แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมทางด้านกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับท้องถิ่น_the Paper for the conference

Page 1



สารบัญ (ตอ) หนา ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม

212-242

29. แนวทางการพัฒนาสภาพแวดลอมทางดานกายภาพโรงเรียนประถมศึกษาระดับทองถิ่น กรณีศึกษา : โรงเรียนในเขตกิ่งอําเภอดอยหลอ จ. เชียงใหม โดย จรัสพิมพ บุญญานันต………………………………………………………………………..

212

30. การผลิตปุยอินทรียน้ําหมัก (ปุยน้ําชีวภาพ) จากวัสดุเหลือใชทางการเกษตรและชุมชน โดย รวมพร มูลจันทร……………………………………………………………………………...

221

31. การทดสอบประสิทธิภาพของปุยอินทรียน้ําที่ผลิตจากวัสดุอินทรียเหลือใชจากอุตสาหกรรมการเกษตร ตอการผลิตกะหล่ําปลีรูปหัวใจ โดย เรืองฤทธิ์ ริณพัฒน……………………………………………………………………………

226

32. การใชเชื้อจุลินทรีย MMO สําหรับการเกษตรและบําบัดน้ําเสียเพื่อลดการใชสารเคมี โดย ดนุวัต เพ็งอน…………………………………………………………………………………

232

33. การใชไสเดือนน้ําในการลดสารอินทรียในน้ําทิ้งจากโรงงานผลิตแหนมและหมูยอ โดย ประจวบ ฉายบุ……………………………………………………………………………….

235

สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

243-276

34. การสังเคราะหทางเคมีและการหาลักษณะเฉพาะของบิสมัธไททาเนตที่เตรียมโดยเทคนิคซอล-เจล โดย ขนิษฐา เดชขันธ……………………………………………………………………………..

243

35. การสังเคราะหบิสมัธไททาเนตโดยวิธีไนเทรตที่ปรับปรุง โดย วราภรณ จังธนสมบัติ ………………………………………………………………………

251

36. บิสมัธไททาเนตที่เตรียมโดยวิธีตกตะกอนรวมทางออกซาเลต โดย วิไลรัตน ทรัพยมาก…………………………………………………………………………

257

37. ผงนาโนแบเรียมไททาเนตที่สังเคราะหโดยวิธีออกซาเลต โดย สุณิสา พิพัฒนบรรจง……………………………………………………………………….

263

รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2548 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ


คํานํา การประชุมทางวิชาการ เปนนโยบายของมหาวิทยาลัยแมโจ โดยสํานักวิจยั และและสงเสริม วิชาการการเกษตร ที่ใหมีการจัดขึ้นเปนประจําของทุกป โดยมีเปาหมายเพื่อใหเปนเวทีในการ แลกเปลี่ยนความเคลื่อนไหว ความคิดเห็น ประสบการณ ตลอดจนความกาวหนาทางการวิจัยใน สาขาวิชาการตาง ๆ สําหรับการประชุมฯ ในครั้งนี้เปนครั้งที่ 6 กําหนดใหมีขนึ้ ในวันที่ 19 – 20 พฤษภาคม 2548 ไดมีการเสนอผลงานทางวิชาการภาคบรรยาย 55 เรื่อง และภาคโปสเตอร 45 เรื่อง ซึ่งประกอบดวยสาขาเกษตรศาสตร ทัง้ พืชศาสตร สัตวศาสตร และทรัพยากรและสิ่งแวดลอม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี วิศวกรรมและอุตสาหกรรมการเกษตร และสังคมศาสตร “คณะผูจัดทํา” คาดวาหนังสือรวบรวม “บทคัดยอ” การประชุมทางวิชาการครั้งที่ 6 ประจําป พุทธศักราช 2548 จะเปนประโยชนในการใชประกอบการเขารวมประชุมในครั้งนี้ หนังสือเลมนี้อาจ ยังคงมีขอผิดพลาดบางประการ “คณะผูจ ัดทํา” กราบขออภัยในความผิดพลาดมา ณ โอกาสนี้ และจะ ไดนําขอผิดพลาดที่เกิดขึน้ ไปปรับปรุงใหดขี ึ้นในการประชุมครั้งตอ ๆ ไป

สํานักวิจัยและสงเสริมวิชาการการเกษตร

รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2548 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ


แนวทางการพัฒนาสภาพแวดลอมทางดานกายภาพโรงเรียนประถมศึกษา ระดับทองถิ่น กรณีศึกษา : โรงเรียนในเขตกิ่งอําเภอดอยหลอ จ. เชียงใหม Physical Environment Development Guidelines for Primary Schools in Rural Districts : The Case Studies of Schools in King Amphur Doilor, Chiangmai จรัสพิมพ บุญญานันต ลักษณา สัมมานิธิ และภัทรนฤน ตองประสิทธิ์ ภาควิชาภูมิทัศนและอนุรักษสิ่งแวดลอม คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ เชียงใหม 50290

บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้เปนการพัฒนาความรูทางวิชาการในสาขาวิชาภูมิสถาปตยกรรม ในดานการพัฒนา สภาพแวดลอมทางดานกายภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในเขตทองถิ่น โดยใชพื้นที่ในเขตกิ่งอําเภอดอยหลอ เปนพื้นที่ศึกษา ทําการศึกษาคนควาและเก็บขอมูลภาคสนามดานสภาพแวดลอมโรงเรียนในเขตกิ่งอําเภอดอย หลอรวมทั้งสิ้น 14 โรงเรียน ผลการวิจัยพบวา องคประกอบของสภาพแวดลอมในโรงเรียนที่มีอยูเดิมและอยู ในสภาพดี คือ สภาพภูมิทัศน สวนองคประกอบพบวาอยูใ นสภาพที่ตองปรับปรุงคือระบบสัญจร และ องคประกอบที่ขาดแคลนมากที่สุดเมื่อคิดจากคาเฉลี่ยคืออาคารและสิ่งกอสราง โรงเรียนที่มีปริมาณนักเรียน นอยมีแนวโนมที่จะมีขนาดเล็กกวาและมีคาความขาดแคลนในโรงเรียนมากกวาโรงเรียนที่มีปริมาณนักเรียน มากกวา สําหรับในดานการวางผังนั้นโรงเรียนที่มีขนาดเล็กมีแนวโนมทีจ่ ะจัดผังในรูป L-shape และ Ushape ในขณะที่โรงเรียนขนาดใหญมีแนวโนมที่จะจัดแผนผังในรูป Cluster จากผลการวิจัยไดนํามาใชเปน แนวทางในการปรับปรุงสภาพแวดลอมในโครงการสาธิต คือ โรงเรียนบานเจริญสามัคคี

Abstract The research project aimed to develop landscape architectural knowledge in a field of school design and development. Fourteen primary schools located in King Amphur Doilor were chosen as case studies. Research findings indicated that existing schools’ environmental elements in good condition were mostly landscape elements. Those in poor condition were mostly circulation elements. Moreover, the most insufficient elements were structural elements. The schools with less population tended to be smaller in size and more insufficient than those with more population. Landuse planning of 212 รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2545 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ


the smaller schools tended to be in L-shape and U-shape, While that of the larger schools tended to be in cluster. Finally, the findings were used as a environment development guildlines for demonstration project in Banchareonsamakkee school.

คํานํา ปญหาสภาพแวดลอมในโรงเรียนประถมศึกษา และสงผลกระทบตอสุขภาพของนักเรียนและบุคลากร ภายในโรงเรียน อันจะเปนอุปสรรคตอการเรียนการสอน รวมไปถึงพัฒนาการทางดานรางกาย จิตใจ และ สติปญญาของเด็ก เมื่อไดตระหนักถึงปญหาดังกลาว คณะผูวิจัยจึงมีแนวคิดที่จะทําการศึกษาถึงปญหาและ แนวทางในการแกไข อยางมีระบบ มีขั้นตอน และมีความเปนไปไดใหมากที่สุด เพื่อใหทราบถึงสภาพปจจุบัน และปญหาที่เกิดขึ้นกับสภาพแวดลอมทางดานกายภาพของโรงเรียนในโครงการวิจัย และเพื่อเสนอแนะ แนวทางในการปรับปรุงสภาพแวดลอมทางดานกายภาพของโรงเรียนประถมศึกษาในเขตทองถิ่น ใหเหมาะสม กับพฤติกรรมของผูใชภายในโรงเรียน ทั้งในปจจุบันและในอนาคต พื้นที่ศึกษาคือโรงเรียนประถมศึกษาที่ตั้งอยูในเขตกิ่งอําเภอดอยหลอ จังหวัดเชียงใหม จํานวน โรงเรียนประถมทั้งหมดในพื้นที่ศึกษาแตเดิมเมื่อเริ่มทําการศึกษามีทั้งสิ้น 19 โรงเรียน ตอมาในระหวางการ ศึกษาวิจัย ไดถูกยุบรวมกันตามนโยบายของรัฐบาลเหลือเพียง 14 โรงเรียนเทานั้น แบงตามเขตการศึกษาได 2 เขต คือ กลุมโรงเรียนนพเกาจํานวน 8 โรงเรียน และกลุมโรงเรียนดอยหลอ จํานวน 6 โรงเรียน ไดัรับ งบประมาณอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยแมโจ ประจําป พ.ศ. 2543 และ พ.ศ. 2544 รวมทั้งสิ้น 179,000 บาท อยางก็ดีการวิจัยไดยืดเยื้อยาวนานเปนเวลา 5 ป กระทั่งเสร็จสิ้นในป พ.ศ. 2547

วิธีการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจยั เชิงคุณภาพ โดยมีขั้นตอนการทําวิจัยเริ่มจากการสํารวจขั้นตน เพื่อ รวบรวมขอมูลพื้นฐานของโรงเรียนประถมศึกษาในเขตกิ่งอําเภอดอยหลอ ขอมูลเกี่ยวกับสถานที่ตั้ง ตําแหนง อาคารตางๆ สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมอิ ากาศ ขนาดของโรงเรียน จํานวนนักเรียน และอาจารยที่สอนอยู ในโรงเรียน ลักษณะของพืชพรรณทั่วไป เปนตน จากนั้นจึงกําหนดโรงเรียนในเขตพื้นที่ทําการศึกษาโดยไดขอ สรุปวาจะทําการศึกษาทั้งหมด เนื่องจากจํานวนโรงเรียนประถมในเขตพื้นที่ศึกษามีเพียง 14 โรงเรียนเทานั้น ทําการเก็บขอมูลของโรงเรียนที่จะทําการศึกษาโดยละเอียด โดยแบงขอมูลออกเปน 2 ประเภท คือ ขอมูล ภาคสนาม ไดแกภาพถาย แผนที่ การจดบันทึก การสัมภาษณ และขอมูลจากเอกสารและหนังสือตางๆ เมื่อรวบรวมขอมูลเปนที่เรียบรอยแลวจึงทําการวิเคราะหขอมูลที่ได เพื่อกําหนดปญหาทางกายภาพของ โรงเรียนในดานตาง ๆ รวมถึงความสําคัญและคุณภาพของโรงเรียน

รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2548 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ 213


ขั้นตอนตอมาจึงประเมินผลและจําแนกสภาพปญหาและคุณภาพของสภาพแวดลอมทางกายภาพ ภายในโรงเรียน เพื่อหาแนวทางพัฒนา และทําการสังเคราะหขอมูลเพื่อหาโรงเรียนที่จะใชเปนโครงการสาธิต เสนอแนวทางในการพัฒนาทางดานกายภาพ โดยใชคําบรรยายประกอบกับภาพวาด แผนที่ และรูปถายให เห็นชัดเจน และเขาใจงาย และในทายที่สุดจึงทําการประเมินผลและสรุปผลการวิจัย ขอเสนอแนะ และการ นําไปใช

ผลการวิจัย 1. ทัศนคติที่มตี อสภาพแวดลอมในโรงเรียน 1.1 ในดานของความพึงพอใจของกลุมตัวอยาง ที่มีตอสภาพแวดลอมภายในโรงเรียน พบวาโดยสวน ใหญรอยละ 85.70 มีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมทางดานกายภาพเปนสวนมาก ในดานความรมรื่น มี ตนไมและสวนหยอมภายในโรงเรียน สวยงามและใหรมเงา แตอยางไรก็ดีมีเพียงแครอยละ 14.28 เทานั้นที่มี ความพึงพอใจตอระบบโครงสรางพื้นฐานที่ดีของโรงเรียน 1.2 ปญหาสภาพแวดลอมทางดานกายภาพที่พบสวนใหญ ไดแก ปญหาเกี่ยวกับการจัดเก็บ การ กําจัดขยะมูลฝอย และสถานที่กําจัดขยะมูลฝอยภายในโรงเรียน รอยละ 78.57 รองลงมาไดแก ปญหา เกี่ยวกับการระบายน้ําในชวงฤดูฝนซึ่งมีปญหาน้ําทวมขัง รอยละ 57.14 และ ปญหากลิ่นจากขยะมูลฝอย รบกวนและ การเลี้ยงสัตวที่สงกลิ่นรบกวนตอการเรียนการสอน รอยละ 50 1.3 ในดานความตองการจัดสภาพแวดลอมในโรงเรียน พบวา โรงเรียนสวนใหญมีความตองการจัด สภาพแวดลอมทางดานกายภาพโดยการจัดภูมิทัศนภายในโรงเรียน รอยละ 57.14 รองลงมา มีความตองการ ปรับปรุงพื้นที่สําหรับเปนบริเวณที่นั่งพักผอนสําหรับเด็ก การปรับปรุงอาคารเรียนและหองเรียน และการ ปรับปรุงดานการจัดเก็บและการกําจัดขยะมูลฝอย รอยละ 50 นอกจากนั้นยังมีความตองการปรับปรุงบริการ และสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ของโรงเรียน รอยละ 42.8 1.4 ในสวนของแผนงานการจัดสภาพแวดลอมของโรงเรียน โรงเรียนสวนใหญแผนงานการปรับปรุง สภาพภูมิทัศนของโรงเรียนอยูแลว รอยละ 57.14 รองลงมาไดแก แผนงานดานการปรับปรุงและซอมแซม อาคารเรียน รอยละ 42.85 และแผนงานดานการจัดสรางสิ่งอํานวยความสะดวก เชน หองน้ํา ที่ดมื่ น้ํา ที่ แปรงฟนสําหรับเด็กนักเรียน และจัดสรางหองสมุด รอยละ 21.42 2. องคประกอบของสภาพแวดลอมในโรงเรียน 2.1 จากการเปรียบเทียบประเมินคา พบวา โรงเรียนที่มีความขาดแคลนองคประกอบของ สภาพแวดลอมทางกายภาพมากที่สุด 3 อันดับแรก คือ โรงเรียนหนองหลั้ว (88 คะแนน) โรงเรียนบานเจริญ สามัคคี (74 คะแนน) และโรงเรียนวัดวังขามปอม (71 คะแนน) สวนโรงเรียนที่สํารวจพบวามีความขาด

214 รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2545 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ


แคลนนอยที่สุด 3 อันดับแรกคือ โรงเรียนวัดสองแคว (44 คะแนน) โรงเรียนบานสามหลัง (44 คะแนน) และโรงเรียนบานดงปาหวาย (46 คะแนน) 2.2 องคประกอบของสภาพแวดลอมในโรงเรียนที่มีอยูเดิมและอยูในสภาพดี และนับไดวามีมากกวา ประเภทอื่นๆเมื่อคิดจากคาเฉลี่ยคือ องคประกอบทางภูมิทัศน คิดเปนคาเฉลี่ยรอยละ 57.14 รองลงมาคือ อาคารและสิ่งกอสราง คิดเปนคาเฉลี่ยรอยละ 45.69 และที่นับวามีนอยทีส่ ุดคือ องคประกอบทางดานระบบ สัญจร คิดเปนคาเฉลี่ยรอยละ 33.33 2.3 องคประกอบของสภาพแวดลอมในโรงเรียนที่มีอยูเดิมพบวาอยูในสภาพที่ตองปรับปรุง และพบ มีมากกวาประเภทอื่นๆเมื่อคิดจากคาเฉลี่ยคือ องคประกอบทางดานระบบสัญจร คิดเปนคาเฉลี่ยรอยละ 76.18 รองลงมาคือ องคประกอบทางภูมิทัศน คิดเปนคาเฉลี่ยรอยละ 61.04 และที่นับวาพบนอยที่สุดคือ อาคารและสิ่งกอสราง คิดเปนคาเฉลี่ยรอยละ 44.42 2.4 องคประกอบที่ขาดแคลนมากที่สุดเมื่อคิดจากคาเฉลี่ยคือ องคประกอบประเภทอาคารและ สิ่งกอสราง คิดเปนคาเฉลี่ยรอยละ 23.08 รองลงมาคือองคประกอบทางดานระบบสัญจร คิดเปนคาเฉลี่ยรอย ละ 19.05 และที่นับวาพบขาดแคลนนอยที่สุดคือ องคประกอบทางภูมิทัศน คิดเปนคาเฉลี่ยรอยละ 7.79 3. การวางผังและกิจกรรมที่เกิดขึ้นในโรงเรียน 3.1 การวางผังการใชที่ดิน เราสามารถจําแนกลักษณะการวางผังที่ดิน ของโรงเรียนในเขตกิ่งอําเภอ ดอยหลอได 4 ประเภทคือ 1) กลุมโรงเรียนที่มีการจัดวางผังการใชที่ดินเปนรูป L-Shape 2) กลุมโรงเรียนที่มีการจัดวางผังการใชที่ดินเปนรูป U-Shape 3) กลุมโรงเรียนที่มีการจัดวางผังการใชที่ดินและระบบสัญจรเปนรูปสี่เหลี่ยม Closed Court 4) กลุมโรงเรียนที่มีการวางผังแบบรวมกลุม (Cluster) 3.2 กิจกรรมที่เกิดขึ้นนอกเวลาเรียน พบวามีลักษณะที่คลายคลึงกันในทุกโรงเรียน ทั้งการใชพื้นที่ เขาแถวในตอนเชาหรือตอนเลิกเรียน การรับประทานอาหาร ปญหากิจกรรมที่พบคือ การใชพื้นที่ผิดประเภท การจัดวางผังไมเหมาะสม ความแออัดของการใชพื้นที่ และการขาดแคลนพื้นที่ที่จําเปน

โครงการสาธิตการปรับปรุงสภาพแวดลอมภายในโรงเรียน 1. การจําแนกกลุมของโรงเรียน จากการศึกษาพบวาปจจัยอันประกอบไปดวยปริมาณนักเรียนในโรงเรียน ขนาดของโรงเรียน ความหนาแนนในการใชพื้นที่ของนักเรียน ลักษณะการวางผังโรงเรียน และคาความขาดแคลนในโรงเรียนตาง ก็มีความสัมพันธเชื่อมโยงกัน และสงผลกระทบตอกัน โรงเรียนที่มีปริมาณนักเรียนนอยมีแนวโนมที่จะมีขนาด

รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2548 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ 215


เล็กกวาและมีคาความขาดแคลนในโรงเรียนมากกวาโรงเรียนที่มีปริมาณนักเรียนมากกวา สําหรับในดานการ วางผังนั้นโรงเรียนที่มีขนาดเล็กมีแนวโนมที่จะจัดผังในรูป L-shape และ U-shape ในขณะที่โรงเรียนขนาด ใหญมีแนวโนมที่จะจัดแผนผังในรูป Cluster นําเอาขอมูลทั้งหมดมาประมวล สามารถแบงกลุมของโรงเรียน ได 5 กลุมคือ 1.1 กลุมที่ 1 โรงเรียนที่มีจํานวนนักเรียนนอยและมีขนาดเล็กกวา 10,000 ต.ร.ม. มีการจัด แผนผัง 2 รูปแบบทั้งในรูป U-shape และ L-shape โดยสวนใหญจัดเปนรูป L-shape คาความขาดแคลน จัดอยูในระดับปานกลางถึงระดับสูง 1.2 กลุมที่ 2 โรงเรียนที่มีจํานวนนักเรียนนอย และมีขนาดใหญกวา 10,000 ต.ร.ม.มีการจัด แผนผัง 2 รูปแบบทั้งในรูป U-shape และ L-shape โดยสวนใหญจัดเปนรูป U-shape คาความขาดแคลน จัดอยูในระดับปานกลางถึงระดับสูง 1.3 กลุมที่ 3 โรงเรียนที่มีจํานวนนักเรียนปานกลาง และมีขนาดเล็กกวา 10,000ต.ร.ม. มีการจัด แผนผัง 2 รูปแบบทั้งในรูป L-shape และ Closed Court โดยสวนใหญจัดเปนรูป L-shape ซึ่งมีคา ความ ขาดแคลนอยูในระดับต่ํา 1.4 กลุมที่ 4 โรงเรียนที่มีจาํ นวนนักเรียนปานกลางและมีขนาดใหญกวา10,000 ต.ร.ม.มีการจัด แผนผังเปนรูป U-shape และมีคาความขาดแคลนอยูในระดับปานกลางคอนขางสูง 1.5 กลุมที่ 5 โรงเรียนที่มีจํานวนนักเรียนมาก และมีขนาดใหญกวา 10,000 ต.ร.ม. มีการจัด แผนผัง 2 รูปแบบทั้งในรูป U-shape และ Cluster โดยสวนใหญจัดเปนรูป Cluster คาความขาดแคลนจัด อยูในระดับต่ําถึงระดับปานกลางคอนขางสูง 2. การเลือกโรงเรียนที่ใชเปนโครงการสาธิต ทําการเลือกโรงเรียนโดยใชเกณฑคือเลือกจากตัวแทนของแตละกลุมโรงเรียนงบประมาณ ความ ขาดแคลนองคประกอบที่จําเปนในโรงเรียน และความพรอมสําหรับการปรับปรุงสภาพแวดลอมทางดาน กายภาพ ทายที่สุดจึงเลือกไดโรงเรียนบานเจริญสามัคคีเปนโรงเรียนตัวอยางในโครงการสาธิต 3. การออกแบบปรับปรุงภูมทิ ศั นในโรงเรียนตัวอยาง 3.1 แนวความคิดหลักที่ใชในการออกแบบคํานึงถึงองคประกอบพื้นฐาน 9 ประการสําหรับการ ออกแบบ ประกอบดวย 1) การเขาถึงไดงาย และการยากตอการเขาถึง 2) กิจกรรมการเลนที่สนุกสนานมีการใชพลังงานมาก และกิจกรรมที่ตองการความเงียบสงบ 3) กิจกรรมการเลนที่ทาทายเสี่ยงภัย และกิจกรรมซ้ํา ๆ ที่มีความปลอดภัย 4) พื้นผิวออนนุม และพื้นผิวแข็ง

216 รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2545 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ


5) 6) 7) 8) 9)

การเรียนรูจากธรรมชาติและจากสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น รูปแบบการเลนแบบเปดกวางและแบบปด ความคงที่ถาวรและความเปลี่ยนแปลง พื้นที่สาธารณะและพื้นที่สวนตัว ความเรียบงายและความซับซอนในการเลน

3.2 แนวความคิดในการปรับปรุงระบบการสัญจร โดยปรับพื้นผิวถนนและทางเดินใหมีความถาวร ทนทานมากขึ้น แยกระบบสัญจรทางเทาออกจากทางรถยนตใหชัดเจน จัดใหมีที่จอดรถเปนสัดสวน 3.3 แนวความคิดในการจัดแบงพืน้ ที่การใชที่ดิน ควรจัดระเบียบการใชที่ดินใหเปนสัดสวนมากขึ้น และจัดใหเหมาะสมศักยภาพของพื้นที่ เพื่อไมใหเกิดความขัดแยงของกิจกรรม เพิ่มพื้นที่ที่ขาดแคลนให พอเพียงกับความตองการ เชน พื้นที่นั่งพักผอนหยอนใจ พื้นที่สวนเกษตร เปนตน 3.4 แนวความคิดในการปรับปรุงองคประกอบที่สําคัญของสภาพแวดลอมในโรงเรียน ควรจัดหา องคประกอบที่ขาดแคลน และเปนองคประกอบที่สําคัญเพิ่มเติมใหพอเพียง เชน จัดสรางพื้นผิวทางสัญจรทั้ง ทางรถและทางเดิน รวมทั้งที่จอดรถ ระบบระบายน้ํา คูนา้ํ บอน้ํา ศาลาพักผอน ที่ทิ้งขยะ มานั่ง เปนตน ทําการปรับปรุงองคประกอบที่มี แตไมอยูในสภาพที่ดีพอที่จะใชงานไดสะดวก ทําการปรับภูมิทัศนและพื้นที่ที่ มีองคประกอบเพียงพออยูแลว และมีสภาพที่ดี จัดใหมีการดูแลรักษาองคประกอบที่สําคัญ ของ สภาพแวดลอมในโรงเรียนอยางตอเนื่อง 3.5 แนวความคิดในดานพืชพรรณ ควรเก็บรักษาตนไมเดิมไว และจัดการดูแลรักษาใหอยูใน สภาพที่ดี จัดการปลูกพรรณไมดอกไมประดับที่ใหสีสันงดงามเพิ่มเติม เพื่อสรางบรรยากาศที่ดีในโรงเรียนควร ปลูกพรรณไมใหรมเงาเพิ่มเติมในพื้นที่นั่งพักผอน ควรหลีกเลี่ยงพรรณไมที่มีพิษ และมีหนามแหลม เพราะจะ กอใหเกิดอันตรายตอเด็ก

รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2548 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ 217


ภาพแสดงการปรับปรุงสภาพแวดลอมในโครงการสาธิตโรงเรียนบานเจริญสามัคคี

วิจารณและสรุปผลการวิจยั จากผลการศึกษาแนวทางการพัฒนาสภาพแวดลอมทางดานกายภาพของโรงเรียนประถมศึกษาระดับ ทองถิ่น กรณีศึกษาโรงเรียนในเขตกิ่งอําเภอดอยหลอ จังหวัดเชียงใหม โรงเรียนสวนใหญมีความพึงพอใจตอ สภาพแวดลอมทางดานกายภาพ คือ ความรมรื่น มีตนไมใหรมเงา ขณะเดียวกันปญหาสวนใหญที่พบมักเปน ปญหาดานขยะมูลฝอยและการระบายน้ํา โรงเรียนสวนใหญยังมีความตองการจัดสภาพแวดลอม โดยเฉพาะ ทางดานภูมิทัศน และมีแผนงานการปรับปรุงสภาพแวดลอมทางภูมิทัศนของโรงเรียนไวแลว องคประกอบของ สภาพแวดลอมทางดานกายภาพของโรงเรียนที่ขาดแคลนมากที่สุดสามลําดับแรก ไดแก โรงเรียนบานเจริญ สามัคคี โรงเรียนหนองหลั้ว และโรงเรียนวัดวังขามปอม เมื่อพิจารณาองคประกอบของสภาพแวดลอมภายใน โรงเรียนที่มีอยูเดิมและยังอยูในสภาพดี ไดแก องคประกอบทางภูมิทัศน รองลงมา คือ อาคารและสิ่งกอสราง และนอยที่สุดคือระบบการสัญจรภายในโรงเรียน ซึ่งมีผลสอดคลองกับการศึกษาถึงองคประกอบที่มีความ ตองการในการปรับปรุงมากที่สุดคือ ระบบการสัญจรภายในโรงเรียน รองลงมาคือ องคประกอบทางภูมิทัศน และอาคารสิ่งกอสราง สวนองคประกอบของสภาพแวดลอมภายในโรงเรียนที่ยังคงมีความขาดแคลนมากที่สุด คือ อาคารและสิ่งกอสราง องคประกอบที่มีความขาดแคลนนอยที่สุดคือ องคประกอบทางภูมิทัศน สวน ระบบการวางผังของโรงเรียนทั้งหมดสวนใหญกลุมโรงเรียนขนาดเล็ก มีการวางผังเปนรูปตัวแอล (L-Shape) และ ตัวยู (U-Shape) สวนโรงเรียนขนาดใหญมีลักษณะเปนกลุม (Cluster) ในการวิจัยครั้งนี้ไดทําการ คัดเลือกตัวแทนจากกลุมตัวอยางทั้งหมด 14 โรงเรียน มาเพียงหนึ่งโรงเรียนเพื่อเปนโรงเรียนตัวอยางใน 218 รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2545 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ


โครงการสาธิต คือ โรงเรียนบานเจริญสามัคคี เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาสภาพแวดลอม และทําการ ออกแบบตามหลักการ มีแนวคิดในการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศนตามหลักองคประกอบพื้นฐานสําหรับ กิจกรรมตาง ๆ ของเด็กวัยเรียน แนวความคิดดานการปรับปรุงระบบการสัญจร การจัดแบงพื้นที่การใชที่ดิน การปรับปรุงองคประกอบที่สําคัญของสภาพแวดลอมในโรงเรียน และแนวคิดดานพืชพรรณ และนําแบบ ดังกลาวไปพัฒนาบนพื้นที่จริงตอไป ผลการวิจัยในครั้งนี้ทําใหทราบวาขนาดของโรงเรียน จํานวนนักเรียน และองคประกอบทางดาน กายภาพของโรงเรียนทางดานตาง ๆ มีผลโดยตรงตอสภาพแวดลอมและพฤติกรรมการใชพื้นที่ของเด็ก ๆ ใน โรงเรียน สภาพแวดลอมดังกลาวมีความสําคัญตอการเรียนรู พัฒนาการ และการเสริมสรางพัฒนาการ ทางดานรางกายและสติปญญาของเด็กวัยเรียน เนื่องจากเด็กใชเวลาสวนใหญของชีวิตในวัยนี้อยูทโี่ รงเรียน มากกวาทีบ่ าน ดังนั้นแนวทางการปรับปรุงสภาพแวดลอมจึงจําเปนตองสงเสริมตอปจจัยเหลานี้ รวมทั้งยัง ตองคํานึงถึงความตองการของผูใชสอยและผูดูแลรักษาพื้นที่เปนหลัก ไดแก ครู เด็กนักเรียน และนักการภาร โรง อยางไรก็ตามการออกแบบสภาพแวดลอมภายในโรงเรียนคงเปนเพียงสวนหนึ่งที่จะชวยเสริมสรางการ เรียนรูของเด็กควบคูไปกับการเรียนการสอนในโรงเรียน และนอกเหนือจากนั้นคือการดูแลรักษาสภาพแวดลอม ของโรงเรียนใหสงเสริมตอกิจกรรมเหลานี้ไดทั้งในปจจุบันและในอนาคตนั่นเอง

เอกสารอางอิง จรวยพร ธรณินทร. 2536. “การออกกําลังกายและกีฬา สําหรับเด็ก หนุมสาว และผูสูงอายุ”. การอนามัย และสิ่งแวดลอม 16(1) ม.ค.-เม.ย. หนา 73-76. บุญชวย จินดาประพันธ. 2536. การบริหารอาคารสถานที่และสิ่งแวดลอม. หนวยศึกษานิเทศน กรมฝกหัดครู. ทองใบ แตงนอย. 2530. แผนที่ภูมิศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาตอนตนและตอนปลาย บริษัทโรงพิมพไทยวัฒนา พานิช จํากัด กรุงเทพ หนา 17. ทิศนา แขมณี. 2537. “การเลนกับการพัฒนาทางสติปญญาของเด็กไทยในชนบท”. วารสารครุ ศาสตร 2(3) ม.ค.-มี.ค. หนา 12-33. ธวัช พิริยปญจบุตร. 2533. “สวนปาในโรงเรียน” สารพัฒนาหลักสูตร (95) ก.พ. หนา 55-56. โปสเตอรเพื่อการศึกษา. บริษัทอินทราการพิมพ จํากัด ม.ป.พ. โปสเตอรเพื่อการศึกษา. บริษัทอินทราโปสเตอร จํากัด ม.ป.พ. มาลินี ศรีสุวรรณ. 2542. ความรูเกี่ยวกับการออกแบบอาคารสาธารณะประเภทตาง ๆ คณะสถาปตยกรรม ศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. หนา 168-190. สมบัติ กาญจนกิจ. 2540. นันทนาการชุมชนและโรงเรียน สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยกรุงเทพฯ หนา 125-135. เอื้อมพร วีสมหมาย. 2533. สวนสําหรับเด็ก. สารมวลชน กรุงเทพฯ หนา 41-144. รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2548 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ 219


Senda, Mitsuru. Design of Children’s Play Environment. Mcgraw-Hill, New York. P. 1-19. Stine, Sharaon. 1997. Landscapes for Learning: Creating Outdoor Environments for Children and Youth. John Wiley & Sons, New York. P. 2-43.

220 รายงานการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 6 19 - 20 พฤษภาคม 2545 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ





















266

ภาพที่ 113 การปรับปรุงสภาพแวดลอมดานหนาอาคารเรียนจากเดิมเปนบอเลี้ยงปลาทีไ่ มไดใชแลว ปรับปรุงเปนซุมมานั่งพักผอนหยอนใจ ที่มา: จากการสํารวจ

ภาพที่ 114 การปรับปรุงสภาพแวดลอมบริเวณสนามเด็กเลนภายในโรงเรียน ที่มา: จากการสํารวจ


267

ภาพที่ 115 การปรับปรุงทางเทาบริเวณที่เชื่อมตอระหวางอาคารเรียนกับสนามเด็กเลน แตเดิมเปน ทางเดินดิน ทําการปรับปรุงปูพื้นผิวคอนกรีตและตัวหนอน ที่มา: การสํารวจ

ภาพที่ 116 เครื่องเลนที่ถกู ออกแบบเปนรูปเรือ ชวยสรางเสริมจินตนาการและการเรียนรูของเด็ก ที่มา: การสํารวจ


268

ภาพที่ 117 การปรับปรุงเครื่องเลนเดิมโดยการทาสีใหม และทําการจัดวางตําแหนงใหเหมาะสม พรอมกับปรับพื้นทรายเพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการเลน ที่มา: การสํารวจ

ภาพที่ 118 การปรับปรุงพื้นทีน่ ั่งพักผอนใตรมไม จัดเปนพื้นที่เอนกประสงคสําหรับเด็ก ที่มา: การสํารวจ


269

ภาพที่ 119 การออกแบบลายพื้นเปนรูปสัตวในทะเลเพื่อสงเสริมจินตนาการและการเรียนรูของเด็ก ที่มา: การสํารวจ

ภาพที่ 120 จัดวางเครื่องเลนเกาและใหมเขาดวยกันอยางลงตัว ที่มา: การสํารวจ




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.