รวมหัวข้อวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม พ.ศ. 2561

Page 1

รวมหัวข้อวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม

๒๕๖๑



รวมหัวข้อวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม พ.ศ. ๒๕๖๑ เห็นชอบโดย คณะกรรมการประจาหลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรม

รวบรวมโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้



รายชื่อหัวข้อวิทยานิพนธ์และคณะกรรมการวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม พ.ศ. 2561 ลำดับ ที่

รหัส

ชื่อ-สกุล

ประเภท

ชื่อโครงการ

กลุ่ม 1 1

5619102532 พีระศิลป์ ใจโต

พิพิธภัณฑ์

2

5719102515 พิชญนันท์ ชื่นอำมย์

ชุมชนเมือง

3

5719102518 พุทธิดำ กริมทุม

แหล่งท่องเที่ยวทำง ธรรมชำติ

4

5719102502 กำนติมำ นำมกระโทก

เมืองประวัติศำสตร์

5

5719102513 พงษ์พินิจ ลิมำลัย

6

5719102522 ภัทรียำ ตำลผำด

7

5719102527 อภิวัฒน์ กันนุลำ

พิพิธภัณฑ์ศลิ ปะเชียงใหม่ อ. สันกำแพง จ. เชียงใหม่ ย่ำนพำณิชยกรรม นครรังสิต เพื่อรองรับกำร พัฒนำทำงด้ำนกำรขนส่ง ปทุมธำนี ศูนย์ส่งเสริมกำรศึกษำและพัฒนำทรัพยำกร ป่ำชำยเลนที่ 2 (สมุทรสำคร) อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสำคร

กลุ่ม 2 พื้นที่โครงข่ำยแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และประวัติศำสตร์ย่ำนเมืองเก่ำจังหวัด เชียงใหม่ รีสอร์ท วำยด์บีทแคมป์และแอดเวนเจอร์ เชียงใหม่ อ. จอมทอง จ.เชียงใหม่ ศูนย์เรียนรู้เชิงวิทยำศำสตร์ ศูนย์กำรเรียนรูด้ ้ำนพลังงำนสิ่งแวดล้อมและ นันทนำกำร เพื่อฟื้นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษำ อ.เมืองสมุทรปรำกำร จ.สมุทรปรำกำร กีฬำ ศูนย์กีฬำบุรีรมั ย์เอ็กซ์ตรีม อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรมั ย์

กลุ่ม 3 8

5719102504 จิรำพร ศรเพลิง

สวนสำธำรณะ

9

5719102506 ชุติมำส จรัสวิชญ์

ชุมชนเมือง

10

5719102524 ศุพรรษำ คำหล้ำทรำย

11

5719102525 สุนันทำ ทับเพ็ชร

แหล่งท่องเที่ยวทำง ธรรมชำติ ศูนย์เรียนรู้เชิงเกษตร

สวนสำธำรณะกะรน-คลองบำงลำเพื่อเป็น อนุสรณ์สถำนสึนำมิ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต พื้นที่ริมน้ำโขงเมืองเชียงของเพื่อรองรับเขต เศรษฐกิจพิเศษ อำเภอเชียงของ จังหวัด เชียงรำย แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ำทะเลสำบ เชียงแสน อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรำย ศูนย์กำรเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ทฤษฎีใหม่หนองบึงมูล อำเภอกงไกรลำศ จังหวัดสุโขทัย


กลุ่ม 4 12

5719102505

เจตริน อวดผล

คมนำคม ขนส่งโดยสำร

บริเวณสถำนีรถไฟนครลำปำงและชุมชนรถไฟ นครลำปำง อำเภอเมือง จังหวัดลำปำง ชุมชนเมือง พื้นที่สำธำรณะเพื่อกำรเรียนรู้ทำงวัฒนธรรม พื้นถิ่น อำเภอเมือง จังหวัดตำก ศูนย์เรียนรู้เชิงวิทยำศำสตร์ แหล่งเรียนรู้พลังงำนศูนย์พัฒนำปิโตเลียม ภำคเหนือ กรมกำรพลังงำนทหำร อำเภอฝำง จังหวัดเชียงใหม่

13

5719102521

ภัทรพล บุญสำ

14

5719102526

สุรเสกข์ ธนโชดก

15

5719102508

ฐิติภรณ์ วงศ์วัฒนำ

แหล่งท่องเที่ยวทำง ธรรมชำติ

16

5719102509

ไอชวริยำ อ้ำยชุม

พิพิธภัณฑ์

17

5719102511

ณัฐพร อยู่สุข

สวนสำธำรณะ

18

5719102512

นฤนันท์ ตั้งใจพิทักษ์

คมนำคม ขนส่งโดยสำร

19

5719102514

พนมกร สันแดง

เมืองประวัติศำสตร์

20

5719102519

แพรววนิต นะเสือ

รีสอร์ท

21

5719102520

ฟ้ำลิขิต ศรีทองเอี่ยม ศูนย์เรียนรู้เชิงเกษตร

22

5719102516

23

5719102517

พิมลวรรณ กำศวิเศษ ศูนย์เรียนรู้เชิง ศิลปวัฒนธรรม พุฒธิพร ไชยบุตร สวนสำธำรณะ

24

5719102523

25

5719102528

กลุ่ม 5 ศูนย์บริกำรนักท่องเที่ยว หน่วยพิทักษ์อุทยำน แห่งชำติแม่ปิง โซนที่ 2 (แก่งก้อ) อ.ลี้ จ. ลำพูน พิพิธภัณฑ์ขนมไทยเมืองละโว้ อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี สวนสำธำรณะสิริจิตอุทยำน และเกำะกลำง แม่น้ำปิง อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร ท่ำเรือด่วนและพื้นที่ชุมชนบริเวณโดยรอบริม ฝั่งแม่น้ำเจ้ำพระยำ จังหวัดนนทบุรี

กลุ่ม 6 เส้นทำงท่องเที่ยวเชิงประวัติศำสตร์ในพื้นที่ อุทยำนประวัติศำสตร์กำแพงเพชร ส่วนที่ 2 อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร สถำนพักตำกอำกำศ เดอะ เรด อีเดน รีสอร์ท แอนด์สปำและกำรท่องเที่ยวเชิงเกษตร อ.พบ พระ จ.ตำก ศูนย์พัฒนำและวิจยั เกษตรหลวงปำงดะ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่

กลุ่ม 7

วีรวิชญ์ พรพงศ์ศุภ สิน อิศรำ ศรีทรำนนท์

ศูนย์พัฒนำกำรท่องเที่ยวทำงศิลปะวิทยำกำร อำเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ สวนสำธำรณะสะพำนหิน อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต ชุมชนเมือง พื้นที่ผสมผสำน ย่ำน กม.11 เขตจตุจักร จังหวัดกรุงเทพมหำนคร ศูนย์เรียนรู้เชิงวิทยำศำสตร์ ศูนย์ศึกษำวิจัยและพัฒนำสิ่งแวดล้อมแหลม ผักเบี้ย อันเนื่องมำจำกพระรำชดำริ อำเภอ บ้ำนแหลม จังหวัดเพชรบุรี


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย พี ระศิ ลป์ ใจโต รหัส 5619102532นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึกษามาแล้วจานวน 4 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิตสะสม 148 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.67 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม พิพิธภัณฑ์ศิลปะเชี ยงใหม่ อ. สันกาแพง จ. เชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ)The Landscape Architectural Design and Planning Project Chiangmai Art Museum,Sankamphaeng ,Chiang Mai. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ อาเภอสั นกาแพงมี ค วามเจริ ญ เติ บ โตอย่างรวดเร็ วมี การพัฒ นาทุ กๆด้านเป็ นอาเภอที่ มีแ หล่ ง ท่องเที่ยวมากมายโดยเฉพาะ การท่องเที่ยวทางด้านวัฒนธรรม ด้านศิลปะ และหัตถกรรม พิพิธภัณฑ์ศิลปะเชี ยงใหม่เป็ นพิพิธภัณฑ์ศิลปะเชิ ง Community ที่ มีศิลปิ นนักท่องเที่ยวเป็ นตัว ส่ งเสริ มทางด้านธุ รกิจ มีการหมุนเวียนของนิทรรศการศิลปะต่างๆตลอดทั้งปี เช่น การแสดงงานของศิลปิ น การจัด workshop และ งานประมูล โซนจัดแสดงงานศิ ลปะนานาชาติ และมีหมู่บา้ นศิ ลปิ นที่ รวบรวมศิ ลปิ นทุกด้านทุ ก ด้านทุกสาขา เช่น งานจิตรกรรม งานปั้ น งานพิมพ์ งานหล่อ เพื่อให้นกั ศึกษา นักเรี ยน และนักท่องเที่ยวได้เรี ยนรู ้ ด้านศิลปะ พิพิธภัณฑ์ศิลปะเชียงใหม่น้ นั จะเป็ นตัวส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ทางด้านศิลปะ พิพิธภัณฑ์ศิลปะเชี ยงใหม่น้ นั เป็ นโครงการของคุณ พรชัย ใจมา ซึ่ งเป็ นผูท้ ี่ ก่อตั้งโครงการ ใน ปั จจุบนั พื้ นที่ โครงการมี การสร้ างอาคารหอศิ ลปะขนาดเล็กหนึ่ งหลัง เพื่ อจัดแสดงและเก็บผลงานศิ ลปะแต่จาก โอกาสของอาเภอสันกาแพงที่มีแนวโน้มในการพัฒนาและเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ทาให้คุณ พรชัย ใจมา มีแนวคิดขยายธุ รกิ จจากกเดิมเพื่อรองรับการเติ บโต โดยการขยายแกลลอรี่ เดิมและ สร้างหมู่บา้ นศิลปิ นเพื่อให้เช่ า ในการผลิตผลงาน พื้นที่ให้เช่าเพื่อจัด workshopหรื อกิจกรรม และเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ แต่พ้ืนที่ส่วนใหญ่ยงั คงเป็ นทุ่ง นา และที่ ร กร้ างเป็ นส่ วนใหญ่ นอกจากนี้ ย งั มี ปั ญ หาในด้านการวางผัง และการจัด โซนกิ จกรรมต่ างๆที่ ย งั ไม่ สมบูรณ์ ทางเจ้าของโครงการจึ งมี แนวคิ ดที่ จะให้มีการปรับปรุ งการออกแบบการวางผังโครงการใหม่ โดยการ คานึงถึงความต้องการของศิลปิ น และกิจกรรมที่จะเกิดในแต่ละโซนที่สอดคล้องกับกลุ่มผูใ้ ช้งาน


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อให้เป็ นพื้นที่การเรี ยนรู ้ศิลปะ แบบจิตรกรรมไทย และจิตรกรรมร่ วมสมัย งาน ปั้น งานพิมพ์ งานหล่อ และการจัดนิทรรศการหมุนเวียน 4.1.3 เพื่อขยายธุรกิจให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 4.1.4 เพื่อสร้างหมู่บา้ นศิลปิ นและพื้นที่จดั กิจกรรมเกี่ยวกับศิลปะ 4.1.5 เพื่อให้เป็ นพื้นที่จดั แสดงงานศิลปะและจัดเก็บผลงาน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับศิลปะและศิลปิ น 4.2.2 ศึ กษาความเป็ นไปได้ของโครงการ ให้เหมาะแก่การลุงทุน ด้าน เศรษฐกิจ สังคม และอื่นๆ 5.สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ เลขที่ 159บ้านป่ าไผ่กลาง หมู่ 7 ซอย 8 ตาบล ร้องวัวแดง อาเภอ สันกาแพง เชี ยงใหม่ รหัสไปรษณี ย ์ 50130


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์ศิลปะเชียงใหม่ มาตราส่ วน แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth NOT TO SCALE สัญลักษณ์: ตาแหน่ง

พื้นที่โครงการ


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์ศิลปะเชียงใหม่ มาตราส่ วน แผนที่ 2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth NOT TO SCALE สัญลักษณ์:

ขอบเขตพื้นที่โครงการ ขอบเขตพื้นที่โครงการส่ วนขยาย ถนนหลวงหมายเลข 1006 สันกาแพง เชียงใหม่




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวกานติมา นามกระโทก รหัส 5719102502 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่วยกิ ต สะสม 136 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.27 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภู มิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรั บปรุ งภู มิส ถาปั ตยกรรมพื้ นที่ โ ครงข่ า ยแหล่ ง ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ยา่ นเมืองเก่าจังหวัดเชียงใหม่ อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Improvement Project of the cultural and historical Tounst Attraction Network within Chiang mai Ancient City 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ เมืองเชียงใหม่ ราชธานีของอาณาจักรล้านนาไทยมาตั้งแต่พระยามังรายได้ทรงสร้างขึ้น เมื่อ พ.ศ. 1839 และเมืองเชี ยงใหม่ได้มีวิวฒั นาการสื บเนื่ องกันมาในประวัติศาสตร์ ตลอดมา เชี ยงใหม่มีฐานะเป็ นนครหลวง อิสระ ปกครองโดยกษัตริ ยร์ าชวงศ์มงั ราย ประมาณ 261 ปี (ระหว่าง พ.ศ.1839-2100) ในปี พ.ศ.2101 เชี ยงใหม่ได้ เสี ยเอกราชให้แก่กษัตริ ยพ์ ม่าชื่ อบุเรงนอง และได้ตกอยู่ภายใต้การปกครองของพม่านานร่ วมสองร้อยปี จนถึงสมัย พระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสิ นมหาราช และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช ได้ทรงช่ วยเหลือ ล้านนาไทย ภายใต้การนาของพระยากาวิละและพระยาจ่าบ้านในการทาสงครามขับไล่พม่าออกไปจากเชี ยงใหม่ และเมืองเชียงแสนได้สาเร็ จ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกมหาราช สถาปนาพระยากาวิละเป็ นเจ้าเมือง เชียงใหม่ ในฐานะเมืองประเทศราชของกรุ งเทพมหานคร และมีเชื้อสายของพระยากาวิละ ซึ่ งเรี ยกว่า ตระกูลเจ้าเจ็ด ตน ปกครองเมื อ งเชี ย งใหม่ เมื องล าพู น และลาปางสื บ ต่ อ มา จนกระทั่งในรั ช สมัย ของพระบาทสมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ได้โปรดให้ปฏิ รูปการปกครอง หัวเมืองประเทศราช ได้ยกเลิกการมีเมืองประเทศราชใน ภาคเหนื อ จัดตั้งการปกครองแบบมณฑลเทศาภิ บาล เรี ยกว่า มณฑลพายัพ และเมื่อปี พ.ศ.2476 พระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ปรับปรุ งการปกครองเป็ นแบบจังหวัดเชียงใหม่ จึงมีฐานะเป็ นจังหวัดจนถึงปั จจุบนั เนื่ องด้วยเมื องเชี ยงใหม่เป็ นเมื องเก่าที่ มีความสาคัญด้านวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ ในเขต พื้นที่ เมืองเก่าซึ่ งเป็ นเมืองเดียวที่ ยงั หลงเหลือเอกลักษณ์ของความเป็ นล้านนา อีกทั้งยังมีมรดกทางศิลปวัฒนธรรม จานวนมากได้แก่ โบราณสถาน สถาปัตยกรรม และศิลปกรรมต่างๆ รวมถึงวัดวาอารามหลายแห่ง ยังใช้เป็ นสถานที่ พิธีสถานที่ประกอบพิธีกรรมและประเพณี อนั ดีงามอย่างต่อเนื่ องมาโดยตลอด ซึ่ งรู ้จกั กันดีในนามของ “วัฒนธรรม ล้านนา”ปัจจุบนั ในพื้นที่ยา่ นเมืองเก่ายังเป็ นพื้นที่สาหรับอยู่อาศัยและประกอบกิจกรรมประเภทต่างๆ เป็ นที่ต้ งั ของ สถานศึกษา สถาบันราชการ อีกทั้งยังเป็ นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ ที่สาคัญแห่ งหนึ่ งที่สามารถสร้างรายได้


ให้กบั ท้องถิ่นเป็ นจานวนมาก พื้นที่ ดงั กล่าวมีบทบาทสาคัญในการใช้สอยตามวิถีการดารงชี วิตในสังคมปั จจุบนั ของเชียงใหม่และคุณค่าด้านประวัติศาสตร์ของล้านนา ในปั จจุบนั เมืองเชี ยงใหม่ได้ถือว่าเมืองที่มีความสาคัญทางเศรษฐกิจและมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ ว มีการ พัฒ นาสร้ า งความเปลี่ ย นแปลงให้กับ ลัก ษณะทางกายภาพ สัง คมและวัฒ นธรรมของเมื อ ง ท าให้คุ ณ ค่ า ของ วัฒ นธรรมเดิ ม เกิ ด การสู ญ เสี ย สร้ า งความเสี ย หายกับ ลัก ษณะภู มิ ทัศ น์ เ มื อ งและหลัก ฐานทางโบราณสถาน โบราณคดี อันเก่าแก่ ซ่ ึ งก่ อให้เกิ ดผลกระทบต่อเอกลักษณ์ ของเมืองเก่าเชี ยงใหม่ โดยพื้ นที่ เมืองเก่าจัดเป็ นหัวใจ สาคัญด้านประวัติศาสตร์ที่มีโบราณสถานคูน้ า-คันดินที่สาคัญ ซึ่ งประกอบไปด้วยคุณค่าด้านสถาปั ตยกรรม คุณค่า ด้านวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งคุ ณค่ าด้านผังเมืองที่ เมืองเชี ยงใหม่ถือว่าเป็ นตัวแทนของเมืองที่ โดดเด่ นและ สะท้อนพัฒนาที่การของเมืองการสื บทอดมาจากอดีต การเข้ามาของสิ่ งใหม่ในพื้นที่ของการอนุรักษ์น้ นั จะต้องเป็ น การเข้าพัฒนาอย่างมีความหมาย มีคุณค่าในตัวเอง และไม่ไปทาลายคุณค่าของความเป็ นเมืองเก่ าที่ มีอยู่เดิ ม แต่ จะต้องเข้ามามีบทบาทที่จะช่วยเสริ ม และเพิ่มคุณค่าของเมืองเก่า เพื่อที่จะดารงคุณค่าความเป็ นมรดกทางวัฒนธรรม ที่สาคัญ พร้อมกับการใช้ ประโยชน์อย่างยัง่ ยืน และคงไว้ซ่ ึ งความหมายและเอกลักษณ์ของที่สาคัญเมืองต่อไป จากปั ญหาดังกล่าวจึงเล็งเห็นความสาคัญของการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่โครงข่าย แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ ย่านเมืองเก่าจังหวัดเชี ยงใหม่ และเป็ นแนวทางในการอนุรักษ์ทาง ประวัติศาสตร์ เพื่ อให้ย่านเมืองเก่ายังคงความเป็ นเอกลักษณ์ทางด้านวัฒนธรรมและด้านประวัติศาสตร์ เมืองที่ มี สภาพภูมิทศั น์ที่ร่มรื่ นเหมาะสมต่อการท่องเที่ ยว และสร้างความภูมิใจให้แก่คนในพื้นที่และสร้างความประทับใจ ให้กบั นักท่องเที่ยว สุ ดท้ายนี้ยงั เป็ นการใช้องค์ความรู ้ต่างๆเพื่อความเพลิดเพลิน ในการให้ความรู ้และสร้างจิตสานึ ก ในการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมที่มีความสาคัญทางประวัติศาสตร์ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเสนอแนวทางการปรับปรุ งออกแบบพื้นที่ โครงข่ายประวัติศาสตร์ ย่านเมือง เก่าจังหวัดเชียงใหม่ 4.1.2 เพื่อส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมย่านเมืองเก่า 4.1.3 เพื่ออนุ รักษ์มรดกทางวัฒนธรรมที่ สาคัญของย่านเมืองเก่าจังหวัดเชี ยงใหม่และ เอกลักษณ์ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวคิดจาก ICOMOS ด้านการพัฒนาภูมิสถาปัตยกรรมในพื้นที่มีคุณค่า ทางประวัติศาสตร์ 4.2.2 เพื่อศึกษาแนวคิดในการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่โครงข่ายประวัติศาสตร์ ย่านเมืองเก่าเพื่อเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 4.2.3 เพื่อศึกษาข้อมูลพฤติกรรมการใช้งานพื้นที่ของนักท่องเที่ยวและคนในชุมชน


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้ นที่ ต้ งั โครงการพื้ นที่ ประมาณ 3,160 ไร่ ประกอบไปด้ว ยพื้ นที่ ออกแบบมี ข นาด ประมาณ 1,660 ไร่ พื้นที่ศึกษาประมาณ 1,500 ไร่ พื้นที่โครงการตั้งอยูท่ ี่ อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่

โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่โครงข่ายแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและ ประวัติศาสตร์ยา่ นเมืองเก่าจังหวัดเชียงใหม่ อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 1 : ขอบเขตพื้นที่ประเทศไทย ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Map (สื บค้น ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2560) สัญลักษณ์ เส้นแบ่งเขตแดน

มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่โครงข่ายแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและ ประวัติศาสตร์ยา่ นเมืองเก่าจังหวัดเชียงใหม่ อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 2 : ขอบเขตพื้นที่จงั หวัดเชียงใหม่ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Map (สื บค้น ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2560) สัญลักษณ์ เส้นแบ่งเขตแดน

มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่โครงข่ายแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและ ประวัติศาสตร์ยา่ นเมืองเก่าจังหวัดเชียงใหม่ อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 3 : ขอบเขตพื้นที่อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Map (สื บค้น ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2560) สัญลักษณ์ เส้นแบ่งเขตแดน

มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่โครงข่ายแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและ ประวัติศาสตร์ยา่ นเมืองเก่าจังหวัดเชียงใหม่ อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 4 : ขอบเขตพื้นที่ยา่ นเมืองเก่าจังหวัดเชียงใหม่ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Map (สื บค้น ณ วันที่ 12 ธันวาคม 2560) สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ ขอบเขตพื้นที่ศึกษา มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


5.2 :ll興

1= 35α ol■ 1401niく ∩ 因 al■ 01=toofla∫ i01∩ ∩ =。

5.2.1イ ■デ糸 ln,1。 1,.lndl■ 011■ ■ 10uloltagit臨 ⅥrⅥ olni獅 =躙 16ttog iく lt39イ ON」 ,彫 ol何 910∩ 割 彫0''測 ∩1,01デ nutla彫

71,劉

■ηfl,(rO■ 1∩ allη ゞ::a彫 :10゛

:バ

1譜 oq」

=彫

∩1何 :剛 働ず■│

13J01:nl:γ ool精 脚 7ヽ .何 .2553a6■ 19=1。 100彰 0」 l場 √ デ:測 。1:∩ 1苺 1:自 .僕ゝ 毬lttnl=in讐 1脚 19o91■ 9瓢 ■うit脚 ・

5.2.2 1lllミ ゝ 熟1ln31測 ′1れヽ ηl191■ 」i彫 3991窟 9,tta彫 3(閣 ■■

=i測

:書

ll測 1%0く

毬α彫 。ttn3η 脚 'イ

∩ ゝ:301lИ J 5.2.3戯 覇亀 嶺」1.面 。(ぶ 11虜 0111」 らJttdaく 油 inlool■ lm彫 漁 ∩脚朝11孔 壼01

´ 。。:」 がJ.anl■ 1」 91o6誕 11■ ドЪデ轟∩]i脚 01∩ 閻aloコ 号ηⅥl■ イ■デ1∩

」,彫 oo■ 69flii膊 」,3ι ∩ηdlll

nl,共

√視ddnγ デuoJ。 1偽 И10

=・

%。 ヾ αol■ lflul希 olゞ 露11%nl,6∩ ま、まo:書 lltilldく l」 lli《ミ

哺oヾ iデ Jっ lnlく

」i彫 39何 lα 働 =

6.nt101J:鬱 匈剛0く イ■11。 υl ギ .デ 群く、∩

=ミ

」ig脚 1創 1,6601J偽 蒲 nul」 ,漁 1飢 ^

^ :lltt0 ηπ

輌何1群 m彫 3■

ooo

η9983■

7.lJ=,創 11∩

f11=√ 視曇」igお 1割

1,5001ゞ

i彫

00■ lllぼ っ。イ積麒 00。 ::bl11・ll税 19

亀 デ1∩ :。 nl,糸 0留 ηづlmO威 31縁 o(17J憔 ソ愉騰J¶ 17」

99n」

パ 。 9/ : 。 ノ 働ηua%1く :因 ontttn39 111a%lo3J00

69fib

nalu ぷllJaИ loool:a彫 911Jo%つ く

υ

99∩

0

91■

agll輿 oOttagmluQ%1く nal■

91ua窟 :η W

m9∩ 11

9n

3,1601i」

=測

m.9ギ α鋪 ギη剛町1伽 維 2556.イ £Onl,由 成

"誕

atη Ⅶ αЧη

(1■ 6η olCⅥ ■イ,彫 繭

何lα 幅 畿 鴻6働 .同 olly」 :脚 И16η Jl詢 ttJlイ

=inα

偶 守可η ∫ 窟01」 働J―

.

%.''潟 llun■ 1測 :守 Onllnl,璃 瓢■lη lく nl」 nlⅦ 劉oヾ t£ oo:守 oく lИ 」''lllバ 11:釧 く:101

1lo(lllJ.:10ご

lく

‖」.OⅥ 説ll働 ,01in測 (脚 .」 .」

OI li■ 719,Ⅶ .9.η .2548.」

=彫

裕 γ測%■ lⅥ :膏 Oく :]JilИ 」.厨 oolИ 」1■ 割季 nl=デ 脚(

認 uυ ll■ イoNa窟 1,α ■動 αQOglα 謂 httpプ /gis.chiangmai.go.th(12■

ギw怖

麗 011ν 」

[賀 りueellla百 ].:t14ぎ

■31∩ 測 2560)

190イ 1■ :イ n3■ 619彫 」 曇f6口 ]脚 И∫∩1l o彫 写161:Q視 ol■ lη o,07、 αol19む ∩

"鰤

S。 60■

lα 翰義 ぬ gn3,00o:閲

Qれ 1

u蜃 ミin9論 脚 誕716η Jη 前 彙Jl畿 n」

=彫

01=

測n:鷲 01」 =9111,創 101測 m

く 感 ら ①…″ ぃ

.…

ゅら

脚1■ n3JO,31η (uni01100ゝ § /.´ 夕 9.… ….:1.… …/.11':… …

∩ )

■ J劉

o19割



คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์ บัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว จิราพร ศรเพลิง รหัส 5719102504 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 8 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.89 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิ สถาปั ตยกรรม สวนสาธารณะกะรนคลองบางลาเพื่อเป็ นอนุสรณ์สถานสึ นามิ ตาบลกะรน อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Improvement Project of the Karon Park-Bangla Canal for Tsunami Memoria. Karon, Muang, Phuket. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จัง หวัด ภู เ ก็ ต เป็ นจัง หวัด ที่ มี ชื่ อ เสี ย งด้า นอุ ต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ย วของประเทศไทย มี ทรัพยากรธรรมชาติและแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงาม ดึงดูดนักท่องเที่ยวให้มาเยีย่ มชมปี ละกว่า 10 ล้านคน โดยมีแหล่ง ท่องเที่ยวที่เป็ นที่นิยมมากที่สุด ก็คือหาดทรายต่างๆ กว่า 10 หาดทราย ทั้งยังเป็ นพื้นที่นนั ทนาการ ทารายได้ให้คน ในพื้นที่ หาดที่เป็ นที่นิยมมากคือหาดกะรน เป็ นหาดที่ยาวที่สุดในจังหวัดภูเก็ต มีทรายขาวสะอาดเม็ดทรายละเอียด เป็ นลักษณะเด่น ทิวทัศน์ที่สวยงามของเนินทรายเหนือชายหาด มีฉากหลังเป็ นทิวสนทะเล และต้นตาลขึ้นเรี ยงราย อยูท่ วั่ ไป จึงเป็ นแหล่งดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้ามาสัมผัสกับธรรมชาติ ย้อนกลับไปเมื่ อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ.2547 เกิ ดภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ ครั้ งร้ ายแรงที่ สุดใน ประวัติศาสตร์ หนึ่ งในสถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความเสี ยหายหนักมากที่สุด คือ หาดกะรน ส่ งผลต่อชี วิต สภาพ จิตใจประชาชนในท้องถิ่นและนักท่องเที่ยงต่างชาติเป็ นจานวนมาก คลื่นยักษ์สึนามิทาให้มีผเู ้ สี ยชีวิต บาดเจ็บ และ สู ญหายเป็ นจานวนมาก ผูป้ ระสบภัยเกิดอาการหวาดผวา หลายคนสู ญเสี ยคนใกล้ชิด ญาติพี่นอ้ ง ไม่มีที่อยูอ่ าศัยการ ประกอบอาชี พต้องหยุดชะงัก สภาพจิ ตใจของผูท้ ี่ ได้รับผลกระทบโดยตรงอยู่ในภาวะที่เสี่ ยงต่อการเกิ ดปั ญหา ทางด้านสุ ขภาพจิต และผลต่อระบบนิเวศ แนวปะการังที่เคยสวยงามดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยว บางส่ วนถูก คลื่ นซัดแตกหัก ทาให้สถานที่ ที่เคยเป็ นแหล่ งท่ องเที่ ยวลดลง ก่ อให้เกิ ดความสู ญเสี ยทางด้านเศรษฐกิ จอย่าง มหาศาล ประชาชนในท้องถิ่นและนักท่องเที่ยวหวาดหวัน่ ในความปลอดภัย และยังส่ งผลกระทบต่ออาชีพ ที่ทามา หากิน และที่อยูอ่ าศัยของประชาชน เนื่องจากบริ เวณที่เกิดรอยเลื่อนหัวเกาะสุ มาตราส่ งผลให้เกิดแผ่นดินไหวเป็ นปั ญหาของการเกิด ภัยพิบตั ิสึนามิ มีผลกระทบโดยตรงกับหาดกะรน ซึ่ งตั้งอยูบ่ ริ เวณทิศตะวันตกของเกาะภูเก็ต หาดกะรนมีลกั ษณะ


พื้นที่โล่งกว้าง มีชายหาดที่ยาว การเข้าถึงของภัยพิบตั ิเลยมีผลกระทบรุ นแรง มีความเสี ยหายต่อทรัพย์สิน และชีวิต ของประชาชนเป็ นจานวนมาก เพราะประชาชนขาดความรู ้ ความเข้าใจในการป้ องกัน ปั จจุบนั มีการเปลี่ยนแปลง ของแนวชายหาด โดยบางส่ วนถดถอยเข้ามาในบริ เวณชายฝั่ง เนื่องจาก การกัดเซาะของพลังคลื่น ในอนาคตมีความ เสี่ ยงที่จะเกิดภัยพิบตั ิได้อีกครั้ง จึงควรมีแนวทางในการลดผลกระทบ เพื่อให้ประชาชนรู ้ทนั เหตุการณ์ ซึ่ งโครงการ นี้ ยงั สอดคลองกับแผนพัฒนาสามปี ของเทศบาลตาบลกะรน (พ.ศ. 2558-2560) ในด้านการสร้ างความมัน่ คงของ ฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม การสนับสนุนการมีส่วนร่ วมของชุมชน เพื่อสร้างภูมิคุม้ กันในการรองรับ ผลกระทบจากการเปลี่ ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ เพื่อเป็ นพื้นที่สาธารณะเพื่อสุ ขภาพ แหล่งให้ความรู ้ บริ การด้านภัยพิบตั ิและย่านเศรษฐกิจขนาดใหญ่ที่สาคัญของจังหวัดภูเก็ต 4.วัตถุประสงค์ 4.1วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นพื้นที่อนุสรณ์สถานให้ประชาชนราลึกถึงความสู ญเสี ย 4.1.2 เพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้และแนวทางการป้องกันเกี่ยวกับภัยพิบตั ิสึนามิ 4.1.3 เพื่ อ เป็ นพื้ น ที่ ส าธารณะประโยชน์ ส าหรั บ ประชาชนในต าบลกะรนและ นักท่องเที่ยว 4.1.4 เพื่อสร้ างงาน เพิ่มรายได้ ตอบสนองนโยบายของภาครั ฐ ในการส่ งเสริ มเพื่อ ยกระดับคุณภาพด้านสุ ขภาพ การเป็ นอยูท่ ี่ดีให้กบั ชุมชน และส่ งเสริ มธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องของจังหวัดภูเก็ต 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อ ศึ ก ษากระบวนการออกแบบภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมพื้ น ที่ ส าธารณะประเภท อนุสรณ์สถาน 4.2.2 เพื่อศึกษาการออกแบบวางผังเพื่อลดผลกระทบทางภัยพิบตั ิสึนามิ 4.2.3 เพื่อศึกษาการออกแบบการใช้ที่ดินที่สอดคล้องกับบริ บทและสภาพอากาศของ พื้นที่ตามแนวชายฝั่ง 5.สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขป ข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ ตั้งอยูท่ ี่ ตาบลกะรน อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต เดิมเป็ นพื้นที่สาธารณะ ปัจจุบนั ขาดระบบ การจัดการที่ดี ลักษณะพื้นที่ดาดแข็งเป็ นส่ วนมาก โล่งกว้างขาดร่ มเงา พื้นที่ติดกับย่านเศรษฐกิจ ชุมชน และหาด ทราย



3.1.1

ที่ต้ งั โครงการและขอบเขตพื้นที่โครงการ


3.1.2

ขอบเขตพื้นที่โครงการ







คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย เจตริ น อวดผล รหัส 5719102505 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.51 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญา ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมบริ เวณสถานี รถไฟนคร ลาปางและชุมชนรถไฟนครลาปาง อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Improvement Project of The Railway Station and the Railway Community, Lampang , Mueang ,Lampang 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ นับเป็ นเวลา 102 ปี ของการคมนาคมการรถไฟได้นาความเจริ ญเข้ามาสู่ นครลาปาง โดยการเข้ามา ในช่ วงนั้น ทาให้มีบทบาทสาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงของเมืองลาปางเป็นอย่างมาก ในสมัยพระบาทสมเด็จพระ มงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 6 การเกิดของสถานีรถไฟลาปาง นับเป็ น รุ่ นแรกๆที่สร้างขึ้นมาในประเทศไทย และ ยังหลงเหลื ออยู่ภายหลังสงครามโลก ทั้ง 2 ครั้ง ซึ่ งในสมัยนั้นนครลาปางได้มีความเจริ ญก้าวหน้าก่อนจังหวัด เชียงใหม่หลายปี เนื่องจากการเจาะอุโมงค์ที่ถ้ าขุนตาลยังไม่แล้วเสร็จ สถานีรถไฟนครลาปางเปิ ดใช้งานวันที่ 1 เมษายน พ.ศ 2459 ตรงกับวันปี ใหม่ของไทยในยุคนั้น ต่อมานับแต่วนั ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2465 จึงเริ่ มมีรถไฟสายเหนื อจากกรุ งเทพมหานคร มาสิ้ นสุ ดที่สถานี รถไฟ นครลาปาง เมืองลาปางในยุคนั้นจึงเป็ นศูนย์กลางการขนถ่ายสิ นค้าจากภาคกลางมายังภาคเหนือ และลาเลียงสิ นค้าที่ จาเป็ นจากภาคเหนื อไปยังภาคกลาง ทาให้ สบตุ๋ยกลายเป็ นย่านการค้าที่รุ่งเรื องมาก และร่ องรอยของความเจริ ญ เหล่านั้นยังคงหลงเหลือให้เห็นจากอาคารบ้านเรื อนที่ใหญ่โตในบริ เวณนั้น ในเดือนเมษายนของทุกปี สถานีรถไฟจะจัดงานร่ วมบันทึกประวัติศาสตร์ รถไฟรถม้านครลาปาง ณ สถานีรถไฟนครลาปาง และสะพานประวัติศาสตร์สะพานดานครลาปาง มีกิจกรรมเข้าชมนิทรรศการ และบันทึก ประวัติ 100 ปี รถไฟรถม้าลาปางและการสาธิ ตภูมิปัญญาของดีเมืองลาปางและการออกร้านจาหน่ายอาหารสิ นค้า จากหน่วยงานต่างๆ กิจกรรมการแสดงศิลปวัฒนธรรม


ปั จจุบนั โครงการพัฒนาสถานี รถไฟลาปาง ได้มีการเปิ ดประมูลให้เอกชนเข้ามาทาการรื้ อถอน อาคารเก่าในสมัยก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ออก แล้วสร้างอาคารพาณิ ชย์ข้ ึนมาทดแทน เนื่องจากสถานีรถไฟนคร ลาปางไม่ได้ต่อสัญญาเช่าที่พกั อาศัยของชาวบ้านที่อาศัยอยูใ่ นพื้นที่ของสถานีรถไฟ จึงได้เกิดการชุมนุมคัดค้านของ ชาวบ้าน การเปิ ดประมูลให้เอกชนรื้ อถอนอาคารเก่า ในบริ เวณพื้นที่ของสถานีรถไฟ เพื่อให้การรถไฟต่อสัญญาเช่า ของชาวบ้าน เป็ นระยะเวลา 30 ปี ตลอดเวลาที่ผา่ นมาชาวบ้านได้ร้องขอให้อนุรักษ์ไว้ และพร้อมจะทาการซ่อมแซม ปรับปรุ งให้อยูใ่ นสภาพที่ดีมาโดยตลอด แต่การรถไฟก็ย้อื เวลาไม่ยอมต่อสัญญา และได้ข้ ึนค่าเช่าอย่างไม่เป็ นธรรม แด่ชาวบ้าน จากแผนยุทธศาสตร์ ที่ 4 และ 7 ว่าด้วยการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสาธารณู ปโภคพัฒนาตาม ระบบผังเมือง ปรับปรุ งภูมิทศั น์เมือง และการอนุ รักษ์ฟ้ื นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม และ การพัฒนา ส่ งเสริ ม ด้านการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และด้านเศรษฐกิจ ของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเทศบาลนครลาปาง ทาให้ เห็นการคมนาคมการรถไฟนครลาปางเปรี ยบเสมือนห้องรับแขกของจังหวัดที่สร้างความประทับใจให้นกั ท่องเที่ยว ที่ใช้บริ การโครงการออกแบบปรับปรุ งพื้นที่บริ เวณชุมชนและสถานีรถไฟจะช่วยแก้ไขปั ญหา ให้ท้ งั เศรษฐกิจของ สถานีรถไฟ การท่องเที่ยว และความเป็ นอยูข่ องชุมชน ช่วยฟื้ นฟูพ้ืนที่ประวัติศาสตร์ให้มีความน่าสนใจ สร้างอัต ลักษณ์ของชุ มชนและสถานี รถไฟนครลาปางให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่โดนเด่นและส่ งเสริ มเศรษฐกิจให้กบั นคร ลาปาง 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อปรังปรุ งพื้นที่ของสถานี รถไฟ ให้เป็นพื้นที่เศรษฐกิจ และรองรับชุ มชนของ สถานีรถไฟ 4.1.2 เพื่อส่ งเสริ มอนุ รักษ์ พัฒนา และ ฟื้ นฟู พื้นที่ทีมีคุณค่าทางด้านประวัติศาสตร์ ให้ คนในชุมชนได้เห็นถึงความสาคัญ และ ช่วยกันอนุรักษ์ไว้ 4.1.2 เพื่อส่ งเสริ มการท่องเที่ยวให้กบั จังหวัด และ เป็ นพื้นที่ที่จะรองรับนักท่องเที่ยวทั้ง ชาวไทยและชาวต่างชาติ 4.1.4 เพื่อปรับปรุ งพื้นที่สาธารณะ และพื้นที่นนั ทนาการ ให้กบั นักท่องเที่ยวและชุมชน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาพื้นที่สถานีรถไฟที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ให้เป็ น พื้นที่รองรับสาหรับนักท่องเที่ยว รวมไปถึงพื้นที่ชุมชนรถไฟ และแนวทางการปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมเพื่อให้ สอดคล้องกับ กิจกรรมที่จะเกิดขึ้นให้กบั ผูท้ ี่เข้ามาใช้บริ การให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด 4.2.2 เพื่อศึกษาประวัติในพื้นที่ของสถานีรถไฟรวมทั้งชุมชน ที่เกิดความเดือนร้อน 4.2.3 เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ปัจจัยในการปรับปรุ งภูมิทศั น์ และพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ สอดคล้องกับบริ บทในพื้นที่


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้นที่ ต้ งั โครงการมี ขนาด 457 ไร่ โครงการตั้งอยู่ที่ตาบลสบตุ๋ ย อาเภอเมื อง จังหวัด ลาปาง สถานีรถไฟลาปางมีพ้นื ที่ 116 ไร่ และ พื้นที่ชุมชนมีพ้นื ที่ 341 ไร่

โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมบริ เวณสถานี รถไฟนครลาปางและชุมชนรถไฟนครลาปา งอาเภอเมือง จังหวัดลาปาง แผนที่ 1 ตาแหน่งที่ต้ งั ของระบบขนส่ งประเภทต่างๆ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth สัญลักษณ์ : ที่ต้ งั โครงการ ขอบเขตตาบลสบตุ๋ย สถานีขนส่ งลาปาง ท่าอากาศยานลาปาง ถนนพหลโยธิน

N มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมบริ เวณสถานีรถไฟนครลาปางและชุมชนรถไฟนครลาปาง อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง แผนที่ 3 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth สัญลักษณ์ : ที่ต้ งั โครงการ ทางรถไฟสายเหนือ ถนนฉัตรไชย ถนนท่าคราวน้อย สถานีรถไฟนครลาปาง

N มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เนื่ องจากสถานี รถไฟที่เป็นการคมนาคมการขนส่ งที่ช่วยส่ งเสริ มการท่องเที่ ยว ของจังหวัดลาปาง และเป็ นแหล่งพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดได้ในอนาคต 5.2.2 พื้นที่โครงการเป็ นพื้นที่ที่มีประวัติศาสตร์ มานับ 100 ปี และสถานี รถไฟนคร ลาปางได้รับเลือกจากคณะกรรมการอนุ รักษ์สถาปั ตยกรรมแห่ งสมาคมสถาปนิ กสยามในพระบรมราชู ปถัมภ์ ให้ เป็ นอาคารอนุรักษ์ดีเด่น ประเภทอาคารสถาบันและสาธารณะ ที่ควรอนุรักษ์เอาไว้ 5.2.3 พื้นที่โครงการเป็ นย่านเศรษฐกิจที่น่าสนใจ มีความหลากหลายของชุมชน บริ เวณ รอบสถานีรถไฟนครลาปาง 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมบริ เวณสถานีรถไฟนครลาปางและชุมชนรถไฟนคร ลาปาง อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง พื้นที่ต้ งั โครงการมีขนาด 457 ไร่ ทิศเหนือ ติดต่อกับ โรงเรี ยนเทศบาล 5 บ้านศรี บุญเรื อง , ชุมชนศรี บุญเรื อง ทิศใต้ ติดต่อกับ ชุมชนนาก่วมเหนือ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ บิ๊กซีลาปาง , สถานีขนส่ งลาปาง ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตาบลบ่อแฮ้ว อาเภอเมืองลาปาง 7. บรรณานุกรม ยุทธศาสตร์ การพัฒนาเทศบาลนครลาปาง 5 ปี พ.ศ. 2558 – 2562 [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://www.lampangcity.go.th/userfiles/files/plan56_58.pdf หนัง สื อ พิ ม พ์ล านนาโพสต์ ข่ า วล าปาง เพื่ อ คนล าปางทั่ว โลก [ระบบออนไลน์] แหล่ ง ที่ ม า http://www.lannapost.net/2014/11/blog-post_25.html เกร็ ดน่ารู ้ แ หล่ ง ท่ อ งเที่ ย วทางวั ฒ นธรรมของล าปาง [ระบบออนไลน์ ] แหล่ ง ที่ ม า http://www.lampang.go.th/travel/weblp/page/index.html โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และ การออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (นายเจตริ น อวดผล) ……….../………./………..



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวชุติมาส จรัสวิชญ์ รหัส 5719102506 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชา ภูมิสถาปัตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.84 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภู มิสถาปั ตยกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1 หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ริมน้ าโขงเมืองเชียงของ เพื่อรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษ อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย 2 หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอัง กฤษ) The Landscape Architectural Design and Improvement Project of the Mekong Waterfront for Special Economic Zone ,Chiangkhong, Chiangrai. 3 ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ อ าเภอเชี ย งของเป็ นเมื อ งชายแดนเหนื อ สุ ด ของประเทศไทยที่ ติ ด กับ ประเทศสาธารณรั ฐ ประชาธิ ปไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) เป็ นเมืองท่าทางการค้า มีแม่น้ าโขงเป็ นเส้นแบ่งเขตแดนซึ่ งในอดี ตอยู่ ภายใต้อานาจระหว่างพม่า ล้านนา และหลวงพระบางต่อมาเมื่อล้านนาตกเป็ นของพม่าจึงทาให้คนในพื้นที่อพยพไป ตั้งถิ่นฐานที่เมืองน่านและกลับมายังถิ่นฐานเดิมเมื่อพม่าได้หมดอานาจลงโดยมีสยามขึ้นมามีอานาจเหนือกว่าทาให้ เมืองเชียงของถูกสร้างใหม่อีกครั้งโดยคนยวน คนลื้อ และขมุ รวมไปถึงการอพยพของกลุ่มคนลาวที่หนี ภยั สงคราม เข้ามายังฝั่ งเชี ยงของจนกลายเป็ นวิถีชีวิตในลักษณะเครื อญาติ ระหว่างเชี ยงของและห้วยทรายส่ งผลให้เกิ ดการ ผสมผสานระหว่างวิถีชีวิต วัฒนธรรมที่ หลากหลาย นอกจากนี้ เมืองเชี ยงของยังตั้งอยู่บนเส้นทางการค้าของน่ าน และหลวงพระบางทาให้มีคาราวานจากยูนาน(จีนตอนใต้)ผ่านมายังหลวงน้ าท่า เวียงภูคาและข้ามน้ าโขงที่เชียงของ ส่ งผลในกลายเป็ นศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนสิ่ งของสาคัญ เช่น ของป่ าจากชาวเขาทั้งสองฝั่ง สิ้ นค้าจากเชียงใหม่ และสิ้ นค้าที่นาเข้ามาจากยุโรปและยังเป็ นท่าเรื อที่สาคัญของแม่น้ าโขงตอนบนที่เชื่อมโยงการค้าระหว่างเชี ยงใหม่ น่าน และหลวงพระบาง ผ่านทางเชี ยงของ-ห้วยทราย ต่อมาเมื่อเชี ยงของได้ยกระดับให้เป็ นอาเภอจึงได้ทาให้มีการ จัดตั้งพรมแดน ส่ งผลให้ท้ งั สองฝั่งเริ่ มถูกทาให้เป็ นส่ วนหนึ่ งของแต่ละประเทศ อาเภอเชี ยงของมีชื่อเสี ยงด้านการ ท่องเที่ยวในรู ปแบบวิถีชีวิต ศูนย์กลางการค้า การกระจายสิ้ นค้าและการคมนาคมทางแม่น้ าโขงตอนบน ซึ่ งยังคง เป็ นอาเภอที่เงียบสงบผูค้ นใช้ชีวิตกันอย่างราบเรี ยบ บรรยากาศของชนบทที่ยงั บริ สุทธิ์ อาเภอเชี ยงของมีการเจริ ญเติบโตมากขึ้นจนกลายเป็ นพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษหนึ่ งในสามอาเภอ ของจังหวัดเชี ยงราย เนื่ องจากเป็ นพื้ นที่ ติดกับริ มแม่น้ าโขงซึ่ งเป็ นจุ ดเชื่ อมต่ อและการคมนาคมทางน้ าที่ สาคัญ


ระหว่างประเทศไทยและประเทศลาวไปจนถึงประเทศพม่าและประเทศจีนตอนใต้(ยูนาน) จึงทาให้อาเภอเชียงของ เป็ นเมื อ งโลจิ ส ติ ก ส์ บริ ก ารขนส่ ง เมื อ งแวะผ่า นสาหรั บ นัก ท่ อ งเที่ ย ว และเป็ นประตู ใ หม่สู่ อิ น โดจี น โดยมี สะพานมิ ต รภาพไทย-ลาว แห่ ง ที่ 4 (เชี ย งของ-ห้วยทราย) ท่ า เรื อต่ า งๆตามทางเลี ย บแม่น้ า โขงเป็ นสถานที่ สาคัญในการเชื่ อมต่ อสู่ ประเทศลาวจนไปประเทศพม่า และประเทศจี นตอนใต้ อาเภอเชี ยงของมี จานวนนักท่องเที่ยวระดับ นานาชาติ เ พิ่ ม ขึ้ น จากการสร้ า งสะพานมิ ต รภาพ ไทย-ลาว แห่ ง ที่ 4 (เชี ย งของ-ห้ว ยทราย) แต่ บ ทบาทในการท่ อ งเที่ ย วยัง คงเป็ นเมื อ งทางผ่า น ส่ ง ผลถึ ง การ ลงทุ น ในเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ พื้ น ที ่ ท างการค้า การลงทุ น ผ่า นทางท่ า เรื อ ริ ม แม่น้ า โขงทั้ง ภาคเอกชนและ ภาครั ฐ ภายในชุ มชนทั้งสองฝั่ ง มี ผู ใ้ ช้บ ริ ก ารลดลง ทาให้ป ระชาชนที่ ป ระกอบอาชี พ ขับ รถรั บ จ้า ง เรื อรั บส่ ง ผูโ้ ดยสาร และร้ า นขายสิ น ค้า ในตัวอาเภอเชี ย งของเงี ย บเหงา เศรษฐกิ จซบเซาส่ งผลกระทบต่ อคุ ณ ภาพชี วิต ของคนภายในชุ มชน โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ ริมน้ าโขงเมืองเชี ยงของเพื่อรองรับเขต เศรษฐกิจพิเศษ อาเภอเชี ยงของ จังหวัดเชี ยงรายเป็ นโครงการเน้นการพัฒนาและส่ งเสริ มศักยภาพสภาพแวดล้อม ของพื้นที่ภายในชุมชนริ มแม่น้ าโขงเพื่อทาให้คุณภาพของประชาชนภายในชุมชนดีข้ ึนและส่ งเสริ มให้นกั ท่องเที่ยว มาเที่ยวชมวิถีชีวิตภายในตัวอาเภอมากขึ้น จากการปรับปรุ งพื้นที่เลียบริ มแม่น้ าโขงเพื่อรองรับการคมนาคมทางน้ า กิจกรรมต่างๆในการเชื่ อมความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทย – ลาว การเพิ่มพื้นที่นนั ทนาการ การเรี ยนรู ้และรักษา วิถีชีวิตคนลุ่มแม่น้ าโขงควบคู่กบั การเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจที่มากขึ้น 4 วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 พัฒ นาสภาพแวดล้อมพื้ นที่ ริ มแม่น้ า โขงเพื่ อ ส่ งเสริ ม คุ ณ ภาพวิถีชี วิตของคน ภายในชุ มชนเชี ยงของ-ห้วยทรายให้ดี ข้ ึ นควบคู่ ไ ปกับเศรษฐกิ จที่ เติ บโตอย่า งรวดเร็ ว 4.1.2 พัฒ นาและส่ ง เสริ ม ท่ า เรื อ ตลอดทางเลี ย บริ ม แม่น้ า โขงของคนในชุ ม ชนให้ กลายเป็ นศู นย์กลางการค้า การลงทุ น และการท่ องเที่ ย ว 4.1.3 พัฒ นาและปรั บ ปรุ งพื้ นที่ ริ มน้ า โขงเพื่ อ รองรั บกิ จกรรมนัน ทนาการ การค้า การลงทุ นเพื่ อ ส่ งเสริ มการท่ องเที่ ย วภายในชุ มชน และเชื่ อมความสัมพันธ์ระหว่า งประเทศเพื่ อนบ้าน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 ศึกษาวิถีชีวิต วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ของอาเภอเชียงของ-ห้วยทราย 4.2.2 ศึกษาการออกแบบการขนส่ งและการคมนาคมทางน้ า 4.2.3 ศึกษาการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่สาธารณะริ มน้ า


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1.1 พื้ น ที่ โ ครงการเป็ นชายแดนติ ด ต่ อ สาธารณรั ฐ ประชาธิ ปไตยประชาชนลาว และเชื่ อมต่ อไปยังสาธารณรั ฐประชาชนจี น มีความหลากหลายทางด้า นชาติ พ นั ธุ์ วัฒนธรรม และทรั พยากร 5.1.2 พื้นที่โครงการเป็ นพื้นที่ริมแม่น้ า โขง ซึ่ งเป็ นเขตแบ่ งและการคมนาคมทางน้ า ระหว่างประเทศ มีศกั ยภาพในการพัฒนา 5.2 สถานที่ต้ งั โครงการ ตาบลเวียง อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย

โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่ริมน้ าโขงเมืองเชียงของเพื่อรองรับเขต เศรษฐกิจพิเศษ อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย แผ่นที่ระดับอาเภอ แผ่ นที่ 1 สัญลักษณ์ ขอบเขตอาเภอ พื้นที่อาเภอ -v เขตแบ่งระหว่างประเทศ ที่มา : Google Earth


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่ริมน้ าโขงเมืองเชียงของเพื่อรองรับเขต เศรษฐกิจพิเศษ อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย แผ่นที่ระดับโครงการ แผ่ นที่ 2 สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ พื้นที่โครงการ เขตแบ่งระหว่างประเทศ ถนนสายหลักเลียบทางน้ า ที่มา : Google Earth




.

คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว ฐิติภรณ์ วงศ์วฒั นา รหัส 5719102508 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 136 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.45 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์บริ การนักท่องเทียว หน่วยพิทกั ษ์อุทยานแห่งชาติแม่ปิง โซนที่ 2 (แก่งก้อ) อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน 2. หัวข้อ เรื่ อ ง (ภาษาอัง กฤษ) The Landscape design and improvement Project of the Tourist Service Center at the 2nd Zone of Mae Ping National Park Protection Unit (Kaeng Ko), Li, Lamphun 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ แก่ งก้อ เป็ นชื่ อของ ทะเลสาบขนาดใหญ่ทางตอนเหนือ ของอ่างเก็บน้ าเขื่อนภูมิพล ตั้งอยู่ในเขต อุทยานแห่งชาติแม่ปิง โซนที่ 2 สาหรับอุทยานแห่งชาติแม่ปิงนี้มีพ้นื ที่ขนาดใหญ่ครอบคลุมอาเภอดอยเต่า จังหวัด เชี ยงใหม่ อาเภอลี้ จังหวัดลาพูน และอาเภอสามเงา จังหวัดตาก พื้นที่บริ เวณทะเลสาบแก่งก้อเดิมเป็ นจุดที่หว้ ยแม่ ก้อ ไหลลงสู่ แ ม่ น้ าปิ ง แต่ ภ ายหลัง การสร้ า งเขื่อ นภูมิพล ระดับน้ า ได้สูง ท่ วมพื้ นที่ จนกลายเป็ นทะเลสาบ ซึ่ ง มี ทัศนี ยภาพอันงดงาม นักท่องเที่ยวนิยมมาพักเรื อนแพและนัง่ เรื อชมความงามของหน้าผาหิ นปูนซึ่ งเต็มไปด้วยหิน งอกหินย้อยและป่ าเบญจพรรณริ มฝั่ งน้ า นอกจากนี้แก่งก้อยังตั้งอยู่ระหว่างเขื่อนภูมิพลกับดอยเต่า นักท่องเที่ยวจึง สามารถล่องเรื อจากแก่งก้อไปชมเขื่อนภูมิพลและทะเลสาบดอยเต่าได้ โดยเฉพาะลาน้ าปิ งช่วงแก่งก้อ-เขื่อนภูมิพล มีสถานที่น่าสนใจ เช่น น้ าตกอุม้ แป น้ าตกอุม้ ปาด เกาะคู่สร้ างคู่สม ผาเต่า ผาพระนอม ผาคันเบ็ด แก่งสร้ อย ถ้ าแก่ง สร้ อย พระธาตุแก่งสร้ อย พระบาทบ่อลม เขื่อนภูมิพล จึงมีนกั ท่องเที่ยวนิยมเข้ามาท่องเที่ยวในพื้นที่แก่งก้อ ก่อนที่ จะล่องเรื อต่อไปยังสถานที่ท่องเที่ยวอื่นๆ ตามลาน้ าปิ ง ในแต่ละปี ในช่วงน้ าหลากในฤดูฝน จะมีน้ าจากภูเขาโดยรอบไหลมาที่ทะเลสาบน้ าแก่งก้อเป็ น จานวนมากเพียงพอที่จะส่ งเสริ มให้เกิดกิจกรรมการท่องเที่ยวทางน้ า เช่น การขนส่ งโดยสารเรื อ ร้ านอาหารเรื อนแพ คนเข้าพักที่อุทยาน ต่างจากช่วงฤดูแล้งที่ไม่ค่อยมีกิจกรรมทางน้ า ในช่วงน้ าปริ่ มเต็มที่คือช่วงปลายปี ที่มีท้งั อากาศ หนาวและน้ าที่เต็มทะเลสาบจากน้ าฝนในวงฤดูกาลก่อน จะมีนกั ท่องเทียวล่องเรื อขึ้นมาจากเขื่อนภูมิพลลงที่ท่า น้ า แก่งก้อเพื่อแวะพักหรื อบางส่ วนล่องเรื อต่อไปยังอ่างเก็บน้ าดอยเต่า สภาพปั จจุบนั พบปั ญหาในพื้นที่หลายประการ ได้แก่ จุดต้อนรับนักท่องเที่ยวไม่มีการจัดการและการวางผังที่ดี ทาให้เกิดความไม่สะดวก และมีความสับสนในการ


เข้าใช้พ้ืนที่ในจุดบริ การนักท่องเทียว ทั้งจุดพักคอย ที่พกั ของนักท่องเทียว ระบบขนส่ งเรื อ รถยนต์นกั ท่องเทียว และรถคนท้องถิ่น อุทยานแห่งชาติแม่ปิงเล็งเห็นถึงความจาเป็ นและความสาคัญของการพัฒนาแก่งก้อให้เป็ นแหล่ง แหล่งท่องเที่ยวที่มีศกั ยภาพในการรองรับนักท่องเที่ยว จึงได้จดั ทา โครงการก่ อสร้ างสิ่ งอานวยความสะดวกต่างๆ เพื่อพัฒนาด้านการบริ การของหน่ วยพิทกั ษ์อุ ทยานแห่ งชาติแ ม่ปิง ที่ มป. 2 (แก่ งก้อ) ประกอบด้วยศู นย์บริ การ นักท่องเที่ยว บ้านพัก อาคารอเนกประสงค์(โรงอาหาร) โรงจอดรถและโรงเก็บพัสดุ ศาลาพักผ่อน ทั้งนี้เพื่อเป็ นการ เพิ่มศักยภาพด้านการท่องเที่ยวและสร้ างความพึงพอใจแก่นกั ท่องเที่ยวที่เข้ามาท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติแม่ปิง จากเหตุ ผลดัง ที่ กล่า วมาแล้วข้างต้น จึ ง เห็ น ควรให้จดั ทาโครงการออกแบบและปรั บปรุ งภูมิ สถาปั ตยกรรมศูนย์บริ การนักท่องเทียว บริ เวณทะเลสาบแก่งก้อ เพื่อพัฒนาพื้นที่ให้เกิดความสะดวกในการรองรั บ กิ จกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ จัดโซนการใช้พ้ืนที่ให้เหมาะสม เพิ่มกิ จกรรมการท่องเที่ยวในช่วงฤดูแล้ง โดยลด ผลกระทบสิ่ งแวดล้อมที่จะเกิดขึ้นจากกิ จกรรมการท่องเที่ยว เพื่อความยัง่ ยืนของทรัพยากรธรรมชาติ อีกทั้งยังเป็ น การสร้ างจิตสานึกในการอนุรักษ์และอยู่ร่วมกันของคนกับป่ า ซึ่งเป็ นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อให้สิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ ไว้สาหรั บรองรั บนักท่องเที่ยวในอุทยาน แห่งชาติแม่ปิงให้มีสภาพที่ดีและได้มาตรฐาน 4.1.2 เพื่อสร้ างความพึงพอใจและความประทับใจแก่นกั ท่องเที่ยวที่มาเที่ยวในอุทยาน แห่งชาติแม่ปิง 4.1.3 เพื่ อ เป็ นไปตามนโนบายกระตุ ้น เศรษฐกิ จ ของรั ฐ บาลด้า นการส่ ง เสริ มการ ท่องเที่ยวในประเทศ 4.1.4 เพื่อส่ งเสริ มและสนับสนุนให้คนในท้องถิ่นมีรายได้จากแหล่งที่อยู่อาศัย 4.1.5 เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ให้เกิ ดการเรี ยนรู ้ และตระหนัก ในการอนุ รักษ์ รั ก และห่ วงแหน ธรรมชาติ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปั ญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการวางผัง และปรั บ ปรุ งภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศู น ย์ บริ ก าร นักท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศประเภทอุทยานแห่งชาติที่มีการจัดการที่ดี ทั้งในด้านมนุษย์และทรัพยากร 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการจัดกิ จกรรมการท่ อ งเที่ ย วที่ เ ปลี่ ย นไปตามฤดู ก าล ทั้ง ในช่วงฤดูน้ าหลาก และฤดูแล้งที่มีจานวนน้ าน้อย โดยไม่ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ 4.2.3 เพื่อศึ กษาปั จจัยต่างๆที่เกี่ ยวข้องกับการวางผังและปรั บปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ทั้งปั จจัยทางธรรมชาติและปั จจัยที่มนุษย์สร้ างขั้น


5. สถานที่ต้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการทีช่ ดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)โครงกำร

โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์บริ การนักท่องเทียวหน่วย พิทกั ษ์อุทยานแห่งชาติแม่ปิงที่ โซนที่ 2 (แก่งก้อ) แผนที่ 1 ที่ต้งั โครงการระดับภาคและระดับจังหวัด สั ญญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงกำร จังหวัดลำพูน เขตอุทยำน

มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์บริ การนักท่องเทียวหน่วย พิทกั ษ์อุทยานแห่งชาติแม่ปิง โซนที่ 2 (แก่งก้อ) แผนที่ 2 ภาพถ่ายทางอากาศแสดงขอบเขตพืนที่โครงการ สั ญญลักษณ์ ถนนทำงหลวง 1087 ถนน รอง ขอบเขตพื้นที่โครงกำร

มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


ฤดูน้ ามากช่วงกลางเดื อนพฤษภาคมถึ งกลางเดื อนตุลาคม

ฤดูน้ าแห้งกลางเดื อนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดื อนพฤษภาคม

โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์บริ การนักท่องเทียวหน่วย พิทกั ษ์อุทยานแห่งชาติแม่ปิง โซนที่ 2 (แก่งก้อ) แผนที่ 3 ภาพถ่ายทางอากาศแสดงขอบเขตพื้นที่โครงการและแหล่งน้ าในพื้นทีใ่ น ฤดูกาลต่างๆ สั ญลักษณ์ เส้นขอบเขตพื้นที่

มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์บริ การนักท่องเทียวหน่วย พิทกั ษ์อุทยานแห่งชาติแม่ปิง โซนที่ 2 (แก่งก้อ) แผนที่ 3 ภาพแสดงขอบเขตพื้นทีโ่ ครงการและ CONTOUR สั ญลักษณ์ เส้นขอบเขตพื้นที่

มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


SITE LINKAGE

โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์บริ การนักท่องเที่ยวหน่วย พิทกั ษ์อุทยานแห่งชาติแม่ปิง โซนที่ 2 (แก่งก้อ) แผนที่ 4 แสดงที่ต้งั โครงการและความเชื่อมโยงของสถานที่ทอ่ งเทีย่ ว สั ญลักษณ์ พื้นที่โครงการ

จากแก่งก้อ ไป ถ้ า ไปอุม้ ปาด 7.9 กม จากแก่งก้อ ไป น้ าตกก้อหลวง 12.9 กม จากแก่งก้อ ไป ไป ถ้ าช้างร้ อง 13.25 กม.

มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


SITE LINKAGE

โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์บริ การนักท่องเทียวหน่วย พิทกั ษ์อุทยานแห่งชาติแม่ปิง โซนที่ 2 (แก่งก้อ) แผนที่ 5 แสดงที่ต้งั โครงการและความเชื่อมโยงของสถานที่ทอ่ งเทีย่ ว

มาตราส่ วน : NOT TO SCALE

5.1 สถานที่ต้งั โครงการ พื้นที่โครงการตั้งอยู่บริ เวณหน่วยพิทกั ษ์อุทยานแห่งชาติแม่ปิง โซนที่ 2 (แก่งก้อ) อ.ลี้ จ.ลาพูน 5.2 เหตุผลในการเลือกพื้นที่ 5.2.1 แก่งก้อเป็ นจุดที่มีววิ ทิวทัศน์ที่สวยงามเหมาะแก่การพักผ่อนหย่อนใจ และทากิจกรรมการ ท่องเทีย่ วต่างๆ มีแนวโน้วที่จะมีนกั ท่องเที่ยวมาใช้พ้นื ที่เป็ นจานวนมากขึ้น 5.2.2 แก่งก้อเป็ นแหล่งท่องเทีย่ วที่มีศกั ยภาพสู งหากแต่ยงั ขาดการพัฒนาในด้านสิ่ งอานวยความ สะดวก 5.2.3 ทางหน่วยพิทกั ษ์อุทยานแห่งชาติแม่ปิงมีนโนบายที่จะพัฒนาสิ่ งอานวยความสะดวกใน พื้นที่


6. ขอบเขตของพื้นทีศ่ ึกษา พื้นที่โครงการมีขนาดที่ต้งั 1150 อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดกับ ทิศใต้ ติดกับ ทิศตะวันออก ติดกับ ทิศตะวันตก ติดกับ

ไร่ โดยมีผิวน้ า 725 ไร่ และพื้นดิน 425 ไร่ อุทยานแห่งชาติแม่ปิงเขตเชียงใหม่ อ.บ้านนา จ. ตาก ต.บ้านลาน อ.ลี้ จ. ลาพูน อ.บ้านนา จ. ตาก

โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อทีเ่ สนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว ไอชวริ ยา อ้ายชุม รหัส 5719102509 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิ ต สะสม 130 หน่วยกิ ต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.24 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์ขนมไทยเมืองละโว้ อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning Project of Muang Lavo Thai Dessert Museum, Muang ,Lopburi. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ประเทศไทยเป็ นประเทศที่ได้ติดต่อค้าขายกับชาวต่างชาติ มาตั้งแต่สมัยสุ โขทัยโดยส่ งเสริ มการ ขายสิ นค้าซึ่ งกันและกัน ตลอดจนแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมด้านอาหารการกิน ต่อมาสมัยอยุธยาและรัตนโกสิ นทร์ ได้มี การเจริ ญสัมพันธไมตรี กบั ต่างประเทศ เช่น โปรตุเกส ฝรั่งเศส เป็ นต้น ไทยได้รับเอาวัฒนธรรมด้านอาหารของชาติ ต่างๆมาดัดแปลงให้เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น วัตถุดิบที่หาได้ เครื่ องมือเครื่ องใช้ ตลอดจนการบริ โภคนิ สัยแบบ ไทยๆ จนทาให้คนรุ่ นหลังจาแนกไม่ออกว่าอะไรคือขนมไทยแท้ และอะไรดัดแปลงมาจากวัฒนธรรมของชาติอื่น ในปั จ จุ บ นั อุ ต สาหกรรมขนมไทยไม่ ไ ด้เ พี ย งที่ นิ ย มของชาวไทยเท่ า นั้น ยัง เป็ นที่ นิ ย มของ ชาวต่างชาติเพิ่มมากขึ้น อุตสาหกรรมขนมไทยก็เป็ นสิ นค้าเศรษฐกิ จที่ประเทศไทยพยายามผลักดันให้ไปไกลถึง ต่างชาติ โดยขนมไทยที่มีมาแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบนั ได้รับวัฒนธรรมมาจาก “คุณเท้าทองกีบม้า” ผูเ้ ป็ นหัวหน้า ห้องต้นเครื่ องขนมหวานในวัง ขนมที่ได้รับมาจากคุณเท้าทองกี บม้านั้นประกอบไปด้วย กะหรี่ ปั๊บ ขนมหม้อแกง ทองม้วน ทองหยอด ทองหยิบ ฝอยทอง สังขยา และขนมผิง จนคุณเท้าทองกีบม้าได้รับฉายาว่า “ราชินีขนมไทย” ลพบุรีเป็ นเมือ งที่มีประวัติศาสตร์ ยาวนาน อีกทั้งจังหวัดลพบุรีในปั จ จุบนั เป็ น “เมืองเศรษฐกิ จ เมืองท่องเที่ยว ศูนย์กลางการศึกษาของภาคกลางตอนบน” และนอกจากนี้ ยงั มีสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจหลาย แห่ ง เช่น พระปรางค์สามยอด วังนารายณ์ราชนิ เวศ ศาลพระกาฬ เป็ นต้น นับเป็ นจังหวัดที่ได้รับความสนใจจาก นัก ท่ อ งเที่ ย วและชาวต่ า งชาติ เ ป็ นจ านวนมาก โดยลพบุ รี มี แ ผนพัฒ นาฟื้ นฟู แ ละอนุ รั ก ษ์ โบราณสถาน


ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นและแหล่งเรี ยนรู้เพื่อการท่องเที่ยวอย่างมีคุณภาพ และสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ที่ 3 ด้านการพัฒนาท่องเที่ยวเพื่อการเรี ยนรู้เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ด้วยประวัติศาสตร์ และเศรษฐกิจของจังหวัดลพบุรี แผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้ข้ ึน ชื่อว่าเป็ นยุคทองของขนมไทย จึ งเป็ นเหตุที่เลือกพื้นที่ในจังหวัดลพบุรี และสอดคล้องกับแผนพัฒนาของจังหวัด โดยกลุ่มผูล้ งทุนอุตสาหกรรมขนมไทย เข้ามาลงทุนและพัฒนาพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่ งพิพิธภัณฑ์ขนมไทย เมื องละโว้ จะเป็ นสถานที่ที่รวบรวมความรู้ ข้อมูลประวัติศาสตร์ ขนมไทยเพื่อ การอนุรักษ์ เรี ยนรู้ สื บสาน และ พัฒนาอุตสาหกรรมขนมไทยในอนาคต และเพื่อส่ งเสริ มการอนุรักษ์มรดกไทย ตามรอยพระบาท สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อให้คนไทยมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์วฒั นธรรมของชาติและให้ชาวต่างชาติ ได้รั บ รู้ ถึ ง ความเป็ นไทย และพิ พิ ธ ภัณ ฑ์น้ ี จะเป็ นพิ พิ ธ ภัณ ฑ์มี ชี วิ ต จ าลองวิ ถี ชี วิ ต ของคนตั้ง แต่ ส มัย อยุธ ยารัตนโกสิ นทร์ รวมถึงมีการแสดง การละเล่นไทย และจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ ให้พ้ืนที่มีความสนใจทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และวิถีชีวิตมากขึ้น ถึงแม้ว่าลพบุรีจะมีชื่อเสี ยงแค่ทางผ่าน แต่ลพบุรีก็เป็ นจังหวัดที่ข้ ึนชื่อเรื่ อง การอนุรักษ์ความเป็ นไทย จึ งจะยกเอาจุดเด่นส่วนนี้มา เพื่อเป็ นการดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ เข้ามาท่องเที่ ยวมากขึ้น และเป็ นการเพิ่มรายได้ทางเศรษฐกิ จ ของจัง หวัดได้ตลอดทั้งปี พิพิธภัณฑ์แห่ งนี้ จะเป็ น แหล่งท่องเที่ยวทางเลือกอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดลพบุรี 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู้ศึกษาประวัติศาสตร์ และอนุรักษ์ขนมไทย วิถีชีวิต วัฒนธรรม ของชาวไทยตั้งแต่สมัยอยุธยาและเสริ มสร้างทักษะด้านฝี มือการทาอาหาร 4.1.2 เพื่อส่งเสริ มการท่องเที่ยวตามแผนพัฒนาของจังหวัด และเป็ นอีกพื้นที่ที่จะรองรับ นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ 4.1.3 เพื่อส่ งเสริ มเศรษฐกิ จให้กบั จังหวัดและรายได้ให้กบั คนในชุมชนที่เกี่ ยวข้องกับ อุตสาหกรรมขนมไทย 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาข้อมูลที่เกี่ ยวข้องกับประวัติศาสตร์ ขนมไทย วิถีชีวิตของคนสมัยก่อน และข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อนามาใช้ในการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม 4.2.2 เพื่อศึกษาการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์ ให้สอดคล้องกับ กิจกรรมเพื่อให้เกิดประโยชน์ในพื้นที่และเหมาะสมต่อความต้องการของผูใ้ ช้โครงการ 4.2.3 เพื่อศึกษาและวิเคราะห์กลุ่มผูใ้ ช้งานทั้งคนในจังหวัดและนักท่องเที่ยวจากแหล่ง ท่องเที่ยวใกล้เคียงเพื่อนามาใช้ในการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์


5. สถานที่ต้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้งั โครงการโดย สังเขป ข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้งั โครงการ พื้นที่ ต้ งั โครงการมี ขนาด 79 ไร่ โครงการตั้งอยู่ที่ตาบลนิ คมสร้ างตนเอง อ าเภอเมือ ง จังหวัดลพบุรี มีถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ถนนพหลโยธิน สายกรุ งเทพมหานคร-แม่สาย

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์ขนมไทยเมืองละโว้ อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี แผนที่ 1 แสดงแผนที่อาเภอเมืองลพบุรี ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/อาเภอเมืองลพบุรี สัญลักษณ์ : ที่ต้งั โครงการ ขอบเขตอาเภอเมืองลพบุรี ขอบเขตจังหวัดลพบุรี แม่น้ า/เขื่อนป่ าสักชลสิ ทธิ์ มาตราส่วน : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์ขนมไทยเมืองละโว้ อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี แผนที่ 2 แสดงที่ต้งั โครงการระดับอาเภอ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth สัญลักษณ์ : ที่ต้งั โครงการ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ถนนพหลโยธิน สายกรุ งเทพมหานคร-แม่สาย ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3196 สายดงพลับ-เจ้า มาตราส่วน : NOT TO SCALE ปลุก ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข 311 สายลพบุ รี ชัยนาท ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 366 เลี่ยงเมืองลพบุรี


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์ขนมไทยเมืองละโว้ อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี แผนที่ 3 แสดงที่ต้งั และขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth สัญลักษณ์ : ที่ต้งั โครงการ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 ถนนพหลโยธิน สายกรุ งเทพมหานคร-แม่สาย มาตราส่วน : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์ขนมไทยเมืองละโว้ อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี แผนที่ 4 แสดง Site Linkage สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดลพบุรี ที่มา : ดัดแปลงแผนที่ถนนจาก Longdo Map สัญลักษณ์ : ที่ต้งั โครงการ สถานที่ท่องเที่ยว มาตราส่วน : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์ขนมไทยเมืองละโว้ อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี แผนที่ 5 แสดง Site Linkage สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดลพบุรี ที่มา : ดัดแปลงแผนที่ถนนจาก Longdo Map สัญลักษณ์ : ที่ต้งั โครงการ สถานที่ท่องเที่ยว มาตราส่วน : NOT TO SCALE

5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ 5.2.1 สถานที่ต้งั โครงการมีเรื่ องราวประวัติศาสตร์ ของคุณเท้าทองกีบม้า ผูเ้ ป็ นหัวหน้า ห้องต้นเครื่ องขนมหวาน ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่ งเกี่ยวข้องกับตัวโครงการพิพิธภัณฑ์ขนมไทย 5.2.2 พื้นที่โครงการเข้าถึงง่าย เนื่ องจากอยู่ติดกับถนนทางหลวงหมายเลข 1 ถนนหล โยธิ น ง่ายต่อการคมนาคมสาหรับนักท่องเที่ยวและผูท้ ี่ผา่ นไปมาเส้นทางขึ้นภาคเหนื อ และสามารถแวะเที่ยวได้ใน เวลาสั้นๆ 5.2.3 สถานที่ต้งั เป็ นพื้นที่โล่งกว้างของเอกชน อยูใ่ กล้กบั สถานที่ท่องเที่ยวอื่นๆที่สาคัญ ในจังหวัดลพบุรี


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ท้งั หมดประมาณ ทิศเหนือ ติดกับ ทิศใต้ ติดกับ ทิศตะวันออก ติดกับ ทิศตะวันตก ติดกับ

79 ไร่ พื้นที่เอกชน ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 พื้นที่เอกชน พื้นที่เอกชน

7. บรรณานุกรม จังหวัดลพบุรี [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/จังหวัดลพบุรี (23 พฤศจิกายน 2560) ประวัติขนมไทย [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://youyouol.wordpress.com/ประวัติของขนม ไทย/ประวัติขนมไทย (23 พฤศจิกายน 2560) อุตสาหกรรมผลิตขนมไทย [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://communityserviceindustry.blogspot.com/2013/10/blog-post_27.html (28 พฤศจิกายน 2560) คู่มือการดาเนินงานวิทยานิพนธ์ 2556 [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://issuu.com/ tuboonyanant/docs/latheismanual56_foeweb (23 พฤศจิกายน 2560) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และ การออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (นางสาวไอชวริ ยา อ้ายชุม) ……….../………./………..


SITE SELECTION

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์ขนมไทยเมืองละโว้ อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี แผนที่ 6 แสดงที่ต้งั ขอบเขตโครงการของแต่ละพื้นที่ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth สัญลักษณ์ : ที่ต้งั โครงการ ทางหลวงแผ่น ดิ น หมายเลข 1 ถนนพหลโยธิ น สายกรุ งเทพมหานคร-แม่สาย ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3196 สายดงพลับ-เจ้า ปลุก ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข 311 สายลพบุ รี ชัยนาท ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 366 เลี่ยงเมืองลพบุรี

มาตราส่วน : NOT TO SCALE


ตารางสรุ ปการให้คะแนนในแต่ละพื้นที่ เกณฑ์การให้คะแนน น้ าหนัก SITE A SITE B คะแนน คะแนน รวม คะแนน รวม การเข้าถึงพื้นที่ (Accessibility) 4 2 8 3 12 โครงข่ายถนน (Road Network) 3 2 8 3 9 ทางเข้าโครงการ (Approach) 5 1 5 3 15 มุมมอง (View) 4 2 8 4 16 พื้นที่โดยรอบ (Surrounding) 4 3 16 3 12 การเชื่อมโยงของพื้นที่ (Linkage) 5 3 15 2 10 รวม 25 60 74 *หมายเหตุ เกณฑ์การให้คะแนนแบ่งเป็ นดีมาก ดีมาก=4 ดี=3 พอใช้=2 ปรับปรุ ง=1

SITE C คะแนน รวม 4 16 4 12 4 20 3 12 3 12 3 15 87

SITE A พื้ น ที่ ป ระมาณ 81 ไร่ พื้ น ที่ เ ดิ ม เป็ นพื้ น ที่ ร กร้ า ง เข้า ทางถนน พหลโยธินประมาณ 300 ม. ทางเข้าค่อนข้างเล็ก สัญจรลาบาก ทิศตะวันออก ติ ด กั บ สถานศึ ก ษาพื้ นที่ รอบข้ า งติ ด หมู่ บ้ า นจั ด สรร และใกล้ ก ั บ ห้างสรรพสิ นค้า

ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth

ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายจาก Google Street


SITE B พื้นที่ประมาณ 107 ไร่ ลักษณะพื้นที่โล่ง เป็ นพื้นที่เกษตรกรรม เข้า ทางถนนพหลโยธิน ประมาณ 2.3 กม. ทิศเหนือติดกับพื้นที่โล่งเกษตรกรรม มองไปเห็ นวิว ภูเขา ทิ ศใต้ติดกับพื้นที่ศาสนสถาน พื้ นที่ค่อ นข้างใกล้จ าก แหล่งท่องเที่ยวในตัวเมือง

ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth

ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายจาก Google Street SITE C พื้นที่ประมาณ 79 ไร่ ลักษณะพื้นที่โล่ง เป็ นพื้นที่ของเอกชน ทิศใต้ อยูต่ ิดกับถนนทางหลวงหมายเลข 1 ถนน พหลโยธิน สายกรุ งเทพมหานครแม่สาย ง่ ายต่อ การเข้าถึ ง สะดวกแก่ นัก ท่อ งเที่ ย วที่ ผ่านไปมา อยู่ใกล้ก ับ สถานที่ท่องเที่ยวและศูนย์การค้าหลายแห่ง

ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth

ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายจาก Google Street



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวณัฐพร อยูส่ ุ ข รหัส 5719102511 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.26 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) การออกแบบและปรับปรุ งพื้นที่ริมน้ าย่านสวนสาธารณะสิ ริจิตอุทยาน และ เกาะกลางแม่น้ าปิ ง อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape architectural design and improvement of the waterfront area, Sirijit Park and the island in the middle of the Ping River, Muang, Kamphaengphet 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ สวนสาธารณะสิ ริจิตอุทยาน ตั้งอยู่ริมแม่น้ าปิ ง ในเขตเทศบาลเมืองกาแพงเพชร ก่อสร้างขึ้นเมื่อ ประมาณ พ.ศ.2525 เดิมเป็ นพื้นที่น้ าท่วมถึงเมื่อมีน้ าหลากในฤดูฝน และรองรับน้ าจากเขื่อนภูมิพลที่อยู่ทางด้านบน ปล่อยน้ าออกจากเขื่อนเป็ นปริ มาณมาก กรมชลประทานได้ดาเนินการดูดทรายจากแม่น้ าปิ งขึ้นมาถมที่ และก่อสร้าง กาแพงริ มตลิ่ง แบบพื้นที่ ลาดเอียงหิ นทิ้งคลุมด้วยตาข่าย ทาให้เกิ ดที่ ว่างริ มแม่น้ าปิ ง อยู่ดา้ นหน้าของชุ มชนเมื อง กาแพงเพชร เป็ นแนวยาวตลอดทั้งเมือง นายชาญ พันธุ มรัตน์ ผูว้ า่ ราชการจังหวัดกาแพงเพชรในขณะนั้น เล็งเห็นถึง ศักยภาพของพื้นที่ จึงได้ดาเนิ นการจัดสร้างสวนสาธารณะขึ้น การก่อสร้างได้ใช้เงินบริ จาคจากประชาชนเป็ นหลัก และได้พระราชทานนามจากสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิ พระบรมราชิ นีนาถ ว่า “สิ ริจิตอุทยาน” เป็ นสวนสาธารณะ และพื้นที่ประกอบกิจกรรมของชุมชน ทางด้านการพักผ่อนหย่อนใจเป็ นหลัก ส่ วนใหญ่เป็ นและพื้นที่สีเขียว สนาม หญ้า สนามเด็กเล่น ศาลาที่ นั่งพักผ่อน ทางเดิ นริ มน้ า สนามเทนนิ ส สโมสร สระว่ายน้ า ร้านขายของที่ ระลึ กแก่ นักท่องเที่ยวของเมืองกาแพงเพชร พื้ นที่ ส วนสาธารณะสิ ริจิต อุทยาน ได้เป็ นพื้ นที่ พ กั ผ่อนและออกกาลังกายที่ ส าคัญของคนใน ชุ มชนเทศบาลเมื องก าแพงเพชร เนื่ องจากปั จจุ บัน ผูค้ นได้หัน มาสนใจดู แ ลสุ ข ภาพกันมากขึ้ น พื้ นที่ น้ ี จึ งเป็ น ทางเลื อกอันดับ แรก ของคนในชุ มชนที่ ใช้เพื่ อออกกาลังกายและพักผ่อนหย่อนใจ ทั้งเด็กและผูใ้ หญ่ รวมไปถึ ง ผูส้ ู งอายุ พื้ นที่ สวนสาธารณะแห่ งนี้ อยู่ในเขตตัวเมือง เดิ นทางสะดวก และยังอยู่บริ เวณริ มแม่น้ าปิ ง ซึ่ งมีภูมิทศั น์ เหมาะแก่การพักผ่อนและออกกาลังกาย และนอกจากพื้นที่ น้ ี จะเป็ นพื้นที่ พกั ผ่อนออกกาลังกาย เป็ นพื้นที่ สีเขี ยว สร้างสิ่ งแวดล้อมที่ดีให้กบั เมืองแล้ว ยังเชื่ อมโยงกับพื้นที่ริมน้ าและเกาะกลางแม่น้ าปิ ง ซึ่ งเป็ นพื้นที่รองรับกิจกรรม ต่างๆของคนในชุมชน ที่แสดงให้เห็นถึงวัฒนธรรมและประเพณี ที่สาคัญของชุมชนเทศบาลเมืองกาแพงเพชร เกิ ด เป็ นแหล่งท่องเที่ ยวและแหล่งเรี ยนรู ้ทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ ที่ถ่ายทอดผ่านกิ จกรรมที่ เกิ ดขึ้นในพื้นที่ ทาให้


นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ให้ความสนใจมาท่องเที่ยวพักผ่อนบริ เวณริ มแม่น้ าปิ งเพิ่มมากขึ้น จึงเป็ น อีกหนึ่งพื้นที่ในเทศบาลเมืองกาแพงเพชรที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวได้มาก ปั จจุบนั พื้นที่ริมน้ าสวนสาธารณะสิ ริ จิ ต อุ ท ยานและเกาะกลางแม่ น้ า ปิ ง ขาดการพัฒ นาเพื่ อส่ งเสริ มในเรื่ อ งของการเป็ นแหล่ งท่ องเที่ ยว และพื้ น ที่ สาธารณะที่ ส่งเสริ มให้เกิ ดสิ่ งแวดล้อมที่ดีและสอดแทรกการเรี ยนรู ้ทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ ให้เหมาะกับคน สมัยใหม่ในปัจจุบนั ด้วยเหตุน้ ี จึ งทาให้มีการออกแบบปรับปรุ งภูมิทศั น์ในพื้ นที่ จากข้อมูลที่ กล่าวมาในข้างต้นนั้น เพื่ อเป็ นประโยชน์ให้แก่คนในชุ มชนและนักท่ องเที่ ยวได้มีพ้ื นที่ ในการทากิ จกรรม ทั้งในเรื่ องของการเป็ นพื้ นที่ พักผ่อน ออกกาลังกาย รวมไปถึงพื้นที่รองรับกิจกรรมในช่วงเทศกาลหรื อวันสาคัญต่างๆ ให้มีประโยชน์ใช้สอยที่มี ประสิ ทธิ ภาพ มีความร่ มรื่ นสวยงาม มีเอกลักษณ์ และเข้ากับยุคสมัยในปั จจุบนั เพื่อดึ งดูดนักท่องเที่ ยวให้เข้ามาใช้ งานในพื้นที่ ให้เกิดเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญอีกแห่งหนึ่ งของจังหวัดกาแพงเพชร 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.2 เพื่อพัฒนาพื้นที่ริมน้ าและเกาะกลางแม่น้ าปิ ง ให้เป็ นสถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจเป็ น สถานที่ออกกาลังกาย เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวและแหล่งเรี ยนรู ้ที่สาคัญของเทศบาลเมืองกาแพงเพชร 4.1.2 เพื่อปรับปรุ งภูมิทศั น์และสภาพแวดล้อมพื้นที่ ริมน้ าสวนสาธารณะสิ ริจิตร และ เกาะกลางแม่น้ าปิ ง สาหรับรองรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้น 4.1.3 เพื่อส่ งเสริ มการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ บริ เวณริ มน้ า เกาะกลาง แม่น้ าปิ ง ซึ่ งสอดคล้องกับแผนนโยบายการท่องเที่ยวของจังหวัดกาแพงเพชร ที่ส่งเสริ มการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบพื้นที่สาธารณะริ มน้ าอย่างยัง่ ยืน เพื่อคนใน ชุมชนเทศบาลเมืองกาแพงเพชรและนักท่องเที่ยว 4.2.2 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบพื้นที่ เพื่อเหมาะกับการเป็ นพื้นที่รองรับน้ า และแนวทางการแก้ไข การป้องกันน้ าท่วม 4.2.3 ศึกษาการออกแบบการพัฒนาพื้นที่เพื่อการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 ที่ต้ งั โครงการ ตั้งอยูใ่ นตาบลในเมือง อาเภอเมืองกาแพงเพชร จังหวัดกาแพงเพชร ติดกับแม่น้ าปิ ง 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ สวนสาธารณะสิ ริจิตอุทยานและเกาะกลางแม่น้ าเป็ นเป็ นพื้นที่ที่มีความสาคัญ เป็ นพื้นที่ สาธารณประโยชน์ที่มีประโยชน์แก่ชุมชน เป็ นแหล่งท่องเที่ยวและพื้นที่พกั ผ่อนที่สาคัญ ซึ่ งสอดคล้องกับนโยบาย ของภาครัฐที่ สนับสนุ นการท่องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรมและธรรมชาติ ซึ่ งมีผูค้ นมาใช้งานในพื้นที่ เป็ นจานวนมาก แต่ พื้นที่มีปัญหาเสื่ อมโทรม ไม่มีการพัฒนา ทั้งในด้านสิ่ งอานวยความสะดวก ความสะอาด และความปลอดภัย จึงเป็ น ที่มาของการปรับปรุ งภูมิทศั น์เพื่อเป็ นแหล่งท่องเที่ยวและพื้นที่พกั ผ่อนที่สาคัญอีกแห่งหนึ่งของจังหวัดกาแพงเพชร


โครงการออกแบบและปรับปรุ งพื้นที่ริมน้ าย่านสวนสาธารณะสิ ริจิตรอุทยาน และเกาะกลางแม่น้ าปิ ง อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร แผนที่ 1 ที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ถนนหมายเลข 101 ถนนหมายเลข 1 ถนนหมายเลข 112 ถนนหมายเลข 115 ถนนเจริ ญสุ ข Not to scale ถนนราชดาเนิน 1 ถนนเทศบาล 1 แม่น้ าปิ ง ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth


5.1.2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ

โครงการออกแบบและปรับปรุ งพื้นที่ริมน้ าย่านสวนสาธารณะสิ ริจิตรอุทยาน และเกาะกลางแม่น้ าปิ ง อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร แผนที่ 2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนนหมายเลข 101 ถนนหมายเลข 112 ถนนหมายเลข 115 ถนนเจริ ญสุ ข ถนนราชดาเนิน 1 Not to scale ถนนเทศบาล 1 แม่น้ าปิ ง

ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย นฤนันท์ ตั้งใจพิทกั ษ์ รหัส 5719102512 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 4 ภาคการศึ กษา จานวนหน่วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.26 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภู มิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม ท่าเรื อด่วนและพื้นที่ชุมชน บริ เวณโดยรอบริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา จังหวัดนนทบุรี 2. หัว ข้อ เรื่ อ ง (ภาษาอัง กฤษ) The Landscape Architectural Design and improvement of Chao Phraya Express Boat Station and Related Waterfront Community Areas, Nonthaburi 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ เจ้าพระยาเป็ นแม่น้ าสายใหญ่ในภาคกลาง เกิดจากการบรรจบกันของแม่น้ าสาคัญ 4 สาย คือ ปิ ง วัง ยม และน่ า น เป็ นที่ ต้ งั ของเมื องหลวงถึ ง 3 ยุค สมัย คื อ อยุธยา ธนบุ รี และ กรุ งเทพมหานคร ในอดี ต แม่น้ า เจ้า พระยาได้เ ป็ นเส้นทางสาหรั บคมนาคม เส้นทางขนส่ งที่ สาคัญของประเทศ ที่ มีการติ ด ต่ อค้าขายกับ สเปน ฮอลันดา ญี่ปุ่น อังกฤษ เดนมาร์ ก และฝรั่งเศส ด้วยลักษณะภูมิประเทศของลาน้ าที่ไหลมานั้น คดเคี้ยว เป็ นรู ปเกือก ม้า จึงทาให้ใช้เวลาในการเดินทางนาน ต่อมาในสมัยอยุธยามีการขุดลัดแม่น้ าเจ้าพระยา 3 เส้นคือ คลอดลัดบางกอก คลองลัดบางกรวย คลองลัดนนทบุรี เพื่อลดเวลาในการเดินทาง การขนส่ ง ค้าขายและการคมนาคม จนปั จจุบนั จะ เห็นได้ว่ามี วัด ชุมชนที่อาศัยขนาดใหญ่อยู่ตลอดริ มสองฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยาซึ่ งมีประวัติศาสตร์ วิถีชีวิต วัฒนธรรม ต่างๆอยูม่ ากมาย เมื่ อพิ จารณาจากอดี ตถึ งปั จจุ บนั แม่น้ าเจ้าพระยาเป็ นพื้ นที่ สาคัญของการเชื่ อมต่ อทางการค้า ขนส่ ง และการคมนาคม ที่มีการเชื่อมต่อกับการคมนาคมทางบก ที่สามารถเชื่อมต่อไปยังพื้นที่อื่นๆได้ อีกทั้งยังเป็ น แหล่งวิถีชีวิตและวัฒนธรรมริ มน้ าที่เป็ นเอกลักษณ์ ที่ในอนาคตจะมีการพัฒนาชุ มชนให้รักษาอัตลักษณ์และสร้าง คุณค่าของทรัพยากรเพื่อกระจายรายได้ให้คนในชุมชน อีกทั้งจะมีการผลักดันแม่น้ าเจ้าพระยาบริ เวณ สะพานพุทธ ยอดฟ้า ถึง ท่าวาสุ กรี ให้เป็ นมรดกโลก ในปั จจุบนั การโดยสารด้วยเรื อด่วนเจ้าพระยากลายเป็ นการคมนาคมทางเลือก โดยมีคนใช้งาน เรื อโดยสารประมาณ 30,000-40,000 คนต่อวัน ซึ่ งการคมนาคมทางน้ านั้นช่วยให้ผคู ้ นได้สามารถเข้าถึงพื้นที่อื่นๆ จนทาให้มีปริ มาณจานวนเรื อและรอบเรื อมีมากขึ้น แต่ท่าเรื อมีจานวนเท่าเดิม สภาพท่าเรื อและโป๊ ะเรื อนั้นมีการใช้


งานเป็ นอย่างมากขาด การดูแล ทรุ ดโทรม อีกทั้งพื้ นที่ สาธารณะที่ มีบริ เวณโดยรอบท่าเรื อ ที่ มีการใช้งานพื้ นที่ สาธารณะในบางท่าเรื อเท่านั้น ซึ่ งต่างจากการคมนาคมทางบกที่ มีทางเลือกมากกว่า ส่ งผลให้บทบาทด้านการคม นาคทางน้ าลดลง อีกทั้งยังมีการรุ กล้ าพื้นที่ริมน้ าจากชุมชนเช่น ปลูกสร้างบ้านเรื อน โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ จน ทาให้คุณค่า วิถีชีวิต และวัฒนธรรมริ มน้ าเริ่ มลดลงและหายไป โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม ท่าเรื อด่วนและพื้นที่ชุมชนบริ เวณโดยรอบริ ม ฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา จังหวัดนนทบุรี บริ เวณ 13 ท่าเรื อ นับว่าเป็ นโครงการที่มีศกั ยภาพที่น่าสนเพื่อให้เป็ นท่าเรื อด่วน เจ้าพระยาต้นแบบ ร่ วมกับพื้นที่สาธารณะเพื่อตอบสนองกลุ่มผูใ้ ช้งาน และส่ งเสริ ม วิถีชีวิต วัฒนธรรม ชุ มชนริ ม แม่น้ าเจ้าพระยาให้กลับมามีบทบาทกับประเทศไทยอีกครั้ง 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อส่ งเสริ มการอนุรักษ์วิถีชีวิต วัฒนธรรมและสิ่ งแวดล้อมของพื้นที่ชุมชนริ มฝั่ง แม่น้ าเจ้าพระยาในจังหวัดนนทบุรี 4.1.2 เพื่อเชื่อมต่อการคมนาคมของเมืองระหว่างทางบกและทางน้ า 4.1.3 เพื่อสร้างพื้นที่สาธารณะสาหรับผูค้ นที่ใช้บริ การท่าเรื อด่วนและคนในชุมชนตาม ศักยภาพที่เหมาะสม 4.1.4 เพื่อเป็ นต้นแบบของโครงการท่าเรื อด่วนของแม่น้ าเจ้าพระยา 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่ท่าเรื อด่วนเจ้าพระยาและ ชุมชนบริ เวณโดยรอบเพื่อ ให้สอดคล้องกับพฤติกรรมการใช้งานของผูใ้ ช้งาน 4.2.2 เพื่อศึ กษากระบวนการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมในการฟื้ นฟูเมื องและพื้ นที่ สาธารณะริ มน้ าเพื่อพัฒนาคุณภาพชี วิตของคนในชุมชนรวมถึงการอนุรักษ์วิถีชีวิต วัฒนธรรมและสิ่ งแวดล้อมของ พื้นที่ชุมชนริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา 4.2.3 เพื่อศึกษาแผนและนโยบายที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ท่าเรื อและชุมชนบริ เวณโดยรอบ 5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ พื้นที่อยูต่ ิดริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยาตั้งแต่เขตทางทิศเหนือ เกาะเกร็ ด จนถึงทางทิศใต้ ทาง ด่ ว นศรี รั ช -วงแหวนรอบนอก และมี ท่า เรื อด่ วนเจ้า พระยา ทั้งหมด 13 ท่ า เรื อ ได้แ ก่ ปากเกร็ ด วัด กลางเกร็ ด กระทรวงพาณิ ชย์ สะพานพระนัง่ เกล้า รพ.พระนัง่ เกล้า ท่าน้ านนทบุรี พิบูลย์สงคราม 2 พระราม 5 วัดเขียน วัดตึก วัดเขมา พิบูลย์สงคราม 1 พระราม7 ตามลาดับ


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม ท่าเรื อด่วนและพื้นที่ชุมชนบริ เวณโดยรอบริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา ดนนทบุ โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัจัตงหวั ยกรรม ท่าเรืรอี ด่วนและพื้นที่ชุมชนบริ เวณท่าเรื อด่วน ริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา จังหวัดนนทบุรี แผนที่ 1 ขอบเขตพื้นที่โครงการ แผนที่ 1 ขอบเขตพื้นที่โครงการ 1. ท่าเรื อปากเกร็ ด 2.1. ท่าเรื อวัปากเกร็ ดกลางเกร็ ด ด วัดกลางเกร็ ด ชย์ 3.2. ท่าเรื อกระทรวงพาณิ 4.3. ท่าเรื อสะพานพระนั กระทรวงพาณิง่ ชเกล้ ย์ า-รพ.พระนัง่ เกล้า 5.4. ท่าเรื อท่สะพานพระนั าน้ านนท์ ง่ เกล้า-รพ.พระนัง่ เกล้า 6.5. ท่าเรื อพิท่าบนูล้ าย์นนท์ สงคราม 2 6.ที่มท่า า: เรืภาพถ่ อพิบาูลยทางอากาศ ย์สงคราม 2Google Earth

7. ท่าเรื อพระราม 5 8.7. ท่าเรื อวัพระราม ดเขียน 5 9.8. ท่าเรื อวัดตึเขีกยน 9. ท่ท่าเรืาเรืออวัวัดดตึเขมา 10. ก 10. ท่าเรื อพิวัดบเขมา 11. ูลย์สงคราม 1 11. ท่าเรื อพระราม 12. พิบูลย์สงคราม 7 1 12. ท่าเรื อพระราม 7


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม ท่าเรื อด่วนและพื้นที่ชุมชนบริ เวณโดยรอบริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา หวัดนนทบุ โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัจัตงยกรรม ท่าเรืรอี ด่วนและพื้นที่ชุมชนบริ เวณท่าเรื อด่วน ริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา จังหวัดนนทบุรี แผนที่ 2 เส้นทางคมนาคม แผนที่ 1 ขอบเขตพื้นที่โครงการ 1. ท่าเรื อปากเกร็ ด 2. ท่าเรื อวัดกลางเกร็ ด 3. ท่าเรื อกระทรวงพาณิ ชย์ 4. ท่าเรื อสะพานพระนัง่ เกล้า-รพ.พระนัง่ เกล้า 5. ท่าเรื อท่าน้ านนท์ 6.ที่มท่า า: เรืภาพถ่ อพิบาูลยทางอากาศ ย์สงคราม 2Google Earth

7. ท่าเรื อพระราม 5 8. ท่าเรื อวัดเขียน 9. ท่าเรื อวัดตึก 10. ท่าเรื อวัดเขมา 11. ท่าเรื อพิบูลย์สงคราม 1 12. ท่าเรื อพระราม 7


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม ท่าเรื อด่วนและพื้นที่ชุมชนบริ เวณโดยรอบริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัจังตหวั ยกรรม ท่าเรืรอี ด่วนและพื้นที่ชุมชนบริ เวณท่าเรื อด่วน ดนนทบุ ริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา จังหวัดนนทบุรี แผนที่ 3 ขอบเขตพื้นที่โครงการ แผนที่ 1 ขอบเขตพื้นที่โครงการ 1. ท่าเรื อปากเกร็ ด 77.85 ไร่ 1. ท่าเรื อปากเกร็ ด 7. ท่าเรื อพระราม 5 2. ท่าเรื อวัดกลางเกร็ ด 8. ท่าเรื อวัดเขียน 3. ท่าเรื อกระทรวงพาณิ ชย์ 9. ท่าเรื อวัดตึก 4. ท่าเรื อสะพานพระนัง่ เกล้า-รพ.พระนัง่ เกล้า 10. ท่าเรื อวัดเขมา 5. ท่าเรื อท่าน้ านนท์ 11. ท่าเรื อพิบูลย์สงคราม 1 6.ทีม่ ท่า า: เรืภาพถ่ อพิบาูลยทางอากาศ ย์สงคราม 2Google Earth 12. ท่าเรื อพระราม 7


โครงการออกแบบและปรั บปรุตงภูยกรรม มิสถาปัท่ตายกรรม ท่าเรื อด่ว้นนและพื ชนบริ เวณท่าเรืมฝัอด่​่งแม่ วนน้ าเจ้าพระยา ้นที่ชุเมวณโดยรอบริ โครงการออกแบบและปรั บปรุ งภูมิสถาปั เรื อด่วนและพื ที่ชุมชนบริ น้ าจัเจ้งตหวั ายกรรม พระยา รี ้นที่ชุมชนบริ เวณท่าเรื อด่วน โครงการออกแบบและปรับปรุริ มงฝัภู่งมแม่ ิสถาปั ท่จัางเรืหวั นและพื ดนนทบุ รอี ด่ดวนนทบุ ริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา จังหวัดนนทบุรี แผนที่ 42 บริขอบเขตพื เวณ ้นที่โครงการ แผนที่ 12 ขอบเขตพื บริ เวณ ้นที่โครงการ 2. ท่าเรื อวัดกลางเกร็ ด 18.26 ไร่ 1. ท่าเรื อปากเกร็ ด 7. ท่าเรื อพระราม 5 2. ท่าเรื อวัดกลางเกร็ ด 8. ท่าเรื อวัดเขียน 3. ท่าเรื อกระทรวงพาณิ ชย์ 9. ท่าเรื อวัดตึก 4. ท่าเรื อสะพานพระนัง่ เกล้า-รพ.พระนัง่ เกล้า 10. ท่าเรื อวัดเขมา 5. ท่าเรื อท่าน้ านนท์ 11. ท่าเรื อพิบูลย์สงคราม 1 6.ทีม่ ท่า า: เรืภาพถ่ อพิบาูลยทางอากาศ ย์สงคราม 2Google Earth 12. ท่าเรื อพระราม 7


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม ท่าเรื อด่วนและพื้นที่ชุมชนบริ เวณโดยรอบริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัจังตหวั ยกรรม ท่าเรืรอี ด่วนและพื้นที่ชุมชนบริ เวณท่าเรื อด่วน ดนนทบุ ริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา จังหวัดนนทบุรี แผนที่ 5 ขอบเขตพื้นที่โครงการ แผนที่ 1 ขอบเขตพื้นที่โครงการ 3. ท่าเรื อกระทรวงพาณิ ชย์ 7.23 ไร่ 1. ท่าเรื อปากเกร็ ด 7. ท่าเรื อพระราม 5 2. ท่าเรื อวัดกลางเกร็ ด 8. ท่าเรื อวัดเขียน 3. ท่าเรื อกระทรวงพาณิ ชย์ 9. ท่าเรื อวัดตึก 4. ท่าเรื อสะพานพระนัง่ เกล้า-รพ.พระนัง่ เกล้า 10. ท่าเรื อวัดเขมา 5. ท่าเรื อท่าน้ านนท์ 11. ท่าเรื อพิบูลย์สงคราม 1 6.ทีม่ ท่า า: เรืภาพถ่ อพิบาูลยทางอากาศ ย์สงคราม 2Google Earth 12. ท่าเรื อพระราม 7


โครงการออกแบบและปรั บปรุตงภูยกรรม มิสถาปัท่ตายกรรม ท่าเรื อด่ว้นนและพื ชนบริ เวณท่าเรืมฝัอด่​่งแม่ วนน้ าเจ้าพระยา ้นที่ชุเมวณโดยรอบริ โครงการออกแบบและปรั บปรุ งภูมิสถาปั เรื อด่วนและพื ที่ชุมชนบริ น้ าจัเจ้งตหวั ายกรรม พระยา รี ้นที่ชุมชนบริ เวณท่าเรื อด่วน โครงการออกแบบและปรับปรุริ มงฝัภู่งมแม่ ิสถาปั ท่จัางเรืหวั นและพื ดนนทบุ รอี ด่ดวนนทบุ ริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา จังหวัดนนทบุรี แผนที่ 62 บริขอบเขตพื เวณ ้นที่โครงการ แผนที่ 12 ขอบเขตพื บริ เวณ ้นที่โครงการ 4. ท่าเรื อสะพานพระนัง่ เกล้า-รพ.พระนัง่ เกล้า 93.99 ไร่ 1. ท่าเรื อปากเกร็ ด 7. ท่าเรื อพระราม 5 2. ท่าเรื อวัดกลางเกร็ ด 8. ท่าเรื อวัดเขียน 3. ท่าเรื อกระทรวงพาณิ ชย์ 9. ท่าเรื อวัดตึก 4. ท่าเรื อสะพานพระนัง่ เกล้า-รพ.พระนัง่ เกล้า 10. ท่าเรื อวัดเขมา 5. ท่าเรื อท่าน้ านนท์ 11. ท่าเรื อพิบูลย์สงคราม 1 6.ทีม่ ท่า า: เรืภาพถ่ อพิบาูลยทางอากาศ ย์สงคราม 2Google Earth 12. ท่าเรื อพระราม 7


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม ท่าเรื อด่วนและพื้นที่ชุมชนบริ เวณโดยรอบริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัจังตหวั ยกรรม ท่าเรืรอี ด่วนและพื้นที่ชุมชนบริ เวณท่าเรื อด่วน ดนนทบุ ริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา จังหวัดนนทบุรี แผนที่ 7 ขอบเขตพื้นที่โครงการ แผนที่ 1 ขอบเขตพื้นที่โครงการ 5. ท่าเรื อท่าน้ านนท์ 105.11 ไร่ 1. ท่าเรื อปากเกร็ ด 7. ท่าเรื อพระราม 5 2. ท่าเรื อวัดกลางเกร็ ด 8. ท่าเรื อวัดเขียน 3. ท่าเรื อกระทรวงพาณิ ชย์ 9. ท่าเรื อวัดตึก 4. ท่าเรื อสะพานพระนัง่ เกล้า-รพ.พระนัง่ เกล้า 10. ท่าเรื อวัดเขมา 5. ท่าเรื อท่าน้ านนท์ 11. ท่าเรื อพิบูลย์สงคราม 1 6.ทีม่ ท่า า: เรืภาพถ่ อพิบาูลยทางอากาศ ย์สงคราม 2Google Earth 12. ท่าเรื อพระราม 7


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม ท่าเรื อด่วนและพื้นที่ชุมชนบริ เวณโดยรอบริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัจังตหวั ยกรรม ท่าเรืรอี ด่วนและพื้นที่ชุมชนบริ เวณท่าเรื อด่วน ดนนทบุ ริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา จังหวัดนนทบุรี แผนที่ 8 ขอบเขตพื้นที่โครงการ แผนที่ 12 ขอบเขตพื บริ เวณ ้นที่โครงการ 6. ท่าเรื อพิบูลย์สงคราม 2 40.24 ไร่ 1. ท่าเรื อปากเกร็ ด 7. ท่าเรื อพระราม 5 2. ท่าเรื อวัดกลางเกร็ ด 8. ท่าเรื อวัดเขียน 3. ท่าเรื อกระทรวงพาณิ ชย์ 9. ท่าเรื อวัดตึก 4. ท่าเรื อสะพานพระนัง่ เกล้า-รพ.พระนัง่ เกล้า 10. ท่าเรื อวัดเขมา 5. ท่าเรื อท่าน้ านนท์ 11. ท่าเรื อพิบูลย์สงคราม 1 6.ทีม่ ท่า า: เรืภาพถ่ อพิบาูลยทางอากาศ ย์สงคราม 2Google Earth 12. ท่าเรื อพระราม 7


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม ท่าเรื อด่วนและพื้นที่ชุมชนบริ เวณโดยรอบริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัจังตหวั ยกรรม ท่าเรืรอี ด่วนและพื้นที่ชุมชนบริ เวณท่าเรื อด่วน ดนนทบุ แผนที่ 9 ขอบเขตพื้นที่โครงการ แผนที่ 1 ขอบเขตพื้นที่โครงการ

7. ท่าเรื อพระราม 5

ริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา จังหวัดนนทบุรี

31.95 ไร่ 1. ท่าเรื อปากเกร็ ด 7. ท่าเรื อพระราม 5 2. ท่าเรื อวัดกลางเกร็ ด 8. ท่าเรื อวัดเขียน 3. ท่าเรื อกระทรวงพาณิ ชย์ 9. ท่าเรื อวัดตึก 4. ท่าเรื อสะพานพระนัง่ เกล้า-รพ.พระนัง่ เกล้า 10. ท่าเรื อวัดเขมา 5. ท่าเรื อท่าน้ านนท์ 11. ท่าเรื อพิบูลย์สงคราม 1 6.ที่มท่า า: เรืภาพถ่ อพิบาูลยทางอากาศ ย์สงคราม 2Google Earth 12. ท่าเรื อพระราม 7


โครงการออกแบบและปรั บปรุตงภูยกรรม มิสถาปัท่ตายกรรม ท่าเรื อด่ว้นนและพื ชนบริ เวณท่าเรืมฝัอด่​่งแม่ วนน้ าเจ้าพระยา ้นที่ชุเมวณโดยรอบริ โครงการออกแบบและปรั บปรุ งภูมิสถาปั เรื อด่วนและพื ที่ชุมชนบริ น้ าจัเจ้งตหวั ายกรรม พระยา รี ้นที่ชุมชนบริ เวณท่าเรื อด่วน โครงการออกแบบและปรับปรุริ มงฝัภู่งมแม่ ิสถาปั ท่จัางเรืหวั นและพื ดนนทบุ รอี ด่ดวนนทบุ แผนที่ 10 2 บริขอบเขตพื เวณ ้นที่โครงการ แผนที่ 12 ขอบเขตพื บริ เวณ ้นที่โครงการ

8. ท่าเรื อวัดเขียน

ริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา จังหวัดนนทบุรี

29.86 ไร่ 1. ท่าเรื อปากเกร็ ด 7. ท่าเรื อพระราม 5 2. ท่าเรื อวัดกลางเกร็ ด 8. ท่าเรื อวัดเขียน 3. ท่าเรื อกระทรวงพาณิ ชย์ 9. ท่าเรื อวัดตึก 4. ท่าเรื อสะพานพระนัง่ เกล้า-รพ.พระนัง่ เกล้า 10. ท่าเรื อวัดเขมา 5. ท่าเรื อท่าน้ านนท์ 11. ท่าเรื อพิบูลย์สงคราม 1 6.ที่มท่า า: เรืภาพถ่ อพิบาูลยทางอากาศ ย์สงคราม 2Google Earth 12. ท่าเรื อพระราม 7


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม ท่าเรื อด่วนและพื้นที่ชุมชนบริ เวณโดยรอบริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัจังตหวั ยกรรม ท่าเรืรอี ด่วนและพื้นที่ชุมชนบริ เวณท่าเรื อด่วน ดนนทบุ แผนที่ 11 ขอบเขตพื้นที่โครงการ แผนที่ 1 ขอบเขตพื้นที่โครงการ

9. ท่าเรื อวัดตึก

ริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา จังหวัดนนทบุรี

44.50 ไร่ 1. ท่าเรื อปากเกร็ ด 7. ท่าเรื อพระราม 5 2. ท่าเรื อวัดกลางเกร็ ด 8. ท่าเรื อวัดเขียน 3. ท่าเรื อกระทรวงพาณิ ชย์ 9. ท่าเรื อวัดตึก 4. ท่าเรื อสะพานพระนัง่ เกล้า-รพ.พระนัง่ เกล้า 10. ท่าเรื อวัดเขมา 5. ท่าเรื อท่าน้ านนท์ 11. ท่าเรื อพิบูลย์สงคราม 1 6.ที่มท่า า: เรืภาพถ่ อพิบาูลยทางอากาศ ย์สงคราม 2Google Earth 12. ท่าเรื อพระราม 7


โครงการออกแบบและปรั บปรุตงภูยกรรม มิสถาปัท่ตายกรรม ท่าเรื อด่ว้นนและพื ชนบริ เวณท่าเรืมฝัอด่​่งแม่ วนน้ าเจ้าพระยา ้นที่ชุเมวณโดยรอบริ โครงการออกแบบและปรั บปรุ งภูมิสถาปั เรื อด่วนและพื ที่ชุมชนบริ น้ าจัเจ้งตหวั ายกรรม พระยา รี ้นที่ชุมชนบริ เวณท่าเรื อด่วน โครงการออกแบบและปรับปรุริ มงฝัภู่งมแม่ ิสถาปั ท่จัางเรืหวั นและพื ดนนทบุ รอี ด่ดวนนทบุ แผนที่ 12 2 บริขอบเขตพื เวณ ้นที่โครงการ แผนที่ 12 ขอบเขตพื บริ เวณ ้นที่โครงการ

10. ท่าเรื อวัดเขมา

ริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา จังหวัดนนทบุรี

23.67 ไร่ 1. ท่าเรื อปากเกร็ ด 7. ท่าเรื อพระราม 5 2. ท่าเรื อวัดกลางเกร็ ด 8. ท่าเรื อวัดเขียน 3. ท่าเรื อกระทรวงพาณิ ชย์ 9. ท่าเรื อวัดตึก 4. ท่าเรื อสะพานพระนัง่ เกล้า-รพ.พระนัง่ เกล้า 10. ท่าเรื อวัดเขมา 5. ท่าเรื อท่าน้ านนท์ 11. ท่าเรื อพิบูลย์สงคราม 1 6.ที่มท่า า: เรืภาพถ่ อพิบาูลยทางอากาศ ย์สงคราม 2Google Earth 12. ท่าเรื อพระราม 7


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม ท่าเรื อด่วนและพื้นที่ชุมชนบริ เวณโดยรอบริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัจังตหวั ยกรรม ท่าเรืรอี ด่วนและพื้นที่ชุมชนบริ เวณท่าเรื อด่วน ดนนทบุ แผนที่ 13 ขอบเขตพื้นที่โครงการ แผนที่ 1 ขอบเขตพื้นที่โครงการ

11. ท่าเรื อพิบูลย์สงคราม 1

ริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา จังหวัดนนทบุรี

50.47 ไร่ 1. ท่าเรื อปากเกร็ ด 7. ท่าเรื อพระราม 5 2. ท่าเรื อวัดกลางเกร็ ด 8. ท่าเรื อวัดเขียน 3. ท่าเรื อกระทรวงพาณิ ชย์ 9. ท่าเรื อวัดตึก 4. ท่าเรื อสะพานพระนัง่ เกล้า-รพ.พระนัง่ เกล้า 10. ท่าเรื อวัดเขมา 5. ท่าเรื อท่าน้ านนท์ 11. ท่าเรื อพิบูลย์สงคราม 1 6.ที่มท่า า: เรืภาพถ่ อพิบาูลยทางอากาศ ย์สงคราม 2Google Earth 12. ท่าเรื อพระราม 7


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม ท่าเรื อด่วนและพื้นที่ชุมชนบริ เวณโดยรอบริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัจังตหวั ยกรรม ท่าเรืรอี ด่วนและพื้นที่ชุมชนบริ เวณท่าเรื อด่วน ดนนทบุ แผนที่ 14 ขอบเขตพื้นที่โครงการ แผนที่ 12 ขอบเขตพื บริ เวณ ้นที่โครงการ

12. ท่าเรื อพระราม 7

ริ มฝั่งแม่น้ าเจ้าพระยา จังหวัดนนทบุรี

53.15 ไร่ 1. ท่าเรื อปากเกร็ ด 7. ท่าเรื อพระราม 5 2. ท่าเรื อวัดกลางเกร็ ด 8. ท่าเรื อวัดเขียน 3. ท่าเรื อกระทรวงพาณิ ชย์ 9. ท่าเรื อวัดตึก 4. ท่าเรื อสะพานพระนัง่ เกล้า-รพ.พระนัง่ เกล้า 10. ท่าเรื อวัดเขมา 5. ท่าเรื อท่าน้ านนท์ 11. ท่าเรื อพิบูลย์สงคราม 1 6.ที่มท่า า: เรืภาพถ่ อพิบาูลยทางอากาศ ย์สงคราม 2Google Earth 12. ท่าเรื อพระราม 7




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นายพงษ์พินิจ ลิมาลัย รหัส 5719102513 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.13 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมวายด์บีทแอดเวนเจอร์แคมป์ เชียงใหม่ อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Design and Planning of Wildbeat Adventure Camp, Chomthong, Chiang Mai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ การท่องเที่ยวทางธรรมชาติกาลังเป็ นที่นิยมมากในขณะนี้ โดยมีทรัพยากรธรรมชาติเป็ นสิ่ งดึงดูด ใจให้นักท่ อ งเที่ ย วที่ มาเยื อน มี ค วามงดงามตามสภาพธรรมชาติ ความแปลกตาของสภาพธรรมชาติ อันเป็ น เอกลักษณ์หรื อเป็ นอัตลักษณ์ ของท้องถิ่น นั้นๆ สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติที่มีลกั ษณะพิเศษ โครงการนี้ เป็ นโครงการจริ งของบริ ษทั CSM เชี ยงใหม่สามมิตร เป็ นพื้นที่ ของ คุณอาต ศุภชัย เจ้าของโครงการ ที่ตอ้ งการสร้างพื้นที่ท่องเที่ยวสาหรับคนที่ชอบธรรมชาติ ทากิจกรรมกับเพื่อนฝูงครอบครัว พื้นที่ สงบที่ เหมาะแก่การพักผ่อน จากการสัมภาษณ์เจ้าของโครงการ มีแนวความคิ ดที่ จะสร้างโครงการแคมป์ พักแรม แห่ งใหม่ เนื่ องจาก จังหวัดเชี ยงใหม่ มีที่พกั ประเภทโรงแรมจานวนมาก ทั้งโรงแรมทัว่ ไปและโรงแรมประเภทรี สอร์ ทที่ มีการแข่งขันสู ง จึ งมีความสนใจในการจัดทาโครงการแคมป์ ที่ พกั ซึ่ งเป็ นโครงการลักษณะถาวรและไม่ ถาวรสามารถโยกย้ายหรื อปรั บเปลี่ ยนได้อีกทั้งยังมี อตั ราค่ าที่ พกั เที ยบเท่ าโรงแรมและรี สอร์ ทในระดับ 3 ดาว เพื่อที่จะพัฒนาเศรษฐกิจและพื้นที่ของอาเภอจอมทองโครงการนี้เลยเกิดขึ้น โดยปั จจุ บนั มี อตั รานักท่องเที่ ยวจานวนสู งขึ้ น เข้ามาท่องเที่ ยวในเขตอุทยานแห่ งชาติ ดอยอิ น ทนนท์โดยอ้างอิงจากสานักอุทยานแห่ งชาติ แต่ยงั ไม่มีที่พกั ให้กบั นักท่องเที่ ยว ซึ่ งโครงการที่ จะเกิดขึ้นนี้ จะเป็ น โครงการที่รองรับกลุ่มผูม้ ีรายได้ปานกลางถึงสูง เพราะยังไม่มีโครงการที่เป็ นการท่องเที่ยวแบบผจญภัยในเขตพื้นที่ อาเภอจอมทอง โครงการนี้ จึงเป็ นโครงการแรกที่ เป็ นทางเลื อกใหม่นักท่ องเที่ ยวและเพิ่ มกิ จกรรมนันทนาการ รู ปแบบใหม่ให้กบั อาเภอจอมทอง


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อสร้างที่พกั ประเภทแคมป์ และแหล่งท่องเที่ยวแอดเวนเจอร์ 4.1.2 เพื่อเป็ นสร้างตลาดนักท่องเที่ยวกลุ่มผูม้ ีรายได้ ปานกลาง-สูง ที่เข้ามาท่องเที่ยวใน อาเภอจอมทอง 4.1.3 เพิ่มพื้นที่นนั ทนาการให้กบั อาเภอจอมทอง 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 ศึกษาการออกแบบ วางผังภูมิสถาปั ตยกรรมที่พกั และแหล่งท่องเที่ยวประเภทแอด เวนเจอร์แคมป์ ที่เหมาะสมสาหรับคนทุกวัย 4.2.2 เพื่อศึกษาการทิศทางและการตลาดของชุมชนข่วงเปาและพื้นที่เชื่อมต่อในการทา พื้นที่พกั ผ่อนตากอากาศ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ โครงการวายด์บีทแคมป์ และแอดเวนเจอร์ ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 133 หมู่.14 ตาบล ข่ วงเปา อาเภอ จอมทอง จังหวัด เชียงใหม่ 5.2 เหตุผลที่เลือกที่ต้ งั โครงการ เป็ นพื้นที่ส่วนตัวของคุณ อาต ศุภชัย เจ้าของโครงการ 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 6.1 โครงการออกแบบแคมป์ และแอดเวนเจอร์ โครงการวายด์บีทเชียงใหม่ 133 หมู่.14 ตาบล ข่วงเปา อาเภอ จอมทอง จังหวัด เชียงใหม่ ทิศเหนือ ติดต่อกับ พื้นที่ทางการเกษตร ทิศใต้ ติดต่อกับ พื้นที่ทางการเกษตร และ ชุมชนข่วงเปา ทิศตะวันออก ติดต่อกับ พื้นที่ทางการเกษตร ทิศตะวันตก ติดต่อกับ หมู่ 4 ตาบลข่วงเปา และ สวนอินทนนท์รีสอร์ท


โครงการออกแบบแคมป์ และแอดเวนเจอร์ โครงการวายด์บีทเชียงใหม่ หมู่.14 ตาบล ข่วงเปา อาเภอ จอมทอง จังหวัด เชียงใหม่ แผนที่ 1 : แสดงแผนผังบริ เวณที่ต้ งั ของโครงการ สัญลักษณ์ ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข 108 สายเชี ย งใหม่ – แม่ฮ่องสอน ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข 1009 [แยกทางหลวง หมายเลข 108 (จอมทอง) - ดอยอินทนนท์] พื้นที่โครงการ มาตราส่วน ที่มา

ดัดแปลงจาก Google Map

Not to scale


โครงการออกแบบแคมป์ และแอดเวนเจอร์ โครงการวายด์บีทเชียงใหม่ หมู่.14 ตาบล ข่วงเปา อาเภอ จอมทอง จังหวัด เชียงใหม่ แผนที่ 2 : แสดงแผนผังบริ เวณที่ต้ งั ของโครงการ สัญลักษณ์ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1009 เส้นทางสัญจร ขอบเขตพื้นที่โครงการ

มาตราส่ วน ที่มา

ดัดแปลงจาก Google Map

Not to scale




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย พนมกร สันแดง รหัส 5719102514 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วย กิตสะสม 125 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.44 มี ค วามประสงค์จ ะขอท าวิท ยานิ พ นธ์ ร ะดับ ปริ ญ ญาภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิ สถาปั ตยกรรมเส้นทางท่องเที่ยวเชิ ง ประวัติศาสตร์ ในพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์ กาแพงเพชร ส่ วนที่ 2 อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอั ง กฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning Project of Historical Tourist Route at the 2th part of the Kamphaengphet Historical park, Muang, Kamphaengphet. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ อุ ทยานประวัติศาสตร์ กาแพงเพชร เป็ นเมื องโบราณที่ มีอายุอยู่ในสมัยสุ โขทัย มี ทาเลที่ ตั้งอยูร่ ิ มฝั่งแม่น้ าปิ งโดยตั้งอยูท่ างทิศใต้ของเมืองสุ โขทัย เมื่อสมัยสุ โขทัยเป็ นราชธานี น้ นั เมืองกาแพงเพชร มีฐานะเป็ นเมืองลู กหลวง หลานหลวง ต่อมาในสมัยพุทธศตวรรษที่ 21 ภายใต้การปกครองของอาณาจักร อยุธยา เมืองกาแพงเพชรก็ยงั มีความสาคัญในฐานะ 1 ใน 16 หัวเมืองหลักมีบทบาทสาคัญเป็ นที่พกั ทัพหลวง และคอยสกัดข้าศึกจากทางพม่า และล้านนา ด้วยความที่เมืองเป็ นจุดยุทธศาสตร์ ที่สาคัญ ทาให้เมืองกาแพงเพชรยังมีอายุต่อมาอีกจนถึง สมัยกรุ งธนบุรีและรัตนโกสิ นทร์ โดยลักษณะทางกายภาพของเมืองมีความคงทนแข็งแรงทางการยุทธ์เป็ น อย่างมาก แม้เวลาจะผ่านมาเกือบ 700 ปี จึงกล่าวได้วา่ เมืองโบราณแห่ งนี้ยงั คงสภาพที่สมบูรณ์ที่สุดแห่ งหนึ่ ง ของประเทศไทย ปั จจุบนั อุทยานประวัติศาสตร์ กาแพงเพชรได้ถูกประกาศขึ้นทะเบียนให้เป็ นมรดกโลกเมื่อ วันที่ 13 ธันวาคม 2534 ประกอบไปด้วย พื้นที่ ส่วนที่ 1 ตั้งอยู่บริ เวณภายนอกกาแพงเมื อง ที่ เรี ยกว่าเขต อรัญญิก และพื้นที่ส่วนที่ 2 ซึ่ งประกอบด้วยโบราณสถานขนาดใหญ่จานวนมากที่กระจายอยู่ภายในเมือง กาแพงเมือง ทั้งนี้ เนื่ องด้วย เมืองกาแพงเพชรมีประวัติศาสตร์ การใช้พ้ืนที่ ในเขตกาแพงเมืองต่อเนื่ องมาโดย ตลอดจนทาให้เกิดสภาพของการผสมผสานกันระหว่างเมืองโบราณและเมืองปั จจุบนั ซึ่งแสดงให้เห็นความ เปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจของความ เป็ นเมืองโบราณภายใต้วถิ ีชีวติ ของคนเมืองในปัจจุบนั


กรมศิ ลปากรเห็ นความสาคัญและบทบาทของอุ ทยานประวัติศาสตร์ กาแพงเพชรที่ มีต่อ สังคม การเมือง และวัฒนธรรมของชาติและเห็นว่าเมืองกาแพงเพชรเป็ นนครประวัติศาสตร์ ที่มีความสาคัญ มิ ใช่ เฉพาะระดับชาติ เท่านั้นแต่ยงั มีความสาคัญระดับโลก จึงได้มีการปรับปรุ งตัว อุทยานประวัติศาสตร์ กาแพงเพชรส่ วนที่ 1 ซึ่ งปั จจุบนั เสร็ จสมบูรณ์ แล้ว และส่ วนที่ 2 กรมศิลปากรได้เล็งเห็นความสาคัญและ ศัก ยภาพของพื้ น ที่ จึ ง ได้จ ัด ท าแผนพัฒ นาเส้ น ทางการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวัติ ศ าสตร์ ใ นพื้ น ที่ อุ ท ยาน ประวัติศาสตร์ กาแพงเพชร ส่ วนที่ 2 แห่ งนี้ โดยมีแนวคิดที่จะรักษาวิถีชีวิตในเขตกาแพงเมืองโบราณของ เมื อ งก าแพงเพชรที่ เ ป็ นเสน่ ห์ แ ละเอกลัก ษณ์ เ ฉพาะตัว ทั้ง นี้ ในการพัฒ นาเส้ น ทางการท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ประวัติศาสตร์ ในเขตกาแพงเมืองโบราณ ของจังหวัดกาแพงเพชรได้คานึ งถึงประโยชน์ทางเศรษฐกิ จและ ยกระดับคุ ณภาพแหล่ งท่ องเที่ ย วและส่ งเสริ มการท่ องเที่ ย วสู่ ระดับ ชาติ และระดับสากลตามแผนพัฒ นา ยุทธศาสตร์ การพัฒนาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดกาแพงเพชร (พ.ศ.2561 - 2564) 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อรับรองการขยายตัวการท่องเที่ยวเชิ งประวัติศาสตร์ โบราณสถานและ โบราณคดีให้กบั จังหวัดกาแพงเพชร 4.1.2 เพื่ อ การอนุ รั ก ษ์แ ละพัฒ นาภู มิ ท ัศ น์ ท างประวัติ ศ าสตร์ ด้า นหลัก ฐาน โบราณสถาน และโบราณคดีที่ยงั คงปรากฎให้เห็นในปัจจุบนั 4.1.3 เพื่ อ เป็ นแหล่ ง เรี ยนรู ้ ศึ ก ษาด้ า นสถาปั ต ยกรรมโบราณและอุ ท ยาน ประวัติศาสตร์ ที่ผสมผสานกันระหว่างสถาปั ตยกรรมในสมัยโบราณและสภาพสถาปั ตยกรรมของเมืองใน ปัจจุบนั 4.1.4 เพื่อปรับปรุ งภูมิทศั น์รอบนอกกาแพงเมืองและในเขตกาแพงเมื องโบราณ ให้กบั ชุมชน และส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ 4.1.5 เพื่อสร้างงานและเพิ่มรายได้ให้กบั ชุมชน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 ศึกษาข้อมูล พื้นที่ประวัติศาสตร์ โบราณสถาน โบราณคดี และคูน้ า-คันดิน เพื่อนามา ออกแบบวางผังเส้นทางท่องเที่ยวเชิ งประวัติศาสตร์ ส่ งเสริ มการยกระดับคุณภาพชีวิตชุ มชน และ วัฒนธรรม 4.2.2 เพื่อออกแบบวางผังเส้นทางท่องเที่ยวและภูมิทศั น์โดยรอบโบราณสถานใน พื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์ กาแพงเพชร ส่ วนที่ 2 เพื่อเป็ นการส่ งเสริ มสนับสนุ นกิ จกรรมการท่องเที่ยวเชิ ง ประวัติศาสตร์ 4.2.3 เพื่อศึกษากระบวนการการวางผัง การอนุ รักษ์ พื้นที่โบราณสถาน คูน้ า-คัน ดิน และการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม เพื่อชุมชน และการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์


4.2.4 เพื่อศึกษาภูมิทศั น์ประวัติศาสตร์ (Historic Landscape) ตามลักษณะทาง กายภาพของพื้นที่ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ ตั้งอยูใ่ นเขตตาบลในเมือง อาเภอเมืองกาแพงเพชร จังหวัดกาแพงเพชร

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมเส้นทางท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์โบราณสถาน ในเขตกาแพงเมือง จังหวัดกาแพงเพชร แผ่นที่ 1 : แสดงที่ต้ งั และขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ : ขอบเขตโครงการ มาตราส่วน : NOT TO SCALE ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ : Google Earth


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมเส้นทางท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์โบราณสถาน ในเขตกาแพงเมือง จังหวัดกาแพงเพชร แผ่นที่ 2 : แสดงที่ต้ งั และขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ : คาอธิบายสัญลักษณ์ ตาแหน่งโบราณสถาน/แหล่ง โบราณคดี กาแพงเมือง สถานที่, อาคาร เส้นเขตอุทยานประวัติศาสตร์ ถนนลาดยาง, ถนนคอนกรี ต ถนนลูกรังพื้นถนนอ่อน แม่น้ า, คลอง, ห้วย หนอง, บึง ขอบเขตโครงการ มาตราส่วน : NOT TO SCALE ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ : Google Earth โดย กรมศิลปากร


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมเส้นทางท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์โบราณสถาน ในเขตกาแพงเมือง จังหวัดกาแพงเพชร แผนที่ 3 : แสดงที่ต้ งั และขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ : คาอธิบายสัญลักษณ์ ต าแหน่ ง โบราณสถาน/แหล่ง โบราณคดี กาแพงเมือง สถานที่, อาคาร เส้นเขตอุทยานประวัติศาสตร์ ถนนลาดยาง, ถนนคอนกรี ต ถนนลูกรังพื้นถนนอ่อน แม่น้ า, คลอง, ห้วย หนอง, บึง ศิลปวัฒนธรรม ที่อยูอ่ าศัยหนาแน่นปานกลาง ที่อยูอ่ าศัยหนาแน่นน้อย ชนบทและเกษตรกรรม ขอบเขตโครงการ มาตราส่วน : NOT TO SCALE Google Earth โดย กรมศิลปากร ที่มา : ดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ :


5.2 เหตุผลในการเลือกพื้นที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่โครงการตั้งอยูใ่ จกลางเมือง จังหวัดกาแพงเพชร มีพ้นื ที่ลอ้ มรอบไป ด้วยชุมชน วัด ศาลหลักเมือง พิพิธภัณฑ์ โรงเรี ยน และสถานที่ราชการต่างๆ 5.2.2 พื้นที่โครงการเป็ นพื้นที่เขตอุทยานประวัติศาสตร์ ส่ วนที่ 2 ที่เกี่ ยวเนื่ อง กับอุทยานประวัติศาสาตร์ กาแพงเพชรส่ วนที่ 1 ที่มีการกระจัดกระจายของตัวโบราณสถานอยูบ่ ริ เวณรอบ นอกในเขตกาแพงเมืองโบราณ จังหวัดกาแพงเพชร 5.2.3 พื้นที่ โครงการเป็ นพื้นที่ เขตอุ ทยานประวัติศาสตร์ ส่ วนที่ 2 ซึ่ งอุทยาน ประวัติศาสาตร์ กาแพงเพชรส่ วนที่ 1 ได้มีการพัฒนาเสร็ จสมบู รณ์ แล้ว ยกเว้นแต่ส่วนที่ 2 ที่ ไม่ได้มีการ พัฒนา จึงเกิดโครงการนี้ ข้ ึนมา เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเชิ งประวัติศาสตร์ โบราณสถานในเขตกาแพงเมื อง จังหวัดกาแพงเพชร ใขเขตพื้นที่เขตอุทยานประวัติศาสตร์ ส่ วนที่ 2 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 6.1 โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมเส้นทางท่องเที่ยวเชิ งประวัติศาสตร์ โบราณสถานในเขตกาแพงเมือง จังหวัดกาแพงเพชร มีขนาดขอบเขตพื้นที่การศึกษา ประมาณ 503 ไร่ 7. บรรณานุกรม คู่มือรวมหัวข้อวิทยานิ พนธ์สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม พ.ศ. 2560 คณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา https://issuu.com/tuboonyanant/docs/thesistopic_60 สางานอุทยานประวัติศาสตร์ กาแพงเพชร อาณาเขตติดต่อ อาเภอเมือง จังหวัดกาแพงเพชร มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ วัดนาควัชรโสภณ จ.กาแพงเพชร ทิศตะวันออก ติดต่อกับ โรงเรี ยนจงสวัสดิ์เจริ ญวิทยา กาแพงเพชร ทิศใต้ ติดต่อกับ สานักงานสาธารณสุ ขจังหวัดกาแพงเพชร ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ส านั ก งานการประปาส่ วนภู มิ ภ าคจั ง หวัด กาแพงเพชร




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว พิชญนันท์ ชื่นอารมย์ รหัส 5719102515 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิต สะสม 136 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.21 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมย่านพาณิ ชยกรรม นครรังสิ ต เพื่อรองรับการพัฒนาทางด้านการขนส่ ง ปทุมธานี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architecture Design and Planning Project of Nakorn Rangsit Commercial District, Pathumthani 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ปัจจุบนั นครรังสิ ต ได้มีการเติบโตของพื้นที่เป็ นอย่างมาก เนื่องจากเป็ นเขตปริ มณฑลที่เป็ นพื้นที่ รองรับการเจริ ญเติบโตและการขยายตัวของกรุ งเทพมหานครในทางตอนเหนื อ ทั้งทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทางด้านสังคมการเมือง และทางด้านเศรษฐกิจที่มีการขยายตัวของธุ รกิจหมู่บา้ นจัดสรร ธุ รกิจการค้า การบริ การ พาณิ ชยกรรม และธุ รกิจโรงงานอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ทาให้นครรังสิ ตยังเป็ นศูนย์กลางจุดเปลี่ยน ถ่ายการขนส่ งและการเดินทางไปยังจังหวัดในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ และภาคตะวันออก โดยใช้ถนน พหลโยธิ น(ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข1) เป็ นเส้นหลัก และเป็ นจุดตัดที่สาคัญบนถนนในย่านพาณิ ชยกรรม คือ 1) ถนนรังสิ ต-นครนายก 2)ถนนรังสิ ต-ปทุมธานี และมีทางยกระดับอุตราภิมุข (โทลล์เวย์) เชื่อมเข้ากับตัวเมือง จากการเติบโตดังกล่าวข้างต้น ทาให้เกิดปั ญหาที่ตามมา ได้แก่ การขาดพื้นที่รองรับต่อกิจกรรม และการพักผ่อนหย่อนใจของประชากร การเพิ่มตัวของประชากรแฝง ขาดการจัดการของพื้ นในการขนส่ งที่ มี หลากหลายรู ปแบบ ขาดการเชื่ อมต่อของพื้นที่ที่ปลอดภัย การเอื้อต่อการเข้าถึงพื้นที่ และสิ่ งอานวยความสะดวก ของคนเดินเท้าและทางจักรยาน ปั ญหาทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น คือ เมื่อเข้าฤดูฝนจะเกิดการท่วมขังของน้ าเนื่องจาก ในบริ เวณนี้เป็ นพื้นที่ราบลุ่ม และด้วยปัญหาของพื้นผิวที่ไม่สามารถช่วยระบายได้ จากแผนยุทศาสตร์ชาติระยะ20ปี (พ.ศ.2560-2579)และความสอดคล้องกับแผนพัฒนาฯฉบับที่12 (พ.ศ.2560-2564)ในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันและลดความเหลื่อมล้ า ให้ระบบ ขนส่ งทางรางให้เป็ นโครงข่ายหลักตามแนวระเบี ยงเศรษฐกิ จ พัฒนาระบบขนส่ งสาธารณะในเขตเมื องภูมิภาค รวมทั้ง พัฒนา สิ่ งอานวยความสะดวก และพัฒนาพื้นที่รอบสถานี(TOD) จากยุทธศาสตร์ที่กล่าวไปข้างต้นเทศบาลนครรังสิ ตจึง


นามาเป็ นแนวทางในการพัฒนาในช่วงเวลา3ปี ให้เทศบาลนครรังสิ ต เป็ นนครแห่งคุณภาพชีวิตในปี 2562 ในอนาคต นครรังสิ ตได้มีโครงการรถไฟสายสี แดงเข้ม (สถานี รังสิ ต) โครงการรถโดยสารด่วนพิเศษ (brt) และโครงการชุ บ ชีวติ คลองรังสิ ต เดินเรื อแก้วกิ ฤตจราจร มีศูนย์การค้าและพาณิ ชยกรรมต่างๆเกิดขึ้น ด้วยเหตุ น้ ี จึงเลือกพื้นที่ ดงั กล่ าวเป็ นพื้นที่โครงการออกแบบและวางผังภู มิ สถาปั ตยกรรมย่าน พาณิ ชยกรรม นครรังสิ ต เนื่องจากบทบาทของพื้นที่น้ ีเป็ นจุดศูนย์กลางการกระจายการพัฒนาของเมืองในอนาคตที่ จะต้องมีการรองรับทั้งประชากรทั้งภายในและภายนอกที่จะเพิ่มมากขึ้น การขนส่ งรู ปแบบต่างๆที่จะเกิดขึ้น การ ขยายตัวทางด้านการลงทุนธุ รกิจที่ หลากหลาย และแก้ปัญหาเรื่ องการจัดการการระบายน้ า เพื่อพัฒนาพื้นที่ให้มี ประสิ ทธิภาพ พร้อมทั้งส่ งเสริ มคุณภาพชีวติ ที่ดีของประชากรในพื้นที่และผูท้ ี่เข้ามาใช้งานอีกด้วย 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒ นาพื้น ที่ โดยรอบสถานี ขนส่ งมวลชนให้มีการใช้ประโยชน์ที่ ดินแบบ ผสมผสาน 4.1.2 เพื่อพัฒนาการเชื่ อมต่อของพื้นที่ โครงสร้างพื้นฐานการสัญจร คนเดิน จักรยาน ให้ดีข้ ึน และส่ งเสริ มการใช้ระบบการขนส่ ง 4.1.3 เพื่อการออกแบบและวางผังการใช้ที่ดิน ปรับปรุ งภูมิทศั น์ เพิ่มพื้นที่สาธารณะ และพื้นที่สีเขียวให้แก่พ้นื ที่ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบพื้นที่และการใช้ประโยชน์ที่ดินโดยรอบสถานี และอาคาร 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาการออกแบบพื้ น ที่ ใ ห้ เชื่ อ มโยง เอื้ อ ต่ อ การเข้ า ถึ ง และเดิ น ทาง ตอบสนองและดึงดูดคนให้มาใช้ 4.2.3 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมย่านพาณิ ชยกรรม นคร รังสิ ต


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้นที่ต้ งั โครงการอยูบ่ ริ เวณถนนพหลโยธิ น แยกรังสิ ต-ปทุมธานี -นครนายก ย่านพาณิ ช ยกรรม เทศบาลนครรังสิ ต อาเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี มีขนาดพื้นที่โครงการประมาณ 937 ไร่

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมย่านพาณิ ชยกรรม นครรังสิ ต เพื่อรองรับการพัฒนาทางด้านการ ขนส่ ง ปทุมธานี แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth สัญลักษณ์ : ขอบเขตพื้นที่โครงการ มาตราส่ วน คลอง NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมย่านพาณิ ชยกรรม นครรังสิ ต เพื่อรองรับการพัฒนาทางด้านการ ขนส่ ง ปทุมธานี แผนที่ 2 แผนที่เทศบาลนครรังสิ ต ที่มา : https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Amphoe_Pathum_Thani.svg สัญลักษณ์ แสดงพื้นที่โครงการ มาตราส่ วน NOT TO SCALE

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมย่านพาณิ ชยกรรม นครรังสิ ต เพื่อรองรับการพัฒนาทางด้านการ ขนส่ ง ปทุมธานี แผนที่ 3 แผนที่ผงั การเดินรถไฟฟ้า ที่มา : https://www.sansiriblog.com/bangkok-mass-transit/ สัญลักษณ์ สถานีในพื้นที่โครงการ มาตราส่ วน โครงการ BRT NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมย่านพาณิ ชยกรรม นครรังสิ ต เพื่อรองรับการพัฒนาทางด้านการ ขนส่ ง ปทุมธานี แผนที่ 4 แสดงเส้นทางสัญจรบริ เวณโครงการ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth สัญลักษณ์ : ขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนนทางหลวงหมายเลข 1 (พหลโยธิน) มาตราส่ วน ทางคู่ขนานถนนพหลโยธิน NOT TO SCALE ทางยกระดับอุตราถิมุข(โทลล์เวล) ถนนรังสิ ต – ปทุมธานี ถนนรังสิ ต – นครนายก ถนนเรี ยบคลองรังสิ ต จุดกลับรถไปถนนนครนายก ถนนภายในพื้นที่ ทางรถไฟ ทางรถไฟฟ้าสายสี แดงเข้ม


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมย่านพาณิ ชยกรรม นครรังสิ ต เพื่อรองรับการพัฒนาทางด้านการ ขนส่ ง ปทุมธานี แผนที่ 5 แสดงการเชื่อมโยง (linkage)โดยรอบพื้นที่ และโครงการพัฒนาในอนาคต ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth สัญลักษณ์ : ขอบเขตพื้นที่โครงการ สถานศึกษา มาตราส่ วน ศูนย์การค้า NOT TO SCALE ตลาด โครงการที่จะเกิดขึ้นในอนาคต การสัญจรทางเรื อ โครงการรถ brt 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 ที่ต้ งั โครงการเป็ นจุดศูนย์กลางในการเปลี่ยนถ่ายการขนส่ งที่มีหลายรู ปแบบ 5.2.2 พื้นที่สถานีขนส่ งและศูนย์การค้าแต่ละจุด ไม่มีการเชื่อมโยงที่เอื้อต่อการเข้าถึงที่ ง่าย สะดวกและปลอดภัย ทั้งยังขาดพื้นที่สาธารณะ 5.2.3 พื้นที่นครรังสิ ต มีลกั ษณะเป็นแหล่งรวมของย่านพาณิ ชยกรรม อุตสาหกรรม ที่ อยูอ่ าศัย และการขนส่ งที่มีในปัจจุบนั และที่จะเกิดขึ้นในอนาคต


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ท้ งั หมดประมาณ ทิศเหนือ ติดกับ ทิศใต้ ติดกับ ทิศตะวันออก ติดกับ ทิศตะวันตก ติดกับ

937 ไร่ โรงงานอุตสาหกรรม เขตชุมชน และ โรงพยาบาลธัญรักษ์รังสิ ต เขตชุมชน คลอง1 เขตชุมชน เทศบาลตาบล บางพูน

7. บรรณานุกรม รังสิ ต มหานครเมืองใหม่ [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.realist.co.th/blog/รังสิ ต-มหา

นครเมืองใหม่/ (28 พฤศจิกายน 2560) สรุ ปผังรถไฟ-อัพเดตความคืบหน้า 11 สายหลัก [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.sansiriblog.com/bangkok-mass-transit/ (28 พฤศจิกายน 2560) เชื่อมขนส่ งระบบรางเข้าปทุมธานี [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มhttp://www.komchadluek.net/ news/economic/166416 (30 พฤศจิกายน 2560) คู่มือการดาเนินงานวิทยานิพนธ์ 2556 [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://issuu.com/ tuboonyanant/docs/latheismanual56_foeweb (23 พฤศจิกายน 2560) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์และ การออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (นางสาวพิชญนันท์ ชื่นอารมย์) ……….../………./………..



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวพิมลวรรณ กาศวิเศษ รหัส 5719102516 นักศึกษาชั้นปี ที่4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.44 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์พฒั นาการท่องเที่ยวทาง ศิลปะวิทยาการ อาเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอั ง กฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning Project of the

Commemoration Arts and Sciences Educational Center Denchai ,Phrae 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ตามประวัติศาสตร์ แต่เดิ มจังหวัดแพร่ เป็ นเมืองที่ มีความเกี่ ยวข้องกับสิ่ งทอมาตั้งแต่สมัยชน เผ่าไทโยนกและไทพวน ไม่ว่าจะเป็ นวิถีชีวิตการทอผ้าเลี้ยงชี พ การทาโรงย้อมผ้าจากธรรมชาติ การปลูกพืชเพื่อ นาไปแปรรู ปผลิตภัณฑ์สิ่งทอซึ่ งสร้างรายได้ให้แก่จงั หวัดแพร่ อย่างมหาศาล โดยผ้าพื้นบ้านของจังหวัดแพร่ คื อ “ผ้าซิ่ นตีนจก” และ “ผ้าหม้อห้อม” เป็ นผลิตภัณฑ์ผา้ ที่เป็ นเอกลักษณ์ของจังหวัดแพร่ จึงมีจุดประสงค์ที่จะผลักดัน และอนุรักษ์ผา้ พื้นบ้าน รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านอื่นๆของจังหวัดแพร่ ให้รู้จกั กันอย่างแพร่ หลาย โดยปี พ.ศ. 2529 – 2530 ทางจังหวัดแพร่ จึงได้ขอให้รัฐบาลจัดตั้งหน่ วยงาน “ศูนย์หม่อน ไหมเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิพระบรมราชิ นีนาถ จังหวัดแพร่ ” ขึ้น โดยขอใช้พ้ืนที่ป่าสงวนแม่พวก อาเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ ประมาณ 657 ไร่ เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรในจังหวัดแพร่ เพื่อผลิตเป็ นหัตถกรรมเกี่ยวกับ ไหมทุ กชนิ ด จาหน่ ายตามความต้อ งการของนานาประเทศทัว่ โลก ซึ่ งมี ความเกี่ ย วข้องกับอุ ตสาหกรรมสิ่ ง ทอ พื้นบ้านเดิ มในพื้นที่ ทางหน่ วยภาครัฐจึ งได้ตระหนักถึงความสาคัญของการมีส่วนร่ วมหน่ วยงานและชุมชนมาก ยิ่งขึ้น จึงเปลี่ยนเป็ น “ศูนย์พฒั นาการท่องเที่ยวทางศิลปะวิทยาการ อาเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ ” โดยภายในโครงการ นอกจากการได้เรี ยนรู ้ พฒ ั นาการกรรมวิธีต้ งั แต่การเก็บเกี่ ยวไปจนกระทัง่ เป็ นผลิ ตภัณฑ์ของเส้นไหมแล้ว ยังมี เรี ยนรู ้กระบวนการผลิตภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านอื่นๆ เช่น ผ้าหม้อห้อม ผ้าตีนจก ผลิตภัณฑ์ไม้สกั และวัฒนธรรมของ ชนเผ่าไทโยนกและไทพวน ยังมีการเกษตรพืชเฉพาะทาง เป็ นแหล่งศึกษาเรี ยนรู ้และสร้างกิจกรรมร่ วมกันระหว่าง ชุมชนกับนักท่องเที่ยวและผูม้ าเยือน สภาพปั จจุบนั เนื่ องจากมีพ้ืนที่ ทาการเกษตรกรรม มีการปลูกต้นไม้ยอ้ มสี และ มีพ้ืนที่เหมาะใน การปลูกพืชอื่น เช่น ต้นฝ้ าย ต้นห้อม กระบก มะหาด หว้า ผลหม่อนสุ ก แก้ว ขี้เหล็กบ้าน ไม้สกั เป็ นแหล่งเศรษฐกิจ


สาคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดโดยพืชเหล่านี้หลังจากผ่านกระบวนการถูกแปรรู ปผลิตภัณฑ์ มีบริ เวณโดยรอบเป็ นพื้นที่ เกษตรกรรม ที่อยูอ่ าศัยและแหล่งค้าขายของชุมชนจานวนมาก อีกทั้งยังมีจุดบริ การนักท่องเที่ยวอยู่บริ เวณใกล้เคียง และเป็ นเส้นทางผ่านทางหลวงสายเอเชี ยสาย13 ของนักท่องเที่ยวของทั้งชาวไทยและต่างชาติ แต่ภายในโครงการมี กลุ่มอาคารและภูมิทศั น์ควรได้รับการปรับปรุ งเนื่ องจากมีการใช้งานเป็ นเวลานาน ความเสื่ อมโทรมที่เกิดขึ้นทาให้ ไม่มีผคู ้ นเข้าไปใช้งาน ไม่บรรลุวตั ถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้ จึ งเกิ ดเป็ นโครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม ศูนย์พฒั นาการท่องเที่ยวทางศิลปะวิทยาการ อาเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ ซึ่ งพื้นที่โครงการจะตั้งอยูบ่ นพื้นที่ของศูนย์ หม่อนไหมฯเดิ ม จึ งเป็ นศูนย์กลางของทั้งแหล่งเรี ยนรู ้ ทั้งแหล่งท่องเที่ ยวแห่ งใหม่ที่ทุกคนสามารถมีส่วนรวมใน การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม สร้างรายได้ส่งเสริ มอาชีพ อีกทั้งยังเป็ นการส่ งเสริ มการท่องเที่ยวของจังหวัดให้ผคู ้ นรู ้จกั กันอย่างแพร่ หลายไปสู่สากลต่อไป

4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เป็ นแหล่งรวบรวมการท่องเที่ยวแบบผสมผสานแห่ งใหม่ของจังหวัดแพร่ ที่มี ทั้งเชิงวัฒนธรรมและเชิงเกษตรชนบท 4.1.2 เป็ นแหล่งเก็บรักษาและอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้ให้อยูค่ ่กู บั คนแพร่ สืบไป 4.1.3 เพื่ อ ให้ค นรุ่ นหลัง หรื อนักท่ องเที่ ย ว ผูท้ ี่ ส นใจศึ กษาได้เ รี ย นรู ้ แ ละเข้าใจถึ ง ประวัติ ความเป็ นมาของวัฒนธรรมชนเผ่าดั้งเดิม และกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ที่สามารถนาความรู ้ที่ได้สามารถ ต่อยอดสร้างอาชีพ สร้างรายได้ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์พฒั นาการ ท่องเที่ยวทางศิลปะวิทยาการ อาเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ 4.2.2 เพื่อศึกษาความเป็ นอยูข่ องวัฒนธรรมชนเผ่าดั้งเดิมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของ จังหวัดแพร่ เพื่อนามาใช้ในงานออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมของโครงการ 4.2.3 ศึกษาข้อมูลโครงสร้างประชากรกับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เพื่อ สร้างอาชีพ ให้แก่ผใู ้ ช้โครงการ

5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ ศู น ย์ ห ม่ อ นไหม ศู น ย์ ห ม่ อ นไหมเฉลิ ม พระเกี ย รติ ส มเด็ จ พระนางเจ้ า สิ ริ กิ ต์ ิ พระบรมราชินีนาถ จังหวัดแพร่


โครงการออกแบบและวางผังภู มิส ถาปั ต ยกรรม ศู นย์พ ฒ ั นาการท่ องเที่ ย วทางศิ ลปะวิ ทยาการ อาเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่

แผนที่ 1 แสดงบริ เวณโดยรอบและการเข้าถึงพื้นที่ของโครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้ งั สถานที่โดยรอบ เส้นถนนหมายเลข101 เส้นถนนแพร่ -อุตรดิตถ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ บริ เวณชุมชนสามแยกเด่นชัย มาตราส่ วน ที่มา

ดัดแปลงมาจาก Google Map


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ศูนย์พฒั นาการท่องเที่ยวทางศิลปะวิทยาการ อาเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ แผนที่ 2 แสดงแผนผังบริ เวณที่ต้ งั ของโครงการ สัญลักษณ์ พื้นที่ขอบเขตการศึกษา (657ไร่ )

มาตราส่ วน ที่มา

ดัดแปลงมาจาก Google Map




คำร้ องเสนอหัวข้อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย พุฒธิ พร ไชยบุตร รหัส 5719102517 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.47 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญา ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมสวนสาธารณะสะพานหิ น อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภ าษ าอั ง กฤษ ) The Landscape design and improvement project Saphan Hin Park, Muang, Phuket Town 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ความสาคัญทางประวัติศาสตร์ของสะพานหิ นบริ เวณที่เรื อขุดแร่ ลาแรกของโลกทาการขุดแร่ ดีบุก จากอ่าวทุ่งคาซึ่งเป็ นทะเลบริ เวณสะพานหินขึ้นเป็ นครั้งแรกของโลกด้วย โดยผูน้ าเรื อขุดแร่ ดงั กล่าวเข้ามาขุดแร่ คือ กัปตันเอ็ดเวิร์ด โธมัส ไมลส์ ชาวออสเตรเลีย เมื่อ พ.ศ. 2452 ซึ่ งภายหลังก็ส่งผลให้มีการสร้างเรื อขุดแร่ ข้ ึนใช้งาน อย่างแพร่ หลายในภูมิภาคเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ และ บริ เวณสะพานหิ นเป็นท่าเรื อสาคัญที่เรื อขนส่ งสิ นค้า และ เรื อโดยสารใช้เป็ นจุดเทียบท่า ถือเป็ นท่าเรื อใหญ่ของการเดินทางในเขตทะเลอันดามัน เชื่อกันว่าท่าเรื อสะพานหิ น ยังเป็ นท่าเทียบเรื อที่ตวั แทนชาวภูเก็ตซึ่งเดินทางกลับจากประเทศจีนนาควันธู ป (เหี่ยวเอี้ยน) มาเพื่อประกอบพิธีกิน ผัก จนกลายเป็ นประเพณี สาคัญของชาวภูเก็ตในปัจจุบนั จนกระทัง่ พ.ศ. 2511 อธิ บดีกรมมีความคิดที่จะให้มีสิ่งปลูกสร้าง เพื่อเป็นอนุ สรณ์ระลึกถึงการ ขุดแร่ ดว้ ยเรื อขุดแร่ ลาแรกของโลก จึงได้เปิ ดให้มีการประกวดออกแบบจนสิ้ นปี พ.ศ. 2511 มีผปู ้ ระกวดออกแบบ ทั้งสิ้ น 6 ราย ทางคณะกรรมการพิจารณาเลือกแบบของนายชวลิต หัสพงษ์ มาดาเนิ นการก่อสร้างอนุ สาวรี ย ์ โดย ได้รับความช่ วยเหลือจาก บริ ษทั ทุ่งคาฮาเบอร์ ทินเดร็ ดยิ่งเบอร์ ฮดั ที่ ต้ งั ของอนุ สาวรี ยด์ งั กล่าวอยู่บริ เวณริ มหาด ปลายแหลมของสะพานหิ น ในปั จจุบนั สะพานหิ นเป็นพื้นที่สวนสาธารณะเมืองภูเก็ตที่มีศกั ยภาพที่มีพ้ืนที่ป่าชาย เลนเชื่ อมต่อกับบริ เวณติดต่อทางทิศเหนื อซึ่ งมีศกั ยภาพทางธรรมชาติและอนุ รักษ์ป่าชายเลนที่สมบูรณ์ และเป็ น พื้นที่นนั ทนาการ ส่ วนสุ ขภาพออกกาลังกาย ส่ วนจัดแสดงงานกิจกรรมประเพณี ต่างๆของเมือง อย่างไรก็ดีสภาพ พื้นที่ในปั จจุบนั บางพื้นที่ดูเสื่ อมโทรมและขาดสิ่ งอานวยความสะดวกที่สนับสนุ นพื้นที่ สาธารณะและอาจเกิ ด อันตรายได้กบั นักท่องเที่ยวและประชาชนที่เข้าไปใช้ในพื้นที่บริ เวณสะพานหิน เช่น อาชญากรรมหรื อเป็ นแหล่งมัว่ สุ ม อี กทั้งขาดแคลนเรื่ องของพื้ น ที่ จอดรถทาให้มีการกี ดขวางการจราจรของพื้ น ที่ ทางด้านตะวัน ออกและการ ออกแบบของพื้นที่ไม่สอดคล้องกับกิจกรรมไม่มีการรองรับสาหรับผูส้ ู งอายุ ผูพ้ ิการ ผูพ้ ิการทางสายตา เช่น พื้นที่


นันทนาการ และ อานวยความสะดวกต่อผูพ้ ิการและผูส้ ู งอายุไม่มีพ้ืนผิวสัมผัสสาหรับผูพ้ ิการทางสายตา ไม่มีซุ้ม พักผ่อนที่อานวยความสะดวกในการเข้าถึงสาหรับผูใ้ ช้วลี แชร์ ซึ่งในพื้นที่มีแผนพัฒนาแผนพัฒนาสามปี เทศบาลตาบลวิชิต (พ.ศ. 2561-2562) สร้างความมัน่ คง ของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม สนับสนุนการมีส่วนร่ วมของชุมชนรวมทั้งสร้างภูมิคุม้ กันเพื่อรองรับ ผลกระทบจากการที่มีนกั ท่องเที่ยวในพื้นที่มากเกินไปจึงเสนอให้มีโครงการออกแบบจัดสร้างพื้นที่สาธารณะและ นันทนาการและปรับปรุ งภูมิทศั น์ให้เกิดความสวยงามในพื้นที่ของสวนสาธารณะและการแบ่งโซนเพื่อรองรับการ จัดงานนิทรรศการต่างๆ ของจังหวัดภูเก็ต อีกทั้งยังส่ งเสริ มเรื่ องความปลอดภัยยามค่าคืนเรื่ องแสงสว่างในพื้นที่อีก ทั้งยังให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่ดีส่งเสริ มสุ ขภาพของประชาชน นักท่องเที่ยว 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อตอบสนองนโยบายของภาครัฐในการบริ หารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และ สิ่ งแวดล้อมให้เพียงพอเพื่อการเพิ่มพื้นที่สีเขียว และ ปรับปรุ งสวนสาธารณะสะพานหิ นให้เกิดการสอดคลองกัน ของพื้นที่และกิจกรรม นันทนาการ ประเพณี วฒั นธรรม พื้นที่สาธารณะ เพื่อคนทั้งมวล(Universal design) 4.1.2 เพื่อตอบสนองนโยบายของภาครัฐในการส่ งเสริ มสนับสนุนให้เด็ก เยาวชนและ ประชาชนพัฒนาด้านสุ ขภาพอนามัยและความปลอดภัยด้านแสงสว่าง 4.1.3 เพื่อเป็ นพื้นที่ศึกษาป่ าชายเลนของจังหวัด 4.1.4 เพื่อเป็นพื้นที่สาธารณะประโยชน์สาหรับประชาชนในพื้นที่ และ นักท่องเที่ยว รวมทั้งเป็ นพื้นที่เป็ นพื้นที่รองรับการจัดงานนิทรรศการต่างๆ 4.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาพื้นที่นนั ทนาการเพื่อคนทั้งมวล (Universal design) 4.2.2 เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาพื้นที่ประเพณี วฒั นธรรมเพื่อคนทั้งมวล (Universal design) 4.2.3 เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาพื้นที่สาธารณะเพื่อคนทั้งมวล (Universal design) 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขป ข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ ตั้งอยู่ที่ ต าบลวิชิ ต อ าเภอเมื อ ง จัง หวัด ภู เก็ต มี เนื้ อ ที่ โดยประมาณ 207 ไร่ เดิ ม เป็ น สวนสาธารณะ ปั จจุบนั ไม่มีระบบการจัดการที่ดีทาให้กิจกรรมพื้นที่ไม่สอดคล้องกัน บางพื้นที่ดูเสื่ อมโทรมและ ขาดแสงส่ องสว่าง


โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิทศั น์สวนสาธารณะสะพานหิน อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต แผนที่ 1 แสดงแผนที่อาเภอเมืองจังหวัดภูเก็ต ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki สัญลักษณ์ ที่ต้ งั โครงการ ขอบเขตเทศบาลตาบลวิชิต ขอบเขตอาเภอเมือง มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิทศั น์สวนสาธารณะสะพานหิน อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต แผนที่ 2 แสดงแผนที่อาเภอเมืองจังหวัดภูเก็ต ที่มา : ดัดแปลงมาจาก googlemap สั ญ ลั ก ษ ณ์ ที่ต้ งั โครงการ ถนนศักดิเดชน์ซอย7 ถนนกระ ถนนพูนผล มาตราส่ วน : NOT TO SCALE ถนนตะกัว่ ป่ า


โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิทศั น์สวนสาธารณะสะพานหิน อาเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต แผนที่ 3 แสดงแผนที่อาเภอเมืองจังหวัดภูเก็ต ที่มา : ดัดแปลงมาจาก googlemap สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนนภูเก็ต(เทศบาลตาบลวิชิต) มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ เป็นพื้นที่ที่เป็ นแหล่งสวนสาธารณะได้รับความนิ ยม ของจังหวัด และเป็ นย่านการจัด งานนิ ทศั กาลต่างๆ ของจังหวัด จึงเป็นที่มาในการฟื้ นฟูพ้ืนที่ ซึ่ งเป็ นแหล่งท่องเที่ยวและนันทนาการที่สาคัญของ จังหวัดภูเก็ต 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิ ทศั ณ์ สวนสาธารณะสะพานหิ น และแหล่งท่องเที่ ยว สะพานหิน จังหวัดภูเก็ต มีพ้นื ที่ท้ งั หมด 207 ไร่ มีอาณาเขตการติดต่อ ทิศเหนือ ติดกับ อาเภอถลางและอาเภอกระทู ้ ทิศใต้ ติดกับ ทะเลอันดามัน ทิศตะวันออก ติดกับ อ่าวพังงา ทิศตะวันตก ติดกับ ทะเลอันดามัน 7. บรรณานุกรม แนวทางพัฒนาในช่วงสามปี จังหวัดภูเก็ต(พ.ศ.2560-2562).[ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา :http://www.phuketcity.org/3yearplans.php.( 27 พฤศจิกายน 2560 ) คู่มือการดาเนินงานวิทยานิพนธ์ 2556 [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://issuu.com/ tuboonyanant/docs/latheismanual56_foeweb (23 พฤศจิกายน 2560)

โดยข้าพเจ้ายิน ดี ที่จะปฏิ บตั ิ ตามหลักและวิธีดาเนิ น งานวิทยานิ พ นธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (นาย พุฒธิพร ไชยบุตร) ……….../………./………..



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว พุทธิ ดา กริ มทุม รหัส 5719102518 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภู มิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 133 หน่ วยกิ ต คะแนนสะสมเฉลี่ ยจน ถึ งขนาดนี้ ได้เท่ากับ 3.08 มี ความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ ระดับปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัว ข้อ เรื่ อ ง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรั บ ปรุ ง ภู มิ ส ถาปั ต ยกรรม ศู น ย์ส่ ง เสริ ม การศึกษาและพัฒนาทรัพยากรป่ าชายเลนที่ 2 (สมุทรสาคร) อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Design and Improvement of Mangrove Forest and Development Center 2 (Samut Sakhon), Muang, Samut Sakhon 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ศูนย์ส่งเสริ มการศึกษาและพัฒนาทรัพยากรปาชายเลนที่ 2 มีความสาคัญยิ่งในความสัมพันธ์ของ ระบบนิ เ วศในธรรมชาติ และมี คุ ณ ประโยชน์อ ย่า งมากแก่ มนุ ษ ย์ ทั้งทางด้า นเศรษฐกิ จ วัฒ นธรรม และด้า น นิเวศวิทยา อีกทั้งยังเป็ นแหล่งทรัพยากรที่สาคัญต่อวิถีชีวิตของชาวประมงพื้นบ้าน เป็ นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์น้ า และ เป็ นแหล่งดูนกที่สาคัญของจังหวัดสมุทรสาคร จึงทาให้ชุมชนในพื้นที่ ตาบลบางหญ้าแพรก ร่ วมกับกรมทรัพยากร ทางทะเล จัดทาโครงการคืนธรรมชาติป่าชายเลน โดยการทดลองทาแนวทิ้งหิ น ณ บริ เวณชายฝั่งตะวันตกของปาก แม่น้ าท่าจีน ตั้งแต่ปี พ.ศ.2536 และในปี ถัดมา ได้ดาเนิ นการปลูกป่ าถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ ควบคู่กนั ไป ในปี พ.ศ. 2543 ชุ มชนบางหญ้าแพรก และหน่ วยงานเอกชน ได้จดั ตั้งศูนย์ศึกษาธรรมชาติ ป่าชายเลนอ่าวมหาชัย เพื่ อเป็ น แหล่งศึกษาหาความรู ้และพักผ่อนหย่อนใจ ซึ่ งได้เปิ ดใช้งานอย่างเป็ นทางการ เมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ.2545 เป็ น ต้นมา โดยมี ภารกิ จหลักในการวิจยั และพัฒนาทรั พยากรตลอดจนเทคนิ คในการฟื้ นฟูระบบนิ เวศป่ าชายเลนเพื่ อ เพิ่มพูนทรัพยากรสัตว์น้ า ให้ความรู ้เกี่ยวกับระบบนิเวศป่ าชายเลนแก่นกั เรี ยน นักศึกษา และผูท้ ี่สนใจทัว่ ไป จากสภาพปั ญ หาเสื่ อ มโทรมของทรั พ ยากรชายฝั่ ง และการพังทลายจากคลื่ น ลมธรรมชาติ ปั จจุบนั พื้นที่โครงการขาดการพัฒนา ปรับปรุ ง และถูกทิ้งให้เสื่ อมโทรม เกิดการพังทลายและกัดเซาะจากคลื่นลม ตามแนวชายฝั่ง จากที่ต้ งั ของศูนย์ฯ อยู่บริ เวณปากแม่น้ าท่าจี น ขยะและสิ่ งปฏิ กูลที่ไหลมาจากแม่น้ า ประกอบกับ ช่ วงเวลาน้ าขึ้ น กระแสน้ าได้พดั เอาขยะเข้ามาในบริ เวณป่ าชายเลน ก่ อให้เกิ ดมลภาวะและทาลายทัศนี ยภาพที่ สวยงามของป่ าชายเลน รวมไปถึงรบกวนแหล่งที่อยูอ่ าศัยของสัตว์ป่าชายเลน


จากเหตุผลข้างต้นดังกล่าวจึงได้เลือกพื้นที่โครงการศูนย์ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้และพัฒนาทรัพยากร ป่ าชายเลนที่ 2 (สมุทรสาคร) ตาบลบางหญ้าแพรก อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร เนื่ องจากสภาพพื้นที่ต้ งั อยู่ปาก แม่น้ าในช่วงเวลาน้ าลงเกิดเป็ นหาดเลน ที่เป็ นแหล่งหากินของบรรดานกชายเลน และนกน้ าหลายชนิ ดจึงเป็ นแหล่ง ดูนกที่สาคัญของจังหวัดสมุทรสาคร และในช่วงฤดูหนาวจะมีโอกาสได้เห็นนกท้องถิ่นและนกอพยพนับเป็ นแสนๆ ตัว รวมถึงนกหายากบางชนิ ด นอกจากนี้ ยังได้เห็นวาฬบรู ดา้ ซึ่ งถือว่าเป็ นสัตว์ประจาถิ่นอ่าวไทย ประกอบกับ ความสัมพันธ์ของระบบนิ เวศป่ าชายเลนกับวิถีชีวิต และการประกอบอาชี พของชาวประมงตามแนวชายฝั่ง พื้นที่น้ ี สามารถพัฒนาเป็ นแหล่งท่องเที่ ยวเชิ งนิ เวศ และการอนุ รักษ์ทรัพยากรป่ าชายเลน สาหรับเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ ศึกษา ค้นคว้า วิจยั และเป็ นแหล่งดูนกจุดสาคัญ ที่จะสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยว นักอนุรักษ์ และผูท้ ี่สนใจทัว่ ไป เพื่อช่วย ส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงนิเวศให้กบั จังหวัดสมุทรสาคร 4. วัตถุประสงค์ 4.1. จุดประสงค์ของโครงการ 4.1.1. เพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ เกี่ยวกับระบบนิเวศป่ าชายเลนที่มีความหลากหลายทาง ชี วภาพ วิถีชีวิตชาวประมงตามแนวชายฝั่ ง เพื่อเป็ นการศึ กษาและสัมผัสวิถีชีวิตของชาวประมง จึ งมีกิจกรรมถีบ กระดานเลน ซึ่ งเป็ นการอนุรักษ์ภูมิปัญญา แหล่งทามาหากิน และกิจกรรมดูนก เนื่ องจากบริ เวณนี้ เป็ นแหล่งหากิน ของนกชายเลนหลายชนิด 4.1.2 เพื่อการอนุรักษ์ ฟื้ นฟูระบบนิเวศป่ าชายเลนเพื่อเพิ่มพูนทรัพยากร และเป็ นแหล่ง อนุ บาลสัตว์น้ า โดยมีกิจกรรมปลูกป่ าชายเลน เพื่ อการรั กษาสมดุ ลชายฝั่ ง ลดการกัดเซาะจากคลื่ นลมตามแนว ชายฝั่ง โดยการปลูกป่ าชายเลนเสริ มในบริ เวณป่ าเดิม 4.1.3 เพื่อเป็ นการพัฒนาพื้นที่ ส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศ และอนุรักษ์ธรรมชาติ ของจังหวัดสมุทรสาคร ปรับปรุ งเส้นทางเดินศึกษาระบบนิ เวศป่ าชายเลน ที่สามารถสัมผัสความร่ มรื่ นไปพร้อม ๆ กับการเรี ยนรู ้เรื่ องราวของพันธุ์ไม้ พันธุ์สตั ว์ชายเลนหลากหลายชนิดอย่างใกล้ชิด 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 ศึกษาการข้อมูล ด้านวิถีชีวิตและภูมิปัญญาของชาวประมงตามแนวชายฝั่ง 4.2.2 เพื่อศึกษาแนวทางการอนุรักษ์และการฟื้ นฟูทรัพยากรธรรมชาติป่าชายเลน 4.2.3 ศึกษาการออกแบบ วางผังภูมิสถาปัตยกรรม แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและ การอนุรักษ์ป่าชายเลน 5 สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขป ข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ ศูนย์ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้ และพัฒนาทรัพยากรป่ าชายเลนที่ 2 (สมุทรสาคร) ตาบล บาง หญ้าแพรกอาเภอ เมือง จังหวัด สมุทรสาคร อยู่ในพื้นที่ป่าสงวนแห่ งชาติ ป่าชายเลนปากอ่าวมหาชัยฝั่งตะวันตกมี ลักษณะเป็ นพื้นที่ป่าชายเลนตามแนวชายฝั่งยาวประมาณ 42 กิโลเมตร มีขนาดพื้นที่ประมาณ 500 ไร่


5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 ศูนย์ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้และพัฒนาทรัพยากรป่ าชายเลนที่ 2 (สมุทรสาคร) เป็ น สถานที่โครงการจริ ง โดยเป็ นศูนย์ที่ดูแลผืนป่ าชายเลนของสมุทรสาครซึ่ งเป็ นป่ าสงวนแห่ งชาติซ่ ึ งเรี ยกกันว่า ป่ า ชายเลนอ่าวมหาชัย เป็ นพื้นที่ที่อยูบ่ ริ เวณน้ ากร่ อยของปากแม่น้ าท่าจีน 5.2.2 ศูนย์ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้และพัฒนาทรัพยากรป่ าชายเลนที่ 2 (สมุทรสาคร) จัดตั้ง ขึ้นเพื่ออนุรักษ์ป่าชายเลนของสมุทรสาครที่เคยมีถึงแสนไร่ จนเหลือน้อยเต็มที จึงต้องการการอนุรักษ์ ปรับปรุ งให้ มีสภาพแวดล้อม และทัศนียภาพที่ดีข้ ึน 5.2.3 พื้นที่ ป่าชายเลนตั้งอยู่บริ เวณปากแม่น้ าท่าจีน และเป็ นแหล่งหากิ นของนกทะเล สามารถเป็ นแหล่งศึกษา เรี ยนรู ้ ทางธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพของป่ าชายเลนได้ 5.2.4 บริ เวณรอบ ๆ พื้ น ที่ โ ครงการ เป็ นชุ ม ชนชาวประมงตามแนวชายฝั่ ง ที่ มี วัฒนธรรมและวิถีชีวิตในการดารงชี พด้วยการถี บกระดานเลนจับหอยแครง หรื อแมงดาทะเล ที่ ควรค่ าแก่ การ อนุรักษ์ ไว้เพื่อศึกษาเรี ยนรู ้และเป็ นแหล่งสร้างรายได้ให้แก่คนในชุมชน


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม ศูนย์ส่งเสริ มการศึกษาและพัฒนา ทรัพยากรป่ าชายเลนที่ 2 (สมุทรสาคร) แผนที่ 1 แสดงตาแหน่งที่ต้ งั โครงการระดับตาบล ที่มำ : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth สั ญลักษณ์ :

ถนนพระราม 2 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 ถนนสุ ทธิ วาตวิถี ทางหลวงชนบทหมายเลข สค.6039 ที่ต้ งั โครงการ

มาตราส่ วน : NOT TO SCAL


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม ศูนย์ส่งเสริ มการศึกษาและพัฒนา ทรัพยากรป่ าชายเลนที่ 2 (สมุทรสาคร) แผนที่ 2 : แสดงที่ต้ งั ของระบบขนส่ งประเภทต่างๆ ที่มำ : ดัดแปลง https://map.longdo.com/ สั ญลักษณ์ : พื้นที่โครงการ ท่าเรื อมหาชัยท่าฉลอม สถานีรถไฟมหาชัย ท่าเรื อท่าฉลอม สถานีรถไฟท่าฉลอม ถนนพระราม 2 มาตราส่ วน : NOT TO SCAL 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรม ศูนย์ส่งเสริ มการเรี ยนรู ้และพัฒนาทรัพยากรป่ า ชายเลนที่ 2 (สมุทรสาคร) ตาบลบางหญ้าแพรก อาเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

ติดต่อกับ ติดต่อกับ ติดต่อกับ ติดต่อกับ

ตาบลท่าฉลอม,สถานีรถไฟบ้านแหลม อ่าวมหาชัย แม่น้ าท่าจีน เทศบาลตาบลบางหญ้าแพรก


7. บรรณานุกรม “สานักงานบริ หารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ งที่ 3 (สมุทรสาคร)” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://dmcrth.dmcr.go.th/mcra3/. (16 พฤศจิกายน 2560). “ ศู น ย์ วิ จั ย ป่ า ช า ย เ ล น ส มุ ท ร ส า ค ร ” [ ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ ] . แ ห ล่ ง ที่ ม า http: / / www. zthailand. com/ place/ ao-maha-chai-mangrove-forest-natural-educationcentre-samut-sakhon/ .(20 พฤศจิกายน 2560). “คู่ มื อ ด า เ นิ น ง า น วิ ท ย า นิ พ น ธ์ 2 5 5 6 ” [ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ ] แ ห ล่ ง ที่ ม า https://issuu.com/tuboonyanant/docs/latheismanual56_foeweb (20 พฤศจิกายน 2560) โดยข้าพเจ้ายินดี ที่จะปฏิ บตั ิ ตามหลักและวิธีด าเนิ นงานวิทยานิ พ นธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว แพรววนิ ต นะเสื อ รหัส 5719102519 นัก ศึก ษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิ ชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิ ต สะสม 130 หน่วยกิ ต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.08 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม สถานพักตากอากาศ เดอะ เรด อี เดน รี สอร์ ทแอนด์สปาและการท่องเที่ยวเชิงเกษตร อ.พบพระ จ.ตาก 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning Project of The Red Eden Resort and Spa and Agro Tourism, Phop Phra, Tak 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ อาเภอพบพระ เป็ นอาเภอหนึ่งของจังหวัดตาก ความสาคัญของอาเภอพบพระในทางภูมิศาสตร์ ที่ สาคัญก็คือเป็ นอาเภอที่เป็ นต้นกาเนิดของแม่น้ าเมย ที่หล่อเลี้ยงผลผลิตการเกษตรในพื้นที่เพราะในบริ เวณอาเภอพบ พระประชาชนส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกร ทาให้ในพื้นที่มีการทาเกษตรกรรมเป็ นจานวนมากทั้งพืชผัก พืชไร่ พืช สวน ไม้ดอก เนื่ องจากมี สภาพอากาศและดินดี อุณหภูมิเ หมาะสม มี ความลาดชันต่ า เป็ นแหล่งรายได้หลักของ ประชาชนในพื้นที่ นอกจากนี้ในบริ เวณอาเภอพบพระยังมีแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติที่มีความสวยงามรวมถึงแหล่ง ท่องเที่ยวเชิงเกษตร เชิงนิ เวศ เชิงพาณิ ชย์ เช่น น้ าตกพาเจริ ญ น้ าตกธารารักษ์ น้ าตกนางครวญ ไร่ การเกษตรต่างๆ เป็ นต้น อีก ทั้ง อาเภอพบพระเป็ น 1 ใน 3 อาเภอที่เ ป็ นผัง เมือ งรวมเขตพัฒนาเศรษฐกิ จพิ เศษจัง หวัดตากจึ งมี การ พัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ พาณิ ชยกรรม การท่องเที่ยวที่จะเติบโตในอนาคต จานวนนักท่อ งเที่ยวในอ าเภอพบพระและอาเภอใกล้เคียงมีเพิ่มขึ้นทุกๆปี ทั้งนักท่องเที่ยวชาว ไทยและชาวต่างชาติ อัตราการเข้าพักของนักท่องเที่ยวสูงขึ้น ทาให้รายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น ซึ่ งในอาเภอพบ พระมีสถานที่ พกั หลายประเภทเช่น สถานที่ พกั ตากอากาศ โรงแรม เกสต์เฮาส์ เป็ นต้น ส่ วนใหญ่ที่ พกั จะราคา ประมาณ 300-400 บาท/คืน ซึ่ งในการออกแบบสถานที่พกั ตากอากาศใหม่แห่ งนี้จะเป็ นสถานพักตากอากาศราคา ระดับสู งกว่าเดิมซึ่ งจะแตกต่างจากสถานที่พกั อื่นๆ และ ตรงกับแผนการส่ งเสริ มการท่องเที่ยวของจังหวัดตากที่ ต้องการเพิ่มสิ่ งอานวยความสะดวกของนักท่องเที่ยว เพื่อรองรับการเติบโตด้านการท่องเที่ยว


จากเหตุผลที่กล่าวมาแล้วข้างต้นจึงมีแนวคิดในการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม เดอะ เรด อี เดน รี สอร์ ทแอนด์สปาและการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เพื่อให้คงความสวยงามของธรรมชาติและเอกลักษณ์ของพื้นที่ ทางด้านการเกษตรที่แสดงถึงวิถีชีวิตและอาชีพหลักของคนในท้องถิ่น มีแนวคิดออกแบบในรู ปแบบสถานพักตาก อากาศให้มีการบริ การสิ่ งอานวยความสะดวกต่างๆ ร้ านอาหาร บริ การสปาให้ความผ่อนคลาย พื้นที่เกษตรทดลอง และชมความสวยงามของสวนกุหลาบพันธุ์ไม้ที่ปลูกเป็ นเศรษฐกิ จสร้างรายได้แก่คนในท้องถิ่นโดยสภาพพื้นที่ใน ปัจจุบนั มีการทาเกษตรกรรม มีบ่อน้ าอยูบ่ ริ เวณพื้นที่ ในการสร้างสถานพักตากอากาศนี้จึงเป็ นการรองรับเศรษฐกิ จ ที่กาลังเติบโตในพื้นที่ และรองรับนักท่องเที่ยวที่เข้ามาเที่ยวในพื้นที่อาเภอพบพระเข้ามาใช้บริ การในพื้นที่สถานพัก ตากอากาศ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นสถานที่พกั ตากอากาศรี สอร์ ทแอนด์สปา และผสมผสานการท่องเที่ยวเชิง เกษตร 4.1.2 เพื่ อ เป็ นแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว และรองรั บ นัก ท่ อ งเที่ ย วจากการเจริ ญเติ บโตของ เศรษฐกิจและการท่องเที่ยวและ 4.1.3 เพื่อเป็ นแหล่งการเรี ยนการทาเกษตรกรรมและเรี ยนรู้พนั ธุ์กุหลาบต่างๆให้เข้าใจ ถึงการดารงชีวิตและการทาอาชีพหลักของคนในพื้นที่ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อ ศึ กษาการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมสถานพักตากอากาศให้มี เอกลักษณ์เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของพื้นที่ 4.2.2 เพื่อปรับปรุ งพื้นที่และนาจุดเด่นของพื้นที่มาพัฒนาพื้นที่โครงการ 4.2.3 เพื่อศึกษาการทาเกษตรและการเรี ยนรู้พนั ธุ์กุหลาบ เพื่อเป็ นแหล่งการท่องเที่ยว แห่งใหม่ในอาเอพบพระ 5. สถานที่ต้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้งั โครงการโดย สังเขป ข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้งั โครงการ พื้นที่ต้งั โครงการมีขนาด 184 ไร่ โครงการตั้งอยูท่ ี่ตาบลช่องแคบ อาเภอพบพระ จ.ตาก 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ 5.2.1 สถานที่ต้งั โครงการใกล้กบั แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ สามารถรองรับกิจกรรม และนักท่องเที่ยว 5.2.2 สถานที่ต้งั โครงการเห็นมุมมองและทัศนียภาพโดยรอบพื้นที่สวยงาม 5.2.3 สถานที่ต้งั โครงการมีศกั ยภาพในการปลูกพืชพรรณต่างๆและทาการเกษตรได้ดี


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม สถานพักตากอากาศ เดอะ เรด อีเดน รี สอร์ ทแอนด์สปาและการท่องเที่ยวเชิงเกษตร อ.พบพระ จ.ตาก แผนที่ 1 ขอบเขตโครงการ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth สัญลักษณ์ : ขอบเขตที่ต้งั ของโครงการ N ถนนทางหลวงหมายเลข 1090 มาตราส่วน : NOT TO SCALE ถนนทางหลวงหมายเลข 1206


SITE LINKAGE

โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม สถานพักตากอากาศ เดอะ เรด อีเดน รี สอร์ ทแอนด์สปาและการท่องเที่ยวเชิงเกษตร อ.พบพระ จ.ตาก N แผนที่ 2 แสดงที่ต้งั โครงการและความเชื่อมโยงของสถานที่ท่องเที่ยว ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth สัญลักษณ์ : ที่ต้งั โตรงการ ถนนทางหลวงหมายเลข 1090 มาตราส่วน : NOT TO SCALE


SITE LINKAGE

โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม สถานพักตากอากาศ เดอะ เรด อีเดน รี สอร์ ทแอนด์สปาและการท่องเที่ยวเชิงเกษตร อ.พบพระ จ.ตาก N แผนที่ 2 แสดงที่ต้งั โครงการและความเชื่อมโยงของสถานที่ท่องเที่ยว ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth สัญลักษณ์ : ที่ต้งั โตรงการ ถนนทางหลวงหมายเลข 1090 มาตราส่วน : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม สถานพักตากอากาศ เดอะ เรด อีเดน รี สอร์ ทแอนด์สปาและการท่องเที่ยวเชิงเกษตร อ.พบพระ จ.ตาก N แผนที่ 2 แผนที่การท่องเที่ยวจังหวัดตาก ที่มา : http://phopphra.tak.doae.go.th/imp/map_img.gif มาตราส่วน : NOT TO SCALE


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ท้งั หมดประมาณ ทิศเหนือ ติดกับ ทิศใต้ ติดกับ ทิศตะวันออก ติดกับ ทิศตะวันตก ติดกับ

184 ไร่ ถนนทางหลวงหมายเลข1090 พื้นที่การเกษตร พื้นที่การเกษตร พื้นที่การเกษตร

7. บรรณานุกรม ข้อมูลนักท่องเที่ยวในจ.ตาก [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://govesite.com/phopphra/content.php?cid=20150920175130mLCRn4j (28 พฤศจิกายน 2550) คู่มือการดาเนินงานวิทยานิพนธ์ 2556 [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://issuu.com/ tuboonyanant/docs/latheismanual56_foeweb (23 พฤศจิกายน 2560) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และ การออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ

(ลงชื่อ)……………………………………. (นางสาว แพรววนิต นะเสื อ) ……….../………./………..


SITE SELECTION

โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม สถานพักตากอากาศ เดอะ เรด อีเดน รี สอร์ ทแอนด์สปาและการท่องเที่ยวเชิงเกษตร อ.พบพระ จ.ตาก แผนที่ 2 แสดงที่ต้งั โครงการและความเชื่อมโยงของสถานที่ท่องเที่ยว ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth สัญลัก ษณ์ : ขอบเขตที่ต้งั โตรงการ ถนนทางหลวงหมายเลข 1090 N ถนนทางหลวงหมายเลข 1206 มาตราส่วน : NOT TO SCALE เกณฑ์การให้คะแนน การเข้าถึงพื้นที่ (Accessibility) โครงข่ายถนน (Road Network) ทางเข้าโครงการ (Approach)

น้ าหนัก SITE A คะแนน คะแนน รวม 4 3 12 3 3 9 5 3 15

SITE B คะแนน รวม 4 16 4 12 4 20

มุมมอง (View) 4 4 16 3 พื้นที่โดยรอบ (Surrounding) 4 4 16 4 การเชื่อมโยงของพื้นที่ (Linkage) 5 4 20 4 รวม 25 88 92 *หมายเหตุ เกณฑ์การให้ คะแนนแบ่งเป็ นดีมาก ดีมาก=4

12 12 20

SITE C คะแนน รวม 2 8 2 6 2 10 4 3 4

16 12 20

72 ดี=3 พอใช้=2 ปรับปรุ ง=1


SITE 1 : ติดกับพื้นที่การเกษตร มีส่วนติดกับถนนทางหลวงหมายเลข 1090 และเชื่อมไปยังถนนเส้นเล็ก มีบ่อน้ า ขนาดเล็ก มีพืชพรรณค่อนข้างหนาแน่น มีพืชการเกษตร ใกล้กบั ที่ชุมชนอยูอ่ าศัย อยูใ่ นบริ เวณเนินสามารถมองวิว ด้านล่างได้มุมมองทางธรรมชาติ

ที่มา : ดัดแปลงมาจาก google street view SITE 2 : ติดกับถนนทางหลวงหมายเลข 1090 เข้าถึงได้ง่าย มีบ่อน้ าขนาดใหญ่กลางพื้นที่ทาให้มีมุมมองที่สวยงามมี พืชพรรณค่อนหนาแน่นบริ เวณหน้าพื้นที่

ที่มา : ดัดแปลงมาจาก google street view SITE 3 : ไม่ได้ติดถนนหลัก แต่สามารถเข้าถึงพื้นที่ในถนนเส้นรองได้ ติดกับพื้นที่การเกษตร มีพืชพรรณการเกษตร หนาแน่นสามารถเห็นวิวภูเขาด้านหลัง มีบ่อน้ าขนาดเล็ก

ที่มา : ดัดแปลงมาจาก google street view



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นายฟ้ าลิขิต ศรี ทองเอี่ยม รหัส 5719102520 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.45 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม ศูนย์พฒั นาและวิจยั เกษตร หลวงปางดะ อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning Project of the Royal Agricultural Research and Development Pangda Center , Samoeng, Chiang mai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ สถานีเกษตรโครงการหลวงปางดะมีการทดลองปลูกเฮมพ์ (กัญชง) เพื่อใช้ในการวิจยั และทดลองเพื่อ พัฒนาคุณภาพของเส้นใยและแปรรู ปผลผลิตให้มีรูปแบบที่หลากหลายยิ่งขึ้น แต่ยงั ไม่ได้รับความสนใจมากเท่าไหร่ นักเนื่ องจาก กัญชง ยังถูกมองว่าเป็ นพืชเสพติดมากกว่าพืชเศษฐกิจ สอดคล้องกับรัฐบาลได้เล็งเห็นถึงความสาคัญ ของต้นกัญชง จึงได้มีมติเมื่อวันที่ 6 กันยายน 2559 เห็นชอบร่ างกฎกระทรวงอนุญาตและการผลิตจาหน่ายหรื อมี ไว้ครอบครองซึ่ งยาเสพติดให้โทษในประเภทที่ 5 เฉพาะเฮมพ์(กัญชง)และร่ วมกันพิจารณากาหนดมาตรการในการ ควบคุมดูและกากับดูแลเฮมพ์ (กัญชง) เป็ นพืชเศษฐกิจและจัดตั้งกลไกในการกากับและดูแล ประกอบกับคุณสมบัติ ของต้นกัญชงที่สามารถแปรรู ปเป็ นวัตถุดิบในการผลิตผ้าและกระดาษได้ดี มีคุณภาพดีกว่าเส้นใยจากผ้าฝ้าย เส้นใย กัญชงจึงเริ่ มมีบทบาทมากในตลาดเส้นใยธรรมชาติ และนอกเหนื อจากเส้นใยแล้วส่ วนอื่นๆ ของกัญชง เช่น น้ ามัน จากเมล็ดกัญชง (Hemp seed oil) ยังสามารถนามาใช้ประโยชน์ทาเป็ นอาหาร เครื่ องสาอาง ยา และวัตถุดิบในทาง อุตสาหกรรมต่าง ๆ เนื่องจากประเทศไทย ชาวเขาเผ่าต่าง ๆ ทางภาคเหนือมีการใช้เส้นใยจากลาต้นของกัญชาเพศผู ้ หรื อ เรี ยกว่า กัญชงกันมานานและทางสถานี เกษตรหลวงปางดะมีการเพาะปลูกและวิจยั การเฮมพ์ (กัญชง) และพืชที่ หลากหลายสายพันธุ์ แต่ยงั ขาดการส่ งเสริ มการพัฒนาการวิจยั เทคโนโลยีเกษตรอุตสาหกรรม การพัฒนาทางด้าน ท่องเที่ยวที่หลากหลาย และการบริ หารจัดการวางผังที่เป็ นระบบ จากสาเหตุที่กล่าวมาแล้วนี้ แสดงให้เห็นว่าสถานี เกษตรโครงการหลวงปางดะจึ งมีศกั ยภาพมากเพียงพอที่ จะพัฒนาให้เป็ นแหล่งท่องเที่ ยวที่ สร้างรายได้ให้ชุมชน


ควบคู่ไปกับการเป็ นศูนย์วิจยั เพื่อให้ความรู ้แก่เกษตรกร ซึ่ งจะเป็ นการส่ งเสริ มและพัฒนาการใช้ประโยชน์พ้ืนที่ โครงการให้เพิ่มมากยิ่งขึ้น จากเหตุผลดังกล่าวทาให้เกิดโครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ศูนย์พฒั นาและวิจยั เกษตรหลวงปางดะ อาเภอสะเมิ ง จังหวัดเชี ยงใหม่ เพื่ อรองรั บนักท่ องเที่ ยวทั้งชาวไทยชาวต่ างชาติ ที่ ตอ้ งการ ประสบการณ์การท่องเที่ยวรู ปแบบใหม่ เพื่อให้ศูนย์พฒั นาและวิจยั เกษตรหลวงปางดะเป็ นที่ รู้จกั มากขึ้นและเพิ่ ม แหล่งท่องเที่ยวแหล่งใหม่ในอาเภอสะเมิง พัฒนาพื้นที่ของโครงการและการส่ งเสริ มการปลูกกัญชงเป็ นพืชเศษฐกิ จ ใหม่แก่ชุมชนสะเมิงในทางอุตสาหกรรมเพื่อส่ งออก และเพิ่มผลงานวิจยั ของกัญชงและกัญชาทางการแพทย์ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพิ่มศักยภาพในด้านการผลิตและวิจยั ทางเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาเฮมพ์ (กัญชง) เป็ น พืชเศรษฐกิจและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและรองรับตลาดเส้นใยธรรมชาติที่กาลังขยายตัวในปั จจุบนั 4.1.2 เพิ่มศักยภาพรองรับการวิจยั ทางการแพทย์เกี่ยวกับกัญชงและกัญชาเพื่อประโยชน์ ทางการแพทย์ในอนาคตและเปลี่ยนภาพลักษณ์ของผูค้ นต่อเฮมพ์ (กัญชง) เป็ นพืชเศรษฐกิจและพัฒนาอุตสาหกรรม พื้นถิ่นเพื่อการส่ งออก และกระจายความรู ้ทางเทคโนโลยีให้แก่เกษตรกร 4.1.3 พัฒนาเป็ นแหล่งท่ องเที่ ย วเชิ งวัฒนธรรม เกษตรกรรม และอุตสาหกรรมเพื่ อ สิ่ งแวดล้อมและส่ งเสริ มเศรษฐกิจระดับชุมชนในอาเภอสะเมิงและสร้างรายได้ให้แก่โครงการและชุมชน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 ศึ กษาการออกแบบและวางผัง ศูนย์พฒั นาและวิจยั เพื่ อนามาใช้กบั สถานี เ กษตร หลวงปางดะ อาเภอสเมิง จังหวัดเชียงใหม่ 4.2.2 เพื่อศึกษาระบบผลิตและวิจยั ทางเทคโนโลยี เกษตรกรรมบนที่สูงและระบบการ ผลิตแปรรู ปและวิจยั พัฒนาเฮมพ์ (กัญชง) 4.2.3 เพื่อศึ กษาและออกแบบวางผังแหล่งท่ องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรม เกษตรกรรม และ อุตสาหกรรมเพื่อสิ่ งแวดล้อม 5 สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขป ข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ ตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่บา้ นปางดะ เลขที่ 192 หมู่ที่ 10 ตาบลสะเมิงใต้ อาเภอ สะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ มีพ้ืนที่ขอบเขตความรับผิดชอบ 1,232 ไร่ เป็ นพื้นที่ศูนย์ 804 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เนื่ องจากโครงการสถานี วิจยั โครงการหลวงปางดะเป็ นโครงการจริ งที่ มีอยู่จริ ง และมี ศ ักยภาพพื้ นที่ เ หมาะสมต่ อ การพัฒ นาและออกแบบและปรั บปรุ ง ภู มิส ถาปั ตยกรรม ประเภทส่ งเสริ ม เกษตรกรรมอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยว 5.2.2 การเพิ่มศักยภาพเพื่อรองรับตลาดอุตสาหกรรมเส้นใยธรรมชาติและกัญชงที่ กาลัง เติบโตในขณะนี้


5.2.3 พื้นที่ มีความได้เปรี ยบทางเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมของชาวไทยภูเขาและด้าน ทรัพยากรธรรมชาติที่มีความอุดมสมบูรณ์ 5.5.4 สถานี เกษตรหลวงปางดะมีการทดลองการปลูกเฮมพ์ (กัญชง)เพื่อทดลองและใช้ งานหัตกรรมสิ่ งทอจากผ้าใยกัญชง หรื องานอุตสาหกรรมพื้นถิ่น

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ศูนย์พฒั นาและวิจยั เกษตรหลวงปางดะ อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 1 :

แสดงแผนที่อาเภอสะเมิง

ที่มา :

https://th.wikipedia.org/wiki/อ ำเภอ สะเมิง ที่ต้ งั โครงกำร ขอบเขตอาเภอสะเมิง ขอบเขตจังหวัดเชียงใหม่ แม่น้ า/แม่น้ าปิ ง NOT TO SCALE

สัญลักษณ์ :

มาตราส่ วน :


สถานีเกษตรโครงหารหลวงปางดะ

สเมิงเก็สท์เฮ้าส์

Samoeng farm

ห้องสมุดประชาชนสะเมิง

ศูนย์วจิ ยั ข้าวสะเมิง

โรงพยาบาสะเมิง

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ศูนย์พฒั นาและวิจยั เกษตรหลวงปางดะ อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ แสดงแผนที่ระดับอาเภอ แผนที่ 2 : ที่มา : Google Earth สัญลักษณ์ : ขอบเขตโครงกำร ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข 1416 ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข 1269 ทางหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข 1096 มาตราส่ วน :

NOT TO SCALE


พื้นที่ป่าและเขตอนุรักษ์

พื้นที่ป่าและเขตอนุรักษ์

ตาบลสะเมิงใต้

พื้นที่ชุมชน

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ศูนย์พฒั นาและวิจยั เกษตรหลวงปางดะ อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ แสดงแผนที่โครงการ แผนที่ 3 : ที่มา : Google Earth สัญลักษณ์ : ขอบเขตโครงกำร พื้นที่โครงกำร

มาตราส่ วน :

NOT TO SCALE




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้า พเจ้า นาย ภัท รพล บุ ญ สารหัส 5719102521นัก ศึ ก ษาชั้น ปี ที่ 4 สาขาวิ ช าภู มิ ส ถาปั ตยกรรม คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึกษามาแล้วจานวน7ภาคการศึกษาจานวนหน่วยกิตสะสม133 หน่วยกิ ต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ ได้เท่ากับ 3.06มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิ สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่สาธารณะเพื่อการเรี ยนรู ้ ทางวัฒนธรรมพื้นถิ่น,อาเภอเมือง จังหวัดตาก 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ)The Landscape Architectural Design and Planning of Public spaces for Local Culture learning, Muang, Tak 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดตากตั้งอยู่ทางภาคเหนื อตอนล่างของประเทศไทย ระยะทางห่ างจากกรุ งเทพมหานคร ประมาณ426 กิ โลเมตรเป็ นจังหวัดชายแดนสาคัญของประเทศไทย ทั้งตัวพื้ นที่ ยงั คงอุดมสมบูรณ์ไปด้วยแหล่ง ท่องเที่ยวทางธรรมชาติมากมาย พื้นที่ทางประวัติศาสตร์ ที่เก่าแก่ ประเพณี วฒั นธรรมที่เป็ นเอกลักษณ์สืบต่อมาเป็ น เวลายาวนาน เทศบาลเมืองตาก จังหวัดตากเป็ นเมืองที่ มีพ้ืนที่ริมฝั่ งแม่น้ าปิ งที่ มีเอกลักษณ์ เนื่ องจากมีสะพาน แขวนสมโภชกรุ งรัตนโกสิ นทร์ 200 ปี เชื่ อมฝั่งแม่น้ าปิ งเทศบาลเมืองตากและตาบลป่ ามะม่วง โดยมีจะมีประเพณี ลอยกระทงสายไหลประทีปพันดวงที่มีเอกลักษณ์เฉพาะที่เดียวในประเทศไทย เกิดขึ้นในทุกๆเดือนพฤศจิกายน ใน วันขึ้น 15 ค่า เดือน 12 โดยงานประเพณี น้ ี ทาให้เกิดการรวบรวมวัฒนธรรมของแต่ละชุมชนโดยรอบเข้ามาในพื้นที่ ทุกๆปี ประกอบไปด้วยสวนสาธารณะตลอดริ มน้ าใช้สาหรับพักผ่อนหย่อนใจและการค้าขายทาให้กลายเป็ นพื้นที่ สาคัญ อีกทั้งพื้นที่ยงั เต็มไปด้วยพื้นที่สาธารณะที่มีขนาดใหญ่ที่ยงั ขาดการเชื่อมโยงซึ่ งกันและกัน ปัจจุบนั เมืองถูกเรี ยกขานว่า “เมืองทางผ่าน” ซึ่ งเกิดการที่ตวั เมืองยังขาดจุดดึงดูดผูใ้ ช้งานให้เข้ามา ในพื้นที่ ส่ งผลให้เศรษฐกิจการท่องเที่ยวในช่ วงที่ไม่มีงานเทศกาลค่อนข้างซบเซา ทาให้เมืองพัฒนาไปอย่างล่าช้า ส่ งผลกระทบทาให้จงั หวัดตากล้าหลังในการพัฒนาคน ด้านครอบครัวและชุมชน มีความล้าหลังเป็ นอันดับ 3 ของ ประเทศ จากดัชนีความก้าวหน้าของคนตากแสดงให้เห็นถึงการศึกษาและรายได้ที่ค่อนข้างต่าอย่างเห็นได้ชดั


ดั้งนั้นจึ งเกิ ดโครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ สาธารณะเพื่อการเรี ยนรู ้ทาง วัฒนธรรมพื้นถิ่น เพื่อพัฒนาพื้นที่สาธารณะ ส่ งเสริ มให้เกิดการเรี ยนรู ้ การถ่ายทอด ทางภูมิปัญญาและวัฒนธรรม พื้นถิ่น เพื่อนาไปต่อยอดเป็ นงานสร้างอาชี พ อีกทั้งยังเพื่ อลบภาพจาของ “เมืองทางผ่าน” ให้เป็ นเมืองที่ สามารถ ท่องเที่ยวได้ตลอดทั้งปี 4. วัตถุประสงค์ 4.1. จุดประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อออกแบบวางผังพื้ นที่ สาธารณะเมื องให้เ กิ ดการเรี ยนรู ้ ทางวัฒ นธรรมเพื่ อ ส่ งเสริ มการสร้างอาชีพ 4.1.2 เพื่อเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวทางด้านประเพณี วฒั นธรรมของเทศบาลเมืองตาก 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อศึ กษาการออกแบบภู มิส ถาปั ต ยกรรมที่ ส่ งเสริ มการเรี ย นรู ้ ป ระเพณี และ วัฒนธรรมของพื้นถิ่น 4.2.2 เพื่อศึกษาการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมที่สอดคล้องกับประเพณี และวัฒนธรรม ของพื้นถิ่นจังหวัดตาก 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ โครงการตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ าปิ งตั้งอยู่ในตาบลหนองหลวงและตาบลระแหง อาเภอเมือง ตาก จังหวัดตาก ตั้งแต่สะพานตากสิ นราชานุสรณ์จนถึงสะพานกิตติขจร บนถนนกิตติขจร ถนนจอมพล 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เป็ นพื้นที่ มีเอกลักษณ์ ดา้ นประเพณี และวัฒนธรรมที่ มีเอกลักษณ์สอดคล้องกับ สภาพพื้นที่โดดเด่น 5.2.2 พัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อกระตุน้ เศรษฐกิจของจังหวัด 5.2.3 เพื่อสร้างพื้นที่สาธารณะที่ส่งเสริ มด้านการเรี ยนรู ้


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่สาธารณะเพื่อการเรี ยนรู ้ทางวัฒนธรรมพื้นถิ่น, อาเภอเมือง จังหวัดตาก แผนที่ 1 แสดงตาแหน่งที่ต้ งั โครงการระดับตาบล ที่มำ : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth สั ญลักษณ์ :

ขอบเขตพื้นที่ศึกษา เส้นทางแม้น้ าปิ ง

มาตราส่ วน NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่สาธารณะเพื่อการเรี ยนรู ้ทางวัฒนธรรมพื้นถิ่น, อาเภอเมือง จังหวัดตาก แผนที่ 2 : แสดงที่ต้ งั ของระบบขนส่ งประเภทต่างๆ ที่มำ : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth สั ญลักษณ์ : ถนนกิตติขจร มาตราส่ วน ถนนจรดวิถีถ่อง NOT TO SCALE ถนนพหลโยธิ น


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 6.1 ขอบเขตของพื้นที่การศึกษา โครงการตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ าปิ งตั้งอยู่ในตาบลหนองหลวงและตาบลระแหง อาเภอเมือง ตาก จังหวัดตาก ตั้งแต่สะพานตากสิ นราชานุ สรณ์จนถึงสะพานกิ ตติ ขจร บนถนนกิ ตติ ขจร ถนนจอมพล มีพ้ืนที่ ศึกษา 2,737 ไร่ 6.2 อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ถนนจรดวิถีถ่อง ทิศใต้ ติดต่อกับ สะพานกิตติขจร ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ชุมชนน้ ารึ ม ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ชุมชนป่ ามะม่วง 7. บรรณานุกรม แผนพัฒนาเมืองตาก 2560 (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา http://www.pdc.go.th/wp-content/uploads/2015/11/แผนพัฒนาจังหวัดตาก57_60.pdf (1 กุมภาพนธ์ 2560) คณะสถาปัตยกรรมมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม : อาจารย์จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ , 2560 “คู่มือการดาเนินงานวิทยานิพนธ์ หลักสูตรภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต” โดยข้าพเจ้ายินดี ที่จะปฏิ บตั ิ ตามหลักและวิธีด าเนิ นงานวิทยานิ พ นธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ

(ลงชื่อ)………………………………. (นายภัทรพล บุญสา) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร

1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนิ นงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว ภัทรี ยา ตาลผาด รหัส 5719102522 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 136 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.51 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมี รายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังศูนย์การเรี ยนรู ้ดา้ นพลังงานสิ่ งแวดล้อมและ นันทนาการ เพื่อฟื้ นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษาใหม่ อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอั ง กฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning Project of the Environmental Energy Learning and Recreation Center for Phraek Sa Mai Landfill Remediation, Mueang, Samut Prakan, Samut Prakan 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ บ่อกลบขยะแพรกษาใหม่ เป็ นที่ดินของเอกชนเปิ ดกิจการขุดหน้าดินขายภายใต้บริ ษทั เด่นไชย ปากน้ า จากัด ทาธุรกิจรับเหมาก่อสร้างและถมดินโครงการบ้านจัดสรร และแบ่งให้เช่า 30 ไร่ เป็ นบ่อกลบขยะ โดย มี ก ารเปิ ดให้ร ถขนขยะเข้า มาทิ้ ง ในพื้ น ที่ เ กื อ บทุ ก คื น โดยขยะแบ่ ง เป็ น 2 กลุ่ ม คื อ ขยะเทศบาล และ ขยะ อุตสาหกรรม คิดค่าทิ้งต่อคัน เป็ นรถเล็กคันละ 1,000 บาท รถใหญ่คนั ละ 3,000 บาท ส่ วนใหญ่ที่นามาทิ้งเกินครึ่ งนี้ เป็ นขยะอุตสาหกรรม เช่น เครื่ องมืออิเล็กทรอนิกส์ อะลูมิเนียม กล่องใส่ ตะกัว่ รวมถึงน้ าเสี ยจากอุตสาหกรรม ซึ่ ง ที่ดินดังกล่าวได้ขอใบอนุญาตทาบ่อขยะเพื่อรี ไซเคิล จากองค์การบริ หารส่ วนตาบลแพรกษา แต่หลังจากนั้น มีการ ลักลอบนาขยะอุตสาหกรรมมาทิ้ง ทาให้ไม่ได้รับการต่อใบอนุ ญาต และได้สั่งปิ ดบ่อขยะไปแล้วหนึ่ งครั้ง มีการ ตักเตือนและเรี ยกมาเสี ยค่าปรับตามกฎหมายจากองค์การบริ หารส่ วนตาบลแพรกษา ครั้งละ 2,000 บาท จนกระทัง่ ไม่ต่อใบอนุญาตให้ ซึ่งถือว่าผูเ้ ช่ากระทากิจการบ่อขยะอย่างผิดกฎหมาย เมื่อเกิดเหตุการณ์ไฟไหม้บ่อขยะแพรกษา ใหม่ในปี 2557 จึงมีแผนในการฟื้ นฟูสิ่งแวดล้อมที่ฝังกลบขยะ นามาสู่ การคัดแยกและการรี ไซเคิล ขยะมูลฝอย ประเภทต่างๆ การรี ไซเคิล และส่ วนหนึ่ งนามาผ่านกระบวนการแปรรู ปและจัดการต่างๆ เพื่อปรับปรุ งคุณสมบัติ ทางกายภาพและคุณสมบัติทางเคมี ให้กลายเป็ นเชื้อเพลิงขยะมาผลิตไฟฟ้า ซึ่ งในปั จจุบนั บ่อกลบขยะแพรกษาใหม่ ถูกปกคลุมไปด้วยหญ้าและกลายเป็ นป่ ารกร้าง แต่ใน บางส่ วนยังคงพบซากขยะที่ถูกไฟไหม้กองทิ้งไว้ ที่ยงั นาออกไปไม่หมด และมีน้ าขังอยู่จานวนมาก ทาให้ขยะ


จานวนมากยังอยูใ่ ต้บ่อที่ลึกลงไปกว่า 10 เมตร โดยไม่สามารถสู บน้ าออกจากบ่อและนาขยะออกไปได้ เพราะอาจ ทาให้พ้ืนที่ใกล้เคียงเกิดการพังทลายและการทรุ ดตัวของดิน นอกจากมลพิษทางอากาศซึ่ งส่ งผลกระทบต่อสุ ขภาพ ของผูอ้ าศัยบริ เวณโดยรอบ และอันตรายอื่นๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น เช่ น การปนเปื้ อนของสารพิษลงในแหล่งน้ า ไป จนถึงปนเปื้ อนสู่ ช้ นั น้ าใต้ดิน เพราะพื้นที่โดยรอบบ่อขยะ มีการเพาะเลี้ยงปลาสลิด แม้ปัจจุบนั จะยังไม่พบการ ปนเปื้ อนของโลหะหนักและสารอันตรายเกินมาตรฐาน แต่กระทบเข้าไปยังห่วงโซ่อาหาร ทาให้เป็ นวิกฤติรอบใหม่ ที่เรานิ่งเฉยกับปัญหาขยะไม่ได้ จากเหตุผลข้างต้นทาให้ชาวบ้านรวมตัวกันเสนอคดีมาสู่ ศาลแพ่งรวม 13 คดี มีโจทก์รวม 2,349 คน ส่ งผลให้คณะรักษาความสงบแห่ งชาติ (คสช.) กาหนดการแก้ไขปั ญหาขยะและน้ าเสี ยเป็นวาระแห่ งชาติ ศาล แพ่งแผนกคดีสิ่งแวดล้อม ให้ผปู ้ ระกอบการบ่อกลบขยะ เจ้าของที่ดิน และ อบต.จัดทาแผนฟื้ นฟู เพื่อลดผลกระทบ ด้านสิ่ งแวดล้อมแก่ชาวบ้าน โดย บริ ษทั อีสเทิร์น อีเนอร์ จ้ ี พลัส จากัด ที่ดูแลในเรื่ องการจัดการขยะในพื้นที่ มี วัตถุประสงค์จดั ตั้งและพัฒนาศูนย์บริ หารจัดการขยะแปรรู ปเป็ นพลังงานทดแทนที่ เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม ส่ งผล ทาให้เกิดโครงการออกแบบและวางผังศูนย์การเรี ยนรู ้ดา้ นพลังงานสิ่ งแวดล้อมและนันทนาการ เพื่อฟื้ นฟูที่ฝังกลบ ขยะแพรกษาใหม่ อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ เนื่องจากบ่อกลบขยะแพรกษาใหม่ตอ้ งฟื้ นฟูสิ่งแวดล้อม โดยเป็ นการป้ องกัน แก้ไขฟื้ นฟู และอนุรักษ์ สามารถให้ความรู ้เกี่ยวกับพลังงานสิ่ งแวดล้อมจากขยะ การจัดพื้นที่ การเรี ยน ทางกายภาพ แก่ผูท้ ี่สนใจเป็ นรายบุคคล หรื อผูเ้ รี ยนเป็นกลุ่ม เพื่อให้เกิดประโยชน์ในอนาคต และเป็ น พื้นที่นนั ทนาการ เพื่อส่ งเสริ มสุ ขภาพทั้งทางด้านร่ ายกายและจิตใจ ที่สาคัญอย่างยิง่ โครงการนี้สามารถช่วยลดอัตรา ฝุ่ น-โอโซน แม่น้ าเสื่ อมโทรม และห่วงโซ่อาหารให้ดียงิ่ ขึ้น 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อฟื้ นฟูสิ่งแวดล้อมและการจัดการปัญหาขยะที่ฝังกลบขยะแพรกษาใหม่ 4.1.2 เพื่อสร้างศูนย์การเรี ยนรู ้ดา้ นพลังงานสิ่ งแวดล้อม ที่มีผลกระทบต่อชีวติ ประจาวัน ให้กบั ประชาชน 4.1.3 เพื่อสร้างพื้นที่นนั ทนาการเพื่อส่ งเสริ มสุ ขภาพทั้งทางด้านร่ ายกายและจิตใจ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อ ศึ กษาการออกแบบและปรั บปรุ ง ภู มิ ส ถาปั ต ยกรรม ศู น ย์การเรี ยนรู ้ ด้า น พลังงานสิ่ งแวดล้อมและนันทนาการ เพื่อฟื้ นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษาใหม่ 4.2.2 เพื่อศึกษาการฟื้ นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษาใหม่ 4.2.3 เพื่อศึกษาการสร้างหลุมขยะที่ป้องกันผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม 4.2.4 เพื่อศึกษาระบบการนาขยะไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 ที่ต้ งั โครงการ โครงการตั้งอยูบ่ นพื้นที่ดินของเอกชน พื้นที่ท้ งั หมด 146 ไร่ ตั้งอยู่ ตาบลแพรกษาใหม่ อาเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ


โครงการออกแบบและวางผังศูนย์การเรี ยนรู ้ดา้ นพลังงานสิ่ งแวดล้อมและนันทนาการ เพื่อฟื้ นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษาใหม่ อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ แผนที่ 1 แสดงแผนที่จงั หวัดสมุทรปราการ ที่มา : ดัดแปลงมาจาก google map สัญลักษณ์ ประเทศไทย จังหวัดสมุทรปราการ

SCALE : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังศูนย์การเรี ยนรู ้ดา้ นพลังงานสิ่ งแวดล้อมแลนันทนาการ เพื่อฟื้ นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษาใหม่ อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ แผนที่ 2 แสดงอาเภอเมืองสมุทราปราการ ที่มา : ดัดแปลงมาจาก https://www.novabizz.com/Map/52.htm สัญลักษณ์ อาเภอเมืองสมุทรปราการ พื้นที่โครงการ

SCALE : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังศูนย์การเรี ยนรู ้ดา้ นพลังงานสิ่ งแวดล้อมและนันทนาการ เพื่อฟื้ นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษาใหม่ อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ แผนที่ 3 แสดง Linkage ที่มา : ดัดแปลงมาจาก google map สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ รัศมีระยะ 3 กิโลเมตร รัศมีระยะ 5 กิโลเมตร หมู่บา้ น โรงงาน

SCALE : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังศูนย์การเรี ยนรู ้ดา้ นพลังงานสิ่ งแวดล้อมและนันทนาการ เพื่อฟื้ นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษาใหม่ อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ แผนที่ 4 แสดงน้ าและเส้นทางเข้าสู่ พ้นื ที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงมาจาก longdo map สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ ถนนแพรกษา 11 ถนนเข้าสู่ พ้นื ที่โครงการ ถนนตาหรู -บางพลี ถนนแพรกษา

SCALE : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังศูนย์การเรี ยนรู ้ดา้ นพลังงานสิ่ งแวดล้อมและนันทนาการ เพื่อฟื้ นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษาใหม่ อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ แผนที่ 5 แสดงขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงมาจาก google map สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ

SCALE : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังศูนย์การเรี ยนรู ้ดา้ นพลังงานสิ่ งแวดล้อมและนันทนาการ เพื่อฟื้ นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษาใหม่ อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ แผนที่ 6 แสดงน้ ารอบพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงมาจาก longdo map สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ น้ า

SCALE : NOT TO SCALE


5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1.1 พื้ น ที่ โ ครงการดัง กล่ า วมี ค วามต้อ งการฟื้ นฟู บ่ อ ขยะแพรกษาใหม่ อ.เมื อ ง สมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ 5.1.2 พื้นที่ โครงการอยู่ใ กล้พ้ื น ที่ ชุม ชนและแหล่ ง น้ าคลองทับนาง ซึ่ งเป็ นคลองที่ เชื่อมต่อกับคลองน้ าในสมุทรปราการและอ่าวไทย หากไม่มีการจัดการขยะและฟื้ นฟูบ่อขยะแพรกษาใหม่ อาจทา ให้ส่งผลกระทบไปยังพื้นที่โดยรอบทั้งทางอากาศ และทางน้ าได้ 5.1.3 พื้นที่โครงการอยู่ในเขตปริ มณฑล สามารถเป็นศูนย์เรี ยนรู ้และนันทนาการของ คนในชุมชนและประชาชนทัว่ ไปได้ 5.1.4 พื้นที่โครงการมีการคมนาคมและสภาพการจราจร สามารถเข้าถึงได้สะดวก 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการออกแบบและวางผังศูนย์การเรี ยนรู ้ดา้ นพลังงานสิ่ งแวดล้อมและนันทนาการ เพื่อ ฟื้ นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษาใหม่ อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ เป็ นที่ดินของเอกชน พื้นที่ท้ งั หมด 146 ไร่ โดยมีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ คลองทับนาง พื้นที่ชุมน้ า และหมู่บา้ นพฤกษาวิลเลจ 9,15 ทิศใต้ ติดต่อกับ พื้นที่ชุ่มน้ า และ โรงงานไฟฟ้า RDF แพรกษาใหม่ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ คลองทับนาง พื้นที่ชุ่มน้ า บริ ษทั Scecialty ทิศตะวันตก ติดต่อกับ คลองทับนาง ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กตาบลแพรกษาใหม่ 7. บรรณานุกรม ไ ท ย รั ฐ อ อ น ไ ล น์ . “ ย้ อ น ร อ ย บ่ อ ข ย ะ แ พ ร ก ษ า ” [ ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์] . แ ห ล่ ง ที่ ม า https://www.thairath.co.th/ content/411645 ( 8 ธันวาคม 2560) ข่าวไทยพีบีเอส. 3 ปี ไฟไหมบ่อขยะแพรกษา รัฐยังไร้แผนฟื้ นฟูสิ่งแวดล้อม [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://news.thaipbs.or.th/content/260903 ( 8 ธันวาคม 2560) โดยข้า พเจ้า ยิ น ดี ที่ จ ะปฏิ บัติ ต ามหลัก และวิ ธี ด าเนิ น งานวิ ท ยานิ พ นธ์ ของคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (นางสาว ภัทรี ยา ตาลผาด) ……….../………./……



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว ภัทรี ยา ตาลผาด รหัส นักศึกษาชั้นปี ที่ สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิ ต สะสม หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ . มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิ ต โดยมี รายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผัง ศูนย์การเรี ยนรู้ ดา้ นพลังงานสิ่ งแวดล้อมและ นันทนาการ เพื่อฟื้ นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษา อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอั ง กฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning Project of the Environmental Energy Learning and Recreation Center for Phraek Sa Landfill Remediation, Mueang, Samut Prakan, Samut Prakan 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ บ่อ กลบขยะแพรกษา เป็ นที่ ดินของเอกชนเปิ ดกิ จ การขุดหน้าดิ นขายภายใต้บริ ษทั เด่นไชย ปากน้ า จากัด ทาธุรกิจรับเหมาก่อสร้างและถมดินโครงการบ้านจัดสรร และแบ่งให้เช่า ไร่ เป็ นบ่อกลบขยะ โดย มี ก ารเปิ ดให้ ร ถขนขยะเข้า มาทิ้ ง ในพื้ น ที่ เ กื อ บทุ ก คื น โดยขยะแบ่ ง เป็ น กลุ่ ม คื อ ขยะเทศบาล และ ขยะ อุตสาหกรรม คิดค่าทิ้งต่อคัน เป็ นรถเล็กคันละ 1,000 บาท รถใหญ่คนั ละ 3,000 บาท ส่วนใหญ่ที่นามาทิ้งเกินครึ่ งนี้ เป็ นขยะอุตสาหกรรม เช่น เครื่ องมืออิเล็กทรอนิกส์ อะลูมิเนียม กล่องใส่ตะกัว่ รวมถึงน้ าเสี ยจากอุตสาหกรรม ซึ่ ง ที่ดินดังกล่าวได้ขอใบอนุญาตทาบ่อขยะเพื่อรี ไซเคิล จากองค์การบริ หารส่วนตาบลแพรกษา แต่หลังจากนั้น มีการ ลักลอบนาขยะอุตสาหกรรมมาทิ้ง ทาให้ไม่ได้รับการต่อใบอนุญาต และได้สั่งปิ ดบ่อขยะไปแล้วหนึ่ งครั้ง มีการ ตักเตือนและเรี ยกมาเสี ยค่าปรับตามกฎหมายจากองค์การบริ หารส่วนตาบลแพรกษา ครั้งละ , บาท จนกระทัง่ ไม่ต่อใบอนุญาตให้ ซึ่ งถือว่าผูเ้ ช่ากระทากิจการบ่อขยะอย่างผิดกฎหมาย เมื่อเกิดเหตุการณ์ไฟไหม้บ่อขยะแพรกษา ในปี จึ งมีแผนในการฟื้ นฟูส่ิ งแวดล้อมที่ฝังกลบขยะ นามาสู่ การคัดแยกและการรี ไซเคิลขยะมูลฝอยประเภท ต่างๆ การรี ไซเคิ ล และส่ ว นหนึ่ ง นามาผ่านกระบวนการแปรรู ปและจัดการต่างๆ เพื่ อ ปรั บปรุ ง คุณสมบัติทาง กายภาพและคุณสมบัติทางเคมี ให้กลายเป็ นเชื้อเพลิงขยะมาผลิตไฟฟ้า ซึ่ งในปั จ จุ บ ัน บ่อ กลบขยะแพรกษา ถู ก ปกคลุ ม ไปด้ว ยหญ้า และกลายเป็ นป่ ารกร้ า ง แต่ ใ น บางส่ ว นยังคงพบซากขยะที่ ถูกไฟไหม้ก องทิ้ง ไว้ ที่ ย งั นาออกไปไม่หมด และมี น้ าขัง อยู่จานวนมาก ทาให้ขยะ


จานวนมากยังอยูใ่ ต้บ่อที่ลึกลงไปกว่า เมตร โดยไม่สามารถสู บน้ าออกจากบ่อและนาขยะออกไปได้ เพราะอาจ ทาให้พ้ืนที่ใกล้เคียงเกิดการพังทลายและการทรุ ดตัวของดิน นอกจากมลพิษทางอากาศซึ่ งส่งผลกระทบต่อสุ ขภาพ ของผูอ้ าศัยบริ เวณโดยรอบ และอันตรายอื่นๆ ที่อาจจะเกิ ดขึ้น เช่น การปนเปื้ อนของสารพิษลงในแหล่ง น้ า ไป จนถึ ง ปนเปื้ อนสู่ ช้ นั น้ าใต้ดิน เพราะพื้นที่โ ดยรอบบ่อขยะ มี ก ารเพาะเลี้ยงปลาสลิด แม้ปัจ จุ บนั จะยังไม่พบการ ปนเปื้ อนของโลหะหนักและสารอันตรายเกินมาตรฐาน แต่กระทบเข้าไปยังห่วงโซ่อาหาร ทาให้เป็ นวิกฤติรอบใหม่ ที่เรานิ่งเฉยกับปัญหาขยะไม่ได้ จากเหตุผลข้างต้นทาให้ชาวบ้านรวมตัวกันเสนอคดีมาสู่ ศาลแพ่งรวม คดี มีโจทก์รวม , คน ส่ งผลให้คณะรักษาความสงบแห่ งชาติ (คสช.) กาหนดการแก้ไขปัญหาขยะและน้ าเสี ยเป็ นวาระแห่ งชาติ ศาล แพ่งแผนกคดีสิ่งแวดล้อม ให้ผปู้ ระกอบการบ่อกลบขยะ เจ้าของที่ดิน และ อบต.จัดทาแผนฟื้ นฟู เพื่อลดผลกระทบ ด้านสิ่ งแวดล้อมแก่ชาวบ้าน ส่ งผลทาให้เกิดโครงการออกแบบและวางผังศูนย์การเรี ยนรู้ดา้ นพลังงานสิ่ งแวดล้อม และนันทนาการ เพื่อฟื้ นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษา อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ เนื่ องจากบ่อกลบขยะ แพรกษาต้องฟื้ นฟูส่ิ งแวดล้อมโดยเป็ นการป้ องกัน แก้ไขฟื้ นฟู และอนุรักษ์ สามารถให้ความรู้ เกี่ ยวกับพลัง งาน สิ่ งแวดล้อมจากขยะ การจัดพื้นที่การเรี ยน ทางกายภาพ แก่ผทู้ ี่สนใจเป็ นรายบุคคล หรื อผูเ้ รี ยนเป็ นกลุ่ม เพื่อให้เกิด ประโยชน์ในอนาคต และเป็ นพื้นที่นนั ทนาการ เพื่อส่ งเสริ มสุขภาพทั้งทางด้านร่ ายกายและจิตใจ ที่สาคัญอย่างยิ่ง โครงการนี้สามารถช่วยลดอัตราฝุ่ น-โอโซน แม่น้ าเสื่ อมโทรม และห่วงโซ่อาหารให้ดีย่งิ ขึ้น 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อฟื้ นฟูสิ่งแวดล้อมและการจัดการปัญหาขยะที่ฝังกลบขยะแพรกษา 4.1.2 เพื่อสร้างศูนย์การเรี ยนรู้ดา้ นพลังงานสิ่ งแวดล้อม ที่มีผลกระทบต่อชีวิตประจาวัน ให้กบั ประชาชน 4.1.3 เพื่อสร้างพื้นที่นนั ทนาการเพื่อส่งเสริ มสุขภาพทั้งทางด้านร่ ายกายและจิตใจ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อ ศึ กษาการออกแบบและปรั บปรุ ง ภู มิสถาปั ต ยกรรม ศูนย์การเรี ยนรู้ ด้า น พลังงานสิ่ งแวดล้อมและนันทนาการ เพื่อฟื้ นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษา 4.2.2 เพื่อศึกษาการฟื้ นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษา 4.2.3 เพื่อศึกษาการสร้างหลุมขยะที่ป้องกันผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม 4.2.4 เพื่อศึกษาระบบการนาขยะไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 5. สถานที่ต้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 ที่ต้งั โครงการ โครงการตั้ง อยู่บนพื้ นที่ ดินของเอกชน พื้ นที่ ท้ งั หมด 80 ไร่ ตั้ง อยู่ ตาบลแพรกษา อาเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ


โครงการออกแบบและวางผังศูนย์การเรี ยนรู้ดา้ นพลังงานสิ่ งแวดล้อมและนันทนาการ เพื่อฟื้ นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษา อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ แผนที่ 1 แสดงแผนที่จงั หวัดสมุทรปราการ ที่มา : ดัดแปลงมาจาก google map สัญลักษณ์ ประเทศไทย จังหวัดสมุทรปราการ

SCALE : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังศูนย์การเรี ยนรู้ดา้ นพลังงานสิ่ งแวดล้อมแลนันทนาการ เพื่อฟื้ นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษา อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ แผนที่ 2 แสดงอาเภอเมืองสมุทราปราการ ที่มา : ดัดแปลงมาจาก http://www.panteethai.com สัญลักษณ์ อาเภอเมืองสมุทรปราการ พื้นที่โครงการ

SCALE : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังศูนย์การเรี ยนรู้ดา้ นพลังงานสิ่ งแวดล้อมและนันทนาการ เพื่อฟื้ นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษา อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ แผนที่ 3 แสดง Linkage ที่มา : ดัดแปลงมาจาก google earth สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ วิหารหลวงพ่อวัดมหาธาตุสุโขทัย(จาลอง) หมู่บา้ นบางปู วิลล่า หมู่บา้ นยัง่ ยืน วัดแพรกษา โรงเรี ยนวัดแพรกษา สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หมู่บา้ นธันยพร อ่างสูบน้ า หมู่บา้ นเสรี นิคมอุตสาหกรรมบางปู โรงงาน

SCALE : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังศูนย์การเรี ยนรู้ดา้ นพลังงานสิ่ งแวดล้อมและนันทนาการ เพื่อฟื้ นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษา อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ แผนที่ 4 แสดงน้ ารอบพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงมาจาก longdo map สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ คลองสูงน้ า น้ า

SCALE : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังศูนย์การเรี ยนรู้ดา้ นพลังงานสิ่ งแวดล้อมและนันทนาการ เพื่อฟื้ นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษา อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ แผนที่ 5 แสดงคลองรอบพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงมาจาก google map สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ คลองหกส่วน

SCALE : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังศูนย์การเรี ยนรู้ดา้ นพลังงานสิ่ งแวดล้อมและนันทนาการ เพื่อฟื้ นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษา อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ แผนที่ 6 แสดงขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงมาจาก google earth สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ ถนนองค์การบริ หารส่วนจังหวัดสมุทรปราการซอย ( ) ถนนเชื่อมผ่านรอบพื้นที่โครงการ

SCALE : NOT TO SCALE


5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ 5.1.1 พื้ น ที่ โ ครงการดัง กล่ า วมี ค วามต้ อ งการฟื้ นฟู บ่ อ ขยะแพรกษา อ.เมื อ ง สมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ 5.1.2 พื้ นที่ โ ครงการอยู่ใกล้พ้ื นที่ ชุมชนและแหล่ง น้ า คลองทับนาง ซึ่ งเป็ นคลองที่ เชื่อมต่อกับคลองน้ าในสมุทรปราการและอ่าวไทย หากไม่มีการจัดการขยะและฟื้ นฟูบ่อขยะแพรกษา อาจทาให้ ส่งผลกระทบไปยังพื้นที่โดยรอบทั้งทางอากาศ และทางน้ าได้ 5.1.3 พื้นที่โครงการอยู่ในเขตปริ มณฑล สามารถเป็ นศูนย์เรี ยนรู้ และนันทนาการของ คนในชุมชนและประชาชนทัว่ ไปได้ 5.1.4 พื้นที่โครงการมีการคมนาคมและสภาพการจราจร สามารถเข้าถึงได้สะดวก 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการออกแบบและวางผังศูนย์การเรี ยนรู้ดา้ นพลังงานสิ่ งแวดล้อมและนันทนาการ เพื่อ ฟื้ นฟูที่ฝังกลบขยะแพรกษา อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ เป็ นที่ดินของเอกชน พื้นที่ท้งั หมด 180 ไร่ โดย มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ชุมชน ทิศใต้ ติดต่อกับ คลองหกส่วน,พื้นที่ชุ่มน้ า ทิศตะวันออก ติดต่อกับ คลองสูบน้ า,สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ คลองหกส่วน,พื้นที่ชุ่มน้ า 7. บรรณานุกรม ไ ท ย รั ฐ อ อ นไ ล น์ . “ ย้ อ นร อ ย บ่ อ ข ย ะ แ พ ร ก ษ า ” [ร ะ บ บ อ อ นไ ล น์ ]. แ ห ล่ ง ที่ มา https://www.thairath.co.th/ content/411645 ( 8 ธันวาคม 2560) ข่าวไทยพีบีเอส. 3 ปี ไฟไหมบ่อขยะแพรกษา รัฐยังไร้ แผนฟื้ นฟูสิ่งแวดล้อม [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://news.thaipbs.or.th/content/260903 ( 8 ธันวาคม 2560) โดยข้า พเจ้ า ยิ น ดี ที่ จ ะปฏิ บ ัติ ต ามหลัก และวิ ธี ด าเนิ น งานวิ ท ยานิ พ นธ์ ของคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (นางสาว ภัทรี ยา ตาลผาด) ……….../………./……



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย วีรวิชญ์ พรพงศ์ศุภสิ น รหัส 5719102523 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.91 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิ ต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่ผสมผสาน ย่าน กม.11 เขตจตุจกั ร จังหวัดกรุ งเทพมหานคร 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Planning and Design Project of the Km.11st Mix Used area, Jatujak Bangkok 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ การรถไฟแห่ งประเทศไทยมีที่ดินใจกลางกรุ งเทพหลายแปลงที่เป็ นพื้นที่ ใจกลางเมือง ล้อมรอบ ด้วยย่านธุ รกิ จ และ การคมนาคมขนส่ ง รวมถึ งพื้นที่ กม.11 ที่ มีศกั ยภาพสู งเหมาะแก่การพัฒนาเพื่ อปรับปรุ งให้ รองรับการเชื่อมต่อคมนาคมขนส่ ง การสัญจร และ ด้านพลังงาน การรถไฟแห่ งประเทศ (รฟท.) มี การบริ การเพื่ อ ประชาชนที่ ไม่ เกิ ดการคุ ม้ ทุ น จึ งมี มติ ในการ แก้ไขปั ญหาโดยการพัฒนาพื้นที่ๆมีศกั ยภาพในการพัฒนาได้ทนั ที จึงมีแผนพัฒนาพื้นที่ยา่ น กม.11 บริ เวณบ้านพัก รถไฟ คลับเฮาส์ สนามกอล์ฟ และ พื้นที่ฝ่ายบริ หาร ที่มีความเชื่ อมโยงกับพื้นที่ศูนย์กลางคมนาคมย่านพหลโยธิ น โดยพัฒนาเป็ นเมืองใหม่ มี อาคารขนาดใหญ่ สานักงาน ศูนย์ประชุ มขนาดใหญ่ โรงแรม คอนโดมิเนี ยม บ้านพัก อาศัยของพนักงาน รฟท. โรงพยาบาล พื้นที่นนั ทนาการ พื้นที่รองรับพนักงาน รฟท. และ พื้นที่ส่วนราชการ โครงการพัฒนาพื้นที่ บริ เวณ นิ คม กม.11 ตั้งอยู่บนพื้นที่ ประมาณ 359 ไร่ เป็ นหนึ่ งใน 3 แปลง ทาเลทอง ของ ร.ฟ.ท. ได้ว่าจ้างศึ กษาพื้ นที่ เชิ งพาณิ ชย์ ตั้งอยู่ติดถนนวิภาวดี -รังสิ ต และ ถนนกาแพงเพชร 2 เป็ น พื้ นที่ ที่ มีความสาคัญสอดคล้องกับแผนแม่บทการพัฒ นาพื้ นที่ ย่านพหลโยธิ น ที่ กาหนดให้เป็ นศู นย์กลางธุ รกิ จ นานาชาติ (International Business Center) และเป็ นศู น ย์กลางระบบการคมนาคมขนส่ ง เพื่ อให้เกิ ด ภาพลักษณ์ เช่ นเดี ยวกับศู นย์กลางธุ รกิ จอื่ นๆ เช่ น ศู นย์กลางด้านการเงิ นย่านสี ลม สาทร หรื อ ศู นย์แฟชัน่ ย่านสยามสแควร์ เพลินจิต ประตูน้ า การรวบรวมนาธุ รกิ จประเภทเดี ยวกันมาอยู่ในย่านเดี ยวกันนี้ จะเป็ นการเสริ มสร้างศักยภาพใน การบริ หารจัดการ


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาและวางผังออกแบบชุมชนเมืองเพื่อลดการใช้พลังงาน 4.1.2 เพื่อลดและแก้ไขปัญหาการใช้งานพื้นที่โครงการเดิม และพัฒนาด้านสิ่ งแวดล้อม 4.1.3 เพื่อจัดสรรพื้นที่กิจกรรมต่างๆให้เหมาะสม และ เป็ นระเบียบน่าใช้งาน 4.1.4 เพื่ อออกแบบพื้ นที่ จุดเชื่ อมต่ อคมนาคม การเดิ นเท้า พื้ นที่ กิจกรรม ให้มีความ เหมาะสมต่อกัน 4.1.5 เพื่อออกแบบให้เกิดความสะดวกต่อผูใ้ ช้งานทุกเพศทุกวัย 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึ กษาศักยภาพของย่าน กม.11 ให้สอดคล้องกับกิ จกรรมโดยรอบเพื่อให้เกิ ด ประโยชน์ในพื้นที่และเหมาะสมต่อความต้องการของผูใ้ ช้โครงการ 4.2.2 เพื่ อศึ กษาข้อมู ลที่ เกี่ ยวข้องกับการใช้งาน ความต้องการ ค่ านิ ยม และ ข้อมูลที่ เกี่ยวข้อง และ ระยะเวลาใช้งาน 4.2.3 เพื่ อศึ กษาและวิเคราะห์ กลุ่มผูใ้ ช้งานของแต่ ละเพศแต่ ละวัย เพื่ อศึ กษาดู ความ ต้องการใช้งานเฉพาะพื้นที่แต่ละส่ วนในพื้นที่โครงการ 4.2.4 เพื่อศึกษาพื้นที่ใกล้เคียงเกี่ยวกับการพัฒนาในอนาคต 4.2.5 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบและวางผังชุมชนเมืองที่คานึงถึงสิ่ งแวดล้อม 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้นที่ต้ งั โครงการมีขนาด 359 ไร่ โครงการตั้งอยูท่ ี่ แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร จังหวัด กรุ งเทพฯ


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพัฒนาพื้นที่ผสมผสาน ย่าน กม.11 จังหวัดกรุ งเทพมหานคร แผนที่ 1 แสดงแผนที่เขตจตุจกั ร ที่มา : https://goo.gl/jx59aV สัญลักษณ์ : ที่ต้ งั โครงการ N ขอบเขตจังหวัดกรุ งเทพ มาตราส่ วน : NOT TO SCALE ขอบเขตประเทศไทย


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพัฒนาพื้นที่ผสมผสาน ย่าน กม.11 เขตจตุจกั ร จังหวัด กรุ งเทพมหานคร แผนที่ 2 แสดงรายชื่อทางสัญจร ลาคลอง และ ที่ต้ งั โครงการ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth สัญลักษณ์ : ที่ต้ งั โครงการ ถนนวิภาวดีรังสิ ต ทางพิเศษศรี รัช N ถนนกาแพงเพชร 6 มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพัฒนาพื้นที่ผสมผสาน ย่าน กม.11 เขตจตุจกั ร จังหวัด กรุ งเทพมหานคร แผนที่ 4 แสดง Site Linkage สถานที่ท่องเที่ยว คมนาคม รัศมี 2.5กิโลเมตร ที่มา : ดัดแปลงแผนที่ถนนจาก Google Pro สัญลักษณ์ : ที่ต้ งั โครงการ สานักงานใหญ่ บริ ษทั ปตท. จากัด (มหาชน) (ระยะ ประมาณ 0กิโลเมตร ) หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ (ระยะประมาณ 0กิโลเมตร ) สวนรถไฟ , สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิตฯ , สวน จตุจกั ร(ระยะประมาณ 0-0.80 กิโลเมตร ) ห้างสรรพสิ นค้าเซ็นทรัลลาดพร้าว (ระยะประมาณ 0.20 กิโลเมตร ) ศูนย์การศึกษาและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม บางซื่ อ(ระยะ ประมาณ 0.70 กิโลเมตร ) ศูนย์กลางคมนาคม(ขนส่ ง รถไฟฟ้า) (ระยะประมาณ <1 กิโลเมตร ) ตลาดนัดจตุจกั ร (ระยะประมาณ 1.8 กิโลเมตร ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ระยะประมาณ 4.50 กิโลเมตร )

N มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 สถานที่ ต้ ังโครงการมี ค วามน่ า สนใจ มี ก ารเชื่ อ มต่ อ กับ พื้ น ที่ ศู น ย์ก ลางการ คมนาคม และ เป็ นพื้นที่พฒั นารองรับการเติบโตและเพิ่มขึ้นของประชากรในอนาคต 5.2.2 สถานที่ต้ งั โครงการเป็ นสถานที่ใจกลางเมืองที่สาคัญของกรุ งเทพมหานคร 5.2.3 พื้นที่โครงการเข้าถึงง่าย และ สะดวกต่อการคมนาคมเป็ นที่ๆควรค่าแก่การพัฒนา จากมูลค่าที่ดิน 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ท้ งั หมดประมาณ 359 ไร่ ทิศเหนือ ติดกับ แนวลารางสาธารณะ ทิศใต้ ติดกับ สวนวชิรเบญจทัศ (สวนรถไฟ) ทิศตะวันออก ติดกับ กลุ่มอาคารสานักงานใหญ่บริ ษทั ปตท. จากัด (มหาชน) และบริ ษทั เอนเนอร์ ยี่ คอมเพล็กซ์ จากัด ทิศตะวันตก ติดกับ ถนนกาแพงเพชร 2 และทางพิเศษศรี รัช 7. บรรณานุกรม หนังสื อพิมพ์กรุ งเทพธุรกิจ. 2559. “ร.ฟ.ท.ลุยโปรเจคแสนล้านพัฒนาพื้นที่ กม.11 ย่าน พหลโยธิ น” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา https://goo.gl/xek2iR (26 มกราคม 2561) ประชาชาติธุรกิจพร็ อพเพอร์ต้ ี. 2561 . “หวัน่ พัฒนากม.11 โอเวอร์ซพั พลาย ชนทาเลบางซื่ อจี้ร.ฟ.ท. ปรับผังเลี่ยงสร้างตึกหรู ” [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา https://goo.gl/kngDJo (26 มกราคม 2561) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และ การออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (นาย วีรวิชญ์ พรพงศ์ศุภสิ น) ……….../………./………..


ความเห็นของคณะกรรมการประจาหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..)

ความเห็นของประธานกรรมการประจาหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนิ นงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (…………………………………………..) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำ ภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย วีรวิชญ์ พรพงศ์ศุภสิ น รหัส 5719102523 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.91 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมย่านการค้าตลาดนัดสวน จตุจกั ร จังหวัดกรุ งเทพมหานคร 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Improvement Project of Commercial District of the Chatuchak Park, Bangkok 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ย่านการค้าสวนจตุ จกั ร เป็ นที่ รู้จกั กันดี ในนามของตลาดนัดจตุ จกั ร เป็ นตลาดนัดในกรุ งเทพฯ ตามนโยบายตลาดนัด ของรั บบาล ซึ่ งเกิ ดขึ้ นใน ปี พ.ศ. 2491 จอมพล ป. พิ บูลสงคราม อดี ตนายกรั ฐมนตรี ที่ ส่ งเสริ มให้มีการจัดตั้งตลาดนัด ขึ้ นในทุ กจังหวัด ตลาดนัด จตุ จักร เป็ นตลาดที่ ถูกย้า ยมาจากสนามหลวง โดย ดาเนิ นการสาเร็ จ เมื่ อปี พ.ศ. 2525 ปั จจุ บนั อยู่ภายใต้อานาจการดู แลของการรถไฟแห่ งประเทศไทย เป็ นแหล่ง ค้าขายหลากหลายชนิ ดของคนกรุ งเทพฯ มายาวนาน ปั จจุบนั เป็ นพื้นที่ สร้างสรรค์ของกรุ งเทพมหานคร เมืองที่ มี พื้นที่ และสภาพแวดล้อมที่ เอื้ออานวยให้เกิ ดกิ จกรรมทางเศรษฐกิ จจากความสร้างสรรค์ และเป็ นศูนย์รวมวัยรุ่ น จานวนมาก ตลาดนัดแห่ งนี้ นอกจากจะมีความสาคัญในทางเศรษฐกิจ ที่เป็ นตลาดค้าปลีกขนาดใหญ่แล้ว ความมี เอกลักษณ์พิเศษที่ มีสินค้าประเภทสัตว์เลี้ยง พืชพรรณ และยังเป็ นตลาดขายส่ งผลิตภัณฑ์ของเกษตรกรและฝี มื อ ชาวบ้าน หลากหลายชนิดที่สาคัญของกรุ งเทพฯและยังมีตลาดนัดกลางคืนอีกช่วงเวลาหนึ่ง ซึ่ งทาให้การท่องเที่ยวมี ความต่อเนื่อง หลากหลายให้เลือก เป็ นตลาดนัดที่ใหญ่ที่สุดในโลกเสมือนสัญลักษณ์หนึ่งของ กรุ งเทพมหานคร ในปั จจุบนั เห็นได้ชดั ว่าธุ รกิ จจัดตลาดนัดมีการเติ บโตทางเศรษฐกิ จมากจากเศรษฐกิ จแบบทุก วันนี้ และได้กลายเป็ นวิถีชีวิตหนึ่ งของชาวไทย ขณะนี้ บริ เวณพื้ นที่ สวนสาธารณะและย่านการค้าสวนจตุ จักร (ตลาดนัดจตุจกั ร) มีพ้ืนที่เปลี่ยนถ่ายการสัญจรระดับภูมิภาค ทั้งรถโดยสารประจาทาง รถไฟฟ้า รถไฟฟ้าใต้ดิน รถตู ้ และ อื่ นๆ มี สถานที่ ท่องเที่ ยวและการคมนาคมที่ สาคัญในพื้ นที่ ใกล้เคี ยง พื้ นที่ ใช้งานในปั จจุ บนั มี ความแออัด การจราจรติดขัด ที่จอดรถไม่เพียงพอ ใช้งานพื้นที่ผิดจุดประสงค์ ปั ญหามลพิษ กลิ่นไม่พึงประสงค์ ความร้อนจาก


การขาดร่ มเงา ความปลอดภัยจากการใช้งานยามค่าคืน และ พื้นที่สวนสาธารณะที่ไม่สามารถดึงดูดคนเพื่อรองรับ การใช้งานพื้นที่ จากแผนพัฒนากรุ งเทพมหานคร ระยะ 20ปี ระยะที่ 2 (พ.ศ.2561-2565) ด้านที่ 2 มหานครสี เขียว สะดวกสบาย และ ด้านที่ 4 มหานครกระชับ และ เป็ นพื้นที่ตามนโยบายของรัฐบาลแนวคิดการผลักดัน “เศรษฐกิจ สร้างสรรค์”มีศกั ยภาพในการสร้างรายได้มหาศาล จึงมีเหตุผลควรต่อการพัฒนาพื้นที่ เพื่อ รองรับผูใ้ ช้งานที่มากขึ้น พัฒนาพลังงาน สิ่ งแวดล้อม ในพื้นที่เนื่ องจากมีการใช้พลังงานจานวนมาก และ พัฒนาเป็ นเป็ นศูนย์กลางการ คมนาคมโดยรอบ เพื่อเอื้อประโยชน์ต่อพื้นที่การค้า โดยพัฒนาสวนสาธารณะจตุจกั ร ที่เป็ นสวนสาธารณะติดกับ ตลาดนัดที่เป็ นพื้นที่ดินราคาสู งซึ่ งเสี ยประโยชน์ของพื้นที่ให้เป็ นการใช้พ้ืนที่ผสมผสาน โดยใช้แนวคิด TOD มา เพื่อวางแผนจัดการผังให้เหมาะสมแก่ เมืองกระชับ และเสริ มสร้างความปลอดภัยจากกิจกรรมตลาดนัดกลางคืนที่ ให้บริ การดึก 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาและปรับปรุ งแหล่งท่องเที่ยวให้มีการใช้งานเหมาะสม เป็ นระเบียบ ปลอดภัย และ ออกแบบเพื่อลดการใช้พลังงาน 4.1.2 เพื่อลดและแก้ไขปัญหาการใช้งาน ของพื้นที่ยา่ นการค้า และ สวนสาธารณะ พักผ่อน 4.1.3 เพื่อจัดสรรพื้นที่กิจกรรมต่างๆให้เหมาะสม และ เป็ นระเบียบน่าใช้งาน 4.1.4 เพื่อออกแบบพื้นที่ยา่ นการค้าและสวนสาธารณะ ให้มีการเอื้อประโยชน์ต่อกัน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาศักยภาพของย่านการค้าและสวนสาธรณะ จตุจกั รให้สอดคล้องกับ กิจกรรมเพื่อให้เกิดประโยชน์ในพื้นที่และเหมาะสมต่อความต้องการของผูใ้ ช้โครงการ 4.2.2 เพื่อศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการใช้งาน ความต้องการ ค่านิยม และ ข้อมูลที่ เกี่ยวข้อง และ ระยะเวลาใช้งาน 4.2.3 เพื่อศึกษาและวิเคราะห์กลุ่มผูใ้ ช้งานของแต่ละเพศแต่ละวัย เพื่อศึกษาความ ต้องการเฉพาะพื้นที่แต่ละส่ วนภายในโครงการ 4.2.4 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรม พื้นที่ยา่ นการค้า และ สวนสาธารณะระดับมหานคร 4.2.5 เพื่อศึกษาจุดรองรับจากสถานีขนส่ งและเชื่อมต่อไปยังพื้นที่ ต่างๆ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้นที่ต้ งั โครงการมีขนาด 326 ไร่ โครงการตั้งอยูท่ ี่แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร จังหวัด กรุ งเทพฯ มีถนนกาแพงเพชร-ถนนพหลโยธิ น


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมย่านการค้าตลาดนัดสวนจตุจกั ร จังหวัดกรุ งเทพมหานคร แผนที่ 1 แสดงแผนที่เขตจตุจกั ร ที่มา : https://goo.gl/jx59aV สัญลักษณ์ : ที่ต้ งั โครงการ N ขอบเขตอาเภอจตุจกั ร มาตราส่ วน : NOT TO SCALE ขอบเขตจังหวัดกรุ งเทพ


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมย่านการค้าตลาดนัดสวนจตุจกั ร จังหวัดกรุ งเทพมหานคร แผนที่ 2 แสดงรายชื่อทางสัญจร ลาคลอง และ ที่ต้ งั โครงการ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth สัญลักษณ์ : ที่ต้ งั โครงการ ถนนพหลโยธิ น ถนนกาแพงเพชร N ถนนกาแพงเพชร 2 มาตราส่ วน : NOT TO SCALE ถนนกาแพงเพชร 3 ถนนกาแพงเพชร 4 ถนนวิภาวดีรังสิ ต


โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมย่านการค้าตลาดนัดสวนจตุจกั ร จังหวัดกรุ งเทพมหานคร แผนที่ 4 แสดง Site Linkage สถานที่ท่องเที่ยว คมนาคม รัศมี 5กิโลเมตร ที่มา : ดัดแปลงแผนที่ถนนจาก Google Pro สัญลักษณ์ : ที่ต้ งั โครงการ ห้างสรรพสิ นค้า เจ เจ มอลล์ (ระยะประมาณ 0.20 กิโลเมตร ) สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิตฯ (ระยะประมาณ 0.40

N มาตราส่ วน : NOT TO SCALE

กิโลเมตร )

ขนส่ งหมอชิต (ระยะประมาณ 1 กิโลเมตร ) ห้างสรรพสิ นค้า เซ็นทรัลลาดพร้าว (ระยะประมาณ 2.20 กิโลเมตร )

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ระยะประมาณ 5.50 กิโลเมตร ) มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม (ระยะประมาณ 5.50 กิโลเมตร )

5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 สถานที่ต้ งั โครงการมีความน่าสนใจ เนื่ องจากย่านนี้ มีตลาดนัดในวันหยุดที่มีท้ งั ตลาดนัดปกติ และ ตลาดนัดกลางคืน ที่มีสินค้าหลากหลายประเภท 5.2.2 สถานที่ต้ งั โครงการปัจจุบนั เป็ นสถานที่ที่มีวยั รุ่ นจานวนมากไปท่องเที่ยวพักผ่อน รวมตัวกันในวันหยุด




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวศุพรรษา คาหล้าทราย รหัส 5719102524 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.04 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศพื้นที่ชุ่ม น้ าทะเลสาบเชียงแสน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Improvement Project of Wetland Ecotourism Attraction at Chiang Saen Lake, Chiang Saen, Chiang Rai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ เขตห้ามล่าสัตว์ป่าหนองบงคายเป็ น 1 ใน 14 แห่ ง ของพื้นที่ชุ่มน้ าในประเทศไทยที่ได้รับการขึ้ น ทะเบี ย นรายนามเป็ นพื้ น ที่ ชุ่ ม น้ า ที่ มี ค วามส าคัญ ระหว่ า งประเทศ (แรมซาร์ ไ ซต์) และมี อี ก ชื่ อ หนึ่ งเรี ย กว่ า “ทะเลสาบเชี ยงแสน” เดิ มเป็ นหนองน้ าธรรมชาติขนาดเล็ก ที่ ลอ้ มรอบด้วยภูเขาและเนิ นเขาเตี้ ยๆ ต่อมาได้มีการ สร้ างเขื่ อ นน้ าล้นกั้น ทางน้ าไหลเพื่ อ กักเก็บ น้ าไว้ใช้ในการเกษตร ท าให้เกิ ด เป็ นทะเลสาบขนาดย่อ ม มี พ้ื น ที่ ประมาณ 2,711 ไร่ ต่อมากระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ประกาศให้บริ เวณพื้นที่หนองบงคายเป็ นเขตห้ามล่าสัตว์ ป่ า เพื่ อดาเนิ นการอนุ รักษ์และคุ ม้ ครองสัตว์ป่าในบริ เวณนี้ สถานภาพของพื้ นที่ เป็ นบริ เวณหนองน้ าสาธารณะ ประโยชน์ มีความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ชุ่มน้ า มีความหลากหลายทางชี วภาพ เป็ นที่อยูอ่ าศัยของนกน้ าที่อพยพมา ให้ช่วงฤดูหนาว บางชนิดเป็ นนกที่หายาก และเป็ นแหล่งน้ าเพื่อการเกษตร โดยอาเภอเชียงแสนเป็ นพื้นที่รอยต่อชายแดนระหว่าง 3 ประเทศ คือไทย พม่า และลาว เป็ นแหล่ง ประวัติศาสตร์ โบราณคดี (เมืองโบราณเชี ยงแสน) ที่สาคัญของจังหวัดเชียงราย มีด่านตรวจคนเข้าเมือง ท่าเรื อเชี ยง แสน 1 เพื่อการท่องเที่ยว จุดชมวิวสามเหลี่ยมทองคา และสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ซึ่ งอาเภอเชี ยงแสนอยูใ่ นเส้นทาง เศรษฐกิ จเส้นทางแม่น้ าโขง และอยู่ระหว่างเส้นทางเศรษฐกิ จ R3A อาเภอเชี ยงของ (ไทย-ลาว-จี น) และเส้นทาง เศรษฐกิ จ R3B อาเภอแม่ สาย (ไทย-พม่ า-จี น) จากศักยภาพที่ ต้ งั พื้ นที่ มีแนวโน้มในการพัฒ นาเป็ นประตู การค้า เชื่อมโยงกับจีนตะวันตก ซึ่ งมีโอกาสทาให้เกิดการขยายตัวของเศรษฐกิจ และการท่องเที่ยวมากยิ่งขึ้น จากนโยบายและแผนการพัฒนาของเขตห้ามล่าสัตว์ป่าหนองบงคาย (ทะเลสาบเชี ยงแสน) ด้าน การท่องเที่ยว เน้นให้มีการส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่ให้ความรู ้ความเข้าใจแก่นกั ท่องเที่ยว เพื่อตระหนักถึง


คุณค่าและความสาคัญของแหล่งท่องเที่ยวที่ตนเดินทางเข้าไปเยือน ไม่ทาลายสภาพแวดล้อม การพัฒนาต้องพัฒนา ให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของพื้ นที่ โดยไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อมด้านต่ างๆ และส่ งเสริ มการร่ วมมื อการจัดการการ ท่องเที่ยวโดยให้ชุมชนและองค์กรท้องถิ่นได้มีส่วนร่ วม สภาพในปั จจุบนั ที่ทาการสานักงานศูนย์ขอ้ มูลพื้นที่ชุ่มน้ า หนองบงคาย อาคารที่พกั ลานกางเต็นท์ และพื้นที่จดั กิจกรรมนันทนาการต่างๆ สาหรับพนักงานและนักท่องเที่ยว ยังขาดความพร้อมและไม่เพียงพอต่อแนวโน้มของนักท่องเที่ยวที่จะเพิ่มขึ้นเพื่อการเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิ งนิ เวศใน อนาคต ดังนั้นการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวพื้นที่ชุ่มน้ าทะเลสาบเชี ยงแสน จะ ฟื้ นฟูศกั ยภาพของพื้นที่ เดิมที่ มีความโดดเด่นทางด้านระบบนิ เวศของพื้นที่ ชุ่มน้ าที่ ค่อนข้างสมบูรณ์ ส่ งเสริ มการ รองรับการขยายตัวของการท่องเที่ ยวเชิ งนิ เวศภายในจังหวัด และในเส้นทางเศรษฐกิ จ ให้มีความพร้อม เพื่อสร้าง ประโยชน์สูงสุ ดแก่นกั ท่องเที่ยวและชุมชนท้องถิ่น 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 ออกแบบปรับปรุ งพื้นที่ชุ่มน้ าทะเลสาบเชียงแสนให้มีความพร้อมในการขยายตัว ของโครงการ และการรองรับนักท่องเที่ยวเพื่อส่ งเสริ มการเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศที่สาคัญ 4.1.2 เพื่ อเป็ นแหล่งศึ กษา อนุ รักษ์ และฟื้ นฟูทรัพ ยากรธรรมชาติ พื้ นที่ ชุ่มน้ าขนาด ใหญ่ที่มีความสาคัญต่อระบบนิเวศ 4.1.3 เพื่อสร้างงานและรายได้ให้กบั ชุมชนและองค์กรท้องถิ่น 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบปรับปรุ งและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวเชิ ง นิเวศ 4.2.2 ศึกษาวิเคราะห์การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมบริ เวณพื้นที่ชุ่มน้ าให้ส่งผลกระทบ ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมน้อยที่สุด 4.2.3 ศึกษาระบบนิเวศ เขตห้ามล่าสัตว์ป่าหนองบงคาย 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ พื้นที่ชุ่มน้ าทะเลสาบเชี ยงแสนตั้งอยู่ในพื้นที่ตาบลโยนก ตาบลป่ าสัก อาเภอเชี ยงแสน และตาบลจันจว้า อาเภอแม่จนั จังหวัดเชียงราย มีขนาดพื้นที่ประมาณ 2,711 ไร่


โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ าทะเลสาบเชียงแสน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ สัญลักษณ์ สัญลักษณ์

ขอบเขตพื้นที่ชุ่มน้ าทะเลสาบเชียงแสน และพื้นที่ศึกษา ที่ทาการเดิมและพื้นที่เกาะกลาง

ที่มำ : ภาพถ่ายทางอากาศดัดแปลงจาก Google Earth Pro

Not to scale


โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ าทะเลสาบเชียงแสน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย แผนที่ 2 แสดงการเข้าถึง สัญลักษณ์ สัญลักษณ์

ทางหลวงหมายเลข 1016 ถนนรอง

ที่มำ : ภาพถ่ายทางอากาศดัดแปลงจาก Google Earth Pro

Not to scale


โครงการออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศพื้นที่ชุ่มน้ าทะเลสาบเชียงแสน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย แผนที่ 3 แสดงเส้นทางเศรษฐกิจ เส้นทางแม่น้ าโขง เส้นทาง R3A และเส้นทาง R3B สัญลักษณ์

ที่ต้ งั โครงการ

ที่มำ : http://www.bangkokbank.com/BangkokBankThai /Documents/Site%20Documents/AEC/GMSEconCorridor.pdf

Not to scale




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว สุ นนั ทา ทับเพ็ชร รหัส 5719102525 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิช าภู มิสถาปั ต ยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.26 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัว ข้อ เรื่ อ ง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังภู มิ ส ถาปั ตยกรรม ศู น ย์การเรี ย นรู ้ แ ละแหล่ ง ท่องเที่ยวเชิงเกษตรทฤษฎีใหม่หนองบึงมูล ตาบลดงเดือย อาเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุ โขทัย 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architectural Design of Nong Bueng Moon Center for learning and tourism, New theory Agircultural, Dong deuay, Kong Krailat, Sukhothai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดสุ โขทัยเป็ นหนึ่ งในจังหวัดที่มีการท่องเที่ยวเป็ นที่ นิยมของประเทศไทย มีเอกลักษณ์ดา้ น ภาษา ประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่ ธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ วิถีชีวิตที่เรี ยบง่ายของผูค้ น มีแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญมากมาย อาทิเช่น อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย อุทยานประวัติศาสตร์ศรี สชั นาลัย อุทยานแห่งชาติรามคาแหง เป็ นต้น อาเภอ กงไกรลาศก็เป็ นอี กหนึ่ งเขตการปกครองในจังหวัดสุ โขทัย ที่ มีวิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่ นที่ น่าสนใจ เนื่ องจากพื้นที่ยงั มีสภาพแหล่งน้ าไร่ นา ที่อุดมสมบูรณ์ มีการเพาะปลูกทาการเกษตร ทานาข้าวอยู่อย่างต่อเนื่ องใน ปั จจุบนั ทาให้การดาเนิ นชี วิตของผูค้ นในท้องถิ่นยังมีความคล้ายสมัยอดีตอยู่ จึงควรอนุ รักษ์วิถีชีวิตเหล่านี้ ไว้เพื่อ สร้างประโยชน์ต่อไปให้กบั ชุมชนและนักท่องเที่ยวภายนอกที่ตอ้ งการเรี ยนรู ้ หรื อได้รับประสบการณ์เกี่ยวกับการ ทาเกษตร หนองบึ งมู ล ต าบลดงเดื อ ย อาเภอกงไกรลาศ จังหวัด สุ โ ขทัย เป็ นแหล่ งน้ า ที่ ถู ก ขุด ขึ้ นมามี ประโยชน์ท้ งั ในด้านการกักเก็บน้ าเพื่อใช้ในด้านการเกษตรและเป็ นที่ อยู่อาศัยของสัตว์น้ าพื้นถิ่น ต่อมาได้พฒั นา พื้นที่เพื่อสร้างเป็ นพื้นที่สาธารณะเพื่อส่ วนรวมและศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก เพื่อให้เด็กและคนในชุมชนได้ใช้งาน และ ได้สร้ างที่ ทาการองค์การบริ หารส่ วนตาบลดงเดื อยเพิ่ มขึ้ นมาในภายหลัง พื้ นที่ หนองบึ งมูลสร้ างโดยการขุดบึ ง โดยรอบพื้ นที่ จนเกิ ดเป็ นเกาะกลางน้ า แต่ ในเวลาต่ อมาเกิ ดการใช้งานที่ น้อยลงเรื่ อยๆจนแทบไม่มีคนเข้ามาทา กิจกรรมในพื้นที่สาธารณะกลายเป็ นพื้นที่รกร้างไม่ได้สร้างประโยชน์ให้กบั ชุมชน อีกทั้งยังไม่สามารถดึงศักยภาพ ของพื้นที่ออกมาใช้งานได้อย่างเต็มที่


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม ศูนย์การเรี ยนรู ้และแหล่งท่องเที่ ยวเชิ งเกษตรทฤษฎี ใหม่หนองบึ งมูล เป็ นโครงการที่ เกิ ดขึ้ นเพื่อให้เกษตรกรหรื อคนในชุ มชนที่ มีปั ญหาด้านการจัดสรรที่ ดินและน้ า หรื อมี ผลิ ตที่ ต่ าเนื่ องจากขาดความรู ้ ในการทาเกษตรที่ เหมาะสม ศู นย์การเรี ยนรู ้ เชิ งเกษตรทฤษฎี ใหม่เป็ นแนว พระราชดาริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ภูมิพลอดุลยเดช เกี่ ยวกับการจัดพื้นที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยและมีชีวิต อย่างยัง่ ยืนช่ วยให้เกษตรกรมีความรู ้ในการจัดสรรที่ ดินและจัดการน้ าอย่างเหมาะสม รวมถึงการส่ งเสริ มผลผลิต ทางการเกษตรให้ดีข้ ึน ทั้งนี้แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรยังช่วยในการอนุรักษ์วิถีชีวิตของผูค้ นในชุมชน และให้ความรู ้ แก่ผูค้ นภายในชุ มชนหรื อนักท่องเที่ ยวภายนอกที่ สนใจวิถีชีวิตการทาเกษตรและชื่ นชมกับธรรมชาติ และระบบ นิ เวศภายในพื้นที่ดว้ ย เช่ น หนองบึงมูลยังเป็ นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ าพื้นถิ่นและฝูงสัตว์ที่อพยพมาหากินในช่วงฤดู หนาวนัน่ คือ นกเป็ ดน้ า ซึ่ งถูกขึ้นทะเบียนเป็ นสัตว์ป่าคุม้ ครองและหาดูได้ยากแล้วในปั จจุบนั จึ งเกิดเป็ นแผนงาน โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม ศูนย์การเรี ยนรู ้ และแหล่งท่องเที่ ยวเชิ งเกษตรทฤษฎี ใหม่หนองบึงมูล เพื่อการใช้งานศักยภาพของพื้นที่ให้เกิดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดเพื่อสร้างพื้นที่การเรี ยนรู ้ และอนุรักษ์วิถีชิวิตการเกษตร ของผูค้ นในชุมชนให้คงอยูส่ ื บไป 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาพื้นที่ให้เป็ นศูนย์การเรี ยนรู ้เกษตรทฤษฎีใหม่และเป็ นพื้นที่ศูนย์กลาง เผยแผ่แนวความคิ ดและแนวทางปฏิ บตั ิของเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวแนวพระราชดาริ ของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดชให้แก่ผทู ้ ี่สนใจ 4.1.2 เพื่อพัฒนาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรทฤษฎีใหม่ 4.1.3 เพื่อพัฒนาสภาพเศรษฐกิจของพื้นที่และส่ งเสริ มรายได้ให้กบั คนในชุมชน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อการศึกษาการออกแบบและการวางผังภูมิสถาปั ต ยกรรมในโครงการพัฒนา ศูนย์การเรี ยนรู ้เชิงเกษตรทฤษฎีใหม่หนองบึงมูลอย่างเหมาะสม 4.2.2 เพื่อศึกษาแนวคิดของเกษตรทฤษฎีใหม่เพื่อนามาใช้ในการออกแบบและวางผัง ภูมิสถาปัตยกรรม 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้ นที่ โ ครงการมี ข นาด 687.5 ไร่ โครงการตั้งอยู่ที่ ตาบลดงเดื อย อาเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุ โขทัย มีถนนทางเข้าอาเภอกงไกรลาศเป็ นลาดยาง ตัดผ่านทางหลวงถนนหมายเลข 1055 ผ่านเข้าโครงการ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั 5.2.1 พื้นที่มีเป็ นเกาะกลางที่มีน้ าล้อมรอบขนาดใหญ่ ซึ่ งมีความสัมพันธ์เกี่ยวกับการทา เกษตรภายในชุมชน






คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย สุ รเสกข์ ธนโชดก รหัส 5719102526 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิตสะสม 131 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.32 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญา ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตร์บณ ั ฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบปรับปรุ งผังภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งเรี ยนรู ้พลังงานศูนย์ พัฒนาปิ โตเลียมภาคเหนือ กรมการพลังงานทหาร ตาบลแม่คะ อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architectural Design and Improvement Project of the Energy Learning Center, Northern Petroleum Development Center Defence Energy Department. Meaka. Fang. Chiangmai. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ บ่อน้ ามันฝาง หรื อ แหล่งน้ ามันฝาง อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ นับเป็ นจุดเริ่ มต้นของการสารวจ ปิ โตรเลียมของประเทศไทย ที่ได้เริ่ มสารวจหาน้ ามันดิบเป็ นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.2464 โดยสมเด็จพระเจ้าพระบรม วงศ์เธอ กรมกาแพงเพชรอัครโยธิ น เมื่อครั้งดารงพระอิสริ ยยศเป็ นพระเจ้าน้องยาเธอ กรมขุนกาแพงเพชรอัครโยธิ น ทรงเป็ นผูบ้ ญั ชาการรถไฟ โดยทาการเจาะบริ เวณบ่อเจ้าหลวง การดาเนิ นกิจการปิ โตรเลียม ของกรมการพลังงานทหาร ที่ศูนย์พฒั นาปิ โตรเลียมภาคเหนื อ มีลกั ษณะการ ทางานอย่างครบวงจร ตั้งแต่การสารวจ ขุดเจาะ ผลิต และกลัน่ ปิ โตรเลียม ซึ่ งนับเป็ นหน่วยงานเพียงแห่ งเดียวของ ประเทศ ที่ ส ามารถด าเนิ น การไปในลัก ษณะดัง กล่ า ว จึ งเป็ นจุ ด เริ่ ม ต้น ที่ ส าคัญของการแสวงหาและการน า ปิ โตรเลียมมาใช้ประโยชน์ และยังเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ดา้ นปิ โตรเลียมของประเทศ ดังนั้น เพื่ อเป็ นการถ่ายทอดประวัติความเป็ นมา การกาเนิ ด และการนาปิ โตรเลี ยมไปใช้งาน ตลอดจน เทคนิ ควิธีการดำเนิ นการด้านปิ โตรเลียมที่ สาคัญ กรมการพลังงานทหาร จึ งได้จดั สร้างอาคารพิพิธภัณฑ์และศูนย์ การเรี ยนรู ้ ดา้ นปิ โตรเลี ยม เพื่ อเป็ นประโยชน์สาหรั บการฝึ กศึ กษาอบรม และเป็ นศูนย์การเรี ยนรู ้ ด ้านพลังงาน ปิ โตรเลียมและพลังงานต่างๆ สาหรับนิ สิตนักศึ กษา ประชาชนทัว่ ไปให้สามารถใช้ประโยชน์ อีกทั้งยังเป็ นการ ส่ งเสริ มการท่องเที่ยวในเขตพื้นที่อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เนื่ องจากศูนย์พฒั นาปิ โตเลียมภาคเหนื อ กรมการพลังงานทหาร ขาดการจัดสรรพื้นที่ ในหลายด้าน ภูมิ ทัศน์โดยรอบพื้ นที่ ไม่สวยงาม อี กทั้งบางพื้ นที่ ยงั ไม่สามารถอานวยความสะดวกให้ผูท้ ี่ มาศึ กษาและต้องการมา


พักผ่อนได้อย่างเต็มที่ จึ งมี แนวคิ ด การออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมเพื่ อรองรั บประชาชนที่ สนใจ ศึ กษา แหล่งเรี ยนรู ้ดา้ นปิ โตรเลียม ตามแนวคิดของศูนย์พฒั นาปิ โตเลียมภาคเหนือ กรมการพลังงานทหาร ในเรื่ องศูนย์การ เรี ยนรู ้ดา้ นพลังงานปิ โตรเลียมและพลังงานต่างๆ อีกทั้งการส่ งเสริ มการท่องเที่ ยวในเขตพื้นที่ อาเภอฝาง จังหวัด เชี ยงใหม่ จึ งเป็ นแนวทางการออกแบบโครงการให้มีการพัฒนาศักยภาพของพื้ นที่ ที่ สามารถดึ งดูดผูค้ นเข้ามา ท่องเที่ยวและแหล่งศึกษาเรี ยนรู ้ดา้ นปิ โตรเลียม ที่เป็ นจุดเริ่ มต้นของการสารวจปิ โตรเลียมของประเทศไทย

4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นแหล่งเท่องเที่ยวและศึกษาเรี ยนรู ้ดา้ นปิ โตเลียมต่างๆ ในการเผยแพร่ จาก การศึกษาวิจยั วิทยาศาสตร์ ที่เป็ นจุดเริ่ มต้นของการสารวจปิ โตรเลียมของประเทศไทย และเทคโนโลยีเกี่ยวการขุด สารวจปิ โตเลียม ให้ความรู ้แก่นกั ท่องเที่ยวและประชนทัว่ ไป 4.1.2 เพื่อเป็ นพื้นที่พกั ผ่อนของคนในชุมชนใกล้เคียง และผูท้ ี่มาศึกษาแหล่งเรี ยนรู ้ดา้ น ปิ โตรเลียม 4.1.3 เพื่อส่ งเสริ มการท่ องเที่ ยวในเขตพื้ นที่ อาเภอฝาง จังหวัดเชี ยงใหม่ และพัฒนา ระบบเศรษฐกิ จของชุ มชน ผลเนื่ องจากมีการเข้ามาท่องเที่ ยวในชุ มชนจึ งส่ งผลให้กบั ธุ รกิ จต่ างๆในชุ มชนได้รับ ประโยชน์ที่ดี และยังส่ งเสริ มคุณภาพชีวิตของคนในพื้นที่ได้ดีข้ ึน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 ศึ กษาปั ญหาในพื้ นที่ ปัจจุ บันและทาการออกแบบปรั บปรุ งภูมิส ถาปั ตยกรรม เพื่อให้สอดคล้องกับ กิจกรรมที่จะเกิดขึ้นให้ผทู ้ ี่มาใช้โครงการในอนาคต 4.2.2 พัฒนาศึ กษาค้นคว้า แนวทางการพัฒนาภูมิสถาปั ตยกรรมเพื่ อเป็ นแหล่งศึ กษา เรี ยนรู ้ของกลุ่มคนที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับปิ โตเลียมให้กบั ชุมชน และนักท่องเที่ยว 4.2.3 ศึกษาค้นคว้าวิธีการออกแบบพื้นที่สาธารณะให้กบั ชุมชน และนักท่องเที่ยว


5. สถานที่ ต้ งั ของโครงการและเหตุ ผ ลในการเลื อกที่ ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้ น ที่ ต้ งั โครงการมี ข นาด 246 ไร่ โครงการตั้งอยู่ที่ ต าบลแม่ ค ะ อาเภอฝาง จัง หวัด เชียงใหม่ ทางหลวงแผนดินหมายเลข 109

โครงการออกแบบปรับปรุ งผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์พฒั นาปิ โตเลียมภาคเหนือ กรมการพลังงานทหาร ตาบลแม่คะ อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการระดับจังหวัดใหม่ ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/จังหวัดเชียงใหม่ สัญลักษณ์ :

ขอบเขตจังหวัดเชียงใหม่ ขอบเขตอาเภอฝาง มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบปรับปรุ งผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์พฒั นาปิ โตเลียมภาคเหนือ กรมการพลังงานทหาร ตาบลแม่คะ อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 2 แสดงที่ต้ งั โครงการระดับตาบล ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth สัญลักษณ์ :

พื้นที่ต้ งั โครงการ ถนนโชตนา ถนนฝาง-แม่สรวย มาตราส่ วน : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบปรับปรุ งผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์พฒั นาปิ โตเลียมภาคเหนือ กรมการพลังงานทหาร ตาบลแม่คะ อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 3 แสดงขอบเขตที่ต้ งั โครงการ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth สัญลักษณ์ :

ขอบเขตพื้นที่โครงการ มาตราส่ วน : NOT TO SCALE

5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เป็ นพื้นที่ ศึกษาเรี ยนรู ้ดา้ นปิ โตเลี ยม และพิพิธภัณฑ์พลังงาน จึ งอยากออกแบบ ปรังปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมให้สอดคล้องกับกิจกรรมต่างๆ และมีความสวยงามดึงดูดนักท่องเที่ยว 5.2.2 เนื่ องจากบริ เวณโครงการมีแนวคิ ดการส่ งเสริ มการท่องเที่ ยวในเขตพื้นที่ อาเภอ ฝาง จังหวัดเชียงใหม่ อีกทั้งยังส่ งผลให้ระบบเศรษฐกิจของชุมชนดีข้ ึน 5.2.3 เนื่ องจากโครงการตั้งอยู่ใกล้กบั พื้นที่ชุมชน ซึ่ งอาจมีการปล่อยมลพิษทางอากาศ และน้ า จึ งอยากศึ กษาค้นคว้าวิธีการหรื อระบบอนุ รักษ์สิ่งแวดล้อม และลดปั ญหามลพิ ษให้กบั พื้นที่ ชุมชนรอบ โครงการ




คำร้ องเสนอหัววิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย อภิวฒั น์ กันนุลา รหัส 5719102527 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิ ต สะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.91 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อ เรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมศูนย์กี ฬาบุรีรัมย์เ อ็กซ์ตรี ม อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ 2. หัว ข้อ เรื่ อง (ภาษาอัง กฤษ)The Landscape Architectural Designand Planing Project of the Buriram Extreme Sport Center,Muang, Buriram 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดบุรีรัมย์ได้มีนโยบายที่จะพัฒนาจังหวัดให้เป็ นเมืองกีฬาระดับโลก ปัจจุบนั บุรีรัมย์มีสนาม ฟุตบอลและสนามแข่งรถมาตราฐานสากล ทาให้บุรี รัมย์เป็ นที่รู้ จกั ของนักท่อ งเที่ยวในการเป็ นเมือ งกี ฬา โดยมี นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศเป็ นนักท่องเที่ยวประเภทการท่องเที่ยวเพื่อการกีฬาและบันเทิง (Sport and Recreation) เข้ามาท่อ งเที่ ย วภายในจัง หวัดมากขึ้ น ซึ่ งจังหวัด บุรีรั มย์ยงั ขาดพื้ นที่ กีฬาทางเลื อก โดยเฉพาะกี ฬา เอ็กซ์ตรี มที่มีแนวโน้มได้รับความนิยมมากขึ้นจากนักท่องเที่ยวประเภทการท่องเที่ยวเพื่อการกีฬาและบันเทิง (Sport and Recreation) ในปัจจุบนั ศูนย์กีฬาบุรีรัมย์เอ็กซ์ตรี ม เป็ นโครงการที่จะพัฒนาพื้นที่สนามโกคาร์ ทและเหมืองหิ นเก่าให้เป็ น ศูนย์กี ฬ า ระดับนานาชาติ เ พื่ อ ดึ ง ดู ดความสนใจจากนัก ท่ อ งเที่ ย วให้ เ ดิ นทางท่ อ งเที่ ย วจัง หวัดบุ รี รั มย์มากขึ้ น ประกอบกับ การส่ งเสริ มการลงทุน (BOI) มี นโยบายเกี่ ยวกับการส่ ง เสริ มการท่องเที่ ยว เป็ นส่ ว นสนับสนุ นการ ลงทุนเพื่อ ให้เ กิ ดโครงการ ซึ่ ง โครงศูนย์กีฬาเอ็ก ซ์ตรี มจะเป็ นส่ ว นในการกระตุ้นเศรษฐกิ จ ระดับประเทศ และ กระตุน้ การค้า การลงทุน การท่องเที่ยวระดับประเทศและต่างประเทศ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อสร้างศูนย์กีฬาเอ็กซ์ตรี มระดับนานาชาติ 4.1.2 เป็ นพื้นที่ส่งเสริ มเศรษฐกิจในท้องถิ่น และเป็ นแหล่งสร้างรายได้ให้กบั ประชาชน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษามาตรฐานของกีฬาเอ็กซ์ตรี มแต่ละชนิด


4.2.2 เพื่อศึกษาการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมเกี่ยวกับการสร้างสนามกีฬา เอ็กซ์ตรี มแต่ละชนิด 4.2.3 ศึกษาพฤติก รรมของผูท้ ี่สนใจในกี ฬาเอ็ก ซ์ตรี มและนักท่องเที่ย วประเภทการ ท่องเที่ยวเพื่อการกีฬาและบันเทิง (Sport and Recreation) 5. สถานที่ต้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้งั โครงการ 30/2 หมู่ 4 ถนนบุรีรัมย์-ประโคนชัย ตาบลอิสาณ อาเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัด บุรีรัมย์ ขนาดพื้นที่ประมาณ 270 ไร่ 5.2 เหตุผลในการเลือกสถานที่ 5.2.1 เป็ นพื้นที่ที่ติดกับทางสัญจรหลัก ง่ายต่อการเข้าถึง 5.2.2 เป็ นพื้นที่ที่ใกล้ก ับสนามฟุตบอล และ สนามแข่งรถ ที่ ได้มาตราฐานโลกทาให้ พื้นที่สามารถเชื่อมต่อกับสนามกีฬาระดับโลกได้ง่าย


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์กีฬา เอ็กซ์ตรี ม อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ มาตราส่วน แผนที่ 1 แสดงที่ต้งั โครงการ สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ Not to scale สนามโกคาร์ ท สนามบอล สนามแข่งรถ ถนนบุรีรัมย์-ประโคนชัย ถนนเลี่ยงเมือง ที่มา ดัดแปลงจาก https://www.google.co.th/maps


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์กีฬา เอ็กซ์ตรี ม อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัรัมย์ มาตราส่วน แผนที่ 2 แสดงเส้นทางเข้าถึงโครงการ สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ Not to scale ถนนบุรีรัมย์-ประโคนชัย ถนนรอง ถนนรอง ที่มา ดัดแปลงจาก https://www.google.co.th/maps


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา ทิศเหนือ ติดต่อกับ ถนนบุรีรัมย์-ประโคนชัย ทิศตะวันออก ติดต่อกับ พื้นที่ป่ารกร้าง ทิศตะวันตก ติดต่อกับ บ้านโคกเขา ทิศใต้ ติดต่อกับ บ้านโคกเขา 7. บรรณานุกรม จั ง หวั ด บุ รี รั มย์ “แผนพั ฒ นาจั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ ปี 2561 - 2564” [ระบบออนไลน์ ] . https://province.dopa.go.th/buriram/policy/plan1/topic9 (10 ธันวาคม 2560) คู่มือการดาเนินงานวิทยานิพนธ์ 2560 [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://issuu.com/TuBoonyanant/docs/thesistopic_60 (10 ธันวาคม 2560) โดยข้าพเจ้ายินดี ที่จ ะปฏิ บตั ิ ตามหลักและวิ ธีดาเนิ นงานวิ ทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


SITE SELECTION

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์กีฬา เอ็กซ์ตรี ม อาเภอเมือง จังหวัดบุรีรัรัมย์ มาตราส่วน แผนที่ 3 แสดงเส้นทางเข้าถึงโครงการ สัญลักษณ์ พื้นที่ที่ 1 Not to scale พื้นที่ที่ 2 พื้นที่ที่ 3 ถนนบุรีรัมย์-ประโคนชัย ถนนหลวงชนบท ถนนชุมชนศิลาทอง ถนนชุมชนโคกเขา ถนนลาเลียงหิ นเดิม ที่มา ดัดแปลงจาก https://www.google.co.th/maps


ตารางการให้คะแนนในแต่ละพื้นที่ เกณฑ์การให้คะแนน การเข้าถึงพื้นที่ โครงข่ายถนน ทางเข้าโครงการ มุมมอง การเชื่อมโยงพื้นที่ รวม

น้ าหนัก คะแนน 3 4 3 5 5 20

พื้นที่ 1 คะแนน รวม 2 6 1 4 2 6 2 10 4 20 46

พื้นที่2 คะแนน รวม 3 9 2 8 3 9 3 15 4 20 61

พื้นที่3 คะแนน รวม 2 6 3 12 2 6 2 10 2 10 44

*หมายเหตุ เกณฑ์การให้คะแนนแบ่งออกเป็ น 5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = พอใช้ 2 = ปรับปรุ ง 1 = แย่


พื้นที่ 1 พื้นที่โดยรอบเป็ นสนามกีฬา เป็ นที่ที่มีแหล่งน้ าในพื้นที่มีขนาดไม่ใหญ่มาก เป็ น พื้นที่ที่มีร่มเงาถนนทางเข้าพื้นที่มีขนาดเล็ก ที่มา ดัดแปลงจาก https://www.google.co.th/maps

พื้นที่ 2 พื้นที่เหมืองหิ นเก่า ในพื้นที่มีแหล่งน้ าที่เกิดจากการระเบิดหิ น และมีหน้าผา เป็ น พื้นที่ติดต่อกับสนามโกคาร์ ทและสนามกีฬา มีพ้ืนที่ราบขนาดกว้างมุมมองจากภายนอก สามารถมองเห็นได้ง่าย ที่มา ดัดแปลงจาก https://www.google.co.th/maps

พื้นที่ 3 พื้นที่รอบข้างเป็ นป่ ารกร้าง การเข้าถึงค่อนข้างยากภายในบริ เวณเป็ นพื้นที่โรงโม่ หิ นทาให้ทศั นียภาพภายในไม่ดี แต่พ้ืนที่มีบริ เวณที่ราบค่อนข้างเยอะและมีแหล่งน้ าที่เกิด จากการระเบิดหิ น ที่มา ดัดแปลงจาก https://www.google.co.th/maps



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย อิศรา ศรี ทรานนท์ รหัส 5719102528 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิ ตสะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.40 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญา ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบปรับปรุ งผังศูนย์ศึกษาวิจ ัยและพัฒนาสิ่ งแวดล้อมแหลม ผักเบี้ย อันเนื่องมาจากพระราชดาริ อาเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Improvement Project of The King’s Royally Initiated Laemphakbia Environmental Research and Development Center,Ban Laem, Phetchaburi 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ปัจจุบนั การเพิ่มขึ้นของจานวนประชากร ทาให้แม่น้ าเพชรบุรีเกิดปัญหามลพิษจากการทิ้งขยะมูล ฝอย การปล่อยน้ าเสี ยและการทิ้งสารเคมีจากภาคการเกษตรลงในแม่น้ า ทาให้เกิดมลพิษสารปนเปื้ อนทั้งในผิวดิน และในแม่น้ า ส่งผลกระทบอย่างรุ นแรงต่อคุณภาพชีวิต ของประชากรทั้งสองชายฝั่งแม่น้ า ทาให้มลพิษส่งต่อไปยัง พื้นที่ป่าชายเลน รวมทั้งพื้นที่ทานากุง้ ทาให้ทรัพยากรชายฝั่งและสัตว์น้ าชายฝั่งลดลงจนถึงขั้นวิกฤต จนกระทัง่ เมื่อวันที่ 12 กันยายน ปี พ.ศ.2533 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่9 ทรงได้มี พระราชดาริ ให้สานักงานคณะกรรมการพิ เ ศษเพื่ อ ประสานงานอันเนื่ อ งมาจากพระราชด าริ (กปร.) และกรม ชลประทาน ร่ วมกันศึกษาหาวิธีแก้ไขปั ญหาสิ่ งแวดล้อมที่เกี่ ยวข้องกับขยะมูลฝอย น้ าเสี ย และการฟื้ นฟูสภาพป่ า ชายเลนที่ เหมาะสมโดยอาศัย กลไกธรรมชาติช่วยธรรมชาติ โครงการแหลมผัก เบี้ย เป็ นต้นแบบในการถ่ายทอด ความรู้ และเผยแพร่ เ ทคโนโลยีระบบบาบัดน้ าเสี ยและกาจัดขยะ เป็ นกลไกธรรมชาติที่สาคัญยิ่ง ของประเทศให้ หน่วยงานต่างๆได้นาไปประยุกต์ใช้ความความเหมาะสมและเกิดประโยชน์ต่อไป นอกจากนี้ยงั เป็ นแหล่งเรี ยนรู้เชิง ท่องเที่ยวสาหรับทุกคนทุกเพศทุกวัย รวมถึงนักท่องเที่ยวชาวไทยและชาวต่างชาติ โดยสร้ างแรงจูงใจเข้าถึงแหล่ง เรี ยนรู้ และท่องเที่ยวพักผ่อนไปตามเส้นทางธรรมชาติป่าชายเลนจนถึงชายทะเล เพื่อชื่นชมสัตว์น้ าและนกนานา ชนิดในสภาพแวดล้อมที่อุดมสมบูรณ์และสวยงามของป่ าโกงกางและป่ าแสม เนื่องจากปัจจุบนั โครงการศูนย์ศึกษาวิจยั พัฒนาสิ่ งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยฯ มีแผนที่จะรับปริ มาณ น้ าเสี ยที่มากขึ้น จึงต้องมีการปรับปรุ งและพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ เพื่อการรองรับและระบายออกของน้ าที่เพิ่มมาก ขึ้น ร่ วมกับพัฒนาระบบบาบัดน้ าเสี ยให้มีประสิ ทธิภาพยิ่งขึ้นและจัดตั้งศูนย์เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการเพิ่มมูลค่าของ พืชน้ าที่ใช้ในการบาบัดน้ าเสี ยเช่น ธู ปฤาษี กกกลม หญ้าแฝกอินโดนี เซี ย และสาหร่ าย เพื่อเป็ นการส่ งเสริ มการสร้ าง


อาชีพให้แก่ชุมชน และให้ความรู้ กลุ่มนักศึกษาวิจยั นาไปต่อยอด รวมทั้งพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวตามเส้นทาง ธรรมชาติ และพื้นที่อานวยความสะดวกที่สามารถเป็ นพื้นที่พกั ผ่อน ที่สร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการอนุรักษ์ สิ่ งแวดล้อม ในปั จจุบนั พื้นที่บางส่ วนของโครงการมีสภาพเสื่ อมโทรม จึ งต้องการพัฒนาพื้นที่ เพื่อรองรับปริ มาณ คนที่มากขึ้น เนื่องจากการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติกาลังเป็ นที่นิยมอย่างมากในปัจจุบนั 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อพัฒนาระบบการบาบัดน้ าเสี ยระบบพื้นที่ชุ่มน้ าเทียม(Constructed Wetland)ให้ มีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึ้น

4.1.2 พัฒนาพื้นที่เพื่อส่งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ป่าชายเลน 4.1.3 เพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู้ การบาบัดน้ าเสี ยระบบพื้นที่ชุ่มน้ าเทียมและพื้นที่ศึกษาการ นาไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆจากพืชบาบัดน้ าเสี ย เช่น กก ธูปฤาษี และสาหร่ ายเป็ นต้น 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 ศึกษาระบบการบาบัดน้ าเสี ย 4 ระบบ 1.ระบบบ่อบาบัดน้ าเสี ย 2.ระบบพืชและ หญ้ากรองน้ าเสี ย 3.ระบบพื้นที่ชุ่มน้ าเทียม 4.ระบบแปลงพืชป่ าชายเลน และศึกษาระบบการบาบัดน้ าเสี ยรู ปแบบ ใหม่ที่สามารถเพิ่มมูลค่าในด้านการแปรรู ปจากพืชบาบัดน้ าเสี ย 4.2.2 ศึกษาการออกแบบเพื่อส่งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ป่าชายเลนและสิ่ งมีชีวิต ตามธรรมชาติ รวมไปถึงศึกษาพื้นที่อนุรักษ์สายพันธุ์ของนกอพยพในโครงเพื่อเป็ นแนวทางในการออกแบบที่ไม่ ส่งผลกระทบต่อที่อยูอ่ าศัยของสัตว์ 4.2.3 ออกแบบศึกษาศูนย์วิจยั เพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู้ และสร้ างความเข้าใจให้ประชาชน ตระหนักถึงความสาคัญของสิ่ งแวดล้อม 5. สถานที่ต้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้งั โครงการโดย สังเขป ข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้งั โครงการ พื้นที่ต้งั โครงการมีขนาด 787 ไร่ โครงการตั้งอยูท่ ี่ตาบลแหลมผักเบี้ย อาเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ถนนทางหลวงชนบท พ.บ.4028 ถนนเลียบชายฝั่ง บ้านแหลม-หาดเจ้าสาราญ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ 5.2.1 เป็ นพื้นที่ติดกับทะเล ง่ายต่อการพัฒนาเรื่ องระบบการบาบัดน้ าเสี ยก่อนปล่อยลงสู่ ทะเลอ่าวไทย 5.2.2 เนื่ องจากบริ เวณโครงการมีก ลุ่มอาชีพชาวประมง โครงการจึ ง สามารถเข้ามามี บทบาทของการส่งเสริ มการทาอาชีพในท้องถิ่น 5.2.3 ในบริ เ วณพื้ น ที่ มี ความอุ ดมสมบูร ณ์ ของพื ชและสิ่ ง มี ชีวิ ต จึ ง ต้อ งการพัฒนา ศักยภาพของพื้นที่ โดยไม่ทาลายระบบนิเวศเพื่อรองรับผูท้ ี่มาเยี่ยมชมโครงการ ให้ได้รับทั้งความรู้ และบรรยากาศที่ เป็ นธรรมชาติ


โครงการออกแบบปรับปรุ งผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์ศึกษาวิจยั และพัฒนาสิ่ งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ตาบลแหลมผักเบี้ย อาเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี แผนที่ 1 แสดงที่ต้งั โครงการจังหวัด ที่มา : https://th.wikipedia.org/wiki/อาเภอเพชรบุรี สัญลักษณ์ :

ขอบเขตจังหวัดเพชรบุรี ขอบเขตอาเภอบ้านแหลม

มาตราส่วน : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบปรับปรุ งผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์ศึกษาวิจยั และพัฒนาสิ่ งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ตาบลแหลมผักเบี้ย อาเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี แผนที่ 2 แสดงที่ต้งั โครงการระดับตาบล ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth สัญลักษณ์ :

พื้นที่ต้งั โครงการ ถนนเพชรเกษม ถนนราชดาริ ห์ ทางหลวงชนบท 4028

มาตราส่วน : NOT TO SCALE


โครงการออกแบบปรับปรุ งผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์ศึกษาวิจยั และพัฒนาสิ่ งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ตาบลแหลมผักเบี้ย อาเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี แผนที่ 3 แสดงขอบเขตที่ต้งั โครงการ ที่มา : ดัดแปลงภาพถ่ายทางอากาศจาก Google Earth สัญลักษณ์ :

ขอบเขตพื้นที่ศูนย์ศึกษาวิจยั ฯ พื้นที่ป่าชายเลนที่เกี่ยวเนื่อง มาตราส่วน : NOT TO SCALE


6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา โครงการศู นย์ศึก ษาวิ จ ัย และพัฒนาสิ่ ง แวดล้อ มแหลมผัก เบี้ ย ด าเนิ น การในพื้ นที่ สาธารณะ ประโยชน์ ณ ตาบลแหลมผักเบี้ย อาเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี พื้นที่ต้งั โครงการมีขนาด 787 ไร่ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตาบลบางแก้ว อาเภอบ้านแหลม ทิศใต้ ติดต่อกับ ตาบลหาดเจ้าสาราญ อาเภอเมืองเพชรบุรี ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อ่าวไทย อาเภอบ้านแหลม ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตาบลนาพันสาม อาเภอเมืองเพชรบุรี 7. บรรณานุกรม เอกสารประกอบ การรับฟังสภาพปัญหาของลุ่มน้ า และแนวทางการแก้ไขเพื่อยกร่ างแผน ยุทธศาสตร์ การบริ หารจัดการทรัพยากรน้ า [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://oopm.rid.go.th/watermanagement/basin/mainriverbasin19.pdf (1 ธันวาคม 2560) ธรรมชาติ ช่ว ยธรรมชาติ หนึ่ ง ในพระราชด าริ เ พื่ อ สิ่ ง แวดล้อ ม [ระบบออนไลน์]. แหล่ง ที่ ม า http://www.tpa.or.th/publisher/pdfFileDownloadS/tn220B_p49_52.pdf (1 ธัน วาคม 2560) โครงการศึกษาวิจยั และพัฒนาสิ่ งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ตาบลแหลม ผักเบี้ย อาเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา www.bangsaray.go.th/images/sub_1399993834/Chapter%201.doc (1 ธันวาคม 2560) คู่มือการดาเนินงานวิทยานิพนธ์ 2556 [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา https://issuu.com/tuboonyanant/docs/latheismanual56_foeweb (1 ธันวาคม 2560) โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนิ นงานวิทยานิ พนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และ การออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (นายอิศรา ศรี ทรานนท์) ……….../………./………..




คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิง่ แวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.