AEPD Strategy

Page 1

แผนยุทธศาสตร์กองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๖ วิสัยทัศน์

เป็นองค์กรหลักในการส่งเสริมเทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตรสนับสนุนการผลิตสินค้าเกษตร

พันธกิจ ๑. พัฒนาและส่งเสริมงานด้านวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร โดยการศึกษา วิเคราะห์ ทดสอบ วิจัยประยุกต์ คัดสรร วางแผน กําหนดเป้าหมาย วิธีการ ๒. บริการวิชาการสนับสนุนงานส่งเสริมการเกษตร โดยการคํานวณ ออกแบบ เป็นที่ปรึกษา และวิทยากรด้านวิศวกรรมการจัดการที่ดิน วิศวกรรมเครื่องจักรกลการเกษตร วิศวกรรมแปรรูปสินค้า เกษตรและโลจิสติกส์ และวิศวกรรมโครงสร้างพื้นฐานการเกษตร ภายใต้พระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม นโยบาย กฎหมาย ข้อบังคับ มาตรการ และพันธะสัญญาระหว่างองค์กร ๓. เป็นศูนย์กลางในการออกแบบ ที่ปรึกษา บริหารจัดการและประสานการดําเนินงานด้าน ส่งเสริมวิศวกรรม การบริหารจัดการทางวิศวกรรมของอุปกรณ์การผลิตและบริการของศูนย์ปฏิบัติการ การใช้เทคนิควิศวกรรมในการบริหารจัดการสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์

๑. พั ฒ นา ประยุ ก ต์ และถ่ า ยทอดความรู้ เ ชิ ง วิ ช าการและเทคนิ ค การปฏิ บั ติ ก ารทาง วิศวกรรมเกษตร ๒. บริการ สนับสนุนข้อมูลและเทคนิควิศวกรรมแก่หน่วยงาน ๓. เพิ่มศักยภาพการให้บริการทางเทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตร


รายละเอียดประกอบยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ ๑. พัฒนา ประยุกต์ และ ถ่ายทอดความรูเ้ ชิง วิชาการ และเทคนิคการ ปฏิบัติ การทาง วิศวกรรมเกษตร

เป้าประสงค์ - เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจ และ สามารถประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีวิศวกรรม เกษตรเพื่อการผลิต และจัดการสินค้า เกษตร

ตัวชี้วัด - เกษตรกรที่ได้รบั การ ถ่ายทอดฯ มีการ นําไปปฏิบัติ ไม่น้อย กว่าร้อยละ ๖๐

-

-

-

๒. บริการ สนับสนุน ข้อมูล - ผู้ใช้บริการสามารถนํา - ผู้ใช้บริการสามารถนํา ข้อมูลและเทคนิค ข้อมูลและเทคนิค และเทคนิควิศวกรรมแก่ วิศวกรรมไปใช้ วิศวกรรมไปใช้ หน่วยงาน ประโยชน์ตาม ประโยชน์อย่างมี วัตถุประสงค์อย่างมี ประสิทธิภาพอย่าง ประสิทธิภาพ น้อยร้อยละ ๖๐ -

-

แนวทางการดําเนินงาน ถ่ายทอดเทคโนโลยีการ เกษตรปลอดการเผา ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเขต กรรมเพื่อการผลิตพืช สร้างเสริมศักยภาพการ ผลิตและการใช้พลังงาน ทดแทน พัฒนาระบบโลจิสติกส์ทาง การเกษตร ถ่ายทอดเทคโนโลยีระบบ การให้น้ําพืช ถ่ายทอดเทคโนโลยีระบบ โรงเรือนเกษตร ถ่ายทอดเทคนิคการใช้และ ซ่อมบํารุงเครื่องจักรกล เกษตร บริการด้านวิศวกรรม เกษตรเพื่อเพิ่มศักยภาพ การผลิต และแก้ไขปัญหา ทางการเกษตร พัฒนาศักยภาพการ ปฏิบัติการทางเทคนิค วิศวกรรมเกษตร สร้างระบบฐานข้อมูล โครงสร้างพื้นฐานศูนย์ ปฏิบัติการ สร้างระบบบริหารจัดการ การใช้บํารุงรักษาซ่อมแซม เครื่องมืออุปกรณ์โรงเรือน การเกษตร พัฒนาศักยภาพเทคนิคการ ใช้เครื่องจักรอุปกรณ์ใน ระบบควบคุมและกําจัด


ยุทธศาสตร์

เป้าประสงค์

๓. เพิ่มศักยภาพการ - องค์กรมีขีดความ ให้บริการทางเทคโนโลยี สามารถในการ วิศวกรรมเกษตร ให้บริการทาง เทคโนโลยีวิศวกรรม เกษตร

ตัวชี้วัด

- องค์กรมีช่องทางให้ เลือก เพือ่ เข้าถึง บริการทางวิศวกรรม เกษตรอย่างน้อย ๔ ช่องทาง

แนวทางการดําเนินงาน ศัตรูพืช - พัฒนาศักยภาพการบริหาร จัดการ เครื่องมือ และ สินทรัพย์ - การวิเคราะห์และประเมิน การใช้พลังงานไฟฟ้าตาม แผนการอนุรกั ษ์พลังงาน ตามพระราชบัญญัติการ อนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ - เชื่อมโยงการปฏิบัติงาน ร่วมกับองค์กรต่างๆ - สร้างโอกาสในการเข้าถึง บริการทางด้านวิศวกรรม เกษตร - เพิ่มขีดความสามารถของ บุคลากร - พัฒนาระบบสารสนเทศ และอุปกรณ์สนับสนุนการ ปฏิบัติงาน


แผนปฏิบัติงาน ยุทธศาสตร์

โครงการ/กิจกรรม

๑. พัฒนา ประยุกต์ ๑.๑ หยุดการเผาในพื้นที่ และ ถ่ายทอด การเกษตรภายใต้แผน ความรู้เชิงวิชาการ ปฏิบัติการแก้ไขหมอก และเทคนิคการ ควันและไฟป่า ปฏิบัติการทาง ๑.๒ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการ วิศวกรรมเกษตร เขตกรรมเพื่อการผลิตพืช ๑.๓ สร้างเสริมศักยภาพการ ผลิตและการใช้พลังงาน ทดแทน ๑.๔ พัฒนาระบบโลจิสติกส์ ของผลไม้ไทย ๑.๕ ถ่ายทอดเทคโนโลยี ระบบการให้น้ําพืช ๑.๖ ช่างเกษตรชุมชน ๒. บริการสนับสนุน ๒.๑ พัฒนาศักยภาพการ ข้อมูลและเทคนิค ปฏิบัติการทางเทคนิค วิศวกรรม วิศวกรรมเกษตรแก่ศูนย์ ปฏิบัติการ ๒.๒ บริการด้านวิศวกรรม เกษตรเพื่อเพิ่มศักยภาพ การผลิตและแก้ไข ปัญหาทางการเกษตร ๒.๓ ระบบฐานข้อมูล โครงสร้างพื้นฐานของ ศูนย์ปฏิบัติการ ๒.๔ บริการเทคโนโลยี วิศวกรรมในการบริหาร จัดการสินทรัพย์ของกรมฯ ๒.๕ สํารวจ ตรวจสอบ วิเคราะห์ และประเมิน การใช้พลังงานไฟฟ้า ประจําอาคาร ๓. เพิ่มศักยภาพการ ๓.๑ พัฒนาองค์กรและ

หน่วยนับ แห่ง

ศูนย์/ไร่

ปริมาณงาน ผู้รับผิดชอบ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ ๕ ๕ ๕ วศท. วศจ.

เรื่อง

๒/ ๔๐๐ ๑

๒/ ๒/ วศท. วศจ. ๕,๐๐๐ ๕,๐๐๐ ๓ ๓ วศจ. วศป. วศค.

พืช

วศป.

ราย

๕๐

๕๐

๕๐

วศค.

ราย ศูนย์

๖๐ ๖

๖๐ ๖

วศจ. วศท. วศจ. วศป.วศค. ฝช.

ด้าน

วศท. วศจ. วศป.วศค. ฝช.

ศูนย์

๕๕

๖๕

๖๕

ฝช.

เรื่อง

วศท. วศจ. วศป.วศค. ฝช.

อาคาร

ฝช.

หลักสูตร

กอน.


ยุทธศาสตร์

โครงการ/กิจกรรม

ให้ บริการทาง บุคลากร เทคโนโลยี ๓.๒ พัฒนาระบบสารสนเทศ วิศวกรรมเกษตร และอุปกรณ์การ ถ่ายทอด ๓.๓ ประชาสัมพันธ์องค์กรให้ เป็นที่รจู้ ัก

หน่วยนับ

ปริมาณงาน ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖

ผู้รับผิดชอบ

รายการ

วศท. วศจ. วศป.วศค. ฝช.

ด้าน

กอน.


การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมของหน่วยงาน (SWOT Analysis) จุดแข็ง (Strength : S) สภาพแวดล้อมภายในที่มีผลทางบวกต่อกองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร S1 : เป็นหน่วยงานเดียวในประเทศที่ดําเนินงานในลักษณะการส่งเสริมประยุกต์ ถ่ายทอด บริการ ด้านวิศวกรรม เกษตรแก่เกษตรกร S2 : ผลการดําเนินงานเกิดขึ้นอย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม S3 : มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน S4 : มีข้อมูลรองรับที่เชื่อถือได้ จุดอ่อน (Weekness : W) สภาพแวดล้อมภายในที่มีผลทางลบต่อกองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร W1 : ได้รับงบประมาณและแผนงานจํากัด W2: บุคลากร เครื่องมือ และอุปกรณ์ที่มีอยูไ่ ม่เพียงพอต่อการตอบสนองความต้องการของลูกค้า โอกาส (Opportunity : O) สภาพแวดล้อมภายนอกที่มีผลทางบวกต่อกองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร O1 : งานส่งเสริมและบริการด้านวิศวกรรมเกษตรเป็นที่ต้องการของลูกค้า O2 : สถานการณ์การผลิตเพือ่ การแข่งขันและการรักษาสภาพแวดล้อมทางการเกษตรมีความจําเป็นต้องใช้ เทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตร O3 : งานโครงการต่างๆ มีความจําเป็นต้องใช้เทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตรในการสนับสนุนมากขึ้น อุปสรรค (Treat : T) สภาพแวดล้อมภายนอกที่มีผลทางลบต่อกองส่งเสริมวิศวกรรมเกษตร T1 : การใช้เทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตรต้องลงทุนในมูลค่าสูง T2 : การนําเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ต้องใช้ระยะเวลาในการเห็นผลและยอมรับ เนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มี ความรู้และขาดโอกาสในการเข้าถึงแหล่งวิชาการ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.