขอมูลพรรณไมดานตางๆ ทั้งลักษณะทางพฤกษศาสตร การกระจายพันธุ และการใชประโยชน เพื่อใหบุคคลทั่วไปสามารถรับรูเรื่องราวของพรรณไมเหลานี้ ซึ่งลวนเปนพรรณไมพื้นเมืองที่พบในประเทศไทยทั้งหมด กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม คาดหวังวาจะเปนหนังสือที่ทรงคุณ คาทั้งทางดานศิลปะและดาน การอนุรกั ษพรรณพฤกษชาติไปพรอมๆ กัน อันจะกอใหเกิดความหวงแหน และเกิดจิตสํานึกแกบุคคลทั่วไปของการมี สวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อันเปนภารกิจหลักของหนวยงานภายใตสังกัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

(นายสุวิทย คุณกิตติ) รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

SW 2331-(7-9)-P17-New-PC7.indd 7

11/1/2554 17:23:20


คํานํา ภายใตกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 83 พรรษา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม โดยกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ไดจัดพิมพหนังสือ “พฤกษศิลป เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 83 พรรษา 5 ธันวาคม 2553” ในฐานะที่พระองคทรงดําเนินโครงการดานการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมายาวนาน ตลอดระยะเวลาแหงการครองราชย การรวบรวมพรรณพฤกษชาติที่มี คุณคาและมีความสวยงามของประเทศไทยในรูปแบบภาพวาดสีนาํ้ และสีไม แสดงถึงความงดงามทางศิลปะของพรรณไม ทีด่ เู ปนธรรมชาติ โดยทีบ่ คุ คลทัว่ ไปสามารถชืน่ ชมความงามและลักษณะของพรรณไมโดยไมตอ งมีความรูด า นพฤกษศาสตร แตอยางใด อันเปนการสํานึกถึงพระอัจฉริยภาพดานศิลปะของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ทีท่ รงแสดงใหเปนทีป่ ระจักษ แกสายตาบุคคลทั่วไปทั้งในประเทศและตางประเทศตลอดมา กระผมขอขอบคุณกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ที่ไดรวมกันจัดทําหนังสือพฤกษศิลปเลมนี้ และ คาดหวังวาจะกอใหเกิดความประทับใจขึ้นในเบื้องตนจากความสวยงาม ออนชอย เสมือนจริง ของภาพวาด แกบุคคล ทั่วไป นักเรียน นักศึกษา ตลอดจนเยาวชนของชาติ นําไปสูความสนใจดานพรรณไมมากขึ้น เปนสื่อที่มีคุณภาพในการ เสริมสรางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและมีความมุงมั่นที่จะรักษาไวใหเปนมรดกแกลูกหลานสืบไป

(นายโชติ ตราชู) ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

SW 2331-(7-9)-P17-New-PC7.indd 8

11/1/2554 17:18:02


บทนํา กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพ ชื ไดจดั พิมพหนังสือ “พฤกษศิลป” โดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 83 พรรษา 5 ธันวาคม 2553 เพื่อ แสดงถึงความสวยงามของศิลปะภาพวาดพรรณไม โดยการใชเทคนิคสีนา้ํ และสีไม ในรูปแบบภาพวาดทางพฤกษศาสตร โดยเนนถึงศิลปะภาพวาดพรรณไมเปนสําคัญ แตยังประกอบดวยคําบรรยายลักษณะเดนของพืชแตละชนิด ตลอดจน สัดสวนของภาพโดยประมาณ พรอมดวยขอมูลดานการกระจายพันธุ การใชประโยชน ตลอดจนเรื่องราวของพรรณไม ชนิดนั้นในดานตางๆ พอสังเขป โดยบุคคลทั่วไปสามารถรับรูเรื่องราวของพรรณไมตางๆ ที่ลวนเปนพรรณไมพื้นเมือง ของประเทศไทย พรอมอรรถรสดานความงามทางศิลปะ โดยเล็งเห็นวาการวาดภาพเปนศิลปะอีกประเภทที่พระบาท สมเด็จพระเจาอยูหัวทรงสนพระราชหฤทัย และไดทรงฝกฝนวาดภาพดวยพระองคเองมาตั้งแตทรงพระเยาว ภาพที่ ทรงวาดสวนมากจะเปนพระสาทิสลักษณของสมเด็จพระนางเจาสิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ สมเด็จพระเจาลูกยาเธอ และ สมเด็จพระเจาลูกเธอทุกพระองค ซึ่งจิตรกรรมฝพระหัตถสามารถแบงออกเปน 3 ลักษณะคือ ภาพแบบเหมือนจริง (Realist) แนวเอ็กซเพรสชั่นนิสต (Expressionist) และศิลปะแบบนามธรรม (Abstract) และเทคนิคที่ทรงใชมากคือ เทคนิคสีนา้ํ มันบนผาใบ ตอมาในป พ.ศ. 2508 มหาวิทยาลัยศิลปากรจึงไดทลู เกลาฯ ถวายปริญญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาจิตรกรรม พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเปนศิลปนโดยแท และโปรดในงานของศิลปนผูอื่นเสมอ นอกจากนั้น ยังทรงมีพระราชดําริเกีย่ วเนือ่ งกับการอนุรกั ษพนั ธุไ ม โดยเฉพาะตนยางนาทีท่ รงพระกรุณาโปรดเกลาใหทดลองปลูกใน พระตําหนักจิตรลดารโหฐานตั้งแตป พ.ศ. 2504 และทรงเปน ผูใฝศึกษาหาความรูดานวิทยาศาสตรอยางสม่ําเสมอ หนังสือภาพวาดทางพฤกษศาสตรเลมนีจ้ งึ เปนการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ในฐานะพระมหากษัตริย ทีท่ รงเปนนักวิทยาศาสตร เปนตนแบบแหงการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมและมีผลงานศิลปะใหพสกนิกร ชาวไทยไดชื่นชมกันอยางทั่วถึง กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช โดย สํานักงานหอพรรณไม สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช จึงหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือเลมนี้จะบรรลุวัตถุประสงคดานศิลปะของพรรณไมไทยที่มีความสวยงาม ควรคูแกการ อนุรักษใหเปนสมบัติทางธรรมชาติที่มีคาของประเทศสืบไป เพื่อเปนการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่ทรงพระวิริยอุตสาหะ ตรากตรําบําเพ็ญพระราชกรณียกิจดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติตลอดมา

(นายสุนันต อรุณนพรัตน) อธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

SW 2331-(7-9)-P17-New-PC7.indd 9

11/1/2554 17:18:10


20:57


SW 2331-(5)-P21-Edit-PC7.indd 11

27/12/2553 22:17:22


ภาพไมปรากฏชื่อ เทคนิคสีน้ํามัน ทรงวาดเมื่อ ป พ.ศ. 2503 จากหนังสือ อัครศิลปน

SW 2331-(5)-P21-Edit-PC7.indd 12

5/1/2554 16:57:18


SW 2331-(5)-P21-Edit-PC7.indd 13

5/1/2554 16:57:27


สารบัญ หนา ประวัติความเปนมา หลักการวาดภาพทางพฤกษศาสตร เฟนบัวรัศมี เขากวาง เฟนหิรัญ สนสามใบ ขุนไม บอนเตากนปด ปาลมเจาเมืองตรัง มันเทียน วานแมยับ ดอกแตรวง กลวยบัว สิงโตขยุกขยุย กระตายหูลู เอื้องศรีอาคเนย สามรอยตอใหญ เตยชะงด หญาลอยลม หนอนตายหยาก กระเจียว กลวยจะกาหลวง หงสเหิน เปรียง กลาย มหาพรหมราชินี ยานนมควาย หยั่งสมุทร หญาพันเกลียว โมกราชินี นิ้วมือพระนารายณใบวน นกกระจิบ เทียนสวาง ดาดนภา สําเภาทอง หมันทะเล สายน้ําผึ้งใหญ กระทงลาย กําแพงเจ็ดชั้น เถากระดึงชาง เครือพุงหมู จันทรกลา แตงขน

SW 2331-(5)-P21-Edit-PC7.indd 14

2 15 26 28 30 32 34 36 38 40 42 44 46 48 50 52 54 56 58 60 62 64 66 68 70 72 74 76 78 80 82 84 86 88 90 92 94 96 98 100 102 104 106

Matonia pectinata R. Br. Platycerium ridleyi H. Christ. Pteris blumeana J. Agardh Pinus kesiya Royle ex Gordon Nageia wallichiana (C. Presl) Kuntze Ariopsis protanthera N.E. Br. Licuala peltata Roxb. ex Buch.-Ham. var. sumawongii Saw Dioscorea brevipetiolata Prain & Burkill Iris collettii Hook. f. Lilium primulinum Baker var. burmanicum Stearn Musa laterita Cheeseman Bulbophyllum dayanum Rchb. f. Diploprora truncata Rolfe ex Downie Sirindhornia monophylla (Collett & Hemsl.) H. A. Pedersen & Suksathan Vanilla pilifera Holttum Freycinetia javanica Blume Spinifex littoreus (Burm. f.) Merr. Stemona phyllantha Gagnep. Curcuma alismatifolia Gagnep. Globba winitii C. H. Wright Hedychium khaomaenense Picheansoonthon & Mokkamul Swintonia floribunda Griff. Mitrephora keithii Ridl. Mitrephora sirikitiae Weeras., Chalermglin & R. M. K. Saunders Uvaria grandiflora Roxb. ex Hornem var. grandiflora Amalocalyx microlobus Pierre ex Spire Ceropegia thailandica Meve Wrightia sirikitiae D. J. Middleton & Santisuk Schefflera poomae Esser & Jebb Aristolochia harmandiana Pierre ex Lecomte Impatiens cardiophylla Craib Begonia soluta Craib Radermachera boniana Dop Cordia subcordata Lam. Lonicera hildebrandtiana Collett & Hemsl. Celastrus paniculatus Willd. Salacia chinensis L. Argyreia lanceolata Choisy Argyreia leucantha Traiperm & Staples Merremia mammosa (Lour.) Hallier. f. Cucumis hystrix Chakrav.

27/12/2553 22:18:05


สารบัญ (ต่อ) หน้า บวบขน ส้าน ยางกราด ยางพลวง ชันหอย มะพลับทะเล ไคร้ย้อย เหง้าน้ำ�ทิพย์ กุหลาบแดง ประกายแสด หลุมพอทะเล มะค่าแต้ ใบสีทอง เสี้ยวพระวิหาร สร้อยสยาม สิรินธรวัลลี ขยัน อรพิม กันภัย ก่อข้าว ก่อดำ� ก่อสามเหลี่ยม เอื้องหงอนไก่ คำ�ปองแสด ชาม่วง นวลชมพู บัวทอง ดันหมี ทองแมว ซ้อหิน จิกทะเล กาฝากวงกลีบบัว มณฑาป่า โสมชบา หม้อแกงค่าง ตานเหลือง มะลิวัลย์เถา เสาวรสสยาม เข็มดอย ราชาวดีหลวง เมี่ยงหลวง เห็ดเบี้ย เห็ดถ้วยแชมเปญ

108 110 112 114 116 118 120 122 124 126 128 130 132 134 136 138 140 142 144 146 148 150 152 154 156 158 160 162 164 166 168 170 172 174 176 178 180 182 184 186 188 190 192

Sinobaijiania smitinandii W. J. de Wilde & Duyfjes Dillenia ovata Wall. ex Hook. f. & Thomson Dipterocarpus intricatus Dyer Dipterocarpus tuberculatus Roxb. Shorea macroptera Dyer Diospyros areolata King & Gamble Elaeocarpus grandiflorus Sm. Agapetes saxicola Craib Rhododendron simsii Planch. Mallotus kongkandae Welzen & Phattar. Intsia bijuga (Colebr.) Kuntze Sindora siamensis Teijsm. & Miq. Bauhinia aureifolia K. Larsen & S. S. Larsen Bauhinia saigonensis Pierre ex Gagnep. var. gagnepainiana K. Larsen & S. S. Larsen Bauhinia siamensis K. Larsen & S. S. Larsen Bauhinia sirindhorniae K. Larsen & S. S. Larsen Bauhinia strychnifolia Craib Bauhinia winitii Craib Afgekia sericea Craib Castanopsis inermis (Lindl. ex Wall.) Benth. & Hook. f. Lithocarpus lucidus (Roxb.) Rehder Trigonobalanus doichangensis (A. Camus) Forman Aeschynanthus fulgens Wall. ex R. Br. Ridleyandra flammea (Ridl.) A. Weber Trisepalum glanduliferum (Barnett) B. L. Burtt Rhodoleia championii Hook. f. Hypericum hookerianum Wight & Arn. Gonocaryum lobbianum (Miers) Kurz Gmelina elliptica Sm. Gmelina racemosa (Lour.) Merr. Barringtonia asiatica (L.) Kurz Tolypanthus pustulatus Barlow Magnolia garrettii (Craib) V. S. Kumar Abelmoschus sagittifolius (Kurz) Merr. Nepenthes ampullaria Jack Ochna integerrima (Lour.) Merr. Jasminum siamense Craib Passiflora siamica Craib Duperrea pavettifolia Pit. Buddleja macrostachya Wall. ex Blume Polyspora axillaris (Roxb. ex Ker Gawl.) Sweet ex G. Don Chaetocalathus columellifer (Berk.) Singer Cookeina sulcipes (Berk.) Kuntze


ภาพวาดทางพฤกษศาสตร Botanical Illustration

าพวาดทางพฤกษศาสตรหรือภาพวาดพรรณไม คืองานจิตรกรรม หรือภาพเขียน ที่นําเสนอรูปทรง สี รายละเอียดของพืชแตละชนิด โดยสวนใหญเปนภาพลายเสนขาวดําหรือภาพสีน้ํา นิยมพิมพเผยแพร รวมกับการบรรยายลักษณะรูปพรรณของพรรณไมในหนังสือ วารสาร และสิ่งพิมพอื่น ๆ ซึ่งตองอาศัยความรูดานสัณฐานและกายวิภาคของ พืช ตัวอยางพรรณไมทั้งสดและอัดแหง พรอมเอกสารอางอิงตางๆ และ ความรวมมือของนักพฤกษศาสตร เพื่อแสดงลักษณะเดนสวนตางๆ ของ พืช จนสามารถระบุไดวาเปนพืชชนิดใด แตกตางจากพืชชนิดอื่นอยางไร และยังมีความสวยงามทางศิลปะสมจริงอีกดวย ภาพวาดสวนใหญมักมี ขนาดเทาของจริงหรือเปนภาพยอหรือขยายที่มีสัดสวนกํากับไว ดังนั้น ภาพวาดทางพฤกษศาสตรโดยทั่วไปจะมีองคประกอบเพียง 4 อยาง ไดแก ภาพพรรณไม ชื่อพรรณไม มาตราสวน และชื่อจิตรกร 1

SW 2331-(5)-P21-Edit-PC7.indd intro1

27/12/2553 22:19:28


ประวั​ัติความเปนมา ยุคกรีกโบราณ ภาพวาดทางพฤกษศาสตร มีประวัติความเปนมาเชนเดียวกับการศึกษาดาน พฤกษศาสตร เริ่มตั้งแตมนุษยเริ่มเรียนรูการใชประโยชนพืช พืชสมุนไพร พืชกินได หรือพืชที่เปนพิษ โดยการบันทึกสวนตางๆ ของพืชเปนภาพวาดในรูปแบบตางๆ ตั้งแตสมัยอียิปตและกรีกโบราณ ตามผนังกําแพง เครื่องปนดินเผา กระดาษ หรือ หนังสัตวขัดมันที่เรียกวา vellum ผลงานภาพวาดทางพฤกษศาสตรชิ้นสําคัญที่มีอายุ เกาแกที่สุดที่ยังคงสภาพถึงปจจุบันคือ De Materia Medica หรือ Regarding Medical Matters เขียนโดย Pedanius Dioscorides นายแพทยและนักปรุงยา สมุนไพรในสมัยกรีกโบราณ ในราว 40–90 ปกอนคริสตกาลหรือคริสตศตวรรษที่ 1 ซึ่งมีความสําคัญไมเฉพาะดานพืชสมุนไพร แตยังใหประโยชนความรูเรื่องพืชและ การใชประโยชนดานอื่นๆ กวา 600 ชนิด พรอมภาพวาดประกอบจํานวนมาก ตอ มาภายหลังไดรับการคัดลอก และแปลเปนภาษาตางๆ หลายครั้งทั้งในอิตาลี สเปน และกลุมประเทศอาหรับ ตอเนื่องมาจนถึงในราวคริสตศตวรรษที่ 16 หนังสือ

ผลงานภาพวาดทางพฤกษศาสตร ของ Crateuas 2 SW 2331-Cover F in-P24-PC7.indd intro2

23/12/2553 20:36:40


หนังสือ De Materia Medica ของ Pedanius Dioscorides

ดังกลาวยังไดกลาวถึง Crateuas (Krateuas) นักพฤกษเภสัชยุค 120–63 ป กอนคริสตกาล ในสมัยของกษัตริย Mithridates VI Eupator ผูป กครอง แผนดินเอเชียไมเนอร และยกยองวาเปนผูวาดภาพประกอบขอมูลพืช สมุนไพรที่เปนภาษาลาตินและกรีกโบราณเปนคนแรก กลาวไดวา Crateuas เปนบิดาของการวาดภาพทางพฤกษศาสตรโดยแท โดยไดรบั เกียรตินํามาตั้งเปนชื่อพืชสกุล Crateva ในเวลาตอมา สวน Pedanius Dioscorides ไดรับเกียรตินํามาตั้งเปนชื่อพืชสกุล Dioscorea

ยุคฟนฟูศิลปวิทยา ในยุคตอมา โดยเฉพาะในราวกลางคริสตศตวรรษที่ 15–16 การ ศึกษาดานพฤกษศาสตรเปนระบบมากขึ้น แตในเบื้องตนยังใชศึกษา พื ช สมุ น ไพรเพื่ อ ใช เ ป น ยารั ก ษาโรคเป น หลั ก บุ ค คลที่ มี ชื่ อ เสี ย งที่ ศึกษาดานพืชสมุนไพร เปนนายแพทย (physicians) มีหลายคน เชน Carolus Clusius (ค.ศ. 1526–1609) ชาวออสเตรีย ไดรับเกียรติตั้ง เปนชื่อพืชสกุล Clusia Matthias de L’Obel ชาวฝรั่งเศส ไดรับเกียรติ ตั้งเปนชื่อพืชสกุล Lobelia และ Willum Turner ชาวอังกฤษ ผูร เิ ริม่ เขียน ผลงานเปนภาษาอังกฤษ จนไดรับการยกยองวาเปนบิดาของวงการ พฤกษศาสตรที่เปนภาษาอังกฤษ หรือ Father of English Botany 3 SW 2331-(5)-P21-Edit-PC7.indd intro3

27/12/2553 22:23:06


ในยุคนี้เปนยุคฟนฟูศิลปวิทยา หรือยุคเรอเนสซองซ (Renaissance) อันเปนจุดเริ่มตนของการฟนฟูศิลปวัฒนธรรมรวมทั้งเทคโนโลยี และ วิทยาศาสตร โดยเฉพาะในอิตาลีที่มีจิตรกรวาดภาพผูยิ่งใหญหลาย คนเชน Leonardo da Vinci และ Michelangelo Buonarroti เปนตน แตสวนใหญเปนภาพสีน้ํามัน สวนผูบุกเบิกการใชสีน้ําเปนจิตรกรชาว เยอรมัน คือ Albrecht Durer ซึ่งมีลูกศิษยที่วาดภาพทางพฤกษศาสตร ที่มีชื่อเสียงคือ Hans Weiditz เปนผูวาดภาพพรรณไมประกอบใน หนังสือ Herbarum Vivae Eicones (Living Portraits of Plants) ของ Otto Brunfels ตีพิมพเมื่อป ค.ศ. 1530 นอกจากนี้ยังมีผลงานของ Leonard Fuchs ในหนังสือ De Historia Stirpum Commentarii Insignes (Notable Commentaries on the History of Plants) ที่มี จิตรกรชื่อ Albert Meyer เปนผูวาดภาพประกอบ ทําใหการวาดภาพ ทางพฤกษศาสตรเริม่ มีคณ ุ คาและมีความสําคัญในการจัดพิมพหนังสือ ดานพรรณพฤกษชาติมากยิ่งขึ้น

ภาพพรรณไมในหนังสือ Herbarum Vivae Eicones ของ Otto Brunfels

การศึ ก ษาด า นพฤกษศาสตร ใ นยุ ค ฟ น ฟู ศิ ล ปวิ ท ยามี ค วาม กาวหนามาก ไดมีการเก็บตัวอยางพรรณไมอัดแหงไวในพิพิธภัณฑ รูปแบบหอพรรณไม ซึ่งเดิมเรียกกวา hortus hyemalis หมายถึง the winter garden หรือ hortus siccus ที่หมายถึง the dried garden แทนที่จะเปนการวาดภาพอยางเดียวหรือเก็บเปนตัวอยางพืชสดใน สวน อยางไรก็ตามการวาดภาพประกอบแสดงลักษณะตางๆ ของพืช แตละชนิดยังเปนที่นิยม เพราะสามารถรวบรวมตัวอยางจากหลาย ตัวอยางใหมาประกอบขึ้นเปนภาพเดียวกัน และยังแสดงสีสันและ ภาพขยายสวนที่สําคัญของพืชพรอมมาตราสวนไดอีกดวย นอกจาก การวาดภาพลายเสนและภาพสีน้ํา ภาพพิมพจากแมพิมพไม หรือ woodcut ก็เปนที่นิยมในชวงปลายคริสตศตวรรษที่ 16 จิตรกรภาพ วาดทางพฤกษศาสตรที่มีชื่อเสียงไดแก Nicolas Robert (ค.ศ. 1614– 1685) ชางเขียนชาวฝรั่งเศสของราชสํานักของพระเจาหลุยสที่ 14 นอกจากนี้ยังมีนักพฤกษศาสตรที่มีผลงานและมีภาพวาดพรรณไม ประกอบงานเขียน ซึ่งนักพฤกษศาสตรเหลานี้สวนใหญทํางานในสวน พฤกษชาติตางๆ ในยุโรป เชน John Gerrard (ค.ศ. 1545–1611) ชาว อังกฤษ เจาของผลงานหนังสือเรื่อง Gerrard’s Herball และ Basillus Besler (ค.ศ. 1561–1629) ชาวเยอรมัน เจาของผลงานหนังสือเรื่อง Hortus Eystettensis เปนตน

4 SW 2331-Cover F in-P24-PC7.indd intro4

23/12/2553 20:37:31


ระบบการจําแนกพืชของ Linnaeus ในป ค.ศ. 1753 Carl Linnaeus (ค.ศ. 1707–1778) นักพฤกษศาสตร และ นักสัตวศาสตร ชาวสวีเดน ไดตีพิมพหนังสือ Systema Naturae และ Species Plantarum เสนอการจําแนกพืชโดยใชระบบลักษณะของเพศ โดยเฉพาะลักษณะ ของเกสรเพศผู และไดรวบรวมชื่อพืชจํานวนมากไวเปนหมวดหมูอยางเปนระบบ นักวาดภาพทางพฤกษศาสตรที่ควรกลาวถึงในยุคนี้คือ Georg Dionysius Ehret (ค.ศ. 1707–1770) นักพฤกษศาสตรชาวเยอรมัน ไดรับเกียรติตั้งเปนชื่อพืชสกุล Ehretia ซึ่งอาจกลาวไดวาเปนปรมาจารยแหงการวาดภาพทางพฤกษศาสตร (the greatest of all botanical illustrators) ไดวาดภาพลักษณะของเกสรเพศผูตามระบบ ลักษณะของเพศของ Linnaeus ในป ค.ศ. 1736 ซึ่งภาพวาดทางพฤกษศาสตรใน ยุคตอมามีความสําคัญและแสดงรายละเอียดของลักษณะเพศตามระบบของ Linnaeus รวมถึงระบบการใชตัวอยางตนแบบ (type) ดวย

หนังสือ Species Plantarum ของ Carl Linnaeus (ซาย) และภาพลักษณะของเกสรเพศผูต ามระบบของ Linnaeus วาดโดย Georg Dionysius Ehret (ขวา)

5 SW 2331-Cover F in-P24-PC7.indd intro5

23/12/2553 20:37:41


ยุคลาอาณานิคม ในยุคลาอาณานิคม มีการพบพืชพรรณใหมมากมายในตางแดน สวนมากมี การนํากลับไปสูประเทศผูลาอาณานิคมในรูปแบบตัวอยางพรรณไมอัดแหงหรือ พรรณไมสด นอกจากนี้ยังมีการเก็บขอมูลพืชดวยการบันทึกเปนภาพวาดโดยนัก พฤกษศาสตรเองหรือใหจิตรกรเปนผูวาด การวาดภาพพรรณไมเหลานี้เปนแนวทาง หนึ่งที่แสดงใหชาวยุโรปทราบถึงลักษณะพืชแตละชนิด และดวยเหตุผลที่การจะนํา ตัวอยางพรรณไมกลับไปยังประเทศผูลาอาณานิคมเปนไปดวยความยากลําบาก และตัวอยางจํานวนมากถูกทําลายดวยความชื้นหรือแมลง หรือสูญหายในระหวาง การขนสงไดงาย จึงมีภาพวาดทางพฤกษศาสตรเกิดขึ้นเปนจํานวนมากสําหรับเปน หลักฐานอางอิง บุคคลที่ควรกลาวถึงคือ Sir Joseph Banks (ค.ศ. 1743–1820) นักพฤกษศาสตรและนักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษ (ไดรับเกียรติตั้งเปนชื่อสกุล Banksia สกุลพืชถิ่นเดียวของออสเตรเลีย) ที่รวมเดินทางไปทั่วโลกกับ Captain James Cook นั ก สํ า รวจที่ มี ชื่ อ เสี ย ง พร อ มด ว ยจิ ต รกรที่ ช ว ยในการวาดภาพ พรรณไมระหวางการสํารวจ และนําตัวอยางพืชสดมาปลูกที่สวนพฤกษศาสตรคิว กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะพรรณไมพื้นเมืองของ ออสเตรเลียและแอฟริกา และยังไดจางจิตรกรอีกหลายคนวาดภาพประกอบพืช ตางๆ ที่ไมไดวาดระหวางการสํารวจ เชนจาง Sydney Parkinson จิตรกรชาวสกอต

ตัวอยางภาพวาดทางพฤกษศาสตรโดย Georg Dionysius Ehret ไดแก มะพราว สับปะรด และกลวย ตามลําดับ

6 SW 2331-Cover F in-P24-PC7.indd intro6

23/12/2553 20:37:55


ภาพวาดสี น้ํ า Banksia serrata โดย Sydney Parkinson (ซาย) และ กลวยผา Ensete superbum m จากหนังสือ Plants of the Coast of Coromandel เลม 3 ในป ค.ศ. 1819 (ขวา)

นักพฤกษศาสตรอีกคนหนึ่งที่สมควรกลาวถึงในดานการวาดภาพทางพฤกษศาสตร คือ William Roxburgh (ค.ศ. 1751–1815) นักพฤกษศาสตรชาวสกอต บิดาแหง วงการพฤกษศาสตรอินเดีย ไดใหจิตรกรโดยเฉพาะชาวพื้นเมืองในอินเดียเปนผู วาดภาพประกอบพรรณไมจํานวนมาก ในชวงการสํารวจและศึกษาพรรณไมในสมัย ที่อังกฤษปกครองอินเดีย โดยเฉพาะภาพสีน้ํา ซึ่งมีมากถึง 2,572 ภาพที่ไดสงกลับ ประเทศอังกฤษในชวงป ค.ศ. 1790–1814 และกวา 500 ภาพ ไดตีพิมพเปนภาพ ประกอบการบรรยายลักษณะพรรณไมในหนังสือ Plants of the Coast of Coromandel เลม 1–3 ในป ค.ศ. 1795, 1802 และ 1819 กลาวไดวาในยุคคริสตศตวรรษ ที่ 17 เปนยุคที่การวาดภาพทางพฤกษศาสตรเปนที่นิยมอยางกวางขวางจากการ คนพบพรรณไมใหมจํานวนมากในประเทศอาณานิคม ซึ่งนักสํารวจพรรณไมไดนํา กลับไปสูประเทศในยุโรป โดยเฉพาะมีการจัดสรางสวนรวมพรรณไมในรูปแบบสวน พฤกษศาสตรมากขึ้น มีพรรณไมใหมๆ ที่นํามาปลูกเปนไมดอกไมประดับ มีสีสัน สวยงาม และเป น ที่ นิ ย มของชาวยุ โรปมากขึ้ น เช น เดี ย วกั บ งานภาพวาดทาง พฤกษศาสตร ที่ ไ ด แ พร ห ลายในยุ โ รป ต า งจากในสมั ย ก อ นที่ ภ าพวาดทาง พฤกษศาสตรเปนภาพประกอบในหนังสือพืชสมุนไพรเปนสวนใหญ

7 SW 2331-(5)-P21-Edit-PC7.indd intro7

27/12/2553 22:24:30


Curtis’s Botanical Magazine บุคคลอื่นๆ ที่สมควรไดรับการกลาวถึงในดานการวาดภาพทางพฤกษศาสตร ในยุคเดียวกันนี้ เชน Pierre-Joseph Redouté (ค.ศ. 1759–1840) นักพฤกษศาสตร และจิตรกรชาวเบลเยียม ไดวาดภาพพรรณไมกวา 2,100 ภาพ ประมาณ 1,800 ชนิด นอกจากนั้น Sir William Jackson Hooker (ค.ศ. 1785–1865) นักพฤกษศาสตร ชาวสกอต ซึ่งรวมมือกับจิตรกรชื่อ Walter Hood Fitch (ค.ศ. 1817–1892) ยังได ตีพิมพหนังสือพรรณไมที่มีชื่อเสียงพรอมภาพวาดทางพฤกษศาสตรประกอบอยาง ละเอียดหลายเลมเชน Exotica Flora, Icons Filicum และ Icons Plantarum ซึ่งได นําลงพิมพตอเนื่องในวารสารภาพวาดทางพฤกษศาสตรที่เกาแกและมีชื่อเสียง Curtis’s Botanical Magazine ที่เริ่มตีพิมพครั้งแรกในป ค.ศ. 1787 โดย William Curtis นักพฤกษศาสตรและกีฏวิทยาชาวอังกฤษ (ไดรับเกียรตินําไปตั้งเปนชื่อพืช สกุล Curtisia) นอกจากนี้ W. H. Fitch ยังไดขยายงานภาพวาดทางพฤกษศาสตร ของเขาอย า งต อ เนื่ อ งในงานเขี ย นของนั ก พฤกษศาสตร อี ก หลายคนในยุ ค นั้ น รวมถึง Sir Joseph Hooker (ค.ศ. 1817–1911) บุตรชายของ W. J. Hooker เปนนักพฤกษศาสตรผูมีชื่อเสียงอีกผูหนึ่งที่ไดเดินทางสํารวจพรรณไมทั่วโลกและ เปนเพื่อนสนิทของ Charles Darwin เจาของหนังสือ Origin of Species อันโดงดัง Hooker ยังไดจา งจิตรกรเพิม่ เพือ่ วาดภาพพรรณไมทไี่ ดจาก การสํารวจจํานวนมาก ในจํานวนนี้มีหลายภาพที่ Hooker เป น ผู ร า งภาพเอง และได ร วบรวมตี พิ ม พ เ ป น หนั ง สื อ หลายเลม เชน Rhododendrons of Sikkim-Himalaya ในป ค.ศ. 1849 และ ค.ศ. 1851 และ Illustration Himalayan Plants ในป ค.ศ. 1855 ซึ่งสวนใหญ W. H. Fitch เปนผูแตง เติมภาพของ Hooker ใหสมบูรณกอนที่จะตีพิมพ ในชวง คริสตศตวรรษที่ 18 ซึ่งงานพิมพมีการพัฒนามากขึ้น การ วาดภาพประกอบทางพฤกษศาสตรแพรหลายมากขึ้น โดย เฉพาะภาพวาดสี น้ํ า ที่ นิ ย มพิ ม พ ป ระกอบในหนั ง สื อ ผล งานการศึกษาดานพฤกษศาสตรตลอดมา แมเทคนิคดาน การถายภาพในสมั ยนั้นจะได รั บการพั ฒนามากขึ้ น แต เนื่องจากภาพวาดทางพฤกษศาสตรใหรายละเอียดที่ดีกวา บางครั้งก็ตีพิมพเฉพาะภาพวาดทางพฤกษศาสตรของพืช ชนิดใหมของโลก รวบรวมเปนเลม โดยเฉพาะในชวงคริสต ศตวรรษที่ 18 และ 19

ภาพ Rhododendron argenteum m โดย Walter Hood Fitch จาก หนังสือ Rhododendrons of Sikkim-Himalaya 8 SW 2331-Cover F in-P24-PC7.indd intro8

23/12/2553 20:38:51


Jackson Hooker และ Walter Hood Fitch

ประเทศอังกฤษผูนําดานภาพวาดสีนํา้ สําหรับนักวาดภาพทางพฤกษศาสตรในชวงคริสตศตวรรษที่ 19 จนถึงตน คริสตศตวรรษที่ 20 นี้มีจิตรกรหญิง 2 คนสมควรไดรับการกลาวถึง ไดแก Matilda Smith (ค.ศ. 1854–1926) ชาวอังกฤษ (ไดรับเกียรติตั้งเปนชื่อสกุล Smithiantha และ Smithiella) ผูวาดภาพลงใน Curtis’s Botanical Magazine ตอเนื่องกวา 40 ป และ Celia Rosser (เกิดในป ค.ศ. 1930) ชาวออสเตรเลีย ผูวาดภาพพืชในสกุล Banksia ทุกชนิด ในหนังสือ The Banksias จํานวน 3 เลม ตอเนื่องยาวนานถึง 25 ป โดยเริ่มวาดตั้งแตป ค.ศ. 1974 และตีพิมพเลมแรกในป ค.ศ. 1981 และยัง วาดตอเนื่องอีกเมื่อพืชในสกุลนี้ไดรับการตีพิมพเปนชนิดใหมของโลกเพิ่มเติม อยางไรก็ตามในยุคนี้และตอๆ มา กลาวไดวาอังกฤษเปนผูนําในดานการวาดภาพ ทางพฤกษศาสตรอยางแทจริง และเผยแพรผลงานภาพวาดทางพฤกษศาสตรให เปนที่รูจักไปทั่วโลก ประกอบกับการที่ประเทศอังกฤษไดรับการยกยองวาเปนผูนํา ดานภาพวาดสีน้ํา อีกทั้งยังเปนผูผลิตวัสดุอุปกรณที่ใชกับภาพวาดสีน้ําจําหนาย เปนที่รูจักกันไปทั่วโลก รวมทั้งในสหรัฐอเมริกา

9 SW 2331-(5)-P21-Edit-PC7.indd intro9

27/12/2553 22:25:12


ภาพวาดทางพฤกษศาสตรของพรรณไมตนแบบ อนึ่ง ในยุคคริสตศตวรรษที่ 16 และ 17 มีการตีพิมพพรรณไม ใหมของโลก (new taxa) จํานวนมาก โดยอางตัวอยางตนแบบ (type) ที่เปนภาพวาดทางพฤกษศาสตร และไดรับการยอมรับในการศึกษา ดานอนุกรมวิธานพืช เนื่องจากปญหาในการเก็บตัวอยางพรรณไม และการนํ า กลั บ ไปยั ง ประเทศของนั ก พฤกษศาสตร ใ นอดี ต ทํ า ให พรรณไมเหลานี้มีปรากฏเฉพาะที่เปนภาพวาดตนแบบ นอกจากนี้ยัง รวมถึงพืชที่มีขนาดเล็กที่ตองใชกลองจุลทรรศนในการศึกษา การวาด ภาพพืชเหลานี้สามารถแสดงรายละเอียดไดดีกวาแผนสไลดที่มีขนาด เล็ก ซึ่งการยอมรับใหเปนตัวอยางตนแบบดังกลาวตองเปนไปตามกฎ ของ International Code of Botanical Nomenclature (Vienna Code, 2006) ดังตัวอยางในภาพเปนของภาพวาดทางพฤกษศาสตรตนแบบ หรือ type illustration ของเฟนชนิด Lecanopteris pumila Blume จาก หนั ง สื อ Flora Javae ภาพที่ 94B ตี พิ ม พ ซํ้ า ในวารสาร Thai Forest Bulletin (Botany) ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช เลม 37 เมื่อป ค.ศ. 2009 วาเปนพืชพบใหม (new record) ของไทย และกลาวอางถึงภาพตัวอยางตนแบบดังกลาวที่ แสดงรายละเอียดครบถวนทั้งวิสัย (habit) ลักษณะของกลุมสปอร (sori) การเรียงเสนใบ (venation) และอับสปอร (sporangia) เปนไป ตามกฎ ICBN ในขอที่ 42.3 และ 42.4 ภาพ type illustration ของ Lecanopteris pumilaa Blume จาก หนังสือ Flora Javae ในป ค.ศ. 1851 ตีพิมพซ้ําในวารสาร Thai Forest Bulletin (Botany) เลมที่ 37 ป ค.ศ. 2009

ภาพวาดทางพฤกษศาสตร ในโลกตะวันออก ในซีกโลกตะวันออก กลาวกันวาการวาดภาพสีน้ําเฟองฟูใน ประเทศจี น สมั ย ราชวงศ ซุ ง (Sung Dynasty) โดยเฉพาะในสมั ย จักรพรรดิ Hui-Tsung (ค.ศ. 1082–1135) ที่มีชื่อเสียงในดานการวาด ภาพเปนอยางมาก จิตรกรชาวจีนมักนิยมวาดภาพนก สัตวตางๆ หรือ แมลง ประกอบกับภูเขา พรรณไมหรือตนไม เนื่องจากชนชาติจีนเชื่อ วาธรรมชาติเปนมารดาของสรรพสิ่งทั้งหลายในโลก จิตรกรชาวจีนได ชื่อวาเปนผูบุกเบิกสําคัญในการวาดภาพสีน้ํา ทั้งการวาดภาพสีน้ําบน กระดาษและผา ไหม กลา วได วา ส ง อิท ธิ พ ลมาสู ภ าพสี น้ํ า ในหลาย ประเทศของเอเชี ย รวมทั้ ง ญี่ ปุ น และไทย สํ า หรั บ ภาพวาดทาง พฤกษศาสตร ที่เ ป น วิ ท ยาศาสตร ม ากขึ้ น ตามแบบซี ก โลกตะวั น ตก ปรากฏในสมัยราชวงศหมิง (Ming Dynasty) เปนหนังสือสมุนไพรชื่อ Bencao Gangmu หรือ Compendium of Meteria Medicain เขียน โดยหมอสมุนไพรจีนที่มีชื่อเสียง Li Shi-zhen (ค.ศ. 1688) รวบรวม สมุนไพรที่เปนทั้งพืช สัตว และแรธาตุ ถือวาเปนตําราสมุนไพรจีน 10

SW 2331-(5)-P21-Edit-PC7.indd intro10

27/12/2553 22:27:45


โบราณที่สมบูรณที่สุดเลมหนึ่งของจีน สําหรับจิตรกรรมภาพวาดที่ เปนงานทางดานพฤกษศาสตรโดยเฉพาะ เริ่มปรากฏในศตวรรษที่ 19 โดยนักพฤกษศาสตรเปนผูพิมพหนังสือพรรณไมประกอบภาพลาย เสน ตอมาในป ค.ศ. 1983 มีการจัดตั้งสมาคม Chinese Botanical Artist และมี กิ จ กรรมเผยแพร ง านภาพวาดทางพฤกษศาสตร สู สาธารณชนมากขึ้น และในประเทศญี่ปุนก็มีการจัดตั้ง Japanese Society of Botanical Illustrations ขึ้นในป ค.ศ. 1991

บริษัท East India Company ในประเทศอินเดียและประเทศที่นับถือศาสนาอิสลามในแถบ เอเชียตะวันออก ภาพวาดสีน้ําสวนมากไดรับอิทธิพลมาจากประเทศ ตะวันตก โดยเฉพาะในอินเดียที่ไดวาจางจากนักวิทยาศาสตรชาว ตะวันตกเขามาสํารวจพรรณไมหรือสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เพื่อนําไปเผยแพร ตอไปในซีกโลกตะวันตกในยุคอาณานิคมของอังกฤษ โดยไดรับการ สนับสนุนจากบริษัท East India Company นักพฤกษศาสตรที่มีความ สําคัญดานการวาดภาพทางพฤกษศาสตรในอินเดีย ไดแก Nathaniel Wallich (ค.ศ. 1786–1854) นักพฤกษศาสตรเชื้อสายเดนมารก ผูชวย ของ William Roxburgh นักพฤกษศาสตรชาวอังกฤษของบริษัท East India Company ไดสํารวจและเก็บตัวอยางพรรณไมกวา 20,000 ชิ้น และได ร วบรวมตี พิ ม พ เ ป น เล ม ที่ รู จั ก กั น ดี ใ นแวดวงของนั ก พฤกษศาสตร คือ “Wallich Catalog” นอกจากนี้ยังไดตีพิมพหนังสือ ที่มีภาพวาดทางพฤกษศาสตรที่ไดวาจางจิตรกรพื้นเมืองของอินเดีย หลายคนอีก 2 เลม คือ Tentamen Florae Nepalensis Illustratae (เลม 1–2 ป ค.ศ. 1824–26) และ Plantae Asiaticae Rariores (เลม 1–3 ป ค.ศ. 1830–32) รวมถึงภาพโสกระยา (orchid tree) หรือ Amherstia nobilis Wall. ที่พบครั้งแรกในประเทศพมาโดย Wallich เอง

ภาพวาดสีนํ้า โสกระยา Amherstia nobiliss Wall. จาก หนังสือ Plantae Asiaticae Rariores เลม 1 (ค.ศ. 1830), plate 1–2

11 SW 2331-(5)-P21-Edit-PC7.indd intro11

27/12/2553 22:27:55


ความงดงามทางศิลปะของพรรณไม กล า วโดยสรุ ป ได ว า ภาพวาดทางพฤกษศาสตร เ ป น ภาพประกอบแสดง ลักษณะโครงสรางสวนตางๆ ของพรรณไม ภาพวาดที่เปนภาพลายเสนขาวดํา สามารถแสดงรายละเอียดลักษณะโครงสรางของพรรณไมไดอยางชัดเจน โดยเฉพาะ สวนขยายของลักษณะที่มีขนาดเล็กมาก (microscopic character) ที่ตองใชเลนส ขยายหรือกลองจุลทรรศน การตีพิมพพรรณไมใหมของโลกในปจจุบันยังนิยมใช ภาพลายเสนขาวดําแสดงรายละเอียดของลักษณะพืชประกอบทั้งสิ้น สวนภาพวาด สีของพรรณไมเกิดขึ้นจากความตองการแสดงสีสันที่เดนชัดของพรรณไม โดยที่ภาพ วาดลายเสนไมสามารถแสดงได โดยเฉพาะในยุคตนของอนุกรมวิธานพืช ตั้งแตป ค.ศ. 1753 ที่ Carl Linnaeus ไดเสนอระบบการจําแนกพืชโดยใชลักษณะเพศและ การตั้งชื่อวิทยาศาสตรเปนตนมา ยังไมปรากฏภาพถายสี แมแตภาพถายขาวดําก็ ยังอยูในระดับหองถายภาพในสถานที่เทานั้น เมื่อนักพฤกษศาสตรตองการบันทึก และแสดงลักษณะเดนที่เปนสีสันของพรรณไม จึงตองอาศัยจิตรกรแนววิจิตรศิลป มาวาดภาพพรรณไม โดยแสดงสีของใบ ดอก และผล โดยเฉพาะลายใบ ลายดอก หรือจุดประตางๆ ภาพวาดสีโดยเฉพาะสีน้ําในยุคตอมาจนถึงปจจุบันตองการแสดง ความงดงามทางศิลปะของพรรณไมที่มีลักษณะเดนสะดุดตาแกผูพบเห็น จนเกิด ความประทับใจขึ้นในเบื้องตน นําไปสูความสนใจรายละเอียดลักษณะปลีกยอยสวน ตางๆ ของพรรณไม ภาพวาดทางพฤกษศาสตรจึงเปนการวาดภาพประกอบการ ศึกษาพรรณไมอยางมีระบบ ถายทอดรายละเอียดลักษณะพรรณไมใหเสมือนจริง ทั้งขนาดและมาตราสวน ที่ชวยระบุชนิดของพรรณไมไดในเบื้องตน ภาพวาดจึง เลือกแสดงรายละเอียดสวนตางๆ ของพืชที่สําคัญ เพื่อประกอบผลงานการศึกษา วิจัยพรรณพืชไดชัดเจนมากขึ้น ทั้งดานกายวิภาค สัณฐาน และอนุกรมวิธาน ซึ่ง สวนมากนักพฤกษศาสตรเปนผูแนะนําหรือกํากับการวาดใหแกจิตรกร และจิตรกร จะเปนผูถายทอดความสวยงาม ออนชอย เสมือนจริง เปนไปตามหลักองคประกอบ ศิลป จิตรกรตองรูจ กั เทคนิคทีเ่ หมาะสมตอการนําเสนอ อีกทัง้ ตองมีการศึกษาขอมูล ดานตางๆ ของพืชอยางละเอียดเพื่อใหไดภาพที่สมจริงและบรรลุวัตถุประสงคใน การวาด

ศาสตราจารยศิลป พีระศรี กับหลักวิชาศิลปะในประเทศไทย กอนที่จะกลาวถึงภาพวาดทางพฤกษศาสตรของประเทศไทย ขอกลาวถึงงาน จิตรกรรมที่เปนสีน้ําตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันพอสังเขป คือ จิตรกรรมภาพสีน้ําของ ไทยสมัยเริ่มตนไดรับอิทธิพลจากทางตะวันตกที่ไดเขามามีบทบาทในสังคมไทย อยางเดนชัด โดยเริ่มตั้งแตในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาล ที่ 4 จิตรกรที่ไดรับอิทธิพลในการวาดภาพสีน้ําจากจิตรกรชาวอังกฤษที่เปนที่รูจัก กันดีในสมัยนี้ คือ ขรัวอินโขง ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา อยูหัว รัชกาลที่ 5 ที่ทรงชื่นชมศิลปะตะวันตกโดยเฉพาะศิลปะสมัยฟนฟูศิลปวิทยา 12 SW 2331-(5)-P21-Edit-PC7.indd intro12

27/12/2553 22:30:06


โดยมีสมเด็จเจาฟากรมขุนนริศรานุวัดติวงศ เปนนายชางประจําพระองค และเปน จิตรกรที่สามารถใชสีน้ําในการวาดภาพไดอยางดี และไดนําศิลปะตะวันตกมาปรับ รูปแบบใหเขากับสังคมแบบไทย ตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 ไดทรงสถาปนาโรงเรียนเพาะชางขึ้น อีกทั้งทรงสนพระทัย ในศิลปะภาพวาดสีน้ํา และยังไดทรงสงภาพฝพระหัตถในการประกวดภาพเขียน อีกดวย สวนโรงเรียนประณีตศิลปกรรมหรือมหาวิทยาลัยศิลปากรไดกอตั้งขึ้นใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 7 อันเปนชวงแหงการ เปลี่ยนแปลงการปกครองครั้งสําคัญของไทย และยังเปนชวงที่ศิลปะเริ่มพัฒนาเขา สูหลักวิชาศิลปะ ไดเริ่มมีการเรียนการสอนการใชสีน้ําอยางจริงจัง โดยเฉพาะใน สมัยที่ศาสตราจารยศิลป พีระศรี หรือ Corrado Feroci (คศ. 1892–1962) ชาว อิตาลี เปนอาจารยและเปนผูวางรากฐานการศึกษาศิลปะในประเทศไทย สําหรับ จิตรกรรมสีน้ําสมัยใหมไดพัฒนามาสูระบบการสอนและการสรางสรรคมาจนถึงยุค ปจจุบัน เกิดกลุมศิลปนรุนใหมๆ มากขึ้นและสถาบันศิลปะใหความสนใจการสอน สีน้ํามากขึ้นเชนเดียวกัน แตยังไมปรากฏการสอนการวาดภาพทางพฤกษศาสตร ขึ้นโดยเฉพาะ

ประวัติภาพวาดทางพฤกษศาสตรของไทย การวาดภาพทางพฤกษศาสตรของไทยคาดวาเริ่มพรอมๆ กับการสํารวจ พรรณไมในยุคแรกๆ โดยมี Englebert Kaempfer (ค.ศ. 1651–1716) นายแพทย

ภาพวาดไมผลตาง ๆ ที่ปรากฏ ในหนังสือ Du Royaume de Siam ของ Simon de la Loubére: ตนขนุน (ซาย), ตน มะมวง (กลาง) และตนกลวย (ขวา)

ชาวเยอรมัน (ไดรับเกียรตินําไปตั้งเปนชื่อพืชสกุล Kaempferia) ที่เดินทางเขามา สํารวจพรรณไมและพืชสมุนไพรกับพอคาชาวดัชท ในประเทศแถบเอเชียโดยเฉพาะ ญี่ปุน เมื่อราวป ค.ศ. 1690 ตรงกับสมัยกรุงศรีอยุธยา ในระหวางการเดินทางได แวะที่ประเทศไทย และไดบันทึกเรื่องราวตางๆ ของไทยรวมถึงพรรณไมที่มีการใช ประโยชน นับวาเปนชาวยุโรปคนแรกที่เขามาสํารวจและบันทึกขอมูลพรรณไมใน 13 SW 2331-(5)-P21-Edit-PC7.indd intro13

27/12/2553 22:30:30


ประเทศไทย นอกจากนี้ยังไดวาดภาพพรรณไมประกอบดวย เชน ภาพเปราะหอม หรือวานหอม Kaempferia galanga L. ซึ่งในหนังสือ “ขอเพียงแตเห็น” ของลลิตา โรจนกร จิตรกรภาพวาดทางพฤกษศาสตรอีกคนหนึ่งของไทย ระบุวาเปนภาพวาด ทางพฤกษศาสตรที่บันทึกภาพพรรณไมของไทยเปนภาพแรก ในยุคสมัยเดียวกัน นั้น ยังมีจดหมายเหตุสําคัญอีกฉบับหนึ่ง ไดแก หนังสือจดหมายเหตุ ลา ลูแบร ราช อาณาจักรสยาม หรือ Du Royaume de Siam ของ Simon de la Loubére ตีพิมพ เมื่อป ค.ศ. 1691 และฉบับแปลเปนภาษาอังกฤษ หรือ A New Historical Relation of the Kingdom of Siam ที่ตีพิมพในป ค.ศ. 1963 บันทึกเรื่องราวตางๆ ของ กรุงศรีอยุธยาในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช เชน การกสิกรรม ภูมิอากาศ ขนบธรรมเนียมประเพณี รวมทั้งพรรณนาถึงพรรณไมที่นํามาใชประโยชนโดยเฉพาะ ไมผล เชน กลวย ฝรั่ง ขนุน ทุเรียน มะขาม และมะมวง เปนตน พรอมมีภาพวาด ไม ผ ลเหล า นี้ ป ระกอบโดยใช ห มึ ก สี ดํ า และมี คํ า บรรยายสั้ น ๆ ในเนื้ อ หาของ จดหมายเหตุ

ภาพวาดทางพฤกษศาสตรของหอพรรณไม ภาพวาดทางพฤกษศาสตรของพรรณไมไทย สวนมากจะเปนภาพวาดลาย เสนขาวดําประกอบคําบรรยายลักษณะของพรรณไมตีพิมพลงในวารสารตางๆ ของ นักพฤกษศาสตรที่เดินทางเขามาสํารวจพรรณไมของไทยในอดีต หนังสือพรรณ พฤกษชาติที่เกาแกที่สุดของประเทศไทย ไดแก Flora of Koh Chang ตีพิมพในป ค.ศ. 1910–1916 โดย Johannes Schmidt (ค.ศ. 1877–1933) นักสมุทรศาสตร ชาวเดนมารก ซึ่งศึกษาครอบคลุมไปถึงกลุมพืช โดยไดรับความรวมมือจากนัก พฤกษศาสตรในประเทศทางตะวันตก แตภาพประกอบในหนังสือสวนใหญเปนภาพ สิ่งมีชีวิตในทะเลจําพวกพวกสาหรายและแพลงกตอนซึ่งมีขนาดเล็ก จึงตองใชภาพ ประกอบเพื่อแสดงรายละเอียดลักษณะตางๆ ตอมาไดมีการพิมพเผยแพรผลงาน ด า นพฤกษศาสตร โ ดยเฉพาะอย า งต อ เนื่ อ ง โดยมี ภ าพวาดทางพฤกษศาสตร ประกอบบ า ง แต ส ว นใหญ เ ป น ภาพลายเส น ขาวดํ า ในส ว นของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช (กรมปาไม เดิม) มีผลงานการวิจัยดาน พรรณไมที่มีภาพวาดทางพฤกษศาสตรตีพิมพประกอบเปนภาพแรกในวารสาร Thai Forest Bulletin (Botany) เลม 1 หนา 7 เรื่อง Identification keys to genera and species of the Dipterocarpaceae of Thailand โดย ศ.ดร.เต็ม สมิตินันทน ผูอํานวยการหอพรรณไมคนแรก ไดแก ภาพเต็งควน Shorea rogersiana Raizada & Smitinand (ชื่อยุติปจจุบันคือ Shorea laevis Ridl.) วาดโดยนางพูนทรัพย สิงหัษฐิต ชางเขียนประจําหอพรรณไม กลาวไดวาเปนภาพวาดทางพฤกษศาสตรที่ เปนวิทยาศาสตรภาพแรกของหอพรรณไม ตอมาหอพรรณไมไดตีพิมพหนังสือ พรรณพฤกษชาติของประเทศไทยเลมแรก ไดแก Flora of Thailand เลม 2 ตอน 1 มีภาพวาดลายเสนของพรรณไมวงศกุหลาบ (Rosaceae) ประกอบ วาดโดยจิตรกร 14 SW 2331-Cover F in-P24-PC7.indd intro14

23/12/2553 20:41:43


ภาพ Shorea rogersianaa Raizada & Smitinand (Shorea laeviss Ridl.) ภาพวาด ลายเสนภาพแรกที่ตีพิมพในวารสาร Thai Forest Bulletin (Botany) เลม 1 หนา 7 วาดโดยนางพูนทรัพย สิงหัษฐิต

ชาวฝรั่งเศส ภาพวาดทางพฤกษศาสตรจึงปรากฏเรื่อยมาควบคูกับผลงานวิจัยดาน พรรณพฤกษชาติ ทั้งในหนังสือ Flora of Thailand และวารสาร Thai Forest Bulletin (Botany) จนถึงปจจุบัน สําหรับงานภาพวาดทางพฤกษศาสตรที่เปนภาพ สีน้ํา เริ่มตนจากการออกแบบปกหนังสือพรรณพฤกษชาติของประเทศไทย ตั้งแต เลม 6 ตอน 4 เปนตนมา และยังไดจางจิตรกรภายนอกเปนผูวาดภาพเพื่อเผยแพร ออกสื่อทางเว็บไซตของหอพรรณไม และเปนการเผยแพรผลงานวิจัยดานอนุกรม วิธานพืชสูสาธารณชนมากขึ้น จิตรกรชาวไทย 6 ทานที่เกี่ยวของกับการวาดภาพทางพฤกษศาสตรของหอ พรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช บุคคลแรกไดแก นางพูนทรัพย สิงหัษฐิต ตําแหนงชางเขียนประจําหอพรรณไมรุนบุกเบิก ในชวงป พ.ศ. 2500– 2525 วาดภาพลายเสนขาวดําและภาพสีน้ําประกอบการศึกษาพรรณไมใหกับนัก 15

SW 2331-Cover F in-P24-PC7.indd intro15

23/12/2553 20:41:55


ภาพวาดสีน้ําสมอไทย Terminalia chebulaa Retz. และชมพูพวงหรือ หัสคุณเทศ Kleinhovia hospitaa L. โดยนางพูนทรัพย สิงหัษฐิต

พฤกษศาสตรในสมัยของศาสตราจารย ดร. เต็ม สมิตินันทน เปนผูอํานวยการหอพรรณไม บุคคลที่สอง นางอวยพร อาภาพิพัฒนกุล ตําแหนง ลูกจางประจํา วาดภาพลายเสนประกอบการศึกษาวิจัยดาน พรรณไมโดยเฉพาะเพื่อประกอบหนังสือสมุนไพร บุคคลที่ สามนางอรทัย เกิดแกว ตําแหนงชางศิลปประจําหอพรรณไม ในปจจุบนั ถนัดการวาดภาพลายเสนประกอบผลงานวิจยั ดาน อนุ ก รมวิ ธ านพื ช และวาดภาพสี น้ํ า บ า ง เพื่ อ ประกอบปก หนังสือพรรณพฤกษชาติของประเทศไทย บุคคลที่สี่นางสาว ปาจรีย อินทะชุบ อดีตผูชวยนักวิจัยของหอพรรณไม ปจจุบัน เปนขาราชการสังกัดกรมวิชาการเกษตร ถนัดวาดภาพลาย 16 SW 2331-Cover F in-P24-PC7.indd intro16

23/12/2553 20:42:10


ภาพวาดลายเสน Scaphium scaphigerum m (Wall. ex G. Don) G. Planch. โดยนางอรทัย เกิดแกว ตีพิมพในวารสาร Thai Forest Bulletin (Botany) เลมที่ 36 หนาที่ 66 (ซาย) ภาพวาดลายเสน Mallotus brevipetiolatuss Gage โดยนาง อาทิตย คํากําเนิด ตีพิมพในหนังสือ Flora of Thailand เลมที่ 8 ตอนที่ 2 หนา 392 (กลาง) และภาพวาดลายเสน Blinkworthia lycioidess Choisy โดยนางสาวปาจรีย อินทะชุบ ตีพิมพในหนังสือ Flora of Thailand เลมที่ 10 ตอนที่ 3 หนา 242 (ขวา)

ภาพปกหนังสือ Flora of Thailand เลม 7 ตอน 3 (ภาพ1) และเลม 8 ตอน 1 (ภาพ 2) วาดโดยนางอรทัย เกิดแกว ภาพปกหนังสือ Flora of Thailand เลม 10 ตอน 2 (ภาพ 3) วาดโดยนางสาวปาจรีย อินทะชุบ และเลม 10 ตอน 3 (ภาพ 4) วาดโดยนางธัญลักษณ สุนทรมัฎฐ

เสน แตไดเขารับการอบรมการวาดภาพทางพฤกษศาสตรโดยใชเทคนิคสีน้ํา ทําให มีภาพวาดสีน้ํามีรายละเอียดสูง และไดวาดภาพสีน้ําปกหนังสือพรรณพฤกษชาติ ของประเทศไทยหลายเลม บุคคลที่หานางอาทิตย คํากําเนิด ตําแหนงลูกจาง ของ หอพรรณไม วาดเฉพาะภาพลายเสนขาวดําประกอบงานวิจัย และบุคคลสุดทาย นางธัญลักษณ สุนทรมัฎฐ จิตรกรที่เคยทํางานใหเขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง สนใจวาดภาพนก ไดรับการติดตอจากหอพรรณไมใหวาดภาพพรรณไมโดยใชสีน้ํา เพื่อประกอบผลงานวิจัยและเผยแพรทางเว็บไซตของหอพรรณไมตั้งแตป พ.ศ. 2549 จนถึงปจจุบัน ผลงานลาสุดไดจัดพิมพในรูปแบบปฏิทินครบรอบ 80 ป หอพรรณไม ป พ.ศ. 2553 และเปนผูวาดภาพสวนใหญในหนังสือเลมนี้ โดยมี นักพฤกษศาสตรหอพรรณไมเปนผูคัดเลือกภาพ และกํากับดูแลการวาดภาพให เปนไปตามลักษณะทางพฤกษศาสตรที่ถูกตอง 17

SW 2331-(7-9)-P17-New-PC7.indd intro17

5/1/2554 14:54:38


ในประเทศไทย ผลงานทางดานภาพวาดทางพฤกษศาสตรยัง ไมเปนทีร่ ูจ กั และแพรหลายมากนัก เนือ่ งจากยังไมมกี ารเรียนการสอน อยางเปนระบบ นอกจากบางคนที่มีความสนใจสวนตัวเปนพื้นฐาน และมีทักษะในงานศิลปะ ประกอบกับมีใจรักในการทํางานภาพวาด ทางพฤกษศาสตร นอกจากนี้ในการศึกษาวิจัยดานพฤกษศาสตร นัก พฤกษศาสตรบางคนจําเปนตองวาดภาพพรรณไมแสดงรายละเอียด ลักษณะตางๆ ขึ้นเอง โดยเฉพาะภาพลายเสนเพื่อแสดงสวนตางๆ ของพืชไดอยางละเอียด ซึ่งสวนมากไมมีทักษะดานงานศิลปะ ดังนั้น หอพรรณไมจึงไดพัฒนาแนวทางการวาดภาพทางพฤกษศาสตรขึ้น อย า งจริ ง จั ง โดยให จิ ต รกรเป น ผู ว าด ภายใต ก ารแนะนํ า ของนั ก พฤกษศาสตร ทําใหไดภาพที่มีความสวยงามและแสดงรายละเอียด ทางดานพฤกษศาสตรครบถวน นอกจากนี้การใชสีน้ําในการวาดทําให ภาพมีความสวยงามดูเปนธรรมชาติมากขึ้น ทําใหผลงานแพรหลาย ในวงกวาง โดยที่บุคคลทั่วไปสามารถชื่นชมความงามของพรรณไม โดยไมตองมีความรูดานพฤกษศาสตรแตอยางใด

ปฏิทินครบรอบ 80 ป หอพรรณไม ป พ.ศ. 2553 แสดงภาพวาดทางพฤกษศาสตรโดยใชเทคนิคสีน้ํา โดยนางธัญลักษณ สุนทรมัฎฐ

18 SW 2331-Cover F in-P24-PC7.indd intro18

23/12/2553 20:43:56


เครือขายวิทยสานศิลป สําหรับภาพวาดทางพฤกษศาสตรโดยใชเทคนิคสีน้ํ าในสวน อื่นๆ ในประเทศไทย ไดปรากฏสูสาธารณชนผานงานแสดงภาพ การ พิมพเผยแพรในรูปปฏิทิน โปสการด หนังสือ หรือแสตมป โดยจิตรกร ที่นิยมชมชอบในการมองดอกไมหรือตนไมผานองคประกอบรูปทรง และสีสัน แตสวนมากไมใชหรือเกี่ยวของกับนักพฤกษศาสตร จิตรกร ภาพวาดเหลานี้จะเนนความสวยงามสมจริง และมีบางคนที่ไดเรียนรู เพิ่มเติมในการวาดภาพพรรณไมในแนวพฤกษศาสตร เชน อาจารย พันธุศักดิ์ จักกะพาก ที่ใชความประณีตวาดภาพพรรณไมที่มีราย ละเอียดสูง ซึ่งอาจารยพันธุศักดิ์เคยกลาวไววา “ดอกไม” เปนแรง บันดาลใจในการวาดรูปตั้งแตเด็ก และมักจะวาดจากตนจริง คุณ เอกชัย ออดอําไพ คุณสมพล ศรีรอดบาง และคุณลลิตา โรจนกร ซึ่ง ลวนมีความเชี่ยวชาญวาดภาพกลวยไม เปนตน นอกจากนี้ยังมีจติ รกร นักธรรมชาติวิทยา และนักวิทยาศาสตร ที่รวมกลุมกันตั้งเปนเครือ ขายวิทยสานศิลป (Sci-Art Network) (ชื่อเดิมคือ Natural Scientific Illustrator Guild of Thailand) ในป พ.ศ. 2542 เพื่อเปนเครือขายของ ผูวาดภาพทางวิทยาศาสตรทั้งพืช สัตว และแมลง ในการสงเสริมและ พัฒนาบุคลากรดานนี้ ตลอดจนใหภาพวาดทางวิทยาศาสตรเปนสื่อ เพื่อเสริมสรางการอนุรักษธรรมชาติ โดยมีอาจารย ดร.ศศิวิมล แสวง ผล อาจารย ป ระจํ า ภาควิ ช าพฤกษศาสตร คณะวิ ท ยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล เปนประธานเครือขาย โดยเปนผูริเริ่มบุกเบิกการ เรี ย นการสอน การฝ ก อบรมการวาดภาพทางพฤกษศาสตร ใ น ประเทศไทย และยังมีกิจกรรมอยางตอเนื่องแพรหลายสูสาธารณชน ตั้งแตในระยะแรกเมื่อป พ.ศ. 2542 เปนตนมา โดยเฉพาะกับเยาวชน ตลอดมาจนถึงปจจุบัน กิจกรรมการวาดภาพพฤกษศาสตรไดรับการ สนับสนุนอยางดียิ่ง จากโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมา จากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีฯ ใหรวมสนองพระราชดําริ โดยจัดใหมีการอบรมการวาดภาพพรรณไม แกครูและนักเรียนในโครงการฯ อยางสม่ําเสมอ สมาชิกเครือขาย (บน) การอบรมการวาดภาพ วิทยาศาสตรใหแกเยาวชนและบุคคลทั่วไป (ขวา)

19 SW 2331-Cover F in-P24-PC7.indd intro19

23/12/2553 20:44:09


หลักการวาดภาพทางพฤกษศาสตร ในการวาดภาพทางพฤกษศาสตร นักพฤกษศาสตรและจิตรกรผูวาดภาพทาง พฤกษศาสตรควรเรียนรูถึงลักษณะเดนๆ ของพืชในแตละกลุมที่จะวาด รวมถึง ลักษณะที่สําคัญทางพฤกษศาสตรตางๆ เชน ราก ลําตน เปลือก ชนิดของใบ ใบ ประดับ ดอก ชอดอก ผล ชอผล ตลอดจนเมล็ด เพื่อเลือกเทคนิคที่จะใชวาดภาพ ใหเหมาะสม ตามหลักวิทยาศาสตรซึ่งมีรายละเอียดและขั้นตอนโดยสังเขป คือ • เตรี ย มการวาดภาพลายเส น ขาวดํ า หรื อ ภาพสี แ ล ว แต วั ต ถุ ป ระสงค ของการนําไปใช รวมถึงการกําหนดขนาดภาพ พรอมมาตราสวนที่จะใชใหถูกตอง พรรณไมที่วาดอาจเปนตัวอยางพรรณไมอัดแหง ตัวอยางสด หรือภาพถายสี • ศึกษาขอมูลตัวอยางพรรณไมหรือภาพพรรณไมที่จะวาด ภายใตคําแนะนํา ของนักพฤกษศาสตรผูเชี่ยวชาญพืชกลุมนั้นๆ เพื่อแสดงรายละเอียดสวนสําคัญ ของพรรณไมไดครบถวน พรอมชื่อพฤกษศาสตรที่ถูกตอง • รางภาพในมาตราสวนที่ถูกตอง ดวยการวัดขนาด แลววางตําแหนงของ ภาพทั้ ง ภาพหลั ก และภาพย อ ยประกอบหรื อ ส ว นขยาย (ถ า มี ) ตามวิ สั ย ของ พรรณไมในธรรมชาติ • เพิ่มเติมรายละเอียดลักษณะพรรณไม สี และแสงเงา • ตรวจสอบความถูกตองของภาพวาดขั้นสุดทาย รวมกับนักพฤกษศาสตร วันที่วาดเสร็จสมบูรณ และลายมือชื่อของผูวาด ภาพวาดทางพฤกษศาสตรในหนังสือเลมนี้ มีคําบรรยายโดยยอลักษณะทาง พฤกษศาสตรที่สําคัญของสกุลและชนิดที่วาด ขอมูลการกระจายพันธุ บางชนิดมี การใชประโยชนและเรื่องราวตางๆ ที่นาสนใจประกอบ เพื่อใหบุคคลทั่วไปที่ไมใช นักพฤกษศาสตรสามารถเขาใจพืชกลุมตางๆ ไดในเบื้องตน และเพิ่มอรรถรสดาน ความงามทางศิลปะของภาพวาดทางพฤกษศาสตรใหมีคุณคามากขึ้น ขอมูลสวน ใหญไดมาจากหนังสือพรรณพฤกษชาติของประเทศไทย หรือ Flora of Thailand และหนังสือพรรณพฤกษชาติของประเทศใกลเคียง เชน Flora Malesiana และ Flora of China เปนตน บางสวนไดจากขอมูลบนเว็บไซตที่มีอยูมากมาย สําหรับ การจําแนกพรรณไมออกเปนวงศตางๆ จะอางอิงโดยใชหลักการวิวัฒนาการที่ทัน สมัย โดยเฉพาะจากเว็บไซต Angiosperm Phylogeny หรือ APweb การบรรยาย ลักษณะทางพฤกษศาสตรแตละชนิด นอกจากมีวัตถุประสงคหลักเพื่อใหรูจักชนิด พรรณไม ที่ ว าดในเบื้ อ งต น ยั ง เป น การบอกสั ด ส ว นคร า วๆ ของภาพวาดทาง พฤกษศาสตรอีกดวย เนื่องจากภาพวาดในหนังสือเลมนี้สวนใหญเปนการวาดจาก ภาพถาย ไมใชจากตนจริงในธรรมชาติ การแสดงมาตราสวนจึงเปนเรื่องยาก ดังนั้น ขนาดตางๆ ของใบ ดอก ผล หรือสวนตางๆ ที่สําคัญที่ปรากฏในคําบรรยาย จึง เปนการแสดงสัดสวนของภาพแทนมาตราสวน 20 SW 2331-Cover F in-P24-PC7.indd intro20

23/12/2553 20:44:41


ตัวอยางพืชในกลุม magnolids มณฑาดอย Magnolia garrettii (Craib) V. S. Kumar วงศ Magnoliaceae

ตัวอยางเห็ด fungi เห็ดแชมเปญ Cookeina sulcipess (Berk.) Kuntze (ภาพซาย) และตัวอยางพืช ในกลุม monocots บอนเตากนปด Ariopsis protantheraa N. E. Br. (ภาพขวา)

ภาพวาดพรรณไมมีจํานวนทั้งสิ้น 84 ภาพ ครอบคลุมสิ่งมีชีวิต 2 อาณาจักร ไดแก อาณาจักรเห็ดรา หรือ Fungi kingdom และ อาณาจักรพืช หรือ Plant kingdom สวนเห็ดจัดอยูในอาณาจักรแยก จากอาณาจักรพืช อาณาจักรสัตว และอาณาจักรแบคทีเรีย จาก ลักษณะสําคัญที่ผนังเซลลของพวกเห็ดรามีไคทิน (chitin) เปนสวน ประกอบ สวนอาณาจักรพืชผนังเซลลมีเซลลูโลส เปนสวนประกอบ อาณาจักรเห็ดราคาดวามีจํานวนมากกวา 1.5 ลาน ชนิด จํานวนนี้มี เพียงรอยละ 5 หรือประมาณ 100,000 ชนิด ที่ไดรับการระบุชื่อตาม หลักวิชาการแลว เห็ดราเปนสิ่งที่มีชีวิตที่มีประโยชนมากมาย ทั้งเปน อาหาร ยารักษาโรค ใชควบคุมและกําจัดศัตรูพืช และเปนสิ่งมีชิวิตที่มี ความสําคัญและจําเปนในระบบนิเวศ โดยเฉพาะการมีความสัมพันธ แบบพึ่งพาอาศัยกัน (symbiosis) กับพืชตางๆ เชน เชื้อราไมคอรไรซา เปนตน สําหรับ อาณาจักรพืช โดยทั่วไปแลวหมายถึงสิ่งมีชีวิตจําพวก ไมตน ไมพุม ไมลมลุก ไมเถา เฟน มอส ตลอดจนสาหรายสีเขียว มี 2 กลุมใหญๆ คือ พืชไรดอกและพืชดอก พืชไรดอกมีพืชกลุมเฟน (ferns) และพืชเมล็ดเปลือย (gymnosperms) สวนพืชดอกหรือ angiosperms แบงเปนประเภทใหญๆ ได 4 ประเภท คือ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว (monocotyledons) พืชพวกแมกโนเลีย (magnolids) พืชใบเลีย้ งคูแ ท (eudicots) และประเภทสุดทายคือพืชทีจ่ ดั ในกลุม บรรพบุรษุ ของพืชดอกในแผนผัง การวิวฒ ั นาการ หรือกลุม basal angiosperms เชนพืชวงศบวั เผือ่ น หรือ บัวสาย Nymphaeaceae เปนตน อยางไรก็ตาม เพื่อไมใหเกิดความ สับสน หนังสือพฤกษศิลปเลมนี้ไดแยกกลุมพืชอยางกวางๆ ออกเปน เพียงพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและพืชใบเลี้ยงคู นอกจากนี้ยังไดเรียงลําดับภาพ วาดตามระบบการจําแนกดังกลาว สวนพืชภายในกลุมตางๆ เรียงตาม วงศ สกุล และชนิดตามลําดับ

ตัวอยางพืชในกลุม gymnosperms สนสามใบ Pinus kesiyaa Royle ex Gordon

ตัวอยางพืชในกลุม eudicots สานใบเล็ก Dillenia ovataa Wall. ex Hook. f. & Thomson วงศ Dilleniaceae

21 SW 2331-(5)-P21-Edit-PC7.indd intro21

27/12/2553 22:35:52


บรรณานุกรม กรมศิลปากร. 2530. อัครศิลปน. หางหุนสวนจํากัด ป. สัมพันธพาณิชย กรุงเทพฯ 249 หนา นิสากร ปานประสงค. 2544. ภาพวาดทางพฤกษศาสตร: ศิลปะแหงเรื่องจริง นิตยสาร Update ปที่ 16 ฉบับที่ 169 กันยายน 2544 หนา 52–60. พันธุศักดิ์ จักกะพาก. 2545. บานมิรูโรย. โรงพิมพ ก. การพิมพเทียนกวง กรุงเทพฯ 239 หนา พิเชษฐ สุนทรโชติ. 2547. การศึกษาภาพจิตรกรรมสีน้ําของ สวัสดิ์ ตันติสุข. รายงาน วิจัย วจ ND2430 พ654 ก2547. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต กรุงเทพฯ ลลิ ต า โรจนกร. 2548. ขอเพี ย งแต เ ห็ น . สถาบั น เอเชี ย ศึ ก ษา จุ ฬ าลงกรณ มหาวิทยาลัย บริษัท เพอรเฟคท พริ้นท แอนด แอ็ดเวอรไทซิ่ง จํากัด กรุงเทพฯ วรรณรัตน ตั้งเจริญ. 2546. สีน้ําสรางสรรค. สํานักพิมพอีแอนดไอคิว. กรุงเทพฯ 208 หนา วิรุณ ตั้งเจริญ. 2551. พระราชอัจฉริยภาพ อัครศิลปน ศูนยหนังสือมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพฯ 256 หนา ศศิ วิ ม ล แสวงผล. 2549. เรี ย นวาดเพื่ อ เรี ย นรู . ภาควิ ช าพฤกษศาสตร คณะ วิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล และเครือขายวิทยสานศิลป 120 หนา Blume, C. L. 1851. Flora Javae nec non insularum adjecentium, part 40, t. 94B. Desmond, R. 1999 (reprinted 2006). Sir Joseph Dalton Hooker: Traveller and plant collector. Antique Colletors’ Club Ltd., Woodbridge, Suffolk. Hemsley, W.B. 1906. A new and complete index to the Botanical Magazine. Lovell Reeve & Co. Ltd. London. Hulton, P. and L. Smith. 1979. Flowers in art from east and west. British Museum Publication. London. Lindsay, S. and D.J. Middleton. 2009. Lecanopteris pumila Blume (Polypodiaceae), a new record for Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) no. 37: 59–63. Robinson, T. 2008. William Roxburgh. The founding father of Indian botany. Phillimore & Co.Ltd. Chichester, West Sussex, England. Saunder, G. 1995. Picturing Plants: An analytical history of botanical illustration. University of California Press. Berkeley and Los Angeles, California. Schmidt, J. 1900–1916. Flora of Koh Chang. Contribution to the knowledge of the vegetation in the Gulf of Siam. B. Luno Publication, Copenhagen.

22 SW 2331-Cover F in-P24-PC7.indd intro22

23/12/2553 20:45:53


Sherwood, S. and M. Rix. 2008. Treasures of botanical art. Kew Publishing, Royal Botanic Gardens, Kew. London. Simblet, S. 2010. Botany for the artist. Dorling Kindersley Ltd. London. Smitinand, T. 1989. Thailand. In Campbell, D.G. and H.D. Hammond (ed 3.) Floristic Inventory of Tropical Countries. The New York Botanical Gardens. 1989: 63–82. Stern, W. 1990. Flower artists of Kew. The Herbert Press in association with the Royal Botanic Gardens, Kew. London. Stevens, P. F. (2001 onwards). Angiosperm Phylogeny Website. Version 9, June 2008 [and more or less continuously updated since].� will do. http://www.mobot.org/MOBOT/research/APweb/.

23 SW 2331-Cover F in-P24-PC7.indd intro23

23/12/2553 20:49:27


SW 2331-Cover F in-P24-PC7.indd intro24

10/1/2554 15:45:00


ภาพวาดทางพฤกษศาสตร Botanical Illustrations

SW 2331-P25-197-PC7.indd 25

10/1/2554 15:43:48


เฟนบัวรัศมี

Matonia pectinata R. Br.

Matoniaceae

เฟนสกุล Matonia สวนมากพบเจริญเติบโตบนพื้นดิน ใบขนาดใหญรูปพัด กลุมอับสปอรเรียงเปนวง เยื่อคลุมรูปโล มีสมาชิกเพียง 2 ชนิด เคยเปนสกุลที่มี การกระจายพันธุกวางในเขตรอน แตในปจจุบันพบเฉพาะในภูมิภาคมาเลเซีย และภาคใตของไทย ขึ้นตามที่โลงบนภูเขาสูงหรือเขาหินปูน ในประเทศไทยพบ เพียงชนิดเดียว ที่จังหวัดตรังและยะลา ขึ้นหนาแนนปนกับเฟนบัวแฉก Dipteris conjugata Reinw. และ เฟนแฉกคูข นนก Gleichenia microphylla R. Br. บนพื้นที่ ภูเขาที่สูงจากระดับน้ําทะเล 1,200–1,500 เมตร เฟนเจริญเติบโตบนพื้นดิน มีเหงาเกาะเลื้อย มีขนยาวสีน้ําตาล หนาแนน ใบขนาดใหญเรียงสลับหางๆ กานใบสีน้ําตาลเขม ยาว 82–115 เซนติเมตร เกลี้ยง ตั้งตรงชูแผนใบสีเขียวเขมแผออกคลาย รูปรม กวาง 35–75 เซนติเมตร ยาว 42–80 เซนติเมตร แผนใบแบบ ตีนเปด มีใบยอย 22–30 ใบ ใบยอยกลางแผนใบ กวาง 2.7–5.5 เซนติเมตร ยาว 35–75 เซนติเมตร ขอบใบมวนลง แฉกลึก ปลาย มน เนื้อใบหนา ทองใบมีนวลและมีปุมขนาดเล็ก กลุมอับสปอรมี อับสปอร 5–10 อัน เรียงเปนวงลอมรอบรีเซปตาเคิล เยื่อคลุมกลุม อับสปอรรูปโล

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

26 SW 2331-P25-197-PC7.indd 26

10/1/2554 15:49:51


SW 2331-P25-195-PC7.indd 27

23/12/2553 22:22:08


เขากวาง

Platycerium ridleyi H. Christ.

Polypodiaceae

เฟนสกุล Platycerium หรือสกุลชายผาสีดา เปนเฟนอิงอาศัย ใบมีใบประกบ ตนและใบสรางสปอร กลุมอับสปอรเรียงชิดกันเปนผืนสีน้ําตาลขนาดใหญ มี สมาชิกประมาณ 18 ชนิด พบเฉพาะในเขตรอน ในไทยพบ 4 ชนิด นิยมปลูกเปน ไมประดับ สวนรากนํามาใชเปนวัสดุปลูกกลวยไมไดเปนอยางดี บางชนิดใบสราง สปอรใชเปนสมุนไพรได เขากวางมีเขตการกระจายพันธุในคาบสมุทรมาเลเซีย บอรเนียว สุมาตรา และภาคใตของไทย ขึ้นตามคบไมในปาดิบชื้นระดับต่ํา และ ปาพรุ เฟนอิงอาศัย เหงาขนาดใหญ มีเกล็ดสีนา้ํ ตาลปกคลุม ใบประกบ ตนรูปคลายวงกลม กวาง 20–40 เซนติเมตร ยาว 20–50 เซนติเมตร เสนใบนูนเดนชัดเจน ใบเรียงชิดกันหุม สวนของเหงาและประกบแนน ติดกับคาคบไมอิงอาศัย ใบสรางสปอร ยาว 25–50 เซนติเมตร ตั้ง ขึ้นและแตกแขนงแบบแยกสองหลายครั้งคลายเขากวาง สวยงาม แปลกตากวาเฟนในสกุลชายผาสีดาชนิดอื่นๆ แฉกใบสรางสปอรมี กานยาว 2–10 เซนติเมตร ปลายแผออกรูปรีคลายชอน กวาง 3–15 เซนติเมตร ยาว 5–17 เซนติเมตร ภายในมีกลุม อับสปอรเรียงอัดกัน แนน

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

28 SW 2331-P25-197-PC7.indd 28

5/1/2554 17:40:05


SW 2331-P25-195-PC7.indd 29

23/12/2553 22:34:44


เฟนหิรัญ

Pteris blumeana J. Agardh

Pteridaceae

เฟนสกุล Pteris สวนมากเจริญเติบโตบนพื้นดิน ใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น ใบยอยสวนมากรูปแถบ ขอบพับงอ กลุมอับสปอรเทียมซึ่งเกิดจากขอบแผนใบ โปรงใสพับเขาหาตัวใบ มีสมาชิกประมาณ 250 ชนิด สวนใหญกระจายพันธุใ นเขต รอนและกึ่งเขตรอน ในประเทศไทยมีประมาณ 28 ชนิด เปนเฟนที่สวยงาม หลาย ชนิดนิยมนํามาปลูกเปนไมประดับ เฟนหิรญ ั หรือชือ่ เรียกตามตลาดตนไมวา เฟน อะลาบา มีเขตการกระจายพันธุก วาง พบตัง้ แตอนิ เดียถึงเวียดนามใต และภูมภิ าค มาเลเซีย ในไทยพบทั่วทุกภาค ขึ้นใตรมเงาในปาดิบแลงและปาดิบชื้น เฟนเจริญเติบโตบนพื้นดิน ลําตนสั้น ตั้งตรง มีเกล็ดสีน้ําตาล หนาแนน ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น มีทั้งใบดางและไมดาง กานใบยาวไดถงึ 80 เซนติเมตร แผนใบกวาง 35–50 เซนติเมตร ยาว ไดถึง 70 เซนติเมตร มีใบยอยประมาณ 10 คู เรียงตรงขาม กวาง 3–5.5 เซนติเมตร ยาวไดถึง 25 เซนติเมตร ปลายยาวคลายหาง แผนใบเวาเกือบจรดแกนกลางใบ ขอบใบยอยเรียบ แผนใบบาง ใบยอยคูสุดทายแตกแขนงอีกชั้นหนึ่งใกลโคนใบ มีเยื่อคลุมกลุม อับสปอรเทียม

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

30 SW 2331-P25-197-PC7.indd 30

5/1/2554 17:40:38


SW 2331-P25-195-PC7.indd 31

23/12/2553 22:37:51


สนสามใบ

Pinus kesiya Royle ex Gordon

Pinaceae

สกุล Pinus หรือสกุลสนเขา เปนพืชเมล็ดเปลือย สวนมากเปนไมตน ไมผลัด ใบ ใบเรียวยาว รูปเข็ม ออกเปนกระจุกติดกันที่โคนกาบหุมใบ ชอผลหรือโคน (cone) รูปเจดียมีเกล็ดแข็งคลายเนื้อไม เรียงซอนเหลื่อม แตละเกล็ดมีออวุล 2 เม็ด มีสมาชิกมากกวา 100 ชนิด พบทั้งในทวีปแอฟริกา เอเชีย ยุโรป และ อเมริกาเหนือ ขึ้นไดดีในดินที่เสื่อมโทรม ลําตนสูงชลูดหรือแคระแกร็น มีอายุ ยืนนาน ในประเทศไทยมีเพียง 2 ชนิด อีกชนิด ไดแก สนสองใบ Pinus merkusii Jungh. & de Vriese ซึ่งแตกตางกันตามจํานวนใบในแตละกระจุก สนเขาทั้งสอง ชนิดมีชันและน้ํามันสนที่ใชในอุตสาหกรรมหลายประเภท โดยเฉพาะการผลิต สีและน้ํามันชักเงา สนสามใบ พบตั้งแตอินเดีย พมา จีนตอนใต ภูมิภาคอินโดจีน จนถึงฟลิปปนส ในไทยพบแทบทุกภาคยกเวนภาคตะวันออกเฉียงใตและภาคใต บนพื้นที่สูงใกลระดับน้ําทะเลจนถึงระดับความสูงประมาณ 1,800 เมตร ไมตน ชันมีกลิ่นหอม เปลือกลําตนแตกเปนรองลึก สีน้ําตาล ปนเทาลอกเปนแผนบางๆ ใบมี 3 ใบในแตละกระจุก ใบรูปเข็ม เรียวยาว หนาตัดขวางเปนรูปสามเหลี่ยม ยาว 10–22 เซนติเมตร กาบหุมกานใบยาว 1–2 เซนติเมตร ติดทน ชอเพศผูออกเปน กระจุก ชอเพศเมียออกเดี่ยวๆ หรือเปนคู ยาว 5–8 เซนติเมตร ติดทนหลายป เกล็ดหนาแนน ยาว 2.5–3 เซนติเมตร เมล็ดสีนา้ํ ตาล ดํา ยาว 5–6 มม. ปลายมีปก

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ปาจรีย อินทะชุบ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

32 SW 2331-P25-197-PC7.indd 32

5/1/2554 17:41:28


SW 2331-P25-195-PC7.indd 33

23/12/2553 22:46:21


ขุนไม

Nageia wallichiana (C. Presl) Kuntze

Podocarpaceae

สกุล Nageia เปนพืชเมล็ดเปลือย แผนใบไมมีเสนกลางใบ และเมล็ดมีเยื่อ หุมที่เจริญหุมเมล็ด แยกจากสกุล Podocarpus หรือ พญาไมที่แผนใบมีเสน กลางใบ สวนทีเ่ จริญหุม เมล็ดเปนเกล็ดประดับ มีสมาชิก 5–7 ชนิด ในประเทศไทย พบเพียง 2 ชนิด อีกชนิดหนึ่งคือซางจีน Nageia motleyi (C. Presl) de Laub พบ เฉพาะที่เขากวบ จังหวัดตราด ขุนไม เดิมชื่อ Podocarpus wallichianus C. Presl มีเขตการกระจายพันธุก วาง พบตัง้ แตอนิ เดีย บังกลาเทศ จีนตอนใต พมา ภูมภิ าค อินโดจีนและมาเลเซีย จนถึงฟลิปปนสและปาปวนิวกินี ในไทยพบกระจายหางๆ แทบทุกภาค ขึ้นตามที่ลาดชัน บนสันเขา ลักษณะภายนอกดูคลายกับพืชในสกุล Agathis โดยเฉพาะ สนขาวเมา Agathis dammara (Lamb.) Rich. หรือ damar minyak ซึง่ เปนพรรณไมพนื้ เมืองของฟลปิ ปนส นํามาจําหนายเปนไมปลูกประดับ ตามตลาดตนไมทั่วไป ไมตน ไมผลัดใบ สูงไดถงึ 50 เมตร ลําตนเปลาตรง มีชอ แยกเพศ ตางตน เปลือกเรียบลอกเปนแผนขนาดใหญ ใบเรียงตรงขามสลับ ตั้งฉาก ใบมีขนาดและรูปทรงผันแปรมาก ยาว 10–18 เซนติเมตร ไมมีเสนกลางใบ เสนใบเรียงขนานกัน เห็นเปนเสนปากใบทั้งสอง ดานของแผนใบ โคนเพศผูอ อกเปนกลุม ตามซอกใบ ชอเพศเมียออก ตามปลายกิ่ง มีเกล็ดประดับจํานวนมาก แตเจริญเพียง 1–2 เกล็ด ฐานรองเมล็ดอวบน้ํา เมล็ดมีเยื่อเปนเนื้อหุมเมล็ดจนมิด สุกสีดํา กลม เสนผานศูนยกลางประมาณ 2 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

34 SW 2331-P25-197-PC7.indd 34

5/1/2554 17:42:08


SW 2331-P25-197-PC7.indd 35

10/1/2554 16:09:51


บอนเตากนปด

Ariopsis protanthera N. E. Br.

Araceae

สกุล Ariopsis เปนไมลมลุกขนาดเล็ก ขึ้นตามโขดหิน มีน้ํายางสีขาว สวนมาก มีใบเดียว กานใบยาว ใบแบบกนปด ชอดอกมี 1–3 ชอ อับเรณู หรือ synandria เชื่อมติดกันที่ปลายตอเนื่องกัน ดอกเพศเมียอยูดานลาง ดอกเพศผูเรียงแนนดาน บน รังไขมี 1 ชอง ยอดเกสรเพศเมียมี 4–6 พู ติดทน มีสมาชิกเพียง 2 ชนิด อีก ชนิดหนึ่งคือ Ariopsis peltata J. Graham พบเฉพาะในอินเดีย บอนเตากนปดมี เขตการกระจายพันธุในอินเดีย พมา ในไทยพบที่จังหวัดตากใกลชายแดนพมา และหนองคายที่เขตรักษาพันธุสัตวปาภูวัว ขึ้นหนาแนนเกาะตามโขดหินปูนหรือ หินทราย ริมลําธารใตรมเงาในปาเบญจพรรณและปาดิบแลง พืชลมลุก ขนาดเล็ก ลําตนกลมคลายหัวใตดิน ใบแบบกนปด มี ใบเดียว รูปหัวใจ ยาว 5–10 เซนติเมตร กานใบยาว 6–14 เซนติเมตร แผนใบดานลางมีนวล ชอดอกมี 1–3 ชอออกกอนแตกใบใหม กาบ หุมชอดอกรูปเรือ ยาว 2–2.5 เซนติเมตร ชอดอก หรือ spadix เปน แกนทรงกระบอกสั้นๆ ยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร ติดผลพรอม ใบ ผลขนาดเล็ก เปนเหลี่ยม 4–6 เหลี่ยม

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

36 SW 2331-P25-197-PC7.indd 36

5/1/2554 17:42:52


SW 2331-P25-195-PC7.indd 37

23/12/2553 22:49:44


ปาลมเจาเมืองตรัง

Licuala peltata Roxb. ex Buch.-Ham. var. sumawongii Saw

Arecaceae (Palmae)

สกุล Licuala เปนปาลมลําตนเดีย่ วหรือเปนกอ มีทงั้ ดอกสมบูรณเพศและดอก แยกเพศอยูต า งตน ใบประกอบแบบนิว้ มือ ใบยอยมักจะแยกออกเปนสวนๆ แตละ สวนแยกจากกันลึกถึงกานใบหรือเชื่อมติดกันที่โคน บางชนิดก็เชื่อมติดกันเปน แผน กานใบมีหนามหรือไมมี ชอดอกออกระหวางใบ มีการกระจายพันธุส ว นใหญ อยูใ นคาบสมุทรมาเลเซีย บอรเนียว และนิวกินี ในประเทศไทยมีประมาณ 14 ชนิด เปนปาลมที่สวยงามและมีศักยภาพสูงสําหรับเปนปาลมประดับ มีสมาชิก 134 ชนิ ด พบตั้ ง แต อิ น เดี ย จี น ตอนใต ภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต จนถึ ง ออสเตรเลียตอนบน ปาลมเจาเมืองตรังเปนพืชถิ่นเดียวของไทยทางภาคใต ปจจุบนั ไมพบในปาธรรมชาติ ลักษณะทัว่ ไปคลายกับกะพอ Licuala peltata Roxb. ex Buch.-Ham. var. peltata ตางกันที่แผนใบไมแยกเปนสวนเหมือนกะพอ และ ดอกมีขนาดเล็กกวาเล็กนอย เดิมเขาใจผิดวาชือ่ พฤกษศาสตรคอื Licuala elegans Blume ปจจุบันเปนชื่อพองของ Licuala pumila Blume ซึ่งพบเฉพาะในชวาและ สุมาตราของอินโดนีเซียเทานัน้ ปาลมเจาเมืองตรังจัดวาเปนปาลมทีส่ วยงามทีส่ ดุ ในสกุลกะพอ ปาลมลําตนเดี่ยว สูงไดถึง 5 เมตร ใบประกอบแบบนิ้วมือ ใบยอยเชือ่ มติดกันเปนแผนจีบคลายแบบกนปด เสนผานศูนยกลาง ประมาณ 1.5 เมตร ใบสีเขียวเขม กานใบยาวประมาณ 2 เมตร ขอบ กานมีหนามแหลม ชอดอกแบบชอแยกแขนงยาวประมาณ 3 เมตร โนมลง ดอกเล็กสีขาวแกมเขียว ผลรูปรี แกมีสสี ม

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ปาจรีย อินทะชุบ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

38 SW 2331-P25-197-PC7.indd 38

5/1/2554 17:46:23


SW 2331-P34-195-Edit-PC7.indd 39

27/12/2553 23:07:53


มันเทียน

Dioscorea brevipetiolata Prain & Burkill

Dioscoreaceae

สกุล Dioscorea เปนไมเถาลมลุก สวนมากแยกเพศตางตน มีหัวใตดิน บาง ครั้งมีหัวยอย หรือ bulblet บนลําตน ใบเรียบ หยักเปนพู หรือรูปฝามือ เรียงตรง ขามหรือเรียงเวียน เสนโคนใบ 3–9 เสน ชอดอกแบบชอกระจะหรือชอเชิงลด ออก ตามซอกใบ กลีบรวม 6 กลีบ เรียง 2 วง เกสรเพศผูสวนมากมี 6 อัน ผลแหงแตก มี 3 ปก เมล็ดมีปกบางๆ มีสมาชิก 450–600 ชนิด มีศูนยกลางการกระจายพันธุ ในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในประเทศไทยพบประมาณ 120 ชนิด เปนพืช ที่มีประโยชนและมีมูลคาทางเศรษฐกิจสูง เปนทั้งพืชอาหารและสมุนไพร หลาย ชนิดนิยมปลูกเปนอาหาร เชน มันเสา Dioscorea alata L. หรือ Winged yam และ มันมือเสือ Dioscorea esculenta (Lour.) Burkill หรือ Lesser yam เปนตน มัน เทียน พบในกัมพูชา เวียดนาม และไทย ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเวนภาคใต หัวสีเหลืองคลายเทียนไข จึงมีชื่อเรียกวามันเทียน รับประทานได ไมเถา ยาวไดถงึ ประมาณ 5 เมตร หัวใตดนิ รูปทรงกระบอก ยาว 10–15 เซนติเมตร มีเกล็ดหุมยอด ใบเรียงตรงขาม ยาวถึงประมาณ 10 เซนติเมตร แผนใบหนา ชอดอกเพศผูม ี 1–6 ชอ แยกแขนงคลาย ชอเชิงลด 1–2 ชอ ชอดอกเพศเมียคลายชอดอกเพศผู ผลขนาด กวาง 2–3 เซนติเมตร ยาว 1.2–1.6 เซนติเมตร เมล็ดกลม แบน เสน ผานศูนยกลางประมาณ 0.3 เซนติเมตร ปกยาว 1–1.5 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

40 SW 2331-P25-197-PC7.indd 40

5/1/2554 17:47:35


SW 2331-P25-197-PC7.indd 41

5/1/2554 17:50:28


วานแมยับ

Iris collettii Hook. f.

Iridaceae

สกุล Iris เปนไมลมลุก ใบเรียงสลับในระนาบเดียวกันเปน 2 แถว กลีบดอก วงนอกใหญกวาวงใน หลากสี กลีบดอกดานในมีขนเคราหรือเปนสัน เกสรเพศผู 3 อัน ติดตรงขามกานแขนงเกสรเพศเมียที่คลายแผนกลีบดอก มีสีสด ปลายแยก 2 พู ผลแหงแตกตามยาว มีสมาชิกประมาณ 225 ชนิด สวนมากพบในเขตอบอุน เหนือ หลายชนิดมีดอกสวยงาม นิยมปลูกเปนไมประดับ โดยเฉพาะในทวีปยุโรป ในประเทศไทยพบชนิดเดียวในปาธรรมชาติ มีหลายชนิดนําเขามาปลูกเปนไม ประดับ วานแมยบั พบตัง้ แตอนิ เดีย พมา จีนตอนใต เวียดนาม และภาคเหนือของ ไทย ในจังหวัดแมฮองสอน เชียงใหม และเชียงราย ขึ้นตามปาสนเขา ที่สูงจาก ระดับน้ําทะเลระหวาง 700–1,500 เมตร ไมลมลุก มีหัวใตดิน ลําตนสั้นมีชอดอกที่ปลาย แผนใบมีนวล ยาว 10–25 เซนติเมตร และยาวไดถึง 35 เซนติเมตรในชวงติดผล ดอกออกเปนชอยาว 2–8 เซนติเมตร คลายพัดมีกาบหุม มี 2–4 ดอก กลีบดอก 6 กลีบ หลอดกลีบดอกยาว 3–5 เซนติเมตร วงกลีบ นอกโคนมีสนั เปนคลืน่ สีสม กานเกสรเพศเมียเปนแผน ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ผลสีเขียวออน ยาว 1.5–2.5 เซนติเมตร ปลายมีจงอย สั้นๆ เมล็ดมีเยื่อหุม

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 25 x 36 เซนติเมตร โดย อรทัย เกิดแกว ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

42 SW 2331-P25-197-PC7.indd 42

5/1/2554 17:52:40


SW 2331-P25-195-PC7.indd 43

23/12/2553 23:10:10


ดอกแตรวง

Lilium primulinum Baker var. burmanicum Stearn

Liliaceae

สกุล Lilium เปนไมลม ลุกอายุหลายป หัวใตดนิ มีเกล็ดหนาขนาดใหญเรียงซอน เหลื่อมจํานวนมาก ดอกสวนมากรูปแตรหรือรูประฆัง กลีบรวม 6 กลีบ มีตอม น้ําตอยที่โคนกลีบ เกสรเพศผู 6 อัน อับเรณูติดดานหลังไหวได รังไขอยูเหนือวง กลีบ ผลแหงแตกตามยาว มีสมาชิกประมาณ 115 ชนิด สวนใหญกระจายพันธุใน เขตอบอุน และเขตภูเขาสูง โดยเฉพาะในภูมภิ าคเอเชียตะวันออก ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือดอกแตรวงขาว Lilium bakerianum Collett & Hemsl. พบเฉพาะทีด่ อย เชียงดาว ดอกแตรวงมีชื่อสามัญวา Primulinum lily พบที่จีนตอนใต พมา และ ภาคเหนือของไทย ขึ้นในปาดิบเขา ที่สูงจากระดับน้ําทะเลมากกวา 800 เมตร ไมลมลุกอวบน้ํา สูงประมาณ 2 เมตร หัวใตดินยาว 5–6 เซนติเมตร เนือ้ ในสีเหลืองครีม ใบเรียงเวียน ยาว 5.5–12 เซนติเมตร เสนโคนใบ 3 เสน ชอดอกมี 4–9 ดอก รูปแตร กลีบรวมสีเหลือง หรืออมเขียว มีปน สีมว งน้าํ ตาลแซม แผนกลีบยาว 6.5–9 เซนติเมตร ผลเปนฝกรูปขอบขนาน ยาว 4–7 เซนติเมตร เมล็ดเรียงตั้งคลาย เหรียญ แบน มีปกโดยรอบ

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

44 SW 2331-P25-197-PC7.indd 44

5/1/2554 17:53:43


SW 2331-P25-195-PC7.indd 45

23/12/2553 23:12:40


กลวยบัว

Musa laterita Cheeseman

Musaceae

สกุล Musa หรือกลวยปา เปนไมลมลุก แตกกอ มีลําตนเทียม ใบประดับหรือ ปลี สีเขียว น้ําตาล หรือมวง มีสมาชิกประมาณ 30 ชนิด สวนมากพบในเขตรอน ของทวีปเอเชีย สวนสกุล Ensete หรือกลวยผา เปนกลวยไมแตกกอ และสกุล Musella ทีค่ ลายกลวยผา แตใบประดับสีเหลือง นิยมปลูกเปนไมประดับ กลวยบัว หรือกลวยบัวสีสม ทางภาคเหนือเรียก กลวยแค หรือกลวยแวก ตามตลาดตนไม สวนมากใชชื่อทางพฤกษศาสตรวา Musa ornata ‘Bronze’ คือเปนลูกผสมของ กลวยบัวสีชมพู หรือ Musa ornata Roxb. ซึ่งเปนชื่อที่ไมถูกตอง มีถิ่นกําเนิดใน อินเดีย สําหรับกลวยบัวมีเขตการกระจายพันธุใ นอินเดีย พมา และภาคเหนือของ ไทย ขึน้ ตามปาเบญจพรรณทีม่ ไี มสกั นํามาปลูกเปนไมประดับกันบางแตนอ ยกวา กลวยบัวสีชมพู ไมลมลุก แตกหนอไปไดไกลจากตนแม ลําตนเทียมสูง 1–2.5 เมตร แผนใบยาวไดถงึ 1.5 เมตร กวางประมาณ 40 เซนติเมตร เสน กลางใบเปนรองลึกมีสีแดง ชอดอกตั้งขึ้น ใบประดับสีแดง ยาว 20–30 เซนติเมตร ชอดอกเพศเมียมี 4–6 ดอก ดอกยาว 7–8 เซนติเมตร ชอดอกเพศผูมี 6–10 ดอก เรียง 2 แถว ชอผลเรียงแนน ผลยอยรูปทรงกระบอกเหลี่ยม ยาว 8–10 เซนติเมตร เมล็ดจํานวน มาก

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

46 SW 2331-P25-197-PC7.indd 46

5/1/2554 17:54:33


SW 2331-P25-195-PC7.indd 47

23/12/2553 23:13:35


สิงโตขยุกขยุย

Bulbophyllum dayanum Rchb. f.

Orchidaceae

สกุล Bulbophyllum หรือสกุลสิงโต เปนกลวยไมอิงอาศัย มีเหงา สวนมากมี ใบเดียวออกจากลําลูกกลวย ชอดอกออกที่โคนลําลูกกลวยหรือเหงา กลีบดอก แยกกัน ขนาดเล็กกวากลีบเลี้ยง กลีบปากติดที่โคนเสาเกสรที่คลายบานพับ กลุม อับเรณูมี 2 คู ไมมีรยางค เปนกลวยไมสกุลใหญรองจากสกุล Dendrobium มี สมาชิกกวา 1,900 ชนิด เขตการกระจายพันธุอยูในเขตรอน ในประเทศไทยมี ประมาณ 130 ชนิด สิงโตขยุกขยุยพบในพมาและกัมพูชา ในไทยกระจายหางๆ ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหวัดเลย (ภูกระดึงและภูหลวง) ภาค ตะวันออกเฉียงใตทจี่ งั หวัดตราด (เขากวบ) และภาคใตทจี่ งั หวัดระนอง และกระบี่ (เขาพนมเบญจา) ขึ้นตามคบไมในปาดิบชื้นและปาดิบเขา กลวยไมอิงอาศัย ลําลูกกลวยอวน สีมวง ยาวประมาณ 3 เซนติเมตร ออกหางๆ ใบยาวประมาณ 10 เซนติเมตร แผนใบหนา สีเขียวอมน้าํ ตาลมวง ชอดอกสัน้ ตามขอของเหงา มี 2–5 ดอก กาน ดอกหนา ยาว 1.5–2 เซนติเมตร ดอกสีเขียวอมน้าํ ตาลแดงหรือมวง ขอบมีขนครุยสีเหลือง กลีบเลี้ยงขนาดเทาๆ กัน ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร กลีบดอกมีสีเขมกวา ยาว 0.7–1 เซนติเมตร กลีบปากสี ออนกวา ขอบจักซี่ฟนไมเปนระเบียบตื้นๆ มีติ่งที่โคน แผนกลีบมี ปุมยาว เสาเกสรสีเหลือง

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

48 SW 2331-P25-197-PC7.indd 48

5/1/2554 17:55:26


SW 2331-P25-195-PC7.indd 49

23/12/2553 23:16:03


กระตายหูลู

Diploprora truncata Rolfe ex Downie

Orchidaceae

สกุล Diploprora เปนกลวยไมอิงอาศัย ชอดอกแบบชอกระจะ ยาวเทาหรือ ยาวกวาใบ ดอกกระจายหางๆ กลีบเลีย้ งมีสนั ดานหลัง กลีบปากอวบน้าํ โคนกลีบ โคงเปนแอง มีกอนนูนสีเหลืองตรงกลาง ปลายกลีบปากแคบ ปลายตัดหรือแยก เปน 2 แฉก เสาเกสรสั้น กลุมเรณูมี 4 กอน ขนาดไมเทากัน มีสมาชิกเพียง 2 ชนิด พบตั้งแตอินเดีย เวียดนาม พมา ถึงไตหวัน ในประเทศไทยพบทั้ง 2 ชนิด อีก ชนิดคือ เอื้องปากแฉก Diploprora championii (Lindl.) Hook. f. กระตายหูลูมี เขตการกระจายพันธุท างภาคตะวันออกของอินเดีย ภาคเหนือและภาคตะวันออก เฉียงเหนือตอนบนของไทย พบตามปาดิบเขาที่สูงจากระดับน้ําทะเลมากกวา 1,000 เมตร กลวยไมองิ อาศัย ลําตนยาว 10–12 เซนติเมตร รากหนา เกลีย้ ง ใบหนา ยาว 4–7.5 เซนติเมตร กวาง 0.7–1 เซนติเมตร โคนชอดอก มี ใ บประดั บ หุ ม เกื อ บรอบ 2–3 ใบ ใบประดั บ เหนื อ ขึ้ น ไปรู ป สามเหลี่ยม มีสันที่ดานหลัง ดอกกวางประมาณ 1 เซนติเมตร กลีบ เลี้ยงบนรูปขอบขนานแกมรูปไขกลับ กลีบเลี้ยงคูขางรูปชอน กลีบ ดอกรูปไขกลับ ทั้งกลีบเลี้ยงและกลีบดอกเมื่อบานเต็มที่ลูไปดาน หลัง กลีบปากโคง ปลายตัด โคนกลีบโคงเปนแอง มีจุดประ มีกอน นูนตามยาว ฝกยาว 3–4 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

50 SW 2331-P25-197-PC7.indd 50

5/1/2554 17:56:09


SW 2331-P25-195-PC7.indd 51

23/12/2553 23:20:17


เอื้องศรีอาคเนย

Sirindhornia monophylla (Collett & Hemsl.) H. A. Pedersen & Suksathan

Orchidaceae

สกุล Sirindhornia เปนกลวยไมดิน มี 1–2 ใบ แผนใบหนา ดานบนสีเขียว มี จุดประสีมว งถึงเขียวเขม ดานลางสีมว งแกมเขียว ชอดอกแบบชอกระจะ กลีบเลีย้ ง มักมีขนที่ดานหลัง กลีบดอกคลุมเหนือเสาเกสร กลีบปาก 3 แฉก มีจุดประ โคน กลีบมีเดือย เสาเกสรมี 2 ติ่ง กลุมเรณู 2 กอน มีสมาชิกเพียง 3 ชนิด พบตั้งแต ตอนใตของจีนถึงพมาและไทย ในประเทศไทยพบทั้ง 3 ชนิด อีก 2 ชนิด คือ เอื้อง ศรีประจิม Sirindhornia mirabilis H. A. Pedersen & Suksathan และเอื้องศรี เชียงดาว Sirindhornia pulchella H. A. Pedersen & Indham. เอื้องศรีอาคเนยมี เขตการกระจายพันธุท จี่ นี ตอนใต พมา และภาคตะวันตกของไทยติดชายแดนพมา ขึ้นบนเขาหินปูนที่ผุกรอน สูงจากระดับน้ําทะเล 800–900 เมตร ชื่อสกุลตั้งเพื่อ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี กลวยไมดิน สูงไดถึง 40 เซนติเมตร มี 1–2 ใบ รูปรีหรือรูปไข ยาว 3–12 เซนติเมตร กวาง 2.5–5 เซนติเมตร ใบประดับรูปใบหอก หรือสามเหลี่ยมแกมรูปไข ดอกกวางประมาณ 0.7 เซนติเมตร กลีบ เลี้ยงมีจุดประ กลีบเลี้ยงบนรูปขอบขนาน กลีบเลี้ยงคูขางรูปรี กลีบ ดอกรูปขอบขนานแกมรูปไข กลีบปากมี 3 แฉก มีจุดประ แฉกกลาง ปลายเรียบ แฉกขาง 2 แฉก ปลายหยักมนถี่

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

52 SW 2331-P25-197-PC7.indd 52

5/1/2554 17:56:49


SW 2331-P25-195-PC7.indd 53

23/12/2553 23:25:34


สามรอยตอใหญ

Vanilla pilifera Holttum

Orchidaceae

สกุล Vanilla เปนกลวยไมเถาอวบน้ํา ยาวไดหลายเมตร มีรากอากาศตามขอ แผนใบสวนมากหนาและอวบน้ํา ชอดอกแบบชอกระจะ ออกสั้นๆ ตามขอ กลีบ เลีย้ งและกลีบดอกขนาดเทาๆ กัน กลีบปากโคนติดกับดานขางเสาเกสร ไมมเี ดือย กลางกลีบมักมีขนครุย กลุม เรณูมี 2 หรือ 4 กลุม ผลรูปทรงกระบอก สวนมากแหง แลวไมแตก มีสมาชิกประมาณ 100 ชนิด เขตการกระจายพันธุส วนใหญอยูใ นเขต รอน ในประเทศไทยมี 5 ชนิด สําหรับชนิดที่ฝกใชในการผลิตกลิ่นวานิลามีถิ่น กําเนิดในอเมริกาใต โดยเฉพาะ Vanilla planifolia Jacks. ex Andrews เปนพืช เศรษฐกิจทีส่ าํ คัญในอุตสาหกรรมทําเบเกอรี่ ไอศกรีม และน้าํ หอม ปลูกแพรหลาย ทั่วโลก สําหรับสามรอยตอใหญหรืองดมีเขตการกระจายพันธุในคาบสมุทร มาเลเซีย ภาคตะวันตกเฉียงใตและภาคใตของไทย ขึน้ ทอดเลือ้ ยตนไมอนื่ ในปาดิบ แลง กลวยไมทอดเลื้อยตามพื้นดินหรือตนไมอื่น ปลองยาว 7–10 เซนติเมตร ใบยาว 8–18 เซนติเมตร ชอดอกยาวประมาณ 5 เซนติเมตร มี 6–12 ดอก กานดอกยาว 1.5–3.5 เซนติเมตร กลีบ เลี้ยงและกลีบดอกยาว 4–4.5 เซนติเมตร กลีบปากสีขาวมีสีชมพู แซม มีเสนกลีบสีมวงดานใน มีรยางคเปนแผงขนแปรงใกลปลาย กลีบดานใน อยูต รงขามอับเรณู กลีบดานในมีขนสีแดงเขม เสาเกสร เรียว ยาว 1–1.8 เซนติเมตร ติดกลีบปากเกือบตลอดแนวความยาว

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

54 SW 2331-P25-197-PC7.indd 54

5/1/2554 18:02:02


SW 2331-P25-195-PC7.indd 55

23/12/2553 23:22:46


เตยชะงด

Freycinetia javanica Blume

Pandanaceae

สกุล Freycinetia เปนเตยที่เกาะพาดเลื้อย ไมมีรากค้ํายันเหมือนสกุลเตยที่มี ลําตน หรือ Pandanus ผลเปนแบบผลสดมีหลายเมล็ด สวนเตยทั่วไปมีผลแบบ ผนังชัน้ ในแข็ง กาบชอดอกเพศผู (spathe) มี 2–5 อัน สวนเตยมีกาบเดียว มีสมาชิก ประมาณ 180 ชนิด พบในศรีลังกา ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต จนถึง ออสเตรเลีย หลายชนิดมีกาบประดับสีสันสวยงาม นิยมปลูกเปนไมประดับ ใน ประเทศไทยมีประมาณ 5 ชนิด เตยชะงดมีเขตการกระจายพันธุในคาบสมุทร มาเลเซี ย สุ ม าตรา ชวา และบอร เ นี ย ว ในไทยพบที่ จั ง หวั ด กระบี่ พั ง งา นครศรีธรรมราช ปตตานี และนราธิวาส ขึ้นพาดเลื้อยตามตนไมตามริมลําธารใน ปาดิบชื้น ปาพรุน้ําจืด หรือตามยอดเขาในปาดิบเขา ไมพุมเกาะหรือพาดเลื้อย ยาวไดกวา 20 เมตร มีรากอากาศ ไมผลัดใบ ใบเรียงเวียน ออกหนาแนนที่ปลายยอด ใบยาว 5–25 เซนติเมตร กานใบสัน้ โอบรอบลําตน โคนมีตงิ่ กาบบางๆ ขอบใบจัก ฟนเลือ่ ยหางๆ ชวงปลายใบ เสนใบจํานวนมาก ชอดอกแบบชอเชิง ลดมีกาบ ออกสั้นๆ ที่ปลายยอด เรียงแบบชอซี่รม ยาว 4–5 เซนติเมตร ใบประดับมี 3 วง สีสมหรือเหลือง ยาว 5–7 เซนติเมตร ปลายจักฟนเลือ่ ยคลายใบ ไมมีวงกลีบ เกสรเพศผูแ ละเพศเมียเรียง อัดกันแนนบนแกนชอเปนแทงทรงกระบอก

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

56 SW 2331-P25-197-PC7.indd 56

5/1/2554 18:02:52


SW 2331-P25-195-PC7.indd 57

23/12/2553 23:27:43


หญาลอยลม

Spinifex littoreus (Burm. f.) Merr.

Poaceae (Gramineae)

สกุล Spinifex หรือสกุลหญาลอยลม เปนหญาลมลุกอายุหลายป มีไหล ดอก แยกเพศตางตน หรือมีทั้งตนสมบูรณเพศและเพศเดียว ลิ้นใบเปนเยื่อปลายเปน ขน แผนใบแข็งคลายเข็ม ชอดอกเพศผูแบบชอกระจะมีกาบ ชอดอกยอยรูปใบ หอก ชอดอกสมบูรณเพศแบบชอเชิงลดมีกาบประดับ ออกเปนกระจุก มีดอกยอย 2 ดอก ดอกลางเพศผู ดอกบนสมบูรณเพศ เกสรเพศผู 3 อัน มีสมาชิก 4 ชนิด กระจายพันธุอ ยูใ นเขตอบอุน และเขตรอนของเอเชีย จนถึงออสเตรเลีย ในไทยพบ 1 ชนิด หญาลอยลมหรือหญาลูกลม พบตามชายหาด ทั่วไปในเอเชียเขตรอน หญาลมลุก แยกเพศตางตน ลําตนใตดินทอดยาว ใบเรียงสลับ ในระนาบเดียว ยาว 3.5–22.5 เซนติเมตร ชอดอกมีชอยอยจํานวน มาก ชอดอกเพศผูชอดอกยอยยาวประมาณ 1 เซนติเมตร มีดอก ยอย 2 ดอก ชอดอกสมบูรณเพศแบบกระจุกหรือชอกระจุกแนน มี กาบประดับรูปแถบ ยาว 21–27 เซนติเมตร มีหนามยาวประมาณ 11 เซนติเมตร ชอดอกยอยยาวประมาณ 1 เซนติเมตร มีดอกยอย 2 ดอก ดอกลางเพศผู ดอกบนสมบูรณเพศ กลีบเกล็ดมี 2 อัน ยอด เกสรเพศเมียปลายแยกเปนพูขนนก

เทคนิคสีไม ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

58 SW 2331-P25-197-PC7.indd 58

5/1/2554 18:03:48


SW 2331-P25-195-PC7.indd 59

23/12/2553 23:35:12


หนอนตายหยาก

Stemona phyllantha Gagnep.

Stemonaceae

สกุล Stemona เปนไมเถาลมลุก อายุหลายป มีรากเปนหัวใตดินเปนกระจุก ใบเรียงเวียนรอบขอ หรือตรงขาม ชอดอกคลายชอกระจะ กลีบรวม 4 กลีบ เรียง 2 วง เกสรเพศผู 4 อัน อับเรณูติดดานหลัง รังไขอยูเหนือวงกลีบ มีชองเดียว ผล แหงแตกเปน 2 สวน เมล็ดมีขั้วเปนเยื่อคลายถุง มีสมาชิกประมาณ 20 ชนิด ใน ประเทศไทยพบเพียง 2 สกุล อีกสกุล คือ Stichoneuron ตางกันที่มีหัวใตดินกับ ไมมี เสนแขนงใบออกจากโคนและออกจากเสนกลางใบ อับเรณูติดดานหลังและ อับเรณูติดที่โคน ตามลําดับ สกุล Stemona มีเขตการกระจายพันธุในเอเชียเขต รอนจนถึงออสเตรเลียตอนบน ในไทยมีสมาชิกประมาณ 10 ชนิด มีหลายชนิด เปนพืชสมุนไพร เชน Stemona tuberosa Lour. หนอนตายหยากหรือเครือสามสิบ มีการกระจายพันธุแ คบๆ พบทีก่ มั พูชาและไทย ในไทยพบทางภาคเหนือตอนลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงใต ขึน้ ใตรม เงา ในป า เบญจพรรณและป า ดิ บ แล ง บนพื้ น ที่ ใ กล ร ะดั บ น้ํ า ทะเลจนถึ ง ระดั บ สู ง ประมาณ 1,200 เมตร ไม เ ถาล ม ลุ ก ยาวถึ ง 6 เมตร รากรู ป กระสวย ออกเป น กระจุก ยาว 40–50 เซนติเมตร เสนผานศูนยกลาง 2–4 เซนติเมตร ใบรูปใขกวาง ยาว 12–17 เซนติเมตร ปลายเรียวแหลม เสนใบ 9–13 เสน ออกจากโคน ชอดอกออกตามซอกใบหรือติดบนกานใบ กาน ชอยาว 3–8 เซนติเมตร ดอกขนาดใหญ สีเหลืองอมเขียว ยาว 5.5–6.5 เซนติเมตร ผลยาว 3–4 เซนติเมตร มี 20–25 เมล็ด

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ปาจรีย อินทะชุบ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

60 SW 2331-P25-197-PC7.indd 60

5/1/2554 18:05:04


SW 2331-P25-195-PC7.indd 61

23/12/2553 23:36:45


กระเจียว

Curcuma alismatifolia Gagnep.

Zingiberaceae

สกุล Curcuma เปนพืชลมลุก มีลําตนใตดินเปนเหงา มีรากคลายหัว ใบเรียง เวียนเปนกระจุกใกลราก โคนกาบใบหอแนนเปนลําตนเทียม ชอดอกออกทีป่ ลาย ยอดหรือออกจากเหงา บางครั้งออกกอนผลิใบ ใบประดับโคนเชื่อมติดกันเปนถุง หุมชอดอกยอย ใบประดับชวงปลายชอไมมีดอกและมีสีตางไป ชอดอกยอยมี 2–7 ดอก กลีบเลี้ยงแยกดานเดียว กลีบดอกรูปแตร เกสรเพศผูที่เปนหมันคลาย กลีบดอก โคนเชื่อมติดกับกานชูอับเรณูและกลีบปาก ผลแหงแตก มีสมาชิก ประมาณ 50 ชนิด สวนมากพบในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในประเทศไทย มีประมาณ 35 ชนิด กระเจียว หรือขมิ้นโคก หรือที่เรียกกันในชื่ออื่นๆ วา กระเจียวบัว ปทุมมา หรือบัวสวรรค พบเฉพาะในกัมพูชา และไทย ขึ้นตามพื้นที่ โลงในปาผลัดใบทางภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง นิยมปลูก เปนไมประดับ ภายใตชื่อ Siamese tulip ไมลมลุก สูง 45–60 เซนติเมตร ใบมีประมาณ 4 ใบ รูปรีแคบ หรือรูปแถบแกมใบหอกกลับ ผิวใบเกลี้ยงทั้ง 2 ดาน กาบใบยาว ประมาณ 10 เซนติเมตร ชอดอกออกที่ปลายลําตนเทียม กานชอ ยาวประมาณ 50 เซนติเมตร ใบประดับสีเขียวหรือแกมชมพู ใบ ประดับสวนบนมีขนาดใหญกวา สีชมพูหรือชมพูแกมมวง กลีบดอก สีขาวหรือขาวแกมชมพู กลีบปากสีมว ง โคนกลีบสีขาวหรือชมพู ตรง กลางกลีบดานในมีแถบสีเหลือง

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย อรทัย เกิดแกว ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

62 SW 2331-P25-197-PC7.indd 62

5/1/2554 18:06:07


SW 2331-P25-195-PC7.indd 63

23/12/2553 23:38:57


กลวยจะกาหลวง

Globba winitii C. H. Wright

Zingiberaceae

สกุล Globba เปนไมลม ลุกขนาดเล็ก มีเหงาสัน้ ๆ เกสรเพศผูท เี่ ปนหมันอันขาง เปนแผนคลายกลีบดอก กลีบปากแนบติดกานชูอับเรณูเปนรูปหลอดยาว รังไขมี 1 ชอง มีสมาชิกประมาณ 100 ชนิด สวนมากพบในเอเชียเขตรอน มีเพียงชนิด เดียวทีพ ่ บในออสเตรเลีย ในประเทศไทยมีประมาณ 35 ชนิด หลายชนิดมีศกั ยภาพ เปนไมประดับ กลวยจะกาหลวงหรือบางครั้งเรียกวา ขาเจาคุณวินิจ เปนพืชถิ่น เดียวของไทย พบทางภาคเหนือและภาคกลาง ในปาเบญจพรรณและปาดิบเขา ไมลม ลุกอายุหลายป ลําตนสูง 50-70 เซนติเมตร ใบยาว 15-25 เซนติ เ มตร โคนใบรู ป หั ว ใจแคบๆ เว า ลึ ก ช อ ดอกยาว 8-15 เซนติเมตร หอยโคงลง ใบประดับสีขาว ชมพู หรือสีมวงเขม ยาว 1-3 เซนติเมตร กลีบเลีย้ งปลายแยกเปน 3 แฉก หลอดกลีบดอกยาว ประมาณ 1.5 เซนติเมตร กลีบดอกสัน้ ยาวประมาณ 0.5 เซนติเมตร เกสรเพศผู ที่ เ ป น หมั น ยาวเสมอหลอดกลี บ ดอก กลี บ ปากรู ป สามเหลี่ยมกางออกสองขาง เกสรเพศผู 1 อัน กานชูอับเรณูโคงลง ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร อับเรณูมีรยางคขางละ 2 แฉก ผลมี 3 พู ตื้นๆ ผิวขรุขระ

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

64 SW 2331-P25-197-PC7.indd 64

5/1/2554 18:06:57


SW 2331-P25-195-PC7.indd 65

23/12/2553 23:40:27


หงสเหิน

Hedychium khaomaenense Picheansoonthon & Mokkamul

Zingiberaceae

สกุล Hedychium เปนพืชลมลุกขึ้นบนพื้นดินหรืออิงอาศัย เหงาอาจมีอายุ ไดนานหลายป เกสรเพศผูที่เปนหมันเปนแผนคลายกลีบดอก กานชูอับเรณูยาว ปลายอับเรณูไมมีรยางคและเดือยที่โคน กลีบปากไมติดบนกานชูอับเรณู มี สมาชิกประมาณ 50 ชนิด มีเขตการกระจายพันธุในมาดากัสการ เอเชียเขตรอน และกึ่งอบอุน หลายชนิดนิยมปลูกเปนไมประดับ ในประเทศไทยมีประมาณ 25 ชนิด หงสเหินเปนพืชถิน่ เดียวของไทย พบเฉพาะทางภาคใตตอนกลางทีเ่ ขาเหมน จังหวัดนครศรีธรรมราช และเขาพนมเบญจา จังหวัดกระบี่ ขึ้นตามทุงหญาที่พื้น เปนหินบริเวณยอดเขาทีม่ ลี มแรง บางครัง้ พบเกาะตามคบไมในปาดิบเขา ทีส่ งู จาก ระดับน้ําทะเล 1,000–1,200 เมตร ไมลม ลุกอายุหลายป ลําตนสูง 40–60 เซนติเมตร ใบยาว 25–30 เซนติเมตร ลิ้นกาบใบสีแดง ปลายแยกเปน 2 แฉก ขอบกาบใบสี แดง ชอดอกยาว 15–30 เซนติเมตร มี 2–8 ดอก ใบประดับเรียงอัด กันแนน ขอบสีแดง ดอกสีขาวเปลีย่ นเปนสีเหลืองออนกอนหลุดรวง มีกลิน่ หอม หลอดกลีบเลีย้ งยาวประมาณ 10 เซนติเมตร หลอดกลีบ ดอกยาวประมาณ 14 เซนติเมตร กลีบดอกรูปแถบ 3 กลีบ มวนงอ สีแดง ยาว 6–7 เซนติเมตร เกสรเพศผูท เี่ ปนหมันยาว 7–8 เซนติเมตร ปลายกลีบปากแยกเปนแฉกลึกประมาณกึง่ หนึง่ กานเกสรเพศผูย าว 5.5-6 เซนติเมตร ผลรูปรี ยาว 3–3.5 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

66 SW 2331-P25-197-PC7.indd 66

5/1/2554 18:07:42


SW 2331-P25-195-PC7.indd 67

23/12/2553 23:41:45


เปรียง

Swintonia floribunda Griff.

Anacardiaceae

สกุล Swintonia เปนไมตน ใบเดี่ยว เรียงเวียน กานใบยาว ชอดอกแยกแขนง ขนาดใหญ ดอกขนาดเล็ก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีจํานวนอยางละ 5 กลีบ กลีบ ดอกขยายเปนปกในผล ติดทน เกสรเพศผู 5 อัน จานฐานดอกหยัก 5 พู รังไขมี 1 ชอง ซึ่งตางจากสกุลอื่นในวงศ Anacardiaceae ที่มี 2 ชองหรือมากกวา ผลผนัง ชัน้ ในแข็ง มีสมาชิกประมาณ 12 ชนิด พบในพมา ภูมภิ าคอินโดจีน และคาบสมุทร มาเลเซีย ในประเทศไทยมีเพียง 2 ชนิด อีกชนิดคือกานทอง Swintonia schwenkii Teijsm. & Binn ex Hook. f. เปรียงมีเขตกระจายพันธุใ นพมา เวียดนาม คาบสมุทร มาเลเซีย และภาคใตของไทย ขึ้นในปาดิบชื้น ที่สูงจากระดับน้ําทะเลไมเกิน 100 เมตร เนื้อไมนิยมใชทําเรือ ไมอัดหรือไมประกอบ กลอง และของเลนตางๆ ไมตน สูงถึงประมาณ 30 เมตร มีน้ํามันยางกลิ่นคลายยางสน เมื่อถูกอากาศเปลี่ยนเปนสีดํา ใบเรียว ยาว 9–17 เซนติเมตร ชอ ดอกขนาดใหญ ดอกขนาดเล็กติดบนใบประดับ จานฐานดอกรูป เบาะ รังไขมี 1 ชอง ออวุลมีเม็ดเดียว ผลกลมแปนๆ กวางประมาณ 1.7 เซนติเมตร มีปกยาว 5 ปก สีน้ําตาลออนแลวเปลี่ยนเปนสีแดง ยาว 4.5–7.5 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ปาจรีย อินทะชุบ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

68 SW 2331-P25-197-PC7.indd 68

5/1/2554 18:08:32


SW 2331-P25-195-PC7.indd 69

23/12/2553 23:43:05


กลาย

Mitrephora keithii Ridl.

Annonaceae

สกุล Mitrephora หรือสกุลมหาพรหม เปนไมตน ชอดอกออกที่ปลายกิ่งหรือ ซอกใบใกลปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 3 กลีบ กลีบดอก 6 กลีบ เรียงสองวง กลีบวงนอก มีขนาดใหญกวาวงใน กลีบวงในประกบกันคลายรูปหมวก หรือ mitriform อันเปน ที่มาของชื่อสกุล พบตั้งแตอินเดีย จีน จนถึงออสเตรเลีย แตมีศูนยกลางการ กระจายพันธุในบอรเนียวและฟลิปปนส ในประเทศไทยมีประมาณ 8 ชนิด กลาย มีเขตการกระจายพันธุในพมา คาบสมุทรมาเลเซีย และภาคตะวันตกเฉียงใตของ ไทย ขึ้นตามปาดิบแลง ที่สูงจากระดับน้ําทะเลไมเกิน 700 เมตร ดอกสีเหลือง สวยงาม เปนชนิดที่มีขนาดเล็กที่สุดในสกุล เหมาะที่จะนํามาปลูกเปนไมกระถาง หรือไมแคระ ไม ต น ขนาดเล็ ก ใบเรี ย งสลั บ ในระนาบเดี ย ว ยาว 3–5.5 เซนติเมตร แผนใบเปนมันทั้งสองดาน ดอกออกเดี่ยวๆ สีเหลือง นวล มีกลิ่นหอม ดอกบานเสนผานศูนยกลาง 2.5–3 เซนติเมตร กลีบชั้นนอกรูปไข กลีบชั้นในปลายเรียงจรดกันคลายกระเชา ขอบ และเสนกลางกลีบเปนสันนูน มีลายเสนสีมวงแดงบนกลีบ ชอผลมี ผลยอยจํานวนมาก ผลออนสีเขียว เมื่อแกเปลี่ยนเปนสีนวล

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

70 SW 2331-P25-197-PC7.indd 70

5/1/2554 18:09:12


SW 2331-P25-195-PC7.indd 71

23/12/2553 23:49:03


มหาพรหมราชินี

Mitrephora sirikitiae Weeras., Chalermglin & R. M. K. Saunders

Annonaceae

มหาพรหมราชินี เปนพืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะที่จังหวัดแมฮองสอน บริเวณอุทยานแหงชาติน้ําตกแมสุรินทร ขึ้นในปาดิบเขาที่เปนหินปูน ดอกคลาย กับมหาพรหม Mitrephora winitii Craib แตมีขนาดใหญกวา และกานดอกยาว กวา เปนชนิดทีม่ ดี อกใหญทสี่ ดุ ของไทย คําระบุชนิดตัง้ เพือ่ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ไมตนขนาดเล็ก ใบเดี่ยวเรียงสลับในระนาบเดียว ใบใหญ ยาว ไดถึง 22 เซนติเมตร แผนใบดานลางมีขน ชอดอกสั้นๆ ออกตาม ซอกใบหรือตามรอยแผลใบของกิ่งแก แตสวนมากมีดอกเดียวที่ เจริญ กลีบเลี้ยงมีขนสีน้ําตาลแดงหนาแนน กลีบดอกขนาดใหญ มี กลิ่นหอมออนๆ กลีบวงนอกยาว 4–5.5 เซนติเมตร กลีบวงในสั้น กวาเล็กนอย หยักเปนคลื่น มี 10–15 ชอผลมีผลรูปทรงกระบอก จํานวนมาก ยาว 5–6 เซนติเมตร มีขนละเอียดปกคลุมหนาแนน

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

72 SW 2331-P25-197-PC7.indd 72

5/1/2554 18:09:54


SW 2331-P25-195-PC7.indd 73

23/12/2553 23:50:15


ยานนมควาย

Uvaria grandiflora Roxb. ex Hornem var. grandiflora

Annonaceae

สกุล Uvaria เปนไมพุมรอเลื้อยหรือไมเถาเนื้อแข็ง กลีบดอก 6 กลีบ เรียง 2 วง ขนาดใกลเคียงกัน เกสรเพศเมียแยกกัน ผลมีเมล็ดจํานวนมาก ขอมูล โมเลกุลรวมสกุล Anomianthus, Cyathostemma, Ellipeia, Ellipeiopsis และ Rauwenhoffia ไวดว ยกัน ทําใหมสี มาชิกมากกวา 210 ชนิด มีเขตการกระจายพันธุ ในแอฟริกา มาดากัสการ และเอเชียเขตรอน ในประเทศไทยมีประมาณ 27 ชนิด ยานนมควายมีชอื่ เรียกทางภาคใตวา กลวยหมูสงั พบในพมา ภูมภิ าคอินโดจีน และ ภูมภิ าคมาเลเซีย ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงใต ภาคตะวันตกเฉียงใต และ ภาคใต ในปาดิบแลงและปาดิบชืน้ ดอกสวยงามขนาดใหญ นิยมนํามาเปนไมเลือ้ ย ประดับ ผลสุกมีกลิน่ หอม รสหวานอมเปรี้ยว สวนกลวยหมูสังสีนวลเปนพันธหุ นึง่ ของยานนมควาย Uvaria grandiflora Roxb. ex Hornem var. flava (Teijsm. & Binn.) J. Sinclair พบทางภาคตะวันออกเฉียงใตของไทย ดอกสีขาวนวล ไมเถาเนือ้ แข็ง เลือ้ ยพันตนไมใหญ ลําตนมีชอ งอากาศหนาแนน มีขนรูปดาวตามกิ่งออนและแผนใบดานลาง ใบเดี่ยวเรียงสลับใน ระนาบเดียว ชอดอกออกตรงขามใบสั้นๆ ใบประดับคลายใบ ดอก ออกเดีย่ วๆ กลีบเลีย้ งมีขนสัน้ นุม ดานนอก กลีบดอกสีแดงเลือดนก โคนกลีบมีสีออน ยาว 3.5–4 เซนติเมตร มีน้ําตอยสีเหลืองเปลี่ยน เปนสีเขม ชอผลมีประมาณ 15 ผล รูปทรงกระบอก มีขนสัน้ นุม หนา แนนปกคลุม ผลแกสีเหลืองอมสีสม

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

74 SW 2331-P25-197-PC7.indd 74

5/1/2554 18:10:38


SW 2331-P25-195-PC7.indd 75

23/12/2553 23:51:40


หยั่งสมุทร

Amalocalyx microlobus Pierre ex Spire

Apocynaceae

สกุล Amalocalyx เปนสกุลที่มีชนิดเดียว (monotypic genus) มีเขตการ กระจายพันธุในพมา จีนตอนใต และภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบแทบทุก ภาคยกเวนภาคใต ตามปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง ชายปาดิบแลง บางครั้งพบ ตามเขาหินปูน หยั่งสมุทรมีชื่อเรียกทางภาคเหนือหลายชื่อ เชน เครือขาวนึ่ง เครือกิ่วคา แตงเถื่อน มะคะแนง มะจินดา สมจินดา สมจี สมปอง สมมะแงง หรือ สมเสี้ยน ดอกมีสีสันสวยงาม ไมเถาเนื้อแข็ง สวนตางๆ มีน้ํายางสีขาว ใบเรียงตรงขาม ยาว 4–24 เซนติเมตร ชอดอกยาว 9–25 เซนติเมตร ดอกรูปแตร กลีบเลี้ยงมีตอมที่โคนดานใน กลีบดอกสีขาวอมมวงหรือชมพู มีสี เขมดานใน หลอดกลีบยาว 2–3 เซนติเมตร กลีบดอกสั้น เกสรเพศ ผูเ กือบไรกา น ติดประมาณกลางหลอดกลีบดอก ผลเปนฝกแตกแนว เดียวออกเปนคู ติดกันที่โคนและปลาย ยาว 6–9 เซนติเมตร ผนัง เปนคอรก มีขนสั้นนุม ปลายเมล็ดมีกระจุกขนยาวประมาณ 4 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

76 SW 2331-P25-197-PC7.indd 76

5/1/2554 18:11:28


SW 2331-P25-195-PC7.indd 77

23/12/2553 23:53:08


หญาพันเกลียว

Ceropegia thailandica Meve

Apocynaceae

สกุล Ceropegia สวนมากเปนไมเถา มียางใส มีหัวใตดิน ใบเรียงตรงขาม ชอดอกคลายชอซี่รม บางครั้งแยกแขนง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ มีตอมที่โคน กลีบดอก ติดกันเปนหลอด โคนปอง ปลายกลีบมักติดกัน กะบังรอบมี 2 ชั้น ชั้นนอกหยัก เปนพู ชั้นในแยกเปนแฉก กานชูอับเรณูเชื่อมติดกันเปนหลอดสั้นๆ ผลเปนฝกคู เดิมจัดอยูในวงศ Asclepiadaceae ปจจุบันเปนวงศยอยหนึ่ง Asclepianoideae ของวงศ Apocynaceae มีสมาชิกประมาณ 170 ชนิด สวนมากพบในแอฟริกา ใน ประเทศไทยคาดวามีประมาณ 8–10 ชนิด หญาพันเกลียว เปนพืชถิน่ เดียวของไทย พบเฉพาะที่เขตรักษาพันธุสัตวปาภูวัว จังหวัดหนองคาย บนที่ราบยอดภูเขา หินทรายตามทุงหญาและชายปาดิบแลง ที่สูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 300 เมตร ไมลมลุกขนาดเล็ก สูง 10–30 เซนติเมตร มีหัวใตดิน ใบคลาย ใบหญา ยาว 3.5–7 เซนติเมตร ไรกาน ชอดอกมีเพียงดอกเดียว หลอดกลีบดอกโคนโปงพอง ปลายกลีบเรียวยาวเชือ่ มติดกัน รูปลิม่ แคบ บิดเปนเกลียว ยาว 4–5.5 เซนติเมตร โคนกลีบเปนติ่ง มีขน กํามะหยี่สีมวงดํา ขอบกลีบมีขนครุย ปลายขนเปนตอมคลายรูป กระบอง กะบังชั้นนอกมี 10 หยักตื้นๆ ชั้นในแยกเปน 5 แฉก ผล เปนฝกคู รูปกระสวย

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

78 SW 2331-P25-197-PC7.indd 78

10/1/2554 16:15:05


SW 2331-P25-195-PC7.indd 79

23/12/2553 23:57:00


โมกราชินี

Wrightia sirikitiae D. J. Middleton & Santisuk

Apocynaceae

สกุล Wrightia เปนไมพุมหรือไมตนขนาดเล็ก มียางขาว ใบเรียงตรงขาม ชอ ดอกออกที่ปลายกิ่ง ดอกบานรูปกังหัน สวนมากมีกะบังรอบ กานชูอับเรณูสั้น อับ เรณูรูปหัวลูกศร ติดแนบกับยอดเกสรเพศเมีย มี 2 อัน แยกกันหรือติดกัน ผลเปน ฝกคู เมล็ดมีขนกระจุก มีสมาชิกประมาณ 25 ชนิด พบในแอฟริกา เอเชีย และ ออสเตรเลีย ในประเทศไทยมี 14 ชนิด โมกราชินเี ปนพืชถิน่ เดียวของไทย ขึน้ ตาม เขาหินปูนเตีย้ ๆ ทีแ่ หงแลง ในจังหวัดนครสวรรค สระบุรี ลพบุรี และสระแกว ดอก มีกะบังที่สวยงาม คําระบุชนิดตั้งเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทางหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ไดนํามาเปนตราสัญลักษณของหนวยงาน กะบังที่มี 3 ชั้น และมีแฉกจํานวนมาก สื่อความหมายถึงจํานวนของสวนพฤกษศาสตร สวนรุกขชาติ และสวนประเภท อื่นๆ ภายใตสังกัดหอพรรณไม ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็ก ลําตนและกิ่งมีชองอากาศ ใบรูปรี หรือรูปขอบขนาน ยาว 3–10 เซนติเมตร ชอดอกออกสั้นๆ ตาม ปลายกิง่ กลีบเลีย้ งดานในมีตอ มทีโ่ คน ดอกบานเสนผานศูนยกลาง 3–5 เซนติเมตร มีกระบัง 3 ชั้น แยกเปนแฉกๆ ปลายแฉกเปนตุม ผลเปนฝกคู กางออก มีชองอากาศหนาแนน

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

80 SW 2331-P25-197-PC7.indd 80

5/1/2554 18:13:07


SW 2331-P25-195-PC7.indd 81

28/12/2553 0:20:09


นิ้วมือพระนารายณใบวน

Schefflera poomae Esser & Jebb

Araliaceae

สกุล Schefflera เปนไมอิงอาศัยหรือเติบโตบนพื้นดินได ลําตนไมมีหนาม หูใบเชื่อมติดกานใบ ใบประกอบสวนมากรูปฝามือ กานใบยอยไมเชื่อมติดกัน เหมือนในสกุล Trevesia ชอดอกแบบชอแยกแขนงหรือชอกระจะเชิงประกอบ ชอดอกยอยสวนมากเปนชอซี่รม กานดอกยอยไมมีขอตอใตรังไข กลีบเลี้ยงเรียบ หรือมี 5 หยัก กลีบดอก 5–11 กลีบ เกสรเพศผู 5–11 อัน รังไขอยูใตวงกลีบ ผลผนังชัน้ ในแข็ง มีสมาชิกมากกวา 1,000 ชนิด ซึง่ ในอนาคตอาจจําแนกออกเปน หลายสกุล สวนสกุล Schefflera จริงๆ พบเฉพาะแถบหมูเ กาะในมหาสมุทรแปซิฟก ชนิดทีพ ่ บในเอเชียอาจปรับเปลีย่ นยายไปอยูส กุลอืน่ ๆ ในประเทศไทยมีประมาณ 20 ชนิด นิ้วมือพระนารายณใบวนเปนพืชถิ่นเดียวของไทย เพิ่งไดรับการตีพิมพ เปนพืชชนิดใหมของโลกในป พ.ศ. 2553 พบเพียงแหงเดียวที่ดอยหัวหมด เขตรักษาพันธุสัตวปาอุมผาง จังหวัดตาก ขึ้นตามเขาหินปูนที่เปดโลง ที่สูงจาก ระดับน้ําทะเลประมาณ 1,000 เมตร ไมพุมอิงอาศัย ขึ้นตามโขดหิน สูง 2–5 เมตร ใบประกอบรูป ฝามือเรียงเวียน มีใบยอย 7–10 ใบ ใบยอยยาว 16–20 เซนติเมตร แผนใบดานลางมีขนสั้นนุมชัดเจน เสนแขนงใบขางละ 18–20 เสน ชอดอกแบบชอซีร่ ม เชิงประกอบ มี 8–9 ชอ กานชอยอยยาว 30–45 เซนติเมตร ชอซี่รมมี 15–25 ชอ เกือบไรกาน เสนผานศูนยกลาง 1.6–2 เซนติเมตร มี 9–13 ดอก กลีบดอกสีขาว มี 6 กลีบ ยาว ประมาณ 0.3 เซนติเมตร เกสรเพศผู 6 อัน ยอดเกสรเพศเมียแยก เปน 6 หยัก ผลยาวประมาณ 0.5 เซนติเมตร เปนรองตามยาว

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

82 SW 2331-P25-197-PC7.indd 82

5/1/2554 18:13:44


SW 2331-P25-195-PC7.indd 83

24/12/2553 0:43:27


นกกระจิบ

Aristolochia harmandiana Pierre ex Lecomte

Aristolochiaceae

สกุล Aristolochia เปนไมเถาลมลุก ไมเถาเนื้อแข็ง หรือไมพุมทอดนอน ไมมี หูใบ ใบเดี่ยวเรียงเวียน จัก 3 พูหรือรูปฝามือ กานดอกเชื่อมติดรังไข กลีบรวม เชือ่ มติดกันขยายเปนกระเปาะ แลวคอดเรียวเปนหลอด ปลายกลีบบานออกมี 1–2 กลีบ เกสรเพศผู 6 อัน แนบติดกานเกสรเพศเมียเปนเสาเกสร รังไขอยูใตวงกลีบ ผลแตกแนวเดียวตามรอยประสาน โคนกานและปลายผลติดกันคลายกระเชา มี 6 ซีก เมล็ดจํานวนมาก มีปกหรือไมมี มีสมาชิกประมาณ 400 ชนิด มีเขตการกระ จายพันธุในเขตรอนหรือกึ่งเขตรอน ในประเทศไทยมีประมาณ 20 ชนิด และนํา เขามาปลูกเปนไมประดับอีก 2–3 ชนิด นกกระจิบ พบเฉพาะที่ลาว กัมพูชา และ ทางภาคตะวันตกเฉียงใตของไทย ที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ ขึ้นตามเขาหินปูนที่ แหงแลง ไมลมลุก โคนตนมีเนื้อไม ตั้งตรงหรือหอยลง ลําตนมีขนสั้นนุม ใบยาว 6–12 เซนติเมตร แผนใบมีขนละเอียดทั้งสองดาน ชอดอก ออกสั้นๆ ตามซอกใบ ยาว 1–2 เซนติเมตร ดอกสีน้ําตาลแดง กระเปาะกลมหรือรูปไข ยาว 0.4–0.5 เซนติเมตร หลอดกลีบดอก งอขึ้นเล็กนอย ยาวประมาณ 0.8 เซนติเมตร ปลายกลีบบานออก ยาว 1.2–1.5 เซนติเมตร ผลรูปไข มี 6 สัน ยาว 1.2–1.6 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

84 SW 2331-P25-197-PC7.indd 84

5/1/2554 18:14:22


SW 2331-P25-195-PC7.indd 85

24/12/2553 0:45:24


เทียนสวาง

Impatiens cardiophylla Craib

Balsaminaceae

สกุล Impatiens หรือสกุลเทียน เปนพืชลมลุกอวบน้ํา ดอกสมมาตรดานขาง กลีบปากสวนมากเปนถุง มักมีเดือย กลีบดอกกลีบกลางบานออกหรือรูปคุม กลีบ ขางหรือกลีบปกติดกันหรือแยกกัน อับเรณูติดกันเปนวงคลายหมวก ผลแหงแตก ซึ่งตางจากสกุล Hydrocera ที่มีผลเปนแบบผลสดมีหลายเมล็ด สกุลเทียนมี สมาชิ ก กว า 1,000 ชนิ ด ส ว นใหญ ก ระจายพั น ธุ ใ นทวี ป แอฟริ ก าและเอเชี ย ในประเทศไทยอาจพบมากถึง 100 ชนิด เทียนสวางเปนพืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะทางภาคใตตอนบนบริเวณจังหวัดประจวบคีรขี นั ธและชุมพร ขึน้ ตามเขา หินปูนเตี้ยๆ ใกลชายทะเล ไมลมลุก ลําตนอวบน้ํา สูงไดถึง 60 เซนติเมตร ใบเรียงเวียน แผนใบอวบน้ํา ยาว 3–6 เซนติเมตร ขอบใบจักซี่ฟนตื้นหางๆ บาง ครั้งมีตอม 1 คู ใกลโคนใบดานลาง ดอกออกเดี่ยวๆ ตามซอกใบ ใบประดับรูปเสนดายติดที่ขอกานดอก กลีบปากกวางประมาณ 2 เซนติเมตร เดือยยาวประมาณ 1 เซนติเมตร โคงตอนปลาย กลีบ ดอกกลีบกลางรูปหัวใจ กวางประมาณ 3 เซนติเมตร กลีบปกแฉก ลึก ยาวประมาณ 2.5 เซนติเมตร ผลเกลี้ยง เมล็ด ผิวเปนรางแห มีขนบิดเวียน

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

86 SW 2331-P25-197-PC7.indd 86

5/1/2554 18:17:16


SW 2331-P25-195-PC7.indd 87

24/12/2553 0:46:57


ดาดนภา

Begonia soluta Craib

Begoniaceae

สกุล Begonia เปนไมลมลุกอวบน้ํา มีเหงาใตดิน ดอกแยกเพศรวมตน เสนใบ รูปฝามือ กลีบรวม 2–4 กลีบในดอกเพศผู ในดอกเพศเมียอาจมีไดถึง 10 กลีบ กลีบคูน อกสวนมากมีขนาดใหญกวาคูใ น เกสรเพศผูจ าํ นวนมาก รังไขอยูใ ตวงกลีบ ผลแหงแตก สวนมากมี 3 ปก เมล็ดจํานวนมาก มีสมาชิกกวา 1,400 ชนิด พบทั้ง ในแอฟริกา อเมริกากลาง อเมริกาใต และเอเชีย ในประเทศไทยมีมากกวา 50 ชนิด หลายชนิดนําเขามาปลูกเปนไมประดับ มีใบสวยงาม มีสีสันและลวดลาย แปลกตา ปลูกและขยายพันธุงาย ดาดนภาเปนพืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะที่ ดอยหัวหมด เขตรักษาพันธุสัตวปาอุมผาง จังหวัดตาก ขึ้นกระจายเปนกลุมๆ บน เขาหินปูนที่เปดโลง ที่สูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 1,000 เมตร ไมลมลุกขนาดเล็ก ไมมีลําตน ใบเกือบกลม เสนผานศูนยกลาง 2–5 เซนติเมตร ดอกเพศผูมีกลีบรวม 4 กลีบ กลีบคูนอกรูปไขกลับ ยาว 1–1.2 เซนติเมตร กลีบคูในรูปแถบ ยาว 0.7–1.2 เซนติเมตร ดอกเพศเมียคลายดอกเพศผู ผลหอยลง ยาวประมาณ 5 เซนติเมตร ปกขางยาวประมาณ 0.6 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

88 SW 2331-P25-197-PC7.indd 88

5/1/2554 18:17:52


SW 2331-P25-195-PC7.indd 89

24/12/2553 0:50:04


สําเภาทอง

Radermachera boniana Dop

Bignoniaceae

สกุล Radermachera หรือสกุลกาซะลองคํา เปนไมตน ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ใบประกอบแบบขนนก 1–3 ชัน้ เรียงตรงขามสลับฉาก ชอดอกแบบชอกระจุกแยก แขนง หรือแขนงลดรูปคลายชอกระจะ ออกที่ปลายกิ่งหรือตามกิ่ง กลีบเลี้ยง ไมเทากัน กลีบดอกรูปแจกันหรือรูปแตร ปลายแยกเปน 5 แฉก เกสรเพศผู 4 อัน รังไขอยูเหนือวงกลีบ มี 2 ชอง ผลแหงแตกกลางพู มีเมล็ดจํานวนมาก เมล็ดแบน มีปกใสๆ ดานขาง มีสมาชิกประมาณ 15 ชนิด สวนใหญกระจายพันธุอยูใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในประเทศไทยพบ 7 ชนิด สําเภาทองมีการ กระจายพันธุแคบๆ พบเฉพาะในเวียดนามภาคเหนือ และภาคเหนือของไทยที่ ดอยตุง จังหวัดเชียงราย ขึน้ ในปาดิบเขาต่าํ ทีเ่ ปนเขาหินปูน สูงจากระดับน้าํ ทะเล ประมาณ 1,300 เมตร ไมตน สูง 10–15 เมตร ใบประกอบแบบขนนก 2 ชั้น ยาว 20–25 เซนติเมตร ใบประกอบยอยมี 2-3 คู ใบยอยมี 1–2 คู ยาว 2–7 เซนติเมตร โคนใบเบีย้ ว แผนใบดานลางมีตอ มประปราย ปลาย ใบอาจยาวไดถึง 3 เซนติเมตร ชอดอกแบบชอกระจุก แยกแขนง สั้นๆ ออกตามลําตนหรือกิ่ง ยาว 5–12 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงติดกัน เปนรูปถวย ปลายเปนแฉกตื้นๆ กลีบดอกสีเหลืองสด หลอดกลีบ ยาวประมาณ 4 เซนติเมตร โคนแคบ ปลายบานออก ฝกยาวคลาย ฝกถั่ว บิดงอ ยาว 35–45 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 21 x 29 เซนติเมตร โดย อรทัย เกิดแกว ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

90 SW 2331-P25-197-PC7.indd 90

5/1/2554 18:18:30


SW 2331-P25-195-PC7.indd 91

24/12/2553 0:52:30


หมันทะเล

Cordia subcordata Lam.

Boraginaceae

สกุล Cordia เปนไมตนหรือไมพุม ใบเดี่ยวเรียงเวียน ชอดอกแบบชอเชิงหลั่น ดอกสีขาว เหลือง หรือสม เกสรเพศเมียแยกสอง 2 ครั้ง มีสมาชิกประมาณ 325 ชนิด สวนใหญพบในอเมริกาเขตรอน ในประเทศไทยมีประมาณ 10 ชนิด มี 2 ชนิดที่นําเขามาปลูกเปนไมประดับ คือสุวรรณพฤกษ Cordia dentata Poir. และ คอรเดีย Cordia sebestina L. หรือ Sea Trumpet หมันทะเล พบตามชายหาดที่ เปนทรายหรือโขดหิน ตัง้ แตแอฟริกาตะวันออก อินเดีย จีน (เกาะไหหลํา) กัมพูชา เวียดนาม ภาคใตของไทย ภูมภิ าคมาเลเซีย ไปจนถึงทางตอนเหนือของออสเตรเลีย แตจํานวนประชากรไมหนาแนนมากนัก ออกดอกและติดผลตลอดทั้งป เมล็ด รับประทานได เนื้อไมทนปลวกไดดี ในปาปวนิวกินีใชทําภาชนะใสอาหารซึ่งจะ ไมทําใหรสอาหารเปลี่ยน ไมตนขนาดเล็ก เนื้อไมมีสีสม ใบยาว 8–20 เซนติเมตร ชอดอก ออกสั้นๆ ตามปลายกิ่ง มี 4–20 ดอก กลีบเลี้ยงติดกันเปนหลอด ยาว 1–2 เซนติเมตร ปลายแยกเปนแฉกสั้นๆ ไมเทากัน กลีบดอก รูปแตร สีสม ยาว 3–5 เซนติเมตร มี 5–8 กลีบ เกสรเพศผูมีจํานวน เทากับกลีบดอก ผลหุมดวยกลีบเลี้ยงที่เจริญจนมิด ยาว 2–3 เซนติเมตร มี 1–4 เมล็ด

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

92 SW 2331-P25-197-PC7.indd 92

5/1/2554 18:19:13


SW 2331-P25-195-PC7.indd 93

24/12/2553 0:53:35


สายน้ําผึ้งใหญ

Lonicera hildebrandtiana Collett & Hemsl.

Caprifoliaceae

สกุล Lonicera เปนไมพุมและไมเถา ใบเดี่ยวเรียงตรงขาม ชอดอกแบบชอ กระจุกแยกแขนง ดอกคลายรูปปากเปด กลีบดอก 5 กลีบ กลีบบน 4 กลีบ ดอก สวนมากเปลี่ยนเปนสีเขมตามอายุ หลอดกลีบดอกยาว มีตอมน้ําตอย มีสมาชิก ประมาณ 180 ชนิด พบในอเมริกาเหนือ ยุโรป แอฟริกาและเอเชีย ในประเทศจีน มีกวา 100 ชนิด ชื่อสามัญของสกุล คือ Honeysuckle จากลักษณะของดอกที่มี กลิ่นหอมและนําหวานจํานวนมาก เชน สายน้ําผึ้ง Lonicera japonica Thunb. ที่ นิยมปลูกเปนไมประดับทั่วไปในเขตรอน สวนสายน้ําผึ้งใหญมีเขตการกระจาย พันธุใ นพมา จีนตอนใต และภาคเหนือของไทย ขึน้ ตามพืน้ ทีโ่ ลงในปาดิบเขา ระดับ ความสูง 1,300–1,900 เมตร ไมพุมรอเลื้อย ใบยาว 7–12 เซนติเมตร แผนใบมีจุดเล็กๆ สี ขาวกระจายทัง้ สองดาน โดยเฉพาะบริเวณเสนกลางใบ ชอดอกแบบ กระจุกดานเดียว มี 2 ดอกยอย กลีบดอกเปนหลอดยาวปลายผาย ออกเปนรูปปากเปด ยาว 10–15 เซนติเมตร มีกลิ่นหอม เกสรเพศ ผู 5 อัน ผลแบบผลสดทีเ่ นือ้ หุม ผลเจริญจากฐานดอก ยาวประมาณ 2.5 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

94 SW 2331-P25-197-PC7.indd 94

5/1/2554 18:19:48


SW 2331-P25-195-PC7.indd 95

24/12/2553 1:05:45


กระทงลาย

Celastrus paniculatus Willd.

Celastraceae

สกุล Celastrus เปนไมเถาหรือไมพมุ รอเลือ้ ย แยกเพศตางตน กิง่ มีชอ งอากาศ ใบเรี ย งเวี ย น ช อ ดอกแบบช อ กระจุ ก หรื อ แยกแขนง ดอกส ว นมากมี สี เขี ย ว กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีจํานวนอยางละ 5 กลีบ เกสรเพศผูติดบนจานฐานดอก รังไขไมเชื่อมติดจานฐานดอก ผลแหงแตกเปน 3 สวน เมล็ดมีเยื่อหุม มีสมาชิก ประมาณ 30 ชนิด มีเขตการกระจายพันธุในอเมริกา มาดากัสการ เอเชีย และ ออสเตรเลีย ในประเทศไทยมี 5 ชนิด กระทงลาย หรือทางภาคเหนือเรียกวา มะแตก พบตั้งแตอินเดีย พมา จีนตอนใต ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย จนถึง ออสเตรเลีย ในไทยพบทั่วไปทุกภาค ขึ้นตามชายปาทั่วไป บนพื้นที่ราบลุมจนถึง ที่สูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 1,300 เมตร ไมเถาเนื้อแข็ง กิ่งมีชองอากาศ ตามีเกล็ดหุมเรียงซอนเหลื่อม ใบยาว 6–15 เซนติเมตร ขอบใบจักฟนเลื่อยหรือจักมนหางๆ แผน ใบเกลี้ยง ชอดอกแบบแยกแขนงออกตามปลายกิ่ง ยาว 5–20 เซนติเมตร ดอกขนาดเล็กจํานวนมาก สีเขียวออน เกสรเพศผูเปน หมัน ผลทรงกลม ยาว 0.5–1 เซนติเมตร มี 3–6 เมล็ด มีเยื่อหุม เมล็ดสีเหลืองอมสม

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ปาจรีย อินทะชุบ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

96 SW 2331-P25-197-PC7.indd 96

5/1/2554 18:20:22


SW 2331-P25-195-PC7.indd 97

24/12/2553 1:14:09


กําแพงเจ็ดชั้น

Salacia chinensis L.

Celastraceae

สกุล Salacia เปนไมเถาหรือไมพมุ รอเลือ้ ย ใบเดีย่ วเรียงตรงขาม ขอบใบเรียบ หรือจักมน ชอดอกแบบชอกระจุกหรือแยกแขนงสัน้ ๆ ออกตามซอกใบ กลีบเลีย้ ง 5 กลีบ กลีบดอกสวนมาก 5 กลีบ เรียงซอนเหลื่อม จานฐานดอกชัดเจน เกสร เพศผูสวนมากมี 3 อัน รังไขจมอยูในจานฐานดอก ผลผนังชั้นในแข็ง มีสมาชิก ประมาณ 200 ชนิด พบทั่วไปในเขตรอน ในประเทศไทยมี 11 ชนิด กําแพงเจ็ดชั้น มีชื่อเรียกอื่นๆ วา เครือน้ํานอง เครือตากวาง ตากวางหรือตาไก และหลุมนก ชื่อ สามัญคือ Chinese salacia หรือ Saptarangi นิยมนําไปผสมกับสมุนไพรชนิดอืน่ ๆ ผลิตเปนยาดองเหลา มีสรรพคุณฟอกโลหิต แกปวดตามขอ แกประดง พบตั้งแต อินเดีย จีน พมา ภูมิภาคอินโดจีน ภูมิภาคมาเลเซีย จนถึงออสเตรเลีย ในไทยพบ ทั่วไปทุกภาค ขึ้นในปาหลายประเภท และปาโปรง ที่แหงแลง บนพื้นที่ระดับต่ํา จนถึงที่สูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 1,600 เมตร ไมเถาเนื้อแข็งหรือไมพุมรอเลื้อย ทอดยาวถึง 8 เมตร ใบยาว 4–17 เซนติเมตร ชอดอกมี 3–6 ดอก กานดอกยาว 0.6–1 เซนติเมตร ดอกสีเขียวอมเหลืองหรือสีเขียว ขอบกลีบเลี้ยงเปนชายครุย กลีบ ดอกยาว 0.3–0.4 เซนติเมตร ปลายกลีบกลม พับงอกลับ จานฐาน ดอกรูปถวยคลายเปนถุง มีปมุ เล็กๆ ตามขอบ เกสรเพศผูต ดิ บนขอบ จานฐานดอก ผลคอนขางกลม เสนผานศูนยกลาง 1–2 เซนติเมตร สุกสีแดงหรือแดงอมสม มีเมล็ดเดียว

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ปาจรีย อินทะชุบ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

98 SW 2331-P25-197-PC7.indd 98

5/1/2554 18:32:35


SW 2331-P25-197-PC7.indd 99

10/1/2554 16:21:24


เถากระดึงชาง

Argyreia lanceolata Choisy

Convolvulaceae

สกุล Argyreia เปนไมเถา มีน้ํายางสีขาว ใบเดี่ยว เรียงเวียน ชอดอกสวนมาก ออกตามซอกใบ กลีบเลีย้ งขยายในผล ติดทน มักมีขนดานนอก กลีบดอกรูประฆัง หรือรูปลําโพง ปลายแยกเปน 5 กลีบตื้นๆ หรือแฉกลึก กลางกลีบมักมีแถบขน อับเรณูเปนหนามละเอียด ผลสดมีหลายเมล็ด มีสมาชิกประมาณ 90 ชนิด สวน มากพบในเอเชียเขตรอน มีเพียงชนิดเดียวในออสเตรเลีย ในประเทศไทยมี ประมาณ 35 ชนิด หลายชนิดมีดอกสวยงามและมีศกั ยภาพเปนไมประดับได ชนิด ที่นิยมปลูกเปนไมประดับ คือ ใบระบาด Argyreia nervosa (Burm. f.) Choisy ที่ มีใบประดับขนาดใหญ มีถนิ่ กําเนิดในอินเดีย สวนเถากระดึงชางมีเขตการกระจาย พันธุใ นอินเดีย พมา และภูมภิ าคอินโดจีน ในไทยพบเกือบทุกภาคยกเวนภาคตะวัน ตกเฉียงใตและภาคใต ขึน้ ตามทีโ่ ลงในปาเต็งรัง ปาเต็งรังผสมสนหรือกอ บนพืน้ ที่ สูงจากระดับน้าํ ทะเลระหวาง 100–800 เมตร มีรากแข็งแรง ทําใหทนไฟและความ แหงแลง เปนพรรณไมในวงศผักบุงที่สวยงามมากชนิดหนึ่ง ไมเถาลมลุก ทอดยาวถึง 5 เมตร สวนตางๆ มีขนยาวสีเงิน ปกคลุม ใบยาว 6–17 เซนติเมตร ชอดอกออกสั้นๆ สวนมากมี 1–3 ดอก ใบประดับยาวประมาณ 1.2 เซนติเมตร รวงงาย กลีบเลี้ยง ขนาดไมเทากัน กลีบนอก 3 กลีบยาว 1.2–2 เซนติเมตร มีขนหยาบ ดานนอก กลีบใน 2 กลีบกวางกวาเล็กนอย กลีบดอกรูปปากแตร ยาว 5–6.3 เซนติเมตร สีมวงแดง โคนกานชูอับเรณูมีขนยาว ผล เกือบกลม เสนผานศูนยกลาง 0.7–0.8 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

100 SW 2331-P25-197-PC7.indd 100

5/1/2554 18:34:56


SW 2331-P25-195-PC7.indd 101

24/12/2553 1:17:15


เครือพุงหมู

Argyreia leucantha Traiperm & Staples

Convolvulaceae

เครือพุงหมู เปนพืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทีจ่ งั หวัดมุกดาหารและอุบลราชธานี ขึน้ ตามปาเต็งรังทีเ่ ปนหินทราย สูงจากระดับ น้ําทะเล 100–300 เมตร ลักษณะทั่วไปคลายกับเครือพูทองโดยเฉพาะตนและใบ ที่มีขนสีน้ําตาลหนาแนน แตดอกมีลักษณะแตกตางกันอยางชัดเจน โดยที่ดอก เครือพุงหมูรูประฆัง (campanulate) สวนดอกเครือพูทองรูปแจกัน (salverform) ไมเถาลมลุก กิง่ มีขนยาวสีนา้ํ ตาล ใบเดีย่ ว ยาว 6–12 เซนติเมตร แผนใบมีขนกระจายทัง้ สองดาน ชอดอกออกสัน้ ๆ ดูคลายชอกระจุก มี 2–9 ดอก ใบประดับยาว 1.5–2 เซนติเมตร ติดทน มีขนยาวสี น้าํ ตาล กลีบเลีย้ งขนาดไมเทากัน 2 กลีบนอกยาวกวา 3 กลีบในเล็ก นอย กลางกลีบดานนอกมีแถบขนสีน้ําตาล กลีบดอกรูประฆัง ยาว 5–6 เซนติเมตร มีริ้วสีเขียว โคนกานชูอับเรณูมีขนยาว อับเรณูเปน หนาม ผลเกือบกลม เสนผานศูนยกลาง 0.7–0.8 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

102 SW 2331-P25-197-PC7.indd 102

5/1/2554 18:35:52


SW 2331-P25-195-PC7.indd 103

24/12/2553 1:20:23


จันทรกลา

Merremia mammosa (Lour.) Hallier. f.

Convolvulaceae

สกุล Merremia เปนไมเถา ชอดอกแบบชอกระจะ ใบประดับขนาดเล็ก ขยาย ติดทนในผล ดอกสวนมากมีสีขาวหรือเหลือง เกสรเพศผูมักบิดเวียน ผลแหงแตก อาออก ลักษณะดอกคลายกับสกุล Ipomoea แตละอองเรณูไมมีหนาม และคลาย กับสกุล Operculina แตผลของสกุล Operculina มีฝาปดตามขวาง มีสมาชิก ประมาณ 100 ชนิด มีเขตการกระจายพันธุใ นเขตรอนและเขตอบอุน ในประเทศไทย มี 16 ชนิด จันทรกลาพบตั้งแตอินเดีย พมา เวียดนาม และชวา ในไทยพบเกือบ ทุกภาคยกเวนภาคใตและภาคตะวันออกเฉียงใต ขึน้ ตามปาเบญจพรรณหรือชาย ปาดิบแลง บนเขาหินปูน ที่สูงจากระดับน้ําทะเลไมเกิน 400 เมตร ไมเถาลมลุก กิง่ มีขนยาวสีนา้ํ ตาล ใบเดีย่ ว เรียงเวียน ยาว 6–12 เซนติเมตร แผนใบมีขนกระจายทั้งสองดาน ชอดอกออกสั้นๆ ดู คลายชอกระจุก มี 2–9 ดอก ใบประดับยาว 1.5–2 เซนติเมตร ติด ทน มีขนยาวสีน้ําตาล กลีบเลี้ยงขนาดไมเทากัน 2 กลีบนอกยาว กวา 3 กลีบในเล็กนอย กลางกลีบดานนอกมีแถบขนสีน้ําตาล กลีบ ดอกรูประฆัง ยาว 5–6 เซนติเมตร มีริ้วสีเขียว โคนกานชูอับเรณูมี ขนยาว อับเรณูเปนหนาม ผลเกือบกลม เสนผานศูนยกลาง 0.7–0.8 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

104 SW 2331-P25-197-PC7.indd 104

5/1/2554 18:37:00


SW 2331-P25-195-PC7.indd 105

24/12/2553 1:22:48


แตงขน

Cucumis hystrix Chakrav.

Cucurbitaceae

สกุล Cucumis หรือสกุลแตงกวา หรือแตงไทย เปนไมเถาลมลุก มือจับไมแยก แขนง ใบเดี่ยว เรียงเวียน รูปฝามือหรือเวาเปนพู ดอกออกเดี่ยวๆ หรือออกเปน กระจุก เกสรเพศผู 3 อัน รังไขอยูใตวงกลีบ ผลสดสวนมากมีขนาดใหญ มีหรือ ไมมีหนาม มีสมาชิกประมาณ 30 ชนิด สวนใหญพบในแอฟริกา ในประเทศไทย พบตามธรรมชาติเพียงชนิดเดียว แตงขนมีเขตการกระจายพันธุในอินเดีย พมา จีนตอนใต ภาคเหนือและภาคตะวันตกเฉียงใตของไทย ตามชายปา บางครั้งพบ ตามเขาหินปูน บนพื้นที่ระดับต่ําจนถึงระดับความสูงประมาณ 1,800 เมตร ไม เ ถาล ม ลุ ก ดอกแยกเพศร ว มต น ไม มี ใ บประดั บ เที ย ม (probract) มือจับไมแยกแขนง แผนใบเวา 3–5 พู เสนผานศูนยกลาง 5–15 เซนติเมตร กานใบยาวประมาณ 8 เซนติเมตร ดอกออกตาม ซอกใบที่ ข อ ดอกเพศเมี ย ออกเดี่ ย วๆ ดอกเพศผู อ อกเป น กระจุก 2–7 ดอก กลีบดอกสีเหลือง ยาว 0.4–0.6 เซนติเมตร ผล หอยลง ยาว 3–5 เซนติเมตร ผิวมีขนแข็งคลายหนาม เมล็ดไมมีปก

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

106 SW 2331-P25-197-PC7.indd 106

5/1/2554 18:39:06


SW 2331-P25-195-PC7.indd 107

24/12/2553 1:24:01


บวบขน

Sinobaijiania smitinandii W. J. de Wilde & Duyes

Cucurbitaceae

สกุล Sinobaijiania เปนไมเถาลมลุก ดอกแยกเพศตางตน มีหัวใตดิน มือจับ แยกเปน 2 แฉก ใบเรียบหรือเวาเปนพูตื้นๆ ดอกสีเหลือง ชอดอกเพศผูแบบ ชอกระจะ เกสรเพศผู 5 อัน ดอกเพศเมียออกเดี่ยวๆ หรือเปนชอสั้นๆ มีไมเกิน 3 ดอก มีเกสรเพศผูที่เปนหมัน 5 อัน รังไขอยูใตวงกลีบ ผลสด เมล็ดจํานวนมาก มีสมาชิกเพียง 4 ชนิด มีเขตการกระจายพันธุในจีนตอนใต ไตหวัน และภูมิภาค อินโดจีน ในประเทศไทยมีชนิดเดียว บวบขนเปนพืชถิน่ เดียวของไทย พบทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงใต ตามชายปาดิบแลง ที่สูงจากระดับน้ําทะเล 100–400 เมตร ไมเถา ยาวไดถงึ 10 เมตร หัวใตดนิ มีเสนผานศูนยกลางประมาณ 10 เซนติเมตร ใบรูปไข ยาว 7–20 เซนติเมตร แผนใบมีขนสั้นนุมทั้ง สองดาน ชอดอกเพศผูยาว 1–5 เซนติเมตร มี 5–15 ดอก ฐานดอก มี 10 ริ้ว กลีบดอกยาวประมาณ 1 เซนติเมตร ดานในมีตอมขน หนาแนน ดอกเพศเมียออกเดีย่ วๆ ตามขอ คลายดอกเพศผู ผลทรง กลมรี ยาว 6–8.5 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

108 SW 2331-P25-197-PC7.indd 108

5/1/2554 18:41:34


SW 2331-P25-195-PC7.indd 109

24/12/2553 1:27:45


สาน

Dillenia ovata Wall. ex Hook. f. & Thomson

Dilleniaceae

สกุล Dillenia หรือสกุลสาน เปนไมตนหรือไมพุม มีทั้งผลัดใบและไมผลัดใบ ดอกขนาดใหญ ออกเดีย่ วๆ หรือเปนชอ กลีบเลีย้ งสวนใหญมี 5 กลีบ หรือมากกวา มักขยายหุมผล กลีบดอก 4–7 กลีบ เกสรเพศผูจํานวนมาก อับเรณูวงในยาวกวา วงนอก ปลายมีรยางค เกสรเพศเมียมี 4–20 อัน ผลมีกลีบเลีย้ งทีข่ ยายหุม มีสมาชิก ประมาณ 65 ชนิด สวนใหญพบในเอเชียเขตรอน ในประเทศไทยมีประมาณ 10 ชนิด สาน บางครัง้ เรียกวาสานใบเล็ก สวนทางภาคอีสานเรียกสามกลีบหรือตานก กด พบทั่วไปในภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมาเลเซีย และสุมาตรา ขึ้นตามที่โลง ในปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง ปาดิบแลง และปาดิบชื้น ไมตน ไมผลัดใบ สูง 8–15 เมตร ใบเดี่ยว เรียงเวียน ยาว 10–20 เซนติเมตร เสนใบเรียงขนานกัน ขอบใบจักเปนติง่ หนาม ดอกขนาด ใหญ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีจํานวนอยางละ 5 กลีบ ดอกบานมี เสนผานศูนยกลาง 15–20 เซนติเมตร เกสรเพศเมียมี 8–12 อัน ผล แบบผลสด เสนผานศูนยกลาง 5–6 เซนติเมตร รวมกลีบเลี้ยงหนา ที่ขยายขึ้นหุมตัวผลจนมิด

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

110 SW 2331-P25-197-PC7.indd 110

5/1/2554 18:43:35


SW 2331-P25-195-PC7.indd 111

24/12/2553 1:32:57


ยางกราด

Dipterocarpus intricatus Dyer

Dipterocarpaceae

สกุล Dipterocarpus สวนใหญเปนไมตนขนาดใหญ ใบคอนขางหนา พับจีบ เสนแขนงใบขนานกัน หูใบขนาดใหญ กลีบเลีย้ งเชือ่ มติดกันรูปถวย กลีบดอกขนาด ใหญ บิดเวียน อับเรณูมีรยางคยาว กลีบเลี้ยงขยายเปนปกยาว 2 ปกในผล สวน ใหญกระจายพันธุในเอเชียเขตรอน โดยเฉพาะภูมิภาคมาเลเซีย เปนไมเศรษฐกิจ ที่สําคัญ ทั้งเนื้อไม ชัน และน้ํามันยาง มีสมาชิกประมาณ 70 ชนิด ในประเทศไทย มี 17 ชนิด ยางกราดบางครั้งเรียกเหียงกราด หรือกราด สวนภาคอีสานตอนลาง เรียกสะแบงหรือตะแบง ในไทยพบทัว่ ไปในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขึน้ หนาแนน เปนกลุมในปาเต็งรัง นิยมเก็บไวตามหัวไรปลายนาใหรมเงา เนื้อไมแข็งใชในการ กอสราง ทําเครื่องเรือน ถาน ชันใชทําขี้ไตหรือขี้กะบอง (ใชติดไฟ) ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ สูง 18–25 เมตร เปลือกหนา แตกเปนรองลึก ใบเดี่ยว เรียงเวียน มีขนกระจุกหนาแนน ชอดอกมี ตาหุม ดอกออกเปนชอแยกแขนงสั้นๆ กลีบดอก 5 กลีบ บิดเวียน คลายกังหัน หลอดกลีบเลี้ยงมีครีบยาวพับไปมา ในผลกลีบเลี้ยง ขยายเปนปกยาวสีแดง 2 ปก ยาว 6–7 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

112 SW 2331-P25-197-PC7.indd 112

5/1/2554 18:48:10


SW 2331-P25-195-PC7.indd 113

24/12/2553 1:34:26


ยางพลวง

Dipterocarpus tuberculatus Roxb.

Dipterocarpaceae

ยางพลวงมีเขตการกระจายพันธุกวางในภูมิภาคอินโดจีน และยังพบในพมา และบังกลาเทศ ในประเทศไทยพบแทบทุกภาคยกเวนภาคใต ขึ้นเปนกลุมหนา แนนในปาเต็งรังระดับต่ําและปาเต็งรังผสมสนเขา บนพื้นที่สูงจากระดับน้ําทะเล 700–1,300 เมตร ทางภาคเหนือเรียกวา ตึง ตึงขาว ตองตึง หรือกุง เนื้อไมแข็ง ใช ในการกอสราง ใบมีขนาดใหญใชมุงหลังคาและหออาหาร ไมตนขนาดใหญ สูงไดถึง 40 เมตร หูใบยาวประมาณ 13 เซนติเมตร ใบเดี่ยว เรียงเวียน รูปรีกวางหรือรูปไข ยาว 12–70 เซนติเมตร ชอดอกแยกแขนงสั้นๆ ยาว 5–15 เซนติเมตร มี 5–7 ดอก ติดดานเดียว กลีบดอกยาว 2.5–3 เซนติเมตร เกสรเพศผูมี ประมาณ 30 อัน ผลทรงกลม เกลี้ยง เสนผานศูนยกลาง 2–2.5 เซนติเมตร สวนบนมีปกยาว 2 ปก ยาว 9–15 เซนติเมตร ปกสั้น 3 ปก รูปหูหนู ยาว 1.5–2 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

114 SW 2331-P25-197-PC7.indd 114

5/1/2554 18:49:17


SW 2331-P25-195-PC7.indd 115

24/12/2553 1:36:28


ชันหอย

Shorea macroptera Dyer

Dipterocarpaceae

สกุล Shorea เปนไมตน สวนใหญไมผลัดใบ ใบไมพับจีบ ชอดอกแบบแยก แขนง กลีบเลี้ยงเรียงซอนเหลื่อม รังไขดานบนมีโคนกานเกสรเพศเมียติดคาง (stylopodium) ไมชัดเจน กลีบเลี้ยงขยายเปนปกยาว 3 ปก ปกสั้น 2 ปก ในผล โคนกลีบมักหนา ผลไมเชื่อมติดหลอดกลีบเลี้ยง เปนสกุลขนาดใหญและมีความ สําคัญทางเศรษฐกิจมากที่สุดในวงศยาง มีสมาชิกเกือบ 200 ชนิด สวนใหญมีเขต การกระจายพันธุในภูมิภาคมาเลเซีย ในประเทศไทยมีประมาณ 25 ชนิด ชันหอย พบหนาแนนในคาบสมุทรมาเลเซีย และสุมาตรา ในไทยพบเปนกลุมเล็กๆ ทาง ภาคใตตอนลางที่อําเภอเบตง จังหวัดยะลา ขึ้นตามสันเขาในปาดิบชื้น ที่ความสูง จากระดับน้ําทะเลประมาณ 600 เมตร ไมตนขนาดใหญ โคนตนมีพูพอนเตี้ยๆ ตกชันสีขาว ใบเดี่ยว เรียงเวียน ยาว 8–15 เซนติเมตร เสนแขนงใบยอยแบบขัน้ บันได ชอ ดอกยาวประมาณ 10 เซนติ เ มตร ดอกสี ค รี ม หรื อ ชมพู เกสร เพศผู 15 อัน เรียง 3 วง อับเรณูมีรยางคเปนติ่ง รังไขมีขนหนาแนน ผลทรงกลม เสนผานศูนยกลาง 0.7–1.2 เซนติเมตร ดานบนมีปก ยาว 3 ปก ยาว 6–12 เซนติเมตร ปกสั้น 2 ปก ยาว 2–6 เซนติเมตร โคนแผเปนแผนปกหุมตัวผล

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

116 SW 2331-P25-197-PC7.indd 116

5/1/2554 18:50:41


SW 2331-P25-195-PC7.indd 117

24/12/2553 1:37:35


มะพลับทะเล

Diospyros areolata King & Gamble

Ebenaceae

สกุล Diospyros หรือสกุลมะพลับ เปนไมตน ดอกแยกเพศตางตน เปลือก ลําตนมักมีสีดํา เนื้อไมแข็ง ใบเดี่ยวเรียงสลับในระนาบเดียว ดอกเพศผูออกเปน กระจุกสั้นๆ ดอกเพศเมียออกเดี่ยวๆ มีหลายชนิดที่ออกดอกตามกิ่งและลําตน กลีบเลี้ยงติดทนมักขยายใหญขึ้นในผล รังไขอยูเหนือวงกลีบ ผลแบบมีเนื้อหลาย เมล็ด เอนโดสเปรมมีทั้งแบบเรียบหรือเปนชั้นๆ มีสมาชิกมากกวา 500 ชนิด ใน ประเทศไทยพบประมาณ 65 ชนิด มะพลับทะเลมีเขตการกระจายพันธุในพมา คาบสมุทรมาเลเซีย บอรเนียว ชวา สุมาตรา และภาคใตของไทย ขึ้นตามชายปา ดานหลังปาโกงกางและรองนําที่มีน้ํากรอย โดยเฉพาะเขตรอยตอระหวางปาบก กับปาโกงกาง เนื้อไมสีดํา ใชทําเครื่องมือเกษตรและเครื่องเรือน ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ใบหนา รูปขอบขนาน ยาว 7–20 เซนติเมตร กลีบเลีย้ งและกลีบดอกมีจาํ นวนอยางละ 4–5 กลีบ กลีบ เลีย้ งมีขนคลายขนแกะ กลีบดอกรูปคนโท ในดอกเพศผูย าวประมาณ 0.7 เซนติเมตร ในดอกเพศเมียยาวกวาเล็กนอย เกสรเพศผูมี ประมาณ 20 อัน รังไขมี 8 ชอง ผลทรงกลม เสนผานศูนยกลาง 3–5 เซนติเมตร ผิวมีคราบสีนา้ํ ตาลปกคลุม กลีบเลีย้ งขยายติดทน แตละ กลีบแยกจรดโคน เมล็ดมีเอนโดสเปรมเรียบ

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

118 SW 2331-P25-197-PC7.indd 118

5/1/2554 18:51:28


SW 2331-P25-195-PC7.indd 119

24/12/2553 1:38:54


ไครยอย

Elaeocarpus grandiflorus Sm.

Elaeocarpaceae

สกุล Elaeocarpus สวนมากเปนไมตน ใบเดีย่ ว เรียงเวียน มักเปลีย่ นเปนสีแดง กอนหลุดรวง ชอดอกแบบชอกระจะ กลีบเลีย้ งและกลีบดอกมีจาํ นวนอยางละ 4–5 กลีบ ขอบกลีบดอกจักเปนชายครุย ผลมีผนังชั้นในแข็ง สวนมากเปนรูพรุน มี สมาชิกประมาณ 350 ชนิด สวนใหญมีเขตการกระจายพันธุในเอเชียเขตรอน ใน ประเทศไทยมี 17 ชนิด ไครยอ ย บางครัง้ เรียกวาไครนา้ํ หรือสารภีนา้ํ ทางภาคเหนือ สวนภาคตะวันตกเรียกวาจิกหรือดอกปใหม และภาคใตเรียกวาผีหนาย พบตั้งแต อินเดีย พมา ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมาเลเซีย และสุมาตรา ในไทยพบทั่วไป ทุกภาค ขึ้นตามริมฝงน้ําในปาดิบแลงและปาดิบชื้น นิยมปลูกเปนไมประดับ และ เปนไมกระถาง ออกดอกตั้งแตตนยังมีขนาดเล็ก มีชื่อสามัญวา Fairy Petticoat ตามลักษณะกลีบดอกดูคลายชายกระโปรง บางครัง้ มีชอื่ สามัญวา Bead tree หรือ Lily of the valley tree ตามถิ่นที่อยูที่ชอบขึ้นตามริมน้ําหรือที่ลุม หรือ Blue olive berry ตามลักษณะของผล ไมตนขนาดเล็กแตกกิ่งต่ําระเกะระกะ ใบเรียงเวียน รูปไขกลับ หรือรูปใบหอกกลับ ยาว 7–19 เซนติเมตร กลีบเลีย้ งสวนมากสีชมพู หรืออมเขียว กลีบดอกสีขาวหรือขาวอมชมพู ยาวประมาณ 1.5 เซนติเมตร มีรวิ้ ขนทีโ่ คนกลีบดานใน 2 ริว้ ขอบกลีบจักเปนชายครุย ยาวประมาณ 0.3 เซนติเมตร ปลายอับเรณูมรี ยางคแข็ง ผลทรงกลม รี ยาว 3–4 เซนติเมตร ปลายและโคนแหลม

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

120 SW 2331-P25-197-PC7.indd 120

6/1/2554 17:11:03


SW 2331-P25-195-PC7.indd 121

24/12/2553 1:40:18


เหงาน้ําทิพย

Agapetes saxicola Craib

Ericaceae

สกุล Agapetes เปนไมพุม สวนมากอิงอาศัย ใบเดี่ยว เรียงเกือบตรงขาม หรือ เรียงเวียน ชอดอกออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีจํานวนอยางละ 5 กลีบ กลีบดอกสวนมากติดกันเปนหลอด เกสรเพศผู 10 อัน รังไขอยูใ ตวงกลีบ ผล สดมีหลายเมล็ด มีสมาชิกประมาณ 80 ชนิด มีเขตการกระจายพันธุในภูมิภาค หิมาลัย จีน ภูมิภาคอินโดจีน และภูมิภาคมาเลเซีย ในประเทศไทยมีประมาณ 10 ชนิด หรือมากกวา เหงาน้ําทิพยเปนพืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือและ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้นตามคบไมหรือกอนหินที่มีอินทรียวัตถุสะสม ใน ปาดิบเขา ที่สูงจากระดับน้ําทะเล 1,200–1,500 เมตร ไมพุมอิงอาศัย สูงประมาณ 1 เมตร มีรากสะสมอาหารขนาด ใหญ ใบยาว 2–4 เซนติเมตร ขอบใบมวนงอเล็กนอย ชอดอกแบบ ชอเชิงหลัน่ ออกตามปลายกิง่ หรือซอกใบ ยาว 2–4 เซนติเมตร มีขน ยาวหนาแนน มี 3–7 ดอก ในแตละชอ ฐานดอกรูปถวย กลีบดอก รูประฆังยาว 0.7–1 เซนติเมตร ปลายแยก 5 แฉก มวนออก ผล ทรงกลม เสนผานศูนยกลางประมาณ 0.4 เซนติเมตร เมื่อสุกสีมวง อมดํา

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

122 SW 2331-P25-197-PC7.indd 122

5/1/2554 18:52:04


SW 2331-P25-195-PC7.indd 123

24/12/2553 1:41:46


กุหลาบแดง

Rhododendron simsii Planch.

Ericaceae

สกุล Rhododendron สวนมากเปนไมพมุ ขึน้ ตามพืน้ ดินหรืออิงอาศัย ใบเดีย่ ว เรียงเวียน ชอดอกแบบชอกระจะหรือชอกระจุก กลีบดอกเชื่อมติดกัน เกสร เพศเมียสวนมากมี 5–10 อัน หรือมากกวา ผลแหงแตกตามแนวประสาน เมล็ด จํานวนมาก มีปก มีสมาชิกกวา 1,000 ชนิด พบมากในจีนประมาณ 600 ชนิด แยก เปนสกุลยอยอีกเกือบ 10 สกุลยอย สวนมากดอกมีขนาดใหญสวยงาม นิยมปลูก เปนไมประดับ ในประเทศไทยมีประมาณ 10 ชนิด มีทั้งไมตน ไมพุม และอิงอาศัย กุหลาบแดง พบที่จีน พมา ลาว ไตหวัน ญี่ปุน ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียง เหนือของไทยที่ภูกระดึงและภูหลวง จังหวัดเลย ไมตนขนาดเล็กกึ่งไมพุม กิ่งมีขนละเอียดสีน้ําตาลหนาแนน ใบ เดีย่ ว เรียงเวียนเปนกลุม แนนตามปลายกิง่ ใบยาว 1.5–7 เซนติเมตร แผนใบหนา มีขนแข็งเอนหนาแนนดานลาง กลีบเลีย้ งและกลีบดอก มีจํานวนอยางละ 5 กลีบ กลีบดอกสีแดงอมชมพูหรือแดงเขม รูป ระฆัง ยาว 3.5–6 เซนติเมตร เกสรเพศผู 10 อัน กานชูอับเรณูมีขน ชวงลาง ผลยาว 0.5–1 เซนติเมตร มีขนแข็งเอน

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

124 SW 2331-P25-197-PC7.indd 124

5/1/2554 18:52:51


SW 2331-P25-195-PC7.indd 125

24/12/2553 1:43:07


ประกายแสด

Mallotus kongkandae Welzen & Phattar.

Euphorbiaceae

สกุล Mallotus เปนไมตน ไมพุม หรือไมพุมรอเลื้อย ดอกแยกเพศตางตน ใบ เดี่ยว เรียงตรงขามขนาดไมเทากัน หรือเรียงเวียน ขอบใบจักซี่ฟน แผนใบดาน ลางมักมีเกล็ดตอม และตุมใบ ดอกเปนชอ กลีบเลี้ยง 3–6 กลีบ ไมมีกลีบดอก ดอกเพศผูสวนมากออกเปนกลุมบนแกนชอ เกสรเพศผูจํานวนมาก ดอกเพศเมีย ออกเดี่ยวๆ หรือเปนคู บนแกนชอ กลีบเลี้ยงติดทน รังไขมี 3 ชอง เกสรเพศเมีย ติดทน ผลแหงแตกหรือมีผนังชั้นในแข็ง มีสมาชิกประมาณ 150 ชนิด พบใน แอฟริกา มาดากัสการ เอเชีย และออสเตรเลีย ในประเทศไทยมี 40 ชนิด อยูภาย ใตวงศยอย Acalyphoideae ประกายแสดมีเขตการกระจายพันธุที่จีนตอนใตและ ภาคเหนือของไทย ที่อุทยานแหงชาติแมวงก จังหวัดกําแพงเพชร และดอยตุง จังหวัดเชียงราย ขึ้นในปาดิบเขา ที่สูงจากระดับน้ําทะเล 1,300–1,400 เมตร ไมตน ขนาดเล็ก มีขนรูปดาวและขนตอมทัว่ ไป ใบเรียงเวียน ยาว 8–18 เซนติเมตร แผนใบดานลางมีขนสั้นนุมและสะเก็ดสีขาวหนา แนน เสนใบ 1 คู ออกจากโคนใบ ที่โคนมีตอมสีดํา 1 คู กานใบยาว 1.5–5 เซนติเมตร ชอผลออกตามปลายกิ่ง ยาว 3.5–8 เซนติเมตร ผลทรงกลม เมือ่ แหงแตกตามพู มีขนตอมสีสม แลวเปลีย่ นเปนสีเขียว หนาแนน แกนกลางรูปตัว T รวงงาย

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย อรทัย เกิดแกว ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

126 SW 2331-P25-197-PC7.indd 126

5/1/2554 18:53:27


SW 2331-P25-195-PC7.indd 127

24/12/2553 1:50:24


หลุมพอทะเล

Intsia bijuga (Colebr.) Kuntze

Fabaceae (Leguminosae-Caesalpinioideae)

สกุล Intsia เปนไมตน ใบประกอบแบบขนนกปลายคู เรียงเวียน มี 2–5 ใบยอย ใบยอยเรียงตรงขาม ชอดอกออกสั้นๆ ตามปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก มีกลีบเดียว เกสรเพศผู 3 อัน เกสรเพศผูที่เปนหมัน 4–7 อัน ฝกบาง แตกเปน 2 ซีก เปนสกุลขนาดเล็ก อยูภายใตวงศยอย Caesalpinioideae มีสมาชิก 6–7 ชนิด ในประเทศไทยพบ 2 ชนิด อีกชนิดคือ หลุมพอ Intsia palembanica Miq. เปนไม ขนาดใหญในปาดิบชืน้ ทางภาคใต หลุมพอทะเลหรือเรียกอีกชือ่ หนึง่ วาประดูท ะเล มีเขตการกระจายพันธุกวาง พบตั้งแตมาดากัสการ อินเดีย พมาตอนใต กัมพูชา เวียดนามตอนใต ภูมิภาคมาเลเซีย จนถึงทางเหนือของออสเตรเลีย ในไทยพบ ทางภาคตะวันออกเฉียงใตและภาคใต ขึ้นในปาพรุ ปาใกลชายฝง ดานหลังชาย ปาโกงกาง ไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง มีพูพอนสูงกวา 2 เมตร ใบ ประกอบมีใบยอย 2–3 คู แกนกลางใบยาว 2–5 เซนติเมตร กานใบ ประกอบยาว 1.5–4 เซนติเมตร โคนใบยอยเบี้ยว ยาว 5–18 เซนติเมตร ชอดอกยาว 5–8 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงสีเขียว ยาว 0.8–1 เซนติเมตร กลีบดอกสีขาว เปลี่ยนเปนสีชมพูหรือสีแดง มี 1 กลีบ แผนกลีบกลม กวางยาวประมาณ 1–1.5 เซนติเมตร เกสรเพศ ผูยาวประมาณ 3 เซนติเมตร ฝกยาว 8.8–25 เซนติเมตร มี 6–8 เมล็ด

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

128 SW 2331-P25-197-PC7.indd 128

5/1/2554 18:54:13


SW 2331-P25-195-PC7.indd 129

24/12/2553 1:55:13


มะคาแต

Sindora siamensis Teijsm. & Miq.

Fabaceae (Leguminosae-Caesalpinioideae) สกุล Sindora เปนไมตน ใบประกอบแบบขนนก ชอดอกแบบชอแยกแขนง ออกตามปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ขนาดเล็ก กลีบดอกมีกลีบเดียว เกสรเพศผู 10 อัน ติด 2 กลุม อันบนแยกจรดโคน 1 อัน ไมมีอับเรณู 9 อันลางกานชูอับเรณู เชื่อมติดกัน 2 อันบนยาวกวา 7 อันลาง ผลเปนฝกแบน มีหนามหรือเกลี้ยง มี 1–2 เมล็ด ที่โคนมีเยื่อหุม มีสมาชิกประมาณ 20 ชนิด ในแอฟริกา จีนตอนใต และ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ในประเทศไทยมี 3 ชนิด มะคาแต พบในภูมิภาค อิ น โดจี น และคาบสมุ ท รมาเลเซี ย ในไทยพบทั่ ว ไปทุ ก ภาค ตามป า เต็ ง รั ง ปาเบญจพรรณ ชายปาดิบแลง และปาชายหาด ที่สูงจากระดับน้ําทะเลไมเกิน 400 เมตร ไมตน ขนาดกลาง สูงประมาณ 15 เมตร ใบประกอบมีใบยอย 3–4 คู เรียงตรงขาม ใบยาว 6–15 เซนติเมตร ปลายใบกลม เวาตืน้ ๆ แผนใบหนา ดานลางมีขนสั้นนุม สวนมากมีตอมใกลขอบใบดานใด ดานหนึ่ง ชอดอกยาว 10–25 เซนติเมตรมีขนสั้นนุมสีน้ําตาลหนา แนน ใบประดับรูปไข ยาว 3–6 เซนติเมตรติดทน ใบประดับยอย ขนาดเล็ก ติดใตกึ่งกลางกานดอก กลีบเลี้ยงรูปเรือ 1 กลีบ รูปใบ หอก 3 กลีบ ยาวประมาณ 0.7 เซนติเมตรปลายกลีบมีหนามเล็กๆ กลีบดอกสีเหลืองอมแดง ยาวประมาณ 0.7 เซนติเมตรฝกแบน ยาว 4.5–10 เซนติเมตร ปลายเปนจะงอยสั้นๆ ผิวมีหนามกระจาย (var. siamensis) หรือไมมีหนาม (var. maritima (Pierre) K. Larsen & S. S. Larsen ที่เรียกกันวามะคาลิง)

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

130 SW 2331-P25-197-PC7.indd 130

5/1/2554 18:54:46


SW 2331-P25-195-PC7.indd 131

24/12/2553 1:56:30


ใบสีทอง

Bauhinia aureifolia K. Larsen & S. S. Larsen

Fabaceae (Leguminosae-Cercideae) สกุล Bauhinia หรือสกุลชงโค มีทั้งไมตน ไมพุม และไมเถา ปลายเสนกลางใบ มักเปนติ่ง ดอกออกเดี่ยวๆ หรือเปนชอ กลีบเลี้ยงแยกเปน 2–5 สวน กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดเทาหรือไมเทากัน เกสรเพศผูม ี 2, 3, 5 หรือ 10 อัน ฝกไมมปี ก มีสมาชิก ประมาณ 300 ชนิด พบทั่วไปในเขตรอน ในประเทศไทยมีประมาณ 40 ชนิด เดิม อยูภายใตวงศยอย Caesalpinioideae ขอมูลดานวิวัฒนาการในปจจุบันจัดใหอยู ภายใตกลุมยอย Cercideae ที่แยกออกมาจากกลุมยอยเดิม ซึ่งทั้งหมดมีใบเดี่ยว หรือใบแยกเปน 2 แฉก ไมใชใบประกอบดังเชนในวงศยอย Caesalpinioideae ใบ สีทองเปนพืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะทางภาคใตตอนลางในจังหวัดนราธิวาส ปตตานี และยะลา ขึ้นในปาดิบชื้น ที่สูงจากระดับน้ําทะเลไมเกิน 300 เมตร นิยม ปลูกเปนไมประดับทั่วไป เนื่องจากใบมีสีทองสวยงาม ไมเถาเนื้อแข็งขนาดใหญ มีมือเกาะ กิ่งและใบมีขนสั้นนุมสี น้ําตาลแดงปกคลุม ใบขนาดใหญ ยาวกวา 20 เซนติเมตร ปลายใบ แฉกลึกประมาณ 1 ใน 3 ชอดอกออกตามปลายกิ่ง ใบประดับยอย ติดใกลใตฐานรองดอก กลีบเลีย้ งแยกเปน 3–5 สวน กลีบดอกสีขาว รูปใบพาย ยาว 1.5–1.8 เซนติเมตร เกสรเพศผูมี 3 อัน เกสรเพศผู ที่เปนหมันมี 1–2 อัน รังไขมีขนยาวสีน้ําตาลหนาแนน ฝกแบน รูป ขอบขนาน ยาว 20–23 เซนติเมตร มีขนกํามะหยี่สีน้ําตาล

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

132 SW 2331-P25-197-PC7.indd 132

5/1/2554 18:55:24


SW 2331-P25-195-PC7.indd 133

24/12/2553 2:02:40


เสี้ยวพระวิหาร

Bauhinia saigonensis Pierre ex Gagnep. var. gagnepainiana K. Larsen & S. S. Larsen

Fabaceae (Leguminosae-Cercideae)

เสี้ยวพระวิหาร มีเขตการกระจายพันธุในประเทศลาวและกัมพูชา ในไทยพบ ตามชายแดนไทย-กัมพูชา บริเวณจังหวัดสุรินทร และศรีสะเกษ (เขาพระวิหาร) ในปาดิบแลง ที่สูงจากระดับน้ําทะเล 200–300 เมตร มี 3 พันธุ อีก 2 พันธุ พบ เฉพาะในเวียดนาม พันธุ var. gagnepainiana มีลักษณะเดนที่ชอดอกเรียงแนน เปนรูปพีระมิด กานดอกสั้นกวาพันธุอื่นๆ ไมเถาเนื้อแข็ง ยาวไดถึง 14 เมตร ใบเกือบกลม ปลายเวาลึก ประมาณกึ่งหนึ่ง ใบยาว 3–8 เซนติเมตร ชอดอกรูปพีระมิด มี 1–3 ชอ ออกตามปลายกิง่ ยาวไดถงึ 15 เซนติเมตร ตาดอกยาวประมาณ 1 เซนติเมตร โคงคลายเคียว ปลายเปนแฉกสั้นๆ 5 แฉก ใบประดับ ยอยติดประมาณกลางกานดอก กลีบเลี้ยงยาว 1–1.5 เซนติเมตร กลี บ ดอกสี ข าวอมเขี ย ว กลี บ ในรู ป สามเหลี่ ย ม ยาว 0.5–0.7 เซนติเมตร มวนงอ กลีบขางยาว 0.6–1 เซนติเมตร เกสรเพศผู 3 อัน กานเกสรยาว 2–3 เซนติเมตร เกสรเพศผูเปนหมัน 2 อัน ยาว 0.2–0.3 เซนติเมตร รังไขมีขนคลายไหมปกคลุม ฝกแบน รูปขอบ ขนาน ยาวประมาณ 10 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

134 SW 2331-P25-197-PC7.indd 134

5/1/2554 18:56:07


SW 2331-P25-195-PC7.indd 135

24/12/2553 2:09:25


สรอยสยาม

Bauhinia siamensis K. Larsen & S. S. Larsen

Fabaceae (Leguminosae-Cercideae) สรอยสยามหรือเสีย้ วแดง เปนพืชถิน่ เดียวของไทย พบครัง้ แรกทีภ่ เู มีย่ ง จังหวัด พิษณุโลกเมื่อไมนานมานี้ ขึ้นเปนกลุมหนาแนนในปาเบญจพรรณที่มีไผหรือชาย ปาดิบแลง เหมาะสําหรับนํามาปลูกเปนไมประดับ ไมเถาเนื้อแข็ง มีมือจับ กิ่งออนมีขนสีน้ําตาลแดง หูใบกลมถึง รูปไขกลับ เสนผานศูนยกลาง 0.6–1 เซนติเมตร ใบรูปไข ยาว 4–7.5 เซนติเมตร ปลายเวาลึกประมาณ 1/3 ของแผนใบ ชอดอกหอยลง ยาวไดถึง 1 เมตร กลีบเลี้ยงรูปปากเปด กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดไม เทากัน สีชมพูอมขาวถึงสีชมพูเขม ยาว 1.5–2 เซนติเมตร เกสรเพศ ผูที่สมบูรณ 3 อัน เกสรเพศผูที่เปนหมัน 6 อัน ผลเปนฝกแบน รูป ขอบขนาน ยาว 16–18 เซนติเมตร มีจะงอยสั้นๆ

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

136 SW 2331-P25-197-PC7.indd 136

5/1/2554 18:57:02


SW 2331-P25-195-PC7.indd 137

24/12/2553 2:10:52


สิรินธรวัลลี

Bauhinia sirindhorniae K. Larsen & S. S. Larsen

Fabaceae (Leguminosae-Cercideae) สิรินธรวัลลี เปนพืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบนที่จังหวัดอุดรธานี หนองคาย (เขตรักษาพันธุสัตวปาภูวัว) นครพนม (อุทยานแหงชาติภูลังกา) และสกลนคร (อุทยานแหงชาติภูพาน) ขึ้นทั่วไปตาม ชายปาดิบแลง และปาโปรง ที่สูงจากระดับน้ําทะเล 150–200 เมตร คําระบุชนิด ตั้งเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไมเถาเนื้อแข็ง เลื้อยพาดพันไปไดไกล กิ่งออน ชอดอก กลีบ ดอก รั ง ไข และผลมี ข นสี น้ํ า ตาลแดงหนาแน น ใบยาว 5–18 เซนติเมตร ปลายเวาเปน 2 แฉกตืน้ ๆ หรือเวาลึกจนจรดโคนใบ แผน ใบหนาเหนียว เสนแขนงใบ 9–11 เสน ชอดอกยาว 2–10 เซนติเมตร กานดอกยาว 1.5–2 เซนติเมตร กลีบเลีย้ งแยกจรดโคน ดานตรงขาม แยกเฉพาะที่ปลายกลีบ กลีบดอกยาว 1–1.3 เซนติเมตร รวมกาน กลีบ เกสรเพศผู 3 อัน เกสรที่เปนหมัน 2 อันขนาดเล็ก รังไขมีกาน สั้นๆ ผลเปนฝกแบนๆ ยาว 15–18 เซนติเมตร มี 5–7 เมล็ด

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

138 SW 2331-P25-197-PC7.indd 138

5/1/2554 18:57:46


SW 2331-P25-195-PC7.indd 139

24/12/2553 2:14:48


ขยัน

Bauhinia strychnifolia Craib

Fabaceae (Leguminosae-Cercideae) ขยัน หรือเครือขยัน เปนพืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือในจังหวัด เชียงใหม ลําปาง ตาก สุโขทัย กําแพงเพชร และภาคตะวันออกเฉียงเหนือทีจ่ งั หวัด เลย และกาฬสินธุ พบบางในภาคกลาง ขึ้นในปาเบญจพรรณที่แหงแลง หรือขึ้น ตามที่รกราง ที่สูงจากระดับน้ําทะเลไมเกิน 300 เมตร บางครั้งพบปลูกเปนไม ประดับตามบานเรือน ยอดและดอกออนรับประทานเปนผักสด เปลือกรสฝาดและ ตนใชตมดื่มบํารุงโลหิต แกเบื่อเมา อาการทองเสีย หรืออาบทาแกโรคผิวหนัง ไมเถา เนื้อแข็ง มีมือเกาะ ใบเรียงเวียน ยาว 4–15 เซนติเมตร ปลายไมเวาเปนแฉกเหมือนใบชงโค ชอดอกแบบชอกระจะออกตาม ปลายกิ่ง บางครั้งยาวไดถึง 1 เมตร ใบประดับติดทน ยาวประมาณ 1 เซนติเมตร กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีชมพูออนหรือสีแดง มีขนสั้นนุม กลีบดอก 5 กลีบ ยาว 1.2–1.5 เซนติเมตร สีแดงถึงแดงเขม เกสร เพศผู 3 อัน กานเกสรสีแดง เกสรเพศผูเปนหมัน 7 อัน ยาวไมเทา กัน รังไขมีขนสั้นนุม ฝกแหงแตกอาออก ยาว 15–16 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

140 SW 2331-P25-197-PC7.indd 140

5/1/2554 18:58:25


SW 2331-P25-195-PC7.indd 141

24/12/2553 2:16:32


อรพิม

Bauhinia winitii Craib

Fabaceae (Leguminosae-Cercideae) อรพิม หรือ คิ้วนาง เปนพืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือตอนลางและ ภาคกลางในจังหวัดนครสวรรค ลพบุรี สระบุรี และภาคตะวันตกเฉียงใตที่จังหวัด กาญจนบุรี ชอบขึ้นตามที่โลงบนเขาหินปูนเตี้ยๆ ทีส่ ูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 100 เมตร นิยมปลูกเปนไมประดับทั่วไป ไมเถาเนื้อแข็ง เลื้อยพาดพันไปไดไกล กิ่งออนมีขนสั้นนุมสี น้ําตาลเขม ใบเวาแยกเปน 2 แฉก จรดโคน คลาย 1 คูใบ ใบยอย รูปไขเบี้ยว ยาว 3–4.5 เซนติเมตร เสนใบ 3–4 เสน ชอดอกออก ตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ยาวไดถึง 20 เซนติเมตร ตาดอกรูป กระสวย ยาวประมาณ 3 เซนติเมตร ฐานรองดอกรูปหลอด ยาว 4–6 เซนติเมตร มีขนสั้นนุมสีน้ําตาลเขม เปนริ้ว กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดเทาๆ กัน ยน ยาวประมาณ 9 เซนติเมตรรวมกานกลีบ กลีบ หนามีสีเหลืองออนแซม เกสรเพศผู 10 อัน ผลเปนฝกแบน บิดเล็ก นอย ยาวไดถึง 30 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

142 SW 2331-P25-197-PC7.indd 142

5/1/2554 18:59:01


SW 2331-P25-195-PC7.indd 143

24/12/2553 2:18:01


กันภัย

Afgekia sericea Craib

Fabaceae (Leguminosae-Papilionoideae) สกุล Afgekia เป็นไม้พุ่มรอเลื้อยหรือไม้เถาเนื้อแข็งขนาดใหญ่ ใบประกอบ แบบขนนกปลายคี่ เรียงเวียน มีหูใบย่อยติดทน ช่อดอกแบบช่อกระจะ บางครั้ง แยกแขนง ออกตามซอกใบหรือตามกิง่ ใบประดับขนาดใหญ่ เรียงซ้อนเหลือ่ มหุม้ ดอก มีขนยาวคล้ายไหมปกคลุม ร่วงพร้อมดอก ใบประดับย่อยมีขนาดเล็กกว่า กลีบเลี้ยงปลายแยกเป็น 5 หยัก กลีบดอกกลีบกลางมีสันนูนคล้ายเดือยที่โคน 1 คู่ ซึ่งเข้าใจว่าเป็นตัวชี้ต่อมน้ำ�ต้อย กลีบคู่ล่างเชื่อมติดกันรูปคุ่ม รังไข่มีขนยาว ออวุล 2 เม็ด ผลเป็นฝักแข็ง เปลือกหนา มี 1-2 เมล็ด มีขั้วเมล็ด มีสมาชิกเพียง 3 ชนิด พบเฉพาะในประเทศไทย กันภัยเป็นพืชถิน่ เดียวของไทย พบทางภาคกลาง และภาคเหนือ ตามที่โล่งในป่าเบญจพรรณและป่าเต็งรัง จนถึงที่สูงจากระดับน้�ำ ทะเลประมาณ 300 เมตร นิยมปลูกเป็นไม้ประดับตามสวนและบ้านเรือนทั่วไป ตามความเชื่อถือเป็นไม้มงคล ไม้เถาเนือ้ แข็ง เป็นพุม่ แน่น ยาวได้ถงึ 15 เมตร มีขนสัน้ นุม่ คล้าย ไหมหนาแน่นตามกิ่ง หูใบ ก้านใบ แกนใบประกอบ แผ่นใบ ช่อดอก ใบประดับ กลีบเลีย้ งและกลีบดอกด้านนอก หูใบออกเป็นคู่ แนบติด โคนก้านใบ รูปเคียว ยาว 1.5–2 เซนติเมตร ใบประกอบแกนกลาง ยาว 15–23 เซนติเมตร โคนโป่งพอง หูใบย่อยติดเป็นคู่ ยาวประมาณ 3 มม. ใบย่อยมี 4–8 คู่ เรียงตรงข้าม ยาว 4–8 เซนติเมตร ใบประดับ ยาว 1–2.5 เซนติเมตร ติดทน ช่อดอกยาวได้ถึง 0.5 เมตร ดอกเรียง เวียนรอบแกนช่อ ใบประดับย่อยยาว 3–3.5 เซนติเมตร กลีบเลี้ยง รูปปากเปิด กลีบดอกกลีบกลางยาว 2.5–3 เซนติเมตร กลีบปีกยาว ประมาณ 2.5 เซนติเมตร กลีบคู่ล่างยาวเท่าๆ กลีบปีก ฝักยาว 7–9 เซนติเมตร หนาประมาณ 3 เซนติเมตร

เทคนิคสีน้ำ� ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ปาจรีย์ อินทะชุบ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช พ.ศ. 2553

144



กอขาว

Castanopsis inermis (Lindl. ex Wall.) Benth. & Hook. f.

Fagaceae

สกุล Castanopsis หรือสกุลกอหนาม มีลักษณะเดนที่กานใบบวมที่โคนและ มักเปนขอ ชอดอกทั้งเพศผูและเพศเมียตั้งขึ้น กาบหุมผลมักออกเดี่ยวๆ บนแกน ชอ ขอบกาบแตกออกเปนพูไมเทากัน ผิวสวนมากมีหนาม มีสมาชิกประมาณ 120 ชนิด ในประเทศไทยพบ 33 ชนิด กอขาวเปนชื่อเรียกทางภาคใต มีเขตการกระ จายพันธุในพมา และภูมิภาคมาเลเซีย ในไทยพบทั่วไปแทบทุกภาค ยกเวนภาค ตะวันออกเฉียงใต ขึน้ ในปาดิบแลงและปาดิบชืน้ ทีร่ ะดับความสูงไมเกิน 300 เมตร ไมตน ขนาดกลาง ใบเดีย่ ว เรียงเวียน ยาว 7–17 เซนติเมตร ขอบ ใบเรียบหรือจักฟนเลือ่ ยเล็กนอย ดอกเพศผูแ ละดอกเพศเมียอยูช อ เดียวกันหรือแยกกัน ชอดอกเพศผูแยกแขนง ชอดอกเพศเมียแบบ ชอเชิงลด ชอผลยาว 15–20 เซนติเมตร ผลไรกาน กวาง 1.5–3.5 เซนติเมตร ยาว 1.5–2.5 เซนติเมตร รวมกาบหุมที่หุมผลจนมิด ยกเวนปลายผลที่เปนติ่ง มี 1–3 ผล ในแตละกาบ ผิวกาบมีแนว หนามสั้นๆ มวนงอ หางๆ มี 3–5 แนว รอบๆ ผล

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

146 SW 2331-P25-197-PC7.indd 146

5/1/2554 19:05:21


SW 2331-P25-195-PC7.indd 147

24/12/2553 2:20:31


กอดํา

Lithocarpus lucidus (Roxb.) Rehder

Fagaceae

สกุล Lithocarpus หรือสกุลกอหมู มีลักษณะเดนที่ขอบใบเรียบ กานใบไมมี ขอ ชอดอกตั้งขึ้น กาบหุมผลออกเปนชอกระจุกบนแกนชอ ขอบกาบเรียบไมแยก ออกเปนสวนๆ มีสมาชิกประมาณ 300 ชนิด ในประเทศไทยพบ 56 ชนิด กอดํา พบที่อินเดียและภูมิภาคมาเลเซีย ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงใตที่จังหวัด จันทบุรี และภาคใตที่จังหวัดสงขลาและนราธิวาส ในปาดิบชื้นระดับต่ํา ไมตนขนาดกลาง ดอกแยกเพศอยูชอเดียวกันหรือตางชอ กิ่งมี ชองอากาศ ใบเดี่ยว เรียงเวียน ยาว 7–15 เซนติเมตร ชอดอกยาว 9–20 เซนติเมตร ดอกเพศผูออกเปนกระจุก 3–4 ดอก ดอกเพศเมีย ออกเดี่ยวๆ หรือเปนกระจุก 2–3 ดอก เสนผานศูนยกลางผล 2–3 เซนติเมตร เกือบไรกา น กาบหุม ผลเฉพาะชวงลางประมาณหนึง่ สวน สาม ไมเชื่อมติดกัน ผิวกาบมีเกล็ดประดับเชื่อมติดกัน เรียงเปนวง 5–7 วง แตละกาบมี 1 ผล

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

148 SW 2331-P25-197-PC7.indd 148

5/1/2554 19:06:39


SW 2331-P25-195-PC7.indd 149

24/12/2553 2:21:56


กอสามเหลี่ยม

Trigonobalanus doichangensis (A. Camus) Forman

Fagaceae

สกุล Trigonobalanus หรือกอสามเหลีย่ ม มีลกั ษณะเดนทีก่ าบหุม ผลแตกออก เปน 3–5 ซีก ไมมีหนาม ในแตละกาบมี 1–3 ผล หรือมากกวานี้ เปนสันคลายปก รูปสามเหลี่ยม มีสมาชิกเพียง 3 ชนิด พบในภูมิภาคเอเชียใต เอเชียตะวันออก เฉียงใต และอเมริกาใต ใน Flora of China จัดอยูในสกุล Formanodendron และ มีเพียงชนิดเดียว กอสามเหลี่ยมพบที่จีนตอนใต และภาคเหนือตอนบนของไทย ทีจ่ งั หวัดเชียงใหม เชียงราย แมฮอ งสอน แพร และอุตรดิตถ ขึน้ ตามทีล่ าดชันและ ตามสันเขาในปาดิบเขาที่สูงจากระดับน้ําทะเล 900–1,600 เมตร ไมตนขนาดกลาง ดอกแยกเพศตางชอแตอยูรวมตน ใบเดี่ยว เรียงเวียน ยาว 6–12 เซนติเมตร ขอบใบเรียบ ชอดอกเพศผูยาว 8–14 เซนติเมตร หอยลง ดอกออกเปนกระจุก 1–7 ดอก กลีบรวม มีขนหนาแนน ชอดอกเพศเมียยาว 8–10 เซนติเมตร ดอกออกเดีย่ ว หรือออกเปนกระจุก 3–7 ดอก ผลสวนมากมี 1–3 ผล รูปไขกลับ กวาง ยาว 0.5–1 เซนติเมตร มีปก 3 ปก กาบหุม ผลมีเกล็ดหนาแนน

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

150 SW 2331-P25-197-PC7.indd 150

5/1/2554 19:07:27


SW 2331-P25-195-PC7.indd 151

24/12/2553 2:23:24


เอื้องหงอนไก

Aeschynanthus fulgens Wall. ex R. Br.

Gesneriaceae

สกุล Aeschynanthus สวนมากเปนพืชอิงอาศัย ใบเดี่ยว เรียงตรงขามหรือ เรียงรอบขอ ชอดอกคลายชอซี่รม มีใบประดับ 2 ใบ เรียงตรงขามกัน กลีบดอก สมมาตรดานขาง กลีบปากบน 2 กลีบ กลีบปากลาง 3 กลีบ โคนกลีบเปนหลอด ยาว เกสรเพศผู 4 อัน มักเจริญกอนเกสรเพศเมีย ทําใหขนาดของเกสรเพศผูและ เพศเมียมีความผันแปรมากในแตละดอก ผลแหงแตก เมล็ดจํานวนมาก มีสมาชิก ประมาณ 160 ชนิด พบในเอเชีย และหมูเ กาะในมหาสมุทรแปซิฟก ในประเทศไทย มีประมาณ 20 ชนิด เอื้องหงอนไกมีเขตการกระจายพันธุทางจีนตอนใต (มณฑล ยูนนาน) ลาว เวียดนามตอนเหนือ และภาคเหนือของไทยที่จังหวัดเชียงใหม เชียงราย และแมฮองสอน ขึ้นตามคบไมในปาดิบเขาระดับสูง พืชอิงอาศัย ลําตนทอดยาว 40–60 เซนติเมตร ผิวเกลี้ยง ใบ ยาว 8–13 เซนติเมตร แผนใบหนา ชอดอกไรกาน ออกตามปลาย กิ่ง มี 8–10 ดอก หลอดกลีบเลี้ยงยาว 1.2–1.5 เซนติเมตร ปลาย แยกเปน 5 แฉก แฉกยาวนอยกวา 1 เซนติเมตร ปลายแฉกแหลม หรือมน กลีบดอกสีสมอมแดง ยาว 4–5 เซนติเมตร เกสรเพศผูยื่น พนปากหลอดกลีบดอก รังไขเกลีย้ ง ผลยาว 20–30 เซนติเมตร เมล็ด มีขนคลายรยางคยาวประมาณ 1 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

152 SW 2331-P25-197-PC7.indd 152

5/1/2554 19:08:22


SW 2331-P25-195-PC7.indd 153

24/12/2553 2:25:19


คําปองแสด

Ridleyandra flammea (Ridl.) A. Weber

Gesneriaceae

สกุล Ridleyandra เปนไมลมลุกอายุหลายป โคนลําตนมีเนื้อไม ใบเรียงเวียน เปนกระจุก ชอดอกออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ แยกกัน กลีบดอกติดกัน เปนหลอด ปลายผายออกเปนรูปปากเปด เกสรเพศผูสั้น 2 อัน ยาว 2 อัน ผลแหง แตกแตกชวงปลาย เมล็ดจํานวนมาก มีสมาชิกประมาณ 23 ชนิด ในคาบสมุทร มาเลเซีย บอรเนียว และภาคใตของไทย ขึ้นในปาดิบชื้นโดยเฉพาะบนภูเขาสูง คําปองแสด เดิมชื่อ Didissandra flammea Ridl. พบทางตอนบนของคาบสมุทร มาเลเซียและภาคใตตอนลางของไทยบริเวณอําเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส ขึ้น บนกอนหินหรือพื้นดินตามที่ลาดชันภายใตรมไม ใกลลําธารในปาดิบชื้น ไมลมลุก สูงไดถึง 10 เซนติเมตร ใบยาว 5–18 เซนติเมตร ช อ ดอกก า นช อ ยาว 8–10 เซนติ เ มตร กลี บ เลี้ ย งยาว 1.5–2 เซนติเมตร ดอกสีสม กลีบดอกยาว 4–6 เซนติเมตร เมื่อบานมี เสนผานศูนยกลางประมาณ 1.5 เซนติเมตร เกสรเพศผูย าว 1.5–1.8 เซนติเมตร รังไขมีขนตอมหนาแนน ยอดเกสรเพศเมียแผบานออก ผลยาวประมาณ 5 เซนติเมตร มีขนตอมปกคลุมหนาแนน

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

154 SW 2331-P25-197-PC7.indd 154

5/1/2554 19:08:59


SW 2331-P25-195-PC7.indd 155

24/12/2553 2:28:52


ชามวง

Trisepalum glanduliferum (Barnett) B. L. Burtt

Gesneriaceae

สกุล Trisepalum เปนไมลมลุก อายุหลายป กิ่งออนมีขนหนาแนน ชอดอก แบบชอกระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบ กานดอกมักยาวไมเทากัน ใบประดับ บางครั้งขยายใหญขึ้นในผลคลายรูปโคน กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกัน แยกเปน 3 สวน กลีบดอกรูประฆัง เบี้ยว สีขาวหรือสีมวง เกสรเพศผู 2 อัน ยอดเกสรเพศเมียรูป ลิ้นโคงงอ ผลแหงแตก สวนมากบิดเวียน มีสมาชิกประมาณ 13 ชนิด พบในพมา จีนตอนใต และคาบสมุทรมาเลเซีย ในประเทศไทยมีประมาณ 10 ชนิด ชามวง เปนพืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะทางภาคเหนือที่ดอยหัวหมด เขตรักษาพันธุ สัตวปาอุมผาง จังหวัดตาก ขึ้นตามที่โลงบนเขาหินปูน ที่สูงจากระดับน้ําทะเล ประมาณ 1,000 เมตร ไมลม ลุกแตกกอ สูงไดถงึ 20 เซนติเมตร ใบยาว 2–4 เซนติเมตร ขอบใบหยักมน แผนใบมีตอ มสีเหลืองกระจายทัง้ สองดาน ดานลาง มีขนสีน้ําตาลอมเหลือง กานชอดอกยาวประมาณ 6 เซนติเมตร ใบ ประดับและใบประดับยอยออกเปนคู หุม กานชอและกานดอก ขยาย ใหญขึ้นในผล มีตอมกระจาย กลีบดอกเบี้ยว กลีบบน 2 กลีบ แฉก ลึกประมาณ 1 เซนติเมตร กลีบดานลาง 3 กลีบ ขนาดเทาๆ กัน เกสรเพศผู ติ ด ที่ โ คนกลี บ ดอกด า นบน ผลยาวประมาณ 2.5 เซนติเมตร แตกเปน 4 สวน บิดเปนเกลียวเล็กนอย

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

156 SW 2331-P25-197-PC7.indd 156

5/1/2554 19:09:45


SW 2331-P25-195-PC7.indd 157

24/12/2553 2:30:01


นวลชมพู

Rhodoleia championii Hook. f.

Hamamelidaceae

สกุล Rhodoleia เปนไมตน ใบเรียงเวียน ชอดอกแบบชอกระจุกแนน ลอม รอบดวยวงใบประดับ กลีบเลี้ยงไมเจริญ กลีบดอกมีเฉพาะดอกที่อยูวงนอกสุด รังไขอยูกึ่งใตวงกลีบ มี 2 ชอง ผลแหงแตก เชื่อมติดกัน แข็ง เมล็ดมีปกแคบๆ มี สมาชิกประมาณ 10 ชนิด หรืออาจจะยุบรวมกันใหมเี พียงชนิดเดียว และบางตํารา จัดอยูในวงศ Rhodoleiaceae และกลาววาไมมีหูใบ แตการศึกษาตอมาพบวามี หูใบเชนเดียวกับสกุลอืน่ ๆ นวลชมพูพบตัง้ แตจนี ตอนใต พมา เวียดนาม คาบสมุทร มาเลเซียและสุมาตรา ในไทยพบทางภาคตะวันตกเฉียงใต (อุทยานแหงชาติ แกงกระจาน) และภาคใตที่จังหวัดนราธิวาส ขึ้นตามชายปาดิบแลงและปาดิบชื้น ระดับต่ําๆ ไมตน สูงไดถงึ 30 เมตร เปลือกสีนา้ํ ตาลเขม มีชอ งอากาศขนาด ใหญ ใบรูปไข ยาว 4–12 เซนติเมตร เสนแขนงใบเรียงจรดกันตรง ปลาย แผนใบมีนวลดานลาง กานใบสีแดง ชอดอกหอยลง ใบประดับ เรียงหนาแนน วงในมีขนาดใหญที่สุด มีขนสั้นหนานุมสีน้ําตาลดาน นอก กลีบเลี้ยงไมพัฒนา กลีบดอกสีแดงอมชมพู รูปใบพาย ยาว ประมาณ 1.8 เซนติเมตร เกลี้ยง ผลแกสีน้ําตาล ทรงกลม เสนผาน ศูนยกลาง 2–2.5 เซนติเมตร เมล็ดที่สมบูรณมีปกแคบ เมล็ดที่เปน หมันไมมีปก

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

158 SW 2331-P25-197-PC7.indd 158

5/1/2554 19:10:21


SW 2331-P25-195-PC7.indd 159

24/12/2553 2:31:07


บัวทอง

Hypericum hookerianum Wight & Arn.

Hypericaceae

สกุล Hypericum หรือสกุลบัวทอง บางครัง้ จัดอยูใ นวงศ Clusiaceae แตขอ มูล ดานวิวัฒนาการไดแยกออกมาเปนอีกวงศหนึ่ง รวมกับสกุล Cratoxylum จาก ลักษณะที่แผนใบมีจุดโปรงแสงหรือจุดสีดํา เกสรเพศผูแยกเปนมัดๆ และมีเมล็ด จํานวนมาก สวนวงศ Clusiaceae มีสมาชิกในสกุลบุนนาค Mesua สกุลตังหน Calophyllum สกุลสารภี Mammea และสกุลพะวา Garcinia เปนตน สกุลบัวทอง หลายชนิดมีดอกสวยงาม มีศักยภาพนํามาเปนไมดอกประดับได ในประเทศไทย มีประมาณ 5 ชนิด มีเขตการกระจายพันธุตั้งแตอินเดีย เนปาล ภูฏาน บังกลาเทศ พมา และเวียดนามตอนเหนือ ในไทยพบเฉพาะทางภาคเหนือที่ดอยอินทนนท และดอยเชียงดาว ขึน้ ตามชายปาดิบเขา ทีส่ งู จากระดับน้าํ ทะเล 1,600–2,500 เมตร ไมพุมทรงกลม ใบเดี่ยว เรียงตรงขาม ยาว 2–7 เซนติเมตร แผน ใบดานลางมีนวล ดอกออกเปนชอกระจุกสั้นๆ มี 1–5 ดอก ดอก รูปถวย ขนาดเสนผานศูนยกลาง 3–6 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงมีตอม ยาว เกสรเพศผูแยกเปน 5 มัด มัดละประมาณ 60–80 อัน เกสร เพศเมียแยกเปน 5 แฉก ผลแบบแหงแตก ยาว 1–1.7 เซนติเมตร เมล็ดจํานวนมาก

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

160 SW 2331-P25-197-PC7.indd 160

5/1/2554 19:11:07


SW 2331-P25-195-PC7.indd 161

24/12/2553 2:32:10


ดันหมี

Gonocaryum lobbianum (Miers) Kurz

Icacinaceae

สกุล Gonocaryum เปนไมพุมหรือไมตนขนาดเล็ก ดอกแยกเพศตางตนแกม ดอกสมบูรณเพศ หรือมีเฉพาะดอกสมบูรณเพศ ใบเดีย่ วเรียงเวียนสลับ ดอกออก เดี่ยวๆ เปนกระจุก ออกเปนชอแบบชอเชิงลด หรือชอกระจะสั้นๆ ตามซอกใบ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีจํานวนอยางละ 5 กลีบ กลีบเลี้ยงเรียงซอนเหลื่อม กลีบ ดอกติดกันเปนหลอด เกสรเพศผู 5 อัน อับเรณูติดดานหลัง ในดอกเพศเมียแปน หมัน รังไขอยูเหนือวงกลีบ ผลผนังชั้นในแข็ง เปนเสนใย มีสมาชิกประมาณ 10 ชนิด พบในเอเชียเขตรอน ในประเทศไทยมีชนิดเดียว ดันหมี พบในจีน (มณฑล ยูนนาน เกาะไหหลํา) พมา ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมาเลเซีย และบอรเนียว ในไทยพบทั่วทุกภาค ขึ้นในปาดิบแลง ปาดิบชื้น และปาดิบเขา เมล็ดใหน้ํามัน ใช ผสมในการทําสบูและน้ํามันหลอลื่น ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็ก สูงไดถึง 15 เมตร ใบยาว 8–25 เซนติเมตร แผนใบหนา กานใบอวบหนา สีเหลืองอมสม ยาว 1–2 เซนติเมตร ชอดอกเพศผูแบบชอเชิงลด ยาวไมเกิน 1 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงขอบมีขนครุย กลีบดอกสีขาวนวล หลอดกลีบดอกยาว ประมาณ 0.5–0.6 เซนติเมตร ดอกเพศเมียหรือดอกสมบูรณเพศ ออกปนชอกระจะสั้นๆ คลายดอกเพศผู ขนาดเล็กกวาเล็กนอย ผล กลมรีหรือรูปทรงกระบอกสัน้ ๆ ยาว 3–5 เซนติเมตร สุกสีดาํ อมมวง ผนังผลหนาคลายฟองน้ํา มีเสนใยหนา

เทคนิคสีไม ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

162 SW 2331-P25-197-PC7.indd 162

5/1/2554 19:11:41


SW 2331-P25-195-PC7.indd 163

24/12/2553 2:33:11


ทองแมว

Gmelina elliptica Sm.

Lamiaceae (Labiatae) สกุล Gmelina หรือสกุลซอ เปนไมตนขนาดเล็กถึงขนาดใหญ ไมพุม หรือ ไมพุมรอเลื้อย ใบเรียงตรงขามสลับตั้งฉาก ชอดอกแบบชอกระจุก กลีบดอก แบบปากเปด โคนกลีบคอดเปนหลอดสัน้ มีสมาชิกประมาณ 38 ชนิด พบในเอเชีย เขตรอนจนถึงหมูเ กาะแปซิฟก ในประเทศไทยพบประมาณ 8 ชนิด ทองแมวมีเขต การกระจายพันธุตั้งแตพมาจนถึงออสเตรเลีย ในไทยพบแทบทุกภาค ขึ้นตามปา ละเมาะและปาผลัดใบ นิยมปลูกเปนไมประดับ ออกดอกออกผลเกือบตลอดป และใชเปนสมุนไพรพื้นบาน ไมตนขนาดเล็ก กิ่งมักหอยยอยลง ใบยาว 3–10 เซนติเมตร กวาง 3–5 เซนติเมตร แผนใบดานบนมีขนประปราย ดานลางมีขน หนาแนน เสนแขนงใบขางละ 6–10 เสน ใบประดับรูปรางคลายใบ กลีบเลีย้ งมีตอ มขนาดใหญ 1–3 ตอม กลีบดอกยาว 3–4 เซนติเมตร โคนเชื่อมกันเปนหลอด ปลายแยกเปน 4 แฉก เกสรเพศผู 4 อัน ผล แบบผลผนังชั้นในแข็ง สีเขียวอมเหลือง ยาว 1.5–2 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

164 SW 2331-P25-197-PC7.indd 164

5/1/2554 19:12:10


SW 2331-P25-195-PC7.indd 165

24/12/2553 2:34:19


ซอหิน

Gmelina racemosa (Lour.) Merr.

Lamiaceae (Labiatae)

ซอหิน พบที่จีนตอนใตและภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบเพียงแหงเดียวที่เขต รักษาพันธุสัตวปาภูวัว จังหวัดหนองคาย ในปาดิบแลง ที่ความสูงจากระดับน้ํา ทะเลประมาณ 200 เมตร ไมตนขนาดกลาง ใบเดี่ยว เรียงตรงขามสลับตั้งฉาก รูปไข ยาว 9–20 เซนติเมตร แผนใบดานลางมีนวลและขนสั้นนุม เสนแขนงใบ ออกจากโคน 1 คู ชอดอกออกตามปลายกิ่ง ยาวประมาณ 15 เซนติ เ มตร กลี บ เลี้ ย งรู ป ระฆั ง ปลายตั ด กลี บ ดอกยาว 3–5 เซนติเมตร ดานนอกมีสขี าวอมมวง ดานในสีมว ง มีขนสัน้ นุม ทัง้ สอง ดาน กลีบกลางลางมีขนาดใหญกวากลีบอื่นๆ กลีบปากมีสีเหลือง เขมดานใน กานชูอับเรณูติดประมาณกึ่งกลางหลอดกลีบดอก รังไข มีขนสั้นนุม ผลทรงกลม สุกสีเหลือง ยาว 2.5–4 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

166 SW 2331-P25-197-PC7.indd 166

5/1/2554 19:12:49


SW 2331-P25-195-PC7.indd 167

24/12/2553 2:39:34


จิกทะเล

Barringtonia asiatica (L.) Kurz

Lecythidaceae

สกุล Barringtonia เปนไมตน ใบเรียงเวียน ชอดอกแบบชอกระจะหรือชอเชิง ลด หอยลงหรือตั้งขึ้น ฐานดอกเปนเหลี่ยมหรือมีปก กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ ติดทน บางครั้งดูคลายถวย กลีบดอกสวนมากมี 4 กลีบ เกสรเพศผูจํานวนมาก เชื่อมติด กันที่โคน เรียง 3-8 วง วงดานนอกสวนมากเปนหมัน รังไขอยูเหนือวงกลีบหรือกึ่ง ใตวงกลีบ มี 2-4 ชอง ผลมีเนื้อมีเมล็ดเดียวหรือหลายเมล็ด แตสวนมากมีเมล็ด เดียวทีพ ่ ฒ ั นา มีสมาชิกประมาณ 56 ชนิด มีเขตการกระจายพันธุท แี่ อฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย จิกทะเล พบทางภาคใตของไทย ขึน้ ตามชายฝง ทะเลทัว่ ไปตัง้ แต มาดากัสการ อินเดีย ศรีลังกา ไตหวัน ญี่ปุน ภูมิภาคมาเลเซีย ฟลิปปนส หมูเกาะ ในมหาสมุทรแปซิฟก ถึงออสเตรเลียตอนบน สวนตางๆ โดยเฉพาะเมล็ดมีพษิ จึง มีชื่อสามัญวา Sea poison tree หรือ Fish poison tree ใชเบ่ือปลาได บางครั้ง เรียกวา Box fruit ตามลักษณะของผลขนาดใหญ ที่เปนเหลี่ยม ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ ใบเรียงเวียนเปนกลุมแนนตาม ปลายกิ่ง ยาว 20–40 เซนติเมตร ปลายใบมน แผนใบหนาเปนมัน วาวดานบน ไรกา น ชอดอกตัง้ ตรง ยาว 5–15 เซนติเมตร มีประมาณ 20 ดอกในแตละชอ ใบประดับติดทน กลีบเลี้ยงแยกเปน 2 สวน ไมเทากัน ยาว 2.5–3.5 เซนติเมตร กลีบดอก 4 กลีบ ติดทีโ่ คนหลอด เกสรเพศผู ซึง่ มีจาํ นวนมากเปนพู แผนกลีบยาว 4.5–6.5 เซนติเมตร ผลขนาดใหญ โคนกวางเปนเหลี่ยม ยาว 10–11 เซนติเมตร ปลาย เรียวจรดกลีบเลี้ยงที่ขยายขึ้น

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

168 SW 2331-P25-197-PC7.indd 168

5/1/2554 19:14:08


SW 2331-P25-195-PC7.indd 169

24/12/2553 2:41:43


กาฝากวงกลีบบัว

Tolypanthus pustulatus Barlow

Loranthaceae

สกุล Tolypanthus หรือสกุลกาฝากวงกลีบ เปนกาฝากบนตนไม ใบเดี่ยวเรียง ตรงขาม บางครั้งใบตรงขามไมเจริญ เสนใบแบบขนนก ชอดอกออกเปนกระจุก สั้นๆ หรือไรกานตามซอกใบ ติดบนวงกลีบประดับขนาดใหญ กลีบแยกจากกัน หรือติดคลายรูประฆัง ดอกเกือบไรกาน มักเรียงแถวเดียว กลีบเลี้ยงขนาดเล็ก บาง เกสรเพศผู 5 อัน อับเรณูติดที่ฐาน รังไขอยูใตวงกลีบ ผลแบบมีเนื้อมีเมล็ด เดียว มีสมาชิก 6 ชนิด พบในประเทศศรีลังกา อินเดีย และจีนตอนใต ใน ประเทศไทยมี 2 ชนิดคือ กาฝากวงกลีบบัว Tolypanthus pustulatus Barlow และ กาฝากวงกลีบระฆัง Tolypanthus lageniferus (Wight) Tieghem กาฝากวงกลีบ บัว เปนพืชถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะที่เขตรักษาพันธุสัตวปาภูวัว จังหวัด หนองคาย ที่สูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 200 เมตร ชอบขึ้นบนตนไมในวงศ อบเชย (Lauraceae) กาฝากพุม สูงประมาณ 50 เซนติเมตร ลําตนเกลี้ยง มีชอง อากาศกระจาย ใบเรียงหางๆ ยาว 9–11 เซนติเมตร แผนใบหนา ชอดอกแบบกระจุกสั้นๆ วงกลีบประดับมี 6–8 กลีบ เปนสัน ติดกัน ประมาณกึ่งหนึ่ง ยาว 1.5–2 เซนติเมตร สีแดงอมชมพู ดอกยอยมี 4–6 ดอก กลีบเลีย้ งมีขนหนาแนน กลีบดอกสีขาว แถบเปนสันสีแดง อมชมพู ติดกันเปนหลอดยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ปลายแยกเปน 5 กลีบ ยาวประมาณ 1 เซนติเมตร พับงอ ผิวดานนอกพองตั้งแต ปลายกลีบจนถึงชวงพับงอ

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

170 SW 2331-P25-197-PC7.indd 170

5/1/2554 19:14:42


SW 2331-P25-195-PC7.indd 171

24/12/2553 2:42:42


มณฑาปา

Magnolia garrettii (Craib) V. S. Kumar

Magnoliaceae

สกุล Magnolia เปนไมตน ใบเรียงเวียน แผนใบมักมีนวลดานลาง หูใบขนาด ใหญ ดอกออกเดี่ยวๆ ขนาดใหญ กลีบรวมหลายกลีบเรียงหลายวง เกสรเพศผู และคารเพลจํานวนมาก เรียงเวียนรอบฐานดอก เกสรเพศผูอ ยูด า นลาง เกสรเพศ เมียแยกหรือเชื่อมติดกัน ผลกลุม แตกอาออก เมล็ดมีเปลือกสีแดง ขอมูลดาน วิวฒ ั นาการในปจจุบนั รวมเอาสกุลตางๆ เชน Michelia, Talauma, Manglietia และ Paramichelia เขาเปนสกุลเดียวกันภายใตสกุล Magnolia ทําใหสกุล Magnolia มีสมาชิกกวา 225 ชนิด ในประเทศไทยพบ 25 ชนิด อยางไรก็ตามใน Flora of China ยังคงแยกออกเปนสกุลตางๆ เชนเดิม และยังแยกบางสกุลเพิ่มเติมอีก เนื่องจากลักษณะของผลที่แตกตางกันอยางชัดเจนในหลายสกุล มณฑาปาหรือ มณฑาดอยเดิมชื่อ Manglietia garrettii Craib พบที่จีนตอนใต (มณฑลยูนนาน) เวียดนาม และภาคเหนือของไทยที่จังหวัดเชียงใหม เชียงราย แมฮองสอน นาน พิษณุโลก และตาก ขึ้นในปาดิบเขา ที่สูงจากระดับน้ําทะเล 1,000–1,900 เมตร ไมตนขนาดใหญ สูงไดถึง 25 เมตร ใบเดี่ยว เรียงเวียนเปนกลุม ตามปลายกิ่ง แผนใบหนา ยาว 18–30 เซนติเมตร ตาดอกรูปขอบ ขนาน ยาว 6–7 เซนติเมตร สีนา้ํ ตาลอมเขียว กลีบรวมสีมว งอมเขียว และแดง อวบหนา กลีบดานนอกยาว 6–9 เซนติเมตร ขอบกลีบหอ และปลายกลีบโคงเขา กลีบดานในแคบและเล็กกวาเล็กนอย ผล กลุมทรงกระบอกสั้น ยาว 4–12 เซนติเมตร ผลยอยแตกอา เมล็ด หอยลง

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

172 SW 2331-P25-197-PC7.indd 172

5/1/2554 19:15:30


SW 2331-P25-195-PC7.indd 173

24/12/2553 2:43:40


โสมชบา

Abelmoschus sagittifolius (Kurz) Merr.

Malvaceae

สกุล Abelmoschus เปนไมลมลุกอายุหลายป ดอกสีเหลืองหรือแดงมีสีเขม ตรงกลาง ออกเดี่ยวๆ ริ้วประดับมี 5–15 อัน ติดทน กลีบเลี้ยงแยกดานหนึ่ง รวง พรอมดอก เกสรเพศผูติดกันเปนเสาเกสร ปลายแยก 5 แฉก รังไขมี 5 ชอง ผล แบบแหงแตก มีสมาชิกประมาณ 15 ชนิด ในเอเชียเขตรอน ในประเทศไทยมี 4–5 ชนิด รวมชนิดทีน่ ําเขามาปลูกเปนพืชสวนครัว เชน กระเจีย๊ บมอญ Abelmoschus esculentus (L.) Moench เป น ต น โสมชบาหรื อ เหง า มหากาฬ เดิ ม ใช ชื่ อ Abelmoschus moschatus Medik subsp. tuberosus (Span.) Bross. Waalk. พบ ตั้งแตอินเดีย พมา จีน ภูมิภาคอินโดจีน ไทย ภูมิภาคมาเลเซีย จนถึงออสเตรเลีย ไมลมลุกมีเหงา กิ่งมีขนสากและหยาบ ใบเดี่ยว เรียงเวียน ใบ ตอนกลางและตอนบนลําตนสวนมากรูปหัวลูกศรหรือมี 3–5 พู ยาว 3–10 เซนติเมตร แผนใบดานลางมีขนแข็ง กานใบยาว ดอกสีเหลือง หรือสีแดง รูปกรวยคว่าํ เสนผานศูนยกลาง 4–5 เซนติเมตรโคนกลีบ มีสีแดงเขม ริ้วประดับ 6–12 อัน ผลทรงกลมรี เสนผานศูนยกลาง ประมาณ 3 เซนติเมตร เมล็ดมีจํานวนมาก

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

174 SW 2331-P25-197-PC7.indd 174

5/1/2554 19:16:03


SW 2331-P25-195-PC7.indd 175

24/12/2553 2:44:39


หมอแกงคาง

Nepenthes ampullaria Jack

Nepenthaceae

สกุล Nepenthes เปนไมเถาประเภทพืชกินแมลง เสนกลางใบยื่นยาวตอจาก ปลายใบเปนมือจับ และที่ดักจับแมลงรูปเหยือกมีฝาปด แบงเปน 2 แบบ ไดแก lower pitcher หมอรูปเหยือกหันเขา มีสันเปนปกจัก 2 แนว มือจับไมมวนงอ และ upper pitcher หมอรูปเหยือกหันออก สันแนวมักไมเปนจักหรือเปนสันตื้นๆ มือ จับมวนงอ ชอดอกแบบชอกระจะออกทีป่ ลายกิง่ กลีบรวม 3–4 กลีบ กานชูอบั เรณู เชื่อมติดกันเปนเสาเกสร อับเรณูมี 4–24 อัน รังไขอยูเหนือวงกลีบ ออวุลจํานวน มาก เรียงหลายแถว ผลแหงแตกตามยาว เมล็ดขนาดเล็กคลายขนจํานวนมาก มี สมาชิก 90–100 ชนิด และมีเพียงสกุลเดียว พบในแอฟริกา เอเชีย จนถึง ออสเตรเลีย ในประเทศไทยมี 12 ชนิด หมอแกงคางกระจายพันธุในภูมิภาค มาเลเซีย ในไทยพบเฉพาะทางภาคใตตอนลาง ขึ้นตามที่โลงหรือมีแดดรําไรตาม ชายปาดิบ มีพันธุผสมจํานวนมาก เรียกวา “แอม” ตามคําระบุชนิด ampullaria เชน แอมเขียว แอมเขียวปากแดง เปนตน ไมเถาลมลุก ขึน้ เปนกลุม หนาแนน ใบจะลดรูป พัฒนาเปนทีด่ กั จับแมลงรูปเหยือก คอนขางปอมเรียงชิดกันแนนเปนแพ สวนมาก เปน lower pitcher บางทีเรียกวาหมอผุด มีสีสันหลากหลาย สวน upper pitcher มักพบในตนทีส่ มบูรณเลือ้ ยเกาะตามยอดไม อาจสูง ไดถึง 15 ม. ลําตนมีขนสั้นนุมสีน้ําตาล ใบยาวถึง 25 เซนติเมตร เปนชนิดเดียวที่ไมมีเซลล “รูปจันทรเสี้ยว” ทําใหฝาปดมีขนาดเล็ก เศษใบไมหลนลงในหมอไดงาย หมอแกงคางจึงสามารถยอยสลาย สัตวตัวเล็กๆ ที่ติดมากับซากใบไมแหงไดอีกทางหนึ่ง

เทคนิคสีไม ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

176 SW 2331-P25-197-PC7.indd 176

5/1/2554 19:16:48


SW 2331-P25-195-PC7.indd 177

24/12/2553 2:46:02


ตานเหลือง

Ochna integerrima (Lour.) Merr.

Ochnaceae

สกุล Ochna เปนไมตนขนาดเล็กหรือไมพุม ชอดอกแบบชอแยกแขนงสั้นๆ กลีบเลี้ยง 4–5 กลีบ ขยายใหญขึ้นมีสีสันรองรับผล กลีบดอก 5–12 กลีบ เกสร เพศผูจ ํานวนมาก รังไข 3–15 ชอง แตละชองมีออวุล 1 เม็ด ผลแบบผนังชัน้ ในแข็ง ติดบนฐานดอกที่ขยาย สุกสีดํา มีสมาชิกประมาณ 85 ชนิด ในแอฟริกาเขตรอน ในประเทศไทยมีเพียงชนิดเดียวที่เปนพรรณไมพื้นเมือง และพบปลูกเปนไม ประดับที่นิยมกันมากอีก 1 ชนิด ไดแก มิกกี้เมาส Ochna kirkii Oliv. ตานเหลือง กระแจะ กําลังชางสาร หรือชางนาว มีชื่อสามัญวา Vietnamese Mickey Mouse พบตั้งแต ปากีสถาน อินเดีย พมา ภูมิภาคอินโดจีน จนถึงคาบสมุทรมาเลเซีย ใน ไทยพบทั่วทุกภาค ตามปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง ชายปา หรือตามชายฝงทะเล ผลัดใบจนหมดตนขณะออกดอกสีเหลืองสะพรั่งเต็มตน รากใชเปนยาถายพยาธิ ไมพุมเตี้ย หรือไมตนขนาดเล็ก สูงไดถึง 12 เมตร ใบเดี่ยว เรียง เวียน ยาว 6–25 เซนติเมตร ขอบใบจักฟนเลื่อย ชอดอกยาว ประมาณ 4 เซนติเมตร ดอกจํานวนมากออกเปนชอสั้นๆ ตามกิ่ง ฐานดอกสีแดงอมสีเขียว กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 5–7 กลีบ สี เหลือง ยาว 1.5–2.5 เซนติเมตร มีกานกลีบ เกสรเพศผูจํานวนมาก เรียง 2–3 วง วงนอกยาวที่สุด แตละดอกมี 3–10 ผล หรือมากกวา ติดบนโคนฐานดอก ยาวประมาณ 1 เซนติเมตร สีเขียวเปนมันวาว สุกสีดาํ กลีบเลีย้ งติดทนสีแดง ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร แผนกลีบ พับงอกลับ

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

178 SW 2331-P25-197-PC7.indd 178

5/1/2554 19:17:18


SW 2331-P25-195-PC7.indd 179

24/12/2553 2:47:46


มะลิวัลยเถา

Jasminum siamense Craib

Oleaceae

สกุล Jasminum เปนไมเถา หรือไมพุมรอเลื้อย ใบเดี่ยวหรือใบประกอบแบบ ขนนกปลายคี่ เรียงตรงขามหรือเรียงสลับ ชอดอกแบบชอกระจุก แยกแขนง หรือ แบบชอกระจะ หรือชอเชิงหลั่น ดอกมีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีจํานวน อยางละ 4–16 กลีบ กลีบดอกรูปแจกันหรือรูปแตร เรียงซอนเหลือ่ ม หรือกลีบดอก ซอนในบางพันธุที่ปลูกเปนไมประดับ เกสรเพศผู 2 อัน ติดบนหลอดกลีบดอก รังไขอยูเ หนือวงกลีบ ผลสดออกเปนคู ขนาดมักไมเทากัน หรือลดรูปเหลือผลเดียว มีสมาชิกมากกวา 200 ชนิด พบในแอฟริกา เอเชีย จนถึงออสเตรเลีย อีก 1 ชนิด พบในแถบเมดิเตอรเรเนียน มะลิวัลยเถา เปนพืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาค เหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตกเฉียงใต ขึ้นตามปาโปรง ชอบ พื้นที่หินปูน จนถึงที่สูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 1,000 เมตร ไมพมุ รอเลือ้ ย ใบเดีย่ ว เรียงตรงขาม ยาว 1–10 เซนติเมตร เสน แขนงใบขางละ 3–4 เสน ดอกออกออกสั้นๆ ที่ปลายกิ่ง 1–3 ดอก กลีบเลี้ยงยาว 0.5–1.5 เซนติเมตร กลีบดอกสีขาว หลอดกลีบยาว 1–1.8 เซนติเมตร แฉกกลีบยาว 1.2–2 เซนติเมตร เกสรเพศผู 2 อัน เกือบไรกานชูอับเรณู เกสรเพศเมียปลายแยก 2 แฉก ผลทรงกลมรี เสนผานศูนยกลาง 0.6–0.8 เซนติเมตร สุกสีแดง

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

180 SW 2331-P25-197-PC7.indd 180

5/1/2554 19:18:12


SW 2331-P25-195-PC7.indd 181

24/12/2553 2:49:44


เสาวรสสยาม

Passiflora siamica Craib

Passifloraceae

สกุล Passiflora เปนไมเถา ไมมีมือจับ ใบเดี่ยว เรียงเวียน เรียบหรือเวาเปน พู ชอดอกมีมือจับ 1 อัน หรือไมมี กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสวนมากมีจํานวน อยางละ 5 กลีบ บางครั้งไมมีกลีบดอก กลีบเลี้ยงคลายกลีบดอก มีกะบัง 2 ชั้น ขอบใน (operculum) บาง มีกา นชูเกสรรวม ผลสดมีหลายเมล็ด มีสมาชิกประมาณ 400 ชนิด หลายชนิดมีดอกสวยงาม นิยมปลูกเปนไมประดับ และมีหลายชนิดที่ ผลกินได เชน เสาวรส หรือ Passiflora edulis Sims เสาวรสสยามพบตัง้ แตอนิ เดีย พมา จีน ลาว และเวียดนาม ในไทยพบกระจายหางๆ ทางภาคเหนือ ภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตกเฉียงใต ตามชายปาดิบแลงและปาดิบเขา หรือ ริมลําธาร ที่สูงจากระดับน้ําทะเล 400–1,500 เมตร ไมเถาลมลุก ยาว 6–8 เมตร ลําตนเปนเหลี่ยมมีริ้ว ใบเรียบ ยาว 5–20 เซนติเมตร มีตอมน้ําตอยใกลขอบใบ กานใบมักมีตอม 2 ตอมตรงกลางหรือโคนกาน ชอดอกออกตามซอกใบสัน้ ๆ มี 2–15 ดอก ดอกสีครีมอมชมพู ดอกบานมีเสนผานศูนยกลาง 2.5–3 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงและกลีบดอกคลายกัน ยาว 1–1.5 เซนติเมตร กานชูเกสรรวม ยาว 0.3–0.5 เซนติเมตร เกสรเพศผู 5–8 อัน เชื่อม ติดกันที่โคน กานเกสรเพศเมีย 3–5 อัน มี 1–2 ผลในแตละชอ

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ปาจรีย อินทะชุบ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

182 SW 2331-P25-197-PC7.indd 182

5/1/2554 19:18:51


SW 2331-P25-195-PC7.indd 183

24/12/2553 2:51:28


เข็มดอย

Duperrea pavettifolia Pit.

Rubiaceae

สกุล Duperrea เปนสกุลทีม่ เี พียงชนิดเดียว มีเขตการกระจายพันธุใ นพมา จีน ตอนใต และภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบทั่วทุกภาค ขึ้นใกลลําธารในปา เบญจพรรณ ปาดิบแลง และปาดิบชื้น บางครั้งพบตามเขาหินปูนหรือหินทราย มี ลักษณะผันแปรหลากหลาย โดยเฉพาะความยาวของกลีบเลี้ยงและกลีบดอก ใบ มีทั้งเกลี้ยงและมีขน ดอกสวยงามมีศักยภาพที่จะพัฒนาเปนไมประดับได เดิมชื่อ Duperrea scabrida Craib ตามลักษณะแผนใบดานลางที่สวนมากมีขนสาก ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็กสูง 3–5 เมตร กิ่งออนเปนเหลี่ยมมี ขนสั้นนุมหนาแนน ปลายหูใบมีรยางคแข็ง ใบเรียงตรงขามลดรูป หนึ่งใบ หรือมี 3 ใบเรียงรอบขอ ยาว 10–23 เซนติเมตร ชอดอก แบบชอกระจุกคลายชอเชิงหลั่น ออกตามปลายกิ่ง ดอกหนาแนน ในแตละชอ มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงติดทน หลอดกลีบดอกยาว 1–2 เซนติเมตร เกสรเพศผูติดที่ปากหลอดกลีบดอก เกือบไรกานชูอับ เรณู รังไขมีขนหนาแนน กานเกสรเพศเมียรูปกระบองยาว 9.5–1.3 เซนติเมตร ผลเกือบกลม เสนผานศูนยกลาง 0.8–1.5 เซนติเมตร มี จานฐานดอกและกลีบเลี้ยงรูปมงกุฎติดอยู สุกสีดํา

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ปาจรีย อินทะชุบ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

184 SW 2331-P25-197-PC7.indd 184

5/1/2554 19:19:21


SW 2331-P25-195-PC7.indd 185

24/12/2553 2:55:50


ราชาวดีหลวง

Buddleja macrostachya Wall. ex Blume

Scrophulariaceae

สกุล Buddleja สวนใหญเปนไมพุม หรือรอเลื้อย ใบเรียงตรงขาม ชอดอก ออกเปนกระจุกแยกแขนงสั้นๆ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีจํานวนอยางละ 4 กลีบ รังไขอยูเหนือวงกลีบ มี 2–4 ชอง เมล็ดขนาดเล็ก สวนมากมีปก มีสมาชิก ประมาณ 100 ชนิด พบทั้งในอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย ในไทยพบเพียง 2 ชนิด มีหลายชนิดที่นําเขามาปลูกเปนไมประดับ อนึ่ง สกุล Buddleja เดิมอยู ภายใตวงศ Buddlejaceae หรือบางครั้งอยูภายใตวงศ Loganiaceae ราชาวดี หลวงมีเขตการกระจายพันธุตั้งแตอินเดีย ภูฏาน บังกลาเทศ สิกขิม พมา จีนตอน ใต เวียดนาม และภาคเหนือของไทย พบที่จังหวัดเชียงใหม (ดอยเชียงดาว ดอย ผาหมปก) ขึ้นตามที่โลงบนเขาหินปูน ที่สูงจากระดับน้ําทะเล 1,600–2,200 เมตร ไมพุมหรือไมตนขนาดเล็ก สูงไดประมาณ 5 เมตร กิ่งเปน สี่เหลี่ยมหรือมีปก มีขนคลายรูปดาวตามกิ่งออน แผนใบ กลีบเลี้ยง ดานนอก หลอดกลีบดอก รังไข และผล หูใบรวมคลายใบ ใบยาว 4–4.5 เซนติเมตร ขอบใบจักมน ไรกานหรือเกือบไรกาน ชอดอก คลายชอเชิงลด ยาว 5–20 เซนติเมตร กลีบดอกสีชมพูอมมวง ปาก หลอดสีแดงสม หลอดกลีบยาว 0.8–1 เซนติเมตร มีขนยาวดานใน ผลแหงแตก ยาว 0.7–1 เซนติเมตร เมล็ดจํานวนมาก

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ปาจรีย อินทะชุบ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

186 SW 2331-P25-197-PC7.indd 186

5/1/2554 19:19:52


SW 2331-P25-195-PC7.indd 187

28/12/2553 16:20:05


เมี่ยงหลวง

Polyspora axillaris (Roxb. ex Ker Gawl.) Sweet ex G. Don

Theaceae

สกุล Polyspora เปนไมตนขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ใบเดี่ยว เรียงเวียน ขอบ ใบเรียบหรือจักฟนเลือ่ ย ดอกออกเดีย่ วๆ หรือเปนชอสัน้ ๆ ตามซอกใบ กลีบเลีย้ ง 5 กลีบ รวงงาย กลีบดอกมี 5–6 กลีบเชื่อมติดกันที่โคน เกสรเพศผูจํานวนมาก วงนอกเชื่อมติดกลีบดอก อับเรณูติดดานหลัง ผลแบบแหงแตก รูปทรงกระบอก เมล็ดมีปกบางๆ สกุล Polyspora มีสมาชิกประมาณ 40 ชนิด พบในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต เดิมจัดอยูใ นสกุล Gordonia แตขอ มูลดาน วิวัฒนาการระบุวาสกุล Gordonia พบเฉพาะในทวีปอเมริกา เมี่ยงหลวงเดิมชื่อ Gordonia axillaris (Roxb. ex Ker Gawl.) D. Detr. ในจีน ลาว และเวียดนาม ใน ไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ภูกระดึงและภูหลวง จังหวัดเลย ขึ้นเปน กลุมตามริมลําธารในปาดิบเขา ที่สูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ 1,200 เมตร ไมตน สูงถึง 20 เมตร ใบยาว 12–18 เซนติเมตร แผนใบหนา ขอบใบเรียบหรือจักเล็กนอย เสนแขนงใบไมชดั เจน ดอกขนาดใหญ ออกเดีย่ วๆ หรือเปนคูต ามซอกใบ ใบประดับ 6–7 อัน รวงงาย กลีบ เลีย้ งเรียงซอนเหลือ่ ม ยาว 1–1.5 เซนติเมตร กลีบดอก 5 กลีบ เรียง ซอนเหลื่อม ยาว 3.5–5.5 เซนติเมตร ปลายกลีบเวา กานชูอับเรณู ยาว 1.5–3 เซนติเมตร กานเกสรเพศเมียมีขนกํามะหยีห่ นาแนน ผล ยาว 3–8 เซนติเมตร แตกอาออกมีแกนกลางติดทน เมล็ดจํานวน มาก รวมปก ยาว 1.5–2 เซนติเมตร

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

188 SW 2331-P25-197-PC7.indd 188

5/1/2554 19:20:22


SW 2331-P25-195-PC7.indd 189

28/12/2553 0:05:07


เห็ดเบี้ย

Chaetocalathus columellifer (Berk.) Singer

Marasmiaceae

เห็ดสกุล Chaetocalathus ทั่วโลกมี 20 ชนิด พบทั่วไปในเขตรอนชื้น เห็ดเบี้ย เปนเห็ดขนาดเล็ก แรกเกิดเปนเพียงกลุม เสนใยรวมกันเปนตุม เล็กๆ ตอมาพัฒนา เปนแกนกลางและเปนหมวกในที่สุด ขึ้นกระจายเปนกลุมใหญบนเศษทอนไมใน พื้นปาดิบชื้น เห็ดชนิดนี้มีรายงานพบในมาเลเซียดวย ดอกเห็ ด รู ป ชามหงาย ขนาดเส น ผ า นศู น ย ก ลาง 0.3–1 เซนติ เ มตร สี ข าวแล ว เปลี่ ย นเป น สี น้ํ า ตาลชมพู ผิ ว หมวกมี ข น ละเอี ย ดสี น้ํ า ตาลแดงเห็ น เป น ลายริ้ ว ตามแนวรั ศ มี ปลาย ขอบมีสีออนกวา และมีขนเรียงโดยรอบ ขอบหมวกมวนงอเขาเล็ก นอย เปนเห็ดที่ไมมีกานเชนเห็ดสดทั่วไป โดยเอาหลังหมวกติดกับ แหลงกําเนิด กานลดรูปเปนเพียงแทงแกนกลางสีขาวสัน้ ๆ ซึง่ เสนใย ที่สานอัดกันแนน ครีบบาง สีขาวเปลี่ยนเปนสีชมพูอมเทา ครีบยาว ติดกับแทงแกนกลาง มีครีบสัน้ เรียงสลับ 2–3 ระดับ สปอรรปู รีกวาง ขนาด 7–9 X 5–6 ไมครอน ผนังบาง ผิวเรียบ

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

190 SW 2331-P25-197-PC7.indd 190

5/1/2554 19:20:57


SW 2331-P25-195-PC7.indd 191

24/12/2553 3:01:56


เห็ดถวยแชมเปญ

Cookeina sulcipes (Berk.) Kuntze

Sarcoscyphaceae

เห็ดสกุล Cookeina ทัว่ โลกมี 12 ชนิด พบทัว่ ไปในเขตรอนชืน้ เห็ดถวยแชมเปญ มีชื่อสามัญวา Cup fungus, Goblet fungus หรือ Wine glass mushroom อาจขึ้น เปนดอกเดี่ยว หรือขึ้นเปนกลุมกระจายหางๆ บนเศษทอนไม พบทั่วไปในปา เบญจพรรณ ปาดิบแลง และปาดิบชื้น ในไทยพบเห็ดถวยแชมเปญสองชนิด อีก ชนิดเปนเห็ดถวยแชมเปญขน Cookeina tricholoma (Mont.) Kuntze ตางกัน ตรงทีช่ นิดหลังดอกเห็ดมีสชี มพูออ นถึงสีเหลืองสม มีขนสีขาวยาวทัง้ สองดานของ ดอกเห็ดและที่กาน เห็นไดอยางชัดเจน ดอกเห็ดมีรูปรางคลายแกวแชมเปญ มีกานยาว สีชมพูออนถึง ชมพูเขมอมแดง ขนาดเสนผานศูนยกลาง 1.3–3.6 เซนติเมตร สูง 1–3 เซนติเมตร ปลายขอบหมวกดานบนมีขนสีขาวสั้นๆ กระจาย หางๆ ผิวหมวกดานในเรียบ สีชมพูเขมหรือสีชมพูอมแดง ผิวหมวก ดานนอกสีชมพูออน ผิวเรียบ มีขนสีขาวสั้นๆ เรียงเปนวง 2–3 วง ใกลปลายขอบหมวก กานสีขาว ผิวเรียบ ติดกลางดอก ยาว 0.8–6.5 เซนติเมตร สปอรเกิดในถุงแอสคัสรูปทรงกระบอง ภายในบรรจุ 8 สปอร เรียงแถวเดี่ยว สปอรรูปรี ผนังบาง สีใส ผิวมีลายริ้วตามยาว ภายในคลายมีหยดน้ํามันใหญ 1–2 หยด ขนาด 25–33 × 14–18 ไมครอน

เทคนิคสีนํ้า ขนาด 30 x 40 เซนติเมตร โดย ธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ ลิขสิทธิ์ของหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช พ.ศ. 2553

192 SW 2331-P25-197-PC7.indd 192

5/1/2554 19:21:29


SW 2331-P25-195-PC7.indd 193

24/12/2553 3:03:40


เกี่ยวกับผูวาดภาพ

นางธัญลักษณ สุนทรมัฏฐ Mrs Thanyalak Suntaramud

การศึกษา

ศิลปะบัณฑิต สาขาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป มหาวิทยาลัยเชียงใหม

สถานที่ทํางาน

โรงเรียนรุงอรุณ 391 ซอยอนามัยงามเจริญ 25 (ถนนพระราม 2 ซอย 33) แขวงทาขาม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพ ฯ

SW 2331-P25-197-PC7.indd 194

นางอรทัย เกิดแกว Mrs Orathai Kerdkaew

การศึกษา

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ศิลปประยุกต) วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแกน ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศิลปกรรม) มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

สถานที่ทํางาน

สํานักงานหอพรรณไม สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม

นางสาวปาจรีย อินทะชุบ Miss Pajaree Inthachub

การศึกษา

วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พฤกษศาสตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

สถานที่ทํางาน

กลุมงานวิจัยพฤกษศาสตรและพิพิธภัณฑพืช กองคุมครองพันธุพืช กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ

10/1/2554 16:36:32


รายนามคณะทํางาน นายนิพนธ โชติบาล นายจําลอง เพ็งคลาย นายธวัชชัย สันติสุข นายชวลิต นิยมธรรม นางลีนา ผูพัฒนพงษ ผูอํานวยการสํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช นายธวัชชัย วงศประเสริฐ นายชนะ พรหมเดช นายธีรวัฒน บุญทวีคุณ นายสมราน สุดดี นายวรดลต แจมจํารูญ นายธวัช ติงหงะ นายปยชาติ ไตรสารศรี นางสาวสุคนธทิพย ศิริมงคล นางสาวโสมนัสสา แสงฤทธิ์ นางสาวนันทวรรณ สุปนตี นายพาโชค พูดจา นายบุญยืน ชื่นชมกลิ่น นางอรทัย เกิดแกว นายราชันย ภูมา นายปรีชา การะเกตุ นายทนงศักดิ์ จงอนุรักษ นางสาวนันทนภัส ภัทรหิรัญไตรสิน

ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ประธานคณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางาน คณะทํางานและเลขานุการ คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ คณะทํางานและผูชวยเลขานุการ

คําขอบคุณ คณะผูจัดทําหนังสือพฤกษศิลป ขอขอบคุณ ดร. ศศิวิมล แสวงผล อาจารยประจําภาควิชาพฤกษศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล ประธานเครือขายวิทยสานศิลป ผูตรวจและแกไขตนฉบับ พรอมใหคํา แนะนําที่มีประโยชนอยางมาก โดยเฉพาะในสวนของประวัติความเปนมา ภาพถายสวนใหญที่ใชประกอบการวาดภาพในหนังสือพฤกษศิลปเลมนี้ เปนภาพที่ถายโดยคณะทํางาน และยังไดรับความอนุเคราะหภาพบางสวนจากบุคคลตอไปนี้ ไดแก นายมนตรี ธนรส นายธรรมรัตน พุทธไทย นางสาวปาจรีย อินทะชุบ นายกันย จํานงคภักดี และ Dr. Brigitta E. E. Duyes และสุดทายนี้ขอขอบคุณ Dr. Stuart Lindsay ที่อนุญาตใหใชภาพวาดตนแบบเฟน Lecanopteris pumila Blume

SW 2331-P34-195-Edit-PC7.indd 195

28/12/2553 0:09:28


พฤกษศิลป เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 83 พรรษา 5 ธันวาคม 2553. พิมพครั้งที่ 1 จํานวนพิมพ 10,000 เลม พุทธศักราช 2553 ขอมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแหงชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. สํานักงานหอพรรณไม. พฤกษศิลป เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 83 พรรษา 5 ธันวาคม 2553.-- กรุงเทพฯ : กรม, 2553. 193 หนา. 1. การวาดภาพ. 2. พฤกษศาสตร. I. ชื่อเรื่อง. 745.723 ISBN 978-974-286-845-1 หนังสือเผยแพร หามจําหนาย พิมพที่ : บริษัท ประชาชน จํากัด 35 ซอยพิพัฒน 1 ถนนสีลม บางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทร 0 2636 6550-8 โทรสาร 0 2238 1074 แยกสีที่ : บริษัท ซีเวิลด กราฟฟค จํากัด 93/5 ซอยภุมรินราชปกษี ถนนสมเด็จพระปนเกลา แขวงอรุณอมรินทร เขตบางกอกนอย กรุงเทพฯ 10700 โทร 0 2433 4000, 0 2883 1755-6 โทรสาร 0 2883 1757

สํานักงานหอพรรณไม

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

SW 2331-P25-197-PC7.indd 196

6/1/2554 16:59:38


เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 83 พรรษา 5 ธันวาคม 2553

ISBN 978-974-286-845-1

CMYK

เฉลิมพระเกียรติ

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 83 พรรษา 5 ธันวาคม 2553

กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.