คู่มือการดำเนินงานวิทยานิพนธ์ 2554

Page 1



1

คูมือการดําเนินงานวิทยานิพนธ ระดับปริญญาภูมิสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต พ.ศ. 2554 ปรับปรุงครั้งที่ 3

เรียบเรียงโดย จรัสพิมพ บุญญานันต

โดยผานความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจําหลักสูตรภูมสิ ถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจ


2

คํานํา รายงานวิทยานิพนธระดับปริญญาภูมิสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต เปนรายงานฉบับสมบูรณที่ นักศึกษาชั้นปที่ 5 สาขาวิชาภูมิสถาปตยกรรมทุกคนจะตองเขียนรายละเอียดของโครงการประกอบการ ออกแบบในวิชาวิทยานิพนธ เพื่อแสดงความรูความเขาใจในโครงการออกแบบนั้นๆ และเสนอตอ คณะกรรมการประเมินผลวิทยานิพนธ ตามระเบียบขอบังคับของคณะสถาปตยกรรมศาสตรและการ ออกแบบสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจ การจัดทําคูมือการดําเนินงานวิทยานิพนธระดับปริญญาภูมิ สถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3 ปการศึกษา 2554 ฉบับนี้ ไดทําการปรับปรุง คูมือการพิมพวิทยานิพนธฉบับลาสุด คือฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 ป 25501 โดยทําการเรียบเรียงเนื้อหา ใหเขาใจงายขึ้น มีความถูกตองมากขึ้น ปรับปรุงเนื้อหาและขั้นตอนการเสนอหัวขอวิทยานิพนธใหมี ความกระชับ และไมซ้ําซอนกับขั้นตอนการเสนอโครงรางวิทยานิพนธ นอกจากนี้ยังไดรวบรวม แบบฟอรมตางๆมาไวในเลมเดียวกัน เพื่อความสะดวกแกนักศึกษาและคณาจารยในการคนควา การดําเนินงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสรางแบบแผนของการเขียนรายงานขึ้นใชรวมกัน กอใหเกิดความเปนระเบียบเรียบรอย และเสริมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของทั้งคณาจารยและ นักศึกษา นอกจากนี้ยังชวยยกระดับของรายงานวิทยานิพนธใหเปนมาตรฐานสากลอีกดวย คณะ ผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวาคูมือนี้จะเปนประโยชนตอนักศึกษาและคณาจารยผูมีสวนเกี่ยวของทุกทาน และถาหากมีขอบกพรองประการใด ก็ตองขออภัยไว ณ ที่นี้ จรัสพิมพ บุญญานันต ผูเรียบเรียง

คูมือการพิมพวทิ ยานิพนธระดับปริญญาภูมิสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยแมโจ ฉบับที่ 1 ถูกจัดทําขึ้น ในป พ.ศ. 2544 1


3

สารบัญ หนา คํานํา สารบัญ

2 3

1. หลักวิธีปฏิบัติงาน และเกณฑการประเมินผลวิทยานิพนธ ระดับปริญญา ภูมิสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจ พ.ศ. 2554

5

2. รายละเอียดขั้นตอนการนําเสนองานวิทยานิพนธ

10

3. หลักการพิมพรายงานวิทยานิพนธระดับปริญญาภูมิสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจ

18

4. รายละเอียดการพิมพรายงานวิทยานิพนธฉบับสมบูรณ

22

4.1 สวนนําเรื่องรายงานวิทยานิพนธฉบับสมบูรณ

22

4.2 สวนเนื้อหารายงานวิทยานิพนธฉบับสมบูรณ

24

4.3 สวนทายเรื่องรายงานวิทยานิพนธฉบับสมบูรณ

35

ภาคผนวก ก

ขั้นตอนการดําเนินงานวิทยานิพนธ

37

ภาคผนวก ข

แบบฟอรมคํารองเสนอหัวขอวิทยานิพนธ

41

ภาคผนวก ค

แบบฟอรมการพิมพโครงรางวิทยานิพนธ

47

ภาคผนวก ง

แบบฟอรมการพิมพรายงานฉบับสมบูรณ

57

ภาคผนวก จ

แบบฟอรมประเมินผลการนําเสนอวิทยานิพนธระดับ

67

ปริญญาภูมิสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต ภาคผนวก ฉ แนวทางการประเมินผลขั้นสุดทาย

79

ภาคผนวก ช

แบบฟอรมคํารองทั่วไป

83

ภาคผนวก ซ รูปแบบบรรณานุกรมและเอกสารอางอิง

89

บรรณานุกรม

109


4


5

หลักวิธีปฏิบัติงาน และเกณฑการประเมินผลวิทยานิพนธ ระดับปริญญาภูมิสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการ ออกแบบสิ่งแวดลอม พ. ศ. 2554 เนื่องจากการทําวิทยานิพนธ เปนสวนหนึ่งของการศึกษา และเปนการประเมินผลตามหลักสูตร ปริญญาภูมิสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต ซึ่งนักศึกษาชั้นปที่ 5 สาขาวิชาภูมิสถาปตยกรรมทุกคนจะตอง เรียน ดังนั้น เพื่อใหการดําเนินงานวิชาวิทยานิพนธ เปนไปอยางเรี ยบรอย และมีประสิทธิ ภาพ จึง เห็นสมควรใหวางระเบียบการปฏิบัติงานวิทยานิพนธดังตอไปนี้ 1. คําจํากัดความและความหมาย ความหมายของคํ า ต า ง ๆ ที่ ป รากฏในหลั ก วิ ธี ป ฏิ บั ติ ง าน และเกณฑ ก ารประเมิ น ผลงาน วิทยานิพนธ คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบวางแผนสิ่งแวดลอม สําหรับขั้นปริญญา บัณฑิต พ.ศ. 2554 ตอไปนี้ 1.1 “คณะกรรมการดําเนินงานวิทยานิพนธ” หมายถึง คณาจารยประจําคณะสถาปตยกรรม ศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม ซึ่งพิจารณาเห็ นชอบโดยประธานคณะกรรมการดํา เนิ นงาน วิ ท ยานิ พ นธ ทํ า หน า ที่ กํ า หนดระเบี ย บวิ ธี ก ารดํ า เนิ น งานวิ ท ยานิ พ นธ ตามหลั ก สู ต รปริ ญ ญาภู มิ สถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต 1.2 “ประธานคณะกรรมการดําเนินงานวิทยานิพนธ” หมายถึง คณบดีคณะสถาปตยกรรม ศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม ทําหนาที่ควบคุมการดําเนินงานวิทยานิพนธใหเปนไปตามหลัก วิธีปฏิบัติงานวิทยานิพนธ ซึ่งกําหนดขึ้นมาโดยคณะกรรมการดําเนินงานวิทยานิพนธ (1.1) หมายถึง อาจารยประจําคณะ 1.3 “เลขานุการคณะกรรมการดําเนินงานวิทยานิพนธ” สถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม เปนผูทําหนาที่ประสานงานใหการเรียนการสอน วิทยานิพนธเปนไปตามกําหนดการ ตามมติของคณะกรรมการดําเนินงานวิทยานิพนธ 1.4 “ประธานกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ” หมายถึง อาจารยประจําคณะสถาปตยกรรม ศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม เปนผูที่ใหคําปรึกษา ตรวจพิจารณางานคนควาขอมูล และงานขั้น


6

ออกแบบวิทยานิพนธของนักศึกษาผูทําวิทยานิพนธแตละบุคคล ตลอดภาคการศึกษาที่มีการเรียนการ สอนวิทยานิพนธ โดยที่ทางคณะกรรมการดําเนินงานวิทยานิพนธเปนผูจัดสรรให 1.5 “กรรมการที่ปรึกษาพิเศษวิทยานิพนธ” หมายถึง อาจารย หรือ ผูทรงคุณวุฒิ ที่ นักศึกษาและประธานที่ปรึกษาวิทยานิพนธเห็นสมควรเชิญมาเปนอาจารยที่ปรึกษาพิเศษรวมตรวจและ พิจารณางานวิทยานิพนธของนักศึกษาผูนั้น ตามโอกาสและกําหนดการที่อาจารยที่ปรึกษาเห็นสมควร ทั้งนี้การที่นักศึกษาบุคคลใดจําเปนตองมีอาจารยที่ปรึกษาพิเศษหรือไมนั้นขึ้นอยูในดุลพินิจของ ประธานกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ 1.6 “คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ” หมายถึง กลุมอาจารยประกอบดวย ประธานที่ ปรึกษาวิทยานิพนธในขอ 1.4 และกรรมการที่ปรึกษาพิเศษในขอ 1.5 (ถามี) และกรรมการที่ปรีกษา ทานอื่นตามความเห็นชอบของคณะกรรมการดําเนินงานวิทยานิพนธ ทําหนาที่รวมกันในการตรวจ พิจารณาและใหคําปรึกษางาน และตรวจประเมินวิทยานิพนธของนักศึกษาในที่ปรึกษา และให ขอเสนอแนะตามขอบเขตที่คณะกรรมการดําเนินงานกําหนดขึ้น 2. คุณสมบัติของผูมีสิทธิ์ขออนุมัติทําวิทยานิพนธ 2.1 จะตองเปนนักศึกษาภาคปกติที่กําลังศึกษาในชั้นปที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2 หรือมากกวา เปน ผูที่มีเกรดเฉลี่ยสะสมตั้งแตชั้นปที่ 1 จนถึงชั้นปที่ 4 ไมต่ํากวา 2.00 โดยที่วิชาเหลานี้เปนวิชาที่กําหนด ในหลักสูตรภูมิสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม 2.2 ถานักศึกษาตามขอ 2.1 เปนผูที่มีวิชาตกคางในกลุมวิชาแกนและวิชาเอกที่ยังไมผาน จะตอง ไดรับคําเห็นชอบเปนกรณีพิเศษจากคณะกรรมการดําเนินงานวิทยานิพนธ 2.3 นักศึกษาตามขอ 2.2 เมื่อเรียนครบรายวิชาตามหลักสูตรแลว แตพบวามีเกรดเฉลี่ยต่ํากวา 2.00 แมวาจะปฏิบัติวิชาวิทยานิพนธแลวก็ตาม จะตองลงทะเบียนเรียนวิชาอื่นเพิ่มเพื่อยกระดับเกรด เฉลี่ย จนกวาจะมีสภาพปกติ จึงจะสามารถสอบวิชาวิทยานิพนธได 3. การขออนุมัติหัวขอและโครงรางวิทยานิพนธ 3.1 นักศึกษายื่นแบบเสนอวิทยานิพนธ เสนอตอเลขานุการคณะกรรมการดําเนินงาน ภายใน วันที่ 31 เดือนพฤศจิกายน ภาคการศึกษาที่ 2 ปการศึกษาที่ 4 3.2 นั ก ศึ ก ษาที่ ไ ด รั บ อนุ มั ติ หั ว ข อ วิ ท ยานิ พ นธ แ ล ว เลขานุ ก ารคณะกรรมการดํ า เนิ น งาน วิทยานิพนธจะพิจารณาจัดกลุมนักศึกษาโดยพิจารณาจากหัวขอที่นักศึกษาเลือก 3.3 คณะกรรมการดํ า เนิ น งานวิ ท ยานิ พ นธ ดํ า เนิ น การจั ด กลุ ม คณะกรรมการที่ ป รึ ก ษา วิทยานิพนธ โดยในแตละกลุมจะมีคณาจารยจากหลากหลายสาขาวิชารวมกัน เพื่อใหการตรวจงาน วิทยานิพนธมีประสิทธิภาพมากที่สุด การกําหนดวาคณะกรรมการที่ปรึกษากลุมใดจะตรวจวิทยานิพนธ


7

ของนักศึกษากลุมใด ใหดูจากความเหมาะสมของหัวขอวิทยานิพนธและความชํานาญและความสนใจ ของคณาจารย 3.4 นั ก ศึ ก ษาแต ล ะคนเลื อ กประธานกรรมการที่ ป รึ ก ษาวิ ท ยานิ พ นธ ข องตนเองจาก คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธประจํากลุมโดยอาจารยที่สามารถเปนประธานคณะกรรมการที่ ปรึกษาวิทยานิพนธสาขาภูมิสถาปตยกรรมไดจะตองเปนอาจารยประจําหลักสูตรภูมิสถาปตยกรรม เทานั้น 3.5 นักศึกษาเสนอโครงรางวิทยานิพนธตอคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ เพื่อขออนุมัติ โดยใหดําเนินการใหแลวเสร็จกอนวันลงทะเบียนเรียนลวงหนาภายในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษาที่ 4 หรือ ภาคเรียนปกติที่ 8 3.6 ในกรณีที่มีเหตุจําเปน ซึ่งนักศึกษาไมสามารถเสนอโครงรางวิทยานิพนธไดกอนการ ลงทะเบียนเรียนวิชาวิทยานิพนธ ใหอยูในดุลพินิจของประธานกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธโดยความ เห็นชอบของคณบดีคณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบวางแผนสิ่งแวดลอม 3.7 เมื่ อ ไดรั บอนุ มั ติ แ ล ว จะตอ งปฏิ บั ติ ง านวิท ยานิ พนธ ใ ห เ สร็ จ ภายในเวลาที่ กําหนดโดย คณะกรรมการดําเนินงาน 3.8 ถาหัวขอและ/หรือโครงรางวิทยานิพนธไมผานการอนุมัติ นักศึกษาจะตองเสนอใหมอีก ครั้งหนึ่งภายใน 2 สัปดาห นับจากทราบผล 3.9 การเปลี่ ยนหัว ขอวิทยานิ พนธ ใหมจะกระทําได ก็ตอ เมื่อ ไดยื่นคํ ารอ งขอเปลี่ ย นหัว ข อ วิทยานิพนธ พรอมดวยโครงรางวิทยานิพนธใหม ตอประธานกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ประธาน หลักสูตรภูมิสถาปตยกรรม หรือคณบดีใหความเห็นชอบแลว 3.10 ใหประธานกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธแตละคน รับนักศึกษาเพื่อใหคําแนะนําปรึกษา ไดไมเกินจํานวนนักศึกษาของสาขาวิชาภูมิสถาปตยกรรม หารดวย จํานวนอาจารยประจําหลักสูตรภูมิ สถาปตยกรรม ซึ่งจํานวนผลลัพธเทาไรแลวอาจปรับเพิ่มหรือลดไดอีกเปนจํานวนรอยละ 40 โดยให ประธานหลักสูตรภูมิสถาปตยกรรมหรือคณบดีเปนผูดําเนินการตรวจสอบ 4. หลักการปฏิบัติงานวิทยานิพนธนักศึกษาจะตองปฏิบัติงานวิทยานิพนธตามกําหนดการของคณะโดย มีขั้นตอนดังตอไปนี้ 4.1 นักศึกษาชั้นปที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปตยกรรม จะตองจัดทําโครงรางวิทยานิพนธใหเสร็จ สิ้นกอนการลงทะเบียนลวงหนาวิชาวิทยานิพนธในภาคเรียนที่ 2 เพื่อทําแบบรางรายงานวิทยานิพนธ ตอไป 4.2 นักศึกษาจะตองทําแบบรางรายงานวิทยานิพนธใหผานกอน ไปพรอมกับการทําแบบราง การออกแบบโครงการ โดยจะตองมาสงแบบรางในชวงเวลาที่กําหนด โดยคณะกรรมการดําเนินงาน


8

วิทยานิพนธ จากนั้นประธานกรรมการปรึกษาวิทยานิพนธจะไดรายงานผลการทํางานตอเลขานุการ คณะกรรมการดําเนินงานฯ เพื่อขออนุมัติดําเนินงานในขั้นตอไป 4.3 ระหวางการจัดทํารางรายงานวิทยานิพนธ และงานออกแบบโครงการขั้นแบบราง (โดย ผานความเห็นชอบจากประธานกรรมการที่ปรึกษา) นักศึกษาจะตองนําเสนองานตามลําดับขั้นตอน ตั้งแตขั้นตอนการเก็บขอมูลขั้นตน การวิเคราะหขอมูล การสังเคราะหขอมูล แนวความคิดในการ ออกแบบและขั้นการพัฒนางานออกแบบ ตอคณะกรรมการที่ปรึกษา เพื่อรับฟงขอชี้แนะ เมื่อ คณะกรรมการเห็นวาผลงานมีคุณภาพเหมาะสม มีการแกไขในเรื่องรายละเอียดเล็กนอย นักศึกษา จะตองเขาสอบวิทยานิพนธในเวลาที่กําหนด 4.4 นักศึกษาที่ไมผานเกณฑในขั้นตอนการพัฒนาแบบราง จะตองมาเสนอผลงานอีกครั้ง จนกวาจะผาน จึงจะสามารถขอสอบวิทยานิพนธไดในเทอมถัดไป 4.5 นักศึกษาที่สอบวิทยานิพนธไมผานมีสิทธิ์ยื่นคํารองขอสอบไดอีกครั้งหนึ่งภายในเวลาไม ต่ํากวา 30 วัน เพื่อใหเวลาไปปรับปรุงรายงานและงานออกแบบโครงการวิทยานิพนธ 4.6 นั ก ศึ ก ษาที่ ส อบผ า นจะต อ งแก ไ ขรายงานวิ ท ยานิ พ นธ ใ ห เ รี ย บร อ ยสมบู ร ณ ตาม คําแนะนําของคณะกรรมการประเมินผลวิทยานิพนธ และตามเกณฑเกณฑที่กําหนดไว แลวเสนอ รายงาน ทั้งสิ้น 2 ชุด พรอมเอกสารดิจิตอลไฟลในรูปแบบ CD 1 ชุด ใหคณะ ภายใน 3 สัปดาห นับ จากวันสอบวิทยานิพนธ 5. การใหคะแนนและการประเมินผลวิทยานิพนธ รายละเอียดของการใหคะแนนวิทยานิพนธซึ่งมีคะแนนเต็มทั้งสิ้น 100 คะแนน ตามแบบฟอรม ของคณะ (ดูภาคผนวก จ ) หลังจากการสอบเสร็จสิ้นแลวคณะกรรมการประเมินผลวิทยานิพนธจะ ประชุมกันเพื่อประมวลและสรุปผลการใหคะแนน จากนั้นประธานกรรมการที่ปรึกษาจะเสนอผลการ ประเมินใหแกเลขานุการดําเนินงานตอไป 6. การกําหนดมาตรฐานการประเมินผลงานวิทยานิพนธ 6.1 นักศึกษาจะตองดําเนินการวิทยานิพนธใหผานเกณฑมาตรฐานขั้นต่ํา โดยมีคะแนนเฉลี่ย ไมต่ํากวา (C) 2.00 6.2 ถาคะแนนเฉลี่ยของวิทยานิพนธต่ํากวา 2.00 ถือวาไมผานเกณฑมาตรฐานขั้นต่ํา นักศึกษา จะไดรับสัญลักษณเกรด OP (on progression) ตองดําเนินการรักษาสภาพการศึกษา และจะตองเสนอ ผลงานวิทยานิพนธที่ไดรับการปรับปรุงอีกครั้งในเทอมตอไป


9

6.3 นักศึกษาที่ได้รับสัญลักษณ์ OP และนาเสนอผลงานวิทยานิพนธ์เดิมอีกครั้งในเทอมต่อไป จะถูกหักคะแนน 1 ขั้นเกรด แต่ถ้านักศึกษาผู้นั้นเสนอโครงการใหม่ให้ได้รับคะแนนตามคุณภาพของ งานที่นาเสนอ 6.4 นักศึกษาที่ผ่านการนาเสนองานขั้นการพัฒนางานออกแบบแล้ว (Design Development) แต่ไม่สามารถทางานให้เสร็จทันกาหนดสอบให้ได้รับสัญลักษณ์ OP เช่นเดียวกัน และอยู่ในความดูแล ของประธานที่ปรึกษา โดยให้สอบแก้สัญลักษณ์ OP ในเทอมต่อไป 7. การสอบวิทยานิพนธ์ครั้งที่ 2 7.1 นั ก ศึ ก ษาที่ ไ ด้ รั บ สั ญ ลั ก ษณ์ OP ในการท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ค รั้ ง แรก จะมี สิ ท ธิ์ ท างาน วิทยานิพนธ์ใหม่ตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 7.2 นั ก ศึ ก ษาจะเสนอโครงการเดิ ม หรื อ เปลี่ ย นเป็ น โครงการใหม่ ก็ ไ ด้ โ ดยปฏิ บั ติ ต าม ขั้นตอนที่คณะกรรมการดาเนินงานกาหนดขึ้นในแต่ละภาคการศึกษา


10

รายละเอียดขั้นตอนการนําเสนองานวิทยานิพนธ 1. สงหัวขอวิทยานิพนธ (Thesis Topic) ใชโครงสรางหัวขอแบบฟอรมขอเสนอหัวขอวิทยานิพนธ สาขาวิชาภูมิสถาปตยกรรม (ดูภาคผนวก ข) นักศึกษาสามารถ Download แบบฟอรม ไดที่เวบไซทของคณะ (http://www.faed.mju.ac.th/download/download_view_document.asp?download_group=3) 2. การนําเสนอขอมูลโครงการขั้น Site introduction and Analysis นําเสนอขอมูลโครงการขั้น Site introduction and Analysis ตอคณะกรรมการประจํากลุม ใช เวลาคนละ 20 นาที สงงานรูปแบบ Powerpoint เปนอิเลคทรอนิคไฟล ดังนี้ • SITE INTRODUCTION 1) ประวัติและความเปนมาของโครงการ 2) วัตถุประสงคของโครงการ 3) ขอมูลพื้นฐานของพื้นที่โครงการ - ที่ตั้งโครงการ อาณาเขต และสภาพแวดลอมโดยรอบ - การเขาถึงพื้นที่โครงการ (แสดงการเขาถึงจากแผนที่โดยแสดงสถานที่ที่ อางอิงได เชน ถนนสายหลัก สถานีขนสง สถานีรถไฟ ตลาด ชุมชน ทารถ ทาเรือ ฯลฯ) - การเชื่อมโยงของพื้นที่โครงการกับพื้นที่สําคัญอื่น ๆ - สภาพทั่วไปของพื้นที่โครงการ • SITE ANALYSIS 1) ขอมูลทางธรรมชาติ (Natural Factors) - ลักษณะภูมิประเทศ ความลาดชัน และรูปทรงที่ดิน (แสดงใหเขาใจงาย บางโครงการอาจแสดงครอบคลุมพื้นที่ขางเคียงดวย หากมีผลกระทบตอ


11

-

-

-

การออกแบบ ควรวิเคราะหในรูปแบบของแผนผัง และถาพื้นที่โครงการมี ความลาดชันมากหรือมีความซับซอนก็ควรแสดงภาพตัดดวย) ลักษณะของแหลงน้ํา พื้นที่รับน้ํา การระบายน้ํา (สําคัญมาก บางโครงการ ตองแสดงถึงแหลงน้ําภายนอกพื้นที่ดวยถาสําคัญ เชน แหลงน้ําใกลเคียง รองน้ําใหญจากเขา แมน้ํา ลําคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ ทะเล เปนตน) ลั ก ษณะทางธรณี วิ ท ยา โครงสร า งดิ น (อ า งอิ ง ชุ ด ดิ น การตรวจสอบ ภาคสนามสรุปออกมาใหเขาใจงาย เปนภาพและกราฟฟกประกอบ ) ลั กษณะทางพืชพรรณ (แสดงสภาพเดิ มรวมถึงพื้นที่ ข างเคี ยง พรรณไม สําคัญของพื้นที่และทองถิ่น รวมถึงภาพพืชพรรณ ตําแหนง บริเวณ รายชื่อ ตนไม (ไทย-อังกฤษ-วิทยาศาสตร) ตามสมควรในแตละโครงการ ลักษณะของสัตวปา สิ่งมีชีวิต ระบบนิเวศวิทยา (ที่สําคัญและมีผลตอการ พัฒนาโครงการ) ลักษณะภูมิอากาศ ครอบคลุมเรื่องฤดูกาล แสงแดด ลม อุณหภูมิ ความชื้น ฯลฯ ควรใชขอมูลปจจุบันในรอบ 5-10 ป เปนอยางนอย (แสดงเปนกราฟ แผนภูมิ และสรุปขอมูล)

2) ขอมูลทางวัฒนธรรม และสิ่งที่มนุษยสราง (Cultural & Man made Factors) - การใชประโยชนที่ดินเดิม ทั้งภายในและภายนอก (แสดงใหรับรูใหไดวา เดิม บริเวณไหนเปนอยางไร รวมถึงบริเวณโดยรอบดวย ในบางโครงการ อาจตองอางถึงมาตรฐานผังเมืองรวมประกอบ วามีความสอดคลองหรือ ขัดแยงกันอยางไร) - ระบบสัญจร (แตกตางกันตามแตละโครงการ บางโครงการแสดงระบบ สัญจรเดิมภายในพื้นที่ และการเชื่อมโยงออกสูภายนอก รวมถึงสถานที่ สําคัญ บางโครงการแสดงเพียงการเชื่อมโยงกับพื้นที่ภายนอกเพราะสภาพ เดิมภายในไมมี พยายามแสดงเปนกราฟฟกและใหเห็นลําดับของระบบเชน ถนนหลัก รอง รวมทั้งทางบก ทางน้ํา รวมถึงการแสดงภาพถายประกอบ หรือรูปตัดประกอบ ) - อาคารสิ่ ง ปลู ก สร า งเดิ ม (วิ เ คราะห ส ภาพอาคารเดิ ม แบบคร า วๆ เพื่ อ ประเมินคุณคาอาคาร และศักยภาพในการพัฒนาตอไปในอนาคต ควรมี แผนผังและภาพถายประกอบ ถามีความซับซอนและสําคัญอาจตองมีตาราง ประเมินศักยภาพของการพัฒนาอาคาร)


12

- กิจกรรมเดิมในพื้นที่ กรณีโครงการมีการใชสอยเดิม - ระบบสาธารณู ป โภคและสาธารณู ป การ (สาธารณู ป โภค คื อ บริ ก าร สาธารณะที่ตองมีใชภายในโครงการ เชน ประปา ไฟฟา โทรศัพท ระบบ ขนสง(วิ่งผาน) สาธารณูปการ คือ บริการสาธารณะที่ทางโครงการตอง เดินทางไปใช (แตกตางไปในแตละโครงการ) ยกตัวอยางเชน โรงเรียน โรงพยาบาล ศาสนสถาน หนวยงานราชการ ตลาด ทารถ ทาเรือ สถานี รถไฟ โรงพัก ไปรษณีย ธนาคาร เปนตน พยายามแสดงเปนกราฟฟก บาง โครงการอาจตองเชื่อมโยงจากภายนอก แสดงเฉพาะในสวนที่เกี่ยวของกับ โครงการ ควรกําหนดเปนรัศมีระยะหางจากโครงการเปนระยะตางๆ เชน 1-5 กิโลเมตร 5-10, 10-20, 20-30 หรือ 30-60 กิโลเมตร และอาจกําหนด ตามระยะเวลาการเดิ น ทางร ว มด ว ยก็ ไ ด เช น ในระยะเวลาเดิ น ทางด ว ย รถยนตสวนบุคคล 5-10 นาที 10-15, 15-20, 30-45 หรือประมาณ 60 นาที เปนตน ) - ขอมูลชุมชน ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ประกอบดวย * ขอมูลประวัติศาสตรที่สําคัญ (ถามี) * ขอมูลประชากร ชุมชนในพื้นที่ (มีผลตอการออกแบบอยางไร) * ข อ มู ล ด า นเศรษฐกิ จ สั ง คม วั ฒ นธรรมในพื้ น ที่ (แสดงเฉพาะ เนื้อหาหลักๆไมตองลงรายละเอียดลึก) 3) ขอมูลดานสุนทรียภาพ (Aesthetic Factors) - ทัศนียภาพและมุมมอง - มลภาวะดานตาง ๆ - จินตภาพ (บางโครงการอาจมี เชน โครงการออกแบบภูมิทัศนเมือง ) 4) ขอมูลผูใชโครงการ (User Factors) - ศึกษาถึงกลุมผูใชสอย วามีอยูเดิมหรือตองคาดการณในอนาคต - ลักษณะผูใชสอย พฤติกรรม และความตองการกิจกรรม (Users & Activities) (อาจมีการวิเคราะหรูปแบบการบริหารโครงการ/องคกร แสดง เปนแผนภูมิบริหารหนวยงานภายใน อางอิงจากโครงการที่อยูใกลเคียง เพื่อ เปนที่มาของโปรแกรมการพัฒนา การวิเคราะห/คาดการประเภทผูใช โครงการ จํานวน รวมถึงกิจกรรม อาจอางอิงจากโครงการประเภทเดียวกัน


13

อื่น ๆ วามีกลุมไหนบาง พฤติกรรมเปนอยางไร ปริมาณมากนอยเทาไร ชื่น ชอบกิจกรรมแบบใด มีผลตอการออกแบบอยางไร หรือศึกษาโดยการสราง แบบสอบถาม การศึกษาจากสถิติการทองเที่ยวของจังหวัด และพื้นที่ ใกลเคียง) 5) ขอมูลเฉพาะดานของแตละโครงการ - ขอมูลกฎหมายที่มีผลตอการออกแบบ - ขอมูลนโยบายสําคัญของรัฐ (ถามี แสดงเปนกราฟฟค) - ลักษณะเฉพาะของโครงการ (ตามคําสําคัญตาง ๆ ที่ไดกําหนดไว) • สงรางโครงรางวิทยานิพนธ (เลมหนาปกสีเหลือง) เนื้อหาดูคูมือโครงรางวิทยานิพนธ 3. สงโครงรางวิทยานิพนธ • ใชโครงสรางหัวขอตามแบบฟอรมการพิมพโครงรางวิทยานิพนธ (ดูภาคผนวก ค ) • นักศึกษาสามารถ Download คูมือดังกลาว ไดที่ เวบไซทของคณะ (http://www.faed.mju.ac.th/download/download_view_document.asp?download_group=3)

4. การนําเสนอขอมูลโครงการขั้น Site Analysis & Synthesis, Programming นําเสนอขอมูลโครงการขั้น Site Analysis & Synthesis , Programming และขอมูลแกไข เพิ่มเติมที่ไดรับการแนะนําตอประธานที่ปรึกษาวิทยนานิพนธ ใชเวลาคนละ 20 นาที สงงานรูปแบบ Plate โดยมีเนื้อหาดังนี้ • เนื้อหาตามการนําเสนองานครั้งที่ 3 โดยทําการปรับปรุงจากที่ไดรับคําแนะนํา และนํางาน จัดลงบนกระดาษขนาด A 0 • เนื้อหาเพิ่มเติมประกอบดวย 1) SITE SYNTHESIS - Site Characteristics And Development Potentials (การประมวล คุณลักษณะของพื้นที่และแสดงศักยภาพในการพัฒนา ที่อาจเปนไปไดตามตามวัตถุประสงคดานตาง ๆ ของโครงการ ที่สามารถแสดงบทบาทหนาที่ ขนาดพื้นที่ที่ตองการ และลักษณะการใหบริการ ตลอดจน เอกลักษณโดยรวมวาเปน อยางไร และการสรุปความตองการ กิจกรรม/อยางกวาง ๆ


14

2) PROGRAMMING - Program Developments and Requirements (กําหนดโปรแกรมการ พัฒนา ประโยชนใชสอย/ พื้นที่/ ขอพิจารณาในการออกแบบดานตาง ๆ เปนรายการหนวยพื้นที่กิจกรรมหลัก รอง ยอย ของแตละโปรแกรม แบบ คํานวณนับ สรุปเนื้อที่เปนรอยละ • SPECIAL DATA เนื้อหาในหมวดนี้มีมาก ใหคัดเลือกเฉพาะที่สําคัญและสามารถแสดงเปนภาพกราฟฟกได จัดลง Plate ที่จะนําเสนอ สวนขอมูลที่สําคัญรองลงมาใหจัดพิมพใสกระดาษ A4 ถายสําเนาแจก คณะกรรมการที่ปรึกษา 1) ขอมูลทางเทคนิคที่มีผลตอการออกแบบ (โครงการที่มีรูปแบบเฉพาะ) 2) ขอมูลกรณีศึกษาที่สําคัญ (นําเสนอแบบสรุป เฉพาะที่จะนํามาใช) 3) ขอมูลการออกแบบเฉพาะดาน (การออกแบบสนามแขงรถ การออกแบบพื้นที่เลี้ยง สัตว การออกแบบในน้ํา การออกแบบรีสอรทแบบตางๆที่ไมใช แตกตางกันเฉพาะทางดานการจัดการ และวิธีการ เชน ธรรมชาติบําบัด สมุนไพร โยคะ สปาแบบตางๆ มีผลทําใหการออกแบบแตกตางกัน อยางไร) 4) การศึกษาความเปนไปไดโครงการ (ในดานเศรษฐศาสตร การตลาด การเงิน การ บริหารและการจัดการ และดานเทคนิค ใหสรุปโดยยอๆเทานั้น ) • MAIN CONCEPT แนวความคิดหลัก คือ แนวความคิดที่ผานการคิดกลั่นกรองเฉพาะ สําหรับโครงการออกแบบนั้นๆ เพื่อใชเปนแนวทางในการออกแบบพื้นที่โครงการ สามารถอางอิง แนวคิดทฤษฎีการออกแบบใดๆ นํามาประยุกตใชใหเหมาะสมกับโครงการ หรือประมวลจากการ สั ง เคราะห พื้ น ที่ โ ครงการและความต อ งการของเจ า ของโครงการ หรื อ ของผู ใ ช พื้ น ที่ ก็ ไ ด แนวความคิดหลักจะอธิบายใหเห็นภาพรวมทั้งหมดของโครงการที่จะเกิดขึ้น ทั้งในดานวัตถุประสงค ภาพลักษณ กลุมเปาหมาย (แสดงเปนกราฟฟคไดจะดีมาก) 5. การนําเสนอขอมูลโครงการขั้น Conceptual & Preliminary Design นําเสนอแนวคิดเบื้องตนโครงการ (Preview) พรอมรางรูปเลมวิทยานิพนธถึงบทที่ 5 ตอ คณะกรรมการประจํากลุม ใชเวลาคนละ 20 นาที นําเสนอในรูปแบบ Plate มีเนื้อหาดังนี้ • SITE INTRODUCTION • SITE INVENTORY


15

• • • •

SITE ANALYSIS SYNTHESIS AND PROGRAMMING SPECIAL DATA CONCEPTUAL DESIGN 1) Main Concept 2) Zoning Concept 3) แผนผังแสดงแนวความคิดอื่นๆ แสดงเฉพาะที่เห็นวาสําคัญตอแตละโครงการ (แตกตางกันในแตละโครงการ) เชน Circulation Concept. Openspace Concept. Planting Concept เปนตน 4) Functional Diagram แสดงเฉพาะเทาที่นักศึกษาเห็นวาสําคัญตอการนําเสนอ แนวความคิด มีหลายเทคนิคในการนําเสนอ เชน 4.1) Bubble Diagram 4.2) Site Related Functional Diagram 5) Conceptual Plan แสดงแนวความคิดในการออกแบบทั้งหมดในภาพรวม เปน ภาพกราฟกในลักษณะของแผนผังโครงการ • PRELIMINARY DESIGN-PLAN การพัฒนาแบบแปลนใหเห็นเคาโครงรูปทรง (Form Composition Study and Design) ภาพรวมของพื้นที่ใชสอย และการจัดวางกิจกรรมตาง ๆ ที่สํา พันธตอกัน ระหวางระบบการสัญจร / โซน / สวนพื้นที่ใชสอยภายในโซน - กิจกรรมตาง ๆ ตลอดจน การออกแบบบรรยากาศ และสภาพแวดลอม 6. การนําเสนอขอมูลโครงการขั้น Design Development I พัฒนาแนวความคิดในการออกแบบโครงการ และปรับปรุงพัฒนางานออกแบบผังแมบท งาน ออกแบบในรายละเอียด นําเสนอในรูปแบบ Plate ตอประธานที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ใชเวลาคนละ 20 นาที • CONCEPTUAL DESIGN (ปรับปรุง) • DESIGN DEVELOPMENT พัฒนาปรับปรุงงานออกแบบตามที่ไดรับคําแนะนําจาก คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธจากครั้งที่ผานมา แสดงผังแมบท ผังพืชพรรณ การออกแบบใน รายละเอียด ในลักษณะของแบบราง


16

7. การนําเสนอขอมูลการปรับปรุงงานออกแบบขั้น Design Development II ปรับปรุงพัฒนางานออกแบบผังแมบท Design Development I งานออกแบบในรายละเอียด จากที่ไดรับคําแนะนําจากคณะกรรมการที่ปรึกษา คณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธจากครั้งที่ผานมา แสดงผังแมบท ผังพืชพรรณ การออกแบบในรายละเอียด ในลักษณะของแบบรางนําเสนอในรูปแบบ Plate ตอคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ใชเวลาคนละ 20 นาที 8. สงรางรายงานฉบับสมบูรณ ( Draft Final Thesis Report) ใชโครงสรางหัวขอตามเอกสาร “คูมือการดําเนินงานวิทยานิพนธ พ.ศ. 2554” และ นักศึกษา สามารถ Download เอกสาร ไดที่เวบไซทของคณะ (http://www.faed.mju.ac.th/download/download_view_document.asp?download_group=3) 9. การนําเสนอขอมูลโครงการขั้น Final Design 25 นาที

สอบวิทยานิพนธ (July) ตอคณะกรรมการที่ปรึกษาประจํากลุม ในรูปแบบ Plate ใชเวลาคนละ

• ในชวงแรกใหกลาวโดยสรุปยอ (เนื่องจากผานการนําเสนอมาหลายครั้งแลว) ถึงขอมูล ทั่วไปของพื้นที่โครงการ การวิเคราะหขอมูล ก ารสังเคราะหขอมูลและโปรแกรมการ ออกแบบ • นําเสนอแนวความคิดในการออกแบบทั้งหมด • นําเสนอผลงานการออกแบบ แบบสมบูรณ (Final Design) 1) MASTER PLAN (ใสรายละเอียดตางๆใหดูรูเรื่อง) 2) SITE SECTION (ควรแสดงความชัน การออกแบบโครงสรางตางๆ และพืชพรรณ ในรูปตัดดวย) 3) DETAIL PLAN (แสดงรายละเอียดการออกแบบโครงการในสวนสําคัญ) 4) TYPICAL DETAILS AND MATERIALS (แสดงแบบแปลน ระยะ วัสดุให ชัดเจน) วัสดุแสดงใหเห็นการเลือกใชวัสดุ อาจจะหารูปมาแสดง เขียนอธิบาย หรือแสดงใหเขาใจไดใน แบบ และตองมีทัศนียภาพประกอบการออกแบบ 5) PERSPECTIVE (แสดงสวนสําคัญในงานที่คิดวาเปนจุดเดนของโครงการ ใหแสดง style, character, บรรยากาศ การใชพืชพรรณ แสดงมุมมองในแผนผัง ดวย)


17

6) PLANTING จัดทําผังพืชพรรณหนึ่งบริเวณ (Planting Plan) พรอมรายการตนไม (Plant Lists) นําเสนอใหเหมือนพืชพรรณที่เลือกใช รวมทั้งระบุชื่อไทย ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร 7) MODEL (พยายามทําใหถูกสัดสวนของความเปนจริง) 8) หัวขออื่นๆตามสมควรแตกตางกันในแตละโครงการ 9) สงรางรายงานวิทยานิพนธที่เกือบสมบูรณ ใหคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ประจํากลุมพิจารณาในระหวางการขึ้นสอบวิทยานิพนธดวย

10. การสงรายงานฉบับสมบูรณ (Final Thesis Report) ใชโครงสรางหัวขอ ตามคูมือการพิมพรายงานวิทยานิพนธฉบับสมบูรณ และ ตัวอยางการจัด หนากระดาษสวนนําเรื่องรายงานวิทยานิพนธคณะสถาปตยกรรมศาสตร นักศึกษาสามารถ Download คูมือและตัวอยางดังกลาว ไดที่เวบไซทของคณะ (http://www.faed.mju.ac.th/download/download_view_document.asp?download_group=3) • สงรายงานฉบับสมบูรณที่ไดรับการตรวจทานแกไขและเขาเลมเรียบรอย ภายใน 2 อาทิตยหลังจากวันสอบวิทยานิพนธขั้นสุดทาย • รู ป เล ม สมบู ร ณ เข า เล ม แล ว 2 เล ม เซนต ชื่ อ อนุ มั ติ โ ดยคณะกรรมการที่ ป รึ ก ษา วิทยานิพนธเรียบรอย (สถานที่เขาเลมขอที่ธุรการ จะไดมีรูปแบบเหมือนกัน) • ซีดี ไฟล PDF จํานวน 1 ชุด (มีขอมูลรูปเลมทั้งหมด แยกตามบท ใสกลองยาว ปกสี เขียว รูปแบบปกสามารถดาวนโหลดจากเวปไซตภาควิชาฯ) สงงานพรอมรายงานฉบับ สมบูรณ • ไฟลภาพ JPEG (ความละเอียดประมาณ 300 DPI) จัดรูปแบบสําหรับแสดงงาน ขนาด A0 จํานวน 2 Plate อยางละ 1 ชุด รายละเอียดตางๆพอสมควรเนนที่แนวความคิด และ งานออกแบบ รูปแบบควรจะไปในแนวทางเดียวกันทั้งชั้นป (สําหรับแสดงงานและ จัดทําหนังสือ)


18

หลักการพิมพรายงานวิทยานิพนธระดับปริญญาภูมิสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต 1. สวนประกอบของรายงานวิทยานิพนธ ประกอบดวยสวนตางๆดังตอไปนี้ 1.1 หนาปกนอก -กระดาษเปลา (รองปก) 1.2 หนาปกดานใน 1.3 หนาใบรับรองวิทยานิพนธ 1.4 บทคัดยอภาษาไทย 1.5 บทคัดยอภาษาอังกฤษ สวนนําเรื่อง 1.6 กิตติกรรมประกาศ 1.7 สารบัญ ประกอบดวย -สารบัญเรื่อง -สารบันตาราง -สารบัญภาพ -สารบัญแผนที่ -สารบันกราฟและแผนภูมิ 1.8 บทที่ 1 บทนํา บทนํา 1.9 บทที่ 2 ที่ตั้งและความสําคัญของโครงการ 1.10 บทที่ 3 การศึกษาความเปนไปไดของโครงการ 1.11 บทที่ 4 กรณีศึกษา 1.12 บทที่ 5 ขอมูลและการวิเคราะหขอมูลของโครงการ ตัวเรื่อง สวนเนื้อความ 1.13 บทที่ 6 แนวความคิดในการออกแบบ 1.14 บทที่ 7 รายละเอียดโครงการออกแบบ 1.15 บทที่ 8 ผลงานการออกแบบ 1.16 บทที่ 9 บทสรุปและขอเสนอแนะ บทสรุป


19

1.17 บรรณานุกรม 1.18 ภาคผนวก 1.19 ประวัตินักศึกษา

สวนทายเรื่อง

หมายเหตุ ดูรายละเอียดในภาคผนวก ง 2. วัสดุที่ใช 2.1 กระดาษที่ใชตองเปนกระดาษสีขาวขนาดกวาง 8 1/2 นิ้ว ยาว 11 นิ้ว (ขนาด A4) เปน ชนิดไมต่ํากวา 80 กรัม ใหพิมพเพียงหนาเดียว 2.2 ปกนอกใชปกแข็ง วิทยานิพนธระดับปริญญาตรีใชสีเขียว วิทยานิพนธระดับปริญญาโทใช สีแดงเลือดหมู ดุษฎีนิพนธใชสีดํา และปญหาพิเศษใชสีกรมทา 2.3 ใชวัสดุที่มีคุณภาพ มีความประณีต สะอาด ชัดเจน 3. ตัวอักษร 3.1 การพิมพและการทําสําเนาใหใชสีดํา โดยมีตัวอักษรแบบเดียวกันตลอดเลม ขนาดและ ลักษณะของตัวพิมพใหอยูในเกณฑมาตรฐานโดยทั่วๆไปคือมีความสูงของตัวอักษรประมาณ 2 มม. ขนาด 16 พอยท ตัวอักษรชนิด Angsana UPC 3.2 ปกและสันปกพิมพดวยตัวอักษรสีทอง แบบ Angsana UPC ขนาดไมต่ํากวา 18 พอยท 3.3 หนาปกในและใบรับรองวิทยานิพนธ ใหพิมพตามที่กําหนดไวในการพิมพหนาปกในและ ใบรับรองวิทยานิพนธ 3.3 หัวขอสําคัญ ใหพิมพดวยตัวอักษรชนิดตัวหนาไดตามความเหมาะสมและความจําเปน 3.4 หัวขอบท ใหพิมพดวยตัวอักษรสีดําแบบ Angsana UPC ขนาด 18 พอยท 3.5 คําศัพทภาษาอังกฤษ 3.5.1 คําศัพทในเนื้อหาใชตัวพิมพเล็ก ใหพิมพ อักษรตัวแรกของคําดวยตัวพิมพใหญ 3.5.2 คําศัพทในหนาปกหนาและหนาปกใน ใหใชตวั พิมพใหญ 4. การเรียงลําดับ 4.1 ใหพิมพเรียงลําดับตามสวนประกอบของโครงรางวิทยานิพนธ (ในขอ ก.) 4.2 การพิมพสารบัญแบงออกเปน 5 สวน ถาในสวนใดมีเกินกวา 1 หนาขึ้นไป ในหนาที่ 2 เปนตนไป ใหพิมพคําวา (ตอ) ตอทายหัวขอของสารบัญนั้นๆดวย


20

5. การเวนขอบกระดาษและการเวนระยะพิมพ 5.1 ขอความพิมพ ตองหางจากขอบกระดาษบน 1 1/2 นิ้ว ขอบดานขางทางซาย 1 1/2 นิ้ว ขอบดานขวา 1 นิ้ว และขอบกระดาษลาง 1 นิ้ว ตารางและภาพตางๆ ตองอยูในลักษณะดังกลาว เชนกัน 5.2 การพิมพปรกติ ใหพิมพโดยไมตองเวนระยะหางระหวางบรรทัด (ยกเวนหนาปกและหนา อนุมัติที่ใหเวนระยะหางระหวางบรรทัดตามแบบฟอรม) 5.3 การเวนวรรคตอนใหเวน 1 ตัวอักษร เครื่องหมายมหัพภาค (.) ที่ใชกับคํายอไมตองเวน ระยะ 5.4 การยอหนาใหเวนระยะจากกรอบหนากระดาษดานซายประมาณ 1 นิ้ว และควรเวนระยะ ระหวางบรรทัดเพิ่มขึ้นอีก 1 บรรทัดพิมพเดี่ยว ทุกครั้งที่ขึ้นหัวขอใหญ 5.5 การพิมพหัวขอสารบัญตางๆ ชื่อโครงการ และเอกสารอางอิง ใหพิมพไวกลางกระดาษ หัวขออื่นๆใหพิมพชิดขอบดานซาย สวนหัวขอยอยใหยอหนาจากขอบกระดาษดานซายมา 1 Tab (1ฝ2 นิ้ว) แลวจึงเริ่มพิมพ ทุกครั้งที่พิมพหัวขอใหญ ตองเวนบรรทัดไวอยางนอย 1 บรรทัดทั้งกอนและ หลังการพิมพ เพื่อใหเห็นหัวขอไดชัดเจน 6. การลําดับหนา 6.1 สวนนําเรื่องทั้งหมดใหเรียงลําดับดวยตัวเลขอารบิคในเครื่องหมายวงเล็บ เชน (1) (2) (3) ตามลําดับ โดยเริ่มนับตั้งแตหนาปกในเปนตนไปจนครบทุกหนาของสวนนําเรื่อง 6.2 เลขนับหนาเริ่มจากหนาปกใน หนาอนุมัติ บทคัดยอ กิตติกรรมประกาศ คํานํา และหนา แรกของสารบัญ ใหนับหนารวมดวยแตไมตองลงเลขหนาเฉพาะหนาแรกของแตละเรื่อง ถาเรื่องนั้นมี 2 หนาขึ้นไป ใหลงเลขหนาในหนาที่ 2 เปนตนไปจนครบ เมื่อขึ้นเรื่องใหมก็ไมตองใสเลขนับหนา แตนับหนาดวย 6.3 สวนเนื้อเรื่ องและสวนทายเรื่องของโครงรางวิทยานิพนธ คือตั้ งแตความเปนมาของ โครงการไปจนถึงหนาสุดทาย ใหใชเลขอารบิค 1,2 ,3… ตามลําดับจนจบเลม 6.4 หนาแรกของแตละบท ของสวนอางอิง และหนาแรกของภาคผนวกแตละภาคไมตองใส เลขหนากํากับ แตใหนับจํานวนหนารวมไปดวย 6.5 ตําแหนงของการลงเลขนับหนาทุกหนาใหลงตรงที่มุมขวาบน หางจากริมกระดาษดานบน 1 นิ้ว และดานขวา 1 นิ้ว


21

7. การเรียงลําดับหัวขอในแตละบท 7.1 แตละบทจะประกอบดวยคําวา บทที่…อยูกลางหนากระดาษ แลวพิมพตามดวยชื่อของบท นั้นเปนภาษาไทยในบรรทัดตอมา กลางหนากระดาษเชนเดียวกัน ถาชื่อบทมีความยาวเกิน 1 บรรทัด ใหบรรทัดแรกอยูหางจากขอบกั้นริมกระดาษดานซายและขวาไมต่ํากวา 1 นิ้ว และพิมพจัดรูปแบบชื่อ บทโดยภาพรวมเปนรูปหนาจั่วหัวกลับ จากนั้นจึงเวน 1 บรรทัด ขึ้นหัวขอหลักชิดขอบกั้นริมกระดาษ ดานซาย โดยเริ่มตนหัวขอใหญดวยเลขนําของแตละบทเปนเลขอารบิค เชน 1.1 , 2.1 หรือ 3.1 เปน ตน 7.2 หมายเลขกําหนดหัวขอใหแตกยอยไดถึง 4 หลักเทานั้น แลวแตความมากนอยของแตละ รายงาน (เชน 1.2.1.1, 1.2.1.2) จากนั้นจึงยอย เปนหัวขอรองตัวเลขครอมวงเล็บ 1), 2), 3),… ตามดวย 1.1), 1.2) แลวจึงใชหัวขอ ก., ข., ค.,… และยอยเล็กลงจนถึงการใชเครื่องหมาย - ตามลําดับ 8. การเสนอ ตาราง ภาพ แผนที่ กราฟและแผนภูมิ 8.1 การจัดวางตาราง ภาพ แผนที่ กราฟและแผนภูมิ ควรจัดวางใหตอจากหรืออยูใกลเคียงกับ ขอความที่กลาวถึง 8.2 ตาราง ภาพ แผนที่ กราฟและแผนภูมิ ที่ใช ไมวาจะเปนตนฉบับหรือสําเนา จะตองมี ความชัดเจน 8.3 ใหเขียนเลขหมายประจําตาราง ภาพ แผนที่ กราฟและแผนภูมิ เรียงตามลําดับหลังคํา ตาราง ภาพ แผนที่ กราฟและแผนภูมิ โดยจัดไวชิดกรอบหนากระดาษดานซาย โดยหากเปนภาพ แผน ที่ กราฟและแผนภูมิ ใหวางชื่อไวดานลางของภาพและแผนที่นั้น แตถาเปนตารางควรวางชื่อไวดานบน ตาราง ใหเรียนเลขเรียงลําดับตอกันไปทั้งเลม (แตแยกกันนับลําดับระหวาง ตาราง ภาพ แผนที่ กราฟ และแผนภูมิ ) 8.5 ใหเขียนบรรยายตาราง ภาพ แผนที่ กราฟและแผนภูมิ ตอจากเลขหมายประจําภาพหรือ แผนที่ โดยเวน 2 ตัวอักษร 8.6 ในบทที่ 8 ใหพิมพภาพประกอบขนาด 6”X 8” เปนอยางนอยเพื่อความชัดเจนในการ นําเสนอ 9. การเขียนบรรณานุกรม ใหเขียนตามรูปแบบที่กําหนดในคูมือการเขียนวิทยานิพนธ ระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัย แมโจ (ดูภาคผนวก ซ)


22

รายละเอียดการพิมพรายงานวิทยานิพนธฉบับสมบูรณ 1. สวนนําเรื่องรายงานวิทยานิพนธฉบับสมบูรณ • ลําดับหัวขอหลักของสวนนําเรื่อง 1) หนาปกนอก -กระดาษเปลา (รองปก) 2) หนาปกดานใน 3) หนาใบรับรองวิทยานิพนธ 4) บทคัดยอภาษาไทย 5) บทคัดยอภาษาอังกฤษ 6) กิตติกรรมประกาศ 7) สารบัญ ประกอบดวย -สารบัญเรื่อง -สารบันตาราง -สารบัญภาพ -สารบัญแผนที่ -สารบันกราฟและแผนภูมิ

สวนนําเรื่อง

• รายละเอียดในแตละหัวขอของเนื้อหาบทนําวิทยานิพนธ 1) หนาปกนอก ปกวิทยานิพนธระดับปริญญาตรีเปนปกแข็งสีเขียว ตัวพิมพสีทอง ขนาดปก 8 3/4 นิ้ว X 11 1/2 นิ้ว นักศึกษาจะตองสงรายงานวิทยานิพนธฉบับ สมบูรณที่ที่เขาปก เรียบรอยแลว ใหกับคณะฯจํานวน 2 เลม พรอมกับแผน CD 1 แผน บรรจุกลองใส CD ขนาดใหญปก กระดาษสีเขียว ขอความบนปกดานหนาประกอบดวยสวนตางๆ ตามลําดับดังนี้


23

- ชื่อเรื่องภาษาไทย - ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ ใชตัวพิมพใหญ แตถาหากมีชื่อวิทยาศาสตรให เขียนชื่อ วิทยาศาสตรตามหลักสากล - ชื่อ สกุล ไมตองมีคํานําหนาชื่อ ยกเวนบรรดาศักดิ์ ฐานันดรศักดิ์ ยศ สมณศักดิ์ และคํานําหนาชื่อนักบวชในศาสนาอื่น - ปริญญาภูมิสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปตยกรรม - มหาวิทยาลัยแมโจ - พ.ศ. (ปที่สําเร็จการศึกษา) สันปก พิมพชื่อโครงการ ชื่อเวนวรรคนามสกุลของผูทําวิทยานิพนธ และเลข พ.ศ. เรียงไปตามความยาวของสันปก ตัวอักษรตั้งเมื่อหงายวิทยานิพนธ โดยจัดระยะและขนาดของ ตัวอักษรใหเหมาะสม ถาขอความมีความยาวมากใหจัดพิมพ 2 บรรทัด ปกดานหลัง ตองไมมีขอความใดๆ 2) กระดาษเปลา (สําหรับรองปก) เปนชนิดเดียวกันกับกระดาษที่ใชพิมพวิทยานิพนธ (ขนาด A4) อยูถัดจากปกแข็งดานหนาและกอนปกแข็งดานหลัง ดานละ 1 แผน 3) หน า ปกด า นใน ประกอบด ว ย ชื่ อ เรื่ อ งและชื่ อ ผู เ ขี ย นวิ ท ยานิ พ นธ ใ นรู ป แบบ เดียวกับปกหนา โดยสวนลางใหพิมพขอความวา วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของความสมบูรณของ การศึกษาตามหลักสูตรปริญญาภูมิสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปตยกรรม คณะ สถาป ต ยกรรมศาสตร แ ละการออกแบบสิ่ ง แวดล อ ม มหาวิ ท ยาลั ย แม โ จ พ.ศ. 25.... ลิ ข สิ ท ธิ์ ข อง มหาวิทยาลัยแมโจ ใชแบบฟอรมตามตัวอยางที่ 2 4) ใบรับรองวิทยานิพนธ ใหใชแบบฟอรมตามตัวอยางที่ 4 โดยใหมีชื่อเรื่องทั้ง ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สวนลางจะแสดงขอความใหความเห็นชอบโดยคณะกรรมการที่ปรึกษา ประธานกรรมการประจําหลักสูตร และขอความรับรองโดยคณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบ สิ่งแวดลอม ลงนามโดยคณบดี 5) กิ ต ติ ก รรมประกาศ เป น ส ว นที่ บ รรจุ ข อ ความแสดงความขอบคุ ณ ผู มี ส ว น สนับสนุนในการทําวิทยานิพนธฉบับนี้ ใหเขียนคําวา กิตติกรรมประกาศ พิมพขอความขางลาง จากนั้นพิมพชื่อ-สกุล ของนักศึกษา ไวที่ทายขอความ และพิมพ เดือน และปที่สําเร็จการศึกษาไวใตชื่อ สกุลของผูเขียน


24

6) บทคัดยอ ใหเขียนบทคัดยอภาษาไทยและภาษาอังกฤษ อยางละประมาณ 500 คํา หรือไมเกิน 2 หนากระดาษ โดยมีเนื้อหาสําคัญที่กลาวโดยสรุปสั้นๆ ถึงเรื่องตอไปนี้ คือ - ประเด็นปญหาและวัตถุประสงคของเรื่องที่จะศึกษา - วิธีดําเนินการ - สรุปผลของการศึกษาและออกแบบโครงการ - ขอเสนอแนะ (จะมีหรือไมมีก็ได) บทคั ด ย อ ควรมี ค วามสมบู ร ณ ไม ค วรเขี ย นคํ า ย อ เพื่ อ ประโยชน ใ นการ นําไปใชในการทําดรรชนีสําหรับการสืบคน ควรมีความเฉพาะ ชัดเจน และกะทัดรัด ใชประโยคอดีต กาลเปนหลัก มีลักษณะของการรายงานผลที่ได และไมมีคําวิจารณ 7) สารบัญ เปนสวนสารบัญเรื่องที่แสดงหมายเลขหนาของสวนตางๆ ทั้งหมดที่มีอยู ใน วิทยานิพนธ นับจากสารบัญจนถึงหนาสุดทาย ใหแสดงหัวขอใหญ หัวขอรอง ในสวนเนื้อเรื่อง ดวย แตสวนหัวขอยอยจะใสหรือไมใสก็ได 8) สารบั ญ ตาราง เป น ส ว นที่ แ จ ง หมายเลขหน า ของตารางทั้ ง หมดที่ มี อ ยู ใ น วิทยานิพนธ ตามลําดับตาราง 9) สารบัญภาพ เปนสวนที่แจงหมายเลขหนาของภาพ รูปภาพ ทั้งหมดที่มีอยูใน วิทยานิพนธ ตามลําดับภาพ 10) สารบั ญ แผนที่ เป น ส ว นที่ แ จ ง หมายเลขหน า ของแผนที่ ทั้ ง หมดที่ มี อ ยู ใ น วิทยานิพนธ ตามลําดับแผนที่ 11) สารบัญกราฟและแผนภูมิ เปนสวนที่แจงหมายเลขหนาของกราฟและแผนภูมิ ทัง้ หมดที่มีอยูในวิทยานิพนธ ตามลําดับกราฟและแผนภูมิ 2. สวนเนื้อหารายงานวิทยานิพนธฉบับสมบูรณ • ลําดับหัวขอหลักของสวนเนื้อหาวิทยานิพนธ บทที่ 1 บทนํา บทที่ 2 ที่ตั้งและความสําคัญของโครงการ บทที่ 3 การศึกษาความเปนไปไดของโครงการ บทที่ 4 กรณีศึกษา


25

บทที่ บทที่ บทที่ บทที่ บทที่

5 6 7 8 9

ขอมูลและการวิเคราะหขอมูลของโครงการ แนวความคิดในการออกแบบ รายละเอียดโครงการออกแบบ ผลงานการออกแบบ บทสรุปและขอเสนอแนะ

สวนการเพิ่มเติมหัวขอที่คิดวาสําคัญ และการแบงหัวขอยอยจะเปนอยางไรนั้นขึ้นอยูกับเทคนิค ในการเขียนของแตละบุคคล ขอใหปรึกษาอาจารยที่ปรึกษาและเรียงลําดับใหเหมาะสมเทานั้น • รายละเอียดในแตละหัวขอของเนื้อหาวิทยานิพนธ บทที่ 1 บทนํา มีความยาวประมาณ 4-5 หนา สวนใหญจะประกอบไปดวย 1) ความเปนมาของโครงการและเจาของโครงการ: ควรแสดงขอมูลหลักฐานอยาง นอย 4 ประการ ประกอบดวย - แนะนําสภาพที่เปนประเด็นปญหาในอดีต ปจจุบัน และแนวโนมใน อนาคต - กล า วถึ ง เรื่ อ งที่ เ ป น จุ ด สนใจของการค น คว า หรื อ ข อ มู ล จู ง ใจในการ คนควา หรือมูลเหตุจูงใจในการคนควา แนวคิด และ/หรือ ทฤษฎีที่ เกี่ยวของ ที่จะนําไปสูการออกแบบ (โดยยอ) - ผลการวิจัยของผูอื่นที่เกี่ยวของกับประเด็นในการศึกษา (ถามี) - สถานที่ตั้งของโครงการ (โดยยอ) หมายเหตุ จากขอมูลทั้ง 4 ประการนั้นควรสามารถสรุปประโยชนของการทําวิทยานิพนธได ในตอนทายของบทนํา 2) เหตุผลในการเลือกโครงการ: บอกความนาสนใจของพื้นที่ ความนาสนใจของ ประเด็นปญหา ทําไมจึงเลือกทําวิทยานิพนธโครงการนี้ 3) วัตถุประสงค: แบงเปน - วัตถุประสงคของโครงการ: โครงการนี้มีประโยชนใชสอย (Function) อยางไร ตอบสนองตอกลุมเปาหมายใด - วัตถุประสงคของการศึกษา: ตองการศึกษาใหบรรลุวัตถุประสงคใด


26

4) ขอบเขตของการศึกษา: เปนการขีดลอมตัวปญหาใหแคบเขามา โดยการระบุให ชัดเจนวาศึกษาเรื่องใดบาง ขอมูลตางๆที่จะเกี่ยวของกับโครงการที่จะตองทําการศึกษามีอะไรบาง 5) ขั้นตอนและวิธีการดําเนินการศึกษา: กลาวโดยยอวาจะทําอะไรบาง เปนขั้นตอน อยางไร 6) ประโยชนที่จะไดรับ: เแบงเปน 6.1) ประโยชนที่จะไดรับจากโครงการ 6.2) ประโยชนที่จะไดรับจากการศึกษา: มักจะกลาวถึง - จะไดพบความรูอะไรใหมๆบางหรือไดขอมูลสนับสนุนความรู เดิมอยางไรบาง - จะนําไปใชแกปญหา หรือเปนแนวทางในการแกปญหาอะไร และอยางไรบาง - จะเปนตัวอยางและเปนแนวทางในการคนควาวิจัยตอไปอยางไร จุดบกพรองที่มักพบ ในการเขียนภูมิหลัง หรือบทนํา 1) ใชวิธีตัดตอ นําเอาคํากลาวของบุคคลตางๆ มาวางเรียงตอๆกันไปตามลําดับ (พบทั่วไปในสวนตางๆของรายงานดวย) 2) เขียนบทนํากวางเกินไป ไมนาสนใจ 3) ยกคํากลาวหรือผลวิจัยที่เกี่ยวของที่ลาสมัย 4) อางอิงเรื่องราวที่ไมเปนที่ยอมรับหรือคิดเอาเองมาเปนหลักฐาน 5) การอางสถานการณของตางประเทศมาใชกับสถานการณของประเทศไทย 6) การใชภาษาไมเหมาะสม บทที่ 2 ที่ตั้งและความสําคัญของโครงการ โดยทั่วไปจะประกอบดวย 1) ที่ตั้งของโครงการ ควรมีขอมูลตอไปนี้ - การบอกขนาดของที่ตั้ง พรอมรายละเอียด - อาณาเขตติดตอ - การเขาถึงพื้นที่ รายละเอียดของถนนทางเขา ระยะทาง และระยะเวลา ในการเดินทางโดยยานพาหนะตางๆ


27

(Linkage)

-

การเชื่ อ มโยงระหว่ า งที่ ตั้ ง ของโครงการกั บ สถานที่ ที่ สั ม พั น ธ์ กั น

- แผนที่โครงการระดับ ภูมิภาคและระดับ พื้นที่ แสดงที่ตั้งของโครงการ และสภาพแวดล้อมของโครงการ - ภาพถ่ายสภาพพื้นที่โดยทั่วไปของโครงการ - ความสาคัญของโครงการในด้านต่างๆ รวมถึงความสาคัญของการจัดทา โครงการออกแบบปรับปรุงภูมิสถาปัตยกรรม จุดบกพร่องที่มักพบ 1) การเรียบเรียงข้อมูลสับสนขาดการต่อเนื่อง 2) บอกรายละเอียดน้อย ไม่ครบถ้วน เช่น ขาดการแสดงสภาพแวดล้อม โดยรอบ และอาณาเขตติดต่อ ขาดบทบาทและความสาคัญของโครงการ ขาดการแสดงความเชื่อ มโยงของ โครงการและสถานที่สาคัญที่สัมพันธ์กัน เป็นต้น 3) แผนที่ไม่ชัดเจน อาณาเขตที่ตั้งไม่ชัดเจน บทที่ 3 การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ โดยทั่วไปจะประกอบด้วย 1) การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการทางด้านเศรษฐศาสตร์ จะทาการศึกษาว่า ประโยชน์ในด้านต่างๆที่จะได้รับจากโครงการนั้นคุ้มค่าในการจัดทาโครงการหรือไม่ เมื่อเปรียบเทียบ จากทรัพยากรที่ต้องใช้ไป ทั้งที่มีอยู่เดิมและต้องจัดหาเพิ่มเติม เพื่อนาไปใช้ในการดาเนินโครงการให้ เกิดประโยชน์สูงสุด มีรายละเอียดประกอบด้วย - ความสาคัญของโครงการต่อเศรษฐกิจส่วนรวม ทั้งในด้านยุทธศาสตร์ และความเร่งด่วนต่อภาคเศรษฐกิจส่วนรวม - การประเมินผลได้ผลเสียเชิงเศรษฐศาสตร์ อาจเป็นตัวเงินหรือไม่ใช่ตัว เงิน 2) การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการด้านการตลาด จะทาการศึกษากลุ่มลูกค้า หรือผู้ใช้ที่เป็นเป้าหมายหลักของโครงการว่าคือใคร รูปแบบการพัฒนาโครงการของเราจะสอดคล้อง กับความต้องการของกลุ่มผู้ใช้เป้าหมายอย่างไร 3) การศึกษาความเป็นไปได้ทางด้านการเงิน : กล่าวถึงงบประมาณที่ต้องใช้ในการ ลงทุน แหล่งที่มาของเงินทุน ความคุ้มของการลงทุน


28

4) การศึกษาความเปนไปไดดานการบริหารและการจัดการ: กลาวถึงหลักของการ บริหารงานของโครงการโดยยอ ที่มาของบุคลากรในดานตางๆของโครงการ 5) การศึกษาความเปนไปไดทางดานเทคนิค: กลาวโดยยอถึงความเปนไปไดในการ กอสรางโครงการ ความพรอมทางดานทรัพยากร และเทคโนโลยีที่เกี่ยวของ นอกจากนี้แลวอาจมีการศึกษาถึงความเปนไปไดในดานอื่นๆอีกตามความจําเปนของ แตละโครงการ หมายเหตุ โดยทั่วไปแลว การเขียนหัวขอการศึกษาความเปนไปไดในแตละหัวขอจะ มีลักษณะกระทัดรัด มีขอสนับสนุนพอสมควร ทั้งนี้การศึกษาความเปนไปไดอยางจริงจัง จะเปนงาน ใหญที่ใชระยะเวลา ขอมูล และการศึกษาเปนเวลานาน ซึ่งไมอยูในระเบียบความตองการของการทํา วิทยานิพนธระดับปริญญาตรีนี้ จุดบกพรองที่มักพบ ในการเขียนการศึกษาความเปนไปไดของโครงการ 1) เนื้อหาเปนการบอกขอมูลที่มีอยูเฉยๆ แตไมไดบอกวามีผลตอความ เปนไปไดของ โครงการอยางไร 2) เขียนสั้นเกินไปขาดเหตุผลสนับสนุนที่สมควร ขาดความนาเชื่อถือ 3) แบงหัวขอซ้ําซอน แมจะใชชื่อหัวขอตางกันแตเนื้อหาซ้ํากัน 4) ไมไดแยกประเด็นในการศึกษากลาวโดยรวมไปเลย ทําใหผูอานสับสน 5) นําเนื้อหาที่ไมเกี่ยวข องมาใส เชน คั ดลอกขอมูลสถานที่ทองเที่ยวของแต ล ะ จังหวั ดมาใสเปนเนื้ อหาของการศึ กษาความเปนไปไดในด านการทอ งเที่ ยว ซึ่งเป นขอ มูล ที่ไม ได วิเคราะห กลั่นกรอง และสรุปประเด็น นอกจากนี้ยังผิดจริยธรรมจากการที่ไปคัดลอกมาโดยไมอางอิง อีกดวย บทที่ 4 กรณีศึกษา แตละโครงการจะยกกรณีศึกษา 3 กรณี ทั้งในประเทศและตางประเทศ ซึ่งโดยทั่วไปจะประกอบดวย 1) ชื่อกรณีศึกษา 2) ขอมูลพื้นฐานของโครงการกรณีศึกษา เชน ที่ตั้ง ขนาดของพื้นที่ วัตถุประสงค ของโครงการ เจาของโครงการ ผูออกแบบ แนวความคิดในการออกแบบ เปนตน ควรมีแผนผัง และรูปภาพประกอบ


29

3) การวิเคราะหโครงการกรณีศึกษา เชน การแบงพื้นที่การใชที่ดินประเภทตางๆ (Landuse Zoning) ระบบการสัญจรภายในพื้นที่โครงการ พืชพรรณ สถาปตยกรรม รายละเอียดงาน ภูมิทัศน เปนตน ควรมีแผนผังและรูปภาพประกอบ 4) การสรุปขอดีและขอเสียของโครงการกรณีศึกษา 5) ความสัมพันธของกรณีศึกษากับโครงการออกแบบ ในดานตางๆที่ไดวิเคราะหมา และจะนําไปใชประโยชนในงานออกแบบโครงการของนักศึกษาอยางไร จุดบกพรองที่มักพบ ในการเขียนกรณีศึกษา 1) การเลื อ กกรณี ศึ ก ษาที่ อ ยู ใ กล เ คี ย งกั น มี ลั ก ษณะที่ เ หมื อ นกั น ขาดตั ว อย า งที่ หลากหลาย 2) ขาดแผนผังของโครงการ ยากแกการเขาใจภาพรวมของโครงการ 3) กรณีศึกษาขาดความสัมพันธกับโครงการออกแบบ 4) ขาดการวิเคราะหขอดีขอเสีย 5) เขียนไมกระชับ ไมชัดเจน ขาดรายละเอียดที่สําคัญ อางอิงไมได บทที่ 5 ขอมูลและการวิเคราะหขอมูลของโครงการ (มีทั้งบรรยาย ตาราง กราฟ และ แผนภูมิ) ใหนําเอาเนื้อหาที่เคยนําเสนอตอคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธไปแลว มาเรียบเรียง โดยทั่วไปจะประกอบดวย 1) การวิเคราะหปจจัยทางธรรมชาติของพื้นที่โครงการ ( Natural Factor Analysis) - ลักษณะภูมิประเทศ - ลักษณะการระบายน้ํา - ลักษณะของแหลงน้ํา พื้นที่รับน้ํา - ลักษณะทางธรณีวิทยา - พืชพรรณ - ลักษณะของสัตวปา สิ่งมีชีวิต ระบบนิเวศวิทยา - ลักษณะภูมิอากาศในระดับพื้นที่ 2) การวิเคราะหขอมูลทางวัฒนธรรม และสิ่งที่มนุษยสราง (Cultural and Manmade Factor Analysis) เชน - การใชประโยชนที่ดินเดิม ทั้งภายในโครงการและพื้นที่โดยรอบ)


30

- ระบบสัญจร แสดงลักษณะทางสัญจรดิมภายในพื้นที่ และการเชื่อมโยง กับระบบทางสัญจรภายนอก แสดงแผนผังและรูปภาพประกอบ - อาคารสิ่งปลูกสร้างเดิม - กิจกรรมเดิมในพื้นที่ - ระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ - ข้อมูลชุมชน ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (สรุปย่อเฉพาะสาระที่ ส าคั ญ และมี ผ ลต่ อ การออกแบบโครงการ ยกตั ว อย่ า งเช่ น ข้ อ มู ล ประวัติศาสตร์ที่สาคัญ ข้อ มูลประชากร ชุมชนในพื้นที่ และข้อมูลด้าน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมในพื้นที่ เป็นต้น 3) การวิเคราะห์ข้อมูลด้านสุนทรียภาพ (Aesthetic Factor Analysis) - ทัศนียภาพและมุมมอง - มลภาวะด้านต่าง ๆ - จินตภาพ (เฉพาะโครงการที่เกี่ยวข้องกับชุมชนเมือง ) 4) การวิเคราะห์ข้อมูลผู้ใช้โครงการ (User Factor Analysis) - กลุ่มผู้ใช้สอยคือใคร มีอยู่เดิมหรือต้องคาดการณ์ในอนาคต - ลั ก ษณะผู้ ใ ช้ ส อย พฤติ ก รรม และความต้ อ งการกิ จ กรรม (Users & Activities) ยกตัวอย่างเช่น

5) การวิ เคราะห์ ข้ อมู ลเฉพาะด้า นของแต่ล ะโครงการ (Special Data Analysis)

- ข้อมูลกฎหมายที่มีผลต่อการออกแบบ หรือ ข้อมูลนโยบายสาคัญของรัฐ (แสดงเป็นภาพกราฟฟิค) - ข้อมูลพิเศษตามลักษณะเฉพาะของแต่ละโครงการ เช่น ข้อมูลทางเทคนิค ต่างๆ 6) การสังเคราะห์พื้นที่ และการจัดทารายละเอียดโครงการออกแบบ (Site Synthesis and Programming) โดยทั่วไปประกอบด้วย - Site Characteristics and Development Potential (การประมวล คุณลักษณะของพื้ นที่และแสดงศักยภาพในการพัฒนาที่อาจเป็นไปได้ ตามตามวัตถุประสงค์ด้านต่าง ๆ ของโครงการ อย่างกว้าง ๆ ) - Program Development And Requirements (อธิบายการแบ่งพื้นที่ใช้สอย กิจกรรมที่มี ขนาดพื้นที่เป็นตารางเมตร และลักษณะของผู้ใช้ในแต่ละ ส่วน)


31

จุดบกพร่องที่มักพบ ในการเขียนข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลของโครงการ 1) การแยกหัวข้อไม่เหมาะสม เช่น สับสน ซ้าซ้อน ไม่ชัดเจน ไม่ละเอียดพอหรือ บ้างก็น้อยเกินไป 2) ขาดการใช้กราฟิก แผนภูมิ หรือกราฟ ช่วยในการวิเคราะห์ ยากต่อการทาความ เข้าใจ 3) เรียบเรียงสับสน ขาดความต่อเนื่องระหว่างข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการนาไปใช้ในการออกแบบ 4) การคัดลอกข้อมูลมา ไม่ได้เรียบเรียงด้วยตัวเอง ทาให้ขาดความต่อเนื่อง และยัง เป็นการผิดจรรยาบรรณอีกด้วย 5) ใช้ข้อมูลที่ขาดความน่าเชื่อถือ บทที่ 6 แนวความคิดในการออกแบบ โดยมากจะประกอบไปด้วย 1) แนวความคิดในการออกแบบโดยรวม (Main Concept) จะกล่าวถึงทฤษฎี หรือ ปรัชญา หรือแนวคิด ที่มีอิทธิพลต่อแนวทางในการออกแบบโดยรวมของโครงการ จากนั้นจึงกล่าว แยกย่อยออกเป็นแนวความคิดย่อยๆต่อไป เช่น 2) แนวคิดในการจัดกิจกรรมต่างๆในพื้นที่ และช่วงเวลาที่ใช้ 3) แนวความคิดในการแบ่งเขตพื้นที่ใช้สอย (Zoning Concept) 4) แนวคิดในการวางระบบทางสัญจรภายในพื้นที่โครงการ (Circulation Concept) 5) การแสดงความสั ม พั น ธ์ ข องพื้ น ที่ ใ ช้ ส อยโดยใช้ แ ผนภู มิ ฟ องสบู่ (Bubble Diagram) หรือ แผนภูมิ แสดงความสัม พันธ์ ของพื้น ที่ใช้ สอยกับ พื้น ที่โครงการ (Site Related Functional Diagram) 6) การออกแบบตามแนวคิดในการจัดพื้นที่ใช้สอย (Conceptual Design) 7) แนวความคิดในการออกแบบวางผังพืชพรรณ (Planting Concept) 8) ฯลฯ ที่กล่าวมานั้นเป็นเพียงตัวอย่างเท่านั้น ในแต่ละโครงการจะมีเทคนิคในการเขียนที่แตกต่างกัน ไป แล้วแต่ผู้ออกแบบจะเห็นสมควรว่าอะไรสาคัญสาหรับโครงการของตน แต่ข้อสาคัญคือจะต้อ ง อธิบายให้เป็นระบบ ให้เห็นภาพรวมก่อนแล้วจึงอธิบายในรายละเอียดแต่ละประเด็น


32

จุดบกพรองที่มักพบ ในการเขียนแนวความคิดในการออกแบบ 1) ไมเขียนแนวความคิดโดยรวม เขียนแนวความคิดแตกยอยเปนสวนๆ ไมเห็น ภาพรวม 2) เขียนแนวความคิดไมเปนระบบ การลําดับหัวขอไมเปนระบบระเบียบ แลวแตจะ นึกอะไรออก แกปญหาเปนจุดๆไป 3) แบงแยกหัวขอซ้ําซอน แมวาจะใชชื่อไมเหมือนกัน แตเนื้อหาเหมือนกัน 4) ขาดการแสดงแนวคิ ด ในการจั ด การสภาพแวดล อ มทางกายภาพที่ มี อ ยู เ ดิ ม ใน โครงการที่ไดวิเคราะหมา บทที่ 7 รายละเอียดโครงการออกแบบ มีทั้งแผนผัง รูปภาพ และตารางสถิติ ประกอบการอธิบาย โดยทั่วไปประกอบดวย 1) รายละเอียดของการออกแบบและจัดระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ เชน ถนน ประปา ไฟฟา ระบายน้ํา แสงสวาง เปนตน 2) รายละเอียดประเภทและลักษณะของอาคารในโครงการ 3) รายละเอียดของเทคนิคในการกอสรางพิเศษ (ถามี) ในโครงการ 4) รายละเอียดของการปลูกตนไมในโครงการ จุดบกพรองที่มักพบ ในการเขียนรายละเอียดโครงการออกแบบ 1) เลือกเขียนรายละเอียดที่ไมคอยเกี่ยวของ และไมมีความสําคัญตอโครงการ 2) มักจะลอกตอๆกันมา ไมใหความสําคัญกับบทนี้ 3) มักไมเขียนรายละเอียดเกี่ยวกับระบบสาธารณูปโภค และเทคนิคพิเศษตางๆที่ เกี่ยวของ 4) ควรเขียนสรุปไวตอนทายของแตละหัวขอดวย (หรือจะเขียนรวมไวทายสุดก็ได) บทที่ 8 ผลงานการออกแบบ โดยทั่วไปจะนําเสนอในกระดาษ A0 หรือแผนตอของ A0 จํานวนประมาณ 12-15 แผน มักจะมีสวนประกอบและการเรียงลําดับดังนี้ 1) INTRODUCTION -

ความเปนมาของโครงการ

- วัตถุประสงคของโครงการ - ขอมูลโดยสังเขปของโครงการ - ที่ต้งั ของโครงการและอาณาเขตติดตอ


33

2) SITE -

3)

4)

5) 6)

การเขาถึงพื้นที่โครงการ การเชื่อมโยงของพื้นที่โครงการกับพื้นที่สําคัญอื่นๆ (Linkage) ทัศนียภาพโดยทั่วไปของโครงการ ANALYSIS การวิเคราะหปจจัยทางธรรมชาติของพื้นที่โครงการ ( Natural Factor Analysis) - การวิเคราะหขอมูลทางวัฒนธรรม และสิ่งที่มนุษยสราง (Cultural and Manmade Factor Analysis) - การวิเคราะหขอมูลดานสุนทรียภาพ (Aesthetic Factor Analysis) - การวิเคราะหขอมูลผูใชโครงการ (User Factor Analysis) - การวิเคราะหขอมูลเฉพาะดานของแตละโครงการ (Special Data Analysis) SITE SYNTHESIS AND PROGRAMMING - Site Characteristics and Development Potential - Program Development And Requirements DESIGN CONCEPT - Main Concept - Zoning Concept - แผนผังแสดงแนวความคิดอื่นๆ แสดงเฉพาะที่เห็นวาสําคัญตอแตละ โครงการ (แตกตางกันในแตละโครงการ) เชน Circulation Concept. Openspace Concept. Planting Concept เปนตน - Functional Diagram แสดงเฉพาะเทาที่นักศึกษาเห็นวาสําคัญตอการ นํ า เสนอแนวความคิ ด มี ห ลายเทคนิ ค ในการนํ า เสนอ เช น Bubble Diagram และ/หรือ Site Related Functional Diagram - Conceptual Plan แสดงแนวความคิดในการออกแบบทั้งหมดในภาพรวม เปนภาพกราฟกในลักษณะของแผนผังโครงการ MASTER PLAN DETAIL DESIGN แสดงอยางนอย 4 บริเวณ ในแตละบริเวณประกอบดวย - Site Plan หรือ Detail plan - Sections - Perspectives


34

- Typical Details - Key Plan - ฯลฯ จุดบกพรองที่มักพบ ในการนําเสนอผลงานออกแบบ 1) การวิเคราะหขอมูล - การวิเคราะหขอมูลไมครบถวน - แผนผังแสดงการวิเคราะหมีขนาดเล็กเกินไป มองไมเห็น รายละเอียด - การจัดลําดับสับสน - ขาดการวิเคราะหขอมูลผูใชและกิจกรรม 2) การสังเคราะหขอมูล - ไมนําผลการวิเคราะหขอมูลมาใชในการสังเคราะหขอมูล - แผนผังที่ใชในการแสดงการสังเคราะหพื้นที่นั้น ไมแสดงลักษณะทาง กายภาพพื้นฐาน เชน ไมแสดงเสนระดับชั้นความสูง ไมแสดงถนนและ แหลงน้ําเดิมและลํกษณะพืชพรรณเดิมในพื้นที่ เพียงแสดงแตขอบเขต พื้นที่เทานั้น ทําใหไมสามารถสื่อความหมายได - สวนมากจะแสดงขอมูลเปนตารางและตัวอักษรจํานวนมาก ไมสามารถ สื่อความหมายไดดีในการนําเสนอ ควรแสดงในลักษณะกราฟกใหมาก ขึ้น หากมีขอมูลเปนตัวอักษรมาก เชนตารางตางๆก็สามารถถายสําเนา ขนาดกระดาษ A4 แจกใหคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธแทนได 3) ผลงานออกแบบขั้นสุดทาย - ขาดความสมบูรณของงาน เชน o ไมมี Keyplans ในสวน Detail Design o ขาดการระบุ ช นิ ด ของพื ช พรรณให ชั ด เจนทั้ ง ชื่ อ สามั ญ และชื่ อ วิทยาศาสตร o ขาด Typical Detail เขียน Dimension ไมครบถวน เปนตน - ปญหาในการนําเสนองาน (Graphic Presentation) เชน o การหันทิศของแผนผังในสวนตางๆของงานไมตรงกัน o การนํ า เสนอภาพพื ช พรรณต า งๆทั้ ง ในแผนผั ง ภาพตั ด และ ทัศนียภาพ ที่ไมสื่อถึงชนิดของพรรณไมนั้นๆ o การละเมิดลิขสิทธิ์โดยการคัดลอกงานกราฟกของผูอื่นมาใช


35

- งานออกแบบ o การออกแบบมากเกินไป หรือนอยเกินไป (OVER OR UNDER DESIGN) o การออกแบบไมตอบสนองกับแนวความคิด o ไมนําเอาผลการวิเคราะหขอมูลมาใชในการออกแบบ o ไมเอาใจใสตอการออกแบบวางผังพืชพรรณ o การออกแบบ DETAIL PLANS ไมละเอียดเหมือนเอา MASTER PLAN มาขยายเฉยๆ บทที่ 9 บทสรุปและขอเสนอแนะ กลาวโดยสรุปยอมากถึง 1) เกริ่น นํ าโดยเริ่มจากที่ มาของโครงการ ที่ตั้ งโครงการ และลั กษณะของพื้น ที่ โครงการ เจาของโครงการ 2) วัตถุประสงคของโครงการ 3) การเก็บรวบรวมขอมูล และการวิเคราะหขอมูล 4) แนวความคิดหลักของการออกแบบ และการออกแบบโครงการ 5) ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 6) ขอเสนอแนะตอผูที่สนใจจะทําโครงการที่มีลักษณะใกลเคียงกัน จุดบกพรอง ที่มักพบในการเขียนบทสรุปและขอเสนอแนะ 1) บทสรุปไมสะทอนถึงวัตถุประสงคของการศึกษาอยางชัดเจน 2) เขียนเยิ่นเยอ ในสวนที่ไมนาสนใจและไมสําคัญ ใชขอความที่ซ้ํากันมากเกินไป โดยไมจําเปน 3) เขียนไมครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด อานไมรูเรื่อง 3. สรุปโครงสรางสวนทายเรื่องของรายงานวิทยานิพนธ • ลําดับหัวขอหลักของสวนทายเรื่อง 1) บรรณานุกรม 2) ภาคผนวก 3) ประวัตินักศึกษา


36

• รายละเอียดในแตละหัวขอของสวนทายเรื่องวิทยานิพนธ 1) การเขียนเอกสารอางอิงและบรรณานุกรม มีแบบแผนและหลักเกณฑตางกันไป ขึ้นอยูกับประเภทของเอกสาร เชน หนังสือ บทความในหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ สารานุกรม วิทยานิพนธ จุลสาร เอกสารสําเนา การสัมภาษณ ฯลฯ ผูเขียนจําเปนตองเลือกใชใหเหมาะสม และใช เ ขี ย นอ า งอิ ง ตามรู ป แบบการเขี ย นรายงานทั่ ว ไป สํ า หรั บ การเขี ย นเอกสารอ า งอิ ง และ บรรณานุกรมของรายงานวิทยานิพนธนี้ ใหยึดหลักเชนเดียวกับหลักเกณฑการเขียนเอกสารอางอิงและ บรรณานุกรมของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแมโจ มีรายละเอียดดังที่ปรากฏในภาคผนวก ก. 2) ภาคผนวก ให ขึ้ น หั ว ข อ ภาคผนวกอยู ก ลางหน า กระดาษ ในกรณี ที่ มี ห ลาย ภาคผนวก ใหแบงเปน ภาคผนวก ก ภาคผนวก ข ภาคผนวก ค ตามลําดับ โดยขึ้นหนาใหมในแตละ ภาคผนวก บรรทัดตอมาถัดจากหัวขอใหพิมพชื่อภาคผนวก แลวจึงเวนบรรทัดและยอหนาเพื่อพิมพ หัวขอยอยหรือเนื้อหาตอไป ประวัตินักศึกษาจะอยูลําดับถัดไปจากภาคผนวก โดยหัวขอ 3) ประวัตินักศึกษา ประวัตินักศึกษาอยูกลางหนากระดาษ เวน 1 บรรทัด แลวจึงยอหนาขึ้นเนื้อหาของประวัตินักศึกษา โดยยอ กลาวถึงชื่อ ภูมิลําเนา ประวัติการศึกษา ที่อยูปจจุบันที่ติดตอได เปนตน มีความยาวไมเกิน หนึ่งหนา ใหนับหนารวมดวย แตไมตองลงเลขนับหนาแตอยางใด

วิทยานิพนธที่ดีไมไดอยูที่ความหนาของรายงาน หรือจํานวนแผนของงานออกแบบ แตอยูท ี่เนื้อหาที่ดีและความถูกตองของวิทยานิพนธนั้น


37

ภาคผนวก ก ขั้นตอนการดําเนินงานวิทยานิพนธ


38


39

ตารางการดําเนินงานวิทยานิพนธสาขาวิชาภูมิสถาปตยกรรม สัปดาหที่ 1 เดือน พ.ย. เดือน ธ.ค. เดือน ม.ค.

เดือน มี.ค. เดือน เม.ย. เดือน พ.ค. เดือน มิ.ย. เดือน ก.ค.

ครั้งที่ 1

เดือน ต.ค.

สัปดาหที่ 4

หาขอมูลโครงการ

ยื่นเสนอหัวขอ ครั้ง ที่ 2นําเสนอ Intro

จัดทําโครงรางวิทยานิพนธโครงการ

ครั้งที่ 3 สงโครงราง

ดําเนินการจัดทําวิทยานิพนธ

ที่ผานการอนุมัติแลว ครั้งที่ 4

ดําเนินการจัดทําวิทยานิพนธ

SiteAnalysis&Synthesis ครั้งที่ 5 นําเสนอ

บางคนปรับแก

Concept&Preliminary

Conceptual Design

ครั้งที่ 6 นําเสนอ

ดําเนินการจัดทําวิทยานิพนธ

Design Development ครั้งที่ 7 ปรับแก

ดําเนินการจัดทําวิทยานิพนธ

Design Development ครั้งที่ 8 สง

ดําเนินการจัดทําวิทยานิพนธ

Draft Final Report

เดือน ส.ค. เดือน ก.ย.

สัปดาหที่ 3

คนควาขอมูลเพื่อเตรียมเสนอหัวขอวิทยานิพนธ

duction&Analysis&โครงราง

เดือน ก.พ.

สัปดาหที่ 2

ดําเนินการจัดทําวิทยานิพนธ ครั้งที่ 9 นําเสนอ FinalDesign

ทํารูปเลมวิทยานิพนธ

สงเลมวิทยานิพนธ

ครั้งที่ 10

เวียนใหคณะกรรมการ

สง Book + CD

จัดทําหนังสือ รวมเลมวิทยานิพนธ และจัดแสดงผลงานวิทยานิพนธของชั้นป


ขั้นตอนการดําเนินงานวิทยานิพนธ

36

นักศึกษานําเสนอตอคณะกรรมการประจํา หลักสูตร นักศึกษานําเสนอตอคณะกรรมการที่ปรึกษา วิทยานิพนธ นักศึกษานําเสนอตอประธานที่ปรึกษา วิทยานิพนธ

40


41

ภาคผนวก ข แบบฟอรมคํารองเสนอหัวขอวิทยานิพนธ


42


43

คํารองเสนอหัวขอวิทยานิพนธปริญญาภูมิสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจ ขาพเจา นาย/นางสาว......................................................................รหัส............................................... นักศึกษาชั้นปที่...............สาขาวิชาภูมิสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม ศึกษามาแลวจํานวน.................ภาคการศึกษา จํานวนหนวยกิตสะสม.............หนวยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ไดเทากับ......................... มีความประสงคจะขอทําวิทยานิพนธระดับปริญญาภูมิสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมี รายละเอียดดังตอไปนี้ 1. หัวขอเรื่อง (ภาษาไทย).................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 2. หัวขอเรื่อง (ภาษาอังกฤษ)................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................... 3. ความเปนมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................


44

4. วัตถุประสงค 4.1 วัตถุประสงคของโครงการ .......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 4.2 วัตถุประสงคหรือประเด็นปญหาของการศึกษา .......................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... 5. สถานที่ตั้งของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ตั้งโครงการ (แสดงแผนผังที่ตั้งโครงการโดย สังเขปขางลางนี้ พรอมแนบแผนผังโครงการที่ชัดเจนและ/หรือภาพถายทางอากาศไวตอนทายของคํารอง)


45

................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................

.............................................................................................................................................................................. 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา ................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................... โดยขาพเจายินดีที่จะปฏิบัติตามหลักและวิธีดําเนินงานวิทยานิพนธ ของคณะ สถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจทุกประการ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


46

ความเห็นของคณะกรรมการประจําหลักสูตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ความเห็นของประธานกรรมการประจําหลักสูตร อนุมัติใหดําเนินงานวิทยานิพนธตามหัวขอที่เสนอมาได (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


ภาคผนวก ค

แบบฟอรมการพิมพโครงรางวิทยานิพนธ



โครงร่างวิทยานิพนธ์ เรื่อง

โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสวนสาธารณะ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ. เชียงใหม่ LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN AND PLANNING PROJECT OF MAEJO UNIVERSITY PARK, CHIANGMAI โดย ขยัน รักการเรียน รหัส 50100011

คณะกรรมการที่ปรึกษา รองศาสตราจารย์ ดร. ........................ อาจารย์.............................................. ผู้ช่วยศาสตราจารย์............................... อาจารย์................................................ อาจารย์................................................

ประธานกรรมการทีป่ รึกษา กรรมการที่ปรึกษาพิเศษ(ถ้ามี) กรรมการที่ปรึกษา กรรมการที่ปรึกษา กรรมการที่ปรึกษา

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปตยกรรมสวนสาธารณะ มหาวิทยาลัยแมโจ จ. เชียงใหม LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN AND PLANNING PROJECT OF MAEJO UNIVERSITY PARK, CHIANGMAI

โดย ขยัน รักการเรียน รหัส 50100011

โครงรางวิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของความสมบูรณของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาภูมิสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจ พ.ศ. 25.. ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยแมโจ


ใบอนุมัติโครงร่างวิทยานิพนธ์ เรื่อง

โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสวนสาธารณะ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จ. เชียงใหม่ LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN AND PLANNING PROJECT OF MAEJO UNIVERSITY PARK, CHIANGMAI ผู้จัดทา: เสนอต่อ:

ภาคการศึกษา: ได้รับอนุมัติโดย:

ขยัน รักการเรียน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม เพื่อขออนุมัติจัดทา วิทยานิพนธ์ ปริญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิ สถาปัตยกรรม 1/25….

คณะกรรมการที่ปรึกษา ประธานกรรมการ รองศาสตราจารย์ ดร. .............................. กรรมการพิเศษ (ถ้ามี) อาจารย์.................................................... กรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์.................................. กรรมการ อาจารย์.................................................... กรรมการ อาจารย์.....................................................

ลายเซ็น วัน/เดือน/ปี .............................. ...../....../.... .............................. ...../....../.... .............................. ...../....../.... .............................. ...../....../.... .............................. ...../....../....

………………………………………. (…………………………….) ประธานกรรมการประจาหลักสูตร สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม ……./………./……..


สารบัญเรื่อง สารบัญเรื่อง สารบัญแผนที่ สารบัญภาพ 1. ความเปนมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ 2. สถานที่ตั้งของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ตั้งโครงการ 3. วัตถุประสงค 3.1 วัตถุประสงคของโครงการ 3.2 วัตถุประสงคหรือประเด็นปญหาของการศึกษา 4. ขอบเขตของการศึกษา 4.1 ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 4.2 ขอบเขตของเนื้อหาที่จะศึกษา 5. ขั้นตอนและวิธีการดําเนินการศึกษา 6. ประโยชนที่จะไดรับจากการศึกษา 7. ขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับที่ตั้งโครงการ 7.1 การเขาถึงพื้นที่โครงการ 7.2 สภาพพื้นที่โดยรอบโครงการ 7.3 สภาพการใชที่ดินในปจจุบันภายในพื้นที่โครงการ บรรณานุกรม

หนา


แผนที่ (ภาพที่) 1 2 3

สารบัญแผนที่ (ภาพ)

……(ชื่อแผนที่/ภาพ)………………… …………………………………. ………………………………….

หนา


54

โครงรางวิทยานิพนธ

เรื่อง โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปตยกรรมสวนสาธารณะ มหาวิทยาลัยแมโจ จ. เชียงใหม 1. ความเปนมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …................................................................................................................................................................ .................................................................................................................................................................... 2. สถานที่ตั้งของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ตั้งโครงการ ………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… 3. วัตถุประสงค 3.1 วัตถุประสงคของโครงการ ………………………………………………………………………………………… .………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… 3.2 วัตถุประสงคหรือประเด็นปญหาของการศึกษา ………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………


55

4. ขอบเขตของการศึกษา 4.1 ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา ………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………. …..……………………………………………………………………………………………………… 4.2 ขอบเขตของเนื้อหาที่จะศึกษา ……………………………………………………………………………………......... …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …….……………………………………………………………………………………………………... 5. ขั้นตอนและวิธีการดําเนินการศึกษา ………………………………………………………………………………………………… ….……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….. 6. ประโยชนที่จะไดรับจากการศึกษา ………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………....


56

7. ขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับที่ตั้งโครงการ 7.1 การเขาถึงพื้นที่โครงการ ………………………………………………………………………………………… .………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………... 7.2 สภาพพื้นที่โดยรอบโครงการ ………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………. 7.3 สภาพการใชที่ดินในปจจุบันภายในพื้นที่โครงการ ………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………..

บรรณานุกรม ผูแตง.//ปที่พิมพ.//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ (ถามี).//สถานที่พิมพ:/สํานักพิมพ. ปนแกว เหลืองอรามศรี. 2539. ภูมิปญญานิเวศวิทยาชนพื้นเมือง: ศึกษากรณีชุมชนกะเหรี่ยงใน ปาทุงใหญนเรศวร. กรุงเทพฯ: โครงการฟนฟูชีวิตและธรรมชาติ. Cohen, P. S. 1975. Modern Social Theory. London: Heinemann. หมายเหตุ เครื่องหมาย / ในรูปแบบหมายถึงเวนระยะ 1 ตัวอักษร


ภาคผนวก ง แบบฟอรมการพิมพรายงานฉบับสมบูรณ








64

สารบัญ หนา สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ สารบัญแผนที่ สารบัญกราฟและแผนภูมิ บทที่

1. บทนํา 1.1 …………………………. 1.2 ………………………… 2. ที่ตั้งและความสําคัญของโครงการ 2.1 …………………………. 2.2 ………………………… 3. การศึกษาความเปนไปไดของโครงการ 3.1 ……………………………. 3.2 …………………………….. 4. กรณีศึกษา 4.1 ……………………………. 4.2 …………………………… 5. ขอมูลและการวิเคราะหขอมูลของโครงการ 5.1 ………………………………. 5.2 ……………………………… 6. แนวความคิดในการออกแบบ 6.1 ……………………………… 6.2 …………………………….. 7. การศึกษารายละเอียดโครงการออกแบบ 7.1 ……………………………… 7.2 ……………………………….


65

สารบัญเรื่อง (ตอ) บทที่

หนา 8. ผลงานการออกแบบ 9. บทสรุปและขอเสนอแนะ

บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัติผูเขียน


66

สารบัญตาราง ตารางที่

หนา 1 ……(ชื่อตาราง)………………… 2 …………………………………. 3 ………………………………….

หมายเหตุ การจัดหนากระดาษสารบัญตาราง สารบัญภาพ สารบัญแผนที่ สารบัญกราฟและแผนภูมิ ใหใชแบบฟอรมเดียวกัน


ภาคผนวก จ

แบบฟอรมประเมินผลการนําเสนอวิทยานิพนธ













79

ภาคผนวก ฉ

แนวทางการประเมินผลขั้นสุดทาย


80


81

แนวทางประเมินผลขั้นสุดทายในรายวิชาวิทยานิพนธ แนวคิดหลัก 1. การประเมินใหมีการประเมินรวมครั้งเดียว 2 ภาคการศึกษา หัวขอการประเมินที่แบงนั้น ให เปนไปตามลําดับขั้นตอนการนําเสนอวิทยานิพนธดังแสดงในตารางขางลาง 2. ขั้นตอนการประเมินตัดเกรดปลายภาคมีดังนี้ (สอดคลองกับขั้นตอนการประเมินยอยในแตละ ครั้ง) 2.1 กําหนดคาน้ําหนักความสําคัญของแตละขั้นตอนที่จะนํามาประเมินเกรด 2.2 นําคะแนนการประเมินสรุปในขั้นสุดทายของแตละขั้นตอน (คา 0-5) มาคูณกับคา น้ําหนักของแตละขั้นตอนที่กําหนดไว 2.3 รวมผลที่ไดจากขอ 2.2 ของแตละขั้นตอนมาบวกกัน ไดเทาไหรแลวหารดวยผลรวม ของคาน้ําหนักทั้งหมด จะไดคาคะแนนประเมินอยูระหวาง 1-5 ตามเดิม 2.4 สรุปผลการประเมิน โดยใชชวงชั้นคะแนนเหมือนกับที่ใชประเมินในแตละขั้นตอน ยอยดังนี้ A=4.00-5.0 B+=3.50-3.99 B=3.00-3.49 C+=2.50-2.99 C=2.002.49 D+=1.50-1.99 D=1.00-1.49 F=0-0.99 3. ใหประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธในกลุมรวมกันพิจารณาอีกครั้ง วาจะปรับเกรด ขั้นสุดทายโดยอิงกลุมหรือไม (ใชในกรณีที่ผลคะแนนดูผิดปรกติ) เพื่อใหมีชวงคะแนนที่ เหมาะสม

ผูที่ไดรับผลคะแนนต่ํากวา C

ถือวาไมผานเกณฑมาตรฐานขั้นต่ํา จะตอง

ดําเนินการปรับปรุงแกไขตามคําแนะนําของคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ และยื่นเรื่อง ขอขึ้นสอบใหมภายใน 1 ภาคการศึกษา 4. สงผลคะแนนทั้งหมดใหคณะกรรมการประจําหลักสูตรพิจารณาในภาพรวมอีกครั้งหนึ่ง หมายเหตุ ดูตารางแสดงการคํานวณในหนาถัดไป


82

ตารางแสดงการคํานวณเพื่อประเมินผลขั้นสุดทายรายวิชาวิทยานิพนธ น้ําหนัก

0-5 0-5

1 2

0-5 0-10

0-5 0-5

1 1

0-5 0-5

0-5

2

0-10

(ข)

รวม (ก)X(ข)

sum

1. เสนอหัวขอโครงการวิทยานิพนธ (Thesis Topic) 2. นําเสนอขอมูลโครงการวิทยานิพนธ ขั้น Site Inventory and Analysis 3. โครงรางวิทยานิพนธ (Thesis Proposal) 4. นําเสนอขอมูลโครงการวิทยานิพนธ ขั้น Site Analysis & Synthesis, Concept ขั้นตน 5. นําเสนอโครงการวิทยานิพนธขั้น Conceptual & Preliminary Design 6. นําเสนอการพัฒนาการออกแบบโครงการวิทยานิพนธครั้งที่ 1 (Design Development 1) 7. นําเสนอการพัฒนาการออกแบบโครงการวิทยานิพนธครั้งที่ 2 (Design Development 2) 8. รางรายงานวิทยานิพนธฉบับสมบูรณ (Draft Thesis Report) 9. การสอบวิทยานิพนธขั้นสุดทาย (FINAL JULY) 10. รายงานวิทยานิพนธฉบับสมบูรณ (Final Thesis Report) รวม คะแนนสรุป = คะแนนรวมทัง้ หมด / คาน้ําหนักรวม (จ/ฉ)

คะแนน ประเมินยอย (ก)

sum

ขั้นตอนการนําเสนอวิทยานิพนธ

0-5

1

0-5

0-5

1

0-5

0-5 0-5 0-5

1 8 2 20 (จ)

0-5 0-40 0-10 0-100(ฉ) 0-5

A=4.00-5.0 B+=3.50-3.99 B=3.00-3.49 C+=2.50-2.99 C=2.00-2.49 D+=1.50-1.99 D=1.00-1.49 F=0-0.99

หมายเหตุ หลังจากคํานวณจนไดเกรดแลว ใหประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาในกลุมรวมกันพิจารณาอีก ครั้ง จะปรับเกรดขั้นสุดทายโดยอิงกลุมหรือไม (ใชในกรณีที่ผลคะแนนดูผิดปรกติ)


ภาคผนวก ช

แบบฟอรมคํารองทัว่ ไป



คณะสถาปตยกรรมศาสตรและ การออกแบบสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจ ตําบลหนองหาร อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม 50290 วันที่...........เดือน.....................................พ.ศ....................... เรียน รักษาการเลขานุการคณะสถาปตยกรรมศาสตรฯ ขาพเจา (นาย/นางสาว) ........................................................รหัส....................................................... สาขาวิชา................................................................ไดรับมอบหมายใหจัดทําโครงการ...................................................... .......................................................................................................................................................................................... เปนสวนหนึ่งของรายวิชา ภท/ภส..................ชื่อวิชา........................................................................................................ ซึ่งมีความจําเปนตองทําการสํารวจและคนควาขอมูลจากหนวยงานภายนอก จึงขอความกรุณาใหออกหนังสือขอความ อนุเคราะหขอมูลถึงบุคคลและหนวยงานตามรายชื่อตอไปนี้ 1. เรียน (ชื่อหรือตําแหนง)................................................................................................................ 2. เรียน............................................................................................................................................... 3. เรียน............................................................................................................................................... 4. เรียน............................................................................................................................................... 5. เรียน.............................................................................................................................................. 6. เรียน............................................................................................................................................... 7. เรียน............................................................................................................................................... 8. เรียน.............................................................................................................................................. 9. เรียน............................................................................................................................................... 10. เรียน............................................................................................................................................. จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาดําเนินการ (ลงนาม)........................................................... ผูขออนุมตั ิ (..................................................) ความเห็นของอาจารยผูมอบหมายงาน

ความเห็นของรักษาการเลขานุการคณะฯ

......................................................................

......................................................................

(ลงนาม)....................................................... (...............................................) อาจารยผูมอบหมายงาน .............../......................./.................

(ลงนาม)....................................................... (...............................................) รักษาการเลขานุการคณะฯ .............../......................./.................


คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจ คํารองขอเปลี่ยนแปลงหัวขอวิทยานิพนธ วันที่............เดือน..............................พ.ศ. .................... ขาพเจา นาย/นาง/นางสาว.................................................................................................................................. รหัสนักศึกษา.................................สาขาวิชา........................................คณะ...................................................................... มีความประสงคจะขอเปลี่ยนแปลงหัวขอวิทยานิพนธจากเดิม........................................................................................... เปลี่ยนเปน......................................................................................................................................................................... เหตุผลของการเปลี่ยนแปลง.............................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................................... ทั้งนี้ไดรับการยินยอมจากคณะกรรมการที่ปรึกษาแลว ดังมีรายนามดังนี้ ชื่อ-สกุล อาจารย พรอมตําแหนงวิชาการ

วัน/เดือน/ป

ลงนาม

คณะกรรมการที่ปรึกษา ประธานกรรมการที่ปรึกษา ................................................................ ........................... .............................. กรรมการที่ปรึกษา ................................................................ ........................... .............................. กรรมการที่ปรึกษา ................................................................ ........................... .............................. กรรมการที่ปรึกษา ................................................................ ........................... .............................. กรรมการที่ปรึกษา ................................................................ ........................... .............................. ความเห็นประธานกรรมการทีป่ รึกษา ........................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... ความเห็นประธานกรรมการประจําหลักสูตร ( ) สามารถเปลี่ยนแปลงได ( ) ไมสามารถเปลี่ยนแปลงได เนื่องจาก........................................................................... .......................................................................................... (ลงชื่อ)................................................... .............../ ................./ ..................

ความเห็นคณบดี

( ) อนุมัติ ( ) ไมอนุมัติ เนื่องจาก........................................................................... .......................................................................................... (ลงชื่อ)......................................................... ................./ ................./ ..................


คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจ คํารองขอเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ วันที่............เดือน..............................พ.ศ. .................... ขาพเจา นาย/นาง/นางสาว..................................รหัสนักศึกษา..........................สาขาวิชา................................. คณะ.................................................................เขาศึกษาตั้งแตภาคการศึกษาที่...............ปการศึกษา............................... ความประสงค [ ] ขอแตงตั้ง [ ] ขอเปลี่ยนแปลง คณะกรรมการที่ปรึกษา ทั้งนีไ้ ดรับการยินยอมจากคณะกรรมการที่ ปรึกษาแลว ดังมีรายนามดังนี้ ชื่อ-สกุล อาจารย พรอมตําแหนงวิชาการ

วัน/เดือน/ป

ลงนาม

1. คณะกรรมการที่ปรึกษาชุดใหม ประธานกรรมการที่ปรึกษา ................................................................ กรรมการที่ปรึกษา ................................................................ กรรมการที่ปรึกษา ................................................................ กรรมการที่ปรึกษา ................................................................ กรรมการที่ปรึกษา ................................................................

........................... ........................... ........................... ........................... ...........................

.............................. .............................. .............................. .............................. ..............................

2. คณะกรรมการที่ปรึกษา ชุดเดิม ประธานกรรมการที่ปรึกษา ................................................................ กรรมการที่ปรึกษา ................................................................ กรรมการที่ปรึกษา ................................................................ กรรมการที่ปรึกษา ................................................................ กรรมการที่ปรึกษา ................................................................

........................... ........................... ........................... ........................... ...........................

.............................. .............................. .............................. .............................. ..............................

เหตุผลของการเปลี่ยนแปลง.............................................................................................................................................. .......................................................................................................................................................................................... ความเห็นประธานกรรมการทีป่ รึกษา................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................... ความเห็นประธานกรรมการประจําหลักสูตร ( ) สามารถแตงตั้งเปนที่ปรึกษาได ( ) ไมสามารถแตงตั้งเปนที่ปรึกษาได เนื่องจาก........................................................................... .......................................................................................... (ลงชื่อ)................................................... .............../ ................./ ..................

ความเห็นคณบดี

( ) อนุมัติ ( ) ไมอนุมัติ เนื่องจาก........................................................................... .......................................................................................... (ลงชื่อ)......................................................... ................./ ................./ ..................


คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจ คํารองขอสอบวิทยานิพนธเปนกรณีพิเศษ วันที่............เดือน..............................พ.ศ. .................... ขาพเจา นาย/นาง/นางสาว.................................................................................................................................. รหัสนักศึกษา.................................สาขาวิชา........................................คณะ...................................................................... มีความประสงคจะขอสอบวิทยานิพนธ ในขัน้ ตอน.......................................................................................................... ชื่อโครงการ....................................................................................................................................................................... ในวันที.่ ............เดือน.................................พ.ศ..............................ระหวางเวลา..........................ถึงเวลา......................... เหตุผลที่ตองขอสอบนอกตารางเวลาที่คณะกําหนด.......................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... ทั้งนี้ไดรับการยินยอมจากคณะกรรมการที่ปรึกษาแลว ดังมีรายนามดังนี้ ชื่อ-สกุล อาจารย พรอมตําแหนงวิชาการ

วัน/เดือน/ป

ลงนาม

คณะกรรมการที่ปรึกษา ประธานกรรมการที่ปรึกษา ................................................................ ........................... .............................. กรรมการที่ปรึกษา ................................................................ ........................... .............................. กรรมการที่ปรึกษา ................................................................ ........................... .............................. กรรมการที่ปรึกษา ................................................................ ........................... .............................. กรรมการที่ปรึกษา ................................................................ ........................... .............................. ความเห็นประธานกรรมการทีป่ รึกษา ........................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................... ความเห็นประธานกรรมการประจําหลักสูตร ( ) เห็นควรใหสอบไดตามวันและเวลาดังกลาว ( ) ไมควรขึ้นสอบตามวันและเวลาดังกลาง เนื่องจาก........................................................................... .......................................................................................... (ลงชื่อ)................................................... .............../ ................./ ..................

ความเห็นคณบดี

( ) อนุมัติ ( ) ไมอนุมัติ เนื่องจาก........................................................................... .......................................................................................... (ลงชื่อ)......................................................... ................./ ................./ ..................

หมายเหตุ การขอสอบเปนกรณีพิเศษ ใชเมื่อนักศึกษาขึ้นสอบใหมเนื่องจากสอบไมผา นตามตารางเวลาที่กําหนด หรือ นักศึกษาตกคางเนื่องจากไมผานในรายวิชาหลักของสาขา


89

ภาคผนวก ซ รูปแบบบรรณานุกรมและเอกสารอางอิง


90


91

รูปแบบบรรณานุกรมและเอกสารอางอิง 1. หนังสือ (เครื่องหมาย / ในรูปแบบ หมายถึง เวนระยะ 1 ตัวอักษร) หนังสือที่มีผูแตงคนเดียว สายสังคมศาสตร ผูแตง.//ปที่พิมพ.//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ(ถามี).// รูปแบบ สถานที่พิมพ:/สํานักพิมพ.

สายวิทยาศาสตร ผูแตง.//ปที่พิมพ.//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ(ถามี).// สถานที่พิมพ:/สํานักพิมพ.//จํานวนหนา.

ตัวอยาง ปนแกว เหลืองอรามศรี. 2539. ภูมิปญญานิเวศวิทยา ณรรฐพล วัลลียลักษณ. 2528. ตัวออนของแมลง. เลมที่ 2. กรุงเทพฯ: ภาควิชากีฏวิทยา ชนพื้นเมือง: ศึกษากรณีชุมชนกะเหรี่ยงในปาทุง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 240 น. ใหญนเรศวร. กรุงเทพฯ: โครงการฟนฟูชีวิต และธรรมชาติ. ศิริ อัคคะอัคระ. 2543. การควบคุมไฟปาสําหรับ ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: กรมปาไม. 229 น. มาฆะสิริ เชาวกุล. 2541. เศรษฐศาสตรตลาดสินคา เกษตร. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัย Hopkins, W.G. 1995. Introduction to Plant เกษตรศาสตร. Physiology. New York: John Wiley & Sons. 464 p. สัญญา สัญญาวิวัฒน. 2543. ทฤษฎีสังคมวิทยา: เนื้อหาแนวการใชประโยชนเบื้องตน. พิมพครั้ง Boonpragob, K. 1997. Thailand’s National ที่ 8. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพจุฬาลงกรณ Greenhouse Gas Inventory 1990. มหาวิทยาลัย. Bangkok: Thailand Environment Institute. 130 p. สุพร อิศรเสนา, ม.ล. 2538. คูมือการบังคับคดี. กรุงเทพฯ: นิติบรรณการ. . 2538. เทคนิคการศึกษาอยางมีประสิทธิผล. กรุงเทพฯ: ฟนนีพ่ ับบลิชชิ่ง. เอกวิทย ณ ถลาง. 2544. ภูมิปญญาลานนา: ภูมิปญญา ชาวบานกับกระบวนการเรียนรูและการปรับตัว ของชาวบานไทย. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: อัมรินทรพริน้ ติ้งแอนดพับบลิชชิ่ง. Cohen, P.s. 1975. Modern Social Theory. London; Heinemann.


92

หนังสือที่มีผูแตงคนเดียว (ตอ) สายสังคมศาสตร Kornblum, W. 1991. Sociology in a Changing World. 2nd ed. Forth Worth: Harcourt Brace Jovanovich.

สายวิทยาศาสตร

Robinson, J. W. 1975. Introduction to Labour. Engiewood Cliffs: Prentice-Hall. Talcott, p. 1991. Social System. 2nd ed. N.P.: Bryan s Turner.

หนังสือที่มีผูแตง 2 คน รูปแบบ

สายสังคมศาสตร ผูแตงคนที่ 1/และ/ผูแตงคนที่ 2.//ปที่พมิ พ.//ชือ่ เรื่อง.// ครั้งที่พิมพ(ถามี).//สถานที่พิมพ:/สํานักพิมพ.

สายวิทยาศาสตร ผูแตงคนที่ 1/และ/ผูแตงคนที่ 2.//ปที่พมิ พ.//ชือ่ เรื่อง.// ครั้งที่พิมพ(ถามี).//สถานที่พิมพ:/สํานักพิมพ.// จํานวนหนา.

กุศล ทองงาม และ นิวัติ เชาวศิลป. 2542. ธุรกิจการ ตัวอยาง กุศล ทองงาม และ นิวัติ เชาวศิลป. 2542. ธุรกิจการ ผลิตผักปลอดภัยจากสารเคมีในจังหวัดเชียงใหม. ผลิตผักปลอดภัยจากสารเคมีในจังหวัดเชียงใหม. เชียงใหม: ศูนยวิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร เชียงใหม: ศูนยวิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 43 น. มุกดา ศรียนต และวิจิตพาณี เจริญขวัญ. 2530. แนว สมบัติ ศรีชูวงศ และ นิตยา สุวรรณรัตน. 2527. โรค ความคิดทางจิตวิทยา. พิมพครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: ของพืชเศรษฐกิจบนที่สูง. เชียงใหม: มหาวิทยาลัยรามคําแหง. มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 110 น. Hunt, E.F. and D.C. Colander. 1993. Social Science: An Introduction to the Study of Society. 8th ed. New York: Macmillan.

Cranc, E. and P. Walker. 1983. Impact of pest Management on Bees and Pollination. London: Tropical Development and Research Institute. 129 p.


93

หนังสือที่มีผูแตงมากกวา 2 คน สายสังคมศาสตร รูปแบบ ผูแตงคนที่ 1/และ/ผูแตงคนที่ 2/และ/ผูแ ตงคนสุทาย.//ป ที่พิมพ.//ชื่อเรื่อง.//ครั้งทีพ่ ิมพ(ถามี).//สถานที่ พิมพ:/สํานักพิมพ. ตัวอยาง

สายวิทยาศาสตร ผูแตงคนที่ 1/และ/ผูแตงคนที่ 2/และ/ผูแ ตงคนสุดทาย.// ปที่พิมพ.//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ(ถามี).//สถานที่ พิมพ:/ สํานักพิมพ.//จํานวนหนา.

ประกอบ คุณารักษ, สุรพล พะยอมแยม, สมทรัพย สุข ดิเรก ทองอราม, วิทยา ตั้งกอสกุล, นาวี จิระชีวี และ อนันต, วิสาข จัติวัตร และ ธัชพร มูรพันธุ. 2543. อิทธิสุนทร นันทกิจ. ม.ป.ป. การออกแบบและ รายงานผลการวิจยั ฉบับสมบูรณ สภาพความ เทคโนโลยีการใหนา้ํ แกพืช. กรุงเทพฯ: มิตรเกษตร พรอมของหนวยงานทางการศึกษาตอการปฏิรปู การตลาดและโฆษณา. 428 น. การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ. นครปฐม: ประยงค ระดมยศ, อัญชลี ตั้งตรงจิตร, ศรชัย คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร. หลูอารียสุวรรณ และ แทน จงศุชยั สิทธิ์. 2535. Atlas of Medical Parasitology. กรุงเทพฯ: พัชนี เชยจรรยา, เมตตา วิวัฒนานุกูล และ ถิรนันท มหาวิทยาลัยมหิดล. 307 น. อนวัชศิรวิ งศ. 2541. แนวคิดหลักนิเทศศาสตร. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: ขาวฟาง. Donahue, R.L., R.H. Follett and R.W. Tulloch. 1990. Our Soils and Their Management. 6th ed. สําเนาว ขจรศิลป, บุญเรืยง ขจรศิลป, สมประสงค นวม บุญลือ, สุริยา เสถียรกิจอําไพ และ บุญสม Danvillle: Interstate Publishers. 594 p. ชีรวณิชยกูล. 2541. รายงานการวิจัยเรื่อง การ Whyte, R.O.,T.R.G. Moir and J.P. Cooper. 1975. พัฒนารูปแบบคายอาสาพัฒนาของนักศึกษา. Grasses in Agriculture. Rome: Food and กรุงเทพฯ: สํานักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย. Agriculture Organization of the United Nations. 416 p.

หนังสือที่มีผูรับผิดชอบในหนาที่รวบรวม ผูเรียบเรียง หรือ บรรณาธิการ สายสังคมศาสตร

สายวิทยาศาสตร

รูปแบบ ชื่อผูรับผิดชอบ/(หนาทีท่ ี่รับผิดชอบ).//ปที่พิมพ.// ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พมิ พ(ถามี).//สถานที่พิมพ:/ สํานักพิมพ.

ชื่อผูรับผิดชอบ.//(หนาที่ที่รับผิดชอบ).//ปที่พิมพ.// ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ(ถามี).//สถานที่พิมพ:/ สํานักพิมพ.//จํานวนหนา.

ตัวอยาง เพ็ญนภา ทรัพยเจริญ และ กัญจนา ดีวิเศษ (บรรณาธิการ). 2542. สมุนไพรกับวัฒนธรรม ตอนที่ 2 ไมริมรั้ว. กรุงเทพฯ: สถาบันการแพทย แผนไทย กรมการแพทย.

Jones, J. B., J. P. Jones, R. E., Stall and T. A. Zitter. (eds.). 1993. Compendium of Tomato Diseases. St. Paul: APS Press. 73 p.


94

หนังสือที่มีผูรับผิดชอบในหนาที่รวบรวม ผูเรียบเรียง หรือ บรรณาธิการ (ตอ) สายสังคมศาสตร Matthews, R. B., M.J. Kropff, D. Bachelet and H. H. Van Laar (eds.). 1995. Modeling the Impact of Climate Chanhe on Rice Production in Asia. Wallingford: CAB International.

สายวิทยาศาสตร Martin, A. M. (ed.). 1994. Fisheries Processing: Biotechnological Applications. London: Chapman & hall. 494 p.

หนังสือที่มีผูแตงเปนหนวยงาน สถาบัน องคกร หรือนิติบุคคล สายสังคมศาสตร รูปแบบ

ชื่อสถาบัน.//ปที่พิมพ.//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ(ถามี).// สถานที่พิมพ:/สํานักพิมพ.

สายวิทยาศาสตร ชื่อสถาบัน.//ปที่พิมพ.//ชื่อเรื่อง.//ครั้งที่พิมพ(ถามี).// สถานที่พิมพ:/สํานักพิมพ.//จํานวนหนา.

ตัวอยาง กรมเศรษฐกิจการพาณิชย. 2544. สถิติการคาและเครื่อง กรมเศรษฐกิจการพาณิชย. 2544. สถิติการคาและเครื่อง ชี้ภาวะเศรษฐกิจของไทย ป 2543. กรุงเทพฯ: ชี้ภาวะเศรษฐกิจของไทย ป 2543. กรุงเทพฯ: กรมเศรษฐกิจการพาณิชย. กรมเศรษฐกิจการพาณิชย. 455 น. มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 2542. รายงานฉบับสมบูรณ โครงการศึกษาเพื่อจัดทําแผนยุทธศาสตรการ พัฒนาภาคเหนือตอนบนระยะ 10 ป (พ.ศ. 25422551). เลมที่ 1. กรุงเทพฯ: สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษบกิจและสังคม แหงชาติ. สํานักนโยบายและแผนอุดมศึกษา สวนวิเคราะห งบประมาณ. 2543. ตนแบบระบบงบประมาณ พัสดุการเงินและบัญชีกองทุน โดยเกณฑพึงรับพึง จายลักษณะ3 มิติ สําหรับผูปฏิบัติในมหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: สํานักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย. National Commission on Women’s Affair. Thailand’s Report on the status of Woman and Platform for Action 1994. Bangkok: Amarin Printing and Publishing.

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2544. สถิติการคาสินคา เกษตรกรรมไทยกับตางประเทศป 2543. กรุงเทพฯ: สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 307 น. องคการสวนพฤกษศาสตร. 2538. การอบรมปฏิบัติการ นักพฤกษศาสตรทอ งถิ่น. เชียงใหม: องคการ สวนพฤกษศาสตร. 97 น. International Institute of Tropical Agriculture. 1986. IITA Annual Reprot and Research Highlights 1985. Ibadan, Nigeria: International Institute of Tropical Agriculture. 144 p. International Rice Research Institute. 1995. Program Report for 1994. Laguna: International Rice Research Institute. 311 p.


95

หมายเหตุ ถามีชื่อหนวยงานใหญและหนวยงานยอย ใหเรียงลําดับหนวยงานใหญขึ้นกอน ตามดวยหนวยงานยอย เขชน มหาวิทยาลัยแมโจ คณะผลิตกรรมการเกษตร ภาควิชาพืชสวน. เปนตน

หนังสือที่ไมมีผูแตง สายสังคมศาสตร

สายวิทยาศาสตร

รูปแบบ

ชื่อเรื่อง.//ปที่พิมพ.// ครัง้ ที่พิมพ(ถามี).//สถานที่พิมพ:/ สํานักพิมพ.

ชื่อเรื่อง.//ปที่พิมพ.// ครัง้ ที่พิมพ(ถามี).//สถานที่พิมพ:/ สํานักพิมพ.//จํานวนหนา.

ตัวอยาง

รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2542. 2543. กรุงเทพฯ: สํานักนโยบายและแผน สิ่งแวดลอม.

คูมือการจัดการสิ่งแวดลอม อุตสาหกรรมแปงมัน สําปะหลัง แปงมันดัดแปลง และแปงมันแปรรูป. 2540. กรุงเทพฯ: สํานักเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม โรงงานกรมโรงงานอุตสาหกรรม. 98 น.

วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร เอกลักษณและ ภูมิปญญา จังหวัดแพร. 2542. กรุงเทพฯ: กระทรวง รายงานสถานการณคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2542. มหาดไทย, กระทรวงศึกษาธิการ และกรมศิลปากร. 2543. กรุงเทพฯ: สํานักนโยบายและแผน สิ่งแวดลอม. 326 น.

2. หนังสือแปล สายสังคมศาสตร

สายวิทยาศาสตร

2.1 มีชื่อผูแตง ผูแปล และชื่อเรื่องตนฉบับเดิม รูปแบบ ชื่อผูแตง.//ปทพี่ ิมพ.//ชื่อเรื่องที่แปลแลว/แปลจาก/ ชื่อเรื่องตนฉบับ/โดย/ชื่อผูแ ปล.//ครั้งที่พิมพ(ถามี).// สถานที่พิมพ:/สํานักพิมพ.

ชื่อผูแตง.//ปทพี่ ิมพ.//ชื่อเรื่องที่แปลแลว.//แปลจาก// ชื่อเรื่องตนฉบับ/โดย/ชื่อผูแ ปล.//ครั้งที่พิมพ (ถามี).//สถานที่พิมพ:/สํานักพิมพ.//จํานวนหนา.

2.2 มีชื่อผูแตง ผูแปล แตไมมีชื่อเรื่องตนฉบับเดิม รูปแบบ ชื่อผูแตง.//ปทพี่ ิมพ.//ชื่อเรื่องที่แปลแลว/แปลโดย/ ชื่อผูแปล.//ครั้งที่พมิ พ(ถามี).//สถานที่พิมพ:/ สํานักพิมพ.

ชื่อผูแตง.//ปทพี่ ิมพ.//ชื่อเรื่องที่แปลแลว.//แปลโดย/ ชื่อผูแปล.//ครั้งที่พมิ พ(ถามี).//สถานที่พิมพ:/ สํานักพิมพ.//จํานวนหนา.


96

2.3 มีชื่อผูแปล แตไมมีชื่อผูแตง รูปแบบ

ชื่อผูแปล,ผูแปล.//ปที่พมิ พ.//ชือ่ เรื่องทีแ่ ปลแลว/ แปลจาก/ชือ่ เรื่อง ตนฉบับ(ถามี).//ครั้งที่พมิ พ (ถามี).//สถานที่พิมพ:/สํานักพิมพ.

ตัวอยาง ทรงวิทย เขมเศรษฐ. 2542. กลไกสรางผูนํา แปลจาก The Leadership Engine. กรุงเทพฯ: เออาร บิซิเนสเพรส. บอรเก็นวัวลม, แมทท, ฮาคาน จารสดอ็ ก, บาบารา เมอ เรยและเซซิเลีย พาลเมอร. 2543. ขั้นพืน้ ฐาน การ พัฒนาธุรกิจดวยตัวเอง แปลจาก Impruve Your Business: Basics โดย ไมตรี วสันติวงศ. เจนีวา: สํานักงานองคการแรงงานระหวางประเทศ. Reichheld, F. F. 2539. การบริหารฐานภักดี: กลยุทธ สรางความมั่งคั่งแบบถาวร แปลจาก The Loyalty Effect โดย ศิระโอกาสพงษ. กรุงเทพฯ: คูแขง.

ชื่อผูแปล,ผูแปล.//ปที่พมิ พ.//ชือ่ เรื่องทีแ่ ปลแลว/ แปลจาก/ชือ่ เรื่องตนฉบับ(ถามี).//ครั้งที่พมิ พ(ถามี).// สถานที่พิมพ:/สํานักพิมพ.// จํานวนหนา. Hammer, M. and S.A. Station. 2539. การปฏิวัติการ รีเอ็นจิเนียริ่ง แปลจาก The Reengineering Revolution: a Handbook โดย วิฑูรย สิมะโชคดี. กรุงเทพฯ: คูแ ขง. 447 น. Tapscott, D. 2539. เศรษฐกิจดิจิตอล แปลจาก The Digital Economy: Promise and peril in the Age of Networked Intelligence โดย สงกรานต จิตสุทธิภากร. กรุงเทพฯ: แมคกรอ-ฮิล อินเตอร เนชั่นแนล เอ็นเตอร ไพรส อิงค. 429 น.

3. พจนานุกรม (Dictionary) สายสังคมศาสตร

สายวิทยาศาสตร

3.1 มีชื่อผูจัดทํา รูปแบบ

ชื่อผูจัดทํา.//ปทพี่ ิมพ.//”คําที่คน”.//ชื่อพจนานุกรม.// ครั้งทีพ่ ิมพ(ถามี).// สถานที่พิมพ:/สํานักพิมพ.//น./ เลขหนา.

ชื่อผูจัดทํา.//ปทพี่ ิมพ.//”คําที่คน”.//ชื่อพจนานุกรม.// ครั้งที่พิมพ(ถามี).// สถานที่พิมพ:/สํานักพิมพ.//น./ เลขหนา.


97

3.2 ไมมีชื่อผูจัดทํา รูปแบบ ”คําที่คน ”.//ปทพี่ ิมพ.//ชื่อพจนานุกรม.//ครั้งทีพ่ ิมพ (ถามี).//สถานที่พิมพ:/สํานักพิมพ.//น./เลขหนา.

”คําที่คน ”.//ปทพี่ ิมพ.//ชื่อพจนานุกรม.//ครั้งทีพ่ ิมพ (ถามี).//สถานที่พิมพ:/สํานักพิมพ.//น./เลขหนา.

ตัวอยาง วิทย เที่ยงบูรณธรรม. 2539. “Outdoor foreman”. A New English-thai Dictionary (ฉบับรวมศาสตร). กรุงเทพฯ: รวมสาสน. น. 1176.

“บางบอ”. 2526. อักขรานุกรมภูมิศาสตรไทย ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน. เลม 3. พิมพครัง้ ที่3. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. น. 747.

สุภางค จันทวานิช (บรรณาธิการ). 2542. “การตั้งถิ่น “ผักอี่ฮมึ ”. 2539. พจนานุกรมภาษาถิ่นภาคเหนือ. ฐานแบบประกอบอาชีพได”. ประมวลคําศัพทวา เขียงใหม: สถาบันราชภัฏเชียงใหม. น. 497. ดวยผูลี้ภัยและการยายถิ่น. กรุงเทพฯ: ศูนยวิจัยการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย คณะอักษรศาสตร ภาควิชา ยายถิ่นแหงเอเชีย สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ ภาษาศาสตร. 2530. “สาหราย”. ศัพทานุกรม มหาวิทยาลัย. น. 63. ไทย-คําเมือง-มงขาว-กะเหรี่ยงสะกอ-มูเซอดํา “Blind valley”. 2523. พจนานุกรมศัพทภูมิศาสตร. สําหรับแพทย ทันตแพทย และสัตวเพทย เพื่อการ เลม 1. พิมพครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. พัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวชนบท. กรุงเทพฯ: น. 95-96. สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. น. 92.

4. สารานุกรม (Encyclopedia) สายสังคมศาสตร

สายวิทยาศาสตร

4.1 มีชื่อผูเขียนบทความ รูปแบบ

ชื่อผูเขียนบทความ.//ปทพี่ ิมพ.//”ชื่อบทความ”.// ชื่อสารานุกรม.//เลมที่(ถามี).//ครั้งทีพ่ ิมพ(ถามี).// สถานที่พิมพ:/สํานักพิมพ.//น./เลขหนา.

ชื่อผูเขียนบทความ.//ปทพี่ ิมพ.//”ชื่อบทความ”.// ชื่อสารานุกรม.//เลมที่(ถามี).//ครั้งที่พิมพ(ถามี).// สถานที่พิมพ:/สํานักพิมพ.//น./เลขหนา.

4.2 ไมมีชื่อผูเขียนบทความ รูปแบบ “ชื่อบทความ”.//ปที่พิมพ.//ชื่อสารานุกรม.//เลมที่ (ถามี).//ครัง้ ที่พิมพ(ถามี).//สถานที่พิมพ:/ สํานักพิมพ.//น./ เลขหนา.

“ชื่อบทความ”.//ปที่พิมพ.//ชื่อสารานุกรม.//เลมที่ (ถามี).// ครัง้ ที่พิมพ(ถามี).//สถานที่พิมพ:/ สํานักพิมพ.//น./ เลขหนา.


98

4.2 ไมมีชื่อผูเขียนบทความ (ตอ) รูปแบบ มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย. ตัวอยาง 2543. “เรียกขวันเขา”. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ. เลม 11. กรุงเทพฯ: สยามเพรสแมนเนจ เมนท. น. 5736- 5737.

มูลนิธิสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ธนาคารไทยพาณิชย. 2543. “เยียะนา”. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ. เลม 11. กรุงเทพฯ: สยามเพรสแมน เนจเมนท. น. 5541-5563.

5.รายงานการประชุมทางวิชาการ รายงานการสัมมนา ปาฐกถา และรายงานประจําป สายสังคมศาสตร รูปแบบ ชื่อผูจัดทํา.//ปทพี่ ิมพ.//ชื่อเรื่อง.//รายละเอียดของการ ประชุม(ถามี).//สถานที่พิมพ:/สํานักพิมพ. ตัวอยาง

Racke,K.D.and A.R. Leslie(eds.) Pesticides in Urban Environments, Fate and Significance. 203 National Meeting of the American Chemical Society, San Francisco, California, 5-10 April 1992, Washington, D.C.: American Chemical Society.

สายวิทยาศาสตร ชื่อผูจัดทํา.//ปทพี่ ิมพ.//ชื่อเรื่อง.//รายละเอียดของการ ประชุม(ถามี).//สถานที่พิมพ:/สํานักพิมพ. International Rice Research Institute and United Nations Development Programme. 1988. Rice Seed Health. Proceeding of the International workshop on Rice Seed Health 16-20 March 1987. Manila: International Rice Research Institute. LaGrega,M.D. and D.A.Long. (eds). 1984. Toxic and Hazardous Wastes. Proceedings of the Sixteenth Mid-Atlantic Industrial Waste Conference. Lancaster: Technomic.

6. บทความในหนังสือรวมเรื่อง รายงานการประชุมวิชาการ รายงานการสัมมนา รายงานประจําป รายงานผลวิจัย สายสังคมศาสตร

สายวิทยาศาสตร

รูปแบบ ชื่อผูจัดทํา.//ปทพี่ ิมพ.// “ชื่อบทความ”.//น./เลขหนาที่ ชื่อผูจัดทํา.//ปทพี่ ิมพ.//ชื่อบทความ.//น./เลขหนาที่ ปรากฏเรื่อง.//ใน/ชื่อผูร บั ผิดชอบ.//ชื่อเรื่อง.// ปรากฏเรื่อง.//ใน/ชื่อผูร บั ผิดชอบ.//ชื่อเรื่อง.// รายละเอียดอื่นๆ(ถามี).//รั้งทีพ่ มิ พ(ถามี).//สถานที่ รายละเอียดอื่นๆ(ถามี).//รั้งทีพ่ มิ พ(ถามี).//สถานที่ พิมพ:/สํานักพิมพ. พิมพ:/สํานักพิมพ.


99

6. บทความในหนังสือรวมเรื่อง รายงานการประชุมวิชาการ รายงานการสัมมนา รายงานประจําป รายงานผลวิจัย (ตอ) ตัวอยาง

คณะกรรมการสภาวิจัยแหงชาติ สาขานิติศาสตร. 2544. คนิต รัตนวัฒนกลุ . 2545. การศึกษาการปกชํากลาไม “สรุปผลการประชุมกลุมกฎหมาย สัก. น. 62-77. ใน รายงานวนวัฒนวิจัยประจําป ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เรื่องปญหา พ.ศ. 2544. กรุงเทพฯ: สวนวนวัฒนวิจัย สํานัก การบังคับใชกฎหมายทรัพยากรสิ่งแวดลอมและ วิชาการปาไม กรมปาไม. แนวทางแกปญหา”. น. 94-98. ใน การประชุม สถิต สวินทร. 2529. การปลูกสรางสนปาหวาย. น. 73นิติศาสตรแหงชาติ. 14-15 กันยายน 2543 ณ 98. ใน การสัมมนาเรื่องหวาย. กรุงเทพฯ: คณะ ศูนยการประชุมสหประชาชาติ. กรุงเทพฯ: วนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. สํานักงานคณะกรรมการการวิจัยแหงชาติ. Keokamnerd,M. 1999. Ecology of Thai orchids. pp. ทิพาวดี เมฆสวรรค. 2542. “องคกรมหาชน: ผลิตผล 95-100. In Biological Diversity. Proceedings of ของบูรณาการระบบการจัดการีด่ ี”. น. 29-40. ใน the 11 Asian Agricultural Symposium 1999. องคกรมหาชน: มิติใหมของหนวยงานภาครัฐ. Kyushu Tokai University. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการปฏิรูประบบ ราชการ สํานักงาน ก.พ. Khush, G.S. 1989. Mulitple disease and insect resistance for increased yield stability in rice. ธเนศวร เจริญเมือง. 2544. “การอนุรักษมรดกทอถิ่น pp. 79-92. In Progress in Irrigated Rice กับการสรางชุมชนใหเขมแข็ง” น. 110-126. ใน Research. Manila: International Rice Research ดวงจันทร อาภาวัชรุตม เจริญเมือง Institute. (บรรณาธิการ). สตรีกับการจัดการดานชุมชนและ วัฒนธรรมทองถิ่น. เชียงใหม: ศูนยศึกษาปญหา Racke, K. D.,R.N. Lubinski, D.D. Fontaine,J.R. เมืองเชียงใหม. Miller, P.J. McCall and G.R. Oliver. 1993. Comparative fate of chloropyrifos insecticide in วราพร ศรีสุพรรณ. 2544. “คุณภาพประชากรกับการ urban and agricultural environments. pp. 70-85. รักษาสิง่ แวดลอมใหยั่งยืน” น. 47-75. ใน In Pesticides in Urban Environments: Fate รายงานการสัมมนาเรื่อง คุณภาพประชากรใน and Significance. Washington, D.C.: American ทศวรรษหนา. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยประชากร Chemical Society. และสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล. Stephenson, A.G. 1992. The regulation of maternal investment in plants. pp. 151-171. In Fruit and Seed Production. Cambridge: Cambridge University Press.


100

7.สิทธิบัตร (Patent) สายสังคมศาสตร

สายวิทยาศาสตร

รูปแบบ ชื่อจดสิทธิบัตร.// “ชื่อสิทธิบัตร”.//ประเทศและ ชื่อจดสิทธิบัตร.//ชื่อสิทธิบัตร.//ประเทศและหมายเลข หมายเลขสิทธิบัตรหรือเลขที่คําขอ.//วันที่/เดือน/ป สิทธิบัตรหรือเลขที่คาํ ขอ.//วันที/่ เดือน/ป ที่จด ที่จดสิทธิบัตรหรือยื่นคําขอ. สิทธิบัตรหรือยืน่ คําขอ. ชอค เคียน เยก. “อุปกรณสําหรับดักจับแมลง” สิทธิบัตรไทยเลขที่คําขอ 028585. 9 เมษายน 2544. ตัวอยาง

คูปอนท เดอ เนมูรส แอนต คัมปะนี. การเพิ่มการ แสดงออกของทรานสจีนในประชากรเซลลของ พืชใบเลี้ยงเดี่ยว. สิทธิบัตรไทย เลขที่คาํ ขอ 60/028,165. 17 ตุลาคม 2539.

ภูมิพอดุลยเดช, พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว. “การใช น้ํามันปาลมบริสุทธเปนน้ํามันเชื้อเพลิงเครื่องยนต Tan, K.S. Herb Product. Japan Patent 11-137232. ดีเซล”. สิทธิบัตรไทยเลขที่ 10764. 26 กรกฎาคม 25 May 1999. 2544. Water, G.V.M.P. Zieff, J.B. Stone and L.A. Yomamoto, K.M. Hiroaki, M. Hiramitsu and Y. Gainsboro. Bird Feeder. United States Patent Yoshiaki. “Food material containing antioxidant 5,682,835. 4 November 1997. ingredient derived from citrus fruit”. United States Patent 6,350,477. 26 February 2002.

8.เอกสารมาตรฐาน (Standard) สายสังคมศาสตร รูปแบบ ผูรับผิดชอบหรือหนวยงานกําหนดมาตรฐาน.//ป.//“ชื่อ ผลิตภัณฑ”.//เลขมาตรฐาน. ตัวอยาง

สายวิทยาศาสตร ผูรับผิดชอบหรือหนวยงานกําหนดมาตรฐาน.//ป.//ชื่อ ผลิตภัณฑ.//เลขมาตรฐาน.

สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม. 2520. “วัสดุจําพวกปูนไลมเพื่อการเกษตร”. มอก. 2232520.

สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม. 2521. กาก เนื้อมะพราวแหงที่ใชเปนอาหาสัตว. มอก. 5222527.

_________. 2531. “ผามุง”. มอก. 769-251

_________. 2527. กาแฟคั่ว. มอก. 522-2527


101

9. จุลสาร (Pamphlet) แผนพับ (Brochure) พิมพดีด(Typescript) และเอกสารอัดสําเนา(Mimeograph) รูปแบบ

ตัวอยาง

สายสังคมศาสตร

สายวิทยาศาสตร

ชื่อผูจัดทํา(ถามี).//ปทพี่ มิ พ(ถามี).// “ชื่อเรื่อง”..//สถานที่ ชื่อผูจัดทํา(ถามี).//ปทพี่ มิ พ(ถามี).//ชื่อเรื่อง.//สถานที่ พิมพ:/สํานักพิมพ(ถามี).//(ลักษณะของเอกสาร). พิมพ:/สํานักพิมพ(ถามี).//จํานวนหนา(ถามี).// (ลักษณะของเอกสาร). “การจัดการกองทุนสวนบุคคล”. 2544. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย. (จุลสาร). “ขอแนะนําการใชแรงงานหญิง”. 2539. กรุงเทพฯ: กองแรงงานหญิงและเด็ก กรมสวัสดิการและ คุมครองแรงงาน. (แผนพับ). มหาวิทยาลัยแมโจ. 2540. “ประกาศมหาวิทยาลัยแมโจ ที่ 36/2540 เรื่อง ตั้งชื่อพันธถั่วเหลือง”. (พิมพดีด).

ขอมูลนารูเกี่ยวกับเทคโนโลยีชวี ภาพ. ม.ป.ป. กรุงเทพฯ: มอนซานโต ไทยแลนด. 6 น. (จุลสาร). ชัยรัตน นิลนนท, ธีระพงศ จันทรนิยม, ประกิจ ทองคํา และธีระ เอกสมทราเมษฐ. 2544. การใชปุย สําหรับปาลมน้ํามัน. สงขลา: โครงการจัดตั้ง ศูนยวิจัยและพัฒนาการผลิตผลน้ํามันปาลม คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร. 8 น. (จุลสาร).

มหาวิทยาลัยแมโจ. 2540. ประกาศมหาวิทยาลัยแมโจที่ “ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการประชาสัมพันธ 36/2540 เรื่อง ตั้งชื่อพันธถั่วเหลือง. (พิมพดีด). พ.ศ. 2544”. 2544. กรุงเทพฯ: ศูนยผลิตเอกสาร เผยแผ สํานักพัฒนาประชาสัมพันธ. (จุลสาร) แมลงยาสูบและการปองกันกําจัดแมลงในไรยาสูบ. 2539. เชียงใหม: กองโรควิทยา สถานีทดลอง สมคิด เลิศไพฑูรย, วรเจตน ภาคีรัตน, สกนธ วรัญู ยาสูบแมโจฝายใบยา โรงงานยาสูบ วัฒนา, วุฒิสาร ตันไชย และ อุดม รัฐอมฤต. 2544. กระทรวงการคลัง. (แผนพับ). “วิเคราะหเศรษฐกิจและการเมืองไทย”. กรุงเทพฯ: ศูนยศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตย ศูนยสงเสริมเครือขายพอแม ผูป กครอง เด็กและเยาวชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. (จุลสาร). เพื่อการปฏิรูปการศึกษา. 2544. การใชเทคโนโลยี สํานักคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย สํานักงานนโยบายและแผนตลาดทุน 2544. “สํารองเลี้ยงชีพเพื่ออนาคต”. กรุงเทพฯ: สํานักงานนโยบายและแผนตลาดทุน สํานักงาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย. (จุลสาร).

เพื่อการสงเสริมความเขมแข็งทาการศึกษาของ ครอบครัวและชุมชน. กรุงเทพฯ: สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ. 7 น. (จุลสาร).

Chomchalow, N. 1998. Amazing Thai Yetiver. RAP Publication 1998/40. N.P.: The Royal Development Project Board and the FAO Regional Office for Asia and the Pacific. 28 p. (Pamphlet).


102

9. จุลสาร (Pamphlet) แผนพับ (Brochure) พิมพดีด(Typescript) และเอกสารอัดสําเนา(Mimeograph) (ตอ) สายสังคมศาสตร

สายวิทยาศาสตร

_______. 2544ข. “เสนทางสูกองทุนเลี้ยงชีพ”. กรุงเทพฯ: สํานักงานนโยบายและแผนตลาดทุน สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย. (จุลสาร). “สิทธิและหนาที่นายจางและลูกจางตามกฎหมาย คุมครองแรงงาน”. กรุงเทพฯ: กองคุมครอง แรงงาน กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน. (แผนพับ).

10. วิทยานิพนธ (Thesis, Dissertation) สายสังคมศาสตร รูปแบบ ผูแตง.//ปที่พิมพ.// ชื่อวิทยานิพนธ.//ระดับของ วิทยานิพนธ.//ชื่อสถาบันการศึกษา. ตัวอยาง

สายวิทยาศาสตร ผูแตง.//ปที่พิมพ.// ชื่อวิทยานิพนธ.//ระดับของ วิทยานิพนธ.//ชื่อสถาบันการศึกษา.//จํานวนหนา.

เจริญ งอยจันทรศรี. 2536. รูปแบบการสงเสริม การเกษตรแผนใหม. กรุงเทพฯ: ภาคนิพนธ ปริญญาโท, สถาบันบัณฑิตบริหารศาสตร.

กิตติมา จิตมนัส. 2540. การศึกษาคุณภาพของเมล็ด พันธุถั่วเหลือง 37 สายพันธุ. วิทยานิพนธปริญญา โท, มหาวิทยาลัยแมโจ.

เสกสรร สุวรรณมาโจ. 2539. ขาวสารและแหลงขาวใน กระบวนการตัดสินใจยอมรับเทคโนโลยีการปลูก ขาวบาสมาติกของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม. เชียงใหม: วิทยานิพนธปริญญาโท, สถาบัน เทคโนโลยีการเกษตรแมโจ.

นิรมิต กิจรุงเรือง. 2531. การศึกษาลักษณะลูกผสมชั่วที่ 1 ของแตงไทย (Cucumis melo L.). วิทยานิพนธ ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเชียงใหม. 141 น.

Pedersen, A.B. 1995 The Reproductive Phenology and Pollination Biology of Four Calamus McKenna, J.C. 1999. Sustainable Ethnic Tourism in (Arecacae) Species in Thailand. Doctoral Northern Thailand. Edmonton: Master’s thesis, dissertation. University of Aarhus. 86 p. University of Alberta. Phetpradap, L. 1992. Seed Production in China Aster (Callistephus chinensis (L.) Nees.). Doctoral dissertation. Massey University. 280 p.


103

11. เอกสารที่ผูอื่นอางไว หรือ การอางอิงสองทอด สายสังคมศาสตร

สายวิทยาศาสตร

รูปแบบ ผูแตง.//ปที่พิมพ.// ชื่อเรื่อง.//สถานที่พิมพ:/สํานักพิมพ.// ผูแตง.//ปที่พิมพ.// ชื่อเรื่อง.//สถานที่พิมพ(ถามี):/ สํานักพิมพ(ถามี).//อางโดย//ผูแ ตง.//ปที่พิมพ.// อางอิงถึงใน//ผูแ ตง.//ปที่พิมพ.//ชื่อเรื่อง.//สถานที่ ชื่อเรื่อง.//สถานที่พิมพ:/สํานักพิมพ. พิมพ:/สํานักพิมพ. Littiejohn, S.W. 1983. Theories of Human Communication. 2 ed. Belmont: Wadsworth. อางถึงใน พัชนี เชยจรรยา, เมตตา วิวัฒนานุกูล ตัวอยาง และ กิรนันท อนวัชศิรวิ งศ. 2541. แนวคิดหลัก นิเทศศาสตร. พิมพครัง้ ที่ 5. กรุงเทพฯ: ขาวฟาง.

Anderson, W.P. 1983. Weed Science: Principles. อาง โดย รังสิต สุวรรณเขตนิคม. ม.ป.ป. สารกําจัด วัชพืชกับผลทางสรีรวิทยาของพืชเลม 1 พื้นฐาน การเลือกทําลาย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

Schumacher, E.F. 1973. Small is Beautiful, Economic

Garrod, J.F. 1982. The discovery and development of

as if People Mattered. New York: Harper &

plant growth regulator. อางโดย สมเกียรติ กลั่น

Row. อางถึงใน อานนท กาญจนพันธุ. 2544. วิธี

กลิ่น. 2544. ผลของสาร Thiourea ตอการเกิดตา

คิดเชิงซอในการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สํานํางาน

ยอดและการเกิดรากของยอดสักปกชําในระยะกลา

กองทุนสนับสนุนกรวิจัย.

สักพักตัว. น. 89-99. ใน รายงานวนวัฒนวิจัย

Simmon, D.M. 1972. Linear Programming for Operations Research. California: Holden-Day. อางถึงใน ปยะนุช เงินคลาย. 2530. เทคนิคเชิง

ประจําป 2544. กรุงเทฯ: สวนวนวัฒนวิจัย สํานัก วิชาการปาไม กรมปาไม. Sinclair, W.A. H.M. Giffiths and R.E. Davis. 1996.

ประมาณในงานบริหารรัฐกิจ. กรุงเทพฯ:

Ash yellow and lilac Witches’ Broom:

สํานักพิมพวิทยาลัยรามคําแหง.

phytoplasmal diseases of concern in forestry and

Hamilton, C. and J. Whalley. 1988. Coalitions in the Uruguay Round: the extent, pros and cons of developing country participation. Cambridge: National Bureau of Economic Research. Cited in P.M. Ungphakom. 1995. Three Dimenstion of the Uruguay Round. Bangkok: Kobfai’s Publishing.

horticulture, p. 468. Cited by P. Cernic-Zagrac and C. Hiruki. 1996. comparative moleclar studies on aster yellow pytoplasmas. Acta Horticulturae (432): 266-276.


104

12. บทความในวารสาร สายสังคมศาสตร

สายวิทยาศาสตร

12.1 มีชื่อผูเขียนบทความ รูปแบบ

ผูเขียนบทความ.//ปทพี่ ิมพ.//“ชื่อบทความ”.//ชื่อวารสาร ผูเขียนบทความ.//ปทพี่ ิมพ.//”ชื่อบทความ”.//ชื่อวารสาร/ เลขปที่,เลขฉบับที่(วันที่/เดือน):/เลขที่หนา. เลขปที่,(เลขฉบับที่):/เลขที่หนา.

12.2 ไมมีชื่อผูเขียนบทความ รูปแบบ

“ชื่อบทความ”.//ปที่พิมพ.//ชื่อวารสาร/เลขปที่/เลขฉบับ ที่/ (วันที่/เดือน):/เลขที่หนา.

ตัวอยาง

“การอนุรักษและพัฒนาปาไมใตเบื้องพระยุคลบาท”. 2543. วนสาร 57. ฉบับพเศษ : 4-14.

ชื่อบทความ.//ปที่พิมพ.//ชื่อวารสาร/เลขปที่(เลขฉบับที)่ / เลขที่หนา. ไพโรจน กลิ่นพิทักษ. 2525. การหาปริมาณกรด แอสคอร(วิตามินซี) ในผักสดโดยวิธีโฟโตเมทรี. ศูนยบางพระ 20: 41-47.

ปวิณ ปุณศรี. 2519. “โครงการหลวงพัฒนาชาวเขา”. วารสารพัฒนาทีด่ นิ 13 (มิถุนายน): 1-4. ระพี สาคริก. 2528. “การสงเสริมการเกษตรที่ยังเขาไม ถึงเกษตรกร”.ชาวเกษตร 4, 46 (มีนาคม): 6-9.

เรืองศักดิ์ จะทียะนิจ. 2539. นกกระจอกเทศและนกอีมู สัตวปกเศรษฐกิจสากล. สัตวเศรษฐกิจ 13(288): 55-57

อรรถจักร สัตยานุรักษ. 2539. “เชียงใหม 700 ป”. สารคดี 12,135 (พฤษภาคม): 109-124.

สรสิทธิ์ วัชโรทยาน. 2521. การผสมปุย ใชเองสําหรับ กลวยไม. พืชสวน 3(4):23-30.

Golob. P. and P. S. Tyler. 1994. “Extension and training in post-harvest practices for farmers, with particular reference to Africa”. FAO Plant Protection Bulletin 42,3: 117-128.

Herrera, C. R. and P. Jordano. 1981. Prunus mahaleb and birds: the high-efficiency seed dispersal system of temperate fruiting. Ecological Monographs 51(2):203-218.

Rutherford, A. S. 1999. “meat and milk self” sufficiency in Asia: forecast trends and implications”. Agricultural Economics 21,1 (August): 21-40.

Rowell, T., D. G. Mortley, P. A. Location, C. K. Bonsi and W.A. Hill. 1999. Continuous daily light period and temperature influence peanut yield in nutrient film technique. Crop Science 39(4): 1111-1114.


105

13.บทความในหนังสือพิมพ สายสังคมศาสตร รูปแบบ

สายวิทยาศาสตร

13.1 มีชื่อผูเขียนบทความ ผูเขียนบทความ.//ปทพี่ ิมพ.// “ชื่อคอลัมน(ถามี):/ชื่อ บทความ”.//ชื่อหนังสือพิมพ/วันที่/เดือน:/ เลขหนา.

ผูเขียนบทความ.//ปทพี่ ิมพ.// ชื่อคอลัมน(ถามี):/ชื่อ บทความ.//ชื่อหนังสือพิมพ/วันที่/เดือน:/เลขหนา.

13.2 ไมมีชื่อผูเขียนบทความ รูปแบบ ตัวอยาง

“ชื่อคอลัมน(ถามี):/ชื่อบทความ”.//ปทพี่ ิมพ.// ชื่อหนังสือพิมพ/วันที/่ เดือน:/เลขหนา. ทองแถม นาถจํานง. 2545. “ราชดําเนินกลาง: ความรู เกี่ยวกับจีนศึกษา”. สยามรัฐ 8 มีนาคม : 2. ศศิมา ดํารงสุกิจ. 2545. “เที่ยวสวนชมไร; นั่งหลังชาง เที่ยวชมอยุธยา เลือกซื้อผลิตภัณฑจากมูลชาง”. เดลินิวส 10 มีนาคม: 27. Sukhavasit na Ayudhy, S. 2002. “H. R. in practice: negotiation skill #2”. The Nation 7 March; 6.

“ชื่อคอลัมน(ถามี): ชื่อบทความ”.//ปทพี่ ิมพ.// ชื่อหนังสือพิมพ/วันที/่ เดือน:/เลขหนา. ใชรูปวินิจฉัยไมเกรนเด็ก. 2545. คม ชัด ลึก 7 มีนาคม: 9 ทีมขาวเฉพาะกิจ. 2545. ระวังภัยใกลตัว: ระวัง สารพิษซอนตัวในผัก-ผลไม. เดลินิวส 27 กุมภาพันธ: 2, Parnsoonthorn, K. and N. Polkuandee. 2002. Billions Wasters buying inappropriate systems. Bangkok Post Business 7 March: 3.

14. สัมภาษณ สายสังคมศาสตร

สายวิทยาศาสตร

14.1 ผูใหสัมภาษณมีตําแหนง รูปแบบ ชื่อผูใหสัมภาษณ.//ตําแหนง.// ปที่ใหสัมภาษณ.//

สัมภาษณ.//วันที่/เดือน.

ชื่อผูใหสัมภาษณ.//ตําแหนง.// ปที่ใหสัมภาษณ.// สัมภาษณ.//วันที่/เดือน.

14.2 ผูใหสัมภาษณไมมีตําแหนง รูปแบบ

ชื่อผูใหสัมภาษณ.// ปทใี่ หสัมภาษณ.//สัมภาษณ.//วันที่/ เดือน.

ชื่อผูใหสัมภาษณ.// ปทใี่ หสัมภาษณ.//สัมภาษณ.// วันที่/ เดือน.


106

14.3 ไมมีชื่อผูรับผิดชอบ รูปแบบ ตัวอยาง

ชื่อผูใหสัมภาษณ.// ปทใี่ หสัมภาษณ.//สัมภาษณ.//วันที่/ เดือน.

ชื่อผูใหสัมภาษณ.// ปทใี่ หสัมภาษณ.//สัมภาษณ.//วันที่/ เดือน.

เนื่อง นิลรัตน, ม.ล. 2545. สัมภาษณ. 15 เมษายน. เพ็ญศรี กวยสุวรรณ. ประธารชมรมบรรณารักษ และ นักเอกสารสนเทศนานาชาติ. 2544. สัมภาษณ 15 มีนาคม.

บุญทิพา สิมะสกุล. อธิบดีกรมเศรษฐกิจการพาณิชย. 2545. สัมภาษณ. 27 มีนาคม.

15. โสตทัศนวัสดุ สายสังคมศาสตร

สายวิทยาศาสตร

15.1 มีชื่อผูรับผิดชอบ ั ผิดชอบ.//ปทพี่ ิมพ.// ชื่อเรื่อง.//[ประเภท ผูจัดทําหรือผูรบั ผิดชอบ.//ปทพี่ ิมพ.// ชื่อเรื่อง.//[ประเภท รูปแบบ ผูจัดทําหรือผูรบ ของวัสดุ].//สถานที่ผลิต:/ผูผ ลิตหรือเผยแพร.

ของวัสดุ].//สถานที่ผลิต:/ผูผ ลิตหรือเผยแพร.

15.2 ไมมีชื่อผูรับผิดชอบ รูปแบบ ชื่อเรื่อง.//ปที่พิมพ.//[ประเภทของวัสดุ].//สถานที่ผลิต:/

ผูผลิตหรือเผยแพร. ตัวอยาง Developing Field Experiments in Rice. No date. [Slides]. Los Banos: International Rice Research Institute.

ชื่อเรื่อง.//ปที่พิมพ.//[ประเภทของวัสดุ].//สถานที่ผลิต:/ ผูผลิตหรือเผยแพร. ประเสริฐ โศภณ. ม.ป.ป. เซลล: หนวยเล็กที่สดุ ของ รางกาย. [สไลต]. กรุงเทพฯ: ไทยทัศนศึกษา. Mew, T. no date. Bacterial Blight nd Bacterial Leaf Streak Rice in Tropical Asia. [Slides]. Los Banos: International Rice Research Institute. Post-production System. No date. [Slides]. Manila: International Rice Research Institute. Rain Forest. 1983. [Videocassette]. N.P.: National Geographic Society.


107

16. ซีดี-รอม (CD-ROM ) รูปแบบ

ตัวอยาง

สายสังคมศาสตร ผูแตงหรือผูรับผิดชอบ.//ปที่พมิ พ.// ชือ่ เรื่อง.// [ซีด-ี รอม].// สถานที่ผลิต:/ผูผ ลิต.

สายวิทยาศาสตร ผูแตงหรือผูรับผิดชอบ.//ปที่พมิ พ.// ชือ่ เรื่อง./ [ประเภทของวัสดุ].//สถานที่ผลิต:/ผูผลิต.

สื่อโลกถึงไทย สื่อใจถึงคุณ. ม.ป.ป. [ซีดี-รอม]. กรุงเทพฯ: การสื่อสารแหงประเทศไทย. Gloria Incorporated. 1994. Gloria Prehistoria: a Multimedia Who’s Who of Prehistoric Life. [CD-ROM]. N.P.: Gloria Electronic Publishing.

Dobermann, A. and T, Fairhurst. 2001. Rice: Nutrient Disorder & Nutrient Management. [CD-ROM]. Manila: International Rice Research Institute, Eneyclopia of Birds. 1997. [CD-ROM]. N.P.: Autosoft.

17. สารสนเทศระบบออนไลน ( Online information) รูปแบบ

ตัวอยาง

สายสังคมศาสตร สายวิทยาศาสตร ผูแตงหรือผูรับผิดชอบ.//ปที่บนั ทึกขอมูล.// “ชื่อเรื่อง”.// ผูแตงหรือผูรับผิดชอบ.//ปที่บนั ทึกขอมูล.// ชื่อเรื่อง.// [ระบบออนไลน].//แหลงที่มา/ระบุแหลงการ [ระบบออนไลน].//แหลงที่มา/ระบุแหลงการ ติดตอเครือขายหรือการถายโอนแฟมขอมูล ชื่อ ติดตอเครือขายหรือการถายโอนแฟมขอมูล ชื่อ แฟมขอมูล/(วันที่/เดือน/ป ที่คนขอมูล). แฟมขอมูล/(วันที่/เดือน/ป ที่คนขอมูล). สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. ม.ป.ป. “โครงการจัดทํา ยงยุทธ ยุทธวงศ. 2545. การตัดตอยีน...สําคัญไฉน ทะเบียนและบัตรประจําตัวเกษตรกร”. [ระบบ [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www. ออนไลน ]” แหลงที่มา Learning.th (4 มีนาคม 2545). http://farmer.reg.oac.go.th ( 4 มีนาคม 2545). Swine Business is Now Monsanto Choice Genetics. Market Prices Date Center. 2002. “Shrimp”. [ระบบ 2002. [Online]. Available http://www. ออนไลน]. แหลงที่มา http://foodexchange.com Monsanto.com/monsanto/media/02/02feb28_ (4 มีนาคม 2545). gl 425.htm (5 March 2002). Schaller, D. T. no date. “indigenous ecotourism and Sustainable development: the case of Rio Blanco, Ecuador”. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://eduweb.com/schaller/Section2Rio Blannco.html (4 มีนาคม 2545).


108

18. บทความและบทคัดยอจากในวารสารระบบออนไลน รูปแบบ

ตัวอยาง

สายสังคมศาสตร สายวิทยาศาสตร ผูเขียนบทความ.//ป.//ชื่อบทความ.//ชือ่ วารสาร[ประเภท ผูเขียนบทความ.//ป.//“ชื่อบทความ”.//ชื่อวารสาร ของสื่อ]//เลขปที่./เลขฉบับที่/(วันที่/เดือน):/ [ประเภทของสื่อ]//เลขปที่./เลขฉบับที/่ (วันที่/ เลขหนา(ถามี).//แหลงที่มา/ระบุแหลงการติดตอ เดือน):/เลขหนา(ถามี).//แหลงที่มา/ระบุแหลง เครือขายหรือการถายโอนแฟมขอมูล หรือผูผลิต การติดตอ เครือขายหรือการถายโอนแฟมขอมูล หรือชื่อฐานขอมูล หมายเลขขอมูล(ถามี) ที่เก็บ หรือผูผลิตหรือชื่อฐานขอมูล หมายเลขขอมูล(ถา แฟมขอมูล ชื่อแฟมขอมูล/(วันที/่ เดือน/ป ที่คน มี) ที่เก็บแฟมขอมูล ชื่อแฟมขอมูล/(วันที่/เดือน/ ขอมูล). ป ที่คนขอมูล). Anderson, J. D. and J. N. Trapp. 2000. “The Thornley, J. H. M. and M. G. R. Cannell,2002. dynaiics Of feeder cattle market response to Managing forests for wood yield and carbon corn price change”. Agricultural & Applied Storage; a theoretical study. Tree Physiology [Online] 20: 477-484. Available Economies [Online] 32,2 (December). http://heronpublishing.com.com/tree/files/ Available domain/date/contents/freetext/thornley.html http://www.agccon.uga.edu/~jaae/jaae.htm (5 March 2002). (6 March 2002). Zhu, B. C. R., G. Henderson, F. Chen, H. Fei and R. A. Baily, K. V. 2002. “the role of extension in Lain. 2001. Evaluation of vetiver oil and seven controversial studies: the case of Interstate Insect-active essential oil against the Formosan Dairy Compacts”. Journal of Extension Subterranean termite. Journal of Chemical [Online] 40, 1 (February). Available Ecology [Online] 27 , 8: 16717-1625 (August). http://www.joe.org/Joe/2002february/a1.html (5 Available http://www.KluweronLine.com March 2002). /issn/0098-033 (5 March 2002).

19. จดหมายอิเล็กทรอนิคส รูปแบบ ตัวอยาง

สายสังคมศาสตร ผูสงจดหมาย/(ที่อยูของผูสงจอหมาย).//ป.//“ชื่อเรื่อง จดหมาย”.//จดหมายอิเล็กทรอนิกส/ถึง/ชื่อผูรับ จดหมาย/(ที่อยูข องผูรบั จดหมาย).//วันที่/เดือน. ศรีอนงค ใครมา (srianong@mju.ac.th). 2545. “โปรแกรมภาษีเงินไดบคุ คลธรรมดา”. จดหมาย อิเล็กทรอนิกส ถึง สุพัตรา ทองไทย (supatra@mju.ac.th). 15 มีนาคม.

สายวิทยาศาสตร ผูสงจดหมาย/(ที่อยูของผูสงจอหมาย).//ป.//ชือ่ เรื่อง จดหมาย.//จดหมายอิเล็กทรอนิกส/ถึง/ชื่อ ผูรับจดหมาย/(ที่อยูของผูรับจดหมาย).// วันที่/เดือน. ศิรินภา ทิพาพงษ (sirinapa@hotmail.com). 2544. วิธีทําความสะอาดเอกสารโดยไมใช สารเคมี. จดหมายอิเล็กทรอนิกส (anupom@mju.ac.th). 29 ตุลาคม


109

บรรณานุกรม คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม. 2551.“สถอ-01 แบบฟอรมขอใหออกหนังสือ ขอความอนุเคราะหขอมูล” [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.faed.mju.ac.th/download/ download_view_document.asp?download_group=3 (1 สิงหาคม พ.ศ. 2553). คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม. 2551.“สถอ-02 แบบฟอรมขอเสนอหัวขอ วิทยานิพนธ สาขาวิชาภูมิสถาปตยกรรม” [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.faed.mju.ac.th/download/ download_view_document.asp?download_group=3 (1 สิงหาคม พ.ศ. 2553). คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม. 2551. “ตัวอยางโครงรางวิทยานิพนธ สวน เนื้อเรื่องเรื่อง ฉบับปรับปรุงป พ.ศ. 2550” [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.faed.mju.ac.th/download/ download_view_document.asp?download_group=3 (1 สิงหาคม พ.ศ. 2553). คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม. 2551. “ตัวอยางโครงรางวิทยานิพนธ สวนนํา เรื่อง ฉบับปรับปรุงป พ.ศ. 2550” [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.faed.mju.ac.th/download/ download_view_document.asp?download_group=3 (1 สิงหาคม พ.ศ. 2553). คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม. 2551. “ตัวอยางการจัดหนากระดาษสวนนํา เรื่องรายงานวิทยานิพนธฉบับสมบูรณคณะสถาปตยฯ” [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.faed.mju.ac.th/ download/ download_view_document.asp?download_group=3 (1 สิงหาคม พ.ศ. 2553). คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม. 2551. “ภส 01-05 แบบประเมินการนําเสนอ วิทยานิพนธ (Thesis Presentation)” [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.faed.mju.ac.th/ download/ download_view_document.asp?download_group=3 (1 สิงหาคม พ.ศ. 2553). บัณฑิตวิทยาลัย. 2546. คูมือการพิมพวิทยานิพนธ. เชียงใหม: มหาวิทยาลัยแมโจ.


110

ประวัติความเปนมาของหลักสูตรภูมิสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจ หลักสูตรภูมิสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต เปดการเรียนการสอนใน ป พ.ศ. 2538 ซึ่งใน ขณะนั้นสังกัดอยูภายในภาควิชาภูมิทัศนและอนุรักษสิ่งแวดลอม คณะผลิตกรรมการเกษตร ตอมาเมื่อ ภาควิชาภูมิทัศนฯไดยกฐานะเปนหนวยงานระดับคณะ โดยมติกรรมการสภามหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2549

ทางหลักสูตรจึงไดเปลี่ยนมาสังกัดคณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบ

สิ่งแวดลอมนับแตนั้นเปนตนมา ทางหลักสูตรเปดรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตร 5 ป สาขาวิชา ภูมิสถาปตยกรรม (Landscape Architecture) รุนแรกจํานวน 21 คน จนถึงปจจุบันไดเปดการเรียนการ สอนเปนเวลากวา 14 ป ผลิตบัณฑิตออกสูวงการวิชาชีพไปแลวกวา 200 คน หลั ก สู ต รภู มิ ส ถาป ต ยกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต คณะสถาป ต ยกรรมศาสตร แ ละการออกแบบ สิ่งแวดลอมตั้งอยูที่อาคารภูมิทัศน มหาวิทยาลัยแมโจ เลขที่ 63 หมู 4 ตําบลหนองหาร อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม 50290 เว็บไซต www.arch-envi.mju.ac.th โทร: 053-873360,3




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.