รวมหัวข้อวิทยานิพนธ์ พ.ศ. 2559

Page 1



รวมหัวข้อวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม พ.ศ. ๒๕๕๙ เห็นชอบโดย คณะกรรมการประจำาหลั​ักสูตรภูมสิ ถาปัตยกรรม

รวบรวมโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แลัะการออกแบบสิง่ แวดลั้อม มหาวิทยาลั​ัยแม่โจ้



รายชื่อหัวข้อวิทยานิพนธ์และคณะกรรมการวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม พ.ศ. 2559 ลาดับ ที่

รหัส

ชื่อ-สกุล

ประเภทของ โครงการ

ขนส่งมวลชน ย่านพาณิชยกรรม สถานสงเคราะห์ คนชรา สนามแข่งรถ มอเตอร์ไซค์ พิพิธภัณฑ์

ชื่อโครงการ

กลุ่ม 1 1.

5519103501

กันต์ บุญสร้อย

2.

5519103523

สิริพร อินชา

3.

5519103525

อัษฎาวุธ ทวีกุล

4.

5519103526

อาณัติ สินธุ พิจารณ์

5.

5519103502

ชนากานต์ หัตถชาติ สวนสาธารณะ

6.

5519103513

ปัณณวัฒน์ สู้ทุก ทิศ

7.

5519103515

พิพัฒน์พงศ์ ชีพจิตร ย่านธุรกิจ ชุมชนเมือง ตรง

8.

5519103516

เพชรลดา คงโนน นอก

9.

5519103504

ณัฐวุฒิ ทรเทศ

ศาสนสถาน

10.

5519103505

ณัฐวุฒิ เขียว คาปวน

สนามกีฬา

11.

5519103517

ภาสกร สุภามาลา

12.

5519103521

ศูนย์กลางการขนส่งผู้โดยสาร จังหวัดสกลนคร สถานสงเคราะห์คนชราเฉลิมราชกุมารี อ.เมือง จ. กาญจนบุรี สนามแข่งรถเมืองวะโมโตครอส อ.สันทราย จ. เชียงใหม่ พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ จังหวัดกาญจนบุรี

กลุ่ม 2

หมู่บ้านจัดสรร

สวนสาธารณะมหามงคลสาราญฤทัยถนนสาราญรื่น อาเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ หมู่บ้าน "ยูนีค เรสซิเด้นซ์ สันกาแพง" อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่

ปรับปรุงย่านธุรกิจสีลมเพื่อเป็นศูนย์รวมแหล่ง สร้างสรรค์สาหรับทุกกลุ่มความหลากหลายทางเพศ กรุงเทพฯ เกษตรกรรมเพื่อการ ที.เค.ออแกนิคฟาร์มเพื่อการเรียนรู้และการ ท่องเที่ยว ท่องเที่ยวเชิงเกษตร อาเภอโนนแดง จังหวัด นครราชสีมา

กลุ่ม 3

พื้นที่สาธารณะ ชุมชนเมือง วัฒกานต์ สิงหกลาง แหล่งท่องเที่ยวเชิง ธรรมชาติ พล

วัดพระพุทธบาทตากผ้า อาเภอป่าซาง จังหวัด ลาพูน สนามกีฬาเทศบาลเมืองแกนพัฒนา อ.แม่แตง จ. เชียงใหม่ พื้นที่สาธารณะริมคลองโอ่งอ่างและชุมชนคลองโอ่ง อ่าง สัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศริมกว๊านพะเยา อ.เมือง จ. พะเยา


รายชื่อหัวข้อวิทยานิพนธ์และคณะกรรมการวิทยานิพนธ์ (ต่อ) สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม พ.ศ. 2559 ลาดับ รหัส ที่

ชื่อ-สกุล

ประเภทของ โครงการ

ชื่อโครงการ

พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์และภูมิทศั น์แห่งผัสสะ อ. เมือง จ.อุตรดิตถ์ พื้นที่สาธารณะสถานีรถไฟ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

กลุ่ม 4 13.

5519103506

ดาวเรือง ทองดี

พิพิธภัณฑ์

14.

5519103519

รสสุภรณ์ สิงห์ต๊ะ

15.

5519103520

ลัญฉกร สุรินทร์

พื้นที่สาธารณะ ย่านพาณิชยกรรม สถานศึกษา

16.

5519103507

ทิพยสุดา ใจเป็น ใหญ่

สวนสาธารณะ

17.

5519103508

นราธร มูลเมือง แสน

18.

5519103510

นัสรินทร์ กันนา

สวนสาธารณะและ อุทยานพลังงานทดแทน อ.บางกรวย จ.นนทบุรี ศูนย์เรียนรู้ ชุมชนเมือง สถานพักตากอากาศ เดอะปูคา บูตคิ รีสอร์ท เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่

19.

5519103509

นัทชา ปาทาน

ศูนย์ฝึกอบรม

20.

5519103518

มัลลิกา ไทยบุตร

สวนพฤกษศาสตร์

21.

5519103522

ศุภธร บุญผสม

พื้นที่สาธารณะ ขนส่งมวลชน ชุมชนเมือง

22.

5519103511

เบญจมาศ สาย สวัสดิ์

สถานพยาบาล

ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพทางกาย โรงพยาบาลสารภี บวรพัฒนา อ. สารภี จ. เชียงใหม่

23.

5519103512

ปวริศร์ ศรีฤาชา

สวนสาธารณะสถานีรถไฟกาญจนบุรี อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

24.

5519103514

พาขวัญ เรืองพยุง ศักดิ์

สวนสาธารณะ ขนส่งมวลชน ชุมชนเมือง สถานที่ท่องเที่ยวเชิง ประวัติศาสตร์

25.

5519103524

อรไท พิมสาร

ศูนย์การค้าชุมชน

ศูนย์การค้าชุมชนโพธิ์รม่ รื่น อาเภอปาย จังหวัด แม่ฮ่องสอน

ศูนย์พัฒนาการศึกษาเพื่อลูกหญิงและชุมชน อ.แม่ สาย จ.เชียงราย

กลุ่ม 5 สวนสาธารณะริมหาดแม่นาน่ ้ าน อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์

กลุ่ม 6 ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน อ.เมือง จ. กาญจนบุรี สวนพฤกษศาสตร์พระแม่ย่าสุโขทัย อ.เมือง จ. สุโขทัย พื้นที่สาธารณะสาหรับการเปลี่ยนถ่ายระบบขนส่ง มวลชน ย่านวัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก ห้วยขวาง กรุงเทพฯ

กลุ่ม 7

อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ อ.ไทรโยค จ. กาญจนบุรี


คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ บัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย กันต์ บุญสร้อย รหัส 5519103501 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.98 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย)โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม ศูนย์กลางการขนส่ งผูโ้ ดยสาร จังหวัดสกลนคร จังหวัดสกลนคร 2. หัวข้อเรื่ อ ง(ภาษาอังกฤษ) LANDSCAPE DESIGN AND PLANNING PROJECT OF SAKONAKHORN HUB BUS-STATION , SKONAKORN 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ สกลนครเป็ นจังหวัดที่ มีความสาคัญทางประวัติศาสตร์ มีวดั และสถานที่ ๆสาคัญหลายแห่ ง และมี วัฒนธรรมต่างๆจานวนมาก นอกจากนี้ จงั หวัดสกลนครยังเป็ นหนึ่ งในกลุ่มจังหวัดสนุก (สกลนคร นครพนม และ มุกดาหาร) คื อจังหวัดที่ มีศกั ยภาพด้านการท่องเที่ ยวที่ หลากหลาย และแตกต่างกันด้วยตัวของตัวเอง เป็ นกลุ่ม จังหวัดที่ มีสะพานมิ ตรภาพทอดผ่านแม่น้ าโขง เชื่ อมต่อกับ สปป. ลาว คื อที่ มุกดาหารและนครพนมซึ่ งทั้งสอง จังหวัดต่างมี เส้นทางการเดิ นทางสัญจรเชื่ อมต่อกับจังหวัดสกลนคร เป็ นโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิ จท้องถิ่ น ภายใต้ยุทธศาสตร์ ดา้ นการท่องเที่ ยวของกระทรวงมหาดไทย นับว่าเป็ นจังหวัดที่ มีความสาคัญในเรื่ องเศรษฐกิ จ การท่องเที่ยว และการค้าแห่งหนึ่ งของภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ พร้อมทั้งเป็ นประตูสู่ ประชาคมอาเซี ยนแห่ งหนึ่ ง ด้วยเช่นกัน สถานี ขนส่ งของจังหวัดสกลนครมีสองแห่ งแห่ งแรกมีความแออัดไม่สามารถที่ จะขยายตัวได้ จึ งมี การสร้ า งสถานี ข นส่ งผูโ้ ดยสารแห่ งที่ ส องขึ้ นในปี พ.ศ. 2554 และใช้เ ป็ นสถานี ข นส่ งหลัก ซึ่ ง ในปั จจุ บัน มี แนวโน้มในการขยายตัวทางเศรษฐกิ จและสกลนครยังไม่มีศูนย์กลางทางการขนส่ งและการค้า เพื่อจะให้สถานี ขนส่ งผูโ้ ดยสารมีความพร้อมในการเป็ นจังหวัดที่มีศกั ยภาพด้านการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจพร้อมทั้งเป็ นหนึ่ งใน จังหวัดที่ จะเป็ นประตูสู่ อาเซี ยน ทั้งนี้ พ้ืนที่ บริ เวณสถานี ขนส่ งผูโ้ ดยสารจังหวัดสกลนครแห่ งที่ สองจึงควรพัฒนา เป็ นจุดศูนย์กลางการขนส่ งผูโ้ ดยสารจังหวัดสกลนคร


4.วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 พัฒนาเป็ นจุดศูนย์กลางการขนส่ งผูโ้ ดยสาร ที่สามารถรองรับการขยายตัวทาง เศรษฐกิจ การท่องเที่ยว และ ขนส่ ง ในระดับอาเซี ยน 4.1.2 รองรับการท่องเที่ยวและการค้า ของนักท่องเที่ยวและประชาชนในระดับอาเซียน 4.1.3 ตอบสนองแผนพัฒนาของจังหวัดสกลนครด้าน การขนส่ง เศรษฐกิจ การ ท่องเที่ยว และ สิ่ งแวดล้อม 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 ศึกษาแนวทางการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมจุดศูนย์กลางการ ขนส่ ง ที่มีการผสมผสานระหว่างพ้ืนที่สถานีขนส่ ง ตลาด และสวนสาธารณะ 4.2.2 ศึกษาสภาพแวดล้อม วัฒนธรรมท้องถิ่น ของจังหวัดมาประยุกต์ใช้ในการ ออกแบบ

4.2.3 ศึกษาแนวทางการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ให้สอดคล้องกับ สภาพปั จจุบนั และสามารถรับการขยายตัวของเมืองในอนาคต 4.2.4 ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับพฤติกรรมมนุษย์ ที่เกี่ยวข้องกับ การออกแบบศูนย์กลางการขนส่งผูโ้ ดยสาร จังหวัดสกลนคร


5 สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม จุดศูนย์กลางการขนส่ งผูโ้ ดยสารจังหวัดสกลนคร จังหวัดสกลนคร แผนที่ สัญลักษณ์ ที่มา

ที่ต้ งั โครงการ ขอบเขตพื้นที่ Google Earth 5.1 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1.1 พื้นที่เดิมเป็ นสถานีขนส่ งผูโ้ ดยสารแห่งที่สองอยูแ่ ล้ว 5.1.2 พื้นที่รองรับการขยายตัวได้

5.1.3 มีถนน 2สายที่จะนาผูใ้ ช้เข้ามาสู่โครงการ ทั้งจากศูนย์กลางเมือง ต่างอาเภอ ต่างจังหวัด และจากต่างประเทศ คือถนนนิตโย และถนนรัฐบารุ งที่จะนาผูใ้ ช้มาจากศูนย์กลางเมือง 5.1.4 ปั จจุบนั เมื องกาลังมีการขยายออกทางบริ เวณรอบนอก ซึ่ งสามารถเชื่ อมโยง กับสนามบิน มหาลัย แหล่งการค้า และชุมชนที่อยูโ่ ดยรอบเพื่อเพิ่มโอกาสทางเศรษฐกิจ 5.1.5 จังหวัดสกลนครอยู่ในกลุ่มจังหวัด-สนุก (สกลนคร นครพนม และมุกดาหาร) ซึ่ งมีศกั ยภาพในการท่องเที่ ยว ทาให้สถานี ขนส่ งผูโ้ ดยสารแห่ งที่สองมีศกั ยภาพที่ จะพัฒนาให้เป็ นศูนย์กลางการ ขนส่ งและการค้าของจังหวัดได้


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม จุดศูนย์กลางการขนส่ งผูโ้ ดยสารจังหวัดสกลนคร จังหวัดสกลนคร แผนที่ สัญลักษณ์ ที่มา

ที่ต้ งั โครงการ( ระดับเมือง ) ขอบเขตพื้นที่ Google Earth


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม จุดศูนย์กลางการขนส่ งผูโ้ ดยสารจังหวัดสกลนคร จังหวัดสกลนคร

แผนที่ สัญลักษณ์ ที่มา

ที่ต้ งั โครงการ( ระดับจังหวัด ) ที่ต้ งั โครงการ Google Earth


6 ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา ตาบล ธาตุนาเวง อาเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนครสกลนคร พื้นที่โดยประมาณ 175 ไร่ ทิศเหนือ ติดกับ ทางหลวงแผ่นดินสายธาตุ-พนม ทิศใต้ ติดกับ ถนนวงแหวนเทศบาลเมือง ทิศตะวันออก ติดกับ พื้นที่ชุมชน ทิศตะวันตก ติดกับ พื้นที่ทาการเกษตร

โดยข้ า พเจ้ า ยิ น ดี ที่ จ ะปฏิ บั ติ ต ามหลัก และวิ ธี ด าเนิ น งานวิ ท ยานิ พ นธ์ ของคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..









คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย ณัฐวุฒิ ทรเทศ รหัส 5519109504 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 139 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.07 มี ค วามประสงค์จ ะขอท าวิท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย)โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม วัดพระพุทธบาทตาก ผ้า อาเภอป่ าซาง จังหวัดลาพูน 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architecture Design and Improvement Project of Wat Phraphutthabattakpha, Pasang, Lamphun. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ วัดพระพุทธบาทตากผ้า เดิมเป็ นวัดราษฎร์ และได้รับการยกฐานะเป็ นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ในเวลาต่อมา โดยวัดพระพุทธบาทตากผ้ามีปูชนี ยสถานที่สาคัญหลายอย่าง เช่น รอยพระพุทธ บาท รอยตากผ้า รอยเท้าครู บาพรหมา ถ้ าฤาษี รอยเท้าพระอรหันต์ 7 ขวบ ซึ่ งจัดเป็ นปูชนี ยสถานที่สาคัญ แห่ งหนึ่ งของจังหวัดลาพูนและของภาคเหนื อ ที่มีประวัติศาสตร์ ที่สาคัญและน่าสนใจ ซึ่ งปั จจุบนั วัดพระ พุทธบาทตากผ้า เป็ นศู นย์กลางที่ ส าคัญของการศึ กษาพระปริ ยตั ิ ธรรม ทั้งแผนกนักธรรม และบาลี ของ พระภิกษุสามเณรในภาคเหนื อ นอกจากนี้ แล้ว ทางวัดได้จดั ให้มีการปฏิ บตั ิธรรมควบคู่ไปกับการศึกษา ได้ จัดตั้งสานักวิปัสสนากรรมฐานขึ้น เพื่อเป็ นที่ปฏิ บตั ิธรรมสาหรับพระภิกษุสามเณร อุบาสก อุบาสิ กา และ ผูส้ นใจทัว่ ไป อีกทั้งยังถูกยกให้เป็ นแห่งท่องเที่ยวประจาจังหวัดลาพูน วัดพระพุ ท ธบาทตากผ้า มี พ้ื นที่ เป็ นรู ป สี่ เหลี่ ย ม โดยมี พ้ื นที่ ข องพุ ท ธาวาสและสั ง ฆาวาสอยู่ บริ เวณส่ วนหน้าของพื้นที่ซ่ ึ งเกิดจากการจัดสร้างอาคารต่างๆตามลาดับ ขาดการวางผังที่ถูกต้องทาให้ลาดับ การรับรู ้ในพื้นที่มีการสับสนไม่เป็ นลาดับและไม่สามารถแยกเขตของพุทธาวาสและสังฆาวาสได้ชดั เจน อีก ทั้งยังเหลือพื้นที่อีกครึ่ งที่เป็ นพื้นที่ป่ารกร้างขาดการใช้งาน ซึ่งมีศกั ยภาพที่สามารถพัฒนาเป็ นส่ วนของพื้นที่ ปฏิบตั ิธรรม พร้อมทั้งการอนุรักษ์ผืนป่ าเดิ มให้อุดมสมบูรณ์ นอกจากนี้ ยงั มีโครงการ “วัดบัลดาลใจ” ของ


สถาบันอาศรมศิลป์ ร่ วมกับ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปั ญโญ และเหล่าภาคีเครื อข่าย ที่รณรงค์ให้ภูมิ สถาปนิ กและสถาปนิ กร่ วมกันออกแบบและพลิกฟื้ นวัด 39,000 แห่ งทัว่ ประเทศจากเหตุผลที่กล่าวมาแล้ว ข้างต้น จึงได้เกิ ดเป็ นโครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมวัดพระพุทธบาทตากผ้า เพื่อให้เกิ ด การวางผังที่ถูกต้องและเป็ นสถานที่ปฏิบตั ิธรรมของพระภิกษุสามเณร อุบาสก อุบาสิ กา และผูส้ นใจทัว่ ไป ให้สอดคล้องไปกับสภาพภูมิประเทศและธรรมชาติอย่างกลมกลืน อีกทั้งยังเป็ นที่ยดึ เหนียวของชาวบ้านและ ผูท้ ี่มาเยีย่ มเยือนโดยทัว่ ไป ปั จจุ บนั วัดพระบาทตากผ้า ได้กลายเป็ นสถานที่ศึ กษาทางด้านพระพุทธศาสนาและสถานที่ ปฏิบตั ิธรรมสาคัญของจังหวัดลาพูน ร่ วมถึงเป็ นสถานที่จดั ประเพณี ต่างๆ จึงมีท้ งั พระภิกษุสามเณร อุบาสก อุบาสิ กา และผูส้ นใจทัว่ ไป ร่ วมไปถึ งนักท่องเที่ ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติเข้ามาใช้พ้ืนที่ จึงมีความ จาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องมีการจัดสรรพื้นที่ให้เกิดศักยภาพสู งสุ ด 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมให้ถูกต้องตามหลักการออกแบบและสอดคล้อง กับสภาพพื้นที่เดิม 4.1.2 เพื่อเป็ นศูนย์เผยแผ่พุทธศาสนาและแหล่งปฏิบตั ิธรรมประจาจังหวัด ลาพูน 4.1.3 เป็ นแหล่งอนุรักษ์พ้นื ที่ธรรมชาติเดิมของวัด 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาวางผังบริ เวณวัดพระพุทธบาทตากผ้าบนพื้นที่ธรรมชาติ ควบคู่ไปกับ การอนุรักษ์ธรรมชาติ 4.2.2 เพื่อศึกษาศักยภาพของพื้นที่และแนวทางการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม ให้มีความสอดคล้องกับกิจกรรมการเรี ยนรู ้ทางพุทธศาสนา การปฏิบตั ิธรรมและการอนุรักษ์ธรรมชาติ 4.2.3 เพื่อศึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์และปูชนียสถานของวัดพระพุทธบาทตากผ้า 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่โครงการ ตั้งอยู่ ณ วัดพระพุทะบาทตากผ้า 279 หมู่ 6 บ้านพระบาท ตาบลมะกอก อาเภอป่ าซาง มีเนื้อที่ประมาณ 140 ไร่


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมวัดพระพุทธบาทตากผ้า อาเภอป่ าซาง จังหวัดลาพูน แผนที่1 สัญญาลักษณ์ ที่มา : Google Earth

แผนที่ระดับตาบล ขอบเขตโครงการ ถนน ลาพูน-ลี้


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมวัดพระพุทธบาทตากผ้า อาเภอป่ าซาง จังหวัดลาพูน แผนที่ 2 สัญญาลักษณ์

แผนที่ระดับโครงการ ขอบเขตโครงการ

ที่มา: Google Earth 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 ตั้งอยูบ่ นเส้นทางท่องเที่ยวระหว่าง อ.เมือง และ อ.ลี้ 5.2.2 ตั้งอยูบ่ นภูมิประเทศที่น่าสนใจและพื้นที่ธรรมชาติ 5.2.3 มีประวัติศาสตร์ ที่น่าสนใจ




คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย ณัฐวุฒิ ทรเทศ รหัส 5519109504 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 139 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.07 มี ค วามประสงค์จ ะขอท าวิท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย)โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม วัดพระพุทธบาทตาก ผ้า อาเภอป่ าซาง จังหวัดลาพูน 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architecture Design and Improvement Project of Wat Phraphutthabattakpha, Pasang, Lamphun. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ วัดพระพุทธบาทตากผ้า เดิมเป็ นวัดราษฎร์ และได้รับการยกฐานะเป็ นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ ในเวลาต่อมา โดยวัดพระพุทธบาทตากผ้ามีปูชนี ยสถานที่สาคัญหลายอย่าง เช่น รอยพระพุทธ บาท รอยตากผ้า รอยเท้าครู บาพรหมา ถ้ าฤาษี รอยเท้าพระอรหันต์ 7 ขวบ ซึ่ งจัดเป็ นปูชนี ยสถานที่สาคัญ แห่ งหนึ่ งของจังหวัดลาพูนและของภาคเหนื อ ที่มีประวัติศาสตร์ ที่สาคัญและน่าสนใจ ซึ่ งปั จจุบนั วัดพระ พุทธบาทตากผ้า เป็ นศู นย์กลางที่ ส าคัญของการศึ กษาพระปริ ยตั ิ ธรรม ทั้งแผนกนักธรรม และบาลี ของ พระภิกษุสามเณรในภาคเหนื อ นอกจากนี้ แล้ว ทางวัดได้จดั ให้มีการปฏิ บตั ิธรรมควบคู่ไปกับการศึกษา ได้ จัดตั้งสานักวิปัสสนากรรมฐานขึ้น เพื่อเป็ นที่ปฏิ บตั ิธรรมสาหรับพระภิกษุสามเณร อุบาสก อุบาสิ กา และ ผูส้ นใจทัว่ ไป อีกทั้งยังถูกยกให้เป็ นแห่งท่องเที่ยวประจาจังหวัดลาพูน วัดพระพุ ท ธบาทตากผ้า มี พ้ื นที่ เป็ นรู ป สี่ เหลี่ ย ม โดยมี พ้ื นที่ ข องพุ ท ธาวาสและสั ง ฆาวาสอยู่ บริ เวณส่ วนหน้าของพื้นที่ซ่ ึ งเกิดจากการจัดสร้างอาคารต่างๆตามลาดับ ขาดการวางผังที่ถูกต้องทาให้ลาดับ การรับรู ้ในพื้นที่มีการสับสนไม่เป็ นลาดับและไม่สามารถแยกเขตของพุทธาวาสและสังฆาวาสได้ชดั เจน อีก ทั้งยังเหลือพื้นที่อีกครึ่ งที่เป็ นพื้นที่ป่ารกร้างขาดการใช้งาน ซึ่งมีศกั ยภาพที่สามารถพัฒนาเป็ นส่ วนของพื้นที่ ปฏิบตั ิธรรม พร้อมทั้งการอนุรักษ์ผืนป่ าเดิ มให้อุดมสมบูรณ์ นอกจากนี้ ยงั มีโครงการ “วัดบัลดาลใจ” ของ


สถาบันอาศรมศิลป์ ร่ วมกับ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปั ญโญ และเหล่าภาคีเครื อข่าย ที่รณรงค์ให้ภูมิ สถาปนิ กและสถาปนิ กร่ วมกันออกแบบและพลิกฟื้ นวัด 39,000 แห่ งทัว่ ประเทศจากเหตุผลที่กล่าวมาแล้ว ข้างต้น จึงได้เกิ ดเป็ นโครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมวัดพระพุทธบาทตากผ้า เพื่อให้เกิ ด การวางผังที่ถูกต้องและเป็ นสถานที่ปฏิบตั ิธรรมของพระภิกษุสามเณร อุบาสก อุบาสิ กา และผูส้ นใจทัว่ ไป ให้สอดคล้องไปกับสภาพภูมิประเทศและธรรมชาติอย่างกลมกลืน อีกทั้งยังเป็ นที่ยดึ เหนียวของชาวบ้านและ ผูท้ ี่มาเยีย่ มเยือนโดยทัว่ ไป ปั จจุ บนั วัดพระบาทตากผ้า ได้กลายเป็ นสถานที่ศึ กษาทางด้านพระพุทธศาสนาและสถานที่ ปฏิบตั ิธรรมสาคัญของจังหวัดลาพูน ร่ วมถึงเป็ นสถานที่จดั ประเพณี ต่างๆ จึงมีท้ งั พระภิกษุสามเณร อุบาสก อุบาสิ กา และผูส้ นใจทัว่ ไป ร่ วมไปถึ งนักท่องเที่ ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติเข้ามาใช้พ้ืนที่ จึงมีความ จาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องมีการจัดสรรพื้นที่ให้เกิดศักยภาพสู งสุ ด 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมให้ถูกต้องตามหลักการออกแบบและสอดคล้อง กับสภาพพื้นที่เดิม 4.1.2 เพื่อเป็ นศูนย์เผยแผ่พุทธศาสนาและแหล่งปฏิบตั ิธรรมประจาจังหวัด ลาพูน 4.1.3 เป็ นแหล่งอนุรักษ์พ้นื ที่ธรรมชาติเดิมของวัด 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาวางผังบริ เวณวัดพระพุทธบาทตากผ้าบนพื้นที่ธรรมชาติ ควบคู่ไปกับ การอนุรักษ์ธรรมชาติ 4.2.2 เพื่อศึกษาศักยภาพของพื้นที่และแนวทางการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม ให้มีความสอดคล้องกับกิจกรรมการเรี ยนรู ้ทางพุทธศาสนา การปฏิบตั ิธรรมและการอนุรักษ์ธรรมชาติ 4.2.3 เพื่อศึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์และปูชนียสถานของวัดพระพุทธบาทตากผ้า 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่โครงการ ตั้งอยู่ ณ วัดพระพุทะบาทตากผ้า 279 หมู่ 6 บ้านพระบาท ตาบลมะกอก อาเภอป่ าซาง มีเนื้อที่ประมาณ 175 ไร่


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมวัดพระพุทธบาทตากผ้า อาเภอป่ าซาง จังหวัดลาพูน แผนที่1 สัญญาลักษณ์ ที่มา : Google Earth

แผนที่ระดับตาบล ขอบเขตโครงการ ถนน ลาพูน-ลี้


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมวัดพระพุทธบาทตากผ้า อาเภอป่ าซาง จังหวัดลาพูน แผนที่ 2 สัญญาลักษณ์

แผนที่ระดับโครงการ ขอบเขตโครงการ

ที่มา: Google Earth 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 ตั้งอยูบ่ นเส้นทางท่องเที่ยวระหว่าง อ.เมือง และ อ.ลี้ 5.2.2 ตั้งอยูบ่ นภูมิประเทศที่น่าสนใจและพื้นที่ธรรมชาติ 5.2.3 มีประวัติศาสตร์ ที่น่าสนใจ




คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย ณัฐวุฒิ เขียวคาปวน รหัส 5519103505 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.82 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมสนามกีฬากลางเทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนา อาเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง LANDSCAPE ARCHITECTURE DESIGN AND IMPROVEMENT PROJECT OF THE MUANGGAEN PATTANA MAIN STADIUM , MAETAENG , CHIANG MAI.

3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ สนามกีฬากลางเทศบาลเมืองเมืองแกนมีเนื้อที่ 84 ไร่ เป็ นสนามกีฬากลางของชุมชนและเทศบาลเมือง แกนเป็ นผูด้ ูแลเป็ นสถานที่ไว้ให้คนในชุมชนกับคนภายนอกได้เข้ามาใช้งานในเรื่ องของการกีฬาหรื อทากิจกรรม ต่างๆร่ วมกัน เช่น ออกกาลังกาย เล่นกีฬา มีพ้ืนสาธารณะที่พกั ผ่อนหย่อนใจสาหรับคนในชุมชนรวมไปถึงพื้นที่ สนามกีฬาด้านในถูกกาหนดให้เป็ นพื้นที่ในการจัดงานหนาวนี้ที่เมืองแกนช่วงเดือนธันวาคมและเป็ นสถานที่จดั งานเทศกาลสาคัญต่างๆ ประกอบกับบริ เวณรอบพื้นที่โครงการมีแหล่งท่องเที่ยวสาคัญ ในพื้นที่บริ เวณโครงการมี การใช้กิจกรรมที่หลากหลายในปัจจุบนั ตอนนี้พ้ืนที่สนามกีฬามีความเสื่ อมโทรม บางพื้นที่ยงั ขาดการดูแลด้านการ จัดการพื้นที่ให้มีความเหมาะสมน่าใช้งาน ขาดการมีมาตรฐานในเรื่ องของสนามกีฬาเพื่อใช้ในการฝึ กซ้อมแข่งขัน กีฬาในระดับอาเภอ และประเภทของสนามแข่งกีฬามีไม่เพียงพอต่อการแข่งขันบวกกับพื้นที่สีเขียวเพื่อพักผ่อน บริ เวณโครงการมีไม่เพียงพอต่อการใช้งานจึงมีโครงการพัฒนาหรื อปรับปรุ งพื้นที่สีเขียวภายในโครงการ ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงเลือกพื้นที่ดงั กล่าวเป็ นพื้นที่โครงการที่นามาออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม ให้เกิดความสวยงามเหมาะสมกับพื้นที่ใช้งานให้สามารถรองรับการจัดการแข่งขันกีฬาในระดับตาบลและอาเภอ รวมทั้งเป็ นพื้นที่นนั ทนาการของตาบล อีกทั้งพื้นที่โครงการยังติดกับถนนหมายเลข 3038 มีการเข้าถึงโครงการที่ สะดวก จึงทาให้มีศกั ยภาพและความเหมาะสมในการออกแบบให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อปรับปรุ งสนามกีฬาให้เป็ นระดับอาเภอ 4.1.2 เพื่อส่ งเสริ มด้านการกีฬาและนันทนาการ ให้กบั คนในอาเภอแม่แตง 4.1.3 เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวสาหรับกิจกรรมนันทนาการงานเทศกาลและการพักผ่อนสาหรับคน ในพื้นที่ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาศิลปและวัฒนธรรมของชุมชนในอาเภอแม่แตง 4.2.2 เพื่อศึกษาวิธีการออกแบบวางผังสนามกีฬาเพื่อให้มีมาตรฐานในระดับอาเภอ 4.2.3 เพื่อศึกษาการออกแบบวางผังพื้นที่สีเขียวประเภทนันทนาการให้กบั คนในชุมชน และช่วย ส่ งเสริ มด้านสภาพแวดล้อมกับชุมชน 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่าง นี้พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้นที่โครงการสนามกีฬากลางเทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนา ตาบลอินทขิล อาเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ตั้งอยูบ่ ริ เวณทิศตะวันออกของ อาเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ห่างจากตัวอาเภอแม่แตง 8 กิโลเมตร ติดกับถนนหมายเลข 3038 ตัดกับถนนทางหลวงหมายเลข 107 ห่างจากตัวเมืองเชียงใหม่ประมาณ 55 กิโลเมตร ขนาดพื้นที่โครงการประมาณ 84 ไร่


5.1.1

ที่ต้ งั โครงการและขอบเขตพื้นที่โครงการ

โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมสนามกีฬากลางเทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนา ตาบลอินทขิล อาเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 1 แสดงพื้นที่โครงการและขอบเขตโครงการ ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ http://map.longdo.com/ สัญลักษณ์

แสดงที่ต้ งั โครงการและขอบเขตพื้นที่โครงการ

Not To Scale












คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว ทิพยสุ ดา ใจเป็ นใหญ่ รหัส 5519103507 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิ ต สะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.40 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรั บปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมสวนสาธารณะริ มหาด แม่น้ าน่าน อาเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architecture Design and Improvement Project The Rimhard Nan Riverside Park, Muang, Uttaradit 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ อดีตแม่น้ าลาคลองต่างๆ มีบทบาทและความสาคัญต่อวิถีชีวิตของคนไทยเป็ นอย่างมาก ในด้าน การคมนาคม จังหวัดอุตรดิตถ์ก็เช่นเดียวกัน เมื่อสมัยรัชกาลที่ 6 มีการทาเส้นทางรถไฟและการขนส่ งทางบกที่ สะดวกมากขึ้ น แม่ น้ าลาคลองต่ างๆ จึ ง ถูกลดบทบาทความส าคัญ ด้านการคมนาคมลง ต่ อมาใน พ.ศ. 2522 ทางการได้ตดั ทางหลวงแผ่นดิ นหมายเลข 11 ผ่านนอกเมื องอุตรดิ ตถ์ขา้ มแม่น้ าน่ านเข้าสู่ จงั หวัดแถบภาคเหนื อ ตอนบน ซึ่ งบริ เวณหาดริ มแม่น้ าน่ านแห่ งนี้ เคยเป็ นชุ มนุ มการค้าทางน้ าที่ ใหญ่ที่สุดในภาคเหนื อปั จจุบนั เปลี่ยน บริ บทมาเป็ นพื้นที่สาหรับกิจกรรมนันทนาการแทน ประกอบกับเส้นทางนี้ เป็ นเส้นทางคมนาคมทางบกสายหลัก ของจังหวัดอุตรดิตถ์จึงมีนกั ท่องเที่ยวใช้สญ ั จรผ่านมากมาย ใน พ.ศ. 2545 เทศบาลตาบลคุง้ ตะเภาได้เล็งเห็นถึงศักยภาพพื้นที่ริมหาดแม่น้ าน่านใต้สะพานทาง หลวงแผ่นดิ นหมายเลข 11 จึงขอรับเงิ นอุดหนุ นจากรัฐบาลในการปรับปรุ งภู มิทศั น์และก่อสร้างสาธารณู ปโภค กาแพงกั้นน้ าและฟื้ นฟูให้เป็ นพื้นที่จดั กิจกรรมประเพณี ต่างๆ และเนื่ องจากเป็ นสถานที่ติดถนนสายหลักซึ่ งเป็ น ทางผ่า นของนัก ท่ องเที่ ย วจึ ง ได้รั บ ความสนใจและมี นักท่ อ งเที่ ย วมาแวะพักเป็ นจานวนมาก ทาให้พ้ื น ที่ ไ ร้ ประโยชน์ริมแม่น้ ากลับมามีบทบาทความสาคัญมากขึ้น แต่ปัจจุบนั พื้นที่ สวนสาธารณะริ มหาดแม่น้ าน่ านมี พ้ืนที่ เพียง 10 ไร่ ไม่เพียงพอต่อการใช้งาน เพราะมีการใช้งานที่หลากหลายต้องรองรับประชากรในพื้นที่รวมถึงรองรับนักท่องเที่ยวจานวนมากในช่วงเทศกาล และมีสภาพทรุ ดโทรมเนื่ องจากขาดการดูแลจัดการพื้นที่ต่างๆให้เหมาะสม ดังนั้นเทศบาลคุง้ ตะเภาจึ งมีแผนการ


ผลักดันให้สวนสาธารณะริ ม หาดแม่น้ าน่ านเป็ นศูนย์กลางการท่ องเที่ ยวของจังหวัดอุตรดิ ตถ์ ด้วยเหตุ น้ ี จึงเกิ ด โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมสวนสาธารณะริ มหาดแม่น้ าน่าน ให้เหมาะสมกับสภาพการใช้ งานมีการใช้พ้ืนที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด โดยดาเนินการขยายพื้นที่ในการออกแบบและปรับปรุ งสวนสาธารณะริ ม หาดแม่น้ าน่านจานวน 10 ไร่ และพื้นที่เกี่ยวเนื่องโดยรอบรวมเป็ นพื้นที่ท้ งั หมดประมาณ 91 ไร่ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเพิ่มพื้นที่สาธารณะประโยชน์และพื้นที่สีเขียวให้ประชาชนได้พกั ผ่อนและมี ประสิ ทธิ ภาพในการรองรับกิจกรรมนันทนาการช่วงเทศกาลหรื อประเพณี ต่างๆได้ 4.1.2 เพื่อพัฒนาการใช้พ้ืนที่ริมน้ าให้เหมาะสมโดยไม่กระทบต่อสภาพแวดล้อม และ สอดคล้องกับลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ 4.1.3 เพื่อส่ งเสริ มการท่องเที่ยวให้กบั จังหวัดและเพิ่มรายได้ให้คนในชุมชน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาพื้นที่เดิมซึ่ งเป็ นสวนสาธารณะริ มหาดแม่น้ าน่านของจังหวัดอุตรดิตถ์ และนามาดาเนินการวางแผนออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม 4.2.2 เพื่อศึกษาแนวทางการวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่สวนสาธารณะ ริ มน้ าให้เกิดสุ นทรี ยภาพที่ดีไม่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม 4.2.3 เพื่อศึกษาวัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิตการเป็ นอยู่ของคนในพื้นที่ และรู ปแบบ พฤติกรรมนักท่องเที่ยว เพื่อการออกแบบที่เหมาะสมกับพื้นที่ สภาพแวดล้อม ตลอดจนการใช้งาน 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดยสังเขป ข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ ตั้งอยูท่ ิศเหนือของหมู่บา้ นคุง้ ตะเภา อาเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ ริ มแม่น้ าน่าน ติดกับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 จังหวัดอุตรดิตถ์ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เป็ นพื้นที่สาธารณะประโยชน์เดิมและมีแผนที่จะขยายพื้นที่ 5.2.2 พื้นที่ต้ งั โครงการอยูต่ ิดกับถนนทางหลวงหมายเลข 11 ซึ่ งเป็ นถนนสายหลักของ จังหวัดอุตรดิตถ์ สามารถเข้าถึงง่ายและเหมาะต่อการรองรับนักท่องเที่ยวช่วงเทศกาลต่างๆ 5.2.3 พื้นที่ใต้สะพานริ มหาดแม่น้ าน่านเป็ นพื้นที่มีศกั ยภาพเหมาะสาหรับการพักผ่อน และทาเป็ นแหล่งท่องเที่ยว


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมสวนสาธารณะริ มหาดแม่น้ า น่าน อาเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ

มาตราส่ วน

ที่มา : Longdo map, 2559

Not to scale

6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 6.1 ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ โครงการมีขนาดขอบเขตการศึกษา 91 ไร่ ตั้งอยู่อาเภอเมือง จังหวัดอุตรดิ ตถ์ ริ มสะพานข้ามแม่น้ าน่าน ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 จังหวัดอุตรดิตถ์ อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดต่อกับ สี่ แยกสี สูบ ตาบลงิ้วงาม ทิศใต้ ติดต่อกับ ตาบลคุง้ ตะเภา ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ค่ายพิชยั ดาบหัก




คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย นราธร มุลเมืองแสน รหัส 5519103508 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ3.31 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระ ดับปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) ออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุ ทยานพลังงานทดแทน และพื้นที่เกี่ยวเนื่อง อาเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี – เขตบางซื่อ กรุ งเทพมหานคร 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) LANDSPCAE ARCHITECTURE DESIGN AND PLANNING OF ENERGY LEARNING PARK AND RALATED AREAS BANG KRUAI , NONTHABURI 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ พลังงานเป็ นปั จจัยพื้นฐานในการดารงชีวติ ของมนุษย์เหมือนกันทัว่ โลก แต่พลังงานมีจากัดและเป็ นสิ่ งที่ใช้ แล้วหมดไป มนุษย์จึงพยายามแสวงหาสิ่ งที่จะมาทดแทนทรัพยากรในการผลิตพ ลังงาน เพื่อเตรี ยมรับมือกับวิกฤติ

พลังงานในอนาคต จากผลการศึกษาของ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน คาดการณ์วา่ ใน 20 ปี ข้างหน้าจะมีประชากรมนุษย์เพิม่ ขึ้นจาก 7 พันล้านคนเป็ น 9 พันล้านคน ดังนั้นความต้องการ ใช้พลังงานจึงมีความแนวโน้มสู งขึ้น สา หรับประเทศไทยมีการคาดการณ์วา่ อีกประมาณ 50 ปี ข้างหน้า น้ ามันจะ เป็ นแหล่งทรัพยากรราคาแพงจนไม่คุม้ ต่อการนามาผลิตพลังงานไฟฟ้ าหรื อสิ นค้าต่างๆ จึงได้มีการนาทรัพยากร ทางเลือกคือ ก๊าซธรรมชาติและถ่านหิ นมาช่วยในการผลิต แต่นนั่ ก็ไม่เพียงพอเพราะยังมีการใช้พลังงานอย่างขา ด ความเข้าใจ ถ้ามนุษย์ไม่ลดการใช้พลังงานหรื อหาพลังงานทางเลือกมาทดแทน ไม่ชา้ เราจะตกอยูใ่ นสภาวะความ เสี่ ยงต่อการขาดแคลนพลังงาน โครงการ EGAT Learning Center จัดตั้งขึ้นโดนการไฟฟ้ าแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็ นหนึ่งในหลาย หน่วยงานที่ดูแลเรื่ องทรัพยากรและพลังงาน เพื่อเป็ นศูนย์การเรี ยนรู ้แก่ประชาชนทัว่ ไป ได้เข้ามาศึกษาเรื่ องของ พลังงานและให้ตระหนักถึงความสาคัญของพลังงานไฟฟ้ า ตลอดจนมีค วามเข้าใจในภารกิจของกฟผ . และทิศทาง ของพลังงานในอนาคตมากยิง่ ขึ้น นอกจากนี้ยงั เป็ นพื้นที่สาหรับพักผ่อนหย่อนใจของประชาชนได้อีกด้วย พื้นที่โครงการส่ วนหนึ่งอยูใ่ นความรับผิดชอบของกฟผ . คือบริ เวณลานไกไฟฟ้ าและพื้นที่เกี่ยวเนื่องที่อยู่ ในความรับผิดชอบของหน่วยงานอื่นๆ คือพื้นที่สาธารณะประโยชน์บริ เวณสองฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา ช่วงสะพาน พระราม 6 และสะพานพระราม 7 ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท และพื้นที่ริ้วยาวต ามเส้นทางรถไฟ สายใต้เดิม – ตลิ่งชัน ในความรับผิดชอบของการรถไฟแห่งประเทศไทย และในอนาคตจะมีโครงการรถไฟฟ้ าสาย


สี แดงอ่อน 2 สถานีของการรถไฟแห่งประเทศไทย โครงการพื้นที่สาธารณะริ มน้ า 14 กม. ของรัฐบาล และโครงการ ทางด่วนศรี รัช-วงแหวนรอบนอกพิเศษของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย เกิดขึ้นในพื้นที่และพื้นที่เกี่ยวเนื่อง เพื่อ เป็ นพื้นที่สาธารณะที่สาคัญในอนาคต

4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อฟื้ นฟูที่โรงไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทยบางกรวย (ลานไกไฟฟ้ า ) และพื้นที่ เกี่ยวเนื่อง 4.1.2 เพื่อสนับสนุนสุ ขภาวะเมืองและสิ่ งแวดล้อมให้สอดคล้องกับการบริ บทของพื้นที่ 4.1.3 เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศในอนาคตโดยต ระหนักถึงปัญหา พลังงาน 4.1.4 เพื่อเชื่อมต่อการคมนาคมของเมือง ระหว่างทางบกและทางน้ า และพื้นที่ความคิดและ การสร้างสรรค์ร่วมกัน 4.2 วัตถุประสงค์ในการศึกษาหรื อปัญหาการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานพลังงานทดแทนแทน 4.2.2 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม การฟื้ นฟู พ้นื ที่สาธารณะ เมืองและพื้นที่เชื่อมต่อของเมือง 4.2.3 ศึกษาโครงการที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่และพื้นที่เกี่ยวเนื่องเพื่อออกแบบงานภูมิ สถาปัตยกรรม


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)

1

3

2 1

เรื่ อง ออกแบบวางงานผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานพลังงานทดแทน อ.บางกรวย จ.นนทบุรี – เขตบางซื่ อ กรุ งเทพมหานคร แผนที่ 1 ขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ รวม3พื้นที่ 1.พื้นที่สาธารณะใต้พระราม7 2.พื้นที่โครงการ EGAT Learning Center Not 3.พื้นที่รถไฟฟ้ า สายสี แดง อ่อน รวมทั้งหมด141ไร่

ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth

to scale


เรื่ อง ออกแบบวางงานผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานพลังงานทดแทน อ.บางกรวย จ.นนทบุรี – เขตบางซื่ อ กรุ งเทพมหานคร แผนที่ 2 บริ เวณ สัญลักษณ์ . โครงการรถไฟฟ้ าสายสี แดงอ่อน 2 สถานี โครงการพื้นฟูสาธารณะที่ริมน้ าเจ้าพระยา โครงการทางด่วนศรี รัช-วงแหวนรอบนอกพิเศษ พื้นที่EGAT Learning Center พื้นที่โครงการอุทยานพลังงาน

ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth

Not to scale





คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ ง แวดล้ อม มหาวิทยาลั ยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นายนัทชา ปาทาน รหัส 5519103509 นักศึกษาชัน้ ปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภู มิสถาปั ต ยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิง่ แวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยก ติ สะสม 130 หน่วยกติ คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เ ท่าก ับ 3.24 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี ร ายละเอี ย ด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์ฝึกและอบรมเด็ ก และเยาวชน อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอัง กฤษ) The Landscape Architecture Design and Planning of The Juvenile Vocational Training Centre, Muang, Kanchanaburi. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ในอดีตก ่อนเกดิ กรมพินิจและคุม้ ครองเด็กและเยาวชน รัฐบาลเห็นว่าการปฏิบตั ิตอ่ เด็กในระหว่าง จับกุมหรื อพิจารณาคดีโดยใช้วิธีการเช่นเดียวก ับผู ใ้ หญ่น้นั เป็ นวิธีการที่ไม่เ หมาะสมดัง นั้น ในวัน ที่ 28 มกราคม 2495 จึงได้จดั ตั้งเกดิ กรมพินิจและคุม้ ครองเด็กและเยาวชนเกดิ ขึ้นเพื่อคุมประพฤติ ดูแลและฟื้ นฟูแก ้ไขพฤติ ก รรม เด็กและเยาวชนที่กระทาความผิดไว้ในระหว่างรอพิจารณาคดีเ มื่อการพิจารณาคดีสิ้นสุดลง เด็กและเยาวชนจะถู ก นาส่งตัวมายังศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน เพื่อ ให้เ ด็กและเยาวชนได้พฒั นาตนเองในด้านต่า งๆ ในเรื่ อ งของ การแก ้ไขพฤติกรรม การบาบัดทัง้ ร่างกายและจิตใจ รวมไปถึงด้านการศึกษา และอาชีพ เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2549 กรมพินิจและคุม้ ครองเด็กและเยาวชนได้จดั ตัง้ สถานพินิจและคุม้ ครองเด็กและเยาวชน ครบทุกจังหวัด และ ศูนย์ฝึก และอบรมเด็กและเยาวชน 19 แห่งทัว่ ประเทศ กรมสถานพินิจและคุม้ ครองเด็กและเยาวชน จังหวัดกาญจนบุรี ตั้งอยู ่ เลขที่ 189 หมู ่ 5 ตาบลแก ง่ เสี้ยน อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ปั จจุบนั พบปั ญหาเรื่ องของความแออัด ขาดแคลน พื้นที่ไม่เ พียงพอต่อ การรอง รับจานวนเด็กและเยาวชนที่เ พิ่มมากขึ้น และไม่สามารถตอบสนองต่อกจิ กรรมด้านต่างๆ อี ก ทั้ง ยัง พบปั ญหาเรื่ อ ง ของการเข้าถึงพื้นที่ ที่ต้งั อยูห่ า่ งไกล ทาให้สง่ ผลเสียหลายๆด้านอย่างเช่น การนาส่งตัวเด็กและเยาวชนมายัง ศาลคดี เด็กและเยาวชน หรื อสถานที่อื่นๆ ความลาบากต่อการเข้าเยี่ยม และขาดการมีสว่ นร่วมก ับชุมชน ประกอบก บั ทาง สถานพินิจจังหวัดกาญจนบุรียงั ไม่มีศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนจึงต้องนาส่งตัวเด็กและเยาวชน ที่ สิ้น สุ ด การ พิจารณาคดีไปยังศูนย์ฝึกต่างจังหวัดทาให้หา่ งไกลจากภูมิลาเนาและผู ป้ กครอง ทางกรมสถานพินิจและคุม้ ครองเด็ ก และเยาวชน จังหวัดกาญจนบุรี จึงมีนโยบายจัดตั้งศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน จังหวัดกาญจนบุรีข้ นึ เพื่อ ฟื้ นฟู และพัฒนาเด็กและเยาวชนกลับคืนสูส่ งั คมที่ดี


ศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ตั้งอยู ่ ถนนเลี่ยงเมือง-กาญจนบุรี ตาบลท่ามะขาม อาเภอเมื อ ง จังหวัดกาญจนบุรี เนื้อที่ท้งั หมด 71 ไร่ พื้นที่ต้งั อยูบ่ ริ เ วณเชิงเขา โดยรอบพื้นที่มีท้ งั ชุมชนพัก อาศัย เกษตรกรรม สถาบันการศึกษา และอยูห่ า่ งจากตัวเมืองกาญจนบุรีเ พียง 5 กโิ ลเมตร จึ ง ง่ า ยต่อ การเข้า ถึ ง พื้ น ที่ และมี โ อกาสที่ หน่วยงานต่างๆ หรื อ บุคคลภายนอกเข้ามามีสว่ นร่วมในการแก ้ไขฟื้ นฟูเ ด็กและเยาวชน ตามนโยบายของกรมสถาน พินิจและคุม้ ครองเด็กและเยาวชนจังหวัดกาญจนบุรี พื้นที่ น้ ี จึ ง เหมาะสมที่ จ ะจัด ตั้ง ศู น ย์ ฝึ กและอบรมเด็ ก และ เยาวชน เพื่อให้เ กดิ ประโยชน์สูงสุดทางด้านสังคม 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นเครื อข่ายสถานที่รองรับการแก ้ไขฟื้ นฟูเ ด็กและเยาวชนที่กระทาความผิด 4.1.2 เพื่อเป็ นสถานที่รองรับกจิ กรรม การดูแล ฟื้ นฟูเ ด็กและเยาวชนที่ ต ้อ งได้รั บ การ บาบัดและฟื้ นฟู ในรู ปแบบใหม่ 4.1.3 เพื่อตอบสนองแผนโครงการก ่อสร้างศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน จังหวัด กาญจนบุรี 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปั ญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาขั้นตอนการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม โครงการศูนย์ฝึกและอบ รมเด็กและเยาวชน 4.2.2 เพื่อศึกษาวิเ คราะห์รูปแบบและกจิ กรรมต่างๆ ของเด็กและเยาวชนที่ ต ้อ งได้รั บ การบาบัดเพื่อนามาปรับใช้ในการออกแบบวางผังโครงการ 4.2.3 เพื่อศึกษาการวิเ คราะห์ศกั ยภาพพื้นที่และสภาพแวดล้อมโดยรอบเพื่ อ น ามาปรั บ ใช้ในการออกแบบพื้นที่การใช้สอยให้เ หมาะสมแก ่ผู ใ้ ช้โครงการ 5. สถานที่ต้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ 5.1 สถานที่ต้งั โครงการ โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์ฝึ กและอบรมเด็ ก และเยาวชนจัง หวัด กาญจนบุรี โดยโครงการตั้งอยูต่ ิดถนน เลี่ยงเมือง-กาญจนบุรี ตาบลท่ามะขาม อาเภอเมือง จังหวัด กาญจนบุ รี พื้ น ที่ โครงการ 71 ไร่ ( ดูแผนที่ 1-2 )


5.1.1 ที่ต้งั โครงการ

เรื่ อง โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน แผนที่ 1 ที่ตง้ ั โครงการ สัญลักษณ์ เทศบาลเมืองกาญจนบุรี

สถานพินิจ ฯ จ.กาญจนบุรี

ที่ตง้ ั โครงการ เส้นทางถนน ถนนหมายเลข 323 แสงชูโต ถนนหมายเลข 367 เลี่ยงเมือง - กาญจนบุรี ถนนหมายเลข 3398 ลาดหญ้า - บ่อพลอย เส้นทางน้ า ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth, 18/04/2558

Not to scale


5.1.2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ

เรื่ อง โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน แผนที่ 2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์

เส้นทางถนน (ถนนเลี่ยงเมือง-กาญจนบุรี) ขอบเขตพื้นที่โครงการ

ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth, 18/04/2558

Not to scale


5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่โครงการ มีนโยบายการจัดตั้งโครงการศูนย์ฝึกและอบรมเด็ ก และเยาวชน จัง หวัด กาญจนบุรี เพื่อการบาบัดฟื้ นฟูเ ด็กและเยาวชนที่มีคณุ ภาพ กลับคืนสูส่ งั คม 5.2.2 พื้นที่โครงการตั้งอยูห่ า่ งไกลจากตัวเมืองกาญจนบุรี เพียง 5 กโิ ลเมตร ติ ด ถนนเลี่ ย งเมื อ งกาญจนบุรี ซึ่งง่ายต่อการเข้าถึง และยังเป็ นทางเชื่อมต่อไปยังสถานที่ตา่ งๆ หรื อจังหวัดอื่นๆ 5.2.3 พื้นที่โครงการตั้งอยูไ่ ม่หา่ งไกลจากชุมชน ซึ่งเป็ นโอกาสแก ่เด็กและเยาวชนที่จะมีสว่ นร่วม ในการช่วยเหลือสังคมให้เ กดิ ประโยชน์ และ โอกาสที่จะพัฒนาตนเองในด้านต่างๆ พื้ น ที่ น้ ี จึ ง เหมาะแก ก่ ารจัด ตั้ง โครงการศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน เพื่อปลูกจิตสานึกที่ดีให้แก ่เด็กและเยาวชน 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ท้งั หมด 71 ไร่ โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อก ับ พื้นที่ป่าไม้ (เขตทหาร) ทิศตะวันออก ติดต่อก ับ วัดศิริกาญจนราม ทิศตะวันตก ติดต่อก ับ พื้นที่อยูอ่ าศัย ทิศใต้ ติดต่อก ับ พื้นที่อยูอ่ าศัย และการเกษตร โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิง่ แวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ………...……….………..



คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว นัสริ นทร์ กันนา รหัส 5519103510นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 124 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.89 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิ ต โดยมี รายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม เดอะ ปูคา บูติค รี สอร์ท เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) THE LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN AND IMPROVEMENT PROJECT THE PUKA BOUTIQUE RESORT FOR AGROTOURISM, SANKAMPHAENG , CHAINGMAI ท่องเที่ยว 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม เดอะ ปูคา บูติค รี สอร์ ท เพื่อการท่องเที่ยว เชิ งเกษตรตั้งอยู่ ตาบลแม่ปูคา อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชี ยงใหม่ พื้นที่ โครงการเป็ นของคุณ สิ ทธิ ชยั พิษฐานพร เป็ นโครงการรี สอร์ ทขนาดเล็กกิ จการแบบครอบครัว ที่ มีบรรยากาศสงบ อบอุ่น ภายในพื้นที่ 8 ไร่ ล้อมรอบด้วย สวนลาไย ทุ่งนา มีหอ้ งพักเพียง 7 ห้อง ห้องพักมีหลากหลายสไตล์ ทั้งแนวโมเดิ ร์นไชนี ส ไทยร่ วมสมัย โมเดิ ร์น คลาสสิ ก ไทยล้านนาที่ต้ งั อยูท่ ่ามกลางชุมชนชนบทของ อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ เนื่ องจากพื้นที่ โครงการเดิ มอยู่ในอาเภอสันกาแพงที่ มีสถานที่ ท่องเที่ ยวและแหล่งเรี ยนรู ้ ทาง วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การท่องเที่ยวและการพักผ่อน เช่น ศูนย์หตั ถกรรม ร่ มบ่อสร้าง น้ าพุร้อนสันกาแพง ป่ าดง ปงไหว เป็ นต้น และยังเป็ นอาเภอที่มีการเชื่ อมโยงไปยังแหล่งท่องเที่ยวใน อาเภอแม่ออน เช่น ถ้ าเมืองออน น้ าตกแม่กาปอง เป็ นต้น ดังนั้นอาเภอสันกาแพงนั้นจึงมีความน่าสนใจและเป็ นจุด ดึงดูดนักท่องเที่ยวนักลงทุนและผูป้ ระกอบการต่างๆที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว จากข้อมู ลข้า งต้น เจ้า ของโครงการมี ความต้องการที่ จะออกแบบและปรั บปรุ ง พัฒนาพื้ นที่ โครงการ เพื่อที่ จะยกระดับให้เป็ นโครงการขนาดกลาง ส่ งเสริ มรายได้ให้กบั กิ จการโดยมีแนวคิ ดที่ จะขยายพื้นที่ โครงการเพิ่มเป็ น 57 ไร่ รวมพื้นที่ท้ งั หมดเป็ น 65 ไร่ โดยมีหอ้ งพักเพิ่มขึ้น มีพ้ืนที่ทากิจกรรมนันทนาการ พื้นที่ บริ การส่ วนกลาง เพิ่มพื้นที่สีเขียวสาหรับการพักผ่อน และยังมีแนวคิดที่จะพัฒนาให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิ งเกษตร ผสมผสานที่มีภูมิทศั น์ที่สวยงามในสไตล์ชนบทเพื่อรองรับนักท่องเที่ยว และส่ งเสริ มการเกษตร ด้วยเหตุน้ ี จึงเลือกพื้นที่ ดงั กล่าวเป็ นโครงการที่ จะนามาออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม เดอะ ปูคา บูติค รี สอร์ท เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ยกระดับในเป็ นโครงการขนาดกลางเพิ่มจานวนห้องพัก ขยาย พื้นที่ สีเขี ยวสาหรับการพักผ่อนพื้นที่ ส่วนบริ การและพื้นที่ การทาเกษตรแบบผสมผสานโดยไม่ส่งผลกระทบกับ


สิ่ งแวดล้อมออกแบบโครงการให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องกรของเจ้าของโครงการเพื่อรองรับ นักท่องเที่ยวที่จะเข้ามาในอาเภอสันกาแพงและเป็ นสถานที่พกั ตากอากาศอีกทางเลือกหนึ่งให้กบั นักท่องเที่ยว 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อการยกระดับ ให้เ ป็ นโครงการโรงแรมพัก ตากอากาศขนาดกลางที่ มี มาตรฐาน 4.1.2 เพื่อปรับปรุ งสภาพภูมิสถาปัตยกรรมและเพิ่มพื้นที่สีเขียวสาหรับการพักผ่อน 4.1.3 เพื่อเป็ นสถานที่พกั และการท่องเที่ยวเชิงเกษตร 4.1.4 เพื่อส่ งเสริ มเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและเพิ่มรายได้ให้กบั กิจการ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมในโครงการเดอะ ปูคา บูติค รี สอร์ท เพื่อสถานพักตากอากาศที่เป็ นการท่องเที่ยวเชิงเกษตร 4.2.2 ศึ ก ษาหลักการออกแบบวางผังพื้ นที่ ทาการเกษตรแบบผสมผสานเพื่ อ นาไปใช้ออกแบบพื้นที่โครงการ 4.2.3 เพื่อศึกษาการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม สาหรับการรองรับกิจกรรม สถานที่พกั ผ่อน กิจกรรมนันทนาการและเพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้นที่ ต้ งั โครงการมีขนาด 65 ไร่ โครงการตั้งอยู่ตาบลแม่ปูคา อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ มีถนนทางหลวงชนบทหมายเลข ชม 7049 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 สถานที่ต้ งั โครงการมีความน่าสนใจตั้งอยูใ่ นพื้นที่ทาการเกษตร 5.2.2 สถานที่ น้ ี เ ป็ นพื้ นที่ โ ครงการจริ งที่ เ ป็ นสถานที่ พ กั ผ่อนตั้งอยู่บ นพื้ น ที่ ท า การเกษตรโดยโครงการมีแนวคิดที่จะปรับปรุ งภูมิทศั น์และขยายพื้นที่โครงการในด้านการท่องเที่ยวเชิงเกษตร 5.2.3 ศักยภาพเดิ มเป็ นสถานที่ พกั ผ่อนและพื้ นที่ ทางการเกษตรมี การเข้า ถึ งที่ สะดวกมีถนนหลักตัดผ่านและยังมีแหล่งท่องเที่ ยวอื่นๆในอาเภอสันกาแพง เช่ น ศูนย์หัตถกรรมร่ มบ่อสร้างน้ าพุ ร้อนสันกาแพง เป็ นต้น


พื้นที่โครงการ 65 ไร่

โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม เดอะ ปูคาบูติครี สอร์ท เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ แ ผ น ที่ 1 แ ส ด ง ข อ บ เ ข ต พื้ น มาตราส่ วน : Not to scale โครงการ ที่มาจาก http://map.longdo.com/

สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ พื้นที่ส่วนขยาย ถนนทางหลวงชนบทหมายเลข ชม 7049


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม เดอะ ปูคาบูติครี สอร์ท เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร อ.สันกาแพง จ.เชียงใหม่ แผนที่ 3 แสดงการเชื่ อมโยงของ มาตราส่ วน : Not to scale พื้นโครงการ ที่มาจาก ดัดแปลงจาก Google Earth

สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ แหล่งท่องเที่ยว


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 6.1 ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการมีขนาดพื้นที่ท้ งั หมด 65 ไร่ โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ พื้นที่ทาการเกษตรและที่อยูอ่ าศัย (เอกชน) ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ชุมชนบ้านแม่ปูคา ทิศตะวันตก ติดต่อกับ พื้นที่เกษตรกรรมและโรงงานไม้ (เอกชน) ทิศใต้ ติดต่อกับ ถนนตาบลแม่ปูคา โดยข้ า พเจ้ า ยิ น ดี ที่ จ ะปฏิ บั ติ ต ามหลัก และวิ ธี ด าเนิ น งานวิ ท ยานิ พ นธ์ ของคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..











คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย ปวริ ศร์ ศรี ฤาชา รหัส 5519103512 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.66 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสวนสาธารณะสถานีรถไฟ กาญจนบุรี อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) : Landscape Architecture Design and Planing park of Kanchanaburi Railway Station, Mueang Kanchanaburi District, Kanchanaburi Province. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัด กาญจนบุรี เป็ นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ มีสถานที่ทางประวัติศาสตร์ ที่ สาคัญ เช่ น สะพานข้า มแม่น้ าแคว ทางรถไฟสายมรณะ ที่ ดึ งดู ดนักท่ องเที่ ยวทั้งชาวไทยและชาวต่ า งชาติ และมี แนวโน้มเพิ่มขึ้นในทุกปี สถานีรถไฟกาญจนบุรีจึงเป็ นสถานที่ที่รองรับนักท่องเที่ยวที่จะเดินทางไปสัมผัสกับเส้นทาง รถไฟสายมรณะ รวมถึงสถานที่ท่องเที่ยวอื่นๆ อีกทั้งยังอยู่ในพื้นที่ที่มีชุมชนโดยรอบ และในปี 2558 ที่ผ่านมา มีการ เปิ ดประชาคมอาเซี ยน การรถไฟแห่งประเทศไทยจึงมีแผนพัฒนาการขนส่ งรถไฟรางคู่ กรุ งเทพฯ-ท่าเรื อทวาย สถานี รถไฟกาญจนบุรีจึงเหมาะสมที่จะได้รับการพัฒนาพื้นที่ให้เป็ นหนึ่ งในประตูแห่ งภาคการท่องเที่ยวและการขนส่ งทาง ตะวันตกของประเทศไทย สถานี รถไฟกาญจนบุรีต้ งั อยู่ตาบลบ้านใต้ ด้านหน้าติ ดถนนแสงชูโต ซึ่ งเป็ นถนนสายหลักที่ใช้ใน การคมนาคมภายในจังหวัด สถานี รถไฟกาญจนบุรีเป็ นพื้นที่ ของการทางรถไฟแห่ งประเทศไทย รวมพื้นที่ ท้ งั หมด 140 ไร่ ส่ วนหนึ่งเป็ นที่ตงั่ สถานีรถไฟ บ้านพักเจ้าหน้า และพื้นที่ส่วนหนึ่ งมีประชาชนเข้ามาใช้งาน ออกกาลังกายใน เวลาเลิกงานและวันหยุด ซึ่ งการออกกาลังกายส่ วนใหญ่จะเป็ นการวิ่งออกกาลังกายในพื้นที่ขนาดเล็ก เนื่ องจากพื้นที่ ส่ วนใหญ่ยงั ไม่ถูกออกแบบและพัฒนาให้มีการใช้งานอย่างอย่างเป็ นทางการ ทาให้ตอบสนองต่อความต้องการของ คนในชุมชนโดยรอบไม่เต็มที่ คนในชุมชนจึงหันไปใช้พ้ืนที่สวนสาธารณะแห่ งอื่นที่อยู่ไกลออกไปจากตัวชุมชนด้วย ระยะทางที่ไกลทาให้ผสู ้ ูงอายุและเด็กไม่สามารถไปใช้งานสวนสาธารณะที่อยูไ่ กลได้ จึงเล็งเห็นความสาคัญของพื้นที่


ที่ จะสามารถพัฒนาเพื่ อให้คนในชุ มชนได้ใช้งานและเป็ นจุดรองรั บนักท่ องเที่ ยวที่ เดิ นทางเข้ามายังพื้นที่ ที่จะเป็ น ทางผ่านสาคัญอีกหนึ่งแห่งของการคมนาคมขนส่ งที่ไร้พรมแดนในอนาคต จากข้อมูลและเหตุผลที่ กล่าวมาข้างต้น จึ งเสนอโครงการออกแบบและวางผังภู มิสถาปั ตยกรรม สถานี รถไฟกาญจนบุรี ให้เป็ นสวนสาธารณะ สาหรับออกกาลังกายและพักผ่อนหย่อนใจของคนในชุ มชน รวมทั้ง รองรับนักท่องเที่ยวและการขยายตัวของการคมนาคมขนส่ งโดยรถไฟ โครงการดังกล่าวจะก่อให้เกิ ดประโยชน์ใน การพัฒนาทั้งทางเศรษฐกิจและสังคมต่อไป 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 ออกแบบและวางผังบริ เวณโดยรอบสถานีรถไฟกาญจนบุรีให้เป็ นพื้นที่สาธารณะ สี เขียว สาหรับพักผ่อนหย่อนใจของคนในชุมชนและนักท่องเที่ยว 4.1.2 เพื่อให้เป็ นจุดรองรับนักท่องเที่ยว ผูโ้ ดยสารขบวนรถไฟ และคนในชุมชนรอบๆ สถานีรถไฟกาญจนบุรี ให้มีความทันสมัย และสอดคล้องกับบริ บทของพื้นที่ 4.1.3 เพื่อส่ งเสริ มการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิ จ การท่องเที่ ยว แลการคมนาคมขนส่ ง ของจังหวัดกาญจนบุรี 4.1.4 เพื่อรอบรับการพัฒนาระบบรางรถไฟที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อ ศึ ก ษากระบวนการการออกแบบวางผัง ภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมสถานี ร ถไฟ กาญจนบุรี 4.2.2 เพื่อศึ กษาลักษณะการใช้ประโยชน์ของพื้ นที่ ให้เหมาะสมกับความหลากหลาย ของกิจกรรมใน และรอบพื้นที่โครงการ 4.2.3 เพื่ อ ศึ กษาประวัติ ข องพื้ นที่ ส ถานี ร ถไฟ และการคมนาคมขนส่ ง กรุ งเทพฯ – ท่าเรื อทวาย


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการ) โดยสังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสถานีรถไฟกาญจนบุรี อาเภอเมือง กาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ

มาตรส่ วน

ที่มา ดัดแปลงจาก https://www.google.co.th/maps สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ

Not to Scale
















คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย พิพฒั น์พงศ์ ชี พจิ ตรตรง รหัส 5519103515 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.48 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภู มิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมย่านธุ รกิจสี ลมเพื่อเป็ น ศูนย์รวมแหล่งสร้างสรรค์สาหรับทุกกลุ่มความหลากหลายทางเพศ กรุ งเทพมหานคร 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) : LANDSCAPE ARCHITECTURE DESIGN AND PLANNING DEVELOPMENT PROJECT OF SILOM BUSINESS DRISTRICT AS A CREATION CENTER FOR SEXUAL DIVERSITY GROUP, BANGKOK 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ พื้ นที่ ธุรกิ จย่านสี ลมและย่านสุ ริยวงศ์ ตั้งอยู่ในเขตการปกครองของสานักงานเขตบางรั ก นับเป็ น ศูนย์กลางธุรกิจที่สาคัญของกรุ งเทพฯ ที่มีพฒั นาการที่ยาวนาน ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั (ร.4) พ่อค้าชาวต่างประเทศที่เข้ามาค้าขายใยกรุ งสยามมากขึ้น รัฐสยามอนุญาตให้ชาวต่างประเทศที่เข้ามาอยู่อาศัยในกรุ ง สามารถซื้ อที่ดินในพระราชอาณาจักรได้ ส่ งผลให้มีการตั้งชุมชนหลายแห่ งและมีการเข้ามาอยู่อาศัยกันมากขึ้น อัน เป็ นยุคเริ่ มต้นการปฏิรูปประเทศเพื่อให้เจริ ญเติบโตไปในแนวทางเดียวกันกับนานาอารยประเทศ ซึ่ งมีชาติตะวันตก เป็ นแบบแผน โดยมี การตัดถนนใหม่ข้ ึ น 3 สายคื อ ถนนเจริ ญกรุ ง ถนนหัวลาโพง ถนนสี ลม ตามแบบบ้านเมือง ยุโรป เพื่อให้บา้ นเมืองเป็ นระเบี ยบเรี ยบร้อย จนกระทัง่ ในสมัยราชกาลที่ 5 ขึ้นครองราชย์ ในสมัยนี้ ได้ก่อให้เกิ ด การพัฒนาประเทศ การพัฒนาภูมิภาค และการพัฒนาเมืองออกไปอย่างกว้างข้าง เอกชนได้ตดั ถนนขนานกับถนนสี ลมอี ก 3 สาย คื อถนนสาธร ถนนสุ ร วงศ์ และถนนสี่ พ ระยา ทาให้ย่า นบริ เ วณนี้ มีผูต้ ้ งั บ้านเรื อนมากขึ้ นเรื่ อยๆ เปลี่ ย นแปลงจากพื้ นที่ เ กษตรกรรมจนกลายเป็ นย่ า นพักอาศัย ย่า นพาณิ ช ยกรรม และศู นย์ก ลางธุ ร กิ จ การค้า ระดับ ประเทศ จนนับ ว่ า เป็ นย่ า นที่ พ ัก อาศัย และย่ า นธุ ร กิ จ ที่ ส าคัญ ของกรุ งเทพมหานครมาตั้ง แต่ รั ช กาล พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั เป็ นต้นมา เมื่อพิจารณาจากอดีตจนถึงปั จจุบนั ย่านสี ลมเป็ นย่านธุ รกิจที่มีความหลากหลายไม่ว่าจะเป็ นสถาบัน การเงิน สถาบันเทิงของคนทัว่ ไป แหล่งอาหาร อีกทั้งมีความหลากหลายของกิจกรรมที่เกิดขึ้น เชื้ อชาติ ฐานะ และ


เพศ รวมถึงเป็ นแหล่งท่องเที่ยวของเพศที่สามที่ได้รับความนิยมทั้งในไทยและต่างประเทศ ที่เป็ นที่รู้จกั มีเอกลักษณ์ รวมถึ งมีการพัฒนาระบบขนส่ งมวลชนทางราง ระบบถนนที่ สามารถเชื่ อมโยงไปย่านต่ างๆที่ สาคัญได้ ทาให้มี ศักยภาพสู งที่เหมาะในการพัฒนาต่อๆไป เพื่อรองรับประชาชนทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงความเติบโต ของเมืองที่จะเกิดขึ้น และเป็ นศูนย์กลางย่านธุรกิจที่สาคัญของเมือง ในปั จจุบนั สี ลมเป็ นพื้นที่ ที่มีการเพิ่มประชากรอย่างรวดเร็ ว มีการกระจุกตัวของอาคาร และปั ญหา จราจรคับคัง่ เนื่องการใช้ที่ดินประเภทพาณิ ชยกรรมและอาคารสู งจานวนมาก ซึ่ งการกระจุกตัวและการพัฒนาของ อาคารดังกล่าวมีลกั ษณะเกาะสองข้างทางถนนสายสาคัญ มีผลให้อตั ราส่ วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินสู ง (F.A.R.) ส่ วนบริ เวณที่อยูล่ ึกเข้าไปมักจะเป็ นที่อยูอ่ าศัย มีการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารเป็ นไปในทางราบมากกว่าทางสู ง ส่ งผลถึงการใช้ประโยชน์ที่ดินและอาคารไม่คุม้ ค่าการลงทุนเนื่ องจากราคาที่ดินสู ง และทาให้สัดส่ วนของพื้นที่ว่าง ต่อพื้นที่อาคารรวมน้อย (O.S.R) ส่ งผลให้การทากิจกรรมกับการใช้งานในพื้นที่ลดลง ไม่มีพ้ืนที่ว่างในการรองรับ เหตุฉุกเฉิ น พื้นที่เปิ ดโล่งนอกอาคาร พื้นที่สาธารณะ รวมถึงสภาพแวดล้อมไม่มีคุณภาพ ทาให้คุณภาพชี วิตผูใ้ ช้ต่า นอกจากนี้ พ้ืนที่ในย่านสี ลมมีการสะสมความร้อนจากกลุ่มอาคารจานวนมากที่ขวางทิศทางการไหลของลมภายใน พื้นที่ การจราจรบนพื้นผิวถนนหนาแน่น ร้านค้าแผงลอยที่พบเห็นตามริ มทางเท้าทาให้การเข้าถึงพื้นที่จากทางเท้า หรื อทางถนนค่อนข้างลาบาก โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมย่านสี ลมเพื่อเป็ นศูนย์รวมแหล่งสร้างสรรค์ทาง ความคิ ดและแหล่งบันเทิ งเพื่อตอบสนองทุ กเพศทุกวัยรวมถึ งกลุ่มคนที่ มีความหลากหลายทางเพศ ในพื้นที่ ย่าน ธุ รกิ จสี ลมและสุ ริยวงศ์จึงนับว่าเป็ นโครงการที่ มีศกั ยภาพน่ าสนใจในการนามาศึ กษาเพื่ อทาเป็ นย่านเศรษฐกิ จ ต้นแบบที่สาคัญใจกลางเมือง ที่มีความสาคัญต่อการพัฒนาพื้นที่สาธารณะร่ วมกับพื้นที่เอกชนอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เพื่อตอบสนอง และส่ งเสริ มให้เป็ นย่านสร้างสรรค์ของกลุ่มคนที่มีความหลากหลาย 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อให้เป็ นย่านธุรกิจต้นแบบของกรุ งเทพมหานคร 4.1.2 เพื่ อส่ งเสริ มและกระตุ น้ เป็ นพื้นที่ ท่องเที่ ยวที่ สาคัญ สาหรับกลุ่มคนที่ มีความ หลากหลายทางเพศ 4.1.3 เพื่ อปรั บปรุ งพื้ นที่ ย่านสี ลม ที่ มีสภาพทรุ ดโทรมให้เป็ นพื้ นที่ สาธารณะ และ พักผ่อนหย่อนใจของผูค้ นในย่านตามศักยภาพที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างสู งสุ ด 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมกับพื้นที่ศูนย์กลางย่านธุ รกิจ ย่านสี ลม 4.2.2 เพื่อศึกษาพื้นที่ย่านสี ลม ในการนามาประกอบการวิเคราะห์หาศักยภาพในการ พัฒนา


4.2.3 เพี่อศึกษาพฤติกรรมและข้อมูลต่างๆของผูใ้ ช้พ้ืนที่ย่านสี ลมที่มีความหลากหลาย และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในทุกปี 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ

โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมภูมิสถาปัตยกรรมย่านธุรกิจเพื่อเป็ น ศูนย์รวมแหล่งสร้างสรรค์สาหรับทุกกลุ่มความหลากหลายทางเพศกรุ งเทพมหานคร แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ

มาตราส่ วน

ที่มา : ดัดแปลงจาก https://www.google.co.th/maps สัญลักษณ์

ขอบเขตพื้นที่โครงการ

ไม่มีมาตราส่ วน


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมย่านธุรกิจสี ลมเพื่อเป็ นศูนย์รวมแหล่ง สร้างสรรค์สาหรับทุกกลุ่มความหลากหลายทางเพศ กรุ งเทพมหานคร แผนที่2 แสดงรายชื่อทางสัญจรบริ เวณที่ต้ งั โครงการ

มาตราส่ วน

ที่มา : ดัดแปลงจาก http://www.arcgis.com/home/webmap/viewer.html สัญลักษณ์

ถนนสี่ พระยา ถนนสุ รวงศ์ ถนนสี ลม ถนนสาธร ถนนพระราม4 ถนนเจริ ญเมือง

ไม่มีมาตราส่ วน




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว เพชรลดา คงโนนนอก รหัส 5519103516 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 5 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.84 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิ ต โดยมีรายละเอี ยด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม ที.เค. ออแกนิ คฟาร์ ม เพื่อการ เรี ยนรู ้และการท่องเที่ยวเชิงเกษตร อาเภอโนนแดง จังหวัดนครราชสี มา 2. หั ว ข้อ เรื่ อง (ภาษาอัง กฤษ) Landscape Architecture Design and planning Project of T.K. Organic farm for Learning and Agrotourism, Nondang, Nakhon Ratchasima. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม ที.เค.ออแกนิคฟาร์ มเพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ตั้งอยู่ ที่ ถนนมิตรภาพ อาเภอโนนแดง จังหวัดนครราชสี มา พื้นที่โครงการเป็ นของคุณ เช่ า กรวยสวัสดิ์ เป็ นพื้นที่ทา การเกษตรเดิมที่มีศกั ยภาพ มีเนื้ อที่ 61 ไร่ มีคลองขนาบทางทิศเหนื อไหลผ่าน ติดถนนเข้าถึงได้สะดวก แต่เดิมเป็น พื้นที่โล่งกว้างสาหรับปลูกข้าว คุณ เช่า กรวยสวัสดิ์ แต่เดิมทาอาชีพเกษตรกรปลูกข้าวเลี้ยงชีพมาโดยตลอด โดยการใช้สารเคมีในการ เพาะปลูก ภายหลังเพื่อต้องการลดต้นทุนค่าใช้จ่ายจึงเริ่ มปรับเปลี่ยนวิธีการปลูก โดยเริ่ มจากการใช้ปุ๋ยชีวภาพ เช่น ปุ๋ ยคอก ปุ๋ ยหมัก เป็ นต้น พบว่าผลผลิตที่ได้มีความสมบูรณ์ แข็งแรง มีคุณภาพมากกว่าปลูกด้วยสารเคมี ด้วยเหตุผลดังกล่าว จึงได้มีความคิดที่จะพัฒนาเป็นการเกษตรอินทรี ยอ์ ย่างเต็มรู ปแบบ และเป็นแหล่ง เรี ยนรู ้ดา้ นการเกษตรอินทรี ยใ์ ห้แก่ชุมชนและคนที่สนใจ เพื่อให้คนในพื้นที่ยงั นิยมทาการเกษตรแบบใช้สารเคมีอยู่ เปลี่ยนมาทาเกษตรอินทรี ยม์ ากขึ้น รวมถึงเป็ นแหล่งท่องเที่ยวไปในตัวเพื่อเพิ่มรายได้ โดยจะมีการทาเกษตรอินทรี ย ์ ที่ได้มาตรฐาน ตามแบบสานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรี ย ์ มีสภาพแวดล้อมตามแบบชนบทในพื้นที่ และมีที่พกั สาหรับรองรับนักท่องเที่ยว เกษตรกร หรื อผูท้ ี่มีความสนใจศึกษาเกษตรอินทรี ยแ์ ละบรรยากาศแบบชนบท เพื่อ ส่ งเสริ มการท่องเที่ยว


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อการดาเนินกิจการ ที.เค.ฟาร์ม โดยใช้พ้นื ที่อย่างเหมาะสมและคุม้ ค่า 4.1.2 เพื่อเป็ นสถานที่รองรับกิจกรรมนันทนาการ และการเรี ยนรู ้เชิงเกษตรอินทรี ย ์ 4.1.3 เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร และเพิ่มรายได้จากการทาเกษตร 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหา 4.2.1 เพื่ อการศึ ก ษาแนวทางการออกแบบและวางผังบริ เวณพื้ น ที่ การท่ องเที่ ยวเชิ ง เกษตรเพื่อนาไปออกแบบพื้นที่โครงการ 4.2.2 ศึกษาแนวทางการออกแบบและวางผังบริ เวณพื้นที่การทาเกษตรอินทรี ยร์ ู ปแบบ ผสมผสานให้เข้ากับสภาพแวดล้อม 4.2.3 ศึกษาการออกแบบวางผัง สาหรับรองรับกิ จกรรมนันทนาการ สถานที่พกั และ เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร 4.2.4 ศึกษาการวางผังบริ เวณศูนย์การเรี ยนรู ้เกษตรอินทรี ย ์ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)


5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ 5.1.1 ที่ต้ งั โครงการ

เรื่ อง โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ที.เค.ออแกนิคฟาร์มเพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร แผนที่ 1 ที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ

ที่มา: ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth


5.1.2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ

เรื่ อง โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ทีเคออแกนิคฟาร์มเพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร แผนที่ 2 ขอบเขตโครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตโครงการ

ที่มา: ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth
















คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว รสสุ ภรณ์ สิ งห์ต๊ะ รหัส 5519103519 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 127 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.55 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมี รายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการวางผังและปรั บปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่สาธารณะสถานี รถไฟ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ ) The Landscape Architectural Planning and Improvement Project of Railway Station Public Areas. , Chiang Mai. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดเชียงใหม่เป็ นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ และการท่องเที่ยวของภาคเหนือตอนบน เนื่องจาก เชี ยงใหม่เป็ นจังหวัดมี ความอุ ดมสมบูรณ์ ด้านทรั พยากร ทั้งประเภทธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ โบราณคดี และ วัฒ นธรรมประเพณี ซึ่ ง ประชาชนชาวเชี ยงใหม่ มี ความภาคภู มิ ใจในความเป็ นมาอันยาวนาน การเดิ น ทางไป เชี ย งใหม่ มี ห ลายเส้ น ทาง ปั จ จุ บนั มี เ ส้ น ทางหลัก ที่ ใ ช้กันคื อ เส้ น ทางหลวงสายเอเชี ย สามารถเดิ น ทางโดยใช้ ยานพาหนะส่ วนตัว รถโดยสารประจาทาง เครื่ องบิ น และรถไฟ ปั จจุ บนั สถานการณ์ และแนวโน้มของธุ รกิ จ ท่องเที่ยวภาคเหนือตอนบนสู งขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นปริ มาณของนักท่องเที่ยวที่จะเดินทางเข้าสู่ จงั หวัดเชียงใหม่ก็ เพิ่มสู งขึ้นด้วย โดยเฉพาะการเดินทางโดยระบบขนส่ งสาธารณะ ทั้งรถโดยสารประจาทางและรถไฟ ดังนั้นสถานี ขนส่ ง สาธารณะจึ ง เป็ นจุ ด ศู น ย์ร วม (Node) และจุ ด เปลี่ ย นถ่ า ยขนส่ ง สาธารณะ (Hub) ของผูใ้ ช้บ ริ ก ารและ นักท่องเที่ยว สู่ ระบบขนส่ งมวลชนต่างๆ โดยเฉพาะสถานี รถไฟเชียงใหม่ที่เป็ นสถานีปลายทางของทางรถไฟสาย เหนื อ และจากสถานี รถไฟสามารถใช้ถนนเจริ ญเมืองซึ่ งเป็ นถนนเก่าแก่เส้นหนึ่ ง เพื่อเข้าสู่ ตวั เมืองเชี ยงใหม่เพียง เวลาไม่กี่นาที ดังนั้นสถานีรถไฟเชียงใหม่จึงเป็ นเสมือนด่านหน้าเมืองที่สาคัญของเมืองเชียงใหม่ สถานการณ์และแนวโน้มการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม การขยายตัวของภาคธุรกิจ และการ พัฒนาโครงสร้างการคมนาคมของจังหวัดเชียงใหม่ จนนาไปสู่ การขยายตัวของเมืองอย่างรวดเร็ วเป็ นสาเหตุสาคัญที่ ทาให้สูญเสี ยพื้นที่สีเขียวนอกจากนี้ยงั พบสาเหตุอื่นๆ เช่น ขาดการดูแลรักษา ขาดนโยบาย และแผนกลยุทธ์ในการ สร้างพื้นที่สีเขียวในเขตเมือง ปี พ.ศ. 2547 การรถไฟแห่ งประเทศไทย (ร.ฟ.ท.) ได้มอบพื้นที่ 47 ไร่ ของโรงแรม รถไฟเดิม ด้านหน้าสถานีรถไฟเชียงใหม่ ให้สร้างเป็น“สวนสาธารณะบนที่ดินของการรถไฟ” ให้กบั ประชาชนใน


เพื่อใช้เป็ นสถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจ เป็ นที่ออกกาลังกายของคนเมือง และเป็นปอดอีกแห่ งหนึ่ งของเมืองเชียงใหม่ ทั้งที่สถานีรถไฟเชียงใหม่มีศกั ยภาพหลายด้าน เป็ นทั้งด่านหน้าเมืองที่มีความสาคัญทางด้านการขนส่ งแห่งหนึ่งของ จังหวัด แต่ก็ยงั ขาดการดูแลเรื่ องภาพลักษณ์ที่ดีของความเป็ นเมืองเชียงใหม่ และยังขาดการเชื่อมโยงพื้นที่โดยรอบ เข้าด้วยกัน ทั้งสภาพเสื่ อมโทรมมีผเู ้ ข้ามาใช้งานที่นอ้ ยมากเมื่อเทียบกับผูท้ ี่เข้ามาใช้บริ การสถานี รถไฟและชุมชนที่ อยูบ่ ริ เวณใกล้เคียง ด้วยเหตุผลนี้ จึงเลือกพื้นที่ดงั กล่าวประมาณ 72 ไร่ บนที่ดินการรถไฟเป็ นพื้นที่โครงการวางผัง และปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่สาธารณะสถานี รถไฟ อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่ ให้เป็ นพื้นที่สาธารณะ ของสถานี รถไฟปลายทางของภาคเหนื อ เพิ่มประสิ ทธิ ภ าพในการเป็ นจุ ดเปลี่ ยนถ่ ายขนส่ งมวลชน เพื่อสร้ า ง ภาพลักษณ์ที่ดี ให้กบั สถานี รถไฟเชี ยงใหม่ที่เปรี ยบเสมือนด่ านหน้าเมื อง และเพื่อให้เกิ ดย่านเศรษฐกิ จใหม่ กับ แนวคิดการพัฒนาพื้นที่แบบผสม (Mixed use) เพื่อพัฒนาพื้นที่อย่างมีประสิ ทธิ ภาพระหว่างสวนสาธารณะ (Park) และความเป็ นย่านเศรษฐกิจ (Commercial Area) มุ่งสู่ ความยัง่ ยืนของเมือง (Sustainable City) เพื่อให้เกิดประโยชน์ สู งสุ ดต่อการใช้พ้นื ที่สาธารณะของคนเมืองเชียงใหม่และนักท่องเที่ยว 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อส่ งเสริ มภาพลักษณ์ที่ดีให้กบั เมืองเชียงใหม่ 4.1.2 เพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพของการเปลี่ยนถ่ายขนส่ งสาธารณะ 4.1.2 เพื่อส่ งเสริ มให้เกิดย่านเศรษฐกิจใหม่ 4.1.3 เพื่อเสริ มสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีให้แก่บริ เวณโดยรอบสถานีรถไฟ และเพิ่มพื้นที่สี เขียวในเมือง 4.1.4 เพื่อส่ งเสริ มการเชื่ อมโยงพื้นที่ สาธารณะเข้าด้วยกัน เพื่อให้เกิ ดการใช้งานอย่าง เหมาะสม 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาภาพลักษณ์ของเมืองเชียงใหม่ 4.2.2 เพื่อแนวทางการออกแบบพื้นที่เปลี่ยนถ่ายระบบขนส่ งสาธารณะที่มีประสิ ทธิ ภาพ และยัง่ ยืน 4.2.3 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบเพิ่มพื้นที่เศรษฐกิจอย่างยัง่ ยืน 4.2.4 เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาพื้นที่สาธารณะแบบผสม (Mixed use) อย่างยัง่ ยืน

5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขป ข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)


5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โครงการวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่สาธารณะสถานี รถไฟ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 5.1.1 ที่ต้ งั โครงการและขอบเขตพื้นที่โครงการ

โครงการวางผัง และปรั บ ปรุ ง ภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมพื้ น ที่ ส าธารณะสถานี ร ถไฟ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 1 ขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google map สัญลักษณ์ แสดงที่ต้ งั และขอบเขตโครงการ สวนสาธารณะบนที่ดินการรถไฟ พื้นที่วา่ งตรงข้ามสถานีรถไฟ บริ เวณสถานีรถไฟ


5.2 เหตุผลในการเลือกพื้นที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เนื่องจากพื้นที่สาธารณะสถานี รถไฟมีศกั ยภาพในการรองรับนักท่องเที่ยวและผูท้ ี่ เข้ามาใช้บริ การของสถานีรถไฟ เป็ นอย่างดี 5.2.2 เนื่องจากพื้นที่สาธารณะสถานีรถไฟมีความหลากหลายทางสังคม สามารถส่ งเสริ ม ให้พ้นื ที่สาธารณะบนที่ดินการรถไฟเป็ นย่านเศรษฐกิจ 5.2.3 เนื่ องจากสถานี รถไฟเป็ นสถานี ปลายทางของทางรถไฟสายเหนื อ ควรสร้ าง ภาพลักษณ์ที่ดีให้กบั ผูใ้ ช้บริ การ และนักท่องเที่ยวที่เดินทางสู่ จงั หวัดเชียงใหม่ 6 . ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่สาธารณะสถานี รถไฟ อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่อื่นๆ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ สานักชลประทานที่ 1 กรมชลประทาน ทิศใต้ ติดต่อกับ อาคารสถานีรถไฟเชียงใหม่ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ถนนทุ่งโฮเต็ล ทิศตะวันตก ติดต่อกับ สานักงานสรรพากรพื้นที่สาขาเมืองเชียงใหม่ 2

โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และ การออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ



คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวลัญฉกร สุ รินทร์ รหัส5519103520นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิ ตสะสม 133หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.57 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภู มิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย)โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์พฒั นาการศึกษาเพื่อ ลูกหญิงและชุมชน อ.แม่สาย จ.เชียงราย 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Improvement Project of The Development and Education Center for Daughters and Communities, Maesai, Chiangrai. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ พื้นที่ตามแนวชายแดนไทยเป็ นจะเป็ นบริ เวณที่ พบปั ญหาด้านสิ ทธิ เด็กและสตรี มากที่สุด โดยมี ปัจจัยมาจากสภาพเศรษฐกิจ สภาพสังคม การขาดโอกาสทางด้านต่างๆ ส่ งผลให้เด็กและสตรี ในพื้นที่ดงั กล่าวเสี่ ยง ต่อการเข้าสู่ กระบวนการค้ามนุษย์ ศูนย์พฒั นาการศึ กษาเพื่ อลูกหญิ งและชุ มชน หรื อ “ ศูนย์ลูกหญิ ง” (The Development and Education Center for Daughters and Communities) ตั้งอยู่ที่ 186 หมู่ 4 ต.พางคา อ.แม่สาย จ.เชี ยงราย เป็ นหนึ่ งใน องค์กรไม่แสวงหาผลกาไรที่เป็ นส่ วนหนึ่ งในการแก้ปัญหาในเรื่ องเด็กและสตรี ในพื้นที่ ชายแดนประเทศไทยและ ประเทศเพื่ อนบ้า น ก่ อ ตั้งขึ้ นในปี 2532 โดยการนาผลการศึ กษาวิจัย ข้อมูล ของ คุ ณ สมภพ จันทรากา เรื่ อง สถานการณ์ของเด็กผูห้ ญิง ที่ถูกผลักดันเข้าสู่ ธุรกิจการบริ การทางเพศในเขตพื้นที่หาดใหญ่ ผลการศึกษาวิจยั พบว่า เด็กหญิง ที่ ขายบริ การทางเพศส่ วนใหญ่มาจาก อ.แม่สาย จ.เชี ยงราย คุณสมภพ และ คุณมิชิโฮะ อินากากิ เพื่อน นักเขียนชาวญี่ปุ่น จึงได้ร่วมกันจัดทา “ โครงการกองทุนการศึกษาเพื่อลูกหญิง” ขึ้น โดยการช่วยเหลือเด็กหญิงกลุ่ม แรกจานวน 19 คน ซึ่ งได้รับการหนุนช่วยงบประมาณก้อนแรก รวมถึงการช่วยเหลือด้านการระดมทุนจาก คุณมิชิ โฮะ และต่ อ มาภายหลังได้เ ปลี่ ย นชื่ อ เป็ น “ ศู นย์พ ฒ ั นาการศึ กษาเพื่ อลูกหญิ งและชุ มชน” โดยมี แนวคิ ด การ ดาเนินงาน ในการสร้างเครื อข่ายและกระบวนการป้ องกันเด็กกลุ่มเสี่ ยงที่จะตกเป็ นเหยื่อให้รอดพ้นจากวิกฤต ของ ชี วิตโดยการ ส่ งเสริ มการศึกษาในสายสามัญ สายอาชี พทั้งในและนอกระบบ ควบคู่ไปกับการพัฒนาคุณภาพชี วิต จิตสานึก และความรับผิดชอบต่อสังคม ที่ ต้ งั โครงการอยู่ที่จงั หวัดเชี ยงรายเป็ นจังหวัดมี พ้ืนที่ ชายแดนที่ อยู่เหนื อสุ ดของประเทศไทย มีเขต ติดต่อกับประเทศพม่าและลาว มีจุดเชื่ อมต่อที่สาคัญทางเศรษฐกิจหลายจุดได้แก่ เขตการค้าชายแดนที่เติบโตเป็ น อับดับหนึ่ งของประเทศไทยอยู่ที่อาเภอแม่สาย ท่าเรื อขนส่ งสิ นค้าจากลาวและจีนและสะพานเชื่ อมถนนสายเอเชี ย


(เส้นทาง3A) ที่อาเภอเชี ยงของ พื้นที่สามเหลี่ยมทองคาและท่าเรื อสิ นค้าอาเภอเชี ยงแสน และอื่นๆอีกมากมายที่จะ เกิดขึ้นตามนโยบายของภาครัฐที่จะพัฒนาให้จงั หวัดเชี ยงรายเป็ นประตูการค้าสู่ พม่า ลาว และจีน เพื่อรองรับความ ร่ วมมื อระหว่างประเทศสมาชิ กลุ่มน้ า โขงรวมทั้งการรวมกลุ่มของประชาคมอาเซี ย นซึ่ งเป็ นการร่ วมกลุ่มของ ประเทศในภูมิภาคเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ที่เกิ ดขึ้ นจะช่ วยเพิ่มโอกาสให้ศูนย์พฒั นาการศึ กษาเพื่อลูกหญิ งและ ชุมชนขยายเครื อข่ายและความร่ วมมือกับกลุ่มประเทศลุ่มน้ าโขงและอาเซี ยนได้มากยิ่งขึ้น ศูนย์พฒั นาการศึกษาเพื่อลูกหญิงและชุมชน มีพ้ืนที่ประมาร 10 ไร่ ประกอบไปด้วยกลุ่มอาคาร การเรี ยนการสอน อาคารอานวยการ สนามหญ้า และพื้นที่เพราะปลูกทางการเกษตร แต่ยงั ประสบปั ญหาด้านการ ขาดแคลนอาคารเรี ยน โรงอาหาร ห้องสมุด โรงเพาะปลูก โรงฝึ กอาชีพ อาคารพักอาศัยสาหรับบุคลากร และพื้นที่ที่ ไม่เอื้ออานวยต่อการทากิ จกรรมที่ เป็ นอยู่ จึ งควรมีการออกแบบปรับปรุ งเพื่อแก้ไขปั ญหาที่ เกิ ดขึ้ นกับพื้นที่ และ เสนอขยายพื้นที่ขา้ งเคียงรวมเป็ นพื้นที่ 60 ไร่


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นศูนย์ให้ความช่วยเหลือเด็กและเยาวชนในภูมิภาคลุ่มน้ าโขงและอาเซี ยน 4.1.2 เพื่อเป็ นตัวกลางความร่ วมมือและต้นแบบให้กบั องค์กรต่างๆในภูมิภาคลุ่มน้ าโขง และอาเซี ยนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก 4.1.3 เพื่อให้เป็ นพื้นที่แลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมระหว่างเด็กในภูมิภาคอาเซี ยน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อศึ กษาข้อมูลและแนวทางพัฒนาเด็กและเยาวชนที่ อยู่ในความดู แลของศู นย์ พัฒนาการศึกษาเพี่อลูกหญิงและชุมชน 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการออกแบบและปรั บ ปรุ งภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศู น ย์พ ัฒ นา การศึกษาเพี่อลูกหญิงและชุมชน 4.2.3 เพื่ อศึ กษาข้อมูลศู นย์พฒ ั นาการศึ กษาเพี่ อลูกหญิงและชุ มชน กับแนวโน้มการ เปลี่ยนแปลงในอนาคต


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)

โครงการออกแบบศูนย์พฒั นาการศึกษาเพื่อลูกหญิงและชุมชน แผนที่ 1แสดงที่ต้ งั โครงการ ที่มา: ดัดแปลงมาจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth สัญลักษณ์: :อาณาเขตแนวชายแดน

: ที่ต้ งั พื้นที่โครงการ

NOT TO SCALS


โครงการออกแบบศูนย์พฒั นาการศึกษาเพื่อลูกหญิงและชุมชน แผนที่1 แสดงพื้นที่โครงการและขอบเขตโครงการ ที่มา: ดัดแปลงมาจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth สัญลักษณ์: : ขอบเขตพื้นที่โครงการเดิม

: พื้นที่ขยายโครงการ

NOT TO SCALS

5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ ศูนย์พฒั นาการศึกษาเพื่อลูกหญิง และชุมชน เลขที่ 183 หมู่ 4 ตาบล เวียงพางคา อาเภอ แม่สาย จังหวัด เชียงราย 57130 ขนาดพื้นที่ 60 ไร่ 5.2เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ เนื่ องจากเนื่ อ งจากที่ ต้ งั (ศู นย์พ ัฒนาการศึ กษาเพื่ อลู กหญิ ง และชุ มชน)มี ก ารด าเนิ น กิจกรรมด้านการพัฒนาการศึ กษาทางเลือกให้แก่ เยาวชนที่ดอ้ ยโอกาสตามแนวชายแดนไทย-พม่า เป็ นศูนย์เรี ยนรู ้ ทางเลือกให้แก่บุคคลทัว่ ไป ยังคงมีการให้ความช่วยเหลือและให้ความรู ้ดา้ นสถานการปั ญหาสังคมในประเทศไทย และที่ต้ งั ที่มีความเหมาะสมในอีกหลายๆด้าน ได้แก่ การเดินทางของเด็กจากฝั่งประเทศพม่า มายังฝั่งไทย การตั้งใน แหล่งของชุมชนที่มีความหลากหลายในด้านสังคมและวัฒนธรรม และการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ ว เป็ นพื้นที่ที่มีการ อพยพถิ่นฐานจากคนนอกพื้นที่และประเทศพม่า










คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย ศุภธร บุญผสม รหัส 5519103522 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิ ชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.27 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่สาธารณะสาหรับการเปลี่ยนถ่าย ระบบขนส่งมวลชน ย่านวัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก เขตห้วยขวาง กรุ งเทพมหานคร 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architectural Design and Planning Project of Public Transit Park, Wat Praram 9 Kanchanapisek, Huaykwang, Bangkok. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ กรุ งเทพมหานครเป็ นศูนย์รวมของความเจริ ญในด้านต่างๆ ทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิ จ ศูนย์ก ลางการคมนาคม และศูน ย์กลางการศึ กษา ทาให้ กรุ งเทพมหานครมี การย้ายถิ่ นฐานเข้ามาอยู่อ าศัย และ ประกอบอาชีพส่งผลให้กรุ งเทพมหานครมีความเป็ นเป็ นเมืองโตเดี่ยว จานวนประชากรที่เพิ่มขึ้นเป็ นจานวนมากจึง ทาให้เกิดปัญหาในเรื่ องของโครงสร้ างพื้นฐานที่ตอ้ งรองรับคนมากขึ้นไปจนถึงปัญหาสิ่ งแวดล้อมของเมือง ที่เห็น ได้ชดั เจนคือปัญหาเรื่ องของการสัญจรในเมืองและปัญหาชุมชนแออัด ในปัจจุบนั กรุ งเทพมหานครได้มีโครงการที่ จะแก้ปัญหาดังกล่าวเช่น การสร้างโครงข่ายรถไฟฟ้าสายต่างๆทัว่ กรุ งเทพมหานครและปริ มณฑล โครงการเขื่อน ริ มคลองเพื่อระบายน้ า ลดปัญหาน้ าท่วมในกรุ งเทพมหานคร ในย่านวัดพระราม 9 กาญจนาภิเษกมีพ้ืนที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์ ซึ่ งอยูใ่ นความรับผิดชอบของการ ทางพิเศษแห่ งประเทศไทยและเอกชนบางส่ วน ทาให้พ้ืนที่โดยรอบที่มีความหลายหลายของการใช้งานทั้งที่เป็ น ชุมชนที่อยู่อาศัยริ มคลอง หมู่บา้ นจัดสรร อาคารพักอาศัย อาคารสานักงาน โรงงาน ย่านพาณิ ชย์ ถูกตัดขาดออก จากกัน คลองที่เคยเป็ นศูนย์รวมของชุมชนก็กลายเป็ นเส้นขอบเขตเมือง ในอนาคตจะมีโครงการรถไฟฟ้าสายสี เทา และสายสี ส้มในบริ เวณนี้และโอกาสในการพัฒนาเส้นทางเดินเรื อในคลองลาดพร้าว พื้นที่น้ ีจึงมีความสาคัญในการ ฟื้ นฟูเมืองในอนาคต ทั้งการเป็ นพื้นที่สาหรับเปลี่ยนถ่ายระบบขนส่งมวลชนและเชื่อมพื้นที่โดยรอบเข้าด้วยกัน ด้วยเหตุน้ ีจึงเลือกพื้นที่ดงั กล่าวเป็ นพื้นที่โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมให้เหมาะสม กับการพัฒนาระบบขนส่งมวลชนและพื้นที่ทิ้งร้างให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนในชุมบริ เวณใกล้เคียงและผูท้ ี่ใช้ ระบบขนส่ ง มวลชน ประกอบกับ แนวคิ ด การพัฒ นาพื้ น ที่ แ บบผสม (Mixed use) เพื่ อ พัฒ นาพื้ น ที่ อ ย่ างมี ประสิ ทธิภาพ ส่งเสริ มการใช้งานระบบขนส่งมวลชนทั้งทางบกและทางน้ า แก้ปัญหาสิ่ งแวดล้อมและพื้นที่ทิ้งร้าง


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาพื้นที่ระหว่างระบบขนส่งมวลชนและชุมชนโดยรอบ 4.1.2 พัฒ นาพื้ น ที่ แบบผสมผสานเพื่ อ รองรั บกิ จ กรรมที ห ลากหลายและเชื่ อ ม บริ บทที่หลากหลายของพื้นที่ 4.1.3 พัฒนาพื้นที่ทิ้งร้างเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวและแก้ปัญหาสิ่ งแวดล้อมของเมือง 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการฟื้ นฟูเมืองและแก้ปัญหาสิ่ งแวดล้อมในเมือง 4.2.2 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบพื้นที่สีเขียวในเมือง เพื่อเป็ นพื้นที่สาหรับ การเปลี่ยนถ่ายระบบขนส่งมวลชนในรู ปแบบต่างและการพัฒนาพื้นที่ทิ้งร้าง 4.2.3 เพื่อศึกษาแนวคิดการพัฒนาพื้นที่แบบผสมผสาน (Mixed use)


5. สถานที่ ต้ ัง ของโครงการและเหตุ ผ ลในการเลื อ กที่ ต้ ัง โครงการ (แสดงแผนผัง ที่ ต้ งั โครงการ โดยสังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้งั โครงการ พื้นที่โครงการอยูบ่ ริ เวณถนนประดิษฐ์มนูธรรม ใต้ทางด่วนรามอินทรา-อาจนรงค์ ศูนย์ ควบคุมทางพิเศษ 3 (ฉลองรัช) ย่านวัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก มีคลองลาดพร้ าวผ่านกลางพื้นที่ พื้นที่ระหว่าง เขตห้วยขวางและเขตวังทองหลาง กรุ งเทพมหานคร ขนาดพื้นที่โครงการประมาณ 575 ไร่

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่สาธารณะสาหรับการเปลี่ยนถ่าย ระบบขนส่งมวลชน ย่านวัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก เขตห้วยขวาง กรุ งเทพมหานคร แผนที่ 1: แสดงพื้นที่ต้งั โครงการและเส้นทางโครงการรถไฟฟ้า ที่มา: การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย สัญลักษณ์ แสดงที่ต้งั โครงการ


โครงการออกแบบและวางผังภูมิส ถาปั ตยกรรมพื้ นที่สาธารณะสาหรับ การเปลี่ ยนถ่าย ระบบขนส่งมวลชน ย่านวัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก เขตห้วยขวาง กรุ งเทพมหานคร แผนที่ 2: แสดงพื้นที่ต้งั โครงการและขอบเขตโครงการ ที่มา: ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth สัญลักษณ์ แสดงขอบเขตโครงการ แสดงเส้นทางรถไฟฟ้าสายสี เทา แสดงเส้นทางรถไฟฟ้าสายสี ส้ม


โครงการออกแบบและวางผังภูมิส ถาปั ตยกรรมพื้ นที่สาธารณะสาหรับ การเปลี่ ยนถ่าย ระบบขนส่งมวลชน ย่านวัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก เขตห้วยขวาง กรุ งเทพมหานคร แผนที่ 3: แสดงพื้นที่ต้งั โครงการและขอบเขตโครงการ ที่มา: ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth สัญลักษณ์ แสดงขอบเขตโครงการ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ 5.2.1 ที่ต้ งั โครงการเป็ นจุดตัดสาคัญของระบบขนส่งมวลชนทั้งทางบกและทางน้ า ในอนาคตที่จะสามารถลดปัญหาการสัญจรในเมืองในเมือง 5.2.2 ที่ต้งั โครงการติดกับคลองลาดพร้าวที่มีบทบาทในการระบายน้ าของเมืองและ มีโอกาสในการพัฒนาระบบส่งมวลชนทางน้ า 5.2.3 ความหลากหลายของบริ บ ทโดยรอบพื้ น ที่ โครงการที่ มี ท้ งั ชุ ม ชนริ มน้ า หมู่บา้ นจัดสรร อาคารพักอาศัย อาคารสานักงาน โรงงาน ย่านพาณิ ชย์




คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวสิ ริพร อินชา รหัส 5519103523 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.86 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมสถานสงเคราะห์คนชรา เฉลิมราชกุมารี (หลวงพ่อลาใยอุปถัมภ์) อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architecture Design and Improvement Project of Chaloem Ratchakmari Eldery Home ( in the patronage of Luang Por Lamyai ), Maung, Kanchanaburi. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ พระมงคลสิ ทธิ กุล (หลวงพ่อลาใย ) เจ้าคณะอาเภอศรี สวัสดิ์ และเจ้าอาวาสวัดทุ่งลาดหญ้าร่ วมกับ สภากาชาดไทย เป็ นผูร้ ิ เริ่ มในการจัดสร้ าง “สถานสงเคราะห์คนชรา” ตามพระราชดารัสของสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุ ดา สยามบรมราชกุมารี ให้มีสถานสงเคราะห์สาหรับคนชราในภาคตะวันตก และสร้างเพื่ อถวายเป็ น พระราชกุศล แด่สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริ ณายก ในวโรกาสที่ ทรงพระเจริ ญ พระชันมายุครบ 84 พรรษา โดยกองทุนการกุศลสมเด็จย่าและการสนับสนุนงบประมาณทั้งจากภาครัฐและเอกชน ในการก่ อ สร้ า งสถานสงเคราะห์ ค นชรา และท าพิ ธีเ ปิ ดเมื่ อ วัน ที่ 19 มิ ถุ นายน พ.ศ. 2543 ซึ่ งปั จจุ บัน ชื่ อ ว่ า “สถานสงเคราะห์คนชราเฉลิมราชกุมารี ” สถานสงเคราะห์คนชราฯ มีเนื้อที่ท้ งั หมดประมาณ 110 ไร่ ปั จจุบนั ได้ก่อสร้างไปแล้ว 32 ไร่ เป็ น พื้นที่สาธารณประโยชน์และสานักสงฆ์ 13 ไร่ ตาหนักทรงงาน 12 ไร่ และปล่อยเป็ นพื้นที่รกร้าง 53 ไร่ สถาน สงเคราะห์คนชราฯ รองรับผูส้ ู งวัย เพศหญิงจานวน 100 คน ซึ่ งอยู่ในความดูแลขององค์การบริ หารส่ วนจังหวัด กาญจนบุรี เนื่ องจากสถานสงเคราะห์คนชราฯ มีการเสื่ อมโทรมตามกาลเวลา ทางองค์การบริ หารส่ วนจังหวัด กาญจนบุรี จึงมีโครงการปรับปรุ งอาคารภายในสถานสงเคราะห์คนชราฯ และมีแนวโน้มที่จะขยายอาคารเพิ่มเพื่อ รองรับผูส้ ู งวัยเพศชาย และปรับภูมิทศั น์สภาพแวดล้อมให้ร่มรื่ นน่ าอยู่ เหมาะแก่การพักผ่อนของผูส้ ู งวัย และ ปรับปรุ งส่ วนบริ เวณอาคารตาหนักทรงงานและภูมิทศั น์ให้น่าอยู่ยิ่งขึ้น จากเหตุผลความจาเป็ นดังกล่าว จึงได้เกิด โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมสถานสงเคราะห์คนชราเฉลิมราชกุมารี


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อให้การสงเคราะห์คนชรา ผูท้ ี่ประสบปัญหาความทุกข์ยาก ไม่มีที่อยูอ่ าศัย หรื อไม่ได้รับการดูแลจากครอบครัว ให้มีชีวิตความเป็ นอยูท่ ี่ดีข้ ึนทั้งร่ างกายและจิตใจ 4.1.2 เพื่อแบ่งเบาภาระของครอบครัวที่มีปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและการงานอาชีพ 4.1.3 เพื่อเป็ นศูนย์กลางในการจัดกิจกรรมต่างๆที่เป็ นประโยชน์ต่อผูส้ ูงวัย 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมในพื้นที่โครงการสถาน สงเคราะห์คนชรา 4.2.2 เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้พ้ืนที่ของผูส้ ูงวัย เพื่อใช้ในการออกแบบวางผังสถาน สงเคราะห์คนชราตามแนวคิดการออกแบบสถาปัตยกรรมและภูมิสถาปัตยกรรมที่ยงั่ ยืน 4.2.3 เพื่อเป็ นข้อมูลเบื้องต้นและเป็ นการเสนอทางเลือกในการปรับปรุ งและพัฒนา โครงการสถานสงเคราะห์ต่อองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกาญจนบุรี 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดยสังเขป ข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ สถานที่ ต้ งั โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมสถานสงเคราะห์คนชรา เฉลิมราชกุมารี (หลวงพ่อลาไยอุปถัมภ์) ตั้งอยูบ่ ริ เวณตาบลลาดหญ้า อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โรงการ เนื่องจากสถานสงเคราะห์คนชราเฉลิมราชกุมารี เป็ นโครงการสถานที่จริ งที่ อยู่ในความ ดูแลขององค์การบริ หารส่ วนจังหวัดกาญจนบุรี ที่มีโครงการจะปรับปรุ งอาคารและภูมิทศั น์ และมีแนวโน้มที่จะ ขยายพื้นที่โครงการเพื่อรองรับผูส้ ู งวัย เพศชายเพิ่มจากเดิมที่มีแต่เพศหญิง และมีโครงการปรับปรุ งบริ เวณตาหนัก ทรงงานเก่าที่เป็ นส่ วนหนึ่ งในโครงการสถานสงเคราะห์คนชราฯ โดยบริ เวณรอบพื้นที่โครงการทั้งหมดเป็ นพื้นที่ ธรรมชาติใกล้ภูเขา และมีบรรยากาศที่เงียบสงบ อากาศบริ สุทธิ์ เป็ นมิตรกับผูค้ น





คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว อรไท พิมสาร รหัส 5519103524 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.89 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังภู มิสถาปั ตยกรรมศู นย์การค้าชุ มชนโพธิ์ ร่ มรื่ น อาเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planing Projcet of The Phoromraun Community mall Pai, Mae Hong Son 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ อาเภอปาย เป็ นสถานที่ ท่องเที่ ยวที่ สาคัญแห่ งหนึ่ งของภาคเหนื อที่ มีค วามหลากหลายทางด้า น วัฒนธรรม งานศิ ลปะ และธรรมชาติ ที่โดดเด่ น สามารถดึ งดูดนักท่ องเที่ ย วทั้งชาวไทยและชาวต่ างชาติ เ ข้ามา ท่องเที่ยว ทั้งยังมีการบริ การขนส่ งที่รองรับนักท่องเที่ ยวที่ เดิ นทางสู่ อาเภอปายอย่างสะดวกสบายเช่ น รถโดยสาร ประจาทางสายเชี ยงใหม่-ปาย เชี ยงใหม่แม่ฮ่องสอนและสายการบิ นKan Airlines แต่ มีถนนทางหลวงชนบท หมายเลข 1095 เป็ นเส้นทางคมนาคมที่สาคัญเพื่อเข้าสู่ตวั อาเภอปายและอาเภอเมืองแม่ฮ่องสอน แนวคิ ด ของคุ ณ วีร ะชัย แสงทองอร่ าม ว่าอาเภอปายมี สินค้าจากชุ มชนที่ หลากหลายแต่ ยงั ขาด สถานที่ ซ้ื อ ขายสิ นค้า จากชุ มชน ทาให้เ กิ ดโครงการที่ จะพัฒ นาพื้ นที่ ให้เป็ นศูนย์การค้าชุ มชน เพื่ อเป็ นสถานที่ รองรับการซื้ อขายผลิตภัณฑ์จากชุมชน และพักผ่อนหย่อนใจของคนในชุมชนและนักท่องเที่ยวที่จะเข้ามาท่องเที่ยว ในอาเภอปายหรื ออาเภอเมืองแม่ฮ่องสอน จากเหตุผลและความจาเป็ นดังกล่าว จึงเกิดเป็ นโครงการศูนย์การค้าชุ มชนโพธิ์ ร่ มรื่ นที่ตอบสนอง ต่อแนวคิดของคุณ วีระชัย แสงทองอร่ าม เพื่อเป็ นศูนย์การค้าชุมชนที่ ดึงดูดและรองรับนักท่องเที่ยวอีกทั้งยังช่ วย ส่ งเสริ มเศรษฐกิจของคนในชุมชนให้มีรายได้เพิ่มมากขึ้น และเป็ นการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยัง่ ยืน


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาศูนย์การค้าชุมชนโพธิ์ ร่ มรื่ น ให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยว แหล่งเลือกซื้ อของ ฝากและเป็ นที่พกั ผ่อนหย่อนใจสาหรับนักท่องเที่ยวและคนชุมชน 4.1.2 เพื่ อพัฒนาพื้ นที่ ให้เป็ นพื้นที่ รองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิ จของอาเภอปายใน อนาคต 4.1.3 เพื่อส่ งเสริ มเศรษฐกิจในท้องถิ่น และเป็ นแหล่งพัฒนารายได้ให้กบั ชุ มชนและให้ คนในชุมชนมีรายได้เพิ่มมากขึ้นมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ ึนและเป็ นการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนอย่างยัง่ ยืน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมโครงการศูนย์การค้า ประเภทศูนย์การค้าชุมชน (Community Mall) และพื้นที่นนั ทนาการ 4.2.2 เพื่อศึ กษาและวิเคราะห์พ้ืนที่ โครงการเพื่อหาแนวทางการออกแบบวางผังให้เกิ ด ประโยชน์ต่อการใช้สอย และเหมาะสมต่อความต้องการของพื้นที่ใช้โครงการและสภาพแวดล้อม 5. สถานที่ ต้ งั ของโครงการและเหตุ ผลในการเลื อกที่ ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์การค้าชุ มชนโพธิ์ ร่ มรื่ น ตั้งอยู่ในเขต พื้นที่หมู่บา้ นเวียงใต้ ตาบลเวียงใต้ อาเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีพ้ืนที่ประมาณ 62 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 สภาพแวดล้อมของพื้ นที่ โครงการตั้งอยู่ในเขตตาบลเวียงใต้ มี ลกั ษณะของพื้นที่ เป็ นที่ราบ และอยูใ่ กล้กบั ชุมชุน แหล่งท่องเที่ยวและที่พกั 5.2.2 พื้ นที่ โ ครงการ ตั้งอยู่ที่ ถนนทางหลวงชนบทหมายเลข 1095 ซึ่ งเป็ นพื้ นที่ ของ เอกชนตั้งอยูร่ ิ มทางหลวงหมายเลข 1095 ซึ่ งมีความเหมาะสมในการสร้างให้เป็ นพื้นที่ศูนย์การค้าชุมชนและแหล่ง ท่องเที่ยวแห่งใหม่ที่โดดเด่น สอดคล้องกับความต้องการของคนในชุมชน 5.2.3 การคมนาคมที่ สะดวก สามารถเข้าถึงพื้นที่ โครงการได้อย่างสะดวก โดยทางเข้า โครงการติดกับถนนทางหลวงชนบทหมายเลข1095 ซึ่ งสามารถเชื่ อมโยงไปยังตัวจังหวัดแม่ฮ่องสอน และเข้าสู่ ตวั เมืองปายได้อย่างสะดวก 5.2.4 เป็ นพื้ นที่ โครงการที่ สามารถทาได้จริ งจากการตรวจสอบข้อกฎหมายและความ เป็ นไปได้


โครงการอออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์การค้าชุมชนโพธิ์ ร่ มรื่ น ตาบลเวียง ใต้ อาเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน ภาพที่ 1 แผนผังแสดงภาพถ่ายทางอากาศ โครงการศูนย์การค้าชุมชนโพธิ์ ร่ มรื่ น

มาตราส่ วน

ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศดัดแปลงมาจาก www.google.co.th/maps

Not.to scale

สัญลักษณ์ :

พื้นที่โครงการทั้งหมด 82 ไร่

6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์การค้าชุมชนโพธิ์ ร่ มรื่ น ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ ตาบลเวียงใต้ อาเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่อื่นๆดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับ สถานีตารวจอาเภอปาย ทิศใต้ ติดกับ ริ เวอร์รี่ สยาม รี สอร์ท (Reverie Siam Resort) ทิศตะวันออก ติดกับ ทางหลวงชนบทหมายเลข 1095 ทิศตะวันตก ติดกับ แม่น้ าปาย โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) 1

……….../………./………..



คําร้ องเสนอหัวข้อวิทยานิพนธ์ ปริญญาภูมสิ ถาปัตยกรรมศาสตร์ บัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิงแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ นาย อั ษ ฎาวุ ธ ทวี กุ ล รหั ส 5519103525นั ก ศึ ก ษาชั นปี ที 4 สาขาวิ ช าภู มิ ส ถาปั ต ยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ งแวดล้อมศึกษามาแล้วจํานวน 7 ภาคการศึ กษา จํานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลียจนถึงขนาดนีได้เท่ากับ 2.31 มีความประสงค์จะขอทําวิทยานิ พนธ์ ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี 1. หัวข้อ เรื อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผัง ปรั บปรุ ง ภูมิส ถาปั ตยกรรมสนามแข่ งเมื อ งวะ โมโตครอส ตําบลเมืองเล็น อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Design and Improvement Project of Mueangwa Motocross, Muanglen, Sansai, Chiangmai. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ การแข่งรถมอเตอร์ ไซค์เป็ นกี ฬาเฉพาะทาง จึงต้องออกแบบสนามสําหรั บการแข่งโดยเฉพาะ และเนืองจากเป็ นกีฬาทีใช้ความเร็ วในการแข่งขันจึงต้องคํานึงถึงหลายๆเรื อง โดยเฉพาะมาตรฐานความปลอดภัย ของสนามแข่งรถมอเตอร์ ไซค์ปัจจุบนั ประเทศไทยมีสนามแข่งรถทีมีมาตรฐานในประเทศเพียง 5 ที ในภาคเหนื อมี ทีลําปางแห่งเดียวทีได้รับการออกแบบตามมาตรฐานของ (CIK-FIA) สหพันธ์รถคาร์ ทนานาชาติ ภายใต้การรับรอง ของสหพันธ์ยานยนต์นานาชาติ (FIA) สนามแข่ ง รถเมื อ งวะโมโตครอส บ้ า นเมื อ งเล็ น หมู่ 1 ตํา บลเมื อ งเล็ น อํา เภอสั น ทราย จังหวัดเชียงใหม่ เป็ นสนามแข่งรถโมโตครอสเดิมทีสามารถรองรับการแข่งในระดับประเทศได้ สนามมีการจัดการ แข่งขันทุ กเดือน โดยมีรถเข้าร่ วมแข่งขัน 20-30 คัน ต่อรุ่ น ของการแข่ง และมีผูเ้ ข้า ชมหลายพันคน ในปั จจุบนั สนามแข่ง รถโมโตครอสเมื องวะยังไม่ไ ด้รับรองมาตรฐานจาก CIK-FIA ดังนันมีความจํา เป็ นเป็ นอย่า งยิ ง ที สนามแข่งรถเมืองวะต้องทําการออกแบบและปรับปรุ งใหม่ให้เป็ นไปตามมาตรฐาน และปลอดภัยสําหรั บนักแข่ง จึ ง เกิ ดเป็ นโครงการออกแบบวางผัง ปรั บ ปรุ งภู มิ ส ถาปั ตยกรรมสนามแข่ ง รถเมื อ งวะโมโตครอส เพื อเป็ น สนามแข่งรถโมโตครอสทีได้มาตรฐานระดับประเทศของจังหวัดเชียงใหม่


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพือออกแบบวางผังปรั บปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมสนามแข่งรถโมโตครอสให้ได้ มาตรฐาน CIK-FIA 4.1.2 เพือยกระดับมาตรฐานการแข่งรถโมโตครอสในประเทศไทยไปสู่ ระดับสากล 4.1.3 เพือส่ งเสริ มให้เยาวชนมีพืนทีทํากิจกรรมนันทนาการ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพือศึกษาการวางผังบริ เวณสนามแข่งรถโมโตครอสให้ได้มาตรฐาน CIK-FIA 4.2.2 เพือศึกษาศักยภาพของพืนทีและแนวทางการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม 4.2.3 เพือศึ กษาพฤติกรรมและความต้องการของกลุ่มผูใ้ ช้สําหรั บโครงการประเภท สนามแข่งรถโมโตครอส 5. สถานทีตังของโครงการและเหตุผลในการเลือกทีตังโครงการ (แสดงแผนผังทีตังโครงการโดย สังเขป ข้างล่างนีพร้ อมแนบแผนผังโครงการทีชัดเจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคําร้ อง) 5.1 สถานทีโครงการ ตังอยู่ ณ สนามแข่งรถเมืองวะบ้านเมืองเล็นหมู่1ตําบลเมืองเล็นอําเภอสัน ทราย จังหวัดเชียงใหม่ มีเนือทีประมาณ 71 ไร่ 75 ตารางวา 5.2 เหตุผลในการเลือกทีตังโครงการ 5.2.1 เนืองจากเป็ นพืนทีสนามแข่งรถเดิมทีมีอยู่แล้ว 5.2.2 เนืองจากเป็ นพืนที ทีเข้าถึงได้ง่าย 5.2.3 เนืองจากเป็ นสนามแข่งรถทีไม่ได้มาตรฐานและไม่ปลอดภัยจึงนํามาออกแบบวาง ผังปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมและฝึ กทักษะการขับรถ


โครงการออกแบบวางผังปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมสนามแข่งเมืองวะโมโตครอส ตําบลเมืองเล็น อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ แผนที 1 แผนทีตังโครงการระดับตําบล ทีมา www.google earth .com สัญลักษณ์ ขอบเขตโครงการ




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ ง แวดล้ อม มหำวิทยำลั ยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นายอาณัติ สินธุพิจารณ์ รหัส 5519103526 นักศึก ษาชั้น ปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภู มิสถาปั ต ยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ว ยก ติ สะสม 130 หน่วยกติ คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เ ท่าก ับ 3.11 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี ร ายละเอี ย ด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย ) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ จังหวัดกาญจนบุรี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning Project Of Kanchanaburi History Museum 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดกาญจนบุรีเ ป็ นเมืองที่อยูท่ างภาคตะวันตกของประเทศไทย มีเ รื่ องราวและประวัติศ าสตร์ ความเป็ นมาแบ่งเป็ นยุคสมัยต่างๆดังนี้ ยุคก ่อนประวัติศาสตร์ ที่ มีห ลัก ฐานบ่ง ชี้ คื อ โครงกระดู ก มนุ ษ ย์ พ ร้ อ มทั้ง เครื่ องปั้ นดินเผาในสมัยโบราณ ที่ตาบลบ้านเก ่า อาเภอเมือง ยุคสมัยที่ขอมเรื องอานาจที่มีหลักฐานเป็ น ปราสาท หินศิลาแลงรู ปแบบเดียวก ับปราสาทหินทางภาคตะวันออกของไทย คื อ ปราสาทเมื อ งสิ ง ห์ ตั้ง อยู ่ ที่ ต าบลสิ ง ห์ อาเภอไทรโยค ยุคสมัยสงครามระหว่างไทยก ับพม่าโดยมีหลักฐานคือ ด่านเจดีย์สามองค์ที่เ ปรี ย บเ สมื อ นเป็ นเมื อ ง หน้าด่านตั้งรับก ับพม่าในสมัยก ่อน ตั้งอยูท่ ี่ชายแดนอาเภอสังขละ ยุคสมัยสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้า อยู ่ห ัว รั ช กาลที่ 3 ที่มีการสร้างกาแพงเมืองและประตูเมืองขึ้น ยุคสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งเป็ นอีกเมืองหนึ่งที่ โ ดดเด่น มากใน ยุคสมัยนี้เ พราะว่าเปรี ยบเสมือนเป็ นเมืองทางผ่านของญี่ปนุ่ เพื่ อ จะไปยัง ประเทศพม่า โดยมี ห ลัก ฐานมากมาย ปรากฎอยู ่ เช่น ทางรถไฟสายมรณะ สะพานข้ามแม่น้ าแคว สุสานทหารสัมพันธมิต ร เป็ นต้น ซึ่ ง เรื่ อ งราวและ หลักฐานต่างๆเหล่านี้ลว้ นมีความน่าสนใจ เหมาะสาหรับการศึกษาเรี ยนรู ้และตระหนักถึงรากเหง้ า ของความเป็ น จังหวัดกาญจนบุรี ปั จจุบนั จังหวัดกาญจนบุรีมีพิพิ ธภัณ ฑ์ ป ระวัติ ศ าสตร์ ในด้า นต่า งๆอยู ่ท้ งั หมด 6 แห่ง เป็ น พิพิธภัณฑ์แสดงศิลปะวัฒนธรรมของจังหวัดอยู ่ 1 แห่ง คือ ศู น ย์ ว ัฒนธรรมจัง หวัด กาญจนบุ รี เป็ นพิ พิ ธภัณ ฑ์ แสดงหลักฐานสมัยก ่อนประวัติศาสตร์ อยู ่ 1 แห่ง คือ พิพิธภัณฑสถานแห่ง ชาติ บ ้า นเก า่ และเป็ นพิ พิ ธภัณ ฑ์ ที่ แสดงเรื่ องราวและหลักฐานสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 อยูท่ ้งั หมด 4 แห่งด้วยก ัน คือ 1. ช่องเขาขาดพิพิธภัณ ฑสถาน


แห่งความทรงจา 2. พิพิธภัณฑ์ทางรถไฟไทย-พม่า 3. พิพิธภัณฑ์สงครามอักษะและเชลยศึ ก และ4. หอศิ ล ป์ และ พิพิธภัณฑ์สงครามโลกครั้งที่ 2 โดยพิพิธภัณฑ์ท้งั หมดที่กล่าวมานั้นได้ต้งั อยูต่ ามจุ ด ต่า งๆทั่ว ทั้ง จัง หวัด ต้อ งเป็ น ผู ส้ นใจจริ งๆถึงจะเดินทางไปเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ตา่ งๆได้ครบถ้วน ไม่มีพิพิธภัณฑ์ส่ว นกลางที่ เ ก บ็ รวบรวมข้อ มู ล และหลักฐานด้านต่างๆทั้งหมดของจังหวัดไว้ ณ จุดเดียว จึงได้จดั ตั้งโครงการพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ ข้ ึ น โดยจะ ใช้พื้นที่สว่ นของโรงงานกระดาษจังหวัดกาญจนบุรีที่มีโครงการจะจัดตั้งพิพิธภัณฑ์อยูแ่ ล้ว ในอนาคตมาเป็ นพื้ น ที่ ดาเนินการโครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ จงั หวัดกาญจนบุรี โรงงานกระดาษจังหวัดกาญจนบุรี เป็ นโรงพิมพ์กระดาษแห่งแรกของประเทศไทยถู ก สร้ า งขึ้ น ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 มีสถาปั ตยกรรมรู ปแบบของโรงงานในยุคสมัยนั้นที่โ ดนเด่น ตั้ง อยู ่ที่ ต าบลบ้า นใต้ อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เนื้ อ ที่ ท้ งั หมดประมาณ 69 ไร่ 2 งาน 34 ตารางวา อยู ่บ ริ เ วณใจกลางเมื อ ง กาญจนบุ รี ติ ด ก บั ถนนแ สงชูโ ตสายหลั ก ที่ วิ่ ง ในตัว เมื อ ง และแม่น้ า แ ม่ก ลอง โดยร อบของพื้ น ที่ เ ป็ น สถาบันการศึกษา ศูนย์ราชการ และชุมชนเก ่า และในอนาคตทางกรมธนารักษ์ กรมศิลปากร จัง หวัด กาญจนบุ รี และบริ ษทั อุตสาหกรรมกระดาษศิริศกั ดิ์ จาก ัด มีโครงการพัฒนาพื้นที่น้ เี ป็ นเป็ นพิพิ ธภัณ ฑ์ แ ละพื้ น ที่ สาธารณะ ภายใต้โครงการพัฒนาที่ราชพัสดุตามแนวเศรษฐกจิ สร้างสรรค์แปลงโรงงานกระดาษ จังหวัดกาญจนบุ รี บนที่ ดิ น ราชพัสดุแปลงหมายเลขทะเบียน กจ. 194 (แปลงโรงงานกระดาษ) ตามนโยบายของนายก ติ ติ รั ต น์ ณ ระนอง รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง ที่จะพัฒนาที่ราชพัสดุให้เ กดิ ประโยชน์ สูง สุ ด ทั้ง ด้า นสัง คม สิ่ ง แวดล้อ ม และ เศรษฐกจิ ดังนั้นโครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ จงั หวัดกาญจนบุ รี จึงเป็ นแหล่งรวบรวมประวัติศาสตร์ ความเป็ นมาของจัง หวัด ประวัติ แ ละพัฒนาการของโรงงานกระดาษ ใน รู ปแบบทั้งภายในและภายนอกอาคาร รวมไปถึงจะเป็ นพื้นที่สาธารณะโดยรอบพิ พิ ธภัณ ฑ์ เ พื่ อ ด าเนิ น การตาม แนวทางพัฒนาพื้นที่ตามแนวทางเศรษฐกจิ สร้างสรรค์ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นศูนย์กลางของพิพิธภัณฑ์และแหล่งท่องเที่ยวเชิงการเรี ยนรู ้ประวัติศาสตร์ ระดับจังหวัด 4.1.2 เพื่อปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมให้ชว่ ยส่งเสริ มบรรยากาศและสุนทรี ยภาพให้สอด คล้องก ับพื้นที่พิพิธภัณฑ์ 4.1.3 เพื่อเป็ นพื้นที่สาธารณะสาหรับพักผ่อนของคนในชุมชนและผู ท้ ี่มาเยี่ยมชม 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปั ญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์ และโบราณคดีที่นา่ สนใจของกาญจนบุรี 4.2.2 เพื่อศึกษาแนวทางการขัน้ ตอนออกแบบวางผังและปรับปรุ งพื้นที่โรงงานกระดาษ ให้เ ป็ นพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ และพื้นที่สาธารณะให้คนในชุมชนและผู ท้ ี่มาเยี่ยมชม 4.2.3 เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการใช้สอยพื้นที่ทง้ ั ในโครงการและพื้นที่โดยรอบ รวมไปถึงกลุม่ ผู ใ้ ช้งาน


5. สถานที่ต้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั 5.1 สถานที่ต้งั ของโครงการ โครงการตั้งอยูท่ ี่ตาบลบ้านใต้ อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี ติดก ับถนนแสงชูโตหรื อถนนทาง หลวงแผ่นดินหมายเลข 323







Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.