การศึกษาเปรียบเทียบการวางผังและลักษณะทางกายภาพระหว่างเมืองโบราณสุโขทัยและเมืองโบราณเชียงใหม่

Page 1



รายงานผลการวิจัย คณะสถาปตยกรรมศาสตรและ การออกแบบสิ่งแวดลอม เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบการวางผังและลักษณะทางกายภาพระหวาง เมืองโบราณ สุโขทัยและเมืองโบราณเชียงใหม THE COMPARATIVE STUDY OF THE PLANNING AND PHYSICAL CHARACTERISTICS BETWEEN SUKHOTHAI AND CHIANGMAI ANCIENT CITY

ไดรับการจัดสรรงบประมาณวิจัย ประจําป ๒๕๕๓ จํานวนเงิน ๑๕,๐๐๐ บาท

ผูวิจัย นางสาวจรัสพิมพ บุญญานันต

งานวิจัยเสร็จสิ้นสมบูรณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓



คํานํา การศึกษาเปรียบเทียบการวางผังและลักษณะทางกายภาพระหวางเมืองโบราณ สุโขทัยและเมืองโบราณเชียงใหมนี้ แรกเริ่มเกิดขึ้นจากความสนใจใครรูของผูวิจัยเอง เมื่ อ สั ง เกตเห็ น รู ป พรรณสั ณ ฐานที่ ค ล า ยคลึ ง กั น ของเมื อ งโบราณสุ โ ขทั ย และเมื อ ง เชียงใหม โดยเฉพาะอยางยิ่งรูปทรงของคูเมืองและกําแพงเมืองรูปสี่เหลี่ยมเกือบจัตุรัส ยิ่งเมื่อมองจากแผนที่ทางภูมิศาสตรก็ยิ่งสังเกตไดถึงความคลายคลึงกันของตําแหนงที่ตั้ง ทางภูมิศาสตรของเมือง ผูวิจัยจึงไดเดินทางไปสํารวจพื้นที่เบื้องตน และไดเห็นถึงความ ชัดเจนของลักษณะทางกายภาพของเมืองทั้งสองในรายละเอียด ทั้งความเหมือน ความ คลายคลึง และขอแตกตาง จึงไดจัดทําโครงการศึกษาวิจัยนี้ขึ้น โดยมีเปาหมายเพื่อจะ ขอสรุปของรูปแบบและลักษณะทางกายภาพที่คลายคลึงกัน และแตกตางกันระหวางการ วางผังเมืองโบราณทั้งสอง เปนการพัฒนาตอยอดองคความรูดานศาสตรในการวางผัง เมืองในประวัติศาสตร และอิทธิพลตางๆที่มีผลตอลักษณะทางกายภาพของเมือง การวิจัยนี้ไดเริ่มดําเนินการตั้งแตวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ และสิ้นสุดใน วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๓ ทั้งนี้ทําการศึกษาโดยการเก็บขอมูลทุติยภูมิจาก เอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวของ และเก็บขอมูลปฐมภูมิโดยการสํารวจพื้นที่ศึกษา การ ถายภาพและการจดบันทึก จากนั้นจึงนําขอมูลมาวิเคราะหเปรียบเทียบเพื่อหาขอสรุป ดังกลาว ผู วิ จั ย หวั ง เป น อย า งยิ่ ง ว า การศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บการวางผั ง และลั ก ษณะทาง กายภาพระหวางเมืองโบราณสุโขทัยและ เมืองโบราณเชียงใหม จะเปนประโยชนตอทั้ง สถาบั นการศึกษา และหนวยงานที่รั บผิดชอบและเกี่ยวของกับการพั ฒนาพื้นที่เมือง โบราณ เกิดประโยชนสูงสุดตอการอนุรักษและพัฒนาพื้นที่เมืองโบราณอันเปนมรดกทาง วัฒนธรรมของชนชาติสืบตอไป จรัสพิมพ บุญญานันต กันยายน ๒๕๕๓


กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้ถือกําเนิดขึ้นและดําเนินการไปไดดวยดีจนกระทั่งเสร็จสิ้นได ก็ดวย ความช ว ยเหลื อ จากหลายๆฝ า ย หน ว ยงานแรกที่ จ ะต อ งขอขอบคุ ณ คื อ คณะ สถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจ ที่สนับสนุนทุน การวิ จั ย (ได รั บ การจั ด สรรงบประมาณวิ จั ย ประจํ า ป ๒๕๕๓) รวมทั้ ง ขอบคุ ณ คณะกรรมการวิจัยของคณะตลอดจนเจาหนาที่ที่เกี่ยวของทุกทาน ที่ชวยเหลืออํานวย ความสะดวกดวยดีเสมอมา หน ว ยงานต อ มาที่ ต อ งขอขอบคุ ณ คื อ บริ ษั ท พี แอล ดี ไ ซน จํ า กั ด นํ า โดย อาจารย ดร. วีระพันธ ไพศาลนันท ที่กรุณาใหผูวิจัยไดรวมเดินทางไปศึกษาดูงานยัง เมืองโบราณนครธม เมืองเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา อันเปนตนแบบของเมืองโบราณ ทั้งสองในงานวิจัยครั้งนี้ ทําใหผูวิจัยไดขอมูลภาพถายกลับมาประกอบการจัดทํารายงาน ฉบับสมบูรณ นอกจากนี้ตองขอขอบคุณพนักงานในบริษัท พี แอล ดีไซน จํากัด ผูรวม เดินทาง ที่ใหชวยเหลือในทุกดาน พรอมดวยมิตรไมตรีที่ดี ตลอดระยะเวลาที่เดินทางไป เก็บขอมูลทําการวิจัย ขอขอบคุณบุคคลในครอบครัวอันเปนที่รักยิ่งเริ่มจากพี่ชายของผูวิจัย คุณตอพงษ บุญญานัน ต ที่ก รุณ ารับ ภาระดู แลคุ ณพ อ ที่ป ว ยเป นอั ม พฤกษ แทนผู วิ จัย ระหว า งที่ เดิ น ทางไปลงพื้ น ที่ เ ก็ บ ข อ มู ล ทุ ก ครั้ ง ขอบคุ ณ น อ งชายของผู วิ จั ย ดร.ภาคภู มิ บุ ญ ญานั นต ที่ ค อยดู แ ลรั บ ส ง ในบางช ว งเวลาของการเดิ น ทาง และท า ยที่สุ ด นี้ ต อ ง ขอขอบคุณบุคคลที่สําคัญที่สุดในชีวิตคือคุณพอจํารัส และคุณแมสุวิมล บุญญานันต ซึ่ง คอยสนับสนุนใหกําลังใจในทุกๆเรื่องตลอดมา จรัสพิมพ บุญญานันต ผูดําเนินการวิจัย


สารบัญ คํานํา กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทคัดยอ Abstract

หนา (ข) (ค) (ง) (ฉ) (ช) ๑ ๓

บทที่ ๑ บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา วัตถุประสงคของการวิจัย ขอบเขตการวิจัย ประโยชนทคี่ าดวาจะไดรับจากการวิจัย งบประมาณในการวิจัย ระยะเวลาในการดําเนินการวิจัย ขอจํากัดและปญหาในการทําวิจัย

๕ ๖ ๖ ๖ ๗ ๗ ๗

บทที่ ๒ การตรวจเอกสารและวรรณคดีที่เกี่ยวของ ความสําคัญเชิงประวัตศิ าสตรของเมืองโบราณสุโขทัยและเมืองเชียงใหม ๘ ทฤษฎีเกี่ยวกับการวางผังเมืองโบราณ ๑๑ บทที่ ๓ ระเบียบวิธวี ิจัย แหลงขอมูลงานวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล วิธีการวิเคราะหขอมูล การประมวลผลขอมูล

๑๒ ๑๓ ๑๓ ๑๔ ๑๔


(จ) (จ)

สารบั ญ (ตญอ(ต ) อ) สารบั บททีบทที ่ ๔ ่ ผลของการศึ กษาวิ จัยและการอภิ ปรายปราย ๔ ผลของการศึ กษาวิ จัยและการอภิ การศึการศึ กษาเปรี ยบเทียยบเที บภูยมบภู ิหลัมงทางด านประวั ติศาสตร และศาสนา กษาเปรี ิหลังทางด านประวั ติศาสตร และศาสนา การศึการศึ กษาเปรี ยบเทียยบเที บลัยกบลั ษณะทางภู มิศาสตร กษาเปรี กษณะทางภู มิศาสตร การศึการศึ กษาเปรี ยบเทียยบเที บความเชื ่อทางศาสนากั บสัณบฐานของเมื อง อง กษาเปรี ยบความเชื ่อทางศาสนากั สัณฐานของเมื การศึการศึ กษาเปรี ยบเทียยบเที บลัยกบลั ษณะของกํ าแพงเมื องและคู เมืองเมือง กษาเปรี กษณะของกํ าแพงเมื องและคู การศึการศึ กษาเปรี ยบเทียยบเที บการแบ งพื้นงทีพื่ก้นารใช ที่ดินที่ดิน กษาเปรี ยบการแบ ที่การใช การศึการศึ กษาเปรี ยบเทียยบเที บระบบน้ ําและชลประทาน กษาเปรี ยบระบบน้ ําและชลประทาน

หนาหนา ๑๕ ๑๕ ๓๐ ๓๐ ๓๔ ๓๔ ๕๐ ๕๐ ๕๕ ๕๕ ๖๐ ๖๐

บททีบทที ่ ๕ ่ สรุ รายผล และข อเสนอแนะ ๕ ปสรุอภิ ป ปอภิ ปรายผล และข อเสนอแนะ ที่มาที่มประเด็ นปญนหา และขและข อมูลอพืมู้นลฐานของโครงการ า ประเด็ ปญหา พื้นฐานของโครงการ ผลการวิ จัย จัย ผลการวิ การอภิ ปรายผล การอภิ ปรายผล ปญหาที ่พบในการวิ จัย จัย ปญหาที ่พบในการวิ ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะ บรรณานุ กรมกรม บรรณานุ

๖๔ ๖๔ ๖๕ ๖๕ ๗๐ ๗๐ ๗๑ ๗๑ ๗๑ ๗๑ ๗๒ ๗๒


สารบัญตาราง ตารางที่ ๑ ๒ ๓

หนา

การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของเมืองโบราณสุโขทัย ๒๑ การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของเมืองโบราณเชียงใหม ๒๘ เปรี ย บเที ย บลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศของเมื อ งโบราณสุ โ ขทั ย และเมื อ ง ๓๐ เชียงใหม


สารบัญภาพ ภาพที่

หนา

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒

๘ ๙ ๑๐ ๑๗ ๑๘ ๑๘ ๑๘ ๒๕ ๒๖ ๓๒ ๓๓ ๓๕ ๓๖ ๓๖ ๓๗ ๓๗ ๓๗ ๓๙ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๔

พระพุทธรูปปางลีลาศิลปะสุโขทัย อนุสาวรียสามกษัตริยผูทรงรวมสรางเมืองเชียงใหม พระพุทธสิหิงค พระพุทธรูปศิลปะลังกา พระปรางคทวี่ ดั พระพายหลวง หนาบันพระปรางควัดพระพายหลวง ศาลตาผาแดง พระปรางคประธาน วัดพระศรีมหาธาตุเชลียง เจดียหลวง จ.เชียงใหม เวียงเจ็ดลิน เชิงดอยสุเทพ จ.เชียงใหม ลักษณะภูมิประเทศของเมืองเกาสุโขทัย ลักษณะภูมิประเทศของเมืองเชียงใหม พระโพธิสตั วอวโลกิเตศวร ปราสาทนครวัด ภาพจําลองของจักรวาลตามความเชื่อของพุทธศาสนานิกายมหายาน ทัศนียภาพโดยรวมของเมืองนครธม ปราสาทบายน ตั้งอยูที่ใจกลางเมืองนครธม รูปสลักใบหนาของพระเจาชัยวรมันที่ 7 ที่ปราสาทบายน พระปรางควัดพระพายหลวง ภาพถายทางอากาศเมืองเกาสุโขทัย วัดมหาธาตุตงั้ อยูบริเวณกลางเมืองเกาสุโขทัย วัดตระพังทองตั้งอยู บนเกาะกลางสระน้าํ หุนจําลองเขาพระสุเมรุ ทีว่ ดั พระธาตุหริภุญชัย จ.ลําพูน ภาพถายทางอากาศเมืองนครธม นครวัด บารายตะวันออกและบาราย ตะวันตก ๒๓ ภาพถายทางอากาศเมืองนครธม นครวัด ปราสาทบายน ปราสาทพนม บาเค็ง และบารายตะวันตก ๒๔ แสดงทิศของแนวแกนหลักของสิ่งปลูกสรางในเมืองสุโขทัยที่มีความ แตกตางกัน ๒๕ ศาลหลักเมือง เมืองเกาสุโขทัย

๔๔ ๔๖ ๔๗


(ช)

สารบัญภาพ (ตอ) ภาพที่ ๒๖ ๒๗ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗

หนา ภาพถายทางอากาศเมืองเชียงใหม สภาพของคูเมืองสุโขทัยในปจจุบัน ประตูออทางทิศตะวันตกของเมืองสุโขทัย ประตูทาแพและกําแพงเมืองเชียงใหม ประตูทาแพและกําแพงเมือง มุมมองจากถนนราชดําเนิน การแบงพื้นที่การใชที่ดินของเมืองโบราณสุโขทัย การใชที่ดินภายในเขตคูเมืองเชียงใหมและพื้นที่ใกลเคียง พระเจดียวัดอินทขิล ภายในหอศิลปวัฒนธรรมเชียงใหม เสาอินทขิลในปจจุบัน ตั้งอยูภายในบริเวณวัดเจดียหลวง วิหารลายคําภายในวัดพระสิงค เขื่อนพระรวง เมืองโบราณสุโขทัย แนวคลองสงน้ําเขาเมืองจากคูเมืองโบราณสุโขทัย

๔๙ ๕๑ ๕๒ ๕๔ ๕๕ ๕๗ ๕๘ ๕๙ ๕๙ ๕๙ ๖๑ ๖๒



การศึกษาเปรียบเทียบการวางผังและลักษณะทางกายภาพระหวาง เมืองโบราณสุโขทัยและเมืองโบราณเชียงใหม THE COMPARATIVE STUDY OF THE PLANNING AND PHYSICAL CHARACTERISTICS BETWEEN SUKHOTHAI AND CHIANGMAI ANCIENT CITY จรัสพิมพ บุญญานันต๑ CHARASPIM BOONYANANT ๑

สาขาวิชาภูมิสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัย แมโจ จังหวัดเชียงใหม

บทคัดยอ งานวิจัยนี้เปนการศึกษาเปรียบเทียบการวางผังและลักษณะทางกายภาพระหวาง เมืองโบราณสุ โ ขทั ย และเมื อ งโบราณเชี ย งใหม ซึ่ งเปนแหลงอารยธรรมที่ สําคั ญ ของ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตในอดีต และเปนราชธานีของอาณาจักรอันยิ่งใหญอัน ไดแกอาณาจักรสุโขทัยและอาณาจักรลานนา เมืองทั้งสองตางก็เปนถิ่นกอกําเนิดงาน ศิลปวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณงดงาม และทรงอิทธิพลอยางมากในภูมิภาคแถบนี้เปนเวลา ยาวนานหลายรอยป เปนที่ทราบกันดีวาพญามังรายเปนกษัตริยของลานนาผูทรงกอตั้ง เมืองเชียงใหม โดยนํารูปแบบมาจากผังเมืองสุโขทัยในยุคสมัยของพอขุนรามคําแหง มหาราช ดังนั้นลักษณะทางกายภาพของเมืองทั้งสองจึงคอนขางที่จะคลายคลึงกันอยาง เห็นไดชัด อยางไรก็ดี ยังมีปจจัยอื่นๆอีกหลายประการที่มีอิทธิพลตอรูปแบบ และ ลักษณะทางกายภาพของผังเมืองตลอดจนวิวัฒนาการที่เกิดขึ้นเปนลําดับตอเนื่องผาน ชวงเวลาตางๆในประวัติศาสตร ยังผลใหเกิดลักษณะที่แตกตางกันของผังเมืองโบราณทั้ง สองแหงในรายละเอียด ในการศึกษาเปรียบเทียบนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อหาขอสรุปของ รูปแบบและลักษณะที่คลายคลึงกัน และแตกตางกันระหวางเมืองโบราณทั้งสอง หัวขอ ตางๆ ที่ถูกนํามาศึกษาเปรียบเทียบประกอบดวย


๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖.

ภูมิหลังทางประวัตศิ าสตรและศาสนา ลักษณะทางภูมิศาสตร ความเชื่อทางศาสนากับสัณฐานของเมือง ลักษณะของกําแพงเมืองและคูเมือง การแบงพื้นที่การใชทดี่ ิน ระบบน้ําและชลประทาน

ทั้งนี้ทําการศึกษาโดยการเก็บขอมูลทุติยภูมิจากเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวของ และเก็บขอมูลปฐมภูมิโดยการสํารวจพื้นที่ศึกษา การถายภาพและการจดบันทึก จากผล ของการเปรียบเทียบ ทําใหสามารถสรุปไดถึงปจจัยที่สําคัญที่มีอิทธิพลตอรูปแบบและ ลักษณะทางกายภาพ รวมไปถึงวิวัฒนาการของผังเมืองโบราณทั้งสองเมือง เริ่มตนจาก ความแตกตางทางดานสภาพภูมิศาสตรในระดับภูมิภาค อันสงผลใหเกิดความแตกตาง ของสภาพภูมิศาสตรในระดับทองถิ่น เมืองเชียงใหมมีความอุดมสมบูรณของแหลงน้ํา มากกวาเมืองสุโขทัย อันเปนผลทําใหเกิดความแตกตางกันของลักษณะพืชพรรณ การ ตั้งถิ่นฐานบานเรือน ระบบน้ําและการชลประทาน ปจจัยอีกประการหนึ่งที่มีอิทธิพลอยาง มากและสงผลตอลักษณะสัณฐานของเมืองก็คือความเชื่อทางศาสนา โดยเฉพาะอยางยิ่ง คติความเชื่อเรื่องจักรวาลในศาสนาพุทธนิกายวัชรยาน ซึ่งไดนํารูปแบบมาจากเมืองนคร ธม โดยนํ า มาปรั บ ใช ใ ห เ ข า กั บ คติ ค วามเชื่ อ ทางศาสนาของพื้ น ถิ่ น ของแต ล ะเมื อ ง อยางไรก็ดีศาสนาที่มีบทบาทมากที่สุดก็คือพุทธศาสนาลัทธิหินยานนิกาย ลังกาวงศ ในการกอสรางเมืองทั้งสองใหมีสัณฐานสี่เหลี่ยมเกือบจัตุรัส ตางตองอาศัยหลักดารา ศาสตร และคณิต ศาสตรที่ มีค วามเจริ ญก าวหน า ซึ่ง สันนิษ ฐานว าไดม าจากศาสนา พราหมณโดยผานราชครูและโหราจารยประจําราชสํานัก ลักษณะของคูเมืองและกําแพง เมืองทั้ง ๒ มีความคลายคลึงกันในเรื่องของรูปรางเทานั้น แตแตกตางกันมากในเรื่อง ของขนาด วัสดุที่ใชในการกอสราง ตําแหนงและรูปรางของประตูเมืองและปอมประตู เมื อ ง การวางตํ า แหน งพื้ นที่ ใ ชส อยของทั้ งสองเมืองมี ค วามคล า ยคลึงกั นในภาพรวม ภายนอกเขตกําแพงเมือง แตแตกตางกันในพื้นที่ในเขตกําแพงเมือง ซึ่งเปนไปตามหลัก ความเชื่อในเรื่องศาสนาและโหราศาสตร และตามปจจัยที่สําคัญในการตั้งถิ่นฐานนั่นคือ แหลงน้ํา การเปลี่ยนแปลงลักษณะและรูปแบบทางกายภาพของเมืองเชียงใหมเกิดขึ้น มากกวาเมืองสุโขทัย เนื่องจากเปนเมืองศูนยการการติดตอเชื่อมโยงกับเมืองตางๆใน พื้นที่ลุมแมน้ําปงไดสะดวก นอกจากนี้ยังมีชวงเวลาความเจริญรุงเรืองที่ยาวนานกวา เมืองสุโขทัยอีกดวย


ABSTRACT This research was the comparative study of the physical characteristics between Sukhothai and Chiangmai ancient city which are important civilization sources of Southeast Asia Region. They were the capital cities of the great Sukhothai and Lanna Kingdom. Both cities are sources of unique and graceful art and culture that have played important roles in these regions for many centuries. As we all knows that Paya Mangrai, the first Lanna King, established Chiangmai, using Sukhothai ancient city planning during King Ramkhamhang era as a model. Therefore, physical characteristics of both ancient cities were distinctly similar. However, there were many other factors that influenced appearances, characteristics, and evolutions of their planning during a long period of time in the history. These resulted in the differences in details of their heir planning. The objective of this comparative study was to find summaries of the similarities and differences between the city planning appearances and characteristics of both ancient cities. Two cities were compared in the following subjects. 1. 2. 3. 4. 5. 6.

Historical and religious background Geography Religious beliefs and the cities’ forms Characteristics of the cities’ walls and moats Landuses planning Water and Irrigation system

The method of the thestudy was to collect secondary data from related documents, and also primary data from site surveying, photography, and notes. The conclusion from the comparison showed important factors that influenced appearances, characteristics, and evolution of those ancient cities’ planning. First, there were differences of geography in a regional level which resulted in the difference of the local geography. Chiangmai has more plentiful water resources than Sukhothai. As a result, they were different in plants, settlements, and water drainage systems. Another factor that influenced the cities’ forms were religious


beliefs, especially, that about the universe of Wacharayana, a Buddhist doctrine from the Angkor Thom. It was applied to be consistent with the local religious beliefs of each city. However, the one playing the most important roles was the Hinayana Buddhism, the Langkawong Nikaya. To build the square shape cities, advance principles in astronomy and mathematics were used. Itwas was supposed that they came from Brahman Religious via the royal teachers and astrologers. The characteristics of both cities’ walls and moats were similar in shapes but different in sizes, materials, the locations and shapes of the cities’ doors and fortresses. The landuse planning of both cities were similar at the areas outside of the cities’ walls, but different at those inside which depended on the religious and astrology beliefs. It also depended on water resources which were an important factor for human settlements. There were more changes in the physical characteristics of Chiangmai city than those in Sukhothai ancient city. Because it has been the center that could conveniently link to other cities in Ping River basin. Moreover, it has had a longer flourish period than Sukhothai ancient city.


บทที่ ๑ บทนํา ๑. ความเปนมาและความสําคัญของปญหางานวิจัย เมืองโบราณสุโขทัยและเมืองโบราณเชียงใหม ตางก็เปนแหลงอารยธรรมที่สําคัญ ของดินแดนสุวรรณภูมิในอดีต เมืองสุโขทัยเคยเปนราชธานีแหงแรกของราชอาณาจักร สยาม สวนเมืองเชียงใหมหรือเมืองนครพิงคนั้นเคยเปนราชธานีของอาณาจักรลานนา ทางตอนเหนือ เมืองทั้งสองตางก็เปนถิ่นกอกําเนิดงานศิลปวัฒนธรรมที่มีเอกลักษณ งดงาม และทรงอิทธิพลอยางมากในภูมิภาคแถบนี้เปนเวลายาวนานหลายรอยป เปนที่ ทราบกันดีวา พญามังรายเปนกษัตริยของลานนาผูทรงกอตั้งเมืองเชียงใหม โดยนํา รูปแบบมาจากผังเมืองสุโขทัยในยุคสมัยของพอขุนรามคําแหงมหาราช ดังนั้นลักษณะ ทางกายภาพของเมืองทั้งสองจึงคอนขางที่จะคลายคลึงกันอยางเห็นไดชัด อยางไรก็ดี ยังมีปจจัยอื่นๆอีกหลายประการที่มีอิทธิพลตอรูปแบบ และลักษณะทางกายภาพของผัง เมืองตลอดจนวิวัฒนาการที่เกิดขึ้นเปนลําดับตอเนื่องผานชวงเวลาตางๆในประวัติศาสตร ยังผลให เกิดลักษณะที่แตกตางกันของผังเมืองโบราณทั้งสองแห งในรายละเอียด ใน การศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บนี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ หาข อ สรุ ป ของรู ป แบบและลั ก ษณะที่ คลายคลึงกัน และแตกตางกันระหวางเมืองโบราณทั้งสองโดยทําการเปรียบเทียบใน หัวขอตางๆ ประกอบดวย ๑. ภูมิหลังทางประวัตศิ าสตรและศาสนา ๒. ลักษณะทางภูมิศาสตร ๓. ความเชื่อทางศาสนากับสัณฐานของเมือง ๔. ลักษณะของกําแพงเมืองและคูเมือง ๕. การแบงพื้นที่การใชทดี่ ิน ๖. ระบบน้ําและชลประทาน ทั้งนี้ทําการศึกษาโดยการเก็บขอมูลทุติยภูมิจากเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวของ และเก็บขอมูลปฐมภูมิโดยการสํารวจพื้นที่ศึกษา การถายภาพและการจดบันทึก จากผล ของการเปรียบเทียบ ทําใหสามารถสรุปไดถึงปจจัยที่สําคัญที่มีอิทธิพลตอรูปแบบและ ลักษณะทางกายภาพ รวมไปถึงวิวัฒนาการของผังเมืองโบราณทั้งสองเมือง อันจะเปน การชวยเสริมสรางความรูทางดานประวัติศาสตรของเมืองโบราณในราชอาณาจักรไทย ตอไป


๒. วัตถุประสงคของโครงการวิจัย ๒.๑ เพื่ อหาข อสรุปของรู ปแบบและลัก ษณะทางกายภาพที่ ค ล า ยคลึ งกัน และ แตกตางกันระหวางการวางผังเมืองโบราณทั้งสอง ๒.๒ เพื่อทราบถึงองคความรูดานศาสตรในการวางผังเมืองในประวัติศาสตร และ อิทธิพลตางๆที่มีผลตอลักษณะทางกายภาพของเมือง ๒.๓ เพื่อใชเ ปนขอมู ลที่สําคั ญใหนักวิจัย นักศึกษา หน วยงานราชการ และ หนวยงานอื่นๆที่เกี่ยวของ ทําการคนควา นํามาตอยอดใชประโยชนตอไป ทั้งทางดาน การวิจัยและการศึกษา ๒.๔ เปนการเผยแพรขอมูลมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ ๓. ขอบเขตของโครงการวิจัย ทําการเปรียบเทียบรูปแบบและลักษณะทางกายภาพของเมืองโบราณสุโขทัยและ เมืองเชียงใหมในหัวขอตางๆตอไปนี้ ๓.๑ ศึกษาเปรียบเทียบประวัติศาสตรและชวงระยะเวลาของการกอสรางและการ เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ ๓.๒ ศึกษาลักษณะทางภูมิศาสตรกายภาพของสถานที่ตั้งเมือง ๓.๓ ศึกษาความเชื่อทางศาสนาที่มีอิทธิพลตอลักษณะสัณฐานของเมือง ๓.๔ ศึกษาลักษณะของคูเมืองและกําแพงเมือง ๓.๕ ศึกษาตําแหนงที่ตั้งของการใชประโยชนที่ดิน ๓.๖ ศึกษารูปแบบการวางระบบน้ําและการชลประทาน ๔. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ เชน การเผยแพรในวารสาร จดสิทธิบัตร ฯลฯ และ หนวยงานที่นําผลการวิจัยไปใชประโยชน ๔.๑ ได พั ฒ นาองค ค วามรู ใ นด า นศาสตร ใ นการสร า งเมื อ งโบราณที่ มี สั ณ ฐาน สี่เหลี่ยมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ซึ่งผลงานวิจัยและเอกสารตําราจะสามารถนําไปจด สิทธิบัตรได ๔.๒ หนวยงานทั้ งภาครั ฐและภาคเอกชนจะสามารถนํ าเอาข อมู ลที่ ไ ดนี้ ไป ประยุกตใชเพื่อการศึกษาอนุรักษปรับปรุงและพัฒนาภูมิทัศนเวียงโบราณเหลานี้ ซึ่งจะ กอใหเกิดประโยชนอยางยั่งยืนตอไปในอนาคต


๔.๓ เปนการเผยแพรขอมูลและปลูกจิตสํานึกในคุณคาของมรดกทางวัฒนธรรม ของชาติใหกวางขวางยิ่งขึ้น ๕.

งบประมาณของโครงการวิจัย

๕.๑ ป ง บประมาณ ๒๕๕๓ ได รั บ งบประมาณอุ ด หนุ น การวิ จั ย จากคณะ สถาปตยกรรมศาสตรและการออกแบบสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยแมโจ รวม ๑๕,๐๐๐ บาท จัดอยูในหมวดคาตอบแทน ๖. ระยะเวลาในการดําเนินการวิจัย เริ่มตั้งแตเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ สิ้นสุดเดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๔๓ ๗. ขอจํากัดและปญหาที่พบในการวิจัย ๗.๑ เนื่องจากรูปแบบและลักษณะทางกายภาพเมืองโบราณทั้งสองเมืองนี้มี ความเกี่ยวของโดยตรงกับเมืองนครธม ประเทศกัมพูชา ผูวิจัยจึงมีความจําเปนที่จะตอง เดินทางไปสํารวจเก็บขอมูลที่ประเทศกัมพูชา ซึ่งตองใชเวลาและงบประมาณสนับสนุน มากกวาที่ประมาณการไวแตแรก


บทที่ ๒

การตรวจเอกสารและวรรณคดีที่เกี่ยวของ ๑. ความสําคัญเชิงประวัติศาสตรของเมืองโบราณสุโขทัยและเมืองเชียงใหม

ภาพที่ ๑ พระพุทธรูปปางลีลาศิลปะสุโขทัย เปนงานประติมากรรมลอยตัวที่สวยงามมีเอกลักษณ เฉพาะตัว ไดรับการยกยองวาเปนงานพุทธศิลปอันล้ําเลิศระดับโลก


ในบรรดานครหลวงของไทยที่ไดกอตั้ง รุงเรือง และบางก็เสื่อมสลายไปในแวน แควนดินแดนสยามนับแตอดีตมาจนถึงปจจุบันนี้ เมืองโบราณสุโขทัยและเมืองเชียงใหม นับไดวาเปนนครหลวงที่สําคัญและมีชื่อเสียงเปนอยางมาก ในยุคแหงความรุงโรจนเมือง ทั้ง สองต า งก็เ ป น ศู น ย ก ลางทางการปกครองการค า ศาสนาศิ ล ปะและวั ฒนธรรม ที่ มี อิทธิพลตออาณาจักรใกลเคียง เมืองโบราณสุโขทัยซึ่งเปนเมืองหลวงของแควนสุโขทัย นั้นมีชื่อเสียงในฐานะที่เชื่อกันมาแตเดิมวา เปนราชธานีแหงแรกของราชอาณาจักรไทย๑ ที่มีการพัฒนารูปแบบศิลปกรรมและสถาปตยกรรมที่สวยงามและมีเอกลักษณเฉพาะตัว (ภาพที่ ๑) จนองคการสหประชาชาติ ไดประกาศยกยองและขึ้นทะเบียนใหเปนเมือง มรดกโลก สวนเมืองเชียงใหมนั้น มีความยิ่งใหญในฐานะที่เปนเมืองหลวงของอาณาจักร ลานนาในอดีต และเปนเมืองที่มีวิวัฒนาการอยางตอเนื่องยาวนาน นับตั้งแตสมัยของ พญามังรายในพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ผานความรุงโรจนและความเสื่อมสลายจากการศึก สงครามมานับครั้งไมถวน จนกระทั่งไดกลายมาเป นนครเชียงใหม เมืองที่ใ หญเปน อันดับ ๒ ของไทยในปจจุบัน เป นที่ ท ราบกันดี ว า ในป พ.ศ. ๑๘๓๙ ๒ พญามังราย กษั ต ริ ย แหงราชวงศ ลวจังกราชเปนผูกอตั้งเมืองเชียงใหมขึ้น โดยทรงทูลเชิญพระสหาย ๒ พระองค คือ พระรว งหรือพอขุนรามคําแหงเจาเมืองสุโขทัยในเวลานั้น และพญางําเมืองเจาเมือง พะเยา ใหเสด็จมารวมกันในการสรางเมืองเชียงใหม (ภาพที่ ๒) ดวยเหตุนี้การวางผัง เมืองเชียงใหม จึงไดรับอิทธิพลจากลักษณะของผังเมืองเกาสุโขทัยอยางเห็นไดชัด

ภาพที่ ๒ อนุสาวรียสามกษัตริย ผูทรงรวมสรางเมืองเชียงใหม ตั้งอยูบริเวณหนาหอ ศิลปวัฒนธรรมเชียงใหมใน ปจจุบัน ๑

ในปจจุบันพบหลักฐานทางโบราณคดีที่พิสูจนไดวามีเมืองโบราณหลายเมืองที่เกิดขึ้นทั้งในชวงกอน และในสมัยเดียวกับกรุงสุโขทัยที่มีสถานะเปนเมืองหลวงของแควน ซึงกระจัดกระจายอยูในบริเวณ นี้ ดู [๑๓] ศรีศักร วัลลิโภดม. (๒๕๔๐). นครหลวงของไทย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ เมือง โบราณ. ๒ จากหลักฐานจารึกที่พบที่วัดเชียงมั่น ซึ่งจารึกขึ้นในสมัยของพระเจาติโลกราช


๑๐

โดยเฉพาะอยางยิ่งการวางตําแหนงทางภูมิศาสตรของเมือง และลักษณะทางดาน กายภาพโดยทั่วไปของกําแพงเมืองและคูเมือง อยางไรก็ดีแมวาลักษณะการวางผังเมือง ของเมื อ งทั้ ง สองจะมี ค วามคล า ยคลึ ง กั น ในระยะเริ่ ม แรก แต เ มื่ อ เวลาผ า นไปเกิ ด วิวัฒนาการของเมืองอันเนื่องมาจากเหตุและปจจัยตางๆที่เขามาเกี่ยวของ ยกตัวอยาง เชน การกอสรางเพิ่มเติมและการบูรณะปฏิสังขรณสิ่งปลูกสรางของเมืองโดยกษัตริยแตละ พระองค การเกิ ด ศึ ก สงครามคติ ค วามเชื่ อ อิ ท ธิ พ ลทางศาสนาและอิ ท ธิ พ ลทางด า น ภู มิ ศ าสตร เหล า นี้ ค อ ยๆหล อ หลอมให น ครหลวงอั น ยิ่ ง ใหญ ทั้ ง สองเกิ ด ลั ก ษณะทาง กายภาพที่โดดเดนเฉพาะตัวแตกตางกัน ซึ่งไดสงผลตอชีวิตและประวัติศาสตรความ เปนไปของเมืองที่แตกตางกันในที่สุด เมืองสุโขทัยนั้นคงความรุงโรจนอยูไดเพียง ๒ ศตวรรษ จากนั้นจึงคอยๆถูกลดบทบาทลงจนพนไปจากสถานะการเปนเมืองหลวงของ แควน ผูคนก็ตองอพยพทิ้งบานเมืองไปตั้งถิ่นฐานใหมทางทิศตะวันออกแถบริมแมน้ํา ยม๓ คงเหลือเพียงกลุมชุมชนขนาดเล็กที่ยังคงอาศัยอยูในพื้นที่เดิมสืบเนื่องตอกันมา จนถึงปจจุบัน งานศิลปกรรมและสถาปตยกรรมที่หลงเหลืออยูจึงมีลักษณะดั้งเดิมอยู คอนขางมาก ไมถูกตอเติมเสริมแตงโดยคนรุนหลังในสมัยตอๆมาเทาไหรนัก นับเปน มรดกอันล้ําคาแกการศึกษาดานประวัติศาสตรและศิลปะของชาติเปนอยางยิ่ง ในขณะที่ เมืองเชียงใหมไดพัฒนาตอเนื่องมา นับถึงปจจุบันได ๗๑๐ ปแลว ยังคงความสําคัญใน ฐานะที่เปนศูนยกลางความเจริญในทุกๆดาน มรดกอันล้ําคาทางพุทธศิลปยังคงปรากฏ ใหพบเห็นกันอยูทั่วไป (ภาพที่ ๓) แตก็อยูทามกลางปญหาและความวุนวายของสังคม เมืองในยุคโลกาภิวัตนในชว งตนพุทธศตวรรษที่ ๒๑ นี้ การเปลี่ยนแปลงของเมื อง เชียงใหมคงเกิดขึ้นอยางตอเนื่องและรวดเร็ว เมื่อเปรียบเทียบกับความงามที่สงบนิ่งของ เมืองโบราณสุโขทัย ความแตกตางที่มีตนกําเนิดมาจากความคลายคลึงของเมืองทั้งสองนี้ จึงเปนปริศนาที่ทาทายใหศึกษาคนควาตลอดมา

ภาพที่ ๓ พระพุทธสิหิงค พระพุทธรูปศิลปะลังกา ผลงาน สรางสรรคทางพุทธศิลปอันล้ําคา ถูกอัญเชิญมาประดิษฐาน ณ วัดพระสิงห จ.เชียงใหม ในสมัยของพระเจาแสนเมืองมา เมื่อกวา ๖๐๐ ป มาแลว ๓

บริเวณที่ตั้งของเมืองสุโขทัยในปจจุบัน


๑๑

๒. ทฤษฎีเกี่ยวกับการวางผังเมืองโบราณ สรัสวดี อองสกุล (๒๕๔๔) อธิบายถึงหลักสําคัญของระบบนิเวศเมือง ซึ่งมี บทบาทสําคัญในการสรางเมืองเชียงใหม ประกอบดวย ๒.๑ การเลือกสถานที่อันเหมาะสมกับการตั้งเมืองโดยพิจารณาสภาพภูมิศาสตร เชน พิจารณาแหลงน้ํา และทิศทางการไหลของน้ํา ลักษณะของความอุดมสมบูรณของ ดิน ความสูงต่ําของภูมิประเทศ ๒.๑.๑ การกําหนดเขตการใชประโยชนที่ดิน ๑) การกําหนดการใชประโยชนที่ดินใหถูกตองเหมาะสมกับระบบ นิเวศ เชน กําหนดพื้นที่ปา พื้นที่ชุมชนเมือง เปนตน ๒) การกําหนดเขตการใชประโยชนที่ดินตามคติความเชื่อ เชน คติ จักรวาล คติความเชื่อเรื่องทิศ เปนตน จะเห็นไดวามีปจจัยสําคัญๆหลายประการที่เกี่ยวของกับการวางผังเมืองโบราณ ประกอบดวย ลักษณะทางภูมิศาสตรกายภาพของสถานที่ตั้งเมือง การกําหนดเขตการ ใชประโยชนที่ดิน คติความเชื่อตางๆ เปนตน อรุณรัตน วิเชียรเขียว (๒๕๓๙) อธิบายองคประกอบของผังเมืองเชียงใหม ไดแก สัณฐานรูปรางของเมืองที่เปนรูปสี่เหลี่ยมเกือบจัตุรัส ลอมรอบไปดวยกําแพงและ คูน้ํา ภายในกําแพงเมืองแบงพื้นที่ใชสอยออกเปนพื้นที่ตางๆ ไดแก พื้นที่พระราชวัง หลวง พื้นที่ศาสนสถาน พื้นที่สนามหลวง พื้นที่ตลาด พื้นที่บานเรือนขุนนาง พื้นที่ บานเรือนราษฎร สวนภายนอกกําแพงเมืองสวนใหญเปนพื้นที่การเกษตรและปาไม เมื่อทําการสังเกตจากแผนผังของเมืองโบราณสุโขทัยและเมืองโบราณเชียงใหม ในเบื้องตน จะเห็นลักษณะทางกายภาพทั้งที่คลายคลึงกันและแตกตางกันในเบื้องตน เชน ลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตรคลายคลึงกันแตมีความแตกตางกันในรายละเอียดที่พอ มองเห็นได ลักษณะสัณฐานของเมืองรูปสี่เหลี่ยมผืนผามีความคลายคลึงกัน ลักษณะ ของกําแพงเมืองมีความแตกตางกัน ตําแหนงที่ตั้งขององคประกอบตางๆของเมืองมี ความแตกตางกัน เปนตน


๑๒

บทที่ ๓

ระเบียบวิธวี จิ ัย การวิจัยครั้งนี้ซึ่งจัดได ได้ววา่าเป เป็นนการวิ การวิจจัยัยเชิเชิงงประวั ประวัตติศิศาสตร าสตร์ (Historical (HistoricalResearch) Research), เพื่อคนควาหาขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นในอดีต มาจนถึงปจจุบัน ทําการศึกษารูปแบบและ ลักษณะของการวางผังเมืองโบราณสุโขทัยและเมืองเชียงใหม ทั้งความคลายคลึงกัน และความแตกตางกัน รวมทั้งอิทธิพลที่กอใหเกิดความเหมือนและความแตกตางเหลานั้น โดยอาศัยหลักฐานทั้งทางดานโบราณคดีที่มีอยู หลักฐานจากการสํารวจ และหลักฐาน จากเอกสารที่เกี่ยวของ ถือเปนการวิจัยประยุกต (applied research) ดําเนินการศึกษา คนควาเพื่อหาความรูใหม ๆ โดยนําเอาความรูและวิธีการตาง ๆ ที่ไดจากการวิจัยขั้น พื้นฐานมาประยุกตใชอีกตอหนึ่ง ทั้งนี้เพื่อเพิ่มพูนความรู และในการวิจัยในขั้นตอๆไป ผู วิ จั ย เริ่ ม ทํ า การค น คว า จากเอกสารของบรรดานั ก ปราชญ ร าชบั ณ ฑิ ต ที่ ไ ด ตี พิ ม พ เผยแพร พบวามีผูสนใจคนควาเกี่ยวกับเรื่องราวของเมืองทั้งสองอยางมากมาย แตละ ทานตางก็มีขั้นตอนการศึกษาที่ละเอียดลึกซึ้ง และแสดงปรัชญาประกอบหลักฐานทาง ประวัติศาสตรและโบราณคดีประกอบเอาไวชัดเจน ความรูเหลานี้มีทั้งที่ไดพบขอพิสูจนที่ ชัดเจนแลว และมีอีกมากที่ยังไมสามารถหาขอสรุปที่ชัดเจนได ผูเขียนจึงไดทําการ รวบรวมข อมู ล เหล า นั้น รวมทั้ ง ได ห าเอกสารแผนผั ง และภาพถ า ยประกอบเพิ่ ม เติ ม นํ า มาเปรี ย บเที ย บระหว า งทั้ ง สองเมื อ ง แม จ ะไม ค าดหวั ง ว า จะพบข อ มู ล แปลกใหม ทางดานประวัติศาสตร ศิลปะ และโบราณคดี แตการเปรียบเทียบครั้งนี้อาจทําใหเกิด ความเขาใจที่กระจางชัดมากยิ่งขึ้น เกี่ยวกับอิทธิพลสําคัญที่สงผลตอวิวัฒนาการของนคร หลวงโบราณแหงราชอาณาจักรไทยทั้งสองแหง

รายละเอียดวิธีดําเนินการวิจัยคณะผูวิจัยไดดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ ๑. แหลงขอมูลการวิจัย

ไดแก

จากวั ต ถุป ระสงค ก ารวิ จัย คณะผูวิ จัยได กําหนดแหลงข อมู ล ออกเปนสองกลุ ม


๑๓

๑.๑ แหลงขอมูลทุติยภูมิ แหลงขอมูลที่เกี่ยวของกับเมืองโบราณสุโขทัยและเมืองเชียงใหม ตามหัวขอ ที่จะนํามาเปรียบเทียบ ไดแก ขอมูลที่เกี่ยวของกับภูมิหลังทางประวัติศาสตรและศาสนา ลักษณะทางภูมิศาสตร ความเชื่อทางศาสนากับสัณฐานของเมือง ลักษณะของกําแพง เมื อ งและคู เ มื อ ง การแบ ง พื้ น ที่ ก ารใช ที่ ดิ น และระบบน้ํ า และชลประทาน โดยมี แหลงที่มาของขอมูลจาก หองสมุดหลายแหงในประเทศ แหลงขอมูลออนไลน อุทยาน ประวั ติ ศ าสตร สุ โ ขทั ย ในรูป แบบของขอ มูล จากเอกสาร แผนงาน แผนที่ แผนผั ง ภาพถายทางอากาศ ตํารา เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ๑.๒ แหลงขอมูลปฐมภูมิ ไดแกแหลงขอมูล ณ ตัวเมืองโบราณโดยตรง ประกอบดวยเมืองโบราณสุโขทัย เมืองเชียงใหม และเมืองนครธม ในรูปของภาพถาย ภาพวาด สมุดบันทึก ๒. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ผูวิจัยใชในการเก็บขอมูล ไดแก การสํารวจ และการสังเกตโดยตรง แบบไมมีสวนรวม (Non-Participation Observation) โดยใชเครื่องมือคือกลองถายภาพ การวาดภาพ และการจดบันทึก เพื่อสํารวจองคประกอบของสภาพแวดลอมทางกายภาพ ในเมื อ งโบราณสุโขทัย เมื องเชีย งใหม และเมื องนครธม ไดแก สั ณ ฐานของเมื อ ง กําแพงเมือง และประตูเมือง การวางตําแหนงพื้นที่ใชสอยตางๆภายในเมือง ตลอดจน รูปแบบการจัดการระบบน้ําและชลประทาน ๓. วิธีการรวบรวมขอมูล ๓.๑ การรวบรวมขอมูลทุติยภูมิ เปนการรวบรวมจากเอกสาร หนวยงานที่เกี่ยวของ สําเนาเอกสารและจด บันทึก จากนั้นแยกขอมูลทั้งหมดออกเปนหมวดหมูตามหัวขอที่จะเปรียบเทียบ ๓.๒ การรวบรวมขอมูลจากการสํารวจและสังเกตการณภาคสนาม ใชการจดบันทึก และการถายภาพ สภาพแวดลอมทางดานกายภาพของ เมืองโบราณสุโขทัย เมืองเชียงใหม และเมืองนครธม


๑๔

๔. วิธีการวิเคราะหขอมูล คณะผูวิจัยทําการวิเคราะหขอมูล โดยนําขอมูลที่ศึกษาจากเอกสาร หนังสือ และ งานวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วข อ ง และนํ า มาประมวลผลการวิ เ คราะห ร ว มกั บ ข อ มู ล ที่ ศึ ก ษาจาก ภาคสนามไดแก การสํารวจและการสังเกตการณ ทําการวิเคราะหเปรียบเทียบตาม ประเด็นการจัดเก็บขอมูลตามหัวเรื่องในเครื่องมือในการวิจัย ๕. การประมวลผลขอมูล เปนการประมวลผลขอมูลจากการศึกษาและการวิเคราะหขอมูลทุติยภูมิ ขอมูล จากการสั ง เกตการ และข อ มู ล จากการสํ า รวจ นํ า มาประมวลผลร ว มกั น เพื่ อ เปรียบเทียบรูปแบบและลักษณะทางกายภาพระหวางเมืองโบราณสุโขทัย และเมือง เชียงใหม โดยแยกตามหัวขอที่กําหนด โดยใชคําบรรยายประกอบกับ แผนที่ ภาพถาย ทางอากาศ และภาพถายใหเห็นชัดเจนและเขาใจงาย


๑๕

บทที่ ๔ ผลของการศึกษาวิจัยและการอภิปราย ๑. การศึกษาเปรียบเทียบภูมิหลังทางดานประวัติศาสตรและศาสนา ลักษณะทางดานกายภาพของเมืองโบราณ ที่ยังคงหลงเหลือใหเห็นเปนประจักษ พยานแหงความเจริญรุงเรืองในอดีตที่ชัดเจน คือ คูเมือง กําแพงเมือง ศาสนสถาน และศาสนวัตถุ สวนอาคารที่เปนที่พักอาศัยหรือแมแตพระราชวังในสมัยกอนนั้น นิยม กอสรางดวยไม จึงผุพังไปตามกาลเวลา ดังนั้นการอธิบายภู มิหลังทางประวัติ ศาสตร เพื่อใหเขาใจวิวัฒนาการของการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของเมือง จึงตอง แสดงควบคูไปกับอิทธิพลทางศาสนาและลัทธิตางๆที่มีบทบาทสําคัญในชวงนั้นๆ ๑.๑ ภูมิหลังทางดานประวัติศาสตรและศาสนาของเมืองเกาสุโขทัย เมืองโบราณสุโขทัย ถือกําเนิดกอนเมืองเชียงใหมประมาณ ๑ ศตวรรษ คือในราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๗ เปนการเกิดขึ้นอยางชาๆอยางคอยเปนคอยไปจาก การกอตัวของชุมชน ตามแนวเสนทางการคาขายระหวางชุมชนชาวไทเชื้อสายลาวกาว ในบริเวณที่ราบลุมแมน้ําโขงทางทิศตะวันออกเฉียง เหนือ และชุมชนมอญที่ตั้งถิ่นฐานอยู บริเวณอาวเมาะตะมะทางทิศตะวันตก๔ ชาวลาวกาวเดินทางคาขายบนเสนทางแหงนี้ และมีบางสวนที่ไดตั้งถิ่นฐานบนพื้นที่ที่เหมาะสมแกการอยูอาศัย เกิดเปนชุมชนขนาด เล็กกระจายอยูตามเสนทาง ในชวงระยะเวลาเดียวกันนี้อาณาจักรขอมเมืองพระนคร กําลังเจริญเติบโตแผอาณาเขตและอิทธิพลออกมาทางตะวันออกของสยามประเทศโบราณ ซึ่ ง เมื อ งโบราณสุ โ ขทั ย ในยุ ค สร า งบ า นแปงเมื อ งก็ ไ ด รั บ อิ ท ธิ พ ลทางด า นศาสนาและ วัฒนธรรมของขอมบางสวนเชนกัน ตอมาในชวงปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๘ อํานาจของ ขอมจึงเสื่อมสลายลงไป พรอมๆกับการเติบโตรุงเรืองขึ้นของราชอาณาจักรสุโขทัย เรา สามารถแบงชวงการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของเมืองเกาสุโขทัยออกไดดังนี้ ชวงที่ ๑ ชวงตั้งถิ่นฐาน ในปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๗ เมื่อคนไทเชื้อสายลาวจากทางลุมแมน้ําอู ลุมแมน้ําของบางสวน ไดอพยพยาย ถิ่นมารวมตัวจัดตั้งเปนชุมชนขนาดใหญ โดยมีศูนยกลางอํานาจอยูที่หัวหนาชุมชนซึ่ง ๔

[๖] ธิดา สาระยา. (๒๕๓๙). อารยธรรมไทย กรุงเทพฯ: สํานักพิมพเมืองโบราณ.


๑๖

เรียกกันวาขุน ชนเผาไทพื้นถิ่นเปนกลุมคนที่มีความเชื่อในจิตวิญญาณ และสิ่งเหนือ ธรรมชาติ นับถือผีบาน ผีเรือน และผีบรรพบุรุษ ในชวงตั้งถิ่นฐานนี้คาดวาอิทธิพล ความเชื่อทางพุทธศาสนาลัทธิหินยาน ไดแผขยายมาจากมอญบางแลว เนื่องจากศาสนา พุทธไดเจริญรุงเรืองในดินแดนสุวรรณภูมิมาเนิ่นนานตั้งแตพุทธศตวรรษที่ ๖ แตอยางไร ก็ดีไมปรากฏพบหลักฐานทางโบราณคดีของการสรางศาสนสถานในชวงนี้ ซึ่งหากมีก็คง จะเป น อาคารที่ ถู ก สร า งขึ้ น ง า ยๆโดยใช โ ครงสร า งไม จึ ง ไม เ หลื อ ร อ ยรอยปรากฏใน ปจจุบัน ชวงที่ ๒ ชวงเริ่มสรางเมือง ในระหวางพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ตรงกับสมัยของ พอขุนศรีนาวนําถม เปนระยะที่กรุงสุโขทัยไดรับอิทธิพลความเชื่อจากพระพุทธศาสนา ลัทธิมหายาน และศาสนาพราหมณจากขอมเมืองพระนคร โดยผานมาทางเมืองลพบุรี ในสมัยของพระเจาสุริยวรมันที่ ๗ กษัตริยผูยิ่งใหญแหงเมืองพระนคร (๑๗๒๔๑๗๖๒) ขอมไดแผขยายอิทธิพลมาถึงลุมแมน้ําเจาพระยา โดยยึดไดเมืองละโวเปนเมือง หนาดานที่สําคัญ จากนั้นจึงไดมีความพยายามที่แผขยายอํานาจทางการเมืองขึ้นมาทาง ตอนเหนือ ตามเสนทางทางการคาจากเมืองละโวขึ้นมายังดินแดนทางตอนเหนือที่มีอยู เดิม จากหลักฐานหลักศิลาจารึกที่วัดพระพายหลวงระบุวา “ผีฟา (เจาเมือง) ยโสธรปุระ (เมืองพระนคร) ไดพระราชธานพระนางศีขรมหาเทวี มาใหพอขุนผาเมือง พระราชโอรส ของพอขุนศรีนาวนําถม ผูครองเมืองสุโขทัยในยุคแรกๆ พรอมดวยตําแหนงกมรเตงศรีบ ดินทราทิ ต ย ๕ นั่นยื น ยั น ได วาผู นํ าชุมชนในยุคนี้ ไดยอมรั บ พั นธไมตรี แ ละพระราช อํานาจทางการเมืองของกษัตริยขอมโดยผานการสมรสขามเมือง ดังที่ปรากฏกลาวอาง ในจารึกที่ปราสาทพระขรรควา๖ “แดผูที่มีความมั่งคั่งสมบูรณ ที่พระองคไดพระราชทาน ใหแลว พระองคก็ยังพระราชทานพระราชธิดาที่ทรงศิริโฉมใหเสกสมรสดวย”๗ ทั้งสอง เมืองนาจะมีสัมพันธไมตรีที่ดีตอกันมาตั้งแตกอนหนานี้ก็เปนได ดังภาพสลักกองทัพชาว สยามที่ไปชวยรบกับพวกจามในสมัยของพระเจาสุริยวรมันที่ ๒ (พ.ศ. ๑๖๕๖-๑๖๙๓) บนระเบี ย งภาพทิ ศ ตะวั น ตกฝง ใต ข องนครวัด ด ว ยเหตุนี้ อิท ธิ พ ลของศิ ล ปกรรมและ สถาปตยกรรมแบบขอม จึงไดแผขยายมายังเมืองสุโขทัย มีการสรางศาสนสถานทาง ๕

[๑๕] ศิลปากร, กรม. (๒๕๒๕) พระบรมราชานุสาวรีย พอขุนรามคําแหงมหาราช และรวม เรื่องเมืองสุโขทัย. กรุงเทพ: กองโบราณคดีและประวัติศาสตร กรมศิลปากร. ๖ จารึกในสมัยของพระเจาสุริยะวรมันที่ ๗ พบที่ปราสาทพระขรรคซึ่งกอสรางในป พ.ศ. ๑๗๓๔ ๗ [๑๑] ยอรช เซเดส. (ปราณี วงษเทศ ผูแปล). (๒๕๔๖). เมืองพระนคร นครวัด นครธม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ มติชน.


๑๗

พุทธศาสนาลัทธิมหายานขึ้นเพื่อเปนที่เคารพสักการะและเปนศูนยกลางของเมือง คือวัด พระพายหลวง (ภาพที่ ๔-๕) และศาสนสถานอื่นๆ เชน ศาลตาผาแดง (ภาพที่ ๖) งานกอสรางอื่นๆที่เห็นไดชัดวาไดรับอิทธิพลจากพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ก็คือกําแพง เมืองและคูเมืองรูปสี่เหลี่ยมผืนผา ซึ่งนาจะสรางขึ้นเพื่อเปนการขยายเมืองจากเดิมซึ่งเคย มีศูนยกลางอยูที่วัดพระพายหลวงทางทิศเหนือ เมื่อจํานวนประชากรของเมืองมีเพิ่มมาก ขึ้น และการปกครองระบบสมบูรณาญาสิทธิราชเริ่มกอรูปกอรางขึ้นในสุโขทัย๘ การ ขยายเมืองในชวงนี้นาจะเกิดขึ้นพรอมๆกับการเสื่อมอิทธิพลของขอมเมืองพระนคร๙ ใน ตอนปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ลักษณะของการสรางเมืองไดรับอิทธิพลจากลักษณะการ วางผังเมืองและ ศาสนสถานของนครธมอยางชัดเจน ซึ่งจะอธิบายในรายละเอียดใน ภายหลัง

ภาพที่ ๔ พระปรางค ที่ วั ด พระพายหลวง ศู น ย กลางเมื อ ง แ ห ง แ ร ก ข อ ง สุโขทัย

๘ ๙

ไดรับอิทธิพลจากขอมเมืองพระนคร หลังจากการสิ้นพระชนมของพระเจาชัยวรมันที่ ๗ ประมาณป พ.ศ. ๑๗๖๒


๑๘

ภาพที่ ๕ หนาบันพระปรางค วัดพระพายหลวงมี ลักษณะคลายที่พระ ปรางคสามยอด จ. ลพบุรี

ภาพที่ ๖ ศาลตาผาแดง เปนโบราณสถาน ตามแบบศิลปะเขมรสมัยพระเจาสุริยวรมัน ที่ ๒ พุทธศตวรรษที่ ๑๗

ภาพที่ ๗ พระปรางคประธาน วัดพระศรี มหาธาตุ เ ชลี ย ง เมื อ งสํ า คั ญ เมื อ งหนึ่ ง ของ แควนสุโขทัย


๑๙

อยางไรก็ดีในขณะเดียวกันอิทธิพลความเชื่อของพุทธศาสนาลัทธิหินยานที่แพร มาจากเมืองมอญก็ยังคงอยู ดังหลักฐานปรากฏในศิลาจารึกวัดศรีชุม๑๐ แหงเมืองสุโขทัย ที่กลาววาในสมัยของพอขุนศรีนาวนําถมมีการสรางพระธาตุเจดียขึ้นตามเมืองสําคัญทั้ง ๔ เมือง ของแควนสุโขทัย๑๑ (ภาพที่ ๗) ชวงที่ ๓ ชวงแหงความเจริญรุงเรือง อยูในชวงตั้งแตปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ในสมัยพอขุนศรีอินทราทิตย ไปจนถึงตนพุทธศตวรรษที่ ๒๐ เมื่อสิ้นสุดสมัยพระ มหาธรรมราชาลิไท (พ.ศ. ๑๙๑๓) หลังจากพอขุนศรีนาวนําถมสิ้นพระชนม พอขุนบางกลางหาวไดรวมมือกับพอ ขุนผาเมืองขับไลขอมสบาดโขลญลําพง ซึ่งเขามาครอบครองเมืองอยูในเวลานั้นออกไป พอขุนบางกลางหาวไดสถาปนาขึ้นเปนกษัตริยครองกรุงสุโขทัยทรงพระนามวาพอขุนศรี อินทราทิตย ในชวงเวลาดังกลาวขอมเมืองพระนครไดเสื่อมอํานาจลง และเนื่องจากขอม ไดแผอิทธิพลมาสูแควนสุโขทัยในชวงระยะเวลาอันสั้น ดังนั้นเมื่อขอมเสื่อมอํานาจ พุทธ ศาสนาลัทธิหินยานซึ่งนับถือกันมาแตเดิมจึงกลับเขามามีอิทธิพลอีกครั้ง รวมไปถึงคติ ความเชื่อเรื่องจิตวิญญานของคนไทพื้นถิ่น เราสามารถแบงอิทธิพลของพุทธศาสนาที่ ไดรับออกเปน ๒ ชวงที่แตกตางกันกลาวคือ ๓.๑ ชวงที่ไดรับอิทธิพลจากพุทธศาสนาลัทธิหินยานนิกายลังกาวงศ ซึ่งเผยแพรขึ้นมาจากเมืองนครศรีธรรมราช เริ่มตั้งแตรัชสมัยของพอขุนรามคําแหง มหาราช (พ.ศ. ๑๘๒๒-๑๘๖๐) ไปจนสิ้นสุดรัชสมัยของพญางั่วนําถม (พ.ศ. ๑๘๘๓๑๘๙๐) ในสมั ย พ อ ขุ น รามคํ า แหง พระองค ท รงโปรดให นิ ม นต พ ระมหาเถร สั ง ฆราชและคณะสงฆ จ ากนครศรี ธ รรมราชให ขึ้น มาเผยแพรพ ระพุ ท ธศาสนาที่ เ มื อ ง สุโขทัย พระองคยังไดโปรดใหกอสรางวัดในเขตอรัญญิกในแถบเชิงเขาหลวงทางทิศ ตะวันตกของเมือง จากศิลาจารึกหลักที่ ๑ แสดงใหเห็นวาเมืองสุโขมัยไดมีการวางผัง เอาไวแลวอยางเปนระเบียบเรียบรอยในสมัยของพระองค อิทธิพลของพุทธศาสนาลัทธิ

๑๐

จารโดยสมเด็จพระมหาเถรศรีศรัทธาราชจุฬามุนีศรีรัตนลังกาทีปมหาสามี เมื่อประมาณ ป พ.ศ. ๑๘๘๐-๑๙๑๐ ๑๑ [๑๓] ศรีศักร วัลลิโภดม. (๒๕๔๐). นครหลวงของไทย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ เมืองโบราณ.


๒๐

หินยานนิกายลังกาวงศจากเมืองนครศรีธรรมราช ยังคงสืบเนื่องตอมาจนกระทั่งเขาสู รัช สมัยของพระมหาธรรมราลิไท กษัตริยองคที่ ๖ แหงราชวงศพระรวง ๓.๒ ชวงที่ไดรับอิทธิพลจากพุทธศาสนาลัทธิหินยานนิกายลังกาวงศ ซึ่ ง เผยแพร ขึ้ น มาจากเมื อ งพั น ๑๒ อยู ใ นรั ช สมั ย ของพระมหาธรรมราชาลิ ไ ท (พ.ศ. ๑๘๙๐-๑๙๑๓) พระมหาธรรมราชาลิไท ทรงมีศรัทธาแรงกลาในพระพุทธศาสนา และ ทรงศึกษาพระพุทธศาสนามาแตเดิมกอนขึ้นครองราชย พระสงฆที่มีบทบาทสําคัญในการ เผยแพรพระศาสนาคือ พระสุมนเถระ ซึ่งไดเดินทางไปศึกษาพระไตรปฎกที่นครพัน นอกจากนี้พระองคยังไดอัญเชิญพระมหาสามีสังฆราช พระสงฆผูทรงความรูจากนครพัน มาจํ า พรรษาที่เ มื อ งสุ โขทัย อี กด ว ย ในสมั ยนี้ มีก ารก อสรา งพุ ท ธศาสนสถานเอาไว มากมาย และไดทรงเผยแพรพระราชอํานาจในทางธรรมไปทั่วแควนสุโขทัย ดวยการ สรางพระมหาธาตุเจดียไวตามเมืองตางๆ และทรงประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจําลองที่ เขาสุมนกูฎ เมืองสุโขทัยอีกดวย ชวงที่ ๔ ชวงที่ตกอยูภายใตอิทธิพลทางการเมืองของกรุงศรีอยุธยา เริ่ม ตั้งแตรัชสมัยของพระมหาธรรมราชาที่ ๒ (พ.ศ. ๑๙๑๑-๑๙๔๓) จนถึงเมื่อกรุงสุโขทัย ถูกผนวกเขากับกรุงศรีอยุธยา ในรัชสมัยของพระมหาธรรมราชาที่ ๔ บรมปาล(พ.ศ. ๑๙๖๒) ในสมั ย นี้ ก รุ ง สุ โ ขทั ย ยั ง คงได รั บ อิ ท ธิ พ ลจากพุ ท ธศาสนาลั ท ธิ หิ น ยานนิ ก าย ลั ง กาวงศ แต มี ก ารแลกเปลี่ ย นรู ป แบบและลั ก ษณะทางศิ ล ปะ วั ฒ นธรรม และ สถาปตยกรรม กับกรุงศรีอยุธยา เมื่อกรุงศรีอยุธยาแผขยายอํานาจขึ้นมาเหนือแควน สุโขทัย มีการบูรณะปฏิสังขรณและตอเติมวัดตางๆ เพิ่มเติม ชวงที่ ๕ ชวงที่กรุงสุโขทัยถูกผนวกรวมเปนสวนหนึ่งของราชอาณาจักร กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา เริ่ ม ตั้ ง แต เ มื่ อ สิ้ น สุ ด ราชวงศ พ ระร ว ง (พ.ศ. ๑๙๖๒) จนกระทั่ ง กรุงศรีอยุธยาเสียแกพมา (พ.ศ. ๒๓๑๐) เปนยุคสมัยที่กรุงสุโขทัยกลายเปนเมืองหนา ดานในการทําสงคราม ทั้งระหวางกรุงศรีอยุธยากับลานนา ระหวางกรุงศรีอยุธยากับ กรุงหงสาวดี รวมไปถึงศึกสงครามภายในเพื่อแยงชิงราชสมบัติกันเอง ในสมัยนี้เกิด พันธไมตรีผูกพันเกี่ยวดองเปนญาติกัน ระหวางราชวงศสุโขทัยและราชวงศสุพรรณภูมิ ๑๒

ปจจุบันคือเมืองผาอัน อยูในประเทศพมา หางจากอําเภอแมสอด จังหวัดตาก ไปทางทิศ ตะวันตก ประมาณ ๑๐๐ กิโลเมตร


๒๑

ซึ่งภายหลังไดขึ้นเปนใหญในกรุงศรีอยุธยา นับเปนยุคสมัยที่มีแตความวุนวายเนื่องจาก สงครามและความขัดแยง เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแกพมาทั้ง ๒ ครั้ง กรุงสุโขทัยก็ได กลายเปนเมืองรางไป โดยครั้งแรกรางไป เปนระยะเวลา ๘ ป (พ.ศ. ๒๑๒๗-๒๑๓๕) และเริ่มมีการฟนฟูบูรณะเมืองขึ้นใหม ในสมัยของพระศรีเสาวราช ไดทําการปรับปรุงคู เมืองและกําแพงเมืองใหแนนหนา แข็งแรงขึ้น ตอมาเมืองไดรางอีกครั้งเมื่อเสียคราวเสีย กรุ ง ครั้ ง ที่ ๒ ในป พ.ศ. ๒๓๐๘ จนกระทั่ ง ในป พ.ศ. ๒๓๒๙ ในสมั ย ของ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาใหยายเมืองมาตั้ง ใหมที่บานธานี ริมฝงแมน้ํายมในปจจุบัน จึงเปนอันสิ้นสุดความรุงเรืองของเมืองเกา สุโขทัยนับแตนั้นเปนตนมา ตารางที่ ๑ ชวงการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของเมืองโบราณสุโขทัย ชวงที่

เวลา

ชวงที่ ๑ ชวงตั้งถิ่นฐาน

ปลายพุทธ ศตวรรษที่ ๑๗

ผูปกครอง/รัช สมัย หัวหนาชุมชนซึ่ง เรียกกันวาขุน

ชวงที่ ๒ ชวงพุทธ ชวงเริ่มสรางเมือง ศตวรรษที่ ๑๘

พอขุนศรีนาวนํา ถม

ชวงที่ ๓ ชวงแหงความ เจริญรุงเรือง

ตั้งแตรัชสมัยพอ ขุนศรีอินทรา ทิตย - สิ้นสุด สมัยพระมหา ธรรมราชาลิไท (พ.ศ. ๑๙๑๓)

ปลายพุทธ ศตวรรษที่ ๑๘ ตนพุทธศตวรรษ ที่ ๒๐

อิทธิพลทาง ศาสนา/ความเชิ่อ

ผีบาน ผีเรือน และผีบรรพบุรุษ

ลักษณะที่สําคัญ

อาคารถูกสรางขึ้น งายๆโดยใช โครงสรางไม พระพุทธศาสนา ลักษณะของการ สรางเมืองและ ลัทธิมหายาน และศาสนา ศาสนสถานไดรับ พราหมณจากขอม อิทธิพลจาก เมืองพระนคร ลักษณะการวาง โดยผานมาทาง ผังเมืองและ เมืองลพบุรี ศาสนสถานของ นครธมอยาง ชัดเจน พุทธศาสนาลัทธิ มีการสราง ศาสนสถาน หินยานนิกาย มากมาย และ ลังกาวงศที่ ขยายไปในพื้นที่ เผยแพรมาจาก นครศรีธรรมราช เขตอรัญญิก และจากเมืองพัน


๒๒

ตารางที่ ๑ ชวงการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของเมืองโบราณสุโขทัย (ตอ) ชวงที่

เวลา

ชวงที่ ๔ ชวงที่ตกอยู ภายใตอิทธิพล ทางการเมืองของ กรุงศรีอยุธยา

ชวงพุทธ ศตวรรษที่ ๒๐

ชวงที่ ๕ ชวงที่กรุงสุโขทัย ถูกผนวกรวมเปน สวนหนึ่งของ ราชอาณาจักรกรุง ศรีอยุธยา

ชวง ปลาย ศตวรรษที่ ๒๐ – ตนศตวรรษที่ ๒๔

ผูปกครอง/รัช สมัย ตั้งแตรัชสมัยของ พระมหาธรรม ราชาที่ ๒ – ถึง รัชสมัยของพระ มหาธรรมราชาที่ ๔ บรมปาล

สิ้นสุดราชวงศ พระรวง-ถึงกรุง ศรีอยุธยาเสียแก พมา

อิทธิพลทาง ศาสนา/ความเชิ่อ

ลักษณะที่สําคัญ

พุทธศาสนาลัทธิ หินยานนิกาย ลังกาวงศ

มีการแลกเปลี่ยน รูปแบบและ ลักษณะทางศิลปะ วัฒนธรรม และ สถาปตยกรรม กับกรุงศรีอยุธยา มีการบูรณะ ปฏิสังขรณและตอ เติมวัดตางๆ เพิ่มเติม เมืองรางและไดรับ การฟนฟูหลาย ครั้ง มีการบูรณะ ปรับปรุงคูเมือง และกําแพง เมืองขึ้นใหม

พุทธศาสนาลัทธิ หินยานนิกาย ลังกาวงศ

๒.๒ ภูมิหลังทางดานประวัติศาสตรและศาสนา ของเมืองเชียงใหม จากหลักฐานทางดานโบราณคดีแสดงใหเห็นวาพื้นที่บริเวณแองเชียงใหม-ลําพูน อันเปนที่ตั้งของเมืองเชียงใหมนั้น เปนพื้นที่ที่มีผูคนอยูอาศัยมานานแลว ตั้งแตยุคกอน ประวัติศาสตร๑๓ และมีผูคนอยูอาศัยสืบเนื่องเรื่อยมาจนถึงยุคประวัติศาสตร ในชวง กอนที่เมืองเชียงใหมจะถูกสรางขึ้นนั้น กลุมชนที่อาศัยอยูในพื้นที่แถบนี้มีอยู ๓ กลุม๑๔ ประกอบดวย

๑๓

มีการขุดคนพบเครื่องมือเครื่องใชเหล็ก ซึ่งอยูในยุคโลหะชวงแรก มีอายุระหวาง พ.ศ. ๒๔๓๖๔๓ ดู [๒๔] ฮันส เพนส และ แอนดรู ฟอรบส. ศิริรัฐ ทองใหญ. ผูแปล. (๒๕๔๗). ประวัติศาสตรลานนาฉบับยอและชาวเชียงใหม. เชียงใหม: หอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม, เทศบาลนครเชียงใหม. ๑๔ ดูเอกสารอางอิงจากเชิงอรรถที่ ๑๓


๒๓

สุเทพ เทพ

ม มอาศั ยอยู บริ่บเวณเชิ งดอย ๒.๒.๑ กลุม่ ชาวละว ชาวละว้าาซึซึ่ง่งเปเป็นนชนพื ชนพื้น้นเมืเมืองดั องดั้งเดิ้งเดิ อาศั ยอยู ริเวณเชิ งดอยสุ

๒.๒.๒ กลุ ม คนมอญซึ่ ง อพยพมาจากเมื อ งละโว มาตั้ ง รกรากที่ เ มื อ ง หริภุญชัยตั้งแตประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๓ ๒.๒.๓ กลุมคนไทยวนซึ่งอาศัยกระจัดกระจายอยูทั่วไปหลายพื้นที่ โดยมี กลุมใหญสวนหนึ่งที่มาตั้งหลักแหลงอยูในที่ราบลุมแมน้ําอิงและแมน้ํากก๑๕ ชุมชนของกลุมคนไทยวนไดขยายตัวขึ้นและมีวิวัฒนาการเกิดเปนเมืองใหญที่มี ความเปนปกแผนมั่นคง จนกระทั่งชวงตนพุทธศตวรรษที่ ๑๙ พญามังราย กษัตริย องค ที่ ๒๕ ในราชวงศ ล วจั งกราชเจาเมืองเงินยางจึ งทรงพยายามแผ ขยายพระราช อํานาจ และรวบรวมหัวเมืองนอยใหญที่อยูในละแวกใกลเคียง ใหมารวมกันใหมั่นคงเปน ปกแผน เพื่อปองกันการรุกรานจากพวกมองโกล พระองคทรงสรางเมืองหลวงแหงใหม คือเมืองเชียงราย ขึ้นในบริเวณที่ราบลุมแมน้ํากก เมืองกุมกามในบริเวณที่ราบลุมแมน้ํา ปง และทายที่สุดทรงสรางเมืองเชียงใหมขึ้นใน ป พ.ศ. ๑๘๓๙ ในพื้นที่เชิงดอยสุเทพ บริเวณริมแมน้ําปง เมืองเชียงใหมจึงถือกําเนิดจากการกอสรางของกษัตริยผูยิ่งใหญที่ เคยผานการสรางเมืองมาแลวหลายเมือง เมืองเชียงใหมไดเจริญรุงเรืองสืบเนื่องยาวนาน มาจนถึงปจจุบัน เกิดการบูรณะปฏิสังขรณหลายครั้งหลายหน จนยากที่จะทําการศึกษา ใหรูชัดถึงวิวัฒนาการของการเปลี่ยนแปลงลักษณะและรูปแบบของการวางผังเมืองได ชัดเจนเทาเมืองเกาสุโขทัย อยางไรก็ดี เราอาจแบงชวงการเปลี่ยนแปลงลักษณะทาง กายภาพของเมืองเชียงใหม โดยอาศัยปจจัยที่เกี่ยวของกับอิทธิพลทางการเมืองและ ศาสนาไดดังนี้

ชวงที่ ๑ ชวงกอนการสรางเมือง ในราวกลางพุทธศตวรรษที่ ๑๖ ถึง ตน พุทธศตวรรษที่ ๑๙ กอนที่พญามังรายจะมาสรางเมืองเชียงใหมนั้น บริเวณเชิงดอยสุเทพนี้เปนที่อยู อาศั ย ของชาวละว า ๑๖ ซึ่ ง เป น ชนชาติ ที่ มี ค วามเชื่ อ ในเรื่ อ งจิ ต วิ ญ ญานและสิ่ ง เหนื อ ธรรมชาติ นับถือผีบานผีเรือนและผีบรรพบุรุษ ตั้งบานเรือนเปนชุมชนขนาดเล็กที่มี ความเขมแข็ง มีหัวหนาปกครองตนเอง

๑๕ ๑๖

บริเวณอําเภอเมืองเชียงแสน จังหวัดเชียงรายในปจจุบัน เปนชนพื้นเมืองที่ไดอพยพมาอาศัยอยูในพื้นที่นี้ตั้งแตประมาณกลางพุทธศตวรรษที่ ๑๖


๒๔

ชวงที่ ๒ ชวงสรางบานแปงเมือง ในพ.ศ. ๑๘๓๙ ตรงกับรัชสมัยของพญา เม็งราย ไปจนสิ้นสุดสมัยของพญาผายู (ประมาณ พ.ศ. ๑๘๘๒-๑๘๙๘๑๗) ในสมัยนี้ เชียงใหมไดรับอิทธิพลทางความเชื่อจากพุทธศาสนาลัทธิหินยานอยางพุกามที่นับถือกัน มาแตเดิมในหมูคนไทยวน พระพุทธศาสนาลัทธิหินยานนิกายลังกาวงศโดยผานมาทาง กรุงสุโขทัย ความเชื่อทางดานโหราศาสตรและหลักรัฐศาสตรจากศาสนาพราหมณ โดย ผานทางราชสํานักของเมืองหริภุญชัย รวมถึงความเชื่อในเรื่องจิตวิญญาณและสิ่งเหนือ ธรรมชาติทั้งที่มีอยูเดิม และที่ไดรับมาจากชาวละวาซึ่งเปนคนพื้นถิ่น ในการรวบรวมอาณาจักรลานใหเปนปกแผนนั้น พญามังรายไดยึดเมืองหริภุญชัย ซึ่งมีความเจริญรุงเรืองและมีอารยธรรมของตนเองมากวา ๕๐๐ ปกอนหนานี้ เขาเปน สวนหนึ่งของลานนาในป พ.ศ. ๑๘๒๔ ดวยเหตุนี้ชาวไทยวนจึงไดซึมซับเอาความเชื่อ ทางดานโหราศาสตรและหลักรัฐศาสตรจากศาสนาพราหมณ ที่มีในราชสํานักหริภุญชัย มาดวย และนํามาใชในการสรางเมืองเชียงใหม การผสมผสานระหวางวัฒนธรรมไทยวน และมอญนี้ดําเนินเรื่อยมาตลอดชวงการสรางบานแปงเมือง นอกจากนี้พระพุทธศาสนา ลัทธิหินยานนิกายลังกาวงศจากเมืองสุโขทัย ยังมีอิทธิพลอยางมากตอการสรางเมือง เชียงใหม เนื่องจากทั้งสองเมืองตางเจริญสัมพันธไมตรีตอกันอยางตอเนื่องนับแตเริ่ม สร า งเมื อ ง ๑๘ ในช ว งการสร า งบ า นแปงเมื อ งนี้ มี ก ารสร า งวั ด สํ า หรั บ พระสงฆ ทั้ ง ฝ า ย อรัญวาสี เชนที่วัดอุโมค และฝายนครวาสีซึ่งมีรากฐานมาจากมอญ ชวงที่ ๓ ชวงแหงความเจริญรุงเรือง เริ่มตั้งแตรัชสมัยของพญากือนา (พ.ศ. ๑๙๑๐-๑๙๓๑ ๑๙) ไปสิ้ น สุ ด ในสมั ย ของพญาสามฝ ง แกน (พ.ศ. ๑๙๔๔-๑๙๘๕ ๒๐) ในชวงนี้ไดรับอิทธิพลทางพุทธศาสนาจากหลายแหลงสามารถแบงเปนชวงสําคัญดังนี้

๑๗

อางจากชินกาลมาลีปกรณ ดู [๒๔] ฮันส เพนส และ แอนดรู ฟอรบส. ศิริรัฐ ทองใหญ. ผูแปล. (๒๕๔๗). ประวัติศาสตรลานนาฉบับยอและชาวเชียงใหม. เชียงใหม: หอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม, เทศบาลนครเชียงใหม. หนา ๑๙๘. ๑๘ ในการสรางเมืองเชียงใหม กษัตริยตางเมือง ๓ พระองค ซึ่งทรงเปนพระสหายกัน ไดเสด็จมา พรอมกันเพื่อรวมกันสรางเมืองเชียงใหม ประกอบดวย พญามังรายเจาเมืองเชียงใหม พญารวงเจาเมืองสุโขทัย และพญางําเมืองเจาเมืองพะเยา ๑๙ ชินกาลมาลีปกรณ ดู [๒๔] ฮันส เพนส และ แอนดรู ฟอรบส. ศิริรัฐ ทองใหญ. ผูแปล. (๒๕๔๗). ประวัติศาสตรลานนาฉบับยอและชาวเชียงใหม. เชียงใหม: หอศิลปวัฒนธรรม เมืองเชียงใหม, เทศบาลนครเชียงใหม. หนา ๑๙๙. ๒๐ ชินกาลมาลีปกรณ ดูเชิงอรรถที่ ๑๙


๒๕

๑) ชวงที่ไดรับอิทธิพลทางพุทธศาสนาลัทธิหินยานนิกายลังกาวงศโดย ผานมาทางเมืองสุโขทัยในสมัยพญากือนา พระองคไดทรงนิมนตพระสุมนเถระพระสงฆ ฝายอรัญวาสีสายลังกาวงศ๒๑ มาจากเมืองสุโขทัย ภายหลังทานไดเปนเจาอาวาสวัดสวน ดอกที่ถูกสรางขึ้นทางทิศตะวันตก วัดเจดียหลวงก็ ถูกสรางขึ้นในสมัยนี้ เชนเดียวกัน (ภาพที่ ๘) ๒) ชวงที่ไดรับอิทธิพลทางพุทธศาสนาลัทธิหินยานแบบพุกาม ในสมัย ของพญาแสนเมืองมา (พ.ศ. ๑๙๒๘-๑๙๔๔๒๒) พระมหาเถระสามีราชครู๒๓ ไดเดินทาง ไปศึกษาที่พุกามถึง ๓ ครั้ง รวมถึงเจาอาวาสองคตอๆมาและพระเถระชั้นผูใหญอีก หลายรูปของวัดสวนดอกก็ไดไปศึกษาพระพุทธศาสนาที่พุกาม จากนั้นจึงเริ่มปรากฏมี วรรณกรรมภาษาบาลีเกี่ยวกับประวัติศาสตรพุทธศาสนาซึ่งแตงโดยพระเถระลานนาหลาย เลม ในชวงตั้งแต ป พ.ศ. ๑๙๕๓- ๒๐๔๓ ยกตัวอยางเชน ตํานานจามเทวี สิหิงคพุทธ รูปนิทาน และตํานานมูลศาสนา

ภาพที่ ๘ เจดียหลวง จ.เชียงใหม สราง ในสมั ย ของพญาแสนเมื อ งมา (พ.ศ. ๑๙๓๑-๑๙๕๔) เพื่อถวายเปนพระราชกุศล ให แ ก พ ระราชบิ ด าคื อ พญากื อ นา ต อ มา ภายหลังไดรับความเสียหายจากเหตุการณ แผนดินไหวจนยอดพังทลายลงมา ๒๑

ทานเคยไปอุปสมบทครั้งที่ ๒ ในลัทธิลังกาวงศ ที่เมืองเมาะตะมะทางตอนใตของพมา ชินกาลมาลีปกรณ ดู เชิงอรรถที่ ๑๙ ๒๓ คาดวาจะเปนเจาอาวาสรูปที่ ๒ ของวัดสวนดอก ๒๒


๒๖

๓) ชวงที่ไดรับอิทธิพลทางพุทธศาสนาลัทธิหินยานนิกายลังกาวงศโดย โดยเผยแพรมาจากประเทศลังกาโดยตรง ในสมัยของพญาสามฝงแกน พระธรรมคัมภีร และพระเมธังกรไดเดินทางพรอมคณะสงฆจํานวนหนึ่ง ไปอุปสมบทใหมที่ประเทศลังกา ในป พ.ศ. ๑๙๖๗ และเดินทางกลับมาเผยแพรธรรมะในเชียงใหม ในป พ.ศ. ๑๙๗๓ โดยพํานักที่วัดปาแดงเชิงดอยสุเทพ นอกจากนี้ในตนรัชกาลของพญาสามฝงแกนยังได เกิดสงครามระหวางเชียงใหมและสุโขทัย๒๔ อันเปนสาเหตุใหเกิดการสรางเวียงเจ็ดลิน๒๕ ณ เชิงดอยสุเทพ ซึ่งถือเปนชัยภูมิทีดี (ภาพที่ ๙)

ภาพที่ ๙ เวียงเจ็ดลิน เชิงดอยสุเทพ จ.เชียงใหม ที่มา: http://pointnetwork.pointasia.com/th/PointAsia/main.aspx ๒๔ ๒๕

สุโขทัยเปนฝายลาทัพกลับไป เปนเมืองรูปทรงกลม เสนผาศูนยกลางประมาณ ๘๐๐ เมตร ดานหนึ่งอิงดอยสุเทพ ใน ปจจุบันอยูบริเวณที่เปนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพายัพ จ. เชียงใหม


๒๗

ช ว งที่ ๔ ช ว งแห ง การศึ ก สงครามเพื่ อ การช ว งชิ ง และแผ ข ยายอํ า นาจ ระหวางลานนาและกรุงศรีอยุธยา เริ่มตั้งแตสมัยของพญาติโลกราช (พ.ศ. ๑๙๘๔๒๐๓๐) ไปจนกระทั่งเมืองเชียงใหมตกเปนเมืองขึ้นของพมาในสมัยของพญาพระเมกุฏิ (พ.ศ. ๒๑๐๑) ยังคงสืบทอดความศรัทธาเชื่อทางพุทธศาสนาที่เจริญมาตั้งแตชวงที่ ๓ ในสมัยของพญาติโลกราช พระองคพยายามที่จะขยายอํานาจและขอบเขตของ อาณาจักรลานนาออกไปจนถึงแควนสุโขทัยซึ่งในขณะนั้นตกเปนสวนหนึ่งของอาณาจักร กรุงศรีอยุธยา จึงทําใหเกิดศึกสงครามที่ยืดเยื้อยาวนาน ตลอดรัชสมัยของพระองค แต ศึกสงครามไมไดเปนอุปสรรคตอการความเจริญทางศาสนาซึ่งยังคงดําเนินตอไปอยาง ต อ เนื่ อ ง มี ก ารบู ร ณะวั ด เจดี ย ห ลวง วั ด ป า แดง พระเถระแห ง ล า นนาหลายรู ป ได ประพั น ธ ว รรณกรรมทางพุ ท ธศาสนาหลายต อ หลายเรื่ อ ง เช น ชิ น กาลมาลี ป กรณ จั ก รวาฬที ป นี มั ง คลที ป นี เป น ต น ในสมั ย พระเมื อ งแก ว (พ.ศ. ๒๐๓๘-๒๐๖๙) พระองค ไ ด บู ร ณะปฏิ สั ง ขรณ กํ า แพงเมื อ งเชี ย งใหม ใ ห แ ข็ ง แรงมั่ น คงกว า เดิ ม เมื อ ง เชียงใหมในยุคหลังจากสมัยของพญาติโลกราชเปนตนมามีความออนแอลงทางการเมือง เกิ ด ความป น ป ว นวุ น วายจากการแย ง ชิ ง ราชบั ล ลั ง ก ห ลายครั้ ง ในที่ สุ ด ในป พ.ศ. ๒๑๐๑ จึงตกเปนเมืองขึ้นของพมา ช ว งที่ ๕ ช ว งตกเป น เมื อ งขึ้ น ของพม า เริ่ ม ตั้ ง แต ส มั ย พระเมกุ ฏิ (พ.ศ. ๒๑๐๑) ไปจนถึงสมัยของพญาจาบานบุญมา (พ.ศ. ๒๓๑๘) ไดรับอิทธิพลทางดาน พุ ท ธศาสนาลั ท ธิ หิ น ยานอย า งพุ ก าม ในช ว งนี้ เ มื อ งเชี ย งใหม ต อ งตกอยู ใ นภาวะศึ ก สงครามระหวางกรุงศรีอยุธยาและพมาหลายครั้ง และมักจะเกิดศึกสงครามรบกันเองเพื่อ แยงชิงความเปนใหญ เกิดโจรผูรายปลนสะดมเมืองอยูเปนประจํา บานเมืองเกิดความ เสื่อมโทรม ชวงที่ ๖ ชวงที่เมืองเชียงใหมถูกผนวกรวมเปนสวนหนึ่งของราชอาณาจักร สยาม เริ่มตั้งแตสมัยของพญาจาบานบุญมา (พ.ศ. ๒๓๑๘) จนถึงปจจุบัน ในชวงแรก เปนชวงฟนฟูเมือง หลังจากไดรับอิสระจากพมาแลว เจาเมืองเชียงใหมจึงไดทําการ บูร ณะปฏิ สั งขรณ ฟ น ฟูเ มื อ ง ในสมัย ของพญาธรรมลั ง กา (พ.ศ. ๒๓๕๘-๒๓๖๔) พระองคไดทํานุบํารุงพระศาสนา ปฏิสังขรณวัด เชนวัดพระสิงห วัดพระธาตุจอมทอง และขุดลอกคูเมือง บูรณะกําแพงเมืองชั้นนอก๒๖ มีการรวบรวมผูคนจากชุมชนตางๆเขา ๒๖

เปนกําแพงดินเลียบไปตามแนวของคลองแมขา โอบลอมกําแพงเมืองชั้นในฝงตะวันออกและใต เอาไว


๒๘

มาอาศั ย ในเมือง จึ ง เกิด ความหลากหลายทางศิล ปวัฒนธรรมของกลุ มผู คนเหลานั้ น ต อ มาเป น ช ว งที่ มี ก ารติ ด ต อ ค า ขายกั บ ชาติ ต ะวั น ตก และมี ก ารเปลี่ ย นแปลงปฏิ รู ป การเมืองการปกครอง จึงไดรับอิทธิพลทางศาสนาจากมิชชันนารีชาวตะวันตก และเกิด การพัฒนาของเมืองตามแบบสมัยใหม ตารางที่ ๒ ชวงการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของเมืองโบราณเชียงใหม ชวงที่

เวลา

ผูปกครอง/รัช สมัย กลางพุทธ หัวหนาชุมชน ชวงที่ ๑ ชวงกอนการสราง ศตวรรษที่ ๑๖ - ชาวละวา ถึง ตนพุทธ เมือง ศตวรรษที่ ๑๙ ชวงพุทธ รัชสมัยของ ชวงที่ ๒ ชวงสรางบานแปง ศตวรรษที่ ๑๘ พญามังราย ไป จนสิ้นสุดสมัยของ เมือง พญาผายู

ชวงที่ ๓ ชวงแหงความ เจริญรุงเรือง

ชวงพุทธ ศตวรรษที่ ๒๐

ชวงที่ ๕ ชวงตกเปน เมืองขึ้นของพมา

พุทธศตวรรษที่ ๒๒-ตนพุทธ ศตวรรษที่ ๒๔

อิทธิพลทาง ลักษณะที่สําคัญ ศาสนา/ความเชิ่อ

ผีบาน ผีเรือน และผีบรรพบุรุษ

อาคารถูกสรางขึ้น งายๆโดยใช โครงสรางไม

พุทธศาสนาลัทธิ หินยานอยาง พุกาม และลัทธิ หินยานนิกาย ลังกาวงศ /ความ เชื่อทางดาน โหราศาสตรและ หลักรัฐศาสตร จากศาสนา พราหมณ /ความ เชื่อในเรื่องจิต วิญญาณและสิ่ง เหนือธรรมชาติ รัชสมัยของ พุทธศาสนาลัทธิ พญากือนา -ไป หินยานนิกาย สิ้นสุดในสมัยของ ลังกาวงศ/พุทธ พญาสามฝงแกน ศาสนาลัทธิ หินยานแบบ พุกาม สมัยพระเมกุฏิ - พุทธศาสนาลัทธิ ไปจนถึงสมัยของ หินยานอยาง พญาจาบานบุญ พุกาม มา

การผสมผสาน ระหวางวัฒนธรรม ไทยวนและมอญ ปรากฏในการ สรางศาสนสถาน ทั้งฝายอรัญวาสี และคามวาสี

มีการสรางวัดวา อารามที่สําคัญ หลายแหง เชน วัด เจดียหลวง วัด สวนดอก บานเมืองเกิด ความเสื่อมโทรม เนื่องจากศึก สงคราม


๒๙

ตารางที่ ๒ ชวงการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของเมืองโบราณเชียงใหม (ตอ) ชวงที่ ชวงที่ ๖ ชวงที่เมือง เชียงใหมถูก ผนวกรวมเปน สวนหนึ่งของ ราชอาณาจักร สยาม

เวลา

ผูปกครอง/รัช สมัย ตนพุทธศตวรรษ สมัยของพญาจา ที่ ๒๔ - จนถึง บานบุญมา ปจจุบัน จนถึงรัชกาล ปจจุบัน

อิทธิพลทาง ลักษณะที่สําคัญ ศาสนา/ความเชิ่อ

พุทธศาสนาลัทธิ หินยานนิกาย ลังกาวงศ/พุทธ ศาสนาลัทธิ หินยานแบบ พุกาม/ศาสนา คริสตจาก ตะวันตก

มีการ บูรณะปฏิสังขรณ ฟนฟูเมือง คูเมือง กําแพงเมือง /เกิด การพัฒนาของ เมืองตามแบบ สมัยใหม

จะเห็นไดวาประวัติศาสตรในชวงแรกของเมืองเชียงใหมและเมืองสุโขทัยมีความ คลายคลึงกันในภาพรวม กลาวคือ เริ่มตนจากการกอสรางบานเมือง จนเจริญรุงเรือง ขึ้น ฟนฟูศาสนาพุทธดวยการเสาะแสวงหาพระเถระผูทรงคุณวุฒิจากที่ตางๆมาเพื่อ เผยแพรพระพุทธศาสนา มีการสรางวัดวาอารามสําคัญในเมือง ตอจากนั้นจึงกาวเขาสู ยุคเสื่อมโทรมเมื่อเกิดศึกสงครามเพื่อแผขยายอํานาจของอาณาจักรที่เขมแข็งกวา คือ พมาและกรุงศรีอยุธยาซึ่งภายหลังไดกลายมาเปนราชอาณาจักรสยาม ในชวงหลังเมือง ทั้งสองตางตกอยูใตอิทธิพลทางการเมืองของเมืองอื่นเปนเวลานาน แตทายที่สุดแลว เมื อ งเก า สุ โ ขทั ย กลั บ ถู ก ปล อ ยให ร กร า งเสื่ อ มสลายไปตามกาลเวลา ในขณะที่ เ มื อ ง เชียงใหมถูกฟนฟูบูรณะขึ้นมาใหม และเจริญมาจนถึงปจจุบัน เมื่อเปรียบเทียบกันเรื่อง ชวงเวลาของยุคสมัยที่เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของเมืองที่สําคัญๆ จะ เห็ น ว า เมื อ งโบราณเชี ย งใหม มี ช ว งอายุ ยื น ยาวกว า และสามารถแบ ง ยุ ค ของการ เปลี่ยนแปลงไดถึง ๖ ชวง ในขณะที่เมืองโบราณสุโขทัยมีชวงอายุสั้น และสามารถแบง ยุคของการเปลี่ยนแปลงออกไดเพียง ๕ ชวงเทานั้น สวนอิทธิพลทางศาสนาของทั้งสอง เมืองมีทั้งสวนที่คลายคลึงกันและแตกตางกัน เนื่องจากตําแหนงที่ตั้งและอาณาเขตติดตอ กับเมืองที่อยูใกลเคียง เมืองเชียงใหมตั้งอยูบนที่ราบลุมแมน้ําปง เปนศูนยกลางการคา ขายและการเมืองการปกครอง ที่สามารถเชื่อมโยงกับเมืองตางๆอยางกวางขวางทั้งทาง ทิศใต และทิศเหนือ จึงไดรับอิทธิพลจากความเชื่อทางศาสนาและวัฒนธรรมที่มีความ หลากหลายมากกวากรุงสุโขทัย ประกอบดวย ความเชื่อในเรื่องจิตวิญญาณและสิ่งเหนือ ธรรมชาติ พุทธศาสนาลัทธิหินยานอยางพุกาม และลัทธิหินยานนิกายลังกาวงศ ความ เชื่อทางดานโหราศาสตรและหลักรัฐศาสตรจากศาสนาพราหมณ และวัฒนธรรมตะวันตก ที่เขามาพรอมกับกลุมมิชชันนารีในคริสตศาสนา สวนเมืองสุโขทัยนั้น ไดรับอิทธิพลจาก


๓๐

ความเชื่อในเรื่องจิตวิญญาณและสิ่งเหนือธรรมชาติ และพุทธศาสนาลัทธิหินยานนิกาย ลั ง กาวงศ เ ป น หลั ก อย า งไรก็ ดี ศ าสนาที่ ท รงอิ ท ธิ พ ลมากที่ สุ ด ต อ ทั้ ง สองเมื อ งก็ คื อ พระพุทธศาสนานิกายหินยานลัทธิลังกาวงศ ๒. การศึกษาเปรียบเทียบลักษณะทางภูมิศาสตร ลักษณะทางภูมิศาสตรเปนปจจัยสําคัญในการเลือกทําเลการตั้งถิ่นฐานของมนุษย การศึกษาลักษณะทางภูมิศาสตรของเมืองทั้งสองจะชวยใหเราเขาใจรูปแบบการวางผัง เมืองทั้งสองไดดียิ่งขึ้น โดยจําแนกหัวขอในการศึกษา ออกเปนลักษณะทางภูมิประเทศ ลักษณะของดิน สภาพภูมิอากาศ และลักษณะพืชพรรณ ๒.๑ ลักษณะทางภูมิประเทศ ลักษณะภูมิประเทศของเมืองโบราณสุโขทัยและเมืองเชียงใหมมีความแตกตางกัน ในระดับภูมิภาค แตมีความคลายคลึงกันในระดับทองถิ่น (ตารางที่ ๓) ในระดับภูมิภาค เมืองโบราณสุโขทัยตั้งอยูบนที่ราบภาคกลางตอนบน เปนที่ราบลุมแมน้ํายมอันกวางใหญ พื้นที่สวนใหญมีความอุดมสมบูรณดี ทําใหเปนแหลงเกษตรกรรมที่สําคัญในอดีต พื้นที่ สวนใหญมีความสูง ๕๐-๑๐๐ เมตร จากระดับน้ําทะเล ถัดไปทางดานทิศตะวันตกและ ทางทิศใตของเมืองเปนที่ราบดอนและที่ลาดเชิงเขา สวนทางทิศเหนือและทิศตะวันออก เปนที่ ร าบลุ ม ริมลํา น้ําแม ลํ าพัน ซึ่ง ไหลไปบรรจบกับ แมน้ํายมซึ่ง หางออกไปทางทิ ศ ตะวั น ออกประมาณ ๑๒ กิ โ ลเมตร ในขณะที่ เ มื อ งเชี ย งใหม นั้ น ตั้ ง อยู ใ นแอ ง ที่ ร าบ เชียงใหม-ลําพูน อยูระหวางเทือกเขาถนนธงชัยตะวันออกและเทือกเขาผีปนน้ํา ซึ่งเปน แหลงตนน้ําลําธารที่สําคัญหลายสายของประเทศไทย เปนพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ อุดมไปด ว ยแร ธ าตุที่ เ กิ ด จากการสลายตั ว ของหินในแถบเทื อกเขา จึงเหมาะแก ก าร เกษตรกรรม เมืองเชียงใหมตั้งอยูในระดับความสูง ๒๐๐-๕๐๐ เมตรจากระดับน้ําทะเล บนพื้นที่ลุมแมน้ําปงซึ่งไหลลงใตไปสูแมน้ําเจาพระยา ตารางที่ ๓ เปรียบเทียบลักษณะภูมิประเทศของเมืองโบราณสุโขทัยและเมืองเชียงใหม หัวขอเปรียบเทียบ สภาพภูมิประเทศในภาพรวม ความสูงจากระดับน้ําทะเล

เมืองโบราณสุโขทัย ที่ราบลุมแมน้ํายม ๕๐-๑๐๐ เมตร

เมืองเชียงใหม ที่ราบลุมแมน้ําปง ๒๐๐-๕๐๐ เมตร


๓๑

ตารางที่ ๓ เปรียบเทียบลักษณะภูมิประเทศของเมืองโบราณสุโขทัยและเมืองเชียงใหม (ตอ) หัวขอเปรียบเทียบ เทือกเขา

เมืองโบราณสุโขทัย มีเทือกเขาประทักษตั้งอยูทาง ทิศตะวันตกของเมือง

แมน้ําและลําหวย

แมน้ําแมลําพันไหลผานทางทิศ ตะวันออกของเมืองไปรวมกับ แมน้ํายม จากเขาประทักษมีคลองเสาหอ ทําหนาที่ทดน้ําเขาสูเมือง

เมืองเชียงใหม มีดอยสุเทพตั้งอยูทางทิศ ตะวันตกของเมือง ซึ่งเปนสวน หนึ่งของเทือกเขาถนนธงชัย ตะวันออก แมน้ําปงไหลผานทางทิศ ตะวันออกของเมืองจากทิศ เหนือลงสูทิศใต จากดอยสุเทพมีลําหวย ธรรมชาติหลายสาย เชน หวย แกว หวยกูขาว หวยเย็น หวยผาลาด หวยอุโมงค และ หวยโปงนอย ไหลลงสูพื้นที่ เมือง

ลักษณะภูมิประเทศในระดับทองถิ่นของเมืองโบราณสุโขทัย เปนพื้นที่ราบซึ่งอยู หางจากเขาประทักษ๒๗ไปทางทิศตะวันออกประมาณ ๒.๕ กิโลเมตร และมีลําน้ํา แมลําพันไหลผานทางทิศตะวันออกของเมืองกอนที่จะไหลไปรวมกับแมน้ํายมที่อยูหาง ออกไปทางทิ ศ ตะวั น ออกประมาณ ๑๒ กิ โ ลเมตร (ภาพที่ ๑๐) ในขณะที่ เ มื อ ง เชียงใหมตั้งอยูทางทิศตะวันออกของดอยสุเทพ ซึ่งเปนสวนหนึ่งของเทือกเขาถนนธงชัย ตะวั น ออก ซึ่ ง ทอดตั ว ยาวตลอดแนวด า นทิ ศ ตะวั น ออกของจั ง หวั ด เชี ย งใหม เป น ระยะทางประมาณ ๑๘๐ กิโลเมตรเลยทีเดียว สวนในทางทิศตะวันออกของเมืองหาง ออกไปจากกําแพงเมืองประมาณ ๑ กิโลเมตร เปนแมน้ําปงที่ไหลจากเหนื อลงสูใต โดยมีคลองแมขาเปนคลองขนาดเล็ก ไหลออมตัวเมืองจากมุมของกําแพงเมืองดานที่ ตะวันออกเฉียงเหนือบริเวณแจงศรีภูมิ ไปจรดมุมของกําแพงเมืองดานทิศตะวันตกเฉียง เหนือบริเวณแจงกูเรือง (ภาพที่ ๑๑)

๒๗

เขาประทักษเปนสวนหนึ่งของทิวเขาขนาดเล็กยาวประมาณ ๒๕ กิโลเมตรในแนวเหนือใต มียอด เขาหลวงเปนยอดเขาที่สูงที่สุด


๓๒

๒.๒ ลักษณะของดิน ดินในบริเวณเมืองเกาสุโขทัยเปนดินในเขตที่ดอนต่ํา มีการชะลางออกมากกวา สะสม แตความรุนแรงของการชะลางออกไมมากนัก เนื่องจากความลาดชันไมมาก จากนั้นก็จะมีการพัฒนาดินชั้นลางเปนชั้นดินดานตางๆ เหมาะสมกับการปลูกพืชไรชนิด ตา งๆ ส ว นดิ นในพื้ น ที่ จั ง หวั ดเชี ย งใหมเ ป น ดินในแอ ง ระหวา งภู เ ขา จึ ง มีค วามอุด ม สมบูรณสูง พื้นที่เปนที่ดอนระดับต่ํา๒๘ มีการระบายน้ําไดดี แตไมถึงกับมีการชะลาง ทําใหธาตุอาหารคอนขางสูง มีการสะสมดินเหนียวในดินชั้นลาง เหมาะแกการทํานา ทํา ไร ทําสวน ๒.๓ สภาพภูมิอากาศ ทั้งเมืองเชียงใหมและเมืองสุโขทัยตางก็มีสภาพภูมิอากาศแบบมรสุมเขตรอน มี ระดับความชื้นปานกลาง และมีฝนตกนอย ประมาณ ๕.๕-๖.๕ เดือนในรอบป อยางไร ก็ดีเนื่องจากเมืองเชียงใหม ตั้งอยูทางทิศเหนือขึ้นไปกวาเมืองสุโขทัย จึงมีอุณหภูมิเฉลี่ย ต่ํ า กว า ที่ จั ง หวั ด สุ โ ขทั ย โดยเฉลี่ ย ประมาณ ๒.๓ องศาเซลเซี ย ส ตลอดทั้ ง ป นอกจากนี้สภาพที่ตั้งที่โอบลอมไปดวยสันเขาของจังหวัดเชียงใหม ทําใหมีหมอกในชวง ฤดูหนาว และมักจะเกิดลมแรงหรือพายุฝนฟาคะนอง

ภาพที่ ๑๐ ลักษณะภูมิประเทศของเมืองเกาสุโขทัย ๒๘

หมายถึงบริเวณที่ราบบรรจบกับเชิงเขา


๓๓

ภาพที่ ๑๑ ลักษณะภูมิประเทศของเมืองเชียงใหม

๒.๔ พืชพรรณ พื ช พรรณส ว นใหญ ข องเมื อ งสุ โ ขทั ย มี ค วามคล า ยคลึ ง กั บ พื ช พรรณของเมื อ ง เชียงใหมบริเวณเชิงดอยสุเทพ คือเปนปาเต็งรัง หรือปาแดง เนื่องจากเปนพื้นที่ลาดเชิง เขา ภูมิอากาศมีชวงชื้นสลับกับแลงชัดเจน ดินเปนดินทรายหรือดินลูกรัง พันธุไมสําคัญ ไดแก เต็ง รัง พลวง เหียง พะยอม กวาว พฤกษ กระโดน รกฟา กระบก สวนพืช พรรณที่มีความแตก ตางกันคือบริเวณบนเขาทางทิศตะวันตกของเมือง พืชพรรณบน อุทยานแหงชาติสุเทพ-ปุย เปนปาเบญจพรรณหรือปาผลัดใบผสม พันธไมที่สําคัญไดแก มะคาโมง สมเสี้ยว ทองกวาว แสมสาร ประดูปา ไผ สัก เปนตน ในขณะที่พืช พรรณบนเทือกเขาหลวงในเขตอุทยานแหงชาติรามคําแหง เปนพรรณไมที่พบในปาดิบ แลง เชน ไมวงศยาง ยางขาว ยางแดง ยมหอม กฤษณา สมพอ เปนตน พื้นที่อีก บริเวณหนึ่งของจังหวัดเชียงใหมซึ่งมีความแตกตางจากพรรณไมในจังหวัดสุโขทัยคือ พืช พรรณที่อยูบนที่ราบริมฝงแมน้ํ าปงทางทิศตะวันออกของเมื องนั่นเอง มีลักษณะเปน พรรณไมที่พบไดในปาพรุน้ําจืดหรือปาบึงน้ําจืด เปนพื้นที่ที่ไดรับน้ําที่เออลนตลิ่งในฤดู ฝน ไม มีก ารสะสมของอิน ทรี ย วัต ถุ อย างถาวร เนื่องจากซากพืช ถูกน้ํ าพัดพาไปกั บ กระแสน้ํา ปจจุบันไดเปลี่ยนแปลงไปเปนพื้นที่อยูอาศัยและพื้นที่เกษตรกรรมมาก พืชที่ มักพบในแถบนี้ไดแกอินทนิลน้ํา สะแก สักน้ํา กระทุมบก ตะขบน้ํา กันเกรา เปนตน


๓๔

๓. การศึกษาเปรียบเทียบความเชื่อทางศาสนากับสัณฐานของเมือง ความเชื่อทางศาสนาและศาสตรในการวางผังที่เรียนรูสืบตอกันมา๒๙ เปนปจจัย สําคัญหลักๆที่สงผลตอลักษณะสัณฐานของผังเมืองโบราณสุโขทัย และเมืองเชียงใหม นอกเหนือไปจากสภาพภูมิศาสตรของพื้นที่ จากการวิเคราะหภูมิหลังทางประวัติศาสตร และศาสนาของเมืองทั้งสอง เราทราบวากษัตริยผูวางผังเมืองสุโขทัยไดนํารูปแบบมาจาก ผังเมืองนครธม๓๐ จากนั้นพญามังรายปฐมกษัตริยแหงลานนาจึงไดนํารูปแบบของเมือง สุโขทัยมาใชในการสรางเมืองเชียงใหมอีกทอดหนึ่ง การนํามาใชนี้มิไดหมายถึงการลอก แบบมาให เ หมื อ นกั น ทุ ก ประการ แต ไ ด นํ า มาประยุ ก ต ใ ช ใ ห เ หมาะกั บ วิ ถี ชี วิ ต และ วัฒนธรรมของชาวเมืองนั้นๆ ดังนั้นในการเปรียบเทียบความเชื่อทางศาสนา และศาสตร ในการวางผังที่ เ รียนรู สืบ ต อกั นมานี้ จึ งมีความจําเปนที่จะตองศึกษายอนไปถึงเมือง ตนแบบแรกสุดนั่นก็คือเมืองนครธมดวย เพื่อใหเกิดความเขาใจที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ๓.๑ ความเชื่อทางศาสนา เมื่ อ ทํ า การศึ ก ษาอย า งละเอี ย ด หลั ก ความเชื่ อ ทางศาสนาเป น สิ่ ง สํ า คั ญ ที่ นักปราชญราชบัณฑิตในสมัยโบราณไดนําเอามาใชในการวางผังเมือง โดยเฉพาะการ วางผังเมืองนครธม ซึ่งเชื่อวาเปนเมืองตนแบบของเมืองสุโขทัย ในสมัยของพระเจา ชัยวรมันที่ ๗ กษัตริยผูสรางเมืองนครธม พระองคทรงนับถือพระพุทธศาสนา ลัทธิ วัชรยาน ศาสนสถานที่สําคัญในสมัยของพระองคจึงมักจะมีภาพแกะสลัก หรือรูปเคารพ ในลัทธิวัชรยาน๓๑ เชน พระไภษัชยคุรุ พระโลเกศวร พระนางปรัชญาปารมิตา เปน ตน (ภาพที่ ๑๒) นอกจากนี้ยังพบหลักฐานจารึกที่สี่มุมพระนครซึ่งสะทอนใหเห็นถึงคติจักรวาล ตามความเชื่อของศาสนาพุทธนิกายมหายาน ซึ่งไดรับอิทธิพลมาจากศาสนาพราหมณ อีกตอหนึ่ง ในการวางผังไดมีความพยายามที่จะใหเกิดความสอดคลองกับพลังอํานาจ ของจักรวาล โดยการสรางเมืองจําลองเลียนแบบลักษณะของจักรวาล ซึ่งเชื่อกันวาใจ กลางของจักรวาลประกอบดวยเขาพระสุเมรุสูงเสียดฟาไปจนถึงสวรรค ซึ่งซอนกันอยู ๒๙

สันนิษฐานวาสืบทอดกันโดยผานพราหมณประจําราชสํานักของแตละเมือง เปนเมืองหลวงของขอมซึ่งสรางขึ้นในสมัยของพระเจาชัยวรมันที่ ๗ ( พ.ศ. ๑๗๒๔ -๑๗๖๒) ๓๑ [๑๐] พิริยะ ไกรฤกษ. (๒๕๔๔). อารยะธรรมไทย พื้นฐานทางประวัติศาสตริยศิลปะ เลม ๑ ศิลปะกอนพุทธศตวรรษที่ ๑๙. กรุงเทพฯ: บริษัท อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน).หนา ๑๐๗-๑๐๙. ๓๐


๓๕

สูงขึ้นไปเปนชั้นๆ สวนฐานจมอยูใตมหาสมุทร ถัดออกมาจากเขาพระสุเมรุจะมีภูเขารูป วงแหวนลอมรอบเปนชั้นๆอีก ๗ ชั้น แตละชั้นกั้นดวยมหาสมุทรสีทันดรถัดออกไปอีก เปนทวีปทั้ง ๔ และมหาสมุทรประจําอยูทั้ง ๔ ทิศ พนจากทวีปและมหาสมุทรนี้จึงเปน กํ าแพงจัก รวาล (ภาพที่ ๑๓) ดังนั้นเมืองนครธมจึ งถูกวางผั งเปนรู ปสี่เหลี่ ยมจั ตุรั ส ลอมรอบไปดวยกําแพงหินขนาดใหญ ซึ่งเปรียบเสมือนกําแพงจักรวาล (ภาพที่ ๑๔) ตรงใจกลางเมืองเปนที่ตั้งของปราสาทบายน (ภาพที่ ๑๕-๑๖) ซึ่งเปรียบไดกับเขาพระ สุเมรุ และปราสาทไพชยนตที่ประทับของพระอินทรซึ่งอยูบนสวรรคเหนือยอดเขาขึ้น ไป๓๒

ภาพที่ ๑๒ พระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร รูปเคารพ ในพระพุ ท ธศาสนานิ ก ายมหายาน ประดิษฐานในปราสาทนครวัด

๓๒

[๑๑] ยอรช เซเดส. (ปราณี วงษเทศ ผูแปล). (๒๕๔๖). เมืองพระนคร นครวัด นครธม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ มติชน.


๓๖

ภาพที่ ๑๓ แสดงภาพจํ าลอง ของจักรวาลตามความเชื่อของ พุทธศาสนานิกายมหายาน (ดัดแปลงจากภาพ Shumisengizu จาก National Museum of Japanese History ดู [๒๕] Hiroo Aoyama. A Witness to History, [Online]

ภาพที่ ๑๔ ทัศนียภาพโดยรวมของเมืองนครธม (ภาพถายปายแผนผังที่ศูนยตอนรับนักทองเที่ยว นครธม เสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา)


๓๗

ภาพที่ ๑๕ ปราสาทบายน ตั้งอยู ที่ใจกลางเมืองนครธม

ภาพที่ ๑๖ รู ป สลั ก ใบหน า ของ พระเจ า ชั ย วรมั น ที่ ๗ ซึ่งเชื่อวาพระองคเปน ภ า ค ห นึ่ ง ข อ ง พ ร ะ โพธิสัตว อวโลกิเตศวร ที่ปราสาทบายน

ภาพที่ ๑๗ พระปรางควัดพระ พายหลวง


๓๘

เมื่อกรุงสุโขทัยถูกสรางขึ้นในสมัยแรกในพุทธศตวรรษที่ ๑๘ นั้นวัด พระพาย หลวง ถูกสรางขึ้นเพื่อใชเปนศูนยกลางของเมือง ลักษณะของผังวัดพระพายหลวงใน ระยะแรกเป น อาคารพระปรางค ๓ ยอด (ภาพที่ ๑๗) มี คู น้ํ า ล อ มล อ ม มี ค วาม คลายคลึงกับแผนผังของพระปรางค ๓ ยอด ที่เมืองลพบุรี เชื่อวาไดรับอิทธิพลจาก พุทธศาสนาลัทธิวัชรยานของขอมในสมัยนั้น ดังนั้นจึงสันนิษฐานไดวาปราสาททั้ง ๓ องคนาจะสรางขึ้นเพื่อประดิษฐานรูปเคารพในลัทธิวัชรยานที่นิยมบูชากัน ไดแก พระ ไภษัชยคุรุไวฑูรยประภา๓๔ ประทับที่ปรางคองคกลาง และดานขางคือรูปพระโลเกศวร ยืน ๔ กร กับพระนางปรัชญาปารมิตา ยืน ๔ กร ประทับที่ปรางคทั้ง ๒ ขาง ดังที่ พบไดในพระพิมพในสมัยเดียวกัน๓๕ แตในภายหลังจึงถูกเปลี่ยนเปนพระพุทธรูปในลัทธิ หินยานตามความเชื่อของคนสุโขทัยแทน ๓๓

เมื่อมีการขยายเมืองสุโขทัยโดยการสรางกําแพงเมืองรูปสี่เหลี่ยมผืนผาในทางทิศ ใตของวัดพระพายหลวง ยังคงไดรับอิทธิพลความเชื่อเรื่องคติจักรวาลจากขอมอยาง ชัดเจน คือกําแพงเมืองและคูเมืองเปนรูปสี่เหลี่ยม มีประตูเขาออกทั้ง ๔ ทิศ (ภาพที่ ๑๘) และบริเวณกลางเมืองเปนที่ตั้งของวัดมหาธาตุ (ภาพที่ ๑๙) ซึ่งเปนวัดสําคัญของ เมือง เปรียบเสมือนกับเขาพระสุเมรุที่อยูใจกลางของจักรวาล แตเนื่องจากชาวสุโขทัย นับถือพุทธศาสนาลัทธิหินยาน ซึ่งแผขยายมาจากมอญมาแตดั้งเดิม ไดประยุกตให ศูนยกลางเมืองเปนวัดที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ เพื่อใหเปนศูนยรวมจิตใจของชาวเมือง ทั้งหมดแทน วัดมหาธาตุไมไดถูกตั้งอยูที่ตําแหนงตรงกลางเมืองพอดี เหมือนปราสาท บายนแหงเมืองนครธม

๓๓

ปจจุบันตั้งอยูทางทิศเหนือของเมืองเกาสุโขทัย พระพุทธเจาในลัทธิวัชรยานผูทรงรักษาโรคภัยไขเจ็บ ๓๕ [๑๐] พิริยะ ไกรฤกษ. (๒๕๔๔). อารยะธรรมไทย พื้นฐานทางประวัติศาสตริยศิลปะ เลม ๑ ศิลปะกอนพุทธศตวรรษที่ ๑๙ กรุงเทพฯ: บริษัท อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน). หนา ๑๑๖-๑๑๗. ๓๔


๓๙

ภาพที่ ๑๘ ภาพถายทางอากาศเมืองเกาสุโขทัย ที่มา: http://earth.google.com/

ภาพที่ ๑๙ วัดมหาธาตุตั้งอยูบริเวณกลางเมืองเกาสุโขทัย


๔๐

นอกจากลักษณะของกําแพงเมืองและศาสนสถานใจกลางเมืองแลว สิ่งที่เห็น เด น ชั ด อี ก อย า งหนึ่ ง ของเมื อ งสุ โ ขทั ย ก็ คื อ สระน้ํ า ภายในวั ด หลายวั ด กลางใจเมื อ ง ประกอบดวย วัดสระศรี วัดตระพังเงิน วัดตระพังทอง (ภาพที่ ๒๐) วัดใหม ลวน แล ว แตมีคู น้ําหรือ สระน้ําลอมรอบทั้ งสิ้น เมื่อสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจ าฟ า มหา วชิราวุธมกุฎราชกุมาร ทรงทอดพระเนตรเห็นสระน้ําและคูเหลานี้ ทรงสันนิษฐานวา พระสงฆสวนใหญในกรุงสุโขทัยนาจะถือสีมาน้ําในการอุปสมบท๓๖ การอุปสมบทกลาง น้ํ า นี้ เ ป น ธรรมเนี ย มนิ ย มปฏิ บั ติ ข องพระสงฆ ใ นพระพุ ท ธศาสนานิ ก ายหิ น ยานลั ท ธิ ลั ง กาวงศ จึ ง มี ค วามเป น ไปได ว า น า จะเริ่ ม ตั้ ง แต ส มั ย ที่ ค ณะสงฆ ที่ เ ดิ น ทางมาจาก นครศรีธรรมราชในสมัยของพอขุนรามคําแหงมหาราช (พ.ศ. ๑๘๒๒-๑๘๖๐)

ภาพที่ ๒๐ วัดตระพัง ทองตั้ ง อยู บนเกาะ กลางสระน้ํา สรางขึ้น ใ น ส มั ย พ ญ า ลิ ไ ท (พ.ศ. ๑๙๐๓)

สําหรับการวางผังเมืองเชียงใหมนั้นแมวาจะใชคติจักรวาลที่รับมาจากกรุงสุโขทัย (ภาพที่ ๒๑) ในเรื่องการวางผังเมืองเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาก็ตาม แตการวางตําแหนง ศูนยกลางเมืองกลับใชแนวความเชื่อของการนับถือผีบานผีเมืองของชาวละวา ซึ่งเปนคน พื้นถิ่นของเชียงใหมมาแตเดิม คือใชเสาอินทขิลเปนศูนยกลางเมือง๓๗ นอกจากนี้จาก หลั ก ฐานจารึ ก ที่ วั ด เชี ย งมั่ น ๓๘ ยั ง ได จ ารึ ก ภาพดวงเมื อ งบนแผนที่ ด าวตามหลั ก ๓๖

[๑๗] สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราวุธมกุฎราชกุมาร. (ร.ศ. ๑๒๗). เรื่องเที่ยว เมืองพระรวง. พระนคร: โรงพิมพบํารุงนุกูลกิจ. ๓๗ ตําแหนงของเสาอินทขิลแตเดิมอยูในบริเวณวัดอินทขิล ซึ่งในปจจุบันเปนพื้นที่เจดียรางที่ตั้งอยู ภายในหอศิลปวัฒนธรรมเชียงใหม ๓๘ จารในสมัยของพญาติโลกราช ในป พ.ศ. ๒๑๒๔


๔๑

โหราศาสตรเอาไวที่สวนบนของจารึก แสดงการผูกดวงและดูฤกษ มีการกําหนดชัยภูมิ ของเมือง นั่นหมายความวาความเชื่อเรื่องโหราศาสตรและดาราศาสตร เขามามีบทบาท สําคัญในการวางผังเมืองเชียงใหมดวย ซึ่งยังไมพบหลักฐานระบุไดแนชัดวาเปนความ เชื่อที่ไดรับอิทธิพลมาจากไหน แตสามารถสันนิษฐานได ๒ แนวทางคือ ๑) ไดรับ อิทธิพลความเชื่อของศาสนาพราหมณมาจากพวกพราหมณประจําราชสํานัก ซึ่งอาจจะมี ประจําอยูเดิมของนครเงินยางอยูแลว หรือเปนพราหมณประจําราชสํานักเมืองหริภุญชัย ที่พญามังรายไดเขาครอบครองไวกอนหนานี้ หรืออาจจะเปนพราหมณประจําราชสํานัก จากสุโขทัยก็เปนได ๒) ไดรับอิทธิพลความเชื่อทางโหราศาสตรของพระสงฆมอญ ซึ่ง เรี ย นรู สื บ ต อ กั น มาตั้ ง แต ส มั ย พระสงฆ จ ากชมพู ท วี ป ได เ ดิ น ทางเข า มาเผยแพร พระพุทธศาสนาในดินแดนสุวรรณภูมิ ตั้งแตเมื่อพุทธศตวรรษที่ ๖

ภาพที่ ๒๑ หุนจําลองเขาพระ สุเมรุ ที่วัดพระธาตุหริภุญชัย จ.ลํ า พู น ตามความเชื่ อ ทาง พุทธศาสนานิกายหินยาน


๔๒

๔.๒ ทฤษฎีเกี่ยวกับศาสตรในการวางผังเมือง เพื่ อ ที่ จ ะให เ ข า ใจศาสตร ใ นการวางผั ง เมื อ งโบราณสุ โ ขทั ย และเมื อ ง เชียงใหมไดกระจางชัดยิ่งขึ้น เราจําเปนตองมองยอนกลับไปที่เมืองตนแบบดั้งเดิมคือ เมืองนครธมเสียกอน เมืองนครธมเปนเมืองที่มีผังเมืองเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดใหญ กวางยาวดานละประมาณ ๓ กิโลเมตร สรางซอนทับอยูบนเมืองยโศธรปุระเดิม๓๙ และ เปนสวนหนึ่งของเมืองพระนครหลวงซึ่งเจริญรุงเรืองสืบเนื่องยาวนานกวา ๔๐๐ ป ดาน ทิศตะวันออกเปนที่ตั้งของบารายเก็บกักน้ําสมัยโบราณซึ่งมีความกวาง ๑.๘ กิโลเมตร ยาวถึง ๗ กิโลเมตร (ภาพที่ ๒๒) เปนเรื่องนาอัศจรรยที่ชาวขอมสามารถวางผังเมือง นครธมที่มีความกวางมากขนาดนั้นใหเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสพอดี และมีประตูเมืองที่อยู ตรงกลางกําแพงเมืองทั้ง ๔ ดานพอดี นอกจากนี้ศาสนสถานกลางเมืองคือปราสาท บายนยังวางไดตําแหนงศูนยกลางเมืองพอดีอีกดวย และยิ่งนาประหลาดใจขึ้นไปอีกเมื่อ พบวาทิศทางการวางแนวกําแพงเมืองและศาสนสถานรวมทั้งบารายของทั้งเมืองพระนคร ไมใชแตแคเฉพาะในเขตเมืองนครธมเทานั้น ตางอยูในทิศทางเดียวกันหมด และเปน แนวเหนือใตคอนขางจะแมนยํา มีคลาดเคลื่อนไปเพียงเล็กนอย (ภาพที่ ๒๓) การ กําหนดทิศระยะไกลในสมัยโบราณมักจะอางอิงดวงดาวและตําแหนงของดวงอาทิตย แต คอนขางจะเกิดความคลาดเคลื่อนไดงาย เนื่องจากตําแหนงของดาวเหนือ (Polalis) ใน สมัยโบราณจะอยูหางจากแนวแกนขั้วโลกเหนือมากกวานี้๔๐ และตําแหนงการขึ้นและตก ของดวงอาทิตยก็ไมเหมือนกันในแตละวัน ถาเชนนั้นชาวขอมโบราณสามารถเล็งทิศให แมนยําเชนนี้ไดอยางไร ในเมื่อพวกเขาไมมีอุปกรณสํารวจที่ทันสมัยเชนที่พวกเราใชกัน อยูในปจจุบัน หากเราจะตั้งสมมติฐานแบบตรงไปตรงมาก็คือ พวกเขาคงตองมีเครื่องมือ อุปกรณในการเล็งทิศเพื่อกําหนดตําแหนงในระยะไกลอยางแนนอน และพวกเขาจะตอง มีความรูทางดานดาราศาสตรและคณิตศาสตรที่แตกฉานแมนยําอยางมาก ทิศที่สําคัญใน ที่นี้มี ๒ แนวแกน คือ แนวแกนทิศเหนือ-ทิศใต และแนวแกนทิศตะวันออก-ตะวันตก การที่จะเล็งทิศระยะไกลขนาดนี้ใหแมนยําไดโดยใชหลักดาราศาสตร จําเปนจะตองขึ้นไป อยูบนที่สูง เชนภูเขาหรือสิ่งปลูกสรางที่มีความสูง เพราะในระดับสายตาทัศนวิสัยยอม ถูกบดบังโดยตนไม ทางทิศใตของเมืองนครธมมีภูเขาขนาดเล็กเรียกวาภูเขาพนมบาเค็ง ดานบนเขามีปราสาทชื่อวาพนมบาเค็งตั้งอยู สรางโดยพระเจายโศวรมันผูกอสรางเมือง ยโศธรปุระซึ่งเปนเมืองดั้งเดิมกอนที่จะมีการสรางเมืองนครธมซอนทับ ปราสาทพนม บา ๓๙

เมืองยโศธรปุระสรางขึ้นในสมัยของพระเจายโสวรมัน (พ.ศ. ๑๔๓๒-๑๔๕๓) ดู [๑๑] ยอรช เซเดส. (ปราณี วงษเทศ ผูแปล). (๒๕๔๖). เมืองพระนคร นครวัด นครธม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ มติชน. หนา ๑๒. ๔๐ เนื่องจากแกนหมุนรอบตัวเองของโลกเหวี่ยงสายเปนวงเหมือนลูกขาง


๔๓

เค็ง มีลักษณะเปนเขาหินทรายขนาดยอม มีความสูง ๖๕ เมตร มีปรางควางซอน ลดหลั่นกันเปนชั้นๆลงมาจากยอดเขา ชั้นแรกมีปรางคองคกลางและปรางคทิศทั้ง ๔ ซึ่งหมายถึงเขาพระสุเมรุตามความเชื่อเรื่องภูมิจักรวาลในศาสนาพราหมณ ตั้งบนฐาน ๕ ชั้นลดหลั่นลงมาตามไหลเขา ซึ่งแตละชั้นมีปรางคบริวาร ๑๒ องค ซึ่งเปนจํานวนทีต่ รง กับทิศของจักรราศีทั้ง ๑๒ ทิศที่สถิตยอยูรอบเสนโคงของจักรวาล สวนในชั้นลางสุดมี ปรางคบริวาร ๔๔ องค ซึ่งเมื่อรวมจํานวนปรางคทั้งหมดมี ๑๐๘ องค ซึ่งตรงกับ จํานวน ๑๐๘ นวางค ซึ่งเปนการแบงองศายอยภายในราศีทั้ง ๑๒ นั่นเอง๔๑ ดังนั้น เราสามารถสันนิษฐานไดวาการสรางปรางคบนยอดเขา พนมบาเค็งนาจะเปนการ กําหนดทิศทั้ง ๑๒ ของขอบฟาจักรวาล ตามตําราโหราศาสตรและดาราศาสตรของ ศาสนาพราหมณนั่นเอง จึงมีความเปนไปไดที่พราหมณและปุโรหิตประจําราชสํานักเมือง พระนครในแตละยุคแตละสมัยจะใชปราสาทพนมบาเค็งในการเล็งทิศเพื่อกําหนดตําแหนง ในระยะไกลในการสรางเมืองและศาสนสถานตางๆในเมือง โดยกําหนดจุดทิศเหนือและ ทิศตะวันออกบนเสนขอบฟา ในวันที่เปนตนจักรราศีของป ซึ่งดวงอาทิตยจะขึ้นตรงกับ ทิศตะวันออกและตกทางทิศตะวันตกพอดี จากนั้นก็เล็งตําแหนงบนพื้นดินซึ่งเปนพื้นที่ กอสรางตามแนวทิศดังกลาวและกําหนดจุดหมายตาบนพื้นดินโดยใชหลักคณิตศาสตร และตรีโกณมิติพื้นฐาน การที่กําหนดใหมีศาสนสถานใจกลางเมืองนอกจากจะเปนเพราะ ความเชื่อตามคติจักรวาลแลวยังเปนตําแหนงสําคัญที่ใชเปนจุดอางอิงในการวัดระยะ ซึ่ง ชวยทําใหสามารถสรางเมืองรูปทรงสี่เหลี่ยมที่มีมุมฉากที่สมบูรณอีกดวย๔๒ อยางไรก็ดี สมมติฐานนี้ยังตองการหลักฐานพิสูจนยืนยันตอไป

๔๑

ในวงรอบ ๑๒ ราศีมี ๓๖๐ องศา ซึ่งเทากับ ๓๖ ตรียางค และเทากับ ๑๐๘ นวางค (ใน ๑ ราศี มี ๙ นวางค) ๔๒ จากหนังสือนิราศนครวัด ดู [๑๑] ยอรช เซเดส. (ปราณี วงษเทศ ผูแปล). (๒๕๔๖). เมือง พระนคร นครวัด นครธม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ มติชน. หนา (๒๔).


๔๔

ภาพที่ ๒๒ ภาพถายทางอากาศเมืองนครธม นครวัด จะเห็นบารายเก็บน้ําขนาดใหญอยูทางทิศ ตะวันออกและตะวันตกของเมือง ที่มา: http://earth.google.com/

ภาพที่ ๒๓ ภาพถายทางอากาศเมืองนครธม นครวัด ปราสาทบายน ปราสาทพนมบาเค็ง และบา รายตะวันตก ที่มา: http://earth.google.com/


๔๕

เมื่ อเราหั นกลั บ มาดูผั งเมืองโบราณสุ โขทัย บาง เป นที่ นาสัง เกตได ว ากลุ ม ของ ศาสนสถานที่สําคัญและแนวกําแพงเมืองนั้นมีแนวแกนไมอยูในแนวเดียวกัน และบิดไป จากแนวแกนทิศเหนือ-ใต และแนวแกนทิศตะวันออก-ตะวันตก คอนขางมาก (ภาพที่ ๒๔) สามารถแบงสิ่งปลูกสรางที่อยูในแนวแกนเดียวกันออกไดเปนกลุมใหญๆ กลาวคือ ๑) กลุมศาสนสถานที่วัดพระพายหลวง รวมไปถึงแนวคันดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผาขนาดใหญ ที่อยูทางทิศตะวันออกของศาสนสถาน ๒) แนวกําแพงเมืองทั้ง ๔ ดาน แนวแกนทาง สัญจรจากกลุมศาสนสถานกลางเมื อง ไปยังประตูเมืองทางดานทิศเหนือ (ประตูศาล หลวง) และทิศตะวันออก (ประตูกําแพงหัก) แนวสิ่งปลูกสรางที่วัดตะพังทอง และวัด มหาธาตุ รวมไปถึงแนวคูน้ําทางทิศใต และทิศตะวันออกของเขตพระราชฐาน๔๓ วัดศรี สวาย ๓) กลุมศาสนสถานกลางเมืองไดแก วัดสระศรี วัดตระพังเงิน วัดชัยสงคราม วัดตระกวน แนวแกนทางสัญจรจากกลุมศาสนสถานกลางเมือง ไปยังประตูเมืองดานทิศ ใต (ประตู น ะโม) แนวประตู ด า นทิ ศ ตะวั น ตก (ประตู ทิ ศ อ อ ) และวั ด ศรี ชุ ม ส ว น ศาสนสถานนอกเมืองที่อยูหางไกลจะไมขออางถึงในที่นี้ เพราะอยูหางเกินกวาที่จะระบุ ทิศไดชัดเจนในขณะนี้ การกําหนดทิศของสิ่งปลูกสรางตางๆในเมืองไมตรงกับแนวแกน ทิศเหนือ-ใต และทิศตะวันออก-ตะวันตก และยังไมตรงกันเอง (ในแตละกลุมของโบราณ สถานที่กลาวมา) อาจสันนิษฐานไดวาในการกอสรางเมืองสุโขทัยนั้นไมไดมีการกําหนด พื้นที่และสรางเครื่องมือเพื่อใชในการเล็งทิศอยางถาวร และไมนาจะมีการเล็งทิศจากบน ภูเขาสูง (ซึ่งจะทําใหมองเห็นภาพรวมของเมืองทั้งหมด) ดังนั้นในการเล็งทิศในการ กอสรางแตละยุคสมัยจึงมีโอกาสผิดเพี้ยนไปไมตรงกัน อยางไรก็ดีเรายังไมอาจสรุปได เลยทีเดียววาโบราณสถานขนาดเล็กๆซึ่งตั้งอยูใกลกันหรือติดกันและมีทิศทางการวาง ตํ า แหน ง ในแนวแกนเดีย วกั น จะต อ งสร า งในยุ ค สมั ย เดี ย วกั น เสมอไป เนื่ อ งจากการ กอสรางอาคารสิ่งปลูกสรางขนาดเล็กอาจจะสามารถอางอิงทิศในการกอสรางกับสิ่งปลูก สร า งที่ อ ยู ข า งเคี ย งได โดยไม ต อ งใช ห ลั ก ดาราศาสตร ใ ดๆ ดั ง นั้ น แม ว า จะสร า งใน ระยะเวลาคนละยุคคนละสมัยหางกันหลายรอยป ก็อาจจะยังคงสามารถวางตําแหนงใน ทิศที่ตรงกันได แตในการสรางสิ่งปลูกสรางขนาดใหญ หรืออยูหางไกลออกไปก็ยังจําเปน จะตองกําหนดทิศโดยใชหลักดาราศาสตร เรายังไมพบหลักฐานที่จะชี้ใหเห็นถึงวิธีการที่ ใชในการเล็งทิศในการสรางเมืองสุโขทัย แตเราอาจตั้งสมมติฐานในการเล็งทิศการสราง เมืองสุโขทัยไดดังนี้ ๑) เล็งทิศจากสิ่งปลูกสรางชั่วคราวที่มีความสูง ที่สรางขึ้นเฉพาะใน แตละครั้งที่มีการวางผังเมืองหรือผังบริเวณ๔๔ ๒) เล็งทิศจากสิ่งปลูกสรางที่อยูขางเคียง ๔๓ ๔๔

อยูในบริเวณที่เปนพิพิธภัณฑสถานแหงชาติรามคําแหงในปจจุบัน เนื่องจากเมืองสุโขทัยมีขนาดไมใหญมาก ไมจําเปนตองเล็งทิศจากภูเขาสูงเสมอไป


๔๖

(สําหรับสิ่งปลูกสรางขนาดเล็ก) ในขณะนี้ยังไมมีขอพิสูจนสมมติฐานดังกลาวนี้ แตเรา อาจกลาวไดวาทิศของสิ่งปลูกสรางของเมืองสุโขทัยที่แตกตางกันในแตละกลุม มีสาเหตุ มาจากการวิธีการและผลการเล็งทิศในแตละยุคสมัยของการกอสราง เสา หลักเมือง ของเมืองเกาสุโขทัยนั้น ไมไดตั้งอยูในตําแหนงกลางเมือง (ภาพที่ ๒๕) สําหรับศาสน สถานที่ตั้งอยูที่ตําแหนงศูนยกลางเมืองพอดีคือ พระเจดียวัดชนะสงคราม ซึ่งสรางใน สมัยหลังจากการกอสรางกําแพงเมือง จึงไมนาจะถูกใชเพื่อประโยชนเปนตําแหนงสําคัญ ที่ใชเปนจุดอางอิงในการวัดระยะ เหมือนศาสนสถานกลางเมืองนครธมได ในการกอสรางเมืองเชียงใหม พบหลักฐานที่เปนประโยชนอยางยิ่งในการทําความ เขาใจเกี่ยวกับการใชความรูทางดานดาราศาสตรและโหราศาสตรในการวางผัง นั่นก็คือ ดวงเมืองที่จารึกเอาไวที่สวนบนของหลักจารึก แสดงการผูกดวงและดูฤกษ และมีการ กําหนดชัยภูมิของเมือง จากการตรวจสอบและสืบคนตามปทางสุริยคติแลว๔๕

ภาพที่ ๒๔ แสดงทิศของแนวแกนหลักของสิ่งปลูกสรางในเมืองสุโขทัยที่มี ความแตกตางกัน

๔๕

[๔] คณะกรรมการตรวจสอบและสืบคนดวงเมืองและตํานานพื้นเมืองเชียงใหม. (๒๕๓๗). จดหมายเหตุการตรวจสอบและสืบคนดวงเมืองนพบุรี ศรีนครพิงคเชียงใหม. เอกสารทาง วิชาการเพื่อเฉลิมฉลองและสมโภชเชียงใหม ๗๐๐ ป, เชียงใหม: โรงพิมพ ส. การพิมพ. หนา ๙.


๔๗

ภาพที่ ๒๕ ศาลหลักเมือง เมืองเกาสุโขทัย

พบวาตรงกับวันที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๑๘๓๙๔๖ หลังจากวันเถลิงศกของปดังกลาว ประมาณ ๑๖ วั น ๔๗ ซึ่ ง เป น จุ ด เริ่ ม ต น ของฤดู ร อ นเมื่ อ ฤดู ก าลเก็ บ เกี่ ย วสิ้ น สุ ด ลง เหมาะสมที่จะเปนชวงเวลาของการกอสรางซึ่งตองใชแรงงานผูคนจํานวนมาก และเพื่อให การเล็งทิศในแนวตะวันออก-ตะวันตกใกลเคียงกับความเปนจริงมากที่สุด จําเปนทีจ่ ะตอง ทําการเล็งทิศในวันเถลิงศกหรือวันใกลเคียง ถาเปนเชนนั้น การเล็งทิศนาจะเตรียมการ ไวกอนวันสรางเมืองตามฤกษ ดังปรากฏในตํานานพื้นเมืองเชียงใหมถึงรายละเอียดใน การสรางเมืองวา

๔๖ ๔๗

ตามจารึกที่วัดเชียงมั่นระบุวา เปนวันพฤหัสบดี ขึ้น ๘ ค่ํา เดือนวิสาขะ จ.ศ. ๖๕๘ วันเถลิงศกไดแกวันขึ้นปใหมของไทย เปนวันที่พระอาทิตยขึ้นทางทิศตะวันออกและตกทางทิศ ตะวันตกพอดีในฤดูรอน และชวงเวลากลางวันและกลางคืนจะยาวเทากัน โหราจารยกําหนดให เปนจุดตั้งตนของราศีเมษ อันถือเปนราศีที่ ๑ ของจักรราศี วันเถลิงศกของป พ.ศ. ๑๘๓๙ คือวันแรม ๗ ค่ํา เดือน ๕ ตรงกับวันที่ ๒๗ มีนาคม พ.ศ. ๑๘๓๙


๔๘

“แลวเจาพระญาทั้ง ๒ หื้อแตงเครื่องพลิกัมมปูชาเทวดาทังหลาย ฝู ง รั ก ษาเมื อ ง กะทํ า พลิ กั ม ม ปู ช าแต ง เป น ๓ โกฐาก ปู ช าที่ ไชยภูมิอันตั้งหอนอน โกฐากถวน ๒ ปูชาเสื้อเมืองที่พระญาหนู เผือกอยูกลางเวียง โกฐากหนึ่งมาแจกเปน ๕ สวน ไพปูชาที่จัก แปงประตูทั้ง ๕ แหง...”๔๘ หมายความวากอนที่จะเริ่มการกอสรางไดมีการกําหนดตําแหนงอันเปนชัยภูมิ และตําแหนงของประตูเมืองทั้ง ๕ ไวเรียบรอยแลว จากนั้นจึงกระทําพิธีบูชาเทวดาที่ ตําแหนงเหลานั้น กอนเริ่มตนการกอสราง การกําหนดตําแหนงสําคัญดังกลาวนาจะได กระทํ า ไปพร อ มกั บ การเล็ ง ทิ ศ ของกํ า แพงเมื อ งในช ว งวั น เถลิ ง ศก และจากตํ า นาน พื้นเมืองเชียงใหม ฉบับ ๗๐๐ ป กลาวถึงแผนการกอสรางเมืองของ พญามังราย วา “ขามักตั้งไชยภูมิไพวันตก วันออก ใต เหนือ พุน ๕๐๐ วาแล วาอั้น…”๔๙ หมายถึ ง พระองค ท รงมี พ ระราชดํ า ริ ใ ห วั ด จากตํ า แหน ง ชั ย ภู มิ ซึ่ ง น า จะเป น ศูนยกลางเมือง (บริเวณที่พบหนูเผือก) ไป ๕๐๐ วา ทั้ง ๔ ทิศ ไมไดเล็งทิศจาก ภูเขาสูงดังเชนที่สันนิษฐานไวในการสรางเมืองของขอมโบราณ ซึ่งก็มีความเปนไปได เนื่องจากเมืองเชี ย งใหม มีข นาดเล็กกวา เมืองนครธมมาก เมื่ อพิจารณาลัก ษณะของ กําแพงเมืองและคูเมืองของเมืองเชียงใหม พบวาใกลเคียงกันแนวแกนทิศเหนือ-ใตและ ทิศตะวันออก-ตะวันตกมากกวาเมืองสุโขทัย ตําแหนงของประตูก็อยูในตําแหนงกึ่งกลาง ที่เหมาะสม มีผิดเพี้ยนไปบางก็คือประตูทาแพชั้นในซึ่งอยูทางทิศตะวันออกของเมืองซึ่ง เยื้องต่ําลงมาทางดานใตเพียงเล็กนอย คาดวานาจะเกิดจากความคลาดเคลื่อนเมื่อมีการ บูรณะปฏิ สังขรณประตูขึ้นใหม ซึ่งจะอธิบายในหัวขอตอไป แสดงวาการเล็ งทิศและ กํ า หนดตํ า แหน ง ในการสร า งเมื อ งเชี ย งใหม มี ค วามละเอี ย ดแม น ยํ า ดี (ภาพที่ ๒๖) ถึงแมวาเรายังไมพบหลักฐานทางโบราณคดีที่จะชี้ใหเห็นถึงวิธีการที่ใชในการเล็งทิศใน การสรางเมืองเชียงใหม แตเราอาจตั้งสมมติฐานในการเล็งทิศการสรางเมืองเชียงใหมได จากหลักฐานทางเอกสารประวัติศาสตร ไดดังนี้ ๑) เล็งทิศจากสิ่งปลูกสรางชั่วคราวที่มี ๔๘

ตํานานพื้นเมืองเชียงใหม ฉบับ ๗๐๐ ป, หนา ๓๕-๓๖. ดู [๒๒] หางหุนสวนจํากัด เฌอ กรีน. (๒๕๔๐) รายงานการขุดคนและบูรณะกําแพงเมืองเชียงใหม. เชียงใหม: ดาวคอมพิว กราฟก. หนา ๑๒. ๔๙ ตํานานพื้นเมืองเชียงใหม ฉบับ ๗๐๐ ป. หนา ๓๓-๓๕. ดู [๒๒] หางหุนสวนจํากัด เฌอ กรีน. (๒๕๔๐) รายงานการขุดคนและบูรณะกําแพงเมืองเชียงใหม. เชียงใหม: ดาวคอมพิว กราฟก. หนา ๑๒.


๔๙

ความสูง บริเวณใจกลางเมืองอันเปนตําแหนงชัยภูมิ ๒) เล็งทิศจากสิ่งปลูกสรางที่อยู ขางเคียง (สําหรับสิ่งปลูกสรางขนาดเล็ก) และเนื่องจากเมืองเชียงใหมมีความเจริญที่ สืบเนื่องยาวนามมาจนถึงปจจุบัน ดังนั้นในสมัยหลังที่ชนชาติตะวันตกไดเขามามีบทบาท ในดิ นแดนแถบนี้๕๐ จึ งไดนํ าเอาวิทยาการสมัยใหม ในการเล็งทิศ และวัดมุ มเข ามาใช ดังนั้นแผนผังของอาคารและสิ่งปลูกสรางในสมัยรัตนโกสินทรหรือที่ไดรับการซอมแซม ใหมข องเมื องเชียงใหม จึงค อนขางจะตรงกับแนวแกนทิ ศเหนือ-ใต และทิศตะวั นออกตะวันตก คอนขางมาก สําหรับตําแหนงที่อยูบริเวณศูนยกลางเมืองเชียงใหมพอดีนั้น ไมพบวามีศาสนสถานใดตั้งอยู นั่นแสดงวาคติความเชื่อเรื่องการจําลองจักรวาลและเขา พระสุเมรุที่จะตองอยูตําแหนงศูนยกลางเมืองพอดีนั้น ไดลดบทบาทไปอยางมาก การ วางตําแหนงของพื้นที่ชัยภูมิและเสาอินทขิลเปนไปตามหลักโหราศาสตรมากกวา ไมไดมี ผลตอการกําหนดจุดอางอิงและการวัดระยะ

ภาพที่ ๒๖ ภาพถายทางอากาศเมืองเชียงใหม ที่มา: http://pointnetwork.pointasia.com/th/PointAsia/main.aspx ๕๐

ในสมัยรัตนโกสินทร เมื่อเชียงใหมถูกผนวกเขาเปนสวนหนึ่งของสยามประเทศแลว


๕๐

๔. การศึกษาเปรียบเทียบลักษณะของกําแพงเมืองและคูเมือง ๔.๑ รูปรางและขนาด จากศิลาจารึก หลักที่ ๑ ของกรุงสุโขทัย ซึ่งจารโดยพอขุนรามคําแหงมหาราช ระบุวา “เมืองสุโขทัยนี้ ตรีบูรได ๓๔๐๐ วา” ในปจจุบันเมื่อวัดขนาดของกําแพงเมือง เกาสุ โ ขทั ย ซึ่ งมี ลั ก ษณะเป น รูป สี่ เหลี่ ย มผื น ผา จากทางด านทิ ศ เหนื อถึ ง ด า นทิ ศ ใต กวาง ๑,๔๐๐ เมตร จากทางดานทิศตะวันออกถึงทิศตะวันตก ยาว ๑,๘๑๐ เมตร มี ลักษณะเปนกําแพงพูนดิน ๓ ชั้น สูง ๕-๘ เมตร คูน้ําที่กั้นกําแพงแตละชั้น กวาง ๓๐-๔๐ เมตร (ภาพที่ ๒๗) มีทั้งสิ้น ๔ ประตู ประกอบดวย ประตูนะโมดานทิศใต ประตูกําแพงหักดานทิศตะวันออก ประตูออดานทิศตะวันตก และประตูศาลหลวงดาน ทิศเหนือ กําแพงเมืองเชียงใหมมีรูปรางเปนสี่เหลี่ยมจัตุรัส จากตํานานพื้นเมืองเชียงใหม พอขุนรามคําแหงและพญางําเมืองทรงแนะนําพญามังรายไมใหสรางเมืองใหญเกินไป เพราะจะยากแกการดูแลรักษาเมือง โดยสรางกําแพงแตละดานยาวเทากับ ๑๐๐๐ วา ในปจจุบันเมื่อวัดขนาดของกําแพงเมืองเชียงใหมในแตละดานจะมีความกวางและความ ยาวใกลเคียงกัน ประมาณ ๑,๖๐๐ เมตร มีแตกตางกันบางเล็กนอย มีประตูทั้งสิ้น ๕ ประตูหลั ก๕๑ เมืองเชียงใหมยั งมีกําแพงเมืองชั้นนอกอีกชั้นหนึ่ง มี ลักษณะเปนแนว กําแพงอิฐบนคันดินรูปโคงเลียบไปตามคลองแมขา โอบรอบครึ่งหนึ่งของกําแพงเมือง ชั้นในตั้งแตแจงศรีภูมิ ซึ่งตั้งอยูที่มุมเมืองทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ออมไปทางทิศใต ไป จรดกับแจงกูเรือง ซึ่งตั้งอยูที่มุมเมืองทิศตะวันตกเฉียงใต

๕๑

มีชื่อปรากฎใน ตํานานพื้นเมืองเชียงใหม ฉบับ ๗๐๐ ป, หนา ๔๕. กลาวถึงชื่อประตูเมืองใน สมัยพญาแสนภู พ.ศ. ๑๘๖๒ ทั้งสิ้น ๓ ประตู คือ ประตูเชียงใหมทางทิศใต ประตูหัวเวียง ทางทิศเหนือ และประตูสวนดอกทางทิศตะวันออก


๕๑

ภาพที่ ๒๗ สภาพ ของคู เ มื อ งสุ โ ขทั ย ใน ปจจุบันถูกปกคลุมไป ดวยตนไมใหญ

๔.๒ การเปลี่ยนแปลงของกําแพงเมืองและคูเมือง ในสมัยเริ่มกอสรางเมืองสุโขทัยนั้น คาดวาเมืองสุโขทัยนาจะมีเพียงกําแพงดิน ชั้นใน และคูเมืองชั้นในเพียงชั้นเดียว จากหลักฐานการขุดคนทางดานโบราณคดีของ กรมศิลปากร๕๒ พบวาในการกอกําแพงเมืองชั้นกลางและชั้นนอกของเมืองสุโขทัยนั้น มี การนําดินจากบริเวณใกลเคียงที่เคยเปนที่ที่มีคนอยูอาศัยมากอน นํามาทับถมกันเปน ปอมประตูและกําแพงเมือง มีการพบวัตถุโบราณที่มีอายุอยูในชวง พ.ศ. ๑๙๑๑-๒๑๘๑ นอกจากนี้ ที่ ป อ มประตู เ มือ งด า นทิ ศ ใต ถู ก สร า งทับ บริ เ วณที่ เ คยเป น วั ด มาก อ น และ ภายหลังไดถูกทิ้งรางไป จึงสันนิษฐานไดวากําแพงเมืองชั้นกลางและชั้นนอกรวมไปถึงคู เมืองชั้นนอกและปอมประตูเมือง ถูกสรางขึ้นภายหลังจากการกอสรางกําแพงเมืองชั้นใน และคูเมืองชั้นใน ซึ่งนาจะเปนสมัยการฟนฟูเมืองโดยพระศรีเสาวราชเจาเมืองสุโขทัย ในป พ.ศ. ๒๑๓๕ หลังจากที่เมืองสุโขทัยถูกทิ้งรางไปเปนเวลา ๘ ป๕๓ ในการบูรณะ เนื่องจากตองการปองกันภัยจากขาศึกศัตรู จึงจําเปนตองบูรณะคูเมืองและกําแพงเมือง ใหใหญโตแข็งแรงขึ้น มีการขูดคูเมืองชั้นนอกสรางกําแพงเมืองชั้นนอกรวมไปถึงปอม ๕๒

[๑๖] ศิลปากร, กรม. (๒๕๓๑). การขุดคนทางโบราณคดีในอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย. โครงการอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย, กรุงเทพ: กองโบราณคดีและประวัติศาสตร กรมศิลปากร. ๕๓ เนื่องจากพระนเรศวรมหาราชทรงกวาดตอนผูคนจากหัวเมืองเหนือ มาไวที่กรุงศรีอยุธยาระหวาง การศึกสงครามกับพมา ในระหวาง พ.ศ. ๒๑๒๗-๒๑๓๕ ดู [๑๕] ศิลปากร, กรม. (๒๕๒๕) พระบรมราชานุสาวรีย พอขุนรามคําแหงมหาราช และรวมเรื่องเมืองสุโขทัย. กรุงเทพ: กองโบราณคดีและประวัติศาสตร กรมศิลปากร. หนา ๑๕๓-๑๕๔.


๕๒

ประตูเมืองเพิ่มเติม คาดวาการกออิฐประกอบแกนดินกําแพงเมืองชั้นในดานตะวันตก นาจะสรางขึ้นในสมัยนี้ดวย (ภาพที่ ๒๘) เชนเดียวกันตามแบบอยางกําแพงเมืองของกรุง ศรีอยุธ ยา ภายหลั งเมื่ อเมื่อสุ โขทัยถูกตีแตกโดยกองทั พพมาอีกในป พ.ศ. ๒๓๐๘ ความเสียหายที่เกิดขึ้นคงจะมากจนเปนการยากที่จะฟนฟูเมืองได และอีกประการหนึ่งคง เป น เหตุ ผ ลทางการเมื อ งของกรุ ง รั ต นโกสิ น ทร ที่ ต อ งการรวมศู น ย อํ า นาจเอาไว ที่ กรุงเทพฯเพียงแหงเดียว พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกจึงโปรดใหยายเมือง สุโขทัยมาตั้งใหมยังบานธานีริมแมน้ํายมอันเปนที่ตั้งปจจุบัน ในป พ.ศ. ๒๓๒๙ และนํา ผลงานศิ ล ปกรรมส ว นใหญ ม าไว ที่ ก รุ ง เทพฯ เมื อ งเก า สุ โ ขทั ย จึ ง เสื่ อ มสลายไปตาม กาลเวลา ไมไดรับการบูรณะซอมแซมอีก จนกระทั่งเกิดโครงการฟนฟูบูรณะปฏิสังขรณ อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัยในรัชกาลปจจุบัน

ภาพที่ ๒๘ ป ร ะ ตู อ อ ท า ง ทิ ศ ต ะ วั น ต ก ข อ ง เ มื อ ง สุโขทัย

ในสมัยแรกสรางเมืองเชียงใหม๕๔สันนิษฐานวานาจะมีกําแพงเมืองและคูเมือง เพียงชั้นเดียวเหมือนเชนปจจุบัน แตไมปรากฏหลักฐานเอกสารแสดงวาเปนกําแพงดิน หรือกอดวยอิฐ เหตุที่เห็นวาเปนชั้นเดียวก็เนื่องจาก ในป พ.ศ. ๑๘๘๕ ในรัชสมัยของ พญาผายู มีการขยายคูเมืองใหกวาง ถึง ๑๖ เมตร๕๕ และกอกําแพงเมืองดวยอิฐ (เปน การเสริมกําแพงเดิม) ในการขยายคูเมือง ถาหากกําแพงเมืองมี ๓ ชั้นก็คงเปนเรื่อง ยุงยากซับซอนจะตองปรับเปลี่ยนแนวกําแพงชั้นนอกใหมซึ่งนาจะถูกบันทึกไวพรอมกับ การขยายคูเมือง แตไมปรากฏวามีบันทึกในเรื่องดังกลาว ๕๔

สรางใน ป พ.ศ. ๑๘๓๙ ในสมัยของพญาเม็งราย ชินกาลมาลีปกรณ, หนา ๑๐๔. ดู [๒๒] หางหุนสวนจํากัด เฌอ กรีน. (๒๕๔๐) รายงาน การขุดคนและบูรณะกําแพงเมืองเชียงใหม. เชียงใหม: ดาวคอมพิวกราฟก. หนา ๑๔.

๕๕


๕๓

มีการเจาะประตูเมืองเพิ่มเติมสําหรับเหตุการณเฉพาะหนา ๒ ครั้ง ครั้งแรก ใน ป พ.ศ. ๑๙๔๓ สมั ย พญาแสนเมื อ งมา เจาะประตูเ มื องด า นที่ ติ ดกั บ วั ด พราหมณ อัญเชิญพระศพพญากือนาจากพระราชวังนอกเมือง เขามาในเมือง แลวกอกําแพงปด ดังเดิม ทั้งนี้เพราะกลัวกองทัพกรุงศรีอยุทธยาจะมาบุก๕๖ ครั้งที่ ๒ เกิดขึ้นในสมัยของ พญาสามฝงแกน (พ.ศ. ๑๙๔๔-๑๙๘๔ ๕๗) มีการเจาะชองประตู ชื่อประตูส วนแร๕๘ บริเวณกําแพงเมืองดานทิศใต เพื่อใหพระมหาเทวีราชชนนีซึ่งตั้งพระตําหนักอยูตําบล สวนแร ภายนอกกําแพงเมือง เสด็จมาดูการกอพระเจดียภายในเมือง ตอมากําแพงเมืองและคูเมืองดานทิศตะวันออกเฉียง เหนือซึ่งเปนพื้นที่ที่ถือเปน ชัยภูมิของเมือง ถูกรื้อทําลายในสมัยของพญาติโลกราช (ป พ.ศ. ๑๙๘๕-๒๐๓๐๕๙) พรอมๆกับการตัดตนนิโครธ ซึ่งเปนไมศรีเมืองเชียงใหม เพื่อสรางเปนพระราชวังใน บริเวณนั้น ทั้งนี้เนื่องจากพระองคหลงกลลวงของชีมานชื่อมังลุงหลวง ซึ่งเปนไสศึกจาก กรุงศรีอยุธยาใหมาทําลายศรีเมืองเชียงใหม กําแพงเมืองที่ถูกทําลายลงไดถูกซอมแซม บู ร ณะด ว ยอิ ฐ ในสมั ย ต อ มาคื อ สมั ย พระเมื อ งแก ว (พ.ศ. ๒๐๓๙-๒๐๖๙) ในช ว ง ระยะเวลาตอมาในสมัยที่เชียงใหมตกอยูภายใตการปกครองของพมาไมปรากฏวามีบันทึก เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงคูเมืองหรือกําแพงเมือง จนกระทั่งเปนอิสระจากพมาและเขามา เปนสวนหนึ่งของราชอาณาจักรสยามจึงมีการฟนฟูบูรณะคูเมืองกําแพงเมืองและประตู เมือง หลังจากที่เมืองไดรับความเสียหายจากการศึกสงครามและถูกทิ้งรางไปถึง ๒๐ ป ในป พ.ศ. ๒๓๔๐ สมัยของพระยากาวิละ ในสมัยรัตนโกสินทรเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญของกําแพงเมืองเชียงใหมเมื่อ กําแพงเกิดชํารุดหักพังไปทั้ง ๔ ดาน ขาหลวงใหญมณฑลพายัพและเจาเมืองเชียงใหม จึงใหทําการไถเกรดกําแพงเมืองเพื่อกอสรางถนนรอบเมือง ภายหลังเมื่อกําแพงเมือง เชียงใหมไดรับการขึ้นทะเบียนใหเปนโบราณสถานแหงชาติ๖๐ จึงไดมีการปฏิสังขรณ ประตูเมืองและแจงเมืองเชียงใหมหลายครั้งหลายหนระหวาง ป พ.ศ. ๒๕๐๙ เปนตน มา โดยครั้งลาสุดมีการบูรณะกําแพงเมืองเชียงใหมใน ป พ.ศ. ๒๕๓๙ ที่ผานมานี่เอง (ภาพที่ ๒๙-๓๐) ๕๖

เหตุที่ไมนําพระศพเขาประตูเมืองที่มีอยูเดิม คาดวาเปนเหตุผลเกี่ยวกับความเชื่อของคนเมือง ชินกาลมาลีปกรณ ดู เชิงอรรถที่ ๑๙ ๕๘ ตอมาอาจเปนประตูแสนปรุงหรือสวนปรุง ๕๙ ชินกาลมาลีปกรณ ดู เชิงอรรถที่ ๑๙ ๖๐ เมื่อวันที่ ๘ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๗๘ ๕๗


๕๔

สวนระยะเวลาการกอสรางกําแพงเมืองชั้นนอกของเมืองเชียงใหม ยังเปนที่ ถกเถียงกันวาสรางขึ้นในสมัยไหน สันนิษฐานได ๓ กรณีคือ ๑) สรางในสมัยพระเม กุฏิสุทธิวงศ (พ.ศ. ๒๐๙๔-๒๑๐๑) ตามคําเสนอของขุนนางพมา ทําการขุดคูเมือง กอ กําแพงดินชั้นนอก เปนราหูอมกําแพงเมืองเกา ใน พ.ศ. ๒๑๐๐๖๑ ๒) สรางสมัย กษัตริยพมาพระนามสุทโธ ในป พ.ศ. ๒๑๖๐ ๓) สรางสมัยแมทัพโกษาธิบดีแหงกรุง ศรี อ ยุ ธ ยาเมื่ อ ครั้ ง ยกทั พ มาตี เ มื อ งเชี ย งใหม ในป พ.ศ. ๒๒๐๔-๐๕ ส ว นการ บูรณะปฏิสังขรณ และเสริมสรางกําแพงเมืองชั้นนอกนั้น เกิดขึ้นในป พ.ศ. ๒๓๖๔ ใน สมัยของพญาชางเผือก (พ.ศ. ๒๓๕๖-๒๓๖๔) ตระกูลเจาเจ็ดตน พระองคทําการขุด คูเมืองชั้นนอก และใหกออิฐบนกําแพงดิน ตั้งแตแจงศรีภูมิออมลงมาทางทิศใตจนตลอด แนว จะเห็นไดวาลักษณะทางกายภาพของกําแพงเมืองเชียงใหม มีการเปลี่ยนแปลง หลายครั้งหลายคราในประวัติศาสตร ที่มากที่สุดคือการไถเกรดทําลายในสมัยรัชกาลที่ ๕ ดังนั้นลักษณะของกําแพงเมือง และประตูเมืองสวนใหญในปจจุบัน เปนของที่สรางขึ้น ใหม ซึ่งคาดวาจะแตกตางไปมากจากของดั้งเดิมตั้งแตเริ่มสราง แตตําแหนงกําแพงเมือง ที่เลียบไปตามคูเมืองเดิมนาจะใกลเคียงกับแนวเดิมมากที่สุด ในสมัยโบราณมีพระเถระใน พระพุทธศาสนาของลานนาหลายทาน ที่ไดประพันธเอกสารประวัติศาสตรและตํานาน พื้นเมืองในเชิงศาสนาไวมากมาย และไดกลายเปนเอกสารสําคัญใหคนรุนหลังไดศึกษา เปรียบเทียบ แตกตางกับเมืองเกาสุโขทัยที่วรรณกรรมทางดานประวัติศาสตรศาสนามิได เจริญแพรหลาย จึงไมทราบประวัติการเปลี่ยนแปลงของคูเมืองและกําแพงเมืองมากนัก นอกจากหลักฐานทางโบราณคดีที่มีอยู

ภาพที่ ๒๙ ประตูทาแพและกําแพงเมือง ได รับการบูรณะครั้งลาสุดใน ป พ.ศ. ๒๕๓๙

๖๑

ตํานานพื้นเมืองเชียงใหม ฉบับ ๗๐๐ ป, หนา ๑๗.


๕๕

ภาพที่ ๓๐ ประตู ท า แพและ กําแพงเมือง มุมมองจากถนน ราชดําเนิน

๕. การศึกษาเปรียบเทียบการแบงพื้นที่การใชที่ดิน การวิเคราะหการแบงพื้นที่การใชที่ดินของเมืองโบราณนั้นมีความยากลําบาก พอสมควร เพราะเปนธรรมดาที่การใชที่ดินในแตละเมืองยอมสามารถเปลี่ยนแปลงไปได ในแตละยุคแตละสมัย โดยเฉพาะเมืองที่มีประวัติศาสตรสืบเนื่องยาวนาน อาจเปลี่ยนไป ตามป จ จั ย ต า งๆมากมาย เช น จํ า นวนประชากรที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น ความเชื่ อ การ เปลี่ ย นแปลงทางด า นการเมื อ ง การคมนาคมขนส ง โดยสาร แต อ าจมี บ างพื้ น ที่ ที่ มี ลักษณะการใชที่ดินที่คงเดิ ม ยากที่จะเปลี่ยนแปลง เชน พื้ นที่ศาสนสถานอันเป นที่ เคารพบูชาของประชาชน หรือพื้นที่เขตพระราชฐาน เปนตน ระหวางเมืองโบราณที่ เวลาหยุดนิ่งลง กับเมืองที่มีความเจริญเติบโตไมหยุดนิ่งตลอดเวลา เราควรจะกําหนด ชวงเวลาในการเปรียบเทียบที่เหมาะสมอยางไร ปญหาก็คือสําหรับโบราณสถานที่เมือง โบราณสุโขทัย เราไมสามารถจําแนกยุคสมัยในการสรางไดชัดเจนทั้งหมด ไดแตเพียง คาดคะเนเทานั้น ในการเปรียบเทียบครั้งนี้ จึงจะขอเปรียบเทียบภาพรวมอยางคราวๆ ในชวงเวลากอนสมัยกรุงรัตนโกสินทรเทานั้น ซึ่งเปนชวงเวลากอนทีก่ รุงสุโขทัยจะถูกทิ้ง รางไปเทานั้น๖๒ กรุงสุโขทัยเมื่อเริ่มสรางเดิมใหศาสนสถานวัดพระพายหลวงเปนศูนยกลางเมือง ไม ปรากฏหลักฐานแนชัดวาพระราชวังและบริเวณบานเรือนที่อยูอาศัยของกลุมบุคคลชั้นสูง รวมไปถึงบานเรือนของประชาชนธรรมดารวมตัวกันหนาแนนอยูที่ใดบาง ทางดานทิศ ตะวั น ออกของวั ด พระพายหลวงมี คั น ดิ น รู ป สี่ เ หลี่ ย มผื น ผ า ขนาดใหญ มี ร อ งรอยคู น้ํ า ๖๒

ขอมูลสวนใหญที่ใชในการเปรียบเทียบนี้ อางอิงจาก [๑๒] ศรีศักร วัลลิโภดม. (๒๕๓๒). เมืองโบราณในอาณาจักรสุโขทัย. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.


๕๖

ชลประทานภายใน และมี ซ ากศาสนสถาน และร อ งรอยการอยู อ าศั ย ในบางบริ เ วณ สันนิษฐานวานาจะเปนพื้นที่นาที่มีความสัมพันธกับวัดพระพายหลวง มีศาลตาผาแดงซึ่ง เปนศาลเทพเจาประจําเมืองอยูทางทิศใต ตอมาเมื่อมีการขยายเมืองยายศูนยกลางเมืองมา อยูทางดานทิศใต สรางเปนกําแพงเมืองและคูเมืองรูปสี่เหลี่ยมผืนผาโอบลอม ใจกลาง เมื อ งเป น ที่ ตั้ ง ของพระราชวั ง ๖๓ และวั ด ประจํ า เมื อ งนั้ น ก็ คื อ วั ด มหาธาตุ ซึ่ ง อยู ท างทิ ศ ตะวันตกของพระราชวัง บรรดาวัดสําคัญๆของเมืองสุโขทัยจะเกาะกลุมอยูกลางเมือง บาง วัดมีตระพังลอมรอบวิหารตามคติความเชื่อในการถือสีมาน้ํา และเพื่อประโยชนในการนํา น้ํามาใชในการอุปโภคบริโภคของชาวเมืองดวย วัดเหลานั้น ไดแก วัดสระศรี วัดตระพัง เงิ น นอกจากนี้ ยั ง มี วัด อื่ น ๆที่ ไ ม ถือ สี ม าน้ํ า ได แ ก วั ด ตระกวน วัด ใหม และวั ด ชั ย สงคราม ทางดานทิศเหนือและทิศตะวันออกของเมืองยังมีวัดที่ถือสีมาน้ําอีก ๒ วัดคือวัด ตระพังสอและวัดตระพังทอง บานเรือนที่อยูอาศัยของผูคนสวนใหญจะหนาแนนอยูทางฝง ตะวันออกของเมือง เนื่องจากสามารถขุดบอบาดาลที่รองรับน้ําซึมจากตระพังตางๆได สวนดานตะวันตกของเมืองเปนบริเวณที่มีผูคนอยูเบาบาง เนื่องจากขาดแคลนน้ําใตดินที่ เหมาะกับการอุปโภคบริโภค ภายนอกเขตกําแพงเมืองทางทิศตะวันตกซึ่งเปนพื้นที่ปาเขา ตามเชิงเขาและ ยอดเขาเตี้ยๆเปนที่ตั้งของวัดอรัญญิกหลายแหง เชน วัดสะพานหิน วัดพระบาทนอย วัดอรัญญิก วัดปามะมวง เปนตน ทางดานทิศใตเปนพื้นที่ลาดต่ํา เปนพื้นที่เรือกสวน ปาหมาก ปาพราว นอกจากนี้ยังเปนที่ตั้งของวัดอันเปนที่จําพรรษาของพระเถระผูใหญ เชน วัดเชตุพน วัดมุมลังกา วัดอโศการาม เปนตน ทางดานทิศตะวันตกและทิศเหนือ เปนที่ราบลุมมีลําน้ําแมลําพันไหลผาน จึงถูกใชเปนพื้นที่เกษตรกรรมทํานา (ภาพที่ ๓๑) สําหรับเมืองเชียงใหมในยุคสรางบานแปงเมืองนั้น มีการสรางวัดประจําเมืองวัด แรกอยูในตําแหนงชัยภูม๖๔ ิ ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองคือวัดเชียงมั่นในปจจุบัน สวนตําแหนงของพระราชวังก็ควรจะอยูบริเวณใกลกับวัดเชียงมั่นนั่นเอง ในสมัยตอมาใน สมัยของพระเจาแสนเมืองมา(พ.ศ. ๑๙๒๘-๑๙๔๔) ไดทรงสรางวัดหัวขวงแสนเมืองมา หลวงขึ้ น ๖๕ ซึ่ ง เชื่ อ กั น ว า เป น วั ด สํ า คั ญ ที่ ติ ด กั บ ข ว งหลวงหรื อ สนามหลวงของเมื อ ง ๖๓

อยูในบริเวณที่เปนพิพิธภัณฑสถานแหงชาติรามคําแหงในปจจุบัน จากการผูกดวงเมืองเชียงใหม ตําแหนงศรีของเมืองอยูทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ๖๕ ปจจุบันชื่อวาวัดหัวขวง ตั้งอยูภายในเขตกําแพงเมืองเชียงใหม ดานติดกับประตูชางเผือกหรือ ประตูหัวเวียงทางทิศเหนือ และตั้งอยูทางดานทิศตะวันตกของวัดเชียงมั่น หางออกไปประมาณ ๓๐๐ เมตร ดู [๑๙] สุรพล ดําริหกุล. (๒๕๓๙). แผนดินลานนา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ เมืองโบราณ. หนา ๑๕๒-๑๖๙. ๖๔


๕๗

เชียงใหมในอดีต ดังนั้นทางดานทิศใตของวัดหัวขวงจึงควรจะเปนที่ตั้งของสนามหลวงซึ่ง รายลอมไปดวยสถานที่ทําการของขุนนางหรือที่เรียกกันวา “เคาสนามหลวง” นั่นเอง ในปจจุบันพื้นที่ที่ตั้งอยูทางดานทิศใตของวัดดังกลาว เปนที่ตั้งของกลุมของสถานศึกษา และสถานที่ ร าชการ ประกอบด ว ย เรื อ นจํ า จั ง หวั ด เชี ย งใหม วิ ท ยาลั ย อาชี ว ศึ ก ษา โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย โรงเรียนพาณิชยการลานนา มีอาคารพาณิชย สอดแทรกอยู เปนชวงๆ วัดสําคัญอีกวัดหนึ่งซึ่งสรางขึ้นในสมัยพระเจาแสนเมืองมาเชนเดียวกัน ก็คือ วัดพระสิงห เปนวัดที่ตั้งอยูตามแนวแกนทิศตะวันออก-ตะวันตก กลางใจเมือง โดย ตํ า แหน ง ของวั ด ตั้ ง อยู เ ยื้ อ งไปทางทิ ศ ตะวั น ตก เป น ที่ ป ระดิ ษ ฐานของพระพุ ท ธรู ป คูบานคูเมือง นั่นก็คือพระพุทธสิหิงค มาจนกระทั่งถึงปจจุบัน (ภาพที่ ๓๒)

ภาพที่ ๓๑ การแบงพื้นที่การใชที่ดินของเมืองโบราณสุโขทัย


๕๘

ภาพที่ ๓๒ การใชที่ดินภายในเขตคูเมืองเชียงใหมและพื้นที่ใกลเคียง มีการวางตําแหนงเสาอินทขิลซึ่งเปรียบเสมือนเสาหลักเมืองไวบริเวณใกลๆกับ ศูนยกลางเมืองเยื้องไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือเล็กนอย ในบริเวณซึ่งตอมาเปนวัด อินทขิล (ภาพที่ ๓๓) ตอมาในสมัยหลัง ไมทราบชวงเวลาที่แนชดั เสาอินทขิลไดถูก ยายมาประดิษฐานไวทวี่ ัดเจดียหลวง๖๖ (ภาพที่ ๓๔) ในปจจุบันไมเหลือรองรอยของสระน้ําหรือธารน้ําในเมือง เนื่องจากพื้นที่เมืองถูก ปรับเปลี่ยนไปโดยสิ้นเชิง ไมสามารถระบุตําแหนงที่ตั้งของบริเวณพื้นที่พักอาศัยสวน ใหญได แตเมื่อพิจารณาจากตําแหนงที่ตั้งของศาสนสถานซึ่ง กระจายตัวอยูหนาแนน ตามแนวแกนทิศตะวันออก-ตะวันตก ตั้งแตแมน้ําปง ไปจนถึงวัดพระสิงห (ภาพที่ ๓๕) จึ ง สั น นิ ษ ฐานได ว า ในพื้ น ที่ โ ดยรอบบริ เ วณดั ง กล า วน า จะมี ผู ค นอาศั ย อยู ห นาแน น เชนเดียวกัน สวนในบริเวณที่ถัดออกไปจากแนวแกนดังกลาว รวมไปถึงพื้นที่ภายใน เขตคู เ มื อ งชั้ น นอก มี อ าคารศาสนสถานกระจายตั ว อยู เ บาบางกว า ดั ง นั้ น ในพื้ น ที่ โดยรอบบริเวณดังกลาวนาจะมีผูคนอาศัยอยูหนาแนนนอยกวาพื้นที่ตามแนวแกนกลาง ๖๖

ตั้งอยูในบริเวณใกลๆกับศูนยกลางเมืองเยื้องไปทางทิศตะวันตกเฉียงใตเล็กนอย สรางในสมัยของ พระเจาแสนเมืองมา(พ.ศ. ๑๙๒๘-๑๙๔๔) เมตร ดู เอกสารอางอิงในเชิงอรรถที่ ๖๔, หนา ๑๐๙-๑๕๑.


๕๙

เมือง การกระจายตัวของกลุมศาสนสถานและที่พักอาศัยที่มีกระจัดกระจายไปทั่วทุก บริเวณดังกลาว แสดงวาภายในเมืองเชียงใหม ไมมีปญหาเรื่องแหลงน้ําบาดาลเพื่อการ อุปโภคและบริโภคเหมือนดังเชนที่พบในเมืองสุโขทัย

ภาพที่ ๓๓ พระเจดียวัดอินทขิล ภายใน หอศิลปวัฒนธรรมเชียงใหม ซึ่งเปนวัดที่ตั้ง ของเสาอินทขิลตั้งแตเริ่มสรางเมือง

ภาพที่ ๓๕ วิหารลายคําภายในวัดพระสิงค ภ า ย ใ น ป ร ะ ดิ ษ ฐ า น พ ร ะ พุ ท ธ สิ หิ ง ห พระพุทธรูปคูบานคูเมืองเชียงใหม

ภาพที่ ๓๔ เสาหลักเมือง หรือเสาอินทขิล ในปจจุบัน ตั้งอยูภายในบริเวณวัดเจดียหลวง


๖๐

สวนภายนอกเขตกําแพงเมืองนั้น พื้นที่ที่เหมาะสมกับการเกษตรมีทั้งดานทิศ เหนือและทิศตะวันออกและทิศใต สวนทางทิศตะวันตกเปนปาเขา บริเวณเชิงดอยสุเทพ ทางทิศตะวันตกในอดีตกอนการสรางเมืองเปนที่อยูของชาวลัวะ ตอมาในสมัยเมื่อ พระพุทธศาสนาเจริญรุงเรืองจึงเปนสถานที่ตั้งของวัดอรัญวาสีหลายวัด อาธิเชน วัด บุ บ ผารามสวนดอกไม ๖๗ วั ด พระธาตุ ด อยสุ เ ทพ ๖๘ วั ด ป า แดงหลวง ๖๙ ในสมั ย กรุ ง รัตนโกสินทรเมื่อเมืองเชียงใหมเปนสวนหนึ่งของราชอาณาจักรสยาม เกิดการเดินทาง ติดตอคาขายกับเมืองสําคัญทางใต รวมไปถึงฝรั่งชาติตะวันตกเจริญขึ้น พื้นที่บริเวณริม แมน้ําปงทางดานทิศตะวันออกของเมือง ไดกลายเปนที่พักอาศัยของขาราชการจาก กรุงเทพฯ ชาวตะวันตก พอคา มีตลาดแลกเปลี่ยนสิ้นคาที่ขนสงขึ้นลองมาตามลําน้ําปง ในพื้นที่ริมแมน้ํา สวนในเขตกําแพงเมืองนั้นมีตลาดสําคัญตั้งอยูบนถนนกลางเมืองกอน ถึงวัดพระสิงห ๖. การศึกษาเปรียบเทียบระบบน้ําและชลประทาน ระบบน้ําและชลประทานของเมืองสุ โขทัย ยั งคงเหลือร องรอยใหทําการศึกษา คนควาอยูมาก จะเห็นแนวคันดินทดน้ํา อยูทั่วไปโดยเฉพาะทางทิศตะวันตกของตัว เมือง ในขณะที่ระบบน้ําและชลประทานของเมืองเชียงใหมถูกเปลี่ยนแปลงไปหมดแลวใน ปจจุบัน จนไมเหลือรองรอยเดิม เปนการยากมากที่จะทําการเปรียบเทียบ อยางไรก็ดี ในพื้นที่เมืองโบราณสุโขทัยและเมืองเชียงใหม มีระบบการจัดการน้ําและชลประทานของ เมืองเพื่อประโยชนในการอุปโภคและบริโภคของชาวเมือง เพื่อระบายน้ําในฤดูน้ําหลาก และเพื่อการเกษตร เนื่ อ งจากเมื อ งสุ โ ขทั ย มี ป ญ หาเรื่ อ งการขาดแคลนน้ํ า บาดาลเพื่ อ การอุ ป โภค บริโภค อีกทั้งยังขาดแคลนน้ําจากแหลงน้ําลําธารในหนาแลง ดังนั้นระบบเก็บกักน้ําผิว ดินจึงเปนเรื่องจําเปนอยางมาก ชาวเมืองสุโขทัยอาศัยคูเมือง และตระพังเก็บน้ําตามวัด สําคัญๆกลางเมืองในการเก็บกักน้ํา น้ําเหลานี้จะไหลซึมเขาสูบอบาดาลตามที่พักอาศัย ๖๗

ในปจจุบันคือวัดบุบผาราม หรือที่ชาวบานเรียกกันทั่วไปวาวัดสวนดอก เปนวัดที่พญากือนา (พ.ศ. ๑๙๑๐-๑๙๓๑) โปรดใหสรางขึ้นเพื่อใหเปนที่พํานักของพระมหาสุมนเถระ พระสงฆชั้น ผูใหญจากเมืองสุโขทัยผูเดินทางมาเผยแพรศาสนายังนครเชียงใหม ๖๘ พญากือนาทรงโปรดใหสรางขึ้นในป พ.ศ. ๑๙๒๙ เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ที่พระสุมน เถระ ไดอัญเชิญมาจากกรุงสุโขทัย ๖๙ ตั้งอยูเชิงดอยสุเทพ


๖๑

ของประชาชนที่ตั้งอยูหนาแนนทางทิศตะวันออก มีการสรางคันดินหลายแนวเพื่อทดน้ําที่ ไหลมาจากแหลงน้ําธรรมชาติบนเทือกเขาทางทิศตะวันตกและจากน้ําที่หลากมาตามผิว ดิน เขาสูกําแพงเมือง คูเมือง และตระพังภายในคูเมือง เชนคันดินทางทิศตะวันตก ของวัดพระพายหลวงทําหนาที่ชักน้ําและระบายน้ําเขาสูลําหวยแมโจน ซึ่งเปนคูเมืองใน สมัยแรกเริ่ม ที่มีศูนยกลางเมืองอยูที่วัดพระพายหลวง๗๐ หรือคันดินที่อยูทางดานทิศ ตะวันตกของวัดศรีชุม รวมไปถึงคันดินที่อยูบริเวณเชิงเขาสะพานหินและเขาพระบาท นอย จะทดน้ําใหไหลมารวมกันกอนเขาสูกําแพงเมืองและคูเมืองทางประตูออ กอนจะ ไหลไปสูตระพังตางๆและไหลออกไปทางคูเมืองทางทิศตะวันตกลงสูลําน้ําแมลําพัน สวน เขื่อนพระรวงซึ่งเปนทํานบที่กั้นระหวางเขาสะพานหิน และเขาพระบาทนอย (ภาพที่ ๓๖) ทํ า หน า ที่ ท ดน้ํ า เข า สู ค ลองเสาหอ เข า หล อ เลี้ ย งคู เ มื อ งทางมุ ม กํ า แพงเมื อ งด า นทิ ศ ตะวันตกเฉียงใต และสงน้ําเขาไปสูตระพังเก็บน้ําภายในเมืองทางประตูออ (ภาพที่ ๓๗) ซึ่งตั้งอยูทางทิศตะวันตกของเมืองโบราณสุโขทัย กอนถูกปลอยออกไปยังลําน้ําแม ลํา พันทางทิศตะวันออก

ภาพที่ ๓๖ เขื่อนพระรวง ทํานบ กั้ น น้ํ า ร ะ ห ว า ง เ ข า สะพานหิ น และเขา พระบาทนอย เพื่อทด น้ํ า เ ข า เ มื อ ง โ บ ร า ณ สุโขทัย

๗๑

[๑๒] ศรีศักร วัลลิโภดม. (๒๕๓๒). เมืองโบราณในอาณาจักรสุโขทัย. กรุงเทพฯ: สถาบัน ไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. หนา ๔๔.


๖๒

ภาพที่ ๓๗ แนวคลองสงน้ําเขา เมื องจา กคู เมื อ ง เขามาทางประตูออ ซึ่ ง ตั้ ง อ ยู ท า ง ทิ ศ ตะวันตก

สําหรับน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภคของเมืองเชียงใหมในอดีตนั้น สันนิษฐานวา นาจะใชน้ําบาดาลจากแหลงน้ําใตดิน ทั้งนี้เนื่องจากทั่วทั้งเมืองเชียงใหมตั้งอยูใกลกับ แมน้ําปงมาก ไมมีปญหาการขาดแคลนแหลงน้ําใตดินเหมือนเชนที่เมืองสุโขทัย ดังนั้น จึงไมมีความจําเปนที่จะตองเก็บกักน้ําไวในสระหรือตระพังเหมือนที่สุโขทัย นอกจากนี้ยัง มีลําน้ําธรรมชาติหลายสายที่ไหลมาจากดอยสุเทพ เชน หวยแกว หวยกูขาว หวยเย็น หวยผาลาด หวยอุโมงค และหวยโปงนอย เปนตน ลําหวยเหลานี้ ในสมัยกอนมีน้ํา ไหลตลอดทั้งป ลําหวยแกวเปนลําน้ําสายสําคัญที่ใชในการทดน้ําเขามาหลอเลี้ยงคูเมือง เชียงใหม และลําเหมืองตางๆที่ขุดขึ้นภายในเมือง ในป พ.ศ. ๒๓๕๘ พญาธรรมลังกา ทรงโปรดใหขุดลําเหมือง ๓-๔ สายภายในเมืองเชียงใหม ซึ่งภายหลังถูกไถกลบเปนที่ อยูอาศัยของประชาชนและถนนหนทาง จนไมเหลือรองรอยเดิม ๗๑ ในฤดู น้ํ า หลาก พื้ น ที่ เ มื อ งสุ โ ขทั ย ประสบป ญ หาน้ํ า ท ว มขั ง ในที่ ลุ ม เป น ระยะ เวลานาน สรางความเสียหายใหแกเรือกสวนไรนาและบานเรือนราษฎร จึงจําเปนตอง ขุดคลองในทิศตะวันออกและดานใตของเมือง ชื่อวาคลองยาง๗๒ เพื่อระบายน้ําเมื่อมีน้ํา มากเกินไป แตที่เมืองเชียงใหมนั้นเนื่องจากอยูในพื้นที่สูง มีความลาดเอียงมากกวา เมืองสุโขทัยและอยูติดกับแมน้ําปง น้ําที่หลากมาจะถูกระบายลงแมน้ําปงไหลลงไปทาง

๗๑

[๒๒] หางหุนสวนจํากัด เฌอ กรีน. (๒๕๓๐) รายงานการขุดคนและบูรณะกําแพงเมือง เชียงใหม. เชียงใหม: ดาวคอมพิวกราฟก. หนา ๑๙. ๗๒ ดูเชิงอรรถที่ ๗๓, หนา ๔๘.


๖๓

ทิศใตอยางรวดเร็ว ไมทวมขังเปนเวลานาน ยังไมพบหลักฐานเกี่ยวกับคลองระบายน้ํา ในอดีตของเมืองเชียงใหม ในดานการชลประทานเพื่อการเกษตรนั้น เมืองสุโขทัยนับวามีความกาวหนามา ตั้งแตสมัยแรกกอสรางเมือง เมื่อครั้งที่มีศูนยกลางเมืองอยูที่วัดพระพายหลวง มีคันดิน รูปสี่เหลี่ยมผืนผาขนาดใหญอยูทางดานทิศตะวันออกของวัดพระพายหลวง ภายในมี รองรอยของลําเหมือง แยกจากลําน้ําแมลําพันเขาไปในพื้นที่ สันนิษฐานวาเปนพื้นที่ทํา นาหลวง๗๓ ที่มีระบบชักน้ําเขานา และระบายน้ําออกเมื่อมีน้ํามากเกินไป นอกจากนี้ยัง พบระบบชลประทานแบบเหมืองฝายอีกหลายแหงหางออกไปนอกตัวเมืองไปทางทิศ เหนือ๗๔ สวนในพื้นที่เมืองเชียงใหมนั้น เนื่องจากบานเมืองมีความเจริญเติบโตสืบเนื่อง มาจนถึงปจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ทําการเกษตรที่อยูโดยรอบแนวกําแพงเมือง กลายเปนพื้นที่อยูอาศัยไปหมดแลว ในขณะนี้ยังไมพบหลักฐานเกี่ยวกับรองรอยของ ระบบชลประทานเพื่อการเกษตรในสมัยโบราณ

๗๓

[๑๘] สุจิตต วงษเทศ. (๒๕๔๘). แควนสุโขทัย รัฐในอุดมคติ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ มติชน. หนา ๘๖-๘๘. ๗๔ ดูเชิงอรรถที่ ๗๓, หนา ๔๙.


๖๔

บทที่ ๕

สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ๑. ที่มา ประเด็นปญหา และขอมูลพืน้ ฐานของโครงการ ในบรรดาราชธานีแหงแวนแควนตางๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ที่ เจริญรุงเรืองในศตวรรษที่ ๑๙-๒๐ นั้น เมืองสุโขทัยและเมืองเชียงใหมจัดไดวาเปนราช ธานีที่มีความโดดเดนกวานครอื่นๆอยางเห็นไดชัด เนื่องดวยเปนศูนยกลางการเมือง การปกครอง การคา ศาสนา และศิลปวัฒนธรรม เปนที่นาสนใจที่เมื่อสังเกตลักษณะ ทางกายภาพโดยรวมของเมืองทั้งสอง พบวามีลักษณะสัณฐานคลายคลึงกันอยางนา ประหลาดใจ คือเปนรูปรางเกือบสี่เหลี่ยมจัตุรัส ยิ่งไปกวานั้นยังมีลักษณะทางภูมิศาสตร ของที่ตั้งเมืองที่คลายคลึงกันอีกดวย สิ่งที่เห็นนี้เปนเพียงความบังเอิญหรือเกิดขึ้นดวย เหตุผลอื่นใดกันแน และรูปลักษณที่มองรวมๆวาเหมือนหรือคลายคลึงกันนั้น จริงๆแลว มีความแตกตางกันในรายละเอียดอยางไร อะไรเปนสาเหตุที่กอใหเกิดความแตกตาง เหลานั้น จากขอสงสัยดังกลาวผูวิจัยจึงไดเริ่มดําเนินการทําวิจัยนี้ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค เพื่ อหาข อ สรุป ของรู ป แบบและลัก ษณะทางกายภาพที่คลา ยคลึ งกัน และแตกต างกั น ระหวางการวางผังเมืองโบราณทั้งสอง ซึ่งจะเปนการสรางเสริมองคความรูดานศาสตรใน การวางผังเมืองประวัติศาสตร และอิทธิพลตางๆที่มีผลตอลักษณะทางกายภาพของเมือง โบราณอันเปนมรดกของประเทศ การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงประวัติศาสตร (Historical Research) มีพื้นที่ ศึกษาไดแกเมืองโบราณสุโขทัยและเมืองโบราณเชียงใหม โดยมีขั้นตอนการทําวิจัยเริ่ม จากการเก็บขอมูลเบื้องตนของเมืองโบราณทั้งสองแหง เพื่อสํารวจวามีการศึกษาคนควา ข อ มู ล ในเรื่ อ งนี้ ม าแล ว อย า งไรบ า ง โดยการเก็ บ ข อ มู ล จากแหล ง ข อ มู ล ทุ ติ ย ภู มิ จ าก หองสมุดตางๆ และแหลงขอมูลออนไลน ในรูปของเอกสาร แผนงาน แผนที่ แผนผัง ภาพถายทางอากาศ ตํารา และงานวิจัยที่เกี่ยวของ เมื่อไดข อมูลเบื้องตนแลว จึง กําหนดขอบเขตของเนื้อหาที่จะศึกษาเปรียบเทียบ ซึ่งสรุปได ๖ ประเด็น ประกอบดวย ๑.๑ ๑.๒ ๑.๓ ๑.๔

ภูมิหลังทางดานประวัติศาสตรและศาสนา ลักษณะทางภูมิศาสตรกายภาพของสถานที่ตั้งเมือง ความเชื่อทางศาสนากับสัณฐานของเมือง ลักษณะของคูเมืองและกําแพงเมือง


๖๕

๑.๕ ตําแหนงที่ตั้งของการใชประโยชนที่ดิน ๑.๖ รูปแบบการวางระบบน้ําและการชลประทาน เมื่อกําหนดขอบเขตของเนื้อหาที่จะศึกษาไดชัดเจนดีแลว จึงเริ่มเก็บรวบรวม ขอมูลในรายละเอียด ทั้งจากแหลงขอมูลทุติยภูมิดังที่ไดกลาวมาแลว และทําการลง พื้นที่เก็บขอมูลจากแหลงขอมูลปฐมภูมิ ไดแกการสํารวจภาคสนามในพื้นที่เมืองโบราณ โดยตรง ทําการเก็บขอมูลในรูปแบบของการภาพถาย ภาพราง และบันทึก ทําการ สํารวจและการสังเกตโดยตรงแบบไมมีสวนรวม (Non-Paticipation Observation) โดย มีเครื่องมือวิจัยคือการถายภาพ การรางภาพ และการจดบันทึก เมื่อเก็บรวบรวมขอมูล เรียบรอยแลว จึงทําการจัดระเบียบและจําแนกขอมูลออกเปนหมวดหมูตามหัวขอที่ กําหนดไว แลวจึงทําการวิเคราะหเปรียบเทียบขอมูลที่ไดอยางเปนระบบ และนํามา ประมวลผลโดยใชคําบรรยายประกอบกับภาพวาด แผนที่ และรูปถายใหเห็นชัดเจน และเขาใจงาย และในทายที่สุดจึงทําการประเมินผลและสรุปผลการวิจัย ขอเสนอแนะ และการนําไปใช ๒. ผลการวิจัย ๒.๑ ภูมิหลังทางดานประวัติศาสตรและศาสนา ในแตละชวงเวลาที่ไดศึกษามาบานเมืองทั้งสองมีการเปลี่ยนแปลงไป ตามวั ฏ จั ก รที่ ส อดคล อ งกั น คื อ เริ่ ม จากการสร า งบ า นเรื อ นและอาคารต า งๆด ว ยไม จากนั้นก็พัฒนาขึ้นเปนเมืองโดยที่รับเอารูปแบบของเมืองมาจากเมืองตนแบบที่มีอิทธิพล อยูในขณะนั้น บานเมืองคอยๆเจริญเติบโตไปตามลําดับ พรอมกับที่อิทธิพลทางศาสนา จากที่ตางๆถูกเผยแพรเขามาในเมือง มีการสรางวัดวาอารามทั้งในเขตคามวาสีและ อรัญวาสี ตอมาก็เขาสูยุคศึกสงครามบานเมืองถูกรุกรานจากขาศึกศัตรู เกิดความเสื่อม โทรมจนตองถูกทิ้งราง ทายที่สุดก็เขาสูชวงการฟนฟูบูรณะเมือง มีการบูรณะคูเมือง ประตูเมืองและวัดวาอารามตางๆ ทายที่สุดที่มีความแตกตางกันคือเมืองสุโขทัยถูกยาย ไปตั้งใหมที่ริมแมน้ํายม ทําใหตัวเมืองเกากลายเปนเมืองราง ในขณะที่เมืองเชียงใหม ยังคงตั้งอยูที่เดิมและยังคงเจริญเติบโตมาจนถึงยุคปจจุบัน เมื่อเปรียบเทียบกันเรื่อง ชวงเวลาของยุคสมัยที่เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของเมืองที่สําคัญๆ จะ เห็ น ว า เมื อ งโบราณเชี ย งใหม มี ช ว งอายุ ยื น ยาวกว า และสามารถแบ ง ยุ ค ของการ เปลี่ยนแปลงไดถึง ๖ ชวง ในขณะที่เมืองโบราณสุโขทัยมีชวงอายุสั้น และสามารถแบง ยุคของการเปลี่ยนแปลงออกไดเพียง ๕ ชวงเทานั้น สวนอิทธิพลทางศาสนาของทั้งสอง


๖๖

เมืองมีทั้งสวนที่คลายคลึงกันและแตกตางกัน เนื่องจากตําแหนงที่ตั้งและอาณาเขตติดตอ กับเมืองที่อยูใกลเคียง เมืองเชียงใหมตั้งอยูบนที่ราบลุมแมน้ําปง เปนศูนยกลางการคา ขายและการเมืองการปกครอง ที่สามารถเชื่อมโยงกับเมืองตางๆอยางกวางขวางทั้งทาง ทิศใตและทิศเหนือ จึงไดรับอิทธิพลจากความเชื่อทางศาสนาและวัฒนธรรมที่มีความ หลากหลายมากกวากรุงสุโขทัย ประกอบดวย ความเชื่อในเรื่องจิตวิญญาณและสิ่งเหนือ ธรรมชาติ พุทธศาสนาลัทธิหินยานอยางพุกาม และลัทธิหินยานนิกายลังกาวงศ ความ เชื่อทางดานโหราศาสตรและหลักรัฐศาสตรจากศาสนาพราหมณ และวัฒนธรรมตะวันตก ที่เขามาพรอมกับกลุมมิชชันนารีในคริสตศาสนา สวนเมืองสุโขทัยนั้น ไดรับอิทธิพลจาก ความเชื่อในเรื่องจิตวิญญาณและสิ่งเหนือธรรมชาติ และพุทธศาสนาลัทธิหินยานนิกาย ลั ง กาวงศ เ ป น หลั ก อย า งไรก็ ดี ศ าสนาที่ ท รงอิ ท ธิ พ ลมากที่ สุ ด ต อ ทั้ ง สองเมื อ งก็ คื อ พระพุทธศาสนานิกายหินยานลัทธิลังกาวงศ ๒.๒ ลักษณะทางภูมิศาสตร จากการเปรียบเทียบลักษณะภูมิประเทศของเมืองโบราณทั้งสองเมือง พบวามีความคลายคลึงกันในภาพรวม แตมีความแตกตางกันเมื่อทําการเปรียบเทียบกัน ในรายละเอียด กลาวคือ ในดานความคลายคลึงกันนั้น เมืองทั้งสองตางก็ตั้งอยูบนที่ราบ ลุมแมน้ําอันอุดมสมบูรณระหวางกลางเทือกเขาและแมน้ํา โดยมีทิวเขาอยูทางดานทิศ ตะวั น ตกและมี แ ม น้ํ า อยู ท างด า นทิ ศ ตะวั นออก โดยที่ เ มือ งสุ โ ขทั ย ตั้ งอยู ร ะหว า งเขา ประทักษและแมน้ําแมลําพันซึ่งไหลไปสูแมน้ํายมอีกทอดหนึ่ง สวนเมืองเชียงใหมนั้น ตั้งอยูระหวางดอยสุเทพกับแมน้ําปงซึ่งไหลจากทิศเหนือลงสูทิศใต ดวยเหตุนี้พื้นที่เมือง จึงมีความลาดชันจากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก ทั้งเมืองโบราณสุโขทัยและเมือง เชียงใหมตางก็มีสภาพภูมิอากาศแบบมรสุมเขตรอน เมื่อทําการเปรียบเทียบในรายละเอียด พบวาดอยสุเทพซึ่งตั้งอยูทางทิศ ตะวันตกของเมืองเชียงใหมนั้น เปนสวนหนึ่งของเทือกเขาถนนธงชัยตะวันออก ซึ่งเปน แหลงตนน้ําลําธารที่สําคัญของภาคเหนือ จึงมีลําหวยหลายสายที่ไหลจากดอยสุเทพลง มาหลอเลี้ยงพื้นที่ราบลุมอันเปนที่ตั้งของเมือง ดวยเหตุนี้เมืองเชียงใหมจึงเปนเมืองที่มี น้ําทาอุดมสมบูรณมาก เมื่อเปรียบเทียบกับเทือกเขาประทักษทางทิศตะวันตกของเมือง เกาสุโขทัยซึ่งเปนเพียงทิวเขาขนาดเล็ก ในการสรางเมืองสุโขทัยจึงตองทําฝายทดน้ําเขา คลองเสาหอเพื่อนําน้ําเขาสูเมือง จากลักษณะภูมิอากาศและแหลงน้ํา ทําใหลักษณะของ พืชพรรณของทั้งสองเมืองมีความหลากหลาย ทั้งมีสวนที่คลายคลึงกัน และแตกตางกัน ขึ้นอยูกับสภาพของแตละพื้นที่ โดยที่เมืองเชียงใหมจะมีความหลากหลายของลักษณะ พืชพรรณมากกวา คือมีทั้งพื้นที่ที่เปนปาเต็งรัง พื้นที่ปาเบญจพรรณ และพื้นที่ปาพรุน้ํา จืด ในขณะที่พืชพรรณของเมืองโบราณสุโขทัยลักษณะของปาเต็งรังเปนสวนใหญ


๖๗

๒.๓ ความเชื่อทางศาสนากับสัณฐานของเมือง นอกจากสภาพภู มิอ ากาศของพื้ น ที่ ความเชื่ อ ทางศาสนาเป น ป จ จั ย สํ าคั ญ หลัก ๆที่ส งผลตอ ลั ก ษณะและรูป แบบของผั งเมื องโบราณสุ โ ขทัย และเชี ย งใหม โดยเฉพาะอยางยิ่งลักษณะสัณฐานของเมืองรูปทรงสี่เหลี่ยมเกือบจัตุรัส ซึ่งมีตนแบบมา จากเมืองนครธม ซึ่งถูกสรางขึ้นในสมัยของพระเจาชัยวรมันที่ ๗ เมื่อประมาณกวา ๘๐๐ ปมาแลว สะทอนใหเห็นคติเกี่ยวกับสัณฐานของจักรวาลในพระพุทธศาสนา ลัทธิ วัชรยาน ในการสรางเมืองสุโขทัยนั้น ไดรับอิทธิพลจากความเชื่อเหลานี้มาในชวงแรกๆ ของการก อ สร า งเมื อ งในพุ ท ธศตวรรษที่ ๑๘ ปรากฏให เ ป น เป น ประจั ก ษ พ ยานใน ลักษณะของการวางผังวัดพระพายหลวง และผังของเมืองโบราณสุโขทัย ตอมาใน ศตวรรษที่ ๑๙ ตรงกับสมัยของพอขุนรามคําแหงมหาราชแหงเมืองสุโขทัย พญามังราย จึ ง ได นํ า เอารู ป แบบการสร า งเมื อ งสั ณ ฐานสี่ เ หลี่ ย มจั ตุ รั ส นี้ ไปใช ใ นการสร า งเมื อ ง เชียงใหม อยางไรก็ดีเมื่อผานยุคสมัยและกาลเวลา เมืองทั้งสองตางไดรับอิทธิพลความ เชื่อจากพุทธศาสนาที่เผลแพรมาจากตางถิ่นตางที่ เมืองโบราณสุโขทัยนั้นรับเอาความ เชื่อทางศาสนาพุทธนิกายลังกาวงศมาจากนครศรีธรรมราช สงผลตอลักษณะการวางผัง วัดซึ่งมีอุโบสถตั้งอยูบนเกาะกลางน้ํา เรียกกันวาตระพังซึ่งหมายถึงสระน้ํา และการ กอสรางพระบรมธาตุเจดียบนพื้นที่กลางเมือง เพื่อเปนที่เคารพสักการะและเปนศูนยรวม จิตใจของประชาชน สําหรับเมืองเชียงใหมนั้นความเชื่อทางศาสนาที่เขามามีอิทธิพลตอ ลักษณะทางกายภาพของเมือง นอกเหนือไปจากการวางผังเมืองรูปทรงสี่เหลี่ยมตาม แบบสุโขทัยนั้นมีหลายประการ กลาวคือ ๑) ความเชื่อในเรื่องจิตวิญญาณและสิ่งเหนือ ธรรมชาติของชาวลัวะ โดยการนําเอาเสาอินทขิลมาใชเปนศูนยกลางเมือง ๒) ความเชือ่ เรื่องโหราศาสตรและดาราศาสตร ถูกนํามาใชในการวางตําแหนงพื้นที่ใชสอยภายในเมือง เปนตน ๓) อิทธิพลจากพระพุทธศาสนาลัทธิหินยานนิกายลังกาวงศ และพุกาม มีผลตอ ลักษณะและที่ตั้งของวัดวาอารามตางๆ ทั้งในเขตคามวาสีและอรั ญวาสี การที่เมือง เชียงใหมไดรับอิทธิพลความเชื่อทางศาสนาที่แตกตางหลากหลายมากกวาเมืองโบราณ สุโขทัย เนื่องจากมีความสัมพันธเชื่อมโยงกับเมืองอื่นๆโดยรอบในแงมุมตางๆมากกวา อีกทั้งเปนเมืองที่มีอายุยืนยาวกวาดวย ศาสตรในการสรางเมืองที่ถูกศึกษาเปรียบเทียบในงานวิจัยชิ้นนี้ ไดแก การเล็ง ทิ ศ เพื่ อ กํ า หนดตํ า แหน ง ในระยะไกลเพื่ อ การก อ สร า งคู เ มื อ ง กํ า แพงเมื อ ง และ ศาสนสถานตางๆ เมื่อพิจารณาจากผังเมืองโบราณทั้งสองเมืองจะเห็นไดวา ผังของศาสนสถานที่ สําคัญๆ และแนวคูเมือง กําแพงเมืองสุโขทัยนั้นไมอยูในแนวเดียวกัน แตจะบิดไปจาก แนวแกนทิศเหนือใตและแนวแกนทิศตะวันออกตะวันตกเปนอยางมาก เมื่อเปรียบเทียบ


๖๘

กับผังของเมืองเชียงใหม ซึ่งพบวาใกลเคียงกับแนวแกนทิศเหนือใต และตะวันออก ตะวันตกมากกวา นอกจากนี้ตําแหนงของประตูก็อยูในตําแหนงที่ใกลเคียงกับกึ่งกลาง กํ า แพงเมือ งมากกวา ซึ่ง ชี้ ใ ห เ ห็ นถึ ง วิท ยาการและศาสตรใ นการเล็ ง ทิ ศ เพื่ อ กํ า หนด ตําแหนงระยะไกลที่ดีกวาในการสรางเมืองโบราณสุโขทัย นอกจากนี้ยังมีหลักฐานยืนยัน ถึงการนําเอาหลักโหราศาสตรมาใชในการผูกดวงเมือง แสดงใหเห็นวานักปราชญราช บั ณ ฑิ ต และช า งผู ส ร า งเมื อ งมี ค วามรู เ รื่ อ งดาราศาสตร โ ดยผ า นหลั ก ทางโหราศาสตร สามารถคํานวณวันเถลิงศกอันเปนวันที่ชวงเวลากลางวันและกลางคืนยาวเทากันได ทํา ใหสามารถเล็งทิศของสิ่งปลูกสรางในเมืองไดอยางไมผิดเพี้ยนมากนัก ในขณะที่ทิศทาง ของสิ่งปลูกสรางตางๆของเมืองโบราณสุโขทัยจะมีความแตกตางกันในแตละกลุม อันมี สาเหตุมาจากวิธีการเล็งทิศในแตละยุคสมั ยของการปลูกสรางที่ไมแมนยําเท าที่ เมื อง เชียงใหม ๒.๔ ลักษณะของกําแพงเมืองและคูเมือง ๒.๔.๑ รูปรางและขนาด รูปรางของผังเมืองเชียงใหมมีลักษณะใกลเคียงกับรูปสี่เหลี่ยม จัตุรัสมากกวาเมืองสุโขทัยที่คอนขางจะเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา อาจมีสาเหตุที่สามารถ สันนิษฐานไดหลายประการ กลาวคือ ๑) เกิดจากการที่ความสามารถในการเล็งทิศและ กําหนดระยะในการสรางเมืองโบราณสุโขทัยไมแมนยํามากนัก ในขณะที่ชางในการสราง เมืองเชียงใหมมีความชํานาญกวาในเรื่องดังกลาว หรือ ๒) ผูสรางเมืองโบราณสุโขทัย ไมไดใหความสําคัญกับการเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเทาใดนัก ในขณะที่ในการสรางเมือง เชียงมีการใหความสําคัญกับเรื่องนี้ สวนในดานขนาดพื้นที่เมืองนั้นมีความใกลเคียงกัน ๒.๔.๒ การเปลี่ยนแปลงของกําแพงเมืองและคูเมือง เนื่องจากเมืองเชียงใหมมีอายุยืนยาวในประวัติศาสตรมากกวา เมืองโบราณสุโขทัย ดังนั้นจึงมีการบูรณะปรับปรุง เปลี่ยนแปลงมากมายหลายครั้งกวา ทั้งดวยเหตุผลทางดานการเมืองและเพื่อตอบสนองตอความตองการดานประโยชนใชสอย ในขณะที่เมืองโบราณสุโขทัยมีการบูรณะปรับปรุง ก็ในสมัยฟนฟูเมือง เมื่อประมาณ ศตวรรษที่ ๒๑ หลังจากที่เมืองไดถูกทิ้งรางไปนานเทานั้น ลักษณะดั้งเดิมเมื่อแรกสรางของกําแพงเมืองและคูเมืองของเมือง โบราณทั้งสองเปนกําแพงเมืองสรางจากดินและมีเพียงชั้นเดียวเทานั้น ตอมาจึงถูกบูรณะ ปรับปรุงเสริมเปนกําแพงกออิฐในภายหลัง เพื่อปองกันภัยจากการรุกรานของขาศึกศัตรู


๖๙

การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของกําแพงเมืองเชียงใหม ครั้งใหญที่สุด เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ เมื่อมีการไถเกรดทําลายกําแพงเมือง ดังนั้น กําแพงเมืองและประตูเมืองที่เห็นอยูในปจจุบันเปนสิ่งที่ถูกสรางขึ้นมาใหมในภายหลัง ทั้งสิ้น ๒.๕ การแบงพื้นที่การใชที่ดิน การวางตําแหนงของวัดสําคัญกลางเมืองและพระราชวังในเมืองทั้งสองมี ความแตกตางกัน ในเมืองสุโขทัยจะเกาะกลุมกันอยูตรงกลาง แตที่เมืองเชียงใหมจะอยู กระจายแยกกัน ทั้งนี้เนื่องจากอิทธิพลความเชื่อที่แตกตางกัน ในการวางผังเมืองสุโขทัย ยังคงไดรับอิทธิพลความเชื่อเรื่องศูนยกลางจักรวาลซึ่งไดรับมาจากขอม มากกวาเมือง เชียงใหมซึ่งความเชื่อในเรื่องดังกลาวคลายความสําคัญไปมากแลว ดังนั้นในการวางผัง เมืองสุโขทัยจึงใหน้ําหนักความสําคัญกับแนวแกนทิศทั้ง ๔ ใกลเคียงกัน ในขณะที่เมือง เชี ย งใหม ได ใ ห ค วามสํ า คั ญ กั บ แนวแกนทิ ศ ตะวั น ออก-ตะวั น ตก อั น เป น ทิ ศ ทาง เชื่อมโยงจากประตูเมืองทิศตะวันออกซึ่งเชื่อมไปสูแมน้ําปงผานเขาสูใจกลางเมืองไปยังวัด พระสิงห ซึ่งเปนศูนยกลางความเคารพบูชาของชาวเมือง ตําแหนงของวัดและสถานที่ พักอาศัยของเมืองเกาสุโขทัยเกาะกลุมอยูทางทิศตะวันออกมากกวาในขณะที่ของเมือง เชียงใหมนั้นมีลักษณะกระจายอยูทั่วไปในเมือง ทั้งนี้เนื่องมาจากสาเหตุของแหลงน้ํา บาดาลซึ่ ง เหมาะสมกั บ การอุ ป โภคบริ โ ภคของเมื อ งสุ โ ขทั ย มี ค วามขาดแคลนในฝ ง ตะวันตก ไมเหมือนกับที่เมืองเชียงใหมนั้นไมมีความขาดแคลนเรื่องแหลงน้ําบาดาล พื้นที่ปาเขาของทั้งสองเมืองอยูทางดานทิศตะวันตกเหมือนกัน ซึ่งมีความสัมพันธกับที่ตั้ง ของวัดอรัญวาสีซึ่งสวนใหญตั้งอยูตามที่ลาดเชิงเขา ทั้งสองเมืองตางก็มีวัดที่สําคัญอยูบน ยอดเขาทางฝงตะวันตก ไดแกวัดสะพานหินที่เมืองเกาสุโขทัย และวัดพระธาตุดอย สุ เทพที่ เ มื อ งเชี ย งใหม ตํ า แหน ง ของพื้ น ที่ ที่ เ หมาะสมกั บ การทํ า การเกษตรที่ มี ค วาม ใกลเคียงกัน คือพื้นที่ทางทิศเหนือ และทิศตะวันออก ซึ่งเปนที่ราบลุมริมฝงแมน้ํา แต ทางทิศใตของเมืองสุโขทัยมีลักษณะเปนที่ดอนจึงเปนเรือกสวน และปาโปรง ในขณะที่ ทางทิ ศ ใต ข องเมื อ งเชี ย งใหม เ ป น ที่ ร าบลุ ม เหมื อ นทางทิ ศ เหนื อ และทิ ศ ตะวั น ออกจึ ง สามารถทําการเกษตรไดดี ๒.๖ ระบบน้ําและชลประทาน การพัฒนาก าวหนาในดานระบบน้ํ าและชลประทาน ของเมืองสุโขทัย เกิดขึ้นจากความจําเปนอันเนื่องมาจากปญหาเรื่องการขาดแคลนน้ําในฤดูแลง และน้ํา หลากในฤดู ฝ น ชาวเมื อ งสุ โ ขทั ย ได พ ยายามแก ป ญ หาดั ง กล า ว ซึ่ ง นั บ ว า ประสบ


๗๐

ความสํ า เร็จมากพอสมควร สว นในเมื องเชียงใหมนั้นมีแหลงน้ําธรรมชาติ อย างอุ ดม สมบูรณ มากเพียงพอสําหรับการหลอเลี้ยงเมืองขนาดใหญ ที่มีประชากรเปนจํานวน มาก เสียดายวาการเปลี่ยนแปลงอยางมากของเมืองเชียงใหมในชวงศตวรรษที่ผานมา ทําใหไมสามารถสืบหาหลักฐานเกี่ยวกับระบบน้ําและชลประทานในสมัยโบราณได ๓. การอภิปรายผล แมวาเมืองเชียงใหมและเมืองโบราณสุโขทัยจะตั้งอยูในพื้นที่ทางภูมิศาสตรที่ดู เหมือนวาคลายคลึงกันในทางกายภาพ แตเมื่อทําการศึกษาอยางละเอียดแลว พบความ แตกต า งในรายละเอี ย ดมากพอสมควร เริ่ ม ต น จากความแตกต า งทางด า นสภาพ ภูมิศาสตรในระดับภูมิภาค อันสงผลใหเกิดความแตกตางของสภาพภูมิศาสตรในระดับ ทองถิ่นที่แตกตางกัน เมืองเชียงใหมมีความอุดมสมบูรณของแหลงน้ํา มากกวา และอยู ในตํ า แหน ง ที่ เ ป น ศู น ย ก ลางการคมนาคมขนส ง ทางน้ํ า ของอาณาจั ก รล า นนา จึ ง คง สามารถรั ก ษาความเจริ ญ เติบ โตของเมื อ งเอาไวไ ด จ นถึง ป จ จุ บั น ส ว นสุ โ ขทั ย แม จ ะ แกปญหาเรื่องความขาดแคลนน้ําไดดี แตเนื่องจากอยูในตําแหนงที่เปนเมืองหนาดาน เปนเขตกันชนทางการเมืองระหวางอาณาจักรใหญๆที่อยูรายรอบ๗๕ จึงตกเปนเปาหมาย ของการแยงชิงขยายดินแดนจากอาณาจักรเหลานั้น ในภายหลังดวยเหตุผลทางดาน การเมืองแควนสุโขทัยจึงเสื่อมสลายลง ในการกอสรางเมืองทั้งสอง ตางตองอาศัยหลัก ดาราศาสตร และคณิตศาสตรที่มีความเจริญกาวหนา ซึ่งสันนิษฐานวาไดมาจากศาสนา พราหมณโดยผานราชครูและโหราจารยประจําราชสํานัก และมีหลักฐานชัดเจนในการ สรา งเมื อ งเชี ย งใหม เนื่อ งจากไดมีก ารบั นทึ ก เรื่ อ งราวเกี่ ยวกับ การสรา งเมืองเอาไว มากมาย รวมไปถึงการผูกดวงเมืองอีกดวย ลักษณะของคูเมืองและกําแพงเมืองทั้ง ๒ มีความคลายคลึงกันในเรื่องของรูปรางเทานั้น แตแตกตางกันมาก ในเรื่องของ ขนาด วั ส ดุ ที่ ใ ช ใ นการก อ สร า ง ตํ า แหน ง และรู ป ร า งของประตู เ มื อ งและป อ มประตู เ มื อ ง นอกจากนี้เมืองเชียงใหมยังปรากฏมีกําแพงดินชั้นนอกโอบลอมครึ่งหนึ่งของกําแพงเมือง ชั้นในทางดานทิศใตและทิศตะวันออกอีกดวย ในยุคที่เจริญรุงเรืองนั้นเมืองทั้งสองตางก็ ไดรับอิทธิพลทางดานความเชื่อและศาสนามาจากหลายแหลง แตศาสนาที่มีบทบาทมาก ที่ สุ ด ก็ คื อ พุ ท ธศาสนาลั ท ธิ หิ น ยานนิ ก ายลั ง กาวงศ ซึ่ ง เผยแพร ม าจากทั้ ง ที่ เ มื อ ง นครศรีธรรมราช เมืองนครพัน เมืองพุกาม และที่มาจากประเทศศรีลังกาโดยตรง การ วางตําแหนงพื้นที่ใชสอยของทั้งสองเมืองมีความคลายคลึงกันในภาพรวมภายนอกเขต กําแพงเมือง เชน ตําแหนงของเขตอรัญญิก พื้นที่ทําการเกษตร เปนตน ทั้งนี้สืบ เนื่องมาจากสภาพทางภูมิศาสตรของพื้นที่ แตแตกตางกันในพื้นที่ในเขตกําแพงเมือง ๗๕

ไดแก พมา กรุงศรีอยุธยา และลานนา


๗๑

เชน ตําแหนงของวัดสําคัญคูบานคูเมือง ตําแหนงของพระราชวัง ซึ่งเปนไปตามหลัก ความเชื่ อ ในเรื่ อ งศาสนาและโหราศาสตร ซึ่ ง มี ห ลั ก ฐานชั ด เจนในกรณี ข องเมื อ ง เชียงใหม๗๖ สวนตําแหนงของวัดที่มีความสําคัญรองลงมา และพื้นที่บานพักอาศัย จะ กระจายไปตามทําเลทางภูมิศาสตรที่เหมาะสมกับการตั้งถิ่นฐาน ตามปจจัยที่สําคัญคือ แหลงน้ํา การเปลี่ยนแปลงลักษณะและรูปแบบทางกายภาพของเมืองสุโขทัยเกิดขึ้นนอย กว า เมื อ งเชี ย งใหม เนื่ อ งจากมี ช ว งเวลาความเจริ ญ รุ ง เรื อ งสั้ น กว า แต ก ลั บ พบว า หลักฐานที่พบนั้นสวนใหญไดจากการขุดคนทางดานโบราณคดี หลักฐานเอกสารและ จารึกเกี่ยวกับการสรางเมืองและการเปลี่ยนแปลงลักษณะและรูปแบบของเมืองนั้นมีอยูไม มากนั ก ส ว นที่ เ มื อ งเชี ย งใหม นั้ น กลั บ มี เ อกสาร จารึ ก และวรรณกรรมเกี่ ย วกั บ ประวั ติ ศ าสตร ลานนาที่อางอิง เรื่องราวเกี่ ยวกั บศาสนาเอาไวมากมาย แตการศึกษา ทางดานโบราณคดีนั้นเปนไปไดยากกวา เนื่องจากเป นเมืองที่ยั งคงมีชี วิตและมีการ เจริญเติบโตอยูตลอดเวลา ๔. ปญหาที่พบในการวิจยั ๔.๑ ปญหาในระหวางการศึกษา จัดเก็บรวบรวมขอมูล ในการวิจัยครั้งนี้เปนการ วิจัยเชิงประวัติศาสตร จําเปนตองอาศัยอางอิงขอมูลทุติยภูมิเปนสวนใหญ ซึ่งมีหลักฐาน เอกสารไมมากนัก ตองใชเวลาในการสืบหาและรวบรวมนานพอสมควร ๔.๒ เนื่องจากตนแบบของเมืองโบราณสุโขทัยและเมืองเชียงใหมคือเมืองนครธม เพื่อใหงานวิจัยมีความสมบูรณ ตองเดินทางไปเก็บขอมูล การสํารวจพื้นที่ โดยการ ถ า ยภาพและบั น ทึ ก ที่ เ มื อ งนครธมด ว ย ซึ่ ง ก็ ต อ งใช ร ะยะเวลาและงบประมาณที่ นอกเหนือไปจากที่ประมาณการไว ๕. ขอเสนอแนะ ๕.๑ โครงการวิจัยที่จะจัดทําตอไปสามารถนําโครงการนี้ไปพัฒนาตอเนื่องได โดย อาจศึกษาใหครอบคลุมกวางขวางและละเอียดยิ่งขึ้น โดยอาจมุงเนนไปที่เมืองที่มีสัณฐาน รูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสเมืองอื่นๆที่มีความเกี่ยวของกัน เชน เมืองนครธม เปนตน

๗๖

เรื่องเดียวกัน, หนา ๓๙-๔๐


๗๒

บรรณานุกรม [๑] กวี วรกวิน. (๒๕๔๗). แผนที่ความรูทองถิ่นไทยภาคกลาง. กรุงเทพฯ: บริษัท พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จํากัด. [๒] กวี วรกวิน. (๒๕๔๗). แผนที่ความรูทองถิ่นไทยภาคเหนือ, กรุงเทพฯ: บริษทั พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จํากัด. [๓] คณะกรรมการชําระประวัตศิ าสตรไทยและจัดพิมพเอกสารทางประวัติศาสตร และ โบราณคดี. (๒๕๓๙).เมืองและแหลงชุมชนโบราณในลานนา. กรุงเทพฯ: หจก. ไอเดีย สแคว. [๔] คณะกรรมการตรวจสอบและสืบคนดวงเมืองและตํานานพื้นเมืองเชียงใหม. (๒๕๓๗). จดหมายเหตุการตรวจสอบและสืบคนดวงเมืองนพบุรี ศรีนคร พิงคเชียงใหม. เอกสารทางวิชาการเพือ่ เฉลิมฉลองและสมโภชเชียงใหม ๗๐๐ ป, เชียงใหม: โรงพิมพ ส. การพิมพ. [๕] ทวี สวางปญยางกรู. (๒๕๒๙). “เมืองโบราณเปรียบเทียบ สุโขทัย เชียงใหม เชียงตุง”. กําแพงเมืองเชียงใหม. อนุสรณเนื่องในพิธีเปดและฉลองประตูทา แพ ๑๓ เมษายน ๒๕๒๙. เชียงใหม: คณะกรรมการตรวจสอบและจัดทํา หนังสือกําแพงเมืองเชียงใหม. [๖] ธิดา สาระยา. (๒๕๓๙). อารยธรรมไทย กรุงเทพฯ: สํานักพิมพเมืองโบราณ. [๗] ธิดา สาระยา. (๒๕๔๕). กวาจะเปนคนไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. [๘] นวลศรี วงศทางสวัสดิ.์ (๒๕๒๙). “เมืองเชียงใหม”. กําแพงเมืองเชียงใหม. อนุสรณเนื่องในพิธีเปดและฉลองประตูทา แพ ๑๓ เมษายน ๒๕๒๙. เชียงใหม: คณะกรรมการตรวจสอบและจัดทําหนังสือกําแพงเมืองเชียงใหม. [๙] บุญชู โรจนเสถียร. (๒๕๔๘). ตํานานสถาปตยกรรมไทย. กรุงเทพฯ: บริษัท โรงพิมพกรุงเทพฯ (๑๙๘๔) จํากัด. [๑๐] พิริยะ ไกรฤกษ. (๒๕๔๔). อารยะธรรมไทย พื้นฐานทางประวัติศาสตรศิลปะ เลม ๑ ศิลปะกอนพุทธศตวรรษที่ ๑๙. กรุงเทพฯ: บริษทั อมรินทรพริ้นติ้ง แอนดพับลิชชิง่ จํากัด (มหาชน). [๑๑] ยอรช เซเดส. (ปราณี วงษเทศ ผูแปล). (๒๕๔๖). เมืองพระนคร นครวัด นครธม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ มติชน. [๑๒] ศรีศักร วัลลิโภดม. (๒๕๓๒). เมืองโบราณในอาณาจักรสุโขทัย. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.


๗๓

[๑๓] ศรีศักร วัลลิโภดม. (๒๕๔๐). นครหลวงของไทย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ เมือง โบราณ. [๑๔] ศรีศักร วัลลิโภดม. (๒๕๔๕). ประวัติศาสตรโบราณคดีของลานนา ประเทศ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ มติชน. [๑๕] ศิลปากร, กรม. (๒๕๒๕) พระบรมราชานุสาวรีย พอขุนรามคําแหงมหาราช และรวมเรื่องเมืองสุโขทัย. กรุงเทพ: กองโบราณคดีและประวัตศิ าสตร กรม ศิลปากร. [๑๖] ศิลปากร, กรม. (๒๕๓๑). การขุดคนทางโบราณคดีในอุทยานประวัติศาสตร สุโขทัย. โครงการอุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย, กรุงเทพ: กองโบราณคดีและ ประวัติศาสตร กรมศิลปากร. [๑๗] สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราวุธมกุฎราชกุมาร. (ร.ศ. ๑๒๗). เรื่องเทีย่ วเมืองพระรวง. พระนคร: โรงพิมพบํารุงนุกูลกิจ. [๑๘] สุจิตต วงษเทศ. (๒๕๔๘). แควนสุโขทัย รัฐในอุดมคติ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ มติชน. [๑๙] สุรพล ดําริหกุล. (๒๕๓๙). แผนดินลานนา. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ เมือง โบราณ. [๒๐] สิริ เปรมจิตต. (๒๕๒๒). พระพุทธศาสนาในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ เสียงไท. [๒๑] สันติ เล็กสุขุม. (๒๕๔๘). งานชางไทยโบราณ. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ เมือง โบราณ. [๒๒] หางหุนสวนจํากัด เฌอ กรีน. (๒๕๔๐) รายงานการขุดคนและบูรณะกําแพง เมืองเชียงใหม. เชียงใหม: ดาวคอมพิวกราฟก. [๒๓] ฮันส เพนส. (๒๕๒๙). ประวัติกาํ แพงเวียงเชียงใหมในอดีตโดยสังเขป, กําแพงเมืองเชียงใหม. อนุสรณเนื่องในพิธีเปดและฉลองประตู ทาแพ ๑๓ เมษายน ๒๕๒๙, เชียงใหม: คณะกรรมการตรวจสอบและจัดทํา หนังสือกําแพงเมืองเชียงใหม. [๒๔] ฮันส เพนส และ แอนดรู ฟอรบส. ศิริรัฐ ทองใหญ. ผูแปล. (๒๕๔๗). ประวัติศาสตรลานนาฉบับยอและชาวเชียงใหม. เชียงใหม: หอ ศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม, เทศบาลนครเชียงใหม. [๒๕] Hiroo Aoyama. A Witness to History, [Online] http://www.rekihaku.ac.jp. History Department, National Museum of Japanese History.



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.