นวัตกรรมโครงสร้ างไม้ ไผ่ เทคโนโลยีสมัยใหม่ ผสมสมัยเก่ า โรงเรี ยนปั ญญาเด่ น สถาปั ตยกรรมจาก ดิน ไม้ ไผ่ และหัวใจผู้สร้ าง ผู้ก่อตัง้ : ยอดเพชร สุดสวาท, Dr.Markus Roselieb สถาปนิก: 24H > architecture, Chiangmai Life Construction Project Leader & Management: Chiangmai Life Construction
พืน้ ที่: 5000m² ระยะเวลาก่ อสร้ าง: พฤษภาคม 2010 – เมษายน 2011 ที่มา “โรงเรี ยนปั ญญาเด่น” เป็ นโรงเรี ยนที่มีแนวความคิดวิถีพท ุ ธร่วมกับหลักสูตรสมัยใหม่ ซึง่ คา ว่าวิถีพทุ ธนัน้ ไม่ได้ หมายถึงวัด พิธีกรรม
หรื อบทสวดมนต์ แต่หมายถึงแนวทางการดาเนินชีวติ การมีวฒ ุ ิภาวะทางอารมณ์ ความสามารถทีจ่ ะใช้ สติปัญญาเพื่อสร้ างความสุขให้ ตนเอง และครอบครัว การสังเกตและเรี ยนรู้ความเป็ นไปของธรรมชาติและอยูร่ ่วมกันกับธรรมชาติได้ อย่างกลมกลืน การจะให้ เด็กได้ เรี ยนรู้วา่ ธรรมชาติคืออะไร สิง่ แวดล้ อมทีด่ ีคืออะไร เพียงแค่บอกกล่าวด้ วยคาพูดย่อมไม่เพียงพอ ทางโรงเรียนต้ องการให้ เด็กได้ เห็น ได้ เรี ยนรู้ ได้ สมั ผัส ด้ วยประสบการณ์ตรงของตนเอง สิง่ เหล่านี ้จึงสะท้ อนออกมาในงานออกแบบ สถาปั ตยกรรมของโรงเรี ยน ที่ใช้ วสั ดุจากธรรมชาติและเป็ นวัสดุ ท้ องถิ่น ที่ตงั ้ ของโรงเรียนเดิมเป็ นสวนผลไม้ แวดล้ อมด้ วยทุง่ นาและมีภเู ขา เป็ นฉากหลัง บริ ษัท 24H > architecture ผู้เป็ นสถาปนิกรับผิดชอบโครงการจึง ใช้ รูปทรงธรรมชาติในการออกแบบเพื่อให้ กลม ลืนกับสิง่ แวดล้ อม หลังคาที่ทงั ้ โครงสร้ างและวัสดุมงุ ทาจากไม้ ไผ่ล้วนๆ ถูกออกแบบให้ มีรูปทรงล้ อไปกับภูเขา อาคารต่างๆวางเรี ยงตัวตามแนวทางเดินที่ได้ รับแรงบันดาลใจจากรูปทรงของ เฟิ ร์น เขากวาง ตัวอาคารของโรงเรี ยนแบ่งออกเป็ นสองกลุม่ หลักๆ คือ กลุม่ อาคารเรี ยน และกลุม่ ศาลา
อาคารเรี ยนนัน้ โครงสร้ างจะเป็ นผนังรับน ้าหนักสร้ างจากดิน อัดหนา 50 ซม. (rammed earth) อยูต่ รงกลางแบ่งอาคาร เรี ยนออกเป็ นห้ องต่างๆ ส่วนผนังด้ านนอกจะเป็ นดินปั น้ ทีม่ ี ส่วนผสมจากโคลน ทราย แกลบ ฉาบด้ วยดินและทาสี ธรรมชาติ เจาะช่องแสงด้ วยก้ นขวดและฝาเครื่ องซักผ้ าเก่า หลังคาเป็ นโครงสร้ างไม้ ไผ่มงุ ด้ วยวัสดุมงุ จากไม้ ไผ่ น ้าหนัก ของหลังคาจะถูกถ่ายลงสูผ่ นังรับน ้าหนักตรงกลาง ทาให้ ผนัง ภายนอกสามารถเล่นรูปทรง free-form ได้ อย่างอิสระ
ส่วนอาคารที่เป็ นศาลาต่างๆ ได้ แก่อาคารเอนกประสงค์ โรงอาหาร สระว่ายน ้า สร้ างโดยการใช้ เสาไม้ ไผ่หลายต้ นมัดรวมกันรองรับ หลังคาไม้ ไผ่ทรงกระโจมคลุม ต่า ถ่ายน ้าหนักลงสูฐ่ านรากหินด้ านล่าง วัชรดุล ป้อต๊ ะมา 5219101324 เสฎฐวุฒิ พวงพัฒน์ 5219101333
การปล่อยก๊ าซคาร์ บอนได้ ออกไซด์ให้ น้อยที่สดุ ก็เป็ นอีกหนึง่ ใน ปรัชญาการออก แบบของโรงเรี ยน ผนังหนา 50 ซม. เพื่อดูดซับความร้ อน และการเว้ นช่องเปิ ดใต้ หลังคาเพือ่ การระบายอากาศจึงช่วย ให้ ภายใน ห้ องเรี ยนเย็นสบายโดยไม่จาเป็ นต้ องติดเครื่ องปรับอากาศ คุณมาร์ คให้ ข้ อมูลกับเราว่า แนวทางการก่อสร้ างแบบนี ้ช่วยลดการปล่อยก๊ าซ คาร์ บอนไดออกไซด์ให้ น้อยกว่าปกติ ได้ ถึง 90%
จุดเด่นด้านภูมิทศั น์ คือ การแบ่งพืน้ ทีใ่ ช้สอยอย่างเรียบง่ายแต่กลมกลืน ไม่มขี อบเขต ไม่มคี วามต่างระดับอย่างชัดเจนระหว่าง พืน้ ห้อง สนามหญ้า หรือทางเดิน ไม่มขี อบเขตระบุว่าจุดไหนต้องใส่รองเท้า จุดไหนต้องถอดรองเท้า ไม่ตอ้ งเดินอ้อมระเบียงเพื่อขึน้ บันได การใช้สอยพืน้ ทีร่ อบโรงเรียนของเด็กๆจึงเป็ นไปอย่างอิสระ circulation ถูกกาหนดด้วยการใช้สอยอย่างแท้จริง ไม่ใช่ความต่างระดับของ พืน้ อาคารหรือชนิดของวัสดุ เมื่อพืน้ ไม่มคี วามต่างระดับ ก็ไม่จาเป็ นต้องมีบนั ได ไม่ตอ้ งมีระเบียงกันตกมาขัน้ ระหว่างภายในอาคารกับ ภายนอก และเมื่อไม่มอี ะไรมาบดบังสายตา เพียงมองผ่านกระจกห้องเรียนออกไป เด็กๆก็ได้สมั ผัสกับสนามหญ้า และกลายเป็ นส่วนหนึ่ง ของธรรมชาติได้อย่างเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน แนวคิดในการสร้ างโรงเรียนด้ วยวัสดุธรรมชาติที่หลายคนอาจคิดว่า ไม่คงทน ดูแลรักษายาก แต่ภมู ิปัญญาไทยมีเทคนิคแก้ ไข สถาปั ตยกรรมสมัยใหม่สร้ างความตื่นตาตื่นใจให้ ผ้ พู บเห็น อยูเ่ สมอ วัสดุใหม่ๆ ได้ รับการพัฒนาขึ ้นเพื่อตอบสนองการสร้ างสรรค์ รูปแบบทางสถาปั ตยกรรมที่ไม่มี ขีดจากัด ขณะที่วสั ดุดงเดิ ั ้ มที่ใช้ สบื ทอดกันมาหลายชัว่ อายุคนถูกมองข้ ามไปตามกาลเวลา แต่เมื่อ สถาปั ตยกรรมสมัยใหม่ผสมผสานเข้ ากับวัสดุดงเดิ ั ้ มจากธรรมชาติ อย่าง 'ไม้ ไผ่' และ 'ดิน' ผลลัพธ์ที่ได้ คือสถาปั ตยกรรมที่โดดเด่นและ มากด้ วยคุณค่าจากภูมิปัญญาดัง้ เดิม รูปแบบทางสถาปั ตยกรรมของโรงเรี ยนปั ญญาเด่นเป็ นการผสมผสานระหว่างการออกแบบ จาก 24H Architecture และทีมงานของ เชียงใหม่ ไลฟ์ คอนสตรัคชัน่ ซึง่ มีอาจารย์ เดชา เตียงเกตุ เป็ นผู้ดแู ลในการปรับเปลีย่ นแบบให้ ใช้ ได้ จริ ง โครงสร้ างไม่ ไผ่ โครงสร้ างหลังคาของอาคารทุกหลังใช้ ไม้ ไผ่ เป็ นวัสดุหลัก โดยใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการยึดไม้ ไผ่เข้ ากับหินซึง่ เป็ นฐาน และเสริ ม ความแข็งแรงให้ ไม้ ไผ่ โดยใช้ วิธีเจาะแกนเหล็กลงไปในหินก่อน เจาะเป็ นรูแล้ วเราก็ใส่กาว แล้ วมาใส่จกุ ลงไป หยอดปูนลงไปสูงประมาณ 70 เซนติเมตรเพื่อล็อกไม่ให้ ไม้ ไผ่ขยับ แต่การรับน ้าหนักจริ งๆ คือไม้ ไผ่ทงล ั ้ าไม่ได้ มีซเี มนต์ ตัวไม้ ไผ่ที่เป็ นโครงสร้ างเป็ นเสาทังหมด ้ ใช้ ไผ่ตง ที่มีอายุประมาณ 5-7 ปี ถ้ าอายุน้อยกว่านันก็ ้ จะมีปัญหาเรื่ องการหดตัว การแตก ความแข็งแรงไม่พอ ปั ญหาของประเทศไทยหรื อคนไทยที่เราไม่คอ่ ยเชื่อมัน่ ไม้ ไผ่เพราะเรื่ องมอด เรื่องแมลง เรื่ องปลวกกิน เราสามารถป้องกัน ด้ วยการแช่น ้ายา โดยมีเทคนิค คือ ใช้ บอแรกซ์ที่ใช้ ผสมลูกชิ ้นแช่ไว้ ประมาณหนึง่ อาทิตย์ ก่อนแช่เราจะเจาะทะลุข้อทังหมดเพราะถ้ ้ าเราไม่ เจาะทะลุข้อจะมีปัญหาคือน ้าเข้ าไปไม่ ได้ อากาศยังอยูข่ ้ างในเพราะฉะนันแมลงยั ้ งสามารถเจาะเข้ าไปได้ หรื อบางอันมีไข่ของแมลงอยูภ่ ายใน อยูแ่ ล้ วเมื่อถึงอายุแมลงจะเจาะออกมา ถ้ าไม่ทาเช่นนี ้ไม้ ไผ่จะอยูไ่ ด้ ประมาณปี สองปี ก็ผพุ งั
วัชรดุล ป้อต๊ ะมา 5219101324 เสฎฐวุฒิ พวงพัฒน์ 5219101333
ความรู้ในการเสริ มความแข็งแรงให้ ไม้ ไผ่ ยังรวมถึงการนา ภูมิปัญญาโบราณ มาใช้ อย่างเข้ าใจ ไม้ ไผ่แต่ละลาจะมีลกั ษณะเฉพาะ เช่น เราจะดูความแข็ง ใช้ มีดสักเล่มฟั นดูความแข็งและดูลกั ษณะของเนื ้อภายใน เนื ้อไม้ ไผ่จะต่างจากไม้ ชนิดอื่น คือไม้ ชนิดอื่นเวลามันเติบโต มันขยายตัวออกแต่ไม้ ไผ่เวลาอายุถึงประมาณสามปี จะเริ่มหยุดการเจริ ญเติบโต คือไม่ขยายตัวออกแต่มนั จะเติบโตภายใน ช่องว่างภายในจะ เริ่ มลดลงๆ จนกลายเป็ นไผ่ตนั คือไม่มีรู ซึง่ จะขับน ้าตาลกับโปรตีนจะออกมา ในไม้ ไผ่ก็จะมีแต่เนื ้อใยไผ่เท่านัน้ ไม้ ไผ่เวลาตัด โบราณจะ มีตาราว่าตัดวันไหนดี ไม่ดี ตัดขึ ้นกี่คา่ แรมกี่ค่า ตัดวันไหนมอดไม่กิน ทุกอย่างมีความหมายหมด เพียงแต่ เราไม่เข้ าใจ เพราะว่าบางช่วงที่เขาตัดมันเกี่ยวกับข้ างขึ ้นข้ างแรม น ้าขึ ้นน ้าลง ช่วงที่น ้าลงคือช่วงทีพ่ วกโปรตีนพวกน ้าตาลโดนดูดลงมาอยูท่ ี่ รากที่หน่อ เพราะฉะนันช่ ้ วงนันพอตั ้ ดไปน ้าตาลมันน้ อย แมลงก็ไม่คอ่ ยเจาะไม่ค่อยกิน มันมีเหตุผลเพียงแต่เราไม่คอ่ ยเข้ าใจซึง่ คนโบราณเขา อธิบายไม่ได้ วา่ ทาไมแต่ เขาบอกได้ วา่ ตัดช่วงนี ้ดี
อายุการใช้ งานของไม้ ไผ่ ท่ มี ีการเตรียมด้ วยเทคนิควิธีการที่เหมาะสม ถ้ าเป็ นโครงสร้ างภายในจะอยูไ่ ด้ สามสิบปี ขึ ้น อาจจะใช้ ได้ ถึงร้ อยปี ถ้ าเราดูแลดีๆ เพราะไม้ ไผ่หลักจริ งๆ คือเราต้ องดูแลไม่ให้ โดนน ้า โดนแดด เพราะถ้ าโดนสองอย่างนี ้เขาจะผุได้ เร็ ว แต่ถ้าเป็ นหลังคาที่เรามุงเป็ นฝ้า อันนันเป็ ้ น ไผ่สสี กุ คุณสมบัติของไผ่สสี กุ คือ ผิวค่อนข้ างแข็ง และทนพวกแดดพวกฝนได้ ดี ประมาณสิบปี อาจเปลีย่ นหนึง่ ครัง้ เสาไม้ ไผ่อาจจะสองปี ครัง้ มาทาความสะอาดบ้ าง เทคนิคใช้ น ้ามันลูบ เพราะ ถ้ ามันโดนฝุ่ นเกาะเยอะๆ ก็มีโอกาสที่มนั จะเป็ นเชื ้อราหรื อว่าผุ เราก็ทาความสะอาดให้ เขาบ้ าง หลังคาอาจจะมีปัญหาเยอะหน่อย ควร ใช้ วิธี แบบโบราณ เวลาเขามุงหลังคาเวลามันผุ เขาไม่ได้ รือ้ ออก จะใช้ วธิ ีมงุ ทับลงไป พอผุอีก ก็มงุ ทับ มันจะกลายเป็ นหลังคาที่หนามาก มีชนั ้ หลังคาที่หนาอยูไ่ ด้ เป็ น 20-30 ปี เป็ นภูมิปัญญาโบราณอีกอย่างหนึง่
วัชรดุล ป้อต๊ ะมา 5219101324 เสฎฐวุฒิ พวงพัฒน์ 5219101333
อาคารผู้ปกครองสร้ างความแตกต่างด้ วยโครงสร้ างจากไม้ ไผ่ขนาดเล็ก ใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการเสียบไม้ ไผ่เข้ ากับหิน -------------------------------
ผนังห้ องเรี ยนใช้ ดินอัดซึง่ มีความแข็งแรงและรองรับน ้าหนักได้ ดี -----------------------------
วัชรดุล ป้อต๊ ะมา 5219101324 เสฎฐวุฒิ พวงพัฒน์ 5219101333
สร้ างรูปทรงโค้ งมนด้ วยการก่ออิฐดิบซึง่ ทาจากดินและแกลบ --------------------
หน้ าต่างรูปทรงแปลกตายึดด้ วยลิ ้มไม้ ตรงกลางให้ พลิกเปิ ดได้ ทงสองด้ ั้ านตามทิศทางลม ---------------------
วัชรดุล ป้อต๊ ะมา 5219101324 เสฎฐวุฒิ พวงพัฒน์ 5219101333
วัชรดุล ป้อต๊ ะมา 5219101324 เสฎฐวุฒิ พวงพัฒน์ 5219101333
วัชรดุล ป้อต๊ ะมา 5219101324 เสฎฐวุฒิ พวงพัฒน์ 5219101333
วัชรดุล ป้อต๊ ะมา 5219101324 เสฎฐวุฒิ พวงพัฒน์ 5219101333
จุดเด่ น
เป็ นโครงสร้ างทีถ่ ่ายน ้าหนักลงส่งฐาน ที่เป็ นหิน โดยไม่มฐี านรากใต้ ดิน ไม้ ไผ่สามารถคงอยูไ่ ด้ นานถึง 30 – 100 ปี มีความแข็งแรงคงทน ภายในตัวอาคาร อากาศสามารถถ่ายเทได้ สะดวก เพราะวางผังตามทิศทางลม และลักษณะภูมศิ าสตร์ อื่นๆ ใช้ กระบวนการและเทคนิคสมัยใหม่ที่เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้ อม
จุดด้ อย หลังคาไม้ ไผ่ ไม่คอ่ ยทนกับสภาพอากาศ แดดจัด หรื อ ฝนตกหนัก ต้ องบารุงรักษา อย่างสมา่ เสมอ
Panyaden School 218 Moo 2, T.Namprae, A.Hang Dong, Chiang Mai 50230 Tel:053-426618 / 080 078 5115 Fax:053-426617 อี-เมลล์ : info@panyaden.ac.th
คุณยอดเพชร สุดสวาท
มร.มาร์คสู โรเซลีบ
อาจารย์เดชา เตียงเกตุ
วัชรดุล ป้อต๊ ะมา 5219101324 เสฎฐวุฒิ พวงพัฒน์ 5219101333