การประชุมวิชาการโครงงานวิศวกรรมเกษตรแหงชาติ ครั้งที่ 16 29 มกราคม 2553 มหาวิทยาลัยขอนแกน
การพัฒนาเครือ่ งโรยปุย ยางพารารุน 3 PARA RUBBER FERTILIZER DISTRIBUTER V.3
ณัฐกร สังเงิน1 ปริญญา ดูสันเทียะ1 วันชนะ ทองพระพักตร 1 และ มงคล คธาพันธ 2 Nattakoran Sangngen1 , Parinya Dusanthait1 , Vanchana Thongpapag1 , and Mongkorn Kaktapan2 นักศึกษาปริญญาตรี1 , อาจารยที่ปรึกษา2 , Undergraduate Student1 , Advisor2 Email Address : nattakorn3030@hotmail.com1 , vanchana@hotmail.com1 , beer.kpn@hotmail.com1 สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตรและสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 30000 โทรศัพท 044-233000 ตอ 3440 Agricultural machinery engineering Dept., Faculty of Engineering and Architecture Rajamangala University of Technology Isan Nakhonratchasima 30000 Tel. 044-233000 Ext.3440
g n ri
e e in
l a r
g n E
u t l u c i บทคัrดยอ g เครื่องโรยปุยยางพาราเปนเครื่องจักรกลเกษตรที A ่ชวยลดตนทุนการผลิตยางพารา เนื่องจากเครื่องโรยปุย f ยางพาราใชผูปฏิบัติงาน 1 คน และเครื่องสามารถให ปุยไดสม่ําเสมอเหมาะกับความตองการและรวดเร็ว โดยเครื่องโรยปุย o y ยางพาราจะมีจุดตอพวง 1 จุดกับรถไถเดิ นตาม มีผานจานเปนตัวชวยเปดรองและมีใบกลบรองซึ่งใบกลบรองเปนตัวกลบดิน t ลงรองที่เราทําการโรยปุยคืนหลัiงe จากใสปุยเสร็จ เพื่อไมใหปุยไหลตามน้ําฝน ซึ่งชุดของตัวเปดรองกับตัวกลบปุยจะอยูใน c ชุดเดียวกันและสะดวกตo อการถอดเก็บและบํารุงรักษา นอกจากนั้นยังมีตัวกําหนดปริมาณการจายปุย คือการนําเอากําลังมา S จากลอคัดทายผiานชุดเฟองแลวสงกําลังผานโซไปขับสกรูลําเลียงปุย สวนการทํางานของเครื่องโรยปุยยางพาราในการ a ทดสอบจริ งมีความสามารถที่ความเร็วรอบของเครื่องยนต 800 รอบตอนาที ที่ตําแหนงมุมผานเปดรอง 30 องศา และที่ h ตําT แหนงมุมกลบผาน 30 องศา พบวาความกวางในการเปดรองอยูที่ 11.25 เซนติเมตร ประสิทธิภาพการโรยปุย 98.94 เปอรเซ็นต การกระจายของเม็ดปุยออกจากรอง 2.82 เปอรเซ็นต ประสิทธิภาพการโรยปุยในสภาพพื้นที่เรียบ 98.94 เปอรเซ็นต ในสภาพพื้นที่ไมเรียบ 89.47เปอรเซ็นต ประสิทธิภาพในการกลบปุย 99.86 เปอรเซ็นต และการทดสอบการ สิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิง 82 ซีซีตอไร ความสําคัญ : เครื่องโรยปุยยางพารา , การใสปุยยางพารา
ABSTRACT sprinkle rubber tree fertilizer is agricultural machinery that helps to decrease production rubber tree capital , because of , sprinkle rubber tree fertilizer uses the 1 person officer , and can apply fertilizer get regularly suit the 73
การประชุมวิชาการโครงงานวิศวกรรมเกษตรแหงชาติ ครั้งที่ 16 29 มกราคม 2553 มหาวิทยาลัยขอนแกน
requirement and fast , by sprinkle rubber tree fertilizer has will the joint takes in tow 1 the dot and a pushcart walk behind and have dish cliff are formed help to open a rut and have cover up a rut which , cover up a rut is formed cover up the earth down a rut that us will do fertilizer strewing night later from applies fertilizer finished , lest , the fertilizer flows downstream the rain which , the group of open a rut with covers up the fertilizer is will in same group and convenient build [ wasp ] taking off pick and maintain besides still have quantity distribution fertilizer determination are the lead are taking to are from a wheel have steered to change gearwheel group already are sending to change the chain go to drive the screw transport the fertilizer , work part of sprinkle rubber tree fertilizer in TRUE test has the ability , at the speed round of 800 motors s round build [ wasp ] minute , at corner cliff position opens 30 degree ruts , and at corner position covers up 30 degree clifves , meet that , use the wideness in openning rut that 11.25 98.94 percent centimeters is strewing fertilizer efficiency , something the dipper of the fertilizer departs a rut is 2.82 the percent in 98.94 area smooth percent states , tall most in 89.47 area not smooth percent states , the efficiency in 99.86 filling fertilizer percent ups , tall most , and consuming fuel test 82 cc/rai
g n ri
e e in
Keywords: sprinkle rubber tree fertilizer , fertilizer rubber tree insertio
บทนํา
l a r
g n E
ในปจจุบันจะเห็นไดวายางพาราเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญเปนอันดับสองของประเทศไทย รองลงมาจากขาว ในป 2544 ผลิตภัณฑยาง และผลิตภัณฑจากไมยางพารา ทํารายไดจากการสงออกใหกับประเทศคิดเปนมูลคาทั้งสิ้น 135,280 ลานบาท แยกเปนมูลคาการสงออกยางในรูปวัตถุดิบ 58,703 ลานบาท ผลิตภัณฑยาง 48,496 ลานบาท และผลิตภัณฑไมยางพารา 28,081 ลานบาท (กรมวิชาการเกษตร, 2549) ประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกยางมากกวา 12.7 ลานไร อยูในภาคใต ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือบางพื้นที่ สวนมากเกษตรกรจะปลูก โดยไมคํานึงถึงพื้นที่ปลูกมากนัก แตมีเปาหมายที่สําคัญก็ คือตองการน้ํายางที่มีคุณภาพและปริมาณที่มาก ปจจัยที่ทําใหตนยางสามารถน้ํายางไดมากและมีคุณภาพก็คือการใสปุย ซึ่ง การใสปุยเปนการเพิ่มแรธาตุใหกับดินเพื่อใหตนยางดูดแรธาตุไปใชในการเจริญเติบโตและไปผลิตน้ํายาง จึงมีความจําเปน อยางมากที่จะตองใสปุย และการใสปุยสวนใหญในปจจุบันจะใชแรงงานคนในการใส แตการใชแรงงานคนนั้นจะมีขอเสีย คือใชระยะเวลานาน ลาชา ดังนั้นจึงมีการออกแบบและพัฒนาเครื่องจักรที่มีอยูใหมีขนาดที่เล็กลง เพื่อนํามาใชแทนแรงงานคน ซึ่งเปนปจจัยหนึ่ง ของเกษตรกรรมสมัยใหม ที่จะชวยลดการใชแรงงาน ลดเวลาในการใสปุย และลดคาใชจายในการจางแรงงานคนในการใส ปุยยางพารานั่นก็ คือเครื่องโรยปุยยางพารา นับวาเปนเครื่องมือที่สําคัญอีกอยางหนึ่งที่สามารถตอพวงกับรถไถนาเดินตาม ของเกษตรกรที่มีอยูแลวได เนื่องจากรถไถนาเดินตามใชเครื่องยนตขนาดเล็กมีการการบํารุงรักษางายและประหยัดเชื้อเพลิง ไดมากกวา
t e ci
g A f
u t l ir cu
o y
o S i a h
T
อุปกรณและวิธีการ 1. วัสดุและอุปกรณในการทดสอบ 1) ปุยเคมีชนิดเม็ด 2) ตาชั่งและภาชนะสําหรับชั่งปุย 3) เครื่องมือวัดรอบ
74
การประชุมวิชาการโครงงานวิศวกรรมเกษตรแหงชาติ ครั้งที่ 16 29 มกราคม 2553 มหาวิทยาลัยขอนแกน
4) เทปวัดระยะ 5) ตลับเมตร 6) ไมบรรทัด 7) นาฬิกาจับเวลา 9) อุปกรณตวงปริมาณน้ํามันเชื้อเพลิง 10) น้ํามันดีเซล 2. วิธีดําเนินการทดสอบ 1) กําหนดระยะทางที่ใชในการทดสอบ (50 เมตร) 2) ปรับตั้งรอบเครื่องยนตที่ 700 รอบตอนาที 3) กําหนดใชเกียร 1 เปนเกียรขับเคลื่อนเดินหนาตรง 4) ทําการโรยปุยโดยใหเครื่องโรยปุยทํางานในสภาวะใชงานปกติ 5) จับเวลาเมื่อเครื่องโรยปุยทํางานถึงระยะทางที่กําหนด 6) บันทึกขอมูล และทดสอบซ้ําตามขอ 2 - 5 ที่ความเร็ว 700 , 800 และ 900 รอบตอนาที 7) วิเคราะหหาความเร็วในการเคลื่อนที่ของเครื่องโรยปุยที่รอบเครื่องยนตแตละรอบ
g n ri
e e in
ผลการทดลองและอภิปรายผล
u t l ir cu
l a r
g n E
ความกวาง (cm)
ผลการทดสอบความการเปดรองมุมผานกระทํากับแนวการเคลื่อนที่ 30 องศา
t e ci
o S i a h
T
11.5 11.45 11.4 11.35 11.3 11.25 11.2 11.15 11.1 11.05 11
g A f
o y
11.45
11.25 11.18
700
800
900
รอบเครื่องยนต( rpm )
รูปที่ 1 ความกวางในการเปดรอง จากผลการทดลองที่ระดับความเร็วรอบ 700,800 และ 900รอบตอนาที และที่ระดับมุมผาน 30 องศาจะเห็นได วาที่ความเร็วรอบ 900 รอบตอนาที จะมีความกวางของรองมากที่สุดเทากับ 11.45 เซนติเมตร
75
การประชุมวิชาการโครงงานวิศวกรรมเกษตรแหงชาติ ครั้งที่ 16 29 มกราคม 2553 มหาวิทยาลัยขอนแกน
การทดสอบหาประสิทธิภาพการโรยปุย 100 99 ประสิทธิภาพ(%)
98 97 96 95 94 93 92 700
800
900
g n ri
รอบเครื่องยนต(rpm)
e e in
รูปที่ 2 ประสิทธิภาพในการโรยปุย
g n E
จากผลการทดลองที่ระดับความเร็วรอบ 700,800 และ 900รอบตอนาที และที่ระดับมุมผาน 30 องศาจะเห็นได วามีการโรยปุยไดแมนยํากวาทุกระดับ คือ ที่ความเร็วรอบ 800 รอบตอนาที การกระจายของเม็ดปุยออกจากรอง 3.5
g A f
การกระจาย (%)
3 2.5
t e ci
1.5
o S i a h 1
3.28
2.82
o y 2.3
2
u t l ir cu
l a r
0.5
T
0
700
800
900
รอบเครื่องยนต ( rpm )
รูปที่ 3 การกระจายของเม็ดปุยออกจากรอง จากผลการทดลองการกระจายของเม็ดปุยที่ระดับความเร็วรอบ 700,800,900 รอบตอนาที และที่ระดับมุมผาน 30 องศาจะเห็นไดวามีการกระจายของเม็ดปุยออกจากรองทุกระดับ คือ 700 รอบตอนาที ดีที่สุด
76
การประชุมวิชาการโครงงานวิศวกรรมเกษตรแหงชาติ ครั้งที่ 16 29 มกราคม 2553 มหาวิทยาลัยขอนแกน
ประสิทธิภาพการโรยปุย ในรอง(%)
ประสิทธิภาพการโรยปุยในสภาพพื้นที่เรียบและพื้นที่มีกิ่งไม 120 100
98.94 89.47
94.73 83.15
80
97.89 80 พื้นที่เรีย บ
60
พื้นที่ไมเรีย บมีเศษกิ่งไม
40 20 0 700
800
900
g n ri
รอบเครื่องยนต (rpm)
e e in
รูปที่ 4 ประสิทธิภาพการโรยปุยในสภาพพื้นที่แตกตางกัน
g n E
จากผลการทดลองการโรยปุยในสภาพพื้นที่แตกตางกันที่ระดับความเร็วรอบ 700,800,900 รอบตอ นาที ทั้งสภาพพื้นที่เรียบและพื้นที่มีกิ่งไมที่ระดับมุมผาน 30องศาจะเห็นไดวามีประสิทธิภาพการโรยปุยในสภาพ พื้นที่แตกตางกันไดแมนยํากวาทุกระดับ คือ 700 และ 800 รอบตอนาที การทดสอบการสิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิง
g A f
ปริมาณเชือ ้ งพลิง ( ซีซ / ไร )
120 100
t e ci
80
u t l ir cu
l a r
o y
o S i a h
T
60 40 20
0 700
800
900
รอบเครื่องยนต(rpm)
รูปที่ 5 การสิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิง จากผลการทดลองการโรยปุยในสภาพพื้นที่แตกตางกันที่ระดับความเร็วรอบ 700,800,900 รอบตอนาที และ ที่ระดับมุมผาน 30 องศาจะเห็นไดวาการใชน้ํามันเชื้อเพลิงที่ประหยัดและสิ้นเปลืองนอยสุดกวาทุกระดับคือ 900 รอบตอนาที
77
การประชุมวิชาการโครงงานวิศวกรรมเกษตรแหงชาติ ครั้งที่ 16 29 มกราคม 2553 มหาวิทยาลัยขอนแกน
ทดสอบประสิทธิภาพการกลบปุย 99.9
ประสิทธิภาพ(%)
99.85 99.8 99.75 99.7 99.65 99.6 700
800
900
g n ri
รอบเครื่องยนต(rpm)
e e in
รูปที่ 6 ประสิทธิภาพการกลบปุย
g n E
จากผลการทดลองการทดสอบหาประสิทธิภาพการกลบปุย ที่ระดับความเร็วรอบ 700,800,900 รอบตอนาที และที่ระดับมุมผาน 30 องศาจะเห็นไดวามีประสิทธิภาพการกลบที่แมนยํากวาทุกระดับ คือ 800 รอบตอนาที
u t l ir cu
สรุปและขอเสนอแนะ
l a r
การพัฒนาเครื่องโรยปุยยางพารา ไดทําการทดสอบและเก็บขอมูลของตัวแปรตางๆ เพื่อหาขอมูลที่เหมาะสมที่สุดของ เครื่องโดยไดตั้งตัวแปรที่จะนําไปหาคาของขอมูลที่ดีที่สุดของเครื่อง คือ1. การทดสอบหาการเปดรอง 2. การทดสอบหา ประสิทธิภาพการโรยปุย เชน ความแมนยําในการโรยปุย การกระจายเม็ดปุยออกจากรอง การโรยปุยในสภาพพื้นที่แตกตาง กัน 3. การทดสอบประสิทธิภาพการกลบที่ไมหมดเมื่อเทียบกับมุมผาน 4.การทดสอบการสิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิง จากการทดสอบพบวา ที่ความเร็วรอบของเครื่องยนต 800 รอบตอนาที ที่ตําแหนงมุมผานเปดรอง 30 องศา และที่ ตําแหนงมุมกลบผาน 30 องศา พบวาใชความกวางในการเปดรอง อยูที่ 11.25 เซนติเมตร ประสิทธิภาพการโรยปุย 98.94 เปอรเซ็นต การกระจ ายของเม็ดปุยออกจากรอ ง 2.82 เปอรเซ็นต ประสิท ธิภาพการโรยปุยในสภาพพื้นที่เรีย บ 98.94 เปอรเซ็นต ในสภาพพื้นที่ไมเรียบ 89.47เปอรเซ็นต ประสิทธิภาพในการกลบปุย 99.86 เปอรเซ็นต และการทดสอบการ สิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิง 82 ซีซีตอไร จากการเก็บขอมูลการเปรียบเทียบการใหปุยโดยการใชเครื่องโรยปุย กับวิธี ที่ เกษตรกรใชพบวา ประสิทธิภาพการใหปุยไดเร็วกวา และการใหปุยในอัตราสวนไดแมนยําและถูกตองกวา และยังลดปญหา คาใชจายแรงงานที่สูง และยังชวยลดปญหาผลขาเคียงตอสุขภาพของประชากร
t e ci
g A f
o y
o S i a h
T
ขอเสนอแนะ 1. การใหปุยของเกษตรกรควรใหปุยใหหมดจากถัง เพื่อปองกันปุยจับตัวกันกับเกลียวลําเลียงซึ่งในการใหปุยครั้งตอไป จะทําใหปุยตัน 2. ปุยที่ใชควรเปนปุยเคมีและตองเปนปุยที่ไมเปยกและชื้น 3. ควรเรงรอบเครื่องยนตที่คงที่และเหมาะสม เพื่อการใสปุยไดแมนยําไดประสิทธิภาพที่สูงสุดของ เครื่องโรย ปุย และยังชวยใหประหยัดน้ํามันเชื้อเพลิงไดอกี ดวย 4. ควรดูสภาพดินกอนทําการโรยปุยยางพารา 78
การประชุมวิชาการโครงงานวิศวกรรมเกษตรแหงชาติ ครั้งที่ 16 29 มกราคม 2553 มหาวิทยาลัยขอนแกน
เอกสารอางอิง วริทธิ์ อึ้งภากรณ และ ชาญ ถนัดงาน .(2548) . การออกแบบเครื่องจักรกล เลม 1. ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณวิทยาลัย และ ภาควิชา วิศวกรรม การผลิต คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. บรรเลง ศรนิล และคณะ. (2545). ตารางโลหะ. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. จิราภรณ เบญจประกายรัตน . (2544).เครื่องจักรกลเกษตร เลม 2. คณะวิศวกรรมศาสตร สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง. รัตน เพชรจันทร. (2527). ยางพารา. เอกสารนิเทศกการศึกษา ภาคพัฒนาตําราและเอกสารวิชาการ หนวย ศึกษานิเทศก กรมการฝกหัดครู . มงคล กวางวโรภาส. (2529). หลักการทํางานของไถสิ่วและไถดินดาน. วารสารวิศวกรรมเกษตร ปที่ 13(48):8-17 สํานักวิจัยพัฒนาปจจัยการผลิตทางการเกษตร. (2549) . ขอมูลวิชาการเกษตรนารู : คําแนะนําการใชปุยกับพืชเศรษฐกิจ[ออนไลน]. ( 24 กันยายน 2552 ). ไดจาก http://www.geocities.com/apsrdo/data.htm
g n ri
e e in
t e ci
g A f
u t l ir cu
o y
o S i a h
T
79
l a r
g n E