1
คู่มอื วิชาโดยสั งเขป ( COURSE OUTLINE ) หลักสู ตร วิทยาลัยเทคนิคลพบุรี หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปี ที่ 3 ภาคเรี ยนที่ 2 / 2553 รหัสวิชาและชื่อวิชา ( TITLE HEADING ) 2106 – 2113 เขียนแบบก่อสร้าง 3 Construction Drawings 3 1. คาอธิบายรายวิชา ( CONTENT ) ศึกษาและปฏิบตั ิเกี่ยวกับหลักการเขียนแบบก่อสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างรู ปแบบแปลน รู ปตัด รู ปด้าน แบบขยายส่วนประกอบอาคาร ผังโครงสร้าง ผังไฟฟ้ า ผังสุขาภิบาล ผัง สุขาภิบาล ผังบริ เวณ และรายการประกอบแบบก่อสร้างอาคารพาณิ ชย์ 2. รายวิชาพืน้ ฐาน ( REQUISITE BACKGROUND ) 2106 – 1004 เขียนแบบก่อสร้าง 1 2106 – 2105 เขียนแบบก่อสร้าง 2 3. จุดมุ่งหมายรายวิชา ( COURSE OBJECTIVE ) เมื่อนักศึกษาได้เรี ยนจบในวิชา 2106 – 2113 เขียนแบบก่อสร้าง 3 นี้แล้ว จะมีความสามารถ ดังต่อไปนี้ 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจหลักการในการเขียนแบบก่อสร้างอาคารพาณิ ชย์ 2. เพื่อให้มีความสามรถในการเขียนแบบก่อสร้างอาคารพาณิชย์ 3. เพื่อให้มีกิจนิสยั เจตคติ มีความรับผิดชอบ ในการปฏิบตั ิงาน มีคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยมที่ดีในการประกอบอาชีพ
2
4. ตาราที่ใช้ ประกอบการสอน (TEXTBOOK AND BILIOGRAY) 1. สุขสม เสนานาญ. (2545), เขียนแบบก่อสร้าง, สานักพิมพ์ ส.ส.ท. สมาคม ส่งเสริ มเทคโนโลยี (ไทย – ญี่ปุ่น) กรุ งเทพมหานคร. 2. รัตนา พงษธา. (2532), เขียนแบบช่างก่อสร้าง, ทวีการพิมพ์ กรุ งเทพมหานคร. 3. รศ.ดร. พิภพ สุนทรสมัย. (2540), ปฏิบตั ิการเขียนแบบก่อสร้าง, สานักพิมพ์ ส.ส.ท. สมาคมส่งเสริ มเทคโนโลยี (ไทย – ญี่ปุ่น) กรุ งเทพมหานคร. 5. อุปกรณ์ทใี่ ช้ ในการประกอบการเรียน 1. สมุดจดบันทึก ปากกา ดินสอ 2. เครื่ องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ 6. เครื่องอานวยความสะดวก 1. เครื่ องฉายภาพข้ามศีรษะ (Over head) 2. แผ่นใส 3. ปากกาเขียนแผ่นใส 4. กระดาน, ปากกาเขียนกระดาน 7. แผนการจัดแบ่งเนือ้ หา ส่ วนที่ 1 (เรียนในครึ่งภาคเรียนแรก) สัปดาห์ เนือ้ หาวิชา จานวนคาบ ทฤษฎี ปฏิบัติ 1 บทนา 1 5 2 การเขียนผังพื้น (แปลนพื้นชั้นล่าง – ชั้นลอย) 1 5 3 4 5 6 7 8 9
การเขียนผังพื้น (การเขียนแปลนพื้นชั้น 2 – ชั้น 3) การเขียนผังโครงสร้าง (แปลนฐานรากคานคอดินชั้นล่างชั้นลอย) การเขียนผังโครงสร้าง (แปลนโครงสร้างชั้น 2 – ชั้น 3) การเขียนผังพื้นและการเขียนผังโครงสร้าง (แปลนหลังคา – แปลนโครงสร้างหลังคา การเขียนรู ปตัด (รู ปตัดตามขวาง) การเขียนรู ปตัด (รู ปตัดตามยาว) การเขียนแบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรมวิศวกรรม
1 1
5 5
1 1
5 5
1 1 1
5 5 5
3 ส่ วนที่ 2 (เรียนในครึ่งภาคเรียนหลัง) สัปดาห์
เนือ้ หาวิชา
10 11
การเขียนรู ปด้าน (รู ปด้านหน้า, รู ปด้านข้าง, รู ปด้านหลัง) การเขียนแบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม (ขยาย บันได, ขยายห้องน้ า) การเขียนแบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม (ขยายบ่อ เกรอะ - บ่อซึม) การเขียนแบบขยายรายละเอียดทางทางวิศวกรรม (ขยาย คาน) การเขียนแบบขยายรายละเอียดทางทางวิศวกรรม (ขยายพื้น) การเขียนแบบขยายรายละเอียดทางทางวิศวกรรม (ขยายเสา, ขยายฐานราก) การเขียนผังบริ เวณ รายการประกอบแบบ สอบปลายภาคเรียน รวมจานวนคาบ
12 13 14 15 16 17 18
จานวนคาบ ทฤษฎี ปฏิบัติ 1 5 1 5 1
5
1
5
1 1
5 5
1 1
5 5
16
80
4 8. วิธีที่จะใช้ ในการสอน ( METHOD OF INSTRUCTION ) 1. Lecture หรื อ ฟังการอธิบาย ในห้องเรี ยน 1 คาบ 2. หลังการ Lecture ในห้องเรี ยนแล้ว นักศึกษาต้องกลับไปทบทวน 3. เมื่อการบรรยายสิ้นลง อาจมีการถาม – ตอบปัญหากัน ระหว่างนักศึกษากับ ผูส้ อน 4. ให้นกั ศึกษาทางานตามที่ได้รับมอบหมาย และส่งตามกาหนดเวลา
9. วิธีการวัดผล ( METHOD OF EVALUATION OUTCOME ) 1. คะแนนการเขียนแบบ 60 % 2. สอบปลายภาค 20 % 3. จิตพิสยั 20 % -
ความตรงต่อเวลา ความตั้งใจเรี ยน ความพร้อมในการเรี ยน การแต่งกาย มารยาทในการเข้าเรี ยน รวม
100 %
5
แผนการจัดการเรียนรู้หน่ วยที่ 1 จานวน 6 ชั่วโมง รหัส 2106-2113 วิชา เขียนแบบก่อสร้าง 3 หน่ วยกิต 3(6) สอนครั้งที่ 1 ชื่อหน่ วย แนะนารายวิชา ชั่วโมงรวม 6
1.สาระสาคัญ การปฐมนิเทศนักศึกษาเป็ นการพูดคุยเพื่อทาความเข้าใจกับผูเ้ รี ยนในเรื่ องต่างๆ ดังนี้ 1 ) การแนะนาวัตถุประสงค์คาอธิบายมาตรฐานรายวิชา 2 ) การวัดผลและประเมินผล 3 ) ข้อตกลงวิธีการเรี ยนรู้ 4 ) งานที่จะมอบหมายในระหว่างภาคเรี ยน 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ ปฐมนิเทศทาความเข้าใจข้อตกลงร่ วมกัน 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) ผูเ้ รี ยนมีความเข้าใจในวัตถุประสงค์คาอธิบายมาตรฐานรายวิชา 2) ผูเ้ รี ยนมีความเข้าใจวิธีการวัดผลและประเมินผล 3) ผูเ้ รี ยนมีความเข้าใจข้อตกลงวิธีการเรี ยนรู้ 4) ผูเ้ รี ยนมีความเข้าใจงานที่จะมอบหมายในระหว่างภาคเรี ยน 5) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความ สนใจ ใฝ่ รู้ ความรักสามัคคีความกตัญญูกตเวที
6
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ
ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน
1) ) ผูเ้ รี ยนมีความเข้าใจในวัตถุประสงค์ คาอธิบายมาตรฐานรายวิชา 2) ผูเ้ รี ยนมีความเข้าใจวิธีการวัดผลและ ประเมินผล 3) ผูเ้ รี ยนมีความเข้าใจข้อตกลงวิธีการเรี ยนรู้ 4) ผูเ้ รี ยนมีความเข้าใจงานที่จะมอบหมายใน ระหว่างภาคเรี ยน 5) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความ สนใจ ใฝ่ รู้ ความรักสามัคคีความกตัญญู กตเวที รวม ลาดับความสาคัญ
7 4.สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์รายวิชา 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและทักษะในการสื่อความหมายด้านรู ปแบบ การใช้สญ ั ลักษณ์ มาตราส่วนของการเขียนแบบก่อสร้าง อาคารสาธารณะ อาคารพาณิ ชย์ ประกอบการ ตกแต่ง อาคารพักอาศัย 2. ออกแบบอาคารพาณิ ชย์ รายละเอียดทางวิศวกรรม และ สถาปัตยกรรมได้ถกู ต้อง 3. เพื่อให้มีกิจนิสยั เจตคติ มีความรับผิดชอบ ในการปฏิบตั ิงาน มีคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม ที่ดี ในการประกอบอาชีพ มาตรฐานรายวิชา 1. เข้าใจหลักการเขียนแบบก่อสร้างอาคารพาณิ ชย์ 2. เขียนแบบแปลน รู ปตัด รู ปด้าน แบบขยายส่วนประกอบอาคาร ผังโครงสร้าง ผังไฟฟ้ า ผัง สุขาภิบาล ผังบริ เวณ และรายการประกอบแบบอาคารพาณิ ชย์ คาอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบตั ิเกี่ยวกับหลักการเขียนแบบก่อสร้าง ความสัมพันธ์ระหว่าง รู ปแบบแปลน รู ปตัด รู ปด้าน แบบขยายส่วนประกอบอาคาร ผังโครงสร้าง ผังไฟฟ้ า ผังสุขาภิบาล ผังสุขาภิบาล ผังบริ เวณ และรายการประกอบแบบก่อสร้างอาคารพาณิ ชย์
8
เกณฑ์การวัดผล 4. คะแนนการเขียนแบบ 60 % 5. คะแนนการสอบปลายภาค 20 % 6. จิตพิสยั 20 % - ความตรงต่อเวลา - ความรับผิดชอบในการทางาน - ความซื่อสัตย์ - การใฝ่ หาความรู้ - การประหยัดพลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม รวม
100 %
5.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน อธิบายเนื้อหาสาระในการปฐมนิเทศ ให้ผเู้ รี ยนตอบคาถาม พร้อมทั้งเปิ ดโอกาสให้ ซักถามข้อสงสัย ขั้นตอนการปฏิบัติ - ช่วงที่ 1 แนะนาตัวกับนักศึกษา - ช่วงที่ 2 บอกจุดประสงค์รายวิชาและคาอธิบายรายวิชาเนื้อหารายวิชา - ช่วงที่ 3 เกณฑ์การวัดผลและข้อตกลงในการสอนและแนะนาหนังสือเรี ยน - ช่วงที่ 4 เช็คชื่อ พร้อมทั้งสรุ ปเนื้อหาสาระในการปฐมนิเทศ เลิกชั้นเรี ยน 6.สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1) สื่อสิ่งพิมพ์ 1.1) เอกสารประกอบการสอน 7.หลักฐานการเรียนรู้ที่ต้องการ 1) หลักฐานความรู้ที่ตอ้ งการ - ร่ องรอยการบันทึกองค์ความรู้บนสมุดบันทึกรายวิชาประจาวัน
9 8.การวัดและประเมินผลเกณฑ์การให้ คะแนน 1. การดาเนินงาน 1.1 บันทึกองค์ความรู้ 2. วัดผลจากการฝึ กทักษะ 2.1 ลายละเอียดในการบันทึก 3. จริยธรรมการฝึ กปฏิบัติ 3.1 การตรงต่อเวลา 3.2 ความรับผิดชอบในการทางาน 3.3 ความซื่อสัตย์ 3.4 การใฝ่ หาความรู้ 3.5 การประหยัดพลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม 9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 2) ปัญหาที่พบ ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… 3) แนวทางแก้ปัญหา ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
10
รหัส 2106-2113
แผนการจัดการเรียนรู้หน่ วยที่ 2 จานวน 6 ชั่วโมง วิชา เขียนแบบก่อสร้าง 3 หน่ วยกิต 3(6) สอนครั้งที่
2-3 ชื่อหน่ วย
งานผังพืน้
ชั่วโมงรวม 12
1.สาระสาคัญ แบบก่อสร้าง (Construction Drawing) เป็ นแบบที่เขียนขึ้นโดยมีวตั ถุประสงค์ให้สามารถ นาไปใช้เป็ นแนวทางในการก่อสร้างอาคารได้ตรงตามรู ปแบบ ทั้งรู ปร่ าง ลักษณะการใช้วสั ดุ ก่อสร้าง รวมไปถึงวิธีการก่อสร้างตามหลักวิชาการก่อสร้างที่ดี โดยให้มีโครงสร้างตรงตามในแบบ ทุกประการ ในการเขียนแบบก่อสร้างจึงมีผเู้ กี่ยวข้องหลายฝ่ าย กล่าวคือสถาปนิกเป็ นผูก้ าหนดรู ปร่ าง และโครงสร้างของอาคาร ตามความต้องการของเจ้าของอาคารและงบประมาณ จากนั้นจะมอบให้ วิศวกรก่อสร้างเป็ นผูค้ านวณและกาหนดขนาดหน้าตัด และรายละเอียดการเสริ มเหล็กของ โครงสร้างเพื่อให้อาคารมัน่ คงแข็งแรงและประหยัด แบบก่อสร้างทั้งหมดนี้ ผูเ้ ขียนแบบจะต้องมีความรู้พ้นื ฐานในแต่ละเรื่ องพอที่จะเขียนแบบ ก่อสร้างได้อย่างถูกต้อง 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้เกี่ยวกับงานผังพื้น 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถอธิบายความหมายของผังพื้นได้อย่างถูกต้อง 2. สามารถบอกหลักเกณฑ์และข้อกาหนดในการเขียนผังพื้นได้อย่างถูกต้อง 3. สามารถเขียนผังพื้นชั้น1 ชั้นลอย ชั้น2 ชั้น3 และหลังคา ได้อย่างถูกต้อง 4. มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ใน ตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที
11
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ
ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน
1) สามารถอธิบายความหมายของผังพื้นได้ อย่างถูกต้อง 2) สามารถบอกหลักเกณฑ์และข้อกาหนด ในการเขียนผังพื้นได้อย่างถูกต้อง 3) สามารถเขียนผังพื้นชั้น1 ชั้นลอย ชั้น2 ชั้น3 และหลังคา ได้อย่างถูกต้อง 4) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที รวม ลาดับความสาคัญ
12 4.สาระการเรียนรู้ การเขียนผังพืน้ มิติในแบบก่อสร้างสามารถแยกได้ใน 2 ระนาบ ได้แก่ แบบที่แสดงให้เห็นแนวมิติทาง แนวราบ ( แบบผัง ) และแบบที่แสดงให้เห็นมิติทางแนวดิ่ง ( แบบรู ปด้านและรู ปตัด ) แบบผังต่างๆ เรี ยกชื่อตามความหมายที่แสดงในผังนั้น ๆ เช่นผังพื้น ผังโครงสร้าง เป็ นต้น 1. ความหมายของรู ปผังพื้น ผังพื้นเป็ นแบบที่แสดงขนาด รู ปร่ าง และการจัดส่วนพื้นที่ภายในแนวราบ โดยมี แนวคิดว่า ถ้าเลื่อยตัวอาคารในแนวราบสูงจากระดับห้องประมาณ 1200 มิลลิเมตร เมื่อเคลื่อนย้าย ส่วนบนที่ถกู ตัดออกไปแล้วมองตั้งฉากลงมาที่พ้นื ห้อง จะเห็นขอบเขตและการจัดส่วนของพื้น อาคารทั้งชั้นแนวตัดนี้จะตัดผ่านโครงสร้างด้านตั้งทั้งหมด ได้แก่ เสา ผนัง และวงกบด้านตั้งของ ประตู หน้าต่าง ทาให้เห็นหน้าตัดเสา ความหนาของผนัง และขนาดหน้าตัดของวงกบทางด้านตั้ง พร้อมทั้งแนวการเปิ ดประตูหน้าต่างด้วย อาคารแต่ละหลังประกอบด้วยแบบผังพืน้ นิยมใช้ 2 ขนาดคือ 1 : 50 ใช้เขียนเมื่อเป็ น อาคารขนาดใหญ่ไม่มากนัก เช่น บ้านพักอาศัย แบบผังพื้นที่เขียนด้วยมาตราส่วน 1 : 50 จะ แสดงรายละเอียดของโครงสร้าง เช่น วงกบ ประตู – หน้าต่าง ได้ละเอียดชัดเจน และแบบที่ เขียนด้วยมาตราส่วน 1 : 100 ซึ่งเหมาะสาหรับเขียนเมื่อเป็ นอาคารขนาดใหญ่ นอกจากจะ คานึงถึงขนาดของอาคารแล้ว ยังต้องคานึงถึงขนาดของอาคารกับขนาดหน้ากระดาษที่ใช้เขียน ด้วย เส้น สัญลักษณ์ คาย่อขององค์อาคาร ตัวอักษร ตัวเลข รวมกัน เพื่อสื่อความหมาย ดัง แสดงตัวอย่าง
13
จากรู ปผังพื้นชั้นล่าง และ ผังพื้นชั้นลอย สามารถอ่านจากแบบผังพื้นได้ดงั นี้ 1. ผังพืน้ เขียนด้วยมาตราส่วน 1:100 2. การวางทิศ ( แสดงด้วยเครื่ องหมายทิศ ) ซึ่งตรงกับที่ระบุในผังบริ เวณทาให้ทราบได้ว่า ด้านหน้าของอาคารหันหน้าไปทางทิศใต้ ด้านข้างของอาคารหันไปทางทิศตะวันออก และ ทิศ ตะวันตก ส่วนที่บริ เวณซักล้างหันไปทางทิศเหนือ 3.
ตาแหน่ งของเสาสาหรับตัวอาคาร เมื่อเปรี ยบเทียบผังพื้นชั้นล่าง – ชั้นลอย ตาแหน่งของเสา ที่แนวผนังของอาคารขนานกับสายตาผูด้ ู ได้แก่ ตาแหน่งเสาที่กาหนดด้วยตัวเลขแถวที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, โดยกาหนดตัวเลขจากซ้ายไปขวาตามลาดับ แนวผนังของอาคาร ด้านที่ได้ต้งั ฉากกับสายตา ผูด้ ูได้กาหนดตาแหน่งเสาที่ตวั อักษรแถว A, B, C, D ไล่จากบนลงล่างตามลาดับ ตาแหน่งของเสา ที่เป็ นโครงสร้างทั้งชั้นล่างและชั้นลอย ได้แก่ เสาแถว A, B ซึ่งอยูต่ รงกันทั้งพื้นชั้นล่างและพื้นชั้น ลอย ส่วนช่วงเสาแนว C, D ไม่ตอ้ งรองรับผังพื้นชั้นล่างเนื่องจากผังพื้นชั้นบนเป็ นพื้นชั้นลอย
4.
ขนาดและขอบเขตของผังพืน้ ชั้นล่าง ขนาดของผังพื้นชั้นล่างจะใหญ่กว่าผังพื้นชั้นลอย เนื่องจากประกอบด้วย ทางเดินบริ เวณหน้าอาคาร บริ เวณซักล้างด้านหลัง ห้องน้ า ซึ่งในแบบจะ ระบุระยะของช่วงเสาจากกึ่งกลางเสาถึงกึ่งกลางเสา กล่าวคือพื้นชั้นล่างจะมีช่วงเสา 4.00 เมตร ความกว้างความยาวของผนังพื้นชั้นล่าง 4.00 x 12.00 เมตร ต่อ 1 คูหา บริ เวณทางเดินหน้าอาคารมี ขนาด 4.00 x 2.00 เมตร บริ เวณซักล้างหลังอาคาร 4.00 x 2.00 เมตร เมื่อรวมขอบเขตของพื้นชั้น ล่างแล้วจะมีความกว้างและความยาวของอาคารพาณิ ชย์ท้งั หมด 24.00 x 12.00 เมตร
14 5.
ขนาดและขอบเขตของผังพืน้ ชั้นลอย ขนาดของผังพื้นชั้นลอยจะมีขนาดเล็กกว่าผังพื้น ชั้นล่างเนื่องจากประกอบด้วย ทางเดินบริ เวณหน้าอาคาร บริ เวณซักล้างด้านหลัง ห้องน้ า ซึ่งในแบบจะระบุระยะของช่วงเสาจากกึ่งกลางเสาถึงกึ่งกลางเสา กล่าวคือพื้นชั้นลอยจะมีช่วง เสา 4.00 เมตร ความกว้างความยาวของผนังพื้นชั้นลอยมีขนาด 4.00 x 4.80 เมตร บริ เวณกัน สาดด้านหน้ามีขนาด 4.00 x 2.00 เมตร บริ เวณบันไดหนีไฟมีขนาด 4.00 x 2.00 เมตร เมื่อ รวมขอบเขตของพื้นชั้นลอยแล้วจะมีความกว้างและความยาวของอาคารพาณิ ชย์ท้งั หมด 24.00 x 4.80 เมตร
6.
ตาแหน่ งของผนังประตูหน้ าต่าง ซึ่งเป็ นสิ่งที่กาหนดขอบเขตของผังพื้นทั้งชั้นล่างและชั้น ลอยสถาปนิกจะเป็ นผูอ้ อกแบบจะเป็ นผูก้ าหนดตามความเหมาะสมโดยพิจารณาจากทิศทางลม ประโยชน์ใช้สอยและความงามประกอบกันผนังพื้นชั้นล่างและผนังพื้นชั้นลอยเป็ นผนังก่ออิฐ ประตู – หน้าต่าง อยูต่ าแหน่งใดในผังพื้น ห่างจากริ มเสาเท่าใดมีจานวนกี่บาน ซึ่งในแบบจะ เขียนขนาดได้อย่างถูกต้อง
7.
ระดับของอาคารทีแ่ สดงในผังพืน้ ใช้ระดับกาหนด + 0 ระดับพื้นชั้นล่าง + 0.30 หมายถึง ระดับพื้นชั้นล่างอยูส่ ูงกว่าระดับกาหนด 30 เซนติเมตร ส่วนห้องอื่นจะลดระดับตามความ เหมาะสม
8.
แนวแสดงเส้ นตัด ที่จะแสดงในผังพื้นว่าอาคารถูกตัดในแนวดิ่ง เพื่อใช้เป็ นแนวทางใน การเขียนรู ปตัด จะตัดในตาแหน่งใดต้องดูจากแนวเส้นตัดในผังพื้นประกอบในที่น้ ีจะกาหนด รู ปตัด ก – ก ตัดผ่านส่วนที่เป็ นโครงสร้าง
15 2. 1.
หลักเกณฑ์และข้ อกาหนดในการเขียนผังพืน้ ชั้นล่าง – ชั้นลอย มาตราส่ วน
นิยมใช้มาตราส่วน 1: 50 และ 1: 100 ขึ้นอยูก่ บั ขนาดของอาคารและความเหมาะสมของหน้ากระดาษ 2. เส้ น ต้องคานึงถึงความสม่าเสมอของเส้น น้ าหนัก ความหนาของเส้นที่ใช้เฉพาะงานคุณภาพของเส้น ความหนาของเส้ น เส้นมีความหนาที่แตกต่างกันตามความหมายของเส้นเฉพาะนั้น ๆ ชนิดของเส้นมีดงั นี้ เส้นบาง เส้นหนา เส้นหนามาก มีขนาด 0.25, 0.35, 0.5, 0.7, 1.0, 1.4, และ 2.0 มิลลิเมตรความหนาของเส้นที่ใช้ในแต่ละแบบใช้ท้งั 3 ขนาดตามอัตราส่วน 1: 2: 4 เช่น เส้นบาง 0.13 มิลลิเมตร เส้นหนา 0.25 มิลลิเมตร เส้นหนามากใช้ขนาด 0.50 มิลิเมตร คุณภาพของเส้ น นอกจากความหมายของเส้นที่ใช้ความหนาต่างกันแล้ว เส้นที่เขียน จะต้องมีความสม่าเสมอตลอดทั้งเส้น ควรมีความประณี ตในการเขียน เช่น การต่อเส้นควรบรรจบ กันพอดีไม่ขาดไม่เกิน เป็ นต้น 3. มิติ ใช้กาหนดระยะห่างระหว่างจุดสองจุดในแบบก่อสร้าง เส้ นมิติ ( Dimension Line ) และ เส้ นฉาย ( Projection Line ) มีขอ้ กาหนดดังนี้ 1. ควรเป็ นเส้นบางและไม่ขาดตอนมีหน่วยกาหนดเป็ นมิลลิเมตร 2. เส้นฉาย เริ่ มต้นห่างจากเส้นขอบหรื อจุดที่ตอ้ งการบอกระยะเล็กน้อย โดยตั้งฉากกับเส้นมิติที่ ต้องการ และยาวเลยเส้นมิติเล็กน้อย 3. หลีกเลี่ยงการเขียนเส้นมิติตดั กับเส้นมิติ และเส้นฉายตัดกับเส้นฉาย 4. เส้นมิติเป็ นเส้นไม่ขาดตอน นอกจากกรณี ที่เว้นช่องสาหรับเขียนมิติ 5. เส้นแกน ( Axis ) เส้นอ้างอิง ( Reference Line ) หรื อเส้นขอบ ห้ามใช้เป็ นเส้นมิติแต่อาจใช้ เป็ นเส้น ฉายได้ - เครื่องหมายกากับปลายเส้ นมิติ ( Termination ) ใช้เส้นหนาขีดเอียงทามุม 45 องศา ตามเข็ม นาฬิกา จากเส้นฉาย - การเขียนมิติ 1. เขียนขนานไปกับเส้นมิติ ในตาแหน่งใกล้เคียงกับกึ่งกลางและอยูเ่ หนือเส้นมิติเล็กน้อย 2. การเขียนมิติบนระนาบเอียงหรื อตั้งฉาก เขียนตามแนวเส้นมิติ
16
4. ระดับ ในแบบก่อสร้างจะกาหนดระดับ + 0 โดยกาหนดจากระดับที่ผอู้ อก แบบยึดเป็ นแนวระดับ กาหนดเฉพาะงานนั้นๆ เพื่อช่วยให้การบอกระดับต่างๆ เช่น ระดับพื้นชั้นล่าง + 0.30 หมายถึงระดับ พื้นชั้นล่างอยูส่ ูงกว่าระดับกาหนด 30 เซนติเมตร 5. การแสดงตัวอักษรและตัวเลข ตัวอักษรและตัวเลขที่เขียนแสดงในแบบ เพื่อประกอบรายละเอียดถูกต้องและแน่นอน 1. เขียนให้ชดั เจนจนเป็ นระเบียบ อ่านง่าย 2. การเขียนข้อความประกอบแบบควรรวมไว้เป็ นกลุ่มไม่ควรให้กระจัดกระจายออกไป ข้อความ ที่ช้ ี เฉพาะควรให้อยูใ่ กล้กบั ส่วนที่บ่งถึงมากที่สุด แต่ตอ้ งระวังไม่ให้ทบั กับเส้นต่าง ๆ ในแบบที่เขียน เส้นชี้บอกไม่ควรขีดเส้นใต้นอกจากต้องการให้เป็ นข้อความสาคัญ 3. การเขียนตัวอักษรและตัวเลขในระนาบต่าง ๆให้ใช้ระบบเดียวกับตัวเลขมิติ 4. ขนาดตัวอักษรและตัวเลขไทย มีขนาดความสูง 2.5, 3.5, 5, 7, 10 ,14 และ 20 มิลลิเมตร ขนาด ช่องไฟตามความเหมาะสม 6. สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ที่เขียนใช้ตามมาตรฐาน มอก. 440 เล่ม 1 – 2525 และ หลักสากลที่ ผูเ้ กี่ยวข้องกับงานก่อสร้างสามารถเข้าใจได้ 3. ลาดับขั้นตอนการเขียนผังพืน้ ชั้นล่าง - ชั้นลอย 1. กาหนดขนาดของมาตราส่วนที่ใช้ 1 : 100 2. กาหนดระยะห่างของผังพื้นที่จะเขียนจากเส้นขอบข้าง ขอบบน หรื อขอบล่าง โดยเผือ่ ระยะ ต่างๆ ไว้ดงั นี้ ด้านขอบข้าง จากผังพื้นต้องเผือ่ พื้นที่ไว้สาหรับเขียนเส้นบอกระยะเป็ นช่วงๆ เส้นบอกระยะ รวม แนว Grid Line เครื่ องหมายแสดงการตัด ด้านบนจากผังพื้นต้องเผือ่ พื้นที่ไว้เช่นเดียวกับด้านข้าง ด้านล่างจากผังพื้นต้องเผือ่ พื้นที่ไว้สาหรับพื้นที่ภายนอกอาคารบ้างเพื่อให้รู้แนว ทางเข้า มี เส้นบอกระยะที่จาเป็ นและเส้นบอกระยะรวม ไม่มีแนว Grid Line แต่มีขอ้ ความบอกว่าเป็ นผังพื้น ชั้นที่ 1 – ชั้นลอย มาตราส่วน ? 3. เมื่อกาหนดขอบเขตของตัวอาคารแล้วจึงทาการร่ างตาแหน่งเสาทุกต้น
17 4. ร่ างแนวผนังทั้งหมดเป็ นเส้นร่ างเท่ากับความหนาของประเภทผนัง 5. ร่ างตาแหน่ง ประตู หน้าต่าง บันได 6. เมื่อร่ างได้ภาพทั้งหมดแล้วก็ลงหมึกในแบบที่ได้ร่างด้วยดินสอ 7. เขียนบอกประเภทห้อง ระดับความสูงแต่ละห้อง ประเภทของพื้น ประเภทของผนัง เขียนชื่อพร้อมมาตราส่วนกากับ ลาดับขั้นตอนการเขียนผังพืน้ ชั้นสอง – ชั้นสามและหลังคา ก่อนลงมือเขียนแบบ ไม่ว่าจะเป็ นแบบใดก็ตาม ต้องทาความสะอาดโต๊ะเขียนแบบ เครื่ องมือเขียนแบบ และอุปกรณ์ให้พร้อม ล้างมือให้สะอาดและเช็ดให้แห้ง ศึกษาแบบร่ างชุดให้ เข้าใจ แล้วจึงดาเนินการเขียนแบบตามลาดับ ดังนี้ 1. หลังจากติดกระดาษเขียนแบบขนาด A3 แล้วและเขียนรายละเอียดในกรอบชื่อแบบแล้ว พิจารณาขนาดของผังพื้นว่ามีขอบเขต กว้าง ยาว ทั้งหมดเท่าใด กาหนดว่าต้องใช้มาตราส่วน 1 : 100 ซึ่งเมื่อเขียนผังพื้น เส้นฉาย เส้นมิติ และรายละเอียดอื่นๆ แล้ว ควรมีเนื้อที่รอบๆ ผังพื้น พอเหมาะกับหน้ากระดาษ ไม่เขียนหลายรู ปจนแน่นเกินไป หรื อถ้าผังพื้นมีขนาดเล็กก็อาจจะเขียน ผังพื้นชั้นสองและผังพื้นชั้นสามในแผ่นเดียวกัน ถ้าพื้นมีขนาดที่พอเหมาะจะเขียนได้รูปเดียว และ ผังพื้นที่ดา้ นข้างมีพ้นื ที่เหลืออยู่ ก็อาจจะจัดการเขียนรายละเอียดพื้นหรื อผนัง เพื่อช่วยประกอบให้ อ่านแบบผังพื้นสะดวกขึ้นก็ได้ โดยยึดหลักในการพิจารณาว่าให้ผงั พื้นอ่านง่ายและชัดเจน และ ควรจัดวางรู ปพอเหมาะกับหน้ากระดาษ 2. ร่ างตารางตาแหน่งเสา ใช้มาตราส่วน 1 : 100 ด้วยดินสอน้ าหนักเส้นบางโดยวัดจาก กึ่งกลางเสาถึงกึ่งกลางเสา ( Grid of center line ) 3. ร่ างความหนาขอผนัง และวัดขนาดกาหนดตาแหน่งวงกบประตู หน้าต่าง 4. ร่ างตาแหน่งบันได วัดขนาดลูกนอน 5. เขียนเน้นหน้าตัดเสา วงกบตั้ง ผนังส่วนที่ถกู ตัด ด้วยน้ าหนักเส้นหนามาก ถ้าเป็ นหมึกให้ ลงเส้น ที่มีความหนา 6. เขียนส่วนของผังพื้นที่ไม่ถกู ตัด เช่น ขอบเขตพื้น วงกบนอน ซักล้าง ทางเดินด้านหน้า อาคาร บันไดพร้อมทั้งลูกศรขึ้นลงด้วย หมึกเส้นคมที่คมและชัดเจน
18 7. เขียนเส้นฉาย เส้นมิติ กรอบบอกชื่อผนัง สัญลักษณ์พ้นื ระดับ และใช้ Template รู ป สามเหลี่ยม หกเหลี่ยม ล้อมรอบสัญลักษณ์ ผนัง ประตู หน้าต่าง ตามลาดับ ใช้ Template วงกลม เขียน ¼ ของวงกลมแสดงการเปิ ดหรื อปิ ด ประตูและหน้าต่าง แทนการเปิ ดเป็ นมุม 90 องศา หรื อ ½ วงกลมแทนการเปิ ดมุม 180 องศา การเขียนด้วย Template พยายามใช้ความประณีตและให้ เส้นคม ชัดเจนด้วยน้ าหนักเส้นบางขีดเครื่ องหมายกากับปลายเส้นมิติ ตัวเลขกาหนดมิติ ตาม มาตรฐานที่กาหนด ด้วยน้ าหนักเส้นหนา 8. ขีดเส้นกากับตาแหน่งเสา พร้อมทั้งใส่ตวั เลขและตัวอักษรแนวเส้นประแสดงส่วนที่มอง ไม่เห็น เช่น แนวเส้นตัดได้แก่ แนวตัด ก – ก และ ข - ข 9. เขียนบอกชื่อแบบพร้อมมาตราส่วนกากับเช่น แปลนพื้นชั้นสอง มาตราส่วน 1: 100 5. ข้ อควรระวัง ทาความสะอาดโต๊ะเขียนแบบและเครื่ องมือเขียนแบบก่อนติดกระดาษทุกครั้งเพื่อให้ผลงาน เขียนแบบสะอาด ใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์ให้ถกู วิธี จัดวางรู ปให้เหมาะสมกับหน้ากระดาษ และใช้มาตราส่วน 1 : 100 วัดขนาดหน้าตัดเสา ความหนาของผนัง ช่องประตูหน้าต่าง ขนาดหน้าตัดของวงกบ ฯลฯ ให้ ถูกต้องตามมาตราส่วนที่ใช้อย่ากะประมาณด้วยสายตา เส้นทุกเส้นในแบบ รู ปเหลี่ยม วงกลม ๆ ใช้เครื่ องมือประกอบการเขียนทุกแห่ง อย่าใช้เส้น ร่ างด้วยมือ เขียนความหนาของเส้นที่ใช้เฉพาะงานถูกต้อง ได้ขนาดสม่าเสมอ รอยต่อของเส้น มุมที่เส้น ต้องตัดกันเขียนให้ประณี ต เขียนตัวอักษร สัญลักษณ์กากับ ผนัง ประตูหน้าต่าง พื้นให้ถกู ต้อง และแสดงให้ครบถ้วน อย่าละไว้ให้ผอู้ ่านแบบเข้าใจเอง เขียนตัวอักษร ตัวเลข ด้วยตัวบรรจง อ่านง่ายและให้เป็ นระเบียบ ตรวจสอบให้แน่ใจว่าเส้นที่จะเขียนถูกต้อง เพื่อจะได้ไม่ตอ้ งลบออก ทาให้เส้นคมชัดและ กระดาษไม่ช้ า 6. ข้ อเสนอแนะ เส้นร่ างใช้ดินสอบาง เมื่อขีดเส้นจริ งแล้วไม่ตอ้ งลบออก การใช้ Template วงกลมช่วยเขียน ¼ ของวงกลม หรื อ ½ ของวงกลม ให้ระวังทาบแนวเส้น ผ่านศูนย์กลางและจุดศูนย์กลางให้ถกู ต้อง
19 หน่วยที่ใช้และเขียนในแบบต้องเป็ นหน่วย เมตร
20
5.กิจกรรมการเรียนรู้ หัวข้ อการสอน การเขียนผังพื้น - ความหมายของรู ปผังพื้น - หลักเกณฑ์และข้อกาหนดในการเขียนผังพื้น - การเขียนผังพื้นชั้น1 ชั้นลอย ชั้น2 ชั้น3 และหลังคา เตรียมการสอน - ให้นกั ศึกษาเตรี ยมเครื่ องมือและสมุดจดมาให้พร้อม - รวบรวมเนื้อหาเกี่ยวกับการเขียนผังพื้นทั้งหมดให้มีเนื้อหาที่เข้าใจง่าย - เตรี ยมแบบแปลนพื้นชั้น 1 – ชั้นลอย ชั้น2 ชั้น3และหลังคา เพื่อให้นกั ศึกษาเขียนแบบ - เตรี ยมสื่ อการสอนแผ่นใสในการอธิบายเกี่ยวกับรู ปแบบของแบบ การจัดการสอน - ช่วงที่1 บรรยายความหมายส่วนต่าง ๆของผังพื้นโดยใช้เวลา 10 นาที - ช่วงที่ 2 ดาเนินการสอนแบบบรรยายประกอบภาพและขั้นตอนข้อกาหนดในการเขียน - ช่วงที่ 3 แจกเอกสารประกอบในการสอนให้แก่นกั ศึกษามอบใบงานให้หวั หน้าห้องเพื่อถ่าย เอกสาร แจกกันเองภายในห้อง - ช่วงที่4 นักศึกษาเขียนแบบภายในห้องเขียนแบบจานวน 5 คาบ
21 8.การวัดและประเมินผลเกณฑ์การให้ คะแนน 4. การดาเนินงาน 4.1 บันทึกองค์ความรู้ 5. วัดผลจากการฝึ กทักษะ 5.1 ลายละเอียดในการบันทึก 5.2 แบบที่ทาการเขียน 6. จริยธรรมการฝึ กปฏิบัติ 6.1 การตรงต่อเวลา 6.2 ความรับผิดชอบในการทางาน 6.3 ความซื่อสัตย์ 6.4 การใฝ่ หาความรู้ 6.5 การประหยัดพลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม
9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………… 2) ปัญหาที่พบ ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………… 3) แนวทางแก้ปัญหา ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… …………
22 ใบงานสัปดาห์ ที่ 2 แปลนพื้นชั้นล่าง
23
ใบงานสัปดาห์ ที่ 2 แปลนพื้นชั้นลอย
24
ใบงานสัปดาห์ ที่ 3 แปลนพื้นชั้น2
25
ใบงานสัปดาห์ ที่ 3 แปลนพื้นชั้น3
26
ใบงานสัปดาห์ ที่ 3 แปลนพื้นหลังคา
27
รหัส 2106-2113
แผนการจัดการเรียนรู้หน่ วยที่ 3 จานวน 6 ชั่วโมง วิชา เขียนแบบก่อสร้าง 3 หน่ วยกิต 3(6) สอนครั้งที่
4-6 ชื่อหน่ วย
งานผังโครงสร้ าง
ชั่วโมงรวม 18
1.สาระสาคัญ แบบก่อสร้าง (Construction Drawing) เป็ นแบบที่เขียนขึ้นโดยมีวตั ถุประสงค์ให้สามารถ นาไปใช้เป็ นแนวทางในการก่อสร้างอาคารได้ตรงตามรู ปแบบ ทั้งรู ปร่ าง ลักษณะการใช้วสั ดุ ก่อสร้าง รวมไปถึงวิธีการก่อสร้างตามหลักวิชาการก่อสร้างที่ดี โดยให้มีโครงสร้างตรงตามในแบบ ทุกประการ ในการเขียนแบบก่อสร้างจึงมีผเู้ กี่ยวข้องหลายฝ่ าย กล่าวคือสถาปนิกเป็ นผูก้ าหนดรู ปร่ าง และโครงสร้างของอาคาร ตามความต้องการของเจ้าของอาคารและงบประมาณ จากนั้นจะมอบให้ วิศวกรก่อสร้างเป็ นผูค้ านวณและกาหนดขนาดหน้าตัด และรายละเอียดการเสริ มเหล็กของ โครงสร้างเพื่อให้อาคารมัน่ คงแข็งแรงและประหยัด แบบก่อสร้างทั้งหมดนี้ ผูเ้ ขียนแบบจะต้องมีความรู้พ้นื ฐานในแต่ละเรื่ องพอที่จะเขียนแบบ ก่อสร้างได้อย่างถูกต้อง 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้เกี่ยวกับงานผังโครงสร้าง 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถอธิบายความหมายของผังโครงสร้างได้อย่างถูกต้อง 2. สามารถบอกหลักเกณฑ์และข้อกาหนดในการเขียนผังโครงสร้างได้อย่างถูกต้อง 3. สามารถเขียนผังโครงสร้างคานคอดิน คานชั้นลอย คานชั้นสอง คานชั้นสามและคานหลังคา ได้อย่างถูกต้อง 4. มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ใน ตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที
28
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ
ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน
1) สามารถอธิบายความหมายของผัง โครงสร้างได้อย่างถูกต้อง 2) สามารถบอกหลักเกณฑ์และข้อกาหนด ในการเขียนผังโครงสร้างได้อย่างถูกต้อง 3) สามารถเขียนผังโครงสร้างคานคอดิน คานชั้นลอย คานชั้นสอง คานชั้นสามและ คานหลังคาได้อย่างถูกต้อง 4) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที รวม ลาดับความสาคัญ
29 4.สาระการเรียนรู้ การเขียนผังโครงสร้ าง ก่อนทาการเขียนแบบผังโครงสร้าง ผูเ้ ขียนควรต้องมีความรู้พ้นื ฐานเกี่ยวกับวัสดุที่ใช้ทา โครงสร้างอาคารเสียก่อน เพื่อที่จะทาความเข้าใจกับแบบที่จะเขียนสามารถเขียนแบบผังโครงสร้าง ได้ถกู ต้องชัดเจน 1. วัสดุก่อสร้ างทีใ่ ช้ ประกอบโครงสร้ างอาคารพักอาศัย วัสดุก่อสร้างหลักที่ใช้เป็ นส่วนประกอบของโครงสร้าง ได้แก่ ไม้ เหล็ก และคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ซึ่งสถาปนิกและวิศวกร จะเลือกใช้ตามความเหมาะสมกับลักษณะงานและงบประมาณ 1.1 โครงสร้ างไม้ นิยมใช้กบั อาคารพักอาศัยขนาดเล็กและขนาดกลาง โดยสถาปนิกมักจะเป็ นผูก้ าหนดผัง โครงสร้าง รายละเอียดของรอยต่อ และการเข้าไม้เอง เนื่องจากไม้มีขีดจากัดที่รับน้ าหนักได้ปาน กลางและความกว้างของช่วงเสาไม่มากนัก แต่มีน้ าหนักเบา ยืดหยุน่ ได้ดีและก่อสร้างง่ายกว่าวัสดุ ชิ้นอื่น ไม่ตอ้ งใช้อุปกรณ์และเทคนิคยุง่ ยาก ชนิดของไม้ที่ใช้ทาโครงสร้างเป็ นไม้เนื้อแข็งได้แก่ ไม้เต็ง รัง ประดู่ แดง ฯลฯ ส่วนไม้ เนื้ออ่อนใช้กบั ส่วนของอาคารที่รับน้ าหนักไม่มากนัก เช่น ฝา ฝ้ าเพดาน หรื อคร่ าวฝ้ าเพดาน เป็ น ต้น ได้แก่ ไม้ยาง ไม้จาปา ไม้สกั ฯลฯ ไม้ให้สมั ผัสที่นุ่มนวลและมนุษย์มีความคุน้ เคยมากกว่าวัสดุชนิดอื่น จึงนิยมใช้แม้ว่าจะมี คุณสมบัติไม่ทนไฟและยังจาเป็ นต้องป้ องกันแมลงจาพวกปลวก อีกทั้งยังไม่ทนต่อสภาพอากาศที่ รุ นแรง เนื่องจากปัจจุบนั ไม้มีราคาแพงและหายากขึ้น บ้านจัดสรรต่าง ๆ จึงนิยมใช้โครงสร้าง คอนกรี ตเสริ มเหล็ก และโครงสร้างหลังคาเป็ นเหล็กแทนมากขึ้น จะใช้ไม้เพื่อการตกแต่งภายใน และส่วนที่ตอ้ งการทางานง่าย เช่น พื้นไม้ บันได วงกบประตูหน้าต่าง เท่านั้น 1.2 โครงสร้ างเหล็กและคอนกรีตเสริมเหล็ก นิยมใช้กบั อาคารพาณิ ชย์และอาคารขนาดใหญ่ ๆ รวมทั้งอาคารบ้านพักอาศัย วิศวกรจะเป็ นผู้ คานวณโครงสร้างและกาหนดรายละเอียดต่าง ๆ ประกอบแบบโครงสร้าง คุณสมบัติของเหล็กมีความแข็งแรงและรับแรงดึงได้สูง มีความยืดหยุน่ ดี ทางานง่าย แต่มี ราคาแพง คุณสมบัติของคอนกรี ตเสริ มเหล็ก รับน้ าหนักได้มาก เนื่องจากรวมคุณสมบัติที่แตกต่างของ คอนกรี ตซึ่งรับแรงอัดได้ดี มารวมกับคุณสมบัติของเหล็กในข้อที่รับแรงดึงได้ดี มีความยืดหยุน่ ดี แต่มีขอ้ เสียที่มีน้ าหนักมาก หล่อเป็ นรู ปร่ างได้ตามต้องการ ทนไฟและทนต่อการสึกกร่ อนได้ดี แต่
30 มีขอ้ เสียที่มีน้ าหนักมาก ทาให้เพิ่มน้ าหนักแก่ตวั อาคาร และต้องทาแบบหล่อ ทาให้สิ้นเปลืองและ ยังต้องใช้เทคโนโลยีในการผลิตคอนกรี ตให้คุณสมบัติที่ดี ปัจจุบนั นิยมนาคอนกรี ตสาเร็ จรู ปบางส่วน เช่น พื้นสาเร็ จรูป มาใช้ประกอบแบบโครงสร้าง ทาให้ลดค่าใช้จ่ายในการทาแบบหล่อและประหยัดเวลาในการก่อสร้างขึ้น 2. โครงสร้ างอาคารพักอาศัยตามลักษณะของแบบและการก่อสร้ าง ผูอ้ อกแบบจะออกแบบโครงสร้างของอาคาร เพื่อให้รับน้ าหนักตัวอาคารเอง และรับน้ าหนัก บรรทุกอื่น ๆ เช่น คน สิ่งของ แรงลม ฯลฯ ได้อย่างมัน่ คงแข็งแรง โดยให้โครงสร้างทุกส่วน ของอาคารยึดโยงกันและถ่ายเทน้ าหนักจากส่วนบนสุด ตั้งแต่หลังคาลงไปตามลาดับให้แก่เสา และเสาถ่ายเทน้ าหนักทั้งหมดของอาคารลงสู่พ้นื ดิน โครงสร้างของอาคารทัว่ ไปจึงแบ่งออกได้เป็ นสองส่วนใหญ่ ๆ คือ ส่วนของโครงสร้างที่อยู่ เหนือดิน ได้แก่ โครงสร้างของอาคารทั้งหลัง และส่วนโครงสร้างใต้ดิน ซึ่งทาหน้าที่รับน้ าหนัก บรรทุกและน้ าหนักจรของอาคารทั้งหลังจากโครงสร้างส่วนเหนือดินถ่ายเทลงสู่ดิน 3. ส่ วนประกอบของโครงสร้ างใต้ดิน โครงสร้ างอาคารส่ วนที่อยู่ใต้ดิน ประกอบด้ วย 3.1 ตอม่อ ตอม่อ คือ เสาที่ต่อจากพื้นชั้นล่างลงไปในดินสู่ฐานราก ทาหน้าที่รับน้ าหนักจากเสาบ้าน หรื ออาคารถ่ายลงสู่ฐานราก 3.2 ฐานราก เป็ นโครงสร้างของอาคารส่วนที่ทาหน้าที่ถ่ายน้ าหนักบรรทุกจากตอม่อ หรื อ กาแพงลงสู่ที่รองรับ ซึ่งอาจเป็ นดินโดยตรงในกรณี ที่ดินแข็งสามารถรับแรงกดได้ดี หรื ออาจ ต้องใช้เสาเข็มเข้าช่วยในกรณี ที่ดินอ่อนรับแรงได้นอ้ ย ขึ้นอยูก่ บั สภาพของดินฐานรากอาจแบ่ง กว้าง ๆ ตามลักษณะของที่รองรับได้สองประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. ฐานแผ่ซึ่งไม่มเี สาเข็มรองรับ เป็ นการวางฐานรากบนดินแข็งซึ่งเหมาะสาหรับบริ เวณที่มี ชั้นดินแข็งตั้งแต่ขา้ งบนลงไป เช่น พื้นที่ใกล้ภูเขาหรื อเป็ นดินลูกรัง 2. ฐานรากชนิดมีเสาเข็มเป็ นที่รองรับ ใช้ในกรณี ที่ดินอ่อน ควรใช้เสาเข็มเป็ นตัวช่วยดินรับ น้ าหนักจากฐานราก โดยเลือกใช้น้ าหนักตามสภาพดิน ดังนี้ 1 ) เสาเข็มสั้น ใช้เมื่อรับน้ าหนักของตัวอาคารไม่มากนัก เช่น บ้านพักอาศัยโดยทัว่ ไป โดย การตอกเสาเข็ม ลงไปในดินใต้ฐานรากเพื่อเพิม่ ความสามารถในการรับน้ าหนักให้กบั ดินได้มากขึ้น เนื่องจากจะเกิดความฝื ดระหว่างพื้นผิวรอบเสาเข็มกับดิน ทาให้ดินบริ เวณรอบ ๆ เกิดการอัดตัว แน่นรับน้ าหนักได้มากขึ้น
31 2) เสาเข็มยาว ใช้ ในกรณีที่อาคารมีขนาดใหญ่ รับนา้ หนักบรรทุกมากและลักษณะชั้นดินอ่อน ดังรู ป เสาเข็มนี้จะช่วยรับน้ าหนักได้มาก เพราะนอกจากจะถ่ายน้ าหนักจากฐานรากลงไปยังชั้นดิน แข็งยังทาให้ดินโดยรอบบริ เวณมีความสามารถในการรับน้ าหนักได้อกี ด้วย 4. ส่ วนประกอบของโครงสร้ างอาคารส่ วนที่อยู่เหนือดิน ถ้ าศึกษาโครงสร้ างตั้งแต่ฐานรากจนถึงหลังคาตามลาดับ จะมีลกั ษณะการถ่ ายนา้ หนักตาม ประโยชน์ ใช้ สอย ดังนี้ 4.1 เสา วัสดุที่ใช้ ทาเสาของอาคารพักอาศัย นิยมใช้ ท้งั เสาไม้และเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก เสาทาหน้าที่เป็ นแกนรับน้ าหนักในแนวดิ่งจากโครงสร้างส่วนอื่น ๆ แล้วถ่ายน้ าหนักของอาคาร ทั้งหมดลงสู่ฐานราก เนื่องจากเสาเป็ นแกนรับน้ าหนักที่สาคัญ ดังนั้น การพิจารณาวางตาแหน่งเสาจึงต้องคานึงถึง ประโยชน์ใช้สอย ร่ วมกับความสามารถรับน้ าหนักของวัสดุที่ใช้ทาเสาด้วย สาหรับโครงสร้างที่มีขนาดใหญ่เป็ นคอนกรี ตเสริ มเหล็ก จะมีความสามารถในการรับน้ าหนัก ได้มากกว่าเสาไม้ 4.2 คานคอดิน คานคอดินเป็ นฐานรากผนังชนิดหนึ่งมีความลึกของคานมากกว่าระดับที่มคี วามเย็นชนิดเป็ น น้ าแข็งจะแผ่ลงไปถึง ส่วนบนของคานคอดินจะเทคอนกรี ตทับลงอีกทีหนึ่ง จะเป็ นพื้นอยูเ่ หนือ ระดับดินเล็กน้อย พบบ่อยกับการขุดดินให้เป็ นราง แล้วเทคอนกรี ตลงไปโดยไม่ตอ้ งตั้งแบบหล่อ คานนี้จะเป็ นผนังก่ออิฐด้วย มักใช้กบั บริ เวณที่มดี ินแข็งและเป็ นที่สูงน้ าท่วมไม่ถึง สาหรับดินที่มี รองพื้นอยู่ ควรบดอัดให้แน่น ซึงอาจต้องปรับหน้าดินให้เรี ยบ แล้วเทคอนกรี ตจะได้ความหนา ของพื้นที่มีความสม่าเสมอ เมื่อพื้นมีความแน่น และคานช่วยกั้นดินไม่ให้ไหลออก รักษาความ แน่นให้คงสภาพอยู่ โดยมากคานคอดินจะหล่อกับเสาตอม่อ 4.3 พืน้ เป็ นส่วนของโครงสร้างที่ทาหน้าที่รับน้ าหนักเนื่องจากการอยูอ่ าศัย ได้แก่ น้ าหนักของผูอ้ ยูอ่ าศัย ได้แก่ น้ าหนักตัวของผูอ้ ยูอ่ าศัยเอง เครื่ องเรื อน อุปกรณ์ ฯลฯ
32 4.4 หลังคา เป็ นส่วนที่อยูบ่ นสุดของอาคาร ทาหน้าที่กนั แดด ลม ฝนให้กบั ตัวอาคาร โครงสร้างที่ทาหน้าที่ รับน้ าหนักหลังคา รับน้ าหนักของวัสดุมุง ได้แก่ กระเบื้องชนิดต่าง ๆ และแรงลม เนื่องจากเป็ น ส่วนที่อยูส่ ูงสุดของอาคาร 5. ส่ วนประกอบของแบบโครงสร้ าง แบบโครงสร้ างประกอบด้ วย ผังโครงสร้ าง แสดงโครงสร้างรวมของแต่ละระดับ ทั้งโครงสร้างใต้ดิน และเหนือดิน ได้แก่ ก. ผังฐานราก ข. ผังคาน – พื้น ค. ผังโครงหลังคา 6.หลักเกณฑ์และข้ อกาหนดในการเขียนผังโครงสร้ าง 1. มาตราส่ วน สาหรับผังโครงสร้างอาคารพักอาศัย ใช้มาตราส่วนไม่เล็กกว่า 1 : 100 หรื อมาตราส่วนเดียวกับรู ปผังพื้น 2. เส้ น เส้นรอบรู ปส่วนที่ถกู ตัด เช่น หน้าตัดเสาใช้เส้นหนามาก เส้นรอบรู ปทัว่ ไปใช้ เส้นหนาเส้นบอกมิติใช้เส้นบาง 3. ตัวย่อและสัญลักษณ์ เขียนตัวย่อและหมายเลขกากับโครงสร้างทุกแห่งที่แสดงในผัง 4. มิติ เขียนมิติบอกช่วงเสาจากกึ่งกลางเสาถึงกึ่งกลางเสา ทั้งด้านตั้งและด้านนอนโดย กาหนดชื่อแนวเสาทั้งแนวตั้งและแนวนอน ด้วยตัวเลข 1, 2, 3, 4…. และตัวอักษร A, B, C, D ให้ ตรงกับผังพื้น 7. ลาดับขั้นตอนการเขียนผังฐานรากชั้นล่าง - ชั้นลอย ผังฐานรากจะแสดงตาแหน่งของฐานรากและเสาตอม่อ ซึ่งถ่ายน้ าหนักจากเสารับอาคาร 1. ร่ างตารางแสดงตาแหน่งแนวเสาทั้งแนวดิ่งและแนวนอน 2. เขียนหน้าตัดตอม่อให้ถกู ต้องตามมาตราส่วนด้วยเส้นหนามาก 3. เขียนคานคอดินให้ถกู มาตราส่วนด้วนเส้นหนา 4. เขียนขอบเขตของแผ่นพื้นวางบนดิน 5. เขียนฐานรากด้วยเส้นเต็มหรื อเส้นประให้ถกู ต้องตามมาตราส่วนด้วย เส้นหนา 6. เขียนเส้นฉาย เส้นมิติดว้ ยเส้นบาง เขียนเครื่ องหมายกากับปลายเส้นมิติดว้ ยเส้นหนา 7. เขียนมิติเป็ นเมตรด้วยเส้นหนา
33 8. เขียนเส้นกากับตาแหน่ งเสาด้วยเส้นลูกโซ่บาง พร้อมทั้งเขียนตัวเลข ตัวอักษรกากับด้วย เส้นหนา 9. เขียนชื่อโครงสร้างกากับให้ครบทุกแห่ง ฐานราก แทนด้วย F ตอม่อ แทนด้วย GC คานคอดิน แทนด้วย GB พื้นวางบนดิน แทนด้วย GS พื้น แทนด้วย S คาน แทนด้วย B แต่ละชนิดมีขนาดที่ต่างกันจึงต้องใช้หมายเลขกากับ เช่น F1, F2 10. เขียนชื่อและมาตราส่วนกากับ 5.กิจกรรมการเรียนรู้ หัวข้ อการสอน การเขียนผังโครงสร้าง วัสดุก่อสร้างที่ใช้ประกอบโครงสร้างอาคารพักอาศัย โครงสร้างอาคารพักอาศัยตามลักษณะของแบบและการก่อสร้าง ส่วนประกอบโครงสร้างใต้ดิน ส่วนประกอบโครงสร้างที่อยูเ่ หนือดิน การเขียนผังคานคอดินฐานราก – ชั้นลอย เตรียมการสอน จัดเตรี ยมเนื้อหาเกี่ยวกับงานโครงสร้าง เช่น เสา พื้น ฐานราก คาน ฯ เตรี ยมสื่อแผ่นใสที่มีแบบโครงสร้างในการประกอบการสอน เตรี ยมแบบแปลนโครงสร้างฐานราก คานคอดิน– ชั้นลอยเพื่อให้นกั ศึกษาเขียนแบบ การจัดการสอน - ช่วงที่ 1 อธิบายงานเกี่ยวกับงานวัสดุโครงสร้างที่เกี่ยวกับแบบโครงสร้าง ช่วงที่ 2 บรรยายโครงสร้างอาคารพักอาศัยตามลักษณะของแบบและการก่อสร้าง -
ช่วงที่ 3 อธิบายส่วนประกอบโครงสร้างใต้ดิน
-
ช่วงที่ 4 อธิบายส่วนประกอบโครงสร้างที่อยูเ่ หนือดิน
34 -
ช่วงที่ 5 อธิบายการเขียนผังคานคอดิน ชั้นลอย ชั้น2 ชั้น3 และหลังคา
-
ช่วงที่ 6 มอบใบงานให้หวั หน้าห้องเพื่อถ่ายเอกสารแจกกันเองภายในห้อง
-
ช่วงที่ 7 นักศึกษาเขียนแบบภายในห้องเขียนแบบจานวน 5 คาบ
8.การวัดและประเมินผลเกณฑ์การให้ คะแนน 7. การดาเนินงาน 7.1 บันทึกองค์ความรู้ 8. วัดผลจากการฝึ กทักษะ 8.1 ลายละเอียดในการบันทึก 8.2 แบบที่ทาการเขียน 9. จริยธรรมการฝึ กปฏิบัติ 9.1 การตรงต่อเวลา 9.2 ความรับผิดชอบในการทางาน 9.3 ความซื่อสัตย์ 9.4 การใฝ่ หาความรู้ 9.5 การประหยัดพลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม 9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………… 2) ปัญหาที่พบ ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………… 3) แนวทางแก้ปัญหา ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… …………
35 ใบงานสัปดาห์ ที่ 4 แปลนเสาตอม่อและฐานราก
36 ใบงานสัปดาห์ ที่ 4 แปลนเสา คาน พื้นชั้น 1
37 ใบงานสัปดาห์ ที่ 5 แปลนเสา คาน พื้นชั้นลอย
38 ใบงานสัปดาห์ ที่ 5 แปลนเสา คาน พื้นชั้น 2
39 ใบงานสัปดาห์ ที่ 6 แปลนเสา คาน พื้นชั้น 3
40 ใบงานสัปดาห์ ที่ 6 แปลนคานหลังคา
41 แผนการจัดการเรียนรู้หน่ วยที่ 4 จานวน 6 ชั่วโมง รหัส 2106-2113 วิชา เขียนแบบก่อสร้าง 3 หน่ วยกิต 3(6) สอนครั้งที่ 7-8 ชื่อหน่ วย งานรูปตัด ชั่วโมงรวม 12
1.สาระสาคัญ การเขียนแบบรู ปตัด ผูเ้ ขียนต้องมีความรู้ ความเข้าใจในด้านโครงสร้างของอาคารหลังที่ จะเขียนตั้งแต่ฐานรากจนถึงโครงหลังคา ต้องศึกษาขนาดและชนิดของวัสดุก่อสร้างที่ใช้ประกอบ กันขึ้นเป็ นพื้น ผนัง หลังคา ประตู หน้าต่าง และส่วนอืน่ ๆ ของอาคาร จากผังพื้นและผัง โครงสร้าง สาหรับผูท้ ี่เริ่ มเรี ยนถ้าได้ศึกษาโครงสร้างของอาคารหลังที่จะเขียนรู ปตัดจากหุ่นจาลองโครงสร้าง จะช่วยเข้าใจให้ง่ายขึ้น เนื่องจากสามารถมองเห็นโครงสร้างรวมของอาคารทั้งหลัง ในลักษณะ เหมือนของจริ งย่อส่วน และทาให้สามารถพิจารณาโครงสร้างแต่ละส่วน เช่นโครงสร้างหลังคา เปรี ยบเทียบกับผังโครงหลังคา โครงสร้างแต่ละชั้นเปรี ยบเทียบกับผังคาน – พื้น ชั้นที่สองและชั้น ล่าง รวมทั้งส่วนที่ซบั ซ้อน เช่น ช่องบันได ฯลฯ ทาให้เข้าใจถึงความสัมพันธ์ของรู ปตัดกับผัง โครงสร้างได้ดีข้ ึน 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้เกี่ยวกับงานรู ปตัด 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถอธิบายความหมายของรู ปตัดได้อย่างถูกต้อง 2. สามารถบอกหลักเกณฑ์และข้อกาหนดในการเขียนรู ปตัดได้อย่างถูกต้อง 3. สามารถเขียนรู ปตัดได้อย่างถูกต้อง 4. มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ใน ตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที
42
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ
ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน
1) สามารถอธิบายความหมายของรู ปตัดได้ อย่างถูกต้อง 2) สามารถบอกหลักเกณฑ์และข้อกาหนด ในการเขียนรู ปตัดได้อย่างถูกต้อง 3) สามารถรู ปตัดอย่างถูกต้อง 4) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที รวม ลาดับความสาคัญ
43 4.สาระการเรียนรู้ ความหมายของแบบรูปตัด แบบรู ปตัดเป็ นแบบที่แสดงให้เห็นโครงสร้างและรายละเอียดต่าง ๆ ภายในอาคารใน แนวดิ่ง โดยมีแนวคิดว่าถ้าเลื่อยตัดอาคารในแนวดิ่งให้ต้งั ฉากกับพื้นตามแนวเส้นตัดที่แสดงในผัง พื้นตามรู ป แล้วเคลื่อนอาคารส่วนที่อยูห่ น้าเส้นแนวตัดออกไป จะเห็นภาพฉายแสดงโครงสร้าง ภายในของอาคาร ได้แก่ ระดับของฐานราก พื้นชั้นล่าง พื้นชั้นที่สอง ฝ้ าเพดาน และหลังคา ว่า อยูต่ ่าหรื อสูงกว่ากาหนด 0 เท่าใด พร้อมทั้งรายละเอียดของผนัง พื้น เพดาน ประตู หน้าต่าง หลังคา ส่วนที่ถกู ตัดตั้งแต่ ฐานรากจนถึงหลังคา ว่าทาด้วยวัสดุชนิดใด ขนาดเท่าใด และลักษณะการติดตั้งเป็ นแบบใด ด้วย การใช้เส้น สัญลักษณ์ คาย่อขององค์อาคารประกอบกันเพื่อสื่อความหมาย ทั้งนี้มาตราส่วนที่ใช้ ในการเขียนรู ปตัด ควรเป็ นขนาดเดียวกับที่เขียนผังพื้น หรื อไม่เล็กกว่า 1 : 50 รู ปตัดของอาคารแต่ ละหลังนิ ยมแสดงอย่างน้อย 2 รู ปในแนวตัดที่ต้งั ฉากกัน ได้แก่ 1. รูปตัดตามขวาง (Transverse Section) เป็ นแบบที่แสดงรู ปตัดตามแนวเส้นตัดที่ตดั ผ่านด้านแคบของอาคาร หรื อจะเรี ยกตาม แนวเส้นตัด ก – ก ดังรู ปก็ได้
ตัวอย่างแสดงแนวตัดของอาคารพักอาศัย 2 ชั้น ตามรู ปที่ 2 เขียนด้วยมาตราส่วน 1: 75 แต่การ เขียนรู ปตัดเพื่อทาการขออนุญาตปลูกสร้างอาคารนั้น กาหนดให้ใช้มาตราส่วนไม่เล็กกว่า 1: 50 สามารถอ่านรู ปตัด ก – ก ได้ดงั นี้
44 1.
2. 3. 4.
แนวตัด ก – ก ตัดผ่านอาคาร แสดงพื้นที่ใช้งานชั้นล่าง ได้แก่ บริ เวณเฉลียงหลังบ้าน ห้องน้ า โถงบันได และห้องพักผ่อน ส่วนชั้นที่สองแนวตัดจะตัดผ่านหลังคาคุมเฉลียงหลัง บ้าน ห้องน้ า (ตาแหน่งอยูต่ รงกับห้องน้ าชั้นล่าง) โถงบันได และห้องนอน 2 ความกว้างของตัวอาคาร อ่านได้จากตัวเลขบอกระยะของช่วงเสา จากแนว A จนถึงแนว F และระยะรวมเป็ นความกว้างทั้งหมดของอาคาร ความสู งของอาคารแต่ละระดับต่าง ๆ เช่น ระดับพื้นชั้นล่างอยูส่ ูงจาก ระดับที่กาหนด 0 เท่าใด ระดับก้นหลุมฐานรากอยูต่ ่ากว่าระดับ 0 เท่าใด เป็ นต้น ลักษณะโครงสร้ างของอาคาร แสดงว่าโครงสร้าง เช่น เสา คาน พื้นชั้นล่างเป็ น ค.ส.ล. เสาชั้นที่สองที่รับโครงหลังคาเป็ นเสาไม้ โครงหลังคาเป็ นโครงสร้างไม้ หลังคามุงกระเบื้อง ลอนคู่ หลังคาครัวที่คลุมเฉลียงหลังบ้านเป็ นกระเบื้องลอนคู่
5.
ผนังชั้นล่างเป็ นผนังก่ออิฐ ผนังชั้นที่สองเป็ นผนังไม้ 2 ชั้น ชนิดของผนัง ระบุดว้ ย สัญลักษณ์วสั ดุก่อสร้างและตัวย่อ ขนาดและชนิดของวัสดุก่อสร้ างทีใ่ ช้ เช่น กระเบื้อง โครงสร้างหลังคา โครงสร้างพื้นชั้นที่ สอง ชั้นล่าง เสา ตอม่อ ฐานราก แสดงด้วยสัญลักษณ์ ข้อความที่ระบุชนิดและขนาดของ วัสดุ อธิบายด้วยข้อความที่ส้ นั กระชับ อ่านเข้าใจง่าย
2.
ความสัมพันธ์ ระหว่างรูปตัดกับรูปผังพืน้ ผังโครงสร้ างและรูปด้ าน
แบบรู ปตัดมีความสัมพันธ์กบั รู ปผังพื้น กล่าวคือ เมื่อจะเขียนรู ปตัดจะต้องเขียนตามแนว เส้นตัด ในผังพื้น ซึ่งรู ปตัดจะมีความกว้างของอาคารตามความกว้างและช่วงเสาที่ปรากฏในผังพื้นอีกทั้งตัด ผ่าน พื้นที่ส่วนต่าง ๆ ของอาคารตามที่ปรากฏในผังพื้น และตัดผ่านผนัง หรื อประตู หน้าต่าง ที่เป็ น ส่วนแสดงขอบเขตเนื้อที่ใช้งานในผังพื้นอีกด้วย เมื่อจะเขียนรู ป ก – ก จึงต้องดูในผังพื้นชั้นล่าง ผังพื้นชั้นที่สอง ผังพื้นชั้นที่สาม ตามแนวตัด ก – ก แนวเดียวกัน ในขณะเดียวกัน รู ปตัดมีความสัมพันธ์กบั โครงสร้าง เพราะเมื่อต้องการรายละเอียดโครงสร้างตรง ตาแหน่งที่ถกู ตัด ก็ตอ้ งแสดงโครงสร้างส่วนต่าง ๆ ให้ตรงกับผังฐานราก ผังคาน พื้นชั้นล่าง ผัง คาน พื้นชั้นที่สอง ผังโครงหลังคา ตามแนวตัดแนวเดียวกับที่แสดงในผังพื้น ดังนั้นผูเ้ ขียนจึงควร ร่ างแนวตัด ก – ก ไว้ในผังโครงสร้างด้วย เพื่อให้สะดวกในการดูโครงสร้างว่าแนวตัดตัดผ่านตัว โครงสร้าง ก่อนนามาเขียนในรู ปตัดให้ถกู ต้อง
45 ส่วนรู ปด้านนั้นมีความสัมพันธ์กบั รู ปตัดที่เมื่อแนวตัด ก – ก ตัดผ่านโครงสร้างบางส่วน ของอาคารสิ่งที่จะแสดงให้ตรงกันทั้งในรู ปตัดและรู ปด้านคือ ระดับ ซึ่งระยะความสูงนี้จะเขียน บอกระดับไว้อย่างละเอียดในรู ปตัด แต่ไม่นิยมแสดงไว้ในรู ปด้านอาจจะแสดงไว้ในรู ปด้านข้างก็ เพียงแต่ละดับที่สาคัญ เช่น ระดับพื้นห้อง ฯ 3. หลักเกณฑ์และข้ อกาหนดในการเขียนรูป 1. รู ปตัดตามขวางใช้มาตราส่วน 1 : 50 ส่วนรู ปตัดผ่านหรื อรูปตัดแสดงรายละเอียดใช้มาตราส่วน 1 : 20 หรื อ 1 : 25 2. ใช้ความหนาของเส้น 3 ขนาด โดยแสดงขอบนอกของส่วนที่ถกู ตัดด้วยเส้นหนามากส่วนของ อาคารที่เห็นในรู ปตัดที่ไม่ถกู ตัดแสดงด้วยเส้นหนา เส้นฉาย เส้นมิติ และเส้นที่เขียนสัญลักษณ์ใช้ เส้นบาง 3. การแสดงระดับในแนวรู ปตัด ใช้ระบบเดียวกับที่แสดงในผังพื้น แนวระดับอยูน่ อกรู ปที่เขียน โดยมีอกั ษรกากับและลูกศรชี้บอกแนวนั้น 4. การเขียนข้อความประกอบแบบรู ปตัด เพื่อให้รายละเอียดของส่วนโครงสร้างและวัสดุที่ใช้ใน รู ปตัด ใช้แสดงด้วยตัวย่อ สัญลักษณ์ และข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน โดยจัดให้เป็ นหมวดหมู่ (เช่นกลุ่มที่บอกข้อความที่บ่งชี้โครงสร้างหลังคาควรจัดรวมอยูก่ ลุ่มเดียวกัน ไม่ให้กระจายไปสลับ กับข้อความที่บ่งชี้โครงสร้างส่วนอื่น เป็ นต้น) และจัดแนวอย่างประณี ต เพื่อช่วยให้อ่านง่าย และ ใช้ตวั อักษรส่งเสริ มแบบให้มีคุณค่าขึ้น ข้อความที่ช้ ีเฉพาะควรให้ใกล้กบั ส่วนที่บ่งชี้มากที่สุด และ ระวังไม่ให้ทบั เส้นมิติ เส้นชี้บอกถ้าใช้บรรทัดช่วยเขียนตัวอักษร ไม่ควรขีดเส้นใต้ขอ้ ความ ขนาด ตัวอักษรและตัวเลข ที่ใช้เขียนประกอบในแบบ ใช้ขนาดความสูง 2.5 ถึง 3.5 มิลลิเมตร ขนาด ช่องไฟตามความเหมาะสม 5. สัญลักษณ์ ใช้สญ ั ลักษณ์วสั ดุก่อสร้าง และตามคาย่อที่แบบกาหนดไว้ 6. เขียนรู ปตัดตามแนวเส้นตัดในผังพื้นและกาหนดแนวเส้นตัดให้ผา่ นส่วนที่ผเู้ ขียนเห็นว่าสาคัญ เช่น ต้องการตัดผ่านช่องหน้าต่าง บันได ส่วนที่พ้นื เปลี่ยนระดับ โดยเส้นตัดไม่จาเป็ นต้องเป็ น เส้นตรงเสมอไป เพื่อแสดงรายละเอียดของโครงสร้างมากที่สุดเท่าที่จะแสดงได้ นอกจากนี้แนว เส้นตัดไม่ควรตัดผ่านหน้าตัดเสา เพราะผูอ้ ่านจะแสดงเป็ นผนังทึบและไม่ได้แสดงรายละเอียดของ ผนัง และช่องประตูหน้าต่างเท่าที่ควรแสดง
46 7. เขียนเส้นแนวตัดในผังโครงสร้างทุกรู ป โดยให้แนวตัดตรงกับผังพื้น เพื่อสะดวกในการ กาหนดขนาดและตาแหน่งของโครงสร้างให้ตรงกับในรู ปตัด 4. ลาดับขั้นตอนการเขียนรูปตัดตามขวาง 1. จัดกระดาษให้เหมาะสม โดยพิจารณาดูขนาดความยาว ความสูงของรู ปตัดที่จะเขียนให้มี พื้นที่โดยรอบรู ปตัดที่จะเขียนบอกมิติและข้อความบอกชนิดและขนาดของวัสดุโครงสร้างทุกส่วน ของรู ปตัดอย่างชัดเจน ไม่แออัดเกินไป 2. ร่ างความกว้างของอาคาร ระยะตามแนวตัดในผังพื้นด้วยมาตราส่วน 1: 50 ตั้งแต่ระดับฐาน รากจนถึงชั้นดาดฟ้ า โดยกาหนดระดับ 0 เป็ นหลัก 3. ร่ างขนาดของฐานราก คาน ความหนาของพื้น ความหนาของคาน ทีละชั้นตามลาดับ โดย ตรวจสอบจากผังโครงสร้างแต่ละรู ป 4. ตรวจสอบดูแนวตัดในผังพื้นว่า ภายในอาคารแนวตัด ก – ก ตัดผ่านอะไรบ้างเมจากดูแนว เป็ นหลัก 5. เขียนส่วนของอาคารที่มองเห็นตามแนว ก – ก แล้วไม่ถกู ตัด ด้วยเส้นหนา ส่วนที่มองไม่ เห็น เช่น ฐานราก เขียนด้วยเส้นประ 6. เน้นเส้นขอบนอกของโครงสร้างส่วนที่ถกู ตัดด้วยเส้นหนามาก ถ้าส่วนใดที่ใส่สญ ั ลักษณ์วสั ดุ ก่อสร้างได้ให้เขียนกากับด้วย 7. เขียนเส้นฉาย เส้นมิติ เส้นกากับ ด้วยเส้นบาง เครื่ องหมายกากับปลายเส้นมิติดว้ ยเส้นหนา 8. เส้นชี้บอกรายละเอียดส่วนต่าง ๆ ในรู ปตัดใช้เส้นบาง เครื่ องหมายกากับปลายเส้นชี้บอกใช้ เส้นหนาขีดทามุม 45 องศากับเส้นชี้บอก พยายามชี้ให้เป็ นหมวดหมู่และแนวตรงกัน 9. เขียนตัวเลขบอกมิติและระดับเป็ นเมตร เขียนข้อความอธิบายตรงเส้นชี้บอกตัวอักษรพร้อม สัญลักษณ์กากับ ประตู หน้าต่าง ผนัง 10. ตรวจสอบความถูกต้องของรู ปตัดให้ตรงกับแนวตัดในผังพื้น ความสูงตรงกับแนวที่จะถูกตัด ในรู ปด้าน และชิ้นส่วนโครงสร้างทั้งหมดตรงกับผังโครงสร้าง ทั้งนี้ส่วนที่ควรให้ความสาคัญคือ วัดขนาดโครงสร้างแต่ละส่วนให้ถกู ต้องด้วย 11. ตรวจสอบความเรี ยบร้อย เขียนชื่อรู ปตัดพร้อมมาตราส่วนกากับให้ชดั เจน
47
5. รูปตัดตามยาว (Longitudinal Section) เป็ นแบบที่แสดงรู ปตัดตามแนวเส้นตัดที่ตดั ผ่านด้านยาวของอาคาร หรื อจะเรี ยกตามแนวเส้น ตัด ข – ข ดังรูปก็ได้ ในการเขียนแบบก่อสร้าง รู ปตัดมีความสาคัญและจาเป็ นมาก เพราะเป็ นรู ปที่ช่วยให้เป็ น โครงสร้าง ระดับพื้นและส่วนต่าง ๆ ภายในอาคาร ซึ่งไม่สามารถมองเห็นได้จากรู ปด้าน ตาม ข้อบัญญัติ ก.ท.ม. กาหนดให้เขียนรู ปตัด ทางขวางและทางยาวไม่นอ้ ยกว่า 2 ด้าน แต่ในการ ปฏิบตั ิจริ งอาจเขียนมากกว่านั้น ถ้าอาคารมีขนาดใหญ่หรื อซับซ้อนมาก ทั้งนี้เพื่อช่วยให้การ ปฏิบตั ิงานก่อสร้างทาได้อย่างถูกต้องและสะดวกยิง่ ขึ้น การเลือกแนวตัด ต้องเลือกแนวตัดให้ผา่ นส่วนที่สาคัญของอาคาร เช่นบันได ห้องน้ า หรื อส่วนที่ซบั ซ้อน เพื่อให้เห็นส่วนต่าง ๆ ภายในอาคารได้ชดั เจนที่สุด เมื่อกาหนดแนวตัดได้แล้ว จะต้องแสดงแนว ตัดนั้นพร้อมทั้งลูกศรชี้ทิศทางที่มอง ลงไว้ในแปลนทุกรู ป พร้อมทั้งตั้งช่อแนวตัดให้ชดั เจน เช่น ข – ข หรื อ 2 – 2 หรื อกาหนดเป็ นอย่างอื่นที่เรี ยกได้ง่าย มาตราส่ วนที่ใช้ มักใช้มาตราส่วนเดียวกับแปลนพื้น หรื อใหญ่กว่าเพื่อให้ได้แบบที่ชดั เจนยิง่ ขึ้น โดยทัว่ ไปจะ ใช้ 1 : 100, 1 : 50, และ 1 : 25 วิธีการเขียนรูปตัด การเขียนรู ปตัดจะต้องดูแนวตัดและทิศทางที่มอง จากที่แสดงไว้ในแปลนพื้นให้ถี่ถว้ นเสียก่อน แล้วจึงลงมือเขียนตามลาดับขั้น โดยใช้เส้นร่ างเขียนให้ครบทั้งหมดก่อน แล้วจึงลงเส้นจริ ง ภายหลัง สิ่งที่ตอ้ งแสดงในรู ปตัดคือ แสดงรายละเอียดทุกส่วนตั้งแต่ฐานรากจนถึงหลังคา ให้ ถูกต้องตรงกับแนวตัดที่เขียนไว้ในแปลนพื้น ยกเว้นหลังคาตั้งแต่ระดับเพดานขึ้นไป ให้ถือเสมือน ว่าตัดผ่านแนวกลางหลังคาเพื่อจะได้โครงหลังคาครบทุกส่วน
48 6. ลาดับขั้นการเขียนรูปตัดตามยาว 1. กะเนื้อที่ให้พอเขียนตั้งแต่ฐานรากจนถึงหลังคาโดยวางรู ปให้เหมาะสมกับหน้า กระดาษ 2. เขียนเส้นระดับดิน แล้วร่ างแนวเสา 3. หาระดับฐานราก ระดับพื้นชั้นต่าง ๆ และหลังคา 4. หาขนาดโครงสร้างและส่วนสาคัญต่าง ๆ เช่นฐานราก คาน ตง พื้น บันได และ โครงหลังคา 5. เขียนส่วนประกอบ เช่น ผนัง ประตู หน้าต่าง ของส่วนที่ถกู ตัด และส่วนที่มองเห็นหลังเส้น ตัด 6. ลงเส้นจริ ง โดยเขียนเส้นบาง หนา และหนามาก ตลอดจนสัญลักษณ์ส่วนต่าง ๆ ให้ถกู ความหมาย 7. ให้หมายเลขประตู หน้าต่าง ผนัง และรายละเอียดอื่น ๆ ให้ครบถ้วน 8. บอกระยะความสูงต่าง ๆ โดยละเอียด 9. บอกชื่อแนวเสาให้ตรงกับที่บอกไว้ในแปลนพื้น 10. เขียนลูกศรชี้บอกชื่อและขนาดโครงสร้างทั้งหมด 11. ส่วนใดที่ไม่สามารถเขียนได้ชดั เจนในรู ปตัด ควรวงจุดนั้นไว้แล้วนาไปเขียนรู ปขยายต่างหาก โดยใช้ มาตราส่วนใหญ่และบอกรายละเอียดให้ชดั เจนยิง่ ขึ้น 12. บอกชื่อรู ปตัดและมาตราส่วนที่ใช้ไว้ใต้รูป 7. ข
ข้ อควรระวัง จัดวางรู ปให้สมดุลกับหน้ากระดาษ เขียนความหนาของเส้นที่ใช้เฉพาะงานอย่างถูกต้อง ได้ขนาดสม่าเสมอ วัดขนาดโครงสร้างส่วนต่าง ๆ ให้ถกู ต้องตามมาตราส่วนที่ใช้ เขียนตัวอักษร สัญลักษณ์กากับ ส่วนประกอบและโครงสร้างของอาคารที่ถกู ตัดตามแนว ข – ให้ถกู ต้องแสดงไว้ให้ครบถ้วน อย่าละไว้ให้ผอู้ ่านแบบเข้าใจเอง เขียนมิติบอกความกว้าง บอกระดับ โดยให้ตวั เลขอยูภ่ ายนอกอาคาร พร้อมลูกศรกากับ ข้อความที่ช้ ีบอกส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างควรจัดเป็ นกลุม่ เป็ นหมวดหมู่ เขียนตัวอักษร ตัวเลข ด้วยตัวบรรจง อ่านง่าย รักษาความสะอาดของผลงาน
49 8. เทศบัญญัตขิ องกรุงเทพ ฯ มหานคร เทศบัญญัติของ กทม. ได้คดั เอาเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างตึกแถวเท่านั้น ฉะนั้นจะ เห็นได้ว่ามีการข้ามขั้นตอนไปบ้าง หมวด 1 วิเคราะห์ คาศัพท์ ข้อ 3 เทศบัญญัติน้ ี (1) “อาคารที่พกั อาศัย” หมายความว่า ตึก บ้าน เรื อน โรง แพ ซึ่งบุคคลจะอาศัยอยูท่ ้งั กลางวัน และกลางคืน (2) “ห้องแถว” หมายความว่า อาคารที่พกั อาศัยหรื ออาคารพาณิ ชย์ซ่ึงปลูกสร้างติดต่อกันเกินกว่า 2 ห้อง และประกอบด้วยวัตถุไม่ทนไฟเป็ นส่วนใหญ่ (3) “ตึกแถว” หมายความว่า อาคารที่พกั อาศัยหรื ออาคารพาณิ ชย์ซ่ึงปลูกสร้างติดต่อกันเกินกว่า 2 ห้อง และประกอบด้วยวัตถุถาวรทนไฟเป็ นส่วนใหญ่ (4) “อาคารพาณิ ชย์” หมายความว่า อาคารที่ใช้เพื่อประโยชน์แห่งการค้าหรื อโรงงานที่ใช้ เครื่ องจักรซึ่งเทียบได้ไม่เกิน 5 แรงม้า หรื ออาคารที่ก่อสร้างห่างแนวสาธารณะ หรื อทางซึ่งมีสภาพ สาธารณะไม่เกิน 20 เมตร ซึ่งอาจใช้เป็ นอาคารเพื่อประโยชน์แห่งการค้าได้ (5) “ผูอ้ อกแบบ” หมายความว่า ผูร้ ับผิดชอบในการคานวณเขียนแบบและกาหนดรายการเพื่อใช้ ในการก่อสร้าง (6) “นายงาน” หมายความว่า ผูม้ ีหน้าที่ควบคุมการปลูกสร้างให้ผไู้ ด้รับอนุญาต (7) “แผนผัง” หมายความว่า แผนที่แสดงลักษณะที่ดินบริ เวณปลูกสร้างอาคารและที่ดินติดต่อ (8) “แบบก่อสร้าง” หมายความว่า แบบของตัวอาคารเพื่อใช้ประโยชน์ของการปลูกสร้าง (9) “รายการ” หมายความว่า ข้อความชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับการปลูกสร้างตามแนวของแบบ ก่อสร้างนั้น ๆ (10) “รายการคานวณ” หมายความว่า รายละเอียดแสดงวิธีการคิดกาลังต้านทานของส่วนอาคาร ตามที่ปรากฏในแบบก่อสร้าง (11) “แผนอาคาร” หมายความว่า แบบแสดงลักษณะส่วนราบของอาคาร (12) “รู ปด้าน” หมายความว่า แบบแสดงลักษณะส่วนตั้งภายนอกของอาคาร (13) “รู ปตัด” หมายความว่า แบบแสดงลักษณะส่วนตั้งภายในของอาคาร (14) “ผนังกันไฟ” หมายความว่า ผนังซึ่งทาด้วยวัตถุทนไฟและไม่มีช่องให้ไฟผ่านไปได้ (15) “บ่ออาจม” หมายความว่า บ่อพักอุจจาระหรื อสิ่งโสโครกอันไม่มวี ิธีการระบายออกไปตาม สภาพปกติ
50 (16) “ลิฟต์” หมายความว่า เครื่ องใช้สาหรับการบรรทุกบุคคลหรื อของขึ้นลงระหว่างพื้นต่าง ๆ ของ อาคาร (17) “วัตถุทนไฟ” หมายความว่า วัตถุก่อสร้างที่ไม่เป็ นเชื้อเพลิง (18)“วัตถุถาวร” หมายความว่า วัตถุทนไฟซึ่งปกติไม่แปลงสภาพโดยง่ายโดยน้ า ไฟ หรื อดินฟ้ า อากาศ (19) “ทางสาธารณะ” หมายความว่า ที่ดินที่ประชาชนมีสิทธิใช้เป็ นทางคมนาคมได้ (20) “ถนนสาธารณะ” หมายความว่า ทางสาธารณะที่รถสามารถผ่านได้ (21) “ระดับถนนสาธารณะ” หมายความว่า ความสูงของยอดถนนสาธารณะใกล้ชิดกับที่ปลูกสร้าง เทียบกับระดับน้ าทะเล (22) “ทางระบายน้ าสาธารณะ” หมายความว่า ช่องน้ าไหลตามทางสาธารณะซึ่งกาหนดไว้ว่าให้น้ า ไหลออกจากอาคารได้ (23) “แนวถนน” หมายความว่า เขตถนนและทางเดินที่กาหนดไว้ให้เป็ นทางสาธารณะ 5.กิจกรรมการเรียนรู้ หัวข้ อการสอน การเขียนรู ปตัด บทนา ความหมายของรู ปตัด รู ปตัดตามขวาง รู ปตัดตามยาว ความสัมพันธ์ระหว่างรู ปตัดกับรู ปผังพื้น ผังโครงสร้างและรู ปด้าน หลักเกณฑ์และข้อกาหนดในการเขียนรู ปตัด ลาดับการเขียนรู ปตัด เตรียมการสอน จัดหาเอกสารสัญลักษณ์การเขียนรู ปตัดที่ควรแสดงให้แก่นกั ศึกษา เตรี ยมเนื้อหาที่มีความสาคัญเกี่ยวกับการเขียนรู ปตัดตามขวาง เตรี ยมสื่อแผ่นใสที่มีภาพที่นกั ศึกษาสามรถดูแล้วเข้าใจได้ง่าย เตรี ยมแบบรู ปตัด ก – ก เตรี ยมแบบรู ปตด ข - ข
51 การจัดการสอน - ช่วงที่ 1 บรรยายบทความที่เกี่ยวข้องการเขียนรู ปตัด - ช่วงที่ 2 อธิบายความหมายรู ปตัดและแสดงแบบตัวอย่างให้แก่นกั ศึกษา - ช่วงที่ 3 บรรยายความสัมพันธ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องว่าต้องใช้แบบไหนในการประกอบการเขียน แบบ และ แสดงสื่อทางแผ่นใส - ช่วงที่ 4 บอกหลักเกณฑ์และข้อกาหนดในการเขียนรู ปพร้อมทั้งมอบเอกสารสัญลักษณ์ในการ เขียนรู ปตัดเพื่อถ่ายเอกสารแจกกันเองภายในห้อง - ช่วงที่ 5 บรรยายลาดับขั้นตอนการเขียนรู ปตัดตามขวางพร้อมทั้งแสดงสื่อบนกระดาน - ช่วงที่ 6 มอบใบงานให้หวั หน้าห้องเพื่อถ่ายเอกสารแจกกันเองภายในห้อง - ช่วงที่ 7 นักศึกษาเขียนแบบภายในห้องเขียนแบบจานวน 5 คาบ 8.การวัดและประเมินผลเกณฑ์การให้ คะแนน 10. การดาเนินงาน 10.1 บันทึกองค์ความรู้ 11. วัดผลจากการฝึ กทักษะ 11.1 ลายละเอียดในการบันทึก 11.2 แบบที่ทาการเขียน 12. จริยธรรมการฝึ กปฏิบัติ 12.1 การตรงต่อเวลา 12.2 ความรับผิดชอบในการทางาน 12.3 ความซื่อสัตย์ 12.4 การใฝ่ หาความรู้ 12.5 การประหยัดพลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม
52 9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………… 2) ปัญหาที่พบ ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………… 3) แนวทางแก้ปัญหา ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… …………
53 ใบงานสัปดาห์ ที่ 7 รู ปตัด 1
54 ใบงานสัปดาห์ ที่ 8 รู ปตัด 2
55
แผนการจัดการเรียนรู้หน่ วยที่ 5 จานวน 6 ชั่วโมง รหัส 2106-2113 วิชา เขียนแบบก่อสร้าง 3 หน่ วยกิต 3(6) สอนครั้งที่ 9-10 ชื่อหน่ วย งานรูปด้ าน ชั่วโมงรวม 12
1.สาระสาคัญ รู ปด้านเป็ นแบบที่แสดงในแนวดิ่ง โดยมีความสัมพันธ์กบั ผังพื้นและรู ปตัด เนื้อหาในครั้ง นี้จะครอบคลุมเฉพาะรู ปด้านภายนอกทั้ง 4 ด้าน 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้เกี่ยวกับงานรู ปด้าน 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถอธิบายความหมายของรู ปด้านได้อย่างถูกต้อง 2. สามารถบอกหลักเกณฑ์และข้อกาหนดในการเขียนรู ปด้านได้อย่างถูกต้อง 3. สามารถเขียนรู ปด้านได้อย่างถูกต้อง 4. มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ใน ตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที
56
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ
ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน
1) สามารถอธิบายความหมายของรู ปด้านได้ อย่างถูกต้อง 2) สามารถบอกหลักเกณฑ์และข้อกาหนด ในการเขียนรู ปด้านได้อย่างถูกต้อง 3) สามารถรู ปด้านอย่างถูกต้อง 4) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที รวม ลาดับความสาคัญ
57
1. 2.
3. 4.
4.สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของรูปด้ าน รู ปด้านเป็ นภาพที่แสดงลักษณะภายนอกของอาคารในแนวดิ่ง โดยการมองรู ปด้านทีละด้าน เรี ยงกันตามลาดับ จนครบ 4 ด้านของอาคาร และเรี ยกชื่อรู ปด้านทั้ง 4 ด้าน ตามแนวของทิศที่ แสดงในผังพื้น ได้แก่ รู ปด้านหน้า รู ปด้านหลัง รู ปด้านข้างทั้ง 2 ด้าน เป็ นต้น 2. ความสัมพันธ์ ระหว่างรูปด้ านกับผังพืน้ และรูปตัด การเขียนรู ปด้าน ใช้มาตราส่วนเดียวกับที่ใช้ในการเขียนผังพื้นเพื่อให้ดูง่าย ตาแหน่งของช่องประตูหน้าต่างที่แสดงในรู ปด้านจะตรงกับที่แสดงในผังพื้น และระดับความ สูงของประตูหน้าต่างในรู ปด้านจะตรงกับรู ปตัดอีกเช่นกัน เส้นแต่ละเส้นที่แสดงในรู ปด้านมี ความหมายทางโครงสร้างด้วย เช่น การแสดงประตูหน้าต่างในรู ปด้าน ตามรู ปที่4 – 7 จะมีเส้น คู่แสดงความหนาของวงกบและบานหน้าต่างประกอบด้วยกรอบบานและลูกฟัก เป็ นต้น ระดับ ที่แสดงในรู ปด้านก็จะตรงกับในรู ปตัดอีกเช่นกันเนื่ องจากในรู ปด้านไม่เขียนบอกความยาวของ แต่ละด้านความสูง จะแสดงเฉพาะระดับพื้นและระดับฝ้ าเพดานเท่านั้น โดยจะมีระยะในรู ปตัด เนื่องจากในการเขียนรู ปด้าน ผูเ้ ขียนจะต้องดูประกอบกับผังพื้นและรู ปตัดด้วย 3. หลักเกณฑ์และข้ อกาหนดในการเขียนรูปด้ าน ใช้มาตราส่วนเดียวกับผังพื้น เช่น ถ้าผังพื้นเขียนด้วยมาตราส่วน 1 : 75 ต้องเขียนรู ปด้านด้วย มาตราส่วน 1 : 75 ด้วย เส้นใช้ขนาดความหนาตามข้อกาหนด เนื่องจากการเขียนรูปด้านเป็ นการรวมหลายระนาบของ รู ปทัศนียภาพมาเป็ นระนาบเดียว ดังนั้น ระนาบที่อยูใ่ กล้ตาผูด้ ูมากที่สุดต้องเขียนด้วยเส้นขอบ นอกหนามาก เส้นขอบนอกของตัวอาคารทัว่ ไปใช้เส้นหนา เส้นแสดงสัญลักษณ์ที่เป็ นประตู หน้าต่างหรื อผนัง ใช้เส้นบาง ทัว่ ไปไม่นิยมใช้เส้นประในรู ปด้าน ยกเว้นต้องการแสดงส่วน ของห้องใต้ดิน(ถ้ามี) และแนวชายคาที่บงั เท่านั้น สัญลักษณ์ที่ใช้ในรู ปด้านคือ สัญลักษณ์ของประตู หน้าต่าง และสัญลักษณ์แสดงวัสดุที่ใช้ ก่อสร้างเป็ นผนัง ตามตารางและตัวอักษรย่อที่บอกรายละเอียดของผนังประตู หน้าต่าง มิติการบอกระยะ ไม่นิยมเขียนบอกระยะช่วงเสาและความยาวของรู ปด้าน บอกเพียงแต่ระดับ ความสูงของระดับพื้น ระดับเพดาน เพื่อประโยชน์ในการดูระดับของประตู หน้าต่างเท่น้นั นอกจากนั้น อาจบอกองศาความลาดของหลังคาด้วยก็ได้
58 4. ลาดับขั้นตอนการเขียนรูปด้ าน ก่อนเริ่ มเขียนรู ปด้าน ต้องศึกษาแบบผังพื้นและรู ปตัดให้เข้าใจรู ปร่ าง ลักษณะอาคาร และโครงสร้างเสียก่อน แล้วจึงเริ่ มงานตามลาดับ ดังนี้ 1. อ่านค่าความกว้างของช่วงเสา ค่าความยาวของผนังด้านที่ตอ้ งการเขียนรู ปในผังพื้น และค่า ระดับ ความสูงแต่ละชั้นในรู ปตัดเสียก่อน เพื่อทราบขนาดของรู ปที่เขียนว่ารู ปด้านนั้นๆ กว้างเท่าไร สูง เท่าไร 2. ร่ างขนาดความยาวและสูงของรู ปด้านให้พอเหมาะกับหน้ากระดาษ โดยจัดเรี ยงทีละด้าน ต่อเนื่องกันถ้าเขียนรู ปด้าน 2 รู ป หือ 4 รู ป ในแนวระดับเดียวกันได้ จะสะดวกในการร่ าง เส้นระดับ ร่ วมกันทาให้ประหยัดเวลา และตรวจความถูกต้องได้ง่าย 3. ร่ างความยาวและความสูงของรู ปด้าน โดยศึกษาจากผังพื้นและรู ปตัดเพื่อแสดงรู ปด้านให้ สัมพันธ์และ ถูกต้องตรงกับลักษณะความเป็ นจริ ง โดยร่ างเส้นระดับดินเดิม เส้นระดับพื้นชั้นร่ าง ระดับพื้น ชั้นที่ สอง ด้วยเส้นนอน ร่ างเส้นแนวตั้งที่เส้นตาแหน่งเสา ส่วนยืน่ ต่างๆ 4. ร่ างเส้นแสดงขนาดความกว้างของเสา ความลึกของคาน ความกว้างและความสูงของวงกบทั้ง แนวนอนและแนวตั้ง 5. เขียนเส้นบางที่คมและชัดเจน แสดงสัญลักษณ์ผนัง ประตู หน้าต่าง รายละเอียดอื่นๆ เพิ่มเติม 6. เน้นเส้นหนามากที่ระนาบใกล้ตาผูด้ ูที่สุดเพื่อให้เข้าใจรู ปได้ง่ายขึ้น 7. เขียนระยะบอกความสูงแต่ละชั้น ด้วยอักษรที่เป็ นระเบียบ อ่านง่าย 8. เขียนบอกชื่อรู ปด้านตามมุมมองของผังพื้นและมาตราส่วนกากับให้ชดั เจน
59 5.กิจกรรมการเรียนรู้ หัวข้ อการสอน การเขียนรู ปด้าน - บทนา - ความหมายรู ปด้าน - ความสัมพันธ์ระหว่างรู ปด้านกับผังพื้นและรู ปตัด - หลักเกณฑ์และข้อกาหนดในการเขียนรู ปด้าน ลาดับขั้นตอนการเขียนรู ปด้าน เตรียมการสอน - เตรี ยมเนื้อหาที่มีความสาคัญเกี่ยวกับรู ปด้าน ความสัมพันธ์กบั รู ป ต่างๆ - เตรี ยมแบบที่จะใช้เขียนรู ปด้านทั้ง 4 ด้าน - เตรี ยมสื่อแผ่นใสที่มีเนื้อหาและภาพที่นกั ศึกษาสามรถดูแล้วเข้าใจได้ ง่าย การจัดการสอน -
ช่วงที่1 อธิบายความสาคัญของรู ปด้านในการเขียนแบบโดยใช้แบบ ส่วนไหนประกอบบ้าง ช่วงที่2 แสดงรู ปภาพสื่อแผ่นใสตัวอย่างให้แก่นกั ศึกษา ช่วงที่3 บรรยายลาดับขั้นตอนการเขียน ช่วงที่4 มอบใบงานให้หวั หน้าห้องเพื่อถ่ายเอกสารแจกกันเอง ภายในห้อง ช่วงที่5 นักศึกษาเขียนแบบภายในห้องเขียนแบบจานวน 5 คาบ
60 8.การวัดและประเมินผลเกณฑ์การให้ คะแนน 13. การดาเนินงาน 13.1 บันทึกองค์ความรู้ 14. วัดผลจากการฝึ กทักษะ 14.1 ลายละเอียดในการบันทึก 14.2 แบบที่ทาการเขียน 15. จริยธรรมการฝึ กปฏิบัติ 15.1 การตรงต่อเวลา 15.2 ความรับผิดชอบในการทางาน 15.3 ความซื่อสัตย์ 15.4 การใฝ่ หาความรู้ 15.5 การประหยัดพลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม
9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………… 2) ปัญหาที่พบ ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………… 3) แนวทางแก้ปัญหา ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… …………
61 ใบงานสัปดาห์ ที่ 9 รู ปด้าน 1
62 ใบงานสัปดาห์ ที่ 9 รู ปด้าน 2
63 ใบงานสัปดาห์ ที่ 10 รู ปด้าน 3
64 ใบงานสัปดาห์ ที่ 11 รู ปด้าน 4
65
แผนการจัดการเรียนรู้หน่ วยที่ 6 จานวน 6 ชั่วโมง รหัส 2106-2113 วิชา เขียนแบบก่อสร้าง 3 หน่ วยกิต 3(6) สอนครั้งที่ 11 - 12 ชื่อหน่ วย งานเขียนแบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม ชั่วโมงรวม 12
1.สาระสาคัญ รู ปขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรมเป็ นรู ปที่ขยายบางส่วนของแบบทั้งในผัง รู ปด้าน หรื อรู ปตัดให้ละเอียดชัดเจนขึ้นประดุจรู ปถ่ายที่ถ่ายระยะใกล้ทาให้มองเห็น รายละเอียดได้มากกว่ารู ปถ่ายทัว่ ๆ ไปนัน่ เอง 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้เกี่ยวกับงานรู ปขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถอธิบายความหมายของรู ปขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรมได้อย่างถูกต้อง 2. สามารถบอกหลักเกณฑ์และข้อกาหนดในการเขียนรู ปขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม ได้อย่าง ถูกต้อง 3. สามารถเขียนรู ปขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรมได้อย่างถูกต้อง 4. มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ใน ตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที
66
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ
ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน
1) สามารถอธิบายความหมายของรู ปขยาย รายละเอียดทางสถาปัตยกรรมได้อย่าง ถูกต้อง 2) สามารถบอกหลักเกณฑ์และข้อกาหนด ในการเขียนรู ปขยายรายละเอียดทาง สถาปัตยกรรมได้อย่างถูกต้อง 3) สามารถรู ปขยายรายละเอียดทาง สถาปัตยกรรมอย่างถูกต้อง 4) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที รวม ลาดับความสาคัญ
67 4.สาระการเรียนรู้ บันได บันไดเป้ ฯทางเดินเชื่อมติดต่อระหว่างชั้นต่างๆ ภายในบ้าน ซึ่งผูออกแบบบันไดต้อง คานึงถึงความปลอดภัยขณะใช้งาน ความเหมาะสมกับพื้นที่ และความสวยงาม 1.1 ส่ วนประกอบของบันได 1.1.1 แม่บันได เป็ นตัวโครงสร้ างหลักของบันได ได้แก่ คานที่พาดอยูร่ ะหว่างชั้นล่างกับ พื้นชั้นบนที่ตอ้ งการ ซึ่งอาจเป็ นชานพักบันได หรื อพื้นชั้นที่สอง หน้าที่ของแม่บนั ไดใช้เป็ นโครงสร้างที่ติดตั้งและรับน้ าหนักของลูกนอน ลูกตั้ง รวมทั้ง น้ าหนักของคนและสิ่งของที่ผา่ นขึ้น – ลงบันได ถ่ายลงสู่คานชั้นล่างและชั้นที่สองที่แม่บนั ไดพาด อยู่ วัสดุที่ใช้ทาแม่บนั ไดอาจเป็ นไม้หรื อเหล็ก ค.ส.ล. ส่วนขนาดขึ้นอยูก่ บั ช่วงยาวของแม่ บันได น้ าหนักที่รับ และความประสงค์ของผูอ้ อกแบบ โดยทัว่ ไปถ้าบันไดไม้สาหรับบ้านพัก อาศัยทัว่ ๆ ไป ใช้ไม้เนื้อแข็งขนาดหน้าตัด 2” x 6” ,2” x 8” 1.1.2 ลูกนอน ได้แก่ ขั้นบันไดที่เราใช้เหยียบขึ้น – ลง ไม้ที่ใช้ควรมีความหนาพอที่จะ ใช้รับน้ าหนักได้ดี ทัว่ ไปใช้ไม้หนา1 ½” และลูกนอนสาหรับบ้านพักอาศัยควรมีความลึกไม่นอ้ ย กว่า 220 มิลลิเมตร โดยทัว่ ไปจะใช้ 250 – 275 มิลลิเมตร ส่วนความกว้างไม่นอ้ ยกว่า 900 มิลลิเมตร ทัว่ ไปใช้ 1000 – 1500 มิลลิเมตร ซึ่งผูอ้ อกแบบจะต้องคานึงถึงความต้องการและเนื้อที่ที่ จัดเตรี ยมไว้ ตามรู ปที่1 ใช้ไม้เนื้อแข็งขนาดหน้าตัด 1 ½” x 11” ยาว 1050 มิลลิเมตร กล่าวคือ ตัวลูกนอนลึก 275 มิลลิเมตร วางเหลื่อมกัน 25 มิลลิเมตร ส่วนที่เหลื่อมกัน 25 มิลลิเมตรนี้เรี ยกว่า จมูกบันได (Nosing) มีประโยชน์ต่อการก้าวขึ้น – ลง ทาให้สน้ เท้าของผูใ้ ช้บนั ไดไม่เบียดกับขั้นบันได เมื่อ หักส่วนที่เหลื่อมกันออกแล้วเหลือความลึกของลูกนอน 250 มิลลิเมตร ดังรู ปที่1
68 รูปที่1 แสดงลูกนอนและจมูกบันได ลูกนอนจัดวางได้หลายแบบคือ 1) ฝังในแม่บนั ได 2) วางบนพุก อาจเป็ นไม้ เหล็ก แล้วแต่ลกั ษณะการออกแบบ
รูปที่2 แสดงการยึดลูกนอนกับแม่บันไดด้ วยพุกไม้และเหล็ก
69 1.1.3 ลูกตั้ง ได้ แก่ ระยะห่างในแนวดิ่งหรื อความสูงระหว่างลูกนอนแต่ละขั้น ซึ่ง โดยทัว่ ไปจะกาหนดให้ความสูงนี้อยูร่ ะหว่าง 175 ถึง 200 มิลลิเมตร เพื่อความสะดวกในการก้าวขึ้น บันได ลูกตั้งบางครั้งเปิ ดโล่ง บางครั้งตีปิดทึบ เพื่อป้ องกันฝุ่ นและใช้พ้นื ที่ใต้บนั ได ขึ้นอยูก่ บั จุดประสงค์ของผูอ้ อกแบบ 1.1.4 ราวบันได เป็ นส่ วนประกอบที่สาคัญที่ใช้ ยดึ เกาะระหว่างขึน้ – ลงบันได และยึด ส่วนบนของลูกกรงบันได ซึ่งเป็ นส่วนที่ใช้ก้นั ไม่ให้ผใู้ ช้บนั ไดพลัดตกด้านข้างได้ ระยะความสูง ของราวบันไดอยูร่ ะหว่าง 800 มิลลิเมตร – 900 มิลลิเมตร 1.2 การเขียนรูปขยายรายละเอียดบันได 1.2.1 รูปขยายบันได ประกอบด้วย ผัง และรู ปตัดตามขวาง โดยเขียนมาตราส่วน 1 : 20 หรื อ 1 : 25 และอาจมีจุดขยายที่ตอ้ งการแสดงให้ชดั เจนมากขึ้น เช่น จุดที่แม่บนั ไดยึดกับชั้น ล่าง ยึดกับชานพักบันได หรื อยึดกับชานพักชั้นที่สอง 1.2.2 การจัดหน้ ากระดาษ ในการเขียนรู ปขยายบันได พยายามจัดให้ผงั อยู่ ด้านล่างของหน้ากระดาษณุปตัดตามขวางของบันไดอยูด่ า้ นบนให้แนวตรงกับผัง เพื่อดูเข้าใจง่าย และสะดวกในการเขียน ผูเ้ ขียนสามารถลากเส้นโครงสร้างบันไดจากผังมาใช้กบั รู ปตัดได้เลย 1.2.3
การหาจานวนลูกตั้งและลูกนอนของขั้นบันได มีวิธีคิดดังนี้
ความสูงระห ว่างชั้น ความสูงของลูกตั้งทีก่ าหนด จานวนลูกนอน จานวนลูกตั้้ง- 1
จานวนลูกตั้้ง
1.2.4 ตรวจสอบระยะความสู งระหว่างขั้นบันไดกับท้ องคาน หรือตงของช่ องว่างเหนือ บันได ในกรณีที่พนื้ ชั้นที่สองยืน่ ออกมาคลุมขั้นบันได โดยระยะที่ผใู้ ช้อาคารสามารถขึ้น – ลงได้ โดยไม่ตอ้ งก้มและรู้สึกปลอดภัย ไม่ตอ้ งคอยระวังศีรษะจะโดนตงหรื อคาน
70 5.กิจกรรมการเรียนรู้ หัวข้ อการสอน การเขียนแบบขยายรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม - แบบขยายบันได - ส่วนประกอบของบันได - ลาดับขั้นการเขียนแบบขยายบันได เตรียมการสอน - จัดหาเอกสารสัญลักษณ์การเขียนรู ปด้านที่ควรแสดงให้แก่นกั ศึกษา - เตรี ยมเนื้อหาที่มีความสาคัญเกี่ยวกับการเขียนรู ปด้าน - เตรี ยมสื่ อแผ่นใสที่มีภาพที่นกั ศึกษาสามรถดูแล้วเข้าใจได้ง่าย - เตรี ยมแบบรู ปขยายบันได การจัดการสอน - ช่วงที่ 1 บรรยายบทความที่เกี่ยวข้องของส่วนประกอบของบันได - ช่วงที่ 2 บรรยายความสัมพันธ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องว่าต้องใช้แบบไหนในการประกอบการ เขียนแบบ และ แสดงสื่อทางแผ่นใส - ช่วงที่3 บรรยายลาดับขั้นตอนการเขียนรู ปขยายบันไดพร้อมทั้งแสดงสื่อ - ช่วงที่6 มอบใบงานให้หวั หน้าห้องเพื่อถ่ายเอกสารแจกกันเองภายในห้อง - ช่วงที่7 นักศึกษาเขียนแบบภายในห้องเขียนแบบจานวน 5 คาบ 8.การวัดและประเมินผลเกณฑ์การให้ คะแนน 16. การดาเนินงาน 16.1 บันทึกองค์ความรู้ 17. วัดผลจากการฝึ กทักษะ 17.1 ลายละเอียดในการบันทึก 17.2 แบบที่ทาการเขียน 18. จริยธรรมการฝึ กปฏิบัติ 18.1 การตรงต่อเวลา 18.2 ความรับผิดชอบในการทางาน 18.3 ความซื่อสัตย์ 18.4 การใฝ่ หาความรู้ 18.5 การประหยัดพลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม
71 9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………… 2) ปัญหาที่พบ ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………… 3) แนวทางแก้ปัญหา ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… …………
72 ใบงานสัปดาห์ ที่ 11 แบบขยายบันได
73
ใบงานสัปดาห์ ที่ 11 แบบขยายบันได
74
ใบงานสัปดาห์ ที่ 12 แบบขยายประตู – หน้าต่าง
75 แผนการจัดการเรียนรู้หน่ วยที่ 7 จานวน 6 ชั่วโมง รหัส 2106-2113 วิชา เขียนแบบก่อสร้าง 3 หน่ วยกิต 3(6) สอนครั้งที่ 13 – 17 ชื่อหน่ วย งานเขียนแบบขยายรายละเอียดทางวิศวกรรม ชั่วโมงรวม 30
1.สาระสาคัญ รู ปขยายรายละเอียดทางวิศวกรรมเป็ นรู ปที่ขยายบางส่วนของแบบทั้งในผัง รู ป ด้าน หรื อรู ปตัดให้ละเอียดชัดเจนขึ้นประดุจรู ปถ่ายที่ถ่ายระยะใกล้ทาให้มองเห็นรายละเอียด ได้มากกว่ารู ปถ่ายทัว่ ๆ ไปนัน่ เอง 2.สมรรถนะประจาหน่ วยการเรียนรู้ แสดงความรู้เกี่ยวกับงานรู ปขยายรายละเอียดทางวิศวกรรม 3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถอธิบายความหมายของรู ปขยายรายละเอียดทางวิศวกรรมได้อย่างถูกต้อง 2. สามารถบอกหลักเกณฑ์และข้อกาหนดในการเขียนรู ปขยายรายละเอียดทางวิศวกรรมได้ อย่าง ถูกต้อง 3. สามารถเขียนรู ปขยายรายละเอียดทางวิศวกรรมได้อย่างถูกต้อง 4. มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ใน ตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที
76
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ซื่อสัตย์สุจริ ต ขยันอดทน มีสติปัญญา แบ่งปัน รวม ลาดับความสาคัญ
ตารางการวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางสายกลาง 2 เงื่อนไข 3 ห่ วง ความรู้ คุณธรรม จุดประสงค์การสอน
1) สามารถอธิบายความหมายของรู ปขยาย รายละเอียดทางวิศวกรรมได้อย่างถูกต้อง 2) สามารถบอกหลักเกณฑ์และข้อกาหนด ในการเขียนรู ปขยายรายละเอียดทาง วิศวกรรมได้อย่างถูกต้อง 3) สามารถรู ปขยายรายละเอียดทาง วิศวกรรมอย่างถูกต้อง 4) มีการพัฒนาคุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ครู สามารถ สังเกตเห็นได้ในด้านความมีมนุษย์สมั พันธ์ ความมีวนิ ยั ความรับผิดชอบ ความเชื่อมัน่ ในตนเอง ความสนใจใฝ่ รู้ ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที รวม ลาดับความสาคัญ
77 4.สาระการเรียนรู้ รูปขยายรายละเอียดฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก ฐานรากเป็ นโครงสร้างที่ถ่ายน้ าหนักจากตอม่อลงสู่พ้นื ดิน ซึ่งแต่ละท้องที่จะมีคุณสมบัติการ รับน้ าหนักต่างกัน ในอาคารหลังเดียวกัน วิศวกรจะคานวณให้ฐานรากทุกฐานรากแข็งแรงพอที่จะถ่ายน้ าหนัก บรรทุกลงสู่ที่รองรับได้เสมอ ด้วยการใช้ฐานรากชนิ ดเดียวกัน และกาหนดระดับความลึกของฐาน รากจากระดับดินเดิมเท่าๆ กัน เพื่อป้ องกันฐานรากทรุ ดตัวไม่เท่ากัน ซึ่งจะทาให้อาคารแตกร้าว เสียหายได้ การกาหนดรายละเอียดในรู ปขยายนี้ แสดงด้วยรู ปตัดและผัง ดังรู ปที่1
รูปที1่ แสดงการบอกรายละเอียดทั่วไปของฐานรากในรู ปขยาย รู ปขยายรายละเอียดทางวิศวกรรม จะแสดงขนาดความกว้าง ยาว หนา ของฐานราก พร้อมทั้งความลึกของฐานรากจากระดับดินเดิม และความหนาของชั้นวัสดุรองก้นหลุม นอกจากนี้ยงั จะบอกรายละเอียดการเสริ มเหล็ก และรายละเอียดอื่นๆ แล้วแต่ประเภทของ ฐานรากที่ใช้ รูปลักษณะของฐานรากสาหรับอาคารบ้ านพักอาศัย 1. ฐานรากแผ่ซึ่งไม่มเี สาเข็มเป็ นที่รองรับ ใช้เมื่อดินที่รองรับเป็ นดินแน่น ดินลูกรัง ทรายหยาบ ซึ่ง สามารถรับน้ าหนักได้ประมาณ 20 ตันต่อตารางเมตร โดยขนาดของฐานรากคานวณจากน้ าหนักที่ รับจากตอม่อ 2. ฐานรากแผ่ชนิดมีเสาเข็มรองรับ ใช้กบั ดินที่มีความสามารถรองรับน้ าหนักได้นอ้ ยและชั้นของดิน ที่มีระดับความลึก 5 ถึง 8 เมตร แข็งจนไม่สามารถตอกเสาเข็มลงไปได้ ใช้เสาเข็มสั้นที่เป็ นไม้หรื อ คอนกรี ตเสริ มเหล็กความยาวไม่เกิน 6 เมตร ขนาดของฐานขึ้นอยูก่ บั น้ าหนักที่ตอ้ งรับและคานึงถึง จานวนเสาเข็มและระยะห่างด้วย
78
รูปที่2 แสดงเหล็กเสริมเพือ่ รับแรงดึงและความหนาของฐานราก 3. ฐานรากชนิดมีเสาเข็มรองรับ ใช้ กบั ดินที่มคี วามสามารถรับนา้ หนักได้น้อยมาก ความยาวและ ขนาดหน้าตัดของเสาเข็มคอนกรี ตอัดแรง ขึ้งอยูก่ บั ลักษณะชั้นดินและการพิจารณาการเลือกใช้ ของวิศวกรผูค้ านวณ ซึ่งถ้าเป็ นอาคารบ้านพักอาศัย มักจะใช้เป็ นเสาเข็มเดี่ยว โดยมีตอม่อยึดหัว เข็ม (Pile Cap) เพื่อไม่ให้เสาเข็มเคลื่อนจากตาแหน่งที่คานวณไว้เมื่อมีแรงมากระทาด้านข้าง พฤติกรรมของฐานรากเมือ่ รับนา้ หนักและการเสริมเหล็ก ฐานรากเมื่อรับน้ าหนักจากตอม่อและมีแรงอัดดินต้านทานอยู่ มีโอกาสจะเสียหายจากแรงดึง บริ เวณผิวล่างของฐานรากได้ และอาจเกิดรอยแตกร้าวที่บริ เวณโคนเสาเนื่องจากแรงเฉือนที่เกิด จากแรงกดจากเสา ดังรู ปที่2 ในกรณี ที่ฐานแผ่เป็ นฐานเดี่ยว หรื อฐานกาแพง ผูอ้ อกแบบมักกาหนดความหนาของฐาน รากให้พอเพียงที่รับแรงเฉื อนได้ แรงดึงที่เกิดขึ้นที่ส่วนล่างของฐาน เนื่องจากแรงดันของดินที่รองรับฐาน ทาให้เกิดแรงดัดที่ ส่วนล่างดังนั้น เหล็กเสริ มในกรณี น้ ีจึงมีเฉพาะส่วนล่างของฐาน และมักนิยมดัดเหล็กให้งอฉาก ขึ้นมาข้างฐาน(ถ้าฐานหนามาก) เพื่อป้ องกันคอนกรี ตแยกเป็ นชั้นๆ และเพื่อให้เหล็กเสริ มมีระยะยึด เกาะกับคอนกรี ตมากขึ้นดังรู ปที่2 ในกรณี ที่ฐานเดี่ยวแผ่เป็ นรู ปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ฐานส่วนยาวรับโมเมนต์มากกว่าด้านสั้น จึง ต้องจัดให้เหล็กเสริ มด้านยาวอยูล่ ่าง ส่วนกรณี ฐานรากกาแพง โดยปกติผอู้ อกแบบจะคานวณให้ เหล็กเสริ มหลักอยูด่ า้ นยาว จึงต้องจัดเหล็กเสริ มด้านนี้ให้อยูล่ ่าง ส่วนเหล็กเสริ มด้านสั้นอยูด่ า้ นบน ดังรู ปที่3 ในกรณี เสริ มเหล็กเพื่อช่วยรับแรงในโครงสร้างคอนกรี ตเสริ มเหล็กที่เป็ นแผ่นนั้น จะเสริ ม เหล็กเสริ มหลัก(Main Steel) ไว้ในตาแหน่งที่คานวณรับแรง แล้วจึงเสริ มเหล็กในทิศทางตั้งฉากกัน ลักษณะเป็ นตาราง เพื่อช่วยกระจายแรง (Distribution Steel) ผูเขียนจึงจะต้องใส่เหล็กเสริ มหลักให้ ถูกต้อง
79
รูปที่3 แสดงตาแหน่ งเหล็กเสริมหลักและเหล็กเสริมกระจายแรงในฐานรากรูปร่ างต่างๆ ข้ อกาหนดสาหรับใช้ ประกอบการเขียนแบบขยายฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก จากข้อกาหนดของมาตรฐาน ว.ส.ท. เกี่ยวกับฐานราก มีเนื้อหาพอสรุ ปได้ดงั นี้ 1. ความหนาของคอนกรี ตที่หุม้ เหล็กเสริ ม(Covering) วัดจากผิวเหล็กต้องไม่นอ้ ยกว่า 60 มิลลิเมตร 2. ความหนาต่าสุดของฐานราก ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ความหนาของคอนกรี ตที่อยูเ่ หนือเหล็กเสริ มที่ขอบนอกของฐาน จะต้องไม่นอ้ ยกว่า 50 มิลลิเมตร สาหรับฐานบนเสาเข็ม ฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ความหนาต้องไม่นอ้ ยกว่า 200 มิลลิเมตร สาหรับฐานแผ่หรื อไม่นอ้ ย กว่า 350 มิลลิเมตร สาหรับฐานบนเสาเข็ม การถ่ายหน่วยแรงที่ฐานของเสาสู่ฐานราก ใช้เหล็กเดือย(Dowel Bars) หรื อใช้เหล็กเสริ มตามแกน ของเสาไปยังฐานราก ให้มีระยะพอเพียงที่จะถ่ายแรงจากตอม่อทั้งหมดไปยังคอนกรี ต โดยอาศัย แรงยึดหน่วงระหว่างเหล็กกับคอนกรี ต ระยะระหว่างศูนย์กลางเสาเข็ม ใช้ 2.5 ถึง 3 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของเสาเข็ม และจัดให้ สมมาตร
80 ลาดับขั้นตอนการเขียนรูปขยายรายละเอียดฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก 1. ศึกษารายละเอียดของฐานราก ซึ่งระบุสญ ั ลักษณ์ ขนาด จานวนของฐานพร้อมรายละเอียด คอนกรี ตเสริ มเหล็กในแต่ละฐาน 2. การจัดหน้ากระดาษ ถ้าเป็ นอาคารขนาดเล็กควรจัดให้อยูใ่ นผังเดียวกับฐานราก โยให้ผงั ฐานราก อยูด่ า้ นล่างและรู ปขยายรายละเอียดฐานรากอยูด่ า้ นบนของกระดาษ เพื่อสะดวกในการอ่านแบบ 3. เขียนรู ปตัดด้วยมาตราส่วน 1 : 25 เพื่อแสดงรายละเอียด 4. รูปขยายรายละเอียดเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก 5. เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็กทาหน้าที่ถ่ายน้ าหนักจากโครงสร้างสู่ฐานราก โดยถือว่าเสาจะต้องมีความ ยาวมากกว่า 4 เท่าของหน้าตัดที่กว้างที่สุด รูปลักษณะของเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก สาหรับอาคารพักอาศัย นิยมใช้สี่เหลี่ยมจัตุรัสและกลม พฤติกรรมของเสาเมือ่ รับนา้ หนัก เสาคอนกรี ตเสริ มเหล็กทาหน้าที่ตา้ นทานแรงอัดในแนวแกน ซึ่งอาจมีโมเมนต์อดั ร่ วมด้วย เนื่องจากการรับน้ าหนักของเสาร่ วมกับคานจะเกิดโมเมนต์ดดั ที่ปลายบนของเสา ดังรู ปที่1 ดังนั้น เหล็กเสริ มยืนด้านในของเสายังต้องช่วยรับแรงอัดที่เกิดด้านในเสา และเหล็กเสริ มยืนด้านนอกยัง ต้องช่วยรับแรงดึงเพิ่มขึ้นอีกด้วย
รูปที่1 แสดงพฤติกรรมของเสาเมือ่ รับนา้ หนักร่ วมกับคาน
81 6.3 การเสริมเล็กในเสา เหล็กเสริ มในเสาประกอบด้วย เหล็กยืนและเหล็กปลอก โดยเหล็กยืนทาหน้าที่รับแรงอัด ร่ วมกับคอนกรี ตเพื่อช่วยลดขนาดหน้าตัดเสาให้เล็กลง และต้านทานโมเมนต์ดดั ที่เกิดขึ้นด้านข้าง ดังรู ปที่1 เหล็กปลอกช่วยยึดเหล็กยืนในเสาให้อยูใ่ นตาแหน่งและช่วยให้คอนกรี ตคงรู ปสามารถต้านทาน แรงอัดได้ ดี เนื่องจากถ้าเสารับแรงอัดมากจะเกิดแนวโน้มที่ปริ แตกด้านข้าง
รูปที่2 แสดงพฤติกรรมของเสาเมือ่ รับนา้ หนัก และตาแหน่งเหล็กเสริมในเสา
การจัดเหล็กยืนในเสา ควรมีจานวนไม่นอ้ ยกว่า 4 เส้น สาหรับเสาสี่เหลี่ยม และอยูท่ ี่ มุมของหน้าตัด เหล็กปลอกนิยมใช้เหล็กปลอกรู ปสี่เหลี่ยมเพื่อยึดเหล็กยืนสี่มุม ถ้ามีเหล็ก มากกว่านี้ ก็ใช้เล็กปลอกเพิ่มจานวนขึ้น โดยพยายามให้เหล็กปลอกพันรอบเหล็กยืนทุกเส้น ส่วนเหล็กปลอกเกลียวใช้กบั เหล็กยืน เรี ยงตามเส้นรอบวงของวงกลม ดังรู ปที่3
82
รูปที่3 แสดงการจัดเหล็กยืน และเหล็กปลอกในหน้ าตัดเสา
ข้ อกาหนดสาหรับใช้ ประกอบการเขียนแบบขยายเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก จากข้อกาหนดของมาตรฐาน ว.ส.ท. เกี่ยวกับเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็กมีเนื้อหาพอสรุ ปได้คือ 1. เหล็กยืนต้องมีขนาดไม่เล็กกว่า 12 มิลลิเมตร มีจานวนไม่นอ้ ยกว่า 4 เส้น สาหรับเสาเหลี่ยมและไม่ น้อยกว่า 6 เส้น สาหรับเสากลม 2. ช่วงว่างระหว่างเหล็กยืนต้องไม่นอ้ ยกว่า 40 มิลลิเมตร หรื อไม่เล็กกว่า 1.5 เท่าของขนาดหินใหญ่ ที่สุดที่ใช้ 3. เหล็กปลอกที่ใช้ตอ้ งไม่เล็กกว่า 6 มิลลิเมตร
83 4. เหล็กปลอกเดี่ยวต้องมีระยะห่างไม่เกิน 16 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กยืน หรื อ 48 เท่าเส้นผ่าน ศูนย์กลางเหล็กปลอก หรื อด้านแคบของเสา และต้องจัดให้มุมของเหล็กปลอกยึดเหล็กยืนตามมุม ทุกมุม 5. เหล็กปลอกเกลียวต้องพันต่อเนื่องสม่าเสมอ มีระยะห่างไม่เกิน 70 มิลลิเมตร และไม่แคบกว่า 30 มิลลิเมตร หรื อ 1.5 เท่าของขนาดหินใหญ่สุดที่ใช้ 6. คอนกรี ตหุม้ เหล็กต้องหนาไม่นอ้ ยกว่า 30 มิลลิเมตร หรื อ 1.5 เท่าของขนาดหินใหญ่ที่สุดที่ใช้ 7. เมื่อต่อเหล็กเสาที่ระดับชั้นต้องหนาไม่นอ้ ยกว่า 30 มิลลิเมตร หรื อ 1.5 เท่าของหินขนาดใหญ่สุดที่ ใช้และไม่นอ้ ยกว่า 300 มิลลิเมตร สาหรับเหล็กข้ออ้อย สาหรับเหล็กเส้นผิวเรี ยบระยะทางอย่าง น้อยต้องเป็ น 60 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กยืน การเขียนผังบริเวณ บทนา แผนผังบริ เวณเป็ นแบบแผ่นแรกในชุดของแบบก่อสร้างสาหรับอาคารขนาดเล็ก เช่น บ้านพักอาศัยถือเป็ นแบบก่อสร้างทางสถาปัตยกรรม แต่ในโครงการใหญ่ ๆ จะต้องมีการ พิจารณาองค์ประกอบต่างของผังบริ เวณ ได้แก่ ระบบสาธารณูปโภค คือระบบท่อและ ระบบไฟฟ้ าภายนอกอาคาร ประกอบด้วยจึงเป็ นแบบที่ตอ้ งพิจารณาร่ วมกันทั้งสถาปนิกและ วิศวกรสาขาระบบท่อและไฟฟ้ าและใช้ประกอบกับผังที่ต้งั (Site Plan) 1. ความหมายของผังบริเวณ แบบผังบริ เวณ เป็ นแบบแสดงรายละเอียดตาแหน่งที่ต้งั ตัวอาคารในบริ เวณที่ดินที่จะ ทาการปลูกสร้าง แสดงขอบเขต ตาแหน่ง และทิศทางของที่ดิน รวมทั้งขนาดของตัวอาคาร โดยแสดงความสัมพันธ์ของตาแหน่งตัวอาคารกับจุดกาหนดทางเข้าออกหรื อถนนภายในที่ จะนามาสู่ตวั บ้านให้เหมาะสมและปลอดภัย เช่น ถ้าที่ ดินนั้นอยูใ่ กล้กบั ทางแยก ควรจัดให้ ทางเข้าบ้านอยูห่ ่างจากทางแยกนั้นมากที่สุดเพื่อป้ องกันการเกิดอุบตั ิเหตุจากการเข้า – ออก และภาวะเป็ นพิษจากถนนสาธารณะ ดังรู ปที่1 แสดงการกาหนดจุดทางเข้าออก และการปลูก ต้นไม้เพื่อป้ องกันมลพิษ (ควัน ฝุ่ นละออง เสียง) จากถนนสาธารณะ และตาแหน่งของตัว อาคาร
รูปที่1 แสดงความสัมพันธ์ ของตัวบ้ านกับถนนภายในและถนนสาธารณะ
84
แบบผังบริ เวณของอาคารแต่ละหลัง จึงต้องพิจารณาทั้งตาแหน่ง ทิศทาง และ สิ่งแวดล้อมหลายประการประกอบกัน และยังต้องแสดงรายละเอียดทางด้านสาธารณูปโภค ได้แก่ ระบบประปา ระบบการระบายน้ าจากตัวอาคารไปยังท่อระบายน้ าสาธารณะ และ อื่นๆ เช่น ทางสัญจร ตาแหน่งต้นไม้ ระดับดิน เป็ นต้น 1. องค์ประกอบของผังอาคาร ในแบบผังบริ เวณ มีสิ่งที่ตอ้ งแสดงดังนี้ 2.1 ตาแหน่ งที่ต้งั และขนาดของทีด่ ินที่จะทาการปลูกสร้ างอาคาร โดยแสดงขอบเขตด้วย การเขียนแสดงตาแหน่งของหมุดหลักเขตตามโฉนดที่ดิน แนวถนนสาธารณะผ่านหน้าที่ดิน และกาหนดระยะห่างจากจุดที่หมายที่สามารถตรวจสอบจากแผนที่ได้โดยง่าย เช่น ขื่อถนน สาธารณะที่อยูใ่ กล้เคียงหรื อผ่านหน้าที่ดินอยูใ่ กล้เคียงกับสถานที่สาคัญใด ๆ เช่น ที่ทาการ รัฐบาล ธนาคาร ฯลฯ โดยระบุชื่อและระยะทางไว้ให้ชดั เจน 2.2 แสดงตาแหน่งที่ต้งั ของตัวอาคาร โดยเขียนขอบเขตของอาคารที่เป็ นผนังโดยรอบ ขนาดของตัวอาคาร และเขียนบอกระยะห่างของอาคารจากเขตที่ดินหรื อแนวรั้วทั้ง 4 ด้าน พร้อม ทั้งเขียนเส้นประแสดงแนวหลังคาที่ยนื่ ล้าเขตที่ดินออกไป 2.3 แสดงเส้ นทางสัญจรภายใน ได้แก่ ตาแหน่งประตูทางเข้าออกที่ติดกับถนนสาธารณะ เข้าสู่ถนนภายในสาหรับรถยนต์ ลานจอดรถ ลานเลี้ยวรถ ภายในเขตที่ดินที่จะปลูกสร้าง 2.4 ระดับดินเดิมของบริเวณทีด่ ิน ระดับที่ผอู้ อกแบบกาหนดว่าจะปรับให้สูงหรื อต่ากว่า ระดับดินเดิมรวมทั้งแสดงตาแหน่งของต้นไม้เดิม หรื อสิ่งก่อสร้างเดิมที่ตอ้ งการจะคงไว้ ส่วนที่ ต้องการจะรื้ อถอนออก (ถ้ามี) และแสดงตาแหน่งต้นไม้ที่ตอ้ งการจะปลูกเพิ่ม บริ เวณเปิ ดโล่งที่ ต้องการจะเป็ นสนามหญ้า หรื อขุดสระน้ า ฯลฯ 2.5 แนวท่ อระบายนา้ และความลาดเอียงของท่ อ พร้อมตาแหน่งของบ่อพัก บ่อดักขยะ ออกจากตัวอาคารและบริ เวณเขตที่ดินไปยังแนวท่อระบายน้ าสาธารณะ พร้อมทั้งตาแหน่งบ่อ เกรอะ – บ่อซึม
85
รูปที่2 แสดงรูปผังบริเวณ
86
รูปที่3 แสดงผังที่ต้งั และแนวทิศเหนือ
87 2.
หลักเกณฑ์และข้ อกาหนดในการเขียนผังบริเวณ
การเขียนผังบริ เวณคานึงถึงหลักเกณฑ์ตาม มอก.440 เล่ม 1 – 2525 และข้อบัญญัติ กรุ งเทพมหานคร เรื่ อง การควบคุมการก่อสร้างอาคาร พ.ศ. 2522 ดังนี้ 3.1 มาตราส่ วน ใช้มาตราส่วน 1 : 500 (2 มิลลิเมตรเท่ากับ 1 เมตร) หรื อ 1 : 200 (5 มิลลิเมตร เท่ากับ 1 เมตร) โดยพิจารณาจากขนาดของขอบเขตที่ดินให้เหมาะสมกับหน้ากระดาษเขียน แบบ 3.2 ทิศ ให้เขียนเครื่ องหมายแสดงแนวทิศเหนือไว้ที่มุมขวาบนของมุมกระดาษเขียนแบบ และ กาหนดแนวทิศเหนือขึ้นตรงไปทางด้านบน โดยแสดงลูกศรเปิ ดในวงกลม ดังรู ปที่4
รูปที่4 เครื่องหมายแสดงแนวทิศเหนือ ถ้าตัวอาคารตั้งอยูใ่ นตาแหน่งที่ทิศเหนือที่แท้จริ ง ทามุมน้อยกว่า 45 องศากับแนวทิศ เหนือที่เขียนในแนวตั้งขึ้นทิศบนของกระดาษ ก็ใช้แนวทิศเหนือตั้งขึ้นโดยอนุโลม เพื่อ สะดวกในการเรี ยกชื่อในแบบรู ปด้าน
รูปที5่ แสดงการกาหนดแนวทิศเหนือในแบบผังบริเวณ .3 ความหนาของเส้ น ใช้ขนาดความหนา 3 ขนาด ตามที่กาหนดไว้ 1) ขอบนอกของอาคารใหม่ ใช้เส้นหนามาก 2) รายละเอียดทัว่ ไป ใช้เส้นหนา 3) เส้นมิติ เส้นฉาย ใช้เส้นบาง
88 4) ส่วนที่มองไม่เห็น เช่น แนวชายคา บ่อซึม ฯลฯ และส่วนที่ร้ื อถอน ใช้เส้น หนา 5) ท่อต่างๆ และทางระบายน้ า ใช้เส้นลูกโซ่หนามากและ/หรื อใช้เส้นลูกโซ่ หนา 3.4 การบอกระดับ ในแบบผังบริ เวณควรแสดงระดับเดิมกับระดับที่ตอ้ งการให้ แตกต่างกันอย่างชัดเจน 3.5 สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ที่ใช้ในผังบริ เวณดูได้จากตาราง
3.6 มิติ การบอกมิติในผังบริ เวณ ใช้หลักการเดียวกับการเขียนรู ปมิติในรู ปอื่นๆ โดยนา ข้อบัญญัติของเทศบัญญัติของกรุ งเทพมหานครฯ เรื่ อง ควบคุมการก่อสร้างอาคาร พ.ศ. 2522 มาพิจารณาร่ วมด้วยในการจัดระยะห่างของตัวอาคารกับที่ดิน 3.7 ข้ อกาหนดอืน่ ๆ ของเทศบัญญัตคิ วบคุมอาคาร ที่ตอ้ งนามาใช้ในการประกอบการเขียน แบบ
89 1) ขอบเขตของที่ดินบริ เวณติดต่อขอบนอกของอาคารที่มีอยูแ่ ล้ว(ถ้ามี) กับอาคารที่ขอรับ อนุญาตปลูกสร้างใหม่ 2) ทางสาธารณะที่ติดต่อกับที่ดินปลูกสร้าง พร้อมทั้งแสดงระดับทางสาธารณะ ระดับถนน ภายในระดับพื้นชั้นล่างของอาคาร ระดับพื้นดินเดิม และระดับพื้นที่ดินที่ปรับใหม่ 3) ทางระบายน้ าทิ้ง ขนาดกว้างไม่นอ้ ยกว่า 100 มิลลิเมตร จากตัวอาคารไปสู่ทางระบายน้ า สาธารณะ แสดงทิศทางการไหล และมีส่วนลาดไม่ต่ากว่า 1 : 200 ตามแนวตรงที่สุดเท่าที่จะ ทาได้ ถ้าใช้ท่อกลมเป็ นทางระบายน้ าทิ้ง ต้องบมีบ่อพักทุกระยะ 12000มิลลิเมตร ทุกมุม เลี้ยว และที่จุดก่อนระบายลงสู่ทางระบายน้ าสาธารณะ ต้องมีบ่อพักพร้อมตะแกรงดักขยะ อยูใ่ นตาแหน่งที่สามารถตรวจสอบได้สะดวก 4) ที่ว่างอันปราศจากหลังคาหรื อสิ่งปกคลุม ได้แก่ สนามหญ้า ลานจอดรถ ฯลฯ มีพ้นื ที่ไม่ น้อยกว่า 30 ส่วนใน 100 ส่วนของพื้นที่ปลูกสร้าง 4. ลาดับขั้นตอนการเขียนผังบริเวณ ก่อนเขียนผังบริ เวณให้พิจารณาขอบเขตของที่ดินเพื่อตัดสินใจว่าจะใช้มาตราส่วน 1 : 500 หรื อ 1 : 200 จึงจะเหมาะสมกับหน้ากระดาษ ดูความสัมพันธ์ของผังพื้นชั้นล่าง ชั้นที่สอง หลังคา ว่าอยูใ่ นแนวเดียวกันหรื อยืน่ เลยพื้นชั้นล่างออกมา ศึกษาแนวท่อระบายน้ าสาธารณะว่าอยู่ ตาแหน่งไหน เพื่อจะได้เขียนให้ตรงกับความเป็ นจริ ง ก่อนดาเนินการเขียนตามขั้นตอน ดังนี้ 4.1 จัดวางรูปให้ เหมาะสมกับหน้ ากระดาษ ถ้ารู ปเล็กอาจมีผงั ที่ต้งั แสดงประกอบเพิ่มเติมจาก ผังบริ เวณ รายการย่อประกอบแบบก่อสร้าง หรื อตารางรายละเอียดเขียนรวมด้วยก็ได้ 4.2 เขียนขนาดของทีด่ ิน โดยวัดขนาดจากโฉนดที่ดิน กาหนดหลักเขตให้ชดั เจน โดยให้แนว ทิศเหนือขึ้นตรงไปทางด้านบนของแบบ แสดงแนวถนน และระยะที่ห่างจากจุดที่สามารถ ตรวจสอบตาแหน่งของผังบริ เวณได้ 4.3 เขียนตาแหน่งของอาคาร แสดงแนวผังพืน้ ชั้ นล่าง และเส้นประแสดงแนวหลังคา ถนน ทางเข้าและรายละเอียดอื่นๆ ด้วยความหนาของเส้นตามข้อกาหนด 4.4 บอกขนาดของอาคาร ที่ดนิ และระยะห่ างจากตัวอาคารถึงแนวรั้ว มิตเิ ป็ นมิลลิเมตร 4.5 เขียนแนวท่อระบายนา้ บ่ อพัก ความลาด และแนวท่อระบายนา้ สาธารณะ (ถ้ ามี) ถ้าไม่มี ต้องแสดงว่าจะระบายน้ าด้วยวิธีใด อาจใช้บ่อพัก บ่อซึม เป็ นต้น 4.6 เขียนระดับเดิมและระดับที่ต้องการในผังบริเวณ และรายละเอียดอืน่ ๆ เช่ น ต้นไม้ที่ตดั (ถ้า มี) ลงให้ชดั เจน
90 4.7 ตรวจสอบแบบผังบริเวณกับผังพืน้ และผังท่ อ ไม่ให้ มขี ้ อขัดแย้งกันเอง และตรวจสอบแนว ชายคา ไม่ให้ล้าเขตที่ดินใกล้เคียง 4.8 เขียนบอกชื่อรูปผังบริเวณ และมาตราส่ วนทีใ่ ช้ รายการประกอบแบบ(Specification) เป็ นรายการที่สถาปนิกผูอ้ อกแบบกาหนดขึ้น ประกอบกับแบบกอสร้างแต่ละชุด ซึ่ง จะแตกต่างกันไปตามแบบของอาคารแต่ละหลัง เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์และรายละเอียด บางส่วนที่ไม่สามารถแสดงในแบบก่อสร้าง ได้แก่ การกาหนดคุณภาพของวัสดุ มาตรฐาน ของระดับฝี มือช่าง วิธีดาเนินการก่อสร้างที่ตอ้ งการให้ผรู้ ับเหมาปฏิบตั ิตามที่ระบุไว้ ในการทาสัญญาก่อสร้าง จะมีแบบก่อสร้าง 1 ชุด และรายการประกอบแบบก่อสร้าง 1 ชุดเป็ นเอกสารประกอบสัญญาด้วย เนื้อหาในรายการประกอบแบบก่อสร้าง จะแบ่งเป็ นสองส่วนใหญ่ๆ คือ 1. รายการทั่วๆ ไป ซึ่งถ้าเป็ นงานก่อสร้างบ้านพักอาศัยขนาดกลาง จะมีหวั ข้อ ดังนี้ 1. ข้อกาหนดและขอบเขตทัว่ ไป ข้อความจะเป็ นการสรุ ปงานในสัญญา ก่อสร้างอย่างย่อ 2. งานสถานที่ก่อสร้างและงานโยธา จะระบุสถานที่ก่อสร้าง การเตรี ยม สถานที่มาตรฐานงานดินงานทาฐานราก 3. งานคอนกรี ต กาหนดมาตรฐานของวัสดุสาหรับผสมคอนกรี ต ส่วนผสม การเทคอนกรี ต การผูกเหล็ก การบ่มคอนกรี ต ฯลฯ 4. งานก่ออิฐฉาบปูน กาหนด วัสดุ ส่วนผสม และวิธีการดาเนินก่ออิฐ ฉาบปูน 5. งานไม้ กาหนด วัสดุ ขนาด วิธีเข้าไม้ และฝี มือการทางาน 6. งานโลหะ(ถ้ามี) ลักษณะการเขียนรายการส่วนนี้จะมีมาตรฐานคล้ายกันสาหรับอาคารประเภท เดียวกัน 2. รายการเฉพาะของอาคารแต่ละหลัง ประกอบด้ วยการกาหนดชนิดและ คุณภาพของวัสดุและวิธีการดาเนินการติดตั้งส่ วนต่างๆ ของอาคาร โดยแยก ได้เป็ นงานแต่ละส่ วนของอาคารเพิม่ เติมจากรายการใน ข้อ 1. ได้ แก่ 1. งานหลังคา ระบุชนิดของกระเบือ้ งมุงหลังคา พร้ อมอุปกรณ์ที่ใช้ และ วิธีการติดตั้ง
91 2. งานประตู – หน้ าต่าง ระบุวสั ดุที่ใช้ พร้ อมอุปกรณ์ ถ้ าในตาราง รายละเอียดเขียนไว้ครบแล้วก็ถอื ว่าตารางรายละเอียดเป็ นส่ วนหนึ่งของ รายการประกอบแบบด้ วย 3. งานตกแต่งผิวด้ วยวัสดุต่างๆ และวิธกี ารติดตั้งที่พนื้ และผนัง 4. งานฝ้ าเพดาน ซึ่งถือว่าเป็ นงานตกแต่งอีกเช่ นกัน 5. งานติดตั้งเครื่องสุขภัณฑ์ ระบุชนิดและวิธกี ารติดตั้งเครื่องสุ ขภัณฑ์ใน ห้ องนา้ 6. งานประปาและสุ ขาภิบาล 7. งานสี 8. งานไฟฟ้ า 9. อืน่ ๆ (ถ้ ามี) ในแบบก่อสร้างชุดนี้ ประกอบด้วยแบบก่อสร้าง รายละเอียดประกอบพื้น ผนัง ประตู หน้าต่าง และรายละเอียดเครื่ องสุขภัณฑ์ ซึ่งถือว่าเป็ นส่วนหนึ่งของ รายการประกอบแบบก่อสร้าง
92 เทศบัญญัตกิ รุงเทพฯ มหานคร หมวด 3 แผนผัง แบบก่อสร้าง รายการ ข้ อ 11 ให้ใช้มาตราส่วนไม่เล็กกว่า 1 ใน 500แสดงขอบเขตที่ดินและบริ เวณติดต่อ และแสดงขอบเขตนอกของอาคารที่มีอยูแ่ ล้วกับอาคารที่ขออนุญาตปลูกสร้างใหม่ ด้วยลัฏษณะเครื่ องหมายต่างกันให้ชดั เจน พร้อมด้วยเครื่ องหมายทิศอันถูกต้อง ข้ อ 12 ในแผนผังให้แสดงทางสาธารณะติดต่อกับที่ดินปลูกสร้างโดยบริ บรู ณ์กบั ทาง ระบายน้ าออกจากอาคารที่ปลูกสร้างนั้น จนถึงทางระบายน้ าสาธารณะ และตามแนวทาง ระบายน้ านั้นให้แสดงเครื่ องหมายชี้ทางน้ าไหลพร้อมด้วยส่วนลาด ข้ อ 13 ให้แสดงระดับของพื้นชั้นล่างของอาคาร และให้แสดงการสัมพันธ์กบั ระดับ ถนนสาธารณะหรื อระดับพื้นดินตรงที่ปลูกสร้างในแผนผังนั้น ข้ อ 14 แบบก่อสร้างให้ใช้มาตราส่วนไม่เล็กกว่า 1 ใน 100แสดงแผนฐานรากอาคาร แผนพื้นชั้นต่างๆ ของอาคาร รู ปด้านและรู ปตัดเนื่องกันไม่ต่ากว่า 2 ด้าน รู ปรายละเอียดส่วน สัมพันธ์ขนาด และเครื่ องหมายวัตถุประกอบอาคารชัดเจนพอที่ จะคิดรายการและสอบ รายการคานวณได้ ข้ อ 15 แบบก่อสร้างอาคารสาธารณะ และอาคารที่บุคคลเข้าอยูห่ รื อใช้สอยได้ต้งั แต่ 3 ชั้นขึ้นไป ให้แสดงรายการคานวณกาลังของส่วนสาคัญต่างๆ ของอาคารไว้โดยบริ บูรณ์ ข้ อ 18 รายการให้แสดงสัญลักษณ์ของวัตถุก่อสร้างอันเป็ นส่วนประกอบสาคัญของ อาคารโดยละเอียด พร้อมด้วยวิธีประกอบวัตถุต่างๆ นั้นเป็ นหลักดาเนินการไว้ดว้ ย ข้ อ 19 มาตราส่วน ขนาด ระยะ น้ าหนักและหน่วยการคานวณต่างๆ ของแผนผัง แบบก่อสร้าง รายการ หรื อรายการคานวณนั้น ให้ใช้มาตราเมตริ กอนุโลมว่าด้วยมาตราชัง่ ตวง วัด ข้ อ 20 ให้แจ้งนามและสานักงานของผูก้ าหนดแผนผัง ออกแบบก่อสร้างทารายการ และคิดรายการคานวณไว้เสมอ พร้อมด้วยเครื่ องหมายวิทยฐานะ (ถ้ามี) ว่าเป็ นผูส้ ามารถทา การเหล่านี้ได้
93 หมวด 4 ลักษณะอาคารต่างๆ ข้ อ 25 ห้องแถว ตึกแถว ให้ทากว้างระหว่างศูนย์ผนังไม่นอ้ ยกว่า 3.50 เมตร และ ต้องมีประตูหรื อช่องทางเข้าออกได้ท้งั ข้างหน้าและข้างหลัง การปลูกสร้างติดต่อกันเป็ น แนวยาว ให้มีผนังกันไฟมีความหนาไม่นอ้ ยกว่า 20 เซนติเมตร สูงเหนือวัตถุมุงหลังคาไม่ น้อยกว่า 50 เซนติเมตร ทุกระยะ 5 ห้องเป็ นอย่างน้อย และไม่ให้ฝังวัตถุที่ไหม้ไฟได้ในผนัง นี้ และให้เว้นทางกว้างไม่นอ้ ยกว่า 4 เมตร เป็ นทางโดยไม่มีสิ่งใดปกคลุมติดต่อจากทาง ด้านหน้าไปสู่ทางหลังห้องแถว และตึกแถวทุกระยะ 20 ห้องอีกด้วย ผนังตึกแถวต้องก่อด้วยอิฐหรื อวัสดุก่อสร้างอย่างอื่นซึ่งมีคุณสมบัติอย่างเดียวกัน และ ผนังนี้ตอ้ งหนาไม่นอ้ ยกว่า 10 เซนติเมตรทุกห้อง ตึกแถวที่สูงเกินกว่า 3 ชั้น ต้องสร้างพื้นด้วยวัตถุทนไฟทุกชั้น ถ้าสูง 3 ชั้น ต้องมีพ้นื ชั้น 2 หรื อชั้น 3 สร้างด้วยวัตถุทนไฟชั้นใดชั้นหนึ่งเป็ นอย่างน้อย ข้ อ 26 อาคารบ้านเรื อน โรง จะปลูกสร้างบนที่ดินถมขยะมูลฝอยมิได้จนกว่าจะ ปรากฎว่าลักษณะดินนั้นปลอดภัยทางอนามัยแล้ว และได้ถมปิ ดขยะมูลฝอยนั้นเสร็ จด้วยดิน กระทุง้ แน่นหนาไม่ต่ากว่า 30 เซนติเมตรแล้ว หมวด 5 ส่ วนต่างๆ ของอาคาร ข้ อ 31 ห้องซึ่งใช้เป็ นที่พกั อาศัยในอาคารให้มีส่วนกว้างหรื อยาว ไม่ต่ากว่า 250 เซนติเมตร กับรวมพื้นที่ท้งั หมดไม่นอ้ ยกว่า 9 ตารางเมตร ข้ อ 35 ยอดหน้าต่างและประตูในอาคาร ให้ทาสูงจากพื้นไม่นอ้ ยกว่า 180 เซนติเมตร และบุคคลในห้องต้องสามารถเปิ ดประตูหน้าต่าง และออกจากห้องนั้นได้โดยมิจาเป็ นต้องใช้ เครื่ องมือ ข้ อ 36 ระยะดิ่งถึงเพดานยอดฝา หรื อผนัง สาหรับอาคารที่พกั อาศัยโดยเฉลี่ยต้องไม่ ต่ากว่า 250 เซนติเมตร ถ้าเป็ นอาคารสาธารณะ โรงงานอุตสาหกรรม อาคารพาณิ ชย์ ห้อง แถว ตึกแถว หรื อคอกสัตว์ที่มีคนพักอาศัย ระยะดังกล่าวข้างต้นโดยเฉลี่ยต้องไม่ต่ากว่า 350 เซนติเมตร
94 สาหรับอาคารที่มีการสร้างพื้น ซึ่งไม่คลุมเต็มเนื้อที่หอ้ งในระหว่างชั้นของอาคาร ห้องนั้นจะต้องมีความสูงจากระดับบนของพื้นห้องถึงระดับต่าสุดของเพดานไม่ต่ากว่า 5 เมตร โดยพื้นระหว่างชั้นของอาคารดังกล่าวข้างต้นต้องมีความสูงจากระดับพื้นห้องไม่ต่า กว่า 225 เซนติเมตร และต้องมีเนื้อที่ไม่เกิน 20 ใน 100 ส่วนของพื้นที่ท้งั หมดของห้องนั้นๆ ห้ามกั้นริ มของพื้นที่สร้างสูงเกิน 90 เซนติเมตร เว้นแต่กรณี ที่มีการจัดระบบการปรับอากาศ ข้ อ 38 ห้ามมิให้มีประตูหน้าต่างหรื อช่องลมจากครัวไฟ เปิ ดเข้าไปสู่หอ้ งส้วมหรื อ ห้องนอนของอาคารได้โดยตรง ข้อ 41 บันไดสาหรับอาคารที่พกั อาศัยต้องทากว้างไม่ น้อยกว่า 90 เซนติเมตร ช่วงหนึ่งไม่สูงเกิน 300 เซนติเมตร และลูกตั้งไม่สูงเกิน 20 เซนติเมตร ลูกนอนไม่แคบกว่า 22 เซนติเมตร ข้อ 41 บันไดสาหรับอาคารที่พกั อาศัยต้องทากว้างไม่นอ้ ยกว่า 90 เซนติเมตร ช่วงหนึ่งไม่สูงเกิน 300 เซนติเมตร และลูกตั้งไม่สูงเกิน 20 เซนติเมตร ลูกนอนไม่แคบกว่า 22 เซนติเมตร ข้ อ 43 บันไดซึ่งมีระยะสูงกว่าที่กาหนดไว้ ให้ทาที่พกั มีขนาดกว้าง ยาวไม่นอ้ ยกว่า ส่วนกว้างของ บันได อาคารที่มีบนั ไดติดต่อกันตั้งแต่ 4 ชั้นขึ้นไปนั้น พื้น ประตู หน้าต่าง วงกบ ของห้องบันได และ สิ่งก่อสร้างโดยรอบบันได ต้องก่อสร้างด้วยวัตถุทนไฟ หน้าต่าง หรื อช่องระบายอากาศ หรื อช่องแสงสว่างซึ่งทาติดต่อกันสูงเกินกว่า 10 เมตร ต้องสร้างด้วยวัตถุทนไฟ หมวด 7 แนวอาคารและระยะต่างๆ ข้ อ 58 ห้ามมิให้บุคคลใดปลูกสร้างอาคารหรื อส่วนของอาคารยืน่ ออกมาในหรื อเหนือทาง หรื อที่ดินสาธารณะ เว้นแต่จะได้รับการอนุญาตจากคณะเทศมนตรี เป็ นหนังสือซึ่งจะต้องเป็ นไป ตามข้อกาหนดต่อไปนี้ (1.) สาหรับกันสาดของพื้นชั้นแรกเหนือระดับถนน ระยะยืน่ ของกันสาด ต้องยืน่ 1 ใน 10 ของ ความกว้างของแนวถนน แนวถนนที่กว้าง 20 เมตร ขึ้นไป ระยะยืน่ ของกันสาดต้องยืน่ 2 เมตร ระยะกันสาดสูงจากพื้นทางเท้า 325 เซนติเมตร ระดับปลายชายคาชั้นเดียวให้ถือตามกาหนดนี้ ด้วย ระดับสูงของกันสาดนี้ให้วดั จากระดับบนคันหินถึงใต้ทอ้ งกันสาดโดยตลอด ลักษณะกันสาดถ้ามีคานหูชา้ ง โคนของคานต้องไม่สูงกว่า 50 เซนติเมตร จากท้องกันสาด คาน ขอบกันสาดริ มนอกหรื อคานรัดปลายหูชา้ งต้องลึกหรื อหนา 25 เซนติเมตร ใต้ทอ้ งกันสาดต้อง
95 เรี ยบ วัตถุที่ทากันสาดต้องเป็ นคอนกรี ตเสริ มเหล็กหรื อโครงสร้างเหล็ก เว้นแต่อาคารจะได้รับ อนุญาตให้สร้างด้วยไม้จะสร้างโครงกันสาดด้วยไม้ก็ได้ (2.) หลังคาของตึกแถว อาคารพาณิ ชย์ อาคารสาธารณะ กาหนดให้เป็ นหลังคาตัด ถ้าเป็ น หลังคาจัว่ ต้องมีลาดชายคาไม่ยนื่ ออกมานอกผนังตึกด้านหน้าและต้องผนังบังลาดหลังคาด้วย เว้นแต่นายช่างเห็นว่าไม่ขดั กับหลักของสถาปัตยกรรม (3.) ส่วนยืน่ สถาปัตยกรรม ระยะยืน่ ของส่วนประณี ตสถาปัตยกรรมของพื้นชั้นอื่นๆ ยืน่ ได้ไม่ เกิน 1 ใน 20 ของความกว้างของแนวถนน แต่ท้งั นี้ตอ้ งไม่เกิน 120 เซนติเมตรจากผนัง ระเบียง ด้านหน้าอาคารให้ยนื่ ได้ต้งั แต่พ้นื ชั้น 3 ขึ้นไป และยืน่ ได้ไม่เกินระยะยืน่ ของส่วนประณี ต สถาปัตยกรรม ข้ อ 59 ห้ามมิให้ปลูกสร้างอาคารสูงกว่าระดับพื้นดินเกินกว่า 2 เท่าของระยะจากผนังด้านหน้า ของอาคารจดแนวถนนฟากตรงข้าม เว้นแต่ในกรณี อาคารตามข้อ 60 ในกรณี ที่อาคารปลูกสร้างริ มถนน ตรอกหรื อซอย ที่มีความกว้างไม่ถึง 4 เมตร ห้ามมิให้ปลูก สร้างอาคารใดๆ เว้นแต่จะได้ร่นแนวอาคารด้านชิดถนนตรอกหรื อซอยให้ห่างจากศูนย์กลาง ถนน ตรอกหรื อซอยนั้น 2 เมตร จึงอนุญาตปลูกสร้างได้สูงไม่เกิน 8 เมตร คณะเทศมนตรี มีอานาจที่จะประกาศเขตอนุญาตให้ปลูกสร้างอาคารสูงกว่ากาหนดนี้ ข้ อ 60 สาหรับอาคารหลังเดียวกันระหว่างถนน 2 สายขนาดไม่เท่ากัน อนุญาตให้ปลูกสร้างสูง ได้ 2 เท่าของถนนที่กว้างกว่าได้ท้งั หลัง สาหรับอาคารหลังเดียวกันมุมถนน 2 สายขนาดไม่เท่ากันอนุญาตให้ปลูกสร้างถึง ระดับสูง 3 เท่าของความกว้างของถนนที่กว้างกว่าได้ท้งั หลัง แต่อนุญาตให้สร้างได้ในระยะยาว ตามแนวทางถนนด้านละไม่เกิน 15 เมตร จากมุมถนน อาคารซึ่งที่อยูร่ ิ มถนนที่มีความกว้างไม่ถึง 8 เมตร แต่ไม่นอ้ ยกว่า 4 เมตรอนุญาตให้ปลูก สร้างได้สูงไม่เกิน 8 เมตร คณะเทศมนตรี มีอานาจที่จะอนุญาตให้ปลูกสร้างอาคารสูงกว่ากาหนดได้ ข้ อ 61 อาคารที่ปลูกชิดที่ดินเอกชนนั้น อนุญาติให้ผนังด้านที่มีหน้าต่างประตู หรื อ ช่องระบายลมอยูห่ ่างเขตที่ดินได้ สาหรับ 2 ชั้นลงมาระยะไม่นอ้ ยกว่า 2 เมตร สาหรับ 3 ชั้น ขึ้นไประยะไม่นอ้ ยกว่า 3 เมตร ข้ อ 62 อาคารที่ปลูกสร้างชิดเขตที่ดินต่างผูค้ รอบครอง อนุญาตให้ใช้เฉพาะฝาหรื อ ผนังด้านที่ไม่มีประตูหน้าต่างและช่องระบายอากาศ อยูช่ ิดเขตที่ดินได้พอดี แต่มิให้ส่วนใด ของอาคารลุกล้าเขตที่ดินข้างเคียง
96 ในกรณี ที่ชายคาอยูใ่ กล้เขตที่ดินข้างเคียง ต้องมีการป้ องกันน้ าจากชายคาไม่ให้ไหล ตกลงในที่ดินนั้นด้วย เช่น ใส่รางน้ า ข้ อ 63 อาคารประเภทต่างๆ จะต้องมีที่ว่างอันปราศจากหลังคาหรื อสิ่งปกคลุมไม่ น้อยกว่า ส่วนที่กาหนดไว้ (ก.) อาคารที่พกั อาศัยแต่ละหลังให้มีที่ว่างอยู่ 30 ใน 100 ส่วนของพื้นที่ (ข.)
ห้องแถวหรื อตึกแถวแต่ละห้องให้มีที่ว่างในอาคารอยูไ่ ม่นอ้ ยกว่า 30 ใน 100
ส่วนของพื้นที่ภายในขอบเขตที่ก่อสร้าง เฉพาะห้องแถวหรื อตึกแถวที่ได้กนั ที่ดินไว้เป็ นทางเดินด้านหลังคา(ไม่นอ้ ยกว่า 2 เมตร) ตามข้อ 8 แห่งเทศบัญญัติน้ ี อนุญาตให้คิดรวมเนื้อที่หลังอาคารนี้เป็ นที่ว่างได้อีกครึ่ งหนึ่ง ของทางเดินหลังอาคารแต่ละห้องนั้น (ค.) ห้องแถว ตึกแถว อาคารพาณิ ชย์และอาคารสาธารณะซึ่งก่อสร้างอยูม่ ุมทาง สาธารณะหรื อทางซึ่งมีสภาพเป็ นสาธารณะ กว้างไม่นอ้ ยกว่าสายละ 10 เมตร และลึกไปตามทาง ทั้ง 2 ด้านไม่เกินด้านละ 15 เมตร จะไม่มีที่ว่างเลยก็ได้ หากได้กนั ทางไว้หลังอาคารกว้างไม่นอ้ ย กว่า 2 เมตร หรื อก่อสร้างอยูร่ ิ มทางสาธารณะ หรื อทางซึ่งมีสภาพเป็ นสาธารณะ 2 สายขนานกันอยู่ กว้างไม่นอ้ ยกว่าสายละ 10 เมตร และทางขนานทั้ง 2 นั้นห่างจากกันไม่เกิน 15 เมตร จะไม่มีที่ว่าง เลยก็ได้ (จ.) สาหรับตึกแถว อาคารพาณิ ชย์ หรื ออาคารสาธารณะ ในกรณี ที่มีช่องหน้าต่างหรื อประตูสู่อากาศ ภายนอกไม่นอ้ ยกว่า 20 ใน 100 ส่วนของพื้นที่อาคารทุกชั้น จะไม่มีที่ว่างเลยก็ได้ ช่องหน้าต่างประตูดา้ นที่ไม่เปิ ดสู่อากาศภายนอก หมายถึงช่องเปิ ดของผนังด้านชิดทาง สาธารณะหรื อด้านที่ห่างที่ดินเอกชน สาหรับอาคาร 2 ชั้นลงมาให้ห่างไม่นอ้ ยกว่า 2 เมตร สาหรับ 3 ชั้นขึ้นไป ให้ห่างไม่นอ้ ยกว่า 3 เมตร
97 หมวด 8 การสุ ขาภิบาล ข้ อ 64 อาคารที่ปลูกสร้างต้องมีทางระบายน้ าที่ใช้แล้วออกจากอาคารไปได้สะดวก ข้ อ 65 การทาทางระบายน้ าจากอาคารไปสู่ทางน้ าสาธารณะ จะต้องให้มีส่วนลาดไม่ต่ากว่า 1 ใน 200 ตามแนวตรงที่สุดที่จะจัดทาได้ ถ้าจะใช้ท่อกลมเป็ นทางระบายต้องมีบ่อตรวจทุกระยะ 30 เมตร และทุกมุมเลี้ยวด้วย ข้ อ 68 การทาการระบายน้ าและติดต่อท่อระบายน้ านั้น ท่อประปาท่อระบายน้ าใน อาคาร และอุปกรณ์ต่างๆ สาหรับการต่อท่อและการสุขาภิบาลจะต้องมีลกั ษณะที่ถกู ต้อง เพื่อ ประโยชน์ในทางอนามัยตามแบบนิยมในทางวิชาการ ข้ อ 69 อาคารที่บุคคลอาจพักอาศัยใช้สอยได้ ให้มีสว้ มไว้ตามจานวนอันสมควรแต่ตอ้ งไม่ น้อยกว่าอัตราที่กาหนดไว้น้ ี (ก.) อาคารที่พกั อาศัย ห้องแถว หรื อตึกแถว ให้มี 1 แท่นทุกหลัง ข้ อ 70 ห้องส้วมต้องมีเนื้อที่ไม่ต่ากว่า 1.5 ตารางเมตรต่อ 1 แท่นมีลกั ษณะที่จะรักษาความ สะอาดได้ง่ายเรี ยบร้อย และต้องทาพื้นไม่ดดู น้ ากับมีช่องระบายลมตามสมควร ถ้าเป็ นห้องส้วมซึ่งมี สิ่งปฏิกลู ด้วยน้ าลงบนบ่อเกรอะ – บ่อซึม ให้ทาในตัวอาคารที่พกั อาศัยได้ แต่ถา้ เป็ นส้วมวิธีอื่นต้อง ทาเป็ นส่วนหนึ่งต่างหากนอกออกไปจากตัวอาคารที่พกั อาศัยได้ การสร้างส้วมภายในระยะ 30 เมตรจากเขตคูคลองสาธารณะ ต้องสร้างเป็ นส้วมถังเก็บ ชนิดน้ าซึมไม่ได้ หรื อตามแบบที่เหมาะสมกับแบบการก่อสร้างอาคารซึ่งเจ้าหน้าที่กาหนดให้ 5.กิจกรรมการเรียนรู้ หัวข้ อการสอน การเขียนแบบขยายรายละเอียดทางวิศวกรรม รู ปลักษณะของฐานรากสาหรับอาคารบ้านพักอาศัย -
พฤติกรรมของฐานรากเมื่อรับน้ าหนักและการเสริ มเหล็ก
-
ข้อกาหนดในการเขียนแบบขยาย
-
ข้อกาหนดสาหรับใช้ประกอบการเขียนแบบขยายฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก
-
ลาดับขั้นตอนการเขียนรู ปขยายรายละเอียดฐานรากคอนกรี ตเสริ มเหล็ก
-
รู ปขยายรายละเอียดเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก รู ปลักษณะของเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก
-
พฤติกรรมของเสาเมื่อรับน้ าหนัก
-
การเสริ มเล็กในเสา
98 -
ข้อกาหนดสาหรับใช้ประกอบการเขียนแบบขยายเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก
-
ลาดับขั้นตอนการเขียนรู ปขยายรายละเอียดเสาคอนกรี ตเสริ มเหล็ก
-
การเขียนผังบริเวณ ความหมายของผังบริ เวณ
-
องค์ประกอบของผังอาคาร
-
หลักเกณฑ์และข้อกาหนดในการเขียนผังบริ เวณ
-
ลาดับขั้นตอนการเขียนผังบริ เวณ
-
เทศบัญญัติ จัดหาเนื้อหาการเขียนรายการประกอบแบบ รวบรวมหัวข้อเทศบัญญัติที่มคี วามเกี่ยวข้องกับอาคารพาณิชย์ เตรี ยมสื่อแผ่นใสที่มีหวั ข้อที่นกั ศึกษาสามารถดูแล้วเข้าใจได้ง่าย เตรี ยมแบบรายการประกอบแบบ
เตรียมการสอน เตรียมการสอน เตรี ยมแบบทดสอบหลังจากที่เรี ยนในสัปดาห์ที่แล้ว เตรี ยมสื่อแผ่นใสในการประกอบการสอน เตรี ยมแบบขยายฐานราก และ เสา รายการประกอบแบบ เทศบัญญัติ พร้อมทั้งเนื้อหาที่มี ความสัมพันธ์กบั แบบ การจัดการสอน - ช่วงที่ 1 บรรยายบทความที่เกี่ยวข้องของแบบขยายฐานราก และ เสา รายการประกอบแบบ เทศบัญญัติ - ช่วงที่ 2 บรรยายความสัมพันธ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องว่าต้องใช้แบบไหนในการประกอบการ เขียนแบบ และ แสดงสื่อทางแผ่นใส - ช่วงที่3 บรรยายลาดับขั้นตอนการเขียนแบบขยายนายละเอียดทางวิศวกรรมพร้อมทั้งแสดง สื่อ - ช่วงที่4 นักศึกษาเขียนแบบภายในห้องเขียนแบบจานวน 5 คาบ
99 8.การวัดและประเมินผลเกณฑ์การให้ คะแนน 19. การดาเนินงาน 19.1 บันทึกองค์ความรู้ 20. วัดผลจากการฝึ กทักษะ 20.1 ลายละเอียดในการบันทึก 20.2 แบบที่ทาการเขียน 21. จริยธรรมการฝึ กปฏิบัติ 21.1 การตรงต่อเวลา 21.2 ความรับผิดชอบในการทางาน 21.3 ความซื่อสัตย์ 21.4 การใฝ่ หาความรู้ 21.5 การประหยัดพลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม
9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 1) ข้อสรุ ปหลังการจัดการเรี ยนรู้ ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………… 2) ปัญหาที่พบ ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ………… 3) แนวทางแก้ปัญหา ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… …………
100 ใบงานสัปดาห์ ที่ 13 แบบขยายเสริ มเหล็ก ฐานราก
101 ใบงานสัปดาห์ ที่ 13 แบบขยายเสริ มเหล็ก ฐานรากแผ่
102 ใบงานสัปดาห์ ที่ 14 แบบขยายเสริ มเหล็ก คาน คสล.
103 ใบงานสัปดาห์ ที่ 14 แบบขยายการเสริ มเหล็ก พื้น บันได
104 ใบงานสัปดาห์ ที่ 15 สารบัญแบบ รายการประกอบแบบ
105 ใบงานสัปดาห์ ที่ 16
106 ใบงานสัปดาห์ ที่ 17
107 วิทยาลัยเทคนิคลพบุรี สอบปลายภาคเรียนที่ 2/2553 ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปี ที2่ (ปวช.2) ข้ อสอบวิชา 2106 – 2113 เขียนแบบก่อสร้าง 3 สาขาวิชา ช่างก่อสร้าง สอบวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2553 เวลา 09.00 – 11.00 น. …………………………………………………………………………………… คาแนะนา 1. ข้อสอบมี 20 ข้อ หน้า คะแนนเต็ม 20 คะแนน 2. ห้ามนาเอกสารใดๆ เข้าห้องสอบ 3. ให้ทาข้อสอบทุกข้อและทาในข้อสอบเท่านั้น …………………………………………………………………………………… อาจารย์ ภาณุพงศ์ ขาวดี ผู้ออกข้อสอบ
108
ชื่อ………………………………………………………………………………………………ระดับ ปวช. ปี ที่………… ห้ อง……………… เลขที่…………………….รหัสนักศึ กษา………………………………………………………….
คาสั่ง จงตอบคาถามให้ถูกต้อง 1. ผังพื้นเป็ นการมองอาคารจาก ก. แนวตัดตามขวาง ข. แนวตัดตามยาว ค. แนวตัดทางดิ่ง ง. แนวตัดทางราบ จ. มองสูงกว่าหลังคา 2. ข้อใดเป็ นมาตราส่วนที่นิยมในการเขียนผังพื้น ก. มาตราส่วน 1 : 25 ข. มาตราส่วน 1 : 20 ค. มาตราส่วน 1 : 50 ง. มาตราส่วน 1 : 200 จ. มาตราส่วน 1 : 150 3. ข้อใดที่ไม่สามารถอ่านได้จากผังพื้น ก. ความกว้างยาวของตัวอาคาร ข. ความกว้างยาวของช่วงเสา ค. ตาแหน่งของประตูหน้าต่าง ง. ระดับของพื้นห้อง จ. ความสูงของประตู หน้าต่าง 4. ข้อใดไม่ได้แสดงในแบบผังพื้นของแบบก่อสร้าง ก. แสดงขอบเขตของอาคาร ข. แสดงเครื่ องเรื อน ค. แสดงความกว้างของประตู ง. แสดงระดับ จ. แสดงสัญลักษณ์ผนัง
109 5. ในรู ปผังพื้น ข้อใดต้องเขียนด้วยเส้นหนามาก ก. หน้าตัดเสา ข. บันได ค. วงกบนอน ง. เส้นฉาย จ. เส้นมิติ 6. การเขียนเครื่ องหมายกากับปลายเส้นมิติตามมาตรฐาน มอก.440 เล่ม 1 – 2525กาหนดดังนี้ ก. ใช้หวั ลูกศรปิ ด ข. ใช้หวั ลูกศรเปิ ด ค. ใช้หวั ลูกศรปลายแหลม ง. ใช้เส้น 45 องศาตัดตามเข็มนาฬิกากับเส้นฉาย จ. ใช้เส้น 60 องศาตัดตามเข็มนาฬิกากับเส้นฉาย 7. มิติที่มาตรฐาน มอก.440 เล่ม 1 – 2525กาหนดให้เขียนได้แก่ ก. มิลลิเมตร ข. เซนติเมตร ค. เมตร ง. นิ้ว จ. ฟุต 8. รู ปเรขาคณิ ตรู ปใดใช้เขียนรอบตัวย่อแสดงสัญลักษณ์ประตู ก. สี่เหลี่ยม ข. สามเหลี่ยม ค. วงกลม ง. หกเหลี่ยม จ. วงรี 9. น้ าหนักเส้นหรื อความหนาเส้นของเส้นที่ใช้เขียนรู ปผังพื้นควรใช้กี่ขนาด ก. ขนาดเดียว ข. 2 ขนาด ค. 3 ขนาด ง. 4 ขนาด จ. 5 ขนาด
110 10. การเขียนตัวอักษรประกอบแบบควรมีลกั ษณะดังนี้ ก. เขียนตามธรรมชาติ ข. ตัวบรรจงเต็มบรรทัด ค. ตัวประดิษฐ์ให้เด่นสะดุดตา ง. ตัวหวัดแกมบรรจง จ. ตัวบรรจง อ่านง่าย สวยงาม และมีระเบียบ จงเขียนชื่อสัญลักษณ์ของรูปตัดดังรูปต่อไปนี้ 1.
ก.…………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ข.….………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
111 2.
ก.…………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ข.….………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
3. …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………
112
4. ………………………………………………………………………………………………………
5. ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
6. ……………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………
113
7.
……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………
8. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………
9. ……………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………
114
10 . ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………
115 เฉลยข้ อสอบหมวดที่ 1 1. ง
2. จ
3. ค
4. ข
5. ก
6. ง
7. ก
8. ค
เฉลยข้ อสอบหมวดที่ 2 1. ก. ฐานรากแผ่ ค.ส.ล. บนชั้นดินแข็ง ข. ฐานรากแผ่ ค.ส.ล. รับกาแพงกันดิน 2. ก. ฐานราก ค.ส.ล. ใช้เสาเข็มสั้น ข. ฐานราก ค.ส.ล. บนเสาเข็มยาว 3. บันไดคอนกรี ตเสริ มเหล็กแบบพับผ้า 4. บันไดไม้แบบลูกนอนวางบนแม่บนั ได 5. หน้าตัดพื้นไม้บน ตง - คานไม้ 6. พื้นไม้วางพาดบนหน้าตัดตง @ 500 7. พื้น ค.ส.ล. แบบหล่อในที่ (Slab on Beam) 8. พื้น ค.ส.ล. บนทรายอัดแน่น (Slab on Ground) 9. ก. ผนังไม้ตีซ้อนเกล็ดทางนอนพร้อมคร่ าวตั้ง @ 500 ข. ผนังไม้ตีต้ งั พร้อมคร่ าวนอน @ 500 10. ก. ผนังสองชั้นทาด้วยวัสดุแผ่นเรี ยบ คร่ าวตั้งและคร่ าวนอน @ 400 # ข. ผนังชั้นเดียวทาด้วยวัสดุแผ่น ใช้คร่ าวตั้งและคร่ าวนอน @ 400#
9. ค
10. จ