การออกแบบสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

Page 1





การออกแบบสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนบนพื้นฐานปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จรัสพิมพ บุญญานันต

The Design of Sustainable Built Environment Basing On Sufficiency Economy Philosophy Charaspim Boonyanant ภาควิชาภูมิทัศนและอนุรักษสิ่งแวดลอม คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแมโจ Landscape and Environmental Conservation Department, faculty of Agricultural Production, Maejo University Email address: cboony@mju.ac.th

บทคัดยอ บทความนี้นําเสนอการประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหวั ภูมพิ ลอดุลยเดช มาใชในการออกแบบสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน เพื่อแกไขปญหาวิกฤตการณ ผลกระทบสิ่งแวดลอม ที่เกิดจากการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติอยางฟุมเฟอยขาดจิตสํานึก เพื่อคงรักษาสมดุลของระบบนิเวศ หลักการสําคัญของแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ๓ ประการถูก นํามาพิจารณาประยุกตใช ประกอบดวย ความพอประมาณ ความมีเหตุมีผล และการไมเบียดเบียน กัน เมื่อนํามาปรับใชในดานการออกแบบสิ่งแวดลอมไดแก การบริโภคทรัพยากรเทาที่จําเปนแต พอประมาณ การออกแบบที่สอดคลองสมดุลและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และ การออกแบบทีไ่ ม กอใหเกิดความสูญเปลาหรือความเสียหายตอทรัพยากรและสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ แนวความคิด หลักในการออกแบบทั้งสามประการนี้นําไปสูแนวทางการออกแบบ ๓ ประการ ประการแรกคือ การลดปริมาณการใชพลังงาน และทรัพยากรที่จะใชในการบริหารจัดการ การกอสราง และการดูแลรักษา ทําไดโดยการนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด การออกแบบระบบประหยัดพลังงาน และการลดพลังงานที่ใชในการขนสงเคลื่อนยายสิ่งของและคน ประการที่สองคือ การลดผลกระทบที่มีตอสิ่งแวดลอมที่เกิดจากวัสดุและขบวนการผลิต ทํา ไดโดยการเลือกใชวัสดุทเี่ หมาะสม การลดปริมาณการใชวัสดุ และการออกแบบขบวนการผลิตที่มี ประสิทธิภาพ ประการสุดทาย คือ การลดของเสียอันเกิดจากสภาพแวดลอมที่ถูกสรางขึ้น และการใช สภาพแวดลอมนั้น ๆ ทําไดโดยการบําบัดดวยวิธีธรรมชาติ การบําบัดดวยวิธีทางวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีที่ประหยัดพลังงาน และการนํากลับมาใชใหม


4-2

การผลักดันใหแนวคิดเหลานีถ้ ูกนํามาใชในทางปฏิบัติ จะตองมีการวางแผนการดําเนินงาน อยางเปนระบบ และตองอาศัยความเขาใจและความรวมมือจากทุกฝายที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชน คําสําคัญ: สิ่งแวดลอม ยั่งยืน เศรษฐกิจพอเพียง Abstract This article proposed an application of His Majesty King Bhumibol Adulyadej’s Sufficiency Economy Philosophy to the design of the sustainable built environment, in order to solve critical environment impact problems caused by lavish and careless uses of natural resources, and to maintain ecosystem balance. Three important principles were applied from the Sufficiency Economy Philosophy concept including sufficiency, reasonableness, and compromise. They were adapted to environmental design as three main concepts; a sufficiency consumption of natural resources, a design that be consistent, balance and be friendly with environments, and a design without any losses and damages of natural resources and environments. These concepts led to three design guidelines as the following. Firstly, the uses of energy and resources to manage, build, and maintain built environments should be decreased by effective uses of natural resources, a design of an energy saving system, and an decrement of energy used for transportation. Secondly, the environmental impacts caused by materials and production processes should be decreased by appropriate selections of materials, a decrement of material quantities, and effective production processes. Finally, the waste matters caused by built environments and uses of that environments should be decreased by natural treatments, scientific and technological treatments that save energy, and recycling. In order to bring these concepts to practical uses, a systematical planning needed to be done. Moreover, it also depended on understanding and cooperation of every concerned parties both from government and private sectors. Keywords: Environment, Sustainable, Sufficiency Economy


4-3

บทนํา นับเปนพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ภูมิพลอดุลยเดช ที่ทรง พระราชทานแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแกปวงชนชาวไทย เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนา และแกปญหาวิกฤติเศรษฐกิจของประเทศ นับตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๑๗ ตอเนื่องมาจนถึงปจจุบัน ปรัชญาดังกลาวมุงเนนใหประชาชนมีวิถีชีวิตที่พึ่งตนเองได และอยูไดอยางพอเพียง ดังพระราช ดํารัส เนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ ความตอนหนึง่ วา “การเปนเสือนั้นไมสําคัญ สําคัญอยูที่ความพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินหมายความวา อุมชูตัวเองได ใหมีพอเพียงกับตัวเอง...” แมวาพระองคทา นจะพระราชทานแนวพระราชดําริมานานกวา 30 ปแลว หากแตดูเหมือนวาในปจจุบนั นี้ ประเทศไทยยังคงเผชิญหนากับปญหามากมายที่มารุมเรารอบดาน ทั้งเรื่องเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และสิ่งแวดลอม ดูเหมือนวาตนเหตุของปญหาจะไมไดรับการ แกไข และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจะไมไดถกู นําไปปฏิบัติอยางตอเนื่องจริงจังใหไดผล ทั้งๆที่ พระองคทานไดพยายามเนนย้ํามาตลอด ดวยเหตุนหี้ ลายๆฝายทั้งหนวยงานของภาครัฐตางก็ให ความสําคัญในการรณรงคและผลักดันใหเกิดความรวมมือในการนําเอาแนวคิดของปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง มาใชใหเกิดผลในทางปฏิบัติ พยายามหาหนทางในการดํารงชีวิตอยางสมดุลและสอดคลอง กับสภาพแวดลอมของโลกยุคปจจุบัน แนวพระราชดํารินี้สามารถนําไปประยุกตใชไดอยางกวางขวาง ไมวาจะเปนวิถีชีวิตทางเศรษฐกิจ ทางวัฒนธรรม ทางการเมือง ทางเทคโนโลยี และทางดานการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในบทความนี้ ผูเขียนมีความมุงหมายทีจ่ ะนําเสนอการ ประยุกตใชปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใชในการแกปญหาความเสื่อมโทรมของสภาพแวดลอม อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงจากน้ํามือของมนุษย ปญหาเหลานี้ไดสะสมรุนแรงมากขึน้ เรื่อยๆอยาง เห็นไดชัด มนุษยสรางสรรคและเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอมที่อยูรอบตัวเอง โดยอาศัยเทคโนโลยีทเี่ กิด จากการเรียนรู เพื่อตอบสนองตอความตองการของมนุษยในดานตางๆ ในยุคโลกาภิวัตนของโลก ปจจุบันนี้ จํานวนของประชากรของโลกที่เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับกระแสวัตถุนยิ มและบริโภคนิยม ที่หลั่งไหลเขามาพรอมกับระบบทุนนิยมของโลกตะวันตก ทําใหเกิดการใชประโยชนจาก ทรัพยากรธรรมชาติอยางฟุมเฟอยขาดจิตสํานึก เกิดวิกฤตการณผลกระทบสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นหลาย ตอหลายครั้ง อาทิเชน การบางตัวลงของชั้นโอโซนในอากาศเนื่องจากการใชผลิตภัณฑที่มี สวนประกอบของคลอโรฟลูออโรคารบอน (CFCs) การปนเปอนของสารพิษจากของเสียหรือขยะที่ ไมยอยสลายในธรรมชาติลงในดินและแหลงน้ํา ภาวะการขาดแคลนน้ํามันของโลกในบางชวง การถูก ทําลายของปาไมในเขตรอน เหลานี้เปนดรรชนีชี้ใหเห็นถึงความเปราะบางของสภาพแวดลอม นอกจากนี้ยังแสดงใหเห็นอีกดวยวาทรัพยากรธรรมชาติและพลังงานอันเปนปจจัยสําคัญในการดํารง


4-4

ชีพของสิ่งมีชีวิตนั้น ไมใชสงิ่ ที่ใชไดไมมวี นั หมดอยางที่เราทานมักจะเขาใจ หากแตเปนสิ่งที่กําลังถูก ทําลายและลดจํานวนลงอยางรวดเร็ว เปนที่คาดการณกนั วาหากไมมกี ารแกไขในเรื่องนี้อยางเรงดวน แลว ในอีกไมชาจะสงผลกระทบถึงระบบนิเวศวิทยาจนถึงระดับที่เปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ในโลกอยางแนนอน

ภาพที่ ๑ แผนภูมิแสดงความสัมพันธระหวางการสรางสิ่งแวดลอม และผลกระทบที่มีตอ สิ่งแวดลอมและพลังงาน ในชวง ๔๐ ปที่ผานมากระแสความตื่นตัวในเรื่องของการอนุรักษสิ่งแวดลอมไดแพรหลาย ไปทั่วทุกภูมภิ าคทั่วโลก ในวงการวิชาชีพการออกแบบก็เชนเดียวกัน เนื่องจากความตระหนักใน ความสําคัญของการพิทักษรกั ษาสภาพแวดลอมใหคงอยู เพื่อความอยูรอดของสิ่งมีชีวิตทั้งมวล ดังกลาว การออกแบบสภาพแวดลอมอยางยั่งยืนจึงไดเขามามีบทบาทมากขึ้น โดยมีวัตถุประสงคไม เพียงแตตองการที่จะตอบสนองตอความตองการของผูใชในดานประโยชนใชสอยและความงาม เทานั้น แตยังตองรับผิดชอบในการคงรักษาไวซึ่งสมดุลของระบบนิเวศวิทยาของโลก และสามารถ ประยุกตเอาแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใช โดยการลดการใชพลังงาน ลด


4-5

ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และลดการใชทรัพยากร ในทุกขั้นตอนของขบวนการออกแบบ การสราง และการดูแลรักษาสภาพแวดลอมที่ถูกออกแบบนัน้ ๆ คํานิยามศัพท เพื่อใหเกิดความเขาใจอยางถองแทเกีย่ วกับแนวความคิดในการการออกแบบสิ่งแวดลอมอยาง ยั่งยืนบนพื้นฐานของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จําเปนอยางยิ่งที่จะตองเขาในความหมายของคําที่ เกี่ยวของเสียกอน ในที่นี้มีคาํ สําคัญที่เกี่ยวของอยู ๓ คํา ประกอบดวยคําวา “สิ่งแวดลอม” คําวา “ยั่งยืน” และคําวา “เศรษฐกิจพอเพียง” คําวาสิ่งแวดลอมมาจากรากศัพทภาษาฝรั่งเศสคําวา “Environ” แปลวา “Around” ดังนั้น คําวา “Environment” จึงมีความหมายรวมวา “Totality of Man’s Surrounding” หมายถึง สิ่ง ตางๆที่มีลักษณะทางกายภาพและชีวภาพที่อยูรอบตัวมนุษย ซึ่งเกิดขึน้ โดยธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย ทําขึ้น โดยประกอบดวยสิ่งที่มีชีวิตและไมมีชีวิต ทั้งที่เปนรูปธรรมและนามธรรม คําวา “ยั่งยืน” หรือในภาษาอังกฤษ คือ “Sustainable” ไดถูกนํามาใชในการขยายความถึงองค ความรู หรือกิจกรรมใดๆก็ตามที่เนนหรือใหความสําคัญตอการคงรักษาไวซึ่งสมดุลตามธรรมชาติ อาทิเชน การเกษตรอยางยั่งยืน การพัฒนาชุมชนอยางยั่งยืน และการทองเที่ยวอยางยัง่ ยืน (นอกจากนี้ ยังมีการคําอื่น ๆ ที่มีความหมายใกลเคียงกันอีกดวยเชนคําวา “พึ่งตนเอง” เปนตน) ปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” แปลเปนภาษาอังกฤษคือ “Sufficiency Economy” เปน แนวคิดทฤษฎีทางดานเศรษฐศาสตร ที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัวภูมิพลอดุลยเดช ไดพระราชทาน แกประชาชนชาวไทย เพื่อเปนแนวทางใหยึดถือและปฏิบัติในการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน พระองค ทรงมีกระแสพระราชดํารัสเกี่ยวกับความหมายของคําวาเศรษฐกิจพอเพียง เนื่องในวโรกาสวันเฉลิม พระชนมพรรษา วันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๓ ความตอนหนึ่งวา “เศรษฐกิจพอเพียงที่ไดย้ําแลว ย้ําอีกแปลเปนภาษาอังกฤษวา “Sufficiency Economy” ใครตอใครก็ตอ วา วาไมมี “Sufficiency Economy” แตวาเปนคําใหมของเราก็ได ก็หมายความวา ประหยัด แตไมใชขี้เหนียว ทําอะไรดวย ความอะลุมอลวยกัน ทําอะไรดวยเหตุและผล จะเปนเศรษฐกิจพอเพียง แลวทุกคนจะมีความสุข” ดังนั้นเราอาจสามารถสรุปความหมายของการออกแบบสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนบนพืน้ ฐาน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือ การที่มนุษยทําการออกแบบเปลี่ยนแปลงสรางสรรคสิ่งแวดลอมที่ อยูรอบตัว ทั้งที่มีลักษณะทางกายภาพและชีวภาพ ทั้งทีม่ ีชีวิตและไมมีชีวิต ทั้งที่เปนนามธรรมและ รูปธรรม โดยที่ยังคงรักษาไวซึ่งสมดุลของระบบนิเวศทางธรรมชาติ ยึดหลักความพอประมาณ ความเปนเหตุเปนผล และการไมเบียดเบียนกัน


4-6

แนวทางการออกแบบสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนบนพื้นฐานของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การประยุกตแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใชในการออกแบบสิ่งแวดลอมอยาง ยั่งยืน ทําไดโดยการหาแนวทางและวิถีทางที่จะนําเอาองคความรูและเทคโนโลยีที่ดี ที่เหมาะสม มา ใชในการออกแบบวางแผนสิ่งแวดลอม ใหเกิดประโยชนอยางสมดุล โดยใหเกิดความสูญเปลาหรือ ความเสียหายนอยที่สุด ทั้งนี้เราสามารถแบงการออกแบบสิ่งแวดลอมของมนุษยไดหลายประเภทในระดับทีแ่ ตกตาง กันดังนี้ ๑. การออกแบบอุตสาหกรรม (Industrial Design) ๒. การออกแบบตกแตงภายใน (Interior Design) ๓. การออกแบบสถาปตยกรรม (Architectural Design) ๔. การออกแบบภูมิสถาปตยกรรม (Landscape Architectural Design) ๕. การออกแบบวางผังเมือง (Urban Design and Planning) ขบวนการสรางสิ่งแวดลอมของมนุษยมีความเกี่ยวของสัมพันธโดยตรงกับ ทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน เมื่อทรัพยากรธรรมชาติถูกใชไปอยางไมมีขีดจํากัด และของเสียถูก ปลอยลงในระบบนิเวศ ทําใหสมดุลของสภาพแวดลอมเสียไป กอใหเกิดสภาวะที่ไมเหมาะสมกับการ อยูอาศัย ดังนัน้ การออกแบบที่มีประสิทธิภาพในสาขาวิชาชีพตาง ๆ จึงเขามามีบทบาทสําคัญในอันที่ จะชวยลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม โดยการนําเอาหลักแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกตใช เนนถึงหลักสําคัญ ๓ ประการ นั่นคือ - ความพอประมาณ หมายการบริโภคทรัพยากรเทาที่จําเปน พอประมาณ ไมโลภ - ความเปนเหตุเปนผล หมายถึงการออกแบบที่สอดคลองสมดุลและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม - การไมเบียดเบียนกัน นั่นคือการออกแบบที่ไมกอใหเกิดความสูญเปลาและเกิดความ เสียหายตอทรัพยากรและสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ จากแนวคิดดังกลาวจึงสามารถวางแนวทางการออกแบบที่ยั่งยืนเพื่อคงความสมดุลของระบบ นิเวศดังนี้ ประการที่ ๑ ลดปริมาณการใชพลังงาน และทรัพยากรทีจ่ ะใชในการบริหารจัดการ การ กอสราง และการดูแลรักษา ประการที่ ๒ ลดผลกระทบที่มีตอสิ่งแวดลอมที่เกิดจากวัสดุและขบวนการผลิต ประการสุดทาย คือ ลดของเสียอันเกิดจากสภาพแวดลอมที่ถูกสรางขึ้น และการใช สภาพแวดลอมนั้น ๆ ซึ่งจะไดแสดงรายละเอียดดังตอไปนี้


4-7

๑. การลดปริมาณการใชพลังงานและทรัพยากรที่จะใชในการกอสราง การบริหารจัดการ และการ ดูแลรักษา สิ่งที่ถูกสรางขึ้น ทําไดโดยการออกแบบสภาพแวดลอม ใหสามารถนําเอาพลังงานธรรมชาติมาใชใหเกิด ประโยชนสูงสุด โดยลดการใชพลังงานประยุกตใหนอยลง สามารถนําไปประยุกตใชไดกับการ ออกแบบสถาปตยกรรมและภูมิสถาปตยกรรมมากกวาการออกแบบในสาขาอื่น ๆ จําแนกไดหลายวิธี ตอไปนี้ ๑.๑ การนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด ก. พลังงานแสงอาทิตย พลังงานแสงอาทิตย สามารถนํามาใชประโยชนไดใน 3 รูปแบบหลักๆ คือ การนํามาใช ใหพลังงานไฟฟา พลังงานแสงสวาง และพลังงานความรอน ยกตัวอยางเชน การออกแบบอาคาร สถานที่ใหไดรับแสงสวางตามธรรมชาติใหมากที่สุด โดยใชแสงประดิษฐใหนอยที่สดุ การออกแบบ การใชแผงโซลาเซลรับรังสีความรอนจากแสงอาทิตยเพือ่ เปลี่ยนเปนพลังงานไฟฟา สามารถนําไปใช กับเครื่องไฟฟาตาง ๆได การออกแบบหลอดไฟนอกอาคารที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตยใน ตอนกลางวันใหเปนพลังงานแสงสวางในตอนกลางคืน การออกแบบตูอ บพลังงานแสงอาทิตยใช สําหรับการอบและตากแหงอาหาร นอกจากนี้พลังงานแสงอาทิตยสามารถนํามาใชทําระบบน้ําอุน ภายในอาคารโดยการใหน้ําผานตัวรับรังสีแบบแนวราบ (Flat Plate Collector) ที่รับความรอนจาก แสงอาทิตยไดอีกดวย

ภาพที่ ๒ ตูอบพลังงานแสงอาทิตย


4-8

การออกแบบวางผังอาคารสถานที่ตาง ๆ ควรตองคํานึงกับทิศทางของแสงอาทิตย เชนเดียวกัน เพื่อชวยใหไดรบั พลังงานที่เหมาะสม กอใหเกิดภาวะความสบายใหเกิดขึน้ ทั้งในอาคาร และนอกอาคาร เชน บานในประเทศที่มีอากาศหนาวเย็น จะพยายามเปดชองแสงทั้งทางดานทิศใต ทั้งนี้เพื่อใหไดรับแสงแดดอันอบอุนอยางเต็มที่ แตบานที่อยูในประเทศในเขตรอนจะนิยมเปดชองเปด ขนาดใหญทางทิศเหนือ เพราะจะไดรับรมเงามากกวา แสงที่ออกแบบนิยมใหเปนแสงที่ไมตกกระทบ โดยตรง (Indirect Light) เพื่อหลีกเลี่ยงความรอนจากแสงอาทิตย การออกแบบวางผังชุมชนหรือเมือง ตาง ๆ ก็ตองคํานึงถึงทิศทางของแสงอาทิตยเชนเดียวกัน ซึ่งลักษณะของภูมิประเทศทีแ่ ตกตางกันจะ ไดรับแสงอาทิตยที่ตางกัน โดยเฉพาะพื้นทีท่ ี่มีลักษณะเปนเนินเขาตาง ๆ การวางอาคารหรือชุมชนก็ ควรอยูในพื้นที่ไดรับและแดดพอดีไมมากหรือนอยจนเกินไป การวางถนนก็เกีย่ วกับทิศทางของ แสงอาทิตยโดยตรง ถนนสายหลักไมควรวางในแนวทิศตะวันออก ตะวันตก เนื่องจากแสงอาทิตยจะ รบกวนสายตาของผูขับขี่ยานพาหนะ กอใหเกิดอุบัติเหตุได ข. พลังงานลม พลังงานลมสามารถนํามาใชประโยชนไดอยางมากมาย โดยเฉพาะอยางยิ่ง การกอใหเกิด การไหลเวียนของอากาศ ซึ่งเปนปจจัยสําคัญสําหรับการสรางสภาวะสบายของมนุษยทั้งภายในงานภูมิ สถาปตยกรรม และสถาปตยกรรม พื้นที่มกี ารไหลเวียนของอากาศดีจะชวยลดอุณหภูมิของพื้นที่ให เย็นลง ถามีการออกแบบที่ถูกตองเหมาะสมจะลดการใชพลังงานจากการใชพัดลมและ เครื่องปรับอากาศไดเปนอยางดีในฤดูรอน นอกจากนี้ยังนิยมนําพลังงานลมมาใชหมุนเครื่องกอกําเนิด พลังงานไฟฟา และหมุนกังหันวิดน้ําเขาพืน้ ที่ไดอีกดวย ค. พลังงานและทรัพยากรน้ํา น้ําเปนทรัพยากรที่ทรงคุณคาที่สุดและเปนแหลงพลังงานที่สําคัญอยางเหนึ่ง แหลงน้ํา ธรรมชาติเมื่อเคลื่อนที่จะกอใหเกิดพลังงาน ซึ่งสามารถเปลี่ยนเปนพลังงานไฟฟาที่มปี ระโยชน ภูมิ สถาปนิกนิยมนําน้ํามาใชในพื้นที่เพื่อใหเกิดความเย็นจากการระเหยของน้ํา และเปนแหลงน้ํากินน้าํ ใชไดดี นอกจากนี้ยังพบวา น้ํายังสามารถเปนฉนวนกับความรอนจากแสงอาทิตยไมใหเขาสูตัวอาคาร ไดดีอีกทางหนึ่ง นอกจากทีเ่ ราตองเรียนรูการนําน้ํามาใชใหไดประโยชนสูงสุดแลว ยังตองมีการออกแบบ ใหประหยัดในการใชน้ําอีกดวย ทัง้ น้ําใชอุปโภคและบริโภค โดยคํานึงถึงการนํากลับมาใชใหม ยกตัวอยางการออกแบบที่คํานึงถึงการประหยัดน้ํา ก็เชนการออกแบบสุขภัณฑประหยัดน้ํา ที่สามารถ ประหยัดไดถึง ๑/๓ เทาของสุขภัณฑทวั่ ไป เปนตน


4-9

ง. ทรัพยากรดินและตนไม สามารถนํามาใชในการควบคุมอุณหภูมิของงานสถาปตยกรรมและภูมสิ ถาปตยกรรม ทั้งนี้เนื่องจากอุณหภูมิของพืน้ ดินจะเย็นกวาอุณหภูมิของอากาศในเวลากลางคืน และสามารถถายเท ความเย็นนั้นใหกับสภาพแวดลอม ดังนั้นสวนของอาคารที่ถูกออกแบบใหถูกปกคลุมดวยดินจะมี อุณหภูมิต่ํากวาสวนอื่น นอกจากนี้พนื้ ที่ภายนอกอาคารทีเ่ ปนพื้นทีด่ ินมีพันธุไมปกคลุมจะมีอุณหภูมิ ต่ํากวาพืน้ ที่พนื้ แข็งที่ถูกปกคลุมดวยคอนกรีตหรือกระเบื้อง บริเวณใตตนไมก็เชนเดียวกันในยาม กลางวันจะมีอณ ุ หภูมิต่ํากวาภายนอกถึง ๑๐ องศาเซลเซียส การปลูกตนไมใหรมเงาแกอาคารสถานที่ จะชวยลดการใชพลังงานในการทําความเย็นในฤดูรอน สวนในฤดูหนาวตลิ่งและเนินดินธรรมชาติจะ ชวยกันลมที่พดั พาเอาความหนาวเย็นไดเชนเดียวกัน นอกจากนีก้ ารปลูกตนไมจะชวยเปลีย่ นทิศทาง ลมใหไปในทิศทางที่ผูออกแบบตองตองการได เปนการชวยสงเสริมการใชพลังงานลมเพิ่มอีกทอด หนึ่ง ๑.๒ การออกแบบระบบประหยัดพลังงาน ในบางกรณีเมือ่ ไมสามารถหลีกเลี่ยงการใชพลังงานประยุกตได ก็ควรมีการออกแบบให ประหยัดพลังงานที่สุด เชน การใชพัดลมใหความเย็นยอมประหยัดกวาการใชเครื่องปรับอากาศ (AirConditioning) การใชหลอดไฟหรือเครื่องใชไฟฟาแบบประหยัดพลังงานในอาคารสถานที่ที่ไดรับการ ออกแบบแทนที่จะใชหลอดไฟหรือเครื่องใชไฟฟาปกติทั่วไป การใชวัสดุ Insulation เปนฉนวนกัน ความรอนไมใหเขาสูอาคารสถานที่ที่เราตองการ การออกแบบระบบควบคุมอัตโนมัติในอาคาร สถานที่ที่จะชวยประหยัดพลังงานได เชน กอกน้ํา ทีใ่ ช Censor ควบคุมการปดเปดไฟฟา ไฟฟาทีเ่ ปด และปดไดเอง ควบคุมโดยความสวางจากแสงอาทิตยหรือควบคุมโดยการตั้งเวลา เปนตน ๑.๓ การลดพลังงานที่ใชในการขนสงเคลื่อนยายสิ่งของและคน การออกแบบวางผังเมืองจะมีสวนสําคัญอยางยิ่งที่จะชวยลดพลังงานที่ใชในการขนสง เคลื่อนยายสิ่งของและคน ทัง้ นี้โดยการออกแบบจัดวางผังการใชที่ดิน (Land Use Planning) ใหมี การผสมผสานพื้นที่ใชสอยตาง ๆในชุมนัน้ ใหอยูหางกันในระยะเหมาะสมไมไกลกันมากนัก การ ออกแบบและสงเสริมระบบขนสงมวลชนที่มีประสิทธิภาพมากกวาการใชระบบขนสงสวนตัว การ สงเสริมการใชจักรยาน แทนที่จะเปนรถยนต นอกจากนีก้ ารเลือกใชวสั ดุและแรงงานที่ใชในการผลิต หรือกอสรางอันเปนวัสดุพื้นถิ่นจะชวยลดระยะทางในการขนสงไดเปนอยางดี


4-10

๒. ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่เกิดจากวัสดุและขบวนการผลิตวัสดุ ๒.๑ การเลือกใชวัสดุ การเลือกใชวสั ดุเปนขบวนการขั้นแรกของการสรางสิ่งแวดลอมของมนุษย วัสดุทถี่ ูกนํามาใช สามารถแบงได ๒ ประเภทใหญคือ วัสดุที่ไดมาจากวัตถุดิบตามธรรมชาติโดยตรง และวัสดุที่ไดจาก การสังเคราะหวัตถุดิบตามธรรมชาติ ผูออกแบบควรจะเลือกใชวัสดุซึ่งมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม นอยคือวัสดุทสี่ ามารถยอยสลายได (Biodegradable Materials) ยกตัวอยางเชน ดิน อิฐ หิน ไม ทีใ่ ช ปลูกสรางอาคารบานเรือน หรือ วัสดุที่สามารถนํากลับมาใชใหมได (Re Used , Recycled or Remanufactured Materials) ซึ่งสวนใหญเปนวัสดุจากธรรมชาติโดยตรง หรือวัสดุทผี่ านการ สังเคราะหที่ไมซับซอนมากโดยใชเทคโนโลยีระดับทองถิ่น เชน กระดาษสา ผาไหม ผาฝาย ขวดแกว ขวดพลาสติก ที่ใชในวงการอุตสาหกรรมตางๆ ซึ่งสามารถนํากลับมาใชใหมหรือนําไปแปรรูปใหม ได

ภาพที่ ๓ บานที่ปลูกสรางดวยวัสดุจากธรรมชาติในทองถิ่น ขอควรคํานึงอีกประการหนึ่งก็คือควรหลีกเลี่ยงการใชวัสดุที่เปนอันตรายและกอใหเกิด สารพิษตอระบบนิเวศ (Hazardous Material) ยกตัวอยางเชน สาร คลอโรฟลูออโรคารบอน (CFCs) อันเปนสารประกอบที่ใชในเครื่องทําความเย็นทุกชนิด มีผลทําใหเกิดการบางตัวของชั้นโอโซนใน บรรยากาศ สถาปนิกที่ออกแบบอาคารที่ตองใชเครื่องปรับอากาศมาก ๆ มีสวนที่ชวยทําลายชั้นโอเซน


4-11

เชนเดียวกัน อยางไรก็ดใี นปจจุบันมีการหันมาใช สาร R22 แทนสารดังกลาวแลวแลว วัสดุพวกใยแกว (Asbestos) ซึ่งใชในการทําฉนวนกันความรอน หรือ หลังคาโปรงแสงตาง ๆ เปนสารกอมะเร็ง สาร พวก ฟอรมอลดีไฮด(Formaldehyde) อีปอกซี(Epoxy) อะครีลิก(Acrylic) เรซิน(Resins) และ ฟงจี ไซด(fungicides) ซึ่งใชกันอยูทั่วไปในอุตสาหกรรมตาง ๆ เปนสารกอใหเกิดโรคหืดหอบ ภูมแิ พ และ โรงผิวหนัง ดังนั้นผูออกแบบจึงควรหลีกเลี่ยงการออกแบบที่ใชวัสดุทมี่ ีสวนผสมของสารตางๆ ดังกลาว ซึ่งอาจทําไดโดยการใชสารอื่นมาทดแทน เชน การใชสาร R22 ในเครื่องทําความเย็นแทน สารคลอโรฟลูออโรคารบอน (CFCs) เปนตน ๒.๒ การลดปริมาณการใชวัสดุ เมื่อวัสดุถูกใชใหเกิดประโยชนสูงสุดในปริมาณที่นอยลง จะชวยลดการใชทรัพยากรและ พลังงานจากธรรมชาติ ซึ่งเปนอีกวิธีหนึ่งที่จะลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม โดยสามารถทําไดหลาย วิธีดังนี้ วิธีแรก คือ การออกแบบที่ชว ยยืดอายุของสิ่งที่ถูกสรางขึ้นมานั้นใหใชงานไดนานพอสมควร เพื่อลดปริมาณของเสียหลังจากวัสดุหมดอายุการใชงานแลว เชน การออกแบบผลิตภัณฑทเี่ ติมใหมได วิธีที่ ๒ การออกแบบที่เรียบงายไมซับซอนเกินความจําเปน (Simplification) วิธีที่ ๓ ลดขนาดของสิ่งที่ออกแบบใหมขี นาดเล็กลง (Miniaturization) วิธีที่ ๔ การออกแบบใหสามารถใชงานไดหลายอยาง (Multi-Functionalism) วิธีที่ ๕ การออกแบบใหสามารถนํากลับมาใชไดอีก (Reuse, Recycle, or remanufacturing) ทั้งนี้การลดปริมาณการใชวัสดุทั้ง ๕ วิธีสามารถใชไดกับทุกระดับของการออกแบบ สภาพแวดลอมของมนุษย ไมวาจะเปนการออกแบบอาคาร สถานที่ หรือของใชตาง ๆ ๒.๓ การออกแบบขบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพ ชวยลดเวลา ลดวัตถุดิบ และลดแรงงานในการผลิต อันจะนําไปสูการประหยัดพลังงานและ ทรัพยากรที่ตอ งใช ๓. การลดของเสียอันเกิดจากสภาพแวดลอมที่ถูกสรางขึ้นและจากการใชสภาพแวดลอมนั้น ๆ ถึงแมจะมีการวางแผนการเลือกใชวัสดุ การออกแบบขบวนการผลิต การออกแบบวางผัง ที่ ชวยประหยัดพลังงานและทรัพยากรแลว แตเมื่อมีการสรางและใชสิ่งแวดลอมใด ๆ ขึ้น ยอมจะมีของ เสียที่เกิดขึน้ ตามมา เชน น้ําเสียจากอาคารบานเรือน อากาศพิษจากโรงงานผลิตหรือการขนสงตาง ๆ ดินเสียจากสารเคมีที่ใชในการเพาะปลูก หรือสารเคมีจากโรงงานอุตสาหกรรม วัตถุอุตสาหกรรมเปน พิษ ที่เหลือจากการใช เปนตน


4-12

การลดของเสียดังกลาวจึงเปนสิ่งสําคัญอีกประการหนึ่งที่จะชวยลดผลกระทบสิ่งแวดลอม ซึ่งสามารถ ทําไดหลายวิธี ดังตอไปนี้ ๓.๑ การบําบัดดวยวิธีธรรมชาติ ยกตัวอยางเชน การบําบัดน้าํ เสียโดยการพักน้ําในบอน้ําชั่วระยะหนึ่ง เพื่อใหฟน ตัวดวยระบบ นิเวศทางธรรมชาติ กอนที่จะปลอยลงสูแหลงน้ําธรรมชาติตอไป การบําบัดน้ําเสียโดยพืชน้าํ เชน ผักตบชวา หรือ กก การออกแบบระบบกรองน้ําธรรมชาติ การบําบัดอากาศเสีย โดยการปลูกตนไม ใหดดู ซับ สารพิษในอากาศ เปนการสรางปอดใหกับเมือง เชน การสรางระบบสวนสาธารณะ หรือ Open space ที่เชื่อมโยงกันอยางเปนระบบในเมืองใหญ เปนตน สวนของเสียที่เหลือใช ถาสามารถ ยอยสบายตอธรรมชาติไดก็นาํ ไปหมัก สวนที่เปนวัสดุธรรมชาติสามารถนํากลับไปเปนปุยใหกับดิน ได การแกไขปญหาดินเสียจากสารปนเปอ นตาง ๆ สามารถแกไขปญหาไดโดยการปลูกพืชที่สามารถ ดูดสารพิษจากดินมาแปรเปลีย่ นเปนแรธาตุที่มีประโยชนได เชน พืชตระกูลถั่ว หรือการปลูกพืช หมุนเวียนโดยไมปลูกซ้ําก็จะชวยได

ภาพที่ ๔ การบําบัดน้ําเสียโดยใชผักตบชวา ๓.๒ การบําบัดดวยวิธีทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทปี่ ระหยัดพลังงาน ยกตัวอยางเชน โครงการพระราชดําริกังหันชัยพัฒนา ซึ่งเปนระบบบําบัดน้ําเสียทีม่ ี ประสิทธิภาพโดยการเติมกาซออคซิเจนในน้ํา หรือ การติดตั้งเครื่องฟอกอากาศในอาคาร เปนตน


4-13

ภาพที่ ๕ กังหันชัยพัฒนา ๓.๓ การนํากลับมาใชใหม จะเห็นไดวาการนํากลับมาใชใหมสามารถทําไดในทุกขัน้ ตอนของการออกแบบสิ่งแวดลอม นับตั้งแตขั้นตอนของการเลือกวัสดุไปจนถึงขั้นตอนภายหลังจากการออกแบบและใชสิ่งแวดลอม นั้นๆแลว ผูออกแบบควรคํานึงถึงการนํากลับมาใชใหมของอาคารและสิ่งของตาง ๆ เชนการ ปรับปรุงอาคารเกาใหสามารถใชใหมไดอีกครั้งหนึ่ง การออกแบบผลิตภัณฑที่สามารถนํากลับมาใช ใหมได (Refill, Reused, Recycled or Remanufactured Materials) ดังที่เคยอธิบายไวแลวตั้งแต ขั้นตอนการเลือกวัสดุ บทสรุป ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนั้นมีความหมายครอบคลุมอยางกวางขวาง ไมไดมุงเนนเฉพาะ เรื่องความพอเพียงทางดานเศรษฐศาสตรเทานั้น หากแตรวมไปถึงวิถชี ีวิตที่สอดคลองสมดุลกับ สิ่งแวดลอม ที่มีความสัมพันธเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน แนวทางการออกแบบสิ่งแวดลอมที่เปนอยูใน ปจจุบัน มุงเนนที่จะใชประโยชนสูงสุดจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมแตเพียงอยางเดียว จนระบบนิเวศเสียสมดุลและเกิดปญหา การประยุกตแนวคิดทฤษฎีของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช จะ สามารถนําไปสูผลสําเร็จที่ยั่งยืนมากกวา ดวยการสรางสรรคสภาพแวดลอมที่เกิดประโยชนแกทกุ คน บนความสมดุลของระบบนิเวศ โดยคํานึงถึงการลดปริมาณการใชพลังงาน การลดผลกระทบที่มีตอ


4-14

สิ่งแวดลอม และการลดของเสียที่เกิดขึน้ ในทุกขั้นตอนของการออกแบบสรางสรรคสภาพแวดลอม ตั้งแตขั้นตอนการวางแผนงาน การปฏิบัติงาน ไปจนถึงการใชสิ่งแวดลอมที่ไดสรางขึ้นนั้น ในการประยุกตหลักการจากปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในทางปฏิบัติ ควรจะมีการ สรางความเขาใจใหแกทกุ ฝายที่เกีย่ วของ ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน ทําการดําเนินงานใหครอบคลุม ทุกระดับ ตั้งแตระดับชุมชน ไปจนถึงระดับประเทศ ทั้งนี้ผูบริหารระดับนโยบายจะเปนผูที่มีบทบาท สําคัญในการผลักดันใหเกิดกระบวนการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได โดยการสราง จิตสํานึกในชุมชน การสรางกลุมเรียนรูรว มกัน การกําหนดกฎและขอบังคับที่เหมาะสม และการ สงเสริมใหเกิดการปฏิบัติอยางจริงจัง การออกแบบสิ่งแวดลอมทีย่ ั่งยืนไมใชเปนของแปลกใหมยุงยากแตประการใดได มีความ พยายามทีจ่ ะทําเชนนี้แลว และสามารถที่ไดจริง เชน ในหลายเมืองในประเทศยุโรป เริ่มมีการสงเสริม การใชจักรยาน และการใชพลังงานแสงอาทิตยในชุมชน อยางไรก็ดกี ารสรางอุปนิสัยในการรักและ ดูแลสภาพแวดลอมของประชาชนเปนสิ่งสําคัญที่ตองเริ่มตั้งแตที่ระดับสังคมขนาดเล็ก เปนหนาที่ ของทุกคนที่มีสวนรวมในการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอมทีจ่ ะตองคํานึงถึงสิ่งแวดลอมในฐานะทีเ่ ปน สวนหนึ่งของระบบนิเวศโดยรวม ไมควรมองเฉพาะแตสิ่งที่ตนรับผิดชอบอยูเทานั้นดังที่เปนอยูใ น ปจจุบัน


4-15

บรรณานุกรม ๑. เกษม วัฒนชัย. ๒๕๔๘. เศรษฐกิจพอเพียง. ปาฐกถาพิเศษ. กรุงเทพฯ : ธนาคารแหงประเทศ ไทย. ๓๘ หนา. ๒. คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง. ๒๕๔๗. การประยุกตใชปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ. ๗๘ หนา. ๓. คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง. ๒๕๔๗. เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ. ๓๔ หนา. ๔. คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง. ๒๕๔๗. การสรางขบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ พอเพียง. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ. ๖๐ หนา. ๕. ตรึงใจ บูรณสมภพ. ๒๕๓๙. การออกแบบอาคารทีม่ ีประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงาน. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน). 186 หนา ๖. ภูมิพลอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั . ๒๕๑๗-๒๕๔๒. พระบรมราโชวาท พระราชทานแกคณะบุคคลตาง ๆ ที่เขาเฝาฯ ถวายชัยมงคลในโอกาสวันเฉลิมพระ ชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสติ . กรุงเทพฯ : อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง. ๗. Mackenzie, Dorotghy. ๑๙๙๑. Green Design For Environment. London: Laurence King Ltd.,. ๑๗๖ pp. ๘. Sahachaisaeree, Nopadon. Editor. ๒๐๐๖. Green Architecture: The Sustainable Built Environment in the Neew Millennium. Conference Proceedings. Bangkok: Amarin Printing and Public Company Ltd.,. ๑๗๔ pp.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.