Surveying1

Page 1


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

สัปดาห์ที่

1

หน้าที่

1

วันที่ : 12-16 พ.ค. 2552 เวลา : ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบตั ิเกี่ยวกับหลักการสารวจเบื้องต้น การทางานการใช้และบารุ งรักษาเครื่ องมืออุปกรณ์ในงาน สารวจ การวัดระยะทางด้วยโซ่ เทป เข็มทิศ การทาแผนที่ การใช้กล้องวัดมุม การวางแนวเบื้องต้น จุดประสงค์รายวิชา เมื่อนักศึกษาเรี ยนจบวิชา 2106-2106 การสารวจ 1 (SURVERYING 1) นักศึกษาจะมีความสามารถดังไปนี้ 1. เพื่อให้มีความเข้าใจหลักการสารวจเบื้องต้น การใช้และบารุ งรักษาเครื่ องมือ อุปกรณ์ในงานวิธีการ ต่างๆ 2. เพื่อให้สามารถวัดระยะ สารวจด้วยโซ่ เทป เข็มทิศ กล้องวัดมุมเบื้องต้น และการทาแผนที่ 3. เพื่อให้มีทศั นคติที่ดีต่อวิชาชีพงานสารวจ การวัดผล คะแนนเต็มทั้งหมด 100 คะแนน แบ่งออกเป็ น จิตพิสยั คะแนนจากงานที่มอบหมาย คะแนนสอบปลายภาค รวม อาจารย์ผ้สู อน อาจารย์ธวัชชัย เจริ ญลาภ นายกิตติพงษ์ ดาจานงค์ ตาราประกอบการเรียน “ วิชาการสารวจ ( SURVEYING )”ธวัชชัย เจริ ญลาภ

20 % 60 % 20 % 100 %


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

สัปดาห์ที่

1

หน้าที่

2

วันที่ : 12-16 พ.ค. 2552 เวลา : ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ลักษณะวิชาการสารวจ การสารวจเป็ นทั้งศาสตร์และศิลป์ ของการวัด เนื่องจากมีส่วนเกี่ยวโยงกับวิชาการหลายสาขา เช่น คณิ ตศาสตร์ เรขาคณิ ต ตรี โกณมิติ และคณิ ตศาสตร์ช้นั สูง ซึ่งจะเป็ นการคานวณหาระยะทางในแนวราบ (Horizontal distance) ระยะทางในแนวดิ่ง (Vertical distance) ทิศทาง (Direction) มุม (Angle) ตาแหน่ง ของจุดต่างๆ (Position) พื้นที่ (Areas) ปริ มาตร(Volume) ส่วนที่เป็ นศิลป์ คือเป็ นการหาความสัมพันธ์ของ ที่ต้งั ของจุดต่างๆ ที่อยูบ่ นผิวโลก ใต้ผวิ โลก หรื อใกล้กบั โลก ซึ่งเป็ นการค้นหาวิธีการวัดระยะ มุม ทิศทาง ของเส้นแนวทางหรื อจุดต่างๆ ซึ่งสิ่งที่ได้มาจะเป็ นข้อมูล (Data) จากการสารวจในสนาม แล้วจึงนาข้อมูลนั้น มาคานวณ ออกแบบ เขียนเป็ นแผ่นภาพ แผนผัง (Diagram) แผนที่ (Map) รู ปด้าน (Profile) รู ปตัด (Cross section) การสารวจเป็ นการหาความสัมพันธ์ของจุดต่างๆ 2 ลักษณะคือ 1.การหาตาแหน่งหรื อพิกดั ของจุดต่างๆ เหล่านั้นเฉพาะทางพื้นราบ เพื่อนาข้อมูลจากงานสนามมา สร้างเป็ นแผนที่ หรื อแผนผัง 2.การหาระดับความสูงต่าของจุดต่างๆ เพื่อที่จะนามาเปรี ยบเทียบว่า จุดต่างๆ ที่นามาเปรี ยบเทียบกัน นั้นมีระดับแตกต่างกันเท่าใด


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

1

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 12-16 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การสารวจตามแผ่นราบ และการสารวจตามผิวโค้ง การสารวจนั้นจะเกี่ยวข้องกับตาแหน่งต่างๆบนผิวโลกเสมอ ทั้งระยะทาง และระดับความสูงต่า จะต้องสอดคล้องกับลักษณะความโค้งของโลก ไม่เช่นนั้นแล้ว การกาหนดตาแหน่ง ไม่ว่าจะเป็ นตาแหน่ง ทางราบ หรื อทางดิ่ง ก็จะมีความผิดพลาดควบคู่ไปด้วย จากเหตุดงั กล่าว จึงแบ่งการสารวจออกเป็ น 2 ระบบ คือ การสารวจแผ่นราบ (Plane Surveying) หมายถึงการสารวจที่ไม่คิดถึงผลจากความโค้งของโลก เป็ นการ สารวจบริ เวณพื้นที่เล็กๆ โดยสมมติว่าผิวโลกที่สารวจนั้นเป็ นพื้นระดับ (Horizontal plane) การวัดระยะทาง ระหว่างจุดต่างๆ จึงวัดตามแนวเส้นตรง (Chord) เพราะสะดวกในการทางานมากกว่า การสารวจแบบนี้ จะต้องมีพ้นื ที่ไม่กว้างขวางมากนัก ประมาณว่าไม่เกิน 100 ตารางไมล์ หรื อ 16.1  16.1 กิโลเมตร (ประมาณ 260 ตารางกิโลเมตร) จึงจะทาการสารวจระบบนี้ได้โดยที่มีค่าผิดพลาดไม่มากนัก ในงานวิศวกรรมโยธาหรื อ การก่อสร้างทัว่ ไปมักจะเกี่ยวข้องกับการสารวจแผ่นราบมากกวาการสารวจตามผิวโค้งของโลก เนื่องจาก ต้องการค่าความถูกต้องไม่สูงมากนัก และเป็ นงานที่มีขนาดพื้นที่ไม่กว้างใหญ่มากนักนัน่ เอง เช่นการวางผัง งานก่อสร้าง การวางแนวทางเพื่อการก่อสร้างทางหลวง ทางรถไฟ คลอง การรังวัดที่ดิน เป็ นต้น การสารวจตามผิวโค้ง (Geodetic Surveying) หมายถึงการสารวจที่จะต้องพิจารณาผลจากความโค้งของผิว โลกเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย เพื่อให้ได้ตาแหน่งของจุดต่างๆที่ถกู ต้อง เป็ นการสารวจที่ใช้สาหรับพื้นที่ขนาด ใหญ่ระดับประเทศ หรื อระดับโลก ต้องใช้วิธีการและเครื่ องมือที่มีความละเอียดสูง วัตถุประสงค์ของการ สารวจในขั้นนี้ก็เพื่อที่จะหาตาแหน่งที่ถกู ต้องที่สุดบนพื้นโลก ซึ่งจะใช้เป็ นหมุดหลักฐานที่ใช้ในการกาหนด หมุดบังคับชั้นรองลงมา ตารางเปรียบเทียบระยะทางการวัดแบบ Arc และ Chord ระยะทางตาม Arc (ม.) ระยะทางตาม Chord (ม.)

ความแตกต่าง (ม.)

18,200 54,500

18,999.9 54,499.7

0.1 0.3

91,000

90,999.5

0.5


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

1

หน้าที่

4

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 12-16 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ชนิดของการสารวจ การสารวจจาแนกตามลักษณะการปฏิบตั ิงานและวัตถุประสงค์ของงานต่างๆได้หลาย ประเภท ได้แก่ 1.การสารวจภูมปิ ระเทศ (Topographic Surveying) เป็ นการสารวจที่ตอ้ งการรายละเอียดทั้ง 3 มิติ โดยการ เก็บรายละเอียดสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เช่น แม่น้ าลาธาร ภูเขา รวมทั้งสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นมาเช่น ถนน สะพาน คลอง อาคาร และสิ่งก่อสร้างต่างๆ แล้วนามาเขียนเป็ นแผนที่ แสดงลักษณะขอบเขตและความสูงต่าของพื้นที่ 2.การสารวจเกีย่ วกับทีด่ ิน (Land Surveying) เป็ นการสารวจเกี่ยวกับการกาหนดหลักเขต ผังบริ เวณของ ที่ดิน การคานวณพืน้ ที่เขตครอบครองที่ดิน การออกโฉนดที่ดิน 3.การสารวจเส้ นทาง (Route Surveying) เป็ นการสารวจเพื่อวางแนวทาง การสร้างทางขนส่ง หรื อคมนาคม เช่น ทางหลวง ทางรถไฟ คลองชลประทาน การวางท่อระบายน้ า 4.การสารวจทางอุทกศาสตร์ (Hydrographic Surveying) เป็ นการสารวจพื้นที่ทอ้ งแม่น้ า ทะเล เพื่อ ประโยชน์ในการเดินเรื อ การประปา หรื อการก่อสร้างใต้น้ า 5.การสารวจเหมืองแร่ (Mine Surveying) เป็ นการสารวจเพื่อกาหนดเขตเหมือง กาหนดจุดที่จะขุดปล่องลง ไปยังเหมืองแร่ แนวรางรถ อุโมงค์ 6.การสารวจผังเมือง (City Surveying) เป็ นการสารวจในเขตเทศบาลเพื่อการสร้างถนน ระบบการวางท่อ ประปา ท่อระบายน้ า การสารวจพื้นที่เพื่อวางแนวทางในการจัดผังเมือง 7.การสารวจแผนที่รูปถ่ ายทางอากาศ (Protogrammetric Surveying) เป็ นการสารวจโดยการถ่ายภาพจาก เครื่ องบิน หรื อดาวเทียม แล้วนามาแปลความหมายของภาพ เพื่อเขียนเป็ นแผนที่ วิธีน้ ีสามารถสารวจพื้นที่ กว้างใหญ่ได้ภายในเวลารวดเร็วและมีความถูกต้องสูง


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

สัปดาห์ที่

1

วันที่ : 12-16 พ.ค. 2552 เวลา : ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

หน้าที่

5


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

สัปดาห์ที่

1

วันที่ : 12-16 พ.ค. 2552 เวลา : ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

แผนที่ภาพถ่าย บริ เวณจังหวัดขอนแก่น มาตราส่วน 1:4000 จัดทาโดยกรมพัฒนาที่ดิน

หน้าที่

6


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

1

หน้าที่

7

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 12-16 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ลักษณะการทางานสารวจแบ่งเป็ น 2 ลักษณะ คือ งานสนาม (Field works) เป็ นงานที่ช่างสารวจต้องออกไปหาข้อมูลในสนาม เช่น การวัดระยะ วัดมุม ทิศทาง หาค่าระดับของพื้นที่ตามสภาพภูมิประเทศ แล้วบันทึกข้อมูลลงในสมุดสนามเพื่อนาไปในงานต่างๆ ต่อไป

งานสานักงาน (Office works) เป็ นการนาข้อมูลงานสนามมา ดาเนินการเพื่อให้ได้สิ่งที่ตอ้ งการเช่น คานวณหาระยะทาง หาพื้นที่ ปริ มาตร ความสูง งานเขียนเป็ นแผนที่ ทาหุ่นจาลอง เป็ นต้น


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

หน้าที่

2

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 19-23 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ หน่ วยของการวัด (Unit of measurement) หน่วยของการวัดมีหลายระบบ ได้แก่ระบบเมตริ ก (Metric system) ระบบอังกฤษ (The imperial of British system) หน่วยอเมริ กนั (American units) ต่อมาได้มีการเปลี่ยนมาใช้หน่วยของระบบ มาตรฐานสากล คือ หน่วยเมตริ ก เอส ไอ (System international metric unit) ซึ่งประเทศไทยก็ใช้ระบบ เมตริ ก สาหรับงานสารวจ เช่นกัน หน่วยที่ใช้สาหรับหน่วย เอส ไอ ปริ มาณ

หน่วยที่ใช้สาหรับ หน่วย เอส ไอ

หน่วยอื่นที่ยงั นิยมใช้

ความยาว (Length)

มิลลิเมตร (มม.)

เซนติเมตร (ซม.)

เมตร (ม.) กิโลเมตร (กม.) พื้นที่ (Area)

ตารางมิลลิเมตร (มม.2)

เฮคแตร์ (Hectare)

ตาราง เซนติเมตร (ซม.) เมตร (ม.2) ปริ มาตร (Volume)

ลูกบาศก์มิลลิเมตร (มม.3) ลูกบาศก์เมตร (ม.3)

มวล (Mass)

มิลลิกรัม (มก.) กรัม (ก.)

กิโลกรัม (กก.)

ลูกบาศก์เซนติเมตร (ซม.3) ลิตร มิลลิเมตร


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

2

หน้าที่

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 19-23 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ หน่วยการวัดมุม ที่ตกลงใช้กนั ในหน่วย เอส ไอ คือ เรเดียน (Radien) หน่วยวัดมุม 1 เรเดียน เท่ากับมุมที่จุด ศูนย์กลางวงกลมรองรับส่วนโค้งขนาดยาวเท่ากับรัศมีของวงกลมนั้น ย่อว่า Rad 2Rad = 1 รอบหมุน (Revolution) เท่ากับ 4 มุมฉาก แต่ในทางปฎิบตั ิระบบองศา (Sexagesimal) ยังคงนิยมใช้กนั อยู่ โดยแบ่งหน่วยของการวัดดังนี้ 60 ฟิ ลิปดา (Seconds) = 1 ลิปดา (Minute) 60 ลิปดา (Minute) = 1 องศา (Degree) 360 องศา (Degree) = 1 มุมรอบจุดศูนย์กลาง มุมเรเดียน เทียบกับ องศา จะได้เท่ากับ 1 Rad = 180/ Degree = 57.29578 Degree 1 Degree = /180 Rad = 0.0174533 Rad หน่วยของอุณหภูมิ (Temperature units) สาหรับหน่วย เอส ไอ กาหนดให้ใช้องศาเคลวิน (Degree Kelvin, K) ในทางปฎิบตั ิยงั คงใช้องศาเซลเซียส (Degree Celsius, C)


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

2

หน้าที่

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 19-23 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ มาตราส่ วน (Scales) มาตราส่วน คืออัตราส่วนของมิติที่แสดงบนแผนที่หรื อแบบแปลนต่อมิติของสิ่งเดียวกัน ซึ่งวัดบนพื้นที่จริ ง วิธีการแสดงมาตราส่วน 1.แสดงแบบคาพูด เช่น 1 เซนติเมตร แทน 1 เมตร หมายถึง ระยะ 1 เซนติเมตร บนกระดาษใช้แทนระยะ 1 เมตรบนพื้นที่จริ ง 2.แสดงด้วยการวาดขนาดมาตราส่วนลงบนแผนที่หรื อแบบแปลน เช่นมาตราส่วน1เซนติเมตร แทน 1 เมตร อาจใช้วิธีการวาดแสดง ดังรู ป 1

0

1

2

3

4

5

6

7

8

1 0.5 0

1

2

3

4

5

6

7

8

3.แสดงแทนด้วยเศษส่ วน วิธีการนี้จะบอกตัวเลขในรู ปเศษส่ วน โดยตัวตั้งหรื อเศษแทนระยะบนแผนที่หรื อ

แบบแปลนและจะกาหนดให้เป็ น 1 สาหรับตัวหารหรื อส่วนแทนระยะบนพื้นที่จริ ง ดังนั้นมาตราส่วน 1 เซนติเมตร แทน 1 เมตร เขียนได้เป็ น 1/100 หรื อ 1:100


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

2

4

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 19-23 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การแปลงมาตราส่ วนให้ อยู่ในรูปเศษส่ วน ตัวอย่างที่ 1 ระยะ 1 เซนติเมตรบนแผนที่ แทนระยะ 75 เมตร บนดิน เขียนเป็ นรู ปเศษส่วนได้ดงั นี้ 1 เซนติเมตร หน่วยบนแผนที่ = = 1:7500 หน่วยบนพื้นดิน

75 100 เซนติเมตร

ตัวอย่างที่ 2 แปลนมาตราส่วน 1:200 อยากทราบว่า ระยะบนแปลน 7 เซนติเมตร จะแทนระยะจริ งเท่าไร มาตราส่วน 1:200 หมายถึงระยะบนแปลน 1 ซม. จะเท่ากับระยะจริ ง 200 ซม. ดังนั้นระยะบนแปลน 5 ซม. จะเท่ากับระยะจริ ง 2005 ซม. = 1000 ซม. =

ม. = 10 ม.

ตัวอย่างที่ 3 แผนที่มาตราส่วน 1 : 500 ระยะทางระหว่างจุด 2 จุด วัดได้ 60 เมตร จะต้องเขียนระยะบนแผนที่ ยาวเท่าไร มาตราส่วน 1:500 หมายถึง ระยะจริ ง 500 ม. ระยะที่ใช้บนแผนที่เท่ากับ 1 ม. ถ้า ระยะจริ ง 60 ม. ระยะที่ใช้บนแผนที่เท่ากับ หรื อ เท่ากับ = 12 ซม.

ม.


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

2

หน้าที่

5

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 19-23 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ มาตราส่วนที่แนะนาให้ใช้สาหรับระบบเมตริ ก ไอ เอส โอ (I.S.O. ,The international Organization for standardization) กาหนดมาตราส่วนของงานไว้ ดังนี้ แผนที่

มาตราส่ วน

แผนที่

1:1000000 1:500000 1:200000 1:100000 1:50000

สารวจเพื่อวางผังเมือง

1:50000

1:20000

1:10000 1:5000

สารวจผัง บริ เวณ

1:2000

1:1000

1:500

แปลนงานก่อสร้าง

1:1000

1:500

1:200

แบบโครงสร้าง

1:100

1:50

แบบส่วนประกอบ และรายละเอียด

1:20

1:10

1:5

1:1

การเทียบมาตราส่วนขนาดหนึ่งว่าใหญ่หรื อเล็กกว่าอีกมาตราส่วนหนึ่ง จะเทียบจากค่าตัวเลขของมาตราส่วน เช่น มาตราส่วน 1:100 = 1/100 = 0.01 มาตราส่วน 1:200 = 1/200 = 0.005 เนื่องจาก 0.01 มากกว่า 0.005 ดังนั้น มาตราส่วน 1:100 จึงใหญ่กว่า 1:200


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

หน้าที่

2

6

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 19-23 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ คณิตศาสตร์ สาหรับการสารวจ นักสารวจที่ดีจาเป็ นต้องมีความรู้ทางคณิตศาสตร์โดยเฉพาะเกี่ยวกับวิชาตรี โกณมิติ สูตรที่ใช้เป็ น ประจา มีดงั นี้ จากรู ปสามเหลี่ยมมุมฉาก มีมุม B เป็ นมุมฉากจะได้ C

a

b A

1. Sin A 4. Cosec A =

b a

= =

a B

c

2. Cos A =

a b

1 SinA

5.Sec A =

b c

3. Tan A =

c b

=

1 CosA

6. Cot A =

=

c a

C

A

b

a

a B

c

A

จากรู ปสามเหลี่ยมทั้งสองรู ป ใช้สูตรตรี โกณมิติ ดังนี้ 7. กฎของ Sine (Sine rule) a SinA

=

b SinB

1 TanA

C

b

=

c SinC

= 2R

เมื่อ R คือรัศมีของวงกลมรอบรู ปสามเหลี่ยมนั้น

c

B

a c


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 19-23 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 8. กฏของ Cosine (Cosine rule) a2 = b2 + c2 - 2bc CosA a = b2  c2  2bc  cos A ถ้า A เป็ นมุมป้ าน มุม CosA = - Cos (180 – A) 9. กฏของพื้นที่ (Area rule) เมื่อรู้ความยาว 2 ด้าน และมุมระหว่างด้านทั้ง สอง พื้นที่ของสามเหลี่ยม ABC = ½ ab SinC = ½ bc SinA = ½ ac SinB เมื่อรู้ค่ามุม 2 มุม และด้านที่อยูร่ ะหว่างมุมทั้งสอง พื้นที่ของสามเหลี่ยม ABC = a2 Sin B Sin C / (2 Sin (B+C)) = b2 Sin A Sin C / (2 Sin (A+C)) = c2 Sin A Sin B / (2 Sin (A+B)) เมื่อรู้ความยาวด้านทั้ง 3 ด้าน สูตร S S = (a + b + c ) /2 พื้นที่สามเหลี่ยม ABC = S (S  a)(S  b)(S  c) การหาค่ามุมจากสูตร S S (S  a) มุม A = 2 cos1 bc

หน้าที่

7


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

สัปดาห์ที่

หน้าที่

2

วันที่ : 19-23 พ.ค. 2552 เวลา : ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ตัวอย่างที่1 จากรู ปจงคานวณหามุม A มุม B มุม C และหาพื้นที่ของรู ปสามเหลี่ยม โดยใช้สูตร S

C 100.50

สูตร S

84.70

A B 95.35 (a  b  c) S = 2 = (84.70+100.50+95.35)/2 = 140.275 S (S  a) มุม A = 2 cos1 bc 140.275 (140.275  84.70) = 2 cos1 = 51959.81 100.50  95.35 S (S  b) มุม B = 2 cos1 ac 140.275 (140.275  100.50) = 2 cos1 = 673337.67 84.70  95.35 S (S  c) มุม C = 2 cos1 ab 140.275 (140.275  95.35) = 2 cos1 = 611622.52 84.70  100.50

รวมค่ามุม = 180 0000 พื้นที่สามเหลี่ยม ABC = S (S  a) (S  b) (S  c) = 140.275 (140.275  84.70) (140.275  100.50) (140.275  93.35) = 3732.321 ตารางเมตร

8


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

หน้าที่

2

วันที่ : 19-23 พ.ค. 2552 เวลา : ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ตัวอย่างที่2 จงคานวณหามุม B มุม C โดยใช้กฎของ sine

C 100.50

84.70

51959.81 A 95.35

B

ภาพแสดงรู ปสามเหลี่ยมที่รู้ระยะสองด้านและมุมหนึ่งมุม

กฎของ sine (sine rule) a = b = c = 2R sin A sin C sin B

b sin A a  b  sin A   มุมB = sin-1 a  

sinB =

c  sin A    a 

 มุมC = sin-1

 100.50  sin 519 59.81   = 673337.66 = sin-1  

84.70

 95.35  sin 519 59.81   = sin-1  

84.70

= 611622.52

9


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 19-23 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ตัวอย่างที่3 จงคานวณหาด้าน B ด้าน C โดยใช้กฎของ sine และหาพื้นที่ของรู ปสามเหลี่ยม C b

611622.52 84.70

51959.81 673337.67 A B c ภาพแสดงรู ปสามเหลี่ยมที่รู้ระยะหนึ่งด้านและมุมสามมุม กฎของ sine (sine rule) a = b = sin A

sin B

b = a sin B sin A c = a sin C sin A

c sin C

= 2R

84.70  sin 67 33 37.67 = sin 51 9 59.81 84.70  sin 61 16 22.52 = sin 51 9 59.81

= 100.50 เมตร = 95.35 เมตร

เมื่อรู้ค่ามุม 2 มุม และด้านที่อยูร่ ะหว่างมุมทั้งสอง a 2  sin B  sin C พื้นที่ของสามเหลี่ยม ABC = 2sin (B  C) 84.70 2  sin 67 33 37.67  sin 61 16 22.52 = 2sin (67 33 37.67  61 16 22.52) = 3732.321 ตารางเมตร

10


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

2

หน้าที่

11

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 19-23 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ตัวอย่างที่4 จากรู ปจงคานวณหาด้าน A โดยใช้กฎของ cosine และหาพื้นที่ของรู ปสามเหลี่ยม C 100.50 51959.81 A

a 95.35

B

ภาพที่ 1.8 แสดงรู ปสามเหลี่ยมที่รู้ระยะสองด้านและมุมหนึ่งมุม กฎของ cosine (cosine rule) a = b2  c2  2bc  cos A =

100.50 2  95.352  2 100.50  95.35  cos 51 9 59.81 = 84.70 เมตร

กรณี ที่รู้ความยาวของด้าน 2 ด้านและมุมที่อยูร่ ะหว่างด้าน 1 พื้นที่ของสามเหลี่ยม ABC = bc sin A 2 1 = ×100.50 ×95.35× sin 51959.81 2 = 3732.321 ตารางเมตร


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

2

หน้าที่

12

วันที่ : 19-23 พ.ค. 2552 เวลา : ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ตัวอย่างที่4 จากรู ปจงคานวณหาด้าน A โดยใช้กฎของ cosine และหาพื้นที่ของรู ปสามเหลี่ยม

C 100.50

a

51959.81 A

95.35

B

ภาพที่ 1.8 แสดงรู ปสามเหลี่ยมที่รู้ระยะสองด้านและมุมหนึ่งมุม กฎของ cosine (cosine rule) a

= =

b2  c2  2bc  cos A 100.50 2  95.352  2 100.50  95.35  cos 51 9 59.81

กรณี ที่รู้ความยาวของด้าน 2 ด้านและมุมที่อยูร่ ะหว่างด้าน พื้นที่ของสามเหลี่ยม ABC = =

1 bc sin A 2 1 ×100.50 ×95.35× sin 51959.81 2

= 3732.321 ตารางเมตร

= 84.70 เมตร


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

2

หน้าที่

13

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 19-23 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การบารุงรักษาเครื่องมือสารวจ การสารวจเป็ นงานที่จะต้องใช้เครื่ องมือที่มีความละเอียดสูง ดังนั้นการดูแลรักษาเครื่ องมือสารวจจึงถือว่ามี ความสาคัญมาก เพื่อให้ใช้เครื่ องมือได้อย่างมีประสิทธิภาพได้ขอ้ มูลการวัดที่ถกู ต้อง และมีอายุการใช้งาน คงทนถาวรที่สุด เนื่องจากเครื่ องมือสารวจเป็ นเครื่ องมือที่มีราคาแพงและมีความละเอียดสูง หากการเก็บ รักษาไม่ถกู วิธีอาจมีผลทาให้เครื่ องมือมีความคลาดเคลื่อน และชารุ ดเสียหายได้ง่าย การซ่อมแซมต้องเสีย ค่าใช้จ่ายสูงทาให้ตน้ ทุนในการทางานสูงตามไปด้วย จึงควรทราบแนวทางการบารุ งรักษาเครื่ องมือสารวจ ตามลักษณะของเครื่ องมือต่างๆ ดังนี้ กล้องสารวจ ในที่น้ ีรวมถึงการใช้กล้องทุกชนิด เช่นกล้องระดับ กล้องวัดมุม กล้องเทเลสโคปติดเข็มทิศ อุปกรณ์เหล่านี้มีความละเอียดสูง และมีโอกาสแตกหักเสียหายได้ง่ายจึงต้องระมัดระวังให้มาก การดูแล รักษาควรปฏิบตั ิดงั นี้ 1.ก่อนนาไปใช้ควรตรวจสอบกล้อง และอุปกรณ์ประกอบที่จาเป็ น ว่าอยูใ่ นสภาพสมบูรณ์พร้อมใช้งาน หรื อไม่ หากพบปัญหาควรแก้ไขให้เรี ยบร้อยก่อนนาไปใช้งาน 2.นาเตรี ยมอุปกรณ์ที่เป็ นเครื่ องช่วยยืดอายุการใช้งานไปด้วย เช่น ร่ มกันแดด ถุงพลาสติกสาหรับคลุมกล้อง เมื่อฝนตกกระทันหัน 3.ขณะเคลื่อนย้ายกล้องไปไกลควรใส่กล่องบรรจุให้เรี ยบร้อย เพื่อป้ องกันการกระทบกระเทือนหากตกหล่น 4.การตั้งกล้องควรกางขากล้องออกแล้วเหยียบกดปลายขาให้ฝังลงดินโดยเหยียบน้ าหนักตามการเอียงของขา ตั้งกล้อง แล้วตรวจดูสกรู ยดึ ว่าแน่นดีแล้วจึงค่อยนากล้องออกจากกล่องขึ้นมาสวมขาตั้ง โดยใช้มือหนึ่งจับที่ ตัวกล้องตรงที่แข็งแรงหรื อตรงหูหิ้วกล้อง ส่วนมืออีกข้างหนึ่งช้อนรับที่ส่วนล่าง 5.เมือ่ กล้องอยูก่ ลางแจ้งขณะที่กาลังปฏิบตั ิงานให้กางร่ มบังแดดให้กบั ตัวกล้อง เนื่องจากหากถูกแดดร้อนมาก จะทาให้กล้องเกิดการคลาดเคลื่อน และอายุการใช้งานสั้นลง 6.เมื่อฝนตกให้รีบนาถุงพลาสติกที่เตรี ยมไว้ คลุมกล้องก่อนแล้วจึงยกกล้องหลบเข้าในที่ร่มเพื่อไม่ให้กล้อง เปี ยกหรื อถูกละอองฝน ซึ่งอาจทาให้น้ าซึมเข้าภายในกล้องและเกิดเป็ นเชื้อราภายในตัวกล้องหรื อสนิมขึ้นได้


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

2

หน้าที่

14

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 19-23 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 7.การย้ายกล้องระยะไม่ไกลมาก ให้ตรวจดูว่ากล้องยึดติดกับส่วนขาตั้งมัน่ คงแล้ว จึงค่อยยกกล้อง เคลื่อนย้าย วิธีการยกกล้องหากเป็ นกล้องขนาดเล็กเช่นกล้องระดับ ใช้วิธีรวบขาตั้งแล้วอุม้ ตั้งหรื อเอียง เล็กน้อย หรื อแบกพาดบ่าโดยให้ตวั กล้องอยูด่ า้ นหน้า เพื่อให้สามารถเห็นตัวกล้องขณะเคลื่อนย้ายจะได้ไม่ กระทบกระแทกกับต้นไม้ กิ่งไม้ และสิ่งต่างๆ หากเป็ นกล้องขนาดใหญ่เช่นกล้องวัดมุมจะต้องเคลื่อนย้ายโดย สะพายหรื ออุม้ ให้กล้องอยูใ่ นลักษณะตั้ง เพราะกล้องมีน้ าหนักมากหากแบกขึ้นบ่าอาจทาให้แกนของกล้องสึก หรอ หรื อคดเสียหายได้ 8.การตั้งกล้องต้องหลีกเลี่ยงการตั้งกล้องในที่ที่อาจเกิดการเสียหายแก่ตวั กล้อง เช่นบริ เวณที่ใกล้กบั ทางสัญจร ที่มีรถวิ่งไปมา สนามกีฬา บริ เวณที่มีการเลี้ยงสัตว์ พื้นที่ลื่นได้ง่ายเช่นพื้นขัดมัน ปูกระเบื้อง หาก จาเป็ นก็ควรใช้ความระมัดระวังเป็ นพิเศษ 9. สกรู ยดึ ล๊อคหน้ากล้อง หรื อสกรู ปรับแนวควรหมุนปรับ ล็อคให้แน่นพอควรไม่ควรหมุนให้แน่นมาก จนเกินไปเพราะอาจทาให้เกลียวเสียได้ หากสกรู ฝืดมากก็ควรหยอดน้ ามันหล่อลื่นเพื่อให้ใช้งานได้คล่อง 10.เมื่อมีชิ้นส่วนของเครื่ องมือ อุปกรณ์ หลวมหรื อหลุดออกมา ให้ตรวจดูใส่กลับที่เดิม หากปล่อยไว้อาจทา ให้ส่วนอื่นๆเสียหายตามมาก็ได้ แต่ถา้ ไม่ทราบว่าเป็ นส่วนใดให้เก็บไว้ก่อนเพื่อหาโอกาสซ่อมแซมภายหลัง 11.เมื่อเลิกใช้งานให้ทาความสะอาดโดยใช้แปรงขนอ่อนนุ่มปัดฝุ่ นออก ใช้น้ ายาเช็ดเล็นส์ และกระดาษเช็ด เลนส์ หรื อผ้าอ่อนนิ่มเช็ดส่วนที่เป็ นเลนส์ ปล่อยให้แห้งดีแล้วจึงเก็บลงกล่อง ให้เข้าที่ตามลักษณะที่ผผู้ ลิต ออกแบบมา 12.ถ้าไม่ได้ใช้งานเป็ นเวลานานๆ ควรนากล้องออกมาหมุนเคลื่อนอุปกรณ์ต่างๆ โดยเฉพาะกล้องที่เป็ น ระบบอิเลคทรอนิคส์ควรนามาเปิ ดสวิทช์บา้ ง หากเก็บไว้นานโดยไม่มีใช้งานวงจรอาจเสียได้ 13.อย่าวางสิ่งของทับลงบนกล่องเก็บกล้อง เพราะอาจทาให้กล้องที่อยูใ่ นกล่องเสียหายได้ 14.การปรับแต่งกล้องควรปรับเฉพาะส่วนภายนอกเท่านั้น ไม่ควรถอดส่วนใดๆของกล้องออก หากมีปัญหา ก็ควรส่งซ่อมกับบริ ษทั ที่เป็ นตัวแทนจาหน่าย เพราะส่วนต่างๆมีความละเอียดมากการปรับแต่งโดยไม่มี ความชานาญอาจเสียหายได้ 15.ภายในกล่องเก็บกล่องควรมีสาร Sillica Gel เพื่อช่วยดูดความชื้นภายในกล่อง เป็ นการป้ องกันเชื้อราและ สนิม 16.ก่อนใช้งานควรศึกษาวิธีการใช้และการดูแลรักษากล้องจากคู่มือการใช้งานให้ดีเสียก่อน


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

สัปดาห์ที่

2

วันที่ : 19-23 พ.ค. 2552 เวลา : ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

หน้าที่

15


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

2

หน้าที่

16

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 19-23 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ โซ่ และเทป 1.ขณะใช้งานต้องระวังไม่ให้โซ่หรื อเทป พันกัน เพราะอาจเป็ นสาเหตุให้ส่วนที่พนั กันขาด หักหรื อบิด งอ เสียรู ปได้ขณะดึงปลายทั้งสองให้ตึง 2.อย่าลากถูไปกับพื้นขณะทาการรังวัด เพราะจะทาให้เกิดรอยขีดข่วนตัวเลขลบเลือน หรื อเกี่ยวกับตอไม้ ทาให้โซ่ – เทป ขาดได้ ควรดึงให้ลอยจากพื้นเล็กน้อย แล้วเดินตามกันไปโดยให้คนที่อยูห่ ลังเป็ นคนดูแล 3.หากโซ่ – เทป เปี ยกน้ า จะต้องเช็ด ให้แห้ง ก่อนจึงนาไปเก็บ โซ่ – เทป เหล็กหากเก็บนานก็ควรทาน้ ามัน เพื่อป้ องกันสนิม


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

2

หน้าที่

17

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 19-23 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ อุปกรณ์สารวจอืน่ ๆ อุปกรณ์อื่นๆ ในที่น้ ีหมายถึงอุปกรณ์สารวจนอกจากที่ได้กล่าวแล้ว เช่น ขาตั้งกล้อง หลักเล็ง ห่วงคะแนน ลูกดิ่ง สมุดสนาม และอุปกรณ์ประกอบต่างๆ ก็จะต้องใช้งานอย่างระมัดระวังเช่นเดียวกัน 1.สมุดสนาม นับว่าเป็ นสิ่งที่มีความสาคัญมาก จะต้องเก็บรักษาอย่างดี หากสูญหาย หรื อเปี ยกน้ า ไม่ สามารถอ่านข้อมูลที่บนั ทึกไว้ได้ ก็จะต้องทาการสารวจใหม่ท้งั หมด เป็ นการเสียทั้ง เวลา และค่าใช้จ่ายใน การทางาน 2.ห่วงคะแนน หลักเล็ง หมุดต่างๆ เมื่ออยู่ในสนามแต่ยงั ไม่ได้ใช้งาน ควรปักไว้รวมกัน หากวางนอนเมื่อ เลิกงานจะเสียเวลาในการค้นหาและอาจหาไม่เจอ หากพื้นที่ปฏิบตั ิงานเป็ นที่รก 3.ควรวางอุปกรณ์ต่างๆไว้ในที่เดียวกัน และวางไว้ในที่ที่สามารถมองเห็นได้ เพื่อสะดวกในการดูแลและ หยิบใช้งาน 4.ไม่วางไม้ระดับโดยพิงกับพนังในลักษณะที่ไม่มนั่ คง เพราะอาจล้มหัก เสียหายได้ 5.อุปกรณ์ที่เป็ นเหล็กควรทาสีน้ ามันป้ องกันสนิม อุปกรณ์ที่ใช้ในการสังเกตควรทาสีขาว-แดง เพื่อให้ มองเห็นได้ง่ายสะดวกในการเก็บคืน 6.จุดที่เป็ นจุดหมุนหรื อข้อพับ ควรดูแลหยอดน้ ามันหล่อลื่นบ้างเป็ นครั้งคราว 7.หากมีการชารุ ด หรื อชิ้นส่วนใดหลุดไป จะต้องซ่อมให้อยูใ่ นสภาพที่พร้อมใช้งานหากปล่อยไว้ไม่ซ่อมและ ยังนาไปใช้งาน จะทาให้เสียหายมากจนไม่สามารถซ่อมให้กลับมาใช้งานได้อีก 8.เมื่อเลิกงานจะต้องทาความสะอาด ส่วนที่ปักลงดินจะต้องเช็ด ล้าง ที่เป็ นเหล็กก็ควรทาน้ ามันหรื อจาระบี หากต้องเก็บนาน อุปกรณ์ที่ทาจากไม้หากเปี ยกน้ าจะต้อง ผึ่งให้แห้งก่อนจึงเก็บเข้าที่


ใบงานที่ 1 การใช้ งานและการบารุงรักษาเครื่องมือสารวจ

สัปดาห์ที่

1

หน้าที่

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 12-16 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ จุดประสงค์ 1. บอกลักษณะการใช้งานของเครื่ องมือสารวจประเภทต่างๆได้ 2. อธิบายวิธีการบารุ งรักษาเครื่ องมือสารวจได้ เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1. โซ่ – เทป วัดระยะประเภทต่างๆ 2. หลักเล็ง ขาตั้งหลักเล็ง ห่วงคะแนน 3. เครื่ องมือส่องฉาก 4. เข็มทิศ 5. กล้องระดับ ไม้วดั ระดับ Plate รองไม้วดั ระดับ 6. กล้องวัดมุม และอุปกรณ์ประกอบ ลาดับขั้นการปฏิบัตงิ าน 1. ครู บอกชื่อเครื่ องมือ และประโยชน์การใช้งานของเครื่ องมือสารวจประเภทต่างๆ ทีละชิ้น 2. ครู อธิบายข้อควรระวังในการใช้งาน และจุดที่ตอ้ งระวังเป็ นพิเศษของเครื่ องมือแต่ละชิ้น 3. ครู สาธิตวิธีใช้เครื่ องมือโดยสังเขป 4. ให้นกั ศึกษาปฏิบตั ิการบารุ งรักษาเครื่ องมือสารวจชนิดต่างๆ 5. ให้นกั ศึกษาสรุ ปการใช้งานและการบารุ งรักษาเครื่ องมือสารวจ โดยรายงานใน สมุดสนาม


ใบงานที่ 1

สัปดาห์ที่

การใช้ งานและการบารุงรักษาเครื่องมือสารวจ รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

1

หน้าที่

2

วันที่ : 12-16 พ.ค. 2552 เวลา : ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ข้ อควรระวัง 1. 2. 3.

การชารุ ดของเครื่ องมือเนื่องจากการเล่นของนักศึกษาโดยยังไม่รู้วิธีใช้ การสูญหายของเครื่ องมือและอุปกรณ์ ห้ามนักศึกษาหมุนปรับชิ้นส่วนต่างๆของเครื่ องมือก่อนได้รับอนุญาต

การประเมินผล 1. 2. 3. 4.

นักศึกษาสามารถบอกชื่อ ประโยชน์การใช้งาน และการบารุ งรักษาเครื่ องมือ ชนิดต่างๆได้ การปฏิบตั ิการบารุ งรักษาเครื่ องมือของนักศึกษา การรายงานการใช้งานและการบารุ งรักษาเครื่ องมือสารวจ

ข้ อแนะนา 1. 2. 3.

อธิบายให้นกั ศึกษาเห็นความสาคัญของการบารุ งรักษาเครื่ องมือ ครู ตอ้ งดูแลการปฏิบตั ิงานอย่างใกล้ชิด ควรมีการวางกฎเกณฑ์ในการใช้งานและความรับผิดชอบให้ชดั เจน เพื่อป้ องกันการเสียหายของ เครื่ องมือ เช่นนักศึกษาจะต้องชดใช้หากทาเครื่ องมือเสียหายโดยไม่มีเหตุ อันควร


วิทยาลัยเทคนิคสั ตหีบ แผนกวิชาช่ างก่ อสร้ าง วิชา สารวจ 1 งาน การใช้ งานและการบารุงรั กษาเครื่ องมือสารวจ การสารวจเป็ นงานที่จะต้องใช้เครื่ องมือที่มีความละเอียดสูง ดังนั้นการดูแลรักษาเครื่ องมือ สารวจจึงถือว่ามีความสาคัญมาก เพื่อให้ใช้เครื่ องมือได้อย่างมีประสิทธิภาพได้ขอ้ มูลการวัดที่ ถูกต้อง และมีอายุการใช้งานคงทนถาวรที่สุด เนื่องจากเครื่ องมือสารวจเป็ นเครื่ องมือที่มีราคา แพงและมีความละเอียดสูง หากการเก็บรักษาไม่ถกู วิธีอาจมีผลทาให้เครื่ องมือมีความคลาดเคลื่อน และชารุ ดเสียหายได้ง่าย การซ่อมแซมต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงทาให้ตน้ ทุนในการทางานสูงตามไป ด้วย จึงควรทราบแนวทางการบารุ งรักษาเครื่ องมือสารวจตามลักษณะของเครื่ องมือต่างๆ วัตถุประสงค์ 1. สามารถบอกลักษณะการใช้งานของเครื่ องมือสารวจประเภทต่างๆได้ 2. อธิบายวิธีการบารุ งรักษาเครื่ องมือสารวจได้ เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1. โซ่ – เทป วัดระยะประเภทต่างๆ 2. หลักเล็ง ขาตั้งหลักเล็ง ห่วงคะแนน 3. เครื่ องมือส่องฉาก 4. เข็มทิศ 5. กล้องวัดมุม และอุปกรณ์ประกอบ ลาดับขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน 1. ศึกษาวิธีการใช้และการบารุ งรักษาเครื่ องมือสารวจประเภทต่างๆ 2. สรุ ปการใช้งานและการบารุ งรักษาเครื่ องมือสารวจ


ตารางบันทึกผล ครั้งที่ ………………วันที่……../…………………/……………สถานที่........................................... ผูป้ ฏิบตั ิงาน………………………………………………………………………………………….. เครื่องมือ - อุปกรณ์ กล้องวัดมุม

เทปวัดระยะ

การใช้ งาน  เป็ นกล้องสาหรับเล็งแนวให้ ความละเอียดมากเพราะจะได้ แนวที่ตรงมากที่สุดกล้องจะมี การ อ่านองศา อัตโนมัติ  วัดหาค่ามุม องศาในแนวราบ และแนวดิ่ง

 ใช้วดั ระยะทางจากจุดหนึ่งไป ยังอีกจุดหนึ่ง

วิธีการบารุงรักษาเครื่องมือ  ก่อนนาไปใช้ควรตรวจสอบกล้อง และอุปกรณ์ประกอบที่จาเป็ น ว่า อยูใ่ นสภาพสมบูรณ์พร้อมใช้งาน หรื อไม่  ควรเตรี ยมอุปกรณ์ที่เป็ นเครื่ องช่วย ยืดอายุการใช้งานไปด้วย  การตั้งกล้องควรกางขากล้องออก แล้วเหยียบกดปลายขาให้ฝังลงดิน เล็กน้อย  เมื่อเลิกใช้งานให้ทาความสะอาด โดยใช้แปรงขนอ่อนนุ่มปัดฝุ่ นออก  ขณะใช้งานต้องระวังไม่ให้โซ่

หรื อเทป พันกัน  อย่าลากถูไปกับพื้นขณะทาการ

รังวัด  หากโซ่ – เทป เปี ยกน้ า จะต้องเช็ด ให้แห้ง ก่อนจึงนาไปเก็บ

ขาตั้งกล้อง

เครื่องส่ องฉาก

 ใช้สาหรับตั้งกล้องมีท้งั ชนิด เป็ น ไม้และโลหะ สามารถยืด หดได้ ตามความต้องการของ ผูใ้ ช้


เครื่องมือ - อุปกรณ์

การใช้ งาน …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… ……………………………………

วิธีการบารุงรักษาเครื่องมือ …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… ……………………………………

หลักเล็ง

…………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… ……………………………………

…………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… ……………………………………

ขาตั้งหลักเล็ง

…………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… ……………………………………

…………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… ……………………………………

ห่ วงคะแนน

ใช้ปักบอกระยะ ตามแนวเทปที่วดั โดยปกติจะ ห่างเท่า ๆ กัน เพื่อ สะดวกในการ นับ

…………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… ……………………………………

ลูกดิ่ง


สรุ ป ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ และการแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

สัปดาห์ที่

หน้าที่

3

1

วันที่ : 25-29 พ.ค. 2552 เวลา : ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

การวัดระยะทาง การวัดระยะทางเป็ นพื้นฐานของการทางานสารวจ โดยที่ระยะทางในที่น้ ีหมายถึงระยะห่างของจุดสอง จุดที่วดั ในแนวราบเนื่องจากจะเป็ นระยะความยาวที่คงที่ หากวัดขนานกับสภาพพื้นดินเดิมความยาวจะ เปลี่ยนไปเมื่อปรับระดับพื้นที่ใหม่ ทาให้ไม่มีความแน่นอน ในการวัดระยะทางสามารถแบ่งประเภทของ การวัดระยะทางได้เป็ น 3 ประเภท ดังนี้ 1. การวัดระยะโดยตรง (Direct measurement) เป็ นการวัดระยะที่ได้ค่าระยะทางเมื่อเสร็ จสิ้น การวัดระยะใน สนาม เช่นการวัดระยะทางด้วยเทป – โซ่ 2. การวัดระยะทางอ้อม (Optical distance measurement) เป็ นการวัดระยะด้วยกล้อง เช่น Tacheometry การสามเหลี่ยม 3. การวัดระยะทางด้ วยเครื่องมืออิเลคทรอนิคส์ (Electromagnatic Distance Measurement ,EDM ) เป็ นการ วัดโดยการใช้คลื่นแสง หรื อคลื่นวิทยุในการวัด เช่น Laser Infra-red Microwaves

หลักในการวัดระยะทาง การวัดระยะทางระหว่างจุดสองจุดมักจะหมายถึง ระยะทางในแนวราบโดยไม่คานึงถึงความสูง-ต่า ระหว่างจุดทั้งสอง ในบางครั้งอาจใช้วิธีการวัดในแนวลาดเอียงแล้วทอนให้เป็ นระยะในแนวราบ ในการ สารวจพื้นที่กว้างใหญ่เช่นการสารวจหาลักษณะหรื อสัณฐานของโลก ระยะในแนวราบ (Plane survey) จะต้องทอนให้เป็ นระยะที่วดั ที่ระดับน้ าทะเลปานกลาง เมือ่ ต้องการวัดระยะระหว่างจุดที่มีระดับความสูง – ต่า แตกต่างกัน การที่จะพิจารณาว่าจะใช้วิธีใดในการวัดระยะทางนั้น จะต้องขึ้นอยูก่ บั ความละเอียดของงานที่ ต้องการ ค่าใช้จ่าย และสภาวะอื่นๆ เช่น ในการวัดระยะทางเพื่อใช้ในการประมาณการ ค่าความละเอียดของ งานประมาณ 1:100 ก็เพียงพอ แต่สาหรับงานชั้นหนึ่ง (First order survey) ที่ใช้กาหนดแนวเส้นฐานต่างๆ จะต้องมีความละเอียดถึง 1: 1,000,000 ในการสารวจบางชนิดอาจใช้วิธีการสารวจหลายๆวิธีรวมกัน


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

สัปดาห์ที่

หน้าที่

3

2

วันที่ : 25-29 พ.ค. 2552 เวลา : ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

วิธีการวัดระยะทางแบ่ งได้ หลายวิธี 1.การวัดระยะทางโดยวิธีนบั ก้าว(Pacing) เป็ นการวัดระยะโดยประมาณใช้ในการสารวจเพื่อต้องการข้อมูล ในการประมาณการ การวัดระยะทางวิธีน้ ีสาหรับช่างสารวจที่มีความชานาญจะสามารถวัดได้ความละเอียด ประมาณ 1:100 2. การวัดโดยออโดมิเตอร์ (Odometer) หรือสปี ดโดมิเตอร์ (Speedometer) เครื่ องมือชนิดนี้จะใช้ติดกับล้อ หรื อติดกับยวดยานพาหนะเพื่อวัดจานวนรอบหมุน ระยะทางที่ได้จะเท่ากับจานวนรอบของล้อที่หมุนไปคูณ กับความยาวของเส้นรอบวงของล้อ ซึ่งจะทดเป็ นระยะทางบนหน้าปัทม์ของเครื่ องมือ ส่วนมากจะใช้กบั แนวทางที่ราบเรี ยบ 3. การวัดโดยวิธีทาคีโอเมตรี (Tacheometry) เป็ นการวัดระยะทางโดยทางอ้อม โดยใช้กล้องอ่านค่าบนไม้ ระดับ และค่ามุมดิ่ง แล้วคานวณหาระยะทางในแนวดิ่ง แนวราบ โดยใช้หลักวิชาตรี โกณมิติ 4. การวัดระยะด้ วยโซ่ – เทป (Chain – Tape) เป็ นการวัดระยะที่เหมาะกับพื้นที่ราบ ไม่มีอุปสรรคในการวัด มากนัก การวัดระยะวิธีน้ ีโดยทัว่ ไปจะได้ค่าความละเอียดประมาณ 1:3000 ถึง 1:5000 5. การวัดระยะด้ วยเครื่องมืออิเลคทรอนิกส์ (Electronic Distance Mesurement , EDM) เป็ นเครื่ องมือที่ใช้ คลื่นแสง หรื อ คลื่นเสียง เช่น Laser Infarred Microwave สามารถวัดระยะได้อย่างถูกต้องในเวลา อันรวดเร็ ว เหมาะสาหรับทุกสภาพพื้นที่ โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีอุปสรรคในการวัด และระยะทางที่ยาวมากๆ


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

สัปดาห์ที่

หน้าที่

3

3

วันที่ : 25-29 พ.ค. 2552 เวลา : ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ความถูกต้องของการวัด (Accuracy of measurement) ไม่มีการวัดใดจะถูกต้องสมบูรณ์ จึงจาเป็ นต้องกาหนดมาตรฐานของความถูกต้องให้เหมาะสมกับงาน แต่ละอย่าง ถ้าหากยิง่ เพิม่ ลาดับขั้นความถูกต้องก็จะต้องเพิม่ ความพยายาม เวลา ค่าใช้จ่าย มากขึ้นด้วย ดังนั้นจึงควรกาหนดความถูกต้องให้เหมาะสมกับ ขนาด และวัตถุประสงค์ของงาน เช่นถ้าต้องการวัดระยะ เพื่อใช้ขอ้ มูลในการเขียนแผนที่ การกาหนดค่าความละเอียดในการวัดจะใช้ความสามารถในการมองเห็น ระยะที่ส้ นั ที่สุดที่กาหนดด้วยสายตา ซึ่งมีค่าประมาณ 0.2 มม. ดังนั้นจึงไม่จาเป็ นวัดให้ละเอียดถึงขนาดที่ เมื่อนามาเขียนบนแผนที่แล้วมีขนาดเล็กกว่า 0.2 มม. เช่น ในงานสารวจสาหรับเขียนแผนที่มาตราส่วน 1 :500 ระยะ 0.2 มม. บนแผนที่จะใช้แทนระยะ 0.2 500 = 100 มม. หรื อ 0.1 ม. บนพื้นที่จริ ง ดังนั้นจึงไม่มี ความจาเป็ นวัดให้ละเอียดกว่า 0.1 ม. เช่น ทางเท้ากว้าง 3.135 ม. อาจใช้ค่า 3.1 ม.ก็เพียงพอในการเขียนรู ปแล้ว เพราะไม่สามารถกาหนดระยะ 0.035 ม.ด้วยสายตาได้ อย่างไรก็ดีในงานบางอย่างขนาดที่แท้จริ งเป็ นสิ่งที่ สาคัญกว่าการเขียนมาตราส่วน จึงจาเป็ นต้องบันทึกตัวเลขทั้งหมดไว้ มาตราฐานการวัดละเอียดอาจใช้วิธีกาหนดตามมาตราส่วนแผนที่ได้ดงั นี้ มาตราส่วน 1: 20000 วัดละเอียดถึง 0.2 ม. 1: 1000 วัดละเอียดถึง 0.1 ม. 1: 500 วัดละเอียดถึง 0.1 ม. 1: 200 วัดละเอียดถึง 0.01 ม. 1: 100 วัดละเอียดถึง 0.01 ม. 1: 50 วัดละเอียดถึง 0.005 ม.


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

3

4

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 25-29 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ เครื่องมือ อุปกรณ์ ในการสารวจด้ วยโซ่ - เทป การสารวจด้วยโซ่ - เทป เป็ นวิธีการเบื้องต้นของการสารวจ เหมาะกับการสารวจบนพื้นที่โล่ง ราบเรี ยบ มีอุปสรรคในการวัดไม่มากนัก หลักการสารวจด้วยโซ่ - เทป ใช้การหาความยาวของระยะอย่างถูกต้อง ไม่มี การวัดมุม ใช้หลักการข่ายสามเหลี่ยม โดยการแบ่งพื้นที่ที่จะทาการรังวัดออกเป็ นชุดของรู ปสามเหลี่ยม ต่อเนื่องกัน และวัดความยาวด้านทุกด้านของรู ปสามเหลี่ยมเหล่านั้น เนื่องจากรู ปสามเหลี่ยมเป็ นรู ป เรขาคณิตที่สามารถเขียนได้ง่ายโดยวิธีไตรแลเตอเรชัน่ (Trilateration) หมายถึงข่ายสามเหลี่ยมโดยการวัดความ ยาวด้านทั้งสาม 1. โซ่ ลาน (Chain) หรื อ โซ่เส้น ที่เรี ยกเช่นนี้เพราะมีความยาวเส้นละ 40 เมตร เท่ากับระยะทาง 1 เส้นพอดี โซ่ชนิดนี้มีความกว้างประมาณ 4 มม. มีมือจับที่ปลายทั้งสองข้าง แบ่งเส้นโซ่ออกเป็ น 100 ข้อ แต่ละข้อ จะมีจุดทองเหลืองกลมแสดงไว้ ข้อหนึ่งๆจะยาว 40 เซนติเมตร เมื่อถึง 5 ข้อ จะมีทองเหลืองเป็ นรู ปสี่เหลี่ยม จัตุรัส เมื่อครบทุก 10 ข้อ จะมีทองเหลืองรู ปสี่เหลี่ยมผืนผ้าเขียนตัวเลข 1 กากับ ครบ 20 ข้อจะมีตวั เลข 2 ครบ 40 ข้อ จะมีตวั เลข 4 และเมื่อถึงกึ่งกลางเส้นโซ่คือ 50 ข้อ จะแสดงเป็ นเส้นแบ่งครึ่ ง แต่ไม่มีตวั เลข กากับ เมื่อเลยกลางเส้นโซ่ถึงระยะ 60 ข้อก็จะเป็ นเลข 4 และ 70 ข้อเป็ นเลข 3 ตามลาดับ ส่วนที่ปลายอีก ข้างหนึ่ง ก็จะเริ่ มอย่างเดียวกัน คือเลข 1 เมื่อครบ 10 ข้อ เลข 2 เมื่อครบ 20 ข้อ เพื่อความสะดวกในการวัด เพราะเราสามารถนาปลายด้านใดเป็ นจุดเริ่ มต้นของการวัดก็ได้ การอ่านระยะเส้นโซ่ให้ดูจากความยาวของ เส้นโซ่ เช่นเมื่อวัดมาถึงรู ปสี่เหลี่ยมที่มีเลข 3 และดูว่าความยาวเกินครึ่ งหนึ่งของเส้นโซ่ ก็จะต้องอ่านว่า 70 ข้อ ถ้าระยะทางยาวน้อยกว่าครึ่ งเส้นก็อ่านว่า 30 ข้อ เป็ นต้น

0

1

2

1

3

4

5

4

3

2

1

0

2

10 ข้อหรื อ 90 ข้อ 20 ข้อหรื อ 80 ข้อ 0 ข้อ หรื อ 50 ข้อ ภาพที่ 2.1 แสดงการแบ่งหน่วยการวัดและการอ่านโซ่ลาน


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

3

5

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 25-29 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ หน่ วยการการวัดด้ วยโซ่ ลาน 1 เส้นโซ่ = 100 ข้อ = 40 เมตร 25 เส้นโซ่ = 1 กิโลเมตร 1 ข้อ = 10 ปอยท์ = 40 ซม. 40 เส้นโซ่ = 1 ไมล์ 1 ปอยท์ = 4 ซม. 1 ตารางเส้นโซ่ = 1 ไร่ โซ่ลานจะแบ่งออกเป็ นข้อๆ แต่ไม่แบ่งส่วนย่อยระหว่างข้อ ดังนั้นผูใ้ ช้จะต้องทาไม้ปอยท์ ไว้ใช้วดั เศษ ของข้อ โดยทาไม้วดั ให้ยาวเท่ากับ 1 ข้อ (40 ซม.) แล้วแบ่งออกเป็ น 10 ส่วนๆละ 4 ซม. แต่ละส่วนเรี ยกว่า ปอยท์ และในช่วงความยาว 1 ปอยท์ (4 ซม.)ให้แบ่งส่วนย่อยเป็ น 10 ส่วนๆละ 4 มม. เพื่อให้สามารถวัดได้ ละเอียดยิง่ ขึ้น

1

2

3

4

5

6

7

8

9

ภาพที่ 2.2 แสดงไม้ปอยท์สาหรับโซ่ลาน การบันทึกงานรังวัดด้วยโซ่ลานจะใช้ทศนิยม 4 ตาแหน่ง เช่น 5.8326 เส้นโซ่ หมายถึง 2 เส้นโซ่ 83 ข้อ 2 ปอยท์ 6 (ตัวเลขหลังสุดอ่านเพียงตัวเลขเท่านั้น) หากคิดเป็ นหน่วยเมตร จะได้ 5.8326  40 = 233.304 เมตร


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

สัปดาห์ที่

หน้าที่

3

6

วันที่ : 25-29 พ.ค. 2552 เวลา : ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

2. เทปวัดระยะ (Measuring Tape) เป็ นเครื่ องมือที่นิยมใช้กนั ในงานทัว่ ๆไป มีหลายชนิด ดังภาพที่ 2.8 ทาด้วยวัสดุต่างๆ กัน

เช่น เทปโลหะ มีท้ งั เทปเหล็กเคลือบพีวีซี เทปเหล็กไร้สนิม และเทปอินวาร์ ที่ทาจากโลหะผสมระหว่างเหล็กกับนิเกิล ซึ่ งมี ค่าการขยายตัวน้อยที่สุด เป็ นเทปที่มีค่าความละเอียดสู ง ความยาวที่นิยมใช้กนั ทัว่ ไปคือ 20 ม. 30 ม. และ50 ม. สาหรับงานที่ ไม่ตอ้ งการความละเอียดมากนักนิยมใช้เทปไฟเบอร์ กลาสเคลือบพีวีซี ซึ่ งราคาถูกและสามารถบิดงอได้ ไม่เป็ นสนิม ดูแล รักษาง่าย

เทปเหล็กไร้สนิม

เทปเหล็กเคลือบพีวีซี

เทปสายไฟ เทปไฟเบอร์ กลาส

ภาพที่ 2.3 แสดงเทปวัดระยะชนิดต่างๆ


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

3

7

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 25-29 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 3. หมุดเหล็ก (Steel Pin) เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ1/2” ยาวประมาณ 10” – 15” หรื อ หมุดเหล็กนี้ใช้ สาหรับกาหนดจุดปลายของการรังวัด เป็ นจุดของงานวงรอบหรื อพื้นที่ดินแข็ง 4. ห่ วงคะแนน (Arrow) เป็ นเหล็กกลม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1/4” –1/2” ยาวประมาณ 70 ซม. ส่วนบนมีห่วงกลม ประมาณ 2” - 3” ใช้สาหรับจับถือได้สะดวก ส่วนปลายแหลมสาหรับปักลงดิน ทาสี ขาวแดงสลับกันตลอดความยาวใช้สาหรับล่อแนวปักแสดงตาแหน่งการวัดระยะเมื่อต้องการวัดระยะทางที่ยาว มากกว่าเส้นโซ่ หรื อเทป โดยการปักห่วงคะแนนแสดงระยะการวัดเป็ นช่วงๆ ลักษณะห่วงคะแนนแสดงไว้ ดังภาพ

ภาพที่ 2.4 แสดงลักษณะของห่วงคะแนน 5. หลักเล็ง (Range Pole) ใช้ปักที่ตาแหน่งหมุดสาหรับเล็งทิศทางของแนวรังวัด ทาด้วยเหล็ก อลูมิเนียม หรื อ ไม้  ประมาณ 1” – 1 1 ” ยาวประมาณ 2 เมตร ทาสีขาว- แดงสลับกันตลอดความยาว ปลายส่วนล่างมี 2

ลักษณะแหลมเพื่อสะดวกต่อการกดลงดิน หรื ออาจใช้ขาตั้งหลักเล็งในกรณี ที่ไม่สามารถปักได้ ดังภาพที่ 2.10

ภาพที่ 2.5 แสดงหลักเล็งและขาตั้ง


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

3

8

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 25-29 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 6. ลูกดิ่ง (Plumb bob) ใช้สาหรับการรังวัดบนพื้นที่ลาดเอียง เพื่อต่อจุดปลายในการรังวัดเป็ นช่วงๆแบบ ขั้นบันได 7. เครื่องมือส่ องฉาก (Optical Square) เป็ นเครื่ องมือที่ใช้สาหรับหาจุดที่ทามุมฉากกับเส้นสารวจที่เป็ นเส้น ฐาน เพื่อเก็บรายละเอียดทาแผนที่ หรื อใช้สร้างมุมฉากในสนาม มีลกั ษณะดังภาพที่ 2.11

ภาพที่ 2.6 แสดงเครื่ องมือส่ องฉาก


ใบงานที่ 2 การวัดระยะโดยการนับก้ าว

สัปดาห์ที่

หน้าที่

3

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 2 วันที่ : 25-29 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ วัตถุประสงค์ นักศึกษาสามารถปฏิบตั ิการวัดระยะทางโดยวิธีนบั ก้าวได้ โดยสามารถทาได้ค่าความละเอียดในการ วัดอยูใ่ นเกณฑ์ 1:100 หรื อดีกว่า เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1.เทปวัดระยะยาว 50 ม. 1 ม้วน 2.หลักเล็ง พร้อมขาตั้ง 2 ชุด 3.ห่วงคะแนน 5 อัน ลาดับขั้นการปฏิบัตงิ าน การหาความยาวช่ วงก้าวเฉลีย่ ของผู้สารวจ 1. กาหนดระยะทางที่จะใช้ในการเดินนับก้าวโดยกาหนดพื้นที่ราบเรี ยบเช่นสนาม หรื อถนนภายใน ยาว 100 ม. โดยใช้หลักเล็งกาหนดจุดเริ่ มต้นและจุดสุดท้ายของระยะทาง 2. ใช้ห่วงคะแนน ปักตามแนวทางที่กาหนดเป็ นระยะๆ ให้เป็ นแนวเส้นตรง เพื่อให้สะดวกในการ เดินตามแนวทางที่กาหนด 3. เดินตามแนวทางโดยเดินขนานกับแนวทางที่กาหนด เป็ นจานวน 6 ครั้ง โดยการเดินจะต้องเดิน โดยรักษาความยาวช่วงก้าวให้สม่าเสมอ และนับจานวนก้าวในการเดินแต่ละครั้งจดลงในตาราง สมุดสนาม 4. นาข้อมูลมาคานวณหาความยาวช่วงก้าวของการเดินแต่ละครั้ง 5. หาความยาวช่วงก้าวเฉลี่ยจากการเดินทั้ง 6 ครั้ง เพื่อนามาในการวัดระยะโดยการนับก้าว ต่อไป


ใบงานที่ 2 การวัดระยะโดยการนับก้ าว

สัปดาห์ที่

หน้าที่

3

6

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 25-29 พ.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ทดสอบการปฏิบัตงิ านการวัดระยะทางโดยการนับก้าว 1. กาหนดระยะทางยาว 150 ม.ให้นกั ศึกษาเดินนับก้าวโดยเดิน 2 ครั้ง 2. นาข้อมูลที่ได้มาคานวณหา จานวนก้าวเฉลี่ย และหาระยะทางจากจานวนก้าวเฉลี่ย 3. คานวณหาค่าความผิดพลาดและความละเอียดในการทางาน 4. คานวณหาค่าความละเอียด ข้ อควรระวัง 1 ต้องเดินให้เป็ นแนวตรง 2 เว้นระยะในการเดินแต่ละคนให้ห่างกันไม่นอ้ ยกว่า 30 เมตร และไม่เดินสวนกัน

การประเมินผล ตรวจสอบจากค่าความละเอียดของงานที่นกั ศึกษาทาได้แต่ละคนจะต้องอยูใ่ นเกณฑ์ 1:100 หรื อดีกว่า


วิทยาลัยเทคนิคสั ตหีบ แผนกวิชาช่ างก่ อสร้ าง งาน การวัดระยะโดยการนับก้ าว

วิชา สารวจ 1

การวัดระยะทางโดยวิธีนบั ก้าว (Pacing) เป็ นการวัดระยะโดยประมาณการนับระยะช่วง ก้าวเป็ นการหาระยะการก้าวเท้าของแต่ละคนเพื่อนามาใช้ในการประมาณระยะของเส้นทางที่ผทู้ า การรังวัดเริ่ มทาการเดินจากจุดเริ่ มต้นไปยังที่หมายที่ตอ้ งการ แทนการทาการรังวัดโดยใช้เทปวัดใช้ ในการสารวจเพื่อต้องการข้อมูลในการประมาณการ การวัดระยะทางวิธีน้ ีสาหรับช่างสารวจที่มี ความชานาญจะสามารถวัดได้ความละเอียดประมาณ 1:100 การวัดระยะวิธีน้ ีผสู้ ารวจจะต้องทราบระยะความยาวช่วงก้าวเฉลี่ยของตัวเองก่อน โดยการ กาหนดระยะทางที่แน่นอนให้มีความยาวพอประมาณ (50 - 100 ม.)บนพื้นที่ราบเรี ยบ สะดวกใน การเดินนับก้าว เดินตามระยะทางที่กาหนดไว้ นับจานวนก้าวแล้วนามาหา ความยาวช่วงก้าว = ระยะทาง หาร จานวนก้าว ควรทาการหาความยาวช่วงก้าวหลายๆ ครั้งแล้วนาค่าเฉลี่ยมาใช้เป็ น ความยาวช่วงก้าวที่ใช้ในการวัดระยะทาง เมื่อต้องการวัดระยะทาง ก็ใช้วิธีเดินนับจานวนก้าวระหว่างจุดที่ตอ้ งการวัดแล้วนาจานวน ก้าวที่ได้ไปคูณกับความยาวช่วงก้าว ก็จะได้ความยาวเป็ นหน่วยเมตร การนับก้าวอาจใช้เครื่ องมือ ช่วยในการนับก้าวเรี ยกว่า Pedometer ซึ่งจะบันทึกจานวนก้าว และเวลาในการเดินทาให้สะดวก ในการวัดระยะทางที่ยาวมากๆ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อทาการหาความยาวช่วงก้าวของแต่ละคนที่ทางานสารวจ 2. เพื่อนาระยะช่วงก้าวที่ได้ไปใช้ในการประมาณระยะทางในการทางานสารวจ เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1. เทปวัดระยะยาว 50 ม. 1 ม้วน 2. หลักเล็ง พร้อมขาตั้ง 2 ชุด 3. ห่วงคะแนน 5 อัน


ลาดับขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน การหาความยาวช่ วงก้าวเฉลีย่ ของผู้สารวจ 1. กาหนดระยะทางที่จะใช้ในการเดินนับก้าวโดยกาหนดพื้นที่ราบเรี ยบเช่นสนาม หรื อ ถนนภายใน ยาว 100 ม. โดยใช้หลักเล็งกาหนดจุดเริ่ มต้นและจุดสุดท้ายของระยะทาง 2. ใช้ห่วงคะแนน ปักตามแนวทางที่กาหนดเป็ นระยะๆ ให้เป็ นแนวเส้นตรง เพื่อให้ สะดวกในการเดินตามแนวทางที่กาหนด 3. เดินตามแนวทางโดยเดินขนานกับแนวทางที่กาหนด เป็ นจานวน 6 ครั้ง โดยการเดิน จะต้องเดินโดยรักษาความยาวช่วงก้าวให้สม่าเสมอ และนับจานวนก้าวในการเดินแต่ ละครั้งจดลงในตารางสมุดสนาม 4. นาข้อมูลมาคานวณหาความยาวช่วงก้าวของการเดินแต่ ละครั้ง 5. หาความยาวช่วงก้าวเฉลี่ยจากการเดินทั้ง 6 ครั้ง เพื่อนามาในการวัดระยะโดยการนับ ก้าว ต่อไป ทดสอบการปฏิบัตงิ านการวัดระยะทางโดยการนับก้าว 1. กาหนดระยะทางยาว 150 ม.ให้นกั ศึกษาเดินนับก้าวโดยเดิน 2 ครั้ง 2. นาข้อมูลที่ได้มาคานวณหา จานวนก้าวเฉลี่ย และหาระยะทางจากจานวนก้าวเฉลี่ย 3. คานวณหาค่าความผิดพลาดและความละเอียดในการทางาน 4. คานวณหาค่าความละเอียด รายการคานวณ 1. ความยาวของช่วงก้าว = ระยะทาง ที่วดั ได้ / จานวนก้าว 2. การคานวณหาระยะทางในแนวราบโดยใช้ความยาวช่วงก้าว ระยะทางในแนวราบ = ค่าเฉลี่ยความยาวของช่วงก้าว x จานวนของก้าว 3. ระยะผิดพลาด = ระยะทางในแนวราบ – ระยะทางจริ งจากการวัด 4. ค่าความละเอียด = ค่าผิดพลาด / ระยะทางที่วดั ด้วยเทป (ทาเป็ นอัตราส่วน) ข้ อควรระวัง 1. ต้องเดินให้เป็ นแนวตรง 2. เว้นระยะในการเดินแต่ละคนให้ห่างกันไม่นอ้ ยกว่า 30 เมตร และไม่เดินสวนกัน


ตัวอย่าง การบันทึกข้อมูลการหาความยาวช่วงก้าวระยะทาง 100 ม. ครั้งที่

ระยะทาง

จานวนก้าว

ความยาวช่วงก้าว

1

100

140

0.714

2

100

141

0.709

3

100

142

0.704

4

100

142

0.704

5

100

140

0.714

6

100

141

0.709

เฉลี่ย

หมายเหตุ

0.709

ตัวอย่าง การบันทึกข้อมูลการทดสอบการปฏิบตั ิงานและหาค่าความละเอียดของงาน ครั้งที่

ความยาวก้าว จานวนก้าว

ระยะทาง

ระยะวัดด้วยเทป

ค่าผิดพลาด ค่าความละเอียด

1

0.709

210

148.890

150

1.11

1:135

2

0.709

211

149.599

150

0.401

1:374


ครั้งที่ ………………วันที่……../…………………/……………สถานที่........................................... ผูป้ ฏิบตั ิงาน………………………………………… อาจารย์ผสู้ อน………………………………

ตารางบันทึกข้ อมูล การบันทึกข้อมูลการหาความยาวช่วงก้าวระยะทาง 100 ม. ครั้งที่ ระยะทาง จานวนก้าว ความยาวช่วงก้าว 1 2 3 4 5 6 เฉลี่ย

หมายเหตุ

การบันทึกข้อมูลการทดสอบการปฏิบตั ิงานและหาค่าความละเอียดของงาน ครั้งที่ ความยาวก้าว จานวนก้าว ระยะทาง ระยะวัดด้วยเทป ค่าผิดพลาด ค่าความละเอียด 1 2 ภาพสเกตซ์ พนื้ ที่ปฏิบัตงิ าน


รายการคานวณ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… สรุป ปัญหาอุปสรรค ข้ อเสนอแนะ และข้ อแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

4

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 2 วันที่ : 1-5มิ.ย. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การสารวจด้ วยโซ่ - เทป การสารวจด้วยโซ่ – เทป จัดเป็ นวิธีการเบื้องต้นของการสารวจ เหมาะกับการสารวจบนพื้นที่โล่ง ราบเรี ยบหลักการสารวจด้วยโซ่ – เทป อาศัยการหาความยาวของระยะอย่างถูกต้อง ไม่มกี ารวัดมุม ใช้ หลักการข่ายสามเหลี่ยม โดยการแบ่งพื้นที่ที่จะทาการรังวัดออกเป็ นชุดของรู ปสามเหลี่ยมต่อเนื่ องกัน และ วัดความยาวด้านทุกด้านของรู ปสามเหลี่ยมเหล่านั้น เนื่องจากรู ปสามเหลี่ยมเป็ นรู ปเรขาคณิ ตที่สามารถเขียน ได้ง่ายโดยวิธีไตรแลเตอเรชัน่ (Trilateration) อุปกรณ์ที่ใช้ในการสารวจด้วยโซ่ – เทป 1.โซ่ลาน (Chain) หรื อ โซ่เส้น ที่เรี ยกเช่นนี้เพราะมีความยาวเส้นละ 40 เมตร เท่ากับระยะทาง 1 เส้น พอดี โซ่ชนิดนี้มคี วามกว้างประมาณ นิ้ว แต่ที่นิยมใช้กนั ทัว่ ไปคือ นิ้ว มีมือจับที่ปลายทั้งสองข้าง แบ่ง เส้นโซ่ออกเป็ น 100 ข้อ แต่ละข้อจะมีจุดทองเหลืองกลมแสดงไว้ ข้อหนึ่งๆจะยาว 40 เซนติเมตร เมื่อถึง 5 ข้อ จะมีทองเหลืองเป็ นรู ปสี่เหลี่ยมจัตุรัส และเมื่อครบทุก 10 ข้อจะมีทองเหลืองรู ปสี่เหลี่ยมผืนผ้าเขียนตัวเลข 1 กากับ ครบ 20 ข้อจะมีตวั เลข 2 ครบ 40 ข้อ จะมีตวั เลข 4 และเมื่อถึงกึ่งกลางเส้นโซ่คือ 50 ข้อ จะแสดง เป็ นเส้นแบ่งครึ่ ง แต่ไม่มีตวั เลขกากับ 1

2

10 ข้อ 20 ข้อ 0 ข้อ หรื อ 50 ข้อ ส่วนที่ปลายอีกข้างหนึ่ง ก็จะเริ่ มอย่างเดียวกัน คือเลข 1 เมื่อครบ 10 ข้อ เลข 2 เมื่อครบ 20 ข้อ เพื่อความ สะดวกในการวัด เพราะเราสามารถนาปลายด้านใดเป็ นจุดเริ่ มต้นของการวัดก็ได้ การอ่านระยะเส้นโซ่ให้ดู จากความยาวของเส้นโซ่ เช่นเมื่อวัดมาถึงรู ปสี่เหลี่ยมที่มีเลข 3 และดูว่าความยาวเกินครึ่ งหนึ่งของเส้นโซ่ ก็ จะต้องอ่านว่า 70 ข้อ ถ้าระยะทางยาวน้อยกว่าครึ่ งเส้นก็อา่ นว่า 30 ข้อ เป็ นต้น 0

1

2

3

4

5

4

3

2

1

0


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

4

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 2 วันที่ : 1-5มิ.ย. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ หน่วยการการวัดด้วยโซ่ลาน 1 เส้นโซ่ = 100 ข้อ = 40 เมตร 25 เส้นโซ่ = 1 กิโลเมตร 1 ข้อ = 10 ปอยท์ = 40 ซม. 40 เส้นโซ่ = 1 ไมล์ 1 ปอยท์ = 4 ซม. 1 ตารางเส้นโซ่ = 1 ไร่ โซ่ลานจะแบ่งออกเป็ นข้อๆ แต่ไม่แบ่งส่วนย่อยระหว่างข้อ ดังนั้นผูใ้ ช้จะต้องทาไม้ปอยท์ไว้ใช้เอง โดยทาไม้วดั ให้ยาวเท่ากับ 1 ข้อ (40 ซม.) แล้วแบ่งออกเป็ น 10 ส่วนๆละ 4 ซม. แต่ละส่วนเรี ยกว่าปอยท์ และ ในช่วงความยาว 1 ปอยท์ (4 ซม.)ให้แบ่งส่วนย่อยเป็ น 10 ส่วนๆละ 4 มม. เพื่อให้สามารถวัดได้ละเอียดยิง่ ขึ้น 1

2

3

4

5

6

7

8

9

การบันทึกงานรังวัดด้วยโซ่ลานจะใช้ทศนิยม 4 ตาแหน่ง เช่น 5.8326 เส้นโซ่ หมายถึง 2 เส้นโซ่ 83 ข้อ 2 ปอยท์ 6 (ตัวเลขหลังสุดอ่านเพียงตัวเลขเท่านั้น) หากคิดเป็ นหน่วยเมตร จะได้ 5.8326  40 = 233.304 เมตร 2. เทปวัดระยะ (Measureing Tape) เป็ นเครื่ องมือที่นิยมใช้กนั ในงานทัง่ ๆไป มีหลายชนิด เทาด้วยวัสดุ ต่างๆกัน เช่น เทปโลหะ มีท้งั เทปเหล็ก เทปเหล็กเคลือบไฟเบอร์ เทปเหล็กไร้สนิม และเทปที่ทาจากโลหะ อินวาร์ (โลหะผสมระหว่างเหล็กกับนิเกิล) ความยาวที่นิยมใช้กนั ทัว่ ไปคือ 20 ม. 30 ม.และ50 ม. สาหรับ งานที่ไม่ตอ้ งการความละเอียดมากนักนิยมใช้เทปไฟเบอร์กลาส ซึ่ง ราคาถูกและสามารถบิดงอได้ ดูแลรักษา ง่าย 3.หมุดไม้ (Stake peg) เป็ นไม้ขนาดประมาณ 1”1” หรื อ” ” หรื อไม้กลมประเภท ไม้สน ยูคาลิปตัส ความยาวประมาณ 0.50 – 1.0 ม.หรื อ แล้วแต่ความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ หมุดไม้น้ ีจะใช้แทนหมุดต่างๆ หรื อรองรับตะปูที่ตอกแทนจุด ซึ่งเป็ นงานที่ตอ้ งการความละเอียดมากๆ 4.หมุดเหล็ก (Steel Pin) เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ” -” ยาวประมาณ 10” – 15” หรื อ หมุดเหล็กนี้ใช้สาหรับ

กาหนดจุดปลายของการรังวัด เป็ นจุดของงานวงรอบหรื อพื้นที่ดินแข็ง


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

4

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 2 วันที่ : 1-5มิ.ย. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 5.ห่วงคะแนน (Arow) เป็ นเหล็กกลม –ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1/4” –1/2” ยาวประมาณ 70 ซม. ส่วนบนมีห่วงกลม ประมาณ 2” – 3” ใช้สาหรับจับถือได้สะดวก ส่วนปลายแหลมสาหรับปักลงดิน ทาสี ขาวแดงสลับกันตลอดความยาว ใช้สาหรับล่อแนว ปักแสดงตาแหน่งการวัดระยะเมื่อต้องการวัดระยะทางที่ ยาวมากกว่าเส้นโซ่ หรื อเทป โดยการวัดเป็ นช่วงๆ 6.หลักเล็ง (Range Pole) ใช้เล็งทิศทางของแนวรังวัด ทาด้วยเหล็ก อลูมิเนียม หรื อไม้ ประมาณ 1” – 1 ั ษณะแหลมเพื่อสะดวก 1 ” ยาวประมาณ 2 เมตร ทาสี ขาว – แดงสลับกันตลอดความยาว ปลายส่ วนล่างมีลก 2

ต่อการกดลงดิน 7.ลูกดิ่ง (Plumb bob) ใช้สาหรับการรังวัดบนพื้นที่ลาดเอียง เพื่อต่อจุดปลายในการรังวัดเป็ นช่วงๆแบบ ขั้นบันได 8.กระจกส่องฉาก (Optical Square) เป็ นเครื่ องมือที่ใช้สาหรับหาจุดที่ทามุมฉากกับเส้นสารวจที่เป็ นเส้น ฐาน หรื อใช้สร้างมุมฉาก ในสนาม


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

4

4

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 2 วันที่ : 1-5มิ.ย. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การวัดระยะทางด้ วยโซ่ – เทป ในการวัดระยะทางด้วยโซ่ – เทป ถ้าระยะทางที่วดั นั้นไกลกว่า 1 เส้นโซ่ หรื อ 1 ช่วงเทปขึ้นไป จะต้องมี การวัดระยะทางต่อเนื่องกันไป ถ้าดาเนินการวัดไม่ถกู วิธีจะทาให้เกิดค่าผิดพลาด จึงต้องหาวิธีการ ที่ทาให้ เกิดความผิดพลาดน้อยที่สุด การปฏิบตั ิงานในการรังวัดด้วยโซ่ – เทปควรทาดังนี้ 1.การลากโซ่หรื อเทป คือการย้ายโซ่จากจุดเดิมไปจุดใหม่ โดยไม่ตอ้ งม้วนเก็บ ในกรณี ที่ระยะทางยาว เกิน 1 เส้นโซ่ หรื อเกิน 1 ช่วงเทป จะต้องมีผปู้ ฏิบตั ิอย่างน้อย 2 คน คือผูท้ ี่ถือปลายโซ่ขา้ งหนึ่งเป็ นคนเดิน นาหน้าเราเรี ยกว่า คนหัวโซ่ ส่วนคนที่ถือปลายอีกข้างหนึ่งเดินตาม เราเรี ยกว่า คนท้ายโซ่ คนทั้งสองนี้ จะต้องดึงโซ่ที่มือจับแล้วเดินตามกันไป โดยที่คนท้ายโซ่คอยสังเกตไม่ให้โซ่หรื อเทปลากไปกับพื้นหรื อพัน กันเป็ นปม เป็ นเหตุให้โซ่ – เทปบิดงอ หัก หรื อตัวเลขลบเลือน เสียหายได้ 2.การวัดระยะทางและการลงที่หมาย คนหัวโซ่จะต้องถือห่วงคะแนนไปด้วย 1 ชุด (11อัน) การเล็งแนวให้ ปักห่วงคะแนนอันแรกไว้ที่จุดเริ่ มต้นแนวที่จะวัด ดึงโซ่เพื่อวัดระยะไปตามแนวที่จะวัดเมื่อสุดระยะเส้นโซ่ ให้คนหัวโซ่วางโซ่ลงแล้วยืนด้านข้างของแนวที่จะวัดถือห่วงคะแนนด้วยปลายมือยืน่ ออกไปสุดแขน แล้ว ขยับเดินหน้า-ถอยหลังตามสัญญาณที่คนท้ายโซ่จะเป็ นคนบอกแนว การเล็งแนวให้คนท้ายโซ่เป็ นผูเ้ ล็งโดยยืน ห่างจากจุดเล็งพอประมาณเล็งจากจุดเริ่ มต้นไปยังจุดสุดท้าย ให้สญ ั ญาณมือบอกคนหัวโซ่ขยับ จนกว่าห่วง คะแนนจะตรงเป็ นแนวเดียวกันกับจุดเริ่ มต้นและจุดท้าย (ทั้ง 3 จุดอยูบ่ นแนวเดียวกัน) เมื่อได้แนวแล้วคนหัว โซ่จะปล่อยห่วงคะแนนลงกับพื้นในแนวดิ่ง จากนั้นให้ช่วยกันดึงโซ่ให้ตึงตามแนวเล็งที่ปักห่วงคะแนนไว้ คนหัวโซ่ปักห่วงคะแนนใหม่ที่ระยะปลายของเส้นโซ่ แล้วถอนห่วงคะแนนที่เล็งแนวออก แล้วดาเนินการ วัดระยะต่อไปโดยเริ่ มจากห่วงคะแนนที่ปักไว้ 3.การเปลี่ยนห่วงคะแนน ในการวัดระยะทางเป็ นช่วงๆ คนหัวโซ่จะเป็ นคนล่อห่วงคะแนนและปักห่วง คะแนนที่ระยะเส้นโซ่ คนท้ายโซ่เป็ นคนเล็งแนวโดยเล็งต่อไปเป็ นช่วงๆ และจะเป็ นคนเก็บห่วงคะแนนที่เล็ง แนวไปแล้ว เมื่อครบ 10 เส้นโซ่ ห่วงคะแนนที่คนหัวโซ่ถือไปจะหมดพอดี เมื่อคนท้ายโซ่ มาถึงห่วง คะแนนที่ 11 ก็จะมีห่วงคะแนนอยูใ่ นมือ 10 อัน (ไม่นบั อันที่ 11 ที่เพิง่ ปักลงไปที่จุดนั้น) หากจะต้องวัด ระยะทางต่อไปอีก คนท้ายโซ่จะส่งห่วงคะแนน 10 อันให้กบั คนหัวโซ่ พร้อมกับบันทึกข้อมูลที่วดั แล้วจึง กลับมาเริ่ มต้นเล็งแนวจากห่วงคะแนนที่ 11 ต่อไป


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

4

5

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 2 วันที่ : 1-5มิ.ย. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 4.การวัดระยะทางเมื่อถึงเป้ าหมาย เมื่อวัดระยะมาถึงเป้ าหมาย ระยะทางช่วงสุดท้ายมักจะไม่พอดีกบั B A ความยาวของเส้ นโซ่หรื อเทป ให้วดั โดยลากให้ ผา่ นเป้ าหมายไปก่อนและดึงโซ่ให้ตึง แล้วจึงอ่านระยะทางที่ เป้ าหมายและบันทึกข้อมูลการวัด 5.การวัดระยะทางในที่ลาดเอียง ระยะทางที่ถกู ต้องนั้นจะต้องเป็ นระยะทางที่วดั ตามแนวราบ ดังนั้นการ วัดระยะทางตามแนวลาดเอียงนี้ จึงทาได้ 2 วิธี 5.1 วัดโดยให้เส้นโซ่ - เทปอยูใ่ นแนวราบ วัดแบบขั้นบันไดเป็ นช่วงๆ โดยจะต้องให้โซ่ – เทปอยูใ่ น แนวระดับดึงโซ่ให้ตึงและอยูใ่ นแนวระดับ และใช้ลกู ดิ่งในการกาหนดตาแหน่งเพื่อวัดช่วงต่อไป

D1

D3

A

D2

B

5.2 วัดตามความลาด โดยการวัดไปตามความลาดเอียง แต่จะใช้ในกรณี ที่พ้นื ที่ลาดเอียงสม่าเสมอ และ จะต้องใช้เครื่ องมือช่วยในการวัดมุมลาดเอียง แล้วคานวณหาระยะทางในแนวราบโดยหลักวิชาตรี โกณมิติ ระยะทางในแนวราบ X = L Cos

X A

 L B


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 2 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง การสร้ างมุมฉากด้ วยเทป 1.โดยการสร้างสามเหลี่ยมหน้าจัว่

A

สัปดาห์ที่

หน้าที่

4

6

วันที่ : 1-5มิ.ย. 2552 เวลา : ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ C

x

O

y

B

จากรู ป จุด O บนเส้นสาฐาน AB เป็ นจุดที่ตอ้ งการสร้างมุมฉาก ทาโดยการวัดระยะกาหนดจุด Ox และ Oy ให้มีความยาวเท่ากัน และอยูบ่ นเส้นฐาน AB ดึงเทปวัดระยะให้มีความยาวพอประมาณ(สมมุติ 20 เมตร) จับเทประยะ 0 ที่จุด x และระยะ 20 ม. ที่จุด y ใช้ห่วงคะแนนทาบเส้นเทปด้านในที่ระยะ 10 ม. แล้วดึงระยะ xC และ yC ให้ตึงทั้งสองด้านและห่วงคะแนนอยูท่ ี่ระยะ 10 ม. ปักห่วงคะแนน จะได้รูปสามเหลี่ยมหน้าจัว่ เส้น CO จะทามุมฉากกับ เส้นฐาน AB 2โดยการสร้างสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีอตั ราส่วนของด้านทั้งสาม 3:4:5 C y 5 A

x

4 3

O

B

จากรู ป จุด O เป็ นจุดที่ตอ้ งการสร้างมุมฉาก กับเส้นฐาน AB ทาโดยการวัดระยะปักหมุด x บนแนว OA ให้ระยะOx เท่ากับ 3 ม. ดึงเทปยาวเท่ากับเส้นรอบรู ปสามเหลี่ยม 3+4+5 = 12 ม. ที่จุด O จับเทปที่ระยะ 0 และ 12 ม. ที่จุด x จับที่ระยะ 3 ม. แล้วใช้ห่วงคะแนน ทาบเส้นเทปด้านในที่ระยะเท่ากับ 3+5 = 8 ม. ดึงเทป ให้ตึงทั้งสองด้านเพื่อกาหนดจุด y เมื่อเทปตึงและระยะเทปที่จุด x เป็ น 3 จุด y เป็ น 8 จุด O เป็ น 0 และ 12 ให้ ปักห่วงคะแนนที่จุด y จะได้ เส้น Oy ตั้งฉากกับเส้นฐาน AB


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

4

7

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 2 วันที่ : 1-5มิ.ย. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การหาจุดที่ทามุมฉากจากจุดที่กาหนดไปยังเส้นสารวจหลัก 1.ใช้คุณสมบัติของสามเหลี่ยมหน้าจัว่ C

A

x

O

y

B

จากรู ป ต้องการหาตาแหน่งจุด O ซึ่งเป็ นจุดที่เส้น CO ทามุมฉากกับเส้น AB ทาโดย ดึงเทปให้มีความ ยาวพอประมาณ ในที่น้ ีคือ Cx (ยาวกว่า ระยะ OC ) แล้วใช้จุด C เป็ นศูนย์กลางจับเทปที่ 0 ใช้ระยะ Cx เป็ น รัศมี แกว่งเทปตามรู ปโดยมีคนเล็งแนว จากจุด A ตามแนว AB เพื่อกาหนดจุด x และ y (อยูบ่ นเส้น AB) แบ่ง ครึ่ ง xy จะได้จุด O C 2.สร้างรู ปครึ่ งวงกลม X

A

O

D

B

กรณี ที่จุด C อยูห่ ่างจากแนวเส้นAB เป็ นระยะมากกว่าความยาวเทป การกาหนดจุด O สามารถทาได้ โดย การประมาณด้วยสายตากาหนด O ให้ CO ตั้งฉากกับ AB จากนั้นวัดระยะประมาณ CO โดยการเดินนับ ก้าว และวัดระยะประมาณด้วยวิธีเดียวกันจากจุด O ไปตามแนว AB กาหนดจุด D บนเส้น AB ลากเส้น CD และวัดระยะ CD ด้วยเทป แบ่งครึ่ ง CD ที่จุด X จากนั้นใช้รัศมี XC หรื อ XD แกว่งเทปลากส่วนโค้งตัดเส้น AB ที่จุด O ซึ่งเป็ นจุดที่แท้จริ งที่เป็ นมุมฉากของรู ปสามเหลี่ยม COD


ใบงานที่ 3

สัปดาห์ที่

หน้าที่

การวัดระยะด้ วยเทป

4

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 2 วันที่ : 1-5มิ.ย. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ จุดประสงค์ เมื่อฝึ กการปฏิบตั ิงานตามใบงานนี้แล้ว นักศึกษาจะสามารถ 1. ปฏิบตั ิการสารวจด้วยโซ่ - เทป เพื่อการทาแผนที่ที่ดินได้ 2. คานวณหาพื้นที่ได้ เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1. โซ่ - เทปวัดระยะ จานวน 1 เส้น 2. หลักเล็ง พร้อมขาตั้ง จานวน 2 ชุด 3. ห่วงคะแนน จานวน 10 อัน 4. เครื่ องมือส่องฉาก จานวน 1 อัน 5. ลูกดิ่ง จานวน 1 ลูก ลาดับขั้นการปฏิบัตงิ าน 1. แบ่งกลุ่มนักศึกษากลุ่มละ 3 - 5 คน หรื อตามชุดเครื่ องมือที่มี 2. เดินสารวจบริ เวณพื้นที่ เพื่อแบ่งพื้นที่เป็ นรู ปสามเหลี่ยมสภาพดี 3. กาหนดแนวเส้นฐาน เส้นโยง เส้นตรวจ 4. วัดระยะเส้นฐาน เส้นโยง เส้นตรวจ และด้านประกอบสามเหลี่ยมทุกรู ป บันทึกข้อมูลลงสมุด สนาม 5. นาข้อมูลการสารวจไปคานวณหาขนาดของพื้นที่ได้ ข้ อควรระวัง 1. การแบ่งพื้นที่เป็ นรู ปสามเหลี่ยมจะต้องไม่มีมุมใดเล็กกว่า 30 และโตกว่า 120 2. สามเหลี่ยมทุกรู ปจะต้องมีเส้นฐาน เส้นโยงเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง 3. ต้องวัดระยะด้านประกอบสามเหลี่ยมให้ครบทุกด้าน 4. เส้นตรวจควรกาหนดแนวเส้นที่ผา่ นสามเหลี่ยมครบทุกรู ป หรื อผ่านรู ปสามเหลี่ยมให้มากที่สุด การบันทึกข้อมูลจะต้องทาให้ชดั เจนถูกต้องตามวิธีการ


ใบงานที่ 3

สัปดาห์ที่

หน้าที่

การวัดระยะด้ วยเทป

4

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 2 วันที่ : 15-19 มิ.ย. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การประเมินผล 1. การปฏิบตั ิงานสนามของนักศึกษา 2. การรายงานผลการปฏิบตั ิงานในสมุดสนาม ข้ อแนะนา การพิจารณาแบ่งพื้นที่เป็ นรูปสามเหลี่ยม ด้านของสามเหลี่ยมจะต้องผ่านแนวที่สะดวกในการวัด หรื อ มีสภาพการรังวัดที่ดี แนวเส้นสารวจควรอยูใ่ กล้จุดที่ตอ้ งการเก็บรายละเอียด


วิทยาลัยเทคนิคสั ตหีบ แผนกวิชาช่ างก่ อสร้ าง งาน การวัดระยะด้ วยเทป

วิชา สารวจ 1

การสารวจด้วยโซ่ - เทป เป็ นวิธีการเบื้องต้นของการสารวจ เหมาะกับการสารวจบนพื้นที่ โล่ง ราบเรี ยบ มีอุปสรรคในการวัดไม่มากนัก หลักการสารวจด้วยโซ่ - เทป ใช้การหาความยาว ของระยะอย่างถูกต้อง ไม่มกี ารวัดมุม ใช้หลักการข่ายสามเหลี่ยม โดยการแบ่งพื้นที่ที่จะทาการ รังวัดออกเป็ นชุดของรู ปสามเหลี่ยมต่อเนื่องกัน และวัดความยาวด้านทุกด้านของรู ปสามเหลี่ยม เหล่านั้น เนื่องจากรู ปสามเหลี่ยมเป็ นรู ปเรขาคณิ ตที่สามารถเขียนได้ง่ายโดยวิธีไตรแลเตอเรชัน่ (Trilateration) หมายถึงข่ายสามเหลี่ยมโดยการวัดความยาวด้านทั้งสาม วัตถุประสงค์ 1. วัดระยะทางด้วย เทปได้ 2. อ่านค่าระยะเทปและบันทึกข้อมูลได้อย่างถูกต้อง เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1. เทปวัดระยะยาว 50 เมตร 2. หลักเล็งพร้อมขาตั้ง 3. ห่วงคะแนน

จานวน 1 เส้น จานวน 2 ชุด จานวน 5 อัน

ลาดับขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน 1. สารวจพื้นที่ที่ตอ้ งการทาการวัดระยะโดยปักหลักเล็งให้ครอบคลุมพื้นที่ที่ตอ้ งการวัด 2. สเกตซ์พ้นื ที่ปฏิบตั ิงานและแบ่งพื้นที่ออกเป็ นรู ปสามเหลี่ยม กาหนดเส้นฐาน เส้นโยง และเส้นตรวจเช็ค เพื่อวางแผนการวัดระยะตามหมุดต่าง ๆ 3. วัดระยะความยาวของด้านของรู ปสามเหลี่ยมทุกรู ป 4. บันทึกข้อมูลการวัดระยะลงในสมุดสนาม ข้ อควรระวัง 1. การปักห่วงคะแนนให้ตรงระยะขีดศูนย์พอดี 2. เทปต้องเป็ นแนวตรง และดึงให้ตึงก่อนอ่าน 3. อย่าลาก เทป โดยปล่อยปลายข้างหนึ่งให้ลากไปกับพื้น


ข้ อแนะนา การเล็งแนวควรยืนห่างจากหลักเล็งไม่นอ้ ยกว่า 2 เมตร จะทาได้แนวเล็งเป็ นเส้นตรง มากกว่าการเล็งแนวใกล้หลัก

ตัวอย่ างการวัดระยะด้ วยเทป A

เส้นฐาน Base Line

B

เส้นตรวจ Check Line G

เส้นฐาน Base Line F

แนวเส้น AB BC CF FA FG FB GC GA

C

ระยะ (เมตร) 215.4 187.3 218.8 202.5 200 285.2 101.2 187.1

หมายเหตุ เส้นฐาน เส้นฐาน เส้นฐาน เส้นฐาน เส้นฐาน เส้นแบ่งรู ปสามเหลี่ยม เส้นตรวจรู ปสามเหลี่ยม เส้นตรวจรู ปสามเหลี่ยม


ครั้งที่ ………………………………………………………..วันที่……../…………………/……… สถานที…………………………………………… อาจารย์ผสู้ อน……………………………….. ผูป้ ฏิบตั ิงาน 1) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 2) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 3) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 4) ……………………………………………………หน้าที่………………………………… 5) ……………………………………………………หน้าที่…………………………………

ตารางบันทึกข้ อมูล ภาพสเกตซ์ พนื้ ที่ปฏิบัตงิ าน


รายการคานวณ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… รายการคานวณ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… รายการคานวณ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… สรุป ปัญหาอุปสรรค ข้ อเสนอแนะ และข้ อแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

หน้าที่

5

วันที่ : 8-12มิ.ย. 2552

1

เวลา :

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

การวัดระยะผ่านอุปสรรค และสิ่ งกีดขวาง สิ่งกีดขวาง ในการวัดระยะทางพอจาแนกตามลักษณะเป็ น 3 อย่างคือ 1 .สิ่งกีดขวางการมองเห็นตามแนวการรังวัด

B A B1 A

B2 B3

C C 1 C2

D D

ภาพที่ 2.9 แสดงการวัดระยะทางเมื่อมีสิ่งกีดขวางการมองเห็น จากภาพที่ 2.9 ตาแหน่งของจุดรังวัด A และ D ไม่สามารถมองเห็นซึ่งกันและกันได้ เนื่องจาก ความสูงของพื้นดินกีดขวางการมองเห็น วิธีการแก้ปัญหานี้ ทาได้โดยการกาหนดจุด B1 และ C1 ระหว่าง จุด A และ D โดยจุด C1 ต้องมองเห็นได้จากจุด A และจุด B1 ต้องมองเห็นได้จากจุด D การปรับแนว ABCD ให้ตรงกันทาโดยการเล็งแนวจากจุด A ไปยังจุด C1 แล้วขยับหลักเล็งที่จุด B1 ตามแนวเล็งไปที่ปักจุด B2 แล้วไปเล็งแนวใหม่ที่จุด D โดยเล็งไปยังจุด B2 ขยับหลักเล็งที่จุด C1 ตามแนวเล็งไปที่จุด C2 แล้ว กลับไปเล็งแนวที่ A ไปยังจุด C2 ขยับหลักเล็ง B2 ตามแนวเล็ง ปักที่จุด B3 ทาเช่นนี้ จนจุด ABCD อยูใ่ น แนวเดียวกัน


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

5

หน้าที่

2

วันที่ : 8-12มิ.ย. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 2. สิ่งกีดขวางการวัดระยะแต่สามารถมองเห็นแนวรังวัด  เมือ่ สามารถวัดอ้อมสิ่งกีดขวางได้ สามารถทาได้หลายวิธี ดังนี้ 1) วิธีสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยสร้างมุมฉากที่จุด D วัดระยะ DE และ CE ดังภาพที่ 2.10 การคานวณหา ระยะ CD ได้จากทฤษฎีของพีธาโกรัส (Pythagoras) CD = CE 2  DE2

E

A

C

D

B

ภาพที่ 2.10 แสดงการวัดระยะด้วยวิธีสามเหลี่ยมมุมฉาก

2) วิธีสี่เหลี่ยมมุมฉาก โดยการสร้างมุมฉากที่จุด C และ D กาหนดระยะ CF ให้เท่ากับ DE จะได้รูปสี่เหลี่ยม มุมฉาก CDEF ดังภาพที่2.11 ระยะ CD = EF

A

F

E

C

D

B

ภาพที่ 2.11 แสดงการวัดระยะด้วยวิธีสี่เหลี่ยมมุมฉาก


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

5

หน้าที่

3

วันที่ : 8-12มิ.ย. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 3) วิธีสามเหลี่ยมคล้าย โดยการกาหนดจุด E ให้มีระยะห่างจากจุด C และ D พอประมาณ วัดระยะแบ่งครึ่ ง CE ที่จุด F และแบ่งครึ่ งDE ที่จุด G จะได้สามเหลี่ยม CDE เป็ นสามเหลี่ยมคล้ายกับสามเหลี่ยม FGE โดย สามเหลี่ยม CDE เท่ากับ 2 เท่า ของสามเหลี่ยม FGE ดังภาพที่ 2.12 ดังนั้น CD = 2FG

E F A

G

C

B

D

ภาพที่ 2.12 แสดงการวัดระยะด้วยวิธีสามเหลี่ยมคล้าย เมือ่ ไม่สามารถวัดอ้อมสิ่งกีดขวาง เช่น การวัดระยะผ่านแนวแม่น้ า ถนน ทางรถไฟ 1) สร้างรู ปสามเหลี่ยมที่เท่ากัน โดยการสร้างมุมฉากที่จุด D วัดระยะปักหมุด E แล้วแบ่งครึ่ งระยะ DE ที่จุด F เปิ ดฉากที่จุด E จะได้เส้นขนานกับ DB ให้ลากเทปไปตามแนวเส้นฉากที่สร้างขึ้น แล้วเล็งแนวจากจุด C ผ่าน จุด F ไปตัดกับแนวเทปที่เปิ ดฉากจากจุด E ที่จุด G จะได้สามเหลี่ยม มุมฉาก CDF เป็ นสามเหลี่ยมที่ เท่ากันกับสามเหลี่ยม GEF ดังภาพที่ 2.13 ดังนั้นระยะ CD = GE E

G F

A

C

D

B

ภาพที่ 2.13 แสดงการวัดระยะด้วยวิธีสามเหลี่ยมที่เท่ากัน


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

5

หน้าที่

4

วันที่ : 8-12มิ.ย. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 2) สร้างสามเหลี่ยมคล้าย โดยการเปิ ดมุมฉากที่จุด D วัดระยะปักหมุด E ใช้เครื่ องมือส่องฉากสร้างมุมฉากที่ จุด E โดยให้ EC และ EF ตั้งฉากกัน และจุด C จุด F อยูบ่ นแนวเส้น AB จะได้สามเหลี่ยมCEF เป็ น สามเหลี่ยมคล้ายกับสามเหลี่ยม DEF ดังภาพที่ 2.14

E A

C

D F

B

ภาพที่ 2.14 แสดงการวัดระยะด้วยวิธีสามเหลี่ยมคล้าย จากภาพที่ 2.14 สามเหลี่ยมคล้าย CEF และ DEF ซึ่งมีมุม F เป็ นมุมร่ วมกัน และมีมุมหนึ่งเป็ นมุมฉากทั้ง สองรู ป ดั้งนั้นสามเหลี่ยมทั้งสองรู ปมีมุมทั้งสามมุมซึ่งมีขนาดเท่ากัน ดังนั้น

จากรู ป

CF  EF EF DF 2 CF  EF  DF

CF = CD + DF 2 (CD + DF) = EF  DF 2 CD = EF   DF DF


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

5

หน้าที่

5

วันที่ : 8-12มิ.ย. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 3. เมือ่ อุปสรรคขวางการวัดระยะและการมองเห็น ทาให้ไม่สามารถวัดแนวเส้นตรงต่อไปได้ เช่น อาคาร หรื อกลุ่มต้นไม้ ขวางแนวเส้นรังวัด วิธีการแก้ปัญหาทาได้โดยกาหนดจุด A และ จุด B ให้อยูบ่ นแนวเส้น รังวัด ระยะ AB ให้มีความยาวพอประมาณ สร้างมุมฉากที่จุด A และ B ปักหมุด C และ D วัดระยะ AC = BD เล็งแนวที่จุด C ผ่านจุด D จะได้แนวขนานกับแนวเส้นที่จะรังวัด ปักจุด E และ F ให้ระยะ DE ยาว พอที่จะพ้นอุปสรรค และ EF = CD = AB เปิ ดฉากที่จุด E และ F กาหนดจุด G และ H ให้ระยะ EG = FH = AC = BD ดังนั้น ระยะ BG = DE และสามารถใช้แนว GH เป็ นแนวเล็งเพื่อรังวัดต่อไป ดังภาพที่ 2.15

C

D

E

F

A

B

G

H

ภาพที่ 2.15 แสดงการวัดระยะเมื่อมีอุปสรรคขวางการวัดและการมองเห็น


ใบงานที่ 4 การวัดระยะผ่านสิ่งกีดขวาง

สัปดาห์ที่

5

หน้าที่

6

วันที่ : 8-12มิ.ย. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ จุดประสงค์ นักศึกษาสามารถปฏิบตั ิการวัดระยะทางที่มีสิ่งกีดขวางการวัดระยะได้

เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1. เทปวัดระยะยาว 30 ม. 1 ม้วน 2. หลักเล็ง พร้อมขาตั้ง 2 ชุด 3. ห่วงคะแนน 10 อัน 4. เครื่ องส่องฉาก ลาดับขั้นการปฏิบัตงิ าน 1. จัดแบ่งกลุ่มนักศึกษากลุ่มละ 3 – 5 คน หรื อตามชุดเครื่ องมือที่มี 2. กาหนดระยะทางที่ทาการวัดระยะและช่วงระยะที่เป็ นสิ่งกีดขวาง โดยให้ช่วงที่เป็ นสิ่งกีดขวางยาว ไม่นอ้ ยกว่า 20 เมตร 3. กาหนดวิธีการวัดระยะผ่านสิ่งกีดขวางให้นกั ศึกษาปฏิบตั ิ โดยอธิบายหลักการและวิธีปฏิบตั ิในแต่ละ วิธีก่อนให้นกั ศึกษาลงปฏิบตั ิงานสนาม 4. ให้นกั ศึกษาปฏิบตั ิตามวิธีที่ครู กาหนดและบันทึกข้อมูลลงในสมุดสนาม 5. วัดระยะทางโดยตรงด้วยเทปเพื่อเปรี ยบเทียบกับระยะทางที่ทาโดยหลักการต่างๆในการวัดผ่านสิ่งกีด ขวาง ข้ อควรระวัง 1. การเล็งแนว การปักห่วงคะแนน แต่ละจุดต้องให้ได้แนวตรง 2. การเปิ ดแนวฉากต้องแม่นยาและมีความละเอียดในการทางาน 3. รู ปสามเหลี่ยมที่กาหนดควรเป็ นสามเหลี่ยมที่ไม่มีมุมใดน้อยกว่า 30


สัปดาห์ที่

ใบงานที่ 4

5

การวัดระยะผ่านสิ่งกีดขวาง รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

หน้าที่

1

เวลา :

วันที่ : 8-12มิ.ย. 2552

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

1.สามเหลี่ยมมุมฉาก

E A

2.สี่เหลี่ยมมุมฉาก

C

D

F

E

C

D

A

B

B

3.สามเหลี่ยมคล้าย E F A

G

C

D

B

4.สามเหลี่ยมเท่ากันทุกประการ E

G F

A

C

D

B


วิทยาลัยเทคนิคสั ตหีบ แผนกวิชาช่ างก่ อสร้ าง งาน การวัดระยะผ่ านสิ่งกีดขวาง

วิชา สารวจ 1

การวัดระยะผ่านอุปสรรค และสิ่ งกีดขวาง วัตถุประสงค์ 1. นักศึกษาสามารถปฏิบตั ิการวัดระยะทางที่มีสิ่งกีดขวางการวัดระยะได้ เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1. เทปวัดระยะยาว 30 ม. 1 ม้วน 2. หลักเล็ง พร้อมขาตั้ง 2 ชุด 3. ห่วงคะแนน 10 อัน 4. เครื่ องส่องฉาก ลาดับขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน 1. จัดแบ่งกลุ่มนักศึกษากลุ่มละ 3 – 5 คน หรื อตามชุดเครื่ องมือที่มี 2. กาหนดระยะทางที่ทาการวัดระยะและช่วงระยะที่เป็ นสิ่งกีดขวาง โดยให้ช่วงที่เป็ นสิ่งกีดขวางยาวไม่นอ้ ย กว่า 20 เมตร 3. กาหนดวิธีการวัดระยะผ่านสิ่งกีดขวางให้นกั ศึกษาปฏิบตั ิ โดยอธิบายหลักการและวิธีปฏิบตั ิในแต่ละวิธี ก่อนให้นกั ศึกษาลงปฏิบตั ิงานสนาม

4. ให้นกั ศึกษาปฏิบตั ิตามวิธีที่ครู กาหนดและบันทึกข้อมูลลงในสมุดสนาม 5. วัดระยะทางโดยตรงด้วยเทปเพื่อเปรี ยบเทียบกับระยะทางที่ทาโดยหลักการต่างๆในการวัดผ่านสิ่งกีดขวาง ข้ อควรระวัง 1. การเล็งแนว การปักห่วงคะแนน แต่ละจุดต้องให้ได้แนวตรง 2. การเปิ ดแนวฉากต้องแม่นยาและมีความละเอียดในการทางาน 3. รู ปสามเหลี่ยมที่กาหนดควรเป็ นสามเหลี่ยมที่ไม่มีมุมใดน้อยกว่า 30


ตัวอย่ าง การวัดระยะผ่านสิ่ งกีดขวาง 1.สามเหลี่ยมมุมฉาก โดยสร้างมุมฉากที่จุด D วัดระยะ DE และ CE คานวณหาระยะ CD ได้จากทฤษฎีของพีธาโกรัส (Pythagoras) CD =

ดังภาพที่ 2.21 การ CE 2  DE2

E

A

C

D

B

2.สี่เหลี่ยมมุมฉากโดยการสร้างมุมฉากที่จุด C และ D กาหนดระยะ CF ให้เท่ากับ DE จะได้รูป สี่เหลี่ยมมุมฉาก CDEF ดังภาพที่2.22 ระยะ CD = EF F

E

C

D

A

B

3.วิธีสามเหลี่ยมคล้าย โดยการกาหนดจุด E ให้มีระยะห่างจากจุด C และ D พอประมาณ วัดระยะ แบ่งครึ่ ง CE ที่จุด F และแบ่งครึ่ งDE ที่จุด G จะได้สามเหลี่ยม CDE เป็ นสามเหลี่ยมคล้ายกับ สามเหลี่ยม FGE โดยสามเหลี่ยม CDE เท่ากับ 2 เท่า ของสามเหลี่ยม FGE ดังภาพที่ 2.23 ดังนั้น CD = 2FG E F A

C

G D

B


4.สามเหลี่ยมเท่ากันทุกประการโดยการสร้างมุมฉากที่จุด D วัดระยะปักหมุด E แล้วแบ่งครึ่ งระยะ DE ที่จุด F เปิ ดฉากที่จุด E จะได้เส้นขนานกับ DB ให้ลากเทปไปตามแนวเส้นฉากที่สร้างขึ้น แล้วเล็งแนวจากจุด C ผ่าน จุด F ไปตัดกับแนวเทปที่เปิ ดฉากจากจุด E ที่จุด G จะได้สามเหลี่ยม มุมฉาก CDF เป็ นสามเหลี่ยมที่เท่ากันกับสามเหลี่ยม GEF ดังภาพที่ 2.24ดังนั้นระยะ CD = GE

E

G F

A

C

D

B


ครั้งที่ ………………………………………………………..วันที่……../…………………/……… สถานที…………………………………………… อาจารย์ผสู้ อน……………………………….. ผูป้ ฏิบตั ิงาน 1) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 2) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 3) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 4) ……………………………………………………หน้าที่………………………………… 5) ……………………………………………………หน้าที่…………………………………

ตารางบันทึกข้ อมูลการวัดระยะผ่านสิ่ งกีดขวาง 1.สามเหลี่ยมมุมฉาก


2. .สี่เหลี่ยมมุมฉาก

3.สามเหลี่ยมคล้าย


4.สามเหลี่ยมเท่ากันทุกประการ

สรุปผลการปฏิบัตงิ าน ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

6

หน้าที่

1

วันที่ : 15 – 19 มิ.ย. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การใช้ เครื่องมือส่ องฉาก (Optical square) เป็ นเครื่ องมือที่ทาขึ้นโดยอาศัยหลักการสะท้อนของแสง ส่วนประกอบภายในเครื่ องประกอบด้วย กระจกสะท้อนแสง 2 อันประกบกันทามุม 45 องศา โดยจะมีช่อง มองภาพเป็ นสามช่อง ช่องบนและล่างจะเห็นภาพทางซ้ายและทางขวา ส่วนช่องกลางจะเห็นภาพตรงด้านหน้า วิธีใช้ เครื่องมือส่ องฉาก  การสร้างมุมฉากกับเส้นฐาน C

A

B

ภาพที่ 2.16 แสดงการสร้างมุมฉากด้วยเครื่ องมือส่องฉาก ถือเครื่ องมือส่องฉาก ที่จุด B โดยใช้ลกู ดิ่งช่วยในการถือให้ตรงจุด B หันหน้าไปทางด้านที่ตอ้ งการ เปิ ดฉาก เล็งไปยังเป้ าหมายจุด A ตรงช่องเล็งสะท้อนภาพทางซ้ายมือ ให้คนถือหลังเล็งเพื่อล่อแนว ขยับ หลักเล็งไป มา ตามสัญญาณมือที่คนเล็งมองจากเครื่ องมือส่องฉาก โดยให้หลักเล็งทั้ง A และ C อยูใ่ นแนว เดียวกัน ดังภาพที่ 2.16 จะได้ CB ตั้งฉากกับ AB


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

6

วันที่ : 15 – 19 มิ.ย. 2552

หน้าที่

2

เวลา :

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

 การหาจุดที่ทามุมฉากจากจุดที่กาหนดไปยังเส้นสารวจหลัก C

A

O

B

ภาพที่ 2.17 แสดงการหาจุดมุมฉากด้วยเครื่ องมือส่องฉาก ถือเครื่ องมือส่องฉากที่จุด O (ประมาณจุดมุมฉากด้วยสายตา) หันหน้าไปทางจุด C เล็งไปยัง เป้ าหมายจุด A ตรงช่องเล็งสะท้อนภาพทางซ้ายมือ แล้วเดินหน้า- ถอยหลัง มองช่องบน- ล่าง ของเครื่ องมือ ส่องฉาก ให้หลักเล็งทั้ง A (ช่องบน) และ B(ช่องล่าง) อยูใ่ นแนวเดียวกัน ดังภาพที่ 2.17 แสดงว่าขณะนี้ ผูส้ ารวจยืนอยูบ่ นแนวเส้นฐาน AB แล้ว ต่อไปให้เดินไปทางด้านข้างซ้าย - ขวา จนเห็นหลักเล็ง C เข้ามา อยูต่ รงแนวเดียวกับหลักเล็ง A และB (ทั้ง 3 หลักอยูใ่ นแนวเดียวกัน) แสดงว่าตาแหน่งที่ยนื คือจุด O ให้ปัก ห่วงคะแนนโดยใช้ลกู ดิ่งแขวนที่เครื่ องมือส่องฉากช่วยในการกาหนดจุด O บนพื้นดิน


ใบงานที่ 5 การวัดระยะผ่านสิ่งกีดขวาง

สัปดาห์ที่

6

หน้าที่

1

วันที่ : 15 – 19 มิ.ย. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ จุดประสงค์ นักศึกษาสามารถใช้เครื่ องมือส่องฉากได้

เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1. เทปวัดระยะยาว 30 ม. 1 ม้วน 2. หลักเล็ง พร้อมขาตั้ง 2 ชุด 3. ห่วงคะแนน 2 อัน 4. เครื่ องส่องฉาก ลาดับขั้นการปฏิบัตงิ าน 1. จัดแบ่งกลุ่มนักศึกษากลุ่มละ 3 – 5 คน หรื อตามชุดเครื่ องมือที่มี 2. กาหนดระยะทางที่ทาการสร้างมุมฉาก 3. กาหนดวิธีการสร้างมุมฉากให้นกั ศึกษาปฏิบตั ิ โดยอธิบายหลักการและวิธีปฏิบตั ิในแต่ละวิธีก่อนให้ นักศึกษาลงปฏิบตั ิงานสนาม 4. ให้นกั ศึกษาปฏิบตั ิตามวิธีที่ครู กาหนดและบันทึกข้อมูลลงในสมุดสนาม ข้ อควรระวัง 1. การเล็งแนว การปักห่วงคะแนน แต่ละจุดต้องให้ได้แนวตรง 2. การเปิ ดแนวฉากต้องแม่นยาและมีความละเอียดในการทางาน


วิทยาลัยเทคนิคสั ตหีบ แผนกวิชาช่ างก่ อสร้ าง งาน การวัดระยะผ่ านสิ่งกีดขวาง

วิชา สารวจ 1

วัตถุประสงค์ 1. นักศึกษาสามารถปฏิบตั ิการวัดระยะทางที่มีสิ่งกีดขวางการวัดระยะได้ เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1. เทปวัดระยะยาว 30 ม. 1 ม้วน 2. หลักเล็ง พร้อมขาตั้ง 2 ชุด 3. ห่วงคะแนน 2 อัน 4. เครื่ องส่องฉาก ลาดับขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน 1. จัดแบ่งกลุ่มนักศึกษากลุ่มละ 3 – 5 คน หรื อตามชุดเครื่ องมือที่มี 2. กาหนดระยะทางที่ทาการสร้างมุมฉาก 3. กาหนดวิธีการสร้างมุมฉากให้นกั ศึกษาปฏิบตั ิ โดยอธิบายหลักการและวิธีปฏิบตั ิในแต่ละ วิธีก่อนให้นกั ศึกษาลงปฏิบตั ิงานสนาม 4. ให้นกั ศึกษาปฏิบตั ิตามวิธีที่ครู กาหนดและบันทึกข้อมูลลงในสมุดสนาม ข้ อควรระวัง 1. การเล็งแนว การปักห่วงคะแนน แต่ละจุดต้องให้ได้แนวตรง 2. การเปิ ดแนวฉากต้องแม่นยาและมีความละเอียดในการทางาน


ครั้งที่ ………………………………………………………..วันที่……../…………………/……… สถานที…………………………………………… อาจารย์ผสู้ อน……………………………….. ผูป้ ฏิบตั ิงาน 1) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 2) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 3) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 4) ……………………………………………………หน้าที่………………………………… 5) ……………………………………………………หน้าที่…………………………………

ตารางบันทึกข้ อมูลการวัดระยะผ่านสิ่ งกีดขวาง 1.สามเหลี่ยมมุมฉาก


2. .สี่เหลี่ยมมุมฉาก

3.สามเหลี่ยมคล้าย


4.สามเหลี่ยมเท่ากันทุกประการ

สรุปผลการปฏิบัตงิ าน ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

หน้าที่

7

1

วันที่ : 22 – 26 มิ.ย. 2552 เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การสารวจทาแผนทีด่ ้ วยโซ่ - เทป การสารวจทาแผนที่ดว้ ยโซ่ - เทป เหมาะสาหรับบริ เวณพื้นที่เล็กๆ ไม่มีอุปสรรคในการวัดมากนัก ผูส้ ารวจจะต้องทาการสารวจสังเขป (Reconnaissance survey) โดยการเดินตรวจดูพ้นื ที่ที่จะสารวจให้ทวั่ บริ เวณ เพื่อหาจุดที่เหมาะสมในการกาหนดสถานีรังวัด การปฏิบตั ิงานควรคานึงถึงหลักการปฏิบตั ิ ดังต่อไปนี้ 1) ปฏิบตั ิงานจากส่วนใหญ่ไปหาส่วนย่อย โดยพิจารณาบริ เวณพื้นที่ท้งั หมดเพื่อกาหนดงานและตาแหน่ง ของสถานีรังวัดที่เหมาะสม 2) แบ่งพื้นที่ออกเป็ นสามเหลี่ยมสภาพดีต่อเนื่องกัน สามเหลี่ยมสภาพดีหมายถึงสามเหลี่ยมที่ไม่มีมุมใดเล็ก กว่า 30 และไม่มีมุมใดใหญ่กว่า 120 ซึ่งถ้าอยูใ่ นสภาพดีจริ งแล้วควรจะมีมุมอยูร่ ะหว่าง 45 - 75 3) สภาพการรังวัดที่ดี ระยะตามแนวเส้นสารวจควรอยูอ่ ยูใ่ นสภาพที่สะดวกต่อการรังวัดได้อย่างถูกต้อง เช่น แนวถนนหรื อทางเดินซึ่งเป็ นพื้นที่ราบหรื อมีความลาดเอียงที่เรี ยบสม่าเสมอ ทาให้สามารถวัดระยะทางได้ อย่างถูกต้อง ควรหลีกเลี่ยงแนวที่มีการเปลี่ยนแปลงความลาดเอียงหลายๆช่วง 4) ความถาวรของสถานีรังวัด เพื่อการใช้งานในอนาคตควรสร้างหมุดรังวัดให้มีความมัน่ คงถาวร อาจใช้ หมุดไม้ตอกตะปู หรื อสร้างเป็ นหมุดคอนกรี ตฝังน๊อตที่หวั หมุด อย่างไรก็ดีควรคานึงถึงความเหมาะสมของ พื้นที่และการใช้งานด้วย 5) การอ้างอิงสถานีรังวัด เพื่อประโยชน์ในการค้นหาเมื่อต้องการใช้สถานีรังวัดอีกในอนาคต เครื่ องหมาย อ้างอิง (Reference mark) ต้องเป็ นเครื่ องหมายถาวร มีลกั ษณะเด่นชัด จัดวางใกล้เคียงกับสถานีรังวัด มีความ ละเอียดเพียงพอสาหรับสร้างสถานีทดแทน ในกรณี ที่เครื่ องหมายอ้างอิงของสถานีรังวัดสูญหายหรื อถูก ทาลาย อาจใช้เครื่ องหมายอ้างอิงเป็ นหลักฐานสาหรับขยายข่ายงานรังวัดควบคุมได้ ลักษณะของหมุดรังวัด และการอ้างอิงสถานีรังวัดแสดงไว้ดงั ภาพที่ 2.17 เสาไฟฟ้ า 3.3 ม.

เสาไฟฟ้ า 4 ม.

ภาพที่ 2.17 แสดงสถานีรังวัดและการอ้างอิงสถานีรังวัด

3.5 ม. สถานีรังวัด


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

สัปดาห์ที่

7

วันที่ : 22 – 26 มิ.ย. 2552

หน้าที่

2

เวลา :

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

6) หลีกเลี่ยงสิ่งที่เป็ นอุปสรรคต่อการรังวัด ก่อนที่จะกาหนดตาแหน่งสถานีรังวัดจะต้องพิจารณาถึงสิ่งกีด ขวางต่อการปฏิบตั ิงานด้วย เช่น บ่อน้ า ลาธาร คู คลอง ถ้าเป็ นไปได้ไม่ควรกาหนดตาแหน่งให้แนวรังวัด ผ่านสิ่งกีดขวางเหล่านี้ 7) การมองเห็นซึ่งกันและกันระหว่างสถานีรังวัด จากตาแหน่งของสถานีรังวัดต้องสามารถมองเห็นตาแหน่ง ของสถานีรังวัดอื่นอีกอย่างน้อย 2 สถานี อย่างไรก็ตามเพือ่ การตรวจสอบควรให้ตาแหน่งของสถานีรังวัด สามารถมองเห็นสถานีรังวัดอื่นให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็ นไปได้ 8) เส้นโยง (Tie lines) เส้นรังวัดโยงจุดที่ทราบตาแหน่งกับจุดที่ตอ้ งการหาเป็ นการตรวจสอบ ภาพที่ 2.28 แสดงเส้นโยง AD ซึ่งใช้เป็ นเส้นตรวจสอบ การรังวัด จากการรังวัดเมื่อนาข้อมูลความยาวด้านต่างๆ ของรู ป สามเหลี่ยมมาเขียนรู ปตามมาตราส่วน เมื่อลากเส้น AD ในรู ป ระยะที่ได้จากมาตราส่วนจะต้องตรงกับระยะที่ วัดได้ในสนาม ถ้าไม่ตรงกันแสดงว่าการรังวัดมีความคลาดเคลื่อน ต้องทาการรังวัดใหม่จนกว่าจะพบ ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้น


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

หน้าที่

7

วันที่ : 22 – 26 มิ.ย. 2552

3

เวลา :

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ก. แสดงเส้นโยงสาหรับการตรวจสอบงานรังวัดโครงรู ปสามเหลี่ยม

A

A

B

B

G G F

C F

C

ข. แสดงเส้นตรวจสอบสามเหลี่ยมแต่ละรู ป H E D

ภาพที่ 2.18 แสดงการแบ่งพื้นที่สารวจ เส้นโยง เส้นตรวจของรู ปสามเหลี่ยม


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

7

หน้าที่

4

วันที่ : 22 – 26 มิ.ย. 2552 เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ วิธีการดาเนินงานสารวจ ทาการวัดด้านทั้งสามและเส้นตรวจสอบของรู ปสามเหลี่ยมแต่ละรู ปให้เรี ยบร้อย ก่อนที่จะทาการรังวัดรู ปสามเหลี่ยมอื่นที่อยูถ่ ดั ไป จากภาพที่ 2.18 ก. ลาดับของการรังวัดคือ วัดระยะ BA AF FB และเส้นตรวจสอบ FG GA ไม่ตอ้ งถอนห่วงคะแนนที่จุด G เพื่อใช้เป็ นจุดตรวจสอบสาหรับเส้น GC ในสามเหลี่ยม BCF จากนั้นวัดด้าน BC และ CF ของสามเหลี่ยมรู ปที่สอง แล้วปฏิบตั ิงานต่อไปจนครบ ทุกรู ปสามเหลี่ยม การดาเนินงานดังกล่าวจะทาให้ผสู้ ารวจประหยัดเวลาในการเคลื่อนที่ในการวัดระยะจะ เห็นได้ว่าการวางแนวเส้นสารวจจะต้องวางแนวให้สะดวกต่อการเก็บข้อมูลรายละเอียด ในที่น้ ีได้แก่ ถนน คลอง รั้ว และ อาคาร ระยะ สั้นๆ ที่ลากจากเส้นรังวัดไปยังจุดต่างๆ ของรายละเอียดเพื่อการเขียนตาแหน่ง เรี ยกว่า ออฟเซท (Offset) โดยปกติแล้วระยะออฟเซทจะวัดในแนวตั้งฉากกับแนวเส้นรังวัด จึงอาจเรี ยกว่า ระยะฉาก ความยาวของระยะฉากขึ้นอยูก่ บั ขนาดมาตราส่วนที่ใช้เขียนแผนที่ โดยที่สายตาคนเราส่วนใหญ่จะ มองเห็นความยาวที่ส้ นั สุดบนกระดาษได้ประมาณ 0.2 มม. ฉะนั้นเมื่อเขียนแผนที่มาตราส่วน 1:1000 สายตา เปล่าจะมองเห็นความยาวบนกระดาษเทียบเป็ นระยะทางบนพื้นดินเท่ากับ 0.2 1000 มม.หรื อเท่ากับ 0.2 ม. ดังนั้นความคลาดเคลื่อนที่มากกว่า 0.2 ม. จึงจะมีผลต่อการเขียนแผนที่มาตราส่วน 1:1000 และแนวตั้งฉาก เมื่อกาหนดด้วยสายตาอาจจะเบนออกจากแนวฉากจริ งได้ในช่วง  3 จากมาตราส่วนและการกาหนดแนว ฉากด้วยสายตาสามารถหาระยะทางที่มากที่สุดสาหรับการกาหนดระยะฉากด้วยสายตาได้ ดังภาพที่ 2.19

A ระยะฉาก

3 3 แนวเส้นสารวจ

L X X

ภาพที่ 2.19 แสดงการเก็บรายละเอียดด้วย ระยะออฟเซทฉากกับเส้นสารวจ จากรู ปที่ 2.19 เมื่อต้องการทราบความยาวระยะฉากจากจุด A ถึงแนวเส้นสารวจที่กาหนดได้ดว้ ยสายตา สามารถคานวณหาได้ดงั นี้ cot 3= L  L = X  cot 3 X


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

7

วันที่ : 22 – 26 มิ.ย. 2552

หน้าที่

5

เวลา :

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

สาหรับมาตราส่วน 1:1000 ความยาว X จะต้องไม่เกิน 0.2 ม. L = 0.2  cot 3 = 3.82 ม.ดังนั้นความ ยาวมากที่สุดของระยะฉากมีค่าเท่ากับ 3.82 ม. ระยะออฟเซทนอกจากจะลากในแนวตั้งฉากกับแนวเส้นรังวัด แล้ว อาจลากในแนวเอียงกับแนวเส้นรังวัดก็ได้ ในบางครั้งแนวผนังของตัวอาคารหรื อสิ่งก่อสร้างเอียงทามุม กับแนวเส้นรังวัดระยะออฟเซทที่ลากแนวผนังอาคารไปยังแนวเส้นรังวัดเรี ยกว่าออฟเซทในแนว (inline offset) ส่วนระยะออฟเซทแนวเฉียงตัดกันเป็ นรู ปสามเหลี่ยมเรี ยกว่าออฟเซทเอียง (oblique offset) ดังภาพที่ 2.20 การวัดระยะออฟเซทแนวเอียงกับเส้นรังวัดจะต้องวัดระยะออฟเซทสองเส้น และกาหนดจุดในแผนที่ โดยใช้วงเวียนเขียนรัศมีตดั กัน ออฟเซทเอียง ออฟเซทในแนว 158 145

155 108

122

138

125

ภาพที่ 2.20 แสดงระยะออฟเซททาแนวเอียงกับเส้นสารวจ


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

7

หน้าที่

6

วันที่ : 15-19 มิ.ย. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การบันทึกข้อมูลงานสารวจด้ วยโซ่ - เทป การบันทึกงานสารวจด้วยโซ่- เทป จะต้องบันทึกให้ชดั เจนอ่านง่าย และสามารถทาความเข้าใจได้เป็ น อย่างดี วิธีการบันทึกข้อมูลลงสมุดสนาม หน้าแรกจะต้องบันทึกโครงงานทั้งหมดพร้อมด้วยตาแหน่งสถานีรังวัดที่ สัมพันธ์กนั อย่างถูกต้อง ตัวเลขความยาวจะบันทึกไว้ตามแนวเส้นรังวัดนั้นๆ ดังภาพที่ 2.21 จากภาพร่ างของ งานอ้างอิงสามารถนาไปเขียนในสานักงานได้ โดยทัว่ ไปแล้วงานเขียนแบบกับงานสนามมักใช้คนทางานคน ละคนกัน ดังนั้นการบันทึกข้อมูลในสมุดสนามจะต้องบันทึกให้ชดั เจนและถูกต้องตามวิธีการ

N

B

A

215. 187. 4 1 G200 187. 202. 285. 101. 2 5 3 C 218. 2 F 8203. 215. 207.5 1 H79.3 221. 8 209. 8 E 7 189. 6

D

ภาพที่ 2.21 แสดงการบันทึกข้อมูลโครงงานสารวจลงในสมุดสนาม


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

7

หน้าที่

7

วันที่ : 22 – 26 มิ.ย. 2552 เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การเก็บรายละเอียดจากแนวเส้นสารวจหลัก (Main survey lines) หมายถึง ถนน อาคาร และคลอง โดยการใช้วิธีวดั ระยะออฟเซทออกจากจุดกาหนด ตามแนวเส้นสารวจหลักไปยังรายละเอียดที่ตอ้ งการ จาก รู ปเป็ นแสดงแนวเส้น BC การรังวัดเริ่ มจาก B ไปหาจุด C กลางหน้ากระดาษมีเส้นคู่สีแดง(Double red center line) ใช้แสดงแทนแนวเส้นสารวจหลัก กาหนดจุด B อยูด่ า้ นล่างของกระดาษมีตาแหน่ง อยูบ่ นเส้นคู่ เขียนจุดกาหนดออฟเซทตามตาแหน่งสัมพันธ์บนเส้นคู่ จากนั้นเขียนออฟเซททั้งด้านซ้ายและขวาของเส้นคู่ สาหรับตาแหน่งของรายละเอียดที่สารวจมาพร้อมทั้งบอกระยะกากับ ข้อสาคัญในการเขียนต้องให้ตาแหน่ง สัมพันธ์กนั อ่านง่าย ชัดเจน แต่ไม่จาเป็ นต้องตรงตามมาตราส่วน การบันทึกรายละเอียดอีกวิธีหนึ่งได้แก่ การบันทึกแบบใช้เส้นเดี่ยว (single line) ซึ่งเป็ นที่นิยมใช้กนั โดยขีดเส้นกลางหน้ากระดาษแทนแนวเส้นรังวัด(Chain line) เขียนจุดกาหนดออฟเซทลงตามแนวเส้นรังวัด จากนั้นลากเส้นออฟเซททั้งด้านซ้ายและขวาของแนวเส้นรังวัดเช่นเดียวกับวิธีเส้นคู่ ข้อดีของการบันทึกแบบ เส้นคู่ คือ แบ่งจุดกาหนดออฟเซทของรายละเอียดที่อยูด่ า้ นซ้ายและด้านขวาของแนวเส้นรังวัด หรื อแนวเส้น สารวจหลัก ชัดเจน ไม่สบั สน ข้อเสียของเส้นคู่กค็ ือรายละเอียดที่มีรูปร่ างเป็ นแนวยาวและมีความกว้า ง เช่น ถนน คลอง เมื่อผ่านแนวเส้นคู่จะทาให้มีรูปร่ างเยื้องกัน เนื่องจากต้องการให้ระยะตามแนวเส้นรังวัด หลักตรงกัน การบันทึกมีวิธีการ ดังภาพที่ 2.22


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

6.3 4.2

4.1

7.4

to C 55.0 3.2

6.3 4.2

20.0 10.4

4.1

7.4

6.2 4.2

28.5

8.2

3.8

3.1

8.2

3.0

7.0

to A

to C 55.0 3.2

10.3

40.4

20.0 10.4

3.8

4.1 2.1

8.0

31.8

7.1

10.0

0.003.0 B

7.0 to A

Line BC = 187.3 m.

Line BC = 187.3 m.

วิธีบนั ทึกรายละเอียดด้วยเส้นคู่

7.2 10.9

28.5 19.3 17.2 3.1

7.1

10.0

4.1 2.1 0.00 B

เวลา :

35.0

8.0

31.8

19.3 17.2

8

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

7.2 10.9

35.0 6.2 4.2

7

วันที่ : 22 – 26 มิ.ย. 2552

10.3

40.4

หน้าที่

วิธีบนั ทึกรายละเอียดด้วยเส้นเดี่ยว

ภาพที่ 2.22 แสดงการบันทึกการเก็บรายละเอียดในสมุดสนาม


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

7

หน้าที่

9

วันที่ : 22 – 26 มิ.ย. 2552 เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ความคลาดเคลือ่ นในการรังวัดด้ วยโซ่ - เทป ความคลาดเคลื่อนในการรังวัดด้วยโซ่ - เทป อาจเกิดจากสาเหตุต่างๆ ได้ดงั นี้ 1) โซ่ - เทป ที่ใช้มีความยาวไม่มาตรฐาน อาจเป็ นเพราะเทปยืดเนื่องจากการใช้งานมานานกรณี ที่เป็ น เทปไฟเบอร์ หรื อโซ่ที่ขาดและมีการเชื่อมต่อ เมื่อนามาใช้ก็จะได้ระยะทางที่ไม่ถกู ต้อง 2) การวางแนวโซ่ - เทปไม่อยูใ่ นแนวเส้นตรงเดียวกันตลอด เช่นการปักห่วงคะแนนทางซ้ายของโซ่ บ้าง ทางขวาของโซ่บา้ งทาให้แนวของการวัดเฉไป 3) โซ่ - เทป ไม่อยูใ่ นแนวราบหรื อแนวลาดเอียงที่ถกู ต้อง 4) โซ่ - เทปไม่ตรง เมื่อทาการรังวัดผ่านบริ เวณหญ้าทึบ หรื อลมแรงทาให้ยากต่อการดึง โซ่- เทป ให้ อยูใ่ นแนวตรงได้ 5) ความไม่สมบูรณ์ของการรังวัด เช่น ความคลาดเคลื่อนในการทิ้งดิ่ง การอ่านระยะผิด การเล็งแนว การปักห่วงคะแนนไม่ตรงตาแหน่งที่แท้จริ ง 6) การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ทาให้ความยาวของโซ่ - เทป ผิดไปจากความยาวที่อุณหภูมิมาตรฐาน ตามที่ผผู้ ลิตกาหนดไว้ 7) การเปลี่ยนแปลงแรงดึง มากหรื อน้อยกว่าแรงดึงมาตรฐานของโซ่ - เทป ทาให้ความยาวผิดไป 8) การตกท้องช้าง เนื่องจากน้ าหนักของโซ่ - เทป เมื่อต้องวัดผ่านแนวที่เป็ นแอ่งไม่มีที่รองรับตลอด ความยาว


ใบงานที่ 3

สัปดาห์ที่

หน้าที่

การสารวจทาแผนที่ดว้ ยโซ่ - เทป

7

1

วันที่ : 22 – 26 มิ.ย. 2552 เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ จุดประสงค์ เมื่อฝึ กการปฏิบตั ิงานตามใบงานนี้แล้ว นักศึกษาจะสามารถ 1. ปฏิบตั ิการสารวจด้วยโซ่ - เทป เพื่อการทาแผนที่ที่ดินได้ 2. เขียนรู ปแผนที่ที่ดินจากข้อมูลงานสนามได้ เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1. โซ่ - เทปวัดระยะ จานวน 1 เส้น 2. หลักเล็ง พร้อมขาตั้ง จานวน 2 ชุด 3. ห่วงคะแนน จานวน 10 อัน 4. เครื่ องมือส่องฉาก จานวน 1 อัน 5. ลูกดิ่ง จานวน 1 ลูก ลาดับขั้นการปฏิบัตงิ าน 1. แบ่งกลุ่มนักศึกษากลุ่มละ 3 - 5 คน หรื อตามชุดเครื่ องมือที่มี 2. เดินสารวจบริ เวณพื้นที่ เพื่อแบ่งพื้นที่เป็ นรู ปสามเหลี่ยมสภาพดี 3. กาหนดแนวเส้นฐาน เส้นโยง เส้นตรวจ 4. วัดระยะเส้นฐาน เส้นโยง เส้นตรวจ และด้านประกอบสามเหลี่ยมทุกรู ป บันทึกข้อมูลลงสมุด สนาม 5. เก็บรายละเอียดต่างๆ เช่น ถนน อาคาร ต้นไม้ ในบริ เวณที่สารวจ บันทึกข้อมูลแบบเส้นคู่ 6. นาข้อมูลการสารวจไปเขียนรู ปแผนที่ ข้ อควรระวัง 1. การแบ่งพื้นที่เป็ นรู ปสามเหลี่ยมจะต้องไม่มีมุมใดเล็กกว่า 30 และโตกว่า 120 2. สามเหลี่ยมทุกรู ปจะต้องมีเส้นฐาน เส้นโยงเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง 3. ต้องวัดระยะด้านประกอบสามเหลี่ยมให้ครบทุกด้าน 4. เส้นตรวจควรกาหนดแนวเส้นที่ผา่ นสามเหลี่ยมครบทุกรู ป หรื อผ่านรู ปสามเหลี่ยมให้มากที่สุด 5. การบันทึกข้อมูลจะต้องทาให้ชดั เจนถูกต้องตามวิธีการ


ใบงานที่ 3

สัปดาห์ที่

หน้าที่

การสารวจทาแผนที่ดว้ ยโซ่ - เทป

7

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 2 วันที่ : 15-19 มิ.ย. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การประเมินผล 1. การปฏิบตั ิงานสนามของนักศึกษา 2. การรายงานผลการปฏิบตั ิงานในสมุดสนาม ข้ อแนะนา การพิจารณาแบ่งพื้นที่เป็ นรูปสามเหลี่ยม ด้านของสามเหลี่ยมจะต้องผ่านแนวที่สะดวกในการวัด หรื อ มีสภาพการรังวัดที่ดี แนวเส้นสารวจควรอยูใ่ กล้จุดที่ตอ้ งการเก็บรายละเอียด


วิทยาลัยเทคนิคสั ตหีบ แผนกวิชาช่ างก่ อสร้ าง งาน การสารวจทาแผนที่ด้วยโซ่ - เทป

วิชา สารวจ 1

การสารวจทาแผนที่ดว้ ยโซ่ - เทป เหมาะสาหรับบริ เวณพื้นที่เล็กๆ ไม่มีอุปสรรคในการ วัดมากนัก ผูส้ ารวจจะต้องทาการสารวจสังเขป (Reconnaissance survey) โดยการเดินตรวจดู พื้นที่ที่จะสารวจให้ทวั่ บริ เวณ เพื่อหาจุดที่เหมาะสมในการกาหนดสถานีรังวัด วัตถุประสงค์ 1. ปฏิบตั ิการสารวจด้วยโซ่ - เทป เพื่อการทาแผนที่ที่ดินได้ 2. เขียนรู ปแผนที่ที่ดินจากข้อมูลงานสนามได้ เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1. โซ่ - เทปวัดระยะ 2. หลักเล็ง พร้อมขาตั้ง 3. ห่วงคะแนน 4. เครื่ องมือส่องฉาก 5. ลูกดิ่ง

จานวน 1 เส้น จานวน 2 ชุด จานวน 10 อัน จานวน 1 อัน จานวน 1 ลูก

ลาดับขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน 1. เดินสารวจบริ เวณพื้นที่ เพื่อแบ่งพื้นที่เป็ นรู ปสามเหลี่ยมสภาพดี 2. กาหนดแนวเส้นฐาน เส้นโยง เส้นตรวจ 3. วัดระยะเส้นฐาน เส้นโยง เส้นตรวจ และด้านประกอบสามเหลี่ยมทุกรู ป บันทึก ข้อมูลลงสมุดสนาม 4. เก็บรายละเอียดต่างๆ เช่น ถนน อาคาร ต้นไม้ ในบริ เวณที่สารวจ บันทึกข้อมูล แบบเส้นคู่ 5. นาข้อมูลการสารวจไปเขียนรู ปแผนที่ ข้ อควรระวัง 1. 1การแบ่งพื้นที่เป็ นรู ปสามเหลี่ยมจะต้องไม่มีมุมใดเล็กกว่า 30 และโตกว่า 120 2. สามเหลี่ยมทุกรู ปจะต้องมีเส้นฐาน เส้นโยงเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง 3. ต้องวัดระยะด้านประกอบสามเหลี่ยมให้ครบทุกด้าน


4. เส้นตรวจควรกาหนดแนวเส้นที่ผา่ นสามเหลี่ยมครบทุกรู ป หรื อผ่านรู ปสามเหลี่ยมให้ มากที่สุด 5. การบันทึกข้อมูลจะต้องทาให้ชดั เจนถูกต้องตามวิธีการ

ตัวอย่ าง การวัดระยะผ่านสิ่ งกีดขวาง

เส้นโยง

เส้น offset เส้นโยง

เส้นโยง เส้นโยง

เส้นฐาน

เส้นตรวจ เส้นฐาน

เส้นฐาน เส้นโยง

เส้นตรวจ เส้นฐาน

ตัวอย่างการวางแนวเส้นสารวจและการเก็บรายละเอียด

เส้นโยง


การบันทึกข้อมูลงานสารวจด้ วยโซ่ - เทป การบันทึกงานสารวจด้วยโซ่- เทป จะต้องบันทึกให้ชดั เจนอ่านง่าย และสามารถทาความ เข้าใจได้เป็ นอย่างดี วิธีการบันทึกข้อมูลลงสมุดสนาม หน้าแรกจะต้องบันทึกโครงงานทั้งหมดพร้อมด้วย ตาแหน่งสถานีรังวัดที่สมั พันธ์กนั อย่างถูกต้อง ตัวเลขความยาวจะบันทึกไว้ตามแนวเส้นรังวัดนั้นๆ ดังภาพที่ 2.31 จากภาพร่ างของงานอ้างอิงสามารถนาไปเขียนในสานักงานได้ โดยทัว่ ไปแล้วงาน เขียนแบบกับงานสนามมักใช้คนทางานคนละคนกัน ดังนั้นการบันทึกข้อมูลในสมุดสนามจะต้อง บันทึกให้ชดั เจนและถูกต้องตามวิธีการ

A

B

215.4 187.1 202.5

285.2 G 200 187.3 101.2 C

218.8 F

N

203.5 207.8 E

215.1 H79.3

221.8 209.7 189.6

D

ภาพที่ 2.31 แสดงการบันทึกข้อมูลโครงงานสารวจลงในสมุดสนาม การเก็บรายละเอียดจากแนวเส้นสารวจหลัก (Main survey lines) หมายถึง ถนน อาคาร และคลอง โดยการใช้วิธีวดั ระยะออฟเซทออกจากจุดกาหนด ตามแนวเส้นสารวจหลักไปยัง รายละเอียดที่ตอ้ งการ จากรู ปเป็ นแสดงแนวเส้น BC การรังวัดเริ่ มจาก B ไปหาจุด C กลาง หน้ากระดาษมีเส้นคู่สีแดง(Double red center line) ใช้แสดงแทนแนวเส้นสารวจหลัก กาหนดจุด B อยูด่ า้ นล่างของกระดาษมีตาแหน่ง อยูบ่ นเส้นคู่ เขียนจุดกาหนดออฟเซทตามตาแหน่งสัมพันธ์ บนเส้นคู่ จากนั้นเขียนออฟเซททั้งด้านซ้ายและขวาของเส้นคู่ สาหรับตาแหน่งของรายละเอียดที่


สารวจมาพร้อมทั้งบอกระยะกากับ ข้อสาคัญในการเขียนต้องให้ตาแหน่งสัมพันธ์กนั อ่านง่าย ชัดเจน แต่ไม่จาเป็ นต้องตรงตามมาตราส่วน การบันทึกรายละเอียดอีกวิธีหนึ่งได้แก่ การบันทึกแบบใช้เส้นเดี่ยว (single line) ซึ่งเป็ นที่ นิยมใช้กนั โดยขีดเส้นกลางหน้ากระดาษแทนแนวเส้นรังวัด(Chain line) เขียนจุดกาหนดออฟเซท ลงตามแนวเส้นรังวัดจากนั้นลากเส้นออฟเซททั้งด้านซ้ายและขวาของแนวเส้นรังวัดเช่นเดียวกับวิธี เส้นคู่ ข้อดีของการบันทึกแบบเส้นคู่ คือ แบ่งจุดกาหนดออฟเซทของรายละเอียดที่อยูด่ า้ นซ้ายและ ด้านขวาของแนวเส้นรังวัด หรื อแนวเส้นสารวจหลัก ชัดเจน ไม่สบั สน ข้อเสียของเส้นคู่กค็ ือ รายละเอียดที่มีรูปร่ างเป็ นแนวยาวและมีความกว้าง เช่น ถนน คลอง เมื่อผ่านแนวเส้นคู่จะทาให้มี รู ปร่ างเยือ้ งกัน เนื่องจากต้องการให้ระยะตามแนวเส้นรังวัดหลักตรงกัน การบันทึกมีวิธีการ ดังภาพที่ 2.32


6.3 4.2

to C 55.0 3.2

6.3 4.2

7.2 10.9

to C 55.0 3.2

10.3 4.1

7.4

6.2 4.2

10.3

40.4

20.0

35.0

10.4

4.1

7.4

6.2 4.2

28.5

8.2

3.8

20.0 10.4

8.0

31.8 28.5 19.3

3.1

7.1

10.0

4.1 2.1 0.00 B

40.4 35.0

8.0

31.8

19.3 17.2

7.2 10.9

17.2 3.1

8.2

3.0

7.0

3.8

4.1 2.1

10.0

0.003.0 B

to A

7.0 to A

Line BC = 187.3 m.

Line BC = 187.3 m.

วิธีบนั ทึกรายละเอียดด้วยเส้นคู่

7.1

วิธีบนั ทึกรายละเอียดด้วยเส้นเดี่ยว

ภาพแสดงการบันทึกการเก็บรายละเอียดในสมุดสนาม


วัตถุประสงค์ 3. ปฏิบตั ิการสารวจด้วยโซ่ - เทป เพื่อการทาแผนที่ที่ดินได้ 4. เขียนรู ปแผนที่ที่ดินจากข้อมูลงานสนามได้ เครื่องมือ - อุปกรณ์ 6. โซ่ - เทปวัดระยะ 7. หลักเล็ง พร้อมขาตั้ง 8. ห่วงคะแนน 9. เครื่ องมือส่องฉาก 10. ลูกดิ่ง

จานวน 1 เส้น จานวน 2 ชุด จานวน 10 อัน จานวน 1 อัน จานวน 1 ลูก

ลาดับขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน 6. เดินสารวจบริ เวณพื้นที่ เพื่อแบ่งพื้นที่เป็ นรู ปสามเหลี่ยมสภาพดี 7. กาหนดแนวเส้นฐาน เส้นโยง เส้นตรวจ 8. วัดระยะเส้นฐาน เส้นโยง เส้นตรวจ และด้านประกอบสามเหลี่ยมทุกรู ป บันทึก ข้อมูลลงสมุดสนาม 9. เก็บรายละเอียดต่างๆ เช่น ถนน อาคาร ต้นไม้ ในบริ เวณที่สารวจ บันทึกข้อมูล แบบเส้นคู่ 10. นาข้อมูลการสารวจไปเขียนรู ปแผนที่ ข้ อควรระวัง 6. 1การแบ่งพื้นที่เป็ นรู ปสามเหลี่ยมจะต้องไม่มีมุมใดเล็กกว่า 30 และโตกว่า 120 7. สามเหลี่ยมทุกรู ปจะต้องมีเส้นฐาน เส้นโยงเพื่อตรวจสอบความถูกต้อง 8. ต้องวัดระยะด้านประกอบสามเหลี่ยมให้ครบทุกด้าน 9. เส้นตรวจควรกาหนดแนวเส้นที่ผา่ นสามเหลี่ยมครบทุกรู ป หรื อผ่านรู ปสามเหลี่ยมให้ มากที่สุด 10. การบันทึกข้อมูลจะต้องทาให้ชดั เจนถูกต้องตามวิธีการ


ตัวอย่ าง การวัดระยะผ่านสิ่ งกีดขวาง

เส้นโยง

เส้น offset เส้นโยง

เส้นโยง เส้นโยง

เส้นฐาน

เส้นตรวจ เส้นฐาน

เส้นฐาน เส้นโยง

เส้นตรวจ เส้นฐาน

ตัวอย่างการวางแนวเส้นสารวจและการเก็บรายละเอียด

เส้นโยง


ครั้งที่ ………………………………………………………..วันที่……../…………………/……… สถานที…………………………………………… อาจารย์ผสู้ อน……………………………….. ผูป้ ฏิบตั ิงาน 1) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 2) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 3) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 4) ……………………………………………………หน้าที่………………………………… 5) ……………………………………………………หน้าที่…………………………………

ภาพสเกตซ์ ข้อมูลการสารวจทาแผนที่ด้วยโซ่ – เทป


ข้ อมูลการรังวัดเก็บรายละเอียด


ภาพแผนที่จากการรังวัดข้อมูลภาคสนาม


สรุป ปัญหาอุปสรรค ข้ อเสนอแนะ และข้ อแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

8

หน้าที่

1

วันที่ : 29-3 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การสารวจด้ วยกล้องวัดมุม กล้องวัดมุม (Theodolite) เป็ นเครื่ องมือที่ใช้ในการวัดมุมทั้งมุมดิ่งและมุมราบ ใช้ในการสารวจทา แผนที่ สารวจเพื่อหาระยะทางราบและระยะทางดิ่ง หาค่าความต่างระดับของพื้นที่ ใช้ในการวางแนวตรง แนวโค้งของเส้นทาง วางผังงานก่อสร้าง ตรวจสอบแนวดิ่งของสิ่งก่อสร้าง กล้องวัดมุมมี 3 ประเภท คือ 1.Mechanical Theodolite เป็ นกล้องที่ใช้การอ่านค่ามุมจากจานองศา มีหลายแบบ เช่น Vernier Theodolite (เป็ นกล้องรุ่ นเก่า ปัจจุบนั ได้เลิกผลิตไปแล้ว) Scale Reading Theodolite Micrometer Theodolite

2.Electronic Theodolite เป็ นกล้องวัดมุมที่ใช้ระบบอิเลคทรอนิคส์ ในการแสดงผลค่ามุมที่วดั โดยจะ แสดงค่ามุมเป็ นตัวเลขที่หน้าจอ ทาให้สะดวกในการอ่านมากกว่าแบบอื่นและเป็ นที่นิยมใช้กนั มากในปัจจุบนั


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

8

หน้าที่

2

วันที่ : 29-3 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 3.Total Station Theodolite เป็ นการรวมกล้องวัดมุมและเครื่ องวัดระยะทางอิเลคทรอนิคส์ไว้ดว้ ยกัน มีหน่วยความจาสาหรับเก็บข้อมูลและสามารถประมวลผล หาค่าพิกดั ค่าระดับ ของจุดต่างได้อย่างรวดเร็ ว สามารถส่งข้อมูลจากกล้องเพื่อนาไปคานวณหรื อ Plot รู ป ด้วยคอมพิวเตอร์ได้โดยส่งข้อมูลทางสายเคเบิล ทา ให้ไม่มีความผิดพลาดที่เกิดจากการคัดลอกข้อมูล


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

8

หน้าที่

3

วันที่ : 29-3 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ กล้องวัดมุมแบ่งตามลักษณะการอ่านค่าองศา ได้เป็ น 4 ประเภท ได้แก่ 1.Vernier Theodolite เป็ นกล้องวัดมุมที่อ่านค่าองศาจากขีดส่วนแบ่งของจานองศาโดยตรง โดยใช้เวอร์ เนียช่วยอ่าน ทาให้อ่านค่ามุมได้ละเอียด แต่จะต้องใช้สายตาในการอ่านค่ามุมไม่มีเลนส์ขยาย ทาให้ไม่ สะดวกและอ่านผิดพลาดได้ง่าย เป็ นกล้องวัดมุมรุ่ นเก่าซึ่งไม่มีการผลิตและไม่มีการใช้งานในปัจจุบนั แล้ว

2 .Scale Reading Theodolite เป็ นกล้องวัดมุมที่มรี ะบบ Lens และ Prism จานองศาที่เป็ นแก้วหรื อที่ เรี ยกกันว่า แบบ Optical Theodolite ทาให้อ่านค่ามุมได้ง่ายกว่าชนิดแรก

3.Micrometer Theodolite เป็ นกล้องแบบ Optical Theodolite เช่นเดียวกับชนิดที่ 2 แต่จะมีระบบ Micrometer ช่วยในการอ่านค่าองศา ทาให้สามารถอ่านค่าองศาได้ละเอียดกว่า 2 ชนิดแรก


เนือ้ หากาอน

สัปดาห์ที่

8

หน้าที่

4

วันที่ : 29-3 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 3.Micrometer Theodolite เป็ นกล้องแบบ Optical Theodolite เช่นเดียวกับชนิดที่ 2 แต่จะมีระบบ Micrometer ช่วยในการอ่านค่าองศา ทาให้สามารถอ่านค่าองศาได้ละเอียดกว่า 2 ชนิดแรก

4. Digital Theodolite เป็ กล้องวัดมุมที่ใช้ระบบอิเลคทรอนิคส์ในการแสดงค่าองศา โดยจะปรากฏเป็ น ตัวเลขขึ้นที่จอภาพ ทาให้อ่านง่าย กล้องชนิดนี้เป็ นกล้องที่นิยมใช้กนั มากในปัจจุบนั เนื่องจากมีความ สะดวกและใช้งานง่าย ลดการผิดพลาดจากการอ่านค่าองศา ทางานได้เร็ วขึ้น และสามารถปรับเปลี่ยนค่า การวัดมุมได้หลายแบบ


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

8

หน้าที่

5

วันที่ : 29-3 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ส่ วนประกอบของกล้องวัดมุม กล้องวัดมุมมีหลายแบบ หลายรุ่ น แต่ละรุ่ นก็จะมีส่วนประกอบปลีกย่อยแตกต่างกันไป แต่ ส่วนประกอบหลักจะมีเหมือนๆ กัน ในที่น้ ีเป็ นรู ปแสดงส่วนประกอบของกล้องวัดมุมแบบ Digital ซึ่งเป็ น ชนิดที่ใช้กนั มากในปัจจุบนั และอนาคตอาจมีใช้กนั แต่กล้องประเภทนี้เท่านั้นเนื่องจากบริ ษทั ผูผ้ ลิต เครื่ องมือสารวจส่วนใหญ่ไม่ได้ผลิตกล้องแบบ Mechanical Theodolite แล้ว ในภาพที่ 3.1 และ ภาพที่ 3.2 เป็ นกล้อง SOKKIA รุ่ น DT500 สาหรับกล้องรุ่ นอื่นก็จะมีส่วนประกอบคล้ายๆกัน

ภาพที่ 3.1 แสดงส่วนประกอบของกล้องวัดมุม


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

สัปดาห์ที่

8

วันที่ : 29-3 ก.ค. 2552

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ภาพที่ 3.2แสดงส่วนประกอบของกล้องที่สาคัญ

เวลา :

หน้าที่

6


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

8

หน้าที่

7

วันที่ : 29-3 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ส่วนประกอบของกล้องที่สาคัญ คือ 1. หูหิ้วกล้อง สาหรับจับหิ้วกล้องเพื่อความสะดวกในการหยิบติดตั้ง เคลื่อนย้าย เก็บกล้อง 2. สกรู ยดึ หูหิ้ว สามารถยึดหรื อถอดหูหิ้วออกเพื่อติดตั้งอุปกรณ์ประกอบต่างๆ บนตัวกล้อง เช่น เครื่ องวัดระยะทาง เข็มทิศ 3. จุดกึ่งกลางแกนกล้อง เป็ นจุดสาหรับวัดระยะความสูงของกล้องจากหมุดตั้งกล้อง 4. ช่องใส่แบตเตอรี่ หากไม่ได้ใช้กล้องเป็ นเวลานานควรถอดแบตเตอรี่ ออก 5. ช่องส่งผ่านข้อมูล สาหรับต่อสายเคเบิลเพื่อส่งข้อมูลออกไปยังหน่วยเก็บความจาหรื อส่งไปยัง คอมพิวเตอร์เพื่อการประมวลผลต่อไป 6. แผงควบคุมการทางาน สาหรับการปรับค่าการวัดและการทางานของกล้อง 7. ควงยึดฐานกล้อง ใช้ยดึ หรื อถอดตัวกล้องออกเพื่อประกอบชุดเป้ าเล็ง (Traget) ในการสารวจทา วงรอบ 8. ฐานกล้อง เป็ นส่วนรับตัวกล้องมีเกลียวสาหรับยึดติดกับขาตั้งกล้อง 9. ควงยกระดับ หรื อ ควงสามเส้า สาหรับปรับกล้องให้ได้ระดับ 10. สกรู ปรับแก้หลอดระดับฟองกลม สาหรับปรับแก้หลอดระดับฟองกลมเมื่อเกิดการคลาดเคลื่อน 11. หลอดระดับฟองกลม สาหรับตรวจสอบระดับของกล้องแบบคร่ าวๆ 12. หน้าจอแสดงผล เป็ นส่วนแสดงค่ามุมราบ มุมดิ่ง และค่าต่างๆ 13. ช่องมองหัวหมุด สาหรับตรวจการตั้งกล้องให้ตรงกับหมุดสารวจแทนการใช้ลกู ดิ่ง สามารถหมุน ปรับให้เส้นศูนย์ดิ่งคมชัดได้ 14. ฝาครอบสายใยช่องมองหัวหมุด 15. ควงปรับความชัดช่องมองหัวหมุด สาหรับปรับความคมชัดของภาพให้ชดั เจน 16. เลนส์ปากกล้อง 17. ช่องใส่เข็มทิศ สาหรับประกอบเข็มทิศกับกล้องเพื่อวัดค่ามุมทิศ 18. ควงยึดกล้องทางราบ สาหรับยึดกล้องในแนวราบ 19. ควงสัมผัสทางราบ สาหรับส่ายหน้ากล้องในแนวราบไปยังเป้ าหมายอย่างละเอียด


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

8

หน้าที่

9

วันที่ : 29-3 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 20. หลอดระดับฟองยาว สาหรับตรวจสอบระดับของกล้องอย่างละเอียด 21. สกรู ปรับแก้หลอดระดับฟองยาว สาหรับปรับแก้หลอดระดับฟองกลมเมื่อเกิดการคลาดเคลื่อน 22. ควงยึดกล้องทางดิ่ง สาหรับยึดแกนกล้องในแนวดิ่ง 23. ควงสัมผัสทางดิ่ง สาหรับส่ายหน้ากล้องในแนวดิ่งไปยังเป้ าหมายอย่างละเอียด 24. ช่องมองภาพ เป็ นส่วนที่ใช้มองภาพเป้ าหมายที่สารวจ และปรับความคมชัดของเส้นสายใย 25. ควงปรับความชัดของภาพ สาหรับปรับความคมชัดของภาพที่ส่องให้ชดั เจน 26. ที่หมายเล็งจาลอง สาหรับเล็งหาเป้ าหมายแบบคร่ าวๆช่วยให้หาเป้ าหมายได้ง่ายขึ้น

การตั้งกล้องวัดมุม การตั้งกล้องวัดมุมให้ศนู ย์ดิ่งตรงหมุด มี 2 วิธี คือ 1. การตั้งโดยใช้ ลกู ดิง่ เป็ นวิธีที่ไม่ค่อยใช้กนั เนื่องจากแนวดิ่งซึ่งแขวนจากฐานกล้องจะไม่ตรงกับแนวแกน ดิ่งของตัวกล้องหากปรับควงสามเส้า ทั้ง 3 ตัวไม่เท่ากัน ทาให้กล้องได้ระดับแต่ดิ่งจริ งตามแกนดิ่งของ กล้อง ไม่ตรงกับแนวดิ่งจากลูกดิ่ง วิธีการปฏิบตั ิ มีดงั นี้ 1) นากล้องมาตั้งบนสามขาให้มีความสูงพอเหมาะกับผูใ้ ช้กล้อง แขวนลูกดิ่งที่สกรู ยดึ ตัวกล้อง ตั้งกล้อง ให้ดิ่งใกล้เคียงกับหมุดให้มากที่สุด ปรับควงสามเส้าทั้ง 3 ตัวให้สูงเท่าๆกัน และปรับขากล้องให้ Base plate อยูใ่ นแนวระดับให้มากที่สุด 2) ปรับระดับฟองกลมให้ได้ระดับ โดยเลื่อนขาตั้งกล้องขึ้น - ลง สังเกตได้ว่าถ้าฟองกลมไปทางด้านไหน แสดงว่าด้านนั้นสูง ให้ปรับขากล้องลง ปรับขาตั้งกล้องจนฟองกลมได้ระดับ แล้วเลื่อนตัวกล้องให้ดิ่ง ตรงกับหมุดโดยคลายสกรู ยดึ กล้อง เลื่อนตัวกล้องจนดิ่งตรงหมุด 3) ปรับฟองยาว โดยหมุนกล้องให้หลอดระดับฟองยาวขนานกับควงปรับระดับ 2 ตัว (2 ตัวไหนก็ได้) แล้วหมุนควงปรับระดับ 2 ตัวนี้เพื่อปรับฟองยาวให้ได้ระดับ โดยหมุนควงปรับระดับสวนทางกัน 4) หมุนกล้อง 90กับแนวเดิม หมุนควงปรับระดับตัวที่ 3 เพื่อปรับระดับฟองยาวให้ได้ระดับ แล้ว หมุนกล้องไปอีก 90 ตรวจสอบดูหลอดระดับฟองยาวอีกครั้ง ถ้าฟองยาวได้ระดับแสดงว่ากล้องได้ ระดับแล้วสามารถใช้วดั มุมต่อไปได้ ถ้าไม่ได้ระดับให้ทาขั้นที่ 3 และ4 อีก หากไม่ได้ระดับแสดงว่า หลอดระดับของกล้องคลาดเคลื่อนจะต้องทาการปรับแก้


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

8

หน้าที่

10

วันที่ : 29-3 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 2 การตั้งโดยใช้ กล้องเล็งหัวหมุด ( Optical plummet ) เป็ นวิธีที่ใช้กนั มากที่สุด และมีความละเอียดกว่า วิธีแรก เนื่องจากช่องเล็งหัวหมุดจะเล็งตามแกนดิ่งของกล้องโดยตรง ต่างกับวิธีแรกซึ่งถ้าดิ่งตรงหมุดแต่แกน ดิ่งของกล้องอาจจะเอียงก็ได้ ทาให้จุดตั้งกล้องไม่ตรงกับแกนดิ่งของกล้องจริ ง วิธีการปฏิบตั ิทาได้ดงั นี้ 1) นากล้องติดตั้งกับขาตั้ง ตามภาพที่ 3.3 โดยจะต้องปรับให้ควงสามเส้าสูงเท่ากันทุกตัว โดยประมาณช่วงกลางๆของช่วงสกรู ให้หมุนขึ้น-ลงได้ และให้ตวั กล้องอยูก่ ลาง Base plate พอดี การปรับ ควงสามเส้าให้เท่ากันทุกตัวจะช่วยให้ฐานกล้องขนานกับส่วนฐานรับกล้องของขาตั้งกล้อง เมื่อตั้งกล้องได้ ระดับแล้วหากดิ่งไม่ตรงเวลาเลื่อนตัวกล้องให้ตรงดิ่งระดับจะเคลื่อนไม่มากทาให้การปรับระดับง่ายขึ้น

ภาพที่ 3.3 แสดงการนากล้องติดตั้งกับขาตั้ง 2) ตั้งกล้องบนหัวหมุด โดยดูที่ช่องมองดิ่งถ้าเห็นว่าศูนย์ดิ่งใกล้เคียงกับหมุดแล้ว ให้ขยับให้ตรงดิ่ง โดยให้ขากล้องขาหนึ่งเป็ นจุดหลัก แล้วยกขาอีก 2 ขาลอยจากพื้นเล็กน้อย ขยับขากล้องจนศูนย์ดิ่งกล้องตรง หมุดพอดี ตามภาพที่ 3.4

ภาพที่ 3.4 แสดงการตั้งกล้องให้ศนู ย์ดิ่งตรงหมุด


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

8

หน้าที่

11

วันที่ : 29-3 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 3) ปรับระดับฟองกลมให้ได้ระดับ โดยเลื่อนขาตั้งกล้องขึ้น – ลง สังเกตได้ว่าถ้าฟองกลมไป ทางด้านไหนแสดงว่าด้านนั้นสูง ให้ปรับขากล้องด้านนั้นลง ปรับขาตั้งกล้องจนฟองกลมได้ระดับ แล้ว เลื่อนตัวกล้องให้ดิ่งตรงกับหมุดโดยคลายสกรู ยดึ กล้อง แล้วเลื่อนตัวกล้องจนดิ่งตรงหมุด การปรับฟอง กลมในขั้นตอนนี้ไม่ควรหมุนควงสามเส้าหรื อหมุนให้นอ้ ยที่สุดเพราะหากหมุนควงสามเส้ามากจะทาให้ศนู ย์ ดิ่งเคลื่อนมาก ดังแสดงในภาพที่ 3.5

ภาพที่ 3.5 แสดงการปรับระดับฟองกลม 4) ปรับฟองยาวโดยหมุนกล้องให้หลอดระดับฟองยาวขนานกับควงปรับระดับ 2 ตัว (ในที่น้ ีคือ สกรู 1 กับ 2 สังเกตว่าฟองยาวอยูด่ า้ นไหนแสดงว่าด้านนั้นสูง) แล้วหมุนควงปรับระดับ 2 ตัวนี้เพื่อปรับ ฟองยาวให้ได้ระดับ โดยหมุนควงปรับระดับสวนทางกัน หากหมุนสกรู ตามเข็มนาฬิการะดับจะสูงขึ้น หมุนทวนเข็มนาฬิการะดับจะต่าลง จากรู ปเมื่อหมุนตามทิศทางลูกศร ระดับด้านสกรู 1 จะสูงขึ้น และระดับ ด้านสกรู 2 จะต่าลง การหมุนสกรู ท้งั 2 ตัว ทาให้การหมุนสกรู นอ้ ยกว่าการหมุนตัวเดียว ศูนย์ดิ่งจะเคลื่อน ออกจากตาแหน่งน้อยกว่า ดังแสดงในภาพที่ 3.6 5) หมุนกล้องทามุม 90 กับแนวเดิม (แนว สกรู 1 – 2 ) แล้วหมุนควงปรับระดับตัวที่ 3 เพื่อปรับ ระดับฟองยาวให้ได้ระดับ แล้วหมุนกล้องไปอีก 90 ตรวจสอบดูหลอดระดับฟองยาวอีกครั้ง ถ้าฟองยาว อยูต่ รงกลางพอดี แสดงว่ากล้องได้ระดับแล้วให้ตรวจสอบศูนย์ดิ่งอีกครั้งหนึ่งหากศูนย์ดิ่งตรงหมุดพอดี ก็ สามารถทาการวัดมุมต่อไปได้ ถ้าไม่ได้ให้เลื่อนฐานกล้องให้ตรงศูนย์ดิ่งแล้วตรวจสอบปรับฟองยาวใหม่ ดังแสดงในภาพที่ 3.6


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

8

วันที่ : 29-3 ก.ค. 2552

1

เวลา :

3

1

2

3

12

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

3

ขึ้น

หน้าที่

ลง

1

2

3

ลง

2

1

2

ภาพที่ 3.6 แสดงการปรับระดับฟองยาว

6) หากปรับตามขั้นตอนที่ 5 แล้วกล้องไม่ได้ระดับให้ทาตามข้อ 4 และ 5 ใหม่ หากไม่ได้ระดับ แสดงว่าหลอดระดับของกล้องคลาดเคลื่อน จะต้องทาการปรับแก้กล้องก่อนนาไปใช้


ใบงานที่ 7

สัปดาห์ที่

หน้าที่

8

1

การตั้งกล้องวัดมุม วันที่ : 29-3 ก.ค. 2552 เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ จุดประสงค์ 1. ตั้งกล้องวัดมุมให้ได้ศนู ย์ดิ่งโดยใช้กล้องเล็งหมุด และตั้งระดับกล้องได้ภายในเวลาที่กาหนด 2. ปรับภาพและส่องที่หมายเล็งได้ ภายในเวลาที่กาหนด เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1. กล้องวัดมุมพร้อมขาตั้ง 2. หมุดไม้ 3. ตะปู 1 4. สีสเปย์

ลาดับขั้นการปฏิบัตงิ าน 1. ครู นากล่องบรรจุกล้องมาเปิ ดออกอธิบายวิธีการเปิ ดกล่องและการนากล้องเก็บลงกล่องให้ถกู ต้อง 2. นากล้องมาติดกับฐานขาตั้งของกล้อง และอธิบายส่วนประกอบของกล้องและการใช้งานของส่วน ต่างๆ อย่างละเอียด 3. สาธิตวิธีการตั้งกล้องตามขั้นตอนต่างๆ ตั้งแต่การตั้งศูนย์ดิ่งโดยการใช้กล้องเล็งหมุด การปรับระดับ ฟองกลม ฟองยาว การปรับภาพและการส่องที่หมายเล็ง 4. อธิบายวิธีการย้ายที่ต้งั กล้อง สาธิตให้นกั ศึกษาดูและลองทาตาม 5. ให้นกั ศึกษาฝึ กตั้งกล้องให้ได้ศนู ย์ดิ่ง ได้ระดับ และกาหนดจุดส่องที่หมายเล็งโดยให้นกั ศึกษาทา หลายๆ ครั้ง จนสามารถทาได้ภายในเวลาที่กาหนด 6. บันทึกข้อมูลการปฏิบตั ิ รายงานผลการปฏิบตั ิในสมุดสนาม


ใบงานที่ 7

สัปดาห์ที่

หน้าที่

8

2

การตั้งกล้องวัดมุม วันที่ : 29-3 ก.ค. 2552 เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ข้ อควรระวัง 1. ก่อนเปิ ดกล่องบรรจุจะต้องวางกล่องให้อยูใ่ นลักษณะที่ถกู ต้อง 2. การย้ายกล้องต้องตรวจสอบสกรู ยดึ ฐานกล้องก่อน 3. การเปลี่ยนแนวเล็งของกล้องต้องตรวจสอบสกรู ลอ๊ คหน้ากล้องก่อน 4. ห้ามนักศึกษาปฏิบตั ิการใดๆเช่นหมุนปรับชิ้นส่วนของกล้องก่อนได้รับอนุญาต

การประเมินผล 1. การปฏิบตั ิงานของนักศึกษา 2. ทดสอบการปฏิบตั ิเป็ นรายบุคคล ตั้งแต่การเปิ ดกล่องและการเก็บกล้องเข้าที่ การตั้งดิ่ง ระดับการ ส่องไปยังเป้ าหมายที่กาหนด การปรับระยะชัด และเส้นสายใย 3. จากการรายงานผลการปฏิบตั ิงานในสมุดสนาม ข้ อแนะนา 1. กาชับให้นกั ศึกษาปฏิบตั ิตามวิธีการใช้งานและการระวังรักษากล้องวัดมุมอย่างเคร่ งครัด 2. ควรสาธิตให้นกั ศึกษาดูและลองปฏิบตั ิตามขั้นตอนทีละขั้นเพื่อไม่ให้นกั ศึกษาสับสน 3. ให้นกั ศึกษาทาโดยไม่กาหนดเวลาก่อนและฝึ กให้เร็ วขึ้นจนทาได้ตามเวลาที่กาหนด


วิทยาลัยเทคนิคสั ตหีบ แผนกวิชาช่ างก่ อสร้ าง งาน การตั้งกล้ องวัดมุม

วิชา สารวจ 1

การตั้งกล้องวัดมุม การตั้งกล้องวัดมุมให้ศนู ย์ดิ่งตรงหมุด มี 2 วิธี คือ 1. การตั้งโดยใช้ ลกู ดิง่ เป็ นวิธีที่ไม่ค่อยใช้กนั เนื่องจากแนวดิ่งซึ่งแขวนจากฐานกล้องจะไม่ ตรงกับแนวแกนดิ่งของตัวกล้องหากปรับควงสามเส้า ทั้ง 3 ตัวไม่เท่ากัน ทาให้กล้องได้ระดับแต่ดิ่ง จริ งตามแกนดิ่งของกล้อง ไม่ตรงกับแนวดิ่งจากลูกดิ่ง วิธีการปฏิบตั ิ มีดงั นี้ 1) นากล้องมาตั้งบนสามขาให้มีความสูงพอเหมาะกับผูใ้ ช้กล้อง แขวนลูกดิ่งที่สกรู ยดึ ตัวกล้อง ตั้งกล้องให้ดิ่งใกล้เคียงกับหมุดให้มากที่สุด ปรับควงสามเส้าทั้ง 3 ตัวให้สูงเท่าๆกัน และปรับขา กล้องให้ Base plate อยูใ่ นแนวระดับให้มากที่สุด 2) ปรับระดับฟองกลมให้ได้ระดับ โดยเลื่อนขาตั้งกล้องขึ้น - ลง สังเกตได้ว่าถ้าฟองกลมไป ทางด้านไหนแสดงว่าด้านนั้นสูง ให้ปรับขากล้องลง ปรับขาตั้งกล้องจนฟองกลมได้ระดับ แล้ว เลื่อนตัวกล้องให้ดิ่งตรงกับหมุดโดยคลายสกรู ยดึ กล้อง เลื่อนตัวกล้องจนดิ่งตรงหมุด 3) ปรับฟองยาว โดยหมุนกล้องให้หลอดระดับฟองยาวขนานกับควงปรับระดับ 2 ตัว (2 ตัว ไหนก็ได้) แล้วหมุนควงปรับระดับ 2 ตัวนี้เพื่อปรับฟองยาวให้ได้ระดับ โดยหมุนควงปรับระดับ สวนทางกัน 4) หมุนกล้อง 90กับแนวเดิม หมุนควงปรับระดับตัวที่ 3 เพื่อปรับระดับฟองยาวให้ได้ ระดับ แล้วหมุนกล้องไปอีก 90 ตรวจสอบดูหลอดระดับฟองยาวอีกครั้ง ถ้าฟองยาวได้ระดับ แสดงว่ากล้องได้ระดับแล้วสามารถใช้วดั มุมต่อไปได้ ถ้าไม่ได้ระดับให้ทาขั้นที่ 3 และ4 อีก หาก ไม่ได้ระดับแสดงว่าหลอดระดับของกล้องคลาดเคลื่อนจะต้องทาการปรับแก้ 2. การตั้งโดยใช้ กล้องเล็งหัวหมุด ( Optical plummet ) เป็ นวิธีที่ใช้กนั มากที่สุด และมีความ ละเอียดกว่าวิธีแรก เนื่องจากช่องเล็งหัวหมุดจะเล็งตามแกนดิ่งของกล้องโดยตรง ต่างกับวิธีแรก ซึ่งถ้าดิ่งตรงหมุดแต่แกนดิ่งของกล้องอาจจะเอียงก็ได้ ทาให้จุดตั้งกล้องไม่ตรงกับแกนดิ่งของ กล้องจริ ง วิธีการปฏิบตั ิทาได้ดงั นี้ 1) นากล้องติดตั้งกับขาตั้ง ตามภาพที่ 3.11 โดยจะต้องปรับให้ควงสามเส้าสูงเท่ากันทุกตัว โดยประมาณช่วงกลางๆของช่วงสกรู ให้หมุนขึ้น-ลงได้ และให้ตวั กล้องอยูก่ ลาง Base plate พอดี การปรับควงสามเส้าให้เท่ากันทุกตัวจะช่วยให้ฐานกล้องขนานกับส่วนฐานรับกล้องของขาตั้งกล้อง เมื่อตั้งกล้องได้ระดับแล้วหากดิ่งไม่ตรงเวลาเลื่อนตัวกล้องให้ตรงดิ่งระดับจะเคลื่อนไม่มากทาให้ การปรับระดับง่ายขึ้น


ภาพแสดงการนากล้องติดตั้งกับขาตั้ง 2) ตั้งกล้องบนหัวหมุด โดยดูที่ช่องมองดิ่งถ้าเห็นว่าศูนย์ดิ่งใกล้เคียงกับหมุดแล้ว ให้ขยับ ให้ตรงดิ่งโดยให้ขากล้องขาหนึ่งเป็ นจุดหลัก แล้วยกขาอีก 2 ขาลอยจากพื้นเล็กน้อย ขยับขากล้อง จนศูนย์ดิ่งกล้องตรงหมุดพอดี ตามภาพที่ 3.12

ภาพแสดงการตั้งกล้องให้ศนู ย์ดิ่งตรงหมุด 3) ปรับระดับฟองกลมให้ได้ระดับ โดยเลื่อนขาตั้งกล้องขึ้น – ลง สังเกตได้ว่าถ้าฟองกลมไป ทางด้านไหนแสดงว่าด้านนั้นสูง ให้ปรับขากล้องด้านนั้นลง ปรับขาตั้งกล้องจนฟองกลมได้ ระดับ แล้วเลื่อนตัวกล้องให้ดิ่งตรงกับหมุดโดยคลายสกรูยดึ กล้อง แล้วเลื่อนตัวกล้องจนดิ่งตรง หมุด การปรับฟองกลมในขั้นตอนนี้ไม่ควรหมุนควงสามเส้าหรื อหมุนให้นอ้ ยที่สุดเพราะหาก หมุนควงสามเส้ามากจะทาให้ศนู ย์ดิ่งเคลื่อนมาก ดังแสดงในภาพที่ 3.13

ภาพแสดงการปรับระดับฟองกลม 4) ปรับฟองยาวโดยหมุนกล้องให้หลอดระดับฟองยาวขนานกับควงปรับระดับ 2 ตัว (ในที่น้ ี คือ สกรู 1 กับ 2 สังเกตว่าฟองยาวอยูด่ า้ นไหนแสดงว่าด้านนั้นสูง) แล้วหมุนควงปรับระดับ 2 ตัวนี้เพื่อปรับฟองยาวให้ได้ระดับ โดยหมุนควงปรับระดับสวนทางกัน หากหมุนสกรู ตามเข็ม


นาฬิการะดับจะสูงขึ้น หมุนทวนเข็มนาฬิการะดับจะต่าลง จากรู ปเมื่อหมุนตามทิศทางลูกศร ระดับด้านสกรู 1 จะสูงขึ้น และระดับด้านสกรู 2 จะต่าลง การหมุนสกรู ท้งั 2 ตัว ทาให้การหมุน สกรู นอ้ ยกว่าการหมุนตัวเดียว ศูนย์ดิ่งจะเคลื่อนออกจากตาแหน่งน้อยกว่า ดังแสดงในภาพที่ 3.14 5) หมุนกล้องทามุม 90 กับแนวเดิม (แนว สกรู 1 – 2 ) แล้วหมุนควงปรับระดับตัวที่ 3 เพื่อ ปรับระดับฟองยาวให้ได้ระดับ แล้วหมุนกล้องไปอีก 90 ตรวจสอบดูหลอดระดับฟองยาวอีก ครั้ง ถ้าฟองยาวอยูต่ รงกลางพอดี แสดงว่ากล้องได้ระดับแล้วให้ตรวจสอบศูนย์ดิ่งอีกครั้งหนึ่งหาก ศูนย์ดิ่งตรงหมุดพอดี ก็สามารถทาการวัดมุมต่อไปได้ ถ้าไม่ได้ให้เลื่อนฐานกล้องให้ตรงศูนย์ดิ่ง แล้วตรวจสอบปรับฟองยาวใหม่ ดังแสดงในภาพที่ 3.14 3

ขึ้น

3

1

2

3

1

ลง

1

2

3

ลง

2

1

2

ภาพ แสดงการปรับระดับฟองยาว 6) หากปรับตามขั้นตอนที่ 5 แล้วกล้องไม่ได้ระดับให้ทาตามข้อ 4 และ 5 ใหม่ หากไม่ได้ระดับ แสดงว่าหลอดระดับของกล้องคลาดเคลื่อน จะต้องทาการปรับแก้กล้องก่อนนาไปใช้


ครั้งที่ ………………………………………………………..วันที่……../…………………/……… สถานที…………………………………………… อาจารย์ผสู้ อน……………………………….. ผูป้ ฏิบตั ิงาน 1) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… บันทึกผลการปฏิบัตงิ าน ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… สรุป ปัญหาอุปสรรค ข้ อเสนอแนะ และข้ อแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

9

วันที่ : 6-10 ก.ค.2552

หน้าที่

1

เวลา :

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การวัดมุมราบ 1. การวัดมุมทิศทาง (Direction Angle) เป็ นวิธีการวัดมุมที่ใช้ในการทาวงรอบและงานทัว่ ๆไปมากกว่าวิธี อื่น การส่องกล้องอ่านค่ามุมทาได้ 2 หน้า คือ กล้องหน้าซ้าย และกล้องหน้าขวา ถ้ากล้องเป็ นกล้องหน้าซ้าย จานองศาดิ่งจะอยูท่ างซ้ายมือของผูส้ ่องกล้อง ถ้ากล้องเป็ นกล้องหน้าขวา จานองศาดิ่งจะอยูท่ างขวามือของ ผูส้ ่องกล้องขณะส่อง เมื่อใช้กล้องทั้งสองหน้าค่าที่อ่านจากจานองศาราบส่องไปที่จุดเดียวกันของกล้องหน้า ซ้ายและหน้าขวา จะได้ค่ามุมราบต่างกัน 180 องศา และค่ามุมดิ่งจะรวมกันได้ 360 องศา การวัดมุมทิศทาง แสดงในภาพที่3.7 A

C

812030 B

ภาพที่ 3.7 แสดงการวัดมุมทิศทาง จากภาพที่ 3.15 ต้องการวัดมุม ABC สามารถทาได้ ดังนี้ 1) ตั้งกล้องที่จุด B โดยให้กล้องเป็ นหน้าซ้าย ส่องเป้ าหมายและตั้งองศาราบของกล้องให้เป็ น 00000 ที่หมุด A กาหนดให้เป็ นธงหลัง (กล้องแบบ Repeating จะต้อง Set 00000องศา ก่อน แล้วจึง ส่องไปที่หมุด A กล้อง Direction จะต้องส่องกล้องไปที่หมุด A ก่อนแล้วจึงปรับสกรู Set 00000องศา) ล๊อคกล้องในแนวราบไว้ 2) เปิ ดมุมราบโดยคลายสกรู ยดึ จานองศา หมุนกล้องส่องหมุด C กาหนดให้เป็ นธงหลัง อ่านค่ามุม ราบ ได้ 812030 (กล้องยังเป็ นหน้าซ้าย) บันทึกค่ามุมลงในสมุดสนาม 3) หมุนแกนกล้องเทเลสโคป ในแนวดิ่ง กลับเป็ นกล้องหน้าขวา เปิ ดมุมราบไปส่ องที่หมุด A อ่านค่ามุมราบ ได้

ค่ามุม 1800010 (ถ้าไม่มีค่าคลาดเคลื่อนจะต้องอ่านได้ 1800000อย่างไรก็ตามค่าคลาดเคลื่อนไม่ควรเกิน  20) จดบันทึกข้อมูลลงสมุดสนาม


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

หน้าที่

9

วันที่ : 6-10 ก.ค.2552

2

เวลา :

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

4) เปิ ดมุมราบไปส่องที่หมุด C อ่านค่ามุมราบได้ 1612030 (ค่ามุมต่างกับหน้าซ้าย 1800000 พอดี แสดงว่าไม่มีค่าคลาดเคลื่อน) จดบันทึกข้อมูลลงสมุดสนาม 5) นาข้อมูลไปคานวณหาค่ามุมราบ โดยการนาค่าที่วดั ได้จากหน้าซ้ายและหน้าขวามาหาค่าเฉลี่ย โดย จะมีความถูกต้องมากกว่าการวัดกล้องโดยใช้กล้องหน้าเดียว การวัดมุมตามวิธีการนี้เป็ นการวัดมุมโดยใช้กล้องสองหน้า เพื่อเป็ นการตรวจสอบและป้ องกันการ ผิดพลาดจากการทางาน ซึ่งเป็ นการวัดมุมหน้าซ้าย 1 ครั้ง และหน้าขวา 1 ครั้งหน้า เรี ยกว่า 1 DR หรื อ 1 LR หากต้องการวัดมุมให้ละเอียดและถูกต้องมากขึ้น ก็อาจใช้วธิ ีการวัดมุมซ้ า เช่นการวัดมุมหน้าซ้าย 5 ครั้ง และ หน้าขวา 5 ครั้ง แล้วนาค่ามุมมาหาค่าเฉลี่ย จะได้ค่ามุมที่ละเอียดถูกต้องมากขึ้น ตารางที่ 3.1 ตัวอย่างการบันทึกข้อมูลการวัดมุมทิศทาง 1 DR จุดตั้งกล้อง ที่หมาย หน้ากล้อง ค่าองศาราบ B B

A C

L L

00000 812030

A C

R R

1800010 2612030 ค่าเฉลี่ย

มุมราบ

หมายเหตุ A

812030 B

812020 812025

C


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

9

หน้าที่

3

วันที่ : 6-10 ก.ค.2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 2. การวัดมุมภาคของทิศ ( Azimuth ย่อ Az ) การวัดมุมภาคของทิศเพื่อกาหนดแนวของเส้นสารวจจากแนว ทิศเหนือซึ่งใช้เป็ นแนวอ้างอิงในการเขียนแผนที่ การคานวณค่าพิกดั ฉาก นอกจากนี้ยงั ใช้ในการสารวจ เส้นทาง (Route Survey) ที่ตอ้ งการวัดมุมภาคของทิศของแนวทาง ค่ามุมภาคของทิศเป็ นค่ามุมที่นบั เนื่องมาจากเส้นเมอริ เดียน (เส้นสมมติที่ลากเชื่อมระหว่างขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้) ซึ่งในงานสารวจจะมี แนวเมอริ เดียนหลายประเภท ได้แก่ เมอริ เดียนจริ ง (True Meridian) เมอริ เดียนแม่เหล็ก (Magnatic Meridian) และเมอริ เดียนสมมุติ (Assumed Meridian) การที่จะใช้แนวแนวเมอริ เดียนแบบใดจะขึ้นอยูก่ บั สภาวะของงานในสนาม ในงานก่อสร้างทัว่ ๆไปจะใช้แนวเมอริ เดียนแม่เหล็ก เป็ นแนวอ้างอิง ดูภาพที่ 3.8 ประกอบ N

A

B

C

ภาพที่ 3.8 แสดงการวัดมุมทิศทาง จากภาพที่ 3.8 วิธีการปฏิบตั ิ ทาได้ดงั นี้ 1) ตั้งกล้องให้ตรงหมุด A แล้วติดเข็มทิศเข้ากับตัวกล้อง ให้กล้องเป็ นหน้าซ้าย Set ค่ามุมราบของ กล้องให้เป็ น 00000 แล้วหมุนกล้องให้ตรงแนวทิศเหนือตามเข็มทิศที่ติดอยูก่ บั ตัวกล้อง (ถ้าเป็ น กล้องแบบ Direction ต้องหมุนหน้ากล้องให้ตรงทิศเหนือก่อนแล้วจึง Set ค่ามุมราบ ให้เป็ น 00000 2) เปิ ดมุมราบไปส่องหมุดตามแนวที่ตอ้ งการวัดมุมภาคของทิศ ตามรู ปคือหมุด B และ C จะได้ค่ามุม ภาคของทิศ ตามแนว AB และ AC โดยการวัดด้วยกล้องหน้าซ้าย 3) หมุนแกนกล้องเทเลสโคป ตามแนวดิ่งเป็ นกล้องหน้าขวา ส่องไปที่ทิศเหนือ เปิ ดมุมราบส่องหมุด B และ C จะได้ค่ามุมภาคของทิศ ตามแนว AB และ AC โดยการวัดด้วยกล้องหน้าขวา 4) นาข้อมูลจาการวัดด้วยกล้องทั้งสองหน้า ไปคานวณหาค่าเฉลี่ย ตามตาราง


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

9

หน้าที่

4

วันที่ : 6-10 ก.ค.2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ตารางที่ 3.2 ตัวอย่าง การบันทึกข้อมูลการวัดมุมภาคของทิศ 1 DR หน้ากล้อง มุมภาคของทิศ จุดตั้งกล้อง ที่หมาย หมายเหตุ เฉลี ย ่ L R A North 00000 1800000 N B B 312030 2112020 312025 C 1102510 1902510 1102510 A

ค่ามุมภาคของทิศเฉลี่ย

= L  (R  180) 2

ค่ามุมภาคของทิศเฉลี่ย BA

=

ค่ามุมภาคของทิศเฉลี่ย BC

= 312025     = 11025 10  (19025 10  180) 2 = 1102510

312030  (2112020  180) 2

C


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

หน้าที่

9

5

เวลา :

วันที่ : 6-10 ก.ค.2552

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

2 การวัดมุมเห (Deflection Angle ) การวัดมุมเหใช้ในการกาหนดโค้งราบต่างๆ ในการสารวจ เส้นทาง การวางแนวถนน ทางรถไฟ สายส่งไฟฟ้ าแรงสูง ท่อระบายน้ า คลองส่งน้ า ดูภาพที่ 3.9 ประกอบ B CL

C L

 322520Rt C L

D

 303020Lt C

ภาพที่ 3.9 แสดงการวัดมุมเห จากภาพที่ 3.9 แนว ABCD เป็ นแนวศูนย์กลางของถนนที่จะสร้าง การวัดมุมเหที่จุด B ทาได้ดงั นี้ 1) ตั้งกล้องที่จุด B ให้เป็ นกล้องหน้าซ้าย Set ค่ามุมราบ 00000 ส่องหมุด A (ถ้าเป็ นกล้องแบบ Direction ให้ส่องหมุด A ก่อน แล้วจึงSet ค่ามุมราบ ) 2) หมุนแกนกล้องเทเลสโคป ตามแนวดิ่งกลับเป็ นกล้องหน้าขวา หน้ากล้องจะอยูใ่ นแนวเส้นประซึ่งเป็ น แนวตรงกับแนว AB ค่ามุมราบยังคงเป็ น 00000แต่ค่ามุมดิ่งจะเปลี่ยนไป(ในที่น้ ีจะวัดมุมราบเท่านั้น) 3) เปิ ดมุมราบส่องหมุด C ได้ค่ามุมราบ 322520 จดบันทึกข้อมูลในสมุดสนาม 4) เปิ ดมุมราบไปส่องที่จุด A กล้องยังเป็ นหน้าขวา อ่านค่ามุมราบได้ 1800010 5) หมุนแกนกล้องเทเลสโคปในแนวดิ่งกลับเป็ นกล้องหน้าซ้าย หน้ากล้องจะอยูใ่ นแนวเส้นประซึ่งเป็ นแนว ตรงกับแนว AB อ่านค่ามุมราบได้ 2122520 บันทึกข้อมูลในสมุดสนาม ตารางที่ 3.3 ตัวอย่างการบันทึกข้อมูลการวัดมุมเห 1 DR จุดตั้งกล้อง ที่หมาย หน้ากล้อง ค่าองศาราบ มุมเห หมายเหตุ A L 00000 PI 5+550 C L 322520 322520 Rt KM.5+550 B C B A R 1800010 A C R 2122520 322510 Rt เฉลี่ย 322515Rt A


ใบงานที่ 8

สัปดาห์ที่

หน้าที่

การวัดมุมราบด้วยกล้องวัดมุม

9

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 6-10 ก.ค.2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ จุดประสงค์ 1. วัดค่ามุมราบแบบมุมทิศทางและมุมภาคของทิศได้ เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1. กล้องวัดมุมพร้อมขาตั้ง 2. หมุดไม้ 3. ตะปู 1” 4. สีสเปย์

จานวน จานวน จานวน จานวน

1 3 3 1

ชุด หมุด ตัว กระป๋ อง

ลาดับขั้นการปฏิบัตงิ าน 1. ครู สาธิตวิธีการวัดมุมราบด้วยกล้องวัดมุม ตั้งแต่การ Set ค่ามุม 0 องศา ไปยังที่หมาย การเปิ ด มุม และการอ่านค่ามุมทั้งมุมราบและมุมดิ่ง การใช้เข็มทิศประกอบกับกล้อง 2. กาหนดจุด 3 จุด A B C ห่างกันพอควร ให้จุด A เป็ นธงหลัง จุด B เป็ นจุดตั้งกล้อง และจุด C เป็ นธงหน้า ตอกหมุดไม้ที่จุดทั้ง 3 ให้แน่น แล้วตอกตะปู 1” บนหมุดไม้ 3. ให้ นักศึกษาปฏิบัตกิ ารวัดมุมทิศทาง โดยตั้งกล้องที่จุด B ให้เป็ นกล้องหน้าซ้าย ส่ องหมุด Set 0 ที่จุด A อ่านค่ามุมทั้งมุมราบ และมุมดิ่ง บันทึกข้อมูลลงสมุดสนาม 4. เปิ ดมุมส่องจุด C อ่านค่ามุมราบและมุมดิ่ง หน้าซ้าย บันทึกข้อมูลลงสมุดสนาม 5. หมุนแกนกล้องกลับเป็ นกล้องหน้าขวา เปิ ดมุมกล้องส่องจุด A อ่านค่ามุมทั้งมุมราบ และมุมดิ่ง บันทึกข้อมูลลงสมุดสนาม 6. เปิ ดมุมส่องจุด C อ่านค่ามุมราบและมุมดิ่ง หน้าขวา บันทึกข้อมูลลงสมุดสนาม 7. คานวณค่ามุมเฉลี่ยทั้งมุมราบและมุมดิ่ง


ใบงานที่ 8

สัปดาห์ที่

หน้าที่

การวัดมุมราบด้วยกล้องวัดมุม

9

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 6-10 ก.ค.2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 8. ให้ นกั ศึกษาปฏิบัตกิ ารวัดมุมภาคของทิศ โดยตั้งกล้องที่จุด B ให้เป็ นกล้องหน้าซ้าย ส่องหมุด Set 0องศา ที่ทิศเหนือ โดยใช้เข็มทิศติดกับกล้องวัดมุม 9. เปิ ดมุมส่องจุด A และ C อ่านค่ามุมราบ หน้าซ้าย มุมที่ได้จะเป็ นมุมภาคของทิศไป Az . BA และ Az . BC ตามลาดับ บันทึกข้อมูลลงสมุดสนาม 10. หมุนแกนกล้องกลับเป็ นกล้องหน้าขวา เปิ ดมุมกล้องส่องจุด A และ C มุมที่ได้จะเป็ นมุมภาค ของทิศกลับ Az . BA และ Az . BC ตามลาดับ บันทึกข้อมูลลงสมุดสนาม 11. คานวณค่ามุมภาคของทิศเฉลี่ย 12. บันทึกข้อมูลการปฏิบตั ิ รายงานผลการปฏิบตั ิในสมุดสนาม ตัวอย่างการบันทึกข้อมูลการวัดมุมทิศทาง 1 DR จุดตั้งกล้อง ที่หมาย หน้ากล้อง ค่าองศาราบ B B

มุมราบ

A

L

00000

C

L

812030

A

R

1800010

C

R

2612030

812020

ค่าเฉลี่ย

812025

หมายเหตุ A

812030 B

C


ใบงานที่ 8

สัปดาห์ที่

หน้าที่

การวัดมุมราบด้วยกล้องวัดมุม

9

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 6-10 ก.ค.2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ข้ อควรระวัง 1. การ Set 0 องศาและการเปิ ดมุมจะต้องใช้ สกรู ลอ๊ ค และ สกรู ส่ายหน้ากล้องให้ถกู ต้อง 2. ก่อนเปิ ดมุมต้องตรวจสอบว่ากล้องเล็งไปยังที่หมายหัวตะปูอย่างแม่นยาแล้ว โดยให้จุดกึ่งกลาง สายใยตรงกับหัวตะปูพอดี และค่ามุมราบอยูท่ ี่ 0 องศา 3. ตรวจสอบค่ามุมหน้าซ้ายกับหน้าขวา ค่ามุมราบจะต่างกันเท่ากับ 180 องศา มุมดิ่งรวมกันจะได้ เท่ากับ 360 องศา หากคลาดเคลื่อนไปมากแสดงว่าการทางานผิดพลาด จะต้อง Set 0 องศา และเปิ ด มุมใหม่ 4. การอ่านจะต้องปรับภาพและสายใยให้ชดั ที่สุด การประเมินผล 1. การปฏิบตั ิงานของนักศึกษา 2. จากการรายงานผลการปฏิบตั ิงานในสมุดสนาม 3. ค่าคลาดเคลื่อนมุมหน้าซ้ายกับหน้าขวาจะต้องไม่เกิน 20 ฟิ ลิบดา ข้ อแนะนา 1. การกาหนดจุดควรให้ระยะห่างกันไม่นอ้ ยกว่า 50 เมตร เพื่อให้เป้ าที่ส่องเล็กการจับที่หมายจะมี ความคลาดเคลื่อนน้อยกว่าเป้ าใหญ่ 2. การกาหนดจุด A กับจุด C ควรให้มุมกว้างพอประมาณ และให้มีระดับต่างกัน เพื่อให้ฝึกการเปิ ด มุมและอ่านค่ามุมดิ่งได้ดว้ ย


วิทยาลัยเทคนิคสั ตหีบ แผนกวิชาช่ างก่ อสร้ าง งาน การวัดมุมราบด้ วยกล้ องวัดมุม

วิชา สารวจ 1

การวัดมุมราบ 1. การวัดมุมทิศทาง (Direction Angle) เป็ นวิธีการวัดมุมที่ใช้ในการทาวงรอบและงานทัว่ ๆไป มากกว่าวิธีอื่น การส่องกล้องอ่านค่ามุมทาได้ 2 หน้า คือ กล้องหน้าซ้าย และกล้องหน้าขวา ถ้า กล้องเป็ นกล้องหน้าซ้าย จานองศาดิ่งจะอยูท่ างซ้ายมือของผูส้ ่องกล้อง ถ้ากล้องเป็ นกล้องหน้าขวา จานองศาดิ่งจะอยูท่ างขวามือของผูส้ ่องกล้องขณะส่อง เมื่อใช้กล้องทั้งสองหน้าค่าที่อ่านจากจาน องศาราบส่องไปที่จุดเดียวกันของกล้องหน้าซ้ายและหน้าขวา จะได้ค่ามุมราบต่างกัน 180 องศา และค่ามุมดิ่งจะรวมกันได้ 360 องศา การวัดมุมทิศทางแสดงในภาพที่ 3.8 A

C

812030 B

ภาพที่ 3.15 แสดงการวัดมุมทิศทาง จากภาพที่ 3.15 ต้องการวัดมุม ABC สามารถทาได้ ดังนี้ 1) ตั้งกล้องที่จุด B โดยให้กล้องเป็ นหน้าซ้าย ส่ องเป้ าหมายและตั้งองศาราบของกล้องให้เป็ น 00000 ที่

หมุด A กาหนดให้เป็ นธงหลัง (กล้องแบบ Repeating จะต้อง Set 00000องศา ก่อน แล้วจึงส่ องไปที่ หมุด A กล้อง Direction จะต้องส่ องกล้องไปที่หมุด A ก่อนแล้วจึงปรับสกรู Set 00000องศา) ล๊อ คกล้องในแนวราบไว้ 2) เปิ ดมุมราบโดยคลายสกรู ยดึ จานองศา หมุนกล้องส่ องหมุด C กาหนดให้เป็ นธงหลัง อ่านค่ามุมราบ ได้ 812030 (กล้องยังเป็ นหน้าซ้าย) บันทึกค่ามุมลงในสมุดสนาม 3) 3) หมุนแกนกล้องเทเลสโคป ในแนวดิ่ง กลับเป็ นกล้องหน้าขวา เปิ ดมุมราบไปส่ องที่หมุด A อ่านค่า มุมราบ ได้ค่ามุม 1800010 (ถ้าไม่มีค่าคลาดเคลื่อนจะต้องอ่านได้ 1800000อย่างไรก็ตามค่า คลาดเคลื่อนไม่ควรเกิน  20) จดบันทึกข้อมูลลงสมุดสนาม 4) 4) เปิ ดมุมราบไปส่ องที่หมุด C อ่านค่ามุมราบได้ 1612030 (ค่ามุมต่างกับหน้าซ้าย 1800000พอดี แสดงว่าไม่มีค่าคลาดเคลื่อน) จดบันทึกข้อมูลลงสมุดสนาม

5) นาข้อมูลไปคานวณหาค่ามุมราบ โดยการนาค่าที่วดั ได้จากหน้าซ้ายและหน้าขวา มาหาค่าเฉลี่ย โดยจะ มีความถูกต้องมากกว่าการวัดกล้องโดยใช้กล้องหน้าเดียว


การวัดมุมตามวิธีการนี้เป็ นการวัดมุมโดยใช้กล้องสองหน้า เพื่อเป็ นการตรวจสอบและ ป้ องกันการผิดพลาดจากการทางาน ซึ่งเป็ นการวัดมุมหน้าซ้าย 1 ครั้ง และหน้าขวา 1 ครั้งหน้า เรี ยกว่า 1 DR หรื อ 1 LR หากต้องการวัดมุมให้ละเอียดและถูกต้องมากขึ้น ก็อาจใช้วิธีการวัดมุมซ้ า เช่นการวัดมุมหน้าซ้าย 5 ครั้ง และหน้าขวา 5 ครั้ง แล้วนาค่ามุมมาหาค่าเฉลี่ย จะได้ค่ามุมที่ละเอียด ถูกต้องมากขึ้น ตารางที่ 3.1 ตัวอย่างการบันทึกข้อมูลการวัดมุมทิศทาง 1 DR จุดตั้งกล้อง ที่หมาย หน้ากล้อง ค่าองศาราบ มุมราบ หมายเหตุ B B

A C A C

L L R R

00000 812030 1800010 2612030 ค่าเฉลี่ย

A

812030 B

812020 812025

C

2. การวัดมุมภาคของทิศ ( Azimuth ย่อ Az ) การวัดมุมภาคของทิศเพื่อกาหนดแนวของเส้นสารวจ จากแนวทิศเหนือซึ่งใช้เป็ นแนวอ้างอิงในการเขียนแผนที่ การคานวณค่าพิกดั ฉาก นอกจากนี้ยงั ใช้ในการสารวจเส้นทาง (Route Survey) ที่ตอ้ งการวัดมุมภาคของทิศของแนวทาง ค่ามุมภาค ของทิศเป็ นค่ามุมที่นบั เนื่องมาจากเส้นเมอริ เดียน (เส้นสมมติที่ลากเชื่อมระหว่างขั้วโลกเหนือและ ขั้วโลกใต้) ซึ่งในงานสารวจจะมีแนวเมอริ เดียนหลายประเภท ได้แก่ เมอริ เดียนจริ ง (True Meridian) เมอริ เดียนแม่เหล็ก (Magnatic Meridian) และเมอริ เดียนสมมุติ (Assumed Meridian) การที่จะใช้แนวแนวเมอริ เดียนแบบใดจะขึ้นอยูก่ บั สภาวะของงานในสนาม ในงานก่อสร้าง ทัว่ ๆไปจะใช้แนวเมอริ เดียนแม่เหล็ก เป็ นแนวอ้างอิง ดูภาพที่ 3.16 ประกอบ N

A

B

C

ภาพที่ 3.16 แสดงการวัดมุมทิศทาง


จากภาพที่ 3.16 วิธีการปฏิบตั ิ ทาได้ดงั นี้ 1) ตั้งกล้องให้ตรงหมุด A แล้วติดเข็มทิศเข้ากับตัวกล้อง ให้กล้องเป็ นหน้าซ้าย Set ค่ามุมราบ ของกล้องให้เป็ น 00000 แล้วหมุนกล้องให้ตรงแนวทิศเหนือตามเข็มทิศที่ติดอยูก่ บั ตัวกล้อง (ถ้า เป็ นกล้องแบบ Direction ต้องหมุนหน้ากล้องให้ตรงทิศเหนือก่อนแล้วจึง Set ค่ามุมราบ ให้เป็ น 00000 2) เปิ ดมุมราบไปส่องหมุดตามแนวที่ตอ้ งการวัดมุมภาคของทิศ ตามรู ปคือหมุด B และ C จะได้ ค่ามุมภาคของทิศ ตามแนว AB และ AC โดยการวัดด้วยกล้องหน้าซ้าย 3) หมุนแกนกล้องเทเลสโคป ตามแนวดิ่งเป็ นกล้องหน้าขวา ส่องไปที่ทิศเหนือ เปิ ดมุมราบส่อง หมุด B และ C จะได้ค่ามุมภาคของทิศ ตามแนว AB และ AC โดยการวัดด้วยกล้องหน้าขวา 4) นาข้อมูลจาการวัดด้วยกล้องทั้งสองหน้า ไปคานวณหาค่าเฉลี่ย ตามตาราง ตารางที่ 3.2 ตัวอย่าง การบันทึกข้อมูลการวัดมุมภาคของทิศ 1 DR หน้ากล้อง มุมภาคของทิศ จุดตั้งกล้อง ที่หมาย เฉลี่ย L R A North 00000 1800000 B 312030 2112020 312025 C 1102510 1902510 1102510 ค่ามุมภาคของทิศเฉลี่ย

= L  (R  180) 2

ค่ามุมภาคของทิศเฉลี่ย BA

=

หมายเหตุ N

B

A

C

312030  (2112020  180) 2

= 312025     ค่ามุมภาคของทิศเฉลี่ย BC = 11025 10  (19025 10  180) 2 = 1102510 3.3.1.2 การวัดมุมเห (Deflection Angle ) การวัดมุมเหใช้ในการกาหนดโค้งราบ ต่างๆ ในการสารวจเส้นทาง การวางแนวถนน ทางรถไฟ สายส่งไฟฟ้ าแรงสูง ท่อระบายน้ า คลองส่งน้ า ดูภาพที่ 3.17 ประกอบ B CL A

C L

 322520Rt C L

 303020Lt C

D


ภาพที่ 3.17 แสดงการวัดมุมเห จากภาพที่ 3.17 แนว ABCD เป็ นแนวศูนย์กลางของถนนที่จะสร้าง การวัดมุมเหที่จุด B ทาได้ดงั นี้ 1. ตั้งกล้องที่จุด B ให้เป็ นกล้องหน้าซ้าย Set ค่ามุมราบ 00000 ส่องหมุด A (ถ้าเป็ นกล้อง แบบ Direction ให้ส่องหมุด A ก่อน แล้วจึงSet ค่ามุมราบ ) 2. หมุนแกนกล้องเทเลสโคป ตามแนวดิ่งกลับเป็ นกล้องหน้าขวา หน้ากล้องจะอยูใ่ นแนว เส้นประซึ่งเป็ นแนวตรงกับแนว AB ค่ามุมราบยังคงเป็ น 00000แต่ค่ามุมดิ่งจะเปลี่ยนไป(ในที่น้ ี จะวัดมุมราบเท่านั้น) 3. เปิ ดมุมราบส่องหมุด C ได้ค่ามุมราบ 322520 จดบันทึกข้อมูลในสมุดสนาม 4. เปิ ดมุมราบไปส่องที่จุด A กล้องยังเป็ นหน้าขวา อ่านค่ามุมราบได้ 1800010 5. หมุนแกนกล้องเทเลสโคปในแนวดิ่งกลับเป็ นกล้องหน้าซ้าย หน้ากล้องจะอยูใ่ นแนว เส้นประซึ่งเป็ นแนวตรงกับแนว AB อ่านค่ามุมราบได้ 2122520 บันทึกข้อมูลในสมุดสนาม ตารางที่ 3.3 ตัวอย่างการบันทึกข้อมูลการวัดมุมเห 1 DR จุดตั้งกล้อง ที่หมาย หน้ากล้อง ค่าองศาราบ A L 00000 PI 5+550 C L 322520 B A R 1800010 C R 2122520 เฉลี่ย

มุมเห

หมายเหตุ

322520 Rt

KM.5+550 B

322510 Rt 322515Rt

A

C


ครั้งที่ ………………………………………………………..วันที่……../…………………/……… สถานที…………………………………………… อาจารย์ผสู้ อน……………………………….. ผูป้ ฏิบตั ิงาน 1) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 2) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 3) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 4) ……………………………………………………หน้าที่………………………………… 5) ……………………………………………………หน้าที่………………………………… ตารางการบันทึกข้อมูลการวัดมุมทิศทาง 1 DR จุดตั้งกล้อง ที่หมาย หน้ากล้อง ค่าองศาราบ

ตารางการบันทึกข้อมูลการวัดมุมภาคของทิศ 1 DR หน้ากล้อง จุดตั้งกล้อง ที่หมาย L R

มุมราบ

มุมภาคของทิศ เฉลี่ย

หมายเหตุ

หมายเหตุ


ตารางการบันทึกข้อมูลการวัดมุมเห 1 DR จุดตั้งกล้อง ที่หมาย หน้ากล้อง ค่าองศาราบ

มุมเห

หมายเหตุ

รายการคานวณ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


สรุป ปัญหาอุปสรรค ข้ อเสนอแนะ และข้ อแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

10

หน้าที่

1

วันที่ : 13-17 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การวัดมุมดิง่ การวัดมุมดิ่งหรื อมุมสูงนี้จะใช้กบั การทาระดับตรี โกณมิติ และการหาระยะทางด้วยกล้องวัดมุม (Tacheometry) ลักษณะของจานองศาดิ่ง ของกล้องวัดมุม 0 Zenith Angle AL 2Z HL Altitude

HR 270

90 AR

180

จากรู ปเป็ นจานองศาดิ่งของกล้อง Theodolite H = มุมสูง Z = มุม Zenith ซึ่งเป็ นมุมที่วดั จากแนวดิ่งเป็ นแนวอ้างอิง เป็ นค่ามุมที่อ่านได้จากจาน องศาของกล้อง โดยที่เมื่อแกนกล้องเทเลสโคปขนานกับแนวดิ่งค่ามุมจะเป็ น 0 ถ้าแกนกล้องอยูใ่ นแนว ระดับของกล้องหน้าซ้ายค่ามุมจะเป็ น 90 และถ้าหมุนแกนกล้องตามแนวดิ่งต่อไปอีกจนอ่านค่ามุมได้ 270 ก็จะเป็ นแนวระดับของกล้องหน้าขวา A L = ค่ามุมดิ่งที่อ่านจากกล้องหน้าซ้าย A R = ค่ามุมดิ่งที่อ่านจากกล้องหน้าขวา หากกล้องไม่มีความคลาดเคลื่อน A L + A R = 360


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

10

2

วันที่ : 13-17 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การคานวณ 2 Z = A L + 360 - A R Z = A  360  A L

R

2

H = 90 – Z หรื อ มุมสูงหน้าซ้าย H L = 90 - A L มุมสูงหน้าขวา H R = A R – 270 H = H H L

R

2

AL Horizontal Line

A

AL B

A

C

แสดงการวัดมุมดิ่ง วิธีการปฏิบตั ิงานสนาม ทาได้ดงั นี้ 1) ตั้งกล้องให้ตรงหมุด A 2) กล้องอยูท่ ี่หน้าซ้าย หมุนแกนกล้องตามแนวดิ่งส่องจุด B ได้ค่ามุมดิ่ง 751500 ส่องจุด C ได้ 1152010 จดบันทึกเป็ นค่ามุม A L

3) กลับกล้องเป็ นหน้าขวา หมุนกล้องส่องจุด B ได้ค่ามุม 2854510 ส่องจุด C ได้

2443950 จดบันทึก

เป็ นค่ามุม A R 4) คานวณค่ามุม Z และมุมสูง H ตามสูตร ค่า H ที่เป็ น + คือมุมเงยขึ้นจากแนวระดับ H ที่เป็ น - คือมุมก้ม ลงจาก แนวระดับ


เนื้อหาการสอน

สัปดาห์ที่

10

วันที่ : 13-17 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่างก่อสร้าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ตัวอย่างการวัดมุมสูง หมุด AL AR Z H B 751500 2854510 744455 151505 C 1152010 2443950 1152010 - 252010

การคานวณ ที่หมุด B

Z

= =

การคานวณ ที่หมุด B

A L  360  A R 2

7515'00"360  28445'10" 2

= 744455 H = 90 – Z = 90 - 744455 = 151505 Z = A  360  A L

R

2

= = H = = =

1152010  360  2443950 2 1152010 90 – Z 90 - 1152010 - 252010

หน้าที่

3 หมายเหตุ


ใบงานที่ 9

สัปดาห์ที่

หน้าที่

การวัดมุมดิง่ ด้ วยกล้องวัดมุม

10

1

วันที่ : 13-17 ก.ค. 2552 เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ จุดประสงค์ 1. วัดค่ามุมราบแบบมุมทิศทางและมุมภาคของทิศได้ 2. วัดค่ามุมดิ่งได้ เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1. กล้องวัดมุมพร้อมขาตั้ง จานวน 1 ชุด 2. หมุดไม้ จานวน 3 หมุด 3. ตะปู 1” จานวน 3 ตัว 4. สีสเปย์ จานวน 1 กระป๋ อง ลาดับขั้นการปฏิบัตงิ าน 1) กาหนดจุด 3 จุด A B C ห่างกันพอควร ให้จุด A เป็ นธงหลัง จุด B เป็ นจุดตั้งกล้อง และจุด C เป็ นธง หน้า ตอกหมุดไม้ที่จุดทั้ง 3 ให้แน่น แล้วตอกตะปู 1” บนหมุดไม้ 2) ให้นกั ศึกษาปฏิบตั ิการวัดมุมทิศทาง โดยตั้งกล้องที่จุด B ให้เป็ นกล้องหน้าซ้าย ส่องหมุด Set 0 ที่ จุด A อ่านค่ามุมทั้งมุมราบ และมุมดิ่ง บันทึกข้อมูลลงสมุดสนาม 3) เปิ ดมุมส่องจุด C อ่านค่ามุมราบและมุมดิ่ง หน้าซ้าย บันทึกข้อมูลลงสมุดสนาม 4) หมุนแกนกล้องกลับเป็ นกล้องหน้าขวา เปิ ดมุมกล้องส่องจุด A อ่านค่ามุมทั้งมุมราบ และมุมดิ่ง บันทึกข้อมูลลงสมุดสนาม 5) เปิ ดมุมส่องจุด C อ่านค่ามุมราบและมุมดิ่ง หน้าขวา บันทึกข้อมูลลงสมุดสนาม 6) คานวณค่ามุมเฉลี่ยทั้งมุมราบและมุมดิ่ง 7) ให้นกั ศึกษาปฏิบตั ิการวัดมุมภาคของทิศ โดยตั้งกล้องที่จุด B ให้เป็ นกล้องหน้าซ้าย ส่องหมุด Set 0 องศา ที่ทิศเหนือ โดยใช้เข็มทิศติดกับกล้องวัดมุม 8) เปิ ดมุมส่องจุด A และ C อ่านค่ามุมราบ หน้าซ้าย มุมที่ได้จะเป็ นมุมภาคของทิศไป Az . BA และ Az . BC ตามลาดับ บันทึกข้อมูลลงสมุดสนาม 9) หมุนแกนกล้องกลับเป็ นกล้องหน้าขวา เปิ ดมุมกล้องส่องจุด A และ C มุมที่ได้จะเป็ นมุมภาคของ ทิศกลับ Az . BA และ Az . BC ตามลาดับ บันทึกข้อมูลลงสมุดสนาม 10) คานวณค่ามุมภาคของทิศเฉลี่ย 11) บันทึกข้อมูลการปฏิบตั ิ รายงานผลการปฏิบตั ิในสมุดสนาม


ใบงานที่ 9

สัปดาห์ที่

หน้าที่

การสารวจทาแผนที่ดว้ ยโซ่ - เทป

10

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

วันที่ : 13-17 ก.ค. 2552 เวลา : ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ตัวอย่างการบันทึกข้อมูลการวัดมุมทิศทาง 1 DR

จุดตั้งกล้อง ที่หมาย B B

A C A C

หน้ากล้อง L L R R

ค่าองศาราบ

มุมราบ

หมายเหตุ

00000 812030 812030 1800010 B 2612030 812020 ค่าเฉลี่ย 812025

A

C

ข้ อควรระวัง 1. การ Set 0 องศาและการเปิ ดมุมจะต้องใช้ สกรู ล๊อค และ สกรู ส่ายหน้ากล้องให้ถูกต้อง 2. ก่อนเปิ ดมุมต้องตรวจสอบว่ากล้องเล็งไปยังที่หมายหัวตะปูอย่างแม่นยาแล้ว โดยให้จุดกึ่งกลางสายใยตรงกับหัว

ตะปูพอดี และค่ามุมราบอยูท่ ี่ 0 องศา 3. ตรวจสอบค่ามุมหน้าซ้ายกับหน้าขวา ค่ามุมราบจะต่างกันเท่ากับ 180 องศา มุมดิ่งรวมกันจะได้เท่ากับ 360 องศา หากคลาดเคลื่อนไปมากแสดงว่าการทางานผิดพลาด จะต้อง Set 0 องศา และเปิ ดมุมใหม่ 4. การอ่านจะต้องปรับภาพและสายใยให้ชดั ที่สุด การประเมินผล 1. การปฏิบตั ิงานของนักศึกษา 2. จากการรายงานผลการปฏิบตั ิงานในสมุดสนาม 3. ค่าคลาดเคลื่อนมุมหน้าซ้ายกับหน้าขวาจะต้องไม่เกิน 20 ฟิ ลิบดา ข้ อแนะนา 1. การกาหนดจุดควรให้ระยะห่างกันไม่นอ้ ยกว่า 50 เมตร เพื่อให้เป้ าที่ส่องเล็กการจับที่หมายจะมีความคลาดเคลื่อน น้อยกว่าเป้ าใหญ่ 2. การกาหนดจุด A กับจุด C ควรให้มุมกว้างพอประมาณ และให้มีระดับต่างกัน เพื่อให้ฝึกการเปิ ดมุมและอ่านค่า มุมดิ่งได้ดว้ ย


วิทยาลัยเทคนิคสั ตหีบ แผนกวิชาช่ างก่ อสร้ าง งาน การสารวจทาแผนที่ด้วยโซ่ - เทป

วิชา สารวจ 1

การวัดมุมดิง่ การวัดมุมดิ่งหรื อมุมสูงนี้จะใช้กบั การทาระดับตรี โกณมิติและการหาระยะทางด้วยกล้อง วัดมุม (Tacheometry) การวัดมุมดิ่งจะต้องเข้าใจลักษณะจานองศาดิ่ง และระบบการวัดค่ามุมดิ่ง ดังแสดงในภาพที่ 3.18 0 Zenith Angle or A L 2Z Altitude or H L

AL

AR

HL

HR

270

90

180

ภาพ แสดงลักษณะของจานองศาดิ่ง จากภาพเป็ นจานองศาดิ่งของกล้อง Theodolite H = มุมสูง Z = มุม Zenith ซึ่งเป็ นมุมที่วดั จากแนวดิ่งเป็ นแนวอ้างอิง เป็ นค่ามุมที่อ่าน ได้จากจานองศาของกล้อง โดยที่เมื่อแกนกล้องเทเลสโคป ขนานกับแนวดิ่งหน้ากล้องชี้ข้ ึนค่ามุม จะเป็ น 0 ถ้าแกนกล้องอยูใ่ นแนวระดับของกล้องหน้าซ้ายค่ามุมจะเป็ น 90 และถ้าหมุนแกน กล้องตามแนวดิ่งต่อไปอีกจนอ่านค่ามุมได้ 270 ก็จะเป็ นแนวระดับของกล้องหน้าขวา A L = ค่ามุมดิ่งที่อ่านจากกล้องหน้าซ้าย A R = ค่ามุมดิ่งที่อ่านจากกล้องหน้าขวา หากกล้องไม่มีความคลาดเคลื่อน A L + A R = 360 การคานวณ 2 Z = A L + 360 - A R Z = A  360  A L

R

2

H = 90 – Z


หรื อ มุมสูงหน้าซ้าย H L = 90 - A L มุมสูงหน้าขวา H R = A R – 270 H = H H L

R

2

การปฏิบตั ิงานสนามในการวัดค่ามุมดิ่ง

AL Horizontal Line

B

A

A C

AL

ภาพแสดงการวัดมุมดิ่ง

จากภาพ วิธีการปฏิบตั ิงานสนาม ทาได้ดงั นี้ 1. ตั้งกล้องให้ตรงหมุด A 2. กล้องอยูท่ ี่หน้าซ้าย หมุนแกนกล้องตามแนวดิ่งส่องจุด B ได้ค่ามุมดิ่ง 751500 ส่องจุด C ได้ 1152010 จดบันทึกเป็ นค่ามุม A L 3. กลับกล้องเป็ นหน้าขวา หมุนกล้องส่องจุด B ได้ค่ามุม 2854510 ส่องจุด C ได้ 2443950 จดบันทึกเป็ นค่ามุม A R 4. คานวณค่ามุม Z และมุมสูง H ตามสูตร ค่า H ที่เป็ น + คือมุมเงยขึ้นจากแนวระดับ H ที่เป็ น คือมุมก้ม ลงจากแนวระดับ ตารางที่ 3.4 ตัวอย่างการวัดมุมสูง หมุด AL AR B 751500 2854510 C 1152010 2443950

Z 744455 1152010

H 151505 - 252010

หมายเหตุ


การคานวณ ที่หมุด B

Z

=

A L  360  A R 2

7515'00"360  28445'10" 2

=

= 744455

การคานวณ ที่หมุด B

H = 90 – Z = 90 - 744455 = 151505 Z = A  360  A L

R

2

= = H = = =

1152010  360  2443950 2 1152010 90 – Z 90 - 1152010 - 252010


ครั้งที่ ………………………………………………………..วันที่……../…………………/……… สถานที…………………………………………… อาจารย์ผสู้ อน……………………………….. ผูป้ ฏิบตั ิงาน 1) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 2) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 3) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 4) ……………………………………………………หน้าที่………………………………… 5) ……………………………………………………หน้าที่…………………………………

ภาพสเกตซ์ ข้อมูลการสารวจทาแผนที่ด้วยโซ่ – เทป ข้ อมูลการรังวัดเก็บ รายละเอียด


ภาพแผนที่จากการรังวัดข้อมูลภาคสนาม


สรุป ปัญหาอุปสรรค ข้ อเสนอแนะ และข้ อแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

หน้าที่

11

1

วันที่ : 20-24 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การหาความสู งและค่าระดับด้ วยกล้องวัดมุม การหาความสู งของวัตถุด้วยกล้องวัดมุม การหาความสูงของวัตถุดว้ ยกล้องวัดมุมเป็ นวิธีการที่ใช้ในกรณี ที่ไม่สามารถใช้วิธีการวัดแบบอื่นได้ เช่นระดับความสูงเกินกว่าจะถ่ายระดับด้วยกล้องระดับได้ หรื อจุดที่ตอ้ งการหาความสูงเป็ นจุดที่ไม่สามารถ เข้าถึงได้ วิธีการหาความสูงสามารถทาโดยการวัดระยะทางด้วยเทป และวัดมุมสูงด้วยกล้องวัดมุมแล้ว นามาคานวณหาระดับตามวิธีของ Plane Trigonometry แบ่งออกเป็ น 2 กรณี คือ 1) เมือ่ สามารถวัดระยะทางจากจุดตั้งกล้องไปยังวัตถุที่ต้องการหาความสู งได้

E h B S S

A '

B M

A

HI.

F

D

.

ภาพที่ 3.10 แสดงการหาความสูงของวัตถุเมื่อวัดระยะทางไปยังวัตถุได้ กาหนดให้

EF = ความสูงของวัตถุที่อยูเ่ หนือเส้นแนวระดับ h = ความสูงของวัตถุที่อยูเ่ หนือ HI.(เส้นแนวเล็งของกล้อง) S = ค่า BS.(ค่าสายใยกลางที่อ่านได้จากไม้ระดับ) บน BM. ที่รู้ค่า Elev.  = มุมสูงที่วดั ได้จากกล้อง D = ระยะราบจากกล้องไปยังจุดที่ตอ้ งการทราบค่าระดับ h = D  tan   Elev. ของจุด E = EL. BM. + S + h = HI. + D tan 


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

หน้าที่

11

2

วันที่ : 20-24 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 2) เมือ่ ไม่สามารถวัดระยะทางจากกล้องไปยังฐานของวัตถุ ทีต่ ้องการหาความสู งได้ วิธีน้ ีจะต้องตั้งกล้อง 2 ครั้ง โดยมีวิธีการปฏิบตั ิดงั นี้คือ ตั้งกล้องให้แนวเล็งของกล้องทั้ง 2 ครั้งอยูใ่ นแนวเส้นตรงเดียวกันกับจุดที่ตอ้ งการทราบค่าความสูง คือจุด B A และ E เป็ นแนวเส้นตรงเดียวกัน โดยมีวิธีปฏิบตั ิดงั นี้ 1) ตั้งกล้องที่ A ส่องไปยังจุด E อ่านค่ามุม  1 แล้วหมุนกล้องตามแกนในแนวดิ่งพลิกกล้อง กลับไปกาหนดจุด B บนพื้นดิน ตอกหมุดให้เรี ยบร้อย (จะได้ แนว AEB เป็ นแนวเส้นตรง) วัดระยะ AB 2) ปรับแกนกล้องให้อยูใ่ นแนวระดับอ่านค่า BS. ที่ BM. (เท่ากับ S) 3) ย้ายกล้องไปยัง B ส่องอ่านค่ามุม  2 เช่นเดียวกับที่ A (ค่า BS.เท่าเดิม) E

h B ' S BM .

B

 2

A ' A

b

 1

H I.

q

D

ภาพที่ 3.11 แสดงการหาความสูงเมื่อแนวเล็งของกล้องA และ B สูงเท่ากัน


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

หน้าที่

11

3

เวลา :

วันที่ : 20-24 ก.ค. 2552

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

 1 = มุมสูงที่วดั จากกล้อง A  2 = มุมสูงที่วดั จากกล้อง B b = ระยะทางราบระหว่าง A และ B D = ระยะทางราบระหว่าง A และ E h = ระยะทางดิ่งระหว่าง E และ HI. พิสูจน์ h = D  tan  1 = ( D + b ) tan  2 (1) Dtan  1 = D tan 2 + b tan 2 D ( tan  1 - tan  2 ) = b  tan 2 D = b  tan α 2 (2) (tan α1  tan α 2) จาก h = D tan  1 แทนค่า D  h = b  tan α1  tan α 2 (3) (tan α1  tan α 2) แต่ในทางปฏิบตั ิจริ งๆ ไม่สามารถที่จะตั้งกล้องให้ HI. สูงเท่ากันได้ การตั้งกล้องจะที่ A และ B จะ เป็ นได้ 2 กรณี คือ 1. เมื่อแนวเล็งของกล้อง B สูงกว่า แนวเล็งกล้อง A หรื อ จุด B อยูส่ ูงกว่า จุด A ดังภาพที่ 3.12 จากภาพ กาหนดให้

E

h E

 S S SA C 2 B M.

B '

 HI. A 2 B  ' 1

q

HI. A

B b

A

D

ภาพที่ 3.12 แสดงการหาความสู งเมื่อแนวเล็งของกล้อง B สู งกว่า A


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

11

หน้าที่

4

วันที่ : 20-24 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ จากภาพ กาหนดให้ SA = ค่า BS. ของกล้อง A SB = ค่า BS. ของกล้อง B S = SB - SA 1 = มุมสูงที่จุด A 2 = มุมสูงที่จุด B ใน สามเหลี่ยม BCE ; CE = S มุม EBC = 2 ; tan 2 = S ; BE = S  1 BE

tan α2

 BE = S cot  2 ดังนั้นระยะราบระหว่างกล้อง A และ B ที่มี HI เท่ากันจะเท่ากับ b + Scot  2 นาไปแทน b ในสมการ (2) และ (3) จะได้ D = (b  ΔS  cot α2) tan α 2 (4) (tan α 1  tan α 2) หรื อ D = b  tan α 2  ΔS

(tan α 1  tan α 2)

(5)

h = (b  ΔS  cot α2) tan α1 tan α2 (tan α1  tan α2)

(b  tan α2  ΔS) tan α1 (6) (tan α1  tan α 2) หรื อเมื่อคานวณ D ได้แล้วหา h ได้จาก h = D tan 1 h=


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

หน้าที่

11

5

เวลา :

วันที่ : 20-24 ก.ค. 2552

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

2. เมือ่ แนวเล็งของกล้อง A อยู่สูงกว่า แนวเล็งของกล้อง B หรือจุด A อยู่สูงกว่า จุด เมื่อตั้งกล้อง A สูงกว่ากล้อง B ถ้าจะให้ HI.B เท่ากับ HI.A จุด B จะต้องเลื่อนไปอยูท่ ี่จุด C เพราะฉะนั้นระยะราบของกล้อง A และ B ที่ HI เท่ากัน จะเท่ากับ b - S cot  2 (คิดทานองเดียวกับวิธี แรก) E

h C SA

B'

S

2

SB BM.

A'

1

HI.A

q

HI.B

E A

B

b

D

ภาพที่ 3.13 แสดงการหาความสูงเมื่อแนวเล็งของกล้อง A สูงกว่า B แทนค่าในสมการ (1) (2) (3) \ D = (b  ΔS  cot α 2) tanα2 tan α 1  tan α 2 b  tanα 2 Δs หรื อ D = (7) tanα 1  tanα 2 h = (b  ΔS  cot α 2) tan α 1  tan α 2 tan α 1  tan α 2 = (b  tan α 2  ΔS) tan α1 (8) (tan α 1  tan α 2) หรื อในเมื่อรู้ค่า D แล้ว h = D tan 1 ก็ได้ Elev E = HI.A + h = EL.A+ SA + h


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

หน้าที่

11

6

วันที่ : 20-24 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 3.แนวเล็งของกล้อง 2 ครั้งไม่อยู่ในแนวเส้ นตรงเดียวกันกับจุดที่ต้องการหาค่าความสู ง กรณี ที่ต้งั กล้อง 2 ครั้งไม่อยูใ่ นแนวเดียวกัน ดังภาพที่ 3.14 วิธีปฏิบตั ิทาดังนี้ 1) กาหนดจุดตั้งกล้องที่ A และ B วัดระยะทาง AB (ด้าน c) วัดค่ามุมราบ ABE และ BAE นาไปคานวณหาระยะทาง AE และ BE ด้วยกฎของ sine 2) เมื่อได้ระยะ AE และ BE แล้ว ก็สามารถใช้วิธีการหาความสูงจากกล้องที่จุด A หรื อ B หรื อหาทั้งสองจุดแล้วนามาเฉลี่ยกัน b

A

C

c BM.

a

PLAN

C

B

h 1

HI.

S BM .

A

D C h 2

S . BM

BB

HI D

ภาพที่ 3.14 แสดงการหาความสูงเมื่อแนวเล็งของกล้องไม่อยูใ่ นแนวเดียวกัน


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

11

หน้าที่

7

วันที่ : 20-24 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ จากภาพ รู ป Plan การปฏิบตั ิงานสนาม จะได้ขอ้ มูลจากการวัดคือระยะทาง AB หรื อ ด้าน c และค่า มุมราบ มุม A และมุม B การคานวณ 1. หาค่ามุม C = 180 – มุม A – มุม B 2. ใช้กฎของ sine หาระยะทางจากจุดตั้งกล้องถึงวัตถุ กฎของ sine (sine rule) c a = b = = 2R sin C sin B sin A c sin A ด้าน a = sin C c sin B ด้าน b = sin C 3. เมื่อตั้งกล้องที่จุด A ตามรู ป คานวณหาค่าระดับความสูงของวัตถุที่จุด C ได้จากสูตร h = D  tan 1  Elev. ของจุด C = EL.BM. + S + h 4. เมื่อตั้งกล้องที่จุด B ตามรู ป คานวณหาค่าระดับความสูงของวัตถุที่จุด C ได้จากสูตร h = D  tan 2  Elev. ของจุด C = EL.BM. + S + h 5. นาค่าที่ได้จากข้อ 3 และ 4 มาหาค่าเฉลี่ย


ใบงานที่ 10

สัปดาห์ที่

หน้าที่

การหาความสู งและค่าระดับด้ วยกล้องวัดมุม

11

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 20-24 ก.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ จุดประสงค์ 1. ใช้กล้องวัดมุมวัดหาความสูงของวัตถุได้ 2. สามารถทาระดับตามวิธีการของ Plane Trigonometry ได้ เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1. กล้องวัดมุมพร้อมขาตั้ง 2. เทปวัดระยะยาว 30 ม. 3. ไม้วดั ระดับ 4. หมุดไม้ 5. ตะปู 1 6. สีสเปย์

จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน

1 1 1 2 2 1

ชุด เส้น อัน หมุด ตัว กระป๋ อง

ลาดับขั้นการปฏิบัตงิ าน 1. ครู อธิบายวิธีการอ่านไม้วดั ระดับและทดสอบให้นกั ศึกษาอ่านทุกคน 2. กาหนดอาคารภายในวิทยาลัยที่มีความสูงพอประมาณให้นกั ศึกษาใช้กล้องวัดมุมหา 3. ความสูงของอาคารที่กาหนด 4. กาหนดจุดที่มีระยะทางและระดับความสูงต่างกันพอสมควรให้นกั ศึกษาใช้กล้องวัดมุม 5. และไม้วดั ระดับหาระยะทางและค่าระดับโดยวิธี สเตเดีย 6. บันทึกข้อมูลลงในสมุดสนามและคานวณหาความสูง ระยะทางและค่าระดับให้ 7. เรี ยบร้อย


ใบงานที่ 10

สัปดาห์ที่

หน้าที่

การหาความสู งและค่าระดับด้ วยกล้องวัดมุม

11

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 20-24 ก.ค. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ข้ อควรระวัง 1. ล๊อคแกนกล้องก่อนอ่านค่ามุมดิ่งและค่าไม้วดั ระดับ 2. การอ่านค่าจากไม้วดั ระดับต้องอ่านให้แม่นยา การประเมินผล 1. การปฏิบตั ิงานสนามของนักศึกษา 2. จากการรายงานผลการปฏิบตั ิงานในสมุดสนาม ข้ อแนะนา 1. การกาหนดจุดให้นกั ศึกษาหาความสูงต้องเป็ นจุดที่ชดั เจนและมีความแน่นอนในการ ส่องจากจุด A และ B โดยจะต้องส่องไปที่จุดเดียวกัน 2. จุดที่ส่องควรใช้เป้ าหมายเล็กจะมีความคลาดเคลื่อนในการส่องน้อยกว่า


วิทยาลัยเทคนิคสั ตหีบ แผนกวิชาช่ างก่ อสร้ าง งาน การสารวจทาแผนที่ด้วยโซ่ - เทป

วิชา สารวจ 1

เรื่องการหาความสู งของวัตถุด้วยกล้องวัดมุม (TRIGONOMETRICAL LEVELLING) การทาระดับตรี โกณมิติเป็ นสาขาหนึ่งของงานระดับ เพื่อหาความสัมพันธ์ของระดับของ จุดต่างๆ โดยการวัดระยะและมุมสูงด้วยกล้อง Theodolite แล้วนามาคานวณหาระดับตามวิธีของ Plane Trigonometry วิธีน้ ีจะใช้ในการหาค่าระดับในเมื่อไม่สามารถที่จะหาวิธีอื่นๆได้ 1.BASE OF AN OBJECT ACCESSIBLE เมื่อระยะทางจากจุดตั้งกล้องไปยังวัตถุที่ ต้องการหาความสูงนั้น สามารถวัดระยะได้ p

h A'

HI.

q

S D

BM .

กาหนดให้

pq = ความสูงของวัตถุที่อยูเ่ หนือเส้นแนวระดับ h = ความสูงของวัตถุที่อยูเ่ หนือ HI. S = ค่า BS. บน BM. ที่รู้ค่า Elev.  = มุมสูงที่วดั ได้จากกล้อง D = ระยะราบจากกล้องไปยังจุดที่ตอ้ งการทราบค่าระดับ h = D * tan   Elev ของจุด p = BM. + S + h = HI. + D* tan  2. BASE OF OBJECT INACCESSIBLE เมื่อระยะทางราบจากกล้องไปยังฐานของวัสดุที่ ต้องการทราบความสูง ไม่สามารถวัดระยะทางเข้าไปสู่จุดศูนย์กลางได้ เช่น ฐานเจดีย ์ วิธีน้ ีจะต้องตั้งกล้อง 2 ครั้ง ให้อยูใ่ นแนวเส้นตรงกับจุด P ที่ตอ้ งการทราบค่าระดับ


วิธีปฏิบตั ิ 1. ตั้งกล้องที่ A ส่องไปยังจุด P อ่านค่ามุม  1 แล้วหมุนกล้องตามแกนในแนวดิ่งพลิก กล้องกลับไปกาหนดจุด B บนพื้นดิน ตอกหมุดให้เรี ยบร้อย (จะได้ แนว APB เป็ นแนวเส้นตรง) วัดระยะ AB 2. ปรับแกนกล้องให้อยูใ่ นแนวระดับอ่านค่า BS. ที่ BM. 3. ย้ายกล้องไปยัง B ส่องอ่านค่ามุม  2 เช่นเดียวกับที่ A p

h 2

A'

1

q

H I.

S BM.

A

B

D

b

 1 = มุมสูงที่วดั จากกล้อง A  2 = มุมสูงที่วดั จากกล้อง B b = ระยะทางราบระหว่าง A และ B D = ระยะทางราบระหว่าง A และ P h = ระยะทางดิ่งระหว่าง P และ HI. พิสูจน์ h = D * tan  1 = ( D + b ) tan  2 (1) D*tan  1 = D* tan 2 + b* tan 2 D ( tan  1 - tan  2 ) = b * tan 2

กาหนดให้

D =

b  tan 2 (tan1  tan 2)

(2)

จาก h = D tan  1 แทนค่า D 

h=

b  tan1  tan 2 (tan1  tan 2)

(3)


แต่ในทางปฏิบตั ิจริ งๆ ไม่สามารถที่จะตั้งกล้องให้ HI. สูงเท่ากันได้ การตั้งกล้องจะที่ A และ B จะเป็ นได้ 2 กรณี คือ 2.1 เมือ่ HI. B สู งกว่า HI. A หรือ จุด B’ อยู่สูงกว่า จุด A’ p

h E S B

 S S A

B' 2

2

HI.B A'

q 1

HI.A

C B BM. b

A

D

กาหนดให้ SA = ค่า BS. ของกล้อง A SB = ค่า BS. ของกล้อง B S = SB - SA 1 = มุมสูงที่จุด A 2 = มุมสูงที่จุด B ใน สามเหลี่ยม B’CE ; CE = S มุม E’B’C = 2 ; tan 2 = S ; BE = S * BE

1 tan  2

 B’E = S *cot  2 ดังนั้นระยะราบระหว่างกล้อง A และ B ที่มี HI เท่ากันจะเท่ากับ b + S*cot สมการ (2) และ (3) จะได้ D= หรื อ D = h=

( b  S cot 2) tan 2 (tan 1  tan 2)

(4)

b tan 2  S (tan 1  tan 2)

(5)

( b tan 2  S) tan 1 (tan 1  tan 2)

(6)

หรื อเมื่อคานวณ D ได้แล้วหา h ได้จาก h = D tan 1

(*)

นาไปแทน b ใน


2.2 เมือ่ HI.A อยู่สูงกว่า HI.B หรือจุด A’ อยู่สูงกว่า จุด B’ p

h C S A

S

B'

A'

1

2

q

HI.A HI.B

E

S B

A BM. B

b

D

เมื่อตั้งกล้อง A สูงกว่ากล้อง B ถ้าจะให้ HI.B เท่ากับ HI.A จุด B’ จะต้องเลื่อนไปอยูท่ ี่จุด C เพราะฉะนั้นระยะราบของกล้อง A และ B ที่ HI เท่ากัน จะเท่ากับ b - s cot  2 (คิดทานอง เดียวกับวิธีแรก) แทนค่าในสมการ (1) - (2) , (3) D= หรื อ D = h= =

( b  S cot 2) tan 2 tan 1  tan 2 b tan 2  S tan 1  tan 2

(7)

( b  S cot 2) tan 1 tan 2 tan 1  tan 2

(b  tan 2  S ) tan1 (tan1  tan 2)

หรื อในเมื่อรู้ค่า D แล้ว h = D tan 1 ก็ได้ Elev p = HI.A + h

(8)


ครั้งที่ ………………………………………………………..วันที่……../…………………/……… สถานที…………………………………………… อาจารย์ผสู้ อน……………………………….. ผูป้ ฏิบตั ิงาน 1) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 2) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 3) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 4) ……………………………………………………หน้าที่………………………………… 5) ……………………………………………………หน้าที่…………………………………

ภาพสเกตซ์ ข้อมูลการสารวจทาแผนที่ด้วยโซ่ – เทป ข้ อมูลการรังวัดเก็บรายละเอียด


ภาพแผนที่จากการรังวัดข้อมูลภาคสนาม


สรุป ปัญหาอุปสรรค ข้ อเสนอแนะ และข้ อแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

หน้าที่

12

1

วันที่ : 27-31 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การหาระยะทางและค่าระดับด้ วยวิธีทาคีโอเมตรี ทาคีโอเมตรี (Tacheometry) เป็ นวิธีที่ใช้หาความสูงและระยะทางจากกล้องถึงจุดที่ตอ้ งการวัด สามารถทาการวัดได้อย่างรวดเร็วโดยไม่ตอ้ งใช้เทปวัดระยะ ความถูกต้องของงานที่ได้จากการวัดระยะอย่างเร็วนี้ มีค่าประมาณ 1 : 500 ถึง 1 : 1000 เหมาะที่จะใช้ กับงานที่มีสภาพพื้นที่สูงๆ ต่าๆ ไม่สะดวกต่อการลากเทปวัดระยะ เช่น บริ เวณหุบเขา ลาน้ า วิธีการวัดระยะ อย่างเร็ วนี้มีอยูห่ ลายระบบ แต่โดยทัว่ ไปนิยมใช้กล้องวัดมุม กับไม้วดั ระดับ (Staff) ประกอบกันในการวัด ระยะ 1. STADIA METHOD 1.1 HORIZONTAL STADIA เมื่อแนวเล็งของกล้องอยูใ่ นแนวราบ ดูภาพที่ 3.15ประกอบ

Staff

Objective lens

U

Vertical axis l

S

F

O

M

m u

f

L U'

V c D

ภาพที่ 3.15 แสดงวิธีการ Stadia ในแนวราบ กาหนดให้ D = ระยะราบจากกล้องไปยัง Staff U, M, L = จุดตัดของสายใยบน Staff U = ระยะวัสดุ V = ระยะภาพ F = ความยาว focus

i


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

12

หน้าที่

2

วันที่ : 27-31 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ กาหนดให้ c = ค่าคงที่ของกล้อง s = U - L = Staff intercept i = Stadia interval

พิสูจน์  UOL และ  uOl เป็ นสามเหลี่ยมคล้าย 

U' V

=

s i

(1)

จากวิชาฟิ สิคส์จะได้ว่า 1 f

=

1 v

+

1 u'

(2)

คูณ (2) ด้วย Uf จะได้ U=

U'  V

f+f

(3)

s i

(4)

แทน (1) ใน (3) U =  f + f เอา C บวกเข้าทั้งสองข้าง s i

U+ C = f + f + c D =

s f + f + c i

ในการสร้างเครื่ องมือสารวจ ผูผ้ ลิตจะทาให้ f ซึ่งเรี ยกว่า multiplying constant (m) หรื อ i multiplication คือตัวคูณคงที่ มีค่าเท่ากับ 100 และค่า f + c ซึ่งเรี ยกว่า aditive constant หรื อ addition (k) คือ ค่าปรับแก้ ส่วนมากมีค่าเท่ากับ 0 เพื่อให้สะดวกในการคานวณ D = 100 s (ในกรณี ที่ m = 100 , k = 0) หรื อ D = 100 s + k (ในกรณี ที่ m = 100 และ k ไม่เป็ น 0) หรื อ D = ms + k (ในกรณี ที่ m ไม่เป็ น 100 และ k ไม่เป็ น 0)


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

หน้าที่

12

3

เวลา :

วันที่ : 27-31 ก.ค. 2552

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

1. 2. INCLINED STADIA เมื่อแนวเล็งของกล้องไม่อยูใ่ นแนวราบ ดังภาพที่ 3.16 วิธีน้ ีใช้กบั กล้องวัดมุมเท่านั้น U U ' S M

D

L' L 

H I.

A

q

V

B

H

ภาพที่ 3.16 แสดงวิธีการ Stadia ในแนวเอียง จากภาพที่ 4.7 กาหนดให้

H = ระยะราบจากกล้องไปยัง Staff V = ระยะดิ่งจาก HI ถึงสายใยกล้อง  = มุมสูง U, M, L = ค่าที่อ่านได้จาก แนว U M, L D = m (U - L) + k (1) พิจารณารู ป  UMU มุม M =  และมุม U’ เป็ นมุมที่ใกล้เคียงมุมฉาก ดังนั้น U' M = cos  UM

UM = UM cos 


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ทานองเดียวกัน ในรู ป  LML LM ดังนั้น UL แทนค่า (2) ใน (1) D แต่ H แทนค่า D จาก (3) H

สัปดาห์ที่

12

วันที่ : 27-31 ก.ค. 2552

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

= LM cos  = UL cos  = S cos  = mS cos  + k = D cos  = ( mS cos  + k ) cos  = mS cos2  + k cos 

(2) (3)

ส่วนใหญ่ m = 100  H = ( 100 S cos2  + K cos  ) (4) และ V = D sin แทนค่า D จาก (3) V = (mS cos  + k) sin  V = mS cos  sin  + k sin  ส่วนใหญ่ m = 100 หรื อ V = 100 S cos  sin  + k sin  (5) กล้องส่วนมากจะมีค่า m = 100 และ k = 0  H = 100 S cos2  V = 100 S cos  sin  ถ้าจะหาค่า Elev ของจุด B = HI + V - M (เมื่อ B สูงกว่า A) หรื อ B = HI - V - M (เมื่อ B ต่ากว่า A)

เวลา :

หน้าที่

4


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

หน้าที่

12

5

วันที่ : 27-31 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ แต่ค่ามุมดิ่งที่อ่านได้จากกล้องเป็ นมุม Zenith ค่ามุม 0 องศา แกนกล้องจะขนานกับแนวดิ่ง หากปรับกล้องลง มาอยูใ่ นแนวระดับจะอ่านค่ามุมได้ 90 และถ้าแกนกล้องก้มลงมาจากแนวระดับจะอ่านค่าได้มากกว่า 90 เมื่อเทียบค่ามุม Zenith กับมุมสูง จะได้ว่า มุม Zenith 30  จะเท่ากับมุมสูง + 60  มุม Zenith 110  จะ เท่ากับมุมสูง – 20  ค่าของ sine 30= cos 60  ค่าของ sine 110= - cos 20  ดังนั้น หากใช้ค่ามุม Zenith สามารถเขียน สูตรใหม่ได้ ดังนี้  H = 100 S sin 2 Z V = 100 S cos Z sin Z เมื่อ Z คือค่ามุม Zenith ที่อ่านได้จากกล้อง ถ้าจะหาค่า Elev. ของจุด B = HI + V - M ค่า V ในสูตรจะมีเครื่ องหมายบวกหากกล้องเงยจากแนวระดับ และจะมีเครื่ องหมายลบหากกล้องก้ม ลงจากแนวระดับ 2 TANGENTIAL METHOD เป็ นการวัดระยะและระดับ โดยการอ่านค่ามุมสูง 2 ครั้ง และอ่านค่า Staff ที่สายใยกลาง 2 ค่า ดัง ภาพที่ 3.17 และภาพที่ 3.18 M 1

S

M2 V P

2

1

HI.

q

B Q

A

H

ภาพที่ 3.17 แสดงวิธีการ Tangential เมื่อจุด B สูงกว่า A


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

12

วันที่ : 27-31 ก.ค. 2552

6

เวลา :

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

P

2

หน้าที่

HI .

Q V M2

1

S

A M1

H

B

ภาพที่ 3. 18 แสดงวิธีการ Tangential เมื่อจุด B ต่ากว่า A จากภาพที่ 4.8 กาหนดให้ 1 2 V H S พิสูจน์ ในสามเหลี่ยม

= มุมสูงที่วดั ค่า staff ของสายใยกลาง M1 = มุมสูงที่วดั ค่า staff ของสายใยกลาง M2 = ระยะดิ่ง = ระยะราบ = M1 - M2 M1 PQ

VS = tan 1 H

V+S

= H tan 1

(1)


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

12

หน้าที่

7

วันที่ : 27-31 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ในสามเหลี่ยม M2 PQ V = H tan  2 (2) (1) - (2) S = H (tan  1 - tan  2) (3) S H = tanα 1  tanα 2

V

=

S  tan α 2 tan α1  tan α 2

การหาค่าระดับ Elev. B = HI + V - M2 หรื อ Elev. = HI - V - M2

หรื อ V = H tan  2 (ในกรณี ที่ B สูงกว่า A) (ในกรณี ที่ B ต่ากว่า A)

ตัวอย่างที่ 4.6 ตั้งกล้องที่ A ต้องการทราบความสูงของจุด B ส่องกล้องได้ค่าต่าง ๆ ดังนี้ M1 = 1.692  1 = + 25 00 M2 = 0.892  2 = + 23 20 ถ้าส่องค่า BS ไปยัง BM ได้ 1.552 ม. และ Elev. BM.เท่ากับ 30.000 ม. จงหาค่าระดับของจุด B  S = 1.692 - 0.892 = 0.800 S วิธีทา H = tan α1  tan α 2 0.800 = = 22.890 ม. tan2500  tan2320 V = H tan  2 = 22.890 tan 23 20 = 9.873 ม. Elev. B = BM + BS + V - M2 = 30.000 + 1.552 + 9.873 - 0.892 = 40.533 ม.


ใบงานที่ 11 การหาความสู งและค่าระดับด้ วยกล้องวัดมุม

สัปดาห์ที่

หน้าที่

12

1

วันที่ : 27-31 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ จุดประสงค์ 1. ใช้กล้องวัดมุมวัดหาความสูงของวัตถุได้ 2. สามารถทาระดับตามวิธีการของ Plane Trigonometry ได้

เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1. กล้องวัดมุมพร้อมขาตั้ง 2. เทปวัดระยะยาว 30 ม. 3. ไม้วดั ระดับ 4. หมุดไม้ 5. ตะปู 1 6. สี สเปย์

จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน

1 1 1 2 2 1

ชุด เส้น อัน หมุด ตัว กระป๋ อง

ลาดับขั้นการปฏิบัตงิ าน 1. ครู อธิบายวิธีการอ่านไม้วดั ระดับและทดสอบให้นก ั ศึกษาอ่านทุกคน 2. กาหนดอาคารภายในวิทยาลัยที่มีความสูงพอประมาณให้นก ั ศึกษาใช้กล้องวัดมุมหา 1. ความสูงของอาคารที่กาหนด 2. กาหนดจุดที่มีระยะทางและระดับความสูงต่างกันพอสมควรให้นก ั ศึกษาใช้กล้องวัดมุม 3. และไม้วดั ระดับหาระยะทางและค่าระดับโดยวิธี สเตเดีย 4. บันทึกข้อมูลลงในสมุดสนามและคานวณหาความสูง ระยะทางและค่าระดับให้ 5. เรี ยบร้อย


ใบงานที่ 11

สัปดาห์ที่

หน้าที่

การสารวจทาแผนที่ดว้ ยโซ่ - เทป

12

2

วันที่ : 27-31 ก.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ข้ อควรระวัง 1. ล๊อคแกนกล้องก่อนอ่านค่ามุมดิ่งและค่าไม้วดั ระดับ 2. การอ่านค่าจากไม้วดั ระดับต้องอ่านให้แม่นยา

การประเมินผล 1. การปฏิบตั ิงานสนามของนักศึกษา 2. จากการรายงานผลการปฏิบตั ิงานในสมุดสนาม ข้ อแนะนา 1. การกาหนดจุดให้นกั ศึกษาหาความสูงต้องเป็ นจุดที่ชดั เจนและมีความแน่นอนในการ ส่องจากจุด A และ B โดยจะต้องส่องไปที่จุดเดียวกัน 2. จุดที่ส่องควรใช้เป้ าหมายเล็กจะมีความคลาดเคลื่อนในการส่องน้อยกว่า


วิทยาลัยเทคนิคสั ตหีบ แผนกวิชาช่ างก่ อสร้ าง งาน การสารวจทาแผนที่ด้วยโซ่ - เทป

วิชา สารวจ 1

การหาระยะทางและค่าระดับด้ วยวิธที าคีโอเมตรี ทาคีโอเมตรี (Tacheometry) เป็ นวิธีที่ใช้หาความสูงและระยะทางจากกล้องถึงจุดที่ ต้องการวัด สามารถทาการวัดได้อย่างรวดเร็ วโดยไม่ตอ้ งใช้เทปวัดระยะ ความถูกต้องของงานที่ได้จากการวัดระยะอย่างเร็วนี้ มีค่าประมาณ 1 : 500 ถึง 1 : 1000 เหมาะที่จะใช้กบั งานที่มีสภาพพื้นที่สูงๆ ต่าๆ ไม่สะดวกต่อการลากเทปวัดระยะ เช่น บริ เวณหุบเขา ลาน้ า วิธีการวัดระยะอย่างเร็วนี้มีอยูห่ ลายระบบ แต่โดยทัว่ ไปนิยมใช้กล้องวัดมุม กับไม้วดั ระดับ (Staff) ประกอบกันในการวัดระยะ 1 STADIA METHOD 1.1 HORIZONTAL STADIA เมื่อแนวเล็งของกล้องอยูใ่ นแนวราบ Staff

Objective lens

U

Vertical axis l

S

F

O

M

m u

f

L U'

V c D

ภาพแสดงวิธีการ Stadia ในแนวราบ กาหนดให้ D = ระยะราบจากกล้องไปยัง Staff U, M, L = จุดตัดของสายใยบน Staff U = ระยะวัสดุ V = ระยะภาพ f = ความยาว focus c = ค่าคงที่ของกล้อง s = U - L = Staff intercept i = Stadia interval

i


พิสูจน์  UOL และ  uOl เป็ นสามเหลี่ยมคล้าย 

U' V

=

s i

(1)

จากวิชาฟิ สิคส์จะได้ว่า 1 f

=

1 v

+

1 u'

(2)

คูณ (2) ด้วย Uf จะได้ U=

U'  V

f+f

(3)

s i

(4)

แทน (1) ใน (3) U =  f + f เอา C บวกเข้าทั้งสองข้าง s i

U+ C = f + f + c D =

s f + f + c i

ในการสร้างเครื่ องมือสารวจ ผูผ้ ลิตจะทาให้ f ซึ่งเรี ยกว่า multiplying constant i (m) หรื อ multiplication คือตัวคูณคงที่ มีค่าเท่ากับ 100 และค่า f + c ซึ่งเรี ยกว่า aditive constant หรื อ addition (k) คือค่าปรับแก้ ส่วนมากมีค่าเท่ากับ 0 เพื่อให้สะดวกในการคานวณ D = 100 s (ในกรณี ที่ m = 100 , k = 0) หรื อ D = 100 s + k (ในกรณี ที่ m = 100 และ k ไม่เป็ น 0) หรื อ D = ms + k (ในกรณี ที่ m ไม่เป็ น 100 และ k ไม่เป็ น 0) ตัวอย่าง จงหาระยะทางจากกล้องไปยัง Staff เมื่ออ่านค่า Staff ได้ 1.805, 1.605, 1.405 ค่า addition เท่ากับ 0.32 เมตร D = 100 (1.805 - 1.405) + 0.32 = 40.32 m ข้อสังเกต 1.805 - 1.605 = 0.200 เรี ยกว่า upper imtercept คือระยะสายใยบนถึงสายใยกลาง 1.605 - 1.405 = 0.200 เรี ยกว่า Lower intercept คือระยะสายใยกลางถึงสายใยล่าง ค่า upper intercept กับ Lower intercept จะต้องเท่ากัน สาหรับ Horizontal Stadia.


1.2 INCLINED STADIA เมื่อแนวเล็งของกล้องไม่อยูใ่ นแนวราบ ดังภาพ วิธีน้ ีใช้กบั กล้องวัดมุมเท่านั้น U U ' M S

D

L' L 

H I.

A

q

V

B

H

ภาพแสดงวิธีการ Stadia ในแนวเอียง จากภาพที่ 4.7 กาหนดให้

H = ระยะราบจากกล้องไปยัง Staff V = ระยะดิ่งจาก HI ถึงสายใยกล้อง  = มุมสูง U, M, L = ค่าที่อ่านได้จาก แนว U M, L D = m (U - L) + k (1) พิจารณารู ป  UMU มุม M =  และมุม U’ เป็ นมุมที่ใกล้เคียงมุมฉาก ดังนั้น U' M = cos  UM

UM = UM cos  ทานองเดียวกัน ในรู ป  LML LM = LM cos  ดังนั้น UL = UL cos  = S cos  แทนค่า (2) ใน (1) D = mS cos  + k แต่ H = D cos  แทนค่า D จาก (3) H = ( mS cos  + k ) cos  = mS cos2  + k cos 

(2) (3)


ส่วนใหญ่ m = 100  H = ( 100 S cos2  + K cos  ) (4) และ V = D sin แทนค่า D จาก (3) V = (mS cos  + k) sin  V = mS cos  sin  + k sin  ส่วนใหญ่ m = 100 หรื อ V = 100 S cos  sin  + k sin  (5) กล้องส่วนมากจะมีค่า m = 100 และ k = 0  H = 100 S cos2  V = 100 S cos  sin  ถ้าจะหาค่า Elev ของจุด B = HI + V - M (เมื่อ B สูงกว่า A) หรื อ B = HI - V - M (เมื่อ B ต่ากว่า A) แต่ค่ามุมดิ่งที่อ่านได้จากกล้องเป็ นมุม Zenith ค่ามุม 0 องศา แกนกล้องจะขนานกับ แนวดิ่ง หากปรับกล้องลงมาอยูใ่ นแนวระดับจะอ่านค่ามุมได้ 90 และถ้าแกนกล้องก้มลงมาจาก แนวระดับจะอ่านค่าได้มากกว่า 90 เมื่อเทียบค่ามุม Zenith กับมุมสูง จะได้ว่า มุม Zenith 30  จะ เท่ากับมุมสูง + 60  มุม Zenith 110  จะเท่ากับมุมสูง – 20  ค่าของ sine 30= cos 60  ค่าของ sine 110= - cos 20  ดังนั้น หากใช้ค่ามุม Zenith สามารถเขียน สูตรใหม่ได้ ดังนี้  H = 100 S sin 2 Z V = 100 S cos Z sin Z เมื่อ Z คือค่ามุม Zenith ที่อ่านได้จากกล้อง ถ้าจะหาค่า Elev. ของจุด B = HI + V - M ค่า V ในสูตรจะมีเครื่ องหมายบวกหากกล้องเงยจากแนวระดับ และจะมีเครื่ องหมายลบ หากกล้องก้มลงจากแนวระดับ ตัวอย่างที่ 4.5 จงหาระยะทางจากกล้องไปยังจุดB และหาค่าระดับของ จุด B เมื่ออ่านค่ามุมดิ่งใน กล้องได้เท่ากับ 8030 และอ่านค่า Staff B ที่สายใยทั้งสามเส้น ได้เท่ากับ 2.025 , 1.515 และ 1.000 เมื่อ HI เท่ากับ 100.500 S = U-L = 2.025 - 1.000 = 1.025 m. H = H = 100 S sin 2 Z = 100  1.025 (sin 8030)2 = 99.707


V = 100 s cos Z. sin Z = 100  1.025  cos 8030  sin 8030 = 16.685 m. ค่าระดับของจุด B = HI + V - M = 100.500 + 16.685 - 1.515 = 115.670 . m. 4.2.2 TANGENTIAL METHOD เป็ นการวัดระยะและระดับ โดยการอ่านค่ามุมสูง 2 ครั้ง และอ่านค่า Staff ที่สายใย กลาง 2 ค่า ดังภาพที่ 4.8 และภาพที่ 4.9 M 1

S

M2 V P

2

1

HI.

B

q

Q

H

A

ภาพที่ 4.8 แสดงวิธีการ Tangential เมื่อจุด B สูงกว่า A P

2

HI .

1

Q V M2 S

A M1

H

ภาพที่ 4.9 แสดงวิธีการ Tangential เมื่อจุด B ต่ากว่า A จากภาพที่ 4.8 กาหนดให้ 1 = มุมสูงที่วดั ค่า staff ของสายใยกลาง M1

B


2 V H S พิสูจน์ ในสามเหลี่ยม

= มุมสูงที่วดั ค่า staff ของสายใยกลาง M2 = ระยะดิ่ง = ระยะราบ = M1 - M2 M1 PQ

VS = tan 1 H

(1)

V + S = H tan 1 ในสามเหลี่ยม M2 PQ V = H tan  2 (1) - (2) S = H (tan  1 - tan  2) S H = tanα 1  tanα 2 V

=

S  tan α 2 tan α1  tan α 2

การหาค่าระดับ Elev. B = HI + V - M2 หรื อ Elev. = HI - V - M2

(2) (3)

หรื อ V = H tan  2 (ในกรณี ที่ B สูงกว่า A) (ในกรณี ที่ B ต่ากว่า A)

ตัวอย่างที่ 4.6 ตั้งกล้องที่ A ต้องการทราบความสูงของจุด B ส่องกล้องได้ค่าต่าง ๆ ดังนี้ M1 = 1.692  1 = + 25 00 M2 = 0.892  2 = + 23 20 ถ้าส่องค่า BS ไปยัง BM ได้ 1.552 ม. และ Elev. BM.เท่ากับ 30.000 ม. จงหาค่าระดับ ของจุด B  S = 1.692 - 0.892 = 0.800 S วิธีทา H = tan α1  tan α 2 0.800 = = 22.890 ม.  tan25 00  tan2320 V = H tan  2 = 22.890 tan 23 20 = 9.873 ม. Elev. B = BM + BS + V - M2 = 30.000 + 1.552 + 9.873 - 0.892 = 40.533 ม.


ครั้งที่ ………………………………………………………..วันที่……../…………………/……… สถานที…………………………………………… อาจารย์ผสู้ อน……………………………….. ผูป้ ฏิบตั ิงาน 1) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 2) ………………………………………..………..…หน้าที่…………………………………


3) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 4) ……………………………………………………หน้าที่………………………………… 5) ……………………………………………………หน้าที่…………………………………

ภาพสเกตซ์ ข้อมูลการสารวจทาแผนที่ด้วยโซ่ – เทป ข้ อมูลการรังวัดเก็บรายละเอียด

ภาพแผนที่จากการรังวัดข้อมูลภาคสนาม



สรุป ปัญหาอุปสรรค ข้ อเสนอแนะ และข้ อแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง การวางแนว

สัปดาห์ที่

13

วันที่ : 3 – 7 ส.ค. 2552

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

เวลา :

หน้าที่

1


ใบงานที่ 3

สัปดาห์ที่

หน้าที่

การสารวจทาแผนที่ดว้ ยโซ่ - เทป

6

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 วันที่ : 15-19 มิ.ย. 2552 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ข้ อควรระวัง 1. ล๊อคแกนกล้องก่อนอ่านค่ามุมดิ่งและค่าไม้วดั ระดับ 2. การอ่านค่าจากไม้วดั ระดับต้องอ่านให้แม่นยา การประเมินผล 1. การปฏิบตั ิงานสนามของนักศึกษา 2. จากการรายงานผลการปฏิบตั ิงานในสมุดสนาม ข้ อแนะนา 1. การกาหนดจุดให้นกั ศึกษาหาความสูงต้องเป็ นจุดที่ชดั เจนและมีความแน่นอนในการ ส่องจากจุด A และ B โดยจะต้องส่องไปที่จุดเดียวกัน 2. จุดที่ส่องควรใช้เป้ าหมายเล็กจะมีความคลาดเคลื่อนในการส่องน้อยกว่า


วิทยาลัยเทคนิคสั ตหีบ แผนกวิชาช่ างก่ อสร้ าง งาน การสารวจทาแผนที่ด้วยโซ่ - เทป

วิชา สารวจ 1

ครั้งที่ ………………………………………………………..วันที่……../…………………/……… สถานที…………………………………………… อาจารย์ผสู้ อน……………………………….. ผูป้ ฏิบตั ิงาน 1) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 2) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 3) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 4) ……………………………………………………หน้าที่………………………………… 5) ……………………………………………………หน้าที่…………………………………

ภาพสเกตซ์ ข้อมูลการสารวจทาแผนที่ด้วยโซ่ – เทป ข้ อมูลการรังวัดเก็บรายละเอียด


ภาพแผนที่จากการรังวัดข้อมูลภาคสนาม



สรุป ปัญหาอุปสรรค ข้ อเสนอแนะ และข้ อแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

สัปดาห์ที่

วันที่ : 10 -14 ส.ค. 2552

14

หน้าที่

1

เวลา :

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การสารวจทาวงรอบ วงรอบ (Traverse) หมายถึง การเตรี ยมโครงร่ างของหมุดบังคับทางราบ (Horizontal Control) โดย การวางแนวเส้นสารวจต่อเนื่องกันไป เพื่อใช้หมุดนั้นในการสารวจรายละเอียดของสิ่งต่างๆ เพื่อการทาแผน ที่ การหาเนื้อที่ การวางแนวทาง หรื อกาหนดโครงงานต่างๆ การทาวงรอบจะประกอบไปด้วยการวัดมุม ที่อยูร่ ะหว่างด้านของวงรอบ และวัดระยะของด้านนั้น เพื่อนาไปคานวณหาพิกดั ตาแหน่งของหมุดในการ เขียนแผนที่ และคานวณพื้นที่ต่อไป การทาวงรอบเป็ นวิธีการสารวจที่ให้ความละเอียดรองลงมาจากการ สามเหลี่ยม งานวงรอบมีค่าความละเอียดหลายชั้นตามความเหมาะสมกับการนาไปใช้กบั งานต่างๆ กัน การสามเหลีย่ ม (Triangulation) เป็ นการทาหมุดหลักฐานที่มีความละเอียดสูง ปกติจะใช้กบั งาน ประเภท Geodetic Survey ซึ่งครอบคลุมพื้นที่บริ เวณขนาดใหญ่ โดยการสร้างหมุดบังคับเป็ นโครงข่าย สามเหลี่ยมต่อเนื่องกันไป ซึ่งจะมีเส้นฐานออกและเข้าบรรจบ ใช้หลักการคานวณทางตรี โกณมิติในการ คานวณด้านต่างๆ จากค่ามุมที่วดั ได้ หมุดหลักฐานการสามเหลี่ยมถือว่าเป็ นหมุดหลักฐานทางแผนที่ที่สาคัญ และมีความถูกต้องมากที่สุด จุดประสงค์ของการทาวงรอบ การทาวงรอบเป็ นวิธีการสารวจที่สะดวกและใช้กนั มากในการหาความสัมพันธ์ข องจุด ต่างๆทางราบ มีขอบข่ายในการทางานกว้างขวางกว่าการสารวจด้วยโซ่ - เทป จุดประสงค์ของการทา วงรอบมีจุดประสงค์หลายประการ ดังนี้ 1) การสารวจเพื่อสร้างหมุดหลักฐานแผนที่แสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน 2) การสารวจเพื่อกาหนดหมุดบังคับทางราบเพื่อการทาแผนที่ภูมิประเทศ 3) ใช้เพื่อการสารวจและการออกแบบและก่อสร้าง ทางหลวง ทางรถไฟ การวางแนวท่อต่างๆ และ งานก่อสร้าง งานโยธาทัว่ ไป 4) ใช้ในการสร้างจุดบังคับ (Ground control) เพื่อการทาแผนที่จากรู ปถ่ายทางอากาศและนอกจากนี้การ ทาวงรอบยังใช้เชื่อมโยงหมุดของการสามเหลี่ยมเพื่อให้ค่าพิกดั ต่อเชื่อมกันได้


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

หน้าที่

14

2

วันที่ : 10 -14 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ชนิดของวงรอบ ชนิดของวงรอบ แบ่งตามลักษณะของวงรอบได้เป็ น 2 ชนิด คือ 1 วงรอบเปิ ด (Open Traverse) หมายถึง วงรอบที่เชื่อมต่อระหว่างหมุดหลักฐานแผนที่ที่มีอยูแ่ ล้ว แต่ไม่บรรจบหมุดแรกออก เป็ นการทาวงรอบออกจากหมุดหลักฐานคู่หนึ่งซึ่งเป็ นวงรอบเดิม ที่รู้ค่าพิกดั ทั้ง สองหมุด (หมุดA หมุด B ตามภาพ) แล้วทาการวัดมุมและระยะทางของวงรอบ ไปเข้าบรรจบกับหมุด หลักฐานอีกคู่หนึ่งที่ทราบค่าพิกดั เช่นเดียวกัน (หมุดC หมุด D ตามภาพที่ 5.1) ทาให้สามารถตรวจสอบ ความผิดที่เกิดขึ้นได้ โดยการคานวณค่าพิกดั ของหมุดที่เข้าบรรจบเทียบกับพิกดั เดิม วงรอบเปิ ดนี้จะใช้กบั งานวางแนวต่าง ๆ เช่น แนวถนน เสาไฟฟ้ าแรงสูง แนวคลอง ท่อระบายน้ า เป็ นต้น D A

วงรอบเดิม

E B

C

I

วงรอบเดิม

F H G

ภาพที่ 4.1 แสดงวงรอบเปิ ด วงรอบปิ ด (Close Traverse) หมายถึง วงรอบบรรจบตัวเอง โดยจะเริ่ มจากแนวเส้นที่รู้ตาแหน่งค่า พิกดั สองหมุด หรื ออาจใช้ค่าพิกดั หนึ่งหมุดและค่ามุมทิศ (Azimuth) ของแนวแรก เป็ นแนวอ้างอิง วัดมุม ระยะทางเป็ นวงรอบ และวกกลับมาเข้าบรรจบจุดเดิม ดังภาพ วิธีน้ ีสามารถตรวจสอบค่าผิดพลาดการวัดมุม โดยผลรวมของมุมภายใน หรื อภายนอกของวงรอบได้ และสามารถตรวจสอบความถูกต้องของงานได้ โดย การคานวณค่าพิกดั ของวงรอบปิ ด เนื่องจากจุดแรกออกและจุดเข้าบรรจบเป็ นจุดเดียวกันค่าพิกดั ที่ถกู ต้อง เท่ากัน หากเป็ นวงรอบปิ ดที่ไม่รู้ค่าพิกดั ของจุดแรกเราอาจใช้ค่าสมมุติซ่ึงก็จะสามารถตรวจสอบได้เช่นกัน วงรอบชนิดนี้เราเรี ยกว่า วงรอบลอย (Swinging Traverse)


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

14

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ N D

A

B C

A

E

C

B

3

เวลา :

วันที่ : 10 -14 ส.ค. 2552

E

N

หน้าที่

วงรอบปิ ดวัดมุมภายใน

D

วงรอบปิ ดวัดมุมภายนอก

ภาพที่ 4. 2 แสดงวงรอบปิ ด วิธีการวัดมุมในงานทาวงรอบ ในการทาวงรอบมีวิธีการวัดมุมหลายวิธี ดังนี้ 1. Azimuth Traverse โดยการวัดมุมทิศ (Azimuth) ของแต่ละแนวเส้น ดัง ภาพ วิธีน้ ีใช้กบั การสารวจด้วยเข็มทิศ N

N

N

D

B

A

N

N C

E

ภาพที่ 4.3 แสดงการวัดมุมวงรอบแบบ Azimuth Traverse 2. Deflection angle Traverse เป็ นการวัดค่ามุมที่หกั เหจากแนวทางเดิม ดังภาพที่ 5.4 ส่วนมาก จะใช้ในการทาวงรอบ วางแนวทางถนน งานวางท่อ เป็ นต้น N A

B 

D C

 E

ภาพที่ 4.4 แสดงการวัดมุมวงรอบแบบ Deflection angle Traverse


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

14

หน้าที่

4

เวลา :

วันที่ : 10 -14 ส.ค. 2552

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

3. Traverse by angle to the right โดยวัดมุมทางขวาตลอด หรื อเปิ ดมุมวนตามเข็มนาฬิกาทุกแนว ดังภาพ N

D

B

E

C

A

ภาพที่ 4.5 แสดงการวัดมุมวงรอบแบบ วัดมุมขวาตลอด 4. Interior angle Traverse คือ การวัดมุมภายในของวงรอบปิ ด ดังภาพ E

N

D

A

B C ภาพที่ 4.6 แสดงการวัดมุมวงรอบปิ ดแบบ วัดมุมภายใน 5. Exterior angle Traverse คือการวัดมุมภายนอกของวงรอบปิ ด ดังภาพที่ 5.7 N

B C

A E

D

ภาพที่ 4.7 แสดงการวัดมุมวงรอบปิ ดแบบ วัดมุมภายนอก


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

สัปดาห์ที่

14

วันที่ : 10 -14 ส.ค. 2552

หน้าที่

5

เวลา :

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ทิศเหนือ ทิศเหนือ มีหลายชนิด ซึ่ งการใช้จะใช้ตามความต้องการของงาน เช่น แผนที่ แบบสารวจ แบบแปลน ทิศเหนือแบ่ง ออกได้ ดังนี้ 1.ทิศเหนือจริ ง (True North = TN) เป็ นทิศเหนือที่ถูกต้อง การหาทิศเหนือจริ งนี้หาได้จากการสารวจทาง ดาราศาสตร์ และเครื่ องมือพิเศษในการหาทิศ ทิศเหนือจริ งจะไม่ใช้ในงานแบบวิศวกรรม 2.ทิศเหนือแม่เหล็ก (Magnetic North = MN) เป็ นทิศเหนือที่ได้จากการแขวนลอยแม่เหล็กให้อยูอ่ ย่า ง อิสระซึ่ งปลายแม่เหล็กจะชี้ข้ วั เหนือใต้ในทางสารวจจะสร้างเครื่ องมือขึ้นมาหาค่าทิศเหนือแม่เหล็กโดยเฉพาะ เช่น Prismatic Compass หรื อเราเรี ยกว่า ตลับเข็มทิศ 3.ทิศเหนือสมมุติ ( Arbitrary North = AN )ทิศเหนือสมมุติน้ ีจะใช้มากที่สุดในงานก่อสร้างที่ไม่ใหญ่โตมาก นัก ซึ่ งส่ วนมากก็ใช้วิธีประมาณหรื อหากละเอียดขึ้นมาอีกนิดก็โดยการใช้เข็มทิศแม่เหล็กกาหนด 4.ทิศเหนือกริ ด (Grid North = GN) หมายถึง ทิศเหนือของแผนที่ซ่ ึ งเป็ นทิศเหนือตามเส้นแกนตั้งของ เส้นกริ ด

MN GN TN 


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

14

6

วันที่ : 10 -14 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การปฏิบัตงิ านทาวงรอบ 1. หลักการปฏิบตั งิ านทาวงรอบ การทาวงรอบมีหลักการที่ตอ้ งคานึงถึงในการทางาน ดังนี้ 1) การเริ่ มงานต้องออกจากจุดหนึ่งจุดใดที่ทราบพิกดั ฉากและค่าระดับ หากไม่ทราบ ค่าพิกดั อาจใช้วิธีสมมุติข้ ึนมาลักษณะวงรอบลอย ในกรณีที่วงรอบนี้เป็ นงานที่ไม่ได้นาไปโยงกับงานในส่วน อื่น 2) ต้องทราบค่ามุมทิศ (Azimuth) ของจุดที่ต้งั กล้องจุดแรกไปยังอีกจุดที่สอง ซึ่งเป็ น ด้านแรกของวงรอบถ้า Azimuth เดิมไม่มีตอ้ งทาการรังวัด Azimuth ขึ้นมาโดยอาศัยวิชาดาราศาสตร์ ใช้เข็ม ทิศแม่เหล็ก หรื ออาจกาหนดขึ้นเองโดยการประมาณหากงานนั้นไม่ตอ้ งการทราบทิศทางที่แน่นอน 3) หากเริ่ มงานจากหมุดที่รู้ค่าพิกดั สองหมุด ให้คานวณหาค่ามุมทิศจากค่าพิกดั ของ หมุดคู่น้ นั เป็ นด้านแรกสาหรับเริ่ มงาน ไม่ตอ้ งวัดค่า Azimuth ใหม่ 4) จะต้องวัดมุมทุกมุมและระยะทางราบทุกด้านของวงรอบ หากเป็ นงานที่ตอ้ งการ ความละเอียดสูงก็จะต้องวัดมุมหลายๆ ชุด นามาหาค่าเฉลี่ย 2. หมุดวงรอบ หมุดวงรอบที่ใช้เป็ นจุดกาหนดการตั้งกล้องในการสารวจแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ 1 หมุดไม่ถาวร ใช้หมุดไม้ขนาด 1.5   1.5  30 - 50 ซม. ตะปูที่ใช้ตอกหัวหมุดควรใช้ ตะปู 1  ในการก่อสร้างเราเรี ยกหมุดนี้ว่า Peg หรื อ Hub ดังภาพที่ 4.9 ก 2 หมุดถาวร จะใช้แท่งคอนกรี ต  9 ซม.50 ซม. ตรงกลางหมุดฝังด้วยตะปูตอกคอนกรี ต หรื อตะปูเกลียวหัวแฉก ดังภาพที่ 4.9 ข. ไม้ 1” x 1” ก. หมุดไม่ถาวร

แท่งคอนกรี ต  30 - 50 ซม.

ภาพที่ 4.9 แสดงหมุดวงรอบ

ข.หมุดถาวร  50 ซม.


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

14

หน้าที่

7

วันที่ : 10 -14 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การกาหนดตาแหน่งจุดวงรอบ ควรพิจารณา จากสิ่งต่างๆ ดังนี้ 1) บริ เวณนั้นควรเป็ นดินแข็ง อยูใ่ นที่โล่ง ตั้งกล้องง่าย มองเห็นจุดวงรอบถัดไปและจุดที่ ต้องการเก็บรายละเอียดได้มากที่สุด 2) ควรใช้ตาแหน่งที่อยูใ่ กล้กบั สิ่งก่อสร้าง หรื อถาวรวัตถุที่เป็ นที่สงั เกตเห็นได้ง่าย 3) จะต้องอยูใ่ นที่ปลอดภัย ไม่ถกู ทาลายได้ง่าย เช่นไม่ควรอยูใ่ นตาแหน่งที่กีดขวางทางสัญจร การทาหมุดหมายพยาน การตอกหมุดวงรอบจะต้องทาหมุดหมายพยานหรื อหมุดอ้างอิง (Reference Point) โดยโยงยึดกับ ถาวรวัตถุในบริ เวณนั้นๆไม่นอ้ ยกว่า 3 จุด เพื่อสะดวกในการค้นหาและ สามารถสร้างทดแทนในกรณี ที่หมุดสูญหาย จุดที่ใช้โยงยึด ควรพิจารณาจากสิ่งต่างๆ เหล่านี้ 1) ต้นไม้ที่ทาเป็ นหมุดอ้างอิงควรจะเป็ นต้นไม้ยนื ต้นที่มีลกั ษณะเด่นกว่าต้นอื่นๆ ในบริ เวณนั้น เช่นมีดอกที่เห็นได้ชดั เช่น ต้นประดู่ ตะแบก ต้นไม้ที่ใหญ่กว่าต้นอื่น หรื อรู ปทรงต่างจากต้นอื่น 2) ใช้สิ่งก่อสร้างที่ถาวร เช่น มุมอาคาร เสาบ้าน ขอบกระถางต้นไม้ที่ถาวร เสาไฟฟ้ า ที่ สังเกตได้ชดั เจน ดังภาพที่ 4.10

N อาคารเรี ยน RP 1

เสาไฟฟ้ า Az 623020 RP 3 3.8 ม. 5.5 ม. Az 2853520  STATION A(ตะปูเกลียว ฝังในคอนกรี ต ) 4.6 ม. ฐานเสาธง Az 1872040 RP 2 ภาพที่ 4.10 แสดงการทาหมุดหมายพยาน


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

14

หน้าที่

8

วันที่ : 10 -14 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การเก็บรายละเอียดงานวงรอบ การเก็บรายละเอียดสิ่งต่างๆที่อยูใ่ นบริ เวณที่สารวจ ทาได้โดยการวัดมุมและระยะทางจากหมุด วงรอบซึ่งมีวิธีการ ดังนี้ 1) การวัดมุมและระยะทางจากหมุดวงรอบ โดยตั้งกล้องบนหมุดวงรอบ Set มุม 0 องศาไป ที่หมุดอีกหมุดหนึ่งตามแนวเส้นวงรอบแล้วเปิ ดมุมไปยังจุดที่ตอ้ งการเก็บรายละเอียด และวัดระยะทางจากจุด ตั้งกล้องถึงจุดนั้น ดังภาพที่ 4.11 ก 2) การวัดมุมจากจุดตั้งกล้อง 2 จุด เป็ นการเล็งสกัด ใช้ในกรณี ไม่สามารถวัด ระยะได้หรื อ การวัดระยะทาได้ยาก ดังภาพที่ 4.11 ข A

D

ก. การวัดมุมและวัดระยะจากจุดวงรอบ

A

D

ข. การวัดมุมสกัดจากกล้อง 2 จุด

A

D

ค. การวัดมุมจากจุด A วัดระยะจากจุด D


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

สัปดาห์ที่

หน้าที่

14

วันที่ : 10 -14 ส.ค. 2552

เวลา :

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

N

D A

C B

ภาพที่ 4.12 แสดงการเก็บรายละเอียดจากหมุดวงรอบ

9


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

14

หน้าที่

10

วันที่ : 10 -14 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ระบบการวัดมุมทิศ แบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ 1 Whole Circle Bearing System (WCB) หรือ Azimuth System หมายถึง ง่ามมุมที่วดั จากทิศเหนือใน ทิศทางตามเข็มนาฬิกา มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 360 ตัวอย่าง เช่น 1, 2, 3, 4

N

A

D 4

1

W

2

E

3 B C S ภาพที่ 4.13 แสดงการวัดมุม Azimuth


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

14

หน้าที่

11

วันที่ : 10 -14 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 2. Quadrantal Bearing System หรือ Reduced Bearing (RB) หมายถึง ง่ามมุมที่วดั ไปทางทิศ ตะวันตกและตะวันออก โดยนับเนื่องจากทิศเหนือและทิศใต้ ซึ่งการวัดจะวัดออกจากแนวเม อริ เดียนทั้งตามเข็มและทวนเข็มนาฬิกา มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 90 ดังภาพที่ 4.14

N

D 4

A 1

W

E 2

3

B C

S

ภาพที่ 4.14 แสดงการวัดมุม Reduced Bearing จากภาพที่ 4.14 แนว แนว แนว แนว

OA OB OC OD

มีค่ามุมทิศ มีค่ามุมทิศ มีค่ามุมทิศ มีค่ามุมทิศ

(RB) (RB) (RB) (RB)

= N 1 E = S 2 E = S 3 W = N 4 W


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

14

วันที่ : 10 -14 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ตารางที่ 4.1 การเปลี่ยน WCB เป็ น RB Quadrant ค่า WCB () สูตร RB () I RB = WCB 0 - 90 = 1 II RB = 180 - WCB 90 - 180 = 2 III RB = WCB - 180 180 - 270 = 3 IV RB = 360 - WCB 270 - 360 = 4

ตารางที่ 4.2 การเปลี่ยน RB เป็ น WCB Quadrant ค่า WCB () I 0 - 90 II 90 - 180 III 180 - 270 IV 270 - 360

หน้าที่

สูตร WCB () WCB = RB WCB = 180 - RB WCB = 180 + RB WCB = 360 - RB

12

เวลา :

Quadrant N_ E S_E S_W N_W RB () N 1 E S 2 E S 3 W N 4 W

ภาคของทิศหน้า และ ภาคของทิศหลัง หรือ ภาคของทิศไป และ ภาคของทิศกลับ (Fore Bearing and Back Bearing) 1 WCB System Fore Bearing (FB) หรื อภาคของทิศไป คือ ง่ามมุมที่วดั จากทิศเหนือไปยังหมุดที่ตอ้ งการทราบภาคของ ทิศ เช่น ตั้งเข็มทิศที่ A วัดง่ามมุมจากทิศเหนือไปยัง B ได้ค่าเท่ากับ 1 ดังภาพที่ 4.15 B

N

B 3 N 1

A

FB. BC

FB. AB BB. AB

A

BB. BC

C ภาพที่ 4.15 แสดง Fore Bearing และ Back Bearing

D FB. CD BB. CD


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

14

หน้าที่

13

วันที่ : 10 -14 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ Back Bearing (BB) หรื อ ภาคของทิศกลับ หมายถึง มุมภาคของทิศที่วดั จากทิศเหนือไปยังจุดที่วดั FB มาในรู ปคือการวัดจาก B ไป A ซึ่งก็คือ 3 = 1 + 180 นัน่ เอง ทานองเดียวกันถ้าให้ BA เป็ น FB AB ก็จะเป็ น BB เพราะฉะนั้น 1 = 3 - 180 สรุ ปเป็ นสูตรได้ว่า BB. = FB. ± 180 ใช้เครื่ องหมายบวกเมื่อ FB < 180 ใช้เครื่ องหมายลบเมื่อ FB > 180

5.3.3.2 RB. System ในระบบนี้เพียงแต่เปลี่ยนตัวอักษรให้เป็ นตรงกันข้ามก็จะได้ F.B. และ BB ตามต้องการ ดังภาพที่4.14 N W N W

1 A

B 1

E

S E

S

ภาพที่ 4.14 แสดง ค่า Fore Bearing และ Back Bearing ระบบ RB A ไป B หรื อ FB. AB = N 1 E B ไป A หรื อ BB. AB = S 1 W


ใบงานที่ 13

สัปดาห์ที่

หน้าที่

การทาวงรอบปิ ดด้วยกล้องวัดมุม

14

1

วันที่ : 10 -14 ส.ค. 2552 เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ จุดประสงค์ 1. ใช้กล้องวัดมุมวัดค่ามุมราบเพื่อการทาวงรอบปิ ดได้ เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1. กล้องวัดมุมพร้อมขาตั้ง จานวน 1 ชุด 2. ขาตั้งดิ่ง หรื อชุดเป้ าเล็ง จานวน 2 ชุด 3. เทปวัดระยะยาว 30 ม. จานวน 1 เส้น 4. หมุดไม้ จานวน 4 อัน 5. ห่วงคะแนน จานวน 5 อัน 6. ตะปู 1 จานวน 4 ตัว 7. สีสเปย์ จานวน 1 กระป๋ อง 8. ร่ มกันแดด จานวน 1 คัน ลาดับขั้นการปฏิบัตงิ าน 1. แบ่งกลุ่มนักศึกษากลุ่มละ 4 – 5 คนหรื อตามชุดเครื่ องมือที่มี 2. กาหนดพื้นที่ตอกหมุดเป็ นวงรอบรู ปสี่เหลี่ยม ABCD โดยลาดับหมุดทวนเข็มนาฬิกา ระยะทาง ของแต่ละด้านไม่นอ้ ยกว่า 50 เมตร 3. สาธิตวิธีการวัดค่ามุมราบให้นกั ศึกษา ตามขั้นตอนต่างๆ การตั้งค่ามุมศูนย์องศา การเล็งศูนย์ ไปยังที่หมาย การเปิ ดมุม การอ่านค่ามุม 4. เริ่ มงานโดยการตั้งกล้องที่จุด A และขาตั้งดิ่งไปตั้งที่จุด D Set ค่ามุมราบ 0 0000 เปิ ดค่ามุม ส่องหมุด D จะได้ค่า Azimuth AD คานวณค่า Azimuth DA = Azimuth AD  180 เป็ นแนวเริ่ มในการ คานวณค่ามุมทิศของวงรอบ บันทึกค่ามุมในสมุดสนาม 5. นาขาตั้งดิ่งอีกหนึ่งชุดไปตั้งที่จุด B กาหนดงานให้นกั ศึกษาทาการวัดค่ามุมราบและ ระยะทางของวงรอบ ด้วยกล้องหน้าซ้ายและหน้าขวา จานวน 2 ชุด โดยเริ่ ม ชุดที่ 1 ส่องจุดธงหลัง Set ค่า มุม 0 0000 และชุดที่ 2 ส่องจุดธงหลัง Set ค่ามุม 90 0000 เริ่ มจากจุด A ส่องไปที่ธงหลัง D เปิ ดมุม ไปที่ธงหน้า B ทาการวัดมุมทุกมุมและระยะทางทุกด้าน จนบรรจบหมุดแรกออกเป็ นวงรอบปิ ด


ใบงานที่ 13

สัปดาห์ที่

หน้าที่

การทาวงรอบปิ ดด้วยกล้องวัดมุม

14

2

วันที่ : 10 -14 ส.ค. 2552 เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 6. บันทึกข้อมูลการวัดมุมและระยะทางลงในสมุดสนาม โดยบันทึกมุมละ 1 หน้า นาข้อมูลไป คานวณหาเฉลี่ยของมุมวงรอบ และนาไปคานวณค่าพิกดั A

D

N Az AD = 983020

B

C

ตัวอย่างการบันทึกข้อมูลลงสนาม การวัดมุม A จุดตั้ง ที่ ระยะ หน้า กล้อง หมาย ทาง กล้อง A D 58.24 L B 53.75 L A D 58.26 R B 53.75 R ชุดที่1 A A

D B D B

L L R R ชุดที่2

ค่าเฉลี่ย A A

D B

58.25 53.75

2 ชุด ค่าองศาราบ

มุมราบ

หมายเหตุ

00000 A 812030 812030 1800010 2612030 812020 ค่าเฉลี่ย 812025 900000 1712035 812035 2700000 3512030 812030 ค่าเฉลี่ย 812033

ค่าเฉลี่ยมุม 2 ชุด

812029

B

D


ใบงานที่ 13

สัปดาห์ที่

หน้าที่

การทาวงรอบปิ ดด้วยกล้องวัดมุม

14

3

วันที่ : 10 -14 ส.ค. 2552 เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ข้ อควรระวัง 1. การตั้งกล้องให้ตรงหมุด ตรวจสอบระดับฟองยาวและศูนย์ดิ่งก่อนวัดมุม 2. ปรับภาพและสายใยให้ชดั ขจัดภาพเหลื่อม (Parallax) ก่อนเล็งเป้ าหมายทุกครั้ง 3. ตรวจสอบค่ามุมหน้าซ้ายกับหน้าขวาก่อนย้ายกล้อง 4. จะต้องมีความละเอียด ในการทางาน การประเมินผล 1. การปฏิบตั ิงานสนามของนักศึกษา 2. จากการรายงานผลการปฏิบตั ิงานในสมุดสนาม 3. ตรวจสอบค่าคลาดเคลื่อนในการวัดมุมวงรอบจะต้องไม่มากกว่า 30 K หรื อ 60 ข้ อแนะนา ก่อนย้ายกล้องทุดจุดจะต้องตรวจสอบข้อมูลให้ถกู ต้องเสียก่อน


วิทยาลัยเทคนิคสั ตหีบ แผนกวิชาช่ างก่ อสร้ าง งาน การทาวงรอบปิ ดด้ วยกล้ องวัดมุม

วิชา สารวจ 1

การทาวงรอบเป็ นวิธีการสารวจที่สะดวกและใช้กนั มากในการหาความสัมพันธ์ของจุด ต่างๆทางราบ มีขอบข่ายในการทางานกว้างขวางกว่าการสารวจด้วยโซ่ - เทป จุดประสงค์ของ การทาวงรอบมีจุดประสงค์หลายประการ ดังนี้ 1) การสารวจเพื่อสร้างหมุดหลักฐานแผนที่แสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน 2) การสารวจเพื่อกาหนดหมุดบังคับทางราบเพื่อการทาแผนที่ภูมิประเทศ 3) ใช้เพื่อการสารวจและการออกแบบและก่อสร้าง ทางหลวง ทางรถไฟ การวางแนวท่อ ต่างๆ และงานก่อสร้าง งานโยธาทัว่ ไป 4) ใช้ในการสร้างจุดบังคับ (Ground control) เพื่อการทาแผนที่จากรู ปถ่ายทางอากาศและ นอกจากนี้การทาวงรอบยังใช้เชื่อมโยงหมุดของการสามเหลี่ยมเพื่อให้ค่าพิกดั ต่อเชื่อมกันได้ จุดประสงค์ 1. ใช้กล้องวัดมุมวัดค่ามุมราบเพื่อการทาวงรอบปิ ดได้ เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1. กล้องวัดมุมพร้อมขาตั้ง จานวน 1 ชุด 2. ขาตั้งดิ่ง หรื อชุดเป้ าเล็ง จานวน 2 ชุด 3. เทปวัดระยะยาว 30 ม. จานวน 1 เส้น 4. หมุดไม้ จานวน 4 อัน 5. ห่วงคะแนน จานวน 5 อัน 6. ตะปู 1 จานวน 4 ตัว 7. สีสเปย์ จานวน 1 กระป๋ อง 8. ร่ มกันแดด จานวน 1 คัน ลาดับขั้นการปฏิบัตงิ าน 1. กาหนดพื้นที่ตอกหมุดเป็ นวงรอบรู ปสี่เหลี่ยม ABCD โดยลาดับหมุดทวนเข็มนาฬิกา ระยะทางของแต่ละด้านไม่นอ้ ยกว่า 50 เมตร 2. สาธิตวิธีการวัดค่ามุมราบให้นกั ศึกษา ตามขั้นตอนต่างๆ การตั้งค่ามุมศูนย์องศา การเล็งศูนย์ไปยังที่หมาย การเปิ ดมุม การอ่านค่ามุม 3. เริ่ มงานโดยการตั้งกล้องที่จุด A และขาตั้งดิ่งไปตั้งที่จุด D Set ค่ามุมราบ 0 0000 เปิ ดค่ามุมส่องหมุด D จะได้ค่า Azimuth AD คานวณค่า Azimuth DA = Azimuth AD  180 เป็ นแนวเริ่ มในการคานวณค่ามุมทิศของวงรอบ บันทึกค่ามุมในสมุดสนาม


4. นาขาตั้งดิ่งอีกหนึ่งชุดไปตั้งที่จุด B กาหนดงานให้นกั ศึกษาทาการวัดค่ามุมราบและ ระยะทางของวงรอบ ด้วยกล้องหน้าซ้ายและหน้าขวา จานวน 2 ชุด โดยเริ่ ม ชุดที่ 1 ส่องจุด ธงหลัง Set ค่ามุม 0 0000 และชุดที่ 2 ส่องจุดธงหลัง Set ค่ามุม 90 0000 เริ่ มจากจุด A ส่องไปที่ธงหลัง D เปิ ดมุมไปที่ธงหน้า B ทาการวัดมุมทุกมุมและระยะทางทุกด้าน จนบรรจบ หมุดแรกออกเป็ นวงรอบปิ ด 5. บันทึกข้อมูลการวัดมุมและระยะทางลงในสมุดสนาม โดยบันทึกมุมละ 1 หน้า นา ข้อมูลไปคานวณหาเฉลี่ยของมุมวงรอบ และนาไปคานวณค่าพิกดั ข้ อควรระวัง 1. การตั้งกล้องให้ตรงหมุด ตรวจสอบระดับฟองยาวและศูนย์ดิ่งก่อนวัดมุม 2. ปรับภาพและสายใยให้ชดั ขจัดภาพเหลื่อม (Parallax) ก่อนเล็งเป้ าหมายทุกครั้ง 3. ตรวจสอบค่ามุมหน้าซ้ายกับหน้าขวาก่อนย้ายกล้อง 4. จะต้องมีความละเอียด ในการทางาน การประเมินผล 1. การปฏิบตั ิงานสนามของนักศึกษา 2. จากการรายงานผลการปฏิบตั ิงานในสมุดสนาม 3. ตรวจสอบค่าคลาดเคลื่อนในการวัดมุมวงรอบจะต้องไม่มากกว่า 30 K หรื อ 60 ข้ อแนะนา ก่อนย้ายกล้องทุดจุดจะต้องตรวจสอบข้อมูลให้ถกู ต้องเสียก่อน


A

D

N Az AD = 983020

B

C

ตัวอย่างการบันทึกข้อมูลลงสนาม การวัดมุม A 2 ชุด จุดตั้ง ที่ ระยะ หน้า ค่าองศาราบ กล้อง หมาย ทาง กล้อง A D 58.24 L 00000 B 53.75 L 812030 A D 58.26 R 1800010 B 53.75 R 2612030 ชุดที่1 ค่าเฉลี่ย A D L 900000 B L 1712035 A D R 2700000 B R 3512030 ชุดที่2 ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย A A

D B

58.25 53.75

ค่าเฉลี่ยมุม 2 ชุด

มุมราบ

812030

หมายเหตุ

A D

812020 812025 B

812035 812030 812033 812029


ครั้งที่ ………………………………………………………..วันที่……../…………………/……… สถานที…………………………………………… อาจารย์ผสู้ อน……………………………….. ผูป้ ฏิบตั ิงาน 1) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 2) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 3) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 4) ……………………………………………………หน้าที่………………………………… 5) ……………………………………………………หน้าที่…………………………………

ภาพสเกตซ์ ข้อมูลการทาวงรอบปิ ดด้ วยกล้ องวัดมุม

ตารางการบันทึกข้อมูลลงสนาม การวัดมุม A 2 ชุด


จุดตั้ง กล้อง

ที่ หมาย

ระยะ ทาง

หน้า กล้อง

ค่าองศาราบ

มุมราบ

หมายเหตุ


รายการคานวณ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


สรุป ปัญหาอุปสรรค ข้ อเสนอแนะ และข้ อแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

15

1

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การคานวณหามุมจากค่ามุมทิศ 1 WCB System วิธีการคานวณค่ามุมจากภาพที่ 4.15 คานวณได้จาก สูตร มุม = F.B. ของธงหน้า - FB. ของธงหลัง (ถ้าลบ B N ไม่ได้ให้เอา 360 ไปบวก) D มุม BAC = 2 - 1 1 3 มุม DAC = 3 - 2 W E A 2 มุม DAB = 1 - 3 + 360

C S ภาพที่ 4.15 แสดง การหาค่ามุมจากมุมทิศ WCB 2 RB. System วิธีการคานวณค่ามุมจากภาพที่ 4 .16 คานวณได้จาก มุม BAC = 180 - ( 1 + 2) N มุม CAD = 2 + 3 A D 4 มุม DAF = 180 - ( 3 + 4) 1 มุม FAB = 1 + 4 W E 2

3

B C

S

ภาพที่ 4.16 แสดง การหาค่ามุมจากค่ามุมทิศ ระ บบ RB


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

15

หน้าที่

2

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การคานวณหา Azimuth ของวงรอบ จากค่ามุม การหาค่า Azimuth จะคิดจากสูตร Az ที่ช้ ีไป = Az ที่ช้ ีมา + มุมของวงรอบ  180 หรื อ FB ธงหน้า = BB ของธงหลัง + มุมของวงรอบ  180 *ถ้ามุมที่วดั ได้มากกว่า180ให้ใช้เครื่ องหมายลบ ถ้ามุมที่วดั ได้นอ้ ยกว่า 180 ให้ใช้เครื่ องหมายบวก วิธีการคานวณต้องคานวณโดยเริ่ มจากแนวที่รู้ค่า Az และคานวณโดยวนทวนเข็มนาฬิกาไปยังหมุดต่างๆตาม แนววงรอบ คานวณต่อเนื่องกันไป จนครบทุกมุม ตัวอย่างที่ 5.1 จากการทาวงรอบด้วยกล้องวัดมุมได้ขอ้ มูลดังภาพที่ 4.17 จงหาค่า Az ของวงรอบ D N 12000 E 10020 C 22530 F 5000 12530

9840

AZ. AB = 85

B A ภาพที่ 4.17 แสดงข้อมูลการวัดมุมวงรอบปิ ด จากสูตร Az ชี้ไป = Az ชี้มา + มุม + 180 Az AB = 85 Az BC = Az AB + มุม B + 180 = 85 + 98 40 - 180 = 3 40 Az CD = 3 40 + 100 20 + 180 = 284 00 Az DE = 284 00 + 120 00 - 180 = 224 00 Az EF = 224 + 225 30 - 180 = 269 30 Az FA = 269 30 + 50 00 - 180 = 139 30 Az AB = 139 30 + 125 30 - 180 = 85 00


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

หน้าที่

15

3

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การคานวณหาค่ามุมวงรอบจากค่า Azimuth * สูตร มุม = F.B. ของธงหน้า - FB. ของธงหลัง (ถ้าลบไม่ได้ให้เอา 360 ไปบวก) ตัวอย่างที่ 5.2 จากการทาวงรอบด้วยกล้องวัดมุมได้ค่า Azimuth ของด้านต่างๆ ดังภาพที่ 4.19 จงหาค่ามุมภายในของวงรอบ Az. DE = 224 00

D

Az. CD = 284 00 C

Az. EF = 269 30 E F Az FA = 139 30

Az. BC = 3 40

A A

Az. AB = 8500

B

ภาพที่ 4.18 แสดงการคานวณค่ามุมวงรอบจากค่า Azimuth * สูตร มุม = F.B. ของธงหน้า - FB. ของธงหลัง (ถ้าลบไม่ได้ให้เอา 360 ไปบวก) มุม A = Az. AB – Az.AF = 85 00- (139 30 + 180) +360 = 125 30 มุม B = Az. BC – Az.BA = 3 40- (85 00 + 180) +360 = 98 40 มุม C = Az. CD – Az.CB = 284 00- (3 40 + 180) = 100 20 มุม D = Az. DE – Az.DC = 224 00- (284 00- 180) = 120 00 มุม E = Az. EF – Az.ED = 269 30- (224 00- 180) = 225 30 มุม F = Az. FA – Az.FE = 139 30- (269 30- 180) = 50 00 ผลรวมมุมภายใน = 720 00

N


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

15

หน้าที่

4

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ระบบพิกดั ฉาก (Rectangular Co-ordinate) ในงานสารวจโดยปกติแล้วตาแหน่งของจุดต่าง ๆ จะต้องอ้างอิงถึงแกนสองแกน หรื อ เส้นสองเส้นซึ่ง ตั้งได้ฉากซึ่งกันและกัน แกนสองแกนนี้เราเรี ยกว่า แกนพิกดั ฉาก และจุดตัดของแกนทั้งสองเราเรี ยกว่า จุด ศูนย์กาเนิด (Origin of co-ordinate) ดูภาพที่ 4.19 ประกอบ Y (N)

P4 (Y4 , X4) Y4

P1 (Y1, X1) Y1

4 1 L

X' (W)

O 3 2

Y3 P3 (Y3 , X3)

X1

X4

Y2 X2

X (E)

P2 (Y2 , X2)

X3 Y' (S)

ภาพที่ 4.19 แสดงระบบพิกดั ฉากของจุดต่างๆ จากภาพที่ 4.19 X X เป็ นพิกดั ราบ Y Y เป็ นพิกดั ตั้ง  เป็ นค่า R.B. O P ใดๆ เป็ นด้านของวงรอบให้มีความยาว L X, Y ใดๆ เป็ นพิกดั ฉากจากศูนย์กาเนิด ในทางสารวจเราจะให้แกนสองแกนนี้เป็ น เหนือ - ใต้และออก - ตก เพราะฉะนั้นใน Quadrant ที่ 1 พิกดั ฉากก็จะเป็ น N - E Quadrant ที่ 2 ก็จะเป็ น S - E, Quadrant ที่ 3 ก็จะเป็ น S - W, Quadrant ที่ 4 ก็จะเป็ น N - W (หรื อ น.อ, ต.อ, ต.ฏ, น.ฏ ตามลาดับ)


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

หน้าที่

15

5

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ตารางที่ 5.3 เครื่ องหมายพิกดั ฉาก เครื่ องหมาย Quadrant WCB () RB() X Y 1 +N +E 0 - 90 NE 2 -S +E 90 - 180 SE 3 -S -W 180 - 270 SW 4 +N -W 270 - 360 NW

Latitude และ Departures (ส่ วนของแกนตั้งและส่ วนของแกนราบ) 1. Latitude หมายถึง ระยะที่วดั ขนานกับแนวทิศเหนือ-ใต้ หรื อแนวแกน Y โดยค่า Latitude จะมี เครื่ องหมายเป็ นบวก ถ้าไปทางทิศเหนือ และเป็ นลบถ้าไปทางทิศใต้ ดูภาพที่ 4.20 2. Departure หมายถึงระยะที่วดั ขนานกับแนวทิศตะวันออก-ตะวันตก หรื อ แนวแกน X โดยค่า Departure จะมีเครื่ องหมายเป็ นบวก ถ้าไปทางทิศตะวันออกและเป็ นลบถ้าไปทางทิศ Y (N) ตะวันตก ดูภาพที่ 5.21 D Dep OD Lat OD

C

A

L 4 1 L Lat OA

X' (W) Lat OC

Dep OA

O 3 2 L Dep OC

L

X Dep OB 2

X (E) Lat OB B

Y' (S)

ภาพที่ 4.20 แสดงค่า Latitude และ Departures


เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง จากภาพที่ 4.20 จะได้

Latitude OA Departure OA Latitude OC Departure OC

สัปดาห์ที่

15

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552

หน้าที่

6

เวลา :

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ = ระยะทาง OA  cos 1 = ระยะทาง OA  sin 1 = ระยะทาง OC  cos 3 = ระยะทาง OC  sin 3

สรุ ปเป็ นสูตรได้ว่า Latitude ของด้านใดๆ = ระยะทาง ของด้านนั้น  cos Reduced Bearing ของด้านนั้น Departure ของด้านใดๆ = ระยะทาง ของด้านนั้น  sin Reduced Bearing ของด้านนั้น หรื อ Latitude ของด้านใดๆ = ระยะทาง ของด้านนั้น  cos Az ของด้านนั้น Departure ของด้านใดๆ = ระยะทาง ของด้านนั้น  sin Az ของด้านนั้น ** การคานวณจะใช้ ค่ามุมAz (WCB) หรื อจะใช้ RB ก็ได้ ถ้าใช้ Az เครื่ องหมายจะออกมาเป็ น +, เลย (กรณี ที่ใช้เครื่ องคานวณ) ส่วนการใช้ RB จะต้องดูค่าภาคของทิศและค่าเครื่ องหมายตามตาราง


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

หน้าที่

15

7

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การคานวณพิกดั ฉาก การคานวณค่าพิกดั ฉากของเป็ นการหาค่าพิกดั โดยวัดระยะจากศูนย์กาเนิดไปยังจุดนั้น โดยนาค่า Latitude และ Departure มาบวก- ลบ ไปเรื่ อยๆให้ดูภาพที่ 4.21 ประกอบ N

GN

GN

Y2 Y2

Y1

Y1 1

L1

B

2 L2

A C

Y3 W

O

X1

X1

X2

X2

X3

E

S

ภาพที่ 4.21 แสดงค่า Latitude และ Departures ของวงรอบ จากภาพที่ 4.21 ถ้าหากเราต้องการพิกดั ฉากจากศูนย์กาเนิด เราก็จะนาเอาค่า Latitude และ Departure มาบวกต่อเนื่องกันไปเรื่ อย ๆ จนถึงจุดนั้น คิดเครื่ องหมายแบบพีชคณิ ตด้วย เช่น พิกดั ฉากของจุด C คือ (Y3 X3) กาหนดให้ O เป็ น Origin หรื อจุดศูนย์กาเนิด Y ใด ๆ เป็ น Latitude X ใด ๆ เป็ น Departure A,B,C เป็ นหมุดของวงรอบ 1,2 เป็ น Azimuth (WCB) L เป็ นระยะวงรอบ


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

15

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ในวงรอบด้าน AB Latitude = Y1 = L1 cos 1 Departure = X1 = L1 sin 1 Y3 = Y1 + Y1 + Y2 หรื อ Y3 = Y1 + L1 cos 1 + L2 cos 2 X3 = X1 + X1 + X2 หรื อ X3 = X1 + L1 sin 1 + L2 sin 2 กาหนดให้ Xn และ Yn เป็ นพิกดั ของจุดสุดท้าย X1 และ Y1 เป็ นพิกดั ฉากของจุดแรกออก จะได้สูตรว่า Yn = Y1 + L1 cos 1 + L2 cos 2 + --- Ln cos n Xn = X1 + L1 sin 1 + L2 sin 2 + ----Ln sin n หรื อ Nn = N1 + L1 cos 1 + L2 cos 2 + ---- Ln cos n En = E1 + L1 sin 1 + L2 sin 2 + ----Ln sin n เมื่อ N1 และ E1 เป็ นค่าพิกดั ฉากของหมุดแรกออก Nn และ En เป็ นค่าพิกดั จากจุดศูนย์กาเนิด

หน้าที่

8


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

หน้าที่

15

9

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ตัวอย่างที่ 5.3 จากภาพที่ 4.22 จุด A มีค่าพิกดั เท่ากับ N 200 E 300 จงหาพิกดั ของจุด D จากจุดศูนย์กาเนิด

N

N N.200 A E. 300

N Az. 12020 50.25

Az. 6040 70.20

C

Az. 8500 D 40.25

B

ภาพที่ 4.22 แสดงการคานวณค่าพิกดั ของวงรอบเปิ ด สูตร ND = NA + L1 cos 1 + L2  cos 2 + L3 cos 3 = 200 + 50.25cos 120 20 + 70.20 cos60 40 + 40.25 cos 8500 = 200 - 25.378 + 34.390 + 3.508 = 212.520 ED = EA + L1 sin 1 + L2 sin 2 + L3  sin 3 = 300 + 50.25 sin 120 20 + 70.20 sin 60 40 + 40.25 sin 8500 = 300 + 43.371 + 61.199 + 40.097 = 444.667  จุด D มีค่าพิกดั N. 212.520 E. 444.667


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

15

หน้าที่

10

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การคานวณหาระยะและ Bearing จากค่าพิกดั ฉาก ในกรณี ที่ตอ้ งการทราบระยะทางระหว่างจุดสองจุด ที่เราไม่สามารถวัดระยะได้เช่น อุโมงค์ หรื อ การ เจาะแนวป่ า เป็ นต้น ถ้ามีค่าพิกดั ฉากของจุดเริ่ มต้นและสุดท้ายก็จะสามารถหาระยะทางได้ จากสูตร Y2 - Y1 = Y = L  cos  ----------  X2 - X1 = X = L sin  ----------   หารด้วย  ΔX = tan  ΔY

tan α  ΔX  X2  X1 ΔY Y2  Y1 ΔY ΔX ---------------------------- L  cos α sin α หรื อ L = ΔX 2  ΔY 2 -------------

ในทางสารวจ เราใช้ N หมายถึง Y และ E หมายถึง X ตัวอย่างที่ 5.4 จุด A มีพิกดั ฉาก N 100 E 100 จุด B มีพิกดั ฉาก N 143.371 E 125.378 จงคานวณหาระยะทางและ Azimuth จาก A ไป B N E A 100.000 100.000 B 143.371 125.378 N + 43.371 E +25.378

( Quadrant 1 )

tanα  ΔE  25.378 ΔN 43.371

ค่ามุม  =  = L =

 25.378  tan α 1    43.371 

= 30 20

ΔE2 ΔN2

= (25.378)  (43.371)  ระยะทาง AB = 50.25 ม. Az จากAไป B = 30 20 2

2

= 50.25


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

15

หน้าที่

11

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ตัวอย่างที่ 5.5 จุด B มีพิกดั N = 143.371 E = 125.378 จุด C มีพิกดั S = 44.013 E = 209.985 จงคานวณหาระยะทางและ Azimuth จาก B ไป C N E B 143.371 125.378 C - 44.013 209.985 N - 187.384 E + 84.607  อยูใ่ น Quadrant ที่ 2 tan α 

ΔE 84.607  ΔN 187.384

 = tanα 1  84.607  = 24 18  187.384   = 180 - 24 18 = 155 42 = 187.384 = 205.60 L  ΔN cos2418'

 ระยะทาง BC = 205.60 ม. Az BC = 155 42 สรุปการคานวณ 1. การคานวณ Bearing จากจุดแรก (หรื อ A) ไปยังจุดที่ 2 (หรื อ B) จะต้องเอาค่าพิกดั ฉาก จุดแรก (A) ไปลบจุดที่ 2 (B) 2. ผลลบที่ได้จากข้อ1 จะเป็ น Latitude และ Departure ให้พิจารณาว่าอยูใ่ น Quadrant ไหน 3. ค่าที่คานวณได้จากสูตร tan α  ΔE จะเป็ นค่ามุม RB ให้เปลี่ยนเป็ นค่า WCB หรื อ Az ΔN

4. คานวณหาระยะทางจากสูตร  หรื อ 


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

15

หน้าที่

12

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การคานวณหาค่ามุม และ ระยะของวงรอบจากค่าพิกดั ฉาก ตัวอย่างที่ 5.5 จากภาพที่ 4.23 เป็ นวงรอบซึ่งมีค่าพิกดั ฉากของหมุดวงรอบตามข้อมูลในรู ปต้องการหาค่ามุม และระยะทางของวงรอบ N.734.97 E.691.17 D

N.908.98 E.100.00 E

C

N.239.97 A E.208.90

B

N.857.00 E.1371.36

N.100.00 E.1169.71

ภาพที่ 4.23 แสดงค่าพิกดั ฉากของวงรอบ - หาค่า Az และระยะของวงรอบ ด้าน AB N = - 139.97 , E = 960.81  Quadrant 2 tan  = ΔE  960.81   = 81 42 41 ΔN

139.97

 Az = 180 - 81 42 41 = 98 17 18 L = (960.81)  (139.97) = 970.951 เมตร. N = 757.00 , E = 201.65  Quadrant 1 tan  = 201.65   = 14 54 58 2

ด้าน BC

2

757.00

Az = 14 54 58 . )  (757.00) L = (20165 = 783.398 ม. N = - 122.03 , E = - 680.19  Quadrant 3 tan  = 680.19   = 79 49 44 2

ด้าน CD

2

122.03

 Az = 180 + 79 49 44 L

=

(122.03) 2  (68019 . )2

= 259 49 44 = 691.050 ม.


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

15

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552

เวลา :

ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

N = 174.01 , E = - 591.17  Quadrant 4 tan  = 591.17   = 73 35 54

ด้าน DE

174.01

 Az = 360 - 73 35 54

= 286 24 6

. )  (174.01) L = (59111 = 616.190 ม. N = - 669.01 , E = 108.9  Quadrant 2 tan  = 108.90   = 9 14 43 2

ด้าน EA

2

669.01

 Az = 180 - 9 14 43 = 170 45 17 L =

(108.9) 2  (669.01) 2

= 677.815 ม.

ค่า Azimuth และระยะทางแสดงในภาพที่ 5.25 E

616.190 Az.286246

677.815

D

Az.1704517 A

Az.98171 970.951 8

C 691.050 Az.2594944 783.398 Az.145458 B

ภาพที่ 4.24 แสดงค่าAzimuth และระยะทางของวงรอบ

หน้าที่

13


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

หน้าที่

15

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ คานวณหาค่ามุมภายในวงรอบจาก ค่า Az จากสูตร มุม = FB ของธงหน้า - FB ของธงหลัง (+360) มุม A = FB AB - FB. AE = 981718 - (1704517+180) + 360 = 107 32 1 มุม B = Bearing BC - Bearing BA = 14 54 58 - (98 17 18+180) + 360 = 96 37 40 มุม C = Bearing CD - Bearing CB = 259 49 44 - (14 54 58+180) = 64 54 46 มุม D = Bearing DE - Bearing DC = 286 24 6 - (259 49 44 - 180) = 206 34 22 มุม E = Bearing EA - Bearing ED = 17045 17 - (286 24 6 - 180) = 64 21 11  มุม = 540 00 00 (ค่ามุมที่คานวณแสดงในภาพที่ 5.26) ผลรวมมุมภายในของรู ป 5 เหลี่ยม = 180 (5 - 2) = 540

14


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

15

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ คานวณหาค่ามุมภายในวงรอบจาก ค่า Az จากสูตร มุม = FB ของธงหน้า - FB ของธงหลัง (+360) มุม A = FB AB - FB. AE = 981718 - (1704517+180) + 360 = 107 32 1 มุม B = Bearing BC - Bearing BA = 14 54 58 - (98 17 18+180) + 360 = 96 37 40 มุม C = Bearing CD - Bearing CB = 259 49 44 - (14 54 58+180) = 64 54 46 มุม D = Bearing DE - Bearing DC = 286 24 6 - (259 49 44 - 180) = 206 34 22 มุม E = Bearing EA - Bearing ED = 17045 17 - (286 24 6 - 180) = 64 21 11  มุม = 540 00 00 ผลรวมมุมภายในของรู ป 5 เหลี่ยม = 180 (5 - 2) = 540 E

616.190 642111

D 2063422

691.050

C 645446

677.815

783.398

A

107321

970.951

963740 B

หน้าที่

15


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

15

หน้าที่

16

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ การคานวณวงรอบ (Traversing Computation) 1 การคานวณวงรอบปิ ด การคานวณวงรอบเป็ นการคานวณเพื่อหาค่าพิกดั ของจุดที่กาหนดเป็ นหมุดวงรอบเพื่อนาค่าพิกดั ไปใช้ ในการเขียนแผนที่ คานวณเนื้อที่ของวงรอบต่อไป โดยจะต้องมีการตรวจสอบค่าที่ได้จากงานสนามนามา ปรับแก้และคานวณหาค่าพิกดั ฉาก แต่หากค่าที่ได้มีค่าคลาดเคลื่อนเกินกว่าข้อกาหนดก็จะต้องสารวจวงรอบ ใหม่ F 179.34 m.

1261840

290.49 m.

A

1201140 E 1021820 Azimuth AF = 7500 Coordinate of A N. 1000.00 m. 124.25 m. 159.42 m. E. 1500.00 1185600 984900m. D B 1532550 162.81 m. 245.26 m. C

ภาพที่ 4.26 แสดงข้อมูลงานสนามการทาวงรอบ


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

หน้าที่

15

17

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ลาดับขั้นการคานวณ 1 ตรวจสอบค่ามุมที่รังวัดได้ (Determination of misclosure) สาหรับงานวงรอบปิ ด จะมีสูตร การ คานวณหาค่ามุมดังนี้ 1) กรณี ที่วดั มุมภายนอกมาทั้งหมด ดังภาพที่ 4.27 E D A B

C

ภาพที่ 4.27 แสดงวงรอบปิ ดวัดมุมภายนอก สูตร ผลรวมของมุมภายนอกทั้งหมด เมื่อ N

= (2 N + 4) 90 หรื อ (N + 2) 180 = จานวนด้านหรื อจานวนหมุด

2) กรณี ที่วดั มุมภายในมาทั้งหมด ดังภาพที่ 4.28 E D

A B

C

ภาพที่ 4.28 แสดงวงรอบปิ ดวัดมุมภายใน สูตร ผลรวมของมุมภายในทั้งหมด = (2N - 4) 90 หรื อ (N - 2) 180 * ให้สงั เกตทิศทางการวัดมุมจะเป็ นการวัดตามเข็มนาฬิกา


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

15

หน้าที่

18

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 2. หาความผิดที่ยอมให้ (Allowable error) ตามมาตรฐานและข้อกาหนดของงาน ตัวอย่างเช่น หน่วยงาน หนึ่งกาหนดค่าความละเอียดโดยให้คิดจากสูตร Allowable error = E =  KS N เมื่อ N = จานวนหมุดวงรอบ S = ค่าที่อ่านได้นอ้ ยที่สุดของขีดของ Micrometer หรื อของ Scale ในกล้อง เช่น 1, 5, 10, 20, 60 k = ค่า factor ซึ่งมีค่า 1 ถึง 3 ให้ตามสภาพของอากาศ และในที่ก่อสร้าง อากาศแจ่มใส = 1 ฝนตก = 3 ลมพัดแรง = 3 มืดครึ้ ม = 2 จากรู ปที่ 5.25 สมมุติว่าวัดมุมด้วยกล้องที่อ่านได้ละเอียด 5 จานวนหมุดเท่ากับ 6 หมุด K = 3 (ฝนตก)  ความผิดที่ยอมให้ E = 3  5 6 = 36.7 3. การแก้มุม การแก้ค่ามุมทุกมุมจะได้จากการเอาความผิดทั้งหมดไปแก้ค่ามุมเท่าๆ กันทุกมุม จากภาพที่ 5.25 นาข้อมูลงานสนามมาตรวจสอบค่ามุมและทาการปรับแก้ ได้ดงั ตารางที่ 5.4 ตารางที่ 5.4 การปรับแก้ค่ามุมวงรอบปิ ด หมุด มุมภายใน ค่าปรับแก้ มุมที่แก้แล้ว หมายเหตุ A 1201140 + 5 1201145 B 984900 + 5 984905 C 1532550 + 5 1532555 D 1185600 + 5 1185605 E 1021820 + 5 1021825 F 1261845 + 5 1261845 ผลรวม 719 59 30 +30 720 00 00 ผลรวมของมุมภายใน = (2N - 4) 90 = (2  6 - 4) 90 = 720  ความผิด = - 30  36.7 -OKค่าปรับแก้ต่อมุม = 30"  5" 6


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

15

หน้าที่

19

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 4 คานวณหาค่า Azimuth จากค่ามุมที่ปรับแก้แล้ว สูตร Az ชี้ไป = Az ชี้มา + มุม + 180 Az AF = 75   AZ FA = 75 + 180 = 255 Az AB = Az AB + มุม B + 180 = 255 + 1201145- 180 = 195 11 45 Az BC = 195 11 45+ 984905- 180 = 114 00 50 Az CD = 114 00 50+ 1532555- 180 = 87 26 45 Az DE = 87 26 45+ 1185605- 180 = 26 22 50 Az EF = 26 22 50+ 1021825 + 180 = 308 41 15 Az FA = 308 41 15+ 1261845- 180 = 255 00 00

5 คานวณค่า Latitude และ Departures สูตร Y = Latitude = L cos Az X = Departure = L sin Az Latitude Latitude AB = 159.42cos 195 11 45 Latitude BC = 245.26cos 114 00 50 Latitude CD = 162.81cos 87 26 45 Latitude DE = 124.25cos 26 22 50 Latitude EF = 290.49cos 308 41 15 Latitude FA = 179.34cos 185 11 00 Latitude =

= -153.846 = -99.811 = 7.255 = 111.311 = 181.577 = -46.417 0.071


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

15

หน้าที่

20

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ Departure Departure AB = 159.42sin 195 11 45 = -41.787 Departure BC = 245.26sin 114 00 50 = 224.032 Departure CD = 162.81sin 87 26 45 = 162.648 Departure DE = 124.25sin 26 22 50 = 55.208 Departure EF = 290.49sin 308 41 15 = -226.747 Departure FA = 179.34sin 185 11 00 = -173.229  Departure = 0.125 ตารางที่ 5.5 ตารางคานวณค่า Latitude Departure STA

OBS

OBS. HZ.

COR. HZ.

F

A

A

B

120

11

40

120

11

B

C

98

49

0

98

C

D

153

25

50

D

E

118

56

E

F

102

F

A

TOTAL

6

Azimuth.

Dist.

Obs. Lat

Obs. Dep

255

0

0

45

195

11

45

159.42

-153.846

-41.787

49

5

114

0

50

245.26

-99.811

224.032

153

25

55

87

26

45

162.81

7.255

162.648

0

118

56

5

26

22

50

124.25

111.311

55.208

18

20

102

18

25

308

41

15

290.49

181.577

-226.747

126

18

40

126

18

45

255

0

0

179.34

-46.417

-173.229

719

59

30

720

0

0

1161.57

0.071

0.125


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

15

หน้าที่

21

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ .6 การปรับแก้ค่า Latitude และ Departures การคานวณวงรอบปิ ดหากข้อมูลที่ได้มาไม่มคี วามผิดพลาด ผลบวกทางพีชคณิ ตของ Latitude และ Departure ที่คานวณได้จะต้องเป็ น 0 จากตัวอย่างผลรวม Latitude เท่ากับ 0.071 และ Departures เท่ากับ 0.125 แสดงว่ามีค่าคลาดเคลื่อนบรรจบหมุด จะต้องคานวณหาค่าปรับแก้นาไปปรับให้ผลรวมมีค่าเป็ น 0 ทั้ง Latitude และ Departures ความคลาดเคลื่อนบรรจบหมุดของวงรอบปิ ด หากไม่มากเกินกว่าข้อกาหนดก็สามารถจะนามา ปรับแก้ให้ได้ค่าที่ถกู ต้องได้ แต่หากมากกว่าที่กาหนดก็จะต้องทาการรังวัดใหม่ สูตร Error = (Δ L) 2  (Δ D)2 เมื่อ L คือค่าคลาดเคลื่อนทาง Latitude และ เมื่อ D คือค่าคลาดเคลื่อนทาง Departure Error = (0.071)2  (0.125)2  0.144 Error ค่าความละเอียดในการรังวัด (Accuracy)   Distance of Traverse 0.144 1 8066 1161.57 จากตัวอย่างหากกาหนดค่าความละเอียดทางระยะ 15000 ก็ถือว่าใช้ได้ 

การปรับแก้ 1) วิธี Compass rule วิธีน้ ีเหมาะสาหรับงานสารวจที่การวัดมุมและระยะทาง ใช้ความ ละเอียดเท่าๆกัน เป็ นวิธีที่ใช้กนั มากในงานสารวจ สูตร ค่าปรับแก้ Latitude = ΔL Distance  Distance ค่าปรับแก้ Departure = ΔD Distance  Distance

เมื่อ

L คือค่าคลาดเคลื่อนทาง Latitude D คือค่าคลาดเคลื่อนทาง Departure Distance คือระยะทางทั้งหมดของวงรอบ


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ที่

15

หน้าที่

22

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ จากตัวอย่างคานวณค่าปรับแก้ได้ ดังนี้ ค่าปรับแก้ Latitude AB = 0.071 159.42  0.010 1161.57 0.071  245.26 BC =  0.015 1161.57 CD = 0.071162.81  0.010 1161.57 0 . 071 124.25 DE =  0.008 1161.57 EF = 0.071 290.49  0.018 1161.57 0 . 071 179.34 FA =  0.010 1161.57

 = 0.071 - OK-

ค่าปรับแก้ Departure

AB = 0.125 159.42  0.017 1161.57 0 . 125  245.26 BC =  0.027 1161.57 CD = 0.125 162.81  0.018 1161.57 0.125 124.25 DE =  0.013 1161.57 EF = 0.125  290.49  0.031 1161.57 0.125 179.34 FA =  0.019 1161.57

 = 0.125 - OK-

การปรับแก้ให้นาค่าที่คานวณได้ไปปรับแก้โดยค่าที่ปรับแก้จะต้องนาไปลบค่าที่คานวณได้เนื่องจาก ผลรวมของ Latitude Departure มีค่าเป็ นบวก แต่ถา้ ผลรวมของ Latitude Departure มีค่าเป็ นลบ จะต้องนาค่าปรับแก้ไปบวกค่าที่คานวณได้ เพื่อปรับให้ผลรวมมีค่าเป็ น 0


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

หน้าที่

15

23

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ ตารางที่ 5.6 ตารางการคานวณปรับแก้ค่า Latitude Departure STA

OBS

Azimuth.

Distance

Obs. Lat

Obs. Dep

A

F

255

0

0

A

B

195 11

45

159.42

-153.846

B

C

114

0

50

245.26

C

D

87 26

45

D

E

26 22

E

F

308 41

F

A

255

TOTAL

6

0

CL

CD

LAT

DEP

-41.787

0.010

0.017

-153.856

-41.804

-99.811

224.032

0.015

0.027

-99.826

224.005

162.81

7.255

162.648

0.010

0.018

7.245

162.630

50

124.25

111.311

55.208

0.008

0.013

111.303

55.195

15

290.49

181.577

-226.747

0.018

0.031

181.559

-226.778

0

179.34

-46.417

-173.229

0.010

0.019

-46.427

-173.248

1161.57

0.071

0.125

0.071

0.125

0.000

0.000

2) วิธีTransit rule วิธีน้ ีจะใช้เมื่อการวัดมุมละเอียดกว่าการวัดระยะทาง เช่นการ สารวจด้วยวิธี Stadia โดยปกติวิธีน้ ีจะใช้นอ้ ยกว่าวิธีแรก สูตร ค่าปรับแก้ Latitude = ΔL Latitude  Latitude ค่าปรับแก้ Departure = ΔD Departure  Departure

L คือค่าคลาดเคลื่อนทาง Latitude D คือค่าคลาดเคลื่อนทาง Departure Distance คือระยะทางทั้งหมดของวงรอบ Latitude คือ Latitudeของด้านนั้น Departure คือ Departure ของด้านนั้น Latitude คือ ผลรวมของ Latitude (ไม่คิดเครื่ องหมายพีชคณิ ต) Departure คือ ผลรวมของ Departure (ไม่คิดเครื่ องหมายพีชคณิ ต) จากตัวอย่างเดิม ค่าปรับแก้ Latitude AB = 0.071153.846  0.018 เมื่อ

Departure

600.217 AB = 0.125  41.787  0.006 883.615


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

หน้าที่

15

24

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 7 คานวณค่าพิกดั จากค่า Latitude และ Departure ที่ปรับแก้แล้ว โดยเริ่ มจากค่าพิกดั ของจุดแรก (จุดA) แล้วคานวณค่าพิกดั ตามแนวทิศ N ของหมุดวงรอบ Bโดยเอา ค่าพิกดั ของจุด A บวกค่า Latitude AB ที่ปรับแก้แล้ว และคานวณพิกดั หมุด C D E F ต่อไปจนบรรจบ หมุดแรกออก A ซึ่งจะต้องได้ค่าพิกดั เท่ากับค่าเดิม ส่วนค่าพิกดั ตามแนวทิศ E ก็มีวิธีคิดทานองเดียวกัน โดยเอาค่า Departure บวกค่าพิกดั ต่อเนื่องกันไปจนบรรจบหมุดแรกออก A 8 คานวณหาพืน้ ที่วงรอบด้ วยวิธีพกิ ดั ฉาก สูตร Double Area = ผลบวกของค่าพิกดั E-W เป็ นคู่ๆ  Latitude รวม Double Area ผลที่ได้จะเป็ นสองเท่าของพื้นที่วงรอบ นามาหารสองจะได้พ้นื ที่ของวงรอบ ABCDEFA ตารางที่ 5.7 ตารางการคานวณค่าพิกดั ฉากและพื้นที่วงรอบ STA

OBS

LAT

F

A

A

B

-153.856

B

C

C

DEP

Sum E-W

N-S

E-W

1000.000

1500.000

-41.804

846.144

1458.196

2958.196

-455136.110

-99.826

224.005

746.318

1682.201

3140.397

-313491.818

D

7.245

162.630

753.564

1844.831

3527.032

25554.904

D

E

111.303

55.195

864.867

1900.026

3744.858

416813.615

E

F

181.559

-226.778

1046.426

1673.249

3573.275

648761.196

F

A

-46.427

-173.248

1000.000

1500.000

3173.249

-147323.181

TOTAL

6

0.000

0.000

Double Area of Traverse

Double Area

175178.607

Area of traverse

87589.304

Area of traverse / 1600

54.743


สัปดาห์ที่

เนือ้ หาการสอน

หน้าที่

15

วันที่ : 17 -21 ส.ค. 2552 รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 เวลา : แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ จากตารางที่ 5.7 การคานวณ ในช่อง Sum E-W และ Double Area ทาดังนี้ ค่า Sum E-W ด้าน AB = 1500.000 + 1458.196 = 2958.196 ด้าน BC = 1458.196 + 1682.201 = 3140.397 ด้าน CD = 1682.201 + 1844.831 = 3527.032 ด้าน DE = 1844.831 + 1900.026 = 3744.858 ด้าน EF = 1900.026 + 1673.249 = 3573.275 ด้าน FA = 1673.249 + 1500.000 = 3173.249 ค่า Double Area ด้าน AB = 2958.196 ( -153.856) = -455136.110 ด้าน BC = 3140.397 (-99.826) = -313491.818 ด้าน CD = 3527.0327.245 = 25554.904 ด้าน DE = 3744.858 111.303 = 416813.615 ด้าน EF = 3573.275 181.559 = 648761.196 ด้าน FA = 3173.249 (-46.427) = -46.427  Double Area = 175178.607 m.2 Area of Traverse = 87589.304 m.2

คิดพื้นที่เป็ นไร่ =

87589.304 1600

= 54 .743 ไร่

25


ใบงานที่ 14 การคานวณวงรอบและการเขียนแผนที่

สัปดาห์ที่

หน้าที่

15

3

วันที่ : 10 -14 ส.ค. 2552 เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ จุดประสงค์ เมื่อฝึ กการปฏิบตั ิงานตามใบงานนี้แล้ว นักศึกษาจะสามารถ 1. คานวณปรับแก้งานวงรอบที่ได้จากการสารวจทาแผนที่ 2. นาค่าที่ได้จากการคานวณมาเขียนแผนที่ได้ เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1. สมุดสนามที่จดบันทึกข้อมูลงานทาวงรอบปิ ดใบงานที่ 7 2. เครื่ องคานวณ 3. กระดาษเขียนแบบ ลาดับขั้นการปฏิบัตงิ าน 1. คานวณผลรวมมุมภายในวงรอบและปรับแก้ค่ามุมวงรอบ โดยเฉลี่ยความผิดทุกมุมเท่ากัน จากสูตร ผลรวมมุมภายใน = 180 (N- 2) 2. คานวณหาค่า Azimuth จากสูตร Az ชี้ไป = Az ชี้มา + มุม  180 3. คานวณค่า Latitude Departure และค่าความละเอียดในการรังวัด Lat = ระยะทาง cos Az Dep = ระยะทาง sin Az ตรวจสอบค่าผิดพลาดจากผลรวมของ Lat และ Dep หาความละเอียดในการรังวัด สูตร Error = ค่าความละเอียดในการรังวัด (Accuracy) 

(Δ L)2  (Δ D)2 Error Distance of Traverse 


ใบงานที่ 14 การคานวณวงรอบและการเขียนแผนที่

สัปดาห์ที่

หน้าที่

15

2

วันที่ : 10 -14 ส.ค. 2552 เวลา : รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ 4. ปรับแก้ Latitude Departure โดยใช้กฎเข็มทิศ สูตร ค่าปรับแก้ Latitude = ΔL Distance  Distance ค่าปรับแก้ Departure = ΔD Distance  Distance

5. คานวณหาค่าพิกดั ฉากและพื้นที่ของวงรอบจากค่าพิกดั ฉาก สูตร Double Area = ผลบวกของค่าพิกดั E-W เป็ นคู่ๆ  Latitude 6. เขียนแผนที่วงรอบจากค่าพิกดั ที่คานวณได้ การประเมินผล 1. ตรวจสอบรายการคานวณวงรอบของนักศึกษา ข้ อแนะนา 1. ควรอธิบายและให้นกั ศึกษาทาการคานวณทีละขั้นตอนเพื่อไม่ให้สบั สน และจะต้องตรวจสอบ การคานวณในขั้นตอนต่างๆ ก่อนทาในขั้นตอนต่อไป


วิทยาลัยเทคนิคสั ตหีบ แผนกวิชาช่ างก่ อสร้ าง งาน การทาวงรอบปิ ดด้ วยกล้ องวัดมุม

วิชา สารวจ 1

การทาวงรอบเป็ นวิธีการสารวจที่สะดวกและใช้กนั มากในการหาความสัมพันธ์ของจุด ต่างๆทางราบ มีขอบข่ายในการทางานกว้างขวางกว่าการสารวจด้วยโซ่ - เทป จุดประสงค์ของ การทาวงรอบมีจุดประสงค์หลายประการ ดังนี้ 1) การสารวจเพื่อสร้างหมุดหลักฐานแผนที่แสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน 2) การสารวจเพื่อกาหนดหมุดบังคับทางราบเพื่อการทาแผนที่ภูมิประเทศ 3) ใช้เพื่อการสารวจและการออกแบบและก่อสร้าง ทางหลวง ทางรถไฟ การวางแนวท่อ ต่างๆ และงานก่อสร้าง งานโยธาทัว่ ไป 4) ใช้ในการสร้างจุดบังคับ (Ground control) เพื่อการทาแผนที่จากรู ปถ่ายทางอากาศและ นอกจากนี้การทาวงรอบยังใช้เชื่อมโยงหมุดของการสามเหลี่ยมเพื่อให้ค่าพิกดั ต่อเชื่อมกันได้ จุดประสงค์ 1. ใช้กล้องวัดมุมวัดค่ามุมราบเพื่อการทาวงรอบปิ ดได้ เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1. กล้องวัดมุมพร้อมขาตั้ง จานวน 1 ชุด 2. ขาตั้งดิ่ง หรื อชุดเป้ าเล็ง จานวน 2 ชุด 3. เทปวัดระยะยาว 30 ม. จานวน 1 เส้น 4. หมุดไม้ จานวน 4 อัน 5. ห่วงคะแนน จานวน 5 อัน 6. ตะปู 1 จานวน 4 ตัว 7. สีสเปย์ จานวน 1 กระป๋ อง 8. ร่ มกันแดด จานวน 1 คัน ลาดับขั้นการปฏิบัตงิ าน 1. กาหนดพื้นที่ตอกหมุดเป็ นวงรอบรู ปสี่เหลี่ยม ABCD โดยลาดับหมุดทวนเข็มนาฬิกา ระยะทางของแต่ละด้านไม่นอ้ ยกว่า 50 เมตร 2. สาธิตวิธีการวัดค่ามุมราบให้นกั ศึกษา ตามขั้นตอนต่างๆ การตั้งค่ามุมศูนย์องศา การเล็งศูนย์ไปยังที่หมาย การเปิ ดมุม การอ่านค่ามุม 3. เริ่ มงานโดยการตั้งกล้องที่จุด A และขาตั้งดิ่งไปตั้งที่จุด D Set ค่ามุมราบ 0 0000 เปิ ดค่ามุมส่องหมุด D จะได้ค่า Azimuth AD คานวณค่า Azimuth DA = Azimuth AD  180 เป็ นแนวเริ่ มในการคานวณค่ามุมทิศของวงรอบ บันทึกค่ามุมในสมุดสนาม


4. นาขาตั้งดิ่งอีกหนึ่งชุดไปตั้งที่จุด B กาหนดงานให้นกั ศึกษาทาการวัดค่ามุมราบและ ระยะทางของวงรอบ ด้วยกล้องหน้าซ้ายและหน้าขวา จานวน 2 ชุด โดยเริ่ ม ชุดที่ 1 ส่องจุด ธงหลัง Set ค่ามุม 0 0000 และชุดที่ 2 ส่องจุดธงหลัง Set ค่ามุม 90 0000 เริ่ มจากจุด A ส่องไปที่ธงหลัง D เปิ ดมุมไปที่ธงหน้า B ทาการวัดมุมทุกมุมและระยะทางทุกด้าน จนบรรจบ หมุดแรกออกเป็ นวงรอบปิ ด 5. บันทึกข้อมูลการวัดมุมและระยะทางลงในสมุดสนาม โดยบันทึกมุมละ 1 หน้า นา ข้อมูลไปคานวณหาเฉลี่ยของมุมวงรอบ และนาไปคานวณค่าพิกดั ข้ อควรระวัง 1. การตั้งกล้องให้ตรงหมุด ตรวจสอบระดับฟองยาวและศูนย์ดิ่งก่อนวัดมุม 2. ปรับภาพและสายใยให้ชดั ขจัดภาพเหลื่อม (Parallax) ก่อนเล็งเป้ าหมายทุกครั้ง 3. ตรวจสอบค่ามุมหน้าซ้ายกับหน้าขวาก่อนย้ายกล้อง 4. จะต้องมีความละเอียด ในการทางาน การประเมินผล 1. การปฏิบตั ิงานสนามของนักศึกษา 2. จากการรายงานผลการปฏิบตั ิงานในสมุดสนาม 3. ตรวจสอบค่าคลาดเคลื่อนในการวัดมุมวงรอบจะต้องไม่มากกว่า 30 K หรื อ 60 ข้ อแนะนา ก่อนย้ายกล้องทุดจุดจะต้องตรวจสอบข้อมูลให้ถกู ต้องเสียก่อน


A

D

N Az AD = 983020

B

C

ตัวอย่างการบันทึกข้อมูลลงสนาม การวัดมุม A 2 ชุด จุดตั้ง ที่ ระยะ หน้า ค่าองศาราบ กล้อง หมาย ทาง กล้อง A D 58.24 L 00000 B 53.75 L 812030 A D 58.26 R 1800010 B 53.75 R 2612030 ชุดที่1 ค่าเฉลี่ย A D L 900000 B L 1712035 A D R 2700000 B R 3512030 ชุดที่2 ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย A A

D B

58.25 53.75

ค่าเฉลี่ยมุม 2 ชุด

มุมราบ

812030

หมายเหตุ

A D

812020 812025 B

812035 812030 812033 812029


ครั้งที่ ………………………………………………………..วันที่……../…………………/……… สถานที…………………………………………… อาจารย์ผสู้ อน……………………………….. ผูป้ ฏิบตั ิงาน 1) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 2) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 3) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 4) ……………………………………………………หน้าที่………………………………… 5) ……………………………………………………หน้าที่…………………………………

ภาพสเกตซ์ ข้อมูลการทาวงรอบปิ ดด้ วยกล้ องวัดมุม

ตารางการบันทึกข้อมูลลงสนาม การวัดมุม A 2 ชุด


จุดตั้ง กล้อง

ที่ หมาย

ระยะ ทาง

หน้า กล้อง

ค่าองศาราบ

มุมราบ

หมายเหตุ


รายการคานวณ ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


สรุป ปัญหาอุปสรรค ข้ อเสนอแนะ และข้ อแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


ใบงานที่ 15

สัปดาห์ที่

หน้าที่

การทาวงรอบปิ ดด้วยกล้องวัดมุม

16

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

วันที่ : 1 – 4 ก.ย. 2552 เวลา : ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

จุดประสงค์ 1. นักศึกษาสามารถสารวจทาแผนที่แสดงผังบริ เวณด้วยกล้องวัดมุมได้ เครื่องมือ - อุปกรณ์ 1. กล้องวัดมุมพร้อมขาตั้ง 2. ขาตั้งดิ่ง หรื อชุดเป้ าเล็ง 3. เทปวัดระยะยาว 30 ม. 4. หมุดไม้ 5. ห่วงคะแนน 6. ตะปู 1 7. สีสเปย์ 8. ร่ มกันแดด

จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน

1 2 1 4 5 4 1 1

ชุด ชุด เส้น อัน อัน ตัว กระป๋ อง คัน

ลาดับขั้นการปฏิบัตงิ าน 1. เดินสารวจบริ เวณโดยรอบเพื่อกาหนดแผนการทางาน 2. กาหนดหมุดวงรอบลงในพื้นที่ 3. ตั้งกล้องวัดมุมที่หมุดวงรอบที่กาหนด ตั้งจานองศาศูนย์ส่องไปยังหมุดที่กาหนดเป็ นธงหลัง 4. เปิ ดมุมกล้องส่องไปยังจุดที่ตอ้ งการเก็บรายละเอียด วัดค่ามุมราบและระยะทางบันทึกข้อมูลลงสมุด สนาม 5. เมื่อส่องเก็บรายละเอียดจากหมุดตั้งกล้องครบแล้ว เปิ ดมุมไปที่หมุดวงรอบต่อไปเป็ นธงหน้าวัดค่า มุมราบและระยะทางบันทึกข้อมูลลงสมุดสนาม 6. ย้ายกล้องไปยังหมุดต่อไป แล้วปฏิบตั ิตามขั้นที่ 3และ 4 จนครบหมุดเป็ นวงรอบปิ ดที่จุดแรก 7. นาข้อมูลที่ได้ไปคานวณเพื่อเขียนแผนที่ต่อไป


ใบงานที่ 15

สัปดาห์ที่

หน้าที่

การทาวงรอบปิ ดด้วยกล้องวัดมุม

16

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106-2106 การสารวจ 1 แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

วันที่ : 1 – 4 ก.ย. 2552 เวลา : ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ

ข้ อควรระวัง 1. เขียนภาพร่ างประกอบการทางานให้ชดั เจน 2. บันทึกข้อมูลให้ถูกต้อง ชัดเจน 3. การเก็บรายละเอียดอาคารให้เก็บด้านยาว 4. เก็บข้อมูลที่จาเป็ นในการเขียนรู ปแผนที่ให้ครบ การประเมินผล 1. การปฏิบตั ิงานสนามของนักศึกษา 2. จากการรายงานผลการปฏิบตั ิงานในสมุดสนาม 3. ตรวจสอบค่าคลาดเคลื่อนในการวัดมุมวงรอบจะต้องไม่มากกว่า 30 K หรื อ 60 ข้ อแนะนา 1. ก่อนย้ายกล้องทุดจุดจะต้องตรวจสอบข้อมูลให้ถกู ต้องเสียก่อน


วิทยาลัยเทคนิคสั ตหีบ แผนกวิชาช่ างก่ อสร้ าง งาน การสารวจทาแผนที่ด้วยโซ่ - เทป

วิชา สารวจ 1

การคานวณวงรอบ (Traversing Computation) การคานวณวงรอบเป็ นการคานวณเพื่อหาค่าพิกดั ของจุดที่กาหนดเป็ นหมุดวงรอบเพื่อนา ค่าพิกดั ไปใช้ในการเขียนแผนที่ คานวณเนื้อที่ของวงรอบต่อไป โดยจะต้องมีการตรวจสอบค่าที่ ได้จากงานสนามนามาปรับแก้และคานวณหาค่าพิกดั ฉาก แต่หากค่าที่ได้มีค่าคลาดเคลื่อนเกินกว่า ข้อกาหนดก็จะต้องสารวจวงรอบใหม่


ครั้งที่ ………………………………………………………..วันที่……../…………………/……… สถานที…………………………………………… อาจารย์ผสู้ อน……………………………….. ผูป้ ฏิบตั ิงาน 1) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 2) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 3) ………………………………………..………..…หน้าที่………………………………… 4) ……………………………………………………หน้าที่………………………………… 5) ……………………………………………………หน้าที่…………………………………

ภาพสเกตซ์ ข้อมูลการสารวจทาแผนที่ด้วยโซ่ – เทป ข้ อมูลการรังวัดเก็บรายละเอียด


ภาพแผนที่จากการรังวัดข้อมูลภาคสนาม



สรุป ปัญหาอุปสรรค ข้ อเสนอแนะ และข้ อแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………


~1~

เลขที่ขอ้ สอบ

แบบทดสอบครั้งที่ 2 เรื่อง การวัดระยะ คาชี้แจง - จงทำเครื่ องหมำย  คำตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวในกระดำษคำตอบ - ห้ำมทำเครื่ องหมำยใด ๆ ลงในข้อสอบ - อนุญำตให้ใช้เครื่ องคำนวณได้ - ห้ำมนำเอกสำรเข้ำห้องสอบ - ให้เขียนหมำยเลขข้อสอบในกระดำษคำตอบด้วย 1.ข้อใดถือเป็ นกำรวัดระยะโดยตรง(Direct 4. กำรวัดระยะในพื้นที่กว้ำงใหญ่และมีอุปสรรคใน measurement) กำรวัดให้ได้ค่ำควำมถูกต้องและรวดเร็ วควรวัดด้วย ก. กำรนับก้ำว(Pacing) เครื่ องมือชนิดใด ข. กำรวัดด้วยโซ่ – เทป ก. นับก้ำว(Pacing) ค. กำรวัดด้วยวิธีกำรสำมเหลี่ยม ข. โซ่ – เทป ง. กำรวัดด้วยกล้องกับไม้วดั ระดับ ค. ล้อวัดระยะ จ. ถูกทุกข้อ ง. กล้องกับไม้วดั ระดับ 2. กำรวัดระยะโดยวิธีนบั ก้ำวเป็ นวิธีใช้สำหรับงำนที่มี จ. เครื่ องมืออิเลคทรอนิกส์ ค่ำควำมละเอียดของงำนเท่ำไร 5. เหตุใดจึงจำเป็ นต้องกำหนดมำตรฐำนของควำม ก. 1:20 ถูกต้องให้เหมำะสมกับงำนสำรวจแต่ละงำน ข. 1:100 ก. เพื่อประหยัดค่ำใช้จ่ำย ค. 1:250 ข. ทำให้กำรทำงำนรวดเร็ วขึ้น ง. 1:500 ค. ให้มีค่ำควำมถูกต้องอยูใ่ นเกณฑ์ยอมรับ จ. 1:1000 ง. ถูกทั้งข้อ ก.และข. 3. กำรวัดโดยวิธีทำคีโอเมตรี (Tacheometry) เป็ นกำร จ. ถูกทั้งข้อ ก. ข. ค. วัดระยะโดยใช้ 6. ในกำรเขียนแผนที่มำตรำส่วน 1: 1000 ควรวัดให้มี ก. นับก้ำว(Pacing) ค่ำควำมละเอียดเท่ำไร ข. โซ่ – เทป ก. 0.01 ม. ค. ล้อวัดระยะ ข. 0.05 ม. ง. เครื่ องมืออิเลคทรอนิกส์ ค. 0.10 ม. จ. กล้องกับไม้วดั ระดับ ง. 0.20 ม. จ. 0.50 ม.


~2~ 7. โซ่ลำน 1 เส้นแบ่งออกเป็ น ก. 10 ข้อ ข. 20 ข้อ ค. 50 ข้อ ง. 100 ข้อ จ. 200 ข้อ 8. วัดระยะทำงด้วยโซ่ลำนได้ 2.4567 เส้นโซ่ ถ้ำคิด เป็ นหน่วยเมตรจะได้เท่ำกับเท่ำไร ก. 49.134 เมตร ข. 98.268 เมตร ค. 122.835 เมตร ง. 245.670 เมตร จ. ไม่มีขอ้ ใดถูก 9. วัดระยะทำงด้วยโซ่ลำนได้ 2.045 เส้นโซ่ หมำยถึง ก. 2 เส้นโซ่ 0 ข้อ 45 ปอยท์ ข. 2 เส้นโซ่ 0 ปอยท์ 45 ข้อ ค. 2 เส้นโซ่ 4 ข้อ 5 ปอยท์ ง. 2 เส้นโซ่ 4 ปอยท์ 5 ข้อ จ. 2 เส้นโซ่ 45 ข้อ 1 10. ตัวเลข 1 แสดงระยะ บนโซ่ลำนตำมรู ปหมำยถึง ก. 1 ข้อ ข. 10 ปอยท์ ค. 90 ข้อ ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และข จ. ไม่มีขอ้ ใดถูก

11. เครื่ องมือที่นิยมใช้กบั กำรวัดระยะทำงทัว่ ๆไปที่ไม่ ต้องกำรควำมละเอียดมำกนัก รำคำถูกและดูแลรักษำ ง่ำย คือข้อใด ก. เทปไฟเบอร์กลำส ข. เทปเหล็กเคลือบพีวีซี ค. เทปเหล็กไร้สนิม ง. เทปโลหะอินวำร์ จ. โซ่ลำน 12. เครื่ องมือที่ใช้สำหรับล่อแนวเล็งและปักลงดิน แสดงตำแหน่งปลำยเทป ในกำรวัดระยะเป็ นช่วงๆ คือ ก. หมุดเหล็ก ข. หลักเล็ง ค. ลูกดิ่ง ง. ห่วงคะแนน จ. หมุดไม้ 13. กำรทำงำนที่เป็ นหน้ำที่ของคนที่ทำหน้ำที่โซ่นำ คือ ก. เล็งแนว ข. ล่อห่วงคะแนนและปักห่วงคะแนน ค. เก็บห่วงคะแนนที่ไม่ใช้แล้ว ง. ดูแลไม่ให้เทปเสียหำยขณะลำกเทป จ. ถูกทุกข้อ 14. กำรวัดระยะตำมแนวลำดเอียงแล้วคำนวณเป็ น ระยะในแนวรำบ เหมำะกับพื้นที่ลกั ษณะใด ก. มีควำมลำดเอียงแบบสม่ำเสมอ ข. มีควำมลำดเอียงเป็ นมุมไม่มำกนัก ค. มีระยะลำดเอียงยำวไม่เกิน 100 เมตร ง. ลำดเอียงเป็ นขั้นๆ หลำยระดับ จ. มีควำมลำดเอียงทำมุมมำกกว่ำ 30 องศำ


~3~ 15. กำรสร้ำงมุมฉำกด้วยเทป ทำได้โดยใช้อตั รำส่วน ของสำมเหลี่ยมมุมฉำก คือ ก. 1:2:3 ข. 1:2:4 ค. 1:3:5 ง. 3:4:5 จ. 4:5:6 16. ต้องกำรวัดระยะทำง AB แต่มีสิ่งกีดขวำงกำรวัด ระยะทำงเป็ นบ่อน้ ำ เรำสำมำรถใช้หลักกำรวัดเพื่อ แก้ปัญหำด้วยวิธีกำรต่ำงๆในข้อใด ก. สำมเหลี่ยมคล้ำย สี่เหลี่ยมมุมฉำก ข. สำมเหลี่ยมมุมฉำก สี่เหลี่ยมคำงหมู ค. สำมเหลี่ยมเท่ำกัน สี่เหลี่ยมด้ำนไม่เท่ำ ง. สำมเหลี่ยมด้ำนเท่ำ สี่เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน จ. สำมเหลี่ยมด้ำนไม่เท่ำ สี่เหลี่ยมจัตุรัส 17. กำรสำรวจทำแผนที่ดว้ ยโซ่ - เทป งำนขั้นแรกที่ จะต้องทำในสนำมคือ ก. เคลียร์พ้นื ที่ตำมแนวที่จะวัดระยะ ข. ปักหมุดสถำนีรังวัดให้สะดวกในกำรค้นหำ ค. พิจำรณำแบ่งพื้นที่ท้งั หมดเป็ นรู ปสำมเหลี่ยม ง. ทำกำรอ้ำงอิงสถำนีรังวัดกับถำวรวัตถุ จ. เดินตรวจดูพ้นื ที่ที่จะสำรวจให้ทวั่ บริ เวณ 18. สำมเหลี่ยมสภำพดีหมำยถึงสำมเหลี่ยมในข้อใด ก. ไม่มีมุมใดเล็กกว่ำ 20 องศำ ข. ไม่มีมุมใดเล็กกว่ำ 30 องศำ ค. ไม่มีมุมใดเล็กกว่ำ 60 องศำ ง. ไม่มีมุมใดใหญ่กว่ำ 60 องศำ จ. ไม่มีมุมใดใหญ่กว่ำ 100 องศำ

19. ในกำรทำแผนที่ดว้ ยโซ่ - เทป เส้นโยง(Tie lines) มีควำมสำคัญอย่ำงไร ก. เป็ นเส้นแบ่งพื้นที่ให้เป็ นรู ปสำมเหลี่ยม ข. ใช้สำหรับอ้ำงอิงสถำนีรังวัดกับถำวรวัตถุ ค. เป็ นเส้นตรวจสอบควำมถูกต้องของกำรวัด ง. เป็ นเส้นคู่สำหรับเขียนข้อมูลลงในสมุดสนำม จ. ใช้เก็บรำยละเอียดของสิ่งต่ำงๆ เช่น ถนน ต้นไม้ 20. ข้อใดไม่ใช่สำเหตุที่ทำให้เกิดควำมคลำดเคลื่อนใน กำรสำรวจด้วยโซ่ - เทป ก. กำรเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ข. ลมแรงขณะดึงโซ่ - เทป ค. ดึงโซ่ - เทป ไม่อยูใ่ นแนวรำบ ง. กำรตกท้องช้ำงจำกน้ ำหนักโซ่ - เทป จ. ยืนเล็งแนวห่ำงจำกหลักเล็งเกิน 1 เมตร


~1~

เลขที่ขอ้ สอบ

แบบทดสอบครั้งที่ 2 เรื่อง การวัดระยะ คาชี้แจง - จงทำเครื่ องหมำย  คำตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวในกระดำษคำตอบ - ห้ำมทำเครื่ องหมำยใด ๆ ลงในข้อสอบ - อนุญำตให้ใช้เครื่ องคำนวณได้ - ห้ำมนำเอกสำรเข้ำห้องสอบ - ให้เขียนหมำยเลขข้อสอบในกระดำษคำตอบด้วย 1. ข้อใดถือเป็ นกำรวัดระยะโดยตรง(Direct 4. กำรวัดระยะในพื้นที่กว้ำงใหญ่และมีอุปสรรคในกำร measurement) วัดให้ได้ค่ำควำมถูกต้องและรวดเร็ วควรวัดด้วย ก. กำรนับก้ำว(Pacing) เครื่ องมือชนิดใด ข. กำรวัดด้วยวิธีกำรสำมเหลี่ยม ก. นับก้ำว(Pacing) ค. กำรวัดด้วยกล้องกับไม้วดั ระดับ ข. โซ่ – เทป ง. กำรวัดด้วยโซ่ – เทป ค. ล้อวัดระยะ จ. ถูกทุกข้อ ง. เครื่ องมืออิเลคทรอนิกส์ 2. กำรวัดระยะโดยวิธีนบั ก้ำวเป็ นวิธีใช้สำหรับงำนที่มี จ. กล้องกับไม้วดั ระดับ ค่ำควำมละเอียดของงำนเท่ำไร 5. ในกำรเขียนแผนที่มำตรำส่วน 1: 1000 ควรวัดให้มี ก. 1:20 ค่ำควำมละเอียดเท่ำไร ข. 1:100 ก. 0.01 ม. ค. 1:250 ข. 0.05 ม. ง. 1:500 ค. 0.10 ม. จ. 1:1000 ง. 0.20 ม. 3. กำรวัดโดยวิธีทำคีโอเมตรี (Tacheometry) เป็ นกำร จ. 0.50 ม. วัดระยะโดยใช้ 6. เหตุใดจึงจำเป็ นต้องกำหนดมำตรฐำนของควำม ก. นับก้ำว(Pacing) ถูกต้องให้เหมำะสมกับงำนสำรวจแต่ละงำน ข. โซ่ – เทป ก. เพื่อประหยัดค่ำใช้จ่ำย ค. ล้อวัดระยะ ข. ทำให้กำรทำงำนรวดเร็ วขึ้น ง. กล้องกับไม้วดั ระดับ ค. ให้มีค่ำควำมถูกต้องอยูใ่ นเกณฑ์ยอมรับ จ. เครื่ องมืออิเลคทรอนิกส์ ง. ถูกทั้งข้อ ก.และข. จ. ถูกทั้งข้อ ก. ข. ค.


~2~ 7. โซ่ลำน 1 เส้นแบ่งออกเป็ น ก. 10 ข้อ ข. 20 ข้อ ค. 50 ข้อ ง. 100 ข้อ จ. 200 ข้อ 8. วัดระยะทำงด้วยโซ่ลำนได้ 2.045 เส้นโซ่ หมำยถึง ก. 2 เส้นโซ่ 0 ข้อ 45 ปอยท์ ข. 2 เส้นโซ่ 0 ปอยท์ 45 ข้อ ค. 2 เส้นโซ่ 4 ข้อ 5 ปอยท์ ง. 2 เส้นโซ่ 4 ปอยท์ 5 ข้อ จ. 2 เส้นโซ่ 45 ข้อ 9. วัดระยะทำงด้วยโซ่ลำนได้ 2.4567 เส้นโซ่ ถ้ำคิด เป็ นหน่วยเมตรจะได้เท่ำกับเท่ำไร ก. 49.134 เมตร ข. 98.268 เมตร ค. 122.835 เมตร ง. 245.670 เมตร จ. ไม่มีขอ้ ใดถูก 1 10. ตัวเลข 1 แสดงระยะ บนโซ่ลำนตำมรู ปหมำยถึง ก. 1 ข้อ ข. 10 ปอยท์ ค. 90 ข้อ ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และข จ. ไม่มีขอ้ ใดถูก

11. เครื่ องมือที่นิยมใช้กบั กำรวัดระยะทำงทัว่ ๆไปที่ไม่ ต้องกำรควำมละเอียดมำกนัก รำคำถูกและดูแล รักษำง่ำย คือข้อใด ก. โซ่ลำน ข. เทปไฟเบอร์กลำส ค. เทปเหล็กเคลือบพีวีซี ง. เทปเหล็กไร้สนิม จ. เทปโลหะอินวำร์ 12. เครื่ องมือที่ใช้สำหรับล่อแนวเล็งและปักลงดินแสดง ตำแหน่งปลำยเทป ในกำรวัดระยะเป็ นช่วงๆ คือ ก. หมุดเหล็ก ข. หลักเล็ง ค. ลูกดิ่ง ง. หมุดไม้ จ. ห่วงคะแนน 13. กำรทำงำนที่เป็ นหน้ำที่ของคนที่ทำหน้ำที่โซ่นำ คือ ก. ล่อห่วงคะแนนและปักห่วงคะแนน ข. เล็งแนว ค. เก็บห่วงคะแนนที่ไม่ใช้แล้ว ง. ดูแลไม่ให้เทปเสียหำยขณะลำกเทป จ. ถูกทุกข้อ 14. กำรวัดระยะตำมแนวลำดเอียงแล้วคำนวณเป็ นระยะ ในแนวรำบ เหมำะกับพื้นที่ลกั ษณะใด ก. มีควำมลำดเอียงเป็ นมุมไม่มำกนัก ข. มีระยะลำดเอียงยำวไม่เกิน 100 เมตร ค. มีควำมลำดเอียงแบบสม่ำเสมอ ง. ลำดเอียงเป็ นขั้นๆ หลำยระดับ จ. มีควำมลำดเอียงทำมุมมำกกว่ำ 30 องศำ


~3~ 15. กำรสร้ำงมุมฉำกด้วยเทป ทำได้โดยใช้อตั รำส่วน ของสำมเหลี่ยมมุมฉำก คือ ก. 4:5:6 ข. 3:4:5 ค. 1:3:5 ง. 1:2:4 จ. 1:2:3 16. ต้องกำรวัดระยะทำง AB แต่มีสิ่งกีดขวำงกำรวัด ระยะทำงเป็ นบ่อน้ ำ เรำสำมำรถใช้หลักกำรวัดเพื่อ แก้ปัญหำด้วยวิธีกำรต่ำงๆในข้อใด ก. สำมเหลี่ยมมุมฉำก สี่เหลี่ยมคำงหมู ข. สำมเหลี่ยมเท่ำกัน สี่เหลี่ยมด้ำนไม่เท่ำ ค. สำมเหลี่ยมด้ำนเท่ำ สี่เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน ง. สำมเหลี่ยมคล้ำย สี่เหลี่ยมมุมฉำก จ. สำมเหลี่ยมด้ำนไม่เท่ำ สี่เหลี่ยมจัตุรัส 17. สำมเหลี่ยมสภำพดีหมำยถึงสำมเหลี่ยมในข้อใด ก. ไม่มีมุมใดเล็กกว่ำ 20 องศำ ข. ไม่มีมุมใดเล็กกว่ำ 30 องศำ ค. ไม่มีมุมใดเล็กกว่ำ 60 องศำ ง. ไม่มีมุมใดใหญ่กว่ำ 60 องศำ จ. ไม่มีมุมใดใหญ่กว่ำ 100 องศำ 18. กำรสำรวจทำแผนที่ดว้ ยโซ่ - เทป งำนขั้นแรกที่ จะต้องทำในสนำมคือ ก. เคลียร์พ้นื ที่ตำมแนวที่จะวัดระยะ ข. ปักหมุดสถำนีรังวัดให้สะดวกในกำรค้นหำ ค. พิจำรณำแบ่งพื้นที่ท้งั หมดเป็ นรู ปสำมเหลี่ย ง. ทำกำรอ้ำงอิงสถำนีรังวัดกับถำวรวัตถุ จ. เดินตรวจดูพ้นื ที่ที่จะสำรวจให้ทวั่ บริ เวณ

19. ในกำรทำแผนที่ดว้ ยโซ่ - เทป เส้นโยง(Tie lines) มี ควำมสำคัญอย่ำงไร ก. เป็ นเส้นแบ่งพื้นที่ให้เป็ นรู ปสำมเหลี่ยม ข. เป็ นเส้นตรวจสอบควำมถูกต้องของกำรวัด ค. ใช้สำหรับอ้ำงอิงสถำนีรังวัดกับถำวรวัตถุ ง. เป็ นเส้นคู่สำหรับเขียนข้อมูลลงในสมุดสนำม จ. ใช้เก็บรำยละเอียดของสิ่งต่ำงๆ เช่น ถนน ต้นไม้ 20. ข้อใดไม่ใช่สำเหตุที่ทำให้เกิดควำมคลำดเคลื่อนใน กำรสำรวจด้วยโซ่ - เทป ก. กำรเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ข. ลมแรงขณะดึงโซ่ - เทป ค. ดึงโซ่ - เทป ไม่อยูใ่ นแนวรำบ ง. ยืนเล็งแนวห่ำงจำกหลักเล็งเกิน 1 เมตร จ. กำรตกท้องช้ำงจำกน้ ำหนักโซ่ - เทป


~1~

เลขที่ขอ้ สอบ

แบบทดสอบครั้งที่ 2 เรื่อง การวัดระยะ คาชี้แจง - จงทำเครื่ องหมำย  คำตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวในกระดำษคำตอบ - ห้ำมทำเครื่ องหมำยใด ๆ ลงในข้อสอบ - อนุญำตให้ใช้เครื่ องคำนวณได้ - ห้ำมนำเอกสำรเข้ำห้องสอบ - ให้เขียนหมำยเลขข้อสอบในกระดำษคำตอบด้วย 1. ข้อใดถือเป็ นกำรวัดระยะโดยตรง(Direct 4. กำรวัดระยะโดยวิธีนบั ก้ำวเป็ นวิธีใช้สำหรับงำนที่มี measurement) ค่ำควำมละเอียดของงำนเท่ำไร ก. กำรนับก้ำว(Pacing) ก. 1:20 ข. กำรวัดด้วยวิธีกำรสำมเหลี่ยม ข. 1:100 ค. กำรวัดด้วยโซ่ – เทป ค. 1:250 ง. กำรวัดด้วยกล้องกับไม้วดั ระดับ ง. 1:500 จ. ถูกทุกข้อ จ. 1:1000 2. กำรวัดโดยวิธีทำคีโอเมตรี (Tacheometry) เป็ นกำร 5. ในกำรเขียนแผนที่มำตรำส่วน 1: 1000 ควรวัดให้ วัดระยะโดยใช้ มีค่ำควำมละเอียดเท่ำไร ก. นับก้ำว(Pacing) ก. 0.01 ม. ข. โซ่ – เทป ข. 0.05 ม. ค. ล้อวัดระยะ ค. 0.10 ม. ง. กล้องกับไม้วดั ระดับ ง. 0.20 ม. จ. เครื่ องมืออิเลคทรอนิกส์ จ. 0.50 ม. 1 3. กำรวัดระยะในพื้นที่กว้ำงใหญ่และมีอุปสรรคใน 6. ตัวเลข 1 แสดงระยะ กำรวัดให้ได้ค่ำควำมถูกต้องและรวดเร็ วควรวัดด้วย บนโซ่ลำนตำมรู ปหมำยถึง เครื่ องมือชนิดใด ก. 1 ข้อ ก. นับก้ำว(Pacing) ข. 10 ปอยท์ ข. โซ่ – เทป ค. 90 ข้อ ค. ล้อวัดระยะ ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และข ง. เครื่ องมืออิเลคทรอนิกส์ จ. ไม่มีขอ้ ใดถูก จ. กล้องกับไม้วดั ระดับ


~2~ 7. โซ่ลำน 1 เส้นแบ่งออกเป็ น ก. 10 ข้อ ข. 20 ข้อ ค. 50 ข้อ ง. 100 ข้อ จ. 200 ข้อ 8. วัดระยะทำงด้วยโซ่ลำนได้ 2.4567 เส้นโซ่ ถ้ำคิด เป็ นหน่วยเมตรจะได้เท่ำกับเท่ำไร ก. 49.134 เมตร ข. 98.268 เมตร ค. 122.835 เมตร ง. 245.670 เมตร จ. ไม่มีขอ้ ใดถูก 9. วัดระยะทำงด้วยโซ่ลำนได้ 2.045 เส้นโซ่ หมำยถึง ก. 2 เส้นโซ่ 0 ข้อ 45 ปอยท์ ข. 2 เส้นโซ่ 0 ปอยท์ 45 ข้อ ค. 2 เส้นโซ่ 4 ปอยท์ 5 ข้อ ง. 2 เส้นโซ่ 4 ข้อ 5 ปอยท์ จ. 2 เส้นโซ่ 45 ข้อ 10. เหตุใดจึงจำเป็ นต้องกำหนดมำตรฐำนของควำม ถูกต้องให้เหมำะสมกับงำนสำรวจแต่ละงำน ก. เพื่อประหยัดค่ำใช้จ่ำย ข. ทำให้กำรทำงำนรวดเร็ วขึ้น ค. ให้มีค่ำควำมถูกต้องอยูใ่ นเกณฑ์ยอมรับ ง. ถูกทั้งข้อ ก.และข. จ. ถูกทั้งข้อ ก. ข. ค.

11. เครื่ องมือที่นิยมใช้กบั กำรวัดระยะทำงทัว่ ๆไปที่ไม่ ต้องกำรควำมละเอียดมำกนัก รำคำถูกและดูแล รักษำง่ำย คือข้อใด ก. โซ่ลำน ข. เทปเหล็กเคลือบพีวีซี ค. เทปไฟเบอร์กลำส ง. เทปเหล็กไร้สนิม จ. เทปโลหะอินวำร์ 12. เครื่ องมือที่ใช้สำหรับล่อแนวเล็งและปักลงดิน แสดงตำแหน่ งปลำยเทป ในกำรวัดระยะเป็ นช่วงๆ คือ ก. หมุดเหล็ก ข. ห่วงคะแนน ค. หลักเล็ง ง. ลูกดิ่ง จ. หมุดไม้ 13. กำรทำงำนที่เป็ นหน้ำที่ของคนที่ทำหน้ำที่โซ่นำ คือ ก. เก็บห่วงคะแนนที่ไม่ใช้แล้ว ข. เล็งแนว ค. ล่อห่วงคะแนนและปักห่วงคะแนน ง. ดูแลไม่ให้เทปเสียหำยขณะลำกเทป จ. ถูกทุกข้อ 14. กำรสร้ำงมุมฉำกด้วยเทป ทำได้โดยใช้อตั รำส่วน ของสำมเหลี่ยมมุมฉำก คือ ก. 4:5:6 ข. 3:4:5 ค. 1:3:5 ง. 1:2:4 จ. 1:2:3


~3~ 15. กำรวัดระยะตำมแนวลำดเอียงแล้วคำนวณเป็ นระยะ ในแนวรำบ เหมำะกับพื้นที่ลกั ษณะใด ก. มีควำมลำดเอียงเป็ นมุมไม่มำกนัก ข. มีระยะลำดเอียงยำวไม่เกิน 100 เมตร ค. มีควำมลำดเอียงแบบสม่ำเสมอ ง. ลำดเอียงเป็ นขั้นๆ หลำยระดับ จ. มีควำมลำดเอียงทำมุมมำกกว่ำ 30 องศำ 16. ต้องกำรวัดระยะทำง AB แต่มีสิ่งกีดขวำงกำรวัด ระยะทำงเป็ นบ่อน้ ำ เรำสำมำรถใช้หลักกำรวัดเพื่อ แก้ปัญหำด้วยวิธีกำรต่ำงๆในข้อใด ก. สำมเหลี่ยมมุมฉำก สี่เหลี่ยมคำงหมู ข. สำมเหลี่ยมเท่ำกัน สี่เหลี่ยมด้ำนไม่เท่ำ ค. สำมเหลี่ยมด้ำนเท่ำ สี่เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน ง. สำมเหลี่ยมคล้ำย สี่เหลี่ยมมุมฉำก จ. สำมเหลี่ยมด้ำนไม่เท่ำ สี่เหลี่ยมจัตุรัส 17. กำรสำรวจทำแผนที่ดว้ ยโซ่ - เทป งำนขั้นแรกที่ จะต้องทำในสนำมคือ ก. เคลียร์พ้นื ที่ตำมแนวที่จะวัดระยะ ข. ปักหมุดสถำนีรังวัดให้สะดวกในกำรค้นหำ ค. พิจำรณำแบ่งพื้นที่ท้งั หมดเป็ นรู ปสำมเหลี่ย ง. เดินตรวจดูพ้นื ที่ที่จะสำรวจให้ทวั่ บริ เวณ จ. ทำกำรอ้ำงอิงสถำนีรังวัดกับถำวรวัตถุ 18. สำมเหลี่ยมสภำพดีหมำยถึงสำมเหลี่ยมในข้อใด ก. ไม่มีมุมใดเล็กกว่ำ 20 องศำ ข. ไม่มีมุมใดเล็กกว่ำ 30 องศำ ค. ไม่มีมุมใดเล็กกว่ำ 60 องศำ ง. ไม่มีมุมใดใหญ่กว่ำ 60 องศำ จ. ไม่มีมุมใดใหญ่กว่ำ 100 องศำ

19. ข้อใดไม่ใช่สำเหตุที่ทำให้เกิดควำมคลำดเคลื่อนใน กำรสำรวจด้วยโซ่ - เทป ก. กำรเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ข. ลมแรงขณะดึงโซ่ - เทป ค. ดึงโซ่ - เทป ไม่อยูใ่ นแนวรำบ ง. ยืนเล็งแนวห่ำงจำกหลักเล็งเกิน 1 เมตร จ. กำรตกท้องช้ำงจำกน้ ำหนักโซ่ - เทป 20. ในกำรทำแผนที่ดว้ ยโซ่ - เทป เส้นโยง(Tie lines) มีควำมสำคัญอย่ำงไร ก. เป็ นเส้นแบ่งพื้นที่ให้เป็ นรู ปสำมเหลี่ยม ข. ใช้สำหรับอ้ำงอิงสถำนีรังวัดกับถำวรวัตถุ ค. เป็ นเส้นคู่สำหรับเขียนข้อมูลลงในสมุดสนำม ง. เป็ นเส้นตรวจสอบควำมถูกต้องของกำรวัด จ. ใช้เก็บรำยละเอียดของสิ่งต่ำงๆ เช่น ถนน ต้นไม้


แบบทดสอบครั้งที่ 3 เรื่อง กล้องวัดมุม คำสั่ง จงทำเครื่ องหมำย  หน้ำคำตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว 1. ข้อใดไม่ใช่งำนที่ใช้กล้องวัดมุมในกำรทำงำน ก. กำรวำงแนวโค้ง ข. กำรวำงผังงำนก่อสร้ำง ค. กำรคำนวณพื้นที่ ง. กำรวำงแนวตรง จ. กำรสำรวจทำแผนที่ 2. กล้องวัดมุม แบ่งตำมระบบกลไกกำรทำงำนของกล้องได้เป็ น 2 ประเภท คือ ก. Repeating และ Direction ข. Mechanical และ Electronic ค. Digital และ Micrometer ง. Digital และ Total Station จ. Scale Reading และ Micrometer 3. กล้องวัดมุมชนิดที่ใช้กนั มำกที่สุดในปัจจุบนั คือ ก. Scale Reading Theodolite ข. Vernier Theodolite ค. Micrometer Theodolite ง. Total Station Theodolite จ. Digital Theodolite 4. กล้องวัดมุมที่สำมำถวัดระยะทำง ประมวลผล และบันทึกข้อมูลได้ คือ ก. Total Station Theodolite ข. Digital Theodolite ค. Scale Reading Theodolite ง. Vernier Theodolite จ. Micrometer Theodolite 5. ในเรื่ องของกล้องวัดมุมข้อใดไม่ถกู ต้อง ก. Micrometer Theodolite อ่ำนค่ำมุมได้ละเอียดกว่ำ Scale Reading Theodolite ข. กล้องVernier Theodolite เป็ นกล้องที่ไม่นิยมใช้ในปัจจุบนั ค. Scale Reading Theodolite คือกล้อง แบบ Optical Theodolite ง. Micrometer Theodolite เป็ นกล้องที่วดั มุมแบบวัดซ้ ำ วัดทวนได้ จ. Digital Theodolite เป็ นกล้องที่สำมำรถปรับหน่วยกำรวัดมุมได้หลำยระบบ 6. ระบบกำรวัดค่ำมุมแบบใดที่นิยมใช้ในประเทศไทย ก. 6400 mil ข. 400 gon ค. 360  00 ง. 360decimal จ. 2 Radian 7. ในกำรปฏิบตั ิกำรตั้งกล้องวัดมุม สิ่งที่ตอ้ งทำก่อน คือข้อใด ก. ปรับระดับฟองกลม ข. ปรับระดับฟองยำว ค. ตั้งศูนย์ดิ่งให้ตรงหมุด ง. Set ค่ำมุมรำบ 0 จ. ส่องไปยังเป้ ำหมำยที่เป็ นจุดธงหลัง


8. ข้อใดเป็ นกำรหมุนควงปรับระดับฟองยำวที่ถกู ต้อง

ก.

ข.

ค.

ง.

จ.

9. กำรปรับระดับฟองกลมของกล้องวัดมุมให้ได้ระดับควรใช้วิธีกำรเลื่อนขำกล้องขึ้น-ลง เนื่องจำก ก. ลดกำรสึกหรอของเกลียวควงสำมเส้ำ ข. ศูนย์ดิ่งจะคลำดเคลื่อนน้อยกว่ำใช้ควงสำมเส้ำ ค. สำมำรถปรับระดับได้เร็วกว่ำวิธีอื่น ง. ปรับควำมสูงให้เหมำะกับผูส้ ำรวจได้ง่ำย จ. ไม่มีขอ้ ใดถูก

จำกรู ปส่วนประกอบของกล้อง ใช้ตอบคำถำมข้อ 10 – 15


10. จำกรู ปส่วนประกอบของกล้องหมำยเลข 7 คือ ก. ช่องใส่ เข็มทิศ ข. ช่องมองหัวหมุด ค. ที่หมำยเล็งจำลอง ง. ควงยึดฐำนกล้อง จ. ควงยกระดับ 11. จำกรู ปส่วนประกอบของกล้องหมำยเลข 9 คือ ก. ควงยึดฐำนกล้อง ข. ควงยึดกล้องทำงรำบ ค. ควงปรับควำมชัดช่องมองหัวหมุด ง. ควงยกระดับ จ. สกรู ปรับแก้หลอดระดับฟองกลม 12. จำกรู ปส่วนประกอบของกล้องหมำยเลข 13 คือ ก. ควงยึดกล้องทำงดิ่ง ข. ควงสัมผัสทำงรำบ ค. ช่องมองหัวหมุด ง. ควงยึดกล้องทำงรำบ จ. ที่หมำยเล็งจำลอง 13. จำกรู ปส่วนประกอบของกล้องหมำยเลข 18 คือ ก. ช่องใส่ เข็มทิศ ข. ช่องมองหัวหมุด ค. ควงยึดกล้องทำงรำบ ง. ควงยึดกล้องทำงดิ่ง จ. ที่หมำยเล็งจำลอง 14. จำกรู ปส่วนประกอบของกล้องหมำยเลข 23 คือ ก. ควงยึดกล้องทำงรำบ ข. ควงสัมผัสทำงดิ่ง ค. ควงสัมผัสทำงรำบ ง. ควงยึดกล้องทำงดิ่ง จ. ที่หมำยเล็งจำลอง 15. จำกรู ปส่วนประกอบของกล้องหมำยเลข 25 คือ ก. ควงปรับควำมชัดของภำพ ข. ควงยึดกล้องทำงดิ่ง ค. ควงยึดกล้องทำงรำบ ง. ที่หมำยเล็งจำลอง จ. ควงสัมผัสทำงดิ่ง 16. ค่ำมุมรำบที่อ่ำนได้จำกกล้องหน้ำซ้ำย และกล้องหน้ำขวำที่ส่องไปยังจุดเดียวกันหำกไม่มีควำม คลำดเคลื่อนค่ำมุมจะต้องเป็ นตำมข้อใด ก. ต่ำงกัน 90 องศำ ข. ต่ำงกัน 180 องศำ ค. รวมกันได้ 180 องศำ ง. อ่ำนค่ำในกล้องได้เท่ำกัน จ. รวมกันได้กนั 360 องศำ


17. ค่ำมุมดิ่งที่อ่ำนได้จำกกล้องหน้ำซ้ำย และกล้องหน้ำขวำที่ส่องไปยังจุดเดียวกันหำกไม่มีควำม คลำดเคลื่อนค่ำมุมจะต้องเป็ นตำมข้อใด ก. อ่ำนค่ำในกล้องได้เท่ำกัน ข. ต่ำงกัน 90 องศำ ค. ต่ำงกัน 180 องศำ ง. รวมกันได้ 180 องศำ จ. รวมกันได้กนั 360 องศำ 18. กำรวัดมุมภำคของทิศจะต้อง Set ค่ำมุม 0 องศำ ไปที่ใด ก. ตำมแนวทิศเหนือ ข. ตำมแนวทิศตะวันออก ค. หมุดที่กำหนดเป็ นธงหลัง ง. หมุดที่กำหนดเป็ นธงหน้ำ จ. ถูกทั้งข้อ ข.และ ง. 19. กำรวัดมุมดิ่งหรื อมุมสูงนี้จะใช้กบั งำนในข้อใด ก. กำรทำวงรอบ ข. กำรสำรวจทำแผนที่ ค. กำรทำระดับตรี โกณมิติ ง. กำรวำงแนวเส้นโค้ง จ. ถูกทุกข้อ 20. เมื่อแกนกล้องอยูใ่ นแนวระดับค่ำมุมดิ่งในกล้องจะอ่ำนได้เท่ำไร ก. 180 องศำ ข. 270 องศำ ค. 0 องศำ ง. 90 องศำ จ. ถูกทั้งข้อ ข.และ ง.


~1~

แบบทดสอบครั้งที่ 1 เรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสารวจ คาชี้แจง - จงทาเครื่ องหมาย  คาตอบที่ถกู ต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวในกระดาษคาตอบ - ห้ามทาเครื่ องหมายใด ๆ ลงในข้อสอบ - อนุญาตให้ใช้เครื่ องคานวณได้ - ห้ามนาเอกสารเข้าห้องสอบ สูตร 1. Sin A

=

4. Cosec A = 7. (Sine rule)

2. Cos A =

a b b a

a SinA

= =

1 SinA b SinB

5. Sec A = =

c SinC

3. Tan A =

c b b c

= 2R

=

1 CosA

6. Cot A =

a c c a

=

1 TanA

8. Cosine (Cosine rule)a = b2  c2  2bc  cos A 9. พื้นที่ของสามเหลี่ยม ABC = ½ ab SinC = ½ bc SinA = ½ ac SinB พื้นที่ของสามเหลี่ยม ABC = a2 Sin B Sin C / (2 Sin (B+C)) = b2 Sin A Sin C / (2 Sin (A+C)) = c2 Sin A Sin B / (2 Sin (A+B)) สูตร S S = (a + b + c ) /2 พื้นที่สามเหลี่ยม ABC = S (S  a)(S  b)(S  c) S (S  a) การหาค่ามุมจากสูตร S มุม A = 2 cos1 bc

[พิมพ์ขอ้ ความ]

[พิมพ์ขอ้ ความ]

[พิมพ์ขอ้ ความ]


~2~

1. การสารวจเป็ นทั้งศาสตร์และศิลป์ ของการวัดเนื่องจาก ก. ต้องใช้ความรู้ทางคณิ ตศาสตร์และศิลปกรรมควบคู่กนั ไป ข. มีลกั ษณะงานที่จะต้องทาทั้งในสนามและในสานักงาน ค. เป็ นวิชาการที่ตอ้ งใช้ความรู้ทางวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม ง. เกี่ยวข้องกับวิชาการหลายแขนง มีการประยุกต์ใช้ความรู้ในการทางาน จ. ใช้หลักทางวิทยาศาสตร์ที่มีหลักการแน่นอนและมีการนาข้อมูลมาเขียนแผนที่ 2. การสารวจเป็ นการหาความสัมพันธ์ของจุดต่างๆ ใน 2 ลักษณะคือ ก. ตาแหน่งและความสูงต่าของจุดต่างๆ ข. ความกว้างและยาวของพื้นที่ ค. การหาพื้นที่และปริ มาตร ง. ระดับความลึกของดินตัดและดินถม จ. การสารวจด้วยเทปและกล้องสารวจ 3. การสารวจบนพื้นผิวราบ (Plane Surveying) หมายถึงการสารวจในข้อใด ก. สารวจพื้นที่ราบไม่มีอุปสรรคในการทางาน ข. ไม่คิดถึงผลจากความโค้งของโลก ค. การวัดระยะทางในแนวระดับ ง. งานกาหนดระดับเพื่อปรับพื้นที่ให้ราบเรี ยบ จ. ถูกทั้งข้อ ก. และ ค. 4. ในการสารวจพื้นที่กว้างใหญ่มากเกินกว่า.............ตารางไมล์ จะต้องใช้หลักการ การสารวจ บนพื้นผิวโค้ง ก. 10 ข. 50 ค. 100 ง. 150 จ. 500 5. งานย่อยในข้อใดถือว่าไม่เกี่ยวข้องในการสารวจเกี่ยวกับที่ดิน (Land Surveying) ก. การสารวจเกี่ยวกับการกาหนดหลักเขต ข. ผังบริ เวณของที่ดิน ค. การแบ่งพื้นที่ออกเป็ นแปลงๆ ง. การวางแนวเส้นตรงและการวางแนวโค้ง จ. การคานวณพื้นที่เขตครอบครองที่ดิน

[พิมพ์ขอ้ ความ]

[พิมพ์ขอ้ ความ]

[พิมพ์ขอ้ ความ]


~3~

6. การทาระดับตามยาว และการทาระดับตามขวาง เป็ นงานย่อยของการสารวจในข้อใด ก. การสารวจภูมิประเทศ ข. การสารวจเส้นทาง ค. การสารวจทางอุทกศาสตร์ ง. การสารวจเกี่ยวกับที่ดิน จ. การสารวจภาพถ่ายทางอากาศ 7. การสารวจแผนที่รูปถ่ายทางอากาศ (Photogrammetric Surveying) เป็ นวิธีที่เหมาะกับการ สารวจแบบใด ก. งานสารวจที่ตอ้ งการความละเอียดสูง ข. งานสารวจพื้นที่กว้างใหญ่ ในเวลารวดเร็ ว ค. งานสารวจเพื่อก่อสร้างอาคารขนาดใหญ่ ง. งานสารวจเพื่อกาหนดตาแหน่งของสิ่งก่อสร้าง จ. การสารวจเพื่อออกเอกสารแสดงกรรมสิทธิ์เกี่ยวกับที่ดิน 8. งานในข้อใดถือเป็ นการทางานสานักงาน ก. การวัดระยะทาง ข. การเก็บรายละเอียดต่างๆ เช่นถนน ต้นไม้ ค. การเขียนรู ปตัดตามแนวยาว ง. การหาค่าระดับความสูงของพื้นที่ จ. ถูกทุกข้อ 9. การย้ายกล้องระยะไกลควรทาตามข้อใด ก. เก็บกล้องลงกล่องแล้วย้ายไปตั้งใหม่ ข. แบกกล้องพร้อมขาตั้งโดยให้กล้องอยูด่ า้ นหน้า ค. แบกกล้องพร้อมขาตั้งโดยให้กล้องอยูด่ า้ นหลัง ง. แยกกล้องกับขาตั้งแล้วหิ้วกล้องที่มือจับด้านบนของกล้อง จ. สอดแขนระหว่างขาตั้งกล้องแล้วแบกกล้องขึ้นบ่าในแนวดิ่ง 10. สาร Silica Gel ที่ใส่ในกล่องเก็บกล้องมีประโยชน์อย่างไร ก. ป้ องกันฝุ่ นละอองจับเลนส์ ข. ช่วยหล่อลื่นสกรู ปรับระดับให้หมุนคล่อง ค. ทาให้กล้องทนอุณหภูมิสูงได้ดี ง. ดูดความชื้นช่วยป้ องกันรา และสนิม จ. ถูกทุกข้อ

[พิมพ์ขอ้ ความ]

[พิมพ์ขอ้ ความ]

[พิมพ์ขอ้ ความ]


~4~

11. ควรหลีกเลี่ยงการตั้งกล้องในที่ใดมากที่สุด ก. พื้นดินที่มคี วามลาดเอียง ข. สนามที่มีหญ้ารก ค. พื้นถนนลาดยาง ง. พื้นที่เป็ นดินปนทราย จ. พื้นผิวปูกระเบื้องเคลือบ 12. ข้อใดเป็ นการดูแลรักษาเครื่ องมือสารวจที่ไม่ถกู วิธี ก. การใช้โซ่ตอ้ งระวังไม่ให้โซ่พนั กันขณะดึงโซ่ ข. การดูแลเทปไม่ให้เสียหายขณะลากเทปเป็ นหน้าที่ของคนที่อยูห่ ลัง ค. วางห่วงคะแนนที่ไม่ได้ใช้รวมกันไว้โดยวางนอนกับพื้นสนามหญ้า ง. ควรหยอดน้ ามันหล่อลื่นตามจุดที่เป็ นข้อพับหรื อจุดหมุน จ. โซ่- เทป เหล็กหากเก็บนานก็ควรทาน้ ามัน เพื่อป้ องกันสนิม 13. ข้อใดไม่ใช่หน่วยการวัดความยาวที่กาหนดให้ใช้ในระบบ เอส ไอ ก. มิลลิเมตร ข. เซนติเมตร ค. เมตร ง. กิโลเมตร จ. ไม่มีขอ้ ใดถูก 14. มุม 1 เรเดียน เท่ากับ ก.

องศา

ข.

องศา

ค.

องศา

ง.

องศา

จ.

องศา

15. มาตราส่วน 1 ซม.แทน 1 กม.หากเขียนเป็ นมาตราส่วนแบบเศษส่วนจะเท่ากับ ก. 1:1,000,000 ข. 1:100,000 ค. 1:10,000 ง. 1:1,000 จ. 1:100 [พิมพ์ขอ้ ความ]

[พิมพ์ขอ้ ความ]

[พิมพ์ขอ้ ความ]


~5~

16. วัดความยาวจริ งอาคารหลังหนึ่งได้ 60 เมตร ในแผนที่วดั ได้ 3 เซนติเมตร แสดงว่าแผนที่น้ ี มีมาตราส่วนเท่าไร ก. 3 :60 ข. 1:20 ค. 20:1 ง. 1:200 จ. 1:2,000 17. มาตราส่วนที่เหมาะ สาหรับการ สารวจเพื่อวางผังเมือง คือ ก. 1:500000 ข. 1:20000 ค. 1:1000 ง. 1:500 จ. 1:250 F 109.67 501030 D

100.45

E

จากรู ปสามเหลี่ยมDEF วัดระยะDE และ DF ได้ 100.45 และ 109.67 เมตร ตามลาดับ มุม FDE เท่ากับ 501030 (รู ปนี้ใช้ตอบคาถามข้อ 18 - 20) 18. ระยะทาง EF เท่ากับ ก. 82.298 ม. ข. 84.982 ม. ค. 89.482 ม. ง. 94.842 ม. จ. 98.284 ม.

[พิมพ์ขอ้ ความ]

[พิมพ์ขอ้ ความ]

[พิมพ์ขอ้ ความ]


~6~

19. มุมDEF เท่ากับ ก. 572339 ข. 593332 ค. 701559 ง. 712037 จ. 751023 20. พื้นที่สามเหลี่ยม DEF เท่ากับ ก. 4230.30 ตารางเมตร ข. 4020.20 ตารางเมตร ค. 3430.20 ตารางเมตร ง. 3240.40 ตารางเมตร จ. 2430.20 ตารางเมตร

[พิมพ์ขอ้ ความ]

[พิมพ์ขอ้ ความ]

[พิมพ์ขอ้ ความ]


ชื่อ ……………………………………………… เลขประจำตัว………………………..กลุ่ม…………. คำสั่ง ให้นำตำรำ เอกสำร และเครื่ องคำนวณทุกชนิดเข้ำสอบได้ ข้อสอบทั้งหมดมี 5 ข้อให้นกั เรี ยนทำทุกข้อ คะแนนรวม 40 คะแนน 1. จงอธิบำย – ตอบคำถำม ต่อไปนี้ให้ได้ใจควำมถูกต้องสมบูรณ์ (10 คะแนน) 1.1. ค่ำมุม Azimuth หมำยถึง............................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... 1.2. ค่ำมุม Reduced Bearing หมำยถึง ................................................................................................................ .......................................................................................................................................................................... 1.3. ค่ำ Azimuth ของแนวเส้น AB เท่ำกับ 150 คิดเป็ นค่ำ Reduced Bearing ได้เท่ำกับ…………………….. 1.4. ค่ำมุม Reduced Bearing ของแนว CD เท่ำกับ S 7040W คิดเป็ นค่ำ Azimuth ได้เท่ำกับ………………… 1.5. ค่ำ Fore bearing ของแนว EF เท่ำกับ 254 ค่ำ Back bearing EF จะมีค่ำเท่ำกับ…………………………. 1.6. ค่ำ Fore bearing ของแนว FG เท่ำกับ 54 ค่ำ Back bearing FG จะมีค่ำเท่ำกับ…………………………. 1.7. Lattitude หมำยถึง………………………………………………………………………………………… 1.8. Lattitude มีเครื่ องหมำยเป็ นบวกเมื่อ………………………………………………………………………… และมีเครื่ องหมำยเป็ นลบเมื่อ………………………………………………………………………………….. 1.9. Departure หมำยถึง…………………………………………………………………………………………… 1.10. Departure มีเครื่ องหมำยเป็ นบวกเมื่อ………………………………………………………………………… และมีเครื่ องหมำยเป็ นลบเมื่อ………………………………………………………………………………….. 2. จำกรู ปจงหำค่ำพิกดั ของจุด C เมื่อค่ำพิกดั ของจุด A เท่ำกับ N.200 E.300 วัดค่ำ Azimuth และระยะทำงของ N วงรอบได้ตำมรู ป (4 คะแนน) N N.200 A E.300

N AZ. 11520 50.25 m

AZ. 6340 70.20 m

C

B

……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………..


3.จากรู ปเป็ นการทาวงรอบด้วยกล้องวัดมุม ได้ค่ามุมของวงรอบดังรู ป และวัด AZ ของแนวเส้น AB ได้ = 4030 จงคานวณหาค่า AZ ของวงรอบนี้ (4 คะแนน) C

326.24 m. D 6840 235.10 m.

8820 200.30 N m. 10220 B 10040 220.50 m. A

4.จากรู ปเป็ นการทาวงรอบด้วยกล้องวัดมุม ได้ค่ามุมของวงรอบดังรู ป และวัด AZ ของแนวเส้น DA ได้ = 18540 กาหนดค่าพิกดั ของจุด A เท่ากับ N.300 E.300 จงคำนวณหำค่ำพิกดั ของวงรอบและหำพื้นที่ของวงรอบ (12 คะแนน) D

57.36 m. C 9145 8330

88.78 m.

8342 10102 A B 50.65 m.

85.35 m.

N


5.จงคำนวณหำค่ำAzimuth และค่ำมุมของวงรอบ จำกค่ำพิกดั ของวงรอบ ABCD ตำมรู ป (10 คะแนน) N.172.04 D E.85.26

C

N.100 E.100 A

N.168.77 E.136.90

N.101.65 B E.132.94


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.