การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมชุมชนที่น่าอยู่อาศัยและสถานที่พักผ่อนหย่อนใจในชุมชน

Page 1



มหาวิทยาลัยแมโจ สาขาวิชาภูมิสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบวางแผนสิ่งแวดลอม

เอกสารการสอนวิชา ภส 332 การออกแบบภูมิสถาปตยกรรม 2

การออกแบบภูมิสถาปตยกรรมชุมชนที่นาอยูอาศัย และสถานที่พักผอนหยอนใจในชุมชน (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ ๑)

จรัสพิมพ บุญญานันต


กิตติกรรมประกาศ เอกสารการสอนนี้ จะไม อ าจสํา เร็ จลุลวงได เลย ถา ขาดภาพประกอบที่ส วยงามและมี คุณภาพจํานวนมากจากทั่วโลก ที่ผูถายภาพหลายสิบคนไดบริจาคภาพ โดยการอัฟโหลดภาพเขา สูเว็บไซทสาธารณะ และมอบสิทธิบางสวนหรือทั้งหมดแกสาธารณะ ภายใตสัญญาอนุญาตครีเอ ทีฟคอมมอนส (Creative Commons: CC) ที่จะเอื้อใหมีการใชสื่อทั้งทางภาพ และขอมูล โดยการ แบงแยกสั ญญาอนุญาตยอ ยออกสําหรับการแจกจา ยและการใชขอมูลในหลายๆระดับ โดยการ อางอิงถึงเจาของลิขสิทธิ์เดิม ซึ่งเว็บไซทหลักๆที่ผูเขียนใชในการสืบคนขอมูลดังกลาวมี ๒ แหลง ใหญๆ คือ http://commons.wikimedia.org และ http://www.flickr.com ดวยเหตุนี้ผูเขียนจึง ขอขอบพระคุณเจาของภาพถายทุกทาน ที่ไดอางอิงชื่อไวแตละภาพนั้นแลวมา ณ ที่นี้ดวย จรัสพิมพ บุญญานันต พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔

Acknowledgement This Course Material will not be accomplished, if it lacks of many beautiful and high quality illustrations and images from around the world, donated from dozens photographers by uploading them to public Web sites and grant some or all copyright permissions to their creative works; under Creative Commons copyright licenses (CC),. This allows the images and data to be used within the boundaries of copyright laws and by reference to the original owners of the copyright. There were two main web sites used for the case study sources here. They were “http://commons.wikimedia.org” and “http://www.flickr.com”. For this reason, I would like to thank to the photos’ owners whose names are next to their images. Charaspim Boonyanant May, 2011


คํานํา เอกสารการสอนฉบับนี้ถูกพัฒนาเนื้อหาจากเดิมที่เคยเผยแพรทางเวบไซท E-Learning ประกอบการเรียนการสอนวิชา ภส ๓๓๒ การออกแบบภูมิสถาปตยกรรม ๒ ตามที่อยู URL: http://coursewares.mju.ac.th:81/e-learning47/section2/la332/index2.htm ซึ่ ง ผู เ ขี ย นได จัดทําขึ้นมาตั้งแต ป พ.ศ. ๒๕๔๗ ในการปรับปรุงครั้งนี้ ไดทําการเพิ่มเติมเนื้อหาและภาพประกอบ ใหมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น และมีสอดคลองกับคําอธิบายรายวิชา ที่มุงเนนการออกแบบวางผัง โครงการขนาดกลาง การออกแบบสถานที่พักผอนหยอนใจ ซึ่งรวมถึงสวนสาธารณะ สนามเด็ก เลนขนาดเล็กในชุมชนที่พักอาศัย โดยครอบคลุมถึงการวางผังอาคาร และระบบสัญจรภายใน โครงการ การจั ด สถานที่ ตา งๆภายในโครงการ ตามเป า หมายการเรี ยนรู ข องหลั กสู ตรภู มิ สถาป ตยกรรมศาสตรบั ณฑิ ต ของคณะสถาป ตยกรรมศาสตร แ ละการออกแบบสิ่ ง แวดลอ ม มหาวิทยาลัยแมโจ โดยการคนควาเพิ่มเติมจากเอกสารและตําราที่เกี่ยวของใหมีเนื้อหาครอบคลุม ใหมากยิ่งขึ้นและนํามาเรียบเรียงใหมเปนรูปเลมเอกสารใหเขาใจงายและเหมาะสมกับการเรียนการ สอนในชั้นเรียนใหมากที่สุด จรัสพิมพ บุญญานันต พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔


สารบัญ คํานํา สารบัญเรื่อง สารบัญรูปภาพ สารบัญตาราง บทที่ ๑ บทนํา ๑. ความหมายและวิวฒ ั นาการของชุมชนที่อยูอาศัย ๒ ประเภทและลักษณะของสถานทีพ่ ักผอนหยอนใจในชุมชน ๓ ความสําคัญและประเด็นปญหาในการวางผังและออกแบบชุมชนที่นา อยูอาศัยและสถานที่พักผอนหยอนใจในชุมชน ๔. แนวคิดพื้นฐานในการวางผังและออกแบบชุมชนทีน่ าอยูอาศัยและ สถานทีพ่ ักผอนหยอนใจในชุมชน บทที่ ๒ การวางผังและออกแบบภูมิทัศนชุมชนที่นาอยูอาศัย ๑. หลักการวางผังและออกแบบภูมิทศั นชมุ ชนที่นาอยูอาศัย ๒. สถาปตยกรรมในชุมชน ๓. ระบบการสัญจรในชุมชน ๔. การออกแบบเพื่อการประหยัดพลังงาน ๕. ระบบสาธารณูปโภค บทที่ ๓ การวางผัง และออกแบบสวนสาธารณะและสถานที่พักผ อนหยอ นใจใน ชุมชน ๑. การใชพื้นที่สาธารณะในชุมชน ๒. กระบวนการในการวางแผน และออกแบบสวนสาธารณะ และสถานที่พักผอนหยอนใจ ๓. องคประกอบของสวนสาธารณะ และสถานที่พักผอนหยอนใจที่ดี ๔. หลักในการวางผังและออกแบบสวนสาธารณะ และสถานที่พักผอน หยอนใจที่ดี

หนา ค ง ฉ ญ ๑ ๒ ๔ ๖ ๑๐ ๑๓ ๑๔ ๒๔ ๓๔ ๔๔ ๔๗ ๕๘ ๕๙ ๖๓ ๖๖ ๗๓


สารบัญ (ตอ) บทที่ ๔

การออกแบบสนามเด็กเลนในชุมชน ๑. ความสํ า คั ญ ของสภาพแวดล อ มและการเล น ต อ การเรี ย นรู แ ละ เจริญเติบโตของเด็ก ๒. องคประกอบพื้นฐานของการออกแบบสภาพแวดลอมเพื่อสงเสริมการ เรียนรูของเด็ก ๓. หลักการออกแบบสนามเด็กเลน บทสรุปและขอเสนอแนะ

บทที่ ๕ ภาคผนวก บรรณานุกรม ประวัติผูเขียน

หนา ๗๖ ๗๗ ๗๘ ๘๔ ๙๔ ๑๐๒ ๑๐๕ ๑๐๘


สารบัญภาพ ภาพที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓

๑๔ ๑๕ ๑๖

หนา สวนหมูบานหรือละแวกบาน ที่ Malmo Sweden ภาพถายพานอรามาของ Central Park, New York ซึง่ เปนสวนสาธารณะ ระดับมหานคร สวนหมูบานหรือละแวกบาน ที่ Hammarby sjostad โครงการหมูบานจัดสรร ใกลกับ Markham, Ontario. การขยายตัวของชุมชนชานเมืองที่เนนการใชรถยนตเปนหลัก กอใหเกิดปญหา สภาพแวดลอม พื้นทีส่ าธารณะ ในชุมชน Bedford, New York, NY, US ระบบสัญจรทางเลือกในเมืองโคเปนเฮเกน พื้นทีส่ าธารณะของชุมชน Adonea ซึ่งเปนชุมชนทีม่ ีการวางผังการใชทดี่ ิน แบบผสมผสาน (Mixed Use Planning). ทัศนียภาพที่สวยงามเมือ่ มองผานทะเลสาบ ของชุมชน Hampton Hargate ที่เมือง Peterborough City, UK. แผนผังแนวความคิดในการออกแบบโครงการ Casey Development แสดง โครงขายพืน้ ที่สีเขียว และโครงขายระบบสัญจรที่ชดั เจน แหลงน้ําธรรมชาติในชุมชนที่ Carinthia, Austria การวิเคราะหปจจัยตางๆเพื่อออกแบบวางผังโครงการ White Oak Recreation Center, White Oak, Maryland, US แนวความคิดในการออกแบบวางผังชุมชน hillside tiny house community แบบจัดกลุม (Cluster Development) เพื่ออนุรักษพนื้ ที่ธรรมชาติโดยรอบ ออกแบบโดย arimoore การเลือกใชพรรณไมพนื้ ถิ่นทีด่ ูแลรักษางาย บริเวณพื้นที่ทางเดินริมน้ําใน ชุมชน Hammarby, sjostad ,Stockholm สวนเกษตรภายในชุมชน Danny Woo International District Community Gardens, International District, Seattle, Washington. การวางผังและออกแบบชุมชน Rosewood, Saskatoon, Saskatchewan, Canada มีการผสมผสานการใชทดี่ ินที่หลากหลายในชุมชน และมีการจัดใหมี โครงขายพืน้ ที่สีเขียวอยางทั่วถึง

๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๒ ๑๒ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๒๐

๒๒ ๒๓ ๒๕


สารบัญภาพ (ตอ) ภาพที่ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒

หนา การสรางหุนจําลอง (Concept Model) แสดงแนวความคิดในการออกแบบ วางผังอาคารใหไดรบั พลังงานจากแสดอาทิตยอยางเต็มที่ การอนุรักษน้ําโดยการสรางพื้นที่ชุมน้ํา (wetland) ในโครงการ E.V.A. Lanxmeer district, Culemborg, The Netherlands. รูปแบบและทิศทางของลมพัดผานหนาตางประเภทตางๆ การวางตําแหนงหนาตางใหมีการไหลเวียนของลมอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อ ชวยใหเกิดชองทางการไหลของลมผานอาคาร รูปแบบของหลังคาที่ถูกออกแบบเพือ่ ตอบสนองตอสภาพภูมิอากาศและ สภาพแวดลอมของภูมิภาคนัน้ ๆ การปรับปรุงอาคารสถานีรถไฟเกา Union Station ใหเปน โรงแรม grande dame ที่ Nashville, TN. USA. บานดิน kachcha house เปนบานพื้นถิ่นของชาวอินเดีย ที่สรางจากวัสดุ จากธรรมชาติ เชน ดินเหนียว หญา ไมไผ กิง่ ไม เปนตน ภาพถายทางอากาศ โครงการอสังหาริมทรัพย Victoria Gardens in Rancho Cucamonga, California เนนพืน้ ที่คอนกรีตเปนหลัก การออกแบบชุมชน Candelas, Arvada แสดงการแบงพืน้ ที่การใชที่ดินแบบ ผสมผสาน แสดงสภาพแวดลอมของถนนในชุมชน Gillenfeld, Germany. ซึ่งมีลักษณะที่ เปนมิตรตอคนเดินเทา โครงขายถนนแบบตารางกริด (Grid Street) ของชุมชน Chalmette, Louisiana, U.S.A. โครงขายถนนแบบวงลูป (Loop Street) ของชุมชนจัดสรร ริมแมน้ํา Strule, UK. โครงขายถนนแบบปลายตัน (Cul-de-sacs streets) ของชุมชนจัดสรรที่ , Cincinnati,Ohio, U.S.A. การออกแบบพืน้ ที่ทางเดินสีเขียว ของชุมชนจัดสรรริมถนนDorset Avenue, Saffron Hill, ใกลเมือง Wigston, Leicester, UK. การจัดใหมีที่จอดรถริมถนน Groningerstraat ใน Assen, Cambridge, UK. การออกแบบทางเทาทีร่ มรื่นและสวยงามจะชวยสงเสริมการเดินเทา

๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑


สารบัญภาพ (ตอ) ภาพที่ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗ ๔๘

๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๒

หนา ระบบรถรางเปนระบบขนสงมวลชนทางเลือกทีน่ าสนในในเมืองซานฟรานซิส โก การจัดพืน้ ที่สําหรับคนขับจักรยานในเมือง Edinburgh, UK. เสนทางจักรยานที่ไดรบั การออกแบบโดยเฉพาะใหแยกออกจากระบบถนน การจัดใหมีที่จอดรถจักรยานในพืน้ ที่สาธารณะ ที่ Cambridge, UK. การออกแบบเสนทางรถจักรยานรวมกับเสนทางเดินเทา ที่ Cambridge, UK. รูปดานและทัศนียภาพ แสดงแนวความคิดในการออกแบบวางผังชุมชนที่พัก อาศัยใหไดรบั พลังงานจากแสงอาทิตยและพลังงานลมธรรมชาติอยางเต็มที่ ทะเลสาบของโครงการหมูบาน watercolour, UK. ซึ่งพัฒนามาจากเหมืองหิน ทรายเกา Well Creek, Goodman's Crossing, Wisbech, UK. สระกักเก็บและระบายน้ําฝน ของชุมชน Whitetree Close, UK. สวนน้ําฝน (Rain Garden) ที่ชุมชนVastra Hamnen, Malmo, Sweden อางเก็บน้ําใตดินแบบปด ของชุมชนขนาด ๖๐ หลังคาเรือน ที่ Brighton, UK. เจาหนาที่กําลังเปลี่ยนเสาไฟฟาสองสวางบนถนน Medway Road, Rochester, UK. เพื่อเปนรูปแบบเสาไฟฟาที่ทนั สมัยขึน้ กวาเดิม สนามเด็กเลนสําหรับเด็กกอนวัยเรียน ภายในสวนสาธารณะประจําเมือง Magna, Utah, U.S.A. สนามเด็กเลนทั่วไป ภายใน Chelsea Waterside Park, Chelsea, NYC. U.S.A. สวนสาธารณะ Sophia Park เปนสวนหนึง่ ของโครงการ Villebois, Wilsonville, Oregon, U.S.A. เทศกาล Mediaeval May-hem ถูกจัดขึ้นเปนประจําในชวงตนเดือน พฤษภาคม ใน สวนสาธารณะ Priory Park ,Hornsey, London Borough of Haringey. สวน Sunken Garden ถูกออกแบบใหสามารถรองรับกิจกรรมที่หลากหลาย เพื่อสนองตอบความตองการของผูใชพนื้ ที่ ลานเสก็ตในสวนสาธารณะ Corona Park, Queens ,New York. เวทีกลางแจงในสวนสาธารณะ Park zdrojowy, Poland. ปายแสดงแผนผังสวนสาธารณะ Central park, New York, U.S.A.

๔๒ ๔๒ ๔๓ ๔๓ ๔๓ ๔๗ ๔๘ ๔๙ ๔๙ ๕๐ ๕๒ ๕๖ ๖๐ ๖๐ ๖๒ ๖๓

๖๗ ๖๘ ๖๘ ๖๙


สารบัญภาพ (ตอ) ภาพที่ ๕๓ ๕๔ ๕๕ ๕๖ ๕๗ ๕๘ ๕๙ ๖๐ ๖๑ ๖๒ ๖๓ ๖๔ ๖๕ ๖๖ ๖๗ ๖๘

หนา การออกแบบจุดติดตั้งน้ําดืม่ สาธารณะภายในสวนสาธารณะเพื่อบริการ ประชาชน การจัดพืน้ ที่นงั่ พักผอนหยอนใจภายในสวนสาธารณะ บริเวณดานหนาทางเขาสวนสาธารณะควรไดรับการออกแบบใหมองเห็นงาย และเขาถึงไดสะดวก ลาน Bethesda Terrace ในสวนสาธารณะ Central Park, New York, U.S.A. เปนสถานที่ทผี่ ูคนนิยมมานั่งพบปะสังสรรคกนั การพาสุนัขมาเดินเลน นับเปนกิจกรรมทางสังคมที่เปนทีน่ ิยมใน สวนสาธารณะ การออกแบบเครื่องเลนใหเหมาะสมกับสัดสวนของรางกายเปนปจจัยสําคัญที่ มีผลตอการเลนและการเรียนรูของเด็ก เครื่องเลนโลชิงชา เพื่อกิจกรรมการเลนแบบ Active เครื่องเลนที่ใหความรูสึกทาทายและผจญภัย กิจกรรมปลูกตนไม ชวยสงเสริมการเรียนรูของเด็กจากธรรมชาติรอบตัว (สนามเด็กเลน Goose Green Playground, East Dulwich, London.) น้ําพุในสวนสําหรับเด็ก ชวยสรางสภาพแวดลอมที่นาสนใจ และเปนจุดหมาย ตาได สวนสําหรับเด็ก Goose Green Playground น้ําพุสําหรับดื่มที่ Adams Square Mini Park, Califonia, U.S.A. อางน้ําพุ อันเล็กดานลางถูกออกแบบมาสําหรับสุนัข โครงสรางสําหรับการปนปายภายในสนามเด็กเลน การออกแบบแนวเขตกั้นเครื่องเลนประเภทเคลื่อนไหว เพือ่ ปองกันอุบัติเหตุ (สนามเด็กเลน Goose Green Playground, East Dulwich, London.) พื้นทีส่ นามเด็กเลนสําหรับเด็กเล็ก เครื่องเลนชิงชาสําหรับเด็กทารก

๖๙ ๗๐ ๗๐ ๗๑ ๗๑ ๗๙ ๘๐ ๘๑ ๘๒ ๘๓ ๘๖ ๘๙ ๘๙ ๙๑ ๙๓ ๙๓


สารบัญตาราง ตารางที่

หนา

๑ ๒

๓ ๕๕

๔ ๕ ๖ ๗

การเปรียบเทียบระหวางลักษณะของชุมชนเมืองกับชุมชนชนบท ความตองการแสงสวางสําหรับไฟถนน (ถนนสายหลัก ถนนสายรอง ทาง แยก วงเวียนที่ไมมีสญ ั ญานไฟ) ความตองการแสงสวางสําหรับพื้นทีส่ าธารณะ (สวนสาธารณะ ตลาด สนามเด็กเลน ลานจอดรถสาธารณะ ลานกีฬาชุมชน สะพาน สะพานลอย คนขาม ทางเดินเทา ทางมาลาย ศาลาทีพ่ ักผูโดยสารรถประจําทาง ปาย จอดรถประจําทาง (ไมมศี าลา) ระยะหางความปลอดภัยระหวางจุดติดตัง้ ดวงโคมจากขอบถนน ที่สัมพันธกับ ความเร็วของยานพาหนะ แสดงมาตรฐานเนื้อทีพ่ ักผอนหยอนใจตอประชากรสําหรับประเทศไทย โดย หนวยงานตางๆ ตัวชึ้วดั สิ่งอํานวยความสะดวกในสถานทีพ่ ักผอนหยอนใจขัน้ พืน้ ฐาน ขนาดพื้นที่สนามเด็กเลนตอบานพักอาศัย ๑ ครอบครัว

๕๕

๕๗ ๖๑ ๗๒ ๘๗


บ ท ที่

บทนํา  ความหมายและวิวัฒนาการของชุมชนที่อยูอาศัย  ประเภทและลักษณะของสถานที่พักผอนหยอนใจในชุมชน  ความสําคัญและประเด็นปญหาในการวางผังและออกแบบชุมชนที่ นาอยูอาศัยและสถานที่พักผอนหยอนใจในชุมชน  แนวคิดพื้นฐานในการวางผังและออกแบบชุมชนที่นาอยูอาศัยและ สถานที่พักผอนหยอนใจในชุมชน


º·¹íÒ

๑. ความหมายและวิวัฒนาการของชุมชนทีอ่ ยูอ าศัย ความหมายของ “ชุมชน (Community)” ตามคําจํากัดความของสํานักนโยบายและแผน สิ่งแวดลอม (๒๕๔๗) หมายถึง “ถิ่นฐานที่อยูของกลุมคนที่มีพื้นที่อางอิงได และกลุมคนนี้มีการ อาศั ยร วมกัน มี ก ารทํา กิจ กรรม เรี ย นรู ติด ตอ สื่ อ สาร ร ว มมื อ และพึ่ ง พาอาศั ย กัน มี วัฒนธรรมและภูมิปญญาประจําถิ่น มีจิตวิญญาณและความผูกพันอยูกับพื้นที่แหงนั้น อยูภายใต การปกครองเดียวกัน ในที่นี้จะใชเขตการปกครองทองถิ่นเปนตัวกําหนดขอบเขตของชุมชนหนึ่งๆ” ชุมชนเปนหนวยพื้นฐานของสังคมมนุษยมาตั้งแตดึกดําบรรพ จากหลักฐานประวัตศิ าสตร โบราณคดี มีการขุดคนพบโครงกระดูกและขาวของเครื่องใชของกลุมคนที่อยูรวมกันเปนชุมชนใน สมัยกอนประวัติศาสตรในประเทศไทย เชน ชุมชนบานเชียง เปนตน การที่มนุษยตองอาศัยอยู รวมกันเปนกลุมชุมชนนั้น ก็เพื่อประโยชนในการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ตลอดจนการแบงปน ทรัพยากรที่จําเปนสําหรับการดํารงชีวิตระหวางกัน ชุมชนไทยในอดี ต สวนใหญเป นชุม ชนขนาดเล็กที่เปน เครื อญาติที่ชวยเหลือเกื้อกูลกัน และมีไมตรีอันดีตอกัน แตละชุมชนจะมีวิธีการผลิตที่เปนไปเพื่อการพึ่งตนเอง และเอื้ออาทรตอ ธรรมชาติ มีศิลปวัฒนธรรมพื้นบานที่มีเอกลักษณแฝงไปดวยภูมิปญญาทองถิ่น แตละชุมชนจะ เกิดขึ้นอยางคอยเปนคอยไป ในพื้นที่ที่มีลักษณะสภาพทางภูมิศาสตรที่เหมาะสมกับการตั้งหลัก แหลงที่อยูอาศัย เชน บริเวณพื้นที่ที่มีแมน้ํา ลําธาร ไหลผาน มีผืนดินอุดมสมบูรณ และมี ลักษณะสภาพภูมิอากาศดี เปนตน การเปลี่ยนแปลงลักษณะของชุมชนในประเทศไทยเกิดขึ้นอยางชัดเจนในสมัยสงครามโลก ครั้งที่ ๒ ในสมัยของรัฐบาลนําโดย จอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่งเปนชวงที่มีการฟนฟูบูรณะ ประเทศที่ไดรับความเสียหายจากสงครามในทุกๆดาน ทั้งทางดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม อุตสาหกรรม และพานิชยกรรม การพัฒนาประเทศอยางรวดเร็ว ประกอบกับการขยายตัวเพิ่ม มากขึ้นของประชากรในเขตเมือง อันเนื่องมาจากการอพยพเขามาหางานทําของประชากรจาก พื้นที่ชนบท และจากการตั้งถิ่นฐานครอบครัวที่เพิ่มขึ้น ทําใหเกิดปญหาการขาดแคลนที่อยูอาศัย ในพื้น ที่เมื อง ดัง นั้น ในป พ.ศ. ๒๔๘๓ ทางรั ฐบาลจึง ไดจัด ตั้งกองเคหะสถาน สังกัดกรม ประชาสงเคราะหขึ้น และอีก ๑๐ ปตอมาไดถูกปรับเปลี่ยนเปนสํานักงานอาคารสงเคราะห ในป พ.ศ. ๒๔๙๓ นับเปนการเริ่มตนการใหบริการจัดหาอาคารที่พักอาศัยประเภทใหเชาแกประชาชนใน เขตพระนครและปริมณฑล กอนจะแพรขยายออกไปยังจังหวัดอื่นในภายหลัง (ฝายวิชาการและ ขอมูลที่อยูอาศัย ธ.อ.ส.: ๒๕๔๔) ธุรกิจการธนาคารเพื่อประโยชนในกิจการที่อยูอาศัย และการใหเชาซื้อที่ดินและอาคารแก ประชาชนเริ่มขยายตัวอยางตอเนื่อง นับตั้งแตรัฐบาลไดจัดตั้งธนาคารอาคารสงเคราะห (ธ.อ.ส.) ในป พ.ศ. ๒๔๙๖ และตอมาไดจัดตั้งการเคหะแหงชาติ (ก.ค.ช.) ในป พ.ศ. ๒๕๑๖ ในสมัย ของรั ฐ บาลจอมพลถนอม กิ ตติขจร ทั้ง สองหน วยงานมี บ ทบาทที่สํ า คั ญ อยา งยิ่ง ในการ


º·¹íÒ

กอใหเกิดการจัดสรรที่ดิน๑ และกอสรางที่อยูอาศัยใหแกประชาชน นับเปนการเริ่มตนยุคทองของ หมูบานจัดสรรในประเทศไทย ซึ่งเปลี่ยนแปลงรูปแบบการอยูอาศัยของชุมชนเมืองและชุมชนชาน เมือง ใหแตกตางไปจากชุมชนดั้งเดิมที่ยังคงหลงเหลืออยูในพื้นที่ชนบทอยางสิ้นเชิง ชุมชนเมืองกลายเปนที่อยูอาศัยของประชากรจํานวนมาก มีความหนาแนนสูง ประชากร เหลานี้มีความหลากหลายในดานการประกอบอาชีพ มีวิธีคิดแบบตรรกะนิยม (Rationalism) มี รู ป แบบความสั ม พั น ธ ต อ กั น แบบเป น ทางการ สภาพแวดลอ มทางธรรมชาติ ข องถิ่ น ที่ อ ยู เปลี่ยนแปลงไปมากอยางรวดเร็ว ในขณะที่ชุมชนชนบทมีประชากรอยูอาศัยจํานวนนอยกวา มี ความหนาแนนของประชากรต่ํากวาของชุมชนเมือง มีลักษณะของการประกอบอาชีพเกษตรกรรม คลายคลึงกัน มีวิธีคิ ดแบบธรรมเนียมนิยม (Traditionalism) มีรูปแบบความสัมพัน ธตอกัน แบบเปนกันเอง สภาพแวดลอมทางธรรมชาติของถิ่นที่อยูยังคงเดิม ไมเปลี่ยนแปลงมากนัก โดย ที่การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น ชาๆอยางค อยเปนค อยไป (สํา นักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม: ๒๕๔๗) ตารางที่ ๑ การเปรียบเทียบระหวางลักษณะของชุมชนเมืองกับชุมชนชนบท หัวขอเปรียบเทียบ ๑. จํานวนประชากร ๒. ความหนาแนนของประชากร ๓. รูปแบบในการคิด ๔. รูปแบบความสัม พันธ ระหวางคน ในชุมชน ๕. การประกอบอาชีพ ๖. การเปลี่ยนแปลงของ สภาพแวดลอมของถิน่ ที่อยู

ชุมชนเมือง มาก หนาแนนมาก ตรรกนิยม แบบเปนทางการ

ชุมชนชนบท นอย เบาบาง ธรรมเนียมนิยม แบบเปนกันเอง

หลากหลายอาชีพ คลายคลึงกัน(เกษตรกรรม) เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ม า ก อ ย า ง เปลี่ยนแปลงไมมากนักอยาง รวดเร็ว ชาๆ

ถึง แม วาชุม ชนเมือ งและชุม ชนชนบท จะมีลักษณะที่แ ตกตางกัน อยางเห็ น ไดชัด แต ประชากรของชุมชนทั้งสองรูปแบบตางก็มีความมุงหวังใหชุมชนของตนเปนชุมชนที่นาอยูอาศัย นั่นหมายถึงชุมชนที่มีสภาพแวดลอมที่ดี ปราศจากมลภาวะแวดลอม มีการสัญจรที่สะดวกสบาย มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ประชากรในชุมชนมีความเอื้ออาทรตอ กัน เปนชุมชนที่มีความเขมแข็งและมั่นคงทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และเอกลักษณ ของภูมิ ปญ ญาทองถิ่น การที่จะสรา งสรรค ให เกิด ชุม ชนที่นา อยูอ าศัยได นั้ น จะตอ งคํ า นึง ถึง

“การจัดสรรทีด่ ิน” ตามประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ ๒๘๖ เรื่องการควบคุมการจัดสรรทีด่ ิน หมายความถึงการจัด จําหนายทีด่ ินติดตอกันเปนแปลงยอย มีจํานวนตั้งแต ๑๐ แปลงขึ้นไปไมวาโดยวิธีใด โดยไดรับทรัพยสิน หรือประโยชน ไมวาทางตรงหรือทางออมเปนคาตอบแทน และมีการใหคํามั่น หรือการแสดงออกโดยปริยายวาจะจัดใหมีสาธารณูปโภค หรือบริการสาธารณะ หรือปรับปรุงทีด่ ินนั้นเปนที่อยูอาศัย ที่ประกอบการพาณิชย และทีป่ ระกอบการอุตสาหกรรม


º·¹íÒ

สิ่งแวดลอมชุมชน๒ ๔ ดาน ที่มีอิทธิพลตอความเปนอยูของคนในชุมชนดังตอไปนี้ (สํานักงาน นโยบายและแผนสิ่งแวดลอม: ๒๕๔๗) “๑.๑ ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทางกายภาพ เชน แหลงน้ําธรรมชาติ ปา ดิน อากาศ แหลงพลังงาน มลพิษ ภาวะน้ําทวม เปนตน ๑.๒ ดานเศรษฐกิจ หมายรวมถึงการจัดการทรัพยากร การทํามาหากิน การประกอบ อาชีพของประชาชน การมีงานทํา การมีรายได การกระจายรายได ภาวะหนี้สินและรายได เปน ตน ๑.๓ ดา นสังคมและศิลปวัฒนธรรม หมายรวมถึง การอยูอาศัย สาธารณูปโภคและ สาธารณูปการ การศึกษา การสาธารณสุขชุมชน สุขภาพอนามัย ความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพยสิน การติดตอสื่อสารคมนาคมทั้งภายในและภายนอกชุมชน วัฒนธรรม ศิลปกรรม ภูมิ ปญญาทองถิ่น และความรูสึกเปนชุมชนรวมกัน เปนตน ๑.๔ ด า นการบริ ห ารจั ด การสาธารณะและการมี ส วนร ว มของประชาชน คื อ การที่ ประชาชนในชุมชนมีสวนรวมในการบริหารจัดการชุมชน มีความโปรงใส (Transparency) มี ประสิทธิภาพ (Efficiency) และตรวจสอบได (Accountability) ภูมิสถาปนิกเป นกลุมบุคคลกลุมหนึ่งที่ไดเขา ไปมีบทบาทสํา คัญ ในการสรางสรรคและ ปรั บ ปรุ ง สิ่ ง แวดลอ มชุม ชนทางด า นทรั พ ยากรธรรมชาติแ ละสิ่ ง แวดลอ มทางกายภาพ และ ทางดานศิลปวัฒนธรรม จึงนับวาเปนงานที่ละเอียดซับซอน ที่จะสําเร็จและเกิดผลที่ยั่งยืนได ก็ ดวยความรวมมือตลอดจนแรงสนับสนุนทั้งจากประชาชนในพื้นที่ และจากหนวยงานรวมไปถึง องคกรตางๆที่เกี่ยวของ

๒. ลักษณะและประเภทของสถานที่พักผอนหยอนใจในชุมชน ดังที่ไดกลาวมาแลววา เมื่อมนุษยมารวมกันอยูเปนชุมชน ยอมมีการทํากิจกรรมเรียนรู ติ ด ต อ สื่ อ สาร ร ว มมื อ และพึ่ ง พาอาศั ย กั น นอกจากนั้ น ยั ง มี ค วามปรารถนาที่ จ ะอยู ใ น สภาพแวดลอมที่ดี ดังนั้นในการวางผังและออกแบบภูมิทัศนชุมชน นอกจากจะตองคํานึงถึงการ จัดวางพื้นที่อยูอาศัยอยางเหมาะสมแลว ยังตองจัดใหมีพื้นที่สําหรับใชประโยชนและทํากิจกรรม รวมกันของชุมชน ตลอดจนพื้นที่ที่เอื้อตอการพักผอนหยอนใจและการนันทนาการ อีกทั้งชวย รักษาสมดุลของสภาพแวดลอมทางธรรมชาติในชุมชนไดอีกดวย ในชุมชนชนบทหรือชุมชนในอดีตของไทย ที่ยังคงมีวิถีชีวิตที่เรียบงายนั้น ประชาชนใน ชุมชนนิยมใชพื้นที่ธรรมชาติในทองถิ่น เพื่อเปนสถานที่พักผอนหยอนใจ เชน พื้นที่ริมแมน้ํา ลํา คลอง ทอ งทุงนา ป า เขา เปน ตน นอกจากนี้ ยัง นิยมใชศ าสนสถานประจํ าชุมชน เชน วัด โบสถ หรือมัสยิด เปนสถานที่สําหรับการทํากิจกรรมของชุมชนรวมกัน แตสําหรับสังคมเมืองใน ปจจุบัน ซึ่งพื้นที่ธรรมชาติถูกทําลายและเปลี่ยนแปลงไปมาก ผูคนอาศัยอยูกันอยางหนาแนน ๒

สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม (๒๕๔๗) ไดใหคําจํากัดความของคําวา “สิ่งแวดลอมชุมชน” หมายถึงสรรพสิ่ง และสภาพตางๆ (ทั้งทีม่ ีชีวิตและไมมีชีวิต จับตองไดและจับตองไมได) ที่มีอิทธิพลตอการอยูด ีมสี ุขของประชาชนในชุมชน


º·¹íÒ

พื้นที่ศาสนสถานประจําชุมชนไมเพียงพอสําหรับรองรับการทํากิจกรรมของคนจํานวนมาก ที่มี รูปแบบของกิจกรรมที่หลากหลาย ดวยเหตุนี้จึงกอใหเกิดรูปแบบใหมของสถานที่พักผอนหยอนใจ ของคนในชุม ชน นั่ น ก็คื อ สวนสาธารณะระดั บ ชุม ชนนั่ น เอง อาชัญ ญา รั ตนอุ บ ลและคณะ (๒๕๔๘) ไดใ ห คํา จํ ากัด ความของ ”สวนสาธารณะ” ไวหมายถึง “สถานที่ที่ส ร างขึ้นโดยมี วัตถุประสงคเพื่อใหเปนที่พักผอนหยอนใจสําหรับประชาชนทั่วไป และเปนที่ประกอบกิจกรรมตางๆ เชน การเดิ นเลน การออกกําลังกาย โดยมี การจัด แตงบริ เวณไวอยางสวยงาม พรอ มทั้งสิ่ ง อํานวยความสะดวกไวคอยบริการแกประชาชน” เราสามารถจําแนกประเภทของสวนสาธารณะ และพื้นที่พักผอนหยอนใจในชุมชนไดดังนี้ (กองสวนสาธารณะ: ๒๕๔๓) ๒.๑ สวนหยอ มขนาดเล็กยานชุม ชน มี ขนาดพื้ นที่ไม เกิน ๒ ไร รัศ มีการใหบ ริการ ประมาณ ๑ กิโลเมตร ใหบริการในระยะเดินเขาถึงใชเวลา ๕-๑๐ นาที อาจอยูในระหวางอาคาร ใชเปนสนามเด็กเลน สถานที่ออกกําลังกาย และพบปะสังสรรคของประชาชนทุกวัย ๒.๒ สวนหมูบานหรือสวนละแวกบาน มีขนาดพื้นที่ ๒-๒๕ ไร รัศมีใหบริการในวงรอบ ประมาณ ๑-๓ กิโลเมตร เปนสวนสําหรับผูอาศัยในละแวกนั้น มีสิ่งอํานวยความสะดวกมากกวา สวนระดับที่ ๑ ๒.๓ สวนชุมชน มีขนาดพื้นที่ไมเกิน ๒๕-๑๒๕ ไร รัศมีใหบริการในวงรอบประมาณ ๓๘ กิโลเมตร มีสิ่งอํานวยความสะดวกเพิ่มขึ้นมากกวาสวนในระดับที่ ๑ และ ๒ มีที่เลนกีฬา พื้นที่พักผอนชมธรรมชาติสวยงาม ๒.๔ สวนริมเสนทางสัญจร มีค วามกวางของพื้นที่กวา ๓ เมตร ไมจํากัดความยาว ปลูกตนไมส องขา งทาง เวนตรงกลางไวเป นทางเดิน ได แก พื้น ที่แ นวถนน เกาะกลางถนน ทางเดิน แนวถอยรนริมแมน้ําลําคลองและริมทางรถไฟ ๒.๔ สวนเฉพาะทางหรือสวนเอนกประสงค มีพื้นที่ไมจํากัด เชน สวนประวัติศาสตร สวนวัฒนธรรม สนามกีฬา เปนตน

ภาพที่ ๑ สวนหมูบานหรือ ละแวกบาน ที่ Malmo Sweden ที่มา: La Citta Vita. ๒๕๕๓. “Malmo, public space”. [ระบบ ออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/pho tos/la-cittavita/4749170783/ (๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔).


º·¹íÒ

ยังมีสวนสาธารณะอีก ๒ ประเภท ที่แสดงรายละเอียดไว โดยสํานักงานสวัสดิการสังคม กรุงเทพมหานคร (๒๕๔๓) นั่นคือสวนสาธารณะขนาดกลางหรือสวนสาธารณะระดับเขต มีขนาด พื้นที่ไมเกิน ๑๒๕-๕๐๐ ไร รัศมีใหบริการในวงรอบมากกวา ๘ กิโลเมตร และสวนสาธารณะ ขนาดใหญหรือสวนสาธารณะระดับเมือง ซึ่งมีขนาดพื้นที่มากกวา ๕๐๐ ไร รัศมีใหบริการวงรอบ แกคนทั้งเมื องและพื้น ที่ใกลเคียงในเขตอิทธิพลของเมื อง แตส วนสาธารณะทั้ง ๒ ประเภทนี้ ไมไดอยูในขอบขายของสวนสาธารณะระดับชุมชน เนื่องจากมีขนาดใหญและมีรัศมีการใหบริการ กวางเกินกวาระดับชุมชนมาก จึงไมนํามาเสนอในที่นี้

ภาพที่ ๒ ภาพถายพานอรามาของ Central Park, New York ซึ่งเปนสวนสาธารณะระดับมหานคร ทีม่ า: Martin St-Amant. ๒๕๕๑. “File:26 - New York - Octobre 2008.jpg”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://en.wikipedia.org/wiki/File:26_-_New_York_-_Octobre_2008.jpg (๒๕ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔).

๓. ความสําคัญและประเด็นปญหาในการวางผังและออกแบบภูมิทัศนชุมชนที่ นาอยูอาศัย และสถานที่พักผอนหยอนใจในชุมชน

๓.๑ ความสําคัญของการออกแบบวางผังชุมชนที่นาอยูอาศัย การออกแบบวางผังชุมชนที่นาอยูอาศัย เปนทางเลือกของภูมิสถาปนิก และนักวาง ผังชุมชน ในการออกแบบวางผังชุมชนที่คํานึงถึงสภาพแวดลอม เปนมิตรกับประชาชนในชุมชน มี จริยธรรมและศีลธรรมในการออกแบบการออกแบบชุมชนที่นาอยูอาศัยนั้น จะเปนไปไมไดเลย ถา ไมสามารถพิสูจนใหเห็นไดวา เปนทางเลือกที่ประหยัดและคุมคา โดยการชวยประหยัดพลังงาน น้ํา และคาใชจายเพื่อสุขภาพ อีกทั้งลดปริมาณขยะ และของเสีย โดยการใชเทคโนโลยีอยางสอดคลอง กับกระบวนการทางธรรมชาติ ซึ่งมีความประหยัดกวาการใชเทคโนโลยีเพื่อเอาชนะธรรมชาติ บอยครั้งที่สังคมใชเศรษฐกิจ เปนเครื่องชี้นําการตัดสินในเรื่องสําคัญตางๆ ซึง่ นิยม การวัดผลกําไรในแตละชวงของรอบป ผลที่ตามมาคือ การคิดแกปญหาในระยะสั้น ที่แสวงหาผล กําไรอยางรวดเร็ว โดยใชทรัพยากรธรรมชาติอยางสิ้นเปลือง ซึ่งตรงกันขามกับการออกแบบวาง ผังชุมชนที่นาอยูอาศัย ที่คํานึงถึงสภาพแวดลอม ซึ่งจะใหผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ ที่มากกวาใน ๖


º·¹íÒ

ระยะยาวอยางเห็นไดชัด ยกตัวอยางเชน ในวงการภูมิสถาปตยกรรม การตัดสินใจในการออกแบบ มั กขึ้น อยูกับ งบประมาณค า ใชจา ยที่มี หากต อ งการออกแบบภูมิ ส ถาป ตยกรรม ที่คํ า นึ ง ถึ ง สภาพแวดลอม จะตองเพิ่มคาใชจายสูงขึ้นเล็กนอย ผลที่เกิดขึ้นจากการประหยัดพลังงาน ตลอด ชวงระยะเวลาการใชงานโครงการ คาใชจายที่สูงขึ้นนั้น กลับกลายเปนการประหยัดอยางยิ่ง นี่ยังไม นับรวมไปถึง การประหยัดที่เกิดจาก ผลผลิตของแรงงานที่ปฏิบัติงานในโครงการ ที่มีคาสูงขึ้น จากการทํางานในสถานที่ที่มีสิ่งแวดลอมที่ดี นอกจากนี้ สภาพแวดลอมที่ดีตอสุขภาพ ชวยลด คาใชจายดานสุขภาพของชุมชน เชน การมีสวนสาธารณะและพื้นที่สีเขียวในเขตชุมชน ชวยรักษา คุณภาพของอากาศในชุมชน อันเปนปจจัยสําคัญตอสุขภาพของสมาชิกในชุมชน การขาดแคลน พื้นที่สีเขียว สงผลใหประชากรมีสุขภาพแยลง ลดผลผลิตแรงงานที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ ลดผลผลิต ของแรงงาน ลดระยะเวลาการทํางานที่มีประสิทธิภาพ และเพิ่มคาใชจายในการรักษาสุขภาพของ ประชากร การออกแบบชุมชนที่มีสิ่งแวดลอมที่ดี เปนกลยุทธที่จะแกปญหาเหลานี้ได

ภาพที่ ๓ สวนหมูบานหรือละแวกบาน ที่ Hammarby sjostad ที่มา: La Citta Vita. ๒๕๕๓. “Housing + landscaping”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/lacitta-vita/4758845572/in/photostream/ (๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔).


º·¹íÒ

ความสําคัญของการพัฒนาชุมชนที่นาอยูอาศัย โดยคํานึงถึงสภาพแวดลอม อีกขอหนึ่งคือ ชวยเพิ่มมูลคาของที่ดิน มากกวาการพัฒนาในรูปแบบดั้งเดิม เนื่องจากมีสภาพแวดลอมที่ดีกวา ขอไดเปรียบในทางดานเศรษฐศาสตรนี้ มีความสําคัญ เนื่องจากชวยใหการพัฒนาชุมชนที่นาอยู อาศัย โดยคํานึงถึงสภาพแวดลอม สามารถเปนทางเลือกสําหรับการออกแบบชุมชน ในสังคมที่ให คุณค า เรื่ อ งการเงิน เป นสํ า คั ญ อยา งไรก็ดี ยัง มี เหตุ ผ ลสํา คั ญ ในระดับ ที่สู งขึ้น นั่น คื อ มัน ไม ได เกี่ยวของกับผลประโยชนทางดานเศรษฐศาสตรและการเงินแตเพียงอยางเดียว แตเกี่ยวของกับ คุณภาพชีวิต ซึ่งสงผลโดยตรงกับการอยูรอดของเผาพันธุมนุษยอีกดวย การวางผังชุมชนสวนใหญ ในปจจุบัน ทําใหเกิดความเสื่อมโทรมของโลก ในฐานภูมิสถาปนิก ผูออกแบบสรางสรรค ชุมชนที่ นาอยูอาศัย ยอมมีหนาที่รับผิดชอบ ที่จะนําพาสังคม ไปสูวิถีชีวิต และสภาพแวดลอมที่ดีขึ้น

๓.๒ ประเด็นปญหาของการออกแบบวางผังชุมชนที่นาอยูอาศัย ปญหาสภาพแวดลอมที่ไมเหมาะสม ภายในชุมชนพั กอาศัยในปจจุบัน นับ วาเป น ปญหาใหญที่ตองเรงแกไข การขยายตัวของเมือง ทําใหเกิดการกระจายตัวของชุมชนพักอาศั ย ออกสูพื้นที่ชานเมือง เกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม ซึ่งแตเดิมเปนพื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่ธรรมชาติ แรงกดดันทางเศรษฐกิจ ทําใหการพัฒนาอสังหาริมทรัพยเปนไปอยางเรงรีบ และสวนใหญมุงผลกําไรสูงสุด โดยมิไดคํานึงถึงสภาพแวดลอม เกิดโครงการหมูบานจัดสรร ที่มี ลักษณะที่คลายคลึงกันเปนสวนใหญ

ภาพที่ ๔ โครงการ หมูบานจัดสรร ใกลกบั Markham, Ontario. ที่มา: IDuke. ๒๕๔๘. “File:Markhamsuburbs.id.jpg.jpg”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://en.wikipedia.or g/wiki/File:Markhamsuburbs.id.jpg.jpg (๑๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔).


º·¹íÒ

ในยุคที่เต็มไปดวยอุปกรณอํานวยความสะดวกทางอิเลคทรอนิคสนี้ ผูคนจํานวนมากทัง้ เด็ก และผูใหญ มักจะใชเวลาสวนใหญ ในการทํากิจกรรมสวนตัวตามลําพัง เชน ดูทีวี เลนวีดิโอเกม และ เลนอินเทอรเน็ต แทนที่จะรวมกลุมกับเพื่อนฝูง หรือเลนกีฬา ออกกําลังกาย ทําใหเกิดความเครียด และสุ ขภาพที่อ อ นแอลงส วนสภาพแวดลอ มภายนอกที่พั กอาศั ยนั้ น เลา ก็ไม ชวนใหอ อกไปทํา กิจกรรมใดๆ ถนนสวนใหญรอน ขาดรมเงาจากไมใหญ ไมมีทางเทา ไมมีจุดขามถนนที่ปลอดภัย ที่ จะสงเสริมใหเกิดการเดิน หรือการขับจักรยานในชุมชน สวนถนนที่มีทางเทาก็มีสภาพแวดลอมที่ไม ดี ไมมีใครตองการเขาไปใช พื้นที่สาธารณะเสื่อมโทรม ขาดการดูแลรักษา ไมนาสงสัยเลยวาเหตุใด คนสวนใหญจึงนิยมขับรถไปไหนมาไหน แทนที่จะเดินไป แมวาอยูในระยะที่เดินถึง โดยเฉพาะอยาง ยิ่ง ในชุมชนแถบชานเมือง ซึ่งมีการขยายตัวของโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย และขาดแคลน พื้นที่สาธารณะ รวมทั้งสวนสาธารณะที่สามารถเขาถึงไดสะดวก ทําใหประชาชนในชุมชนตองขับรถ จากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง เพื่อประกอบกิจกรรมตางๆ ในที่สุดผลการออกแบบก็ตองลงเอย ที่ชุมชนที่ เนนการใชรถยนตเปนหลัก กอใหเกิดปญหาการจราจรตามมา สภาพที่เกิดขึ้นนอกจากจะสรา ง ความอึกอัดรําคาญใจแลว ยังเปนสาเหตุสําคัญใหเกิดปญหาดานสุขภาพ เนื่องจากคุณภาพอากาศ ที่เลวลง ทําใหอัตราของผูปวยโรคหอบหืด และโรคทางเดินหายใจ เพิ่มมากขึ้น รวมไปถึงจํานวน ผู ป วยและเสี ย ชีวิตจากอุ บั ติเ หตุ ที่เ กิด ขึ้น กับ คนเดิ น เทา และผู ขับ ขี่ร ถจั กรยานที่เพิ่ ม สู ง ขึ้ น เชนเดียวกัน

ภาพที่ ๕ การขยายตัวของชุมชนชานเมืองที่เนนการใชรถยนตเปนหลัก กอใหเกิดปญหาสภาพแวดลอม ที่มา: Norman, D'Arcy. ๒๕๕๒. “home”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/dnorman/3813068224/ (๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔).


º·¹íÒ

๔. แนวคิดพื้นฐานในการวางผังและออกแบบภูมิทัศนชุมชนที่นาอยูอาศัย และสถานที่พักผอนหยอนใจในชุมชน ในปจจุบันนี้เริ่มมีการใหความสําคัญ ตอการสรางสรรคชุมชนที่นาอยูอาศัยเพิ่มมากขึ้น ชุมชนพยายามฟนฟู หรือจัดใหมีสถานที่พบปะสังสรรค ระหวางสมาชิกภายในชุมชน ผูคนเริ่ม คนพบวาสถานที่สาธารณะ ซึ่งเคยเปนสวนหนึ่งของชีวิตประจําวันของผูคน คอยๆสูญหายหรือลด ความสําคัญลงไป โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศไทยของเราเอง ยิ่งถาเปนชุมชนที่เกิดขึ้นเองโดย มิไดมีการวางผังลวงหนาแลว ยิ่งหาไดนอยมากที่จะพบวามีพื้นที่สาธารณะ สวนชุมชนที่ไดรับการ ออกแบบสรางขึ้นใหมนั้น มีบางสวนที่ไดจัดสภาพแวดลอมของชุมชนที่ไดมาตรฐาน ซึ่งมักเปน ชุมชนของผูมีรายไดปานกลางคอนขางสูงขึ้นไป แตพบวามีชุมชนสวนที่เหลือเปนจํานวนมาก ที่มี พื้นที่สาธารณะเพื่อการพักผอนหยอนใจนอยมาก หรือไมมีเลย ทั้งนี้เนื่องมาจากแรงกดดันทาง เศรษฐกิจ เขามาเปนเหตุผลหลักในการพัฒนาพื้นที่ อยางไรก็ดียังมีชุม ชนอีกมากมายในโลกนี้ ที่ใหค วามสํ าคัญกับพื้นที่สาธารณะ เชนใน ประเทศแถบยุโรป ซึ่งเปนประเทศที่มีขนาดเล็ก มีประชากรเปนจํานวนมาก ประเทศเหลานี้จึงมีการ พัฒนาพื้นที่สาธารณะในชุมชนมาเปนเวลายาวนาน และประสบความสําเร็จ ผูคนมักจะใชเวลา พักผอนหยอนใจประจําวัน ในพื้นที่สาธารณะของเมืองหรือของชุมชน เชนสวนสาธารณะ พลาซา หรื อ แม แ ต พื้ น ที่ ถ นนหลั ก โดยจะมี ก ารจั ด กิ จ กรรมที่ น า สนใจมากมายตามโอกาสต า งๆ นอกเหนือไปจากกิจกรรมพักผอนหยอนใจตามปรกติ เชน ดนตรี รานอาหาร การออกราน การ แสดงงานศิลปะของศิลปนทั้งมือสมัครเลน และมืออาชีพ เปนตน กิจกรรมที่เกิดขึ้นเหลานี้นอกจาก จะ ชวยสงเสริมความสัมพันธที่ดีของคนในชุมชน ยังเปนการสงเสริมสุขภาพทั้งทางกาย และทาง ใจอีกดวย ภาพที่ ๖ พื้นที่สาธารณะ ในชุมชน Bedford, New York, NY, US. ที่มา: Flatbush Gardener, ๒๕๕๑. “Village green”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/ photos/flatbushgarde ner/2919869259/in/ph otostream/ (๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔).

๑๐


º·¹íÒ

เปนที่ยอมรับกันดีวาการทํากิจกรรมนันทนาการและกีฬา จะชวยพัฒนาสุขภาพของมนุษย ดังนั้นการออกแบบพื้ นที่สาธารณะที่ดีในชุมชน ซึ่งมีเปา หมายในการสงเสริมกิจกรรมทางดา น กายภาพ และดึงดูดใหคนมาพบปะสังสรรคกัน จึงมีบทบาทสําคัญตอสุขภาพของคนในชุมชน ใน การสงเสริมกิจกรรมทางกายภาพและสังคม พื้นที่สาธารณะจะตองถูกออกแบบวางผังใหเหมาะสม แกการเดิน หรือขี่จักรยาน งายตอการหาทิศทาง มีการเชื่อมโยงไปสูสถานที่สําคัญตางๆ สามารถ เขาถึงไดสะดวกโดยบุคคลทุกเพศ ทุกวัย ในชุมชน มีสวนสาธารณะสําหรับการพักผอนหยอนใจ และการเลนกีฬา มีถนนและทางเทาที่รมรื่น ที่ซึ่งเพื่อนบานสามารถพบปะพุดคุยกัน ในยามวางจาก การงาน ผู คนสามารถจับ จ ายซื้ อสิ น คา ทั้ง สดและแห ง ไดจากร า นค าหรื อตลาดในชุม ชน มี ศูนยกลางชุมชน หองสมุด โรงเรียน และที่ทําการไปรษณีย ตั้งอยูในบริเวณที่เขาถึงไดสะดวกโดย การเดิน หรือโดยระบบขนสงมวลชน ในทางจิตวิทยาแลว พื้นที่สาธารณะจะชวยใหคนในชุมชนรูสึก ไดถึงจิตวิญญาณของความเปนชุมชน ทําใหเกิดความสายสัมพันธทางสังคม และความรูจักคุนเคย กัน นั่นทําใหชุมชนมีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น การวางผังและออกแบบชุมชนที่นาอยูอาศัยและสถานที่พักผอนหยอนใจในชุมชน ควร สามารถปองกันและแกไขปญหาความเสื่อมโทรมของสภาพแวดลอมในชุมชนอยางยั่งยืน โดยให ธรรมชาติแ ละประชากรในชุ ม ชนสามารถอยู ร ว มกัน อยา งพึ่ ง พา สร า งความสมดุ ล และลด ผลกระทบที่มีตอระบบนิเวศ โดยที่ชุมชนมีสิทธิในการใชประโยชน และมีหนาที่ดูแลรักษาได สรุป เปาหมายในการการวางผังและออกแบบชุมชนที่นาอยูอาศัยและสถานที่พักผอนหยอนใจในชุมชนได ดังตอไปนี้ ๔.๑ ลักษณะทางกายภาพของชุมชนควรขนาดที่กระชับ (Compact) รวมพื้นที่ใชสอย สวนบุ คคลไวเปน กลุมกอนอยางประหยัด พื้น ที่ เพื่อ ที่จะเหลือพื้ นที่อื่น ๆไวเปน ประโยชนใ นการ อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และเพื่อใชเปนพื้นที่สาธารณะและสถานที่พักผอนหยอนใจในชุมชน การวางผังแบบกระชับและประหยัดพื้นที่ยังชวยลดการสิ้นเปลืองพลังงานที่ตองใชในการดํารงชีวิต อีกหลายดาน เชน ทําใหระบบเสนทางสัญจรสั้นลง และลดระยะทางที่จําเปนในการใหบริการ ดานสาธารณูปโภคอีกดวย ๔.๒ ระบบสาธารณู ป โภคและสาธารณู ป การที่ มี อ ยู เ ดิ ม ควรถู ก ใช ง านอย า งมี ประสิทธิภาพสู งสุด และคุม คา มากที่สุ ด หากจํ าเป นตองเพิ่ม การลงทุนด านสาธารณูปโภคและ สาธารณูปการ ควรตองผานการวางแผนอยางรอบคอบและระมัดระวัง ๔.๓ แม ว า การพั ฒ นาพื้ น ที่ ชุ ม ชนใดๆก็ ต าม ย อ มต อ งก อ ให เ กิ ด ผลกระทบต อ สภาพแวดลอมทางธรรมชาติอยางหลีกเลี่ยงไมได ถึงกระนั้นก็ตามการวางผังและออกแบบชุมชน ที่ น า อยู อ าศั ย และสถานที่ พั ก ผ อ นหย อ นใจในชุ ม ชนควรมี ค วามสอดคล อ งกลมกลื น กั บ สภาพแวดลอมทางธรรมชาติใหมากที่สุด และคํานึงถึงการออกแบบอยางประหยัดพลังงานอยาง มีประสิทธิภาพ

๑๑


º·¹íÒ

๔.๔ ควรคํานึงถึงการวางผังที่ลดการพึ่งพาการใชรถยนตภายในชุมชน สนับสนุนใหมีการ พัฒนาระบบขนสงมวลชนที่จะเชื่อมโยงกับชุมชนหรือเมืองอื่น สรางสภาพแวดลอมที่เหมาะสม สํา หรั บ การเดิ น เทาและการขี่จักรยาน นอกจากนี้ยัง ควรคํา นึ งถึงการวางผั ง การใชที่ดิ น อยา ง ผสมผสาน เพื่อลดระยะทางในการสัญจรจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เพื่อลดการพึ่งพารถยนต

ภาพที่ ๗ ระบบสัญจรทางเลือกในเมืองโคเปนเฮเกน ที่มา: Blackett, Matthew. ๒๕๕๒. “CPH-bikebus-lanes-car_0112”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/7496732@N07/ 3539693614/ (๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔).

ภาพที่ ๘ พื้นที่สาธารณะของชุมชน Adonea ซึ่งเปนชุมชนที่มีการวางผังการใชที่ดินแบบผสมผสาน (Mixed Use Planning). ที่มา: Jay@MorphoLA ๒๕๕๒. “Adonea Mixed Use CommunityAurora”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/53783050@N07/ 4975188672/in/photostream/ (๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๑๒


บ ท ที่

การวางผังและออกแบบภูมิสถาปตยกรรม ชุมชนที่นาอยูอาศัย     

หลักการวางผังและออกแบบภูมิทัศนชุมชนที่นาอยูอาศัย สถาปตยกรรมในชุมชน ระบบการสัญจรในชุมชน การออกแบบเพื่อการประหยัดพลังงาน ระบบสาธารณูปโภคในชุมชน

๑๓


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๑. หลักการวางผังและออกแบบภูมิทัศนชุมชนที่นาอยูอาศัย การออกแบบวางผังที่ดิน ที่มีลักษณะสภาพแวดลอมทางธรรมชาติที่มีความเดนฉพาะตัว จําเปนอยางยิ่งที่ผูออกแบบจะตองมีความระมัดระวังอยางมาก ในการวางผังและพัฒนาที่ดิน เพื่อ ลดผลกระทบสิ่ งแวดลอ ม ใหเหลือ น อยที่สุ ด หรื อ ไม มีเลย เพื่อ ไม ใ หเกิดความเสื่ อ มโทรม การ ออกแบบที่ถูกตอง นอกจากจะชวยลดผลกระทบสิ่งแวดลอมแลว ยังเสริมใหลักษณะทางธรรมชาติ นั้นกลายเปนจุดเดนอีกดวย นักวางผังและนักพั ฒนาที่ดิน จําเปนตองใหความเอาใจใส ในการ อนุรักษและฟนฟูสิ่งแวดลอม การออกแบบจําเปนตองสอดคลองพอดี กับปจจัยทางธรรมชาติใน พื้นที่ เพื่อใหเกิดความเสียหายนอยที่สุด การออกแบบที่คํานึงถึงสภาพแวดลอม ควรตองมีการ นําไปปฏิบัติอยางระมัดระวัง ในทุกๆรายละเอียดทั้งระหวางและหลังการกอสราง สิ่งในธรรมชาติมี โครงสรางและการจัดระบบระเบียบ โครงสรางเปนสวนประกอบที่สําคัญของการวางผังที่ประสบ ความสําเร็ จ โครงสร างของแผนผังชวยให มนุษยเรียนรูทิศทางของตน ในสภาพแวดลอ มทาง กายภาพ คําวาโครงสรางในที่นี้หมายถึงวิธีที่แผนผังถูกจัดระบบระเบียบ เปนการรวมตัวกันของ องคประกอบยอยๆทั้งหมดเปนหนึ่งเดียว โดยที่โครงสรางในสัดสวนเล็กๆ จะเปนรากฐานใหเกิด โครงสรางรวมใหญ ภาพที่ ๙ ทัศนียภาพทีส่ วยงาม เมื่อมองผานทะเลสาบ ของชุมชน Hampton Hargate ที่เมือง Peterborough, UK. ที่มา: Westley, Colin. ๒๕๔๘ “File: The_View_from_Lakeview_ Way,_Hampton_Hargate__geograph.org.uk__75637.jpg, Village green”. [ระบบออนไลน]. แหลงทีม่ า http://commons.wikimedia.or g/wiki/File:The_View_from_L akeview_Way,_Hampton_Har gate_-_geograph.org.uk__75637.jpg (๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

องค ประกอบหลักๆ ๒ ประการของการวางแผนพื้น ที่ ที่ทําใหเกิดโครงสร างและการ จัดระบบไดแกระบบถนน (Roadway system) และโครงขายของพื้นที่เปดโลง (open space network) ทั้งสองประการตองไดรับการออกแบบควบคูไป เพื่อสรางชุมชนที่มีโครงสรางและระบบ ที่ดี นอกจากนี้นักวางผังชุมชนยังตองคํานึงถึง การจัดวางเขตการใชที่ดินที่เหมาะสม และการจัด ภูมิทัศนภายในชุมชน ที่ชวยสงเสริมสภาพแวดลอมที่ดีและนาอยู ๑๔


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

ภาพที่ ๑๐ แผนผังแนวความคิดในการออกแบบโครงการ Casey Development แสดงโครงขายพื้นที่สี เขียว และโครงขายระบบสัญจรที่ชัดเจน ที่มา: Chrisfromcanberra. ๒๕๕๒. “Casey Development Plan”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://commons.wikimedia.org/wiki/File:Casey_plan.jpg. (๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๑๕


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๑.๑ การเลือกสถานที่ตั้งโครงการ ปจจัยที่สําคัญมากที่สุดเรื่องหนึ่งของการวางผังและออกแบบชุมชนที่นาอยูอาศัย คือการเลือกสถานที่ตั้งของโครงการที่จะดําเนินการพัฒนา หากเราเลือกสถานที่ตั้งโครงการที่ไม เหมาะสม แมวาเราจะออกแบบอยางดีที่สุดเพียงไร ก็ยังคงกอใหเกิดปญหาตอสิ่งแวดลอมตามมา อยางมาก เรื่องที่จะตองพิจารณาเปนอันดับแรก ในการเลือกพื้นที่ในการพัฒนาโครงการ คือ ความเหมาะสมของพื้นที่สําหรับการพัฒนาที่ดินเฉพาะประเภท ซึ่งนําไปสูคําถามที่วา ควรจะใช หลักเกณฑ อ ะไรบ า ง ในการตัด สิ น ถึ ง ความเหมาะสมของพื้ น ที่ใ นการพั ฒ นาอยา งเหมาะสม หลักเกณฑ เหลานี้ จะถูกใชเพื่ อ พิจารณาวา การพั ฒนาโครงการนั้ นๆ จะเหมาะสมพอดี กับพื้ น ที่ หรือไม การวิเคราะหพื้นที่โครงการและบริเวณใกลเคียงอยางละเอียด ครอบคลุมเนื้อหาทั้งปจจัย ทางธรรมชาติ และปจจัยทางวัฒนธรรมมีความสําคัญตอกระบวนการเลือกพื้นที่อยางเหมาะสม ปจจัยตาง ๆ ที่ควรนํามาวิเคราะหมีดังตอไปนี้ ๑.๑.๑ ปจจัยทางวัฒนธรรม ประวัติศาสตร และโบราณคดี ถามีปจจัยตางๆ เหลานี้ปรากฏอยู จะสามารถทําการอนุรักษ ปองกัน หรือนํากลับมาใชประโยชนใหมอีกครั้งหนึ่งไดหรือไม ๑.๑.๒ แหลงน้ําสะอาด พื้นที่โครงการจะหาแหลงน้ําสะอาดไดจากที่ไหน และมีเพียงพอหรือไม จะตองแนใจวาการนําน้ํามาใชจะสอดคลองกับความสามารถของระบบนิเวศของภูมิภาค ที่จะดูด ซึม น้ํา กลับคื นสู ระบบน้ํา ใตดิน ได และไมมี ผลกระทบรา ยแรงตอ ปริ มาณน้ํ าเดิม ที่ใ ชสํ าหรับ พื ช พรรณและสัตวปาในทองถิ่น

ภาพที่ ๑๑ แหลงน้ําธรรมชาติในชุมชนที่ Carinthia, Austria ที่มา: Jaritz, Johann. ๒๕๕๓. “File:Ebenthal Oremusstrasse 3 vulgo Ambrusch Ehart-Mühle 15042010 01.jpg”. [ระบบ ออนไลน]. แหลงที่มา http://commons.wikimedia.org/wiki/File:Ebenthal_ Oremusstrasse_3_vulgo_Ambrusch_Ehart-M%C3%BChle_15042010_01.jpg. (๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๑๖


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๑.๑.๓ สาธารณูปโภคและแหลงพลังงาน ควรมองหาโอกาสในการใชแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่นํากลับมาใชใหมได เชน พลังงานแสงอาทิตย น้ํา กาซชีวภาพ ทําการสํารวจเสนทางสาธารณูปโภคสาธารณะ เพื่อ ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ๑.๑.๔ ระบบโครงขายถนน ควรจํากัดการใชโครงขายถนนใหอยูเทาที่จําเปน และมีประสิทธิภาพมาก ที่สุด สิ่งที่ตองคํานึงถึงเปนอันดับแรกควรเปนการลดความจําเปนในการใชรถยนต ๑.๑.๕ ป จจัยทางธรรมชาติของพื้นที่ เชน ดิน สภาพภูมิศาสตร สภาพภูมิ ประเทศ พรรณไม และสัตวปา เปนตน ควรบั น ทึกพั น ธุพื ช และสั ตวป า หายากทุกชนิ ด ที่ใ กล จะสู ญ พั น ธุ และ ปจจัยทางธรรมชาติควรอนุรักษและปองกัน ๑.๑.๖ สภาพภูมิอากาศระดับทองถิ่น สภาพภูมิอากาศระดับทองถิ่นเปนปจจัยสําคัญที่ตองนํามาพิจารณาในการ ออกแบบ โดยเฉพาะอยางยิ่งในดานสถาปตยกรรม และภูมิสถาปตยกรรม ๑.๑.๗ ปจจัยในระดับภูมิภาคโดยรอบของพื้นที่ ลักษณะและหนาที่ของชุมชนที่ อยูใกลเคียง ป จ จั ย ในระดั บ ภู มิ ภ าคที่ เ กี่ ย วข อ งกับ พื้ น ที่ คื อ อะไรบ า ง พื้ น ฐาน ทางดานเศรษฐกิจของภูมิภาค ประชากร วัฒนธรรม รวมทั้งชุมชนที่อยูใกลเคียงมีความสําคัญ ตอการตัดสินใจในการออกแบบ ภาพที่ ๑๒ การ วิเคราะหปจจัยตางๆ เพื่อออกแบบวางผัง โครงการ White Oak Recreation Center, White Oak, Maryland, US ทีม่ า: thecourtyard. ๒๕๕๑. “Site Analysis”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.co m/photos/thecourty ard/2591069057/ (๔ พฤษภาคม พ.ศ. 2554).

๑๗


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

กระบวนการในการเลือ กพื้ น ที่โ ครงการพั ฒ นา พื้ น ที่ชุ ม ชนที่น า อยูอ าศั ย คื อ การ พิ จ ารณา ชั่ ง น้ํ า หนั ก และหาความสมดุ ล ระหว า งความดึ ง ดู ด ใจและข อ ดี ต า งๆ ของพื้ น ที่ (สภาพแวดลอมทางธรรมชาติและทางดานวัฒนธรรม การเขาถึงพื้นที่ เปนตน) และสิ่งที่ตอง สูญเสียไปเนื่องจากการพัฒนาที่จะเกิดขึ้น เมื่อทํา การรวบรวมขอมู ลทั้งหมดแลว ภูมิ สถาปนิ กและนักออกแบบวางผั งตองทําการ วิเคราะหขอมูล เพื่อพิจารณาวาพื้นที่นั้นเหมาะสมในการพัฒนาหรือไม ถาเหมาะสมควรทําการ วางนโยบายในการออกแบบที่เหมาะสมและยั่งยืนตอไป

๑.๒ การวางผังพื้นที่โครงการ แนวความคิดขั้นพื้นฐานในการวางผังและการออกแบบชุมชนที่นาอยูอาศัย คือการ ให ค วามเคารพต อ สภาพแวดล อ มและวั ฒ นธรรมในท อ งถิ่ น ที่ พื้ น ที่ โ ครงการตั้ ง อยู โดยให ความสํ า คั ญ เป น อั น ดั บ แรกแกป ระเด็ น ป ญ หาในระดั บ ภูมิ ภาค เชน ป จจั ยทางธรรมชาติแ ละ นิเวศวิทยาของพื้นที่ ชุมชนจะทําการพัฒนาหรืออนุรักษ ลักษณะเดนเฉพาะตัวและบรรยากาศ ของพื้นที่ ปญหาสภาพแวดลอมในชุมชนทุกวันนี้เปนผลมาจากการละเลยไมใหความสําคัญตอ ประเด็นปญหาในระดับภูมิภาค เชน ปจจัยทางธรรมชาติและทางวัฒนธรรมในพื้นที่ ไมเพียงแต สรางชุมชนที่มีปญหาสภาพแวดลอม แตยังขาดเอกลักษณ ขาดชีวิตชีวาอีกดวย ในทางตรงกัน ขา ม การวางผัง และออกแบบชุมชนที่คํา นึ ง ถึง สภาพแวดลอ ม จะชวยอนุรั กษ และสนับ สนุ น เอกลักษณ วัฒ นธรรม นิเวศวิทยา และสร างบรรยากาศของชุมชนที่นาอยูอ าศัย หลักการ สําคัญในการวางผังและออกแบบชุมชนที่นาอยูอาศัยและคํานึงถึงสภาพแวดลอมประกอบดวย ๑.๒.๑ ตัดสินใจบนพื้นฐานของสภาพแวดลอมของพื้นที่ ในการทําเชนนี้จะตองทําการเก็บขอมูลและวิเคราะหสภาพแวดลอมของ พื้นที่ในรายละเอียด ในการออกแบบวางผังพื้นที่ที่มีความสวยงามตามธรรมชาติ ควรจะออกแบบ ใหเกิด ความสอดคลองและส งเสริม สภาพแวดลอ มทางธรรมชาตินั้น หลังจากการพัฒ นาแลว ลักษณะเดนทางภูมิทัศนควรจะเดนกวาองคประกอบอื่นรวมทั้งสถาปตยกรรม ผูออกแบบสามารถ นํ า พื ชพรรณธรรมชาติ ใ นท อ งถิ่น มาใช เพื่ อ สร า งความกลมกลืน ระหวา งพื้ น ที่ ที่ถูก พั ฒ นากั บ สภาพแวดลอมตามธรรมชาติ ๑.๒.๒ ฟน ฟู แ ละปรั บปรุ งพื้ น ที่เสื่ อ มโทรมถูกทํา ลายที่มี อ ยูเดิ ม เมื่ อ มีค วาม เปนไปได การฟ น ฟู แ ละปรั บ ปรุ ง พื้ น ที่เ สื่ อ มโทรมถูก ทํา ลายเดิ ม มี ป ระโยชน ที่ เห็นชัดๆ อยางนอย ๓ ประการ ประกอบดวย โอกาสในการฟนฟูที่ดิน การทําใหพื้นที่เสื่อม โทรมลูกทําลายเดิมสามารถนํามาใชใหมได และเปนการอนุรักษพื้นที่ที่ยังไมถูกรบกวนทําลาย ๑.๒.๓ ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในทองถิ่น นี่เปนหลักสําคัญซึ่งสามารถนําไปใชไดในการออกแบบวางผังทุกดานและ ทุกระดั บ นั กวางผั ง และนั กพั ฒ นาที่ดิ น จํ า เป น ตอ งให ค วามเอาใจใส ใ นการอนุ รั กษ แ ละฟ น ฟู สิ่งแวดลอม การออกแบบจําเปนตองสอดคลองพอดีกับปจจัยทางธรรมชาติในพื้นที่ เพื่อใหเกิด

๑๘


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

ความเสียหายนอยที่สุดการสรางความสัมพันธที่สอดคลองกับธรรมชาติ ชวยใหลดผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมไดเปนอยางดี ๑.๒.๔ เคารพตอวัฒนธรรมและประวัติศาสตรของพื้นถิ่น ปองกันและซอมแซมอาคารและโครงสรางสําคัญของพื้นถิ่นจะชวยสราง บรรยากาศที่เปนเอกลักษณของพื้นที่ได ๑.๒.๕ พัฒนาสาธารณูปการและสถาปตยกรรม ดวยปจจัยทางธรรมชาติของ พื้นที่ แทนที่จะทําการไถพื้น ที่ให เรียบโลง นักวางผั งและออกแบบชุม ชนจะ ทํางานอยางสอดคลองกับธรรมชาติ ยกตัวอยางเชน การเคารพตอลักษณะทางภูมิประเทศของ พื้นที่ การอนุรักษพืชพรรณที่มีอยูเดิมและการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ แมวา จะไมใชวิธีการปฏิบัติที่เปนมาตรฐานทั่วไป แตในระยะยาวจะชวยใหประหยัดไดมากกวา ๑.๒.๖ อนุรักษและฟนฟูพืชพรรณและสัตวปาพื้นถิ่น การอนุรักษและฟนฟู สิ่งมี ชีวิตที่มีอ ยูเดิม ในสภาพแวดลอมของภูมิภาค นั้นๆ มีความสําคัญเปนอยางมากตอสุขภาพของระบบนิเวศของโลก ๑.๒.๗ ปกปองปจจัยทางธรรมชาติอื่นๆ ของพื้นที่ เชน น้ําและดิน หัวขอนี้คลายคลึงกับหลักการขอที่ผานมา ปจจัยทางธรรมชาติเหลานี้ จะสามารถใหประโยชนทางเศรษฐกิจ ถาไดรับการปกปองและจัดการอยางถูกตอง ๑.๒.๘ สงเสริมใหเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ จะชวยใหระบบนิเวศมีสุขภาพที่ดีขึ้นทั้งในระดับทองถิ่นและระดับโลก การ ปองกันทรัพยากรที่มีอยูเดิมในระบบนิเวศ เปนการออกแบบผังที่ชวยรักษาสภาพแวดลอมที่ดีใน พื้นที่ ๑.๒.๙ จัดวางอาคารเพื่อสรางพื้นที่วางภายนอกอาคาร สถาป ตยกรรมนั้ น รวมไปถึง พื้ น ที่วา งที่ถูกสรา งขึ้น ภายในและระหวา ง อาคารดวย การสรางสรรคพื้นที่วางภายนอกอาคาร ชวยสงเสริมสภาพแวดลอมที่เปนมิตรกับคน เดิมเทา ที่จะชวยสรางบรรยากาศที่ดีในชุมชน ชวยลดการใชรถยนต และทําใหประชาชนในชุมชน เขาใกลกับธรรมชาติ ๑.๒.๑๐ การพัฒนาชุมชนแบบจัดกลุม (Cluster Development) การจั ดกลุมของอาคารชวยปอ งกัน การขยายตัวของพื้น ที่ม ากเกิน ไป เปนการสงเสริมใหเกิดความสัมพันธที่ดีในชุมชน อนุรักษภูมิทัศน และใหโอกาสที่มากกวาในการ ออกแบบที่ชวยประหยัดพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ๑.๒.๑๑ การวางผังที่คํานึงถึงทิศทางของแสงอาทิตยและลมธรรมชาติ การจัดวางผังถนนและที่ดินควรใหสอดคลองกับทิศทางของแสงอาทิตย และลมธรรมชาติ เพื่อลดการใชพลังงานใหเหลือนอยที่สุด ๑.๒.๑๒ ลดการใชพื้นผิวคอนกรีตและสงเสริมวัสดุพื้นผิวที่มีรูพรุน การใชพื้นผิวคอนกรีตทําใหตองสูญเสียเงินจํานวนมากกับระบบระบาย น้ําผิวดิน ซึ่งนําพาเอาสารพิษตางๆ ลงสูแหลงน้ําตางๆ วัสดุพื้นผิวที่มีรูพรุนจะชวยลดผลกระทบ สิ่งแวดลอมได ๑๙


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

ภาพที่ ๑๓ แนวความคิดในการ ออกแบบวางผังชุมชน hillside tiny house community แบบ จัดกลุม (Cluster Development) เพื่ออนุรักษ พื้นที่ธรรมชาติโดยรอบ ออกแบบโดย arimoore ที่มา: arimoore. ๒๕๕๒. “hillside tiny house community”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photo s/arimoore/3482581871/ (๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๑.๓ การออกแบบภูมิทัศน บอยครั้งที่การออกแบบภูมิทัศนขึ้นอยูกับการจัดวางสถาปตยกรรม อยางไรก็ดีใน การออกวางผั ง และออกแบบชุ ม ชนที่ น า อยู อ าศั ย การออกแบบภู มิ ทั ศ น มี ค วามสํ า คั ญ ต อ สิ่งแวดลอมใน ชุมชนเชนเดียวกับงานสถาปตยกรรม ตนไมทําหนาที่เปนระบบปรับอากาศของโลก ใหรมเงาที่เย็นสบาย และดูดซับกาซ คารบอนไดออกไซด ซึ่งเปนสาเหตุหลักของ ปรากฏการณเรือนกระจก การศึกษาลาสุดแสดงให เห็นวา การออกแบบภูมิทัศนที่ดีคํา นึงถึงการประหยัดพลัง งานอยางมี ประสิทธิภาพ สามารถ ประหยัดใหแกเจาของโครงการไดเปนอยางดี

๒๐


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

นอกจากการประหยัดพลังงาน การออกแบบภูมิทัศนที่คํานึงถึงสภาพแวดลอ ม ยั ง ส ง เสริ ม ความหลากหลายทางชี ว ภาพ เช น นกและแมลงที่ ม าอาศั ย อยู และสร า ง สภาพแวดลอมที่ดีและสะอาดขึ้น โดยการปรับปรุงคุณภาพของน้ําและอากาศ ตนไมดูดซับและ กรองควันขณะที่พืชน้ําทําหนาที่เหมือนเครื่องกรองน้ํา การอนุรักษทรัพยากรน้ําเปนขอดีที่ไดจาก การจั ด ภูมิ ทัศ น ที่คํ า นึ ง ถึง สภาพแวดลอ ม หลักการออกแบบภู มิ ทัศ น ที่ คํ า นึ ง ถึง สิ่ ง แวดลอ ม ประกอบดวย ๑.๓.๑ การปกปองและสงเสริมการใชพืชทองถิ่น การปองกันและสงเสริมการใชพันธุพืชทองถิ่นมีความสําคัญในการรักษา คุณภาพของสภาพแวดลอมในทองถิ่น พันธุพืชที่หายากและใกลสูญพันธุ ควรจะไดรับการปกปอง ตนไมที่เติบโตเต็มที่ควรไดรับการอนุรักษเมื่อเปนไปได หรืออยางนอยไดรับการบอนยายไปปลูกใหม ๑.๓.๒ ใช พั น ธุ ไ ม แ ปลกถิ่ น เฉพาะเมื่ อ พั น ธุ ไ ม เ หล า นั้ น สามารถอยู ร ว มกั บ สภาพแวดลอมสวนทองถิ่นได ถามีการใชพันธุไมแปลกถิ่น ควรแนใจวามันจะไมเปนภัยตอระบบนิเวศ สวนทองถิ่น และมีความเหมาะสมกับสภาพอากาศสวนทองถิ่น ๑.๓.๓ ใชการออกแบบภูมิทัศนเพื่อเปนสิ่งปกปองอาคารและพื้นที่วางภายนอก อาคารจากสภาพภูมิอากาศ ตนไมใหญจะใหรมเงาชวยคลายรอนในฤดูรอน สวนไมพุมชวยปองกันลม หนาวที่พั ด มาในฤดู หนาว เนิ น ดิ น จะทํ า หน า ที่ เป น ตัว บรรเทาผลกระทบจากลมพายุ ป จจั ย ธรรมชาติของแตละพื้นที่ใหโอกาสทั้งเปนตัวปองกันและชวยประหยัดพลังงาน ๑.๓.๔ ใชสภาพภูมิประเทศเดิมของพื้นที่เปนระบบระบายน้ําธรรมชาติ ระบบระบายน้ําธรรมชาติเมื่อใชรวมกับวัสดุปูผิวที่มีรูพรุนจะสามารถเสริม งานออกแบบชุมชนที่เปนมิตรกับสภาพแวดลอมไดดี ๑.๓.๕ ใชการออกแบบภูมิทัศนที่ชวยประหยัดน้ําและอนุรักษแหลงน้ําได มี พั น ธุ ไ ม ห ลายชนิ ด ที่ ส ามารถเก็ บ น้ํ า และให น้ํ า แก พื้ น ที่ ไ ด อ ย า งมี ประสิทธิภาพ ควรคํานึงถึงการออกแบบภูมิทัศนที่ชวยประหยัดการใชน้ํา โดยเฉพาะอยางยิ่งใน แถบภูมิภาคที่รอนและแหงแลง แทนที่จะตองสูญเสียน้ําในปริมาณมหาศาลผานระบบการรดน้ํา อัตโนมัติ (Sprinkler System) ๑.๓.๖ สงเสริมการใชปุยอินทรีย เชน ปุยหมัก ปุยคอก นี่จะกอใหเกิดประโยชน ๒ ประการ คือ ชวยลดกากของเสีย และลด การใชปุยเคมี ซึ่งเปนมลภาวะตอสิ่งแวดลอม ๑.๓.๗ ใชผูลาตามธรรมชาติ และทางเลือกในการแกปญหาอื่นๆ ในการควบคุม และกําจัดแมลงศัตรูพืช แทนที่ จ ะใช เ งิ น จํ า นวนมากในการซื้ อ ยากํ า จั ด ศั ต รู พื ช ซึ่ ง ทํ า ลาย สิ่งแวดลอม ควรใชผูลาตามธรรมชาติลดหรือกําจัดแหลงเพาะพันธุแมลงศัตรูพืช

๒๑


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

ภาพที่ ๑๔ การเลือกใชพรรณไมพื้นถิ่นที่ดูแลรักษางาย บริเวณพื้นที่ทางเดินริมน้ําในชุมชน Hammarby, sjostad ,Stockholm ที่มา: La Citta Vita. ๒๕๕๒. “Natural promenade”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/la-citta-vita/4758394255/in/set-72157624290198167/ (๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔).

๑.๔ เกษตรชุมชน เกษตรชุม ชนเปนการใชพื้นที่ในชุมชนทําการเกษตรแบบดั้งเดิมที่ปฏิบั ติกัน อยา ง แพรหลาย โดยเฉพาะอยา งยิ่ง ในทองถิ่นชนบท เปน แนวคิ ดที่ส อดคลอ งกับ การวางผั งและ ออกแบบชุมชนที่นาอยูอาศัย เนื่องจากชวยสงเสริมเศรษฐกิจที่ดีในชุมชน ทําใหชุมชนสามารถพึ่ง ตัวเองได และลดมลภาวะที่เกิดจากการทําการเกษตรแบบสมัยใหม ซึ่งมักจะเปนการเพาะปลูกพืช เพียงชนิด เดียวในปริมาณมาก ทําใหตองใชสารเคมีและยาฆาแมลงเปนจํานวนมาก เปนการ ทําลายความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งสําคัญตอความสมดุลของระบบนิเวศ ทําลายหนาดินและ ปาไม และสิ้นเปลืองพลังงานจํานวนมหาศาล แนวความคิดเรื่องเกษตรชุมชน เปนการทําการเกษตรในระดับทองถิ่น ซึ่งเปนการ หมุน เวียนการผลิตและการบริ โภคภายในทองถิ่น เอง สามารถทําไดที่สวนหลังบ านหรื อแปลง เกษตรของชุมชนเกิดประโยชนทางดานเศรษฐกิจตอชุมชน ชุมชนที่นาอยูอ าศั ยและเปน มิตรตอ สภาพแวดลอ ม ควรส งเสริม การทํา เกษตร ชุมชน ซึ่งมีหลักการปฏิบัติดังตอไปนี้ ๒๒


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๑.๔.๑ จัดใหมีพื้นที่การทําเกษตรชุมชนภายในชุมชน การทําการเกษตรชุมชน ควรปฏิบัติโดยประชากรภายในชุมชนเอง ซึ่งจะ ชวยสงเสริมความสัมพันธที่ดีของคนในชุมชน ทางเลือกอีกประการหนึ่ง คือการที่ชุมชนทําการ วาจางเกษตรกรมาทําการเกษตรภายในพื้นที่ ผลผลิตที่ไดจะกลับคืนสูชุมชนเองหรือนําออกขายใน ตลาดภายนอกชุมชน เพื่อเปนรายไดกลับคืนสูชุมชน ๑.๔.๒ อนุญาตใหมีการทําการเกษตรในยานที่พักอาศัย ในบางชุมชนมีกฎหามทําการเกษตรในยานที่พักอาศัย ซึ่งเปนการจํากัด ขอบเขตในการสงเสริมการทําเกษตรชุมชน ๑.๔.๓ ศึ ก ษาวิ ธี ก ารทํ า เกษตร ทฤษฎี ใ หม ต ามแนวพร ะราชดํ า ริ ข อง พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และนํามาปฏิบัติในการทําการเกษตรชุมชน การทําการเกษตรทฤษฎีใหม เป นการทําการเกษตรแบบผสมผสาน ซึ่งมีการจั ดสรรพื้นที่ใหมี ประโยชน สูงสุด พื้ นที่ ๑๐๐% สามารถแบง เปน สัดส วนในการจัดทํา กิจกรรมตางๆ ประกอบดวยพื้นที่อยูอาศัย ๑๐% พื้นที่สระน้ําเพื่อการใชประโยชนและใชเลี้ยงปลา ๓๐% ใชปลูกไมผล พืชไร พืชสมุนไพร ๓๐% พื้นที่สําหรับทํานาขาวและปลูกพืชหมุนเวียน ๓๐% ตามทฤษฎีนี้จะชวยแกปญหาการขาดแคลนน้ําใช ซึ่งสามารถนําไปปรับใชกับพื้นที่ในแตละ แหง ภาพที่ ๑๕ สวนเกษตรภายใน ชุมชน Danny Woo International District Community Gardens, International District, Seattle, Washington. ทีม่ า: Mabel, Joe. ๒๕๕๐. “File:Danny Woo Community Garden 12.jpg”. [ระบบ ออนไลน]. แหลงที่มา http://commons.wikimedia.o rg/wiki/File:Danny_Woo_Com munity_Garden_12.jpg (๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๒๓


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๒. สถาปตยกรรมในชุมชน สถาปตยกรรมในชุมชนเปนองคประกอบสําคัญที่สงผลตอสภาพแวดลอม ทัศนียภาพ และ ชีวิตความเปนอยูของคนในชุมชน ซึ่งใชเวลาสวนใหญใ นแตละวันประกอบกิจกรรมตางๆภายใน อาคาร สถาปตยกรรมนอกจากจะชวยปกปองมนุษย จากสภาพดินฟาอากาศแลว ยังเปนเครื่องบง บอกถึงวัฒนธรรม วิถีชีวิต และความเปนอยูของคนในแตละทองถิ่น สถาปตยกรรมภายในชุมชนสามารถแบงออกไดหลายประเภท อาทิ บาน สโมสร สถาน ประกอบการ รานคา ศูนยกลางชุมชน นอกจากนี้ยังรวมไปถึงอาคารสิ่งปลูกสรางขนาดเล็กอื่นๆ เชน ศาลาพักผอน ศาล เปนตน อาคารเหลานี้มีหลายรูปแบบและลักษณะ ตามประเภทการใชงาน ของอาคาร รสนิยมและรายไดของเจาของบาน และวัสดุที่จัดหาไดในแตละทองที่ อาจเปนอาคารไม อาคารปูน มีตั้งแตชั้นเดียว ชั้นครึ่ง หรือสองชั้น รูปแบบของสถาปตยกรรมในชุมชนมีการเปลี่ยนแปลงอยางมาก นับจากในอดีตมาจนถึง ปจจุบั น แตเดิม นั้น สถาปตยกรรมในแตละทองถิ่น จะสะทอ นใหเห็น ถึงภูมิป ญญาของชาง ที่ ถายทอดสืบตอกันมา ในความพยายามที่จะทําการออกแบบและกอสรางอาคาร ใหสอดคลองกับ สภาพแวดลอม ทั้งภูมิประเทศและภูมิอากาศในพื้นที่ เกิดเอกลักษณเฉพาะตัว ชวยใหเกิดการ ประหยัดพลังงานที่ตองใชในอาคาร แตในปจจุบันเมื่อมีการผลิตวัสดุกอสรางที่ทันสมัยไดคราวละ มากๆ ประกอบกับการขนสงที่สะดวกสบาย สถาปนิกและวิศวกรจึงหันมาออกแบบกอสรางอาคาร เพื่อมุงเนนที่จะเอาชนะตอธรรมชาติ ใชวัสดุ เทคนิค และวิธีการกอสราง ที่ตองสิ้นเปลืองพลังงาน สูงกวาในอดีตอยางมาก นอกจากนี้การออกแบบที่เนนถึงผลกําไรทางธุรกิจเปนหลัก ทําใหเกิดการ กอสรางบานโหล มีลักษณะและรูปแบบที่เหมือนกัน หรือคลายคลึงกันอยางมาก แทบทั้งหมดใน ชุมชนนั้นๆ และชุมชนอื่นๆในภูมิภาคอื่น ก็แทบจะไมแตกตางกัน เปนการทําลายเอกลักษณทาง วัฒนธรรม สวนหนึ่งในชุมชนไปอยางนาเสียดาย การออกแบบสถาป ตยกรรมในชุม ชนที่น า อยูอ าศั ย จึ ง ตอ งคํ า นึ ง ถึง การสร า งสรรค เอกลักษณเฉพาะตัวของพื้นที่ ดวยการออกแบบที่สอดคลองกับสภาพแวดลอม และวัฒนธรรม สวนทองถิ่น สงเสริมใหเกิดความหลากหลายทางสถาปตยกรรมในชุมชน เพื่อสงเสริมคุณภาพชีวิต ที่ดีของคนในชุมชน และเปนการชวยประหยัดการใชพลังงาน อันเปนสวนสําคัญของการอนุลักษณ สภาพแวดลอมที่ดี ใหคงอยูตอไป

๒.๑ ความหลากหลาย ความหลากหลายเปนองคประกอบหลักประการหนึ่งของความอุดมสมบูรณและ ยั่งยืนของสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติในโลกนี้ เปนที่ทราบกันดีในหมูนักชีววิทยาและนักนิเวศวิทยา วา ภูมิ ภาคที่มี ค วามหลากหลายทางชีวภาพนั้ นมี คุ ณภาพสู งและยั่ง ยืน กวา เหมาะสมกับ การ ดํ า รงชีวิตของสิ่ ง มี ชีวิตมากกวา ภูมิ ภาคที่มี ค วามหลากหลายทางชีวภาพอยูใ นระดั บ ต่ํา ลอง ๒๔


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

เปรียบเทียบปาในเขตรอนชื้นกับไรการเกษตรอุตสาหกรรมของมนุษย พื้นที่ปานั้นอุดมไปดวยชีวิต และสามารถคงอยูไดนับรอยนับพันป แมวาจะไมมีมนุษยคนใดเขาไปยุงเกี่ยวเลยก็ตาม ในขณะที่ ไรการเกษตรอุตสาหกรรมมีการปลูกพืชเพียงไมกี่ชนิดในบริเวณกวาง และตองการการดูแลรักษา โดยมนุษยเพื่อที่จะอยูรอด เชนเดียวกับชุมชนที่ขาดความหลากหลาย ซึ่งไมนาอยูอาศัยและไมยั่งยืนเหมือนกับพื้นที่ ทําการเกษตรอุตสาหกรรมที่ปลูกพืชเพียงไมกี่ประเภทที่ไดกลาวถึงขางตน การแบงเขตการใชที่ดิน ที่แยกสวนการใชที่ดินที่แตกตางกันออกจากกันอยางสิ้นเชิง เปนการสงเสริมการใชรถยนตภายใน พื้นที่เพิ่มปริมาณการใชพลังงาน และทําใหคุณภาพของอากาศเลวลง และลดบรรยากาศเฉพาะ ของการเปนชุมชน การจัดวางบานพักอาศัยที่มีลักษณะเหมือนๆ กันทั้งโครงการ ทําใหโครงการดู นาเบื่อและไมสามารถจดจําทิศทางได ในทางตรงกัน ข า ม การวางผั ง และออกแบบชุ ม ชนที่มี ค วามหนาแน น สู ง กว า มี ก าร ผสมผสานการใชที่ดินที่หลากหลาย จะกอใหเกิดมลภาวะนอยกวา การวางผังและออกแบบชุมชน ที่มีความหลากหลายมีหลักการดังจะไดอธิบายตอไป

ภาพที่ ๑๖ การวางผังและออกแบบชุมชน Rosewood, Saskatoon, Saskatchewan, Canada มีการ ผสมผสานการใชที่ดินที่หลากหลายในชุมชน และมีการจัดใหมีโครงขายพื้นที่สีเขียวอยางทั่วถึง ที่มา: SriMesh. ๒๕๕๑. “File:Rosewood-CommunityPlan.jpg”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://commons.wikimedia.org/wiki/File:Rosewood-CommunityPlan.jpg (๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๒๕


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๒.๑.๑ การแบงเขตการใชที่ดินแบบผสมผสานแทนที่จะแบงเขตที่ดินที่มีการใช ประโยชนตางกันออกจากกันอยางสิ้นเชิง การแบงเขตการใชที่ดินแบบผสมผสานจะชวยสรางชีวิตชีวาใหแกชุมชน ยกตัวอยางเชน อพารทเมนทเดี่ยวเหนืออาคารพาณิชย จะใหที่พักอาศัยราคาประหยัด และเพิ่ม ชีวิตใหแกชุมชน นอกเหนือไปจากเวลากลางวัน การพัฒนาชุมชนที่มีการใชที่ดินแบบผสมผสาน ยังชวยลดการพึ่งพาอาศัยรถยนตอีกดวย ๒.๑.๒ สรางความหลากหลายของชนิดของบานพักอาศัยในชุมชน จั ด สร า งบ า นพั กอาศั ย ในทุ ก ระดั บ และขนาด โดยมี ที่ พั ก อาศั ย แบบ ประหยั ดรวมอยูดวยแทนที่จะจํา กัด ใหมี ที่พั กอาศั ยสํ าหรับกลุม ประชากรเพียงกลุมใดกลุม หนึ่ ง ความหลากหลายเชนนี้จะชวยใหเกิดกลุมประชากรที่หลากหลายผสมผสานกัน และเกิดดุลยภาพ ทางสังคม

๒.๒ การออกแบบอาคาร การออกแบบอาคารเพื่อ สร างสภาพแวดลอมที่น าอยูอาศัย มี องคป ระกอบ ๓ ประการ ประกอบด วย การออกแบบที่ชวยใหประหยัดพลัง งานได อยางมีประสิ ทธิภาพ การ อนุ รั กษ วัฒ นธรรมและเอกลัก ษณของภูมิ ภาค และการใชวัส ดุ กอ สร า งอาคารที่เป น มิ ตรต อ สภาพแวดลอม แทจริงแลวการออกแบบที่ชวยใหประหยัดพลังงานไดอยางมีประสิทธิภาพนั้นมีมา นานแลวหลายรอยป แมวายุคแหงความกาวหนาทางเทคโนโลยีนั้นพึ่งจะเกิดขึ้นเปนเวลาไมนานมา นี้เอง สถาป ตยกรรมทองถิ่นใหบ ทเรี ยนมากมายในการออกแบบเฉพาะ สํ า หรั บแตละสภาพ ภูมิอากาศ ยกตัวอยางเชน กระทอมน้ําแข็งของชาวเอสกิโม เปนตน ที่ใชวัสดุกอสรางอาคารที่หา ไดในทองถิ่น คือ หิมะ และน้ําแข็ง และออกแบบรูปรางของอาคารที่สามารถกักเก็บความรอนไว ไดดีที่สุด คือ เปนรูปรางโดมครึ่งวงกลม รูปแบบสถาปตยกรรมพื้นถิ่นนี้ถูกพัฒนามาเปนพันๆ ป มาแลวโดยชนเผาเอสกิโม เพื่อเปนการรักษาตัวรอดในสภาพภูมิอากาศที่เลวรายของทวีปอารคติก การหันทิศของอาคารเพื่อใหไดประโยชนสูงสุดจากทิศทางของแสงอาทิตยในเรื่องการรักษาระดับ ของอุณหภูมิในอาคารและการใหแสงสวางภายในอาคาร ไดรับการปฏิบัติโดยชาวอียิปต กรีก จีน แอซเทค อินดา และวัฒนธรรมโบราณอื่น ๆ รอบโลก เมื่อมีความกาวหนาทางดานเทคโนโลยีและการประดิษฐเครื่องปรับอากาศดังเชนใน ปจจุบัน ทําใหการออกแบบอาคารประหยัดพลังงานแบบดั้งเดิมคอยๆ เลิกใชไป ภาพลวงตาที่วา พลั ง งานเป น สิ่ ง ที่ ร าคาถู ก และมี ม ากมายทํ า ให มี ก ารใช เ ทคโนโลยี เ ป น ป จ จั ย เสริ ม ในงาน สถาปตยกรรม ผลก็คือ มี อาคารเป นจํ านวนมากในทุกวันนี้ ที่พึ่ง พาการเอาชนะธรรมชาติดวย เทคโนโลยี มากกวาที่จะออกแบบใหสอดคลองกับธรรมชาติ การออกแบบสถาปตยกรรมที่สอดคลองกับสภาพแวดลอมไมจําเปนตองตอตาน การใชเทคโนโลยี แตตองไดรับการออกแบบอยางชาญฉลาด ที่จะใชเทคโนโลยีในการที่จะชวยให อาคารมีการใชพลังงานไดอยางมีประสิทธิภาพแทนที่จะพึ่งพาเทคโนโลยีแตเพียงลําพัง สถาปนิก ๒๖


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

จําตองเรียนรูจากบทเรียนเกาๆ จากอดีต และปรับใหเขากับโลกสมัยใหม หลักการออกแบบขั้น พื้นฐานที่ตองคํานึงถึงมีดังตอไปนี้ ๒.๒.๑ สภาพภูมิอากาศ ๒.๒.๑.๑ พิจารณาทิศทางของแสงอาทิตย เมื่อวางตําแหนงของอาคาร โดยทั่วไปตองทํา การพิ จารณาทิศทางของดวงอาทิตย มุ มที่ดวงอาทิตยทํา ตอโลกตลอดรอบป เมื่อทําการออกแบบผนังอาคาร การกําหนดขนาดและตําแหนงของหนาตาง การออกแบบแผง กันแดด และการวางผังภายในของอาคาร

ภาพที่ ๑๗ การสรา งหุนจํา ลอง (Concept Model) แสดงแนวความคิดในการออกแบบวางผังอาคารให ไดรับพลังงานจากแสดอาทิตยอยา งเต็มที่ ที่มา: Annable, Rob. ๒๕๕๐. “QR-concept-model1”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/eversion/391263874/ (๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๒.๒.๑.๒ ออกแบบรูปรางของอาคารใหตอบรับกับทิศทางลม สถาปนิกสามารถออกแบบรูป รางของอาคารใหปองกันลมในฤดู หนาว และรับลมในฤดูรอน ขณะที่การออกแบบภายในอาคารควรจัดวางผังใหเกิดการไหลเวียนของลม อยางมีประสิทธิภาพ ๒๗


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๒.๒.๑.๓ ใชการออกแบบภูมิ ทัศ น เพื่อ ควบคุ มสภาพภูมิ อากาศระดั บ พื้นที่โดยรอบอาคาร องคป ระกอบทางภูมิ ทัศ น เชน ตนไม และเนิน ดิน สามารถ ปองกันอาคารจากแสงอาทิตยและลมแรง การใชเนินดินเปนตัวกั้นสภาพภูมิอากาศที่เลวรายเปน ประโยชนตอสภาพอากาศภายในอาคารไดเปนอยางดี ภาพที่ ๑๘ การอนุรักษน้ํา โดยการสรางพื้นที่ชุมน้ํา (wetland) ในโครงการ E.V.A. Lanxmeer district, Culemborg, The Netherlands. ที่มา: Lamiot. ๒๕๕๒. “File:E.V.A. LanxmeerWetland3 2009.jpg”. [ระบบ ออนไลน]. แหลงที่มา http://commons.wikimedi a.org/wiki/File:E.V.A._Lan xmeerWetland3_2009.jpg (๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๒.๒.๒ เปลือกภายนอกของอาคาร ๒.๒.๒.๑ มวลความรอนและวัสดุกอสรางอาคาร มวลความรอนของอาคารเปนปจจัยสําคัญที่ตอ งนํามาพิจารณา ในการวางมาตรการการปรั บอากาศในอาคาร โดยทั่วไปแลวมวลของผนังภายนอกอาคารและ หลังคายิ่งมากเทาไหร ระยะเวลาในการถายเทความรอน ระหางภายในและภายนอกอาคารยิ่ง ยาวนานขึ้นเทานั้น เราสามารถใชประโยชนจากความรูนี้ไดหลายวิธี ยกตัวอยางเชน ในการสราง อาคารที่สามารถถายเทความรอนไดดีในเวลากลางวัน สามารถทําไดโดยการใชวัสดุกอสรางอาคาร ที่มีมวลความรอนต่ํา หลักการนี้ควรใชใหสอดคลองกับระบบปรับอากาศภายในอาคารเพื่อใหเกิด การใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด ๒.๒.๒.๒ สี สีของผนั ง ภายนอกอาคารเป น ป จจั ยที่เกี่ยวขอ งกับ การรั บ ความรอนที่สําคัญมากปจจัยหนึ่ง โดยทั่วไปแลว วัสดุสะทอนความรอนที่มีสีออนเปนที่นิยมใชใน ประเทศเขตรอน เชนบานเรา ขณะที่ในประเทศเขตหนาว เลือกที่จะใชวัดสุดูดซับความรอนและมี สีเขมกวา

๒๘


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๒.๒.๒.๓ หนาตาง หน าตางเปน ปจจั ยที่มีอิ ทธิพ ลอยา งมากในการออกแบบให สอดคลองกับสภาพภูมิอากาศ ชนิดของหนาตาง ขนาด และการจัดวาง มีผลอยางมากในการ รับความรอนจากแสงอาทิตย การปรับอุณหภูมิของอากาศโดยวิธีธรรมชาติ และการใหแสงสวาง ธรรมชาติ ผลกระทบเหลานี้จะตองนํามาชั่งน้ําหนักและใชใหเกิดความสมดุล เมื่อทําการออกแบบ ชนิดและตําแหนงของหนาตาง หน าตางเปน ฉนวนป องกันความร อ นที่แยที่สุด เนื่อ งจาก ยอมใหความรอนเขามามากในฤดูรอนและปลอยใหความรอนสูญเสียออกไปมากเกินไปในฤดูหนาว แตใ นป จจุ บั น มี การใช เทคโนโลยี แ บบใหม ใ นการออกแบบหน า ตา งที่ชว ยให ส ามารถประหยั ด พลังงานไดเปนอยางดี

ภาพที่ ๑๙ รูปแบบและทิศทางของลมพัดผานหนาตางประเภทตางๆ ที่มา: mitopencourseware ๒๕๕๑. “Air Flow Through Windows”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/mitopencourseware/ 3037610313/in/photostream (๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๒๙


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๒.๒.๒.๔ อุปกรณกันแดด กันสาด ผ าใบ ซุม ประตู และมา นกัน แดด เป นเพียงบาง ตัวอยา งของอุป กรณกันแดดที่ส ามารถนํ ามาใชป องกันแดดและความร อนได อุป กรณเหลา นี้ สามารถทําการติดตั้งและใชงานใหสอดคลองกันมุมของดวงอาทิตย ๒.๒.๓ รูปรางและการจัดวางตําแหนงของอาคาร ๒.๒.๓.๑ ลดอัตราสวนพื้นผิวผนังอาคารตอปริมาตรของอาคาร (SUR) ปกติแ ล วรู ป ร า งอาคารยิ่ง กระชับ เทา ไหร ยิ่ ง สามารถปรั บ อุณหภูมิของอาคารไดอยางมีประสิทธิภาพมากเทานั้น ซึ่งสถาปนิกสามารถทําไดโดยการลดผนัง ภายนอกอาคารและพื้นที่หลังคา ๒.๒.๓.๒ วางผังภายในอาคารเพื่อใหไดประโยชนจากการปรับอุณหภูมิ โดยวิธีธรรมชาติใหไดมากที่สุด วิ ธี ก ารปรั บ อากาศตามธรรมชาติ ป ระกอบด ว ย การหั น ทิศทางของอาคารใหรับลมไดมากที่สุดในฤดูรอน วางตําแหนงหนาตางใหมีการไหลเวียนของลม อยางมีประสิทธิภาพใชผนังกันสาดและองคประกอบอื่นๆ เพื่อชวยใหเกิดชองทางการไหลของลม ผานอาคาร สรางชองลมที่ฝาเพดานหรือชายคา เพื่อระบายอากาศรอนออกจากอาคาร ๒.๒.๓.๓ จัดวางอาคารเพื่อใหไดประโยชนจากแสงแดดธรรมชาติ เราสามารถประหยัดพลังงานโดยการใชแสงธรรมชาติภายใน อาคารเปนทางเลือก นอกเหนือไปจากแสงไฟประดิษฐ ชองแสงหลังคาหรือหนาตางสามารถใช เพื่อรับแสงเขาสูอาคารจะเปนแสงโดยตรงหรือทางออม ขึ้นอยูกับผลที่เราตองการหรือประโยชน ใชสอยของพื้นที่นั้นๆ ภาพที่ ๒๐ การวาง ตําแหนงหนาตางใหมีการ ไหลเวียนของลมอยางมี ประสิทธิภาพ เพื่อชวยให เกิดชองทางการไหลของลม ผานอาคาร ที่มา: mitopencourseware. ๒๕๕๑. “Air Movement Through a Room”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/ photos/mitopencoursew are/3038252165/in/phot ostream (๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๓๐


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๒.๓ เอกลักษณและวัฒนธรรมของภูมิภาค รู ป แบบทางสถาป ต ยกรรมของภู มิ ภ าคที่ มี อ ยู เ ดิ ม บางครั้ ง ถู ก เรี ย กขานว า สถาปตยกรรมพื้นถิ่น มักจะตอบสนองตอปจจัยทางวัฒนธรรมและสภาพภูมิอากาศ ผลที่ไดคือ สถาปตยกรรมที่มีเอกลักษณเฉพาะพื้นที่ ซึ่งเปนตนแบบที่สถาปนิกควรเรียนรู เพื่อนํามาใชในการ ออกแบบอาคารที่พักอาศัยในชุมชน ซึ่งมีป ระโยชนทั้ง ในแง ของการประหยั ดพลัง งานอยางมี ประสิทธิภาพ และการอนุรักษวัฒนธรรมสวนทองถิ่น และสรางบรรยากาศเฉพาะตัวของสถานที่ ทําใหมีเอกลักษณและนาสนใจ ๒.๓.๑ ใชวัสดุกอสรางอาคารที่ผลิตในทองถิ่น การใชวัสดุกอสรางอาคารที่ผลิตในทองถิ่น จะชวยอนุรักษเอกลักษณของ ภูมิภาคกระตุนเศรษฐกิจในชุมชนทองถิ่นและชวยรักษาสภาพแวดลอม โดยการลดความตองการใน การใชรถยนตขนสงวัสดุในการกอสราง ๒.๓.๒ ใชแรงงานทองถิ่น นอกจากจะเปนประโยชนตอระบบเศรษฐกิจสวนทองถิ่นอยางเห็นไดชัด ยังสรางความภาคภูมิใจในทองถิ่น และความรูสึกเปนเจาของของชุมชน ๒.๓.๓ ใชองคประกอบทางสถาปตยกรรมที่มีลักษณะของภูมิภาคทองถิ่น เนื่ องจากเหตุ ผล ๒ ประการคื อ ประการแรก องคป ระกอบทาง สถาปตยกรรมสวนทองถิ่นถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองตอสภาพภูมิอากาศและสภาพแวดลอม ของภูมิภาคนั้น ประการที่สองเปนการชวยอนุรักษวัฒนธรรมและเอกลักษณของทองถิ่นและสราง บรรยากาศภายในชุมชน

ภาพที่ ๒๑ รูปแบบของหลังคาทีถ่ ูกออกแบบเพื่อตอบสนองตอสภาพภูมิอากาศและสภาพแวดลอมของภูมิภาค นั้นๆ ที่มา: mitopencourseware ๒๕๕๑. “Basic Building Designs in Different Climates”. [ระบบ ออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/mitopencourseware/3039278154/in/photostream (๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๓๑


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๒.๔ วัสดุกอสรางอาคาร การเลือกวัส ดุ กอ สร า งอาคารเปน ป จจัยที่สํ าคั ญประการหนึ่ง ของการออกแบบ ชุมชนที่นาอยูอาศัยและมีสภาพแวดลอมที่ดี หลักเกณฑในการเลือกวัสดุกอสรางอาคารโดยทั่วไป ในอุตสาหกรรมการกอสรางมักขึ้นอยูกับคาใชจาย อยางไรก็ดีคาใชจายไมใชเหตุผลในการเลือกที่ดี นัก เนื่องจากหลายๆ ปจจัย ประการแรก คาใชจายสวนใหญจะคิดเพียงคาใชจายแรกเริ่ม ที่ไม เนนในเรื่องระยะเวลาการใชงานหรือความทนทานของวัสดุ เนื่องจากอาคารสวนใหญทุกวันนี้ไมได อยูออกแบบใหคงอยูยาวนานตลอดไป ประการที่สอง คาใชจายเหลานี้ไมไดถูกนํามาคิดถึงความ เสียหายของสิ่งแวดลอมที่เกิดจากการผลิตและการขนสงวัสดุ ในทางตรงกันขาม การออกแบบที่คํานึงถึงสภาพแวดลอมจะพิจารณาผลกระทบที่ มีตอสิ่งแวดลอม สารพิษ อายุใชงานของวัสดุ และราคาแรกเริ่ม สถาปนิกตองชั่งน้ําหนักและ สรางสมดุล ผลกระทบสิ่งแวดลอมของวัสดุกอสรางอาคารจากเริ่มตนทําการผลิตไปจนถึงขั้นตอน สุดทายในการใชงานในอาคาร และการนํากลับมาใชงานอีกครั้ง การวิเคราะหเชนนี้สามารถนําไปใช ในการวิ เ คราะห อ าคารเองเช น เดี ย วกั บ วั ส ดุ ในการเลื อ กวั ส ดุ ห ลายป จ จั ย ที่ ค วรพิ จ ารณา ประกอบดวย ๒.๔.๑ การนําอาคารกลับมาใชใหม ควรศึกษาวิธีการนําอาคารกลับมาใชใหมแทนที่จะทุบทิ้งทําลายแลวทํา การกอสรางใหม ควรออกแบบอาคารโดยคํานึงถึงการนํากลับมาใชใหมได ภาพที่ ๒๒ การปรับปรุง อาคารสถานีรถไฟเกา Union Station ใหเปน โรงแรม grande dame ที่ Nashville, TN. USA. ที่มา: debaird™. ๒๕๕๐. “grande dame of nashville”. [ระบบ ออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/phot os/debaird/1408621316/ (๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๓๒


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๒.๔.๒ การนําเอาวัสดุกลับมาใชใหม การเลือกวัสดุ ซึ่ง สามารถนํ ากลับมาใชใ หมได เปนแนวทางปฏิ บัติเพื่ อ อนุรักษสิ่งแวดลอมซึ่งเปนที่ทราบกันดีอยูทั่วไป อยางไรก็ดีการนําวัสดุที่ใชแลวกลับมาใชใหม กลับ มีการปฏิบัติกันนอยกวาอยางเห็นไดชัดในพื้นที่กอสราง ทั้งๆที่มีความสําคัญตอสภาพแวดลอม เทาๆ กัน แทนที่จะทําการเผาขยะที่ไดจากพื้นที่กอสราง ควรจัดทําโครงการนํากลับมาใชใหมเพื่อ ลดปริมาณของขยะที่เกิดจากการกอสราง ๒.๔.๓ ตนกําเนิดของวัสดุ วัส ดุ ที่ นํ า มาใชนั้ น มาจากแหลง กํา เนิ ด ที่ ส ามารถเกิด ขึ้ น ใหม ได ห รื อ ไม ยกตัวอย า งเชน ถา ใชวัส ดุ ไม ไม นั้ น มาจากตน กํา เนิ ด ที่มี ก ารทํา การสั ม ปทานตัด ไม ที่ คํ า นึ ง ถึ ง ระยะเวลาการใหตนกลาเติบโตขึ้นมาแทนที่หรือไม นอกจากนี้ยังมีผลิตภัณฑไมที่ใชไมคุณภาพที่ต่ํา กวาและกอใหเกิดของเสียนอยกวา ระยะหางของแหลงที่มาของวัสดุก็เปนขอพิจารณาที่สําคัญ การนําวัสดุมา จากแหลงตนกําเนิดที่อยูหางไกลมากเกินไปทําใหสูญเสียพลังงานในการขนสงมากเกินควร ถา แหลงตนกําเนิดอยูใกลกับสถานที่กอสรางไมเพียงแตลดผลกระทบและคาใชจายจากการขนสง แต ยังชวยเศรษฐกิจสวนภูมิภาคใหเขมแข็งยิ่งขึ้น ๒.๔.๔ การผลิตวัสดุ แมวาจะเห็นไดไมชัดเจน เนื่องจากเปนกระบวนการที่ไมไดเกิดขึ้นบริเวณ สถานที่กอสราง แตแทจริงแลวการผลิตวัสดุกอสรางเปนปจจัยหลักในการทําใหเกิดผลกระทบตอ สิ่งแวดลอม การผลิตวัสดุดังกลาวสรางใหเกิดของเสียที่เปนอันตราย หรือมลพิษหรือไม บริษัท ทําการผลิตทิ้งของเสียเหลานั้นอยางไร ๒.๔.๕ ความเปนพิษของวัสดุ มีวัสดุกอสรางหลายชนิดที่คอยๆ ปลอยสารพิษออกมาตามวันและเวลาที่ ผานไป เชน เรซิน ตะกั่ว สีน้ํามัน เปนตน สถาปนิกควรศึกษาใหรอบคอบกอนตัดสินใจเลือกใช วัสดุแตละชนิด ๒.๔.๕ เลือกใชวัสดุจากธรรมชาติใหมากที่สุด ภาพที่ ๒๓ บานดิน kachcha house เปนบาน พื้นถิ่นของชาวอินเดีย ที่สรางจากวัสดุจาก ธรรมชาติ เชน ดินเหนียว หญา ไมไผ กิ่งไม เปน ตน ที่มา: Murgai G., Justin. ๒๕๕๐. “Humble Abode”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/phoenixation/ 2872905075/ (๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๓๓


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๓. ระบบสัญจร สังคมที่รถยนตเปนใหญ เปาหมายเบื้องตนของการวางผังและออกแบบชุมชนที่นาอยูอาศัย คือการลดความจําเปน ในการใชยานพาหนะ ซึ่งเปนสาเหตุสําคัญของมลภาวะในสภาพแวดลอม รถยนตและถนนยังเปน ตนเหตุของการสูญเสียจิตวิญญาณของความเปนชุมชนอีกดวย โดยเฉพาะอยางยิ่งในแถบพื้นที่ เมือง หลังจากชวงสงครามโลกครั้งที่ ๒ เปนตนมา รถยนตไดเปลี่ยนโฉมหนาของพื้นที่เมือง จากขนาดสวนที่เปนมิตรตอคนเดินเทามาเปนขนาดสวนสําหรับรถยนต พื้นที่จอดรถกลายเป น พื้ น ที่ค อนกรี ตขนาดใหญ ในขณะที่พื้ น ที่สี เขีย วกลายเป น พื้ น ที่หายาก รถยนตส ามารถเร ง ความเร็วผานยานที่พักอาศัยไดเนื่องจากถนนที่กวางและมุมโคงขนาดใหญ ในทางดา นสิ่ง แวดลอ มแลว รถยนตเปน ตนเหตุของมลภาวะทางดา นเสี ยงและอากาศ ภาวะเรือนกระจก และการสิ้นเปลืองพลังงานน้ํามัน พื้นผิวคอนกรีตทําใหเกิดการไหลผานของน้ํา ผิวดินลงสูทอระบายน้ําฝน โดยไมซึมผานผืนดินตามธรรมชาติ ซึ่งเปนการระบายเอาสารพิษและ ของเสี ยลงสูแ หลงน้ํ าธรรมชาติ ยิ่งกวานั้นการกอสร างถนนมารองรับรถยนตจํานวนมหาศาล เปนการสูญเสียทางเศรษฐกิจทั้งในคากอสรางและคาดูแลรักษา จากมุมมองทางดานสังคม ถนนเปนสถานที่ที่ไมดึงดูดใจสําหรับคนเดินเทา เนื่องจากมี ทัศ นี ย ภาพที่ ไ ม ส วยงาม และมี พื้ น ที่ สี เ ขีย วที่ จํ า กั ด มี ก า ซคาร บ อนมอนนอกไซด ใ นอากาศ เสนทางหลวงซึ่งรถยนตวิ่งดวยความเร็วสูง แบงแยกชุมชนออกจากกัน ทําใหเกิดการแบงแยก ทางสังคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจของชุมชน ภาพที่ ๒๔ ภาพถายทางอากาศ โครงการอสังหาริมทรัพย Victoria Gardens in Rancho Cucamonga, California เนน พื้นที่คอนกรีตเปนหลัก ที่มา: Tm1000. ๒๕๕๒. “File:Victoria Gardens Arial Photo.JPG”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://commons.wikimedia.o rg/wiki/File:Victoria_Gardens _Arial_Photo.JPG (๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๓๔


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๓.๑ การวางผังการใชที่ดิน การปฏิวัติอุตสาหกรรมกอใหเกิดความจําเปนในการแบงแยกเขตการใชที่ดินออกจาก กัน ยานที่พักอาศัยตองถูกแยกออกจากอุตสาหกรรม เพื่อปองกันสภาวะมลพิษตางๆ ที่เกิดจาก โรงงาน ตั้งแตนั้นเปนตนมา การแบงแยกเขตการใชที่ดินออกจากกันในการวางผังที่ดินกลายเปน มาตรฐานในการปฏิบัติ โดยทั่วไปพื้นที่ยานพักอาศัยถูกแบงแยกออกจากพื้นที่ยานพาณิชยกรรม ออกจากพื้นที่ราชการและพื้นที่การศึกษา พื้นที่ตางๆ ที่อยูแยกจากกันนี้ เชื่อมโยงกันดวยถนน ผลที่ไดก็คือการที่ตองพึ่งพารถยนต แมแตในการกระทําเรื่องงายๆ เชนการไปจายตลาด ความ เปนอยูของคนจะยากลําบากถาไมมีรถยนต โดยเฉพาะอยางยิ่ง เด็ก วัยรุน และคนชรา ที่ทําให ปญหาซับซอ นมากยิ่งขึ้น ไปอีกก็คือ ถนนที่เชื่อมโยงพื้นที่ยา นตางๆ เหลานี้กับติดแนนไปดวยรถ จํานวนมาก เนื่องจากทุกๆ คนจําเปนตองใชรถยนตในการเดินทาง วิธีแกปญหาคือการใชจายเงิน จํานวนมากในการขยายถนนใหกวางขึ้นไปอีก แตก็จะแกปญหาการจราจรไดไมนาน เนื่องจาก ไมไดแกปญหาที่ตนเหตุ การแบงแยกเขตการใชที่ดินซึ่งทําใหการใชยานพาหนะในการสัญจรเปน เรื่องจําเปนคือปญหาหลัก ไมใชการขาดแคลน ๓.๑.๑ การสงเสริมการพัฒนาการแบงเขตการใชที่ดินแบบผสมผสาน การผนวกเอายานพาณิชยกรรม ธุรกิจ และสาธารณูปการที่จําเปนไวกับ ยานพักอาศัยจะชวยลดการใชรถยนต การสัญ จรในรู ปแบบอื่น ๆที่เป นทางเลือก จะได รับ การ สงเสริมใหมีขึ้น เมื่อจัดวางเขตการใชที่ดินเหลานี้ไวใกลๆ กัน ยกตัวอยางเชน การออกแบบที่ทํา ใหคนในชุมชนใชเวลาเดินโดยเฉลี่ยเพียง ๕ นาที จากที่ใดๆ ก็ตามภายในชุมชนไปยังศูนยกลางชุมชน ซึ่งเปนพื้นที่ตั้งของยานพาณิชยกรรมและสาธารณูปการตางๆ นโยบายเชนนี้ชวยลดรถยนตภายใน ขอบเขตพื้นที่ชุมชน

ภาพที่ ๒๕ การออกแบบชุมชน Candelas, Arvada แสดงการแบงพื้นที่การใชที่ดินแบบผสมผสาน ที่มา: Jay@MorphoLA ๒๕๕๓. “Candelas Sustainability Plan- Arvada”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/53783050@N07/4975191092/in/photostream/ (๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๓๕ ๒๕๕๔).


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๓.๒ การออกแบบถนน นับตั้งแตการสัญจรโดนรถยนตเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวันของมนุษย ระบบ การสัญจรในชุมชนซึ่งมักจะถูกออกแบบโดยวิศวกร ก็จะมุงเนนการออกแบบเพื่อรถเปนสวนใหญ ไมเปนมิตรกับสภาพแวดลอม ไมสงเสริมสภาพแวดลอมที่ดีตอคนเดินเทา และไมสนับสนุนใหเกิด กิจกรรมในชุมชน โดยถนนสวนใหญจะมีขนาดกวางมากเพื่อสะดวกตอรถที่ขับดวยความเร็ว ความ กวางของถนนและรัศมีความโคงของหัวมุมถนน ถูกออกแบบใหรถยนตสามารถเคลื่อนที่ไดอยางมี ประสิทธิภาพสูงสุด โดยไมไดคํานึงถึงคนเดินและรถจักรยานเทาไหรนัก ที่จอดรถที่ทอดยาวอยู ตามขางถนนโดยไมมีพื้นที่สีเขียวเลยลดความมีชีวิตชีวาของถนน อยางไรก็ดีการออกแบบโดยคํ านึงถึง คนเดิน เทาถือ วาเปน เรื่องสํ าคัญสํา หรับการ สร า งแผนผัง ชุม ชนที่ประสบความสํ า เร็ จ การออกแบบถนนที่เปน มิ ตรตอ สภาพแวดลอม มี เปาหมายในการลดความสําคัญของรถยนตในถนนชุมชนซึ่งชวยสรางชีวิตใหแกชุมชน และสงเสริม บรรยากาศที่ดีในชุมชน โดยตองพิจารณาถึงขนาด ที่ตั้ง ความสัมพันธกับทางรถยนตและพื้นที่ สาธารณะอื่นๆ และบรรยากาศที่สงเสริมตอคนเดินอีกดวย การออกแบบถนนจะตองคํานึงถึง ประโยชนใชสอยของถนนนั้นๆ ทําใหเกิดลําดับชั้นของถนนที่ไลเรียงกัน เปนการจัดระบบจราจร ของชุมชน หลักในการออกแบบถนนในชุมชนมีดังนี้ ๓.๒.๑ การออกแบบถนนที่มีขนาดสวนของมนุษย การลดความกวางของถนนและรัศมีวงเลี้ยวที่มุมถนนจะกอใหเกิดผลใน ทางบวกตอถนน เพราะจะชวยลดความเร็วของการจราจร ทําใหถนนมีความปลอดภัยมากขึ้น และเปนมิตรตอคนเดินเทามากขึ้น มันจะชวยใหลดขนาดสวนของถนนใหมีขนาดสวนของมนุษย มากขึ้น และเหลือพื้นที่มากขึ้นสําหรับปลูกตนไม และทําทางเทา และยังชวยลดปริมาณพื้นผิวที่ น้ําซึมผานไมไดในโครงการ ซึ่งใหประโยชนทั้งตอสภาพแวดลอมและประโยชนทางดานเศรษฐกิจ ภาพที่ ๒๖ แสดง สภาพแวดลอมของถนนใน ชุมชน Gillenfeld, Germany. ซึ่งมีลักษณะที่เปนมิตรตอคน เดินเทา ที่มา: Murczak, Dennis. ๒๕๔๙. “Gillenfeld, a German village”. [ระบบ ออนไลน]. แหลงที่มา http://12134.openphoto.net >openphoto.net (๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๓๖


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๓.๒.๒ ออกแบบรู ป แบบของถนนที่ทํ า ให ก ารจราจรเบาบางแทนที่จะทํา ให การจราจร หนาแนน โครงสรางของถนนในทุกวันนี้มักประกอบดวยถนนไฮเวย ถนนหลักและ ถนนรอง ถนนในยานชุมชน มีการจัดแบงออกเปน ๓ ประเภท คือ ถนนตาราง (Grid Streets) ถนนวงลูป (Loop Streets) และถนนปลายตันหรือถนนคัลเดอรแซค (Cul-de-sacs streets) ซึ่ง ถนนแตละรูปแบบจะมีขอดีขอเสียแตกตางกันไป ในการออกแบบจะตองคํานึงถึงการระบายรถที่ คับคั่งจากถนนหลัก ลดการจราจรที่จะไหลเขา สูถนนซอยเพื่อไมใหเกิดรถติด การเชื่อมถนนให เชื่อมโยงกัน และลดขนาดของกลุมบานในชุมชนจะชวยลดการใชถนนหลัก ลดปญหาการจราจร ติดขัด ชวยลดฝุนควัน และเปนการและเสริมสรางสภาพแวดลอมที่ดีของถนน ๓.๒.๓ ออกแบบรู ป แบบของถนนซึ่ ง ตอบสนองต อ ลักษณะภูมิ ป ระเทศตาม ธรรมชาติของพื้นที่ ในพื้นที่พัฒนาที่มีความหนาแนนต่ํา ซึ่งไมมีปญหาการจราจรติดขัด การ ออกแบบถนนให ส อดคล อ งกับ สภาพภูมิ ป ระเทศของพื้ น ที่เ ป น สิ่ ง ที่ค วรทํา เพราะจะชวยลด ผลกระทบสิ่ งแวดลอมที่เกิดจากการพัฒนาโครงการ และลดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการ ระบายน้ําตามธรรมชาติ ชวยประหยัดคาใชจายโดยการลดโครงขายถนนที่ไมจําเปน

ภาพที่ ๒๗ โครงขายถนนแบบตารางกริด (Grid Street) ของชุมชน Chalmette, Louisiana, U.S.A. ที่มา: TJM๒๕๕๒. “File:Chalmette,_LA.jpg”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://commons.wikimedia.org/wiki/File:Chalmette,_LA.jpg (๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๓๗


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹ ภาพที่ ๒๘ โครงขายถนน แบบวงลูป (Loop Street) ของชุมชนจัดสรร ริมแมน้ํา Strule, UK. ที่มา: Dunn, Gordon. ๒๕๔๙. “File:A5 near Poe Bridge geograph.org.uk”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://commons. wikimedia.org/wiki/File :A5_near_Poe_Bridge __geograph.org.uk__305925.jpg (๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

ภาพที่ ๒๙ โครงขายถนน แบบปลายตัน (Cul-desacs streets) ของชุมชน จัดสรรที่ , Cincinnati,Ohio, U.S.A. ที่มา: Lederer, Adam. ๒๕๕๓. “Cincinnati Housing Development”. [ระบบ ออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/ photos/elmada/449569 5776/ (๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๓๘


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๓.๒.๔ สรางพื้นที่สีเขียวริมถนน ตน ไม ให ออกซิเจนและปฏิ บัติหน าที่เปน เครื่อ งปรั บอากาศ ที่สามารถ ปรับปรุงคุณภาพของอากาศไดอยางมากในทองถนน พื้นที่สีเขียวในเขตเมืองยังมีประโยชนในการ สงเสริม ขนาดสวนของมนุษยใหแกถนน การที่ถนนมีตนไมปลูกอยู ๒ ขาง ใหความเชื่อมโยงมีคา ตอธรรมชาติ ซึ่งขาดหายไปในสภาพแวดลอมของเมือง นอกเหนือไปจากนี้ ตนไมยังมีประโยชน ตอทั้งทางกายและทางใจตอมนุษย

ภาพที่ ๓๐ การออกแบบพื้นที่ทางเดินสีเขียว ของชุมชนจัดสรรริมถนนDorset Avenue, Saffron Hill, ใกล เมือง Wigston, Leicester, UK.ที่มา: Jewell, Kate. ๒๕๔๙. “File:Dorset Avenue, Saffron Hill, near Wigston, Leicester - geograph.org.uk - 179319.jpg”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://commons.wikimedia.org/wiki/File:Dorset_Avenue,_Saffron_Hill,_near_Wigston,_Leicest er_-_geograph.org.uk_-_179319.jpg (๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๓.๒.๕ ใชพื้นผิวปูที่ชวยลดปริมาณพื้นผิวที่น้ําซึมผานไมได ดังที่ไดถกเถียงกันมากอนหนานี้แลว พื้นผิวที่น้ําซึมผานไมได เชน แอส ฟลท และคอนกรีต ปองกันการซึมผานของน้ําลงสูพื้นที่ตามธรรมชาติ และปลอยสารพิษตางๆ ลงในแหลงน้ําตามธรรมชาติ สําหรับทางเทาและพื้นที่ที่การจราจรไมแออัดมาก ควรใชพื้นผิวปูที่มี รูพรุนหรือไมตองมีพื้นผิวปู ถาจําเปนตองใชพื้นผิวที่น้ําซึมผานไมได ควรใชวัสดุที่นํากลับมาใชใหม ได การออกแบบพื้นผิวปูในชุมชนสามารถชวยลดความเร็วของการจราจรได

๓๙


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๓.๒.๖ ลดพื้นที่พื้นผิวที่น้ําซึมผานไมได การเลื อ กใช วั ส ดุ พื้ น ผิ ว สามารถลดปริ ม าณพื้ น ผิ ว ที่ น้ํ า ซึ ม ผ า นไม ไ ด อยางไรก็ดี มีอีกหลายวิธีที่ควรพิจารณา เชน การพัฒนาพื้นที่แบบรวมกลุม การกอสรางใน แนวตั้ง การใชถนนรวมกัน และการลดระยะถอยรนอาคาร เหลานี้ลวนแตชวยลดพื้นที่ที่มีพื้นผิวที่ น้ําซึมผานไมได ๓.๒.๗ ใหทางเลือกในการจอดรถที่หลากหลาย ที่จอดรถเป น ป ญ หาหลักในการพั ฒ นาพื้ น ที่แ บบดั้ ง เดิ ม นอกจากจะ กอใหเกิดทัศนียภาพที่ไมสวยงามแลวยังใชพื้นที่กวาง ซึ่งมีพื้นผิวน้ําที่ซึมผานไมได การจอดรถ หน า อาคาร ทํา ให เกิด ระยะถอยร น มาก ซึ่ ง ทํา ให เกิด ทัศ นียภาพที่ไม น าสนใจ ไม กระตุนให เกิด กิจกรรมขางถนน การจัดใหมีที่จอดรถขา งถนน ลดความตองการพื้นที่จอดรถ และยัง สรางบรรยากาศที่เปนมิตรตอคนเดินเทา ดวยการลดความเร็วของการจราจร และเปนแนวกันชน ระหวางทางเดินเทาและถนน ถาจําเปนตองมีที่จอดรถ ควรจัดใหอยูดานหลังของอาคารแทนที่จะ อยูดานหนาของอาคาร ภาพที่ ๓๑ การจัดใหมีที่จอดรถ ริมถนน Groningerstraat ใน Assen, Cambridge, UK. ที่มา: Nuttall, Simon and Smith, Martin Lucas. ๒๕๕๔. “Cambridge Cycling Campaign”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.cyclestreets.net/l ocation/28496/ (๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๓.๓ ระบบสัญจรที่เปนทางเลือก การลดปริมาณการจราจรและการจัดใหมีการแบงเขตการใชที่ดินแบบผสมผสาน เปนขั้นตอนแรกในการลดการพึ่งพารถยนต ขั้นตอนตอไป คือ การจัดใหมีรูปแบบของการสัญจรที่ เปนทางเลือก ดังตอไปนี้ ๓.๓.๑ การออกแบบทางเทาที่ดึงดูดใจอยางเพียงพอ ทางเทาเปนองคประกอบตนๆ ของสภาพแวดลอมของการเดินเทาที่ควรมี ในทุกถนนในการพัฒนา ควรจะมีความกวางอยางนอย ๑.๕๐ เมตร และกวางกวานั้นในบริเวณ ที่มีกิจกรรมสูง เชน ยานพาณิชยกรรม และยานสถานที่ราชการ องคประกอบทางภูมิทัศน เชน ๔๐


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

ตนไม กระถาง มานั่ง ลวนแตเปนองคประกอบที่สําคัญ ที่ควรมีควบคูไปกับทางเทานี่จะชวยให ทางเทาเปนทางเลือกที่ดึงดูดใจ เพิ่มชีวิตชีวาใหแกถนน และสงเสริมการใชระบบขนสงมวลชน โดยการสรางพื้นที่รอรถประจําทางใหเปนสถานที่ที่นาสนใจยิ่งขึ้น

ภาพที่ ๓๒ การออกแบบทางเทาที่รมรื่นและสวยงามจะชวยสงเสริมการเดินเทา ที่มา: การสํารวจ (ซานฟรานซิสโก, ๒๕๔๘)

๓.๓.๒ สรางระบบขนสงมวลชนใหเปนทางเลือกที่นาสนใจ ระบบขนสงมวลชนที่ประสบความสําเร็จ ประกอบดวย การจัดใหมีจุด จอดรถที่มีการวางแผนอยา งดี มี ปริม าณเพี ยงพอ ผ านพื้ นที่ที่มีกิจกรรมมากๆ หรือ มีค วาม หนาแน นของกิจกรรม กลยุทธอื่น ๆ ซึ่ง จะชวยเพิ่ มการใชระบบขนสงมวลชนแทนรถยนตสวน บุคคล คือ การจัดใหมีบริเวณรอรถที่ดึงดูดใจ และจัดใหมีเสนทางสําหรับรถประจําทางโดยเฉพาะ เป น เรื่ อ งพึ ง ระลึกวา ความสํ า เร็ จของระบบขนส ง มวลชน มี ค วามสั ม พั น ธเชื่ อ มโยงกับ ความ หนาแนน ดังนั้นการประสานกันระหวางการวางผังเมืองกับการพัฒนาระบบขนสงมวลชน มีผล ตอความสําเร็จของระบบเปนอยางมาก ๓.๓.๓ สงเสริมการใชจักรยาน จักรยานเปนรูปแบบการสัญจรที่ประหยัดพลังงานมาก ตองการระบบ สาธารณูปการมากรองรับนอยกวารถยนต และไมกอใหเกิดมลพิษ ในการพัฒนาพื้นที่ควรรวม เครือขายของเสนทางจักรยานไปพรอมๆ กับระบบถนน อาจจะอยูขางถนนหรือแยกออกจากกัน กําหนดใหมีที่จอดรถจักรยานตามอาคาร สถานที่ตางๆ ใหพอเพียง

๔๑


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

ภาพที่ ๓๓ ระบบรถรางเปน ร ะ บ บ ข น ส ง ม ว ล ช น ทางเลือกที่นา สนในในเมือ ง ซานฟรานซิสโก ที่มา: การ สํ า รวจ (ซานฟรานซิ ส โก, ๒๕๔๘)

ภาพที่ ๓๔ การจัดพื้นที่จอด รอสัญญานไฟจราจรสําหรับ คนขับจักรยานในเมือง Edinburgh, UK. ที่มา: Nuttall, Simon and Smith, Martin Lucas. ๒๕๕๔. “Cambridge Cycling Campaign”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.cyclestreets. net/location/26807/ (๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๔๒


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

ภาพที่ ๓๕ เสนทางจักรยานที่ไดรับ การออกแบบโดยเฉพาะใหแยกออก จากระบบถนน ที่มา: จากการ สํารวจ (ออสเตรเลีย, ๒๕๔๖)

ภาพที่ ๓๖ การจัดใหมีที่จอด รถจักรยานในพื้นที่สาธารณะ ที่ Cambridge, UK. ที่มา: Nuttall, Simon and Smith, Martin Lucas. ๒๕๕๔. “Cambridge Cycling Campaign”. [ระบบ ออนไลน]. แหลงที่มา http://www.cyclestreets.net/loca tion/29618/ (๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

ภาพที่ ๓๗ การออกแบบเสนทาง รถจักรยานรวมกับเสนทางเดินเทา ที่ Cambridge, UK. ที่มา: Nuttall, Simon and Smith, Martin Lucas. ๒๕๕๔. “Cambridge Cycling Campaign”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่ มา http://www.cyclestreets.net/lo cation/6004/ (๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๔๓


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๔. การออกแบบเพื่อการประหยัดพลังงาน พลังงานและสังคม ความตองการในดานการใชพลังงานของสังคมของเราในดานการใชพลังงานเปนสาเหตุ สําคัญที่ทําลายสภาพแวดลอมของโลก กระบวนการผลิตและขนถายน้ํามันเชื้อเพลิง เปนสาเหตุ ของมลพิษในอากาศ การใชน้ํามันในรถยนตและอาคารยิ่งเพิ่มปญหาใหรุนแรงยิ่งขึ้น ยิ่งไปกวานั้น แหลงกําเนิดพลังงานน้ํามันดิบไมไดมีอยูอยางเหลือเฟอ ในปจจุบันไดมีการ คาดการณไววา ปริมาณน้ํามันสํารองของโลกนี้จะมีพอใชไปไดประมาณอีก ๓๐ ป ขางหนาเทานั้น ความจริงที่ปรากฏชี้ใหเห็นวา มีความจําเปนที่จะตองเปลี่ยนแปลงแหลงพลังงานของพวกเรา และ วิธีการบริโภคพลังงานของพวกเราในอนาคตอันใกล การออกแบบที่เปน มิ ตรกับ สิ่ งแวดลอ มนั้ น ในด า นที่เกี่ยวขอ งกับ พลัง งาน สามารถ กระทําได ๒ ระดับ ระดับแรก เปนการอนุรักษพลังงานและใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ระดับที่สองเปนการใชแหลงพลังงานที่สะอาดและสามารถฟนคืนกลับมาใหมได หลักการสําคัญคือ การลดการบริโภคพลังงาน ในขณะที่เพิ่มการนําพลังงานจากแหลงพลังงานที่ฟนฟูได มาใชอยางมี ประสิทธิภาพ

๔.๑ การอนุรักษพลังงานและการใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ๔.๑.๑ ลดความจําเปนในการใชพลังงาน โดยการใชน โยบายหลายๆ ประการ เชน การวางผั ง การใชที่ดิ น แบบ ผสมผสานเพื่อลดความจําเปนในการใชรถยนต การใชเทคนิคการปรับอากาศแบบธรรมชาติใ น อาคาร เพื่อลดระบบไฟฟาหรือระบบเครื่องกลอื่นๆ ที่มากเกินไป ๔.๑.๒ ติดตั้งเทคโนโลยีและอุปกรณที่ชวยประหยัดพลังงานภายในอาคาร มีอุปกรณที่ชวยใหการใชพลังงานในอาคาร เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ หลายชนิด เชน ระบบปรับอากาศที่ชวยประหยัดพลังงาน เมื่อใชรวมกับการปรับอากาศดวยวิธี ธรรมชาติ เชน การหันทิศทางของอาคาร การใชสีของอาคารและการจัดภูมิทัศน จะยิ่งชวยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการประหยัดพลังงาน ใหดียิ่งขึ้น หลอดไฟแบบประหยัดไฟฟา ลดการเพิ่มความ รอ นให แกอาคารโดยไม จําเปน อุ ป กรณอื่ น ๆ เชน เครื่อ งทํา น้ํา อุ น เครื่อ งใชในสํ านั กงานและ เครื่องใชไฟฟาภายในบาน ลวนแตสิ้นเปลืองพลังงาน หากเราไมเลือกใชแบบที่ไดรับการออกแบบ มาเพื่อใหประหยัด การใชตัวเซ็นเซอรและควบคุมอัตโนมัติ ซึ่งจะปดไฟและอุปกรณที่ไมจําเปน จะ ชวยประหยัดการใชพลังงานภายในอาคารไดเปนอยางดี แมวาคาใชจายในการติดตั้งอุปกรณประหยัดพลังงาน จะทําใหคาใชจายโดยรวมใน การกอสรางอาคารเพิ่มสูงขึ้นมากกวาอาคารทั่วๆ ไป อยางไรก็ดี เมื่อเวลาผานไปยอมพิสูจนให

๔๔


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

เห็นถึงความคุมคาที่เหนือกวาเสมอ ความคุมคานี้ไมใชเพียงแตในแงเศรษฐกิจเทานั้น แตในแง สิ่งแวดลอมอีกดวย ๔.๑.๓ การประหยัด พลัง งานอยา งมี ป ระสิ ทธิภ าพร วมกั บ การใช พ ลัง งานที่ สามารถนํากลับมาใชใหมได เมื่ อ มี ก ารกํา หนดนโยบายการใช พ ลั ง งานอย า งมี ป ระสิ ท ธิภ าพ เรา สามารถใชพลังงานที่สามารถนํามาใหมได เพื่อสงเสริมการอนุรักษพลังงาน การผสมผสานทั้ง ๒ แนวทางนี้สามารถลดและจํากัดความตองการการใชน้ํามันจากธรรมชาติได

๔.๒ แหลงพลังงานทางเลือก แหลง พลังงานที่มนุ ษยใชอยูในป จจุบัน สวนใหญ แ ลวได จากแหลง น้ํา มัน ดิบ ซึ่ ง กําลังจะหมดไปทุกขณะ นักวิทยาศาสตร ทั่วโลกพยายามคิ ดคนหาแหลงพลัง งานทางเลือก ที่ สามารถฟนฟูกลับมาใหมได ซึ่งไดแกแหลงพลังงานจากธรรมชาติ นักวางผังและออกแบบชุมชน สามารถมีสวนรวมในการเลือกใชแหลงพลังงานทางเลือกไดเชนเดียวกัน วิเคราะหพื้นที่เพื่อหาความเปนไปไดของการใชพลังงานทางเลือก และองคประกอบ ธรรมชาติในพื้นที่มักจะมีศักยภาพในการใชเปนแหลงพลังงานได เชน การใชพลังงานน้ํา พลังงาน ลม หรือพลังงานแสงอาทิตย ควรศึกษาโอกาสในการสรางสรรคชุมชนที่ไมพึ่งพาพลังงานจาก น้ํามันแตเพียงอยางเดียว ชุมชนเหลานี้อาจหันมาพึ่งพาพลังงานทดแทนจากธรรมชาติ อยางไรก็ ดี พลัง งานจากธรรมชาติยัง คงมี ขีดจํ ากัด เชน ตองการพื้นที่ขนาดใหญสํา หรับ สรา งโรงงาน หรือเมื่อยามที่สภาพธรรมชาติไมเอื้ออํานวยก็จะเปนอุปสรรคได อยางไรก็ดี พลังงานเหลานี้มีขอดี คื อ เป น พลัง งานสะอาดที่ไม ส ร า งมลพิ ษ และมี แ หล ง พลัง งานที่หาได ใ นทุก ภูมิ ภาค แหล ง พลังงานทางเลือกที่สามารถนํามาทดแทนพลังงานจากน้ํามันเชื้อเพลิง ประกอบดวย ๔.๒.๑ พลังงานแสงอาทิตย พลังงานแสงอาทิตย สามารถนํามาใชประโยชนไดใน ๓ รูปแบบหลักๆ คือ การนํามาใชใหพลังงานไฟฟา พลังงานแสงสวาง และพลังงานความรอน ยกตัวอยางเชน การ ออกแบบอาคารสถานที่ใหไดรับแสงสวางตามธรรมชาติใหมากที่สุด โดยใชแสงประดิษฐใหนอ ยทีส่ ดุ การออกแบบการใชแผงโซลาเซลรับรังสีความรอนจากแสงอาทิตยเพื่อเปลี่ยนเปนพลังงานไฟฟา สามารถนํ า ไปใชกับเครื่ อ งไฟฟ า ตา ง ๆได การออกแบบหลอดไฟนอกอาคารที่ส ามารถเปลี่ยน พลังงานแสงอาทิตยในตอนกลางวันใหเปนพลังงานแสงสวางในตอนกลางคืน นอกจากนี้พลังงาน แสงอาทิตยสามารถนํามาใชทําระบบน้ําอุนภายในอาคารโดยการใหน้ําผานตัวรับรังสีแบบแนวราบ (Flat Plate Collector) ที่รับความรอนจากแสงอาทิตยไดอีกดวย การออกแบบวางผังอาคารสถานที่ตาง ๆ ควรตองคํานึงกับทิศทางของ แสงอาทิตยเชนเดียวกัน เพื่อชวยใหไดรับพลังงานที่เหมาะสม กอใหเกิดภาวะความสบายใหเกิดขึ้น ทั้งในอาคารและนอกอาคาร เชน บานในประเทศที่มีอากาศหนาวเย็น จะพยายามเปดชองแสงทั้ง ทางดานทิศใต ทั้งนี้เพื่อใหไดรับแสงแดดอันอบอุนอยางเต็มที่ แตบานที่อยูในประเทศในเขตรอนจะ นิยมเปดชองเปดขนาดใหญทางทิศเหนือ เพราะจะไดรับรมเงามากกวา แสงที่ออกแบบนิยมใหเปน แสงที่ไมตกกระทบโดยตรง (Indirect Light) เพื่ อ หลีกเลี่ยงความร อนจากแสงอาทิตย การ ๔๕


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

ออกแบบวางผั งชุม ชนหรื อเมื องตาง ๆ ก็ตองคํา นึงถึงทิศทางของแสงอาทิตยเชนเดียวกัน ซึ่ ง ลักษณะของภูมิประเทศที่แตกตางกันจะไดรับแสงอาทิตยที่ตางกัน โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีลักษณะเปน เนิ น เขาตา ง ๆ การวางอาคารหรื อ ชุม ชนก็ค วรอยูใ นพื้ น ที่ได รั บ และแดดพอดี ไม ม ากหรื อ น อ ย จนเกินไป การวางถนนก็เกี่ยวกับทิศทางของแสงอาทิตยโดยตรง ถนนสายหลักไมควรวางในแนว ทิศตะวันออก ตะวันตก เนื่องจากแสงอาทิตยจะรบกวนสายตาของผูขับ ขี่ยานพาหนะ กอใหเกิด อุบัติเหตุได ๔.๒.๒ พลังงานลม พลังงานลมสามารถนํามาใชประโยชนไดอยางมากมาย โดยเฉพาะอยาง ยิ่ง การกอใหเกิดการไหลเวียนของอากาศ ซึ่งเปนปจจัยสําคัญสําหรับการสรางสภาวะสบายของ มนุษยทั้งภายในงานภูมิสถาปตยกรรม และสถาปตยกรรม พื้นที่มีการไหลเวียนของอากาศดีจะชวย ลดอุณหภูมิของพื้นที่ใหเย็นลง ถามีการออกแบบที่ถูกตองเหมาะสมจะลดการใชพลังงานจากการใช พัดลมและเครื่องปรับอากาศไดเปนอยางดีในฤดูรอน นอกจากนี้ยังนิยมนําพลังงานลมมาใชหมุน เครื่องกอกําเนิดพลังงานไฟฟา และหมุนกังหันวิดน้ําเขาพื้นที่ไดอีกดวย ๔.๒.๓ พลังงานน้ํา น้ําเปนทรัพยากรที่ทรงคุณคาที่สุดและเปนแหลงพลังงานที่สําคัญอยางเห นึ่ง แหลงน้ําธรรมชาติเมื่อเคลื่อนที่จะกอใหเกิดพลังงาน ซึ่งสามารถเปลี่ยนเปนพลังงานไฟฟาที่มี ประโยชน ภูมิสถาปนิกนิยมนําน้ํามาใชในพื้นที่เพื่อใหเกิดความเย็นจากการระเหยของน้ํา และเปน แหลงน้ํากินน้ําใชไดดี นอกจากนี้ยังพบวา น้ํายังสามารถเปนฉนวนกับความรอนจากแสงอาทิตย ไมใหเขาสูตัวอาคารไดดีอีกทางหนึ่ง นอกจากที่เราตองเรียนรูการนําน้ํามาใชใหไดประโยชนสูงสุดแลว ยังตองมี การออกแบบใหประหยัดในการใชน้ําอีกดวย ทั้งน้ําใชอุปโภคและบริโภค โดยคํานึงถึงการนํากลับมา ใชใหม ยกตัวอยางการออกแบบที่คํานึงถึงการประหยัดน้ํา ก็เชนการออกแบบสุขภัณฑประหยัดน้ํา ที่สามารถประหยัดไดถึง ๑/๓ เทาของสุขภัณฑทั่วไป เปนตน ๔.๒.๔ ทรัพยากรดินและตนไม สามารถนํามาใชในการควบคุมอุณหภูมิของงานสถาปตยกรรมและภูมิ สถาปตยกรรม ทั้งนี้เนื่องจากอุณหภูมิของพื้นดินจะเย็นกวาอุณหภูมิของอากาศในเวลากลางคืน และสามารถถายเทความเย็นนั้นใหกับสภาพแวดลอม ดังนั้นสวนของอาคารที่ถูกออกแบบใหถูกปก คลุมดวยดินจะมีอุณหภูมิต่ํากวาสวนอื่น นอกจากนี้พื้นที่ภายนอกอาคารที่เปนพื้นที่ดินมีพันธุไมปก คลุมจะมีอุณหภูมิ ต่ํากวาพื้นที่พื้น แข็งที่ถูกปกคลุม ดวยคอนกรีตหรือกระเบื้อง บริเวณใตตนไม ก็ เชนเดียวกันในยามกลางวันจะมีอุณหภูมิต่ํากวาภายนอกถึง ๑๐ องศาเซลเซียส การปลูกตนไมใหรม เงาแกอาคารสถานที่ จะชวยลดการใชพลังงานในการทําความเย็นในฤดูรอน สวนในฤดูหนาวตลิ่ง และเนินดินธรรมชาติจะชวยกันลมที่พัดพาเอาความหนาวเย็นไดเชนเดียวกัน นอกจากนี้การปลูก ตนไมจะชวยเปลี่ยนทิศทางลมใหไปในทิศทางที่ผูออกแบบตองตองการได เปนการชวยสงเสริม การใชพลังงานลมเพิ่มอีกทอดหนึ่ง

๔๖


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

ภาพที่ ๓๘ รูปดานและทัศนียภาพ แสดงแนวความคิดในการออกแบบวางผังชุมชนที่พักอาศัยใหไดรับ พลังงานจากแสงอาทิตยและพลังงานลมธรรมชาติอยางเต็มที่ ที่มา: Annable, Rob. ๒๕๕๐. “QRelevations1”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/eversion/391257700/in/ photostream/ (๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๕. ระบบสาธารณูปโภค ๕.๑ แหลงน้ํา ตั้ง แตยุค ประวัติศ าสตร มาแลวที่น้ํ าถูกมองวาเป นตน กําเนิ ดของชีวิตในเกือ บทุก แหลงอารยธรรมของมนุษย เชน แมน้ําเหลืองในประเทศจีน แมน้ํายูเฟรตีสในเปอรเซีย แมน้ําไนล ในประเทศอียิปต หรือแมแตลุมแมน้ําเจาพระยาในประเทศไทย อยางไรก็ดีศูนยกลางเมืองของเรา ในทุกวันนี้ มีจํา นวนประชากรสูง กวา เดิม มาก และตอ งการปริ มาณน้ํ า มากกวาเดิ มในอดี ตเป น ปริมาณมหาศาล ทําใหเกิดการขาดแคลนการใชน้ําเชนในปจจุบัน

๔๗


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

การทําความเขาใจกับวัฏจักรของน้ําในธรรมชาติ และพื้นที่รับน้ําเปนกุญแจที่นําไปสู การจัดการน้ําอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะตองพิจารณาทั้งการปองกันพื้นที่รับน้ํา และการอนุรักษ น้ําในเวลาเดียวกัน ๕.๑.๑ การปองกันพื้นที่รับน้ํา พื้นที่รับ น้ํา ตามธรรมชาติ มีหนา ที่ในการใหน้ํ าสูส ภาพแวดลอม การ จัดการพื้นที่รับน้ําอยางมีประสิทธิภาพจะชวยสงเสริมถิ่นที่อยูอาศัยของสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติ ชวยในการอนุรักษน้ําและใหสถานที่เก็บน้ําในระยะยาว ซึ่งชวยปองกันน้ําทวมได ๕.๑.๑.๑ แหลงน้ํา แหลงน้ํามักกอกําเนิดจากน้ําใตดิน และน้ําผิวดิน การผันน้ํ า ทะเลเขามาในน้ําจืดนั้นก็อาจมีความเปนไปได แตยากและสิ้นเปลืองพลังงานสูง วัตถุประสงคหลัก คือการปองกันแหลงน้ําจากการปนเปอน และใหเกิดความแนใจวาเกิดการหมุนเวียนเปนวัฏจักร ของน้ําตามธรรมชาติ ดังนั้นการปองกันพื้นที่รับน้ํา จึงกลายเปนเรื่องสําคัญสูงสุดในการจัดการ น้ําอยางมีประสิทธิภาพ ภาพที่ ๓๙ ทะเลสาบของโครงการ หมูบาน watercolour, UK. ซึ่งพัฒนา มาจากเหมืองหินทรายเกา ที่มา: Capper, Ian. ๒๕๕๑. “File:Watercolour geograph.org.uk - 1086010.jpg”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://commons.wikimedia.org/wik i/File:Watercolour__geograph.org.uk_-_1086010.jpg (๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔).

โดยทั่วไปแลว แหลงน้ําใตดินเปนแหลงน้ําที่สะอาดที่สุด และ ประหยัด พลังงานมากที่สุด เนื่องจากเปน แหลงน้ํา ในทองถิ่นที่ตองการขั้นตอนการนํา มาทําให สะอาดเพียงเล็กนอยและงายตอการนํามาใช อยางไรก็ดีแหลงกักเก็บน้ําใตดินสามารถที่จะหมดไป อยางงายดายและงายตอการปนเปอน ควรใหแหลงน้ําใตดินมีความลึกอยางนอย ๑๕ เมตร และ หางจากแหลงน้ําผิวดินอยางนอย ๖๐ เมตร ๕.๑.๑.๒ ธรรมชาติและการไหลของน้ํา วิ ธี ก ารสมั ย ใหม ข องการจั ด การการไหลของน้ํ า ขึ้ น อยู กั บ เทคโนโลยี ปมน้ํา และวัสดุเหล็กและคอนกรีต เปนเครื่องมือที่ใชกันอยูโดยทั่วไป เทคโนโลยีนี้ใช พลังงานอยางมาก และมักกอใหเกิดปญหาตอสิ่งแวดลอม การควบคุมการไหลของน้ําสามารถทํา ไดอยางงายดาย โดยการใหธรรมชาติทําหนาที่แทนโดยไมตองใชพลังงานที่มากเกินไป การจัดการการไหลของน้ําโดยวิธีธรรมชาติ เปนที่รูจักกันดีใน นามของวิศวกรรมภูมิลักษณ ซึ่งมีวัตถุประสงคหลักในการเปลี่ยนแปลงและสงเสริมการไหลของ ๔๘


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

น้ําตามธรรมชาติ เพื่อปรับปรุงความสามารถของพื้นที่ในการที่จะกักเก็บ และดูดซับน้ํา ลักษณะ ทางภูมิศาสตรของพื้นที่สามารถนํามาใชเปนแนวทางการไหลของน้ําผานรองน้ําที่กอสรางขึ้น ราก ของตนไมชวยอนุรักษดินไดอยางมีประสิทธิภาพยิ่งกวาคอนกรีต พันธุไมและพืชขนาดเล็กบางชนิด สามารถนํามาใชในการกรองเอาแบคทีเรียสารพิษและโลหะหนั กออกจากน้ํา เสี ย โดยทําหนา ที่ เหมือนเปนระบบบําบัดน้ําเสีย ๕.๑.๑.๓ รองน้ํา การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ ป ระเทศของพื้ น ที่ เช น การ กอสรางรองน้ํา เปนวิธีที่มีประสิ ทธิภาพในการเก็บรักษาและนํา น้ําไปยัง พื้นที่กักเก็บ หรือใหน้ํ า กลับคืนสูพื้นที่ เราสามารถนําน้ําเขาสูพื้นที่เพาะปลูก หรือพื้นที่ธรรมชาติ เชน พื้นที่ชุมน้ําและปา ไมหรืออางเก็บน้ํา รองน้ําเหลานี้ควรถมดวยทรายหรือกรวด และเติมดวยพืชน้ําที่ชวยชะลอการ ไหลของน้ํา ทําใหน้ําสะอาดขึ้น และชวยใหผืนดินสามารถดูดซับน้ําไดดียิ่งขึ้น ภาพที่ ๔๐ Well Creek, Goodman's Crossing, Wisbech, UK ที่มา: Simak, Evelyn. ๒๕๕๒. “TF5103 : Wisbech & Upwell tramway Goodman's Crossing”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.geograph.org.uk/photo/1241525 (๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๕.๑.๑.๔ ระบบกักเก็บน้ํา ระบบกักเก็บน้ําฝนใหทางเลือกที่สวยงามและดูเปนธรรมชาติ มากกวาระบบระบายน้ําดั้งเดิม ซึ่งมักจะปลอยใหน้ําไหลไปหมดโดยไมซึมลงผิวดิน ระบบเก็บกัก น้ําจะเก็บน้ําผิวดินและปลอยออกอยางชาๆ เพื่อใหซึมลงดิน ระบบนี้ชวยเก็บรักษาน้ําไวในพื้นที่และ ชวยปองกันน้ําทวม ถาไดรับการออกแบบอยางดีแลว ระบบนี้สามารถกลายเปนองคประกอบเสริม ที่ดึงดูดใจในสวนสาธารณะได โดยการใชอางเก็บน้ําเปนจุดรวมสายตาของผูมาพักผอนหยอนใจ ภาพที่ ๔๑ สระกักเก็บและระบายน้ําฝน ของ ชุมชน Whitetree Close, UK. ที่มา: Facey, Peter. ๒๕๕๑. “File:Balancing pond, part of Whitetree Close housing development - geograph.org.uk 747700.jpg”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่ มา http://commons.wikimedia.org/ wiki/File:Balancing_pond,_part_of_Wh itetree_Close_housing_development__geograph.org.uk_-_747700.jpg (๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๔๙


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๕.๑.๒ การอนุรักษน้ํา ควรลดความตองการในการใชน้ําสําหรับบานพักอาศัยลง โดยการจัดการ ภูมิทัศนอยางมีประสิทธิภาพ มีการนําน้ําที่บําบัดแลวกลับมาใชใหม หรือนําน้ําใชจากครัวเรือนใน บางสวนมาใชในการรดน้ําตนไม เปนตน ๕.๑.๒.๑ การใชน้ําในงานภูมิทัศนอยางมีประสิทธิภาพ การวางผังพื้นที่และการจัดภูมิทัศน มีความเชื่อมโยงกับการใช น้ํา ดังนั้นการใชน้ําในงานภูมิทัศนอยางมีประสิทธิภาพมีผลกระทบอยางมากตอการประหยัดน้ําใน การพัฒนาพื้นที่ การเลือกใชวัสดุพืชพันธุ ซึ่งตองการน้ํานอย โดยพยายามไมนําไมตางถิ่นมาใช เปนสิ่งที่ควรทําเปนอันดับแรก ในกรณีนี้การเลือกใชพันธุไมในพื้นที่มักเปนคําตอบที่ดี เนื่องจาก เป น พั น ธุ ไ ม ที่ ส ามารถปรั บ ตั ว ได ดี ใ นสภาพภู มิ อ ากาศนั้ น ๆ และต อ งการน้ํ า ในปริ ม าณที่ สภาพแวดลอมในที่นั้นๆ มีใหได การรดน้ําตนไมในชวงเวลาเย็นหรือเชาเปนชวงเวลาที่เหมาะสม กวาการรดน้ําในชวงกลางวัน เนื่องจากจะสูญเสียน้ําไปเพราะการระเหยในปริมาณมาก การลด ขนาดของสนามหญาเปนวิธีทีดีในการอนุรักษน้ํา ภาพที่ ๔๒ สวนน้ําฝน (Rain Garden) ที่ชุมชนVastra Hamnen, Malmo, Sweden ที่มา: La Citta Vita. ๒๕๕๓. “Vastra Hamnen, rain garden”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/l a-citta-vita/4749837642/ (๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๕.๑.๒.๒ การกักเก็บน้ําฝน การกักเก็บน้ําฝนโดยใชอางเก็บน้ําหรือภาชนะอื่นๆ สามารถนํา น้ํานั้นมาใชในงานภูมิทัศนหรือนํามาใชในการอุปโภคบริโภคได น้ําฝนจากหลังคามักจะถูกเก็บไวใน โองหรือแทง คน้ํา เพื่อ นํามาใชในภายหลัง ในบางกรณีการกักเก็บน้ํา ฝนสามารถนํ าน้ํามาใชได สําหรับคนทั้ง ชุมชนเลยทีเดียว ๕.๑.๓.๓ การนําน้ําใชกลับมาใชใหม น้ําที่ใชแลวในชุมชนมี ๒ ชนิด คือ

๕๐


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๑) น้ําใชจากการอาบน้ํา การซักลาง การลางจาน และ ๒) น้ําเสียจากโถสวม น้ําใชแลวจากแหลงที่ ๑ นั้นสามารถนํา กลับมาใชในงานภูมิทัศนได และจะชวยประหยัดน้ําไดมาก

๕.๒ ระบบน้ําสะอาด น้ําสะอาดเปนสิ่งที่จําเปนอยางยิ่งตอการดํารงชีพของสิ่งมีชีวิตทั้งปวง คนในชุมชน จําเปนตองมีน้ําสะอาดสําหรับการบริโภคในครัวเรือน ทั้งเปนน้ําดื่ม เปนสวนประกอบในการปรุง อาหาร ชํา ระลา ง รดน้ํา ตน ไม ฯลฯ หากระบบน้ํ า สะอาดได ถูกจัด เตรี ยมอยางเพี ยงพอและ เหมาะสม ก็จะชวยสงเสริมคุณภาพชีวิต และสุขอนามัยที่ดีของคนในชุมชน การจัดหาระบบน้ํา สะอาดในชุมชนที่เปนที่นิยมและไดรับการยอมรับอยางกวางขวาง ไดแกการจัดสรางระบบประปา หมูบาน ซึ่งจะสามารถใหบริการแกชุมชนครอบคลุมพื้นที่กวางขวาง ทั้งนี้สิ่งสําคัญในการจัดสราง ระบบประปาก็คือการจัดหาแหลงน้ําดิบทั้งจากแหลงน้ําใตดิน และน้ําผิวดินใหเพียงพอนั่นเอง ๕.๒.๑ ทําเลที่ตั้งที่เหมาะสมในการกอสรางระบบประปา ที่ตั้งที่เหมาะสมในการกอสรางระบบประปาควรมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ ๕.๒.๑.๑ อยูใกลแหลงน้ําที่จะใชสําหรับผลิตน้ําประปา ซึ่งแบงได เปน ๒ ประเภท คือแหลงน้ําใตดินหรือบอน้ําบาดาล และแหลงน้ําผิวดิน เชน แมน้ํา ลําคลอง ไมวาจะ ใชน้ําจากแหลงใดก็ควรจะมีการทดสอบคุณภาพน้ําและปริมาณน้ํา น้ําที่จะใชควรมีคุณภาพดีไมมี โลหะหนักหรือสารพิษเจือปน และควรมีปริมาณที่พอเพียงตลอดทั้งป ๕.๒.๑.๒ อยูใกลสายไฟฟาหลัก เพื่อเปนแหลงพลังงานที่สําคัญ ๕.๒.๑.๓ อยูบนที่สูง เพื่อความสะดวกในการจายน้ําประปาใหทั่วถึงทั้ง ชุมชน และเพื่อปองกันความเสียหายอันเกิดจากน้ําทวมถึงในฤดูฝน ๕.๒.๑.๔ อยูหางสถานที่ที่นารังเกียจ หรือแหลงปฏิกูลในชุมชน เชน สุสาน เมรุ สถานที่ทิ้งขยะ สุขา เปนตน ๕.๒.๒ องคประกอบในระบบประปา การสรางระบบประปาชุมชน ประกอบไปดวยองคประกอบดังตอไปนี้ ๕.๒.๒.๑ ระบบน้ําดิบ ๑) แหลงน้ํา ดิบ อาจเป นแหลง น้ํา ใตดิน เชน บอ น้ํา บาดาล หรือ แหลงน้ําผิวดิน เชน แมน้ํา ลําคลอง เปนตน ๒) เครื่องสูบน้ําดิบ เพื่อสูบน้ําจากแหลงน้ําสงไปยังระบบผลิต น้ํา ๓) ทอสงน้ําดิบ ทําหนาที่สงน้ําจากแหลงน้ําสงไปยังระบบผลิต น้ํา

๕๑


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

ภาพที่ ๔๓ อางเก็บน้ําใตดนิ แบบ ปด ของชุมชนขนาด 60 หลังคา เรือน ที่ Brighton, UK. ที่มา: Carey, Simon. ๒๕๔๙. “File:Covered Reservoir geograph.org.uk 142251.jpg”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://commons.wikimedia.or g/wiki/File:Covered_Reservoir _-_geograph.org.uk__142251.jpg/ (๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๕.๒.๒.๓ ระบบผลิตน้ํา แบงออกเปน ๒ ประเภท ไดแก ๑) ระบบผลิตน้ําประปาแบบบาดาล มีองคประกอบดังนี้ ๑.๑) ระบบเติม อากาศ ชวยให น้ํ า ดิ บ สั ม ผั ส อากาศ ไดมากขึ้น ทําใหสารละลายของเหล็กจับตัวเปนตะกอนสนิม ๑.๒) ถังกรองสนิมเหล็ก ชวยกรองสนิมเหล็กจากน้ํา ๑.๓) ระบบฆาเชื้อโรค ชวยใหน้ําสะอาดและปลอดภัย ๒) ระบบผลิตน้ําประปาแบบผิวดิน มีองคประกอบดังนี้ ๒.๑) ระบบกวนเร็ว ชวยทําลายความเสถียรของ ตะกอนน้ําดิบ ๒.๒) ระบบกวนชา ชวยเพิ่มขนาดและน้ําหนักของ ตะกอนน้ําดิบ ๒.๓) ถังตกตะกอน ทําหนาที่รองรับตะกอนน้ําดิบให ตกตะกอนลงที่กนถัง ๒.๔) ถังกรองน้ํา ชวยกรองตะกอนออกจากน้ํา ๒.๕) ระบบฆาเชื้อโรค ใหน้ําสะอาดและปลอดภัย ๒.๖) ถังน้ําใส เก็บกักน้ําสําหรับใชในชุมชน ๕.๒.๒.๔ ระบบจายน้ํา มีองคประกอบดังนี้ ๑) เครื่องสูบน้ําดี ทําหนาที่สูบน้ําที่ผานการผลิตขึ้นเก็บบนหอ ถังสูง เพื่อความสะดวกในการจายน้ําไปยังชุมชน ๒) หอถังสูง เปนที่เก็บน้ําที่พรอมจะแจกจายไปยังชุมชนดวย แรงดันน้ําอันเนื่องมาจากความสูงของถังเก็บ ๓) ทอหลักจายน้ํา ทําหนาที่จายน้ําประปาจากหอถังสูงไปยัง ชุมชน

๕๒


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๕.๓ การบําบัดน้ําเสีย ในการบํ า บั ด น้ํ า เราสามารถนํ า การบํ า บั ด ด วยวิธีธ รรมชาติม าใช เป น ทางเลือ ก นอกเหนือไปจากการบําบัดดวยโรงงานบําบัด เชน การบําบัดดวยพื้นที่ชุมน้ํา (Wetland) ซึ่งจะชวย อนุรักษน้ํา และเปน ระบบชีวภาพที่ไมเปนอันตรายและชวยประหยัด พลังงาน ทําใหป ระหยัดใน ทางดานเศรษฐกิจมากกวาการบําบัดดวยโรงงานบําบัด น้ําเสียในชุมชน เกิดจากการใชน้ําเพื่อ ประกอบกิจกรรมตางๆในชุมชน จนทําใหเกิดการปนเปอนในน้ําเหลานั้น ในการจัดระบบบําบัดน้ํา เสี ยในชุม ชน ผู นํ า ชุ ม ชนหรื อ ผู บ ริ ห ารโครงการ จะตอ งจั ด ทํา แผนหลั กในการบํ า บั ด น้ํ า เสี ย ทําการศึกษาถึงความเหมาะสม กอนจะสํารวจออกแบบรายละเอียดระบบรวบรวมและบําบัดน้ํา เสีย ซึ่งจะนําไปสูการกอสรางระบบที่เหมาะสมตอไป ในการจัดเตรียมแผนการจัดการน้ําเสียนั้น จะตองพิจารณาถึงปจจัยขั้นพื้นฐาน ประกอบดวย ๑) สภาพภูมิอากาศในบริเวณพื้นที่ สภาพทั่วไปทางกายภาพ และวิถี ชีวิตของประชาชน ๒) ระดับเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสภาพทองถิ่นและทรัพยากรที่มีอยู ๕.๓.๑ หลักเกณฑการเลือกสถานที่ตั้งโรงบําบัดน้ําเสียของชุมชน ในการกําหนดสถานที่ตั้งของโรงบําบัดน้ําเสียภายในชุมชน ควร พิจารณาถึงหลักเกณฑตอไปนี้ (กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น: ม.ป.พ.) ๕.๓.๑.๑ ควรเลือกพื้นที่ที่มีระดับต่ําที่สุดในชุมชน (โดยปรกติมักจะอยู ใกลแมน้ํา ลําธาร) เพื่อใหสามารถวางทอรับน้ําเสียมาไดดวยการไหลตามธรรมชาติ ๕.๓.๑.๒ ควรเลือกพื้น ที่ที่อยูหา งจากชุมชนไมน อยกวา ๓๐๐ เมตร เพื่อลดปญหาที่เกิดจากมลพิษทางเสียงและกลิ่น ๕.๓.๑.๓ ควรเปนพื้นที่ที่เขาถึงไดสะดวก ๕.๓.๑.๔ ไมควรเปนพื้นที่น้ําทวมถึง ๕.๓.๑.๕ ตองมีชั้นดินที่แข็งแรง เหมาะสมในการรับน้ําหนักโครงสราง ของโรงบําบัดน้ําเสีย ๕.๓.๑.๖ มีพื้นที่เพียงพอตอความตองการคือ ๑) ระบบบอฝงใชพื้นที่ ๔ ต.ร.ม./คน ๒) ระบบสระเติมอากาศ ใชพื้นที่ประมาณ ๑ ตรม./คน ๓) ระบบเอเอส ใชพื้นที่ประมาณ ๐.๓ ต.ร.ม./คน ๕.๓.๑.๗ จุดปลอยน้ําทิ้งจะตองออกแบบใหผสมกับน้ําในลําน้ําไดทั่วถึงดี ๕.๓.๑.๘ มีมาตรการปองกัน/ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ๕.๓.๑.๙ มีการสรางความเขาใจและการยอมรับของประชาชนในทองถิ่น สําหรับความจําเปนของการกอสรางโรงบําบัดน้ําเสีย ๕.๓.๒ แนวทางในการพิจารณาเลือกประเภทของของระบบบํ าบัดน้ํ าเสี ยตาม ขนาดของชุมชน โดยทั่วไปสามารถสรุปรูปแบบของการจัดการน้ําเสียได ๔ แบบ โดย จําแนกตามขนาดของชุมชนไดดังนี้ (กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น: ม.ป.พ.) ๕๓


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๕.๓.๒.๑ ระบบบําบัดน้ําเสียแบบที่ติดกับบาน ใชกับพื้นที่ที่มี ความหนาแนนของประชากรนอยกวา ๑๐๐ คน/เฮกแตร (๑ ไร= ๐.๑๖ เฮกแตร ) ๕.๓.๒.๒ ระบบบําบัดน้ําเสียชุมชนขนาดเล็ก (Small Scale Waste Water Treatment) หรือระบบบําบัดน้ําเสียแบบติดกับที่ที่มีประสิทธิภาพการบําบัดสูง (On-Site Treatment) ใชกับพื้นที่ที่มีความหนาแนนของประชากรนอยกวา ๑๐๐ -๓๐๐ คน/ เฮกแตร (๑ ไร= ๐.๑๖ เฮกแตร ) ระบบที่นิยมใชกันในปจจุบันได แก บ อเกรอะ (Septic Tank) ถังกรองไรอากาศ (Anaerobic Filter) บอซึมและลานซึม ๕.๓.๒.๓ ระบบบําบัดน้ําเสียของชุมชนขนาดใหญ ใชกับพื้นที่ที่ มีความหนาแนนของประชากรมากกวา ๓๐๐ คน/เฮกแตร เปนระบบรวบรวมน้ําเสียกับระบบบําบัด น้ําเสียสวนกลาง ซึ่งสามารถจําแนกออกตามลักษณะของน้ําที่จะระบายออกไดเปน ๒ ประเภท ไดแก ๑) ระบบทอรวม คือระบบที่ทําหนาที่ทั้งรวบรวมน้ํา เสียและน้ําฝนไปยังโรงบําบัดน้ําเสีย ๒) ระบบทอแยก คือระบบซึ่งแยกการรวบรวมน้ําเสีย ออกจาระบบระบายน้ําฝน เปนระบบที่ไดรับความนิยมมากในการออกแบบในปจจุบัน แตจะตอง เสียคาใชจายในการกอสรางตอหนวยสูงกวาระบบทอรวม ๕.๓.๒.๔ รูปแบบผสมผสานของระบบดังกลาวขางตน หมายเหตุ ๑ ไร = ๐.๑๖ เฮกแตร หรือ ๐.๓๙๕ เอเคอร ๑ เฮกแตร = ๖.๒๕ ไร ๑ เอเคอร = ๒๕ ไร

๕.๔ ระบบไฟฟาสาธารณะ ในชุมชนพักอาศัย จําเปนจะตองใหบริการไฟฟาสาธารณะ นอกจากจะเพื่ออํานวย ความสะดวกในการดํารงชีวิตแลว ยังเปนการเพิ่มความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน โดยการ ชวยลดอุบั ติเหตุ บนทองถนน และลดป ญหาการกออาชญากรรม ที่มั กจะเกิด ขึ้นในยามค่ําคื น กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (ม.ป.พ.) ไดใหคํานิยามถึงไฟฟาสาธารณะวา หมายถึง “การ ติดตั้งโคมไฟฟาแสงสวางระบบแรงต่ํา ๒๒๐-๒๓๐ โวลต (๑ เฟส) และ ๓๘๐-๔๐๐ โวลต (๓ เฟส) ในเขตองคการบริหารสวนตําบลและเทศบาลในบริเวณแนวถนนสายหลัก แนวถนนสายรอง ทางแยก วงเวียนที่ไมมีสัญญาณไฟจราจร สะพาน สะพานลอยคนขาม ทางเดินเทา (ฟุตบาท) ทางมาลาย สวนสาธารณะ ตลาด สนามเด็กเลน ลานจอดรถสาธารณะ ลานกีฬาชุมชน ศาลา ที่พักผูโดยสารรถประจําทาง และปายจอดรถประจําทาง (ไมมีศาลา)” นอกจากนี้ยังไดบรรยาย ถึงหลักการออกแบบระบบไฟฟาแสงสวางดังจะไดแสดงตอไปนี้

๕๔


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๕.๔.๑ มาตรฐานความสองสวาง มีความจําเปนอยางยิ่ง ที่จะตองมีการกําหนดมาตรฐานความสองสวาง สําหรับพื้นที่สาธารณะในยามค่ําคืน ทั้งนี้เพื่อประโยชนในดานความสะดวกในการใชสอยพื้นที่ และ ดานการรักษาความปลอดภัย ตารางที่ ๒ ความตองการแสงสวางสําหรับไฟถนน (ถนนสายหลัก ถนนสายรอง ทางแยก วงเวียน ที่ไมมีสัญญาณไฟ) ประเภทถนน ความสองสวางเฉลี่ย วัดในแนวระดับต่ําสุด (lux) ๑. ถนนสายหลัก ๑๕ ๒. ถนนสายรอง ๑๐ ๓. ทางแยก ๒๒ ๔. วงเวียนที่ไมมีสัญญาณไฟจราจร ๑๕ ที่มา: กรมสงเสรมการปกครองสวนทองถิ่น (ม.ป.พ.) ตารางที่ ๓ ความตองการแสงสวางสําหรับพื้นที่สาธารณะ (สวนสาธารณะ ตลาด สนามเด็กเลน ลานจอดรถสาธารณะ ลานกีฬาชุมชน สะพาน สะพานลอยคนขาม ทางเดินเทา ทางมาลาย ศาลาที่พักผูโดยสารรถประจําทาง ปายจอดรถประจําทาง (ไมมีศาลา) ชนิดของพื้นที่ ความสองสวางเฉลี่ย วัดในแนวระดับต่ําสุด (lux) ๑. สวนสาธารณะ ๑๐ ๒. ในตลาด (ในอาคาร) ๑๐๐ ๓. ลานตลาด (นอกอาคาร) ๓๐ ๔. สนามเด็กเลน ๕๐ ๕. ลานจอดรถสาธารณะ ๑๕ ๖. ลานกีฬาชุมชน ๕๐ ๗. สะพาน ๓๐ ๘. สะพานลอยคนขาม ๑๕ ๙. ทางเดนเทา (ฟุตบาท) ๗ ๑๐. ทางมาลาย ๔๕ ๑๑. ศาลาที่พักผูโดยสารรถประจําทาง ๓๐ ๑๒. ปายจอดรถประจําทาง (ไมมีศาลา) ๗ ที่มา: กรมสงเสริมการปกครองสวนทองถิ่น (ม.ป.พ.)

๕.๔.๒ รูปแบบการติดตั้งไฟฟาสาธารณะตามแนวถนน ทางแยก วงเวียน การเลือ กชนิ ด ของโคมไฟ และดวงโคม ควรเลื อ กให ส อดคล อ งกั บ วัตถุประสงคในการใชงาน และลักษณะภูมิทัศนโดยรอบพื้นที่นั้นๆ สําหรับรูปแบบในการติดตั้ง ควรดําเนินการตามรูปแบบและลักษณะของถนน และพื้นที่ติดตั้งดังนี้ (กรมสงเสริมการปกครอง สวนทองถิ่น : ม.ป.พ.) ๕๕


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

๕.๔.๒.๑ ติดตั้งฝงเดียวกันของถนน เหมาะกับถนนเล็กๆในซอยหรือทาง เทา ๕.๔.๒.๒ ติด ตั้งสองฝ ง ถนนสลับ กัน เหมาะกับ ถนนกวา งไม เกิน ๖ เมตร ๕.๔.๒.๓ ติดตั้งสองฝงถนนตรงขามกัน เหมาะกับถนนกวาง ๘ เมตร ขึ้นไป ๕.๔.๒.๔ ติด ตั้งกลางถนน โดยแยกโคมไฟฟ าเป นสองทางในเสาตน เดียวกัน เหมาะสําหรับถนนกวาง ๘ เมตรขึ้นไป และมีเกาะกลางถนน ๕.๔.๒.๕ การติดตั้งโคมไฟที่กลางสี่แยก (Cross-Road) ซึ่งจะมีระบบ ติดตั้งถี่กวาการติดตั้งตามแนวถนนปรกติ ๕.๔.๒.๖ การติดตั้ง โคมไฟที่กลางสามแยก (T-Junction) ซึ่ งจะมี ระบบติดตั้งถี่กวาการติดตั้งตามแนวถนนปรกติ ๕.๔.๒.๗ การติดตั้งโคมไฟฟาบริเวณวงเวียน

ภาพที่ ๔๔ เจาหนาที่กาํ ลังเปลี่ยนเสาไฟฟาสองสวางบนถนน Medway Road, Rochester, UK. เพื่อเปน รูปแบบเสาไฟฟาทีท่ ันสมัยขึ้นกวาเดิม ที่มา: Anstiss, David. ๒๕๕๒. “File:Replacing street light on Medway Road - geograph.org.uk - 1389363.jpg”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://commons.wikimedia.org/wiki/File:Replacing_street_light_on_Medway_Road__geograph.org.uk_-_1389363.jpg (๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๕.๔.๓ ระยะหางระหวางจุดติดตั้งดวงโคมกับขอบถนนที่สัมพันธกับความเร็วของ ยานพาหนะ ตามถนนเส น ตา งๆที่มี ยานพาหนะสั ญ จรผ า นไปมา โดยมี ค วามเร็ ว ที่ แตกตางกัน ยอมมีความเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุจากการเฉี่ยวชนเสาไฟฟาที่แตกตางกันไปดวย ดังนั้นจึงควรกําหนดระยะหางที่ปลอดภัยในการติดตั้งดวงโคมจากขอบของถนน ดังแสดงในตาราง ตอไปนี้ ๕๖


¡ÒÃÇÒ§¼ §áÅÐÍ͡ẺªØÁª¹

ตารางที่ ๔ ระยะหางความปลอดภัยระหวางจุดติดตั้งดวงโคมจากขอบถนน ที่สัม พันธกับความเร็วของ ยานพาหนะ ความเร็วของยานพาหนะ (กม./ชม.) ๕๐ ๘๐ ๑๐๐ ๑๒๐ ที่มา: BS 5489 : Part 1 หมายเหตุ

ระยะหางจากขอบถนน (เมตร) ๐.๘ ๑-๑.๕ อยางนอย ๑.๕ อยางนอย ๑.๕

๑) ความเร็วของยานพาหนะ เปนความเร็วตามกฎหมายกําหนด ๒) ในกรณีท่ไี มสามารถปฏิบัติตามตารางที่ ๔ ได เนื่องจากไมมีพื้นที่ระยะหางของ ถนนเพี ยงพอ ใหสามารถติดตั้ งเสาดวงโคมได ในระยะไมต่ํากวา ๐.๖๕ เมตร พรอมมีที่กําบังเสาดวงโคม (Barrier) ความสูง ๐.๙-๑.๓ เมตร พรอมทั้แผน สะทอนแสงสีเหลืองสลับดําติดกับที่กําบังนั้นดวย

๕.๔.๔ ระยะหางของจุดติดตั้งไฟฟาสาธารณะ โดยทั่วไปแลวการติดตั้ง ดวงโคมของระบบไฟฟ าสาธารณะ จะทําการ ติดตั้งที่เสาไฟฟาของการไฟฟาฯ ตามแนวถนนนั้นๆ ซึ่งมีระยะประมาณ ๒๐ เมตร ๔๐ เมตร หรือ ๘๐ เมตร ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ ขนาดของสายไฟที่พาดบนเสาไฟฟา ยกเวนในกรณีที่เสาไฟฟา ของการไฟฟา ตั้งอยูหางจากแนวถนนมาก จึงจําเปนตองติดตั้งเสาตางหากสําหรับแขวนโคมไฟ ตามไหลทาง ซึ่งสามารถกําหนดระยะหาง ไดตามความเหมาะสม แตตองใหมีระดับความสวาง ตามมาตรฐานความสองสวาง ดังที่ไดกลาวมาแลว

๕๗


บ ท ที่

การวางผังและออกแบบสวนสาธารณะและสถานที่ พักผอนหยอนใจในชุมชน  การใชพื้นที่สาธารณะในชุมชน  กระบวนการในการวางแผน และออกแบบสวนสาธารณะ และ สถานที่พักผอนหยอนใจ  องคประกอบของสวนสาธารณะ และสถานที่พักผอนหยอนใจ ที่ดี  หลักในการวางผังและออกแบบสวนสาธารณะ และสถานที่ พักผอนหยอนใจที่ดี

๕๘


¡ÒÃÇÒ§¼Ñ §áÅÐÍ͡ẺÊǹÊÒ¸ÒóÐ

๑. การใชพื้นที่สาธารณะในชุมชน พื้นทีส่ าธารณะในชุมชนเกิดขึน้ จากความตองการพืน้ ที่ใชประโยชนรวมกัน ของประชาชนใน ชุมชน พื้นทีส่ าธารณะเหลานีม้ ีหลากหลายรูปแบบ และระดับในการใหบริการ ขึ้นอยูกับกลุมผูใช ตําแหนงที่ตั้ง และหนาทีใ่ นการใหบริการ มีตั้งแตพนื้ ที่แคบๆตามริมถนนสาธารณะ ไปจนถึง สวนสาธารณะขนาดใหญ อาจเปนพืน้ ที่ปพู นื้ ผิวดวยวัสดุปพู ื้น หรืออาจเปนสนามหญาและสวน แต ละสถานที่ตองการองคประกอบที่ไมเหมือนกัน เนื่องจากมีลักษณะการใชพื้นที่ทแี่ ตกตางกันไป เชน อาคารสาธารณะ อาคารบริการ ศาลา มานัง่ สนามเด็กเลน เปนตน ประชาชนในชุมชนตองการ พื้นทีส่ าธารณะ สวนใหญก็เพื่อกิจกรรมนันทนาการและพักผอนหยอนใจ เชน นัง่ พักผอนใตรมเงา ไม อานหนังสือ ฟงเพลง เลนกีฬา เดินเลน นอกจากนี้ผคู นยังใชพื้นทีส่ าธารณะเปนพื้นที่เพื่อ กิจกรรมทางสังคม เชน พบปะสังสรรค พูดคุย จัดกิจกรรมกลุม หรือเพียงแตนั่งมองคนผานไปมา เฉยๆ พื้นทีส่ าธารณะในชุมชนควรถูกสรางขึน้ อยางเปนระบบ เพื่อตอบสนองตอความตองการ ของสาธารณะชน โดยมีพื้นฐานอยูบนความตองการของคนในชุมชนนัน้ ๆ เราสามารถแบงระดับการ ใหบริการของพื้นที่สาธารณะออกได ๒ ระดับ คือระดับละแวกบาน และในระดับหมูบ าน ดัง รายละเอียดดังนี้ ชุมชนระดับละแวกบาน (Neighborhoods) เปนกลุมทางสังคมขั้นพื้นฐานในการวางผัง ชุมชนระดับละแวกบานเปนสวนที่พักอาศัยในเมือง มีขนาดประชากรไมเกิน ๖,๐๐๐ คน มี สภาพแวดลอมทางสังคมที่ตอบสนองความตองการของครอบครัวขัน้ พื้นฐาน เชน โรงเรียน ยาน พาณิชยกรรม วัด และสถานที่สาธารณะอืน่ ๆ ชุ ม ชนระดั บ หมู บ า น (Community) เป น พื้ น ที่ พั ก อาศั ย ที่ มี ข นาดใหญ ขึ้ น ไปอี ก ประกอบดวยชุมชนระดับละแวกบานประมาณ ๓-๕ ชุมชน มีประชากรตั้งแต ๒๐,๐๐๐ ถึง ๔๐,๐๐๐ คน มีเอกลักษณเฉพาะที่เห็นไดชัดในเมือง คนในชุมชนระดับละแวกบานจะมีลักษณะทางสังคมที่คลายคลึงกันภายในชุมชน เชน ดาน สถานะภาพทางสังคม ฐานะทางเศรษฐกิจ พื้นฐานของความเชื่อทางศาสนา และเชื้อชาติ ในขณะ ที่ประชากรในชุมชนระดับหมูบานจะมีความหลากหลายมากกวาและมักจะถูกแบงแยกเปนกลุมยอย โดยขอบเขตทางธรรมชาติ เชน ลักษณะภูมิประเทศ เปนตน ดังที่ไดกลาวมาแลววาพื้นที่สาธารณะในชุมชนนั้นมีหลายประเภท อยางไรก็ดี ในเอกสาร เลมนี้ จะมีเนื้อหามุงเนนไปที่ สวนสาธารณะและพื้นที่พักผอนหยอนใจของชุมชน เนื่องจากเปน พื้น ที่สาธารณะส วนใหญของชุม ชน และมีค วามตองการในการใชอยา งมาก นอกจากนี้ ยัง มี ความสํ า คั ญ ตอ คุ ณภาพชีวิตของคนในชุ ม ชนอยา งเห็ น ได ชัด เราสามารถจํ า แนกชนิ ด ของ สาธารณูปการดานการนันทนาการ และพักผอนหยอนใจในชุมชน ออกตามประเภทและขนาดของ การใหบริการไดดังนี้

๕๙


¡ÒÃÇÒ§¼Ñ §áÅÐÍ͡ẺÊǹÊÒ¸ÒóÐ

๑.๑ สาธารณูปการดานการพักผอนหยอนใจที่ตองการ ๑.๑.๑ สนามเด็กเลนสําหรับเด็กกอนวัยเรียน เปนพื้นที่ขนาดเล็กสําหรับเปนที่เลนของเด็กกอนวัยเรียน มีขนาดตั้งแต ๒๐๐ ตรม.- ๕๐๐ ตรม. และตั้งอยูในพื้นที่เปดโลง บริเวณใจกลางของหมูบานหรืออาจเปนสวน หนึ่งของสวนสาธารณะขนาดใหญ มีอุปกรณการเลน เชน ชิงชา มาหมุน บอทราย น้ําพุ เปนตน อยูในรัศมีการเดิน ๑๕๐-๓๐๐ เมตร จากชุมชน ภาพที่ ๔๕ สนามเด็กเลนสําหรับ เด็กกอนวัยเรียน ภายใน สวนสาธารณะประจําเมือง Magna, Utah, U.S.A. ที่มา: Leon7. ๒๕๕๑. “File:Park playground.jpg”. [ระบบ ออนไลน]. แหลงที่มา http://commons.wikimedia.o rg/wiki/File:Park_playground .jpg (๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๑.๑.๒ สนามเด็กเลนทั่วไป ถูกออกแบบมาเพื่อรองรับเด็กวัย ๖-๑๕ ป ตั้งอยูในรัศมี ๕๐๐ เมตร จาก กลุมบานที่อยูขางเคียง มีขนาดพื้นที่ ๐.๕ ไร ตอ ประชากร ๑,๐๐๐ คน มีพื้นที่แบงออกเปน สวนๆ ตามการใชงานที่แตกตางกัน เชน พื้นที่นั่งพักผอนใตรมไม พื้นที่เลนเกม พื้นที่เลนกีฬา พื้นที่สําหรับกิจกรรมภายในอาคาร เปนตน ภาพที่ ๔๖ สนามเด็กเลนทั่วไป ภายใน Chelsea Waterside Park, Chelsea, NYC. U.S.A. ที่มา: wallyg,. ๒๕๕๒. “NYC Chelsea: Chelsea Waterside Park”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/w allyg/5584029646/in/photostrea m/ (๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔).

๖๐


¡ÒÃÇÒ§¼Ñ §áÅÐÍ͡ẺÊǹÊÒ¸ÒóÐ

๑.๑.๓ สนามกีฬา เปนพื้นที่สําหรับการเลนกีฬาประเภทตางๆ เชน ฟุตบอล บาสเก็ตบอล วอลเลยบอล เทนนิส เปนตน อาจมีพื้นที่เอนกประสงคที่สามารถปรับใชเลนกีฬาไดหลายประเภท สนามกีฬาของชุมชนควรตั้งอยูใกลๆ สถานศึกษาเพื่อใหเกิดการใชประโยชนสูงสุดในแตละวัน ๑.๑.๔ สวนสาธารณะระดับชุมชน สวนสาธารณะเป นสถานที่ที่สามารถประกอบกิจกรรมนั นทนาการและ พักผอนหยอนใจไดหลากหลายประเภท เชน การปกนิก พายเรือ วายน้ํา ตกปลา เลนกีฬาตางๆ สวนสาธารณะบางแหงมี สาธารณูป การเพื่อการนัน ทนาการพิ เศษรวมอยูดวย เชน พิ พิธภัณฑ สวนสัตว ยิมเนเซียม เปนตน สาธารณูปการที่สําคัญภายในสวนสาธารณะ คือ ศูนยกีฬาของชุมชน ที่ สามารถเลนกีฬาในรมไดหลายประเภท เชน วายน้ํา สนามเทนนิส เลนเกม พักผอนหยอนใจ สวน กีฬากลางแจงในสวนสาธารณะที่สําคัญ เชน ฟุตบอล บาสเก็ตบอล เทนนิส ตารางที่ ๕ แสดงมาตรฐานเนื้อที่พักผอนหยอนใจตอประชากรสําหรับประเทศไทย โดยหนวยงานตางๆ หนวยงาน เนื้ อ ที่ ส ถานที่ พั ก ผ อ น เนื้ อ ที่ ส ถานที่ พั ก ผ อ น หมายเหตุ หย อ นใจต อ ประชากร หย อ นใจต อ ประชากร ๑,๐๐๐ คน (หน ว ย: ๑ คน (หนวย: เมตร) ไร) ส ภ า พั ฒ น า ก า ร ๑๐ ๑๖ ใชเปนมาตรฐานสําหรับ เศ ร ษฐ กิ จ แ ล ะสั ง ค ม ประเทศไทย แหงชาติ JICA ๑๐ ๑๖ ใ ช สํ า ห รั บ พื้ น ที่ กรุงเทพมหานคร บ ริ ษั ท Litchfield ๑๐ ๑๖ ใ ช สํ า ห รั บ พื้ น ที่ Whiting Brown & กรุงเทพมหานคร Associate สํานักผังเมือง ๑๐ ๑๖ ใ ช สํ า ห รั บ พื้ น ที่ กรุงเทพมหานคร การเคหะแหงชาติ ๒ ๓.๒๐ เพื่ อ กา ร พั ฒ น า ที่ อ ยู อาศัย ผั ง น ค ร ห ล ว ง ฉ บั บ ๑.๘๐ ๒.๘๘ รวมเนื้ อ ที่ ส นามกี ฬ า ปรับปรุง ๐.๔๐ ไร ต อ ๑,๐๐๐ คน เปนมาตรฐานที่ผัง เมืองนิยมใช ที่มา: นาตยา ทรงวิจิตร, ๒๕๔๕

๖๑


¡ÒÃÇÒ§¼Ñ §áÅÐÍ͡ẺÊǹÊÒ¸ÒóÐ

ภาพที่ ๔๗ สวนสาธารณะ Sophia Park เปนสวนหนึ่ง ของโครงการ Villebois, Wilsonville, Oregon. U.S.A. ที่มา: Stevens, M. O. ๒๕๕๒. “File:Sophia Park Wilsonville Oregon.jpg”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://commons.wikimedia. org/wiki/File:Sophia_Park_ Wilsonville_Oregon.jpg (๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๑.๒ แนวทางในการวางผัง ในการวางผัง และออกแบบสวนสาธารณะและพื้น ที่พั กผ อนหย อนใจในชุม ชน ตองผานกระบวนการในการเก็บขอมูล วิเคราะหขอมูลอยางละเอียดรอบคอบและตองอาศัยความ รวมมือระหวางกลุมผูที่เกี่ยวของหลายๆฝาย เพื่อใหแนใจวาสถานที่ถูกออกแบบสรางสรรคขึ้นนั้น สามารถตอบสนองความตองการของผูใชอยางแทจริง ซึ่งมีแนวทางในการวางผังและออกแบบ ดังนี้ ๑.๒.๑ ระบบสวนสาธารณะและการพักผ อนหยอ นใจควรสรางขึ้น เพื่อ รองรั บ ความตองการการพักผอน และนันทนาการของประชากรภายในชุมชน และควรใหโอกาสในการ พักผอนหยอนใจที่เทาเทียมกันแกคนทุกเพศทุกวัยเทาที่เปนไปได ๑.๒.๒ การวางผังควรมีพื้นฐานจากการเก็บขอมูลและประเมินคุณคาโครงการ และสาธารณูปการ ทั้งของภาครัฐและเอกชนที่มีอยูเดิมในพื้นที่ ๑.๒.๓ การวางผังควรสะทอนใหเห็นถึงความตองการของประชากรทั้งหมดและ ควรใหคนเหลานั้นมีสวนรวมทั้งในขั้นตอนการเก็บขอมูล และขั้นตอนการตัดสินใจ ๑.๒.๔ ศูนยหรือสวนสาธารณะเพื่อการพักผอนหยอนใจ ควรตั้งอยูกลางพื้น ที่ ชุมชนและมีการเขาถึงที่สะดวกและปลอดภัยสําหรับประชากรทั้งหมด และควรจัดใหมีอยางทั่วถึง และเพียงพอสําหรับพื้นที่ชุมชน ๑.๒.๕ การออกแบบสวนสาธารณะหรือสาธารณูปการเพื่อการพักผอนหยอนใจ ใดๆ ควรไดรับการออกแบบเปนพิเศษเฉพาะสําหรับสวนนั้นๆ เพื่อใหแนใจวาตรงกับความตองการ เฉพาะของประชากรในพื้นที่ ๑.๒.๖ เปาหมายหลักของการวางผัง คือความงามและประสิทธิภาพสูงสุดในการ ใชสอยพื้นที่ โดยพิจารณาถึงความสะดวกสบาย และความประหยัดและสะดวกในการดูแลรักษา

๖๒


¡ÒÃÇÒ§¼Ñ §áÅÐÍ͡ẺÊǹÊÒ¸ÒóÐ

๑.๒.๗ ชุมชนควรมีแผนในการจัดการพื้นที่ในระยะยาว โดยมีผังแมบทเปนแนว การพัฒนาพื้นที่ ๑.๒.๘ การออกแบบและพัฒนาพื้นที่พักผอนหยอนใจใหเกิดการใชประโยชนอยาง เต็มที่ โดยกลุมผูใชที่แตกตางกัน ในชวงเวลาที่แตกตางกันตลอดทั้งป

ภาพที่ ๔๘ เทศกาล Mediaeval May-hem ถูกจัดขึ้นเปนประจําในชวงตนเดือนพฤษภาคม ใน สวนสาธารณะ Priory Park ,Hornsey, London Borough of Haringey. ที่มา: Embleton, Bob ๒๕๕๒. “File:Mediaeval May-hem, Priory Park - geograph.org.uk - 1291630.jpg”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://commons.wikimedia.org/wiki/File:Mediaeval_May-hem,_Priory_Park_-_geograph.org.uk__1291630.jpg (๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๒. กระบวนการในการวางแผนและออกแบบสวนสาธารณะและสถานที่พักผอน หยอนใจ

กระบวนวิธีมาตรฐานในการออกแบบ อันไดแก การวางผังการใชที่ดิน การอนุรักษพื้นที่สี เขียวโดยการกําหนดเขตการใชที่ดิน และขอบเขตของพื้น ที่พัฒนา และการออกแบบที่คํา นึงถึง วัฒนธรรม ที่เปนเอกลักษณเฉพาะของแตละทองถิ่น เปนเครื่องมือที่สําคัญ ที่จะชวยแกปญหา สภาพแวดลอมในชุมชนไดเปนอยางดี การออกแบบในรายละเอียดควรเริ่มที่ร ะดับสัด สวนของ มนุษย และการใชประโยชนในชีวิตประจําวัน เชน ถนนหลัก สวนสาธารณะในชุมชน เปนตน

๖๓


¡ÒÃÇÒ§¼Ñ §áÅÐÍ͡ẺÊǹÊÒ¸ÒóÐ

ในกระบวนการวางแผนและออกแบบสวนสาธารณะ และสถานที่พักผอนหยอนใจระดับ ชุมชนนั้น การรับฟงความคิดเห็นของคนในชุมชน เปนขั้นตอนที่สําคัญอยางยิ่ง ซึ่งสามารถทําได หลายวิธี เชนการระดมความคิด การทําประชาพิจารณ การแจกแบบสอบถาม การสัมภาษณ นัก ออกแบบวางผังจะไดเรียนรูถึงปญหา และความตองการของชุมชน และรวมประสานงานกับชุมชน เพื่อสรางสรรคสถานที่ ที่คนในชุมชนเห็นวามีความสําคัญ ทั้งตอสวนรวมและตอสวนบุคคล ชวย พัฒนาแนวความคิดใหกลายเปนรูปธรรม โดยเริ่มจากโครงการนํารอง ทําการปรับปรุงพื้นที่ในระยะ สั้น เพื่อเสริมสรางคุณคาใหแกพื้นที่อยางรวดเร็ว และแสดงศักยภาพในการพัฒนาตอไปในอนาคต การใหชุมชนเขามามีสวนรวมในการคิดแกปญหา ตั้งแตเริ่มแรกนั้น ทําใหกระบวนการออกแบบวาง ผังชุมชนดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ และประสบความสําเร็จ ในบทนี้ จะแบงเนื้อหาออกเปน ๒ สวนใหญๆ คือ กระบวนการในการวางแผนและกระบวนการในการออกแบบ สวนสาธารณะและ สถานที่พักผอนหยอนใจระดับชุมชน

๒.๑ กระบวนการวางแผน การวางแผนแมบ ทเพื่อ ให ตอบสนองตอความตองการดา นสวนสาธารณะ และ สถานที่พั กผ อ นหย อ นใจในชุม ชน ประกอบด วย การเก็ บ ขอ มู ล และวิ เคราะห ขอ มู ล ระบบ สาธารณูปการและพื้นที่ที่มีอยูเดิมเปรียบเทียบกับแผนการใชที่ดินรวมของเมือง นักออกแบบวาง ผังจะตองประเมินความตองการสถานที่พักผอนหยอนใจในอนาคต โดยมีพื้นฐานปจจัยทางดาน รายไดประชากร จากนั้นนํามาพิจารณารวมกับปจจัยทางดานภูมิศาสตร และลักษณะทางกายภาพ อื่นๆ ที่มีผลตอศักยภาพดานการพักผอนหยอนใจของพื้นที่ โดยทั่วไปแลว ผลลัพธที่ไดจากการวาง ผัง จะเปนแผนการพัฒนาพื้นที่สาธารณูปการทั้งในระยะสั้นและยาว และระบบการเงินที่จะมา สนับสนุนแผนนี้ รัฐควรนําแผนที่ไดไปพิจารณาในการวางแผนการใชที่ดิน การวางผังชุมชน การ จัดระบบสัญจรของชุมชนไปพรอมกัน ขั้ น ตอนในการวางแผนที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ระบบสาธารณู ป การและการให บ ริ ก าร สวนสาธารณะและสถานที่พักผอนหยอนใจ มี ๓ ระดับ ประกอบดวย ๒.๑.๑ การวางแผนแมบ ททั้งหมด ซึ่ งพิ จารณาคุณลักษณะทั้งหมดของการ เติบโตของชุมชน ประกอบดวย การพัฒนาที่อยูอาศัย การสัญจร การศึกษา สุขภาพ เปนตน ๒.๑.๒ การวางแผนที่มุ ง เนน ไปที่การพั ฒ นาพื้ น ที่ส วนสาธารณะและสถานที่ พักผอนหยอนใจภายในชุมชนทั้งหมด บางครั้งเปนสวนหนึ่งของการวางผังแมบทโดยรวม ๒.๑.๓ การวางแผนที่เกี่ยวขอ งกับการพั ฒนาสาธารณูป การเฉพาะด าน หรื อ ความตองการเฉพาะของชุมชนละแวกบานแตละชุมชน การวางแผนแมบ ทเพื่อให ตอบสนองตอความตองการสวนสาธารณะและสถานที่ พักผอนหยอนใจในชุมชน ประกอบดวย การเก็บขอมูลและวิเคราะหขอมูล ระบบสาธารณูปการ และพื้น ที่ที่มีอ ยูเดิ ม เปรี ยบเทียบกับ แผนการใชที่ดิ น รวมของเมือ ง นั กออกแบบวางผั ง จะตอ ง ประเมิ น ความตอ งการสถานที่พั กผ อ นหยอนใจในอนาคต โดยมีพื้ น ฐานป จจัยทางดา นรายได ประชากร จากนั้นนํามาพิจารณารวมกับปจจัยทางดานภูมิศาสตร และลักษณะทางกายภาพอื่นๆ ๖๔


¡ÒÃÇÒ§¼Ñ §áÅÐÍ͡ẺÊǹÊÒ¸ÒóÐ

ที่มีผลตอศักยภาพดานการพักผอนหยอนใจของพื้นที่ โดยทั่วไปแลวผลลัพธที่ไดจากการวางผังจะ เปนแผนการพัฒนาพื้นที่สาธารณูปการทั้งในระยะสั้นและยาวและระบบการเงินที่จะมาสนับสนุน แผนนี้ รัฐควรนําแผนที่ไดไปพิจารณาในการวางแผนการใชที่ดิน การวางผังชุมชน การจัดระบบ สัญจรของชุมชนไปพรอมกัน

๒.๒ กระบวนการในการออกแบบ แมวามีสาธารณูปการเพื่อการพักผอนหยอนใจบางแหงที่ถูกพัฒนาโดยไมไดวาจาง ภูมิ ส ถาปนิ ก แต ใ นป จจุ บั น เป น ที่ ท ราบกั น ดี วา ในการออกแบบงานสถาป ตยกรรมหรื อ ภู มิ สถาปตยกรรมนั้น จําเปนตองใชมืออาชีพผูที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะมาทําการออกแบบ การออกแบบสวนสาธารณะ สนามเด็กเลน หรือพื้นที่พักผอนหยอนใจนอกอาคาร อื่ น ๆ ควรได รั บ การออกแบบโดยภูมิ ส ถาปนิ กผู มี ป ระสบการณใ นการวางผั ง ด า นนี้ ม ากอ น มี แนวความคิดที่เปนตนแบบไมลอกเลียนงานออกแบบในอดีต มีพนักงานที่เพียงพอที่จะดําเนินงาน ใหสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี พรอมที่จะทํางานกับหนวยงานอื่นๆ ในการพัฒนาผังขั้นตอนทั่วๆ ไปใน การวางผังออกแบบสวนสาธารณะและพื้นที่พักผอนหยอนใจ ประกอบดวย ๒.๒.๑ การวาจางสํานักงานออกแบบภูมิสถาปตยกรรมหรือภูมิสถาปนิกหลังจาก ทําการคัดเลือกทีมงานผูออกแบบแลว ควรมีการรางสัญญาซึ่งมีรายละเอียดเกี่ยวของกับบทบาท ของผู อ อกแบบในการทํา การสํ า รวจขั้น ตน และการเขา ร วมประชุม กับ เจ า หนา ที่ผู รั บ ผิ ด ชอบ โครงการ ตัวแทนจากชุมชน หรือกลุมอื่นๆ การเตรียมงานออกแบบขั้นตน การทบทวนและแกไข ผัง การจัดเตรียมผังการกอสรางขั้นสุดทายและรายละเอียดประกอบแบบ การเปดประมูลงาน และเตรียมเอกสารสัญญาสําหรับผูรับเหมาและการใหคําปรึกษาระหวางการกอสราง ๒.๒.๒ การสํารวจขั้นตน ภูมิสถาปนิกควรทําการรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับพื้นที่และศักยภาพในการใช สอยพื้นที่กอนที่เขาสูการออกแบบ จะตองทําความเขาใจใหชัดเจนถึงแผนการใชที่ดินในพื้นที่ รัศมี การใหบริการ กลุมผูใช พื้นที่โดยรอบ ปจจัยทางภูมิประเทศ และภูมิอากาศ และปญหาดานการ เขาถึงพื้นที่ ในการเตรียมพรอมของผูออกแบบเอง ภูมิสถาปนิกจะตองมีแผนผังพื้นที่ ในรายละเอียด ประกอบดวยการสํารวจลักษณะภูมิประเทศ แสดงตําแหนงของตนไม กอนหิน น้ํา ดิน ทิศทางการระบายน้ํา ระบบสาธารณูปโภค ฯลฯ ๒.๒.๓ การเตรียมงานออกแบบขั้นตน ภูมิสถาปนิกจะทําการเตรียมแผนผังขั้นตน โดยมีพื้นฐานจากขอมูลที่ได และจากการวิเ คราะห ข อ มู ล แผนผั ง ขั้ น ต น อาจมี ห ลายทางเลื อ ก โดยแสดงตํ า แหน ง ของ สาธารณูปการที่แตกตางกัน มีการเขาถึงที่แตกตางกัน หรือแสดงความแตกตางระหวางแผนผังที่ มีการพัฒนาอยางเต็มที่และแผนผังที่ดูเปนธรรมชาติมากกวา ๒.๒.๔ การทบทวนแผนผังขั้นตน เมื่อทําการเตรียมแผนผังขั้นตนเรียบรอยแลว แผนผังดังกลาวจะถูกนํามา พิจารณาโดยกลุมบุคคลที่มีหนาที่เกี่ยวของทั้งหมด โดยทําการพิจารณาในเรื่องตางๆ ดังตอไปนี้ ๖๕


¡ÒÃÇÒ§¼Ñ §áÅÐÍ͡ẺÊǹÊÒ¸ÒóÐ

๒.๒.๔.๑ คุณภาพทางดานความงาม ๒.๒.๔.๒ สาธารณูปโภค ๒.๒.๔.๓ ความสะดวกในการบริหารจัดการ ๒.๒.๔.๔ ความปลอดภัย ๒.๒.๔.๕ การใชพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ ๒.๒.๔.๖ ความยืดหยุนในการปรับแผนผัง ๒.๒.๔.๗ ความเหมาะสมกับพื้นที่ออกแบบ ๒.๒.๔.๘ ความประหยัด ๒.๒.๔.๙ การเขาถึง ๒.๒.๔.๑๐ ความสะดวก ๒.๒.๔.๑๑ ผลกระทบที่มีตอชุมชนที่อยูโดยรอบ ๒.๒.๔.๑๒ ความสอดคลองกลมกลืนกันของแผนผังทั้งหมด ๒.๒.๕ การเตรียมแบบกอสราง เมื่อแผนผังขั้นตนไดรับการทบทวนและแกไขเรียบรอยดีแลว ภูมิสถาปนิก จะไดรับมอบหมายใหดําเนินการจัดทําแบบกอสรางและรายการประกอบแบบ ซึ่งควรไดรับการ ตรวจรับโดยคณะกรรมการผูรับผิดชอบ ซึ่งตั้งโดยชุมชน แบบกอสรางมักจะประกอบดวยแผนผัง ในรายละเอียดผังการออกแบบภูมิทัศน แผนผังพื้น รูปดาน และระบบสาธารณูปโภคทั้งหมด การ ประมาณราคา และรายการประกอบแบบ ๒.๒.๖ การประมูลและการกอสรางโครงการ เมื่ อ แบบกอ สร า งได รั บ การอนุ มั ติแ ลว ก็เขา สู กระบวนการประมู ลโดย บริษัทรับเหมากอสรางตอไป

๓. องคประกอบสวนสาธารณะและสถานที่พักผอนหยอนใจ สวนสาธารณะและสถานที่พั กผ อ นหยอ นใจที่ ป ระสบความสํ า เร็ จนั้ น จะตอ งอาศั ยการ ออกแบบที่เกิดจากความรวมมื อกันของหน วยงานที่เกี่ยวขอ งทุกฝ าย ทํา ความเขาใจถึงความ ตอ งการของคนในชุ ม ชนและหน า ที่ ที่ ส วนสาธารณะแห ง นี้ จ ะให บ ริ การแก ก ลุ ม คนเหล า นั้ น สวนสาธารณะและสถานที่พักผอนหยอนใจในชุมชน เปนสถานที่สําคัญที่สามารถใหผูคนไดเขามา พบประสบการณที่แตกตางจากในชีวิตประจําวัน ไดพบบรรยากาศที่เปนธรรมชาติและมุมมองที่ สงบ ใหพื้นที่ในการทํากิจกรรมที่หลากหลาย เชน วิ่งออกกําลังกาย ดูนก รับประทานอาหาร กลางวัน จิบกาแฟ หรือนั่งพักผอนเฉยๆ องคประกอบพื้นฐานที่สถานที่เหลานี้มีรวมกัน และกอใหเกิดเป นสถานที่ที่ดึงดูดความ สนใจและเกิดกิจกรรมมี หลายประการ คือ สถานที่สาธารณะที่ดีจะใหโอกาสในการทํากิจกรรมที่ หลากหลาย (Uses and activities) เปนสถานที่ที่งายตอการเขาถึงและเชื่อมโยงกับชุมชนที่อยู

๖๖


¡ÒÃÇÒ§¼Ñ §áÅÐÍ͡ẺÊǹÊÒ¸ÒóÐ

โดยรอบ (access) มีความปลอดภัยสะอาดและดึงดูดใจ (Comfort and image) และที่สําคัญที่สุด คือ เปนสถานที่ที่ผูคนจะไดมาพบปะสังสรรคกัน (Sociability) นอกจากนี้ การสร า งสรรค พื้ น ที่ ที่ป ระสบความสํ า เร็ จตอ งคํ า นึ ง ถึง องค ป ระกอบทาง กายภาพที่ทําใหผูคนรูสึกวาเปนที่ตอนรับและสะดวกสบาย เชน การจัดใหมีมานั่ง หรือการจัดสวนที่ สวยงาม การจั ดระบบทางเทา ที่ดี การพัฒนาใหเกิดความสัม พันธระหวางรา นคาที่อยูโดยรอบ และกิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในพื้นที่ เปาหมายคือการสรางสรรคสถานที่ ซึ่งมีบรรยากาศของชุมชน และมีภาพลักษณที่ดูอบอุนเปนกันเอง การจัดกิจกรรมและสภาพแวดลอมรวมถึงหนาที่ใชสอยที่ ตอบสนองความตองการของผูใชอยางแทจริง

๓.๑ กิจกรรมและประโยชนใชสอย กิ จ กรรมประเภทไหนที่ ทํ า ให ส วนสาธารณะเป น แม เ หล็ ก ที่ ดึ ง ดู ด ใจ เมื่ อ สวนสาธารณะจัดสถานที่ที่ผูคนสามารถวิ่งเลนออกกําลังกาย ในขณะเดียวกันก็จัดพื้นที่ใกลๆ ให ผูคนสามารถนั่งและพูดคุยกันไดในบริเวณใกลเคียง สามารถพักผอนใตรมเงาและหาเครื่องดื่มและ อาหารวางมารับประทานได สถานที่ดังกลาวมีแนวโนมที่จะดึงดูดผูคนใหมาใชไดมากยิ่งขึ้น สาเหตุ งายๆ คือ มีกิจกรรมมากมายใหทํา ดึงดูดผูคนที่มีความแตกตางกันมากมาย สถานที่ที่ดีควรเปด ใหบริการตอนรับผูคนไดในชวงเวลาสวนใหญของวันและทุกวัน เพื่อผูคนจะไดสามารถเขามาใชได บอยครั้งเทาที่ตองการ และทําหนาที่เปนตัวเชื่อมของผูคนและกิจกรรมภายในชุมชน ดึงดูดคนให มาพบปะพักผอนและคลายเครียด ยกตัวอยางสถานที่ที่มีกิจกรรมที่ประสบความสําเร็จในการดึงดูด คน เชน รานกาแฟ สนามเด็กเลน สนามกีฬา เปนตน ภาพที่ ๔๙ สวน Sunken Garden ถูกออกแบบให สามารถรองรับกิจกรรมที่ หลากหลายเพื่อสนองตอบ ความตองการของผูใชพื้นที่ ที่มา: การสํารวจ (Sanfrancisco, ๒๕๔๘)

๖๗


¡ÒÃÇÒ§¼Ñ §áÅÐÍ͡ẺÊǹÊÒ¸ÒóÐ

ภาพที่ ๕๐ ลานเสก็ตใน สวนสาธารณะ Corona Park, Queens ,New York. ที่มา: Shankbone, David. ๒๕๕๓. “File:Flushing MeadowsCorona Park skate park.jpg”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://commons.wikimedia. org/wiki/File:Flushing_Mead ows-Corona_Park_skate_ park.jpg (๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔).

ภาพที่ ๕๑ เวทีกลางแจงใน สวนสาธารณะ Park zdrojowy, Poland. ที่มา: Jankowski, Albert. ๒๕๕๒. “Poland: Park zdrojowy”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://commons.wikimedia.or g/wiki/File:Park_011.JPG (๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔).

๓.๒ ความสะดวกสบายและภาพลักษณ การสรางสถานที่ที่มีความสะดวกสบายและมีภาพลักษณที่ดีตองอาศัยการออก แบบอยางเอาใจใสในรายละเอียดอยางดี โดยเฉพาะอยางยิ่งรายละเอียดขององคประกอบทางภูมิ ทัศน เชน ปายประชาสัมพันธ หองน้ํา การปลูกตนไม ที่จอดรถจักรยาน มานั่ง เปนตน

๖๘


¡ÒÃÇÒ§¼Ñ §áÅÐÍ͡ẺÊǹÊÒ¸ÒóÐ

ภาพที่ ๕๒ ปายแสดงแผนผังสวนสาธารณะ Central park, New York, U.S.A. ที่มา: simon_music. ๒๕๕๓. “Map of Central Park in Central Park”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/fruey/4569208926/ (๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔).

ภาพที่ ๕๓ การออกแบบจุด ติดตั้งน้ําดื่มสาธารณะภายใน สวนสาธารณะเพื่อบริการ ประชาชน ที่มา: การสํารวจ (Australia,๒๕๔๖)

๖๙


¡ÒÃÇÒ§¼Ñ §áÅÐÍ͡ẺÊǹÊÒ¸ÒóÐ

ภาพที่ ๕๔ การจัดพื้นที่นั่ง พักผอนหยอนใจภายใน สวนสาธารณะ ที่มา: การสํารวจ (Darling harbour, Australia, ๒๕๔๖)

๓.๓ การเขาถึงและการเชื่อมโยงกับพื้นที่ใกลเคียง สถานที่ที่ดีควรจะงายในการมองเห็นและงายตอการเขาถึง ผูคนตองการที่จะ มองเห็นวามีกิจกรรมเกิดขึ้น มองเห็นวาคนอื่นกําลังเขาสูพื้นที่ที่นาสนใจนั้นๆ ในทางตรงกันขามถา สวนสาธารณะไมส ามารถมองเห็ นได จากถนน หรื อ ถนนเส น นั้ น เปน สถานที่ที่อั น ตรายเกิน ไป สําหรับเด็กและคนชราที่จะเดินขาม สวนสาธารณะแหงนั้นก็จะไมคอยมีคนเขาไปใช ยิ่งสถานที่ สาธารณะนั้นเปนสถานที่ดีและประสบความสําเร็จมากเทาไหร ก็จะยิ่งเพิ่มความดึงดูดใจและเพิ่ม การประสบความสําเร็จของสวนใหทวียิ่งขึ้นไปอีกเทานั้น ถาเปนสถานที่ที่ดึงดูดใจผูคนจะพากัน เดินทะลุผาน แมวาพวกเขาจะเปนเปาหมายที่มุงหนาไปที่อื่น

ภาพที่ ๕๕ บริเวณดานหนา ทางเขาสวนสาธารณะควรไดรับ การออกแบบใหมองเห็นงายและ เขาถึงไดสะดวก ที่มา: การ สํารวจ (Darling harbour, Australia, (Sanfrancisco maritime Park, ๒๕๔๘)

๗๐


¡ÒÃÇÒ§¼Ñ §áÅÐÍ͡ẺÊǹÊÒ¸ÒóÐ

๓.๔ กิจกรรมทางสังคม สถานที่ที่สงเสริมกิจกรรมทางสังคม เปนสถานที่ที่ผูคนตองการที่จะไปทําการ สัง เกตการณถึง บรรยากาศรอบๆ ตัว ไดพ บปะพู ด คุ ยกับ เพื่ อนฝู ง และมี ป ฏิ สัม พั น ธกับ ผู ค น มากมายที่มี ค วามแตกตา งกัน ผู ค นมี แ นวโน มที่จะมี ค วามพึ ง พอใจที่ได พูด คุ ยกับ คนอื่ น เมื่ อ มี กิจกรรมที่มีความสนใจรวมกัน เชน ที่ตลาด หรือระหวางชมกีฬา เปนตน กลาวโดยสรุป สวนสาธารณะและสถานที่พักผอนหยอนใจที่ดีจะชวยใหผูคนรูสึก สดชื่ น และผ อ นคลาย รู สึ ก ดี ที่ไ ด ไ ปที่ นั่ น รู สึ ก อบอุ น และเป น ที่ ต อ นรั บ สถานที่ ที่ ป ระสบ ความสําเร็จไมใชเพียงเพราะมีความงามเพียงอยางเดียว แตเปนเพราะวาเปนสถานที่ที่ทําใหผูใช สามารถรูสึกผอนคลายไดรวมกับคนอื่นๆ สถานที่เหลานี้จะเชื่อมโยงคนในชุมชนเขาดวยกัน เมื่อ พวกเขาเขามาทํากิจกรรมและใชเวลาวางรวมกัน ภาพที่ ๕๖ ลาน Bethesda Terrace ในสวนสาธารณะ Central Park, New York, U.S.A. เปนสถานที่ที่ผูคนนิยมมา นั่งพบปะสังสรรคกัน ที่มา: wallyg. ๒๕๕๒. “NYC Central Park: Bethesda Terrace”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/ wallyg/5583388139/ (๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔). ภาพที่ ๕๗ การพาสุนขั มาเดิน เลน นับเปนกิจกรรมทางสังคม ที่เปนที่นิยมในสวนสาธารณะ ที่มา: Mlejova, Erika ๒๕๕๐. “walking dogs in a park”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://16361.openphoto.net >openphoto.net (๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔).

๗๑


¡ÒÃÇÒ§¼Ñ §áÅÐÍ͡ẺÊǹÊÒ¸ÒóÐ

ตารางที่ ๖ ตัวชึ้วัดสิ่งอํานวยความสะดวกในสถานที่พักผอนหยอนใจขั้นพื้นฐาน รายละเอียดสิ่งอํานวยความสะดวก

ประเภทของสวนพักผอนหยอนใจ ยอม ละ แ ว เล็ก กลาง ใหญ กบาน * e e e

พื้ น ที่ นั น ท น า ก า ร แ บ บ พื้นที่สันทนาการแบบ Active Passive

สวนบริการสําหรับสาธารณะ

สวนอํานวยการและตอนรับ

๑. ศูนยบริการขอมูลขาวสาร ๒. แผนที่ ๓. เจาหนาที่ใหคําแนะนํา ๔. การจัดแสดงนิทรรศการ ๕. ป า ยสั ญ ลั กษณ เพื่ อ บอกกฎเกณฑ ข องการใช สถานที่พักผอนหยอนใจ ๖. ปายบอกสถานที่ภายในสถานที่พักผอนหยอน ใจ ๗. บริเวณที่จอดรถสาธารณะ ๘. โทรศัพทสาธารณะ ๙. เจาหนาที่รักษาความปลอดภัย ๑๐. หองน้ํา สุขา สําหรับบุคคลทั่วไปและผูพิการ ๑๑. รานจําหนายอาหารและเครื่องดื่ม ๑๒. รานขายสินคา เชน สินคาที่ระลึก ๑๓. จุดติดตั้งน้ําดื่มสาธารณะ ๑๔. ที่ทิ้งขยะมูลฝอย ๑๕. การติดตั้งเครื่องกระจายเสียงตามจุดตางๆ ๑๖. สนามเด็กเลน ๑๗. บริเวณสําหรับการออกกําลังกายกลางแจง ๑๘. สนามกีฬากลางแจง ๑๙. สนามกีฬาในรม ๒๐. ทางวิ่ง ทางเดิน ๒๑. ทางจักรยาน ๒๒. ศาลาที่พัก ๒๓. เกาอี้นั่งพักผอน ๒๔. โตะปกนิก ๒๕. ตนไม/ความรมรื่น ๒๖. สนามหญาสําหรับพักผอน ๒๗. ลานเอนกประสงค

๗๒

*

*

e

*

e

e

e e e

e

e e e e

e e e e

e e e e

*

*

e

e

* * * e *

e e e e * * * e e e e * * e e * e e e e *

e e e e * e e e e e e * e e e e e e e e e

e e e e e e e e e e e e e e e e e e e e e

* e e e * * e * * e * e e *


¡ÒÃÇÒ§¼Ñ §áÅÐÍ͡ẺÊǹÊÒ¸ÒóÐ

พื้นที่บริการของโครงการ

ตารางที่ ๖ ตัวชึ้วัดสิ่งอํานวยความสะดวกในสถานที่พักผอนหยอนใจขั้นพื้นฐาน (ตอ) รายละเอียดสิ่งอํานวยความสะดวก ประเภทของสวนพักผอนหยอนใจ ยอม ละ แ ว เล็ก กลาง กบาน ๒๘. สวนไมดอก ไมประดับ e e e e ๒๙. สวนไมใหรมเงา e e e e ๓๐. ระบบไฟฟา e e e e ๓๑. ระบบรดน้ําตนไม e e e e ๓๒. รั้ว * * e ๓๓. สถานที่เพาะชําตนไม * e ๓๔. ระบบกําจัดขยะมูลฝอยของโครงการ e e e e ๓๕. ระบบระบายน้ําและบําบัดน้ําเสีย e e e e ๓๖. ระบบซอมบํารุง e e e e ๓๗. ที่จอดรถเจาหนาที่และรถบริการของโครงการ e e e e

ใหญ e e e e e e e e e e

ที่มา: ดัดแปลงจาก ตารางตัวชี้วัด สิ่งอํานวยความสะดวกในสถานที่พักผอนหยอนใจขั้นพื้นฐาน (กรม สงเสริมการปกครองทองถิ่น, ม.ป.พ.)

๔. หลักในการสรางสรรคสวนสาธารณะและสถานที่พักผอนหยอนใจที่ดี เปนการยากที่จะสร างพื้นที่สาธารณะที่ป ระสบความสําเร็จ เนื่องจากมักจะขาดการทํา ความเขา ใจอยา งละเอี ยดลึกซึ้ ง ถึง ความซั บ ซอ นของสถานที่นั้ น ๆ หลักสํ า คั ญ ในการออกแบบ ปรับปรุงพื้นที่สาธารณะภายในชุมชนใหประสบความสําเร็จมีดังตอไปนี้

๔.๑ ชุมชนเปนผูเชี่ยวชาญที่รูดีที่สุด จุดเริ่มตนที่สําคัญในการพัฒนาแนวความคิดในการออกแบบ พื้นที่สาธารณะใดๆ คื อ การแสวงหาผู เ ชี่ ยวชาญภายในชุ ม ชน ในแต ล ะชุ ม ชนจะมี ผู ที่ส ามารถให ขอ มู ลทางด า น ประวัติศาสตรใหมุมมองที่มีคุณคาในเรื่องตางๆ เชน พื้นที่แตละบริเวณทําหนาที่อยางไร และให ความเขาใจเกี่ยวกับประเด็นปญ หาที่สําคัญ และอะไรที่มีความหมายตอผูคนในชุมชน การเก็บ ขอมูลเหลานี้ตั้งแตระยะเริ่มตนของกระบวนการจะชวยสรางบรรยากาศและความรูสึกในการเปน เจาของของชุมชนตอโครงการที่จะเกิดขึ้น ซึ่งชวยใหเกิดผลดีตอทุกฝาย

๗๓


¡ÒÃÇÒ§¼Ñ §áÅÐÍ͡ẺÊǹÊÒ¸ÒóÐ

๔.๒ ทําการสรางสรรคสถานที่ไมใชสรางงานออกแบบ ถา เป า หมายของภูมิ ส ถาปนิ ก คื อ การสร า งสรรค ส ถานที่ ที่ดี แ ละเหมาะสมต อ ประชาชนผูใ ชส ถานที่ การออกแบบแตเพี ยงอยา งเดียวยอ มไมเพี ยงพอ เพื่อ ที่จะสร างสรรค สถานที่ที่ประสบความสําเร็จ นักออกแบบตองนําเสนอองคประกอบทางดานกายภาพที่จะทําให ผูคนรูสึกสะดวกสบายและเปนที่ตอนรับ โดยการพัฒนาความสัมพันธที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ระหวางพื้นที่ที่อยูโดยรอบกับกิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในสถานที่สาธารณะเหลานั้น เปาหมายคือการ สรางสถานที่ที่มีทั้งบรรยากาศของชุมชนที่เขมแข็งและมีภาพลักษณที่อบอุน และมีสภาพแวดลอม และกิจกรรมและประโยชนใชสอยที่มีความหมายและความสําคัญพิเศษเฉพาะสถานที่ มากกวาที่จะ เปนเพียงการรวมกันขององคประกอบงานออกแบบยอยๆ ที่ไรความสําคัญใดๆ

๔.๓ มองหาผูรวมงาน ผู ร วมงานเป น ป จจั ยสํ า คั ญ ต อ ความสํ า เร็ จในอนาคต และตอ ภาพลักษณของ โครงการปรับปรุงพื้นที่สาธารณะ ไมวาจะเปนผูรวมงานที่เขามารวมงานตั้งแตระยะเริ่มตนของการ วางผังโครงการ หรือการระดมสมองจะพัฒนาแนวทางเลือกจากกลุมผูรวมงานจํานวนมาก ซึ่ง อาจจะเขามามีสวนรวมในอนาคต พวกเขาเหลานั้นจะเขามามีบทบาทในการใหการสนับสนุนและ เริ่มโครงการใหเปนจริง ผูรวมงานอาจเปนสถาบันสวนทองถิ่น พิพิธภัณฑ โรงเรียน และอื่นๆ ๔.๔ ภูมิสถาปนิกสามารถเรียนรูไดจากการสังเกต ทํา การเรี ยนรู จากการประสบความสํา เร็ จและความลมเหลวของผู อื่น จากการ สังเกตดูวาผูคนเขามาใชหรือไมใชพื้นที่สาธารณะนั้นอยางไร และคนหาวาเหตุใดพื้นที่เหลานั้นจึง ประสบความสําเร็จหรือลมเหลว โดยผานการสังเกตจะเกิดความชัดเจนวากิจกรรมประเภทใดที่ หายในและจะตองเพิ่มเติมอะไรลงไปบาง และเมื่อลงมือกอสรางใหทําการสังเกตตอไป เพื่อเรียนรู การที่จะบริหารจัดการสถานที่เหลานั้นเมื่อเวลาผานไป

๔.๕ คาดการณถึงอนาคต การคาดการณถึงอนาคตเปนเรื่องเฉพาะของแตละชุมชน เรื่องสําคัญที่จําเปนตอง พิจารณา คือ กิจกรรมประเภทใดที่อ าจเกิดขึ้นได ในพื้ นที่เหลา นี้ มุม มองในการสรางสถานที่ที่ สะดวกสบายและมีภาพลักษณที่ดี และสรางสถานที่ที่ผูคนตองการเขามาใชและกอใหเกิดความ ภาคภูมิใจของผูคนที่อาศัยและทํางานในพื้นที่โดยตรง

๗๔


¡ÒÃÇÒ§¼Ñ §áÅÐÍ͡ẺÊǹÊÒ¸ÒóÐ

๔.๖ ทําการทดลองเพื่อหาทางเลือกที่ดีที่สุด สวนสาธารณะและพื้นที่พักผอนหยอนใจในชุมชนเปนสถานที่ที่มีความซับซอนมาก บางครั้ ง นั กออกแบบวางผั ง ไม สามารถคาดหวัง ได วา จะทํา ทุกอยา งไดถูกตอ งตั้งแตเริ่ ม แรก หนทางที่ดีก็คือการทําการทดลองกับพื้นที่จริงโดยใชการปรับปรุงในระยะสั้นๆ ซึ่งสามารถทดสอบ และปรับปรุงไดตลอดชวงหลายๆ ป องคประกอบเชน มานั่ง รานกาแฟ พื้นที่จัดนิทรรศการศิลปะ สาธารณะ สวนในชุมชน เปนตัวอยางของการปรับปรุงพื้นที่ที่สามารถทําไดในชวงเวลาสั้นๆ

๔.๗ สงเสริมใหเกิดปฏิสัมพันธระหวางผูใชพื้นที่ ในพื้ น ที่ ส าธารณะทางเลื อ กและการจั ด การองค ป ระกอบที่ แ ตกต า งกั น ให มี ความสัมพันธกัน สามารถสงเสริมใหเกิดปฏิสัมพันธระหวางผูใชพื้นที่ได ยกตัวอยางเชน ถามีมานั่ง ถังขยะ และโทรศัพท ถูกจัดวางไวโดยไมมีการเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน องคประกอบแตละอยางอาจ มีการใชประโยชนไดอยางจํากัด แตเมื่อนํามาจัดวางไวดวยกัน พรอมกับสวนบริการสาธารณะอื่นๆ เชน รานขายกาแฟ มันจะดึงดูดผูคนใหมารวมกันไดอยางเปนธรรมชาติ หรือยกตัวอยางในมุมมอง ที่กวางมากขึ้น ถาหองอานหนังสือสําหรับเด็กในหองสมุดแหงใหม ถูกจัดวางไวใกลกับสนามเด็ก เลนในสวนสาธารณะ และเติมซุมขายอาหารลงไป จะเกิดกิจกรรมมากขึ้นมากกวาการวางพื้นที่ บริการสาธารณะเหลานั้นแยกออกจากกัน

๔.๘ รูปทรงเปนสิ่งสนับสนุนประโยชนใชสอย ขอมูลที่ถูกตองจากชุมชนและผูรวมงาน ความเขาใจเกี่ยวกับหนาที่ใชสอยของพื้นที่ สาธารณะจะนํ าไปสู แนวความคิดในการออกแบบวางผั งพื้ นที่ แมวางานออกแบบจะเป นเรื่อ ง สําคัญ แตปจจัยเหลานี้จะบอกถึงรูปทรงที่ควรจะเปนในอนาคต

๔.๙ การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเปนเรื่องจําเปนที่ตองทําอยูเสมอ โดยธรรมชาติของสวนสาธารณะและสถานที่พักผอนหยอนใจที่ตอบสนองตอความ ตอ งการของคนในชุม ชน ตอ งใหค วามเอาใจใส ตอความคิ ดเห็ น และการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิด ตามมา เนื่องจากสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ยอมมีการชํารุดเสื่อมโทรม ตองการการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงเมื่อถึงระยะเวลาอันเหมาะสม ควรเปดกวางตอความจําเปนในการเปลี่ยนแปลงที่จะ เกิดขึ้นและการมีความยืดหยุนในการบริหารจัดการ เพื่อใหการเปลี่ยนแปลงนั้นสรางสาธารณะและ สถานที่พักผอนหยอนใจที่ดีสําหรับชุมชน

๗๕


บทที่ ๔ การออกแบบสนามเด็กเลนในชุมชน  ความสําคัญของสภาพแวดลอมและการเลนตอการเรียนรูและ การเจริญเติบโตของเด็ก  องค ประกอบพื้น ฐานของการออกแบบสภาพแวดลอมเพื่ อ สงเสริมการเรียนรูของเด็ก  หลักการออกแบบสนามเด็กเลน

๗๖


¡ÒÃÍ͡ẺʹÒÁà´ç¡àÅ ¹

๑. ความสําคัญของสภาพแวดลอมและการเลนตอการเรียนรู และการเจริญเติบโตของเด็ก ๑.๑ ความสําคัญของสภาพแวดลอม กิจกรรมของเด็กมักขึ้นอยูกับสภาพแวดลอม ในอันที่จะมีผ ลตอพัฒนาการทางดาน รางกายและจิตใจตอการอยูเรียนรูที่จะอยูรวมกันในสังคม นักการศึกษาไดตระหนักถึงพัฒนาการ ทางดานสติปญญาของเด็กวาการพัฒนาทางดานสติปญญาของเด็กมีความสําคัญมากในชวง ๘ ป แรกของชีวิ ต โดยมี เงื่ อ นไขสํ า คั ญ คื อ สภาพแวดล อ มที่ มี ผ ลต อ การเรี ยนรู การเสริ ม สร า ง ประสบการณ และมีผลมากกวาการที่เด็กจะไดเรียนรูในหองเรียนจากครูผูสอนเพียงอยางเดียว จากรายงานของ Journal of Man-Environment Relations (Ahrentzen, 1982) กลาวถึงการ ตอบสนองของเด็กตอการเรียนรูมักเกิดจากการเคลื่อนไหว การคนหา การเรียนรูเกี่ยวกับความ ใกล-ไกล ความสูง-ต่ํา ความมืด-สวาง เปนตน ซึ่งเปนการเสริมสรางทักษะตอการเรียนรูทั้ง ทางดา นรางกายและจิตใจ ทํา ใหเด็กรูสึกสนุกสนานและมีความสุขตอ การเรี ยนรู จากขอมู ล ดังกลาวทํา ใหนั กออกแบบและนักการศึกษาไดนํา มาประยุกตใชตอการใชส อยพื้นที่และปรั ชญา การศึกษาของเด็ก ที่เกี่ยวของกับความสัมพันธของพื้นที่กับพฤติกรรมของเด็ก ตอการที่จะทําให เด็ กเกิด การเรี ยนรู ให ความร วมมือ และลดป ญ หาอัน เกิด จากการเรียนรู ของเด็ กเอง การจั ด สภาพแวดล อ มที่ดี ยั ง เป น การเพิ่ ม โอกาสภายใตเงื่ อ นไขต า งๆ ทํา ให เด็ ก เกิ ด การเรี ยนรู ต อ พฤติกรรม ตอการฝกกลามเนื้อและการเคลื่อนไหวของรางกาย และสิ่งที่สําคัญคือการแสดงออก ของเด็ก การเลนของเด็กสามารถจัดพื้นที่ไดทั้งภายในและภายนอกอาคาร โดยใชสภาพแวดลอม เปนตัวเชื่อมโยงความหลากหลายของกิจกรรรม กิจกรรมในอาคารไดแก การจําลองสิ่งตางๆ เชน การเลนตุกตา หุนยนต เพื่อใหเด็กเกิดจินตนาการ การเลนภายนอกอาคาร ไดแก การปนปาย วิ่ง เลน จะชวยให เด็ กได เรี ยนรู เกี่ยวกับ ร า งกายของตนเอง รู จักระมั ด ระวัง และเรี ยนรู จาก ขอจํากัดของรางกายตอการเลน และเด็กยังมีความเขาใจเกี่ยวกับการเลนตางๆ ทําใหเกิดทักษะตอ การเรียนรู การเลนของเด็กยังสงผลตอการพัฒนาการทางดานการอยูรวมกันในสังคม เชน การ จําลองเหตุการณ การเลียนแบบพฤติกรรมของผูที่โตกวา หรือการเลนเกมตางๆ ที่มีกฎเกณฑ และเงื่อนไขของการเลน จะชวยใหเด็กเกิดการเรียนรูที่จะอยูรวมกัน

๑.๒ ความหมายของการเลน “เพราะการเลนคืองานของเด็ก “ ความคิดของเด็กก็คือ จะเลนอยางไรจึงจะเลนได อยางสนุกสนาน ดังนั้นการเลนของเด็กจึงมักเปนการเลนที่ตองการความตื่นเตน และเมื่อการเลน เริ่ ม ตนขึ้น เด็กจะเริ่ม สร างมิ ตรภาพไดอ ยา งงา ยดาย เด็กมี อั ฉริ ยะภาพในการเลนอยูใ นตัวเอง สังเกตไดจากเด็กสามารถใชทุกสถานที่และเวลาใหเปนที่เลนสําหรับตนเองไดเสมอ อยางไรก็ตาม ความปลอดภัยกับการเลนของเด็กมักเปนสิ่งที่ขัดแยังกันในสายตาของผูใหญ แตโดยแทจริงแลว ๗๗


¡ÒÃÍ͡ẺʹÒÁà´ç¡àÅ ¹

เด็กจะเรียนรูในเรื่องความปลอดภัยและอันตรายเล็กๆ นอยๆ ไดจากการเลนนั่นเอง เชน การเลน ในสระน้ําตื้นๆ ซึ่งในความหมายของผูใหญมักเห็นวามีอันตรายและมีควรมีการปดกั้นกันเปนเขต หวงหามสําหรับเด็ก จึงจะจัดวาเปนความปลอดภัยของเด็ก โดยที่ผูใหญมักลืมคิดไปวาตนเองก็ เคยเปนเด็กมากอนเชนกัน เด็กควรไดมีการเรียนรูดวยตนเองจากสภาพแวดลอม และควรใหเด็ก ไดมีโอกาสในการเรียนรูดวยตนเองเกี่ยวกับอันตรายเล็กๆ นอยๆ โดยที่มีผูใหญคอยดูแลอยูหางๆ เมื่อเด็กไดเรียนรูแลวจึงคอยๆ หาทางหลีกเลี่ยงเด็กๆ ออกมาจากอันตรายเหลานั้นอยางคอยเปน คอยไปจะดีกวา

๑.๓ พัฒนาการทางการเลนตามทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญา จากการศึกษาของ Piaget (1926) นักจิตวิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับเด็กไดจัดลําดับ ของพัฒนาการทางการเลนตามแนวทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญาไว ดังนี้ ๑.๓.๑ ขั้น การเลน ที่ใ ชป ระสาทสั ม ผั ส และการเคลื่อ นไหว (Sensor motor Stage) เปนขั้นที่เด็กเกิดการเรียนรูโดยประสาทสัมผัสตางๆ เชน ปาก หู ตา สัมผัสจับตองกับ สิ่ ง แวดล อ มต า งๆ จากการเล น ช ว ยให เ ด็ ก ได รั บ รู ข อ มู ล และปรั บ ขยายข อ มู ล อั น เป น กระบวนการพัฒนาโครงสรางทางสติปญญาที่สําคัญของเด็ก ๑.๓.๒ ขั้นการเลน ที่ใชสัญลักษณ (Representational Stage) เปนขั้นที่ใ ช ความคิดและจินตนาการในการเลน โดยอาศัยประสบการณที่เด็กไดรับรูมา ชวยใหเด็กเกิดความ เขาใจในบทบาท ความสัมพันธตางๆ ในบุคคลและสิ่งแวดลอมมากขึ้น ๑.๓.๓ ขั้นการเลนที่สื่อความคิดความเขาใจ (Reflective Stage) เปนขั้นการเลน ที่เด็กใชความคิดรวบยอดมากขึ้น สามารถจําแนก จัดหมวดหมูและใชภาษาสื่อความเขาใจของ ตนเองได มีการใชความคิดที่สมเหตุผล และมีความเปนไปได รวมทั้งมีการใหความรวมมือกับ ผูอื่นมากขึ้น การเลนของเด็กไทยมีการเลนที่สอดคลองกับลําดับพัฒนาการดังกลาว คือมีการ เลนแบบตรวจคน การเลนแบบทดสอบ การเลนแบบออกกําลังกาย ซึ่งแสดงถึงขึ้นการเลนที่ใช ประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว นอกจากนั้นยังมีการเลนแบบสมมุติ การเลนแบบสราง การ เลนแบบสัมผัสจัดกระทํา และการเลนที่สงเสริมทักษะทางภาษา แสดงถึงพัฒนาการขั้นการใช สัญลักษณ นอกจากนั้นยังมีการเลนเกมตางๆ ซึ่งเปนการเลนที่เปนแบบแผนมีการใหความรวมมือ สื่อความคิดความเขาใจ และมีเหตุผลมากขึ้น นับไดวาเปนขั้นสื่อความคิดความเขาใจ

๗๘


¡ÒÃÍ͡ẺʹÒÁà´ç¡àÅ ¹

๒. องคประกอบพื้นฐานของการออกแบบสภาพแวดลอม เพื่อสงเสริมการเรียนรูของเด็ก กิจกรรมการเลนของเด็กกับความตองการพื้นที่ จัดเปนองคประกอบพื้นฐานสําหรับการ ออกแบบเพื่ อ นํา มาเป น แนวทางในการประเมิ น และปรั บ เปลี่ยนสภาพแวดลอ มการเลน จาก การศึกษาของ Stine Sharon (๑๙๙๗) ในหนังสือ Landscape for Learning : Creating Outdoor Environments for Children and Youth. ไดนําเสนอถึงองคประกอบพื้นฐานสําหรับ กิจกรรมการเลนตอความตองการของเด็ก เพื่อนํามาประกอบการพิจารณาสําหรับการออกแบบ พื้นที่สําหรับเด็ก โดยการนําเสนอไว ๙ ประการ ดังนี้

๒.๑ Accessible and Inaccessible การเขาถึงไดงาย และการยากตอการเขาถึง ความยากงายตอการเขาถึงเปนเรื่อง ที่เกี่ยวกับการใชเวลาและพลังงานในกิจกรรมการเลนของเด็ก โดยเด็กตองใชเวลาในการเรียนรูวา อะไรที่พ วกเขาไม ส ามารถเขา ไปสั ม ผั ส ได หรื ออะไรที่พ วกเขาสามารถเขา ไปเลน ได โดยปกติ ครูผูสอนจะเปนผูจัดขอบเขตของกิจกรรมและทางเลือกตางๆ ผานการจัดสภาพแวดลอมทําใหมผี ล ตอความยากงายของการเขาไปเลนของเด็ก ขอจํากัดทางดานรางกายของเด็กจะมีผลตอกิจกรรม การเลน ที่แตกตางกันออกไประหวา งเด็ กเล็ก เด็ กโต ดังนั้ นขนาด สัด สวนของรา งกายจึง เป น ปจจัยสําคัญที่มีผลตอการเลนและการเรียนรูของเด็ก ในบางกรณีจัดเปนขอดีในเรื่องของความ ปลอดภัยจากการเลน นอกจากขอ จํา กัด ทางด านรา งกายแลวในเรื่อ งของความแตกตางของ พื้นผิวก็จะมีผลดวยเชนกัน เชน กิจกรรมการเลนบนพื้นหญา พื้นดิน ทราย เด็กจะมีพฤติกรรม การเลนที่แตกตางกันออกไป เรื่องของพื้นผิวที่มีความตางกันของระดับสูง ต่ํา มีผลตอความ ยากและงายตอการเขาไปเลนของเด็ก ในการออกแบบอาจมีรูปแบบของการจําลองสิ่งตางๆ เชน ภูเขาเล็ก สะพาน รอง และชองเล็กๆ สําหรับเด็กไดเรียนรูคนหา และการเขาไปเลนไดเชนกัน ภาพที่ ๕๘ การออกแบบเครื่องเลนให เหมาะสมกับสัดสวนของรางกายเปนปจจัย สําคัญที่มีผลตอการเลนและการเรียนรูของ เด็ก ที่มา: Gorazd, Ignat. ๒๕๕๓. “Children playground”. [ระบบ ออนไลน]. แหลงที่ มา http://www.flickr.com/photos/ignatgor azd/5236987718/ (๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔).

๗๙


¡ÒÃÍ͡ẺʹÒÁà´ç¡àÅ ¹

๒.๒ Active and Passive กิจกรรมการเลนที่สนุกสนานมีการใชพลังงานมาก และกิจกรรมที่ตองการความ เงียบสงบ เปนสองสวนที่เด็กตองการในการเลน การจัดสภาพแวดลอมภายนอกอาคารควรมีสวน ที่ใ หเด็ กสามารถมี กิจกรรมที่มี การเลนเคลื่อ นไหว กระโดดโลดเตน ส ง เสี ยงดั ง และในทาง กลับกันเด็กตองการพื้นที่สําหรับกิจกรรมเงียบสงบเชนกัน เชนการอยูคนเดียว หรืออยูเปนกลุม เล็กๆ มีกิจกรรมการเลนที่คอนขา งสงบ การจัดสภาพแวดลอมภายนอกสําหรับ กิจกรรมสอง ลัก ษณะดั ง กล า วควรพิ จ ารณาถึง การออกแบบให เกิ ด ขอบเขต เช น พื้ น ที่ สํ า หรั บ กิ จ กรรม สนุกสนานมีการเคลื่อนไหวมากๆ ควรจัดพื้นที่สําหรับกิจกรรมเหลานี้โดยมีจุดเริ่มตนและสิ้นสุดใน บริเวณเดียวกัน สําหรับเด็กๆ เชน การวิ่งเลน กระโดด ตะโกน ขวางปาลูกบอล ในพื้นที่ที่จัดไว ให สวนกิจกรรมที่เงียบสงบเชนการเลนกับรูปปนจําลอง ตุกตา หรือการจําลองรูปแบบการ เลนที่เงียบสงบ สามารถเลือกจัดวางกิจกรรมในพื้นที่ที่ตองการความเงียบสงบ แตไมควรจํากัด รูปแบบการเลนจากความคิดสรางสรรคของเด็กเพียงอยางใดอยางหนึ่งเทานั้น เนื่องจากการคาด เดาพฤติกรรมการเลนของเด็กเปนเรื่องยาก ภาพที่ ๕๙ เครื่องเลนโลชิงชา เพื่อกิจกรรมการเลนแบบ Active ที่มา: - Paul -๒๕๕๔. “9th April 2011, The Opening of the Goose Green Playground (Phase 3), East Dulwich, London”. [ระบบ ออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos /-paul-/5607385206/ (๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๒.๓ Challenge / Risk and Repetition / Security กิจกรรมการเลนของเด็กมาจากความทาทายและความตองการเสี่ยงภัย กิจกรรม เหลา นี้ แทรกอยูในทุกรู ป แบบของกิจกรรม เชน เด็ กที่รั กการอ า นจะมีหนั งสื อ ที่มี หลากหลาย รูปแบบสําหรับใหเด็กเลือกตั้งแตระดับงายถึงยากขึ้น เพื่อเปนการเสริมสรางทักษะ เชนเดียวกับ เด็กที่ชอบปนปาย ก็จะสามารถใชกิจกรรมดังกลาวในการฝกกลามเนื้อและสภาวะการทรงตัวของ รางกายได ดังนั้นความทาทายอาจเปนการเสี่ยงภัยสําหรับเด็กๆ ที่มีความแตกตางกันทางดาน ทักษะและการเรียนรูของแตละคนนั่นเอง เด็กจะเรียนรูความสามารถและขอจํากัดของตนเองจาก การเลน ในขณะเดียวกันถาการเลนของเด็กๆ ขาดความรูสึกของการคนหาและการเสี่ยงภัยแลว ๘๐


¡ÒÃÍ͡ẺʹÒÁà´ç¡àÅ ¹

เด็กๆ จะเริ่มคิดหาการเลนใหมๆ ของตนเองขึ้นมาจากความทาทายและความตองการตอไป สําหรับ การจัดสภาพแวดลอมเพื่อแกปญหาดังกลาวอาจมีการจัดสภาพแวดลอมเพื่อลดอันตรายจากการ เลนเชน การลดแรงกระแทก เหลี่ยม คม ของสภาพแวดลอมและเครื่องเลนที่จะเปนอันตราย สําหรับเด็กไดเชนกัน พฤติกรรมการเลนของเด็กเริ่มจากการคนหาความทาทายและการเสี่ยงภัย ซึ่งจะมี ผลตอการเรียนรูการเลน เชน การเลนกระดานลื่นในครั้งแรกเด็กจะรูสึกตื่นเตนและเปนความทา ทายเมื่อเด็กไดเรียนรูการเลนแลวเด็กๆ จะมีพฤติกรรมการเลนซ้ําๆ กันตอไปไดอีกเรื่อยๆ หลายๆ ครั้ง ตามสภาวะของการพัฒนาการซึ่งจะทําใหการเลนเกิดความปลอดภัยมากกวาการเลนในครั้ง แรกๆ ของเด็ก การเดินบนแนวกําแพงเตี้ย ก็มาจากพื้นฐานเดียวกัน คือ ความทาทาย การ คนหา เสี่ยงภัย และการเรียนรู เกิดทักษะจากการเลนซ้ําๆ กันหลายๆ ครั้ง จะทําใหการเลนของ เด็กเกิดความปลอดภัยมากขึ้น และอันตรายจากการเลนลดลงตามพัฒนาการของการเลนของเด็ก ผานการเรียนรูจากการเลนนั่นเอง ภาพที่ ๖๐ เครื่องเลนที่ให ความรูสึกทาทายและผจญภัย ที่มา: - Paul -๒๕๕๔. “9th April 2011, The Opening of the Goose Green Playground ( Phase 3), East Dulwich, London”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/paul-/5606953237/ (๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๒.๔ Hard and Soft การใชร า งกายในการสั ม ผั ส สิ่ ง ตา งๆ ของเด็ กเป น การเรี ยนรู อ ยา งหนึ่ ง และ สภาพแวดลอมที่ตอบสนองตอการเรียนรูของเด็กๆ เชน การเดินย่ําบนโคลน ใหความรูสึกจากการ สัมผัสที่ออนนุมตอเทาและขาของเด็ก การเลนกับสัตวเลี้ยง เชน แมว นก หมา เปนตน การ จัดพื้นผิวที่ออนนุมเชน พื้นหญา ทราย พรม สิ่งเหลานี้ชวยในการเรียนรูตอการสัมผัสมีผลตอ ความรูสึกและพัฒนาการของเด็กและอยูรอบๆ ตัวของเด็กๆ นั่นเอง ในอีกดานหนึ่งการเรียนรูผาน ความแข็งกระดางของสิ่งแวดลอมรอบตัว เชน พื้นแข็ง เด็กสามารถมีกิจกรรมตางๆ เชน การ วาดรูป กออิฐ หรือเลนเครื่องเลนที่มีลอหมุน เปนตน การเลือกวัสดุเปนพื้นผิวสําหรับเด็กเลน จึ ง ควรมี ก ารเลื อ กใช ทั้ ง สองแบบซึ่ ง มี ผ ลต อ การเล น และการเรี ย นรู ข องเด็ ก และไม ค วร เฉพาะเจาะจงสํ า หรั บ การเล น อย า งใดอยา งหนึ่ ง ตลอดจนควรง า ยต อ การดู แ ลรั กษา และ ตอบสนองตอความตองการเลนของเด็กๆ

๘๑


¡ÒÃÍ͡ẺʹÒÁà´ç¡àÅ ¹

๒.๕ Natural and People Built กระบวนการเรียนรูของเด็กเกิดจากการเลน ดวยความเจริญกาวหนาของเทคโนโลยี สามารถสงเสริมตอการเรียนรูของเด็กจากการเลนได เชน กิจกรรมการตอชิ้นสวนตางๆ การ สะสมชิ้ น ส วนสํ า หรั บ ตอ ให เสร็ จ สมบู ร ณ จั ด เป น การเล น ที่ส ง เสริ ม ให เด็ ก สามารถเรี ยนรู ถึ ง กระบวนการการเชื่อมตอ ความตอเนื่อง และความสัมพันธของวัสดุและชิ้นสวนตางๆ วาออกมา เปนผลลัพธไดอยางไร นอกจากนั้นการเรียนรูจากธรรมชาติเชน การปลูกตนไม เลี้ยงสัตว จะ ชวยสงเสริมตอพัฒนาการความเขาใจของเด็กตอสิ่งมีชีวิตตางๆ เชน ตนไมปลูกอยางไร เติมโต อยางไร วงจรและวัฎจักรของสิ่งมีชีวิตเปนอยางไร กิจกรรมการจําลองการเลนของผูใหญ เชน การปรุงอาหาร ทําใหเด็กๆ เรียนรูในเรื่องของกระบวนการ เขาใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนรูปแบบ ของวัตถุดิบออกมาเปนผลิตผลได ภาพที่ ๖๑ กิจกรรมปลูกตนไม ชวยสงเสริมการ เรียนรูของเด็กจากธรรมชาติรอบตัว (สนามเด็ก เลน Goose Green Playground, East Dulwich, London.) ที่มา: - Paul -๒๕๕๔. “9th April 2011, The Opening of the Goose Green Playground”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/-paul/5606953237/ (๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๒.๖ Open and Close หมายถึง รูป แบบการเลนที่เป ดกวา งและรูป แบบการเลนที่มีกฎกติกาสํ าหรับ เด็ ก เชน การเลนบนพื้นที่ที่จัดไวสําหรับเด็กที่มีการเปดโอกาสใหเด็กมีการคนหา สรางสรรค ไดแก การเลน ทราย ทาสี การจัด เตรียมพื้ นที่สําหรับกิจกรรมที่ไม มีการควบคุมรูป แบบการเลนควร สงเสริมตอความคิดสรางสรรคของเด็กตอการเลน และไมควรจํากัดกิจกรรม เชน การวาดรูป เด็กควรไดวาดตามใจชอบโดยไมตองมุงหวังผลงานวาเด็กจะตองเอากลับบานไปใหพอแม จะชวย ให เด็ กพั ฒ นาความคิ ด สร า งสรรค ข องตนเองได ดี กว า กิ จกรรมเหล า นี้ ค วรเป น กิจกรรมที่ไ ม เฉพาะเจาะจง หรือ ตองการผลลัพ ธ เมื่ อ กิจกรรมสิ้ นสุ ด ลงจะทําใหเราสั งเกตพฤติกรรมและ ความคิดของเด็กๆได การจัดสภาพแวดลอมที่เปดกวางควรสงเสริมใหมีความหลากหลายตอการ เลน เด็ กจะเลือ กกิจกรรมไดดวยตนเอง ในอี กดานหนึ่ งกิจกรรมการเลน ที่มีกฎกติกาจะชวย ๘๒


¡ÒÃÍ͡ẺʹÒÁà´ç¡àÅ ¹

สงเสริมใหเด็กเรียนรูตอการอยูรวมกัน และมีผลลัพธของการเลนที่เห็นชัดเจน เชน การเลนตอ รูปภาพ การเลนเปนทีม การเลนวิดีโอเกม ถือเปนการเลนที่มีกฎกติกา เด็กจะเรียนรูถึงผลลัพธ ของการเลนได กิจกรรมที่เป ดกวางไมตองการผลลัพธจากการเลนจะชวยสงเสริมตอความคิ ด สรางสรรคของเด็กไดดี ในขณะที่กิจกรรมที่มีกฎกติกาในการเลนและมีผลลัพธจากการเลนจะชวย ใหเด็กเรียนรูกฎเกณฑตางๆ และทําใหเด็กเรียนรูเพื่อที่จะประสบความสําเร็จตอการเลน ดังนั้น การออกแบบสภาพแวดลอมควรจัดใหมีกิจกรรมทั้งสอบแบบได เชน การเลนทราย เลนทาสี หรือการเลนที่มีการแขงขันกัน เปนตน

๒.๗ Permanence and Change การจั ด พื้ น ที่ที่เป น จุ ดหมายตาที่ถาวร หรื อ พื้ น ที่ที่ยืด หยุน ตอ การเปลี่ยนแปลง จัดเปนส วนหนึ่ง ที่มีผ ลตอ เด็ก เชน การสรา งจุด หมายตา (Landmark) ของพื้ นที่ขึ้นมาเป น สิ่งกอสรางถาวร เพื่อใหเกิดการจดจําตอพื้นที่ ความเปนเอกลักษณของสถานที่ ชวยใหเด็กๆ รู วาตนเองอยู ณ ตําแหนงใดของพื้นที่ และความสําคัญของสถานที่ เด็กๆ ตองการจุดหมายตาใน โรงเรี ย นเชน กั น ซึ่ ง เด็ กๆ จะเรี ย นรู วา มั น เป น สิ่ ง สํ า คั ญ และช วยในการเรี ย นรู ตอ การจดจํ า สภาพแวดลอม รูวา พวกเขาอยูที่ไหน จะไปที่ไหนตอไป และชวยสง เสริ มตอกิจกรรมการเลน เกี่ยวกับ เสน ทางที่จะคน หาและผจญภัยจากการเลน ตอ ไป เด็ กจะรูสึ กปลอดภัยในสถานที่ที่ตน คุนเคย การสรางน้ําพุเล็กๆ ที่เด็กๆ สามารถหยุดพักเหนื่อยจากการเลน ดื่มน้ําจากน้ําพุได นั่ง พักดูน้ําพุที่ตกลงมากระทบกอนหิน สําหรับเด็กๆ ความหมายของสิ่งนี้แทนดวยคําวา “นี่แหละคือ โรงเรียนของฉัน” ในการออกแบบควรเลือกที่ตั้งของสิ่งที่จะแทนจุดหมายตา หรือสัญลักษณนี้ ในตําแหนงที่ตั้งที่ตองคํานึงถึงความสัมพันธตอที่ตั้ง การมองเห็น มุมมอง ขนาดและสัดสวน ประกอบกั น นอกจากจุ ด หมายตาซึ่ ง จั ด เป น องค ป ระกอบถาวรของพื้ น ที่ แ ล ว การจั ด สภาพแวดลอมที่สามารถงายตอการปรับเปลี่ยนก็เปนสิ่งสําคัญที่เด็กๆ มีความตองการตอการเลน ความยืดหยุนตอการจัดวาง เคลื่อนยาย และการเปลี่ยนแปลง เด็กตองการพื้นที่สําหรับเลนที่ พวกเขาสามารถสรางสรรคมันไดจากการปรับเปลี่ยน จัดวางใหม หรือสรางตามจินตนาการการ เล น ของตนได การจั ด สภาพแวดล อ มที่ ไ ม ยื ด หยุ น ต อ การเล น ของเด็ ก ที่ ไ ม ส ง เสริ ม ต อ การ เปลี่ยนแปลงได จะทํา ให เด็ กขาดโอกาสในการสร า งสรรค พั ฒ นาการ และการคิ ดค น หาแนว ทางการสรางสรรคสิ่งใหมๆ จากการเลน ภาพที่ ๖๒ น้ําพุในสวนสําหรับเด็ก ชวยสราง สภาพแวดลอมที่นาสนใจ และเปนจุดหมายตาได ที่มา: Pakurar, Eric. ๒๕๕๐. “lucy vs the fountain”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/epakurar/1312335619 /in/photostream/ (๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๘๓


¡ÒÃÍ͡ẺʹÒÁà´ç¡àÅ ¹

๒.๘ Private and Public ในบริเวณพื้นที่ที่จัดไวเด็กๆ ตองการทั้งพื้นที่ที่เปนสาธารณะ และพื้นที่สวนตัวดวย เชนกัน ในบางกรณีเด็กตองการอยูคนเดียว หรือเลนกันเปนกลุมเล็กๆ เงียบๆ ในพื้นที่สวนหนึ่ง ซึ่งเปนรูปแบบทางเลือกของการมีปฏิสัมพันธของเด็กๆ ตอสังคม ดังนั้นการออกแบบพื้นที่ใหเกิด ทั้ง ความเปน สาธารณะและความเปน ส วนตัวจะมี ผ ลตอ การพั ฒนาการทางด านสั ง คมของเด็ ก สถานที่สวนตัวของเด็กๆ เปนที่ที่เด็กๆ สามารถปลีกตัวไปอยูคนเดียวได สามารถทําไดโดยการ สร า งขอบเขตความเป น ส ว นตัว แต ขอบเขตจะมากหรื อ น อ ยขึ้น อยูกับ การออกแบบให เด็ ก ที่ ตองการความเปนสวนตัวสามารถมองเห็นกิจกรรมการเลนของเพื่อนๆ ไดจากพื้นที่นั้น สามารถ ไดยินเสียงเพื่อนเลน และรับรูกิจกรรมเหลานั้นได เชน การสรางบานจําลองเล็กๆ ใหเด็ ก หรือใชวัสดุอื่นๆ ที่สามารถเคลื่อนยาย จัดวาง ใหเกิดขอบเขต การใชการสื่อความหมายดวยปาย สัญลักษณ ก็ไดเชนกัน พื้นที่ที่เปนสวนตัวในความคิดของเด็ก คือ มีการกันขอบเขตทางดาน กายภาพ และไดรับอนุญาตใหอยูตามลําพังเพียงคนเดียว หรือเปนกลุมเล็กๆ ก็ได

๒.๙ Simple and Complex การเลนที่มีรูปแบบที่เรียบงาย อาจมาจากสวนหนึ่งของอุปกรณที่หาไดงายๆ เชน ลอยาง การเลนชิงชา เปนการจัดสภาพแวดลอมอยางงายๆ ไมซับซอน ไวใหเด็กไดคิดคนการ เลนของตน จํ านวนชิ้นของอุ ปกรณที่จัดไวใ หถามีจํา นวนมาก มีค วามหลากหลาย เด็ กจะเริ่ ม จินตนาการการเลนที่มีความซับซอนเกิดขึ้นได โดยการปรับเปลี่ยน เชน ถาเตรียมพื้นที่บอทราย สระเลน น้ํ า เล็ก ฟองสบู พื้ น ที่เลน ทาสี อุ ป กรณการเลน ปรุ ง อาหาร ไวใ นพื้ น ที่เดี ยวกั น กิจกรรมการเลนของเด็กจะเริ่มมีรูปแบบที่ซับซอนมากขึ้นและจะเกิดทางเลือกตอการเลนของเด็ก ไดมากขึ้น ปญหาหลักของทางเลือกในการเลนของเด็กมักจะเกี่ยวของกับความไมเพียงพอของสิ่ง ที่จัดเตรี ยมไวนั่ นเอง ดังนั้น ความหลากหลายของอุปกรณจะทําใหเกิดความซับ ซอนและเด็กจะ จินตนาการการเลนของตนเองไดโดยไมตองมีการเตรียมการลวงหนาเลย องคประกอบพื้นฐาน ๙ ประการสําหรับการออกแบบขางตนนี้ สามารถนํามาเปนแนวทาง ในการพิจารณาในการประเมินและปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอมของการเลน สภาพแวดลอมมีผลตอ การตัดสินใจเลนของเด็ก เมื่อเด็กจะออกไปเลนนอกบานจะมีการตัดสินใจที่ซับซอน เครื่องเลน ตางๆ ไมไดมีผลตอจํานวนกิจกรรมเทานั้นแตยังมีผลตอทางเลือก และความหลากหลายของการ เลน แตความตองการที่ซั บซ อนและพฤติกรรมการเลนไมค วรถูกจํ า กัด จากรู ป แบบเครื่อ งเลน เทา นั้น แตเครื่อ งเลน ควรเป นองค ประกอบหนึ่ งของพื้น ที่ องคป ระกอบเหลา นี้ จะชวยให นั ก ออกแบบและครูผูสอนกลั่นกรองเพื่อนํามาเพิ่มเติมโครงสรางตางๆ ในการแกไขปญหาที่เกิดขึ้น และยังขาดอะไรไปบา ง ดีกวาที่จะสรา งสภาพแวดลอมแบบเฉพาะเจาะจงไมเป ดโอกาสตอ การ เรียนรูของเด็ก แตละองคประกอบไมใชทั้งขอดีและขอเสีย แตเปนเครื่องมือที่ชวยประเมินและ ปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอมของการเลนของพื้นที่ และชวยเปนแนวทางในการพิจารณาจัดวาง ให เกิดปฏิสัมพันธ ตอบสนองตอความตองการของเด็กอยางมีเหตุผลทั้งทางดานรางกาย สังคม การจดจํา การเรียนรูของเด็กตอไป ๘๔


¡ÒÃÍ͡ẺʹÒÁà´ç¡àÅ ¹

๓. การออกแบบสนามเด็กเลน พื้นที่นันทนาการภายนอกอาคารสําหรับเด็ก นับวามีความสําคัญไมยิ่งหยอนไปกวาภายใน อาคารเลย ทั้งนี้เนื่องจากกิจกรรมนั นทนาการชวยสงเสริมพัฒนาการทั้งทางดานรา งกายและ จิตใจของเด็ก ดังนั้นการออกแบบสวนสําหรับเด็ก ซึ่งโดยทั่วไปประกอบดวย สนามเด็กเลน พื้นที่ นั่งพักผอน และพื้นที่ลานโลงเอนกประสงคภายนอกอาคาร จึงเปนเรื่องที่นักออกแบบทุกคนควร ตองใหความเอาใจใส

๓.๑ แนวความคิดในการออกแบบสวนสําหรับเด็ก กอ นที่จะออกแบบสวนสํ า หรั บเด็ ก นั กออกแบบควรทํา ความเขา ในกับ พฤติกรรมการเลน ของเด็ ก เพื่ อ ที่จะได สามารถพั ฒ นางานออกแบบ ให ตอบสนองตอ ความ ตองการของเด็กได เด็กๆตองการสถานที่เลนที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนไหว เชน กระโดด ลื่น หมุน แกวง เปนตน บางครั้งเด็กก็อยางเลนตามลําพังโดยมีวัสดุประกอบการเลนที่พวกเขาเห็น วานาสนใจ เชน ทราย ดิน หรือน้ํา ในขณะเดียวกันพวกเขาก็ตองการพื้นที่ในการเลนเปนกลุม รวมกับเพื่อนๆ ทั้งกลุมเล็กและกลุมใหญ โดยมีวัสดุอุปกรณในการเลนที่เหมาะสม ในการเลนพวก เขาควรมีโอกาสไดใกลชิดและสั มผัสกับสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติอยางปลอดภัย เชน การป น ตนไมในระดับที่ไมเปนอันตราย การสรางเขื่อนกั้นลําธาร เปนตน พวกเขาควรสามารถกําหนด บทบาทในการเลนตามจิ นตนาการของตนไดอยางเต็ม ที่ สวนสําหรับ เด็กควรตอบสนองความ ตองการของเด็กตามที่ไดกลาวมา และควรมีความยืดหยุนเพียงพอที่จะสามารถรองรับลักษณะการ เลนที่แตกตางกันของเด็กในหลายๆวัย องคประกอบของพื้นที่สวนสําหรับเด็ก ควรประกอบดวย ๑) ๒) ๓) ๔) ๕)

สนามเด็กเลนสําหรับเด็กเล็ก พื้นที่ปดลอมสําหรับวางอุปกรณเครื่องเลน สําหรับเด็กระดับประถม สนามหญาสําหรับวิ่งเลน และเลนเกมสแบบไมเปนทางการ พื้นที่รมเงาสําหรับกิจกรรมพักผอนหยอนใจ และทํากิจกรรมเบาๆ พื้นที่ลานเอนกประสงค ที่มีการติดตั้งระบบไฟฟาแสงสวาง สําหรับ

กิจกรรมหลายประเภท ๕.๑) การเลนเสก็ตบอรด เตนรํา และเกมสอื่นๆ ๕.๒) การเลนบาสเสก็ตบอล วอลเลยบอล เทนนิส แฮนบอล แบ็ตมินตัน เปนตน ๖) พื้นที่สําหรับการเลนในสนาม เชน ฟุตบอล วิ่ง เลนวาว ๗) องคประกอบอื่นๆ เชน ศาลาปกนิก พื้นที่เก็บของ หองน้ํา น้ําดื่ม ทางเดิน มานั่ง ถังขยะ เปนตน

๘๕


¡ÒÃÍ͡ẺʹÒÁà´ç¡àÅ ¹

ภาพที่ ๖๓ สวนสําหรับเด็ก Goose Green Playground ที่มา: - Paul -๒๕๕๔. “9th April 2011, The Opening of the Goose Green Playground ( Phase 3), East Dulwich, London”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/ -paul/5606542415/in/photostream/ (๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๓.๒ การออกแบบสนามเด็กเลนพรอมอุปกรณเครื่องเลน สนามเด็กเลนเปนองคประกอบที่สําคัญของสวนสําหรับเด็ก ซึ่งสวนใหญที่คนุ กันดีก็ คงจะเปนสนามเด็กเลนพรอมอุปกรณ ซึ่งในประเทศไทยมักจัดสรางอยางงายๆ และใชอุปกรณ สําเร็จรูปที่ทําจากเหล็ก เนื่องจากมีราคาถูก และใชสีสันที่สดใส เมื่อใชไปไดระยะหนึ่งก็มักเกิด ปญหาการเสื่อมสภาพของวัสดุที่ใช และอาจกอใหเกิดอันตรายตอเด็กได นักออกแบบควรเรียนรู หลักที่ถูกตองในการออกแบบสนามเด็กเลน เริ่มตั้งแตการเลือกที่ตั้ง การออกแบบในรายละเอียด และการจัดการ ดังที่ เดวิด (๑๙๙๑) ไดนําเสนอดังนี้ ๓.๒.๑ การเลือกทําเลที่ตั้ง สนามเด็กเลนควรอยูในระยะที่เด็กสามารถเขาถึงได สะดวกและปลอดภัย เด็กเล็กๆจําเปนตองมีผูปกครองคอยดูแลขณะเลน ที่เลนของพวกเขาควร อยูภายในระยะ ๑๕๐ เมตร จากบาน และไมควรถูกขวางกั้นดวยถนนที่มีความพลุกพลานมากนัก สวนเด็กโตนั้นสามารถใชสนามเด็กเลนที่อยูหางไกลออกไปในระยะไมเกิน ๕๐๐ เมตร จากบาน ควรจะมีสวนบริการอยูในละแวกใกลเคียงเพื่อความสะดวกในการดูแลรักษา พื้นที่สนามเด็กเลน ควรมีขนาดใหญพอสําหรับกิจกรรมหลากหลายที่จะเกิดขึ้น โดยไมกอใหเกิดความขัดแยงระหวาง กิจกรรมนั้นๆ พื้นที่ที่ถูกเลือกควรมีการระบายน้ําไดดี หรือสามารถปรับปรุงระบบการ ระบายน้ําได เปนพื้นที่ที่มองเห็ นไดชัดเจนเพื่อใหงายในการดูแ ล ถาเปนไปไดควรมีลักษณะภูมิ ประเทศที่เอื้ออํานวยใหสามารถออกแบบพื้นที่ที่เลนระดับไดอยางนาสนใจ และมีพื้นที่สําหรับปลูก พันธุไม ขนาดพื้นที่สนามเด็กเลนตอบานพักอาศัย ๑ ครอบครัวมีดังนี้ (David, ๑๙๙๑)

๘๖


¡ÒÃÍ͡ẺʹÒÁà´ç¡àÅ ¹

ตารางที่ ๗ ขนาดพื้นที่สนามเด็กเลนตอบานพักอาศัย ๑ ครอบครัว ประโยชนใชสอย

พื้ น ที่ ( ต . ร . ม . ) / ครอบครัว พื้นที่รวมของสนามเด็กเลน (แบงออกเปน) ๑๕ พื้นที่เลนแบบไมเปนทางการ ๑๐ พื้นที่เลนแบบเปนทางการ (แบงยอยไดเปน) ๕ พื้ น ที่ เล น สํ า หรั บ เด็ กเล็ ก (ภายในระยะ ๕๐ ม. จาก ๒๕ % บาน) พื้นที่เลนสําหรับเด็กอายุ ๕-๑๒ ขวบ (ภายในระยะ ๔๐๐ ๗๕ % ม. จากบาน) หมายเหตุ พื้นที่เลนโดยรวมสําหรับเด็กเล็กควรมีพื้นที่อยางนอย ๑๐๐ ต.ร.ม. และ พื้นที่เลนโดยรวมสําหรับเด็ก ๕-๑๒ ขวบ ควรมีพื้นที่อยางนอย ๕๐๐ ต.ร.ม. ที่มา: David, ๑๙๙๑

๓.๒.๒ การวางผัง สนามเด็กเลนควรไดรับการออกแบบและจัดการโดยคํานึงถึง ความตองการของเด็กเปนหลัก ผูออกแบบควรศึกษาความสนใจของเด็กในแตละวัย ทางเลือก ในการเลนของพวกเขา นอกจากนี้สภาพภูมิประเทศของพื้นที่ก็มีความสําคัญเชนเดียวกัน พื้นที่ สําหรับวางเครื่องเลนควรราบเรียบพอสมควรเพื่อความปลอดภัยในการเลน สวนพื้นที่ที่อยูหาง ออกมานั้นสามารถออกแบบเลนระดับ เพื่อสรางความนาสนใจใหแกพื้นที่ และสงเสริมจินตนาการ ในการเลนใหแกเด็ก อยางไรก็ดีการเปลี่ยนระดับหรือเนินในธรรมชาติมักถูกเกรดไถใหราบระหวาง การปรับปรุงพื้นที่ ซึ่งนอกจากจะทําใหคาใชจายเพิ่มขึ้นโดยไมจําเปนแลว ยังลดพื้นที่ระดับที่ใชใน การละเลนของเด็กไดอีกดวย สําหรับพื้นที่ที่แบนราบอยูแลวตามธรรมชาติ อาจจําเปนตองสราง เนินจําลองที่นาสนใจ ที่ดูเปนธรรมชาติ ตนไมที่ปลูกในสนามเด็กเลนควรใหความรูสึกของแนว ขอบเขตพื้ น ที่ เพื่ อ ลดความขั ด แย ง ในเรื่ อ งของขนาดส วนระหวา งตัว สนามเด็ กเลน เองและ สภาพแวดลอม และเพื่อเปนแนวปองกันอันตรายไดในระดับหนึ่ง ควรหลีกเลี่ยงการใชพันธุไมที่มี ใบหรือผลที่เปนพิษ หรื อมีหนามหรื อขนที่อาจเปนอันตรายได การจั ดวางอุปกรณการเลนนั้ น ขึ้นอยูกับอุ ปกรณที่เลือกมา และระยะปลอดภัยที่ตองการสําหรับเครื่องเลน เหลานั้น และควร แบงแยกบริเวณการเลนของเด็กตางวัยออกจากกัน การออกแบบสนามเด็กเลนควรจัดใหมีพื้นที่ที่สงเสริมกิจกรรมทางสังคมระหวาง เด็ก และมีเสนทางเดินที่กวางเพียงพอสําหรับรถเข็น โดยหลีกเลี่ยงการใชขั้นบันได ใชพื้นผิวกัน ลื่น มีระบบระบายน้ําที่ดี และเปนเสนทางที่ไมตัดผาเขาไปกลางพื้นที่กิจกรรมหรือผานหนาชิงชา หรือ กระดานลื่น นอกจากนี้ทางเสนทางอาจถูกออกแบบให ใชเปนพื้ นที่สํ าหรั บการเลนได เชน ทางสําหรับสเก็ตบอรด รอลเลอรสเก็ต ปนจักรยาน วิ่งเลนไลจับ เปนตน อุปกรณการเลนที่ประยุกตจากของจริง เชนตูรถไฟ รางรถไฟ สามารถนํามา เปนสวนประกอบของสนามเด็กเลนที่นาสนใจไดดี แตตองนํามาดัดแปลงใหสามารถเหมาะสมกับ ๘๗


¡ÒÃÍ͡ẺʹÒÁà´ç¡àÅ ¹

การเลนในหลายรูปแบบ เชน ปน คลาน ลื่น ซอน วิ่ง กระโดด เปนตน สนามเด็กเลนควร ออกแบบสําหรับการใชตลอดทั้งป ดังนั้นจึงควรมีสถานที่ที่กําบังฝนได และควรจัดสถานที่สําหรับ ผูปกครองใหสามารถดูแลบุตรหลาน ในขณะเดียวกันก็พบปะสังสรรคกันได โจเซฟ เชียรา และ ลี คอปเปอร แ มน (1984) แสดงหลักการวางผัง สวน สําหรับเด็กดังนี้ ๑) สนามเด็กเลนสําหรับเด็กเล็กและพื้นที่วางอุปกรณเครื่องเลนควร อยูใกลๆกัน และควรอยูใกลกับโรงเรียนอีกดวย ๒) พื้นที่สนามหญาเปดโลงสําหรับวิ่งเลนควรอยูใกลกับสนามเด็ก เลนสําหรับเด็กเล็ก และพื้นที่จัดวางอุปกรณเครื่องเลน เพื่อความสะดวกในการใชสอยพื้นที่ของ เด็กทุกวัย ๓) พื้นที่สําหรับกิจกรรมพักผอนหยอนใจสําหรับเด็กและผูใหญควร อยูหางจากพื้นที่กิจกรรมวิ่งเลน และเคลื่อนไหวตางๆ และควรอยูในบริเวณที่มีรมเงา และพื้นที่ ธรรมชาติอื่นๆ ๔) พื้นที่ลานเอนกประสงคควรแยกออกจากพื้นที่อื่นๆโดยใชพรรณ ไม และตั้งอยูใกลอาคารกีฬาของโรงเรียน เพื่อที่จะสามารถใชสําหรับการออกกําลังกาย และเลน กีฬาในชั่วโมงพละศึกษาไดโดยไมรบกวนการเรียนการสอนในวิชาอื่นๆ อุปกรณการเลนกีฬาควรเปน แบบที่ถอดประกอบและเคลื่อนยายได ๕) พื้ น ที่ส นามหญ า สํ า หรั บ การเลน กี ฬ าควรมี ร ะดั บ ที่ร าบเรี ย น สม่ําเสมอ มีการระบายน้ําไดดีโดยมีความลาดชันไมเกิน ๒.๕ เปอรเซ็นต ๖) โดยทั่วไปการแบง พื้ นที่ส วนสํ า หรับ เด็ กเลนควรแบ ง ออกเป น พื้นที่ทํากิจกรรมดังนี้ ๖.๑) ประมาณครึ่ ง หนึ่ ง ของพื้ น ที่ ค วร มี ลั ก ษณะคล า ย สวนสาธารณะ ประกอบดวยพื้นที่สนามหญาเปดโลงสําหรับการวิ่งเลน พื้นที่ใหรมเงาสําหรับการ พักผอนหยอนใจ และองคประกอบอื่นๆดังที่ไดอธิบายไปแลว ๖.๒) พื้นที่อีกครึ่งหนึ่งควรประกอบดวยสนามเด็กเลนสําหรับ เด็กเล็ก (๒-๒.๕ ไร) พื้นที่วางอุปกรณเครื่องเลน และพื้นที่ลานเอนกประสงค และพื้นที่สนาม หญ าสํ าหรับ เลน กีฬ า (มี พื้น ที่ขนาดตั้ง แต ๔.๕ ไรสํ า หรั บเลน ซอฟทบ อล ไปจนถึง ๑๐ ไร สําหรับเลนเบสบอล) ๗) พื้นที่สวนสําหรับเด็กควรไดรับการพัฒนาอยางเต็มที่ดวยการจัด ภูมิทัศนสําหรับควบคุม กิจกรรม และการสั ญจร และเพื่อใหเกิดความนา ดึงดูดใจ ควรมีพื้น ที่ ปองกันแดดฝนสาธารณะที่สามารถเขาถึงไดสะดวก มีหองเก็บของสําหรับอุปกรณการดูและรักษา และอุกรณการเลนตางๆ มีหองน้ําที่พอเพียง น้ําดื่ม ทางเดินที่กวางพอสําหรับรถเข็นเด็ก ทาง จักรยาน มานั่งสําหรับเด็กและผูใหญ และถังขยะ

๘๘


¡ÒÃÍ͡ẺʹÒÁà´ç¡àÅ ¹

ภาพที่ ๖๔ น้ําพุสาํ หรับดื่มที่ Adams Square Mini Park, Califonia, U.S.A. อางน้ําพุอันเล็กดานลางถูกออกแบบมา สําหรับสุนัข ที่มา: Avocado, Laurie. ๒๕๕๐. “Adams Square Mini Park”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/auntylaurie/2013088122/ (๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๓.๒.๓ การเลือกเครื่องเลน ๑) โครงสรางสําหรั บการปนปา ย ควรมีค วามทาทายสําหรับเด็ ก มิฉะนั้นเด็กจะไมสนใจที่จะเลน แตควรมีระดับความสูงที่จํากัด และมีพื้นนุมมารองรับขางใต ไร ขอบที่ขรุขระ หรือซอกมุมที่แขนขาของเด็กอาจเขาไปติดได ไมเปนวัสดุที่ดีทีสุดเพราะ สามารถ รักษาระดับอุณหภูมิไมใหรอนเกินไปทามกลางแสงแดดรอนจัด เนื่องจากไมผุกรอนงาย จึงควร ทาสี เคลือ บผิ วป อ งกัน ไม จากสภาพดิ น ฟ า อากาศที่เปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา พื้ น ที่โดยรอบ อุปกรณควรกวางพอที่เด็กจะกระโดดขึ้นลงไดสะดวก นอกจากโครงสรางแข็งอาจใชตาขายเชือกที่ แข็งแรงพอ ซึ่งจะชวยใหเด็กพัฒนาการทรงตัวไดมากขึ้น ภาพที่ ๖๕ โครงสรางสําหรับ การปนปายภายในสนามเด็ก เลน ที่มา: การสํารวจ (Australia Trip, ๒๕๔๖)

๘๙


¡ÒÃÍ͡ẺʹÒÁà´ç¡àÅ ¹

๒) ชิง ชา เปนเครื่ องเลน ที่เด็ กทุกวัยชอบ ซึ่งมี การออกแบบใน หลายรูปแบบ ชิงชาควรถูกสรางใหตรงตามมาตรฐาน ทั้งการรับน้ําหนัก และความมั่นคงแข็งแรง ของโครงสราง เพื่อลดอุบัติเหตุจากการเลน ความสูงของชิงชาอาจมีความสูงไดหลายระดับขึ้นอยู กับวัยของเด็ก ซึ่งจะใหลักษณะการแกวงไกวที่มีความเร็วชาแตกตางกัน การออกแบบที่นั่งก็ควรให มีความมั่นคงแข็งแรง และปลอดภัยสําหรับคนนั่ง ๓) กระดานลื่น มีทั้งแบบกระดานลื่นเดี่ ยว และแบบเป นเครื่อ ง เลนชุดรวมเปนโครงสรางขนาดใหญ กระดานลื่นอาจกอให เกิดอุบัติเหตุไดจากการใชผิดประเภทของ เด็ ก เชน การป น ขึ้น กระดานลื่น การเลน ผลักกัน บนขั้นบั น ได ดั ง นั้ นในการออกแบบจึง ตอ ง คํานึงถึงความปลอดภัยในการเลนของเด็ก ในทุกสวนของเครื่องเลน ทั้งมุมเอียงของกระดานลื่น ความกวางของกระดานลื่น ราวจับ พื้นผิวกระดานลื่น และพื้นผิวดินที่รองรับปลายกระดานลื่น ๔) อุปกรณเครื่องเลนแบบหมุน รอบตัว เปนที่นิยมมากในสนาม เด็กเลน เครื่องเลนแบบหมุนสามารถกอใหเกิดอันตรายไดงายมาก เนื่องจากในการเลนตองมีการ เคลื่อนไหวจากแรงเหวี่ยง และมีแรงปะทะสูง อันตรายอาจเกิดเมื่อเด็กพยายามเขาไปเลนหรือ ผละจากเครื่องเลน เมื่อยังมีการหมุนอยู หรือมีการแกลงผลักกันระหวางเด็กดวยกัน เครื่องเลน ชนิดนี้จึงควรมีการติดตั้งที่มั่นคง มีการดูแลรักษาอยูตลอดเวลา และไมควรออกแบบเครื่องเลนที่ หมุนเร็วและแรงมากเกินไป ๕) อุปกรณเครื่องเลนแบบโยก เครื่องเลนชนิดนี้มักมีลักษณะเปน รูปสัตว ติดตั้งบนสปริงหรือแผนโลหะ มักติดตั้งในสนามเด็กเลนสําหรับเด็กเล็ก จึงควรไดรับ การดูแลไมใหมีความแข็งหรือฝดเกินกวาที่เด็กจะเลนได ๓.๒.๔ การใหความสําคัญกับความตองการของเด็ก เปนขั้นตอนที่สําคัญมาก ที่สุดในการออกแบบสนามเด็กเลน ผูออกแบบควรสอบถามเด็กๆ เพื่อใหไดมาซึ่งแนวความคิดใน การออกแบบ แต อ ย า งไรก็ ดี ใ นขบวนการเช น นี้ ก็ มี ข อ จํ า กั ด คื อ เด็ ก จะให คํ า แนะนํ า ตาม ประสบการณที่เขาเคยได รั บ มาเทา นั้ น จึ ง ไม ค อ ยจะได แ นวความคิ ด ใหม เ ทา ไหร นั ก จึ ง ควร สอบถามกลุมของเด็ก เพื่อสนับสนุนใหเกิดการแลกเปลี่ยนความคิดกัน และเกิดแนวคิดใหมๆ ๓.๒.๕ ความปลอดภั ย เป น สิ่ ง ที่ต อ งให ค วามสํ า คั ญ เป น อั น ดั บ แรกในการ ออกแบบ แตตองคงความนาดึงดูดใจของสนามเด็กเลนไว โดยการออกแบบใหมีความหลากหลาย นาตื่นเตน และนาสนใจ การออกแบบที่ดีจะตองคาดการณไดอยางแมนยําลวงหนา ถึงอุบัติเหตุ ที่อาจเกิดขึ้นได ความสูงของเครื่องเลนควรสูงไมเกิน ๒ – ๒.๕ เมตร กระดานลื่นควรวางลาดอยู บนเนินลาดเอียง เพื่อที่เด็กจะไดอยูในระดับพื้นตลอดเวลา การวางเครื่องเลนควรคํานึงถึงทิศทาง ของแสงอาทิตย โดยแสงแดดไมค วรสอ งตาเด็กที่กําลังวิ่งเขา หาเครื่อ งเลน ที่มี การเคลื่อนไหว โดยรอบเครื่องเลนที่ไมเคลื่อนไหวในระยะอยางนอยที่สุด ๑.๒ เมตร ควรกันเปนเขตปลอดภัย สวนโดยรอบเครื่องเลนที่เคลื่อนไหวขณะเลน ควรมีระยะปลอดภัยอยางนอย ๑.๘ เมตร ระยะ ปลอดภัยของแตละเครื่องเลนไมควรซอนทับกัน และยิ่งไมควรซอนทับกับเสนทางสัญจร (ขนาด ของเสนทางสัญจรที่เด็กเดินสวนกันไดควรกวางอยางนอย ๑.๒ เมตร) อยางไรก็ดี หากวาง เครื่องเลนหางกันเกินไปจะทําใหดูไมนาสนใจ เทากับการวางเครื่องเลนเกาะกลุมมีความสัมพันธกัน การวางผังของสนามเด็กเลนจึงมีความสําคัญอยางมากตอความปลอดภัยในการเลน นอกจากการ จัดวางเครื่ องเลน ไมใ หเกิดการรบกวนกันแลว ในบางครั้ง อาจจํา เปน ตอ งมีฉ ากกําบั งไมให เกิด ๙๐


¡ÒÃÍ͡ẺʹÒÁà´ç¡àÅ ¹

อุบัติเหตุจากการที่เด็กวิ่งเขาหาเครื่องเลนที่กําลังเคลื่อนไหว บางครั้งการบาดเจ็บอาจไมไดเกิด จากอุบัติเหตุ แตเกิดจากการเลนแกลงกันของเด็กเอง การปองกันความปลอดภัยจึงตองอาศัย ผูปกครองคอยดูแลเอาใจใสอยางใกลชิด ภาพที่ ๖๖ การออกแบบแนวเขตกั้นเครื่องเลนประเภท เคลื่อนไหว เพื่อปองกันอุบัติเหตุ (สนามเด็กเลน Goose Green Playground, East Dulwich, London.) ที่มา: Paul -๒๕๕๔. “9th April 2011, The Opening of the Goose Green Playground”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่ มา http://www.flickr.com/photos/-paul-/5607363364/ (๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๓.๓ การออกแบบสนามเด็กเลนสําหรับเด็กเล็ก สนามเด็กเลนสําหรับเด็กเล็ก เหมาะสําหรับเด็กกอนวัยเรียนไปจนถึงอายุ ๖ ป ควรจัดใหมีสนามเด็กเลนสําหรับเด็กเล็กในชุมชนทั่วไป ๓.๓.๑ สวนประกอบ โจเซฟ เชียรา และ ลี คอปเปอรแมน (1984) กลาวถึง องคประกอบของพื้นที่สวนสําหรับเด็ก วาควรประกอบดวย ๑) พื้นที่ปดลอมพรอมดวยอุปกรณเครื่องเลน ๑.๑) อุปกรณเครื่องเลน เชน อุปกรณปนปาย กระดานลื่น ชิงชา บานเด็กเลน ประติมากรรมเด็กเลน ๑.๒) บอทราย ๑.๓) สระน้ําพุสําหรับเด็ก ๒) สนามหญาสําหรับวิ่งเลน ๓) พื้นที่รมเงาสําหรับกิจกรรมพักผอนหยอนใจ ๔) องคประกอบเสริม ประกอบดวย มานั่ง ทางเดิน ลานพื้นแข็ง รั้ว และพรรณไม ๓.๓.๒ การเลือ กทํา เลที่ตั้ง ควรเลือ กพื้น ที่ที่เป น สวนหนึ่ ง ของการออกแบบ บริเวณบาน และควรตั้งอยูภายในระยะ ๙๐-๑๒๐ เมตรจากที่พักอาศัย ควรเขาถึงไดงายโดยไม ตองขามถนน เสนทางเขาถึงควรสะดวกตอการเข็นรถเข็นสําหรับเด็ก ๙๑


¡ÒÃÍ͡ẺʹÒÁà´ç¡àÅ ¹

๓.๓.๓ ขนาด พื้ นที่ปดสําหรับวางอุป กรณเครื่องเลน บ อทราย ควรมีขนาด อยางนอย ๖.๓ ต.ร.ม. ตอเด็ก ๑ คน ซึ่งเทียบเทากับ ๑.๘๙ ต.ร.ม. ตอ ๑ ครอบครัว เมื่อคิดคาเฉลี่ยของจํานวนเด็กกอนวัยเรียน ๐.๓ คน ตอ ๑ ครอบครัว ดังนั้นสําหรับเด็กกอน วัยเรียน ๓๐ คน จาก ๑๐๐ ครอบครัว ตองใชพื้นที่ปดลอมประมาณ ๑๙๐ ต.ร.ม. และเมื่อ รวมกับพื้นที่บ อน้ํา น้ําพุแ ลว จะตอ งใชพื้นที่ถึง ๓๘๐ ต.ร.ม. เลยทีเดียว ซึ่ง พื้นที่ดังกลา ว สามารถรองรับเด็กกอนวัยเรียนไดตั้งแต ๓๐ – ๕๐ คน (๑๖๕ ครอบครัว) บริเวณภายนอกพื้นที่ ปด ลอ มเป น สวนพื้ น ที่เสริ ม เชนสนามหญ า ซึ่ง ควรมีขนาดอยา งนอ ย ๓.๖ ต.ร.ม. สํ า หรั บ กิจกรรมวิ่งเลน ๓.๓.๔ การวางผัง ๑) พื้นที่วางเครื่อ งเลนและบอทราย ควรปดลอมดวยแนวกั้นเตี้ยๆ พรอมดวยไมพุม โดยมีทางเขาออก ๑ จุ ด ในการออกแบบควรป องกันการรบกวนจากสัตว และเด็กที่โตกวา ควรจัดใหมีการระบายน้ําที่ดี ๒) ทําการเลือกอุปกรณเครื่องเลนและจัดวางเปนกลุมเล็ก บนพื้นที่ที่ กวางพอสําหรับการเลน และควรจัดในรูปแบบธรรมชาติ ควรวางแผนการสัญจรที่สงเสริมใหมี การเคลื่อนไหวผานพื้นที่เลนอยางปลอดภัย ๓) สําหรับเครื่องเลนที่เด็กเลนไดคราวละหลายคน เชน เครื่องปน ปาย เปนตน ควรตั้งใกลทางเขา แตอยูในตําแหนงที่ไมกีดขวางทางสัญจร การจัดวางเชนนี้ชวย รองรับเด็ก กอนที่จะเคลื่อนยายไปสูเครื่องเลนที่รองรับเด็กไดในปริมาณนอยในแตละคราว เชน ชิงชา กระดานลื่น เปนตน ๔) บอทราย บานเด็กเลน หรือประติมากรรมเด็กเลน ควรตั้งอยู หางจากอุปกรณเครื่องเลนจําพวก ชิงชา กระดานลื่น เพื่อความปลอดภัยของเด็ก และสงเสริม บรรยากาศที่สร างสรรค ใ นโลกของเด็ ก ควรจั ดใหมี รม เงาทั้ง จากตนไม หรื อโครงสร างให ร ม ปองกันแดด ควรประติมากรรมเด็กเลนในบอทราย เพื่อสงเสริมกิจกรรมการเลนใหหลากหลาย แตไมควรใหมีอุปกรณเครื่องเลนในพื้นที่ดังกลาว ๕) ชิงชา หรือ อุปกรณเครื่องเลนที่มีการเคลื่อนไหวอื่น ๆ ควรจัด วางอยูขอบดานนอกของพื้นที่วางอุปกรณเครื่องเลน และมีการปองกันโดยกําแพง หรือรั้ว เพื่อ ปองกันไมใหเด็กเดินเขาหาอุปกรณ ขณะที่กําลังเคลื่อนไหว ชิงชาควรหันสูมุมมองที่ดี และหัน ออกจากดานที่มีแสงอาทิตยสอง โดยเฉพาะกระดานลื่น ซึ่งควรหันสูทิศเหนือ ๖) สระน้ํ าพุสํ าหรับเด็กควรจัดวางไวตรงกลาง และควรจั ดให มีน้ํ า สะอาดสําหรับดื่ม ๗) สนามหญ าสํ า หรับ วิ่งเลน และพื้น ที่ร มเงาสํ า หรับ กิจกรรมเบาๆ เชนอานหนังสือ เลานิทาน ควรมีความเชื่อมโยงกับพื้นที่จัดวางอุปกรณเครื่องเลน ๘) ควรจัดวางมานั่งที่เคลื่อนยายไมได ในพื้นที่สนามเด็กเลน เพื่อให สามารถมองเห็น และดูแลเด็กในขณะเลน นอกจากนี้ควรจัดวางถังขยะใหพอเพียงดวย

๙๒


¡ÒÃÍ͡ẺʹÒÁà´ç¡àÅ ¹

ภาพที่ ๖๗ พื้นที่สนามเด็กเลน สําหรับเด็กเล็ก ที่มา: - Paul ๒๕๕๔. “9th April 2011, The Opening of the Goose Green Playground ( Phase 3), East Dulwich, London”. [ระบบ ออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/paul-/5606559077/ (๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

ภาพที่ ๖๘ เครื่องเลนชิงชาสําหรับเด็ก ทารก ที่มา: Hansen, Ruthie. ๒๕๔๘. “Teensies”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.flickr.com/photos/ ruthieki/16783585/ (๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๔).

๙๓


บ ท ที่

บทสรุปและขอเสนอแนะ

๙๔


º·ÊÃØ»áÅТ ÍàʹÍá¹Ð

๑. ที่มา ประเด็นปญหา และขอมูลพื้นฐาน ชุมชนที่นาอยูอาศัยหมายถึงชุมชนที่มีสภาพแวดลอมที่ดี ปราศจากมลภาวะแวดลอม มี การสัญจรที่สะดวกสบาย มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ประชากรใน ชุมชนมี ความเอื้ออาทรตอกัน เปน ชุมชนที่มีความเขมแข็ง และมั่ นคงทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และเอกลักษณของภูมิปญญาทองถิ่น การที่จะสรางสรรคใหเกิดชุมชนที่นาอยูอาศัย ได นั้ น จะต อ งคํ า นึ ง ถึ ง สิ่ ง แวดล อ มชุ ม ชน ๔ ด า น ได แ ก ด า นทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดลอมทางกายภาพ ดานเศรษฐกิจ ดา นสังคมและศิลปวัฒนธรรม และดานการบริหาร จัดการสาธารณะและการมีสวนรวมของประชาชน ภูมิสถาปนิกเปนกลุมบุคคลกลุมหนึ่งที่ไดเขาไป มีบทบาทสําคัญ ในการสรางสรรคและปรับปรุงสิ่งแวดลอมชุมชนทางดานทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมทางกายภาพ และทางดานศิลปวัฒนธรรม จึงนับวาเปนงานที่ละเอียดซับซอน ที่ จะสําเร็จและเกิดผลที่ยั่งยืนได ก็ดวยความรวมมือตลอดจนแรงสนับสนุนทั้งจากประชาชนในพื้นที่ และจากหนวยงานรวมไปถึงองคกรตางๆที่เกี่ยวของ องคประกอบที่สําคัญของชุมชนที่นาอยูอาศัย ที่ภูมิสถาปนิกจะตองเขาไปมีบทบาทในการ ออกแบบวางผั ง ได แ ก สวนสาธารณะและพื้ นที่พั กผ อ นหยอ นใจในชุมชน ซึ่ ง สามารถจํ า แนก ประเภทไดเปน สวนหยอมขนาดเล็กยานชุมชน สวนหมูบ านหรือสวนละแวกบาน สวนชุมชน สวนริมเสนทางสัญจร และสวนเฉพาะทางหรือสวนเอนกประสงค การออกแบบวางผังชุมชนที่นาอยูอาศัย ที่คํานึงถึงสภาพแวดลอม มีผลดีหลายประการ ประการแรกคือ ขอไดเปรียบในทางดานเศรษฐศาสตร เชน การประหยัดพลังงาน การเพิ่มขึ้นของ ผลผลิตจากการทํางานในสถานที่ที่มีสภาพแวดลอมที่ดีขึ้น ชวยลดคาใชจายดานสุขภาพของชุมชน และยังเปนการชวยเพิ่มมู ลคา ของที่ดิน อีกด วย ผลดีอีกประการหนึ่ง ที่สํา คัญมาก ก็คือ การเพิ่ ม คุณภาพชีวิตที่ดีของคนในชุมชน เปาหมายในการการวางผังและออกแบบชุมชนที่นาอยูอาศัยและสถานที่พักผอนหยอนใจ ในชุมชนนั้น สิ่งที่สําคัญคือลักษณะทางกายภาพของชุมชนควรขนาดที่กระชับ (Compact) รวม พื้นที่ใชสอยสวนบุคคลไวเปนกลุมกอนอยางประหยัดพื้นที่ เพื่อที่จะเหลือพื้นที่อื่นๆไวเปนประโยชน ในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และเพื่อใชเปนพื้นที่สาธารณะและสถานที่พักผอนหยอนใจใน ชุมชน ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการที่มีอยูเดิม ควรถูกใชง านอยางมีประสิทธิภาพ สู ง สุ ด และคุ ม ค า มากที่ สุ ด การวางผั ง และออกแบบควรมี ค วามสอดคล อ งกลมกลื น กั บ สภาพแวดลอมทางธรรมชาติใหมากที่สุด และคํานึงถึงการออกแบบอยางประหยัดพลังงานอยาง มีประสิทธิภาพและควรคํานึงถึงการวางผังที่ลดการพึ่งพาการใชรถยนตภายในชุมชน โดยจัดใหมี ระบบการสัญจรทางเลือกที่หลากหลายและทั่วถึง

๙๕


º·ÊÃØ»áÅТ ÍàʹÍá¹Ð

๒. การวางผังและออกแบบภูมิทัศนชุมชนที่นาอยูอาศัย ๒.๑ หลักการเบื้องตนในการวางผังและออกแบบภูมิทัศนชุมชนที่นาอยูอาศัย การออกแบบวางผังที่ดินที่เหมาะสม จํ าเป นอยางยิ่งที่ผู ออกแบบจะตองมี ความ ระมัดระวังอยางมาก ในการวางผังและพัฒนาที่ดิน เพื่อลดผลกระทบสิ่งแวดลอม ใหเหลือนอย ที่สุดหรือไมมีเลย เพื่อไมใหเกิดความเสื่อมโทรม โครงสรางเปนสวนประกอบที่สําคัญของการวาง ผัง ที่ป ระสบความสํา เร็ จ องค ประกอบหลักๆ ๒ ประการของการวางแผนพื้น ที่ ที่ทํา ให เกิด โครงสรางและการจัดระบบไดแกระบบถนน (Roadway system) และโครงขายของพื้นที่เปดโลง (open space network) ทั้งสองประการตองไดรับการออกแบบควบคูไป เพื่อสรางชุมชนที่มี โครงสรางและระบบที่ดี นอกจากนี้นักวางผังชุมชนยังตองคํานึงถึงรายละเอียดในทุกขั้นตอนของ การออกแบบวางผัง ตั้งแตการเลือกสถานที่ตั้งโครงการ การจัดวางเขตการใชที่ดินที่เหมาะสม และการจัดภูมิทัศนภายในชุมชน ที่ชวยสงเสริมสภาพแวดลอมที่ดีและนาอยู ปจจัยที่สํ าคัญซึ่ง จะตองนํามาพิ จารณาในการเลือกสถานที่ตั้งของโครงการ ไดแ ก ปจจัยทางวัฒนธรรม ประวัติศาสตร และโบราณคดี แหลงน้ําสะอาด สาธารณูปโภคและแหลง พลังงาน ระบบโครงขายถนน ปจจัยทางธรรมชาติของพื้นที่ สภาพภูมิอากาศระดับทองถิ่น และ ปจจัยในระดับภูมิภาคโดยรอบของพื้นที่ ลักษณะและหนาที่ของชุมชนที่อยูใกลเคียง หลั ก การสํ า คั ญ ในการวางผั ง และออกแบบชุ ม ชนที่ น า อยู อ าศั ย และคํ า นึ ง ถึ ง สภาพแวดลอมประกอบดวย การออกแบบโดยคํานึงถึงสภาพแวดลอมเดิมของพื้นที่ การฟนฟูและ ปรับปรุงพื้นที่เสื่อมโทรมถูกทําลายที่มีอยูเดิม การลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในทองถิ่น การ ออกแบบโดยคํา นึงถึงวัฒ นธรรมและประวัติศ าสตรของภูมิภาค การพัฒนาสาธารณูป การและ สถาปตยกรรม การอนุรักษและฟนฟูพืชพรรณและสัตวปาพื้นถิ่น การปกปองปจจัยทางธรรมชาติ อื่นๆ ของพื้นที่ เชน น้ําและดิน การสงเสริมใหเกิดความหลากหลายทางชีวภาพ การจัดวางอาคาร เพื่อสรางพื้นที่วางภายนอกอาคาร การพัฒนาชุมชนแบบจัดกลุม (Cluster Development) การ วางผั ง ที่คํ า นึ งถึง ทิศ ทางของแสงอาทิตยแ ละลมธรรมชาติ การลดการใชพื้ น ผิ วคอนกรี ตและ สงเสริมวัสดุพื้นผิวที่มีรูพรุน ในการออกวางผั ง และออกแบบชุม ชนที่ น า อยู อ าศั ย การออกแบบภู มิ ทัศ น มี ความสําคัญตอสิ่งแวดลอมในชุมชนเปนอยางยิ่ง หลักการออกแบบภูมิทัศนที่คํานึงถึงสิ่งแวดลอม ประกอบดวย การปกปองและสงเสริมการใชพืชพื้นถิ่น และเลือกใชพันธุไมแปลกถิ่นเฉพาะเมื่อพันธุ ไมเหลานั้นสามารถอยูรวมกับสภาพแวดลอมสวนทองถิ่นได ใชการออกแบบภูมิทัศนเพื่อเปนสิ่ง ปกปองอาคารและพื้นที่วางภายนอกอาคารจากสภาพภูมิอากาศ การใชสภาพภูมิประเทศเดิมของ พื้นที่เปนระบบระบายน้ําธรรมชาติ การใชการออกแบบภูมิทัศนที่ชวยประหยัดน้ําและอนุรักษแหลง น้ําได การสงเสริมการใชปุยอินทรีย ใชผูลาตามธรรมชาติ และทางเลือกในการแกปญหาอื่นๆ ใน การควบคุมและกําจัดแมลงศัตรูพืช

๙๖


º·ÊÃØ»áÅТ ÍàʹÍá¹Ð

ชุมชนที่นาอยูอาศัยและเปนมิตรตอสภาพแวดลอม ควรสงเสริมการทําเกษตรชุมชน เนื่องจากชวยสงเสริมเศรษฐกิจที่ดีในชุมชน ทําใหชุมชนสามารถพึ่งตัวเองได และลดมลภาวะที่ เกิดจากการทําการเกษตรแบบสมัยใหม

๒.๒ สถาปตยกรรมในชุมชน การออกแบบสถาปตยกรรมในชุมชนที่นาอยูอาศั ย ตองคํา นึงถึง การสรางสรรค เอกลักษณเฉพาะตัวของพื้นที่ ดวยการออกแบบที่สอดคลองกับสภาพแวดลอม และวัฒนธรรม สวนทองถิ่น สงเสริมใหเกิดความหลากหลายทางสถาปตยกรรมในชุมชน เพื่อสงเสริมคุณภาพชีวิต ที่ดีของคนในชุมชน และเปนการชวยประหยัดการใชพลังงาน อันเปนสวนสําคัญของการอนุรักษ สภาพแวดลอมที่ดี ให คงอยูตอไป หลักสํา คัญในการการวางผั งและออกแบบสถาป ตยกรรมใน ชุมชน ไดแก การแบงเขตการใชที่ดินแบบผสมผสานแทนที่จะแบงเขตที่ดินที่มีการใชประโยชน ตางกันออกจากกันอยางสิ้นเชิง และการสรางความหลากหลายของชนิดของบานพักอาศัยในชุมชน สําหรับการออกแบบอาคารเพื่อสรางสภาพแวดลอมที่นาอยูอาศัย มีองคประกอบ ๓ ประการ ประกอบดวย การออกแบบที่ชวยใหประหยัดพลังงานไดอยางมีประสิทธิภาพ การ อนุ รั กษ วัฒ นธรรมและเอกลัก ษณของภูมิ ภาค และการใชวัส ดุ กอ สร า งอาคารที่เป น มิ ตรต อ สภาพแวดลอม

๒.๓ ระบบการสัญจรในชุมชน เป าหมายเบื้ องตนของการวางผัง และออกแบบชุมชนที่น าอยูอ าศัย คื อ การลด ความจํา เปน ในการใชยานพาหนะ ซึ่ ง เป นสาเหตุสํ าคั ญ ของมลภาวะในสภาพแวดลอ ม และไม สงเสริมบรรยากาศที่ดีตอคนเดินเทาในชุมชน หลักสําคัญในการออกแบบถนนในชุมชน ไดแก การ ออกแบบถนนที่มีขนาดสวนของมนุษย รูปแบบของถนนควรสอดคลองตอลักษณะภูมิประเทศตาม ธรรมชาติของพื้นที่ คํานึงถึงการระบายรถที่คับคั่งจากถนนหลัก ลดการจราจรที่จะไหลเขาสูถนน ซอยเพื่ อไมใ หเกิด รถติด จัด ให มีพื้ นที่สีเขียวริ มถนนอยา งพอเพียง ใชพื้ นผิ วปู ที่ชวยลดปริ มาณ พื้นผิวที่น้ําซึมผานไมได ใหทางเลือกในการจอดรถที่หลากหลาก นอกจากนี้การลดการพึ่งพาการใช รถยนตอีกประการหนึ่งคือการจัดรูปแบบการสัญจรทางเลือก ทั้งทางเทา ทางจักรยาน และระบบ ขนสงมวลชน

๒.๔ การออกแบบเพื่อการประหยัดพลังงาน การออกแบบที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมนั้น ในดานที่เกี่ยวของกับพลังงาน สามารถ กระทําได ๒ ระดับ ระดับแรก เปนการอนุรักษพลังงานและใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่ง ทําไดโดยการลดความจําเปน ในการใชพลังงาน การติดตั้งเทคโนโลยีและอุ ปกรณที่ชวยประหยั ด พลังงานภายในอาคาร ระดับที่สองเปนการใชแหลงพลังงานที่สะอาดและสามารถฟนคืนกลับมา ๙๗


º·ÊÃØ»áÅТ ÍàʹÍá¹Ð

ใหมได เชน พลังงานแสงอาทิตย พลังงานลม พลังงานน้ํา เปนตน หลักการก็คือ การลดการ บริ โ ภคพลั ง งานในขณะที่ เ พิ่ ม การนํ า พลั ง งานจากแหล ง พลั ง งานที่ ฟ น ฟู ไ ด มาใช อ ย า งมี ประสิทธิภาพ

๒.๕ ระบบสาธารณูปโภค ระบบสาธารณูปโภคในชุมชนที่ภูมิสถาปนิกจะตองคํานึงถึง ในการออกแบบวางผัง ชุมชนที่นาอยูอาศัย (นอกเหนือไปจากระบบถนน) ไดแก แหลงน้ํา ระบบน้ําสะอาด ระบบบําบัดน้ํา เสีย และระบบไฟฟาแสงสวาง ๒.๕.๑ แหลงน้ํา การจัดการน้ําอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะตองพิจารณาทั้งการปองกันพืน้ ที่ รับน้ํา และการอนุรักษน้ําโดยการใชน้ําอยางมีประสิทธิภาพและการนําน้ํากลับมาใชใหมในเวลา เดียวกัน ๒.๕.๒ ระบบน้ําสะอาด การจัดหาระบบน้ําสะอาดในชุมชนที่เปนที่นิยมและไดรับการยอมรับอยาง กวางขวาง ไดแกการจัดสรางระบบประปาหมูบาน ซึ่งจะสามารถใหบริการแกชุมชนครอบคลุม พื้นที่กวางขวาง ทั้งนี้สิ่งสําคัญในการจัดสรางระบบประปาก็คือการจัดหาแหลงน้ําดิบทั้งจากแหลง น้ําใตดิน และน้ําผิวดินใหเพียงพอ รวมทั้งการจัดวางทําเลที่ตั้งที่เหมาะสมในการกอสรางระบบ ประปา ๒.๕.๓ การบําบัดน้ําเสีย ระบบการบํา บัดน้ํ าเสียจากชุม ชนมีหลายวิธี ทั้ง การบํ าบัด ดวยโรงงาน บําบั ด และการบํ าบัด ดวยวิธีธรรมชาติ เชน การบํา บัดด วยพื้ นที่ชุมน้ํา (Wetland) ซึ่ งจะชวย อนุรักษน้ํา และเปนระบบชีวภาพที่ไมเปนอันตรายและชวยประหยัดพลังงาน ซึ่งกอนที่จะเลือ ก ระบบบําบัดที่เหมาะสม ผูนําชุมชนหรือผูบริหารโครงการ จะตองจัดทําแผนหลักในการบําบัดน้ํา เสียทําการศึกษาถึงความเหมาะสม และสํารวจออกแบบรายละเอียดระบบรวบรวมและบําบัดน้ํา เสียตอไป ๒.๕.๔ ระบบไฟฟาสาธารณะ ในชุมชนจําเปนตองจัดใหมีระบบไฟฟาแสงสวางในที่สาธารณะเพื่อความ ปลอดภัย และอํ านวยความสะดวกในการดํารงชีวิตในยามค่ํ าคืน ซึ่ง ในการออกแบบและติดตั้ง ระบบไฟฟ าสาธารณะภายในชุมชน เชน บริเวณตามแนวถนน ทางแยก ทางเดินเทา (ฟุตบาท) สวนสาธารณะ เปนตน) จะตองเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดไวโดยกรมสงเสริมการปกครองสวน ทองถิ่น

๙๘


º·ÊÃØ»áÅТ ÍàʹÍá¹Ð

๓. การวางผังและออกแบบสวนสาธารณะและสถานที่พักผอนหยอนใจในชุมชน ๓.๑ การใชพื้นที่สาธารณะในชุมชน ประชาชนในชุมชนตองการพื้นที่สาธารณะ สวนใหญก็เพื่อกิจกรรมนันทนาการและ พักผอนหยอนใจ เชน นั่งพักผอนใตรมเงาไม อานหนังสือ ฟงเพลง เลนกีฬา เดินเลน นอกจากนี้ ผูคนยังใชพื้นที่สาธารณะเปนพื้นที่เพื่อกิจกรรมทางสังคม เราสามารถแบงระดับการใหบริการของ พื้นที่สาธารณะออกได ๒ ระดับ คือระดับละแวกบาน และในระดับหมูบาน โดยมีสาธารณูปการที่ ควรมี ได แ ก สนามเด็ ก เล น สํ า หรั บ เด็ ก ก อ นวั ย เรี ย น สนามเด็ ก เล น ทั่ ว ไป สนามกี ฬ า และ สวนสาธารณะระดับชุมชน

๓.๒ กระบวนการในการวางแผน และออกแบบ ในกระบวนการวางแผนกอนที่จะถึงขั้น ตอนการออกแบบ สามารถแบงออกได ๓ ระดับคือ การวางแผนแมบททั้งหมด การวางแผนที่มุงเนนไปที่การพัฒนาพื้นที่ และการวางแผนที่ เกี่ยวของกับการพัฒนาสาธารณูปการเฉพาะดาน นักออกแบบวางผังจะตองประเมินความตองการ สถานที่พักผอนหยอนใจในอนาคต โดยมีพื้นฐานปจจัยทางดานรายไดป ระชากร จากนั้นนํามา พิจารณาวิเคราะหขอมูลรวมกับปจจัยทางดานภูมิศาสตร และลักษณะทางกายภาพอื่นๆ สํา หรั บ ขั้น ตอนทั่วๆ ไปในการวางผัง ออกแบบสวนสาธารณะและพื้ นที่พั กผ อ น หย อนใจ ประกอบดวย การเตรี ยมทีม งานขั้น ตน การสํ ารวจขั้น ตน การออกแบบขั้น ตน การ ทบทวนแผนผัง การเตรียมแบบกอสราง และการประมูลและการกอสรางโครงการ

๓.๓ องคประกอบของสวนสาธารณะ และสถานที่พักผอนหยอนใจที่ดี สวนสาธารณะและสถานที่พั กผ อ นหยอ นใจที่ป ระสบความสํ า เร็ จนั้ น นอกจาก จะตองมีองคประกอบทางกายภาพที่ทําใหผูคนรูสึกวาเปนที่ตอนรับและสะดวกสบาย เชน ระบบ ทางเทาที่ดี การจัดภูมิทัศนที่สวยงามดึงดูดใจ มีสิ่งอํานวยความสะดวกครบครัน เปนตน ยังตอง คํานึงถึงองคประกอบพื้นฐานที่ผูใชตองการหลายประการ คือ การใหโอกาสในการทํากิจกรรมที่ หลากหลาย (Uses and activities) เปนสถานที่ที่งายตอการเขาถึงและเชื่อมโยงกับชุมชนที่อยู โดยรอบ (access) มีความปลอดภัยสะอาดและดึงดูดใจ (Comfort and image) และ คือ เปน สถานที่ที่เอื้อตอการที่ผูคนจะไดมาพบปะสังสรรคกัน (Sociability)

๙๙


º·ÊÃØ»áÅТ ÍàʹÍá¹Ð

๓.๔ หลักในการวางผังและออกแบบสวนสาธารณะ และสถานที่พักผอนหยอนใจที่ดี ในการออกแบบสาธารณะที่ประสบความสําเร็จ มีหลักสําคัญคือ การแสวงหาขอมูล ตรงผู เชี่ยวชาญภายในชุม ชน ทํา การระดมสมองจะพั ฒนาแนวทางเลือ กจากกลุมผู รวมงานที่ เกี่ยวของ เพื่อทําการสรางสถานที่ที่มีทั้งบรรยากาศของชุมชนที่เขมแข็งและมีภาพลักษณที่อบอุน และมีสภาพแวดลอมและกิจกรรมและประโยชนใชสอยที่มีความหมายและความสําคัญพิเศษเฉพาะ สถานที่ ทํา การสั ง เกตว า กิจกรรมประเภทใดที่ หายในและจะต อ งเพิ่ ม เติม อะไรลงไปบ า ง โดย ออกแบบให ต อบสนองตอ การใช ป ระโยชน ใ ห ม ากที่ สุ ด และในขณะเดี ย วกั น ก็ ส ง เสริ ม ให เ กิ ด ปฏิสัมพันธระหวางผูใชพื้นที่ รวมถึงการคาดการณถึงความตองการการใชประโยชนพื้นที่และการ ปรับปรุงพื้นที่ในอนาคตอยางสม่ําเสมอ

๔. การออกแบบสนามเด็กเลนในชุมชน ๔.๑ ความสําคัญของสภาพแวดลอมและการเลนตอการเรียนรู และเจริญเติบโตของเด็ก สภาพแวดลอมมีผลตอพัฒนาการทางดานรางกายและจิตใจตอการอยูเรียนรูที่จะอยู ร ว มกั น ในสั ง คม มากกว า การเรี ย นรู ใ นห อ งเรี ย นจากครู ผู ส อนเพี ย งอย า งเดี ย ว การจั ด สภาพแวดลอมที่ดี ยัง เป นการเพิ่ มโอกาสให เด็ กเกิดการเรี ยนรู การพัฒ นาพฤติกรรม การฝ ก กลา มเนื้ อ และการเคลื่อ นไหวของร า งกาย และสิ่ ง ที่สํ า คั ญ คื อ การแสดงออกของเด็ ก เด็ ก มี พัฒนาการทางการเลนคือ ขั้นการเลนที่ใ ชประสาทสัมผัส และการเคลื่อนไหว (Sensor motor Stage) ขั้นการเลนที่ใชสัญลักษณ (Representational Stage) และขั้นการเลนที่สื่อความคิด ความเขาใจ (Reflective Stage) ตามลําดับ

๔.๒ องคประกอบพื้นฐานของการออกแบบสภาพแวดลอม เพื่อสงเสริมการเรียนรูของเด็ก องคประกอบพื้นฐาน ๙ ประการสําหรับการออกแบบสภาพแวดลอมของการเลน ของเด็กไดแก การเขาถึงพื้นที่ รูปแบบของกิจกรรมการเลน ระดับของความทาทายในการเลน ผิวสัมผัส การเรียนรูจากธรรมชาติรอบๆตัว ความยืดหยุนของพื้นที่เลน ระดับของการสงเสริม ความคิดสรางสรรค ระดับของความเปนสวนตัว ระดับของความซับซอนในการเลน องคประกอบ เหลานี้เปนเครื่องมือที่ชวยประเมินและปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอมของการเลนของพื้นที่ และชวย เป น แนวทางในการพิ จารณาออกแบบจั ดวาง ให ตอบสนองตอ ความตอ งการของเด็ กอยา งมี เหตุผล

๑๐๐


º·ÊÃØ»áÅТ ÍàʹÍá¹Ð

๔.๓ หลักการออกแบบสนามเด็กเลน ในการออกแบบสวนสํา หรั บเด็ก นั กออกแบบควรเขาใจถึงพฤติกรรมของเด็ ก เพื่อทําการออกแบบใหตอบสนองความตองการของพวกเขา และควรมีความยืดหยุนเพียงพอที่จะ สามารถรองรับลักษณะการเลนที่แ ตกตางกันของเด็กในหลายๆวัย องค ประกอบของพื้นที่สวน สําหรับเด็ก ควรประกอบดวย พื้นที่ปดลอมสําหรับวางอุปกรณเครื่องเลน สนามหญาสําหรับวิ่ง เลน พื้นที่รมเงาสําหรับกิจกรรมพักผอนหยอนใจ พื้นที่ลานเอนกประสงค และสนามกีฬาประเภท ตางๆ นอกจากนี้ควรมีสิ่งอํานวยความสะดวกใหเพียงพอ สนามเด็กเลนควรอยูในระยะที่เด็กสามารถเขาถึงไดสะดวกและปลอดภัย พื้นที่ทถี่ กู เลือกควรมีการระบายน้ําไดดี เปนพื้นที่ที่มองเห็นไดชัดเจนเพื่อใหงายในการดูแล มีการออกแบบ ไดอยา งนาสนใจ ในการวางผัง ควรคํา นึงถึงความตอ งการของเด็ กเปนหลัก และจัดให มีพื้นที่ที่ สงเสริมกิจกรรมทางสังคมระหวางเด็ก ในขณะเดียวกันก็สงเสริมการเลนอยางปลอดภัย ผูอ อกแบบควรเลือกเครื่ อ งเลน ที่เหมาะสม กับ วัยของเด็ ก และจั ด ให มี ค วาม หลากหลาย เชน โครงสรางสําหรับการปนปาย ชิงชา กระดานลื่น เปนตน สําหรับเด็กเล็กควร จัดใหมีบอทราย สระน้ําพุ และองคประกอบเสริมสําหรับเด็กเล็กใหเหมาะสม พื้นที่เลนสําหรับเด็ก เล็กและเด็กโต ควรแยกจากกันเปนสัดสวน

๕. ขอเสนอแนะ การจัดทําเอกสารการสอนฉบับนีใ้ ชเวลารวบรวมและเรียบเรียงขอมูลอยูนาน หลายเดือน อยางไรก็ดียงั มีขอสังเกตที่ควรนําไปปรับปรุงพัฒนาตอไป ประการแรกก็คือ ภาพประกอบที่เปนกรณีศึกษานัน้ เปนภาพจากตางประเทศทั้งหมด เนือ่ งจากความสะดวกในการ สืบคนขอมูล และระยะเวลาการรวบรวมขอมูลที่มอี ยูอยางจํากัด ดังนั้นในการปรับปรุงพัฒนาจึง ควรเพิ่มภาพประกอบกรณีศึกษาภายในประเทศ และควรทําการเปรียบเทียบใหเห็นชัดเจนถึงการ ออกแบบวางผังชุมชนที่นาอยูอาศัยและสถานทีพ่ ักผอนหยอนใจในชุมชนระหวางกรณีศึกษาใน ประเทศและตางประเทศใหเห็นชัดเจน ขอสังเกตอีกประการหนึ่งคือเนือ้ หาตัวอยางการวางผังมีไม มากนัก ซึ่งผูเขียนจะไดดําเนินการปรับปรุงพัฒนาเพิม่ เติมตอไปในอนาคต ทั้งนี้เพือ่ ใหนักศึกษาเกิด ความรูความเขาใจอยางถูกตองชัดเจนมากที่สดุ

๑๐๑


ภาคผนวก

๑๐๒


ÀÒ¤¼¹Ç¡

รวมรายชื่อกฎหมายที่เกี่ยวของกับการจัดสรรที่ดิน (ที่ควรศึกษาเพิ่มเติม) ๑. พระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ.๒๕๔๓ ๒. กฎกระทรวง กําหนดคาธรรมเนียมตามกฎหมายวาดวยการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. ๒๕๔๔ กํา หนดหลัก เกณฑ วิธีก าร และเงื่ อ นไขในการขออนุ ญ าตและการออกใบอนุ ญ าตตาม กฎหมายวาดวยการจัดสรรที่ดิน พ.ศ.๒๕๔๔ วาดวยการขอจดทะเบียนจัดตั้ง การบริหาร การควบ และการยกเลิกนิติบุคคลหมูบาน จัดสรร พ.ศ.๒๕๔๕ การกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการยกเลิกจัดสรรที่ดิน พ.ศ.๒๕๕๐ ๓. ประกาศคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง เรื่อง กําหนดนโยบายการจัดสรรที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เรื่อง กําหนดนโยบายการจัดสรรที่ดินเพื่อที่อยูอาศัยและพาณิชยกรรม เรื่อง กําหนดแบบมาตรฐานของสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินจัดสรรฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๔๖) เรื่อง กําหนดแบบมาตรฐานของสัญญาจะซื้อจะขายที่ดินจัดสรร เรื่อง กําหนดหลักเกณฑและวิธีการกอใหเกิดภาระผูกพันแกที่ดินที่ไดรับอนุญาตใหทําการ จัดสรรที่ดิน เรื่อง กําหนดนโยบายการจัดสรรที่ดินเพื่อที่อยูอาศัยและพาณิชยกรรม ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๔๘) เรื่อง กําหนดนโยบายการจัดพื้นที่ใหเปนที่ตั้งสํานักงานของนิติบุคคลหมูบานจัดสรร หรือ นิติบุคคลตามกฎหมายอื่น ในการจัดสรรที่ดินเพื่อที่อยูอาศัยและพาณิชยกรรม การจัดสรรที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และการจัดสรรที่ดิน เพื่อการอุตสาหกรรม เรื่อง กําหนดนโยบายการจัดสรรที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรม เรื่อง กําหนดนโยบายการจัดสรรที่ดินเพื่อที่อยูอาศัยและพาณิชยกรรม ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๙) เรื่อง กําหนดนโยบายการจัดสรรที่ดินเพื่อที่อยูอาศัยและพาณิชยกรรม ฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๕๑) เรื่อง กําหนดนโยบายการจัดสรรที่ดินเพื่อที่อยูอาศัยและพาณิชยกรรม ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๕๒) เรื่อง กําหนดนโยบายการจัดพื้นที่ใหเปนที่ตั้งสํานักงานของนิติบุคคลหมูบานจัดสรรหรือ นิติบุคคลตามกฎหมายอื่น ในการจัดสรรที่ดินเพื่อที่อยูอาศัยและพาณิชยกรรม การจัดสรรที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และการจัดสรรที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรม ฉบับ ที่ ๒ (พ.ศ.๒๕๕๒)

๑๐๓


ÀÒ¤¼¹Ç¡

๔. ระเบียบคณะกรรมการจัดสรรที่ดินกลาง วาดวยหลักเกณฑและวิธีการจัดเก็บคาใชจายในการบํารุงรักษาและการจัดการ สาธารณูปโภคและการจัดทําบัญชี พ.ศ.๒๕๔๕ วาดวยการจัดตั้งนิติบุคคลหมูบานจัดสรร หรือนิติบุคคลตามกฎหมายอื่นและการขออนุมัติ ดําเนินการเพื่อการบํารุงสาธารณูปโภค พ.ศ.๒๕๔๕ ๕.

ขอกําหนดเกี่ยวการจัดสรรที่ดิน ตัวอยางขอกําหนดการจัดสรรที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ตัวอยางขอกําหนดการจัดสรรที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรม ตัวอยางแกไขขอกําหนดฯ เรื่องที่ตั้งสํานักงานของนิติบุคคลหมูบานจัดสรรฯ ขอกําหนดการจัดสรรที่ดินเพื่อเกษตรกรรมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๔๙ ขอกําหนดการจัดสรรที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๕๐ ขอกําหนดการจัดสรรที่ดินเพื่อที่อยูอาศัยและพาณิชยกรรมกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๕๐ ขอกําหนดเกี่ยวกับการจัดสรรที่ดินกรุงเทพมหานคร พ.ศ.๒๕๔๔ ขอกําหนดเกี่ยวกับการจัดสรรที่ดินกรุงเทพมหานคร ฉบับที่ ๒ (พ.ศ.๒๕๔๖) ตัวยางงบการเงินนิติบุคคลหมูบานจัดสรร การจัดตั้งนิติบคุ คลหมูบานจัดสรร

๑๐๔


บ ร ร ณ า นุ ก ร ม

๑๐๕


ºÃóҹءÃÁ

ภาษาไทย

“การขาดแคลนที่อยูอาศัยของผูมรี ายไดนอ ย : ปญหาที่ตองเรงแกไข”. ๒๕๓๔. สรุปขาวธุรกิจ ๒๒, ๗ (เม.ย): ๓๖-๔๔. การเคหะแหงชาติ. ๒๕๓๕. ๑๙ แหงการพัฒนาที่อยูอาศัยของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: การ เคหะแหงชาติ กระทรวงมหาดไทย. การเคหะแหงชาติ. ๒๕๓๗. ถิ่นฐานบานไทย : ๑๒ กุมภาพันธ ๒๕๓๗ ฉลองครบรอบ ๒๑ ป การเคหะแหงชาติ กรุงเทพฯ: การเคหะแหงชาติ กระทรวงมหาดไทย. “การเปลี่ยนแปลงทีอ่ ยูอาศัย : อนาคตคนจะลนเมือง”. ๒๕๓๕. สรุปขาวธุรกิจ ๒๓, ๑๑ (มิ.ย.): ๑๘-๒๒. จุรินทร ศรีธรรัตนกุล. ๒๕๓๐. “ป ๒๕๓๐ ยุคเฟองฟูของธุรกิจบานจัดสรร”. รายงานเศรษฐกิจ ธนาคารกรุงไทย จํากัด ๒๐, ๑๒ (ธ.ค.): ๕๔-๕๗. จรัสพิมพ บุญญานันต และคณะ. ๒๕๔๗. แนวทางการพัฒนาสภาพแวดลอมทางดานกายภาพ โรงเรียนประถมศึกษาในระดับทองถิ่น: กรณีศึกษา โรงเรียนในเขตกิ่งอําเภอดอยหลอ จังหวัดเชียงใหม. เชียงใหม: รายงานผลการวิจัย, มหาวิทยาลัยแมโจ. จรัสพิมพ บุญญานันต. ๒๕๔๗. “ภส ๓๓๒ การออกแบบภูมิสถาปตยกรรม ๒ ”. [ระบบ ออนไลน]. แหลงที่มา http://coursewares.mju.ac.th:81/elearning47/section2/la332/ index2.htm. (๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๔) ชุมชนยัง่ ยืน. ๒๕๓๙. วารสารสังคมพัฒนา ๒๔, ๓-๔: ๘๓-๘๘. ทิศนา แขมณี. ๒๕๓๗. “การเลนกับการพัฒนาทางสติปญ  ญาของเด็กไทยในชนบท”. วารสาร ครุศาสตร ๒, ๓ (ม.ค.-มี.ค).: ๑๒-๓๕. เนตรนภิศ นาควัชระ และ สุวัฒนา สุกใส. ๒๕๒๑. ทัศนคติและความพอใจตอสภาพแวดลอม ของ ผูพักอาศัยในหมูบานจัดสรร. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ผุสดี ทิพทัส. ๒๕๔๖. บานในกรุงรัตนโกสินทร ๔ : รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจาอยูหัว ถึงตนรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั ภูมิพลอดุลยเดช. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ฝายวิชาการและศูนยขอ มูลที่อยูอาศัย ธอส. ๒๕๔๔. “นโยบายที่อยูอาศัยของประเทศไทย : พัฒนาการและแนวโนม”. ธนาคารอาคารสงเคราะห ๗, ๒๕ (เม.ย.-มิ.ย).: ๑๙-๒๕. พัลลภ กฤตยานวัช. ๒๕๔๙. “วิเคราะหความแตกตางระหวางชุมชนที่อยูอาศัย: ประเภทอาคารชุด และหมูบานจัดสรร”. ธนาคารอาคารสงเคราะห ๑๒, ๔๔ (ม.ค.-มี.ค). : ๓๔-๓๖. ๑๐๖


ºÃóҹءÃÁ

วรรณี พฤฒิถาวร. ๒๕๒๖. “ปญหาที่อยูอาศัยของคนไทยสมัยรัตนโกสินทร ๒๐๐ ป”. จุลสาร สภาวะแวดลอม ๓, ๒ (มิ.ย.): ๑๙-๒๒. วิภาเพ็ญ เจียสกุล. ๒๕๔๑. “การสุขาภิบาลที่อยูอาศัย”. วารสารเพื่อนสุขภาพ ๑๐, ๒: ๘๓-๘๕. สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม. ๒๕๔๗. คูมือการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียวในเขต ชุมชนเมือง อยางยั่งยืน. กรุงเทพฯ: กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม. สันทัด เสริมศรี. ๒๕๓๕. “ประเภทของที่อยูอ าศัยกับสุขภาพของกรุงเทพฯ”. วารสาร ประชากรศาสตร ๘, ๑ (มี.ค.): ๓๗-๕๖. อาชัญญา รัตนอุบลและคณะ. ๒๕๔๘. การจัดแหลงการเรียนรูตลอดชีวิต: สวนสาธารณะ. กรง เทพฯ: สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. เอื้อมพร วีสมหมาย. ๒๕๒๗. สวนสาธารณะและสถานทีพ ่ ักผอนหยอนใจ. กรงเทพฯ: ภาควิชา พืชสวน คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. มุกดา สุขสมาน. ๒๕๒๗. ชีวิตกับสภาพแวดลอม : ตอนวิวัฒนาการ ชุมชน ประชากรและ สังคม ของสิ่งมีชวี ิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

English Ahrentzen, Sherry. 1982.“Students responses to Openess, Softness, and Seclusion in Elementary School Classrooms”, Journal of Man—Environment Relations, winter. Hsin, R. 1996. Guidelines and Principles for Sustainable Community Design. Master of Architecture. Florida A&M University. Piaget, Jean. 1926. The Language and Thought of the Child. London: Routledge and Kegan Paul. Senda, M. Design of Children's Play Environment. New York: Mcgraw-Hill. Shore, C. “Urban Engineering ”. [Online]. Available http://www.urbaneng.com/project.cfm?project=84 (December, 23rd 2010). Stine, S. 1997. Landscapes for Learning: Creating Outdoor Environments for Children and Youth. New York: John Wiley & Sons. “What Makes a Successful Place?” [Online]. Available http://www.pps.org/articles/grplacefeat/ (October, 9th 2010).

๑๐๗


ป ร ะ วั ติ ผู เ ขี ย น

จรัสพิมพ บุญญานันต เกิดเมื่อวันเสารที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๑๑ เปนบุตรสาวคน กลางในพี่นอง ๓ คนของคุณพอจํารัส บุญญานันต อดีตอธิการบดีสถาบันราชภัฏสุรินทร และ คุณแมสุวิมล บุญญานันต ซึ่งทั้งสองทานเปนอดีตอาจารยประจําที่สถาบันราชภัฏกําแพงเพชร กอนที่จะเกษียณอายุราชการ จรัสพิมพ บุญญานันต ไดรับการศึกษาขั้นมัธยมตนที่โรงเรียนกําแพงเพชรพิทยาคม ซึ่ง เปนโรงเรียนประจําจังหวัด จากนั้นเขาศึกษาตอชั้นมัธยมปลายที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พญา ไท โดยไดไปพํานักอยูกับคุณตาคุณยาย จนกระทั่งจบชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ ในป พ.ศ. ๒๕๒๙ จึง เขา เรี ยนที่ค ณะสถาป ตยกรรมศาสตร จุ ฬ าลงกรณม หาวิทยาลัย เมื่ อ จบการศึ กษาระดั บ ปริญญาสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิตแลว ไดเขาทํางานเปนสถาปนิกประจําบริษัทปูนซิเมนตไทย อยู ๒ ป กอ นที่จ ะรั บ ทุน รั ฐ บาล ก.พ. ไปศึ กษาตอ ในระดั บ ปริ ญ ญาโทในสาขาวิ ชา ภู มิ สถาปตยกรรม (Landscape Architecture) ณ มหาวิทยาลัยเวอรจิเนียรโพลีเทคนิคอินสติติวท แอนดสเดทยูนิเวอรซิตี้ (Virginia Tech) ประเทศสหรัฐอเมริกาในป พ.ศ. ๒๕๓๖ พ.ศ. ๒๕๔๐ ไดเขารับ ราชการเป นอาจารยประจํา สาขาวิชาภูมิ สถาปตยกรรม คณะ สถาป ตยกรรมศาสตร แ ละการออกแบบสิ่ ง แวดลอ ม มหาวิทยาลัยแม โจ (แตเดิ ม อยูภายใต ภาควิชาภูมิทัศนและอนุรักษสิ่งแวดลอม คณะผลิตกรรมการเกษตร) จนถึงปจจุบัน จรัสพิมพ บุญญานันต มีความสนใจในการอานและการเขียนหนังสือมาตั้งแตเยาววัย ปจจุบันนี้เนื่องจากหนาที่การงานเปนอาจารย งานเขียนสวนใหญจึงเปนงานดานวิชาการ ไดเขียน บทความตางๆดานภูมิสถาปตยกรรม ลงตีพิมพในวารสารแมโจ ปริทัศน ประมาณ ๒๓ เรื่อ ง งานวิจัยอีก ๔ เรื่อง หนังสือ ๑ เรื่อง

๑๐๘




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.