Drawing Basic

Page 1


2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้ น (2-4 ) จุดประสงค์ รายวิชา 1. เพื่อให้มีความเข้าใจ วิธีการใช้เครื่ องมือ อุปกรณ์ในการเขียนแบบก่อสร้างและดูแล รักษา เครื่ องมือและอุปกรณ์ในการเขียนแบบ 2. เพื่อให้สามารถเขียนแบบเส้น รู ปร่ าง รู ปทรงเรขาคณิ ตและอักษรประกอบแบบ 3. เพื่อให้มีกิจนิสัย ในการทางาน มีความประณี ตเรี ยบร้อย มีความซื่อสัตย์ มีความ รับผิดชอบ ตรงต่อเวลา มาตรฐานรายวิชา 1. เข้าใจหลักการและวิธีการเขียนแบบเบื้องต้น 2. เขียนแบบรู ปทรงเรขาคณิ ต เขียนแบบภาพ 2 มิติ 3 มิติ เขียนแบบขยาย ส่ วนประกอบอาคารอย่างง่าย คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบตั ิหลักการเขียนแบบเส้นลักษณะต่างๆ เครื่ องมือและอุปกรณ์ใน การเขียนแบบ การใช้มาตราส่ วน การบอกขนาด มิติรูปทรงเรขาคณิ ต 2 มิติ 3 มิติ การเขียนแบบขยายส่ วนประกอบอาคารอย่างง่าย



เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

1

หน้ าที่

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น (2-4 ) จุดประสงค์รายวิชา 1. เพื่อให้มีความเข้าใจ วิธีการใช้เครื่ องมือ อุปกรณ์ในการเขียนแบบก่อสร้างและดูแลรักษา เครื่ องมือและอุปกรณ์ในการเขียนแบบ 2. เพื่อให้สามารถเขียนแบบเส้น รู ปร่ าง รู ปทรงเรขาคณิ ตและอักษรประกอบแบบ 3. เพื่อให้มีกิจนิสยั ในการทางาน มีความประณี ตเรี ยบร้อย มีความซื่อสัตย์ มีความรับผิดชอบ ตรง ต่อเวลา มาตรฐานรายวิชา 1. เข้าใจหลักการและวิธีการเขียนแบบเบื้องต้น 2. เขียนแบบรู ปทรงเรขาคณิ ต เขียนแบบภาพ 2 มิติ 3 มิติ เขียนแบบขยายส่วนประกอบอาคารอย่าง ง่าย คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบตั ิหลักการเขียนแบบเส้นลักษณะต่างๆ เครื่ องมือและอุปกรณ์ในการเขียนแบบ การใช้มาตราส่วน การบอกขนาด มิติรูปทรงเรขาคณิ ต 2 มิติ 3 มิติ การเขียนแบบขยาย ส่วนประกอบอาคารอย่างง่าย


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี - แบบฝึ กหัด 30 % ภาพ 2 มิติและ 3 มิติ การมองภาพฉายมุมที่ 1 การมองภาพฉายชิ้นงานรู ปทรงสี่เหลี่ยมตัดตรง การมองภาพฉายชิ้นงานรู ปทรงสี่เหลี่ยมตัดเฉียง การมองภาพฉายชิ้นงานรู ปทรงพีระมิดตัดตรง การมองภาพฉายชิ้นงานรู ปทรงกระบอกตัดตรง การมองภาพฉายชิ้นงานรู ปทรงกระบอกกลวงตัดตรง การมองภาพฉายชิ้นงานรู ปทรงกลมตัดตรง การเขียนภาพฉายจากภาพ 3 มิติ การเขียนภาพฉายด้านที่ 3 จากภาพที่มีอยู่ 2 ด้าน การเขียนภาพ OBLIQUE การเขียนภาพ DIMETRIC การเขียนภาพ ISOMETRIC การเขียนวงรี ในภาพ 3 มิติ การเขียนภาพตัดเต็ม การเขียนภาพตัดครึ่ ง การเขียนภาพตัดตามแนวที่กาหนด การเขียนภาพตัดพิเศษ มาตรฐานในงานเขียนแบบ การกาหนดขนาดของชิ้นงาน การกาหนดขนาดของมุม การกาหนดขนาดรัศมีและเส้นผ่านศูนย์กลาง การกาหนดค่าพิกดั ความเผือ่ การกาหนดสัญลักษณ์ผวิ งาน การเขียนภาพสัญลักษณ์

2


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

1

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

ระดับผลการเรียน ช่ วงระดับคะแนน 80 ขึ ้นไป 75 - 79 70 - 74 65 - 69 60 - 64 55 - 59 50 - 54 ต่ากว่า 50

ระดับผลการเรียน 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0

หมายถึง ดีเยี่ยม ดีมาก ดี ดีพอใช้ พอใช้ อ่อน อ่อนมาก ขั ้นต่า

การคานวณหาค่ าระดับคะแนนเฉลี่ย = ผลบวกของ (จานวนหน่วยกิตของแต่ละวิชา คูณระดับผลการเรี ยนของแต่ละวิชา) หารผลบวกของหน่วยกิตรวมทุกวิชา


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

1

หน้ าที่

4

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี มาตรฐานสาหรับการประเมิน 1. มาตรฐานการประเมินวิชาเขียนแบบเบือ้ งต้น (2100 - 3101) ลาดับที่ 1 ถูกต้อง ลาดับที่ 2 ความสะอาด ลาดับที่ 3 น้ าหนักเส้น ลาดับที่ 4 การจัดวางรู ปและเลือกใช้มาตราส่วนได้อย่างเหมาะสม ลาดับที่ 5 ตัวอักษรสวยงาม รายละเอียดการประเมินผลงาน ระดับคะแนน 10 นักศึกษาสามารถทาผลงานได้ครบทุกลาดับ ตั้งแต่ลาดับที่ 1 ถึง ลาดับที่ 5 ระดับคะแนน 8 นักศึกษาสามารถทาผลงานได้ครบ 4 ลาดับ โดยต้องลาดับที่ 1 ให้ได้ก่อนและจะทา ลาดับใดก็ได้ให้ครบ ระดับคะแนน 6 นักศึกษาสามารถทาผลงานได้ครบ 3 ลาดับ โดยต้องลาดับที่ 1 ให้ได้ก่อนและจะทา ลาดับใดก็ได้ให้ครบ ระดับคะแนน 4 นักศึกษาสามารถทาผลงานได้ครบ 2 ลาดับ โดยต้องลาดับที่ 1 ให้ได้ก่อนและจะทา ลาดับใดก็ได้ให้ครบ ระดับคะแนน 2 นักศึกษาสามารถทาผลงานได้ลาดับที่ 1 เพียงลาดับเดียว หรื อผูท้ ี่ทาระดับได้ครบถึง 4 ลาดับ แต่ไม่สามารถทาลาดับที่ 1ได้ 2. มาตรฐานการประเมิน การตรงต่อเวลา รายการประเมินที่ 3.1 ความตรงต่อเวลา ( ตรวจสอบรายชื่อก่อนเข้าเรี ยน ) ระดับคะแนน 10 เข้าเรี ยนทันเวลา ระดับคะแนน 8 เข้าเรี ยนไม่ทนั ภายใน 5 นาที ระดับคะแนน 6 เข้าเรี ยนไม่ทนั ภายใน 10 นาที ระดับคะแนน 2 เข้าเรี ยนไม่ทนั ภายใน 15 นาที ระดับคะแนน 0 เข้าเรี ยนไม่ทนั เกิน 15 นาที


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

1

5

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี รายการประเมินที่ 3.2 การแต่งกาย ระดับคะแนน 10 แต่งกายถูกระเบียบ ระดับคะแนน 8 แต่งกายผิดระเบียบ 1 ประเภท ระดับคะแนน 6 แต่งกายผิดระเบียบ 2 ประเภท ระดับคะแนน 2 แต่งกายผิดระเบียบ 3 ประเภท ระดับคะแนน 0 แต่งกายผิดระเบียบเกิน 3 ประเภท รายการประเมินที่ 3.3 ความคิดริเริ่มสร้ างสรรค์ ระดับคะแนน 10 มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ในการปฏิบตั ิงานเขียนแบบและแก้ไข ปัญหาในขณะทางานดีมาก ระดับคะแนน 8 มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ในการปฏิบตั ิงานเขียนแบบและแก้ไข ปัญหาในขณะทางานดี ระดับคะแนน 6 มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ในการปฏิบตั ิงานงานเขียนแบบและ แก้ไขปัญหาในขณะทางานปานกลาง ระดับคะแนน 2 มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ในการปฏิบตั ิงานเขียนแบบและแก้ไข ปัญหาในขณะทางานพอใช้ ระดับคะแนน 0 ไม่มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ในการปฏิบตั ิงานเขียนแบบ และไม่ สามารถแก้ไขปัญหาในการทางาน


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้ น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

บทที่1 งานเขียนแบบ 1.1 ความสาคัญของการเขียนแบบ แบบงานนับว่าเป็ นสิ่งที่มีประโยชน์ตอ่ ประโยชน์ตอ่ มนุษย์เป็ นอย่างมากในปั จจุบนั ดังนันจะเห็ ้ นได้ จาก ในงานก่อสร้ างบ้ านที่อยู่อาศัย เราสามารถเห็นรูปร่างและรายละเอียดต่างๆ ของบ้ านได้ จากแบบงานที่ เขียนขึ ้นโดยที่ยงั ไม่ต้องมีการก่อสร้ างจริง ซึง่ ทาให้ เราสามารถตัดสินใจเลือกซื ้อ เลือกรูปแบบของบ้ าน หรื อเปลี่ยนแปลงส่วนต่างๆ ของบ้ านได้ ตามความชอบหรื อรสนิยมก่อนลงมือก่อสร้ าง ส่งผลให้ เกิดความ ประหยัด ทังเวลาและค่ ้ าใช้ จา่ ยและได้ งานที่พงึ พอใจ

รู ปที่ 1.1 ตัวอย่ างของบ้ านจากแบบงานที่เขียน นอกจากนี ้แบบงานยังเป็ นประโยชน์กบั ผู้ออกแบบและช่างที่ทาการผลิตหรื อก่อสร้ างเป็ นอย่างมาก เช่น 1. ผู้ออกแบบสามารถประเมนราคาค่าวัสดุ ค่าแรงในการผลิตได้ โดยไม่ต้องมีการสร้ างหรื อผลิตจริง ทาให้ ทราบต้ นทุนล่วงหน้ า สามารถเสนอราคาให้ ผ้ ซู ื ้อตัดสินใจได้ รวดเร็วขึ ้น


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้ น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 2. ผู้ออกแบบสามารถเสนอรูปแบบ ของสินค้ าให้ ลกู ค้ าได้ เห็นรูปร่างละรายละเอียดของงาน โดยยังไม่ ต้ องมีการผลิตจริง ทาให้ เกิดความรวดเร็ว แลไม่ต้องลงทุนการผลิตซึง่ อาจเป็ นความเสี่ยง หากลูกค้ าไม่พงึ พอใจในสินค้ า 3. ช่างที่ทาการผลิตหรื อสร้ างสามารถวางแผนการผลิตได้ ลว่ งหน้ า เช่น กาหนดขันตอนในการท ้ างาน กาหนดเวลาในการทางาน และกาหนดเครื่ องมือ-เครื่ องจักรที่ใช้ ในการผลิตได้ จากรายละเอียดของชิ ้นส่วนใน แบบงาน 4. ผู้ควบคุมการผลิตสามารถวางแผนการจัดซื ้อวัสดุและวางแผนขันตอนในการผลิ ้ ตล่วงหน้ าได้ ทาให้ มี ประสิทธิภาพในการทางานสูงขึ ้น ส่งผลต่อการลดต้ นทุนการผลิต

1.2 ประเภทของงานเขียนแบบ นอกจากงานเขียนแบบบ้ านหรื อแบบงานก่อสร้ างและแบบงานสถาปั ตยกรรมที่พบเห็นกันโดยทัว่ ไปแล้ ว และยังมีงานเขียนแบบด้ านอื่นๆ ที่ใช้ วงงานอุตสาหกรรมดังตัวอย่างรูปที่ 1.2 -1.4

รู ปที่ 1.2 ตัวอย่ างงานเขียนแบบเครื่ องกล

รู ปที่ 1.3 ตัวอย่ างงานเขียนแบบไฟฟ้า


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้ น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

รู ปที่ 1.4 ตัวอย่ างงานเขียนแบบอเล็กทรอนิกส์

1.3 วิธีการเขียนแบบ การเขียนแบบชิ ้นงานที่ใช้ ในโรงงานหรื อสถานประกอบการที่เกี่ยวข้ องกับงานอุตสาหกรรมการผลิตที่ มีอยูด่ ้ วยกัน 3 วิธี 1. การเขียนแบบด้ วยมือเปล่า 2.การเขียนแบบด้ วยเครื่ องมือเขียนแบบ 3.การเขียนแบบด้ วยคอมพิวเตอร์

1.4 เครื่ องมือที่ใช้ ในการเขียนแบบ ในการเขียนแบบด้ วยเครื่ องมือเขียนแบบจะต้ องใช้ เครื่ องมือและอุปกรณ์ที่สาคัญที่สดุ 1. โต๊ ะเขียนแบบ เป็ นอุปกรณ์สาหรับรองแผ่นกระดาษที่ใช้ ในการเขียนแบบ ที่สามารถนัง่ เขียน แบบได้ อย่างสะดวก

รู ปที่ 1.5 โต๊ ะเขียนแบบ


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ ที่

2

หน้ าที่

4

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้ น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 2. กระดานเขียนแบบ เป็ นอุปกรณ์สาหรับติดกระดาษเขียนแบบ แต่จะมีขนาดเล็กกว่า สามารถหิ ้ว ไปใช้ งานได้ สะดวก

รู ปที่ 1.6 กระดานเขียนแบบ 3. ไม้ ทีหรือไม้ ทีชนิดเลื่อนได้ เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ สาหรับเขียนเส้ นในแนวนอน และใช้ สาหรับวางไม้ บรรทัดสามเหลี่ยมสาหรับเขียนเส้ นในแนวดิง่ หรื อเส้ นเอียง

รู ปที่ 1.7 ไม้ ทีและไม้ ทีแบบเลื่อนได้


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ ที่

2

หน้ าที่

5

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้ น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 4. บรรทัดสามเหลี่ยม เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ สาหรับเขียนเส้ นในแนวดิง่ และเส้ นในแนวเอียง โดยปกติ บรรทัดสามเหลี่ยมจะต้ องใช้ ร่วมกับไม้ ที บรรทัดสามเหลี่ยมที่มีขายในท้ องตลาดจะมีอยู่ 2 แบบ คือ บรรทัด มุม 45 o และบรรทัด 30 o, 60 o

รู ปที่ 1.8 บรรทัดมุม 45 o และบรรทัด 30 o, 60 o 5. วงเวียน เป็ นอุปกรณ์ ท่ ใี ช้ ในการเขียนส่ วนโค้ งของวงกลม ใช้ กบั ดินสอธรรมดาหรื อไส้ ดนิ สอ สาเร็จรูปหรื อใช้ กบั ปากาเขียนแบบ มีตวั ปรับรัศมีหรื อไม่มีตวั ปรับ

รู ปที่ 1.9 วงเวียน


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ ที่

2

หน้ าที่

6

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้ น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 6. บรรทัดเขียนส่ วนโค้ ง เป็ นอุปกรณ์ ท่ ีใช้ เขียนส่ วนโค้ งที่วงเวียนเขียนไม่ ได้ บรรทัดเขียนส่วน โค้ งส่วนมากจะมีให้ มาเป็ นชุดกับบรรทัดสามเหลี่ยม

รู ปที่ 1.10 บรรทัดส่ วนโค้ ง 7.แผ่ นช่ วยเขียนแบบ ( Template ) หรื อเรี ยกสัน้ ๆ ว่า เพลต เพลตที่ใช้ ชว่ ยในการเขียนแบบที่มี ขายในท้ องตลาดมีอยูด่ ้ วยกันหลายอย่าง เช่น เพลตสาหรับเขียนวงกลม เพลตสาหรับเขียนวงรี เพลตสาหรับ เขียนหัวนัต เพลตสาหรับเขียนรูปเหลี่ยม ฯลฯ

รู ปที่ 1.11 ตัวอย่ างเพลตที่ใช้ ช่วยเขียนแบบ


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ ที่

2

หน้ าที่

7

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้ น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 8. ดินสอเขียนแบบ เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ ในการเขียนแบบด้ วยมือเปล่า การเขียนแบบด้ วยดินสอจะ สามารถลบได้ ง่าย ไส้ ของดินสอจะทามาจากกราไฟต์ ( Graphite ) ซึง่ มีความแข็งหรื ออ่อนแตกต่างกันไปตาม ลักษณะการใช้ งานของดินสอ ดินสอที่มีขายในท้ องตลาดจะมีรหัสที่เป็ นตัวอักษรภาษาอังกฤษและตัวเลข พิมพ์ไว้ เช่น H,2H,3H,HB,B,2B,6B,F เป็ นต้ น รหัสของดินสอมีความหมายดังนี ้ อักษร H มาจากคาว่า Hard ที่แปลว่า แข็ง ดินสอที่มีรหัสอักษร H จะหมายถึง ดินสอที่มีไส้ แข็ง ส่วนตัวเลขหน้ าตัวอักษรจะบอกระดับของความแข็ง ตัวเลขมากจะมีความแข็งมากขึ ้น ดินสอรหัสอักษร H จะเหมาะสมสาหรับเขียนเส้ นที่บางๆ เช่น เส้ นร่าง อักษร B มาจากคาว่า Blackness ที่แปลว่า ความดา ดินสอที่มีรหัสอักษร B จะหมายถึง ดินสอ ที่ใช้ สาหรับเขียนเส้ นที่ต้องการความดาของเส้ น ส่วนตัวเลขหน้ าตัวอักษรจะบอกระดับความเข้ มของสี ตัวเลขมากจะมีความเข้ มของสีมาก ดินสอรหัสอักษร B จะเป็ นดินสอที่มีไส้ ออ่ น หักได้ ง่ายถ้ าใช้ น ้าหนักใน การเขียนมาก ดินสอรหัส B มักนิยมใช้ ในการแรเงาภาพ อักษร F มาจากคาว่า Fine ที่แปลว่า ละเอียด ดินสอที่มีรหัสอักษร F จะหมายถึง ดินสอที่ใช้ สาหรับเขียนเส้ นที่มีความคม และละเอียด ดินสอที่มีรหัสอักษร 2 ตัว เขียนติดกัน เช่น HB , HH มีความหมายดังนี ้คือ HB ( Hard and Black ) หมายถึง ดินสอไส้ แข็งและมีความดาของเส้ น HH ( Very Hard ) หมายถึง ดินสอไส้ แข็งมาก

รู ปที่ 1.12 ดินสอเขียนแบบ


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

8

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้ น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 9. ปากกาเขียนแบบและหมึก ปากกาเขียนแบบเป็ นเครื่ องมือเขียนแบบอย่างหนึง่ ที่ สาคัญสาหรับการเขียนแบบลงในกระดาษไข ซึง่ ต้ องเขียนด้ วยหมึก ปากากเขียนแบบที่ใช้ มีอยู่ ด้ วยกันหลายขนาดตามความโตของเส้ น โดยจะมีขนาดตังแต่ ้ 0.1 มม. – 2.0 มม.

รู ป 1.13 ปากกาเขียนแบบและหมึก นอกจากเครื่ องมืออุปกรณ์ดงั กล่าวยังมีอปุ กรณ์อื่นๆ อีกหลายอย่าง ที่นามาช่วยในการเขียนแบบ เช่น บรรทัดมาตรฐานส่วน บรรทัดแบบปรับมุมได้ กระดูกงูสาหรับเขียนส่วนโค้ ง แผ่นกันลบ ้ ยางลบ บรรทัดร่องเขียนตัวอักษร ฯลฯ

1.5 เส้ นที่ใช้ ในการเขียนแบบ เส้ นที่ใช้ ในงานเขียนแบบมีอยูด่ ้ วยกัน 6 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 1.1 ตารางที่1.1 ชนิดของเส้ นที่ใช้ ในงานเขียนแบบ ชื่อของเส้ น

ลักษณะของเส้ น

ความหนา (มม.)

เส้ นเต็มหนาหรื อ เส้ นเต็มหนัก

0.5 ถึง 0.7

ลักษณะการใช้ งาน

- เส้ นขอบรูปที่มองเห็น -เส้ นขอบของเกลียว -สัญลักษณ์ของแนวเชื่อม

เส้ นเต็มบางหรื อเส้ น 0.25 ถึง 0..35 - เส้ นบอกขนาดมิติ เต็มเบา -เส้ นกาหนดขนาด -เส้ นแสดงลายตัด - เส้ นอธิบายรายละเอียด เส้ นประ 0.35 ถึง 0.5 - เส้ นขอบรูปที่ถกู กาบัง


เนือ้ หาการสอน

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

9

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้ น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี เส้ นประ 0.35 ถึง 0.5 - เส้ นขอบรูปที่ถกู กาบัง

0.5 ถึง 0.7 เส้ นลูกโซ่หนา

- เส้ นแสดงแนวตัด - เส้ นแสดงขอบเขตการชุบแข็ง

เส้ นลูกโซ่บาง

0.25 ถึง 0..35 - เส้ นผ่าศูนย์กลางของวงกลม ทรงกระบอก -แสดงเส้ นทางการเคลื่อนที่

เส้ นมือเปล่า

0.25 ถึง 0..35 - เส้ นแสดงรอยตัดแตก - เส้ นย่นรูป

เส้ นตรงซิกแซก

0.25 ถึง 0..35 - เส้ นแสดงรอยตัดย่อส่วน

เส้ นแต่ละชนิดจะถูกนามาใช้ เขียนภาพเพื่อแสดงรายละเอียดของชิ ้นงาน ดังแสดงในตัวอย่างในรูปที่ 1.14

รู ปที่ 1.14 ตัวอย่ างแบบงานที่ใช้ เส้ นชนิดต่ างๆ


แบบฝึ กหัด

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้ น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

10


แบบฝึ กหัด

สัปดาห์ ที่

หน้ าที่

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้ น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา : วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

11




เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

บทที่ 2 ภาพที่ใช้ ในงานเขียนแบบ ในงานเขียนแบบโดยทัว่ ไป ภาพที่ใช้ มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ ภาพ 2 มิติ และภาพ 3 มิติ ดัง ตัวอย่างในรูปที่ 2.1

รูปที่ 2.1 ตัวอย่ างภาพ 2 มิติและภาพ 3 มิติ

1


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

2.2 ภาพ 3 มิติ ภาพ 3 มิติ คือ ภาพที่แสดงรูปทรงของภาพใน 3 มิติ คือความกว้ าง ความสูง หรือความยาว และความลึก ลักษณะของภาพจะแสดงปริมาตรของสิ่งที่อยู่ในภาพนันๆ ้ ดังรูปที่ 2.3

รูปที่ 2.3 ลักษณะของภาพ 3 มิติ

2


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี ภาพ 3 มิติที่ใช้ ในงานเขียนแบบ มีอยู่ด้วยกัน 4 ชนิด คือ ภาพอ๊ อบบลิก (OBLIQUE) , ภาพได เมตริก (DIMETRIC) , ไอโซเมตริก (ISOMETRIC) ,ภาพเพอร์สเปกทีฟ ( PERSPECTIVE)

2.21 ภาพอ๊ อบบลิก (OBLIQUE)

รูปที่ 2.4 โครงสร้ างของภาพ (OBLIQUE)

ลักษณะของภาพ (OBLIQUE) (1) โครงสร้ างของขอบภาพจะประกอบด้ วยเส้ น 3 เส้ น คือ เส้ นในแนวนอน เส้ นในแนวดิ่ง เส้ นในแนวเอียงในแนว 45 o ดังแสดงใน รูปที่ 2.4 ซ้ าย (2) ขนาดความกว้ างและความสูงของภาพจะมีขนาดเท่าของจริง ( 1 :1) ส่วนความลึกจะมีขนาด เพียงคึง่ หนึ่ง (1:2)ของขนาดชิ ้นงานจริง ดังแสดงใน รูปที่ 2.4 ขวา (3) ขอบของชิ ้นงานที่ถกู บังหรือมองไม่เห็นจะถูกเขียนด้ วยเส้ นประ ( เส้ นประ คือ เส้ นที่เขียนเว้ นระยะเป็ นช่วง ๆ)

หมายเหตุ ตัวเลข 1 : 1 หรือ 1: 2 เป็ นมาตราส่ วนระหว่ างขนาดของภาพและขนาดของจริง ตัวเลขตัวหน้ า หมายถึง ขนาดของภาพที่เขียน ตัวเลขตัวหลัง หมายถึง ขนาดของชิน้ งานจริง


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

4

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

2.22 ภาพไดเมตริก (DIMETRIC)

รูปที่ 2.5 โครงสร้ างของภาพ (DIMETRIC)

ลักษณะของภาพ (DIMETRIC) (1) โครงสร้ างของขอบภาพจะประกอบด้ วยเส้ น 3 เส้ น คือ เส้ นในแนวเอียงในแนว 7o เส้ นในแนวดิ่ง เส้ นในแนวเอียงในแนว 42 o ดังแสดงใน รูปที่ 2.5 ซ้ าย (2) ขนาดความกว้ างและความสูงของภาพจะมีขนาดเท่าของจริง ( 1 :1) ส่วนความลึกจะมีขนาด เพียงครึ่งหนึ่ง (1:2) ของขนาดชิ ้นงานจริง ดังแสดงใน รูปที่ 2.5 ขวา (3) ขอบของชิ ้นงานที่ถกู บังหรือมองไม่เห็นจะถูกเขียนด้ วยเส้ นประ

2.23 ภาพไอโซเมตริก (ISOMETRIC)

รูปที่ 2.6 โครงสร้ างของภาพ (ISOMETRIC)


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

5

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

ลักษณะของภาพ (ISOMETRIC) (1) โครงสร้ างของขอบภาพจะประกอบด้ วยเส้ น 3 เส้ น คือ เส้ นในแนวเอียงในแนว 30o 2 เส้ นใน แนวดิ่ง ดังแสดงใน รูปที่ 2.6 ซ้ าย (2) ขนาดความกว้ างและความสูงและความลึกของภาพจะมีขนาดเท่ากับขนาดของชิ ้นงานจริง ( 1 : 1) ดังแสดงใน รูปที่ 2.6 ขวา (3) ขอบของชิ ้นงานที่ถกู บังหรือมองไม่เห็นจะถูกเขียนด้ วยเส้ นประ

2.24 ภาพเพอร์ สเปกทีฟ (PERSPECTIVE) ภาพ (PERSPECTIVE) เป็ นภาพที่แสดงให้ เห็นวัตถุในลักษณะการมองสุดสายตา ดังเช่นการ มองเห็นภาพทางรถไฟที่รางทังสองเข้ ้ าพุ่งบรรจบที่ปลายสุดสายตา ดังในรูปที่ 2.7 บน

รูปที่ 2.7 ลักษณะและโครงสร้ างของภาพ (PERSPECTIVE)


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

6

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

ลักษณะของภาพ (PERSPECTIVE) (1) โครงสร้ างของขอบภาพจะประกอบด้ วยเส้ น 3 เส้ น คือ เส้ นในแนวเอียง 2 เส้ นและเส้ นใน แนวดิ่ง และมีจดุ ปลายสายตามองเห็นที่เรียกว่า Vanishing Point (VP) 1-3 จุด ดังแสดงใน รูปที่ 2.7 ล่าง ภาพ (PERSPECTIVE) เป็ นภาพที่มีความเหมือนจริง มีใช้ มากในด้ านสถาปั ตยกรรม

2.3 ภาพชิน้ งานรูปทรงเรขาคณิตพืน้ ฐาน ภาพ 2 มิติของชิ ้นงานส่วนต่างๆ ของเครื่องจักรกลที่ออกแบบมาใช้ งาน ส่วนมากจะมีพื ้นฐานมาจาก รูปทรงเรขาคณิตรูปทรงต่างๆ เช่น สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม ห้ าเหลี่ยม หกเหลี่ยม แปดเหลี่ยม วงกลม วงรี เป็ นต้ น สาหรับรูปทรงเรขาคณิตพื ้นฐานที่พบบ่อยได้ แก่ ชิ ้นงานรูปทรงเหลี่ยม รูปทรงพีระมิด รูปทรงกระบอก รูปทรงกระบอกกลวง รูปทรงกรวย รูปทรงกลม ดังรูปที่ 2.4

รูปที่ 2.8 ภาพชิน้ งานรูปทรงเรขาคณิต


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

7


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

8


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

9


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

10


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

11


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

12


ใบงาน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

13



เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

บทที่ 3 ภาพฉายในงานเขียนแบบ 3.1 ความหมายของภาพฉาย ภาพฉาย คือ ภาพที่เกิดจากการมองชิ ้นงานเพียงด้ านใดด้ านหนึ่งในลักษณะที่มี 2 มิติ คือมีความ กว้ าง ความยาวหรือความสูง โดยไม่เห็นความลึก อย่างเช่น การมองลูกเต๋าในถ้ วยจากทางด้ านบน ซึ่งมีหนึ่ง แต้ ม จะเห็นภาพของลูกเต๋า เป็ นกรอบสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสมีจดุ ๆ หนึ่งอยู่ตรงกลาง ดังรูปที่ 3.1 ภาพลูกเต๋าที่มองเห็นจะเรียกว่า ภาพฉาย ที่มีก้นของถ้ วยเป็ นฉากรับภาพ ซึ่งมีระนาบตังฉากกั ้ บทิศ ทางการมอง

รูปที่ 3.1 ภาพการมองลูกเต๋ าในถ้ วยจากทางด้ านบน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

3.2 การมองภาพฉายของชิน้ งาน การมองภาพฉายของชิ ้นงานจะเป็ นการมองตังฉากกั ้ บระนาบด้ านต่างๆ ที่ชิ ้นงานตังอยู ้ ่ ซึ่งระนาบ ด้ านจะมีอยู่ทงหมด ั้ 6 ด้ าน เหมือนชิ ้นงานตังอยู ้ ่ในกล่องแก้ วสี่เหลี่ยมที่มีผนังของกล่องแก้ วเป็ นระนาบด้ าน ต่างๆ ดังตัวอย่างในรูปที่ 3.2

รูปที่ 3.2 ทิศทางในการมองภาพฉายด้ านต่ างๆ


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

3.2.1 การมองชิน้ งานตามทิศทางหมายเลข 1 การมองตามทิศทางหมายเลข 1 จะมองเห็นผิวงาน 1 พื ้นที่ รูปร่างเหมือนตัว L กลับด้ าน

3.2.2 การมองชิน้ งานตามทิศทางหมายเลข 2 การมองตามทิศทางหมายเลข 2 จะมองเห็นผิวงาน 2 พื ้นที่ เป็ นรูปสี่เหลี่ยม 2 รูปติดกันในแนวตัง้ ดังในรูป ที่ 3.4

รูปที่ 3.4 ภาพที่เกิดจาการมองชิน้ งานตามทิศทางหมายเลข 2


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

4

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

3.2.3 การมองชิน้ งานตามทิศทางหมายเลข 3 การมองตามทิศทางหมายเลข 3 จะมองเห็นผิวงาน 1 พื ้นที่ เป็ นรูปเหมือนตัว L ดังในรูปที่ 3.5 ภาพรูปตัว Lที่มองเห็น จะตรงกันข้ ามจากการมองตามทิศทางหมายเลข 1

รูปที่ 3.5 ภาพที่เกิดจาการมองชิน้ งานตามทิศทางหมายเลข 3

3.2.4 การมองชิน้ งานตามทิศทางหมายเลข 4 การมองตามทิศทางหมายเลข 4 จะมองเห็นผิวงาน 1 พื ้นที่ เป็ นรูปสี่เหลี่ยม ดังในรูปที่ 3.5 ส่วนเส้ นประ ตรงกลางรูปสี่เหลี่ยมจะแทนขอบงานด้ านหลังที่ถกู บัง

รูปที่ 3.6 ภาพที่เกิดจาการมองชิน้ งานตามทิศทางหมายเลข 4


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

4

หน้ าที่

5

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 3.2.5 การมองชิน้ งานตามทิศทางหมายเลข 5 การมองตามทิศทางหมายเลข 5 จะมองเห็นผิวงาน 2 พื ้นที่ เป็ นรูปสี่เหลี่ยม 2 รูปติดกันในแนวตัง้ ดังในรูป ที่ 3.7

รูปที่ 3.7 ภาพที่เกิดจาการมองชิน้ งานตามทิศทางหมายเลข 5

3.2.6 การมองชิน้ งานตามทิศทางหมายเลข 6 การมองตามทิศทางหมายเลข 6 จะมองเห็นผิวงาน 1 พื ้นที่ เป็ นรูปสี่เหลี่ยม ผืนผ้ า ดังในรูปที่ 3.8 ส่วน เส้ นประตรงกลางรูปสี่เหลี่ยมจะแทนขอบงานด้ านหลังที่ถกู บัง

รูปที่ 3.8 ภาพที่เกิดจาการมองชิน้ งานตามทิศทางหมายเลข 6 3.3 มาตรฐานในการมองภาพฉาย การมองภาพแยกจากชิ ้นงานสามารถมองได้ 6 ด้ าน ภาพที่เกิดจากการมองในทิศทางหมายเลข 1 จะเหมือนกับทิศทางหมายเลข 3 ภาพที่เกิดจากการมองในทิศทางหมายเลข 2 จะเหมือนกับทิศทางหมายเลข 4 ภาพที่เกิดจากการมองในทิศทางหมายเลข 5 จะเหมือนกับทิศทางหมายเลข 6


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

4

หน้ าที่

6

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี ดังนันอาจสรุ ้ ปได้ วา่ ภาพฉายเพียง 3 ด้ าน สามารถให้ รายละเอียดของชิ ้นงานได้ ครบถ้ วน เพื่อให้ การมอง ภาพเป็ นไปในรูปแบบที่เป็ นมาตรฐานและความเข้ าใจตรงกันระหว่างผู้เขียนแบบและผู้อา่ นแบบ ได้ มีการ กาหนดวิธีการมองภาพฉายโดยใช้ หลักการของฉากรับภาพที่มี 4 มุม เป็ นตัวกาหนดความสัมพันธ์ของภาพ ฉาย 3 ด้ าน ดังรูปที่ 3.9

รูปที่ 3.9 ฉากรับภาพ 4 มุม

จากรูปที่ 3.9 เป็ นฉากรับภาพสี่เหลี่ยมที่มีแผ่นฉากกันกึ ้ ่งกลาง ทาให้ เกิดการแบ่งฉากเป็ น 4 ส่วน แต่ละส่วนจะมีลกั ษณะเป็ นมุม โดยกาหนดให้ O มุมที่อยู่ด้านบนขวา เป็ นฉากรับภาพมุมที่ 1 ( First Angle Projection ) O มุมที่อยู่ด้านบนซ้ าย เป็ นฉากรับภาพมุมที่ 2 ( Second Angle Projection ) O มุมที่อยู่ด้านล่างซ้ าย เป็ นฉากรับภาพมุมที่ 3 ( Third Angle Projection ) O มุมที่อยู่ด้านล่างขวา เป็ นฉากรับภาพมุมที่ 4 ( First Angle Projection ) การมองภาพจะอาศัยฉากรับภาพมุมใดมุมหนึ่งมาเป็ นฉากรับภาพ ในระบบที่ใช้ ในยุโรป เรียกว่า ISO Method E (E = European ) จะใช้ ฉากรับภาพมุมที่ 1 ( First Angle Projection ) ส่วนระบบ อเมริกาที่เรียกว่า ISO Method A (A = American ) จะใช้ ฉากรับภาพมุมที่ 3 ( Third Angle Projection )


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

4

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

7


ใบงาน รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

4 ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์

ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

8



เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

5

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

3.4 หลักการมองภาพฉายมุมที่ 1 เมื่อนาฉากรับภาพมุมที่ 1 มาพิจารณา จะได้ ฉากรับภาพที่มี 3 ด้ าน ดังแสดงในรูปที่ 3.10

รูปที่ 3.10 ฉากรับภาพมุมที่ 1 เมื่อนาชิ ้นงานมาวางระหว่างฉากรับภาพทัง้ 3 ด้ าน ดังในรูปที่ 3.11 แล้ วมองชิ ้นงานตามทิศทาง ของลูกศร 3 ทิศทาง จะได้ ภาพฉายที่มองเห็นเกิดขึ ้นที่ฉากรับภาพด้ านหลังทัง้ 3 ด้ าน ดังในรูปที่ 3.11 หมายเหตุ การวางชิน้ งานระหว่ างฉากรับภาพ และภาพฉายที่เกิดขึน้ บนฉากรับภาพเป็ น เพียงการจินตนาการเท่ านั้น กล่ าวคือ ไม่ มีการวางชิน้ งานระหว่ างฉากรับภาพและไม่ มีภาพเกิดขึน้ จริงบนฉากรับภาพ

รูปที่ 3.11 การมองภาพฉายของชิน้ งานในฉากรับภาพมุมที่ 1


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

5

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี เมื่อนาชิ ้นงานออกจะได้ ภาพ 2 มิติของรูปด้ านทัง้ 3 ด้ านของชิ ้นงานดังแสดงในรูปที่ 3.12

รูปที่ 3.12 ภาพฉาย 2 ด้ านที่เกิดบนฉากรับภาพมุมที่ 1 จากรูปที่ 3.12 ภาพฉายที่เกิดขึ ้นบนฉากทัง้ 3 ด้ านจะมีรูปร่างแตกต่างกันตามภาพที่มองเห็นในแต่ ละทิศทางแต่ภาพที่เกิดขึ ้นบนฉากรับภาพที่ทามุมตังฉากซึ ้ ่งกันและกันทาให้ ดยู าก ดังนันเพื ้ ่อให้ มีความ สะดวกการดูแบบภาพฉาย จึงหมุนฉากรับภาพด้ านขวาไป 90 องศา และหมุนฉากรับภาพด้ านล่างลงไป 90 องศา รับภาพทังสามอยู ้ ่ในระนาบเดียว ดังแสดงในรูปที่ 3.13

รูปที่ 3.13 การหมุนฉากรับภาพ 3 ด้ านให้ อยู่ในระนาบเดียวกัน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

5

หน้ าที่

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี จากนันน ้ าฉากรับภาพ 3 ด้ านที่แผ่ออกเป็ นระนาบเดียวกันมาพิจารณา กาหนดให้ ภาพฉายที่อยู่บน ฉากรับภาพรูปบนซ้ ายเป็ นภาพด้ านหน้ า ภาพฉายรูปบนขวาเป็ นภาพด้ านข้ าง และภาพฉายด้ านล่างที่เกิด จากการมองจากทางด้ านบนของชิ ้นงานเป็ นภาพด้ านบน ดังแสดงในรูปที่ 3.14 ล่าง

รูปที่ 3.14 ภาพ 3 มิติและภาพฉาย 3 มิติ ด้ านของชิน้ ที่เกิดจากการมองภาพฉายมุมที่ 1 เมื่อพิจารณาภาพ 3 มิติและภาพฉายของชิ ้นงานตามระบบการมองภาพฉายมุมที่ 1 จะพบว่าภาพ ฉายทัง้ 3 ด้ านมีความสัมพันธ์กนั คือ 1. ภาพด้ านข้ างเกิดจากการมองทางด้ านซ้ ายของการมองทางด้ านซ้ ายของภาพด้ านหน้ า ภาพ ด้ านบนเกิดจากการมองทางด้ านบนของด้ านหน้ า 2.ขนาดความสูงของภาพด้ านหน้ าจะเท่ากับความสูงของภาพด้ านข้ าง 3.ขนาดความกว้ างของภาพด้ านหน้ าจะเท่ากับความกว้ างของภาพด้ านบน 4.ขนาดความสูงของภาพบนจะเท่ากับความกว้ างของภาพด้ านข้ าง


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

5

4

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

3.5 หลักการมองภาพฉายมุมที่ 3 การมองภาพฉายของชิ ้นงานแบบนี ้จะใช้ ฉากรับภาพในส่วนของมุมที่ 3 ด้ านมีคณ ุ สมบัติเหมือนแผ่นกระจกใส ดังในรูปที่ 3.15

3 มาพิจารณา โดยให้ ฉากรับทัง้

รูปที่ 3.15 ฉากรับภาพ มุมที่ 3 เมื่อจินตนาการว่านาชิ ้นงานมาวางระหว่างฉากรับภาพทัง้ 3 ด้ าน ดังในรูปที่ 3.16 แล้ วมองชิ ้นงาน ตามลูกศร 3 ทิศทางผ่านฉากรับภาพทาให้ ภาพฉายที่มองเห็นเกิดขึ ้นบนฉากรับภาพทัง้ 3 ด้ าน

รูปที่ 3.16 การมองภาพฉายของชิน้ งานในฉากรับมุมทัง้ 3 ด้ าน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

5

5

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี เมื่อนาชิ ้นงานออกจะได้ ภาพ 2 มิติของรูปด้ านทัง้ 3 ด้ านของชิ ้นงาน ดังแสดงในรูปที่ 3.17

รูปที่ 3.17 ภาพฉาย 3 ด้ านที่เกิดขึน้ บนฉากรับภาพมุมที่ 3 จากรูปที่ 3.17 ภาพฉายที่เกิดขึ ้นบนฉากรับทัง้ 3 ด้ าน จะมีรูปร่างที่แตกต่างกันตามภาพฉาย ที่มองเห็นในแต่ละทิศทาง และด้ วยเหตุผลนี ้ฉากรับภาพตังฉากซึ ้ ่งกันและกันทาให้ ดยู าก จึงทาให้ กานหมุน ฉากรับภาพด้ านบนขึ ้น 90 องศา แลหมุนฉากรับภาพหลังออกมา 90 องศา ให้ ฉากรับภาพทัง้ 3 อยู่ในระนาบ เดียวกัน ดังแสดงในรูปที่ 3.18

รูปที่ 3.18 การหมุนฉากรับภาพ 3 ด้ านให้ อยู่ในระนาบเดียวกัน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

5

หน้ าที่

6

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี จากนันน ้ าฉากรับภาพทัง้ 3 ด้ านที่แผ่ออกเป็ นระนาบเดียวกันมาพิจารณา กาหนดให้ ภาพที่เกิดจากการมอง มาทางด้ านบนของชิ ้นงานเป็ นภาพด้ านบน ภาพที่อยู่ด้านล่างซ้ ายเป็ นภาพด้ านหน้ า และภาพที่อยู่ด้านล่าง ขวา เป็ นภาพด้ านข้ าง ดังแสดงในรูปที่ 3.19 ล่าง

รูปที่ 3.19 ภาพ 3 มิติ และภาพฉาย 3 ด้ านของชิน้ งานที่เกิดจากการมองภาพฉายมุมที่ 3


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

5

หน้ าที่

7

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี เมื่อพิจารณาภาพ 3 มิติ และภาพฉายของชิ ้นงานตามระบบการมองภาพฉายมุมที่ 3 จะพบว่า ภาพฉายทัง้ 3 ด้ าน มีความสัมพันธ์กนั คือ 1. ภาพด้ านข้ างเกิดจากการมองทางด้ านขวาของภาพด้ านหน้ า ภาพด้ านบนเกิดจากการมองภาพ ด้ านบนของภาพด้ านหน้ า 2. ขนาดของความสูงของภาพด้ านหน้ าจะเท่ากับความสูงของภาพด้ านข้ าง 3. ขนาดความกว้ างของภาพด้ านหน้ าจะเท่ากับความกว้ างของภาพด้ านบน 4. ขนาดความสูงของภาพด้ านบนจะเท่ากับความกว้ างของภาพด้ านข้ าง จากหลักการมองภาพฉายมุมที่ 1 และ 3 จะเห็นว่า มีทิศทางในการมอง 3 ทิศทางเหมือนกัน แต่ลกั ษณะการเกิดภาพฉายรับภาพจะแตกต่างกัน กล่าวคือ ในการมองภาพฉายมุมที่ 1 ภาพฉายทัง้ 3 ด้ าน จะเกิดขึ ้นบนฉากรับภาพซึ่งอยู่ทางด้ านหลังของชิ ้นงาน แต่ในการมองฉายมุมที่ 3 ภาพฉายทัง้ 3 ด้ านจะ เกิดขึ ้นบนฉากรับภาพซึ่งบังชิ ้นงานอยู่ และในการมองภาพฉายมุมที่ 1 ภาพด้ านจะเกิดจากการมองทาง ด้ านขวาของภาพด้ านหน้ า

รูปที่ 3.20 ภาพฉายของชิน้ งานจากการมองภาพฉายมุมที่ 1 และมุมที่ 3 ในด้ านการใช้ งาน การมองภาพฉายมุมที่ 1 จะมีใช้ ในประเทศกลุม่ ยุโรป ส่วนการมองภาพ ฉายมุมที่ 3 จะใช้ ในประเทศสหรัฐอเมริกา สาหรับประเทศไทยจะมีใช้ ทงั ้ 2 ระบบ เนื่องจากประเทศได้ รับ เทคโนโลยีจากยุโรปและอเมริกา แต่ระบบที่ใช้ เป็ นมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม คือ การมองภาพฉายมุม ที่ 1 ดังนันในบทเรี ้ ยนต่อจากนี ้ไปจะขอกล่าวถึงเฉพาะภาพที่เกิดจากการภาพฉายมุมที่ 1 เท่านัน้


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

5

8

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

3.6 ขัน้ ตอนในการมองภาพฉายของชิน้ งาน

รูปที่ 3.21 การมองภาพฉายของชิน้ งานตามระบบการมองภาพฉายมุมที่ 1 จากภาพ 3 มิติของชิ ้นงานในรูปที่ 3.21 เราสามารถมองภาพฉาย 3 ด้ านตามระบบการมองภาพฉาย มุมที่ 1 ได้ ตามขันตอนดั ้ งนี ้ คือ 1. กาหนดทิศทางการมองภาพด้ านหน้ าเป็ นหลัก โดยภาพด้ านหน้ าควรเป็ นภาพที่มองเห็น รูปร่าง และรายละเอียดของชิ ้นงานได้ ดีที่สดุ 2. กาหนดทิศทางการมองภาพด้ านข้ าง โดยมองจากทางด้ านซ้ าย ด้ านซ้ ายของภาพด้ านหน้ า 3. กาหนดทิศทางการมองภาพด้ านบน โดยมองจากทางด้ านบนของภาพด้ านหน้ า 4. มองชิ ้นงานตามทิศทางที่กาหนด จะได้ ภาพฉายของชิ ้นงาน 3 ภาพ คือ ภาพด้ านหน้ า ภาพ ด้ านข้ าง และภาพด้ านบน ดังแสดงในภาพฉาย 3 ด้ าน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

5

9

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

3.7 การมองภาพฉายของชิน้ งานรูปทรงต่ างๆ 3.7.1 การมองภาพฉายของชิน้ งาน รูปทรงสี่เหลี่ยมตัดตรง

รูปที่ 3.22 ภาพ 3 มิติและภาพฉาย

3 ด้ านของชิน้ งานทารงสี่เหลี่ยมตัน

จากรูปที่ 3.22 เป็ นภาพ 3 มิติและภาพฉาย 3 ด้ านของชิ ้นงานรูปทรงสี่เหลี่ยมตัน ภาพฉายทัง้ 3 ด้ าน จะมีภาพเป็ นรูปพื ้นที่สี่เหลี่ยม หากมีการตัดชิ ้นงานออกเป็ นแนวตรงดังในภาพ 3 มิติในรูปที่ 3.23 ซ้ าย จะทา ให้ ภาพฉาย 3 ด้ าน เปลี่ยนแปลงไป ดังในรูป 3.23 ขวา

รูปที่ 3.23 ภาพ 3 มิติและภาพฉาย 3 ด้ านของชิน้ งานทรงสี่เหลี่ยมตัดตรง พิจารณาเส้ นแนวตัด A ในภาพด้ านหน้ า และแนวตัด B ในภาพด้ านข้ าง จะทาให้ เกิดพื ้นที่ AB ใน ภาพด้ านบน พิจารณาเส้ นแนวตัด C ในภาพด้ านหน้ า และแนวตัด D ในภพด้ านบน จะทาให้ เกิดพื ้นที่ CD ใน ภาพด้ านข้ าง จะสรุปได้ วา่ การตัดชิน้ งานทรงสี่เหลี่ยมในแนวตัดตรงจะทาให้ เกิด 2 เส้ น และพืน้ ที่ 1 พืน้ ที่ในภาพฉาย 3 ด้ าน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

5

10

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

3.7.2 การมองภาพฉายชิน้ งานรูปทรงสี่เหลี่ยมตัดเฉียง จากชิ ้นงานรูปทรงสี่เหลี่ยมตัน เมื่อถูกตัดที่มมุ เป็ นแนวเฉียง จะทาให้ เกิดภาพฉาย 3 ด้ าน ดังในรูปที่ 3.24

รูปที่ 3.24 ภาพ 3 มิติและภาพฉาย 3 ด้ าน ของชิน้ งานทรงสี่เหลี่ยมตัดเฉียง ในรูปที่ 3.24 เป็ นภาพ 3 มิติและภาพฉาย 3 ด้ านของชิ ้นงานรูปทรงสี่เหลี่ยมตันที่ถกู ตัดเป็ นแนวเฉียง ที่มมุ ด้ านซ้ าย หากพิจารณาเส้ นแนวตัด E ในภาพด้ านหน้ า โดยมองจากทางด้ านซ้ ายของภาพด้ านหน้ าจะ มองเห็นพื ้นที่ที่เกิดจากกาตัดตามแนวเส้ น E เป็ นพื ้นที่สี ้เหลี่ยม 1 พื ้นที่ในภาพด้ านข้ าง และเมื่อมองทาง ด้ านบนของภาพด้ านหน้ าก็จะมองเห็นพื ้นที่ที่เกิดจากการตัดตามแนวเส้ น E และเป็ นพื ้นที่สี่เหลี่ยม 1 พื ้นที่ใน ภาพด้ านบน เช่นเดียวกัน ซึ่งสรุปได้ วา่ การตัดเฉียงชิน้ งานทรงสี่เหลี่ยมจะทาให้ เกิดภาพที่มองเห็นเป็ น 1 เส้ น และมองเห็นเป็ นพืน้ ที่ 2 พืน้ ที่ ในภาพฉาย 3 ด้ าน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

5

11

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

3.7.3 การมองภพฉายชิน้ งานรูปทรงพีระมิดตัดตรง

รูปที่ 3.25 ภาพ 3 มิติและภาพฉาย 3 ด้ านของชิน้ งานรูปทรงพีระมิด ในรูปที่ 3.25 บน เป็ นภาพ 3 มิติของชิ ้นงานทรงพีระมิด ซึ่งมีฐานรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตรุ ัส เมื่อมองเป็ น ภาพฉาย 3 ด้ าน จะเห็นภาพด้ านหน้ าและด้ านข้ างเป็ นรูปทรง 3 เหลี่ยมหน้ าจัว่ ส่วนภาพด้ านบน จะมองเห็น เป็ นรูปสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสมีเส้ นทแยงมุมตัดกัน โดยมีกรอบสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสเป็ นฐานของพีระมิด และเส้ นทแยงมุม เป็ นสันทังสี ้ ่ด้านของพีระมิด การตัดตรงของชิ ้นงานรูปทรงพีระมิดมีอยู่ 2 แบบ คือ ตัดแนวขนานกับฐาน และตัดตังฉากกั ้ บฐาน 1. การตัดตามแนวขนานกับฐาน คือ การตัดยอดของพีระมิดออก โดยให้ การตัดขนานกับ ฐานของพีระมิด ดังแสดงในรูปที่ 3.26 จากภาพ 3 มิติและภาพฉาย 3 ด้ านของพีระมิดที่ถกู ตัดยอด จะเห็นว่า ภาพด้ านหน้ าและภาพด้ านข้ างจะมองเห็นเป็ นรูปสามเหลี่ยมหน้ าจัว่ ถูกตัดยอด ส่วนภาพด้ านบนจะมองเห็น เป็ นพื ้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสขนาดเล็กอยู่ตรงกลางรูปสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสที่เส้ นทแยงมุม พื ้นที่สี่เหลี่ยมจัตรุ ัสที่อยู่ตรง กลางนี ้จะมีขนาดใหญ่ขึ ้นเมื่อตัดยอดพีระมิดเข้ าใกล้ ฐาน ดังแสดงในรูป 3.26 ล่าง


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

5

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

รูปที่ 3.26 ชิน้ งานรูปทรงพีระมิดที่ตัดตรงขนานกับฐาน

12


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

5

หน้ าที่

13

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 2. การตัดตามแนวตัง้ ฉากกับฐาน การตัดชิ ้นงานรูปทรงพีระมิดแบบตังฉากกั ้ บฐานมีอยู่ 3 ลักษณะ คือ ตัดก่อนศูนย์ กลาง ตัดตรงศูนย์ กลาง และตัดกลังศูนย์กลาง ดังแสดงในรูปที่ 3.27

รูปที่ 3.27 ชิน้ งานรูปทรงพี่ระมิดที่ตัดตรงตัง้ ฉากกับฐาน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

5

หน้ าที่

14

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี จากรูปที่ 3.27 ภาพบน เป็ นภาพพีระมิดตัดก่อนศูนย์กลางของชิ ้นงาน ภาพด้ านหน้ ามองเห็นเป็ นรูป สามเหลี่ยมถูกตัดตรงขอบล่างด้ านซ้ าย แนวตัดเป็ นเส้ นตรงตังฉากกั ้ บฐานของพีระมิดภาพด้ านบนมองเห็น เป็ นรูปสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสที่มีเส้ นทแยงมุมถูกตัดขอบด้ านซ้ ายตลอดแนว ส่วนภาพด้ านข้ างมองเห็นเป็ นพื ้นที่รูป สามเหลี่ยมตัดยอด ภาพกลาง เป็ นภาพพีระมิดตัดตรงศูนย์กลางหรือกึ่งกลางของชิ ้นงาน ภาพด้ านหน้ ามองเห็นเป็ นรูป สามเหลี่ยมหน้ าจัว่ ผ่าครึ่ง ภาพด้ านข้ างมองเห็นเป็ นพื ้นที่สามเหลี่ยมหน้ าจัว่ ส่วนภาพด้ านบนมองเห็นเป็ นรูป สี่เหลี่ยมจัตรุ ัสที่มีเส้ นทแยงมุสมถูกตัดครึ่ง ภาพล่าง เป็ นภาพพีระมิดถูกตัดหลังศูนย์กลางหรือเลยกึ่งกลางของชิ ้นงาน ภาพด้ านหน้ ามองเห็นเป็ น มุมของรูปสามเหลี่ยมหน้ าจัว่ ภาพด้ านหน้ ามองเห็นเป็ นพื ้นที่สามเหลี่ยมหน้ าจัว่ ถูกตัดยอด ส่วนภาพด้ นบน จะมองเห็นเป็ นด้ านหนึ่งของรูปสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสที่มีเส้ นทแยงมุมถูกตัดออกไปจนเกือบหมด จากภาพฉายของชิ ้นงานรูปทรงพีระมิดตัดตรงทุกแบบที่กล่าวมา จะเห็นว่า การตัดตรงจะทาให้ เกิด ภาพที่เป็ น 2 เส้ น และ 1 พืน้ ที่ ในภาพฉาย 3 ด้ าน

3.7.4 การมองภาพฉายชิน้ งานรูปทรงกระบอกตัดตรง

รูปที่ 3.28 ภาพชิน้ งานรูปทรงกระบอกตัน ในรูปที่ 3.28 เป็ นภาพ 3 มิติและภาพฉาย 3 ด้ านของชิ ้นงานรูปทรงกระบอกสี่เหลี่ยมตัน ภาพฉายที่ มองเห็นในภาพด้ านหน้ าและด้ านข้ างจะเป็ นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ าอยู่ในแนวตัง้ และภาพด้ านบนมองเห็นเป็ นรูป วงกลม


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

5

15

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี หากมีการตัดชิ ้นงานรู)ทรงกระบอกว่า รูปร่างของภาพฉาย 3 ด้ านก็จะเปลี่ยนไป การตัดตรงจะมีอยู่ 2 แบบ คือ การตัดขนานกับฐานและการตัดตังฉากกั ้ บฐาน ในรูปที่ 3.29 จะเป็ นภาพ 3 มิติและภาพฉายของชิ ้นงานรูปทรงกระบอกตัดตรงขานกับฐาน ภาพที่ เกิดขึ ้นในภาพด้ านหน้ าและด้ านข้ างจะเป็ นรูปสี่เหลี่ยมที่มีความสูงลดลง ส่วนภาพด้ านบนจะเห็นเป็ นรูป วงกลมเหมือนเดิม

รูปที่ 3.29 ภาพชิน้ งานรูปทรงกระบอกที่ตัดตรงขนานกับฐาน การตัดตรงแนวตังฉากกั ้ บฐานมีอยู่ 3 ลักษณะเหมือนชิ ้นงานรูปทรงพีระมิด คือ ตัดก่อนศูนย์กลาง ตัด ตรงศูนย์กลาง ตัดหลังศูนย์กลาง ดังแสดงในรูปที่ 3.30 และ 3.31

รูปที่ 3.30 ภาพชิน้ งานรูปทรงกระบอกที่ตัดตรงตัง้ ฉากกับฐานก่ อนศูนย์ กลาง


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

5

หน้ าที่

16

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี จากรูปที่ 3.30 เป็ นชิ ้นงานรูปทรงกระบอกตันที่ตดั ก่อนถึงศูนย์กลาง ภาพด้ านหน้ ามองเห็นเป็ นรูปสี่เหลี่ยมแต่ มีขนาดเล็กลง ภาพด้ านบนมองเห็นเป็ นรูปวงกลมถูกตัดทางด้ านซ้ ายออกไปแต่ยงั ไม่ถึงจุดศูนย์กลางของ วงกลม ส่วนภาพด้ านข้ างมองเห็นเป็ นพื ้นที่สี่เหลี่ยมขนาดเล็กอยู่ในพื ้นที่สี่เหลี่ยมใหญ่ซึ่งเป็ นขอบเขตของ ทรงกระบอกของวงดกลม หากแนวตัดเข้ าใกล้ ศนู ย์กลาง พื ้นที่สี่เหลี่ยมด้ านในก็จะมีขนาดโตขึ ้นและจะมี ขนาดโตสุดเท่ากับขอบของกระบอกเมื่อตัดตรงศูนย์กลาง

รูปที่ 3.31 ภาพชิน้ งานรูปทรงกระบอกที่ตัดตรงตัง้ ฉากกับฐานตรงศูนย์ กลางและหลังศูนย์ กลาง ในรูปที่ 3.31 บน เป็ นการตัดชิ ้นงานทรงกระบอกผ่านจุดศูนย์กลางของวงกลม ทาให้ ภาพด้ านหน้ า มองเห็นเป็ นรูปสี่เหลี่ยมที่มีขนาดเล็กเพียงครึ่งเดียวของโครงร่างเดิม ภาพด้ านบนมองเห็นเป็ นพื ้นที่ครึ่งวงกลม ภาพด้ านข้ างมองเห็นเป็ นพื ้นที่สี่เหลี่ยมที่มีขนาดความกว้ างเท่ากับความโตของทะนงกระบอก สาหรับในรูปที่ 3.31 ล่าง เป็ นการตัดชิ ้นงานทรงกระบอกหลังจุดศูนย์กลางของวงกลม ภาพด้ านหน้ า จะมีขนาดความกว้ างน้ อยกว่าครึ่งของโครงร่างเดิม ภาพด้ านบนมองเห็นเป็ นส่วนพื ้นที่วงกลม และภาพ ด้ านข้ างมองเห็นเป็ นพื ้นที่สี่เหลี่ยมที่มีขนาดความกว้ างน้ อยกว่าความโตของทรงกระบอก


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

5

17

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

3.7.5 การมองภาพฉายชิน้ งานรูปทรงกระบอกกลวงตัดตรง

รูปที่ 3.32 ภาพชิน้ งานรูปทรงกระบอกกลวง ในรูปที่ 3.32 บน เป็ นภาพ 3 มิติภาพฉาย 3 ด้ านของชิ ้นงานรูปทรงกระบอกกลวง ภาพฉายด้ านหน้ า และด้ านข้ างมองเห็นเป็ นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ า และมีเส้ นประแสดงขอบเขตของรูเจาะที่มองไม่เห็น ส่วนภาพ ด้ านบนมองเห็นเป็ นรูปวงกลม 2 วง วงกลมวงนอกสุดจะแสดงรูปร่างและขนาดของรูเจาะ การตัดตรงชิ ้นงานรูปทรงกระบอกกลวงมีอยู่ 2 แบบ คือ การตัดขนานกับฐานและหารตัดตังฉากกั ้ บ ฐาน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

5

หน้ าที่

18

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 1. การตัดขนานกับฐาน การตัดตรงชิ ้นงานรูปทรงกระบอกกลวงขนานกับฐาน ภาพด้ านหน้ าและภาพ ด้ านข้ างจะมีความสูงลดลง ส่วนภาพด้ านบนจะเหมือนเดิม ดังในรูปที่ 3.32 ล่าง 2. การตัดตัง้ ฉากกับฐาน การตัดตรงชิ ้นงานรูปทรงกระบอกกลวงตังฉากกั ้ บฐานที่มีอยู่ 5 ลักษณะ คือ การ ตัดก่อนถึงรูเจาะ การตัดถึงรูเจาะแต่ไม่ถึงจุดศูนย์กลาง การตัดตรงจุดศูนย์กลาง การตัดหลังศูนย์กลาง และ การตัดเลยรูเจาะด้ านใน ซึ่งจะได้ ภาพฉายดังแสดงในรูปที่ 3.33 และ 3.34

รูปที่ 3.33 การตัดชิน้ งานรูปทรงกระบอกกลวงแบบตัดตัง้ ฉากกับฐาน จากรูปที่ 3.33 ภาพบน เป็ นการตัดชิ ้นงานรูปทรงกระบอกกลวงที่ตดั ก่อนถึงรูเจาะ ภาพด้ านหน้ า มองเห็นเป็ นพื ้นที่สี่เหลี่ยม ที่ถกู ตัดก้ านซ้ ายของศูนย์กลางออกไปส่วนหนึ่ง และมีเส้ นประแสดงขอบของรูเจาะ ภาพด้ านข้ างมองเห็นเป็ นพื ้นที่ที่ถกู ตัดออกเป็ นรูปสี่เหลี่ยมอยู่ในกรอบสี่เหลี่ยมที่เป็ นขอบของทรงกระบอก และมีเส้ นประ 2 เส้ น อยู่สองข้ างของเส้ นศูนย์กลางแสดงขอบของรูเจาะ ส่วนภาพด้ านบนมองเห็นเป็ นรูปวง แหวนถูกตัดขอบทางด้ านซ้ ายออกไป


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

5

หน้ าที่

19

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี ในรูปที่ 3.33 ภาพล่าง เป็ นการตัดชิ ้นงานรูปทรงกระบอกกลวงที่ถกู ตัดถึงรูเจาะ แต่ยงั ไม่ถึงจุดศูนย์กลาง ภาพ ด้ านหน้ ามองเห็นเป็ นรูปสี่เหลี่ยมแต่เส้ นประแสดงขอบทางด้ านซ้ ายหายไป ภาพด้ านข้ างมองเห็นเป็ นพื ้นที่ สี่เหลี่ยมเล็กๆ สองข้ างที่เป็ นความหนาของทรงกระบอกกลวงตรงตาแหน่งที่ถกู ตัดอยู่ในกรอบสี่เหลี่ยมใหญ่ที่ เป็ นขอบของทรงกระบอก และมีเส้ นประแสดงขอบของรูเจาะ ภาพด้ านบนมองเห็นเป็ นวงแหวนที่ถกู ตัดขอบ ด้ านซ้ ายออกไปเลยรูเจาะ แต่ยงั ไม่ถึงจุดศูนย์กลางของทรงกระบอก

รูปที่ 3.34 การตัดชิน้ งานรูปทรงกระบอกกลวงแบบตัดตัง้ ฉากกับฐาน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

5

หน้ าที่

20

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี จากรูปที่ 3.34 ภาพด้ านบน เป็ นการตัดชิ ้นงานรูปทรงกระบอกที่ตดั ถึงจุดศูนย์กลาง ภาพหน้ าจะมองเห็นเป็ นรูป สี่เหลี่ยมที่มีขนาดเป็ นครึ่งหนึ่งของขนาดทรงกระบอก มีเส้ นประแสดงขอบของรูเจาะข้ างขวาเหลืออยู่ ภาพ ด้ านข้ างจะมองเห็นเป็ นรูปสี่เหลี่ยมที่มีขนาดเท่ากับทรงกระบอก มีพื ้นที่สี่เหลี่ยมที่มีความกว้ างเท่ากับความ หนาของทรงกระบอก มีพื ้นที่สี่เหลี่ยมที่มีความกว้ างเท่ากับความหนาของทรงกระบอกกลวงอยู่สองข้ างของ ขอบภาพ ส่วนภาพด้ านบนมองเห็นเป็ นวงแหวนครึ่งวง ภาพกลาง เป็ นการตัดชิ ้นงานรูปทรงกระบอกกลวงที่ถกู ตัดเลยจุดศูนย์กลาง แต่ยงั ไม่ถึงขอบรูเจาะ ภาพด้ านหน้ าจะมองเห็นเป็ นรูปสี่เหลี่ยมขนาดเล็กมีเส้ นประแสดงขอบของรูเจาะข้ างขวา ภาพด้ านล่าง มองเห็นเป็ นพื ้นที่สี่เหลี่ยมเล็กๆ สองข้ างซึ่งเป็ นความหนาของทรงกระบอกกลวงตรงตาแหน่งที่ถกู ตัด และมี ขอบนอกของภาพที่มีขนาดเล็กกว่าขนาดของทรงกระบอก ภาพด้ านบนมีรูปร่างเหมือนวงแหวนที่ถกู ตัดส่วน ใหญ่ออก ภาพล่าง เป็ นการตัดชิ ้นงานรูปทรงกระบอกกลวงที่ถกู ตัดเลยจุดศูนย์กลางและขอบรูเจาะ ภาพฉาย ด้ านหน้ าจะมองเห็นเป็ นรูปสี่เหลี่ยมขนาดเล็ก ภาพด้ านข้ างมองเห็นเป็ นพื ้นที่สี่เหลี่ยมขนาดเล็กกว่าขนาดของ ทรงกระบอก ภาพด้ านบนมองเห็นเป็ นส่วนของวงกลม

3.7.6 การมองภาพฉายชิน้ งานรูปทรงกลมตัดตรง

รูปที่ 3.35 ชิน้ งานรูปทรงกลม


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

5

หน้ าที่

21

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี การตัดตรงชิ ้นงานรูปทรงกลมจะมี 3 ลักษณะ คือ ตัดก่อนถึงจุดศูนย์กลาง ตัดตรงเส้ นศูนย์กลาง และ ตัดหลังเส้ นศูนย์กลาง การตัดจะได้ ภาพฉาย 3 ด้ าน ดังในรูป 3.36

รูปที่ 3.36 ชิน้ งานรูปทรงกลมตัดตรง


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

5

หน้ าที่

22

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี จากรูปที่ 3.36 ภาพบน เป็ นชิ ้นงานทรงกลมตัดตรงก่อนถึงศูนย์กลาง ภาพด้ านหน้ าภาพด้ านบน มองเห็นเป็ นรูปวงกลมถูกตัดทางด้ านซ้ ายออกไป ภาพด้ านข้ างมองเห็นเป็ นรูปวงกลม 2 วงซ้ อนกัน วงกลมวง นอกแสดงขนาดที่ผิวนอกของทรงกลม ส่วนวงกลมในแสดงพื ้นที่ที่เกิดจากการตัดตรงตาแหน่งที่ถกู ตัด ขนาด ของวงกลมในจะมีขนาดโตขึ ้นเมื่อแนวตัดเข้ าใกล้ ศนู ย์กลาง และมีขนาดโตสุดเท่ากับขนาดของทรงกลมเมื่อ แนวตัดอยู่ตรงเส้ นศูนย์กลาง และวงกลมที่มองเห็นจะเหลือเพียงแค่วงเดียว ดังแสดงในรูป 3.36 ภาพกลาง ส่วนในรูป 3.36 ล่างเป็ นชิ ้นงานทรงกลมตัดศูนย์กลาง ภาพด้ านหน้ าและภาพด้ านบนมองเห็นเป็ น วงกลมถูกตัดทางด้ านซ้ ายออกจนเหลือส่วนเล็กๆของวงกลม ภาพด้ านข้ างมองเห็นวงกลมแสดงพื ้นที่ตรง ตาแหน่งที่ถกู ตัด ขนาดของวงกลมจะมีขนาดเล็กกว่าของวงกลม


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

5

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

23


ใบงาน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

5

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

24



เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

บทที่ 4 การเขียนภาพฉาย การเขียนภาพฉาย เป็ นการนาเอาภาพฉายของชิ ้นงานในจิตนาการมาเขียนลงในกระดาษให้ สมั พันธ์ กันตามมาตรฐานการมองภาพ สาหรับในตาราเล่มนี ้จะกล่าวถึงเฉพาะการเขียนภาพฉายตามตราฐาน ISO ที่ ใช้ หลักการมองภาพฉายมุมที่ 1

4.1 การเขียนภาพฉายจาก 3 มิติ ในการเขียนภาพฉายจากภาพ

3 มิติของชิ ้นงาน มีหลักการและขันตอนในการเขี ้ ยนดังต่อไปนี ้ คือ

1. เลือกภาพด้ านหน้ าที่เหมาะสม โดยมีหลักเกณฑ์ในการเลือกคือ ภาพด้ านหน้ าต้ องเป็ นภาพที่ มองเห็นรูปร่างได้ ชดั เจนและมีรายละเอียดมากที่สดุ และทาให้ การมองภาพด้ านข้ างและด้ านบนสามารถ มองเห็นรายละเอียดได้ มากที่สดุ ด้ วย

รูปที่ 4.1 การเลือกภาพด้ านหน้ า ด้ านข้ าง และด้ านบนที่เหมาะสม


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี จากการเลือกภาพด้ านหน้ าตามทิศทางการมองภาพฉายที่แสดงในภาพ 3 มิติ ดังในรูป 4.1 จะเห็นว่า ภาพด้ านหน้ ามีรูปร่างชัดเจนเป็ นรูปตัว L กลับด้ าน แม้ ไม่มีภาพด้ านข้ างด้ านบนก็ร้ ูวา่ ชิ ้นงานมีรูปร่างเป็ น อย่างไร ส่วนภาพด้ านบนและด้ านข้ างมองเห็นเป็ นกรอบสี่เหลี่ยมมีเส้ นแสดงรอยต่อของพื ้นที่ 2 พื ้นต่างระดับ กัน ไม่มีเส้ นประที่แสดงส่วนที่มองไม่เห็นของชิ ้นงาน ดังนันการเลื ้ อกด้ านนี ้ของชิ ้นงานเป็ นภาพด้ านหน้ าจึง เหมาะสมตามหลักการที่กล่าวมาข้ างต้ น หากเราเลือกด้ านอื่นของชิ ้นงานเป็ นด้ านหน้ า ภาพฉายที่เกิดขึ ้นจะมองเห็นรูปร่างไม่ชดั เจน หรือทาให้ ภาพด้ านข้ างมีเส้ นประเกิดขึ ้น ดังรูปที่ 4.2

รูปที่ 4.2 ตัวอย่ างภาพการเลือกภาพด้ านหน้ าในทิศทางอื่น


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

2. เขียนภาพด้ านหน้ า ตามขัน้ ตอนดังต่ อไปนี ้ (1) เขียนเส้ นร่างอ้ างอิงในแนวนอนและแนวดิ่งตัดกัน ดังในรูปที่ 4.3 (2) กาหนดจุดเริ่มต้ นของภาพด้ านหน้ าที่จดุ ตัดของเส้ นอ้ างอิงทัง้ 2

รูปที่ 4.3 การเขียนเส้ นร่ างอ้ างอิงและกาหนดจุดเริ่มต้ นของการเขียนภาพด้ านหน้ า (3) กาหนดทางเดินของเส้ นขอบรูปในภาพด้ านหน้ าตามรู )ภาพที่มองเห็นและขนาดชิ ้นงาน

รูปที่ 4.4 การกาหนดทางเดินของเส้ นขอบรูปในภาพด้ านหน้ า

3


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

4

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี (4) เขียนเส้ นขอบภาพไปตามทางเดินของเส้ นที่กาหนด จะได้ ภาพด้ านหน้ าที่มีรูปร่างเป็ นพื ้นที่รูปตัว L กลับด้ าน

รูปที่ 4.5 การเขียนเส้ นขอบภาพของภาพด้ านหน้ า

3. เขียนภาพด้ านข้ าง ตามขัน้ ตอนดังต่ อไปนี ้ (1) เขียนเส้ นร่างถ่ายขนาดในแนวนอนจากภาพด้ านหน้ าไปทางขวาให้ มีความยาวพอประมาณ (2) เขียนเส้ นร่างอ้ างอิงในแนวอิงของภาพด้ านข้ างให้ ห่างจากภาพด้ านหน้ าพอประมาณ (3) เขียนเส้ นร่างในแนวดิ่งอีกเส้ นให้ ห่างจากเส้ นร่างอ้ างอิงเส้ นแรกเท่ากับความกว้ างของภาพด้ านข้ างจะได้ จุดตัดของเส้ นร่างในแนวนอนและแนวดิ่งซึ่งเป็ นขอบเขตของภาพด้ านข้ าง

รูปที่ 4.6 การเขียนเส้ นร่ างถ่ ายขนาดและเส้ นร่ างอ้ างอิงในแนวดิ่งสาหรับเขียนภาพด้ านข้ าง


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

5

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี (4) กาหนดทางเดินของเส้ นภาพด้ านข้ างตามรูปร่างและรายละเอียดที่มองเห็น

รูปที่ 4.7 การกาหนดทางเดินของเส้ นขอบภาพด้ านข้ าง (5) เขียนเส้ นขอบภาพที่มองเห็นไปตามทางเดินของเส้ นที่กาหนด จะได้ ภาพด้ านข้ างที่มองเห็นพื ้นที่สี่เหลี่ยม2 พื ้นที่ มีเส้ นแบ่งพื ้นที่อยู่ในแนวนอน

รูปที่ 4.8 การเขียนเส้ นขอบภาพของภาพด้ านข้ าง


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

6

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

4. เขียนภาพด้ านบน ตามขัน้ ตอนดังต่ อไปนี ้ (1) เขียนเส้ นร่างถ่ายขนาดในแนวดิ่งจากขอบภาพด้ านหน้ าลงมาทางด้ านล่างของภาพ (2) เขียนเส้ นร่างอ้ างอิงในแนวนอนให้ ห่างจากภาพด้ านหน้ าพอประมาณ (3) เขียนเส้ นร่างในแนวนอนอีกเส้ นให้ ห่างจากเส้ นร่างอ้ างอิงในแนวนอนเส้ นแรกเท่ากับความกว้ างของภาพ ด้ านข้ าง จะได้ จดุ ตัดของเส้ นร่างถ่ายขนาดในแนวดิ่งและเส้ นร่างในแนวนอนเป็ นขอบเขตของภาพด้ านบน

รูปที่ 4.9 การเขียนเส้ นร่ างอ้ างอิงในแนวดิ่งและแนวนอนสาหรับเขียนภาพด้ านบน (4) กาหนดทางเดินของเส้ นขอบภาพด้ านบนตามรูปร่างและรายละเอียดที่มองเห็น

รูปที่ 4.10 การกาหนดทางเดินของเส้ นขอบภาพของภาพด้ านบน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

6

หน้ าที่

7

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี (5) เขียนเส้ นขอบภาพที่มองเห็นไปตามทางเดินของเส้ นที่กาหนด จะได้ ภาพด้ านบนที่มองเห็นเป็ นพื ้นที่ 2 พื ้นที่มีเส้ นแบ่งพื ้นที่อยู่ในแนวดิ่ง

\

รูปที่ 4.11 การเขียนเส้ นขอบภาพของภาพด้ านบน

4.2

การเขียนภาพฉายด้ านที่ 3 จากภาพฉายที่มีอยู่ 2 ด้ าน

ในการเขียนภาพฉาย 3 ด้ านจากภาพ 3 มิติของชิ ้นงานจะเขียนได้ ไม่ยากมากนัก เนื่องจากเราสา มาตรมองเห็นรูปร่างของชิ ้นงาน แต่สาหรับการเขียนภาพฉายด้ านใดด้ านหนึ่งจากภาพฉายที่มีอยู่ 2 ด้ านจะ เป็ นสิ่งที่ยากกว่ามากผู้เขียนภาพจะต้ องมีความเข้ าใจถึงความสัมพันธ์ของภาพแต่ละด้ านเป็ นอย่างดีและต้ อง ใช้ จินตนาการในการมองภาพ ผู้อา่ นอาจสงสัยว่าทาไมต้ องมีการเรียนรู้เกี่ยวกับการเขียนภาพฉายด้ านที่ 3 จากภาพฉายที่มีอยู่ 2 ด้ าน ซึ่งดูแล้ วไม่น่าสนใจ ในความเป็ นจริงแล้ วการออกแบบชิ ้นส่วนเครื่องจักรนันมี ้ น้อย มากที่จะเขียนภาพฉายจากภาพ 3 มิติ หรือชิ ้นงานจริง รูปร่างของชิ ้นส่วนจะมาจากจินตนาการของผู้ออกแบบ แล้ วเขียนออกมาเป็ นภาพฉาย 3 ด้ าน ดังนันจึ ้ งมีความจาเป็ นอย่างยิ่งที่นกั ศึกษาหรือผู้อา่ นจะต้ องเรียนรู้หรือ ฝึ กจินตนาการ ฝึ กเขียนภาพฉายให้ เกิดความชานาญ เพื่อนาความรู้ไปใช้ ในการอ่านแบบหรือออกแบบต่อไป ในอนาคต ในการเขียนภาพฉายด้ านที่ 3 จากภาพฉายที่มีอยู่ 2 ด้ าน จะต้ องไม่ลืมหลักในการมองภาพฉายมุมที่ 1 ในบทที่ผา่ นมา คือ ภาพด้ านข้ างเป็ นภาพที่เกิดจากการมองจากทางด้ านซ้ ายของภาพด้ านหน้ าและภาพ ด้ านบนเป็ นภาพที่มองจากทางด้ านบนของภาพด้ านหน้ า และในทางตรงกันข้ ามภาพด้ านหน้ าก็เกิดจากการ มองทางด้ านขวาของภาพด้ านข้ างและทางด้ านล่างของภาพด้ านบน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

6

หน้ าที่

8

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี นอกจากนี ้ยังต้ องใช้ หลักความสัมพันธ์ของเส้ นและพื ้นที่ที่เกิดขึ ้นจากการมองภาพฉายทัง้ 3 ด้ านมาช่วย พิจารณาหารูปร่างและรายละเอียดของภาพฉายด้ านที่ 3 ก่อนจะทาการเขียนภาพฉายด้ านที่ 3 มาพิจารณาถึงความสัมพันธ์ของเส้ นและพื ้นที่ที่เกิดจากการ มองภาพฉาย 3 ด้ านก่อนว่าเป็ นอย่างไร ในรูปที่ 4.12 เป็ นภาพ 3 มิติและภาพฉาย 3 ด้ านของแผ่นกระดาน บาง

รูปที่ 4.12 ภาพ 3 มิติและภาพฉาย 3 ด้ านของแผ่ นกระดานบาง จากรูปที่ 4.12 ถ้ ากาหนดให้ แผ่นกระดาษด้ านที่มองเห็นพื ้นที่ (ด้ านที่เขียนตัวอักษรไว้ ) เป็ นภาพ ด้ านหน้ า ภาพด้ านข้ างและภาพด้ านบนจะมองเห็นขอบกระดาษเป็ นเส้ นตรง ซึ่งแสดงให้ เห็นว่า ภาพของพื ้นที่ ในภาพด้ านใดด้ านหนึ่งจะเกิดภาพที่มีลกั ษณะเป็ นเส้ นภาพที่เหลืออีก 2 ด้ าน ลองพิจารณาชิ ้นงานรูปทรงสี่เหลี่ยม ดังในรูป 4.13 ดูบ้างว่าเป็ นอย่างไร

รูปที่ 4.13 ภาพ 3 มิติและภาพฉาย 3 ด้ านของชิน้ งานรูปทรงสี่เหลี่ยม


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

6

หน้ าที่

9

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี จากรูปที่ 4.13 กาหนดให้ ชิ ้นงานด้ านที่แรเงาไว้ เป็ นพื ้นที่ของภาพด้ านข้ าง พิจารณาจากภาพฉาน 3 ด้ านจะพบว่า พื ้นที่แรเงาที่มองเห็นในภาพด้ านข้ าง ก็คือ เส้ นในแนวดิ่งที่ขอบภาพด้ านหน้ าและด้ านบน ดังนัน้ จึงสรุปได้ วา่ ในการมองภาพฉาย 3 ด้ านของชิ ้นงาน ถ้ ามองเห็นภาพด้ านใดด้ านหนึ่งเป็ นพื ้นที่ ก็จะเห็นภาพที่เหลือทัง้ 2 ด้ านมีลกั ษณะเป็ นเส้ น หรืออาจสรุปเป็ นกฎในการมองภาพฉายภาพพื ้นที่ของ ชิ ้นงานรูปทรงสี่เหลี่ยมได้ คือ เราจะมองเห็นภาพเป็ น 1 พื ้นที่ และ 2 เส้ น ในภาพฉาย 3 ด้ าน 4.2.1 การเขียนภาพด้ านบนจากภาพด้ านหน้ าและภาพด้ านหน้ า

รูปที่ 4.14 ภาพด้ านหน้ าและภาพด้ านข้ างของชิน้ งาน จากรูปที่ 4.14 เป็ นตัวอย่างภาพด้ านหน้ าภาพด้ านข้ างของชิ ้นงาน ที่ต้องการให้ เขียนภาพด้ านบนที่ขาดหายไป การเขียนภาพด้ านบนมีขนตอนดั ั้ งนี ้ คือ เขียนเส้ นร่างถ่ายขนาดความกว้ างจากภาพด้ านหน้ าลงมาทางด้ านล่างให้ มีความยาวพอประมาณ ดังในรูปที่ 4.15


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

10

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

รูปที่ 4.15 การเขียนเส้ นร่ างถ่ านขนาดจากภาพด้ านหน้ ามายังภาพด้ านบน

2. เขียนเส้ นร่างอ้ างอิงในแนวนอนให้ ห่างจากภาพด้ านหน้ าพอประมาณ และลากเส้ นต่อไปทางขวา ให้ มีความยาวไปทางภาพด้ านข้ าง จากนันเขี ้ ยนเส้ นร่างถ่ายขนาดความกว้ างจากภาพด้ านข้ างลงมาทางด้ าน ล่างของภาพดังแสดงในรูป 4.16

รูปที่ 4.16 การเขียนเส้ นร่ างถ่ ายขนาดจากภาพด้ านข้ างมายังภาพด้ านบน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

11

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 3. เขียนเส้ นร่างในแนวนอนในภาพด้ านบนขนานกับเส้ นแรก ให้ มีระยะห่างเท่ากับความกว้ างของภาพ ด้ านข้ าง ( w) และลากเส้ นให้ ยาวไปทางด้ านขวาตัดกับเส้ นร่างในแนวดิ่งที่ลากมาจากภาพด้ านข้ าง ซึ่งจะได้ จุดตัด 1,2,3,และ 4 ดังแสดงในรูป 4.17

รูปที่ 4.17 การเขียนเส้ นร่ างในแนวนอนเพื่อเป็ นขอบเขตของภาพด้ านบน 4. จากจุดตัด 1 และ 3 ให้ เขียนเส้ นผ่านจุดตัดทัง้ 2 ดังรูป 4.18 เส้ นนี ้จะถูกใช้ ประโยชน์ในการถ่าย รายละเอียดจากภาพด้ านข้ างมายังภาพด้ านบน หรือภาพด้ านบนไปยังภาพด้ านข้ าง เหมือนการหมุนภาพไป (เส้ นที่ลากผ่านจุดตัด 1 และ 3 จะเอียงเป็ นมุม 45 ۫ เนื่องจากพื ้นที่ระหว่างจุดตัดที่ 4 เป็ นสี่เหลี่ยมจัตรุ ัส)

รูปที่ 4.18 การลากเส้ นถ่ ายรายละเอียดภาพ


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

6

หน้ าที่

12

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 5. หารูปร่างและรายละเอียดของภาพด้ านบน โดยพิจารณาเส้ นในภาพด้ านหน้ าและภาพด้ านข้ างที่ จะทาให้ เกิดภาพที่เป็ นพื ้นที่ในด้ านบน ในรูปที่ 4.19 เป็ นการพิจารณาผิวของชิ ้นงานที่มองเห็นเป็ นเส้ น A ใน ภาพด้ านหน้ า และมองเห็นเป็ นเส้ น B ในภาพด้ านข้ าง ด้ วยการเขียนเส้ นถ่ายขนาดความยาวของเส้ น A และ เส้ น B มายังภาพด้ านบนจะได้ พื ้นที่ AB เป็ นกรอบสี่เหลี่ยม 1 พื ้นที่ในภาพด้ านบนซึ่งเป็ นไปตามกฎการมอง ภาพฉายชิ ้นงานรูปทรงสี่เหลี่ยม คือ 1 พื ้นที่ และ 2 เส้ น จากนันเขี ้ ยนเส้ นกรอบของพื ้นที่ AB

รูปที่ 4.19 การพืน้ ที่ในภาพด้ านบนที่เกิดจากเส้ น A และ B ในภาพด้ านหน้ าภาพด้ านข้ าง 6. พิจารณาพื ้นผิวของชิ ้นงานที่มองเห็นเป็ นเส้ น C และเส้ น D มายังภาพด้ านบน จะได้ พื ้นที่ CD เป็ นกรอบ สี่เหลี่ยม 1 พื ้นที่ในภาพด้ านบน จากนันเขี ้ ยนเส้ นกรอบของพื ้นที่ CD

รูปที่ 4.20 การหาพืน้ ที่ในภาพด้ านบนที่เกิดจากเส้ น C และ D ในภาพด้ านหน้ าแบะภาพด้ านข้ าง


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

6

หน้ าที่

13

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี จาก 6 ขันตอนที ้ ่ผา่ นมาจะได้ ภาพด้ านบนที่สมบูรณ์ โดยไม่มีภาพ 3 มิติของชิ ้นงานก็สามารถเขียนภาพ ด้ านบนที่ขาดหายไปได้ เพื่อตรวจสอบความถูกต้ องของภาพ ลองดูภาพ 3 มิติและภาพฉายของชิ ้นงานในรูปที่ 4.21

รูปที่ 4.2.1 การเขียนภาพด้ านข้ างจากภาพด้ านหน้ าและภาพด้ านบน

รูปที่ 4.22 ภาพด้ านหน้ าและภาพด้ านบน จากรูปที่ 4.22 เป็ นภาพฉายด้ านหน้ าและด้ านบน จากหัวข้ อที่ผา่ นมา นามาทดลองเขียนภาพด้ านข้ างที่ขาด หายไป


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

14

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี การเขียนภาพด้ านข้ างจากภาพด้ านหน้ าและภาพด้ านบน จะใช้ หลักการเดียวกับการเขียนภาพฉาย ด้ านบน คือการลากเส้ นถ่ายขนาดและการพิจารณาพื ้นที่และเส้ นในภาพที่มีอยู่ โดยมีขนตอนดั ั้ งนี ้ 1. เขียนเส้ นร่างถ่ายขนาดจากภาพด้ านหน้ าไปทางขวาให้ มีความยาวพอสมควร 2. เขียนเส้ นร่างในแนวดิ่งลงมาทางด้ านล่างให้ ห่างจากภาพด้ านหน้ าพอสมควร

รูปที่ 4.23 การเขียนเส้ นร่ างถ่ ายขนาดจากภาพด้ านหน้ า 3. เขียนเส้ นร่างถ่ายขนาดจากภาพด้ านบนไปทางขวาให้ ตดั กับเส้ นร่างในแนวดิ่ง แล้ว ลากเส้ น 45 ۫ ผ่านจุดตัดของเส้ นร่างจากภาพด้ านบนและเส้ นร่างในแนวดิ่งของภาพด้ านข้ าง

รูปที่ 4.24 การเขียนเส้ นร่ างถ่ ายขนาดจากภาพด้ านบน 4. เขียนเส้ นร่างถ่ายขนาดจากภาพด้ านบนที่เหลือไปตัดกับเส้ นเอียง 45 ۫ และเขียนเส้ นร่างใน แนวดิ่งจากจุดตัดขึ ้นไปยังภาพด้ านข้ างตัดกับเส้ นร่างถ่ายขนาดที่ลากมาจากภาพด้ านหน้ า จะได้ ขอบเขตของ ภาพด้ านข้ าง


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

15

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

รูปที่ 4.25 การเขียนเส้ นร่ างถ่ ายขนาดจากเส้ นเอียง 45 ۫ 5. หารูปร่างและรายละเอียดของภาพด้ านข้ างของภาพโดยพิจารณาเส้ นในภาพด้ านหน้ าและภาพ ด้ านบนที่ทาให้ เกิดภาพที่เป็ นพื ้นที่ในภาพด้ านข้ าง ขากรูปที่ 4.26 เป็ นการพิจารณาผิวชิ ้นงานที่มองเห็นเป็ น เส้ น E และเส้ น F ด้ วยการเขียนเส้ นร่างถ่ายขนาดความยาวเส้ น E และ F ไปยังภาพด้ านข้ าง จะได้ พื ้นที่ EF ใน ภาพด้ านข้ าง จากนันเขี ้ ยนเส้ นกรอบของพื ้นที่ EF

รูปที่ 4.26 การหาพืน้ ที่ในภาพด้ านบนที่เกิดจากเส้ น E และ F ในภาพด้ านหน้ าและด้ านบน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

6

หน้ าที่

16

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 6. พิจารณาผิวของชิ ้นงานที่มองเป็ นเส้ น G ในภาพด้ านหน้ า และเส้ น H ในภาพด้ านบน ที่ทาให้ เกิดภาพที่เป็ น พื ้นที่ในภาพด้ านข้ าง ด้ วยการเขียนเส้ นถ่ายขนาดความยาวเส้ น G และ H ไปยังภาพด้ านข้ างจะได้ พื ้นที่ GH ในภาพด้ านข้ าง จากนันเขี ้ ยนเส้ นกรอบของพื ้นที่ GH ดังในรูปที่ 4.27

รูปที่ 4.27 การหาพืน้ ที่ในภาพด้ านบนที่เกิดจากเส้ น G และ H ในภาพด้ านหน้ าและภาพด้ านบน 4.2.2 การเขียนภาพด้ านหน้ าจากภาพด้ านข้ างและภาพด้ านบน

รูปที่ 4.28 ภาพด้ านข้ างและภาพด้ านบน จากรูป 4.28 เป็ นภาพฉายด้ านข้ างและภาพด้ านบน จากหัวข้ อที่ผ่านมา นามาทดลองเขียนภาพด้ านหน้ าที่จาด หายไป การเขียนภาพด้ านหน้ าจะใช้ หลักการเดียวกับการเขียนภาพด้ านข้ าง คือ


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

6

หน้ าที่

17

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 1. เขียนเส้ นร่างถ่ายขนาดจากภาพด้ านบนและภาพด้ านข้ างไปยังภาพด้ านหน้ า จะได้ ขอบเขตภาพ ด้ านหน้ า ดังรูปที่ 4.29

รูปที่ 4.29 การเขียนเส้ นร่ างถ่ ายขนาดจากภาพด้ านข้ างและด้ านบน 2. หารูปร่างและรายละเอียดของภาพด้ านหน้ า โดยพิจารณาเส้ นในภาพด้ านข้ างและด้ านบนที่ทาให้ เกิดภาพที่เป็ นพื ้นที่ในภาพด้ านหน้ า จากรูปที่ 4.30 เป็ นการพิจารณาผิวชิ ้นงานที่มองเห็นเป็ นเส้ น I แบะเส้ น J ด้ วยการเขียนเส้ นร่างการถ่ายขนาดความยาวของเส้ น I และ J ไปยังภาพด้ านหน้ า จะได้ พื ้นที่ IJ ในภาพ ด้ านหน้ า จากนันเขี ้ ยนเส้ นกรอบของพื ้นที่ IJ

รูปที่ 4.30 การหาพืน้ ที่ในภาพด้ านหน้ าที่เกิดจากเส้ น I และ J ในภาพด้ านข้ างและภาพด้ านบน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

18

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 3. พิจารณาผิวของชิ ้นงานที่มองเห็นเป็ น K ในภาพด้ านบน และเส้ น L ในภาพด้ านข้ าง ทาให้ เกิดภาพ ที่เป็ นพื ้นที่ในภาพด้ านหน้ า ด้ วยการเขียนเส้ นร่างถ่ายขนาดความยาวของเส้ น K และ L ไปยังภาพด้ านหน้ า จะได้ พื ้นที่ KL ในภาพด้ านหน้ า จากนันเขี ้ ยนกรอบพื ้นที่ ดังในรูปที่ 4.13

รูปที่ 4.31 การหาพืน้ ที่ ในภาพด้ านหน้ าที่เกิดจาดเส้ น K และ L ในภาพด้ านข้ างและด้ านบน 4.2.4 ตัวอย่างการเขียนภาพด้ านที่ขาดหายไปจากภาพฉายที่มีอยู่ 2 ด้ าน จากวิธีการเขียนภาพฉายด้ านที่ขาดหายไปจากภาพฉายที่มีอยู่ 2 ด้ าน ดังที่กล่าวมา นักศึกษาหรือ ผู้อา่ นอาจจะยังไม่เข้ าใจหรือยังมีความเข้ าใจไม่ดีพอ ดังนันเพื ้ ่อให้ มีความเข้ าใจมากยิ่งขึ ้น ตัวอย่างต่อไปนี ้จะ เป็ นการเขียนภาพด้ านข้ างจากภาพด้ านหน้ าและด้ านบนที่กาหนดให้

รูปที่ 4.32 ภาพด้ านหน้ าและภาพด้ านบนที่กาหนดเพื่อเขียนภาพด้ านข้ าง


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

6

หน้ าที่

19

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี ขันตอนในการเขี ้ ยน เริ่มต้ นจากการเขียนเส้ นร่างถ่ายขนาดจากภาพด้ านหน้ าและภาพด้ านบนไปทางขวา จากนันเขี ้ ยนเส้ นเอียง 45 ۫ และเส้ นร่างถ่ายขนาดจากภาพด้ านบนไปยังภาพด้ านข้ าง ดังในรูป 4.33

รูปที่ 4.33 การเขียนเส้ นร่ างถ่ ายขนาดจากภาพด้ านหน้ าและภาพด้ านบนมายังภาพด้ านข้ าง พิจารณาผิวของชิ ้นงานที่มองเห็นเป็ นเส้ น M ในภาพด้ านหน้ า และเส้ น N มายังภาพด้ านข้ างจะได้ พื ้นที่ MN ดังในรูป 4.34

รูปที่ 4.34 การพืน้ ที่ในภาพด้ านข้ างที่เกิดจากเส้ น M และ N ในภาพด้ านหน้ า และด้ านบน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

20

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี พิจารณาผิวของชิ ้นงานที่มองเห็นเป็ นเส้ น O ในภาพด้ านหน้ า และเส้ น P ในภาพด้ านบน ที่ทาให้ เกิด ภาพที่เป็ นพื ้นที่ในภาพด้ านข้ าง ด้ วยการเขียนเส้ นถ่ายขนาดความยาวของเส้ น O และ P มายังภาพด้ านบนจะ ได้ พื ้นที่ OP ดังในรูป 4.35

รูปที่ 4.35 การหาพืน้ ที่ในภาพด้ านข้ างที่เกิดจากเส้ น O และ P ในภาพด้ านหน้ าและภาพด้ านบน จากเส้ น O และ P ที่นามาพิจารณาจะเห็นว่ามีเส้ น Q และ S ตังฉากอยู ้ ่ ซึ่งแสดงว่าพื ้นที่ OP ที่เกิดขึ ้นภาพ ด้ านข้ างไม่เป็ นพื ้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้ าเต็มเหมือนกับภาพในตัวอย่างในรูปที่ 4.36

รูปที่ 4.36 ภาพ 3 มิติ และภาพฉาย 3 ด้ านของชิน้ งานรูปทรงสี่เหลี่ยมตัดตรง


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

21

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี จากรูปที่ 3.46 เส้ น U ในภาพด้ านหน้ า และเส้ น V ในภาพด้ านบน มีเส้ นตรง X และ Y ตังฉากอยู ้ ่ จะ ทาให้ ภาพด้ านข้ างมองเห็นเป็ นพื ้นที่สี ้เหลี่ยมที่ถกู ตัดบางส่วนออกไป เมื่อพื ้นที่ OP ไม่ใช้ พื ้นที่สี่เหลี่ยมเต็ม ต้ องหาขอบเขตของพื ้นที่ OP ใหม่ในภาพด้ านข้ างโดย 1. พิจารณาเส้ น Q ในภาพด้ านหน้ า ที่มองเห็นเป็ นพื ้นที่ QR ในภาพด้ านบน แล้ วหาอีก 1 เส้ นใน ภาพด้ านข้ าง ( เส้ น R ) 2. พิจารณาเส้ น S ในภาพด้ านบน ที่มองเห็นเป็ นพื ้นที่ ST ในภาพด้ านหน้ า แล้ วหาอีก 1 เส้ นใน ภาพด้ านข้ าง ( เส้ น T )

รูปที่ 4.37 การพิจารณาเส้ น Q, S และพืน้ ที่ QR, ST ในภาพด้ านหน้ าและด้ านบน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

6

หน้ าที่

22

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี จากเส้ น Q ในภาพด้ านหน้ าและพื ้นที่ QR ในภาพด้ านบน เขียนเส้ นถ่ายขนาดวามกว้ างของพื ้นที่ QR ไปยัง ภาพด้ านข้ าง และเขียนเส้ นร่างถ่ายขนาดของเส้ น Q จะได้ เส้ น 1 เส้ น คือ เส้ น R ดังในรูป 4.38 หน้ าถัดไป จากเส้ น Q ในภาพด้ านหน้ าและพื ้นที่ QR ในภาพด้ านบน เขียนเส้ นถ่ายขนาดความกว้ าง ของพื ้นที่ QR ไปยังภาพด้ านข้ าง และเขียนเส้ นร่างถ่ายขนาดของ S จะได้ 1 เส้ น คือ เส้ น T ดังในรูป 4.38

รูปที่ 4.38 การหาขอบเขตของพืน้ ที่ OP จริงในภาพด้ านข้ าง จากเส้ น P และ T ที่ได้ จากการพิจารณา ดังที่กล่าวมา จะเป็ นขอบเขตของพื ้นที่ OP ใหม่ที่ ขอบของพื ้นที่ถกู ตัดหายไป เมื่อลากเส้ น R และ T จะได้ พื ้นที่รูปตัว L เพื่อเป็ นการตรวจสอบความถูกต้ องในการเขียนภาพด้ านข้ างจากภาพด้ านหน้ าและภาพ ด้ านบน ลองพิจารณาจากภาพ 3 มิติในรูปที่ 4.39

รูปที่ 4.39 ภาพ 3 มิติ และภาพฉาย 3 ด้ านของชิน้ งาน


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

23


ใบงาน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

6

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

24



เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

บทที่ 5 5.1 การเขียนภาพ OBLIQUE ในการเขียนภาพ OBLIQUE มีขนตอนและรายละเอี ั้ ยดดังนี ้ 1. เขียนเส้ นร่างเริ่มต้ นของภาพ 3 เส้ น คือ เส้ นในแนวนอน เส้ นในแนวดิ่ง และเส้ นเอียง 45º ดังแสดงใน รูป 5.2 (เส้ นเอียง 45º อยู่ทางด้ านซ้ ายหรือทางด้ านขวาของเส้ นในแนวดิ่งก็ได้ )

รูปที่ 5.2 การเขียนเส้ นร่ างเริ่มต้ นของภาพ OBLIQUE 2. เขียนเส้ นร่างรูปทรงสี่เหลี่ยม ที่มีขนาดเท่ากับความกว้ าง (W) และความสูง (H) ของชิ ้น งานและมีความลึก (D) เป็ นครึ่งหนึ่งของความลึกจริงตามหลักการของภาพ OBKIQUE ดังในรูป 5.3 หมายเหตุ สาเหตุที่เขียนเส้นร่างรูปทรงสี่เหลี่ยมก่อนเพราะชิ้ นงานมาจากชิ้ นงานรูปทรงสี่เหลี่ยมที่ถูก ตัดเนื้อบางส่วนออกไป กล่าวคือ ชิ้ นงานก่อนการตัดเป็ นรูปทรงสี่เหลี่ยมตัน

รูปที่ 5.3 การเขียนเส้ นร่ างรูปทรงกล่ องสี่เหลี่ยมของภาพ OBLIQUE


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

7

หน้ าที่

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 3. กาหนดทิศทางการมองภาพที่กล่องสี่เหลี่ยมด้ านที่ต้องการให้ เป็ นภาพด้ านหน้ า จากนันน ้ าภาพ ฉายด้ านหน้ าที่มองเห็นรูปร่างของชิ ้นงานมาเขียนลงในด้ านของกล่องที่กาหนดให้ เป็ นภาพด้ านหน้ า โดยลด ขนาดความกว้ างของภาพลงครึ่งหนึ่งตามหลักการของภาพ OBLIQUE ดังแสดงในรูป 5.4

รูปที่ 5.4 การกาหนดทิศทางการมองและเขียนรายละเอียดด้ านหน้ าของภาพ 4. ลากเส้ นในแนวนอนต่อจากมุมของภาพที่เป็ นด้ านหน้ าไปทางซ้ ายให้ มีความยาวเท่ากับความกว้ าง ของชิ ้นงาน เส้ นขอบของชิ ้นงานที่ถกู บังคับให้ เขียนเป็ นเส้ นประดังในรูปที่ 5.5

รูปที่ 5.5 การลากเส้ นในแนวนอนต่ อจากมุมของภาพ OBLIQUE


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

7

หน้ าที่

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 5. พิจารณาปลายสุดของเส้ นที่ตอ่ ออกไปก็คือมุมของชิ ้นงาน ซึ่งในภาพ OBLIQUE ที่มมุ ๆ หนึ่งจะ ประกอบด้ วยเส้ น 3 เส้ น คือ เส้ นในแนวนอน เส้ นในแนวดิ่ง และเส้ นเอียง 45º ดังนันในการเขี ้ ยนเส้ นที่ยงั ขาด อยู่อีก 2 เส้ น คือเส้ นในแนวดิ่งและเส้ นเอียง 45º จนครบ ทุกมุม เส้ นขอบของชิ ้นงานที่ถกู บังคับให้ เขียนด้ วย เส้ นประดังแสดงในรูปที่ 5.6

รูปที่ 5.6 การเขียนเส้ นในแนวดิ่งและเส้ นเอียง 45º จากขันตอนในการเขี ้ ยนภาพ OBLIQUE ที่กล่าวมาข้ างต้ น พอสรุปเป็ นข้ อควรจาได้ คือ 1. การเขียนภาพ OBKIQUE จะต้ องเขียนเส้ นร่างรูปทรงกล่องสี่เหลี่ยมที่ประกอบด้ วย 3 เส้ นคือ เส้ นในแนวนอนแสดงความกว้ าง เส้ นในแนวดิ่งแสดงความสูง และเส้ นเอียง 45º แสดงความลึกของภาพ 2. ที่มมุ ของชิ ้นงานจะต้ องประกอบด้ วยเส้ น 3 เส้ นมาพบกัน 3. ขอบของชิ ้นงานที่มองไม่เห็นให้ เขียนด้ วยเส้ นประ 4. เส้ นทุกเส้ นจะแสดงขอบของชิ ้นงาน 5. ขนาดของภาพในเส้ นแนวเอียง 45º จะมีขนาดลดลงครึ่งหนึ่งจากขนาดในภาพฉาย สาหรับการเขียนภาพ 3 มิติ แบบ DIMETRIC และ ISOMETRIC จะมีขนตอนเหมื ั้ อนกันกับการเขียน ภาพ OBLIQUE แต่จะมีสิ่งที่แตกต่างกันเล็กน้ อย คือ มุมเอียงที่ใช้ ในการเขียนภาพ กล่าวคือ ภาพ DIMETRIC ใช้ มมุ เอียงของเส้ น 7º และ 42º และภาพ ISOMETRIC ใช้ มมุ เอียงของเส้ น 30º 2 เส้ น


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

4

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

5.2 การเขียนภาพ DIMETRIC ในการเขียนภาพ DIMETRIC มีขนตอนและรายละเอี ั้ ยดดังนี ้ คือ 1. เขียนเส้ นร่างเริ่มต้ นของภาพ 3 เส้ น คือ เส้ นในแนวดิ่ง เส้ นเอียงทามุม 7º และเส้ นเอียง 42º กับแนวระดับ 2 เส้ นตัดกัน ดังแสดงในรูป 5.7 (เส้ นเอียง 7º และเส้ นเอียง 42º สลับข้ างกันได้ )

รูปที่ 5.7 การเขียนเส้ นร่ างเริ่มต้ นของภาพ DIMETRIC 2. เขียนเส้ นร่างรูปทรงกล่องสี่เหลี่ยมที่มีขนาดความกว้ าง (W) ความสูง (H) เท่ากับขนาด ของจริงของชิ ้นงาน และความลึก ( D) เป็ นครึ่งหนึ่งของขนาดจริงตามหลักการของภาพ DIMETRIC ดังในรูป 5.8

รูปที่ 5.8 การเขียนเส้ นร่ างรูปทรงสี่เหลี่ยมของภาพ DIMETRIC


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

5

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 3. กาหนดทิศทางการมองภาพที่กล่องสี่เหลี่ยมด้ านที่ต้องการให้ เป็ นภาพด้ านหน้ า (จากตัวอย่างใช้ ด้ านที่มีเส้ นเอียง 42º เป็ นภาพด้ านหน้ า เนื่องจากจะทาให้ สามารถมองภาพด้ านข้ างได้ ง่าย) จากนันน ้ าภาพ ฉายด้ านหน้ าที่มองเห็นรูปร่างของชิ ้นงานมาเขียนลงในด้ านของกล่องที่กาหนดเป็ นด้ านหน้ า โดยลดขนาด ความกว้ างของภาพลงครึ่งหนึ่ง ตามหลักการของภาพ DIMETRIC ดังแสดงในรูป 5.9

รูปที่ 5.9 การกาหนดทิศทางการมองและเขียนรายละเอียดด้ านหน้ าของภาพ 4. ลากเส้ นในแนวเอียง 7º ต่อจากมุมของภาพที่เป็ นด้ านไปทางซ้ ายให้ มีความยาวเท่ากับความกว้ าง ของชิ ้นงาน เส้ นขอบของชิ ้นงานที่ถกู บังคับให้ เขียนเป็ นเส้ นประดังในรูปที่ 5.10

รูปที่ 5.10 การลากเส้ นในแนวเอียง 7º ต่ อจากมุมของภาพ


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

7

หน้ าที่

6

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 5. พิจารณาปลายสุดของเส้ นเอียง 7º ที่ตอ่ ออกไปก็คือ มุมของชิ ้นงาน ซึ่งในภาพ DIMETRIC ที่มมุ ๆหนึ่ง จะ ประกอบด้ วยเส้ น 3 เส้ น คือ เส้ นในแนวดิ่ง 1 เส้ น เส้ นเอียง 42º 1 เส้ น และเส้ นเอียง 7º 1 เส้ น ให้ เขียนเส้ นที่ยงั ขาดอยู่อีก 2 เส้ น คือ เส้ นในแนวดิ่งและเส้ นเอียง 42º จนครบทุกมุม เส้ นขอบชิ ้นงานที่ถกู บังคับให้ เขียนด้ วย เส้ นประดังแสดงในรูปที่ 5.11

รูปที่ 5.11 การเขียนเส้ นแนวดิ่งและเส้ นเอียง 42º ที่ยังขาดอยู่ จากขันตอนการเขี ้ ยนแบบ DIMETRIC ที่กล่าวมา พอสรุปเป็ นข้ อควรจาได้ คือ 1. การเขียนภาพ DIMETRIC จะต้ องเขียนเส้ นร่างรูปกล่องสี่เหลี่ยมที่ประกอบด้ วยเส้ น 3 เส้ น คือ เส้ น ในแนวดิ่งแสดงความสูง เส้ นเอียง 7º แสดงความกว้ าง และเส้ นเอียง 42º แสดงความลึกของภาพ 2. ขนาดของภาพในแนวเส้ นเอียง 42º จะมีขนาดลดลงครึ่งหนึ่งจากขนาดในภาพฉาย 3. ขนาดของภาพในแนวเส้ นเอียง 7º จะมีขนาดเท่ากับขนาดในภาพฉาย เนื่องจากโครงสร้ างของภาพ DIMETRIC ประกอบด้ วยเส้ นเอียง 7º และเส้ นเอียง 42º การเขียนภาพ จะมีความยากมากกว่าการเขียนภาพ OBLIQUE ซึ่งการเขียนจะต้ องใช้ ไม้ บรรทัดพิเศษที่ปรับมุมได้ มาช่วย เขียน อย่างไรก็ตามปั จจุบนั ได้ มีการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยเขียน ดังนันความยากในการเขี ้ ยนจึงไม่เป็ นปั ญหา เหมือนในอดีตที่ใช้ โต๊ ะเขียนแบบร่วมกับการใช้ ไม้ ทีและไม้ บรรทัดแบบต่างๆ


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

7

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

5.3 การเขียนภาพ ISOMETRIC ในการเขียนภาพ ISOMETRIC มีขนตอนและรายละเอี ั้ ยดดังนี ้ คือ 1. เขียนเส้ นร่างเริ่มต้ นของภาพ 3 เส้ น คือ เส้ นในแนวดิ่ง และเส้ นในแนวเอียงทามุม 30º กับแนวระดับ 2 เส้ นตัดกัน ดังแสดงในรูปที่ 5.12

รูปที่ 5.12 การเขียนเส้ นร่ างเริ่มต้ นของภาพ ISOMETRIC 2. เขียนเส้ นร่างรูปทรงกล่องสี่เหลี่ยมที่มีขนาดเท่ากับความกว้ าง (W) ความสูง (H) และความลึก (D) ของชิ ้นงาน ดังแสดงในรูปที่ 5.13

รูปที่ 5.13 การเขียนเส้ นร่ างรูปทรงสี่เหลี่ยมของภาพ ISOMETRIC


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

8

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 3. กาหนดทิศทางการมองภาพที่กล่องสี่เหลี่ยมด้ านที่ต้องการให้ เป็ นภาพด้ านหน้ าจากนัน้ นาภาพมาฉายด้ านหน้ าที่มองเห็นรูปร่างของชิ ้นงาน มาเขียนลงในด้ านของกล่องที่กาหนดเป็ นด้ านหน้ าตาม ขนาดจริง ดังแสดงในรูปที่ 5.14

รูปที่ 5.14 การกาหนดทิศทางการมองและเขียนรายละเอียดด้ านหน้ าของภาพ 4. ลากเส้ นในแนวเอียง 30º ต่อจากมุมของภาพที่เป็ นด้ านหน้ าไปทางซ้ ายให้ มีความยาวเท่ากับความ กว้ างของชิ ้นงาน เส้ นขอบของชิ ้นงานที่ถกู บังคับให้ เขียนด้ วยเส้ นประดังแสดงในรูปที่ 5.15

รูปที่ 5.15 การลากเส้ นในแนวเอียง 30º ต่ อจากมุมของภาพ


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

7

หน้ าที่

9

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 5. พิจารณาปลายสุดของเส้ นเอียงที่ตอ่ อกไปก็คือ มุมของชิ ้นงาน ซึ่งในภาพ ISOMETRIC ที่มมุ ๆ หนึ่ง จะประกอบด้ วยเส้ น 3 เส้ น คือ เส้ นในแนวดิ่งและเส้ นเอียง 30º 2 เส้ น ให้ เขียนเส้ นที่ยงั ขาดอยู่ 2 เส้ น คือ เส้ นในแนวดิ่งและเส้ นเอียง 30º (ด้ านขวา) จนครบทุกมุม เส้ นขอบของชิ ้นงานที่ถกู บังคับให้ เขียนด้ วยเส้ นประ ดังใยรูปที่ 5.16

รูปที่ 5.16 การเขียนเส้ นแนวดิ่งและเส้ นเอียง 30º ที่ยังขาดอยู่ จากขันตอนในการเขี ้ ยนภาพ ISOMETRIC ที่กล่าวมา พอสรุปข้ อควรจาได้ คือ 1. การเขียนภาพ ISOMETRIC จะต้ องเขียนเส้ นร่างรูปกล่องสี่เหลี่ยมที่ประกอบด้ วยเส้ น 3 เส้ น คือ เส้ นในแนวดิ่งแสดงความสูง และเส้ นเอียง 30º 2 เส้ นแสดงความกว้ างและความลึก 2. ขนาดของภาพในแนวเส้ นเอียง 30º จะมีขนาดเท่ากับขนาดในภาพฉาย จากโครงสร้ างของภาพ ISOMETRIC ที่ประกอบด้ วยเส้ นเอียง 30º เหมือนกัน 2 เส้ น ทาให้ การเขียนภาพจะทา ได้ ง่าย แต่ภาพ ISOMETRIC จะใช้ เนื ้อที่การเขียนมากกว่าภาพ OBLIQUE และภาพ DIMETRIC


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

10


ใบงาน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

7

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

11



เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

5.4 การเขียนวงรีในภาพ 3 มิติ ในการเขียนภาพ 3 มิติทงั ้ 3 แบบดังที่กล่าวมาข้ างต้ น เป็ นกาเขียนชิ ้นงานรูปทรงเหลี่ยมเท่านัน้ กรณีที่ ชิ ้นงานมีรูปร่างเป็ นทรงกระบอกกลม หรือชิ ้นงานทรงสี่เหลี่ยมที่มีรูเจาะ จะมีวิธีเขียนรูปร่างของวงกลมในภาพ 3 มิติ จะเห็นเป็ นรูปวงรี ก่อนที่จะทาการเรียนรู้เกี่ยวกับการเขียนวงรีในภาพ 3 มิติ ลองมาพิจารณารูปวงกลม ในภาพ 2 มิติในรูปที่ 5.17

รูปที่ 5.17 รูปวงกลมในภาพ 3 มิติ จากรูปที่ 5.17 ซ้ าย เป็ นภาพวงกลม ถ้ าลากเส้ นตังฉากกั ้ บเส้ นศูนย์กลางของวงกลมให้ สมั ผัสกับขอบ ของวงกลม ดังแสดงในรูปที่ 5.17 ขวา ก็จะได้ เส้ นตรง 4 เส้ นตัดกันเป็ นรูปสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสที่มีวงกลมอยู่ภายใน จากรูปวงกลมในภาพ 2 มิติ กลับมาพิจารณา 3 มิติของชิ ้นงานทรงเหลี่ยมลูกเต๋า ซึ่งแต่ละด้ านของลูกเต๋าที่ สี่เหลี่ยมจัตรุ ัส เป็ นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนเหมือนด้ านของสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสเอียงไป ดังในรูปที่ 5.18 ซ้ าย ทาให้ รูปวงกลมในกรอบสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสเบี ้ยวไปเป็ นวงรี ดังแสดงในรูปที่ .5.18 ขวา

รูปที่ 5.18 ภาพ 3 มิติของชิน้ งานรูปทรงสี่เหลี่ยมลูกเต๋ า


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี จากรูปวงกลมที่มองเห็นเป็ นวงรีในภาพ 3 มิติ เราจะเขียนรูปวงรีนี ้ได้ อย่างไร กลับมาพิจารณาวงกลม ในกรอบสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสอีกครัง้ จะเห็นว่าจุดศูนย์กลางของวงกลมเกิดจากจุดตัดของเส้ นที่ตงฉากกั ั้ บด้ านทัง้ 4 ของสี่เหลี่ยม ซึ่งก็คือ เส้ นศูนย์กลาง กาหนดให้ ด้านทัง้ 4 ของสี่เหลี่ยมจัตรุ ัส คือ ด้ าน A, B, C, และ D ตามลาดับ และมีจดุ ศูนย์กลางเป็ น O ดังในรูป 5.19 ซ้ าย

รูปที่ 5.19 วงกลมในกรอบสี่เหลี่ยมจัตุรัสและสี่เหลี่ยมในด้ าน 3 มิติ หากด้ าน A และ C ถูกยกขึ ้นให้ เป็ นมุมเอียงเหมือนกับสี่เหลี่ยมขนมเปี ยกปูนในภาพ 3 มิติ จะทาให้ เส้ นตังฉากของด้ ้ าน A และ C ไม่ได้ อยู่ในแนวดิ่งอย่างเดิม ทาให้ จดุ ตัดของเส้ นที่ลากตังฉากกั ้ บด้ านทัง้ 4 ของ สี่เหลี่ยมเคลื่อนที่ไป ดังแสดงในรูปที่ 5.19 ขวาโดย เส้ นที่ลากตังฉากกั ้ บด้ าน A จะตัดกับเส้ นที่ลากตังฉากกั ้ บด้ าน B ที่จดุ 01 เส้ นที่ลากตังฉากกั ้ บด้ าน A จะตัดกับเส้ นที่ลากตังฉากกั ้ บด้ าน B ที่จดุ 02 เส้ นที่ลากตังฉากกั ้ บด้ าน C จะตัดกับเส้ นที่ลากตังฉากกั ้ บด้ าน B ที่จดุ 03 เส้ นที่ลากตังฉากกั ้ บด้ าน C จะตัดกับเส้ นที่ลากตังฉากกั ้ บด้ าน B ที่จดุ 04 ซึ่งแสดงว่าเมื่อด้ านของสี่เหลี่ยมจัตรุ ัสเอียงไปเป็ นเส้ นสี่เหลี่ยมขนมปี ยกปูนจะทาให้ จดุ ศูนย์กลางของ วงกลมแยกออกเป็ น 4 จุด คือ จุด 01, 02,03และ 04 เมื่อใช้ วงเวียนกางจากจุดศูนย์กลาง 01 ไปยังจุดกึ่งกลางของด้ าน A และ B แล้ วลากเส้ นโค้ ง AB ดัง ในรูป 5.20 บนซ้ าย


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

8

หน้ าที่

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี เมื่อใช้ วงเวียนกางจากจุดศูนย์กลาง 03 ไปยังจุดกึ่งกลางของด้ าน C และ D แล้ วลากเส้ น จะได้ เส้ นโค้ ง CD ดัง ในรูปที่ 5.20 บนขวา เมื่อใช้ วงเวียนกางจากจุดศูนย์กลาง 02ไปยังจุดกึ่งกลางของด้ าน Aและ D แล้ วลากเส้ น จะได้ เส้ นโค้ ง AD ดังในรูปที่ 5.20 กลางซ้ าย เมื่อใช้ วงเวียนกางจากจุดศูนย์กลาง 04ไปยังจุดกึ่งกลางของด้ าน B และ C แล้ วลากเส้ น จะได้ เส้ นโค้ ง BC ดังในรูปที่ 5.20 กลางขวา จากเส้ นโค้ ง AB. AD. CD และ BC ที่เกิดจากจุดศูนย์กลางใหม่ 01.02.03 และ 04 เมื่อนามาต่อกันจะ ได้ รูปวงรี ดังแสดงในรูป 5.20 ล่าง

รูปที่ 5.20 การเขียนรูปวงรีในภาพ 3 มิติ


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

8

หน้ าที่

4

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี จากหลักการเขียนวงรีดงั ที่กล่าวมา เป็ นการเขียนวงรีที่ด้านของสี่เหลี่ยมเอียง 7 องศา ถ้ าด้ านของ สี่เหลี่ยมมีความเอียงเพิ่มขึ ้นเป็ น 30 องศา ดังในรูปที่ 5.21 การเขียนวงรีจะเป็ นอย่างไร

รูปที่ 5.21 กรอบสี่เหลี่ยมที่มีด้านเอียง 30 องศา การเขียนเริ่มจากลากเส้ นตังฉากจุ ้ ดกึ่งกลางของด้ านทัง้ 4 ของกรอบสี่เหลี่ยมขนมเปี ยกปูน จะได้ จุดตัดของเส้ นที่ลากจาก 4 จุด หลังจากนันใช้ ้ วงเวียนเขียนเส้ นโค้ ง 4 เส้ น โดยใช้ จดุ ตัดทัง้ 4 จุดเป็ นจุด ศูนย์กลางของเส้ นโค้ งต่อกันเป็ นรูปวงรี ดังในรูปที่ 5.22

รูปที่ 5.22 การเขียนวงรีในกรอบสี่เหลี่ยมที่มีด้านเอียง 30 องศา ข้ อสังเกต การเขียนวงรีในกรอบสี่เหลี่ยมที่มีด้านเอียง 7 องศา และ 30 องศา ที่ผา่ นมาจะเห็นว่ามีจดุ ตัด ของเส้ นตังฉากจากจุ ้ ดกึ่งกลางของด้ านทัง้ 4 จุด จะห่างกันมากขึ ้น เมื่อมุมเอียงของกรอบสี่เหลี่ยมมีเพิ่มขึ ้น


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

ลักษณะของวงรีในภาพ 3 มิติ วงรีในภาพ 3 มิติ จะมีอยู่ 3 ลักษณะตามระนาบของภาพ ดังแสดงในรูปที่ 5.23

รูปที่ 5.23 ลักษณะของวงรีในภาพ 3 มิติ

5


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

8

หน้ าที่

6

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี จากมาตรฐานของภาพ 3 มิติแบบ OBLIQUE และ DIMETRIC กาหนดให้ ด้านที่เอียงเป็ นมุม 42 องศา และ 45 องศา มีอตั ราส่วนขนาดความลึกของภาพเป็ น 1 : 2 หรือมีขนาดเป็ นครึ่งหนึของขนาดจริง ส่งผล ให้ กรอบสี่เหลี่ยมด้ านนี ้มีความยาวของด้ านทัง้ 4 ไม่เท่ากัน กล่าวคือ ด้ านที่มี ความเอียงจะมีความยาวเพียงครึ่งหนึ่งของด้ านที่อยู่ในแนวดิ่ง ดังแสดงในรูปที่ 5.24

รูปที่ 5.24 อัตราส่ วนความยาวของด้ านต่ างๆ ในภาพ OBLIQUE และ DIMETRIC จากการที่กรอบสี่เหลี่ยมเอียงมีความยาวด้ านไม่เท่ากัน จะส่งผลไม่ให้ สามารถเขียนรูปวงรีในกรอบ สี่เหลี่ยมนี ้ได้ เนื่องจากเส้ นที่ลากตังฉากกั ้ บด้ านที่เอียงและด้ านที่อยู่ในแนวดิ่งไม่ตดั กัน2 จุก และเส้ นที่ตดั กันก็ มีรัศมี R ไม่เท่ากัน ดังแสดงในรูป 5.25

รูปที่ 5.25 จุดตัดของเส้ นที่ตัง้ ฉากในกรอบสี่เหลี่ยมเอียงที่ด้านทัง้ 4 มีความยาวไม่ เท่ ากัน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

8

หน้ าที่

7

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี เมื่อไม่สามารถเขียนวงรีในกรอบสี่เหลี่ยมที่มีความยาวของด้ านไม่เท่ากันได้ ด้วยวิธีการลากเส้ นตังฉากกั ้ บด้ าน ทัง้ 4 ของกรอบสี่เหลี่ยม การเขียนวงรีในลักษณะนี ้ให้ ใช้ วิธีการหาอัตราส่วนจากวงกลมในภาพฉายมาเขียน วงรีในกรอบสี่เหลี่ยม ซึ่งมีขนตอนและวิ ั้ ธีการดังนี ้ คือ 1. เขียนวงกลมให้ มีรัศมี R เท่ากับครึ่งหนึ่งของความยาวด้ านเอียง ดังแสดงในรูป 5.26 ขวาบน 2. เขียนเส้ นแบ่งวงกลมออกเป็ นส่วนเท่าๆกันตามแนวดิ่ง ดังแสดงในรูป 5.26 ขวาล่าง

รูปที่ 2.56 การเขียนวงกลมและการแบ่ งวงกลมเป็ นส่ วนๆ 3. เขียนเส้ นแบ่งส่วนตามแนวดิ่งที่กรอบสี่เหลี่ยมให้ มีจานวนช่องเท่ากับการแบ่งส่วนในวงกลม

รูปที่ 5.27 การเขียนเส้ นแบ่ งส่ วนกรอบสี่เหลี่ยมเป็ นส่ วนๆ ตามแนวดิ่ง


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

8

หน้ าที่

8

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 4. วัดขนาดความยาวของเส้ นแบ่งวงกลมจากเส้ นที่ 1 ที่อยู่ตรงเส้ นผ่านศูนย์กลาง และเส้ นที่ 2, 3 ตามลาดับ แล้ วถ่ายขนาดไปยังตาแหน่ง 1, 2, 3 ของเส้ นแบ่งที่กรอบสี่เหลี่ยม จะได้ จดุ ตัดที่เป็ น ทางเดินของเส้ นโค้ งวงรี

5. ลากเส้ นผ่านจุดตัดของเส้ นแบ่งส่วนและเส้ นถ่ายขนาดจากวงกลม ก็จะได้ เส้ น


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

9


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

10


ใบงาน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

8

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

11



เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

วิชา เขียนแบบเทคนิคเบือ้ งต้ น รหัส 2106 – 1301 ข้ อสอบ กลางภาคเรียน วันที่ 9 กรกฎาคม 2550 เวลาในการสอบ 08.40 - 11.40 น. -ห้ ามนาเอกสารใดๆ เข้ าห้ องสอบ -อนุญาตให้ ใช้ กระดาษ A3 เข้ าห้ องสอบได้ -อนุญาตให้ นาเครื่ องมืออุปกรณ์เขียนแบบเข้ าห้ องสอบได้ -ในการสอบหากมีผ้ ใู ดทุจริ ตในการสอบ จะถูกตัดสิดในการสอบทันที

ชื่อ.........................................นามสกุล.....................................รหัส...................................ห้ อง.........


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 1.จงอธิบายถึงความสาคัญของงานเขียนแบบมาโดยละเอียด ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... 2.วิธีการเขียนแบบในงานก่อสร้ าง มีกี่วิธี อะไรบ้ าง ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................. 3.จงยกตัวอย่างอุปกรณ์เครื่องมือ ที่ใช้ ในงานเขียนแบบมีอะไรบ้ าง ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... 4.จงอธิบายลักษณะของเส้ นที่ใช้ ในงานเขียนแบบ ชื่อของเส้ นที่ใช้ ในการเขียน ลักษณะของเส้ น ตัวอย่ างการใช้ งานของเส้ น แบบ 1. 2. 3. 4. 5. 6.


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 5. ภาพฉายหมายถึง ..................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................. 6. ในการเขียนภาพฉายจากภาพ 3 มิติของชิ ้นงาน มีหลักขั ้นตอนในการเขียนกี่ขั ้นตอน อะไรบ้ าง ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... 7. จากภาพฉาย 3 มิติ จงวาดออกมาในรูปของภาพฉาย 3 ด้ าน


สั ปดาห์ ที่

เนือ้ หาการสอน

หน้ าที่

9

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

8. จากภาพฉาย 3 ด้ าน จงเขียนออกมาในรูปของภาพ OBLIQUE, ISOMETRIC, DIMETRIC ทั ้ง 3 ภาพ 5

10

5

5

10

10

4


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

5


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

9

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

6



เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

บทที่ 6 การเขียนภาพตัด ภาพฉายของชิ ้นส่วนเครื่องจักรกลบางแบบจะมีรายละเอียดภายในซับซ้ อนมาก ทาให้ ขอบของ ชิ ้นงานที่ถกู บังหรือมองไม่เห็นถูกเขียนแทนด้ วยเส้ นประหลายเส้ น ดังตัวอย่างในรูปที่ 6.1 ซึ่งทาให้ มีความ ยุ่งยากในการอ่านภาพ อาจจะส่งผลให้ ช่างผู้ผลิตชิ ้นงานนันท ้ างานผิดพลาดไปจากสิ่งที่ผ้ อู อกแบบต้ องการได้ ดังนันเพื ้ ่อให้ สามารถอ่านแบบหรือดูรายละเอียดแบบชิ ้นงานที่มีความซับซ้ อนได้ ง่ายขึ ้น จึงได้ มีการกาหนด วิธีการเขียนแบบที่เรียกว่า การเขียนภาพตัด (Section) ขึ ้น

รูปที่ 6.1 ตัวอย่ างภาพฉายของชิน้ งานที่มีรายละเอียดภายในที่มองไม่ เห็น การเขียนภาพตัด คือ การเขียนภาพฉายของชิ ้นงาน โดยวิธีการจินตนาการว่าชิ ้นงานได้ ถกู ตัดหรือผ่า ออกให้ เห็นราบละเอียดภายใน แล้ วนาภาพที่มองเห็นจากการจินตนาการมาเขียนเป็ นภาพฉาย ดังตัวอย่างใน รูปที่ 6.2


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

รูปที่ 6.2 ตัวอย่ างการเขียนภาพตัด กฎเกณฑ์ ในการเขียนภาพตัด ในการเขียนภาพตัด จะมีกฎเกณฑ์ในการเขียนดังนี ้ คือ 1. เมื่อมีการตัดชิ ้นงานทางจินตนาการ พื ้นที่ของชิ ้นงานส่วนที่ถกู ตัดจะต้ องแสดงด้ วยการเขียนเส้ น เต็มบางเอียง 45 องศา กับแนวแกนของชิ ้นงาน ดังในรูปที่ 6.3 (ก) 2. เมื่อเขียนเป็ นภาพตัด ให้ ยกเว้ นการเขียนเส้ นประแสดงขอบงานที่ถกู บัง ดังในรูปที่ 6.3 (ข)

รูปที่ 6.3 กฎเกณฑ์ ในการเขียนภาพตัด


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

10

หน้ าที่

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 3. เส้ นเต็มบางเอียง 45 องศา ที่ใช้ แสดงเนื ้อชิ ้นงานที่ถกู ตัด (เส้ นลายตัด) จะต้ องเขียนให้ มีระยะห่างระหว่าง เส้ นแต่ละเส้ นเท่ากันตลอดพื ้นที่ที่ถกู ตัด ชิ ้นงานที่มีพื ้นที่หน้ าตัดแคบระยะห่างของเส้ นลายตัดจะน้ อยกว่า ชิ ้นงานที่มีพื ้นที่หน้ าตัดกว้ าง ดังแสดงในรูปที่ 6.4

รูปที่ 6.4 กฎเกณฑ์ ในการเขียนภาพ 4. ชิ ้นงานที่เป็ นชิ ้นเดียวกัน แม้ วา่ จะอยู่คนละตาแหน่งในเขียนเส้ นเอียงในทิศทางเดียวกัน ดังแสดง ในรูปที่ 6.5 (ก) 5. ชิ ้นงานที่เป็ นคนละชิ ้นประกอบติดกัน ให้ เขียนเส้ นลายในทิศทางตรงกันข้ าม ดังในรูปที่6.5 (ข)

รูปที่ 6.5 กฎเกณฑ์ ในการเขียนภาพ


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

10

หน้ าที่

4

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 6. ชิ ้นงานที่มีหน้ าตัดแคบมากๆ ให้ ใช้ วิธีการระบายดาเต็มหน้ าตัดของชิ ้นงาน ดังในรูป 6.6 (ก) 7. ในการกาหนดขนาดชิ ้นงาน ถ้ าจาเป็ นต้ องเขียนตัวเลขภายในแบบให้ เว้ นเส้ นลายตัดเป็ นช่องว่างไว้ ดังตัวอย่างในรูปที่ 6.6 (ข)

รูปที่ 6.6 กฎเกณฑ์ ในการเขียนภาพ ชนิดของการเขียนภาพ การเขียนภาพตัดที่ใช้ ในงานเขียนแบบ มีอยู่ด้วยกันหลายแบบ คือ 1. การเขียนภาพตัดเต็ม 2. การเขียนภาพตัดครึ่ง 3. การเขียนภาพตัดตามแนวที่กาหนด 4. การเขียนภาพตัดแบบพิเศษ การเขียนภาพตัดแต่ละแบบจะมีความแตกต่างกันออกไปตามวิธีการตัดเพื่อแสดง รายละเอียดและลักษณะของชิ ้นงานที่นามาเขียนภาพฉาย


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

5

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

6.1 การเขียนภาพตัดเต็ม การเขียนภาพตัดเต็ม ( Full Section) เป็ นการเขียนภาพฉายของชิ ้นงาน ที่จินตนาการว่ามีการตัดหรือ ผ่าชิ ้นงานเต็มหน้ า ดังในตัวอย่างรูปที่ 6.7

รูปที่ 6.7 ตัวอย่ างการเขียนภาพตัดเต็ม จากรูปที่ 6.7 ภาพบนซ้ ายเป็ นภาพ 3 มิติ แสดงแนวการตัดชิ ้นงานเต็มหน้ า ภาพบนขวาเป็ นภาพ 3 มิติ ของชิ ้นงานที่ถกู ตัดออกไปตามจินตนาการเหลือเพียงครึ่งเดียว สามารถมองเห็นเนื ้อชิ ้นงานที่ถกู ตัดและ รายละเอียดภายใน ส่วนภาพเป็ นภาพฉายของชิ ้นงานในลักษณะภาพตัดเต็ม


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

6

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

ขัน้ ตอนในการเขียนภาพตัดเต็ม การเขียนภาพตัดเต็ม มีขนตอนในการเขี ั้ ยนดังนี ้ คือ 1. เขียนภาพฉาย 3 ด้ านของชิ ้นงาน (ดูภาพ 3 มิติและภาพฉายของชิ ้นงานในรูปที่ 6.8)

รูปที่ 6.8 มิติและภาพฉาย 3 ด้ านของชิน้ งาน 2. กาหนดแนวการตัดภาพฉายด้ านใดด้ านหนึ่ง ที่ทาให้ สามารถเห็นรายละเอียดภายในของชิ ้นงานได้ โดย เขียนเส้ นศูนย์กลางหนาตรงแนวตัดที่ต้องการ ดังในรูปที่ 6.9 3. เขียนลูกศรชี ้ที่เส้ นศูนย์กลางหนาที่แสดงแนวตัดทังสองข้ ้ าง โดยให้ ปลายหัวลูกศรชี ้ไปในทิศทางที่ต้องการ ให้ เกิดภาพตัด

รูปที่ 6.9 การกาหนดแนวตัดชิน้ งาน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

10

หน้ าที่

7

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 4. จินตนาการภาพที่เกิดขึ ้นจากการตัดชิ ้นงานตามแนวที่กาหนด 5. เปลี่ยนเส้ นประที่เป็ นขอบของรูเจาะภายในเป็ นเส้ นเต็มหนา แล้ วเขียนเส้ นเต็มบางเอียง 45 องศา (เส้ นลาย ตัด) แทนเนื ้อของชิ ้นงานที่ถกู ตัด

รูปที่ 6.10 การเขียนเส้ นขอบรูปและเส้ นลายตัดที่เกิดจากการตัด จากขันตอนในการเขี ้ ยนภาพตัดเต็มที่กล่าวมา สรุปได้ วา่ 1.ภาพตัดชิ ้นงานเพื่อการเขียนภาพเป็ นการตัดชิ ้นงานทางจินตนาการเท่านัน้ ไม่ได้ มีการตัดชิ ้นงาน ออกจริงๆ 2.ภาพตัดจะเกิดขึ ้นในภาพด้ านที่อยู่ตามทิศทางที่ลกู ศรชี ้ในแนวการตัดเท่านัน้ กล่าวคือ ถ้ าแนวการ ตัดอยู่ที่ภาพบน และลูกศรชี ้ไปทางด้ านบนของภาพ ภาพจากการตัดจะไปเกิดที่ภาพด้ านหน้ า ส่วนที่ภาพ ด้ านข้ างจะไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลง 3.ภาพตัดเต็มจะเป็ นการตัดชิ ้นงานเต็มหน้ าตลอดความกว้ างของชิ ้นงาน 4.ขอบของชิ ้นงานที่ถกู บังซึ่งเขียนแทนด้ วยเส้ นประในภาพฉายปกติ จะเปลี่ยนเป็ นเส้ นเต็มหนาเมื่อ เขียนเป็ นภาพตัด 5.เนื ้อของชิ ้นงานที่ถกู ตัดจะเขียนแทนด้ วยเส้ นเต็มบางเอียง 45 องศา


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

8

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

6.2 การเขียนภาพตัดครึ่ง การเขียนภาพตัดครึ่ง ( Half Section) เป็ นการเขียนภาพฉายของชิ ้นงานที่มีจินตนาการว่ามีการตัดหรือ ผ่าชิ ้นงานออกไปครึ่งหนึ่งในภาพฉายหรือ 1 ใน 4 ของชิ ้นงานในภาพ 3 มิติ ดังตัวอย่างในรูปที่ 6.11

รูปที่ 6.11 ตัวอย่ างการเขียนภาพตัดครึ่ง จากรูปที่ 6.11 ภาพบนเป็ นภาพ 3 มิติ และภาพฉายชิ ้นงานตามปกติของชิ ้นงานรูปทรงกระบอกกลวง จะเห็นว่าภาพด้ านหน้ าและด้ านข้ างมีเส้ นประแสดงขอบของรูเจาะภายใน 2 เส้ น ถ้ าจินตนาการว่ามีการผ่า ชิ ้นงานออกไป 1/4 ส่วน ตามแนวเส้ นผ่าศูนย์กลาง ดังแสดงในภาพ 3 มิติ รูปที่ 6.11 ภาพล่างซ้ าย จะทาให้ เกิด เป็ นภาพตัดในภาพฉายด้ านหน้ า ดังในรูปที่ 6.11 ภาพล่างขวา


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

9

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

ขัน้ ตอนในการเขียนภาพตัดครึ่ง การเขียนภาพตัดครึ่ง มีขนตอนในการเขี ั้ ยนดังนี ้ คือ 1. เขียนภาพฉาย 3 ด้ านของชิ ้นงาน

รูปที่ 6.12 ภาพ 3 มิติและภาพฉาย 3 ด้ านของชิน้ งาน 2. กาหนดแนวการตัดที่ภาพฉายด้ านใดด้ านหนึ่งที่ทาให้ สามารถมองเห็นรายละเอียดภายในชิ ้นงานได้ โดยเขียนเส้ นศูนย์กลางหนาตรงแนวตัดที่ต้องการ จากตัวอย่างเลือกกาหนดแนวตัดในภาพด้ านบน 3. เขียนลูกศรชี ้ที่เส้ นศูนย์กลางหนาแสดงแนวตัดทังสองข้ ้ าง โดยให้ ปลายของหัวลูกศรชี ้ไปในทิศทางที่ ต้ องการให้ เกิดภาพตัด

รูปที่ 6.13 การกาหนดแนวตัดชิน้ งาน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

10

หน้ าที่

10

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 4. จินตนาการภาพที่เกิดขึ ้นจากการตัดตามแนวตัดที่กาหนด 5. เปลี่ยนเส้ นประที่เป็ นรูเจาะภายในด้ านที่ถกู ตัดให้ เป็ นเส้ นเต็มหนา แล้ วเขียนเส้ นเต็มบาง เอียง 45 องศา แทนเนื ้อของชิ ้นงานที่ถกู ตัด ส่วนอีกด้ านหนึ่งของรูเจาะที่มองเห็นเป็ นเส้ นประให้ ลบออก ดังใน รูป 6.14

รูปที่ 6.14 การเขียนเส้ นขอบรูปและเส้ นลายตัดที่เกิดจากการตัด จากขันตอนในการเขี ้ ยนภาพตัดด้ วยวิธีการตัดครึ่ง จะพบว่า 1. แนวการตัดในภาพด้ านบนถูกตัดผ่านเส้ นศูนย์กลางในแนวดิ่งและแนวนอนเป็ นมุมฉาก 2. ภาพจากการตัดชิ ้นงานจะเกิดขึ ้นในภาพด้ านหน้ าด้ านขวาเพียงครึ่งเดียว 3. ภาพด้ านข้ างและภาพด้ านบนไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงจากภาพฉายปกติ นอกจากมีเส้ นแสดงแนว ตัดและลูกศรแสดงทิศทางการมองภาพที่เกิดจากการจัด 4. ภาพด้ านหน้ าทางด้ านซ้ ายของเส้ นศูนย์กลางจะมองเห็นรูปร่างภายนอกของชิ ้นงานเหมือนภาพ ฉายปกติแต่ไม่มีเส้ นประ ส่วนทางด้ านขวาของเส้ นศูนย์กลางจะมองเห็นรูเจาะของภายในเป็ น เส้ นเต็มหนา ซึ่งในภาพฉายปกติจะมองเห็นเป็ นเส้ นประ หมายเหตุ จากการที่ภาพด้านหน้าและภาพด้านข้างเหมือนกัน การเขียนภาพฉายของชิ้ นงานสามารถยกเว้น ไม่เขียนภาพด้านข้างได้


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

11

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

กฎเกณฑ์ ในการเขียนภาพตัดครึ่ง เพื่อให้ การเขียนภาพตัดครึ่งเป็ นมาตรฐานเดียวกัน ได้ มีการกาหนดกฎเกณฑ์ในการเขียนภาพตัดครึ่ง ไว้ พอสรุปได้ ดงั นี ้ คือ 1. ภาพตัดที่มีเส้ นศูนย์กลางในแนวดิ่ง ให้ แสดงภาพที่เกิดจากการตัดไว้ ทางด้ านขวาของเส้ น ศูนย์กลางดังตัวอย่างในรูปที่ 6.15 ซ้ าย และภาพตัดที่มีเส้ นศูนย์กลางในแนวนอน ให้ แสดงภาพที่เกิดจากการ ตัดไว้ ทางด้ านล่างของเส้ นศูนย์กลาง ดังตัวอย่างในรูปที่ 6.15 ขวา

รูปที่ 6.15 กฎเกณฑ์ ในการเขียนภาพตัดครึ่ง 2. ในภาพตัดครึ่งไม่ต้องแสดงเส้ นประในภาพซีกที่ไม่ได้ ถกู ตัด และตรงเส้ นแบ่งครึ่งระหว่างซีกที่ถกู ตัด ไม่ต้องเขียนเส้ นเต็มเพื่อแสดงขอบของชิ ้นงาน เนื่องจากเป็ นการตัดทางจินตนาการ

รูปที่ 6.15 กฎเกณฑ์ ในการเขียนภาพตัดครึ่ง


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

10

หน้ าที่

12

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 3. ในการกาหนดขนาดของรูเจาะภายในที่มองเห็นขอบรูเพียงด้ านเดียว ให้ กาหนดขนาดเต็ม โดยใช้ เส้ นช่วย ให้ ขนาดที่มีลกู ศรเพียงข้ างเดียว และเขียนเส้ นช่วยให้ ขนาดมีความยาวเลยเส้ นศูนย์กลางไปพอประมาณ ดัง ในรูปที่ 6.17

รูปที่ 6.17 กฎเกณฑ์ ในการเขียนภาพตัดครึ่ง

การเลือกเขียนภาพตัดเต็มและภาพตัดครึ่ง การแสดงรายละเอียดภายในของชิ ้นงาน บางครัง้ อาจใช้ การเขียนภาพตัดแบบตัดเต็ม หรือบ้ างครัง้ อาจใช้ การเขียนภาพตัดแบบตัดครึ่ง ทังนี ้ ้ขึ ้นอยู่กบั ลักษณะรูปร่างของชิ ้นงานและความต้ องการในการแสดง รายละเอียด ซึ่งมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาดังต่อไปนี ้ 1. ถ้ าชิ ้นงานมีรูปร่างสมมาตรกัน เช่น ชิ ้นงานรูปทรงกระบอก และต้ องการแสดง รายละเอียดผิวนอกของชิ ้นงานด้ วย ให้ เลือกการเขียนภาพตัดแบบตัดครึ่งจะเหมาะสมกว่า แต่ถ้าไม่ต้องการ แสดงรายละเอียดภายนอกแต่ก็สามารถเขียนภาพตัดแบบตัดเต็มได้ (ดูตวั อย่างในรูปที่ 6.18 ภาพล่าง) 2. ถ้ าชิ ้นงานมีรูปร่างไม่สมมาตรกัน ให้ ใช้ วิธีการเขียนภาพตัดแบบตัดเต็ม เนื่องจากการ เขียนภาพตัดแบบตัดครึ่งจะใช้ ได้ กบั ชิ ้นงานที่มีรูปร่างสมมาตรกันเท่านัน(ตั ้ วอย่างในรูปที่ 6.18 ภาพล่าง) หมายเหตุ ชิ้ นงานที่มีรูปร่างสมมาตรกัน หมายถึง ชิ้ นงานที่มีพื้นที่สองข้างของเส้นศูนย์กลางเท่ากัน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

รูปที่ 6.18 ตัวอย่ างภาพชิน้ งานที่เขียนด้ วยวิธีตัดครึ่งและตัดเต็ม

13


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

14


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

15


ใบงาน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

10

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

16



เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

6.3 การเขียนภาพตัดตามแนวที่กาหนด การเขียนภาพตัดตามแนวที่กาหนด หรือการเขียนภาพตัดแบบออฟเซต ( Offset Section) เป็ นการ เขียนภาพตัดตามแนวที่ต้องการรายละเอียดของชิ ้นงาน เนื่องจากชิ ้นงานบางแบบมีรายละเอียดมาก ทาให้ การเขียนภาพตัดด้ วยวิธีตดั เต็มหรือตัดครึ่งไม่สามารถแสดงรายละเอียดได้ หมด และหากเขียนเป็ นภาพฉาย ปกติก็จะมีเส้ นประเกิดขึ ้นจานวนมาก ซึ่งอาจทาให้ เกิดความสับสนในการอ่านแบบได้

รูปที่ 6.19 ตัวอย่ างภาพหน้ าตัดเต็มของชิน้ งานที่มีรายละเอียดมาก จากรูปที่ 6.19 เป็ นตัวอย่างภาพฉายของชิ ้นงานที่มีรายละเอียดมาก หากเขียนภาพด้ วยวิธีหน้ าตัด เต็มจะไม่สามารถแสดงรายละเอียดภายในได้ หมด เนื่องจากแนวตัดเป็ นเส้ นตรงไมได้ ผา่ นจุดที่ต้องการแสดง รายละเอียดทังหมด ้ การเขียนภาพตัดตามแนวที่กาหนดหรือการเขียนภาพตัดแบบออฟเซตจะสามารถ แก้ ปัญหานี ้ได้ เนื่องจากสามารถกาหนดแนวการตัดจุดที่ต้องการแสดงรายละเอียดของชิ ้นงานได้



เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

ขัน้ ตอนในการเขียนภาพตัดตามแนวที่กาหนด จากภาพของชิ ้นงานในรูปที่ 6.19 นามาเขียนเป็ นภาพตัดตามแนวที่กาหนด ตามขันตอนดั ้ งต่อไปนี ้ 1. กาหนดแนวตัดไปยังตาแหน่งที่ต้องการแสดงรายละเอียด โดยลากแนวตัดผ่านแนวศูนย์กลางของ รูเจาะที่ต้องการแสดงรายละเอียดภายใน แต่เนื่องจากรูเจาะที่ 1, 2 และ 3 ไม่ได้ อยู่ในแนวเดียวกัน ให้ ลากเส้ น หักเป็ นมุมฉากมายังรูที่ 2 และ 3 ตามลาดับ ดังแสดงในรูปที่ 6.20 2. เขียนลูกศรแสดงทิศทางการมองภาพที่เส้ นศูนย์กลางหนา บริเวณขอบชิ ้นงานทังสองข้ ้ าง

รูปที่ 6.20 ตัวอย่ างการเขียนภาพตัดแบบตัดตามแนวที่กาหนด


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

11

หน้ าที่

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 3. จินตนาการภาพที่เกิดจากการตัดตามแนวที่กาหนด จะได้ ภาพตัดที่เกิดขึ ้นเหมือนกับมีภาพตัดเต็มผ่าน รูเจาะ 3 รู มาต่อกัน ดังแสดงในรูปที่ 6.21

รูปที่ 6.21 ภาพที่ได้ จากการจินตนาการตัดชิน้ งานตามแนวที่กาหนด จากรูปที่ 6.21 จะเห็นว่ามีเส้ นขอบแนวตัดที่หกั มุมฉากเกิดขึ ้น 2 เส้ น แต่เนื่องจากการตัดชิ ้นงานเป็ น การตัดทางจินตนาการจึงยกเว้ นไม่ต้องเขียนเส้ นขอบการหักมุมของแนวตัดนี ้ ก็จะได้ ภาพดังแสดงในรูปที่ 6.22

รูปที่ 6.22 ภาพตัดที่ได้ จากการเขียนภาพตัดแบบตัดตามแนวที่กาหนดหรือออฟเซต


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

4


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

5


ใบงาน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

11

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

5



เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

12

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

ไม่ มี

1



เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

13

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

6.4 การเขียนภาพตัดแบบพิเศษ จากหลักการเขียนภาพตัดทัง้ 3 แบบที่กล่าวมาข้ างต้ น จะเห็นว่าชิ ้นงานที่มีรูปร่างและรายละเอียดที่ ต้ องการแสดงแตกต่างกันจะใช้ วิธีการเขียนภาพตัดต่างกัน อย่างไรก็ตามยังมีชิ ้นงานบางแบบที่ต้องใช้ วิธีการ เขียนภาพตัดที่พิเศษแตกต่างออกไปอีก เพื่อให้ สามารถแสดงรายละเอียดภายในชิ ้นงานได้ อย่างเหมาะสม มากที่สดุ

6.4.1 การเขียนภาพตัดเฉพาะส่ วน ชิ ้นงานบางแบบมีรายละเอียดภายในที่มีขนาดเล็ก เช่น เพลาที่มีรูเจาะนาศูนย์ เพลาที่มีร่องลิ่ม ชิ ้นงานที่เจาะรูทาเกลียวใน ฯลฯ ซึ่งไม่จาเป็ นต้ องผ่าชิ ้นงานเต็มหน้ าก็สามารถแสดงรายละเอียดนันได้ ้ ดังนัน้ จึงมีการเขียนภาพตัดเฉพาะตาแหน่งที่ต้องการแสดงรายละเอียด ที่เรียกว่า การเขียนภาพตัดเฉพาะส่วน (Broken-out Section) ดังแสดงในรูปที่ 6.23

รูปที่ 6.23 การเขียนภาพตัดแบบตัดเฉพาะส่ วน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

13

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

6.4.2 การเขียนภาพตัดหมุนโค้ ง ชิ ้นงานในบางลักษณะ เช่น หน้ าแปลนที่มีรูเจาะ 3 รู การเขียนภาพตัดแบบตัดเต็มหรือตัดครึ่งจะไม่ สามารถแสดงรายละเอียดภายในได้ เหมาะสม ดังนันจึ ้ งจาเป็ นต้ องใช้ วิธีการตัดแบบพิเศษที่เรียกว่า การเขียน ภาพตัดหมุนโค้ ง ( Revolved Section) โดยกาหนดให้ แนวตัดผ่านรูเจาะที่อยู่ในแนวดิ่งมายังจุดศูนย์กลางของ หน้ าแปลนแล้ วหักเป็ นมุม 120 องศา คล้ ายกับการเขียนภาพัดแบบออฟเซต แต่จะแตกต่างกันที่รูหมุนเจาะที่ อยู่ในแนว 120 องศากับแนวดิ่งลงไปอยู่ในแนว 180 องศาหรือแนวดิ่ง แล้ วจึงจินตนาการภาพที่เกิดจากการตัด ซึ่งจะได้ ภาพตัดดังแสดงในรูปที่ 6.24 ล่าง

รูปที่ 6.24 การเขียนภาพตัดแบบหมุนโค้ ง


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

13

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

6.4.3 การเขียนภาพตัดแบบหมุนข้ าง ชิ ้นงานที่มีรูปร่างเรียวและมีหน้ าตัดเป็ นรีบโค้ ง หรือมีปีก ดังในรูปที่ 6.25 จะใช้ วิธีการแสดงหน้ าตัด ของชิ ้นงานด้ วยการเขียนภาพตัดแบบพิเศษที่เรียกว่า การตัดแบบหมุนข้ าง ( Rotated Section) การแสดงหน้ า ตัดของชิ ้นงานจะเขียนไว้ ภายในรูปชิ ้นงานแล้ วหมุนข้ างให้ เห็นเนื ้อของชิ ้นงานที่ถกู ตัด

รูปที่ 6.25 การเขียนภาพตัดแบบหมุนข้ าง

6.4.4 การเขียนภาพตัดประกอบ ภาพตัดประกอบ ( Auxiliary Section) เป็ นภาพตัดที่ใช้ แสดงพื ้นที่หน้ าตัดของชิ ้นงานซึ่งไม่ได้ เขียนอยู่ ในแนวระดับหรือแนวดิ่ง การเขียนแนวการตัดจะอยู่ในแนวตังฉากกั ้ บหน้ าตัดของชิ ้นงาน ภาพตัดที่เกิดจะอยู่ ในทิศทางของลูกศร ดังในรูปที่ 6.26

รูปที่ 6.26 การเขียนภาพตัดประกอบ


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

13

4

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

6.4.5 การเขียนภาพตัดแยกออก ชิ ้นงานที่มีหน้ าตัดหลายแบบในชิ ้นเดียวกัน เราสามารถแสดงหน้ าตัดของชิ ้นงานในตาแหน่งต่างๆ ได้ ด้ วยวิธีการตัดแยกออก ( Removed Section) ซึ่งคล้ ายกับวิธีการตัดเต็ม คือ กาหนดแนวตัด ณ ตาแหน่งที่ ต้ องการแสดงรายละเอียดของพื ้นที่หน้ าตัด แต่ภาพของชิ ้นงานที่เกิดขึ ้นไม่ต้องเขียนในภาพฉายด้ านที่อยู่ใน ทิศทางของลูกศร ให้ แยกออกไปเขียนที่อื่นได้ ดังแสดงในรูปที่ 6.27

รูปที่ 6.27 การเขียนภาพตัดแบบแยกออก นอกจากชิ ้นงานที่ต้องการใช้ การแสดงด้ วยวิธีการเขียนภาพตัดแบบพิเศษทัง้ 5 แบบแล้ ว ยังมีชิ ้นงาน บางรูปแบบเช่น ชิ ้นงานาที่มีครีบเสริมแรง ล้ อสายพานที่มีซี่ แผ่นงานที่ยึดด้ วยสลักหรือโบลต์ (สลักเกลียว) แผ่นงานที่ยึดด้ วยหมุดย ้า ลิ่มที่สวมอยู่ในร่องลิ่ม ฯลฯ การเขียนภาพตัดจะไม่ใช้ กฎเกณฑ์ตา่ งๆ ดังที่กล่าวมา การเขียนจะอาศัยหลักให้ สามารถดูรายละเอียดของชิ ้นงานส่วนง่ายๆ ดังในรูปที่ 6.28 จากรูปที่ 6.28 (ก) เป็ นภาพของชิ ้นงานที่มีครีบเสริมความแข็งแรง ภาพตัดของชิ ้นงานในภาพด้ านข้ าง แนวการตัดจะไม่ตดั ผ่านกลางครีบเหมือนการตัดเต็ม แนวตัดผ่านรูเจาะและหักมุมมาทางด้ านหน้ าของครีบ สันกลาง ถ้ าเขียนเป็ นภาพตัดเต็มจะได้ ภาพตัดดังแสดงในภาพขวามือ จากรูปที่ 6.28 (ข) เป็ นภาพล้ อสายพานที่มีซี่วงล้ อ 5 ซี่ ภาพตัดของชิ ้นงานในภาพด้ านข้ างจะมองเห็นหน้ าตัด ของวงล้ อ ช่องว่างของซี่ล้อ และรูเจาะสาหรับรวมเพลาตรงกลาง หากเป็ นการเขียนภาพตัดเต็มจะได้ ภาพดัง ในรูปข้ างๆ ซึ่งจะดูไม่สวยงามและมีรายละเอียดไม่ชดั เจน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

13

5

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

รูปที่ 6.28 ตัวอย่ างการเขียนภาพตัดของชิน้ งานแบบพิเศษ จากรูปที่ 6.28 (ค) เป็ นภาพของแผ่นงานสองชิ ้นงานถูกยึดติดกันด้ วยหมุดย ้า การเขียนภาพตัดจะตัด เฉพาะแผ่นงานเท่านัน้ จะไม่ตดั ผ่านหมุดย ้า เพราะจะทาให้ ดแู บบยากและไม่สวยงาม สาหรับงานที่ยึดกัน ด้ วยสลักหรือสลักเกลียวก็จะเขียนเหมือนกัน จากรูปที่ 6.28 (ง) เป็ นภาพลิ่มสวมอยู่ภายในเพลาและเฟื อง การเขียนภาพตัดจะตัดเฉพาะเฟื องและ เพลาตรงที่มีร่องลิ่มแต่จะไม่ตดั ผ่านลิ่ม ซึ่งทาให้ สามารถแยกแยะชิ ้นส่วนที่ประกอบเข้ าด้ วยกันได้ ง่ายขึ ้นกว่า การตัดเต็ม


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

13

6

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

6.4.6 การเขียนภาพตัดแบบย่ อส่ วน ในการเขียนแบบชิ ้นงานที่มีหน้ าตัดเหมือนกันตลอดและมีความยาวมากๆ กระดาษเขียนแบบที่ใช้ อาจมีพื ้นที่ไม่พอเขียน ดังนันเพื ้ ่อให้ สามารถเขียนแบบชิ ้นงานลักษณะนี ้ลงในกระดาษเขียนแบบได้ ให้ ทาการ ย่อความยาวของชิ ้นงานให้ สนลง ั ้ โดยการตัดย่อส่วนตรงกลางของชิ ้นงานออกให้ เหลือเฉพาะส่วนหัวและท้ าย แล้ วเขียนเส้ นแสดงการย่อ ดังตัวอย่างในรูปที่ 6.29 ส่วนกาหนดความยาวของชิ ้นงานให้ เขียนตัวเลขตามความ ยาวจริง

รูปที่ 6.29 การเขียนภาพตัดแบบย่ อส่ วน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

13

หน้ าที่

7

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี จากหลักและวิธีการเขียนภาพตัดที่กล่าวมาทังหมด ้ จะเห็นว่า การเขียนภาพตัดแต่ละแบบนันขึ ้ ้นอยู่กบั องค์ประกอบหลายประการ คือ 1. ลักษณะรูปร่างของชิ ้นงาน 2. ความต้ องการในการแสดงรายละเอียด 3. ความสะดวกในการเขียนภาพ 4. ความง่ายต่อการอ่านภาพ 5. ความต้ องการในการแยกแยะชิ ้นส่วนที่ประกอบกันให้ ชดั เจน


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

13

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

8


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

13

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

9


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

13

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

10



เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

14

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

บทที่ 7 มาตรฐานในการเขียนแบบ เพื่อให้ ผ้ เู ขียนแบบและผู้อา่ นแบบมีความเข้ าใจตรงกัน หน่วยงายมาตรฐานสากลได้ มีการกาหนด มาตรฐานต่างๆ ขึ ้นมาเพื่อให้ ผ้ อู อกแบบใช้ ในการเขียนแบบ เช่น ขนาดของกระดาษเขียนแบบ ขนาดของเส้ น ขนาดของตัวอักษรการกาหนดขนาดในแบบงาน การกาหนดผิว เป็ นต้ น

7.1 ขนาดของกระดาษเขียนแบบ ตามมาตรฐานเยอรมัน DIN (Deutsche) ซึ่งมีความคล้ ายคลึงกับมาตรฐานสากล ISO (International Standardizing Organization) ได้ มีการกาหนดมาตรฐานของกระดาษเขียนแบบไว้ โดยเขียนแทนด้ วยอักษร A ตามด้ วยตัวเลข 0-6 เช่น กระดาษขนาด A4 ขนาดของกระดาษจะเริ่มที่ A0 ที่มีขนาดใหญ่ที่สดุ จนถึงขนาด A6 ซึ่งมีขนาดเล็กที่สดุ ดังแสดงในตาราง 7.1

จากตารางที่ 7.1 กระดาษขนาด A0 จะมีความกว้ าง 841 มม.ยาว 1189 มม. ซึ่งมีพื ้นที่เท่ากับ 1 ตาราง (0.841 เมตร x 1.189 เมตร = 1 ตารางเมตร) และกระดาษเขียนแบบมีอตั ราส่วนความกว้ างต่อความ ยาว ประมาณ 1 : 1.4142 หรือ 1: / 2 (841 : 1189 = 1 : 1.4142)


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

14

หน้ าที่

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี กระดาษขนาด A1 จะมีขนาดเป็ นครึ่งหนึ่งของขนาด AO, ขนาด A2 มีขนาดครึ่งหนึ่งของ A1 ขนาด A3 มีขนาดครึ่งหนึ่งของขนาด A2 , ขนาด A4 มีขนาดเป็ นครึ่งหนึ่งของ A3, ขนาด A5 มีขนาดครึ่งหนึ่งของ A4, และขนาด A6 มีขนาดครึ่งหนึ่งของ A5 ซึ่งเท่ากับว่า AO เมื่อเท่ากับพับครึ่งไปเรื่อย ๆ ก็จะได้ ขนาดต่อไป เป็ น A1,A2,A3,A4,A5, และ A6 ตามลาดับ ดังในรูปที่ 7.1

รูปที่ 7.1 ความสัมพันธ์ ของขนาดต่ างๆ

7.2 มาตราส่ วนที่ใช้ ในงานเขียนแบบ แม้ วา่ กระดาษเขียนแบบอยู่หลายขนาดตังแต่ ้ AO ถึงขนาด A6 ก็ตาม การเขียนแบบลงใน แบบงานก็ยงั ไม่สามารถใช้ ขนาดจริงของชิ ้นงานได้ ทกุ กรณี เนื่องจากบางครัง้ ชิ ้นงานที่นามาเขียนนันมี ้ ขนาด ใหญ่กว่ากระดาษของกระดาษเขียนแบบมาก ทาให้ ไม่สามารถเขียนภาพของชิ ้นงานลงในกระดาษที่มีอยู่ได้ และบางครัง้ ชิ ้นงานก็มีขนาดเล็กมากจนเขียนรูปภาพได้ ยาก หรือภาพที่เขียนมีขนาดไม่เหมาะสมกับเนื ้อที่ของ กระดาษ ทาให้ มองดูแล้ วไม่สวยงาม ดังนันในการเขี ้ ยนแบบงานจึงต้ องมีการย่อหรือขยายภาพจากขนาดจริง ของจริงให้ มีความเหมาะสมกับขนาดของกระดาษ และมีขนาดโตพอที่จะเขียนได้ ง่าย การย่อและขยายภาพได้ มีการกาหนดมาตราส่วนไว้ เป็ นมาตรฐานไว้ ดงั นี ้ 1. ขนาดย่อ ใช้ มาตราส่วน 1:2.5, 1:5, 1:20, 1:50, 1:100, 1:200, 1:500 และ 1:1000 2. ขนาดขยาย ใช้ มาตราส่วน 2:1 5:1 และ 10:1 หมายเหตุ มาตราส่วน ที่ไม่มีการย่อหรือขยาย คือ 1:1


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

14

หน้ าที่

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี ความหมายของมาตราส่วน - ตัวเลขหน้ า หมายถึง ขนาดที่ต้องเขียนลงในแบบงาน - ตังเลขตังหลัง หมายถึง ขนาดจริงของชิ ้นงาน ตัวอย่างเช่น ชิ ้นงานจริงมีขนาดความกว้ างเท่ากับ 50 มม. และยาว 1000 มม. เมื่อเขียนด้ วย มาตราส่วนย่อ 1:10 ขนาดของภาพที่เขียนลงในแบบจะเหลือความกว้ างเท่ากับ 50 มม.( 500/10) และมีความ ยาวเท่ากับ 100 มม. ( 1000/10) ซึ่งมีขนาดเล็กลง 10 เท่า และในตรงกันข้ ามหากชิ ้นงานมีขนาดเล็ก เช่น มี ความกว้ าง 2 มม. และยาว 5 มม. เมื่อเขียนด้ วยมาตราส่วน 10:1 ขนาดของภาพที่เขียนจะมีขนาดเท่ากับ 20 มม. ( 2*10) และมีความยาวเท่ากับ 50 มม. (5*10) ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าชิ ้นงานจริง 10 เท่า

7.3 ขนาดของเส้ นที่ใช้ ในงานเขียนแบบ เนื่องจากเส้ นที่ใช้ ในงานเขียนแบบมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด เช่น เส้ นเต็ม เส้ นประ เส้ นศูนย์กลาง เส้ น มือเปล่า ซึ่งเส้ นแต่ละชนิดจะมีการใช้ งานที่แตกต่างกัน และยังเขียนลงในกระดาษเขียนแบบที่มีขนาด แตกต่างกัน ดังนันเส้ ้ นต่างๆ เหล่านี ้จะมีขนาดที่เหมาะสมเพื่อให้ สามารถแยกแยะรายละเอียดได้ ชดั เจนและ อ่านแบบได้ ง่าย ตามมาตรฐาน DIN ได้ กาหนดขนาดของเส้ นไว้ ดงั แสดงในตารางที่ 7.2

จากตารางที่ 7.2 หากเราเลือกใช้ เส้ นเต็มหนาที่มีความหนาเส้ น 0.50 มม. เส้ นศูนย์กลางหนาจะมี ขนาด 0.50 มม. เส้ นประมีขนาด 0.35 มม. เส้ นเต็มบางมีขนาด 0.25 มม. เส้ นศูนย์กลางบางและเส้ นมือเปล่า มีขนาด 0.25 มม. (ดูจากช่องที่แลเงาไว้ ในแนวดิ่ง)


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

14

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

4



เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

15

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

7.4 ขนาดของตัวอักษรที่ใช้ ในงานเขียนแบบงาน ขนาดของตัวอักษรที่ใช้ ในงานเขียนแบบงาน ตามาตรฐาน DIN หรือ ISO ได้ มีการกาหนดเอาไว้ ดงั แสดงในตารางและรูปที่ 7.2

รูปที่ 7.2 ขนาดต่ าง ๆ สาหรับเขียนตัวอักษร ตังเลข และเครื่องหมายประกอบตัวอักษร จากรูปที่ 7.2 ตามาตรฐาน ISO ได้ กาหนดค่าต่างๆ ในการเขียนตัวอักษรไว้ ดงั นี ้คือ 1. ความสูงตัวอักษรใหญ่ใช้ เท่ากับ h 2. ความสูงตัวอักษรเล็กใช้ ขนาด 7/10 h หรือ 0.7 h 3. ระยะห่างระหว่างบรรทัดเท่ากับ 16/10 h หรือ 1.6 h 4. ช่องว่างระหว่างตัวอักษรเล็กเท่ากับ 0.2 h 5. เว้ นวรรคช่องว่างระหว่างคาเท่ากับ 0.6 h 6. ความหนาของตัวอักษรเท่ากับ 0.1 h 7. ความยาวส่วยล่างของตัวอักษรเท่ากับ 0.3 h 8. ถ้ าเป็ นตัวอักษรเอียงให้ เอียงจากแนวดิ่งไปทางขวา 15 องศา


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

15

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

7.5 การกาหนดขนาดชิน้ งานในแบบ ในการกาหนดขนาดชิ ้นงานในแบบงานจะประกอบด้ วยส่วนที่สาคัญที่จะต้ องเขียนลงในแบบ คือ เส้ น ช่วยให้ ขนาด เส้ นให้ ขนาดและลูกศร ตังเลขขนาด ดังแสดงในรูป 7.3

รูปที่ 7.3 ส่ วนประกอบของการกาหนดขนาด ในการกาหนดขนาด ตามมาตรฐาน DIN ได้ มีการกาหนดกฎเกณฑ์ตา่ งๆ ในการเขียนไว้ ดงั นี ้ 1. เส้ นช่ วยให้ ขนาด (Extension Line) การเขียนเส้ นช่วยให้ มีขนาดกฎเกณฑ์ดงั นี ้ 1.1 ใช้ เส้ นเต็มบางในการเขียนเส้ นช่วยให้ ขนาด และต้ องลากเส้ นช่วยให้ ขนาดให้ ยางเลยเส้ นที่ กาหนดขนาด (หัวลูกศร) ออกไปประมาณ 1-2 มม. 1.2 ไม่ควรลากเส้ นช่วยให้ ขนาดจากภาพฉายด้ านหนึ่งข้ ามไปยังภาพฉายอีกด้ านหนึ่ง 1.3 เส้ นศูนย์กลางสามารถใช้ เป็ นเส้ นช่วยให้ ขนาดได้ แต่ต้องลากเส้ นนี ้ออกนอกขอบรูป แล้ วต่อด้ วย เส้ นเต็มบาง (รูปที่ 7.4)

รูปที่ 7.4 กฎเกณฑ์ ในการเขียนเส้ นช่ วยให้ ขนาด


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

15

หน้ าที่

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 1.4 เส้ นช่วยให้ ขนาดต้ องเขียนให้ ขนานกันและตังฉากกั ้ บเส้ นที่กาหนดขนาด ยกเว้ นบางกรณีให้ เขียนทามุม 60 องศากับเส้ นที่กาหนดขนาดได้ (ดูรูปที่ 7.5)

รูปที่ 7.5 กฎเกณฑ์ ในการเขียนเส้ นช่ วยให้ ขนาด 2. เส้ นให้ ขนาด (Dimension Line) การเขียนเส้ นให้ มีขนาดกฎเกณฑ์ดงั นี ้ 2.1 ใช้ เส้ นเต็มบางในการเขียนเส้ นให้ ขนาดและมีลกู ศรอยู่ท้ายหัวของเส้ น 2.2 เส้ นให้ ขนาดต้ องขนานและมีความยาวเท่ากับขนาดของชิ ้นงาน ถ้ าเป็ นความยาวของส่วนโค้ ง เขียนสัญลักษณ์ ไว้ เหนือตัวเลขขนาด

รูปที่ 7.6 กฎเกณฑ์ ในการเขียนเส้ นให้ ขนาด


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

15

หน้ าที่

4

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 2.3 เส้ นให้ ขนาดต้ องลากให้ ยาวติดต่อกันและมีตวั เลขให้ ขนาดอยู่เหนือเส้ นให้ ขนาด 2.4 เส้ นให้ ขนาดเส้ นแรกควรห่างจากแบบงานไม่น้อยกว่า 8 มม. และเส้ นให้ ขนาดเส้ นต่อไปให้ เขียน ห่างจากกันอย่างน้ อย 5 มม. หมายเหตุ ภาพที่มีขนาดใหญ่ควรเขียนเส้ นให้ ขนาดให้ มีระยะห่างของเส้ นมากกว่าในภาพขนาดเล็ก เส้ นให้ ขนาดสามารถเขียนลงในแบบงานได้ ถ้ าเขียนแล้ วเหมาะสมและดูแบบได้ ง่าย เส้ นให้ ขนาดที่สนที ั ้ ่สดุ ควรอยู่ใกล้ กบั แบบมากที่สดุ เพราะจะทาให้ เส้ นช่วยขนาดไม่ตดั กัน ไม่ใช้ เส้ นศูนย์กลางมาเป็ นเส้ นขนาน เส้ นให้ ขนาดจะต้ องไม่เขียนต่อจากขอบของชิ ้นงาน

รูปที่ 7.7 กฎเกณฑ์ ในการเขียนเส้ นให้ ขนาด


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

15

หน้ าที่

5

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 3. หัวลูกศร การเขียนหัวลูกศรมีดงั นี ้ 3.1 หัวลูกศร ต้ องเขียนให้ เป็ นมุม 45 องศา และมีความยาวประมาณ 5 เท่าของความหนาของเส้ น ขอบรูป เช่น เส้ นขอบรูปมีความหนา 0.05 มม. ลูกศรจะยาวประมาณ 2.5 มม. 3.2 ช่องว่างระหว่างเส้ นช่วยให้ ขนาดที่มีความยาวเกิน 10 มม. ขึ ้นไป หัวลูกศรควรอยู่ในด้ านในและชี ้ ออกด้ านนอก 3.3 ช่องว่างระหว่างเส้ นช่วยให้ ขนาดที่มีความยาวน้ อยกว่า 10 มม. ลงมา หัวลูกศรควรอยู่ด้านนอกชี ้ เข้ าด้ านในและมีเส้ นให้ ขนาดเชื่อมโยงระหว่างหัวลูกศร 3.4 กรณีที่ต้องให้ ขนาดสันๆ ้ ติดต่อกัน ให้ ใช้ จดุ แทนหัวลูกศร 3.5 ปลายของหัวลูกศรจะต้ องไม่สมั ผัสกับมุมของชิ ้นงาน

รูปที่ 7.8 กฎเกณฑ์ ในการเขียนหัวลูกศร


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

15

หน้ าที่

7

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 4. ตัวเลขขนาด การเขียนตัวเลขขนาดชิ ้นงาน มีกฎเกณฑ์ในการเขียนดังนี ้ 4.1 ในงานแบบเดียวกัน ตัวเลขที่ใช้ ต้องเป็ นมาตรฐานเดียวกันและมีความสูงเท่ากันตลอดทังแบบ ้ งาน 4.2 ตัวเลขต้ องมีความสูงไม่น้อยกว่า 3.5 มม. 4.3 ตัวเลขขนาดจะต้ องวางไว้ บนเส้ นให้ ขนาดบริเวณกึ่งกลางของเส้ นให้ ขนาด 4.4 การเขียนตัวเลขขนาดต้ องสามารถอ่านได้ จากด้ านล่างและด้ านขวาของแบบงาน 4.5 ห้ ามเขียนเส้ นใดๆ ตัดผ่านตัวเลขขนาด 4.6 ตัวเลขที่อยู่ในพื ้นที่ที่ถกู ตัดให้ เว้ นลายตัดเป็ นช่องว่างไว้ สาหรับเขียนตัวเลข 4.7 ตัวเลขขนาดที่ไม่ถกู ต้ องตามาตราส่วนให้ ขีดเส้ นใต้ ที่ตวั เลขขนาดนันๆ ้ 4.8 ตัวเลขขนาดที่ผ้ สู งั่ งานต้ องการตรวจสอบเป็ นพิเศษให้ เขียนวงล้ อมรอบเอาไว้

รูปที่ 7.9 กฎเกณฑ์ ในการเขียนตัวเลขขนาด


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

15

หน้ าที่

8

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 5. การกาหนดขนาดที่เหมาะสม การกาหนดขนาดต่างๆ ขนาดชิ ้นงาน ควรปฏิบตั ิดงั นี ้ 5.1 ในภาพฉาย 3 ด้ าน ที่ต้องกาหนดขนาด หากเป็ นขนาดที่ต้องกาหนดขนาดเดียวกันให้ กาหนด ขนาดเพียงจุดเดียว ณ ภาพที่เห็นได้ ชดั ที่สดุ 5.2 ไม่ควรกาหนดขนาดกับของงานที่เป็ นเส้ นประ 5.3 ควรหลีกเลี ้ยงการกาหนดชิ ้นงานแบบลูกโซ่ เพราะจะทาให้ ชิ ้นงานที่ผลิตมีขนาดคลาดเคลื่อนมาก

รูปที่ 7.10 การกาหนดขนาดที่เหมาะสม


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

15

หน้ าที่

9

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 6. เส้ นบรรทัดฐาน เป็ นเส้ นช่วยให้ ขนาดในแบบงาน ที่ใช้ เป็ นจุดเริ่มต้ นหรือเป็ นจุดอ้ างอิงในการทางานให้ ได้ ชิ ้นงานตามแบบ ในการผลิตชิ ้นงานจะใช้ ขอบของชิ ้นงานด้ านใดด้ านหนึ่ง หรือใช้ เส้ นศูนย์กลางของชิ ้นงาน เป็ นจุดเริ่มต้ นหรือเป็ นหลักในการทางาน เส้ นช่วยให้ ขนาดขอบของชิ ้นงานด้ านที่ใช้ เป็ นเส้ นบรรทัดฐานจะมีหวั ลูกศรของเส้ นให้ ขนาดเส้ นมาสิ ้นสุดที่เส้ นนี ้ ดังตัวอย่างในรูปที่ 7.11

รูปที่ 7.11 ตัวอย่ างการใช้ เส้ นบรรทัดฐาน การเขียนเส้ นบรรทัดฐาน มีกฎเกณฑ์ดงั นี ้ 6.1 ด้ านของชิ ้นงานที่เป็ นด้ านหลักในการทางาน เมื่อกาหนดขนาดให้ ใช้ เส้ นช่วยให้ ขนาดจากขอบงานด้ านนี ้ เป็ นเส้ นบรรทัดฐาน 6.2 ชิ ้นงานที่มีเส้ นศูนย์กลาง หรือพื ้นที่ทงสองข้ ั้ างเส้ นศูนย์กลางเท่ากัน (symmentry) ให้ ใช้ เส้ นศูนย์กลางเป็ น เส้ นบรรทัดฐาน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

15

หน้ าที่

10

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 7. การกาหนดขนาดมุม ในกรณีที่ชิ ้นงานมีลกั ษณะเป็ นมุม การกาหนดขนาดมุมมีกฎเกณฑ์ดงั นี ้ 7.1 เส้ นกาหนดขนาดมุมจะต้ องเป็ นส่วนโค้ งที่มีจดุ ศูนย์กลางอยู่ตรงจุดที่ปลายเส้ นบรรจบกันเป็ นมุม ดังในรูปที่ 7.12 (ก) 7.2 การเขียนเส้ นให้ ขนาดมุมต้ องเขียนให้ ปลายของลูกศรชนกับขอบของงาน หรือต่อเส้ นช่วยให้ ขนาดออกจากขอบงานก็ได้ ดังในรูปที่ 7.12 (ข) 7.3 การกาหนดขนาดมุมต้ องกาหนดระหว่างเส้ นขอบรูปสองเส้ นที่ประกอบกันเป็ นมุม ดังในรูปที่ 7.12 (ค) 7.4 ขอบงานมีลกั ษณะเป็ นมุมแต่เส้ นขอบงานไม่บรรจบกัน ให้ เขียนเส้ นเต็มบางต่อออกจากเส้ น ขอบงานทังสองให้ ้ บรรจบกันเป็ นมุม ดังในรูปที่ 7.12 (ง)

รูปที่ 7.12 การกาหนดขนาดมุม


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

15

หน้ าที่

11

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 7.5 มุมของชิ ้นงานที่อยู่ในแนวดิ่งหรือแนวระดับจะต้ องเขียนเส้ นศูนย์กลางแบ่งครึ่งมุมด้ วย ดังในรูปที่ 7.13 (ก) 7.6 กรณีที่มมุ ของชิ ้นงานไม่ได้ อยู่ในแนวระดับหรือแนวดิ่ง ขอบงานด้ านที่เอียงเข้ าด้ านใดด้ านหนึ่ง จะต้ องกาหนดขนาดมุมเอาไว้ กบั ขอบด้ านที่อยู่ในแนวดิ่งหรือแนวระดับด้ วย ดังในรูปที่ 7.13 (ข) 7.7 การกาหนดขนาดมุมที่เหนือและใต้ เส้ นผ่านศูนย์กลางในแนวระดับ ให้ เขียนตัวเลขดังแสดงในรูปที่ 7.13 (ค) และหลีกเลี ้ยงการกาหนดขนาดมุมบริเวณที่แรเงาไว้ เนื่องจากจะอ่านตัวเลขได้ ยาก 7.8 การกาหนดมุมของชิ ้นงานที่มีลกั ษณะเป็ นการลบคม หรือผายปากรู ให้ กาหนดมุมด้ วย เครื่องหมายคูณ และตามด้ วยเลขค่าของมุมเป็ นองศา ดังในรูปที่ 7.13 (ง)

รูปที่ 7.13 การกาหนดขนาดมุม


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

15

หน้ าที่

12

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 8. การกาหนดขนาดรัศมีของส่ วนโค้ ง ชิ ้นงานที่มีลกั ษณะเป็ นรัศมีเป็ นส่วนโค้ ง มีกฎเกณฑ์ในการกาหนด ขนาดดังนี ้ 8.1 การกาหนดขนาดรัศมีสว่ นโค้ งที่ไม่แสดงจุดศูนย์กลาง ให้ เขียนตัวอักษร R และตามด้ วยตัวเลข ขนาดของรัศมีโค้ ง เช่น R4 ดังในรูปที่ 7.14 (ก) 8.2 การกาหนดขนาดรัศมีสว่ นโค้ ง ที่แสดงจุดศูนย์กลางให้ เขียนเส้ นเต็มบางจากจุดศูนย์กลางไปยัง ส่วนโค้ ง แล้ วเขียนหัวลูกศรที่ปลายชี ้ที่สว่ นโค้ ง และเขียนตัวเลขบนเส้ นให้ ขนาด สาหรับส่วนโค้ งที่มีลกั ษณะ เล็กให้ เขียนเส้ นเต็มบางจากจุดศูนย์กลาง ผ่านจุดโค้ งออกไปพอประมาณ แล้ วเขียนลูกศรชี ้เข้ าหาส่วนโค้ ง และเขียนตัวเลขขนาดรัศมีของส่วนโค้ งบนเส้ นให้ ขนาด ดังในรูปที่ 7.14 (ข) 8.3 เส้ นกาหนดขนาดรัศมีต้องเขียนให้ เอียงเป็ นมุมกับแนวระดับหรือแนวดิ่ง ไม่ควรเขียนในแนว เดียวกับเส้ นศูนย์กลาง ดังในรูปที่ 7.14 (ค) 8.4 ส่วนโค้ งที่มีรัศมีเล็กๆ เช่น ส่วนโค้ งที่มมุ ชิ ้นงาน ให้ เขียนแสดงจุดศูนย์กลางด้ วยจุดหรือวงกลม เล็ก ๆ ดังในรูปที่ 7.14 (ง)

รูปที่ 7.14 การกาหนดขนาดรัศมีโค้ ง


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

15

หน้ าที่

13

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 8.5 กรณีที่จดุ ศูนย์กลางของรัศมีโค้ งยาวมาก (อยู่นอกกระดาษ) ไม่จาเป็ นต้ องเขียนจุดศูนย์กลาง ของรัศมีโค้ งก็ได้ แต่ให้ เขียนอักษร R ไว้ หน้ าตัวเลขขนาด ดังในรูปที่ 7.15 (ก) 8.6 ถ้ าต้ องการแสดงจุดศูนย์กลางของรัศมีที่ยาวมาก ต้ องย่อเส้ นกาหนดขนาดรัศมีให้ สนลง ั ้ เขียน เส้ นกาหนดขนาดหักมุมฉาก และไม่ต้องเขียนอักษร R ลงหน้ าตัวเลขขนาด ดังในรูปที่ 7.15 (ข)

รูปที่ 7.15 การกาหนดขนาดรัศมีโค้ ง


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

15

หน้ าที่

14

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 9. การกาหนดขนาดเส้ นผ่ านศูนย์ กลาง การกาหนดขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางของวงกลม มีกฎเกณฑ์ดงั นี ้ 9.1 ชิ ้นงานที่มองเห็นวงกลมเต็มวง ให้ กาหนดขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางของวงกลมด้ วยการ เขียนเส้ น กาหนดผ่านจุดศูนย์กลางของวงกลมในแนวเอียงกับเส้ นศูนย์กลางแนวระดับหรือแนวดิ่ง แล้ วเขียนลูกศรให้ ปลายของหัวลูกศรสัมผัสกับเส้ นรอบวง และเขียนตัวเลขขนาดความยาวของเส้ นผ่านศูนย์กลางของวงกลมไว้ บนเส้ นกาหนดขนาด ดังในรูปที่ 7.16 (ก) หรือลากเส้ นช่วยให้ ขนาดเส้ นเต็มบางจากเส้ นรอบวงออกมา พอประมาณ แล้ วเขียนเส้ นให้ ขนาดและตัวเลขขนาด ดังในรูปที่ 7.16 (ข) 9.2 กรณีภาพที่มองเห็นไม่ได้ เห็นรูปวงกลม ให้ เขียนเส้ นช่วยให้ ขนาดออกจากขอบของงานที่เป็ น วงกลม แล้ วเขียนเส้ นให้ ขนาดและตัวเลขขนาดของเส้ นผ่านศูนย์กลางของวงกลม โดยมีเครื่องหมายเส้ นผ่าน ศูนย์กลาง (Ø) ไว้ ข้างหน้ าตัวเลขขนาด ดังแสดงในรูปที่ 7.16 (ค) เครื่องหมายเส้ นผ่านศูนย์กลางเขียนด้ วย วงกลมมีเส้ นตรงเอียง 75 องศา จากแนวระดับลากผ่านกลางและมีขนาดความสูงเท่ากับตัวเลข 9.3 วงกลมที่มีขนาดเล็ก การกาหนดขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางให้ เขียนเส้ นกาหนดขนาดที่มีลกู ศรเพียง ข้ างเดียว มีตวั เลขที่มีเครื่องหมายขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางกากับอยู่ข้างหน้ า ดังในรูปที่ 7.16 (ง)

รูปที่ 7.16 การกาหนดขนาดเส้ นผ่ านศูนย์ กลาง


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

15

หน้ าที่

16

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 9.4 การกาหนดขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางของวงกลมที่ไม่เต็มวง ให้ เขียนเส้ นกาหนดขนาดผ่านเลยจุด ศูนย์กลางไปเล็กน้ อย แล้ วเขียนตัวเลขที่มีเครื่องหมาย Ø ไว้ ข้างหน้ า ดังตัวอย่างในรูปที่ 7.17 9.5 กรณีที่ชิ ้นงานมีลกั ษณะเป็ นวงกลมถูกตัด ให้ เขียนเส้ นช่วยให้ ขนาดต่อจากส่วนโค้ ง แล้ วเส้ นที่ กาหนดหัวลูกศรสองข้ าง ดังในรูปที่ 7.17 (ข) 9.6 ชิ ้นงานที่มีเนื ้อที่ในการกาหนดขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางน้ อย ให้ เขียนเส้ นกาหนดขนาดไว้ ด้านนอก ดังในรูปที่ 7.17 (ค) 9.7 การกาหนดขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลางที่เป็ นภาพตัดครึ่ง ให้ เขียนเส้ นที่มีขนาดหัวลูกศรเพียงข้ าง เดียวและเส้ นให้ ขนานยางเลยศูนย์กลางไปเล็กน้ อย ตัวเลขขนาดมีเครื่องหมายเส้ นผ่านศูนย์กลาง ดังในรูปที่ 7.17 (ง)

รูปที่ 7.17 การกาหนดขนาดเส้ นผ่ านศูนย์ กลาง


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

15

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

17


10. การกาหนดขนาดพิกัดความเผื่อ ในการออกแบบชิ ้นงานที่ต้องการความละเอียด จะต้ องค่าพิกดั ความ เผื่อจากตัวเลขขนาดที่กาหนดเอาไว้ เพื่อให้ ช่างผลิตชิ ้นงานที่มีอยู่ในพิกดั กล่าวคือ ชิ ้นงานมีขนาดไม่ใหญ่หรือ เล็กเกินไปจนใช้ งานไม่ได้ การกาหนดพิกดั ค่าความเผื่อที่ใช้ ในชิ ้นงานมีอยู่ 2 แบบ คือ แบบใช้ ตวั เลขและแบบ ใช้ รหัสตัวอักษร 10.1 ค่ าพิกัดความเผื่อแบบใช้ ตัวเลข ค่าพิกดั ความเผื่อแบบนี ้ จะใช้ ตวั เลขแสดงค่าที่ยอมให้ ชิ ้นงานมีขนาดเคลื่อนไปจากขนาดที่กาหนด เขียนไว้ ด้านบนขวาของตัวเลขขนาด เช่น 100^±.1 .2 ความหมายของพิกดั ความเผื่อแบบตัวเลข ตัวเลข 100 คือ ขนาดกาหนดของชิ ้นงาน มีคา่ เท่ากับ 100 มม. ตัวเลข + 0.1 คือ ค่าพิกดั ของชิ ้นงานที่ยอมให้ โตสุด มีหน่วยเป็ น มม. ตัวเลข – 0.2 คือ ค่าพิกดั ของชิ ้นงานที่ยอมให้ เล็กที่สดุ มีหน่วยเป็ น มม. จากค่าพิกดั ที่ยอมให้ ชิ ้นงานมีขนาดโตหรือเล็ดลงจากขนาดที่กาหนด สามารถหาขนาดโตสุดหรือเล็ก สุดของชิ ้นงานดังนี ้ - ขนาดโตสุดของชิ ้นงาน = 100+0.1 = 100.1 มม. - ขนาดเล็กที่สดุ ของชิ ้นงาน = 100- 0.2 = 99.8 มม. จากค่าความพิกดั ความเผื่อดังกล่าวทาให้ ทราบว่าในการผลิตชิ ้นงานจะต้ องมีขนาดอยู่ระหว่าง 99.8 – 100.1 มม. จึงจะใช้ งานได้ การเขียนภาพพิกดั ความเผื่อ มีกฎเกณฑ์ดงั นี ้ 1. ขนาดกาหนดหรือตัวเลขขนาด เขียนด้ วยตัวเลขที่มีขนาดโตเท่ากับขนาดของตัวอักษรที่ใช้ ในแบบ งานเหมือนการกาหนดขนาดชิ ้นงานทัว่ ๆ ไป 2. ค่าพิกดั ความเผื่อ เขียนด้ วยตัวเลขที่มีขนาดเล็กกว่าตัวเลขขนาด และมีเครื่องหมาย + หรือ – อยู่ ด้ านหน้ า 3. ค่าพิกดั ความเผื่อที่ทาให้ ชิ ้นงานมีขนาดโตสุดให้ เขียนไว้ ด้านบน และค่าพิกดั ความเผื่อที่ทาให้ ชิ ้นงานมีขนาดเล็กลงให้ เขียนไว้ ด้านล่าง 4. ค่าพิกดั ความเผื่อที่มีคา่ เท่ากัน ให้ เขียนค่าพิกดั เพียงค่าเดียว 5. ค่าพิกดั ความเผื่ออาจมีเฉพาะค่าบวกหรือค่าลบเพียงอย่างเดียว 6. ค่าพิกดั ความเผื่อที่มีคา่ เป็ นศูนย์ให้ เขียนเลข O ไว้ ดูตวั อย่างในการกาหนดพิกดั ความเผื่อในรูปที่ 7.18


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

15

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

18


รูปที่ 7.18 กฎเกณฑ์ การกาหนดพิกัดความเผื่อแบบใช้ ตัวเลข 10.2 ค่ าพิกัดความเผื่อแบบใช้ รหัสตัวอักษร ในการออกแบบชิ ้นงานที่มีลกั ษณะเป็ นเพลาและ รูเจาะที่ต้องนาไปสวมประกอบเข้ าด้ วยกัน และต้ องการความละเอียดมากๆ เช่น เพลาของเครื่องจักรสวมเข้ า กับแบริ่งหรือรูคว้ าน สลักสวมกับรูเจาะ ฯลฯ การกาหนดค่าพิกดั ความเผื่อของเพลาและรูคว้ านจะกาหนดให้ เป็ นรหัสตัวอักษร ดังตัวอย่างในรูป ที่ 7.19

รูปที่ 7,19 ตัวอย่ างการกาหนดค่ าความพิกัดความเผื่อเป็ นรหัสตัวอักษร


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

15

หน้ าที่

19

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี ความหมายของพิกดั ความเผื่อแบบรหัสตัวอักษร จากตัวอย่าง ในรูปที่ 7.19 ค่าความพิกดั ความเผื่อสาหรับชิ ้นงานที่เป็ นรูจะใช้ ตวั อักษรภาษาอังกฤษ ตัวใหญ่ตามด้ วยรหัส ส่วนค่าพิกดั ความเผื่อสาหรับชิ ้นงานที่เป็ นเพลาจะใช้ ตวั อักษรภาษาอังกฤษตัวเล็กตาม ด้ วยตัวเลขรหัส ค่าพิกดั ความเผื่อที่เป็ นรหัสตัวอักษรและตัวเลขนี่จะต้ องนาไปแปลค่าเป็ นตัวเลขค่าของความ พิกดั ความเผื่ออีกครัง้ หนึ่งจากตารางมาตรฐาน เช่น เพลาขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 40 มม. ค่าพิกดั ความเผื่อรหัส j6 จากตารางมีคา่ สูงสุดเท่ากับ + 11 µm (0.011 มม.) และต่าสุดเท่ากับ – 5 µm (0.05 มม.) รูคว้ านขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 40 มม. ค่าพิกดั ความผื่อรหัส H7 จากตารางที่มีคา่ สูงสุดทเท่ากับ + 25 µm (0.025 มม.) และต่าสุด 0 µm (0.000 มม.) หมายเหตุ 1 µm ไมโครเมตร มีคา่ เท่ากับ 0.001 มม.

การกาหนดค่าพิกดั ความเผื่อแบบใช้ รหัสตัวอักษรนี ้ จะใช้ กบั ชิ ้นงานที่ต้องสวมประกอบเข้ าด้ วยกัน ค่าของพิกดั ความเผื่อจะเป็ นไปตามระบบงานสวมมาตรฐาน ISO ซึ่งนักศึกษาสามารถหารายละเอียดเพิ่มเติม ได้ จากหนังสือ ตารางโลหะ ชิ ้นส่วนเครื่องจักร หรือ การออกแบบเครี่องจักรกล หรือคูม่ ือการใช้ งานแบริ่งลูก ปื น


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

15

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

20


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

15

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

21


ใบงาน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

15

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

22




เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

16

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

7.6 การกาหนดผิวงาน ในการออกแบบและเขียนแบบชิ ้นงานให้ ช่างทาการผลิต นอกจากมีรายละเอียดของชิ ้นงานในแบบ แล้ ว ยังจะต้ องมีการกาหนดผิวงานของชิ ้นงานที่ต้องการด้ วยว่า มีผิวหยาบหรือละเอียดเพียงใด เพื่อให้ ช่าง สามารถเลือกเครื่องมือเครื่องจักรที่ใช้ ได้ เหมาะสมกับการกาหนดผิวชิ ้นงานในแบบสัญลักษณ์เป็ นตัวกาหนด เพื่อให้ ง่ายต่อการเขียนและความเข้ าใจของผู้อา่ นแบบงาน การกาหนดสัญลักษณ์ของผิวงานที่นิยมใช้ มีอยู่ 2 มาตรฐาน คือ มาตรฐาน DIN และ ISO 7.6.1 สัญลักษณ์ ผวิ งานตามมาตรฐาน DIN 3141 การกาหนดสัญลักษณ์ของผิวงานคือ มาตรฐาน DIN จะใช้ เครื่องหมายสามเหลี่ยมกลับหัว เป็ น สัญลักษณ์แสดงค่าความหยาบผิวแบบต่าง ดังในรูปที่ 7.4

จากตารางข้ างบน จะเห็นว่า ความหยาบหรือความระเอียดของผิวงานจะแทนด้ วยเครื่องหมายรูป สามเหลี่ยม ผิวหยาบที่สามารถมองเห็นด้ วยตาเปล่าแทนด้ วนเครื่องหมายสามเหลี่ยม 1 รูป และเมื่อ ผิวชิ ้นงานมีความละเอียดมากขึ ้นจานวนรูปสามเหลี่ยมจะมีจานวนมากขึ ้น จนถึงรูปสามเหลี่ยม 4 รูปเมื่อผิวมี ความละเอียดสูงสุดที่ได้ จากกรรมวิธีขดั มัน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

16

หน้ าที่

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี การกาหนดผิวงานตามมาตรฐาน DIN มีกฎเกณฑ์ดงั นี ้ (1) สัญลักษณ์ผิวงานเขียนด้ วยเส้ นเต็มบางรูปสามเหลี่ยมด้ านเท่า ปลายแหลมของสามเหลี่ยมชี ้ลง บนผิวงานที่ต้องการกาหนดคุณภาพผิวงาน (รูปที่ 7.20 (ก)) (2) กรณีที่ผิวงานที่ต้องการกาหนดคุณภาพผิวมีเนื ้อที่น้อยให้ ลากเส้ นช่วยให้ ขนาดต่อออกมาแล้ ว เขียน สัญลักษณ์ผิวลงไปบนเส้ นช่วยให้ ขนาด (รูปที่ 7.20 (ข)) (3) ถ้ าชิ ้นงานมีคณ ุ ภาพผิวงานแบบเดียวกันหมดให้ เขียนสัญลักษณ์ของผิวงานไว้ ด้านนอกแบบงาน เพียงด้ านเดียว (รูปที่ 7.20 (ค))

รูปที่ 7.20 การกาหนดสัญลักษณ์ ผวิ งานตามาตรฐาน DIN


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

16

หน้ าที่

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี (4) ชิ ้นงานที่มีผิวงานบางจุดแตกต่างไปจากผิวงานส่วนใหญ่ให้ กาหนดสัญลักษณ์ผิวนันลงในแบบ ้ ส่วนผิวงานส่วนใหญ่ไม่ต้องเขียนสัญลักษณ์ลงในแบบงานให้ เขียนไว้ นอกแบบงาน แล้ วเขียน สัญลักษณ์ผิวที่แตกต่างไปจากผิวงานส่วนใหญ่ไว้ ในวงเล็บ (รูปที่ 7.21 (ก)) (5) ผิวของชิ ้นงานที่ผา่ นกรรมวิธีที่พิเศษ เช่น ชุบแข็ง ชุบโครเมี่ยม ให้ เขียนเส้ นอ้ างอิงชี ้ที่ผิวเส้ นบอก กรรมวิธีนนลงไปบนเส้ ั้ นอ้ างอิง (รูปที่ 7.21 (ข)) (6) สัญลักษณ์ผิวงานสามารถบอกกรรมวิธีที่พิเศษในการทางานได้ โดยเขียนเส้ นอ้ างอิงต่อจาก สัญลักษณ์ผิว แล้ วเขียนบอกกรรมวิธีที่พิเศษ (รูปที่ 7.21 (ค)) (7) การกาหนดสัญลักษณ์ผิวบนส่วนโค้ งของชิ ้นงานให้ เขียนสัญลักษณ์สามเหลี่ยมให้ เสมอกัน เหมือนการเขียนผิวเรียบปกติ (รูปที่ 7.21 (ง))

รูปที่ 7.21 การกาหนดสัญลักษณ์ ผวิ ตามแบบมาตรฐาน DIN


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

16

หน้ าที่

4

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 7.6.2 สัญลักษณ์ ผวิ งานตามมาตรฐาน DIN –ISO 1302 การกาหนดสัญลักษณ์ผิวตามแบบมาตรฐาน DIN – ISO 1302 จะใช้ เครื่องหมายลักษณะดังในรูปที่ 7.22

รูปที่ 7.22สัญลักษณ์ ผวิ ตามแบบมาตรฐาน DIN-ISO 1302 จากรูปที่ 7.22 สัญลักษณ์ผิวงานมีความหมายดังนี ้ ( 1) รูป (ก) เป็ นสัญลักษณ์พื ้นฐานสาหรับการกาหนดผิวงาน มีรูปร่างเป็ นรูปตัววีที่มีมมุ 60 องศา และ แขนตัววีข้างขวายาวขึ ้น เมื่อมีคาสัง่ เกี่ยวกับการปรับผิวจะต้ องต่อแขนด้ านขวาออกไปในแนวนอน ( 2) รูป (ข) เป็ นสัญลักษณ์การปาดผิวงาน โดยเขียนเส้ นปิ ดตัววีเป็ นรูปสามเหลี่ยม ( 3) รูป (ค) เป็ นสัญลักษณ์การปรับผิวชิ ้นงานโดยไม่มีการปาดผิว โดยการเขียนวงกลมไว้ ในร่องตัววี ในการกาหนดผิวงานจะมีรูปแบบดังตัวอย่างในตาราง ซึ่งประกอบไปด้ วยสัญลักษณ์และตัวเลขบอก ค่าความลึกของความหยาบ สาหรับรายละเอียดของค่าความหยาบผิว และการกาหนดผิวตามมาตรฐาน DIN – ISO 1302 จะต้ องเปิ ดตารางมาตรฐานที่กาหนด


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

16

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

5


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

16

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

6


ใบงาน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

16

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี



เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

17

1

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

7.7 ภาพสัญลักษณ์ ต่างๆ ที่ใช้ ในงานเขียนแบบ ในการเขียนแบบชิ ้นส่วนเครื่องจักรกลบางอย่าง เช่น เฟื อง เกลียว สกรู สปริง จะมีรายละเอียด ค่อนข้ างมาก ทาให้ การเขียนแบบทาได้ ยากและใช้ เวลาในการเขียนมาก จากเหตุนี ้จึงได้ การกาหนดภาพ สัญลักษณ์ตา่ งๆ ขึ ้นมาช่วยในการเขียนแบบ ดังนี ้ 7.7.1 ภาพสัญลักษณ์ เกลียวสกรู เกลียวสกรูที่ใช้ งานจะมีเกลียวนอกและเกลียวใน การเขียนภาพสัญลักษณ์เกลียวนอกและเกลียวใน มีหลักในการเขียน คือ (1) เส้ นโคนเกลียวให้ เขียนด้ วยเส้ นเต็มบาง (2) เส้ นยอดเกลียวให้ เขียนด้ วยเส้ นเต็มหนา (3) เส้ นสิ ้นสุดความยาวเกลียวให้ เขียนด้ วยเส้ นเต็มหนา (4) ภาพเกลียวด้ านที่มองเห็นเป็ นวงกลม ให้ เขียนสัญลักษณ์ของโคนเกลียวด้ วยเส้ นเต็มบางที่เป็ น วงกลมไม่เต็มวง (3/4 ของวงกลม) ไว้ ภายวงกลมที่เป้นขนาดภายนอกของเกลียว โดยเขียนให้ เป็ น เส้ นโค้ งด้ านหนึ่งเลยเส้ นศูนย์กลางไปเล็กน้ อย และให้ ปลายอีกด้ านหนึ่งของเส้ นโค้ งยังไม่ถึงเส้ น ศูนย์กลางดังแสดงในรูปที่ 7.23

รูปที่ 7.23 ภาพสัญลักษณ์ เกลียวนอกและเกลียวใน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

17

หน้ าที่

2

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี (5) การกาหนดขนาดของเกลียวให้ กาหนดที่เส้ นผ่านศูนย์ของนอกเกลียว ดังตัวอย่างในรูปที่ 7.24 โดยมีตวั อักษรภาษาอังกฤษบอกชนิดของเกลียว นาหน้ าขนาดของเกลียว หรืออาจมีเครื่องหมาย คูณตามมาด้ วยตัวเลขบอกระยะห่างของฟั นเกลียว หรือที่เรียกว่า ระยะพิตของเกลียว (หน่วยเป็ น มม.) เช่น M16, Tr20, S24, Rd30< M12 x 1.25, Tr16 x 4, S20 x 2 เป็ นต้ น ความหมายของอักษรภาษาอังกฤษบอกชนิดของเกลียว เกลียว M12 x 1.25 หมายถึง เกลียวเมตริกขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 12 มม. ระยะพิตเกลียวเท่ากับ 1.25 มม. เกลียวที่ไม่ได้ กาหนดระยะพิตเกลียว เช่น เกลียว M12 หมายถึง เกลียวเมตริกขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 12 มม. ระยะพิตเกลียว เท่ากับ 1.75 มม. (ดูได้ จากตารางมาตรฐาน เกลียว) สาหรับรายละเอียดของเกลียวที่มากกว่านี ้ สามารถหาอ่านได้ จากตารางโลหะ หรือตาราเกี่ยวกับชิ ้นส่วน เครื่องจักรกล

รูปที่ 7.24 การกาหนดขนาดเกลียวนอกและเกลียวใน


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

17

หน้ าที่

3

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 7.7.2 ภาพสัญลักษณ์ เฟื อง การเขียนภาพของเฟื องส่วนที่ยากและเสียเวลาในการเขียนมากที่สดุ คือ ภาพด้ านที่มองเห็นฟั นของ เฟื อง ตามาตรฐาน DIN – ISO ได้ กาหนดภาพสัญลักษณ์ของเฟื องไว้ ดงั แสดงในรูปที่ 7.25

รูปที่ 7.25 ภาพสัญลักษณ์ ของเฟื องแบบต่ างๆ จากภาพสัญลักษณ์ของเฟื องในรูปที่ 7.25 จะเห็นว่าไม่มีการเขียนรูปของฟั นเฟื อง ยอดฟั นเฟื องถูก เขียนแทนด้ วยวงกลมที่เป็ นเส้ นเต็มหนา และใช้ เส้ นศูนย์กลางเขียนเป็ นวงกลมแทนวงกลมพิตของเฟื อง ทาให้ ภาพเขียนได้ ง่ายขึ ้นเป็ นอย่างมาก


เนือ้ หาการสอน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

17

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี 7.7.3 ภาพสัญลักษณ์ สปริง การเขียนภาพสปริงที่เหมือนจริงนัน้ ก็จะมีความยากและเสียเวลาในการเขียนแบบมา พอสมควร ตามมาตรฐาน DIN – ISO ได้ กาหนดภาพสัญลักษณ์ของสปริงไว้ ดงั แดสงในรูปที่ 7.26

รูปที่ 7.26 ภาพจริง ภาพตัด และภาพสัญลักษณ์ ตามแบบมาตรฐาน DIN และ ISO

4


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

17

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

5


แบบฝึ กหัด

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

17

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

6


ใบงาน

สั ปดาห์ ที่

หน้ าที่

17

รหัสและชื่อวิชา : 2106- 1301 เขียนแบบเบือ้ งต้น ชื่อผูส้ อน : นายณัฐวุฒิ วิสุทธิพนั ธ์ แผนกวิชา : ช่ างก่อสร้ าง ชื่อสถานศึกษา: วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี

7


ชื่อ.........................................นามสกุล.....................................รหัส...................................ห้อง......... 1.จงอธิบายถึงความสาคัญของงานเขียนแบบมาโดยละเอียด ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... 2.วิธีการเขียนแบบในงานก่อสร้าง มีกี่วธิ ี อะไรบ้าง ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... 3.จงยกตัวอย่างอุปกรณ์เครื่ องมือ ที่ใช้ในงานเขียนแบบมีอะไรบ้าง ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... 4.จงอธิบายลักษณะของเส้นที่ใช้ในงานเขียนแบบ ชื่อของเส้ นทีใ่ ช้ ในการเขียนแบบ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

ลักษณะของเส้ น

ตัวอย่ างการใช้ งานของเส้ น


ชื่อ.........................................นามสกุล.....................................รหัส...................................ห้อง......... 5. ภาพฉายหมายถึง ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... 6. ในการเขียนภาพฉายจากภาพ 3 มิติของชิ้นงาน มีหลักขั้นตอนในการเขียนกี่ข้นั ตอน อะไรบ้าง ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... 7. จากภาพฉาย 3 มิติ จงวาดออกมาในรู ปของภาพฉาย 3 ด้าน


8. จากภาพฉาย 3 ด้าน จงเขียนออกมาในรู ปของภาพ OBLIQUE, ISOMETRIC, DIMETRIC ทั้ง 3 ภาพ

5

10

5

5

10

10


ชื่อ.........................................นามสกุล.....................................รหัส...................................ห้อง.........


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.