รวมหัวข้อวิทยานิพนธ์ พ.ศ. 2558

Page 1



รวมหัวข้อวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาภูมสิ ถาปัตยกรรม พ.ศ. ๒๕๕๘

เห็นชอบโดย คณะกรรมการประจำาหลั​ักสูตรภูมิสถาปัตยกรรม

รวบรวมโดย ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แลัะการออกแบบสิ่งแวดลั้อม มหาวิทยาลั​ัยแม่โจ้



รายชื่อหัวข้อวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม พ.ศ. 2558 ลำาดั​ับ ท่ s 䝟( 䑐่

รหัส

ชื่อ-สกุล

ชื่อประธานท่ s 䝟( 䑐่ปรึกษา

ประเภทของโครงการ สถานพักตากอากาศ

1.

5419102501 เกวลิน นิลชัย

อ. ศมลวรรณ วรกาญจน์

2.

5419102502 โฆษิต จินาวัฒน์

อ. ทรรศชล ปัญญาทรง

3.

5419102503 จตุพร อินวกูล

4.

ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์ 5419102504 ชนัญญา สมุทรหล้า อ. ศุภณัฐ กาญจนวงค์

5.

5419102506 ฑ่ s 䝟( 䑐ณกากร วงศ์อตุ ร

6.

5419102507 ดัลญา บุญอาจ

7.

5419102508 ดัารณ่ s 䝟( 䑐 เถ่ s 䝟( 䑐ยรหนู

อ. ยุทธภูมิ เผขาจินดัา

8.

5419102509 ธนัชชา ประดัิษฐ

อ. ทรรศชล ปัญญาทรง

9.

5419102511 ธ่ s 䝟( 䑐รวัฒน์ อุบลจินดัา

อ. ศุภัชญา ปรัชญคุปต์

10.

5419102512 นันทิตา แก้วคำา

11.

5419102513 ปรัชญา รอดัสุข

12.

5419102514 ปานหทัย ชาวเว่ s 䝟( 䑐ยง

13.

5419102516 พรรทอง หัวไผข

อ. ทรรศชล ปัญญาทรง อ. ศุภณัฐ กาญจนวงค์ อ. ศมลวรรณ วรกาญจน์ อ. ศุภัชญา ปรัชญคุปต์

อ. พิทักษ์พงศ์ แบขงทิศ อ. ยุทธภูมิ เผขาจินดัา

ชื่อโครงการ

เว่ s 䝟( 䑐ยงป่าเป้าฮอทสปา น้ำาพุ ร้อนแมขขะจาน อ.เว่ s 䝟( 䑐ยงป่าเป้า จ.เช่ s 䝟( 䑐ยงราย อุทยานการเร่ s 䝟( 䑐ยนรู้/ อุทยานการเร่ s 䝟( 䑐ยนรู้พลังงาน อุทยานวิทยาศาสตร์ ทดัแทน อ.หัวหิน จ.ประจวบค่ s 䝟( 䑐ร่ s 䝟( 䑐ขันธ์ สถานพักตากอากาศ เดัอะเลคร่ s 䝟( 䑐สอร์ทแอนดั์ปาร์ค อ.บางระจัน จ.สิงค์บุร่ s 䝟( 䑐 ชุมชนเมือง/พื้นท่ s 䝟( 䑐่ริมน้ำา พื้นท่ s 䝟( 䑐่สาธารณะริมน้ำา ชาย กวาานพะเยา อ.เมือง จ.พะเยา สถานพักตากอากาศ บ้านสวนริมดัอยร่ s 䝟( 䑐สอร์ท อ.หางดัง จ.เช่ s 䝟( 䑐ยงใหมข สถานท่ s 䝟( 䑐่ทของเท่ s 䝟( 䑐่ยว เส้นทางทของเท่ s 䝟( 䑐่ยวเชิง +เร่ s 䝟( 䑐ยนรู้ทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมโบราณปราสาท หินเมืองต่ำา และชุมชนบ้าน โคกเมือง อ.ประโคนชัย จ.บุร่ s 䝟( 䑐รัมย์ เกษตรกรรมและการ เดัขนชัยฟาร์มเพื่อการทของ ทของเท่ s 䝟( 䑐่ยว เท่ s 䝟( 䑐่ยวเชิงเกษตร อ.ซับใหญข จ.ชัยภูมิ ชุมชนเมือง/พื้นท่ s 䝟( 䑐่ริมน้ำา พื้นท่ s 䝟( 䑐่สาธารณะริมแมขน้ำา เจ้าพระยา อ.เมืองเทศบาล เมืองสิงค์บุร่ s 䝟( 䑐 จ.สิงค์บุร่ s 䝟( 䑐 ศูนย์การค้า ศูนย์การค้าหาดัใหญขเซาท์ เทิร์น ดัาวน์ทาวน์ อ.หาดัใหญข จ.สงขลา ศาสนสถาน วัดัอุโมง(สวนพุทธธรรม) จ.เช่ s 䝟( 䑐ยงใหมข สถานท่ s 䝟( 䑐่ทของเท่ s 䝟( 䑐่ยว แหลขงทของเท่ s 䝟( 䑐่ยวทะเลน้ำาจืดั +เร่ s 䝟( 䑐ยนรู้ทางธรรมชาติ อ.ทขามขวง จ.กาญจนบุร่ s 䝟( 䑐 ศาสนสถาน พุทธมณฑลพะเยา อ.เมือง จ.พะเยา สถานท่ s 䝟( 䑐่ทของเท่ s 䝟( 䑐่ยว คขายเยาวชนพิทักษ์ไพร +เร่ s 䝟( 䑐ยนรู้ทางธรรมชาติ ภูฝอยลม อ.หนองแสง จ. อุดัรธาน่ s 䝟( 䑐


รายชื่อหัวข้อวิทยานิพนธ์ สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม (ตขอ) พ.ศ. 2558 ลำาดั​ับ ท่ s 䝟( 䑐่

รหัส

ชื่อ-สกุล

ชื่อประธานท่ s 䝟( 䑐่ ปรึกษา

ประเภทของโครงการ

14.

5419102517 พิกุลแก้ว ฉัตรรักษ์วงษ์

ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

ศูนย์การค้า

15.

5419102518 ฟาต่ s 䝟( 䑐ฟ ปารามัล

ศาสนสถาน

16.

5419102519 ภูริทัศน์ ปรางค์ศร่ s 䝟( 䑐อรุณ

อ. พิทักษ์พงศ์ แบขงทิศ อ. ยุทธภูมิ เผขาจินดัา

17.

5419102520 เมธาว่ s 䝟( 䑐 พรหมน้ำาดัำา อ. ศุภณัฐ กาญจนวงค์ 5419102521 รติยา กิจบำารุง อ. ศุภัชญา ปรัชญคุปต์

สวนสนุก

19.

5419102522 วทันยา ทับทิมดั่ s 䝟( 䑐

อ. ศุภณัฐ กาญจนวงค์

ศาสนสถาน

20.

5419102523 ศิริพร ไชยวงค์สา

ผศ. จรัสพิมพ์ บุญญานันต์

เกษตรกรรมและการ ทของเท่ s 䝟( 䑐่ยว

21.

5419102524 สาธิดัา สาระศาลิน อ. ทรรศชล ปัญญาทรง 5419102525 สิทธิโชค บรรณกร อ. ยุทธภูมิ เผขาจินดัา 5419102527 สิริวรรณ อ. ศุภัชญา เอื้ออมรสุข ปรัชญคุปต์

18

22. 23.

สถานพักตากอากาศ

สถานพักตากอากาศ

สถานพักตากอากาศ ชุมทางการคมนาคม อุทยานการเร่ s 䝟( 䑐ยนรู้/ อุทยานวิทยาศาสตร์

ชื่อโครงการ ศูนย์การค้าผลิตภัณฑ์เครื่อง หนัง "ชาร์มเมอร์ แอมมู เนต" ลาดักระบัง กรุงเทพฯ มัสยิดักลาง อ.ยขานตาขาว จ.ตรัง สถานพักตากอากาศระยะ ยาวสำาหรับผู้สูงอายุวัย เกษ่ s 䝟( 䑐ยณ อ.กระทุขมแบน จ.สมุทรสาคร สวนสนุก เดัอะสตูดัิโอ จิบลิ ปาร์ค อ.หาดัใหญข จ.สงขลา มขอนภูงามออร์แกนิคร่ s 䝟( 䑐สอร์ท แอนดั์สปา อ.แมขริม จ.เช่ s 䝟( 䑐ยงใหมข อุทยานธรรมะและสถาน ปฏิบัติธรรมปุษยค่ s 䝟( 䑐ร่ s 䝟( 䑐 อ.อูขทอง จ.สุพรรณบุร่ s 䝟( 䑐 เอส เอ ฟาร์ม เพื่อการทของ เท่ s 䝟( 䑐่ยวเชิงเกษตร อ.แมขออน จ.เช่ s 䝟( 䑐ยงใหมข เดัอะสิส ร่ s 䝟( 䑐สอร์ท อ.เมือง จ.กาญจนบุร่ s 䝟( 䑐 สถาน่ s 䝟( 䑐รถไฟนครราชส่ s 䝟( 䑐มา อ.เมือง จ.นครราชส่ s 䝟( 䑐มา อุทยานวิทยาศาสตร์ อ.สันกำาแพง จ.เช่ s 䝟( 䑐ยงใหมข


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว เกวลิน นิลชัย รหัส 5419102501 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.61 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) : โครงการออกแบบและวางผังภู มิส ถาปั ตยกรรมสถานพักตากอากาศเน เชอรัลฮีล แอนด์ ฮอทสปริ ง น้ าพุร้อนแม่ขะจาน อาเภอเวียงป่ าเป้า จังหวัดเชียงราย 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอั ง กฤษ) : LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN AND PLANNING PROJECT OF NATURAL HEAL AND HOTSPRING RESORT, MAEKAJARN HOTSPRING WIANGPAPAO, CHIANGRAI 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดเชี ยงรายกาลังได้รับความนิ ยมเพิ่มมากขึ้ นต่อจากจังหวัดเชี ยงใหม่เนื่ องจากเป็ นจังหวัดที่ มีระบบ นิ เวศที่ อุดมสมบู รณ์ ไปด้วยพื ชพรรณธรรมชาติ แหล่งน้ า สภาพภู มิอากาศที่ เย็นสบายและยังเป็ นจังหวัดที่ ยงั คง ศิลปวัฒนธรรม โบราณสถานที่มีมาตั้งแต่โบราณ ทั้งมีเส้นทางสู่ พม่า ลาว และจีนตอนใต้ผ่านทางหลวงเอเชี ยสาย 2 และทางหลวงเอเชี ยสาย 3 จึงทาให้จงั เชียงรายเป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่มีความเจริ ญอย่างต่อเนื่อง เดิมน้ าพุร้อนแม่ขะ จานเป็ นน้ าพุร้อนที่เกิดขึ้ นตามธรรมชาติ เป็ นทางผ่านในการเดิ นทางของพ่อค้าไปยังจังหวัดเชี ยงรายจึงเป็ นจุดพัก แรมค้างคืนระหว่างทางที่มีชื่อเสี ยงมาจนถึงปัจจุบนั จากศักยภาพในพื้นที่บริ เวณแหล่งน้ าพุร้อนประกอบกับในพื้นที่ ใกล้เคี ยงยังไม่มีที่พกั ประเภทรี สอร์ ทแอนด์สปาจึงเป็ นโอกาสที่จะจัดทาโครงการสถานพักตากอากาศเพื่อสุ ขภาพ สาหรับนักท่องเที่ยว โครงการออกแบบและวางผังภู มิสถาปั ตยกรรมสถานพักตากอากาศ เนเชอรั ลฮี ล แอนด์ ฮอท สปริ ง ตั้งอยู่บริ เวณ บ้านสบโป่ ง ตาบลแม่เจดียใ์ หม่ อาเภอเวียงป่ าเป้ า จังหวัดเชี ยงราย มีพ้ืนที่รายล้อมด้วยไปด้วย ภูเขา และมีลาธารไหลผ่าน ประกอบกับในพื้นที่มีบ่อน้ าพุร้อนที่ช่วยในการบาบัดผ่อนคลายร่ างกายและจิตใจ มีเนื้ อ ที่โดยประมาณ 62 ไร่ 3 งาน 66 ตารางวา เป็ นอีกทางเลือกหนึ่งสาหรับนักท่องเที่ยวในการหาที่พกั ผ่อนระหว่างการ เดินทาง


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นสถานพักตากอากาศประเภทรี สอร์ทแอนด์สปาจากน้ าพุร้อนที่มุ่งเน้นให้ ผูท้ ี่มาเข้าพักได้รับความผ่อนคลายทั้งร่ างกายและจิตใจจากการแช่น้ าแร่ และการบาบัดด้วยสปาจากน้ าพุร้อน 4.1.2 ส่ งเสริ มอาชีพและรายได้ให้แก่ทอ้ งถิ่น 4.1.3 เป็ นจุดรองรับนักท่องเที่ยวที่ตอ้ งการพักผ่อนระหว่างการเดินทาง 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบและวางผังสถานพักตากอากาศประเภทรี สอร์ ท แอนด์สปาจากน้ าพุร้อนให้มีเอกลักษณ์เหมาะสมกับภาพแวดล้อมและสภาพของพื้นที่ของโครงการ 4.2.2 เพื่อศึกษาหาแนวทางในการนาจุดเด่นและดึงศักยภาพของพื้นที่ที่เป็ นแหล่งน้ าพุ ร้อนธรรมชาติมาใช้ในการออกแบบวางผัง 4.2.3 ศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาในพื้นที่เพื่อนามาปรับปรุ งให้มีศกั ยภาพที่ดีข้ ึน


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ ต้ งั โครงการ(แสดงแผนผังที่ ต้ งั โครงการโดย สังเขป ข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสถานพักตากอากาศ เนเชอรัลฮีล แอนด์ ฮอทสปริ ง น้ าพุร้อนแม่ขะจาน อาเภอเวียงป่ าเป้า จังหวัดเชียงราย แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ

มาตราส่ วน

ที่มา ดัดแปลงจาก Google Earth

Not to scale

5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ สถานที่ ต้ ังโครงการตั้งอยู่ที่ หมู่ บ ้านสบโป่ ง ต าบลแม่ เจดี ย ์ใหม่ อาเภอเวี ย งป่ าเป้ า จังหวัดเชียงราย พื้นที่โครงการประมาณ 62 ไร่ 3 งาน 66 ตารางวา 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ เนื่องจากโครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมและสถานที่พกั ตากอากาศ เนเชอรัลฮีล แอนด์ ฮอทสปริ ง น้ าพุร้อนแม่ขะจาน จังหวัดเชียงราย มีความน่าสนใจดังนี้




โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสถานพักตากอากาศ เนเชอรัลฮีล แอนด์ ฮอทสปริ ง น้ าพุร้อนแม่ขะจาน อาเภอเวียงป่ าเป้า จังหวัดเชียงราย แผนที่ 2 แสดงที่ต้ งั ของสถานที่ท่องเที่ยว

มาตราส่ วน

ที่มา ดัดแปลงจาก Google Earth

Not to scale

สัญลักษณ์

ที่ต้ งั พื้นที่โครงการ แหล่งท่องท่องเที่ยว


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสถานพักตากอากาศ เนเชอรัลฮีล แอนด์ ฮอทสปริ ง น้ าพุร้อนแม่ขะจาน อาเภอเวียงป่ าเป้า จังหวัดเชียงราย แผนที่ 3 แสดงระยะเวลาและเส้นทางในการเดินทางเข้า มาตราส่ วน ย่านตาบลแม่ขะจาน ที่มา ดัดแปลงจาก https://maps.google.co.th

Not to scale


คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นายโฆษิ ต จิ นาวัฒน์ รหัส 54194102502 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 4 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วย กิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.45 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผัง อุทยานการเรี ย นรู ้ พ ลังงานทดแทน อาเภอหัวหิ น จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ ) LANDSCAPE ARCHITECTURE DESIGN AND PLANNING PROJECT OF RENEWAL ENERGY PARK HUA-HIN PRACHUAP KHIRI KHAN 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ บ่อกาจัดขยะมูลฝอยแบบฝังกลบตามหลักสุ ขาภิบาล(Sanitary Landfill) ของเทศบาลเมืองหัวหิ น ตั้งอยูเ่ ขต องค์การบริ หารส่ วนตาบลทับใต้ บริ เวณเชิ งเขาหนองคู บ้านหนองพรานพุก ตาบลทับใต้ อาเภอ หัวหิ น จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ มีพ้ืนที่ 130 ไร่ เป็ นพื้นที่ฝังกลบ 90 ไร่ โดยแยกเป็ นบ่อฝังกลบขยะ 4 บ่อ ที่เหลือเป็ นพื้นที่บาบัดน้ าเสี ยแบบบ่อพึ่งธรรมชาติ พื้นที่ระบบคัดแยกระบบปุ๋ ยหมักและอาคารต่างๆโดย กรมโยธาธิ การได้ก่อสร้างไว้ต้ งั แต่ พ.ศ. 2539 บ่อขยะแห่ งนี้ มีโรงงานผลิตน้ ามันเชื้ อเพลิงจากขยะสร้าง ขึ้นเป็ นแห่งแรกของประเทศไทยและแห่ งแรกของเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้โดยเริ่ มเปิ ดดาเนิ นการในเดือน มกราคม พ.ศ.2539 โดยจะหยุดให้บริ การในปี พ.ศ. 2559 รวมระยะเวลาทั้งสิ้ น 20 ปี เทศบาลเมืองหัวหิ นจึงมีความประสงค์ที่จะพัฒนาพื้นที่บ่อขยะ ให้กลายเป็ นพื้นที่สาธารณะและ ศู น ย์ พ ั ฒ นา ต้ น แ บบ พลั ง งา นท ดแ ทนข องปร ะเท ศไ ทย เพื่ อ ตอ บรั บแนวท างยุ ท ธศา สต ร์ พัฒนาการสาธารณสุ ขและสิ่ งแวดล้อมของเทศบาลเมืองหัวหิ น ในปี พ.ศ.2558 – พ.ศ.2560 ได้แก่ แนวทางการพัฒนาที่ 1 พัฒนาระบบบริ การสาธารณสุ ขให้ได้มาตรฐานเพื่อคุณภาพชี วิตที่ดี ขึ้น แนวทางการพัฒนาที่ 2 เพิ่ ม ความรู ้ ความเข้า ใจด้า นสาธารณสุ ข แก่ เด็ ก เยาวชน และ ประชาชน


แนวทางการพัฒนาที่ 3 แนวทางการพัฒนาที่ 4

ส่ งเสริ มพัฒนาสร้างจิตสานึ กในการดูแลรักษาสิ่ งแวดล้อม และการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการป้ องกันและลดปัญหามลพิษ พั ฒ นาระบบการจั ด การน้ าเสี ยขยะมู ล ฝอยและสิ่ งปฏิ กู ล (กองสาธารณสุ ขเทศบาลเมืองหัวหิ น, 2558)

ดังนั้นโครงการอุทยานการเรี ยนรู ้พลังงานทดแทนจึงเป็ นโครงการเพื่อการศึกษาทางด้านพลังงาน ทดแทน เพิ่มพื้นที่พกั ผ่อนหย่อนใจและพื้นที่จดั กิจกรรมให้แก่เยาวชนและประชาชนของอาเภอหัวหิ นอีก หนึ่งแห่งและช่วยแก้ปัญหาสิ่ งแวดล้อมทางด้านกลิ่น เสี ยง ทัศนียภาพและน้ าผิวดิน น้ าใต้ดินของพื้นที่รอบ โครงการได้และส่ งผลให้สงั คมและเศรษฐกิจในพื้นที่รอบข้างมีการพัฒนาที่ดีข้ ึน 4. วัตถุประสงค์ 4.1

วัตถุประสงค์ของโครงการ

4.1.1 เพื่ อ พัฒ นาพื้ น ที่ บ่ อ ขยะแบบฝั ง กลบ(ตามหลัก สุ ข าภิ บ าล)ของเทศบาล เมืองหัวหิ นที่จะหยุดให้บริ การให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดต่อสิ่ งแวดล้อม 4.1.2 เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์ พฒั นาการสาธารณสุ ขและสิ่ งแวดล้อมของเทศบาล เมืองหัวหิ น 4.1.3 เพื่อเป็ นพื้นที่เพื่อการศึกษาพลังงานทดแทนและพื้นที่พกั ผ่อนหย่อนใจรวมถึง ส่ งเสริ มสนับสนุนการทากิจกรรมนันทนาการแก่ยาวชนและประชาชนหัวหิ นซึ่ งเป็ นการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีข้ ึน 4.2

วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา

4.2.1 เพื่ อศึ กษาปั ญหาของบ่ อขยะแบบฝั งกลบ(ตามหลักสุ ขาภิ บาล)ของเทศบาล เมืองหัวหิ นที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมและความต้องการของผูใ้ ช้พ้ืนที่ 4.2.2

เพื่อศึ กษาแนวทางการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้พลังงาน

4.2.3

เพื่อออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานการเรี ยนรู ้พลังงานทดแทนอาเภอ

ทดแทนอาเภอหัวหิ น หัวหิ น 5. สถานที่ ต้ งั ของโครงการและเหตุ ผลในการเลื อกที่ ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของ คาร้อง) 5.1 ที่ ต้ ัง โครงการอยู่ที่ เชิ งเขาหนองคู บ้า นหนองพรานพุ ก ต าบลทับ ใต้อ าเภอหัว หิ น จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ โดยพื้นที่ดงั กล่าวมีเนื้อที่ท้ งั หมด 130 ไร่ ห่างจากชายหาดหัวหิ นประมาณ 10 กิโลเมตร 5.1.1

ที่ต้ งั โครงการ


Z

เรื่ อง โครงการออกแบบและวางผังอุทยานการเรี ยนรู ้พลังงานทดแทนอาเภอหัวหิ น แผนที่ 1 ขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์

ขอบเขตพื้นที่โครงการ

ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth

Not to scale


เรื่ อง โครงการออกแบบและวางผังอุทยานการเรี ยนรู ้พลังงานทดแทนอาเภอหัวหิ น แผนที่ 1 ขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์

ขอบเขตพื้นที่โครงการ

ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth

Not to scale




คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย จตุ พร อิ นวกูล รหัส 5419102503 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิช าภู มิสถาปั ตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 8 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.80 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง โครงการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมและวางผังสถานพักตากอากาศ เดอะเลครี สอร์ท แอนด์ปาร์ค อาเภอบางระจัน จังหวัดสิ งห์บุรี 2. หัวข้อเรื่ อง LANDSCAPE ARCHITECTURAL DESIGN AND PLANNING OF THE LAKE RESORT AND PARK, BANGRACHAN, SINGBURI 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดสิ งห์บุรี เป็ นเมื องหนึ่ งที่ มีประวัติศาสตร์ อนั ยาวนานโดดเด่ นและยิ่งใหญ่ดว้ ยเรื่ องราว วีรกรรมการสูร้ บของชาวบ้านเป็ นจังหวัดที่โดดเด่นในด้านประวัติศาสตร์และศาสนา มีแหล่งท่องเที่ยวที่หลากหลาย ทั้งแหล่งท่องเที่ ยวทางประวัติศาสตร์ ศาสนา วัฒนธรรมและวิถีชีวิตที่ สาคัญ เช่ น แหล่งประวัติศาสตร์ วีรชนค่าย บางระจัน เตาเผาแม่น้ าน้อย เมืองโบราณบ้านคูเมือง แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เช่น ลาน้ าแม่ลาและอุทยานแม่ ลามหาราชานุ สรณ์ ดงยางนาเฉลิมพระเกี ยรติ แต่ในจังหวัดสิ งห์บุรียงั ไม่มีสถานพักตากอากาศที่ตอบสนองความ ต้องการที่ ครบวงจรและสร้างทางเลือกในการท่องเที่ยว การพักผ่อนและพื้นที่ ทากิ จกรรมนันทนาการ เนื่ องมาจาก ในปั จจุบนั มนุ ษย์เริ่ มมีความต้องการเข้าหาธรรมชาติ สถานที่ ท่องเที่ ยว พื้นที่ พกั ผ่อนเพื่อสุ ขภาพและสถานที่ ทา กิจกรรมนันทนาการกันมากขึ้น เพื่อหลีกหนี จากความวุ่นวายในตัวเมืองและปั ญหาทางมลภาวะต่างๆมากมาย จึ ง เป็ นสาเหตุที่ทาให้ผทู ้ ี่ อาศัยอยู่ในตัวเมืองต้องการสถานที่ พกั ผ่อนและทากิ จกรรมในช่ วงวันหยุดสุ ดสัปดาห์ หรื อ วันหยุดในเทศกาลต่างๆ เช่น การไปเที่ยวตามแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ การทากิจกรรมครอบครัว การพักผ่อน การผ่อนคลาย เดิมคุณ ประวีณา อินวกูล มีพ้ืนที่ในอาเภอบางระจัน จังหวัดสิ งห์บุรี ทั้งหมด204 ไร่ ถูกใช้ประโยชน์ ไปเพียง 8 ไร่ ในพื้นที่มีบ่อน้ าขนาดใหญ่ ที่โอบล้อมไปด้วยทุ่งนาและทัศนี ยภาพของพื้นที่ที่สวยงาม จากศักยภาพ ของจังหวัดสิ งห์บุรีและสภาพพื้นที่ จึงมีความเป็ นไปได้ที่จะจัดตั้งโครงการสถานพักตากอากาศและนันทนาการทาง น้ า ในพื้นที่ อาเภอ บางระจัน จังหวัดสิ งห์บุรีซ่ ึ งพื้นที่ ยงั อยู่ติดกับชุ มชนหมู่บา้ น ที่มีวฒั นธรรมเดิ มอยู่และตั้งอยู่ไม่


ไกลจากสถานที่ท่องเที่ยวของจังหวัดสิ งห์บุรี ดังนั้นการที่จะสร้างสถานพักตากอากาศ จึงมีความเป็ นไปได้เหมาะสม อีกทั้งยังเป็ นการสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนและการส่ งเสริ มการพัฒนาการท่องเที่ยวของจังหวัดอีกด้วยอีกด้วย

4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อเป็ นสถานพักตากอากาศทางเลือก ให้แก่นกั ท่องเที่ยว และชุมชนใกล้เคียง ที่ตอ้ งการพักผ่อนและทากิจกรรมนันทนาการทางน้ า 4.1.2 เพื่อเป็ นสถานพักตากอากาศที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตขนบธรรมเนี ยม วัฒนธรรม และประเพณี ของชุมชน ในละแวก อ.บางระจัน เป็ นสถานที่พกั ผ่อนและเป็ นที่รู้จกั ของบุคคลทัว่ ไป 4.1.3 เพื่อรองรับการขยายตัวด้านการบริ การด้านการท่องเที่ ยว และเพื่อสร้างอาชี พ สร้างรายได้ให้กบั คนในท้องถิ่น ร่ วมกับเผยแพร่ ชื่อเสี ยงให้กบั จังหวัดสิ งห์บุรีและประเทศไทย 4.1.1

4.1.4

เพื่อส่ งเสริ มการประกอบอาชีพของคนในชุมชน

4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อ ศึ ก ษาถึ ง ข้อ มู ล และวิ ธี ก ารออกแบบวางผัง สถานพัก ตากอากาศ เชิ ง วัฒนธรรมและพื้นที่นนั ทนาการทางน้ า 4.2.2 เพื่อศึกษาลักษณะเฉพาะของพื้นที่โครงการ ศักยภาพของพื้นที่โครงการและ นาทรัพยากรที่มีอยูม่ าประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องและเกิดประโยชน์สูงสุ ดกับพื้นที่ เพื่อศึกษาสภาพวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมและประเพณี ของชุมชน ท้องถิ่นในเขตพื้นที่โครงการ เพื่อนามาประยุกต์ใช้ในการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสถานพักตากอากาศ 4.2.3


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โครงการ เดอะเลครี สอร์ทแอนด์ปาร์ค อาเภอบางระจัน จังหวัดสิ งห์บุรี ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 ในเขต ตาบลสระแจง อาเภอบางระจัน จังหวัดสิ งห์บุรี ห่างจากตัวเมืองสิ งห์บุรีประมาณ 26 กิโลเมตร 5.1.1

ที่ต้ งั โครงการและขอบเขตพื้นที่โครงการ

โครงการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมและวางผังสถานพักตากอากาศ เดอะเลครี สอร์ท แอนด์ปาร์ค อาเภอบางระจัน จังหวัดสิ งห์บุรี แผนที่ 1 แสดงแผนที่จงั หวัดสิ งห์บุรี ที่มา : http://www.novabizz.com/Map/31.htm สัญลักษณ์

แสดงที่ต้งั และขอบเขตโครงการ

Not To Scale


โครงการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมและวางผังสถานพักตากอากาศ เดอะเลครี สอร์ทแอนด์ ปาร์ค อาเภอบางระจัน จังหวัดสิ งห์บุรี แผนที่ 2 แผนที่ต้ งั โครงการอยูใ่ นพื้นที่อาเภอบางระจัน ที่มา : http://www.novabizz.com/Map/31.htm สัญลักษณ์

ที่ต้ งั โครงการ

Not To Scale


โครงการออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมและวางผังสถานพักตากอากาศ เดอะเลค รี สอร์ทแอนด์ปาร์ค อาเภอบางระจัน จังหวัดสิ งห์บุรี แผนที่ 3 แสดงพื้นที่โครงการและขอบเขตโครงการ ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth สัญลักษณ์

แสดงที่ต้ งั และขอบเขตโครงการ

Not To Scale





คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวชนัญญา สมุทรหล้า รหัส 5419102504 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 136 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.04 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่สาธารณะริ มชายกว๊านพะเยา อ.เมือง จ.พะเยา 2. หัวข้อเรื่ องThe Waterfront Landscape Architectural Design And Improvement Project Of Kwan Phayao ,Muang, Phayao. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ กว๊านพะเยา เป็ นบึ งน้ าจื ดที่ มีขนาดใหญ่ที่สุดในภาคเหนื อและอยู่ใจกลางเมืองมีสถานที่ สาคัญ ของจังหวัดพะเยาล้อมรอบทั้งสถานที่ ราชการ สถานที่ สาคัญทางศาสนา สถานที่ สาคัญทางประวัติศาสตร์ พื้นที่ พาณิ ชยกรรม สวนสาธารณะ และดอยแม่ใจ รวมไปถึงชุมชนพักอาศัยกว๊านพะเยามีลกั ษณะเป็ นรู ปพระจันทร์ เสี้ ยว เป็ นแหล่งน้ าที่สาคัญที่สุดของจังหวัดพะเยาที่มีลาห้วยเล็กๆ 18 สาย ไหลมารวมกัน เป็ นแหล่งประมงน้ าจืดที่สาคัญ ที่สุดของภาคเหนื อตอนบน เนื่ องจากเป็ นพื้นที่เพาะพันธุ์ปลาน้ าจืดหลายชนิ ด บริ เวณพื้นที่กลางกว๊านพะเยามีการ พบโบราณสถานเป็ นวัดโบราณที่ สร้างขึ้ นในสมัยพระเจ้าติ โลกราชชื่ อว่าวัดติโลกอาราม ปั จจุบนั ถือเป็ นสถานที่ ท่ อ งเที่ ย วที่ มีการเวี ย นเที ย นกลางน้ า แห่ งเดี ย วในโลก นอกจากนี้ บ ริ เ วณพื้ นที่ ริ มชายกว๊า นพะเยายังเป็ นพื้ น ที่ สาธารณะที่มีการพักผ่อน และจัดงานเทศกาลหรื องานสาคัญของจังหวัด ปั จจุบนั พื้นที่ ริมชายกว๊านพะเยามีความเสื่ อมโทรมเนื่ องจากมีการใช้งานที่ หลากหลาย ทั้งการ ท่องเที่ยว เป็ นพื้นที่รองรับผูค้ นจากพื้นที่พาณิ ชยกรรม พื้นที่สาธารณะ แต่ยงั ขาดการดูแลด้านการจัดการพื้นที่ต่างๆ ให้มีความเหมาะสม น่าใช้งาน พื้นที่สีเขียวไม่มีประสิ ทธิ ภาพในการใช้งานด้วยเหตุน้ ีจึงเลือกพื้นที่ดงั กล่าวเป็ นพื้นที่ โครงการที่ นามาออกและปรั บปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมให้เกิ ดความเหมาะสมและพัฒนาสภาพพื้นที่ ให้เกิ ดการใช้ ประโยชน์สูงสุ ด นอกจากนี้ ยงั มีการนานโยบายและแผนพัฒนาจังหวัดมาศึกษาถึงโครงการที่ จะเกิ ดขึ้นเพื่อให้เกิ ด ความสอดคล้องและความเป็ นไปได้ของโครงการและนาไปพัฒนาพื้นที่โครงการดังกล่าวต่อไป


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพิ่มพื้นที่สาธารณะ และพื้นที่สีเขียวเพื่อใช้เป็ นพื้นที่ รองรับกิจกรรมทางนันทนาการ งานเทศกาลและการพักผ่อนสาหรับผูค้ นในพื้นที่ 4.1.2 เพื่อปรับปรุ งสภาพภูมิทศั น์และปั ญหาด้านอื่นๆ ที่เกี่ ยวกับชุ มชน และพื้นที่พาณิ ชย กรรมของเมือง 4.1.3 เพื่ อส่ งเสริ มด้านการท่ องเที่ ยว เนื่ องจากเขตพื้ นที่ โครงการเป็ นพื้ นที่ ท่องเที่ ยวทาง ประวัติศาสตร์ที่สาคัญของจังหวัดพะเยา 4.1.4

เพื่อออกแบบสิ่ งบริ การและอานวยความสะดวกที่ส่งเสริ มต่อการใช้พ้ืนที่ริมน้ า

4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาถึงกระบวนการวางผังและออกแบบปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมริ มชายกว๊าน พะเยาให้สอดคล้องกับกิจกรรมการใช้งาน และความต้องการของผูใ้ ช้พ้ืนที่ 4.2.2 เพื่ อศึ กษาวิเคราะห์ปัจจัยที่ มีผลกระทบต่ อการออกแบบและปรั บปรุ งพื้ นที่ ริมชาย กว๊านพะเยา 4.2.3 เพื่อสร้างบรรยากาศและสุ นทรี ยภาพให้แก่พ้ืนที่และยังสอดคล้องกับความสาคัญทาง ประวัติศาสตร์ของเมือง


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้นที่โครงการอยูบ่ ริ เวณพื้นที่สาธารณะประโยชน์ริมชายกว๊านพะเยา จังหวัดพะเยาขนาดพื้นที่ โครงการประมาณ 110 ไร่ 5.1.1 ที่ต้ งั โครงการและขอบเขตพื้นที่โครงการ

โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมริ มชายกว๊าน กว๊านพะเยา แผนที่ แสดงพื้นที่โครงการและขอบเขตโครงการ ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth สัญลักษณ์

แสดงที่ต้ งั และขอบเขตโครงการ

Not To Scale










คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวดลญา บุ ญอาจ รหัส 5419102507 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภู มิส ถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.21 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัว ข้อ เรื่ อ ง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมเส้ น ทางท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วัฒนธรรมโบราณปราสาทหิ นเมืองต่าและชุมชนบ้านโคกเมือง ต.จรเข้มาก อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ 2. หัวข้อเรื่ อ ง (ภาษาอังกฤษ) Landscape architecture design and planning project of civilization

tourism route of Muangtum Sanctuary and Ban khokmuang village, Jorakemak, Prakhonchai, Burirum. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ บุ รีรัมย์ ดิ นแดนอารยธรรมขอมโบราณ นอกจากจะมี ปราสาทหิ นพนมรุ ้ งเป็ นแหล่งท่ องเที่ ยว ขึ้นชื่ อแล้ว ยังมีปราสาทเมืองต่า ปราสาทขอมโบราณที่มีขนาดใหญ่และยังคงสภาพสมบูรณ์ โดยปราสาทเมืองต่ า ตั้งอยูบ่ นเส้นทางอารยธรรมขอมจากนครวัด ในประเทศกัมพูชา ผ่านเทือกเขาพนมดงรัก ผ่านกลุ่มปราสาทตาเมือน จังหวัดสุ รินทร์ ผ่านปราสาทเมืองต่า สู่ ปราสาทพนมรุ ้ง ไปยังปราสาทพิมาย จังหวัดนครราชสี มา อาจกล่าวได้ว่า ชุมชนโบราณที่ปราสาทเมืองต่ามีความสัมพันธ์กบั ชุมชนโบราณใกล้เคียง บนเส้นทางอารยธรรมขอม ปั จจุ บัน ปราสาทเมื องต่ า ตั้งอยู่ในเขตพื้ น ที่ บ้านโคกเมื อง ยังขาดการส่ งเสริ มในเส้น ทางการ ท่องเที่ยว ด้วยเหตุน้ ี กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ได้เล็งเห็นช่องทางที่จะขยายฐานของการท่องเที่ยว เพื่อเป็ นการกระจายรายได้ของจังหวัด จึงได้พยายามที่ ผลักดันให้ปราสาทเมืองต่า เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสี ยง อีกแห่งหนึ่งของจังหวัด จากเหตุผลที่กล่าวข้างต้น ทางหน่วยงานกรมศิลปากร และองค์การบริ หารส่ วนตาบลจรเข้มาก มี แผนนโยบายในการพัฒนาปรับปรุ งเส้นทางท่องเที่ยวโบราณสถาน ที่น่าสนใจ สัมผัสวิถีชีวิตของคนในชุมชน เกิด ความเข้าใจในสภาพแวดล้อมที่ สอดคล้องกับวัฒ นธรรมวิถีชีวิตของคนในพื้ นที่ เพื่ อเป็ นแหล่งท่องเที่ ยวและให้ ความรู ้กบั นักท่องเที่ ยวและชุมชน โดยการท่องเที่ยวต้องนามาซึ่ งการเป็ นสังคมที่น่าอยู่ น่าเที่ ยว มีความสงบสุ ข มี


คุณภาพชี วิตที่ดี ซึ่ งจะทาให้ประชาชนที่เป็ นเจ้าของแหล่งท่องเที่ยว มีความพร้อมในการต้อนรับนักท่องเที่ยวด้วย มิตรไมตรี ทาให้ประชาชนในท้องถิ่นและนักท่องเที่ยวเห็นคุณค่าความสาคัญของทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวของ ชุมชน เกิดจิตสานึกที่จะร่ วมกันดูแลรักษา นามาซึ่ งรายได้ของคนในชุมชน 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 4.1.2

เพื่ออนุรักษ์โบราณสถานปราสาทหิ นเมืองต่า ชุมชนบ้านโคกเมือง เพื่อปรับปรุ งภูมิทศั น์โดยรอบโบราณสถานปราสาทเมืองต่า และเส้นทาง

ท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ให้เกิดความรื่ นรมย์ เอกลักษณ์ บนเส้นทางวิถีชีวิตของชุมชนบ้านโคกเมือง 4.1.3

เพื่อตอบสนองนโยบายของกรมศิลปากรและองค์การบริ หารส่ วนตาบล

จรเข้มาก ในการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวที่มีความสาคัญของจังหวัดบุรีรัมย์ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อออกแบบวางผังเส้นทางท่องเที่ยวและภูมิทศั น์โดยรอบโบราณสถาน ปราสาทเมืองต่า เพื่อเป็ นการส่ งเสริ ม สนับสนุนกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 4.2.2 เพื่อศึกษากระบวนการวางผังพื้นที่และการออกแบบภูมิทศั น์เมืองให้มีความ สอดคล้องกับกิจกรรม แสดงภาพลักษณ์ของเมือง 4.2.3 ศึกษาข้อมูลโบราณสถานปราสาทหิ นเมืองต่าและชุมชนบ้านโคกเมืองเพื่อ นามาออกแบบและวางผังเส้นทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการ โดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ บ้านโคกเมือง ต.จรเข้มาก อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมเส้นท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โบราณปราสาทหิ นเมืองต่าและชุมชนบ้านโคกเมือง ต.จรเข้มาก อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ แผนที่ 1 แสดงสถานที่ที่สาคัญในเขตพื้นที่การศึกษา ที่มา : จากภาพถ่ายทางอากาศ google map http://maps.google.co.th/ (28 ก.พ. 58) สัญลักษณ์ : สถานที่สาคัญ ขอบเขตพื้นที่ศึกษา

Scale : Not to scale


5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ เป็ นพื้นที่ ที่มีความสาคัญ ในแง่ของภาพลักษณ์ เอกลักษณ์ของจังหวัดบุรีรัมย์ เมืองแห่ ง อารยธรรมขอมโบราณ และวัฒนธรรมอันงดงาม ซึ่ งมีโบราณสถานปราสาทหิ นแสดงถึงความเจริ ญรุ่ งเรื องครั้นใน อดี ต และโบราณสถานปราสาทหิ นเมื องต่ า ตั้งอยู่ในพื้นที่ หมู่บา้ นโคกเมือง ที่ เป็ นแหล่งท่ องเที่ ยวเชิ งวัฒนธรรม เป็ นที่มาของเส้นทางการท่องเที่ยวที่สาคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดบุรีรัมย์ 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมเส้นท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโบราณปราสาท หิ นเมืองต่าและชุมชนบ้านโคกเมือง ต.จรเข้มาก อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ โดยครอบคลุมพื้นที่ภายในเขต หมู่บา้ น โคกเมือง ตาบลจรเข้มาก มีขนาดขอบเขตพื้นที่การศึกษา 648 ไร่ อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

ติดต่อกับ ติดต่อกับ ติดต่อกับ ติดต่อกับ

พื้นที่ทาการเกษตร บ้านโคกเมือง ต.จรเข้มาก พื้นที่ทาการเกษตร บ้านโคกเมือง ต.จรเข้มาก พื้นที่ทาการเกษตร บ้านกระสัง บ้านบัว ต.จรเข้มาก พื้นที่ทาการเกษตร บ้านโคกเมือง ต.จรเข้มาก

7. บรรณานุกรม ASTV ผูจ้ ดั การออนไลน์. 2551. “สัมผัสวิถีชุมชนที่ บ้านโคกเมือง ปราสาทเมืองต่า” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.manager.co.th/Travel/(14 กุมภาพันธ์ 2558). โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.………………………………………..) ……….../………./………..


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวดารณี เถียรหนู รหัส 5419102508 นักศึ กษาชั้นปี ที 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.92 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมเด่นชัยฟาร์ มเพื่อการท่องเที่ยว เชิงเกษตร อาเภอซับใหญ่ จังหวัดชัยภูมิ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architectural Design and Planning Project of Denchai farm for Agrotourism, Subyai, Chaiyaphum 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมเด่นชัยฟาร์ มเพื่อการท่องเที่ยวเชิ งเกษตร ตั้งอยู่ ตาบลตะโกทอง อ าเภอซับใหญ่ จังหวัดชัย ภู มิ พื้ น ที่โ ครงการเป็ นของ คุณ เด่ นชัย เถี ย รหนู เป็ นพื้น ที่ ทา การเกษตรทั้งเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ เนื่ องจากเป็ นพื้นที่ที่มีศกั ยภาพในการทาการเกษตร มีเนื้ อที่กว่า 112 ไร่ ด้านหนึ่งของพื้นที่โครงการมีลาน้ าเล็กๆไหลผ่านตลอดทั้งปี พื้นที่ริมน้ าเป็ นพื้นที่ทางการเกษตรที่ปลูกพืชสวน ได้แก่ สวนมะม่วง และมะพร้ าวที่ปลูกริ มน้ า ส่ วนพืชไร่ ได้แก่ แปลงนาข้าว และมันสาปะหลัง โดยพื้นที่ส่วน ใหญ่เป็ นพื้นที่โล่งกว้างใช้สาหรับเลี้ยงม้าและโคแบบปล่อยแปลง เจ้าของโครงการจึงมีแนวคิดที่จะปรั บปรุ งและ พัฒนาพื้นที่โครงการให้มีความสวยงามเกิดการใช้พ้นื ที่ที่เหมาะสมและสร้ างความแปลกใหม่ให้กบั พื้นที่อาเภอซับ ใหญ่ จังหวัดชัยภูมิ เนื่องจากจังหวัดชัยภูมิเป็ นจังหวัดที่มีทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวจานวนมาก โดยเฉพาะแหล่ง ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ โบราณสถานและประวัติศาสตร์ ซ่ ึงแหล่งท่องเที่ยวหลายแห่ งของจังหวัดได้รับการพัฒนา และมีชื่อเสี ยงในระดับประเทศและต่างประเทศ จากรายงานของการท่องเที่ยวแห่ งประเทศไทยในปี พ.ศ. 2553 จัง หวัดชัย ภู มิมีน ัก ท่ อ งเที่ ย ว จ านวน 731,361 คน เพิ่ มขึ้ น ร้ อ ยละ 27.99 และมี ร ายได้จ ากการท่ อ งเที่ ย ว จานวน 588.58 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้ อยละ 46.24 ซึ่งหากเปรี ยบเทียบจานวนนักท่องเที่ยวในปี 2552 ที่ผ่านมา


จากข้อมูลข้างต้น เจ้าของโครงการจึงต้องการที่จะพัฒนาพื้นที่และส่ งเสริ มรายได้ให้กบั กิ จการ โดยมีแนวคิดที่จะออกแบบวางผังฟาร์ มที่ครบวงจรที่ได้รับมาตรฐานตรงตามที่ทางกรมปศุสัตว์ได้กาหนดไว้ และ ยังมีแนวคิดที่จะพัฒนาให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิ งเกษตรที่มีสภาพแวดล้อมในสไตล์ชนบทแบบอังกฤษมีทุ่งหญ้า เลี้ยงสัตว์ ทะเลสาบที่สวยงามเป็ นธรรมชาติ และมีที่พกั สาหรับรองรับนักท่องเที่ยว เกษตรกร หรื อผูท้ ี่มีความชื่ น ชอบวิถีชีวติ สไตล์คนั ทรี ที่จะเข้ามาศึกษาหรื อร่ วมทากิจกรรมกับทางฟาร์ มเพราะกาลังเป็ นที่นิยมและตรงกับความ ต้องการของเจ้าของโครงการ และเพื่อส่ งเสริ มให้นกั ท่องเที่ยวได้เข้ามาท่องเที่ยวในจังหวัดชัยภูมิมากขึ้น 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อดาเนินกิจการฟาร์ มโดยต้องการใช้พ้นื ที่อย่างเหมาะสมเป็ นสัดส่ วนและคุม้ ค่า ที่สุด 4.1.2 เพื่อเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและเพิ่มรายได้ให้กบั กิจการฟาร์ ม 4.1.3 เพื่อเป็ นสถานที่รองรับกิจกรรมนันทนาการและเป็ นสถานที่เรี ยนรู ้ เชิงเกษตร 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปั ญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบและวางผังบริ เวณฟาร์ มให้สอดคล้องกับกิจกรรม ของโครงการ สอดคล้องกับธรรมชาติ และส่ งผลกระทบต่อส่ งแวดล้อมให้นอ้ ยที่สุด 4.2.2 ศึ กษาหลักการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมประเภทฟาร์ มผสมผสานเพื่อนาไป ออกแบบพื้นที่โครงการ 4.2.3 เพื่อศึ กษาออกแบบและวางผังภูมิส ถาปั ตยกรรม สาหรั บรองรั บกิ จกรรมการ เรี ยนรู ้ กิจกรรมนันทนาการ สถานที่พกั และเพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร 5. สถานที่ต้งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้งั โครงการโดย สังเขป ข้างล่างนี้ พร้ อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้ อง)


5.1 สถานที่ต้งั โครงการ อยู่ที่หมู่บา้ นหนองยางพัฒนา ตาบลตะโกทอง อาเภอซับใหญ่ จังหวัด ชัยภูมิ พื้นที่โครงการประมาณ 112 ไร่ 5.1.1 ที่ต้งั โครงการ

ที่ว่าการอาเภอซับใหญ่

ที่ว่าการอาเภอบำเหน็จณรงค์

เรื่ อง โครงการออกแบบและวางผังเด่นชัยฟาร์ มเพือ่ การท่องเทีย่ วเชิงเกษตร แผนที่ 1 ที่ต้งั โครงการ สัญลักษณ์ ที่ต้งั โครงการ ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth

ที่วา่ การอาเภอ Not to scale


5.1.2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ

ห้ วยตะโกทอง สถานีอนามัยตะโกทอง ถนนบาเหน็จ-ซับใหญ่

พืน้ ที่การเกษตร พืน้ ที่การเกษตร ขอบเขตพืน้ ที่โครงการ

พืน้ ที่การเกษตร อาเภอบาเหน็จณรงค์ ลานา้ ห้ วยทราย

เรื่ อง โครงการออกแบบและวางผังเด่นชัยฟาร์ มเพือ่ การท่องเทีย่ วเชิงเกษตร แผนที่ 2 ขอบเขตพื้นที่โครงการ สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth

เส้นทางน้ า

สถานีอนามัย Not to scale


5.2. เหตุผลในการเลือกที่ต้งั โครงการ 5.2.1 สถานที่ต้งั โครงการมีความเหมาะสมทางกายภาพของพื้นที่ เนืองจากพื้นที่เป็ นที่ โล่งกว้างเหมาะแก่ ก ารเลี้ย งสัตว์หรื อสร้ า งอาคารต่างๆได้ มีลาน้ า ธรรมชาติไหลผ่าน พื้นที่โดยรอบเป็ นพื้น ที่ การเกษตรทาให้พ้นื ที่มีมุมมองและทัศนียภาพโดยรอบที่สวยงามเอื้ออานวยต่อโครงการฟาร์ มเพื่อการท่องเที่ยวเชิง เกษตร 5.2.2 สถานที่น้ ี เป็ นพื้นที่โครงการจริ ง ที่เคยประกอบกิ จการฟาร์ มโคเนื้ อ ซึ่ งเจ้าของ โครงการมีแนวคิดที่จะปรับปรุ ง พัฒนาและขยายพื้นที่โครงการ 5.2.3 มีก ารเข้า ถึง พื้น ที่ส ะดวก และเป็ นเส้ นทางผ่า นไปยัง แหล่ง ท่องเที่ ยวอื่น ๆใน จังหวัดชัยภูมิ เช่น ทุ่งดอกกระเจียว น้ าตกตาดโตน เป็ นต้น 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 6.1 ตั้ง อยู่ บ้า นหนองยางพัฒ นา ต าบลตะโกทอง อ าเภอซั บ ใหญ่ จัง หวัด ชัย ภู มิ พื้ น ที่ โดยประมาณ 112 ไร่ 6.2 อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ ติดกับ พื้นที่ทางการเกษตรและที่พกั อาศัยของชาวบ้าน ทิศใต้

ติดกับ ต.บ้านชวน อ.บาเหน็จณรงค์โดยมีลาน้ าห้วยทรายเป็ นแนวแบ่ง

ทิศตะวันออก

ติดกับ พื้นที่ทางการเกษตร

ทิศตะวันตก

ติดกับ ลาน้ าธรรมชาติ และพื้นที่ทางการเกษตร

เขต

โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปั ตยกรรม ศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ



คําร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวธนัชชา ประดิ ษฐ รหัส 5419102509 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึ กษามาแล้วจํานวน 7 ภาคการศึ กษา จํานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.04 มีความประสงค์จะขอทําวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ ริมนํ้าเจ้าพระยา เทศบาลเมืองสิ งห์บุรี จังหวัดสิ งห์บุรี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architecteral Design and Improvement Project of the Chao Phaya riverfront, Singburi Municipality, Singburi Province. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ พื้นที่ เขตเทศบาลเมืองสิ งห์บุรี ตั้งอยู่ริมแม่น้ าํ เจ้าพระยา เป็ นที่ ต้ งั ของชุ มชนเมืองที่ สําคัญ พื้นที่ดงั กล่าวนั้นประสบปั ญหานํ้าท่วมเกือบทุกปี ในปั จจุบนั พื้นที่บริ เวณริ มนํ้าเจ้าพระยาได้มีการสร้างแนวเขื่อน คอนกรี ตเสริ มเหล็กป้ องกันนํ้าท่วมตลอดแนวเขตเทศบาล ทําให้ทาํ ลายพื้นที่ สีเขี ยวสาธารณะ ระบบนิ เวศริ มนํ้า สภาพแวดล้อมไม่สวยงาม ไม่เป็ นระเบียบ อีกทั้งพื้นที่ดงั กล่าวขาดการใช้ที่ดินให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด จากแผนยุ ท ธศาสตร์ ข องเทศบาลเมื อ งสิ งห์ บุ รี แผนยุ ท ธศาสตร์ ที่ 5 การพั ฒ นา ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมจะเห็ นได้ว่าตามแผนมีแนวทาง การเพิ่มพื้นที่ สีเขี ยวสาธารณะให้กบั ชุ มชน โดยการก่อสร้างพัฒนา ปรับปรุ งสวนสาธารณะ และแนวทางการแก้ไขปั ญหาและป้ องกันนํ้าท่วมในพื้นที่เสี่ ยงภัย จัดทําแนวเขื่อนป้ องกันนํ้าท่วม ด้วยเหตุน้ ี จึ งได้เลือกพื้นที่ บริ เวณริ มนํ้าเจ้าพระยาในเขตเทศบาลเมืองสิ งห์บุรีมาเป็ นพื้นที่ โครงการออกแบบและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมให้เกิ ดความเหมาะสม เพิ่ มพื้ นที่ สีเขี ยวสาธารณะริ มนํ้า และ พัฒนาสภาพของพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อฟื้ นฟูระบบนิ เวศริ มนํ้าและปรับปรุ งพื้นที่ สีเขี ยวให้กบั ชุ มชน เพื่อใช้เป็ น พื้นที่ทาํ กิจกรรมและการนันทนาการ 4.1.2 เพื่ อ แก้ ไ ขสภาพปั ญหาสภาพแวดล้ อ มของพื้ นที่ ริ มนํ้ าและป้ องกั น การเกิดนํ้าท่วม 4.1.3 เพื่อออกแบบและปรับปรุ งพื้นที่ริมนํ้าบริ เวณเขตเทศบาลเมืองสิ งห์บุรี 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อศึ กษาการวางผังพื้ นที่ แ ละออกแบบภู มิทัศ น์ริ มฝั่ งแม่ น้ าํ เจ้าพระยา ให้ สอดคล้องกับกิจกรรมและความต้องการของผูใ้ ช้งาน 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ มี ผ ลกระทบต่ อ การออกแบบและวางผัง พื้ น ที่ ริ มนํ้ า ที่เป็ นพื้นที่เสี่ ยงภัยนํ้าท่วม 4.2.3 เพื่ อ ศึ ก ษาการออกแบบพื้ น ที่ ริ มนํ้า ที่ ช่ ว ยฟื้ นฟู ร ะบบนิ เ วศ แก้ไ ขปั ญ หา สภาพแวดล้อม และป้ องกันนํ้าท่วม


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคําร้อง)

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่ริมนํ้าเจ้าพระยา เทศบาลเมืองสิ งห์บุรี จังหวัดสิ งห์บุรี แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ

N

ที่มา: ดัดแปลงจาก https://www.google.co.th/maps สัญลักษณ์

ขอบเขตพื้นที่ศึกษา ขอบเขตพื้นที่ออกแบบ

Not to scale









คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว นันทิตา แก้วคา รหัส 5419102512 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึ กษามาแล้วจานวน7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.23 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภู มิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย)โครงการออกแบบวางผังแม่บทวัดอุโมงค์และสวนพุทธธรรม อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architectural Design and Improvement of Wat Umong and Dhamma Garden, Muang, Chiangmai. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ วัด อุโ มงค์ (สวนพุ ทธธรรม) เป็ นสถานที่ ส่ งเสริ มการปฏิ บัติ ธรรมของพุ ท ธนิ ค มและ พุทธศาสนิ กชน ประจาจังหวัดเชี ยงใหม่ เป็ นวัดเก่าแก่สมัยพระเจ้ากือนาธรรมิกราช ซึ่ งเป็ นรู ปแบบสถาปั ตยกรรม แบบลังกาวงค์ มีอุโมงค์ที่สร้ างขึ้ นเพื่อถวายให้พระมหาเถรจันทร์ วัดนี้ มีบริ เวณพื้นที่ เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่ งมี กาแพงอิฐปรากฏอยูท่ ้ งั สี่ ดา้ น มีพระอุโบสถขนาดย่อมตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉี ยงใต้ พระเจดียใ์ หญ่แบบลังกาวงค์ อุโมงค์ 1 อุโมงค์มีทางเข้าสามทาง ตั้งอยูต่ ลอดแนวติดด้านตะวันตก มีศาลาตั้งอยูท่ างทิศตะวันออก สวนพุทธธรรม เป็ นชื่ อใหม่ที่ภิกขุ ปั ญญานันทะ ประธานวัดอุโมงค์สมัยนั้น (พ.ศ.2492-พ.ศ.2509) ตั้งขึ้ นเพื่ อ เรี ย กสถานที่ ป่าผื นใหญ่ ที่ปกคลุ มวัด ร้ า งโบราณ ที่ พุ ทธนิ ค มเชี ย งใหม่ จัด ขึ้ นเพื่ อเป็ นที่ อยู่ข องภิ ก ษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิ กา ผูแ้ สวงหาความสงบ และอีกทั้งบริ เวณที่ ถูกเรี ยกว่าสวนพุทธธรรมนี้ มีการค้นพบวัด โบราณอีกหลายแห่ง ซึ่ งเป็ นวัดที่กษัตริ ยร์ าชวงศ์มงั รายทรงสร้างสื บต่อกันมาระยะเวลากว่า 700 ปี พื้นที่ของวัดอุโมงค์อยูใ่ นการดูแลของ 2 หน่วยงาน คือ กรมศาสนาและกรมอุทยานแห่งชาติ และไม่มี ผังแม่บทร่ วมกันของพื้นที่ซ่ ึ ง 2 หน่วยงานรับผิดชอบ ทาให้วดั และกรมป่ าไม้ไม่สามารถดูแลและจัดการพื้นที่เพื่อ ประกอบศาสนกิ จ ฟื้ นฟูวดั ร้างและโบราณสถานได้ จึ งส่ งผลให้สภาพโดยรอบของวัดอุโมงค์และสวนพุทธรรม เสื่ อมโทรมไม่เป็ นระเบียบและมีการใช้พ้ืนที่ไม่เหมาะสม ขาดประสิ ทธิ ภาพ พุทธศาสนิกชนไม่กล้าเข้าไปใช้งานใน พื้นที่ และมีการรุ กล้ าพื้นที่ ธรรมชาติ อีกทั้งมีการขุดพบวัดร้างหลายแห่ งในบริ เวณวัดอุโมงค์ซ่ ึ งเป็ นหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ จึ งได้เกิ ดโครงการนี้ ข้ ึ นเพื่ อออกแบบและวางผังบริ เวณใหม่ โครงการออกแบบวางผังแม่บทวัด


อุโมงค์และสวนพุทธธรรม อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่เป็ นพื้นที่ที่มีศกั ยภาพในการออกแบบเพื่อเป็ นสถานปฏิบตั ิ ธรรมที่ตอ้ งการผสมผสานระหว่างการศึกษาประวัติศาสตร์ พุทธศาสนา การปฏิบตั ิธรรมตามหลักคาสอนของพระ สัมมาสัมพุทธเจ้าให้สอดคล้องกับการอนุรักษ์ธรรมชาติรวมไปถึงการพักผ่อนทางด้านจิตใจควบคู่กนั ไปเพื่อให้เกิด ประโยชน์กบั ผูใ้ ช้พ้ืนที่อย่างเต็มประสิ ทธิ ภาพ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นศูนย์กลางการเผยแผ่ศาสนาและการปฏิบตั ิธรรมระดับจังหวัด 4.1.2 เพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้และเป็ นสถานที่ ปฏิ บตั ิธรรมของชาวพุทธและคนรุ่ นใหม่ที่ สนใจด้านพุทธศาสนาควบคู่กบั การอนุรักษ์ธรรมชาติสตั ว์ป่าและพันธุ์พืช 4.1.3 เพื่อเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ดา้ นโบราณสถาน 4.1.4 เพื่อปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมเพื่อช่ วยส่ งเสริ มบรรยากาศและสุ นทรี ยภาพให้ สอดคล้องกับพื้นที่โครงการด้านพุทธศาสนา 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบวางผังแม่บทวัดอุโมงค์และสวนพุทธธรรม อาเภอเมือง จังหวัดเชี ยงใหม่ และศึ กษาข้อมูลการวางผังบริ เวณพื้นที่ ธรรมชาติ ควบคู่กบั การอนุ รักษ์ ธรรมชาติสตั ว์ป่าและพันธุ์พืช 4.2.2 เพื่ อศึ กษาข้อมู ลทางประวัติศ าสตร์ และโบราณสถานของวัด อุโ มงค์แ ละ สวนพุทธธรรม 4.2.3 เพื่อศึกษาศักยภาพของพื้นที่และความสัมพันธ์ของกิ จกรรมให้สอดคล้องกับการ เป็ นสถานที่ศึกษาพุทธศาสนา สถานปฏิบตั ิธรรมและการอนุรักษ์ธรรมชาติ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) สถานที่ต้ งั โครงการตั้งอยู่ ณ วัดอุโมงค์และสวนพุทธธรรม เลขที่ 135 หมู่ 10 ตาบลสุ เทพ อาเภอ เมือง จังหวัดเชียงใหม่ มีเนื้อที่โดยประมาณ 190 ไร่ เป็ นพื้นที่ทางพุทธศาสนาและพื้นที่ป่าผืนใหญ่ที่ปกคลุมวัดร้าง โบราณสถาน ซึ่ งปั จจุบนั วัดอุโมงค์มีพุทธศาสนิ กชนทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ รวมไปถึงนักท่องเที่ ยวเข้ามาใช้ พื้นที่อีกทั้งมีการขุดพบวัดร้าง หลักฐานโบราณวัตถุจึงควรมีการจัดสรรการใช้พ้ืนที่เพื่อให้เกิดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด (ดูแผนที่ 1-2)




โครงการออกแบบวางผังแม่บทวัดอุโมงค์และสวนพุทธธรรม อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 1 สัญลักษณ์ ที่มา

ที่ต้ งั ระดับจังหวัด ที่ต้ งั โครงการ Google Earth


ซอยบ้านใหม่หลังมอ1

วัดอุโมงค์

โครงการออกแบบวางผังแม่บทวัดอุโมงค์และสวนพุทธธรรม อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 2 สัญลักษณ์ ที่มา

ที่ต้ งั ระดับโครงการ ขอบเขตพื้นที่ Google Earth



คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตร์ บัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย ปรัชญา รอดสุ ข รหัส 5419102513 นักศึกษาชั้นปี ที่4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษาจานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.78 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตร์ บณ ั ฑิตโดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1.หัวข้อเรื่ อง(ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปั ตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวทะเล น้ าจืด อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี 2. หั ว ข้อ เรื่ อ ง (ภาษาอังกฤษ)The Landscape Architectural Planning and Improvement Project of the Freshwater Ocean , Tamuang ,Kanchanaburi. 3.ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ 3.1 ความเป็ นมาของโครงการ ประเทศไทยมี อุต สาหกรรมการท่ อ งเที่ ย วหลากหลายรู ป แบบทุ ก คนต่ างให้ ความสาคัญต่อการออกเดิ นทางท่องเที่ ยวสัมผัสถึ งบรรยากาศธรรมชาติ เกิ ดการสร้างสรรค์การท่องเที่ ยวรู ปแบบ ใหม่เพื่อตอบสนองความต้องการสาหรับนักท่องเที่ยว จังหวัดกาญจนบุรีเป็ นจังหวัดที่มีสภาพภูมิประเทศที่ ราบลุ่มแม่น้ ามีอุตสาหกรรม การท่ องเที่ ยวเชิ งธรรมชาติ มากมายและสวยงามอาทิ เช่ นแม่น้ าภูเขาและป่ าไม้ กาญจนบุรี หรื อที่ เรี ยกติ ดปากกัน โดยทัว่ ไปว่า "เมืองกาญจน์" จึงเป็ นอีกจังหวัดหนึ่ งที่ นกั ท่องเที่ ยวที่ ชอบในธรรมชาติ ดว้ ยระยะทางประมาณ 129 กิ โ ลเมตรจากกรุ งเทพถึ งตัวเมื อ งท าให้ กาญจนบุ รี เป็ นสถานที่ ร องรั บ นัก ท่ อ งเที่ ย วที่ ม าจากกรุ งเทพและกลุ่ ม ครอบครัวรวมไปถึงคนทางานที่ ให้ความสนใจและต้องการพักผ่อนในวันหยุดเพราะสามารถมาเที่ยวได้ท้ งั แบบเช้า ไปเย็นกลับและแบบพักแรมค้างคืนกาญจนบุรีเป็ นจังหวัดที่กลุ่มนักท่องเที่ยวที่เข้ามาจะคุน้ เคยกับการท่องเที่ยวเชิ ง ธรรมชาติ ในรู ปแบบป่ าเขาน้ าเป็ นส่ วนใหญ่ ทาให้เกิ ด แนวคิ ดจัดทาสถานที่ ท่องเที่ ยวในรู ปแบบพิ เศษ (special interest tourism)ที่ จะผสมผสานความแปลกใหม่และประสบการณ์ ในรู ปแบบที่ นกั ท่องเที่ ยวไม่เคยเห็น ได้เข้ามา สัมผัสกับสถานที่ท่องเที่ยงเชิ งธรรมชาติในรู ปแบบของทะเลน้ าจืดที่สร้างขึ้นมาเลียนแบบธรรมชาติที่ใกล้เคียงทะเล มากที่สุด


สถานที่ ท่องเที่ ยวเชิ งธรรมชาติ ทะเลน้ าจื ดเป็ นพื้นที่ ติดกับพื้นที่ ธรรมชาติ มีบ่อน้ าจืดขนาดใหญ่ที่พกั นักท่องเที่ ยว และฟาร์ ม นกกระจอกเทศพื้ น ที่ ส่ ว นใหญ่ มีส ภาพภู มิทัศ น์ ที่ ท รุ ด โทรม ทางโครงการมี แ ผนที่ จะปรั บ ปรุ งภู มิ สถาปั ตยกรรมเพิ่มพื้นที่ทากิจกรรมต่างๆ อีกทั้งเพิ่มเส้นทางเชื่ อมต่อในพื้นที่ให้เกิดความสะดวกต่อการใช้งาน ทั้งนี้ เพื่อให้สถานที่ ท่องเที่ ยวทะเลน้ าจืดกลับมาเป็ นที่รู้จกั กับนักท่องเที่ยว แหล่งท่องเที่ยวเชิ งธรรมชาติทะเลน้ าจืดเป็ น สถานที่ท่องเที่ยวแห่ งแรกของจังหวัดกาญจนบุรีที่มีการท่องเที่ยวในรู ปแบบพิเศษผสมผสานความหลากหลายและ มีสิ่งอานวยความสะดวกคอยให้บริ การอย่างครบครัน จากเหตุผลที่ กล่าวมาข้างต้นโครงการแหล่งท่ องเที่ ยวทะเลน้ าจื ด จะเป็ นสถานที่ ท่ องเที่ ยวรู ป แบบพิ เศษเป็ นทางเลื อกใหม่ ส าหรั บ คนในพื้ นที่ แ ละต่ างจังหวัดที่ จะเข้ามาท่ องเที่ ยวพื้ นที่ จงั หวัด กาญจนบุรีท้ งั ยังเป็ นการนาเม็ดเงินเข้าสู่ จงั หวัดและเพิ่มมูลค่าอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของจังหวัดให้เงินไม่ไหล ออกนอกประเทศ 3.2เหตุผลในการเลือกโครงการ 3.2.1 แหล่งท่องเที่ ยวทะเลน้ าจืดเป็ นสถานที่ แห่ งแรกและมีขนาดใหญ่ที่สุดของ จังหวัดกาญจนบุรีปัจจุบนั มีสภาพทรุ ดโทรม ทางโครงการมีแผนจะปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมและพื้นที่ทากิจกรรม ต่างๆ จึงเป็ นโครงการที่น่าสนใจในการพัฒนา 3.2.2 เป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่มีกิจกรรม ที่พกั แหล่งอานวยความสะดวก และแหล่ง ให้ความรู ้ที่น่าสนใจ 4.วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อปรับปรุ งพื้ นที่ ใช้สอยในโครงการให้เกิ ดการใช้พ้ื นที่ ให้เกิ ดประโยชน์ สู งสุ ด 4.1.2 เพื่อเป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและการท่องเที่ยวในรู ปแบบพิเศษ4.1.3 เ น4.1.3 เป็ นสถานที รับรองกิจกรรมนันทนาการและเป็ นสถานที่ เรี ยนรู ้เชิ งธรรมชาติ สาหรับเด็กและเยาวชน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อศึ กษาแนวทางการออกแบบและการวางผัง พื้ น ที่ ใ ช้ส อยพื้ น ที่ แ หล่ ง ท่องเที่ยวในรู ปแบบทะเลน้ าจืดรวมไปถึงที่พกั นักท่องเที่ยว ฟาร์ มในส่ วนต่างๆ ให้สอดคล้องกับพื้นที่เดิมที่เป็ นอยู่ 4.2. 4.2.2 เพื่อศึ กษาหลักการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมโครงการแหล่งท่องเที่ ยวเชิ ง ธรรมชาติให้สอดคล้องกับธรรมชาติและส่ งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมให้นอ้ ยที่สุด 4.2.3 เพื่ อศึ กษาแนวทางการออกแบบพื้ นที่ เพื่ อนันทนาการและการเรี ย นรู ้ เชิ ง ธรรมชาติสาหรับเด็กและเยาวชน


5.สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวทะเลน้ าจืด อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี

N

ภาพที่1 . แผนผังแสดงภาพถ่ายทางอากาศโครงการแหล่งท่องเที่ยวทะเลน้ าจืด

มาตราส่ วน

ที่ มาภาพดัดแปลงจากภาพถ่ายทางอากาศ https://www.google.co.th/maps/place/ทะเล น้ าจืด+ฟาร์มนกกระจอกเทศ/ปี 2558

Not to scale


โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมแหล่งท่องเที่ยวทะเลน้ าจืด อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี

N

ภาพที่2.แผนผังแสดงเส้นทางการเข้าถึงโครงการแหล่งท่องเที่ยวทะเลน้ าจืด

มาตราส่ วน

ที่มาhttp://www.hamanan.com/tour/kanchanaburi/talekanchanaburi.html5.1

Not to scale


5.1เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1.1แหล่งท่องเที่ยวทะเลน้ าจืดเป็ นพื้นที่โครงการเดิม ที่เข้าถึงง่ายโดยมีระยะทางห่ าง จากกรุ งเทพประมาณ100กิโลเมตรก็จะได้สมั ผัสกับบรรยากาศใกล้กบั ทะเลมากที่สุด 5.1.2โครงการเป็ นเส้ น ทางผ่ า นสถานที่ ท่ อ งเที่ ย วต่ า งๆในจังหวัด กาญจนบุ รี เช่ น สะพานข้ามแม่น้ าแคว เขื่อนแม่กลอง วัดถ้ าเสื อ เป็ นต้น 5.1.3 พื้นที่โครงการมีกิจกรรมและพื้นที่นนั ทนาการที่น่าสนใจต่างๆ เช่น พื้นที่เล่นน้ า และกิจกรรมทางน้ า ชมนกกระจอกเทศ ชมแกะ ตกปลา ค่ายลูกเสื อ เป็ นต้น จึงเริ่ มเป็ นที่น่าสนใจของนักท่องเที่ยว ชาวไทยและต่างชาติที่จะมาท่องเที่ยวในจังหวัดกาญจนบุรี 6.ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา โครงการตั้งอยู่ที่ เลขที่ 8 หมู่ 3 เทศบาลตาบลสารอง ต.พังตรุ อ.ท่ าม่วง จ.กาญจนบุ รี71130มี พ้ื นที่ ประมาณ 400 ไร่ เป็ นค่ายลูกเสื อ 100ไร่ และพื้นที่ทะเลน้ าจืด อีก60 ไร่




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้ อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวปานหทัย ชาวเวียง รหัส 5419102514 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.31 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภู มิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพุทธมณฑลพะเยา อาเภอเมือง พะเยา จังหวัดพะเยา 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design And Planning Project of Phayao Buddha Monthon, Muang Phayao, Phayao 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ พระพุทธศาสนาเป็ นศาสนาอเทวนิยม ปัจจุบนั ศาสนาพุทธได้มีผนู ้ บั ถือกระจายไปทัว่ โลก โดยมี ผูน้ บั ถือในหลายประเทศ ศาสนาพุทธจึ งกลายเป็ นศาสนาสากล อีกทั้งยังเป็ นศาสนาหลักประจาชาติ ไทยมาแต่ โบราณ ท าให้หลักธรรมแห่ งพระพุ ท ธศาสนานั้น ได้กลายเป็ นแก่ นแห่ งขนบธรรมเนี ย ม ประเพณี ศิ ลปะ วัฒนธรรม เป็ นวิถีแห่งชีวิต ตลอดจนทัศนะหรื อความรู ้สึกนึกคิดของประชาชนชาวไทย สื บเนื่องจาก คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2547 เห็นชอบให้มีการจัดตั้งสถาน ที่พระพุทธศาสนาที่มีลกั ษณะเดียวกับพุทธมณฑลในส่ วนภูมิภาคให้แพร่ หลายมากยิ่งขึ้น ประกอบกับมติมหาเถร สมาคม ครั้งที่ 10/2549 เมื่อวันที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2549 เห็นชอบให้โครงการจัดสร้างพุทธมณฑลจังหวัด เป็ น โครงการร่ วมเฉลิมฉลองสิ ริราชสมบัติครบ 60 ปี ในปี พ.ศ. 2549 ทางสานักงานพระพุทธศาสนาแห่ งชาติ จึงได้ จัดทาโครงการ “พุทธมณฑลจังหวัด” โดยให้จดั ตั้งพุทธมณฑลจังหวัดใน 4 ภาคของประเทศ ได้แก่ ภาคเหนื อ ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคใต้ ดังนั้น ทางจังหวัดพะเยาพร้อมกับคณะสงฆ์จงั หวัดพะเยา จึงได้มีแนวคิดจัดสร้าง “พุทธมณฑล จังหวัดพะเยา” เพื่อเป็ นการสนับสนุนนโยบายของทางรัฐบาล และร่ วมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เนื่ องในวโรกาสมหามงคลเฉลิ มพระชนมพรรษา 7 รอบ 84 พรรษา โดยพุทธมณฑลที่ จะจัดสร้ างขึ้ นนั้น เป็ น สถานที่สาคัญทางพระพุทธศาสนา เป็ นสถานที่ประชุม อบรม สัมมนา และปฏิบตั ิธรรมของประชาชน พระภิกษุ


สงฆ์ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม และเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวเชิ งอนุรักษ์ขนาดใหญ่ ซึ่ งจะ ช่ วยส่ งเสริ มภาพลักษณ์ ของจังหวัดพะเยา (City Image) และการพัฒนาเศรษฐกิ จของจังหวัดพะเยา (สานักงาน พระพุทธศาสนาจังหวัดพะเยา, 2547) 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่ องในวโรกาสสิ ริราชสมบัติครบ 60 ปี และเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 84 พรรษา 4.1.2 เพื่อใช้เป็ นสถานที่สาหรับจัดประชุมคณะสงฆ์ และสัมมนาทางวิชาการ รวมทั้งการ ประชุมอื่นๆ ของหน่วยงานราชการหรื อองค์กรต่างๆ ที่สามารถจัดหรื อขออนุญาตใช้ประโยชน์จากพื้นที่ 4.1.3 เพื่อใช้เป็ นสถานที่สาหรับสักการบูชาสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ เป็ นศูนย์รวมจิตใจของประชาชน และเป็ นศูนย์กลางการศึ กษาและเรี ยนรู ้ทางพระพุทธศาสนา และยังใช้เป็ นสถานที่ สาหรับประกอบกิ จกรรมทาง พระพุทธศาสนา เช่น อบรมจริ ยธรรม คุณธรรมของเยาวชน เป็ นที่ฟังเทศน์ และปฏิบตั ิธรรมของคนทัว่ ไป 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาและวิเคราะห์กิจกรรมต่างๆ และการใช้พ้ืนที่ในพุทธมณฑล เพื่อนามาปรับ ใช้ในการออกแบบและวางผังพุทธมณฑลจังหวัดพะเยา 4.2.2 เพื่อศึ กษาการออกแบบวางผังภู มิสถาปั ตยกรรมต่างๆ ที่ เหมาะสาหรั บพุทธมณฑล จังหวัดพะเยา 4.2.3 เพื่อศึ กษาแนวคิ ด กระบวนการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมพุทธมณฑล เพื่อให้สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่และความต้องการของผูใ้ ช้งาน 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ โครงการตั้งอยู่บนพื้ นที่ ธรณี ส งฆ์ข องวัด ศรี โ คมคา โดยโครงการตั้งอยู่ เลขที่ 692 ถนน จอมทอง ตาบลเวียง อาเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา (ดูแผ่นที่1- 1-3)


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพุทธมณฑลพะเยา แผนที่ 1 แสดงพื้นที่ต้ งั โครงการระดับจังหวัด ที่มา : ดัดแปลงจาก ข้อมูล.[ระบบออนไลน์.] แหล่งที่มา http://www.phayao.go.th/au/img/pyomap3.gif 19/02/58 สัญลักษณ์

แสดงพื้นที่โครงการ

NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพุทธมณฑลพะเยา แผนที่ 2 แสดงพื้นที่ต้ งั โครงการระดับตาบล ที่มา : ดัดแปลงจาก ข้อมูล.[ระบบออนไลน์.] แหล่งที่มา http://www.oceansmile.com/map/n/3111.gif 19/02/58 สัญลักษณ์

แสดงที่ต้ งั โครงการ

NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพุทธมณฑลพะเยา แผนที่ 3 แสดงพื้นที่ต้ งั และขอบเขตพื้นที่โครงการ ที่มา : ดัดแปลงจาก ภาพถ่ายทางอากาศ.[ระบบออนไลน์.] แหล่งที่มา http://www.earth.google.co.th 19/02/58 สัญลักษณ์

แสดงที่ต้ งั โครงการ

NOT TO SCALE




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวพรรทอง หัวไผ่ รหัส 5419102516 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อมศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.68 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิ ต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งด้านภูมิสถาปัตยกรรมค่ายเยาวชน พิทกั ษ์ไพร ภูฝอยลม อาเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี 2. หั ว ข้ อ เรื่ อง (ภาษาอั ง กฤษ ) Landscape architectural design and improvement project of The

Forest Protection Youth Camp, Phufoilom, Nongsang, Udontani 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ภูฝอยลมเป็ นยอดภูเขาสู งที่มีสภาพป่ าอุดมสมบูรณ์ อยูใ่ นเขตป่ าสงวนแห่งชาติป่าพันดอน- ปะโค อาเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี สู งจากระดับน้ าทะเลปานกลาง ประมาณ 600 เมตร และเป็ นเสมือนป่ าต้นน้ าของ จังหวัดอุดรธานี และจังหวัดใกล้เคียง และด้วยความอุดมบูรณ์ของผืนป่ าในอดีต ทาให้เกิดราและสาหร่ าย (Lichen) ชนิดหนึ่ง ซึ่ งอยูใ่ นกลุ่ม Frutiose (ฝอยลม) จนได้รับการขนานนามว่า ภูฝอยลม ใน พ.ศ. 2533 สานักงานป่ าไม้เขตอุด รธานี ได้ด าเนิ น การ “โครงการเยาวชนพิ ทักษ์ไพร” ท า ฝึ กอบรมเยาวชนเกี่ ยวกับการอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดยใช้ชื่อย่อว่า “ย.พ.พ.” เพื่ อปลูกฝั งทัศนคติ ให้คนรุ่ น ใหม่ได้หนั มาสนใจและเห็นความสาคัญของการอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และเป็ นแหล่งรวบรวมพรรณไม้ป่า ของภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ตลอดจนเป็ นสถานที่ ส าหรั บศึ กษาธรรมชาติ และพักผ่อนหย่อนใจของจังหวัด อุดรธานี ต่อมาในปี พ.ศ.2541 กรมป่ าไม้ได้อนุมตั ิ ให้จดั ทาโครงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิ งอนุรักษ์ในพื้นที่ ป่า สงวนแห่ งชาติป่าพันดอน - ปะโค โดยพัฒนาหน่ วยงานให้มีความเหมาะกับเป็ นแหล่งท่องเที่ ยวเชิ งอนุ รักษ์ ในปี พ.ศ. 2545 สานักงานป่ าไม้เขตอุดรธานี ได้ทาการปรับปรุ งพื้นที่ บริ การ และเปลี่ยนชื่ อโครงการใหม่เป็ นโครงการ ท่องเที่ ยวเชิ งนิ เวศภูฝอยลม จากทางหน่ วยงานงานที่ เกี่ ยวข้องได้จดั ทาโครงการเพื่อกระตุน้ เศรษฐกิ จและปลูกฝั ง จิตสานึ กในการอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ อีกมากมายหลายโครงการ อาทิ โครงการพิพิธภัณฑ์ลา้ นปี ภูฝอยลม โครงการสวนรวมพรรณไม้ป่า 60 พรรษา มหาราชิ นี อาคารบ้านพักและสวัสดิการร้านค้าต่างๆ เพื่ออานวยความ สะดวกแก่นกั ท่องเที่ยว โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งด้านภูมิสถาปัตยกรรมค่ายเยาวชนพิทกั ษ์ไพร ถูกจัด ให้เป็ นส่ วนหนึ่ งของโครงการท่ องเที่ ยวเชิ งนิ เวศภู ฝอยลม เนื่ องด้วยพื้ นที่ โครงการค่ายเยาวชนพิ ทกั ษ์ไพร เป็ น แหล่งเรี ยนรู ้ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติที่สาคัญของจังหวัดอุดรธานีและจังหวัดใกล้เคียง


ปัจจุบนั โครงการค่ายเยาวชนพิทกั ษ์ไพรมีความทรุ ดโทรม เนื่ องมาจากขาดการบารุ งรักษา แต่ยงั มีสภาพโดยรอบที่สวยงาม เหมาะแก่การพัฒนาเป็ นพื้นที่รองรับกิจกรรมสาหรับเยาวชนที่ช่วยส่ งเสริ มการเที่ยวเชิ ง นิเวศในอนาคต 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1

เพื่อปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมบริ เวณค่ายโครงการเยาวชนพิทกั ษ์ไพร ให้เกิด

ศักยภาพในการประกอบกิจกรรมในพื้นที่โครงการเพื่อส่ งเสริ มการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ 4.1.2

เพื่อช่วยส่ งเสริ ม ให้เป็ นแหล่งจัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับพืชพรรณไม้ป่าของภาค

ตะวันออกเฉี ยงเหนือ 4.1.3 โครงการค่ายเยาวชนพิทกั ษ์ไพร

เพื่อสถานที่ ฝึกอบรมเยาวชนเกี่ ยวกับการอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ภายใต้

4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1

เพื่อศึกษากระบวนการและขั้นตอน ในการดาเนินโครงการออกแบบและ

ปรับปรุ งภูมิสถาปัตยกรรมประเภทค่ายเยาวชน ตั้งแต่ข้ นั ตอนการเก็บข้อมูลแนวคิด การแก้ไขปัญหาและผลกระทบ รวมถึงขั้นตอนในการออกแบบ 4.2.2

เพื่อศึกษาประเภทผูใ้ ช้กิจกรรมต่างๆ ความโดดเด่นของแต่ละกิจกรรมและ

ศึกษาการออกแบบวางผังพื้นที่โครงการและกิจกรรมในโครงการประเภทค่ายเยาวชนให้ถูกต้องตามหลักการและ กฎหมาย 4.2.3

ศึกษาวิเคราะห์ขอ้ มูลความสัมพันธ์ของส่ วนต่างๆ ภายในพื้นที่ค่ายเยาวชน

พิ ทกั ษ์ไพรทางด้านสภาพแวดล้อม กิ จกรรม และผูใ้ ช้โครงการ เพื่ อนามาออกแบบวางผังและปรั บปรุ งด้านภู มิ สถาปัตยกรรมค่ายเยาวชนพิทกั ษ์ไพร




แหล่งผลิตก๊ าซธรรมชาติภฮู ่อม

โครงการออกแบบวางผังและปรับปรุ งด้านภูมิสถาปัตยกรรมค่ายเยาวชนพิทกั ษ์ไพร ภูฝอยลม อาเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี แผนทีN1่ แสดงที่ต้ งั โครงการ

มาตราส่ วน

N

ที่มา ดัดแปลงจาก https://www.google.co.th/maps สัญลักษณ์ขอบเขตพื้นที่โครงการค่ายเยาวชนพิทกั ษ์ไพร ขอบเขตพื้นที่โครงการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ภูฝอยลม

Nottoscale


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต

คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวพิกุลแก้ว ฉัตรรักษ์วงษ์ รหัส 5419102517 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 3.20 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.20 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ศูนย์การค้าเครื่ องหนัง “ชาร์ม เมอร์ แอมมูร์เนต” ลาดกระบัง กรุ งเทพมหานคร 2. หั ว ข้อ เรื่ อง (ภาษาอัง กฤษ) Landscape Architectural Design and Planning of The Charme amulette shopping center of Leather products,Lat Krabang, Bangkok Thailand. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ สิ นค้าเครื่ องหนังมี ความต้องการเป็ นอย่างมากในตลาดต่างประเทศ มี ตลาดนาเข้าที่ สาคัญ คื อ ประเทศอิตาลี ซึ่ งเน้นความเป็ นแฟชัน่ อีกแห่งคือ ประเทศจีน ซึ่ งมีความเชื่อเรื่ องโชคลางและโชคลาภ ปลายปี 2558 นี้ ประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน (AEC) อย่างเต็มตัวเป็ น โอกาสที่ดีสาหรับสิ นค้าเครื่ องหนัง ของ แบรนด์ไทย เพราะสามารถส่ งออกสิ นค้าสู่ กลุ่มประเทศอาเซี ยนได้อีกทาง บริ ษทั เทรเชอร์ เอสเตท มี แผนการลงทุ นโครงการสร้ างศู น ย์การค้า เครื่ องหนัง “ชาร์ มเมอร์ แอมมูร์เนต” เดิ มมี ที่ต้ งั อยู่ที่ พระราม 9 มี เพื่ อเป็ นศูนย์รวมของสิ นค้าเครื่ องหนัง ที่ ครบวงจร มี ศูนย์การจัด แสดง สิ นค้าเครื่ องหนังที่มีความโดดเด่นเป็ นเอกลักษณ์ สร้างความน่าสนใจ และสนับสนุนบรรยากาศของการท่องเที่ ยว ให้เชื่ อมโยงกับโครงการสวนงู ที่ต้ งั บนพื้นที่ ตรงข้ามโดยเป้ าหมายหลัก เจ้าของโครงการมุ่งเน้นเปิ ดให้บริ การแก่ นักท่ องเที่ ยวชาวต่ างชาติ เพื่ อเป็ นการกระจายรายได้ กิ จกรรม ให้กบั ผูป้ ระกอบการ ในระดับภาคชุ มชน ระดับ ภาคเอกชนและระดับภาครัฐเป็ นศู นย์การค้าส่ ง-ออกและการท่ องเที่ ยวเพื่ อต้อนรับ การเปิ ดประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ยน (AEC) ในปลายปี 2558


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อสร้ างศู นย์การค้าเพื่ อก้าวสู่ แหล่ งเศรษฐกิ จแห่ งใหม่ สิ น ค้าส่ ง-ออก สู่ การ ลงทุ นระดับนานาชาติ โดยผูป้ ระกอบการในระดับภาคชุ มชน ภาคเอกชน และภาครัฐ มี ส่วนร่ วม ผ่านผลิตภัณฑ์ แบรนด์ไทย 4.1.2 เพื่ อรองรั บนักท่ องเที่ ยวทั้งชาวไทยและชาวต่ างชาติ เกิ ดอัตราการจ้างงานเป็ น กลไกกระจายรายได้สู่นกั ประกอบการและ ผูล้ งทุน ในภูมิภาค 4.1.3 เพื่อเปิ ดเป็ นแหล่งศูนย์การค้าเครื่ องหนังที่มีคุณภาพ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบโครงการศูนย์การค้า Community mall ศูนย์รวมสิ นค้าเฉพาะอย่าง (Power Center) ให้ เป็ นศูนย์การค้าที่มีความโดดเด่นเด่นในย่านลาดกระบัง โดยคานึงถึงสภาพแวดล้อมของภูมิทศั น์ชุมชนเมือง 4.2.2 ศึ ก ษากระบวนการออกแบบวางผังภู มิ ส ถาปั ต ยกรรม เพื่ อ หา ศัก ยภาพและ ข้อจากัด ที่ส่งผลต่อการออกแบบพื้นที่โครงการ 4.2.3 เพื่ อ ศึ ก ษา ความต้อ งการ พฤติ ก รรมในการใช้ พ้ื น ที่ เพื่ อ ออกแบบพื้ น ที่ ใ ห้ สอดคล้องเหมาะสมกับผูใ้ ช้โครงการ

5. สถานที่ ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ ต้ งั โครงการ โดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ 5.1.1 พื้ นที่ โครงการตั้งอยู่บนถนน หลวงแพ่ง-อ่อนนุ ช เขตลาดกระบัง แขวงทับยาว จังหวัดกรุ งเทพมหานคร พื้นที่โครงการมีเนื้อที่ประมาณ 77 ไร่ 40.5 ตารางวา 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้ น ที่ โ ครงการตั้งอยู่ที่ ถนนหลวงแพ่ ง เขตลาดกระบัง แขวงทับ ยาว จังหวัด กรุ งเทพมหานคร เป็ นพื้นที่ ของเอกชนตั้งอยู่ริมทางหลวงถนนหลวงแพ่งซึ่ งมีความเหมาะสมในการสร้างให้เป็ น ศูนย์การค้าแหล่งท่องเที่ยวที่โดดเด่นสอดคล้องกับความต้องการ อยูห่ ่างจากโครงการสวนงูประมาณ 300 ม. 5.2.2 เส้นทางที่ นักท่ องเที่ ยวทั้งชาวไทยและต่ างชาติ จะเข้าถึ งพื้ นที่ โครงการมี ความ สะดวกเหมาะสม เพราะพื้นที่ อยู่ห่างจากสนามบิ นสุ วรรณภูมิประมาณ 16.2 กม.ใช้เวลาเดินทางประมาณ 15 นาที โดยรถบริ การขนส่ งสาธารณะและรถส่ วนตัว อีกทั้งพื้นที่โครงการติดกับทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 กรุ งเทพ-ชลบุรี สายใหม่ มีแหล่งชุมชนหนาแน่น ระยะไม่เกิน 10 ม.


5.2.3 พื้ นที่ โครงการตั้งอยู่ระหว่างจังหวัดกรุ งเทพมหานครและจังหวัดฉะเชิ งเทราที่ นักท่ องเที่ ยวเดิ นทางผ่านไปยังแหล่งท่ องเที่ ยวอื่ นๆได้ เช่ น ไปสักการะบู ชาหลวงพ่อโสธร ณ วัดโสธรวราราม วรวิหารหรื อเที่ยวตลาดน้ าร้อยปี ซึ่ งแสดงให้เห็นว่าพื้นที่โครงการมีแนวโน้มที่จะมีนกั ท่องเที่ยวเข้ามาใช้บริ การ

6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา ทิศเหนือ ติดกับ ถนนมอเตอร์เวย์ ถนนหลวงหมายเลข 3001 หลวงแพ่ง ถนนลาดกระบังและโครงการสวนงู ทิศใต้ ติดกับ ถนนหลวงหมายเลข 3001 ถนนหลวงแพ่งแล ะสานักบารุ ง ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ทิศตะวันออกเฉี ยงใต้ ติดกับ ถนนหลวงหมายเลข 3001 ถนนหลวงแพ่งและทางหลวง พิเศษหมายเลข 7 กรุ งเทพ-ชลบุรี สายใหม่ สถานที่ใกล้เคียง สนามบินสุ วรรณภูมิ สถานีตารวจทางหลวง ทิศตะวันตก ติดกับ ถนนสาธารณะประโยชน์ หมู่บา้ นทรัพย์ประเสริ ฐ 2 โครงการของ บจก.เทรเชอร์ เอสเตท


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์การค้าเครื่ องหนัง “ชาร์มเมอร์ แอมมูร์เนต” เขตลาดกระบัง จังหวัดกรุ งเทพมหานคร แผนที่ แสดงแผนผังบริ เวณที่ต้ งั โครงการ เฟส 1 สวนงู และ เฟส 2 ศูนย์การค้า สัญลักษณ์

ที่ต้ งั โครงการเฟส 2 ศูนย์การค้า ที่ต้ งั โครงการเฟส 1 สวนงู ถนนทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 กรุ งเทพ-ชลบุรี สายใหม่ ถนนมอเตอร์เวย์ ถนนหลวงแพ่ง ถนนลาดกระบัง

ที่มา: ภาพถ่ายทางอากาศดัดแปลงจาก https://maps.google.com/maps/ms?ie=UTF8&hl=th&msa=2&dg=feature

NOT TO SCALE


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมศูนย์การค้าเครื่ องหนัง “ชาร์มเมอร์ แอมมูร์เนต” เขตลาดกระบัง จังหวัดกรุ งเทพมหานคร แผนที่ แสดงแผนผังบริ เวณที่ต้ งั โครงการ เฟส 2 ศูนย์การค้า ที่ต้ งั สนามบินสุ วรรณภูมิ และที่ต้ งั วัดโสธรวราราม วรวิหาร สัญลักษณ์

ที่ต้ งั โครงการเฟส 2 ศูนย์การค้า ที่ต้ งั โครงการเฟส 1 สวนงู ที่ต้ งั สนามบินสุวรรณภูมิ ที่ต้ งั วัดโสธรวรารามวรวิหาร ถนนทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 กรุ งเทพ-ชลบุรี สายใหม่ ถนนมอเตอร์เวย์ ถนนหลวงหมายเลข 3001หลวงแพ่ง ถนนลาดกระบัง

ถนนหลวงหมายเลข 314 สิ ริโสธร ที่มา: ภาพถ่ายทางอากาศดัดแปลงจาก https://maps.google.com/maps/ms?ie=UTF8&hl=th&msa=2&dg=feature

NOT TO SCALE




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย ฟาตีฟ ปารามัล รหัส 5419102518 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 8 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 130 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.71 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1.หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมมัสยิดกลาง อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architecture Design and Planning of The Central Mosque, Yan Ta Khao,Trang 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ เมื องตรั งหรื อจังหวัด ตรั ง เป็ นเมื องที่ มีความส าคัญทางด้านเศรษฐกิ จและวัฒ นธรรมของประเทศ เนื่ องจากเป็ นเมื องท่าติ ดทะเล จึ งมี ความหลากหลายทางวัฒนธรรมรวมถึ งการนับถื อแต่ ละศาสนา จังหวัดตรั งมี ประชากรประมาณ 612,042 คน ประมาณร้อยละ 18 หรื อประมาณ 110,168 คนเป็ นชาวมุสลิม ตลอดเวลาที่ผ่านมา ชาวมุสลิมในจังหวัดตรังมีความประสงค์ที่จะมีมสั ยิดกลางหรื อมัสยิดประจาจังหวัดเช่นเดียวกับเมืองอื่น ๆ ที่มีชาว มุ ส ลิ ม อาศัย อยู่ เพื่ อ ให้ ช าวมุ ส ลิ ม จากชุ ม ชนต่ าง ๆ มาร่ วมกัน กระกอบกิ จกรรมต่ า งๆของศาสนาอิ ส ลาม นายกิจ หลีกภัย นายกองค์การบริ หารส่ วนจังหวัดได้มีนโยบายในการสร้างมัสยิดกลางประจาจังหวัด ตามความต้องการดังกล่าวของชาวมุสลิ มในจังหวัดตรัง โดยเลือกพื้ นที่ หมู่ 1 ต.ทุ่ งกระบื อ อ.ย่านตาขาว จ.ตรั ง เนื่ องจากเป็ นพื้ นที่ ที่ เหมาะสมและมี ชุ มชนมุ ส ลิ ม อยู่ ใ กล้ เ คี ยงตามข้ อ บั ญ ญั ติ ข องศาสนาอิ ส ลาม โดยมัสยิดประจาจังหวัดตรังได้รับการออกแบบให้สามารถรองรับผูม้ าละหมาดได้ท้ งั สิ้ น 1,260 คน ปัจจุบนั การดาเนิ นการก่อสร้างในส่ วนของอาคารมัสยิดกลาง มีความคืบหน้าของตัวอาคารนั้น ได้ก่อสร้างใกล้แล้ว เสร็ จ (ประมาณ 80%) ในขั้นตอนการดาเนิ นต่ อไป เป็ นขั้นตอนในการออกแบบและวางผังภู มิส ถาปั ตยกรรมพื้ นที่ รอบ อาคารมัส ยิด กล่ าวคื อ มัส ยิด เป็ นศาสนสถานที่ ส าคัญ ต่ อชุ มชนที่ นับถื อศาสนาอิ ส ลาม เนื่ องจากเป็ นศู นย์รวม ทางด้านจิ ตใจ และเป็ นศูนย์กลางของกิ จกรรมของการใช้ชีวิตของคนในชุ มชน เพราะนอกจากจะทาหน้าที่ เป็ น


ศาสนสถานแล้ว ยังมีหน้าที่ รับใช้สังคมในด้านอื่น ๆ อีกด้วย นอกจากนี้ พื้ นที่ ช้ นั ใต้ดินของมัสยิดประจาจังหวัด ตรังได้รับการออกแบบให้มีหอ้ งสมุด ห้องประชุมจังหวัดรวมถึงยังเป็ นสวนสาธารณะขนาดกลางและสถานศึกษา ดังนั้นการออกแบบและวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมพื้นที่ รอบมัสยิดกลางประจาจังหวัดนั้น จึ งมีความ จาเป็ น เพื่อรองรับกิจกรรมที่จะเกิ ดขึ้นในอนาคต ทั้งกิจกรรมการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา และกิจกรรมอื่นๆ โดยผังและภูมิทศั น์ของพื้นที่โดยรอบของมัสยิดจะต้องมีบรรยากาศงดงามและสะท้อนถึงวิถีชีวิตที่เป็ นเอกลักษณ์ ของชุมชนมุสลิม 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.3 เพื่อให้เป็ นศูนย์กลางทางด้านศาสนาอิสลามประจาจังหวัดตรังและเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ทาง ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมทางด้านศาสนาอิสลามและสถานศึกษาศาสนาอิสลามของชุมชน 4.1.2 เพื่อให้เป็ นสวนสาธารณะของชุมชนบริ เวณโดยรอบ 4.1.1 เพื่อจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดินทางด้านศาสนา ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตชุมชน 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อศึ กษาถึ งข้อมูลและวิธีการออกแบบวางผัง แม่บทโครงการที่ เกี่ ยวข้องกับ ศาสนา อิสลาม 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาลัก ษณะเฉพาะของพื้ น ที่ โ ครงการ ศัก ยภาพของพื้ น ที่ โ ครงการและน า ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูม่ าประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องและเกิดประโยชน์สูงสุ ดกับพื้นที่ 4.2.3 เพื่ อ ศึ กษาวิ ถีท างวัฒ นธรรมประเพณี ข องกลุ่ ม ประชากร ที่ มีห ลากหลายและความ เป็ นไปได้ในการนารู ปแบบวิถีชีวิตมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบวางผังแม่บท 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)


โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมมัสยิดกลาง อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง แผนที่ แสดงพื้นที่โครงการและขอบเขตโครงการ ที่มา : ภาพถ่ายทางอากาศ Google Earth สัญลักษณ์

แสดงที่ต้งั และขอบเขตโครงการ

Not To Scale

สถานที่ต้ งั ของโครงการตั้งอยู่บริ เวณพื้นที่ ตาบลทุ่งกระบือ อาเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง เนื่ องจาก จังหวัดตรังมีจานวนประชากรที่นบั ถือศาสนาอิสลามเป็ นจานวนมาก แต่ยงั ไม่มีศาสนสถานอิสลามที่เป็ นศูนย์กลาง ของจังหวัดตรัง จึ งมีโครงการการก่อสร้างขึ้ น ซึ่ งประกอบไปด้วยอาคารศาสนสถานและพื้นที่ โดยรอบที่ มีความ จาเป็ นต่อพื้นที่ชุมชนบริ เวณรอบ เหตุผลสาคัญในการเลือกสถานที่ต้ งั โครงการมีดงั นี้ 1) เนื่ อ งจากเป็ นพื้ น ที่ ที่ เหมาะสมและมี ชุ ม ชนมุ ส ลิ ม อยู่ ใ กล้เคี ย งตามข้อ บัญ ญัติ ข องศาสนา อิสลาม 2) ตั้งอยูท่ ่างกลางชุมชนชาวมุสลิม 3) เข้าถึงได้ง่ายจากทางหลวงชนบท ตรัง 3198 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา เป็ นพื้ นที่ ราบลุ่ม พื้ นที่ โครงการทั้งหมดมี ขนาด 69 ไร่ 3 งาน 20 ตารางวา ตั้งอยู่เขตตาบลทุ่ ง กระบือ อาเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นายภู ริทศั น์ ปรางค์ศรี อรุ ณ รหัส 5419102519 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภู มิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.54 มี ค วามประสงค์จะขอท าวิทยานิ พ นธ์ ร ะดับปริ ญ ญาภู มิส ถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมี ร ายละเอี ย ด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง(ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภู มิสถาปั ตยกรรมสถานพักตากอากาศระยะยาว สาหรับผูส้ ู งอายุ อาเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร 2. หัวข้อเรื่ อง(ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architecture Design And Planning Project Of Long Stay Resort For Eldery, Krathumbean, Samutsakhon 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จากสถิติของนักท่ องเที่ ยวชาวต่างชาติ ที่เข้ามาในประเทศไทยมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่ อง ซึ่ งส่ วนใหญ่ มักจะเป็ นประเทศแถบเอเชี ยตะวันออก และประเทศแถบยุโรป ซึ่ งหนึ่ งในจานวนของนักท่ องเที่ ยวทั้งหมดมักจะมี นักท่องเที่ยวที่เป็ นผูส้ ู งอายุเดินทางมาด้วย และผูส้ ู งอายุก็เป็ นทรัพยากรอันมีคุณค่ายิ่งทั้งต่อครอบครัวและสังคม โดย ผูส้ ู งอายุที่มีรายได้สูงจากประเทศที่ พฒั นาแล้วยังเป็ นกลุ่มตลาดที่มีศกั ยภาพในการซื้ อและนิยมจับจ่ายสิ นค้าของท้องถิ่น ซึ่ งเป็ นการกระจายรายได้ไปยังชุมชน อีกทั้งยังสามารถใช้เวลาว่างในการพักผ่อนให้เกิ ดประโยชน์และมีความสุ ขกับ กิจกรรมที่ได้ทาอย่างเต็มที่ ดังนั้นตั้งแต่ปี 2545 เป็ นต้นมา การท่องเที่ยวแห่ งประเทศไทยจึงได้ให้การสนับสนุนการ ท่องเที่ยวระยะยาวอย่างจริ งจังและต่อเนื่ อง เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติให้เข้ามาพักในประเทศประเทศไทยแบบ ระยะยาว ในปั จจุบนั สถานพักตากอากาศระยะยาวในประเทศไทยมีมากขึ้ น เนื่ องจากประเทศไทยมีเอกลักษณ์ที่ดี ทั้งในด้านวิถีชี วิ ต ภู มิปั ญ ญาท้องถิ่ น และภู มิประเทศที่ งดงาม ด้วยเหตุ ผ ลนี้ ทาให้ คุ ณ อัส นี ย ์ กิ จพานิ ช (เจ้าของ โครงการ) เล็งเห็นการเจริ ญเติ บโตของธุ รกิจสถานพักตากอากาศระยะยาวสาหรับผูส้ ู งอายุ และด้วยความหลงใหลใน ความเป็ นไทยของเจ้าของโครงการเอง คุณอัสนีย ์ กิจพานิ ช จึงอยากที่จะแสดงถึงคุณค่าและอัตลักษณ์ความเป็ นไทย ให้ นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติได้ชื่นชมกับความงามที่ทรงคุณค่าของไทย ดังนั้นโครงการที่จะเกิดขึ้นจึงเป็ นโครงการสถาน พักตากอากาศระยะยาวสาหรับผูส้ ู งอายุที่มีเอกลักษณ์ของความเป็ นไทย และยังช่วยให้เกิดการกระตุน้ การขยายตัวทาง


เศรษฐกิจซึ่ งนาไปสู่ การจ้างงาน สร้างอาชีพการกระจายรายได้เเละการลงทุนในธุรกิจที่เกี่ยวเนื่ องมากมาย เป็ นการสร้าง รายได้ให้กบั ประชาชนในพื้นที่ และนาไปสู่ การสร้างคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีข้ ึน 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อเป็ นสถานที่ พกั ตากอากาศระยะยาวสาหรับผูส้ ู งอายุหลังวัยเกษี ยณ ซึ่ งเป็ น สถานที่พกั ตากอากาศที่มีบรรยากาศและธรรมชาติที่งดงามภายใต้สถาปัตยกรรมและภูมิสถาปัตยกรรมที่ยงั่ ยืน 4.1.2 เพื่อส่ งเสริ มและกระจายรายได้ให้กบั เกษตรกรและชุมชน 4.1.3 เพื่อส่ งเสริ มภาพลักษณ์การท่องเที่ยวของจังหวัดสมุทรสาครให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยว ที่มีคุณค่าทางเกษตรกรรมและวัฒนธรรม 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1

เพื่ อศึ กษาถึงกระบวนการออกแบบพื้ นที่ โครงการสถานที่ พกั ตากอากาศสาหรั บ

ผูส้ ู งอายุ 4.2.2 เพื่อศึกษาพฤติกรรมในการใช้พ้ืนที่ของผูส้ ู งอายุเพื่อใช้ในการออกแบบสถานที่พกั ตากอากาศระยะยาวสาหรับผูส้ ู งอายุตามแนวคิดการออกแบบสถาปัตยกรรมและภูมิสถาปัตยกรรมที่ยงั่ ยืน 4.2.3 เพื่ อเป็ นข้อมูลเบื้ องต้นและเป็ นการเสนอทางเลื อกในการลงทุ นจริ งของเจ้าของ โครงการ 5. สถานที่ ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ ต้ งั โครงการโดยสังเขป ข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ สถานที่ต้ งั โครงการออกแบบภูมิทศั น์และวางผังสถานพักตากอากาศระยะยาวสาหรับผูส้ ู งอายุหลัง วัยเกษียณ ตั้งอยูท่ ี่บริ เวณริ มแม่น้ าท่าจีน หมู่บา้ นปล่องเหลี่ยม ตาบลท่าไม้ อาเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เป็ นพื้นที่เอกชน โดยเจ้าของโครงการได้มีความต้องการที่จะสร้างเป็ นสถานพักตาก อากาศระยะยาวสาหรับผูส้ ู งอายุหลังวันเกษียณ 5.2.2 พื้นที่โครงการตั้งอยูร่ ิ มแม่น้ าท่าจีน มีทรัพยากรธรรมชาติที่สวยงาม พื้นที่โครงการมี ทุ่งนาสวนกล้วยไม้ สวนผลไม้ วิถีชีวิตเกษตรกรรมและมีทศั นี ยภาพที่งดงาม อีกทั้งยังมีพืชพรรณริ มน้ าเดิ มในพื้นที่ ที่ สมบูรณ์จึงเหมาะสมกับการที่จะพัฒนาพื้นที่เป็ นสถานพักอากาศ


5.2.3 พื้นที่อยู่ในชุมชนที่มีความโดดเด่นในการทาสวนกล้วยไม้ นวดแผนไทย และการทา เครื่ องเบญจรงค์ การมีโครงการสถานที่พกั ตากอากาศเกิดขึ้น จึงเป็ นช่องทางในการสร้างอาชีพเสริ มและกระจายรายได้ ให้กบั ชุมชน 5.2.4 พื้ นที่ โครงการตั้งอยู่ในพื้นที่ ที่รองรับด้านการท่องเที่ ยว และมี ความพร้อมในด้าน คมนาคมสาธารณู ปโภค สาธารณู ปการ ดังนั้นจึงมีผลต่อการลดต้นทุนในการดาเนิ นงานและระบบโครงสร้างพื้นฐาน ลงไปได้

โครงการออกแบบภู มิส ถาปั ตยกรรมและวางผังสถานพักตากอากาศระยะยาวส าหรั บ ผูส้ ู งอายุหลังวัยเกษียณ อาเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั และขอบเขตของโครงการ

มาตราส่ วน

ที่มา ดัดแปลงจาก https://www.google.co.th/maps

Not to scale

6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 6.1 ขอบเขตของพื้นที่ที่ศึกษา พื้นที่โครงการตั้งอยูบ่ ริ เวณริ มแม่น้ าท่าจีน หมู่บา้ นปล่องเหลี่ยม ตาบลท่าไม้ อาเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร มีพ้ืนที่ท้ งั หมดประมาณ 94 ไร่ 2 งาน 45 ตารางวา




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริญญำภูมสิ ถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต

คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวเมธาวี พรหมน้ าดา รหัส 5419102520 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.34 มีความประสงค์จะขอทาวิ ทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังและภูมิสถาปั ตยกรรมสวนสนุ ก เดอะ สตูดิโอ จิ บลิ พาร์ค อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) Landscape Architectural Design and Planning of The Studio Ghibli Park, Hat Yai, Songkhla. 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ ปั จจุบนั เศรษฐกิจในประเทศเริ่ มจะฟื้ นตัวขึ้นจากปี 2557 ซึ่ งจากการฟื้ นตัวของเศรษฐกิจโลกใน ภูมิภาคหลักๆ รวมถึงการอ่อนค่าของค่าเงินบาท ส่ งผลบวกต่อเศรษฐกิจไทยในปี 2558 ให้สามารถเติบโตได้ดีกว่า ประกอบกับแหล่งท่องเที่ยวตามสถานที่ต่างๆ โดยเฉพาะในต่างจังหวัดใหญ่ๆในภูมิภาคต่างๆ เช่น จังหวัดเชียงใหม่ ในภาคเหนือ จังหวัดภูเก็ตในภาคใต้ตอนบน และ อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาในภาคใต้ตอนล่างได้รับความนิ ยม จากนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศที่ตอ้ งการพักผ่อน ในวันหยุด เวลาว่างจากการทางาน ซึ่ งนับวันยิ่งทวีความ ต้องการมากขึ้ น สถานที่ พกั ผ่อนสามารถแบ่ งออกได้ 2 ประเภทคื อ สถานที่ ท่องเที่ ยวทางธรรมชาติ เช่ นอุทยาน ทะเล และสถานที่ ท่องเที่ ยวที่ มนุ ษย์สร้างขึ้ นตามลักษณะความต้องการพิ เศษ เช่ น สวนสนุ ก สวนน้ า สวนสัตว์ พิ พิธพัณฑ์ประเภทต่ างๆ เป็ นต้น ทาให้เศรษฐกิ จไทยสามารถขยายตัวได้ดีข้ ึ น ซึ่ งทาให้ภาคอุตสาหกรรมการ ท่องเที่ยวพื้นตัวไปในทางที่ดีข้ ึนกว่าเดิม อาเภอหาดใหญ่เป็ นเมืองที่มีความสาคัญสุ ดแห่ งหนึ่ งของภาคใต้ตอนล่าง เนื่ องจากทางเทศบาล นครหาดใหญ่ยงั ให้ความสาคัญมากในทางการส่ งเสริ มการพัฒนาด้าน เศรษฐกิจของท้องถิ่นให้เจริ ญรุ่ งเรื อง โดย การกระตุน้ ให้เกิดการค้า การลงทุน การท่องเที่ยว ทั้งในระดับประเทศ และต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศในกลุ่ม อาเซี ยน ปัจจุบนั อาเภอหาดใหญ่มีฐานะเป็ นศูนย์กลางทั้งทางด้านการค้า และการคมนาคมของภูมิภาค เป็ นที่ต้ งั ของ สนามบินนานาชาติแห่งสาคัญ มีตวั เมืองที่ทนั สมัย สถานที่ท่องเที่ยว ที่พกั และสิ่ งอานวยความสะดวกต่างอย่างครบ ครันสาหรับต้อนรับนักท่องเที่ ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ โดยเฉพาะนักท่องเที่ ยวชาวมาเลเซี ย สิ งคโปร์ และอิ นโดนี เ ซี ย ที่ มีหลายล้า นคนในแต่ ละปี ทั้งนี้ อาเภอหาดใหญ่ มุ่ งเน้นเสริ มสร้ า งการพัฒ นารายได้ใ ห้ กับ


ประชาชน เพื่อให้ประชาชนมีรายได้เพิ่มมากขึ้น มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ ึนเป็ นการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยัง่ ยืน โดยมีแนว ทางการดาเนิ นนโยบายการกระตุน้ ทั้งทางด้านการค้าการลงทุน การท่องเที่ยวในส่ วนเทศบาลและโดยรอบโดยการ จัดกิจกรรมการท่องเที่ยวให้มีความหลากหลายมากขึ้น และสามารถเดินทางติดต่อกับตัวจังหวัดสงขลา และจังหวัด ใกล้เคียง อาทิ จังหวัดสตูล ตรัง ปัตตานี เป็ นต้นได้สะดวกทั้งทางรถยนต์ รถไฟ และทางเครื่ องบิน จากเหตุผลที่กล่าวมาข้างต้น จึงมีแนวคิดในการจัดทา โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมสวนสนุก เดอะ สตูดิโอ จิบลิ พาร์ค ขึ้น จากการลงทุนของบริ ษทั เอกชนร่ วมกับทางเทศบาลนครหาดใหญ่ นอกจากโครงการจะเป็ น การช่วยกระตุน้ เศรษฐกิจของอาเภอหาดใหญ่และภาคใต้ตอนล่าง ซึ่ งตั้งอยูใ่ นบริ เวณของสวนสาธารณะเทศบาล นครหาดใหญ่ โดยในพื้นที่ของสวนสาธารณะมีสถานที่ท่องเที่ยวและสถาที่สาคัญ อาทิ หาดใหญ่ไอซ์โดม, ศูนย์การ เรี ยนรู ้วิทยาศาสตร์ดาราศาสตร์นครหาดใหญ่ (หอดูดาว), ท้ามมหาพรหม, พระโพธิ สตั ว์กวนอิมม พระพุทธมงคล มหาราช และ กระเช้าลอยฟ้ า (เคเบิ้ล คาร์) เชื่อมสถานที่สาคัญภายในพื้นที่ โดยสวนสาธารณะเทศบาลนคร หาดใหญ่ต้ งั อยูบ่ นถนนกาญจนวนิช ฝั่งขาเข้าตัวอาเภอหาดใหญ่ ตาบลคอหงส์ อาเภอหาดใหญ่ เนื่องจากพื้นที่ในตัว อาเภอหาดใหญ่ไม่มีพ้ืนที่วา่ งขนาดใหญ่เพียงพอ และราคาที่ดินเปล่ามีราคาที่สูงขึ้นมากจึงมองหาพื้นที่บริ เวณรอบ นอกตัวอาเภอหาดใหญ่ เป็ นแหล่งพักผ่อน และแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ของอาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ซึ่ ง โครงการสวนสนุกจะเป็ นแหล่งท่องเที่ยวรู ปแบบใหม่ที่จะช่วยดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศเข้า มายังพื้นที่มากขึ้น ซึ่ งส่ งผลดีในด้าน เศรษฐกิจ สังคม และอื่นๆ ให้กบั อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และภูมิภาค ใต้ตอนล่างมากยิ่งขึ้น 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เป็ นแหล่งท่องเที่ ยว พักผ่อน ที่ จะได้รับบรรยากาศหลากหลายจากความบันเทิ ง จากเครื่ องเล่นของสวนสนุก โดยรองรับผูใ้ ช้ทุกเพศทุกวัยตั้งแต่เด็กถึงผูส้ ู งอายุ โดยเน้นวัยรุ่ น ทั้งที่เป็ นนักท่องเที่ ยว ในและต่างประเทศ เป็ นแหล่งสร้างงานและรายได้ให้กบั ระดับชุมชน จังหวัด และภูมิภาค 4.1.2 เพื่อเป็ นโครงการที่สร้างจุดเด่นใหม่แก่อาเภอหาดใหญ่ และจังหวัดสงขลา 4.1.3 เป็ นการสร้างสถานที่ ท่องเที่ยวรู ปแบบใหม่ของจังหวัดสงขลา และสร้างชื่ อเสี ยง ให้แก่จงั หวัด ภูมิภาคและประเทศ 4.1.4 เป็ นการตอบสนองต่อแผนพัฒนาเศรษฐกิ จระดับภูมิภาค โดยการนาพื้นที่รอการ พัฒนาในเขตพื้นที่สวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่ มาสร้างตัวเลือกใหม่ให้กบั การท่องเที่ยวในอาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 ศึ กษาการวางผังบริ เวณและการออกแบบภูมิสถาปั ตยกรรมและรายละเอียดของ โครงการสวนสนุก เดอะ สตูดิโอ จิบลิ พาร์ค 4.2.2 ศึ กษาการออกแบบพื้นที่ ให้เหมาะสมต่ อการใช้งานโดยเน้นที่ กลุ่มผูใ้ ช้งานเป็ น กลุ่มวัยรุ่ นตอนกลาง - ปลาย ช่วงอายุ 15 – 21 ปี ครอบครัว และนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศ เพื่อให้ได้ ประโยชน์ในพื้นที่ ทั้งด้านกิจกรรม เศรษฐกิจ สังคม และอื่น ๆ ที่จะเกิดขึ้นในสวนสนุก เดอะ สตูดิโอ จิบลิ พาร์ค


4.2.3 ศึ ก ษาลัก ษณะที่ ต้ ัง โครงการ ภู มิ ป ระเทศ ภู มิ อ ากาศ และบริ บ ทโดยรอบของ โครงการ ตัวอาเภอหาดใหญ่ และจังหวัดสงขลา เพื่อวิเคราะห์ขอ้ มูล และนามาประยุกต์ใช้ในการออกแบบวางผัง โครงการ


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)

โครงการออกแบบวางผังและภูมิสถาปั ตยกรรมสวนสนุก เดอะ สตูดิโอ จิบลิ มาตราส่ วน พาร์ค อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา แผ่นที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ Not to scale ที่มา ดัดแปลงจาก http://wikimapia.org สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ

N


5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้นที่โครงการตั้งอยู่ทางทิศใต้ของถนนหลวง 407 กาญจนวนิ ช (ฝั่งขาเข้าหาดใหญ่จาก จังหวัดสงขลา) ตาบลคอหงส์ อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เนื่องจากพื้นที่บริ เวณนี้สามารถเข้าถึงได้ง่ายจากถนนหลัก (4 ช่องทางการจราจร มี เกาะกลาง) อยู่ไม่ไกลจากใจกลางเมืองหาดใหญ่มากนัก ใกล้สถานที่ท่องเที่ยวและพักผ่อนของอาเภอหาดใหญ่ ทั้ง ยังอยูบ่ นถนนเส้นเชื่อมถนนเพชรเกษม (43) ผ่านอาเภอไปยังตัวจังหวัดสงขลาได้สะดวก 5.2.2 เนื่ องจากพื้นที่มีท้ งั ความสู งต่าตามลักษณะของภูเขา ที่ราบ และบ่อน้ าในตัวทาให้ พื้ นที่ มีความหลากหลาย และทางเทศบาลต้องการสร้างสถานที่ ท่องเที่ ยวรู ปแบบใหม่ที่จะดึ งดูนักท่ องเที่ ยวให้ เพิ่มขึ้นจึงมีขอ้ เสนอให้ใช้พ้ืนที่ในสวนสาธารณะสาหรับให้เอกชนเช่าพื้นที่เพื่อนลงทุนสร้างโครงการที่จะส่ งเสริ ม ด้านการท่องเที่ยวให้แก่อาเภอหาดใหญ่ มาพัฒนาตามหลักการออกแบบทางภูมิสถาปั ตยกรรมเพื่อเกิดประโยชน์ต่อ พื้นที่เดิม และอาเภอหาดใหญ่จงั หวัดสงขลา 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ท้ งั หมด ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

245 ไร่ ติดกับ ติดกับ ติดกับ ติดกับ

บ้านพักอาศัย และ ที่ดินเอกชน สวนสาธารณะหาดใหญ่ เขาคอหงส์ บ้านพักอาศัย และ ถนนกาญจนวนิช (407)


โครงการออกแบบวางผังและภูมิสถาปั ตยกรรมสวนสนุก เดอะ สตูดิโอ จิบลิ มาตราส่ วน พาร์ค อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา แผ่นที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ Not to scale ที่มา ดัดแปลงจาก http://map.longdo.com/ สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ

N




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวรติยา กิจบารุ ง รหัส 5419102521 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะ สถาปั ตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิตสะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.44 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภู มิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและการวางผังภู มิสถาปั ตยกรรม ม่อนภู งามออร์ แกนิ ค รี สอร์ท แอนด์ สปา อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architecture Design And Planning Of Mon Phu Ngaam Organic Resort And Spa, Maerim, Chaingmai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ อาเภอแม่ริมมีสถานที่ท่องเที่ยวมากมายทั้งสถานที่ท่องเที่ยวเชิ งธรรมชาติ สุ ขภาพ แหล่งเรี ยนรู ้ และสถานที่ พ กั ตากอากาศ เช่ น โครงการหลวงหนองหอย (ม่ อนแจ่ ม) น้ า ตกแม่ ส า ปางช้า งแม่ ส าและสวน พฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ เป็ นต้น ดังนั้นอาเภอแม่ริมนั้นมีความน่าสนใจต่อนักท่องเที่ยวและนักลงทุน เพื่อทาโครงการต่างที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว สาหรับโครงการรี สอร์ ท ม่อนภูงามออร์ แกนิ คจะเป็ นรี สอร์ ทเชิ งเกษตรอินทรี ย ์ ที่มีบริ การสปา เพื่ อ สุ ขภาพควบคู่ ไปด้วย โดยเป็ นสถานที่ ที่รองรั บและส่ งเสริ มการท่ องเที่ ยวของตาบลโป่ งแยง อาเภอแม่ริ ม จังหวัดเชี ยงใหม่ พื้นที่ต้ งั ของโครงการแห่ งนี้ อยู่สูงจากระดับน้ าทะเลประมาณ 1045 เมตร พื้นที่โอบล้อมด้วยภูเขา และป่ าสนสามใบ นอกจากนี้ ยงั มีน้ าตกธรรมชาติเล็กๆจากบนเขาไหลผ่านพื้นที่ โครงการ โดยแหล่งน้ าที่ ผ่านตัว โครงการนี้ กไ็ ด้นามาใช้ประโยชน์ต้ งั แต่อดีตที่ทาการเกษตรจนถึงปั จจุบนั ทาให้พ้ืนที่ต้ งั มีศกั ยภาพที่สวยงามและมี ความน่าสนใจในการเลือกพื้นที่ต้ งั โครงการให้เป็ นสถานที่พกั ผ่อนและท่องเที่ ยวที่ เน้นด้านสุ ขภาพเป็ นหลักเนื่ อง ด้วยผูค้ นในปัจจุบนั ได้เริ่ มให้ความสนใจและใส่ ใจกับสุ ขภาพ การกิน การดารงชีวิตที่มากขึ้นจึงมีความคิดที่จะสร้าง โครงการม่อนภูงามออร์ แกนิ คให้เป็ นรี สอร์ ท แอนด์ สปา ที่ ส่งเสริ มด้านสุ ขภาพ เพื่อจะได้มีเป็ นรี สอร์ ทที่ ดึงดู ด นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และต่างประเทศ


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นสถานที่พกั ผ่อนและเยี่ยมชมแก่นกั ท่องเที่ยว 4.1.2 เพื่อเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและเกษตรอินทรี ย ์ 4.1.3 เพื่ อเป็ นการเพิ่ ม ทางเลื อ กของการท่ องเที่ ย วพร้ อมกับ ส่ งเสริ ม เศรษฐกิ จ การ ท่องเที่ยวแก่ตาบลโป่ งแยง 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อศึ กษาการออกแบบและการวางผังภู มิ ส ถาปั ตยกรรมในโครงการรี ส อร์ ท แอนด์ สปา เชิงเกษตรอินทรี ย ์ 4.2.2 เพื่อศึ กษาการใช้ประโยชน์และศักยภาพเดิ มของพื้นที่ โครงการในการประยุกต์ ศักยภาพพื้นที่เดิมกับการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมในพื้นที่โครงการ 4.2.3 เพื่ อศึ กษาแนวคิ ด และวิธีการของการทาเกษตรอิ นทรี ย ์ พร้ อมกับนามาใช้การ ออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมในพื้นที่โครงการ


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขป ข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)

โครงการออกแบบและการวางผังภูมิสถาปัตยกรรม ม่อนภูงามออร์แกนิค รี สอร์ท แอนด์ สปา อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่1 แสดงที่ต้ งั โครงการ ที่มาจาก https://www.google.co.th/maps

มาตราส่ วน : Not to scale

สัญลักษณ์ ขอบเขตพื้นที่โครงการ


5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ พื้ นที่ ต้ งั โครงการมี ขนาด 85 ไร่ โครงการตั้งอยู่ตาบลโป่ งแยง อาเภอแม่ ริม จังหวัด เชียงใหม่ มีถนนติดทางหลวงแผ่นดิน 1096 ตัดผ่านหน้าโครงการ 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 เป็ นแหล่งท่องเที่ยวที่มีความสาคัญในการดึงดูดนักท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงใหม่ 5.2.2 ที่ต้ งั ของพื้นที่โครงการมีความน่าสนใจ มีการเข้าถึงที่สะดวกอีกทั้งพื้นที่โครงการ ยังอยูใ่ นหุบเขาที่ถูกโอบล้อมด้วยธรรมชาติ ป่ าไม้และมีทศั นียภาพสวยงาม 5.2.3 ศักยภาพเดิมในพื้นที่เคยเป็ นพื้นที่ทางการเกษตรและแปลงปลูกดอกไม้ 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 6.1 ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการมีขนาดพื้นที่ท้ งั หมด 85 ไร่ โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ พื้นที่ป่าไม้ (ป่ าสงวนแห่งชาติ) ทิศตะวันออก ติดต่อกับ พื้นที่ป่าไม้,แหล่งน้ า (เอกชน) ทิศตะวันตก ติดต่อกับ พื้นที่ป่าไม้ (ป่ าสงวนแห่งชาติ) ทิศใต้ ติดต่อกับ พื้นที่ป่าไม้ (เอกชน) โดยข้ า พเจ้ า ยิ น ดี ที่ จ ะปฏิ บั ติ ต ามหลัก และวิ ธี ด าเนิ น งานวิ ท ยานิ พ นธ์ ของคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ

(ลงชื่อ) (นางสาวรติยา กิจบารุ ง) ……….../………./………..



คําร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว วทันยา ทับทิมดี รหัส 5419102522 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจํานวน 7 ภาคการศึกษา จํานวนหน่วยกิต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจน ถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.12 มีความประสงค์จะขอทําวิทยานิพนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมอุทยานธรรมะและสถานปฏิบตั ิ ธรรมปุษยคีรี อําเภออู่ทอง จังหวัดสุ พรรณบุรี 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning of the Phusayakiry Dhama Park and Dhama Retaret , U-Thong , Suphanburi 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ เมืองโบราณอู่ทอง มีภูเขาที่ชื่อว่า ปุษยคิรี มีความหมายว่าภูเขาและดอกไม้ เป็ นแนวเขาหลังเมืองอู่ ทอง ปัจจุบนั เรี ยกว่า “เขาทําเทียม” ในอดีตยังไม่มีเข็มทิศใช้ การเดินทางย่อมมีความลําบาก ดังนั้นภูเขาที่เด่นสง่าได้ ถูกนํามาใช้เพื่อเป็ นสถานที่สาํ คัญ ในการเดินทางในอดีต ดังนั้นแนวเขาทําเทียมจึงเป็ นเขาสําคัญของเมือง อู่ทอง จากความสํ า คัญ ของ ข้า งต้น ประกอบกับ เมื อ งอู่ ท องเป็ นศู น ย์ก ลางทางวัฒ นธรรมและ พระพุทธศาสนา ในปี พ.ศ.2557 พระเทพสุ วรรณโมลี เจ้าคณะจังหวัดสุ พรรณบุรีได้มีแนวความคิดที่จะดําเนิ นการ ก่อสร้างอุทยานธรรมะและสถานปฏิบตั ิธรรมในบริ เวณเขาทําเทียม ซึ่ งมีความเหมาะสมตามมติของเถระสมาคมใน การคัดเลือกพื้นที่เพื่อจัดตั้งเป็ นอุทยานธรรมะและสถานปฏิบตั ิธรรม ตามแผนโครงการที่ตอ้ งการให้มีการเผยแผ่ ศาสนา รวมทั้งเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ทางด้านศาสนา รวมถึงการพักผ่อนทางด้านจิตใจควบคู่กนั ให้เกิดประโยชน์แก่ผใู ้ ช้ มีเนื้อที่ประมาณ 345 ไร่ 3 งาน (สํานักงานพุทธศาสนา สุ พรรณบุรี, พ.ศ. 2557) 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นศูนย์กลางในการศึกษาและเผยแผ่พระพุทธศาสนา 4.1.2 เพื่อเป็ นสํานักงานกลางในการบริ หารงานกลางของคณะสงฆ์ จังหวัดสุ พรรณบุรี


4.1.3 เพื่อพัฒนาเป็ นแหล่งเผยแผ่และสถานที่ปฏิบตั ิธรรมรวมทั้งเป็ นสถานที่พกั ผ่อน หย่อนใจของชาวสุ พรรณบุรี รวมทั้งคนรุ่ นใหม่และนักท่องเที่ยวทัว่ ทั้งประเทศและทัว่ โลก 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษากระบวนการขั้นตอนต่างๆในการดําเนิ นโครงการ รวมถึงการออกแบบ วางผังภูมิสถาปัตยกรรมและการออกแบบ รายละเอียดภูมิทศั น์ของอุทยานธรรมะ และปฏิบตั ิธรรม 4.2.2 เพื่อศึกษาศักยภาพของพื้นที่และความสัมพันธ์ของกิจกรรมให้สอดคล้องกับการ พัฒนาพื้นที่เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้ทางพุทธศาสนา และส่ งเสริ มการท่องเที่ยวระดับจังหวัด 4.2.3 เพื่อศึกษาเนื้อหาพุทธประวัติที่เกี่ยวข้องเพื่อนํามาออกแบบและสร้างสุ นทรี ยภาพ ให้สอดคล้องกับพื้นที่โครงการ 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคําร้อง) พื้นที่ที่จะจัดสร้างอุทยานธรรมะและสถานปฏิบตั ิธรรม ปุษยคีรีต้ งั อยูบ่ ริ เวณนอกเขตพื้นที่วดั เขาทํา เทียม ซึ่งตั้งอยูท่ างทิศตะวันออกของถนนหลวง 321 (ถนนมาลัยแมน) ตําบลอู่ทอง อําเภอ อู่ทอง จังหวัด สุ พรรณบุรี พื้นที่เดิมเป็ นพื้นที่สมั ปทานโรงโม่หินและต้องการพัฒนาพื้นที่น้ ีให้เกิดประโยชน์ เนื่องจากอําเภออู่ทอง มีเขาทําเทียม เป็ นแนวเขาสําคัญหลังเมืองอู่ทองซึ่ งในอดีตใช้เป็ นจุดหมายตา ของการเดินทางในอดีต ดังนั้นแนวเขาทําเทียมจึงเป็ นเขาศักดิ์สิทธิ์ ของเมือง อู่ทอง โครงการนี้มีความเหมาะสมใน หลายๆด้านสําหรับการออกแบบวางผังและพัฒนาให้เป็ นอุทยานธรรมะและสถานปฏิบตั ิธรรม ปุษยคีรีวดั เขาทํา เที ยม ตามแผนโครงการที่ ตอ้ งการให้เป็ นศูนย์กลางในการศึ กษาและเผยแผ่พระพุทธศาสนารวมถึ งเป็ นสถาน พักผ่อนหย่อนใจควบคู่กนั เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่คนรุ่ นใหม่และผูเ้ ข้าใช้ โดยสภาพทัว่ ไปเป็ นที่ราบเชิงเขา มีแหล่ง ชุ มชนหนาแน่ นทางทิ ศตะวันออกเฉี ยงเหนื อ มี พ้ืนที่ เกษตรกรรมอยู่ทางทิ ศตะวันออก ซึ่ งพื้นที่ โครงการอยู่ใน ตําแหน่งศูนย์กลางของพื้นที่วดั ต่างๆในพื้นที่เมืองอู่ทอง อาทิเช่น สํานักสงฆ์พุหางนาคและวัดเขาทําเทียมอยูท่ างทิศ ตะวันตกและทางทิศใต้ การคมนาคมและสภาพการจราจรสามารถเข้าถึ งได้สะดวก โดยพื้นที่โครงการสามารถ เข้าถึงได้จาก ถนนหลวง 321 ระยะทางโดยประมาณ 2.06 กม. และถนนวิญญาณุโยค ระยะทางโดยประมาณ 3.25 กม. ซึ่งถนน 2 สายนี้เป็ นถนนสายหลักของพื้นที่เมืองอู่ทอง


โครงการออกแบบวางผัง ภู มิ ส ถาปั ต ยกรรมอุ ทยานธรรมะและสถานปฏิ บตั ิ ธ รรมปุ ษ ยคี รี อําเภออู่ทอง จังหวัดสุ พรรณบุรี แผนที่ 2 แสดงการเข้าถึงโครงการ

มาตราส่ วน

ที่มา ดัดแปลงจาก http://map.longdo.com/, 2558

Not to scale

6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา เขตติดต่อ

โครงการตั้งอยู่ ตําบลอู่ทอง อําเภออู่ทอง จังหวัดสุ พรรณบุรี มีพ้ืนที่ท้ งั หมด 345 ไร่ 3 งาน อาณา ทิศเหนือ

ติดต่อกับ

สุ สานเคี้ยวเต็กอู่ทอง

ทิศใต้

ติดต่อกับ

วนอุทยานแห่งชาติพมุ ่วง

ทิศตะวันออก

ติดต่อกับ

วัดเขาทําเทียม

ทิศตะวันตก

ติดต่อกับ

สํานักสงฆ์พหุ างนาค


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมอุทยานธรรมะและสถานปฏิบตั ิธรรมปุษยคีรี อําเภออู่ทอง จังหวัดสุ พรรณบุรี แผนที่ 2 แสดงที่ต้ งั โครงการ

มาตราส่ วน

ที่มา ดัดแปลงจาก https://www.google.co.th/maps, 2558

Not to scale

สัญลักษณ์ พื้นที่โครงการ

7. บรรณานุกรม สํานักงานพระพุทธศาสนา จังหวัดสุ พรรณบุรี. ม.ป.ป. “โครงการจัดสร้างพระพุธรู ป ปุษยคีรี เขา ทําเทียม”. [ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา http://spb.onab.go.th/ ( 5 กุมภาพันธ์ 2558) . องค์การบริ หารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยัง่ ยืน(องค์การมหาชน). ม.ป.ป. “พื้นที่พิเศษเมืองโบราณอู่ทอง”. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://www.bangkapi.ac.th/MediaOnLine/weerawanWMD/unit5_part13.htm (5 กุมภาพันธ์ 2558) .




คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาว ศิ ริพ ร ไชยวงค์สา รหัส 5419102523 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภู มิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.89 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม “เอส-เอ ฟาร์ม” เพื่อการท่องเที่ยว เชิงเกษตร อาเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design and Planning of “S-A Farm” for Agrotourism, Mae-On, Chiangmai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ จังหวัดเชี ยงใหม่เป็ นจังหวัดที่ มีสถานที่ ท่องเที่ ยวหลากหลายและมีเนื้ อที่ ใหญ่เป็ นอันดับ 1 ของ ภาคเหนื อ มี ความอุดมสมบู รณ์ ทางด้านทรัพยากรรวมไปถึ งทางด้านการเกษตรที่ มีการเพาะปลูกเพื่ อทากิ นและ สร้างรายได้ให้แก่ประชาชน ต่อมามีการผันตัวมาเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวทางเลือกที่มีการทาการเกษตรที่หลากหลาย โดยเฉพาะการทาการเกษตรในรู ปแบบใหม่ที่เรี ยกว่า “เกษตรอินทรี ย”์ ซึ่ งเป็ นระบบที่ให้ความสาคัญกับความยัง่ ยืน ของระบบนิ เวศ และสุ ขภาพของคน ผสมผสานองค์ความรู ้พ้ืนบ้าน นวัตกรรม และความรู ้ทางวิทยาศาสตร์ในการ อนุ รักษ์สิ่งแวดล้อมในพื้นที่ ทาให้นกั ท่ องเที่ ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ให้ความสนใจเข้ามาท่ องเที่ ยวสัมผัส และพักผ่อนเป็ นจานวนมาก ทาให้จงั หวัดเชี ยงใหม่มีสถานที่ท่องเที่ยวเชิ งเกษตรที่เป็ นที่รู้จกั กันอย่างแพร่ หลายที่มี ศักยภาพในระดับนานาชาติ โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรม “เอส-เอ ฟาร์ม” เพื่อการท่องเที่ยวเชิ งเกษตร บ้านแม่ตะไคร้ ตาบลทาเหนื อ อาเภอแม่ อ อน จั ง หวัด เชี ย งใหม่ เป็ นพื้ น ที่ โ ครงการของ รศ.ภก. ศั ก ดิ์ ชั ย อัษ ญคุ ณ โดยเจ้าของพื้ นที่ มีความสนใจในการสร้างพื้ นที่ ฟาร์ มให้เป็ นสถานที่ ท่องเที่ ยวรวมองค์ความรู ้ในด้านเกษตรอินทรี ย ์ และปศุสัตว์ รวมถึงการสร้างทักษะ ประสบการณ์ ผ่านทางภูมิปัญญาเกษตรให้แก่ผทู ้ ี่สนใจ ทาให้เกิดแนวคิดในการ น าหลักเกษตรอิ นทรี ย ์มาใช้ในการออกแบบวางผังทางภู มิ สถาปั ตยกรรม เพื่ อเพิ่ มทางเลื อกที่ หลากหลายในการ ท่องเที่ยว


4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อสร้างแหล่งท่องเที่ยวธุรกิจเชิงเกษตรที่สร้างรายได้ให้แก่ชุมชน 4.1.2 เพื่อการถ่ายทอดองค์ความรู ้แก่ชาวบ้านในท้องถิ่น บุคคลทัว่ ไปที่สนใจ 4.1.3 เพื่อทาให้พ้ืนที่มีภูมิทศั น์ที่สวยงามโดดเด่นด้านเกษตรอินทรี ย ์ และปศุสตั ว์ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่ อศึ กษาแนวทางการออกแบบวางผังภู มิสถาปั ตยกรรมสถานที่ ท่องเที่ ยวเชิ งเกษตรอินทรี ย ์ อาเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ 4.2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาศัก ยภาพและข้อ จากัด ในการใช้ง านในพื้ น ที่ ศึ ก ษาเพื่ อ นามาใช้ เป็ นแนวทางในการของการออกแบบวางผัง ภู มิ ส ถาปั ต ยกรรม ให้ เ ป็ นแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตรและมี ความสอดคล้อ งกับ พื้ น ที่ 4.2.3 เพื่ อ ศึ ก ษาวิ เ คราะห์ ข ้อมู ล ต่ า งๆของพื้ น ที่ โ ครงการสาหรั บ ประโยชน์ ในการ สร้างกิ จกรรมและการออกแบบวางผังทางภูมิสถาปั ตยกรรม 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดยสังเขป ข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง) สถานที่ ต้ งั โครงการตั้งอยู่ บ้านแม่ตะไคร้ ตาบลทาเหนื อ อาเภอแม่ออน จังหวัดเชี ยงใหม่ มี เนื้ อที่ โดยประมาณ 200ไร่ เป็ นพื้นที่ฟาร์มเอกชนที่มีสภาพแวดล้อมที่สมบูรณ์ทางทรัพยากรทางธรรมชาติ สภาพเดิมเป็ น พื้นที่ธรรมชาติโอบล้อมอยูใ่ นที่ราบเชิงเขา มีทศั นี ยภาพที่สวยงาม โดยมี รศ.ภก. ศักดิ์ชยั อัษญคุณ เป็ นผูค้ รอบครอง พื้นที่ (ดูแผนที่ 1-2)




โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม “เอส-เอ ฟาร์ม” เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร อาเภอ แม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 1 สัญลักษณ์ ที่มา

ที่ต้ งั ระดับจังหวัด ที่ต้ งั โครงการ Google Earth

NOT TO SCALE


โครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรม “เอส-เอ ฟาร์ม” เพื่อการท่องเที่ยวเชิงเกษตร อาเภอ แม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 2 สัญลักษณ์

ที่ต้ งั ระดับโครงการ ที่ต้ งั โครงการ ขอบเขตพื้นที่

ที่มา

Google Earth

NOT TO SCALE



ก !#

$%#ก

ก$

& $ '%

5419102524 ก ก ,- ( )*+ก ' * ./ ก 00ก/11 $ / 0' ก ' / 2 ' 133 4 +ก* , / ' 6 #$+ ( #7 "4 ก1 3.21 '#, ' *407 # 1. 2.

,. 0 <$0 (%

0"2 "+

.

!" % $ ()* !"#$ 4 7 % ,ก

1 99 %&' ( )*+ก '

7"+) ;, ก 00ก/11 ?

0

%&' ( )*+ก ' ก 2 4 +ก*

* 1-:* ; +'# + 0#+

# 0 ." 02 %0 '<0

ก 9 1@ #

The Landscape Architectural Design and Planning of The SIS Ranch Resort, Maung, Kanchanaburi. 0 <$0 (%

0 กA )

3. , ' ^ ' 0 ;, ก /

*@? _ ก

<0ก;, ก

ก 9 1@ # * 0+&4% ,ก 0 " 7"+ ,<0 / / 4 ' * 0 0@ ' '1& -.7 +?< ` -7' ;( (2 2 *ก / -# a '0 ก + 0 ?&, ก + <0 *"#$0 +0+&4 4 'ก 0+4 0<00 # " 7"+ '4 '09 ก 90 (ก #$+ ) b b / +$ 7 ก 4 ก 9 1@ #+ *c'7 + <$0 " * * .' ก' + ; + 6 *@ก -._ '+ , '; ก, "#$ 2 d$ '#0 @ -. ( +/ 4 กe_ c ^ กf 4 '/'4 2 /, @ " ' '* %-:. 40 b b "2 _ ก 9 1@ # $''#, ' 4 _ ก + ^ / 4 "40 "#$+ "#$ 2 ,90#ก $ ; +,@-6 + '1& -. @ '#, '*0 ก "#$ ;, ก 1 ก* ก0 ก 4 * / 2 1 <$0 " กก @ " "#$0 '#;0ก ' ก?40 _ 4 +@ @ ."#$ ก 9 1@ # # ; +0#ก 4 0 ;, ก "2 ^ ( ก* ก0 ก / g .' * . 2 1 ก"40 "#$+ ; +'#ก ก 'ก #$' / g .'/ก d$ ก2 ^ "#$ _ 2 1 ก"40 "#$+ ; + ^ ก "40 "#$+ _ & /11 0 g .' *+. (Farm Stay) d$ 4 ^ / 4 "40 "#$+ <$0ก " ก (Recreational Attraction) 2 1 0 1 ก"40 "#$+ "#$' ก" _ / *4 0+&4* ก1(

; + < "#$* 0+&41 -*2 1 /ก4 #+ 02 %0 '<0 ก 9 1@ # '# <0"#$; + ' - 77 7 4 9 -140 0+ d$ ^ " "#$ <$0'7 &4/ 4 "40 "#$+ "#$ 2 ,9,<0 2 *ก7" ;+,/


0 - 0#ก" + ^ < "#$_ ก10 @ -. ( 2 / 4 ,<0 4.

*(@

*02 %0 '<0 '#, ' '/'4 2 /, / @

ก 1 +_ $<0 0 ก 0+&40 + / "#$ 2 ,9,<00+&4_ก " ' '*

,. 4.1 *(@

,. 0 ;, ก

4.1.1 <$0 ^ # 0 ." 2 1?&"#$ _ ก g .' *+. (Farm Stay) "#$ ;01 0'7 + ' * 4.1.2 $<0 ^ " <0ก 2 , '/ ก_ '4_ ก1 & /11 0 # 0 ". % +_

ก?40

<0ก "40 "#$+ _ & /11 0

1ก "40 "#$+ % +_ 02 %0 '<0 ก 9 1@ # ก 9 1@ #

^ ก

4.1.3 ^ ก $' ก+% 0 < "#$"#$'#" , ' + ' ก01ก1 ^ / 4 0 ( "#$"40 "#$+ "#$ 2 ,9 _ ' ( ^ @ _ _ ก1* 'ก <$0 & ก"40 "#$+ " % +_ / *4 4.2 *(@

,. <0

c )9

0ก

4.2.1 ก / " ก 00ก/11;, ก _ & /11 0 g .' *+. (Farm Stay) <$0ก 00ก/11"#$ ' '

(

ก* ก0 ก / / 4 "40 "#$+

4.2.2 ก & /11 A*ก ' 0 ก"40 "#$+ "#$ ' "40 "#$+ _ & /11g .' *+. (Farm Stay) $0< 2 ' 00ก/11 < "#$_ 0+ 2 1;, ก 4.2.3 5.

<$0 ,

4

( "#$* 0 ;, ก / #

. ก+% *@? _ ก

0'/ 1/? ? ;, ก "#$

0 < "#$ ' /

2 7 &4ก 1 ก 00ก/11

<0ก"#$* ;, ก (/

/? ? "#$* ;, ก ; +

/ / <0% (4 +" 0 ก 7 *0 " + 0 ,2 0 )


;, ก 00ก/11 ? $+ &, 1 / "#$' / 9 ก -.

0

# 0 ." *2 1 /ก4 #+ 02 %0 '<0

"#$* ;, ก ก https://www.google.co.th/maps < "#$;, ก

( "#$ * ;, ก 0+&41 -*2 1 /ก4 ;, ก ; + ' - 77 7 4

ก 9 1@ # '* 4 Not to scale

#+ 02 %0 '< 0 ก 9 1@ #

ก 9 1@ # '# < "#$


;, ก 00ก/11 ? $+ &, 2 / "#$' / 9 ก -.

0

# 0 ." *2 1 /ก4 #+ 02 %0 '<0

( "#$"40 "#$+ / ( "#$ 2 ,9 ก https://www.google.co.th/maps ( / &;* " 0 #+ + 123 ( 9 -140 0+ " /?4 ' + 323 ( /'4 2 /,

ก 9 1@ # '* 4 Not to scale


6.

01 * 0 < "#$ ก *2 1 /ก4 #+ 02 %0 '<0 0 - ** *40 " <0 " * 00ก " * *ก " _*

( )*+ก '

ก 9 1@ #

ก 9 1@ # < "#$; +

* * * *

'&41 0<00 " ( 2 <$0 +4 ก0 + ( 9 n 140 0+ 1 ก0 + 2 / "#$"2 ก +*

*40ก1 *40ก1 *40ก1 *40ก1

; + + # "#$ e1** ' ก/ # 2 * /. ก 00ก/11 $ / 0' ' "+ +/'4; "@ก ก #+ ' <$0;

' - 77 7 4

"+

. 0 ,-

- 0 @'* (

<$0)oooooooooooooo.

(ooooooooooooooooo) ooo...ooo.ooo..



< "#$;, ก

< "#$* *40


คำร้ องเสนอหัวข้ อวิทยำนิพนธ์ ปริ ญญำภูมิสถำปัตยกรรมศำสตรบัณฑิต คณะสถำปัตยกรรมศำสตร์ และกำรออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหำวิทยำลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นาย สิ ทธิ โชค บรรณกร รหัส 5419102525 นักศึ กษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึ กษามาแล้วจานวน 8 ภาคการศึ กษา จานวนหน่ วยกิ ต สะสม 118 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ย จนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 2.58 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิ ต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย): โครงการออกแบบและวางผัง ภู มิสถาปั ตยกรรมสถานี รถไฟนครราชสี มา อาเภอเมืองนครราชสี มา จังหวัดนครราชสี มา 2. หั ว ข้ อ เรื่ อ ง (ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ): The Landscape Architreture Design and Planning of Nnakhon Ratchasima Railway Station , Muang Nakhon Ratchasima, Nakhon Ratchasima 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ รัฐบาลโดยกระทรวงคมนาคมมีนโยบายการพัฒนาระบบขนส่ งทางรถไฟ เพื่อให้ประชาชนได้รับ ความสะดวก ปลอดภัย และเพิ่มประสิ ทธิ ภาพระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทยให้ทดั เทียมระดับสากล ด้วยการวาง แผนการก่ อสร้างรถไฟรางคู่ให้ครบทัว่ ประเทศในระยะ 15 ปี โดยได้วางแผนการก่อสร้างรางคู่ ทวั่ ประเทศแบ่ ง ออกเป็ น 3 ระยะ สาหรั บระยะแรก ส านักงานคณะกรรมการการเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ (คสช.) มี มติ ให้ กระทรวงคมนาคมศึกษาความเหมาะสมและออกแบบเบื้องต้นระบบรถไฟรางคู่เพื่อการขนส่ งและการจัดการโลจิ สติกส์ (ระยะที่ 1) ในเส้นทางสาคัญ 5 เส้นทาง คือ รถไฟรางคู่สายลพบุรี-ปากน้ าโพ สายมาบกระเบา-นครราชสี มา สายชุมทางจิระ-ขอนแก่น สายนครปฐม-หัวหิ น สายประจวบคี รีขนั ธ์ -ชุมพร และการรถไฟแห่ งประเทศได้มีการ ดาเนิ นการศึกษาความเหมาะสม และออกแบบการก่อสร้างแล้วเสร็ จไปแล้ว 3 เส้นทาง คื อ สายลพบุรี -ปากน้ าโพ สายมาบกระเบา-นครราชสี มา และสายนครปฐม-หัวหิ น โดยทั้ง 3 เส้นทาง ที่มีการศึกษาและออกแบบเสร็ จสิ้ นแล้ว กาลังอยู่ในระหว่างการดาเนิ นจัดสรรงบประมาณเพื่อออกแบบรายละเอียดการดาเนิ นการก่อสร้าง ( สุ ทิพย์ ดิสโร และ สุ ขมุ วิทย์ ไสยโสภณ, 2555) จังหวัดนครราชสี มา หรื อรู ้จกั ในชื่ อ โคราช เป็ นจังหวัดที่ มีพ้ืนที่ มากที่ สุดในประเทศไทยและมี ประชากรมากเป็ นอันดับ 2 ของประเทศ อยู่ในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ โดยมีเส้นทางหลวงแผ่นดิ นหมายเลข 1 (พหลโยธิ น) ตัดผ่าน ซึ่ งเป็ นเส้นทางสาคัญ ในการเดิ นทางจากภาคกลางเข้าสู่ ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ต่ อไป


ยัง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) เข้าสู่ จงั หวัดนครราชสี มา จังหวัดนครราชสี มาในปั จจุบนั กาลัง ได้รั บ การพัฒ นาในทุ กๆด้านเพราะเป็ นจังหวัด ที่ มีศ ักยภาพความพร้ อมส าหรั บการเป็ นประตู การค้า เชื่ อมต่ อ เศรษฐกิจอีสาน เป็ นศูนย์กลางเชื่ อมโยงเครื อข่ายการค้า การลงทุน การบริ การ การท่องเที่ยวและการคมนาคมขนส่ ง ในภูมิภาคอีสาน กับระบบเศรษฐกิจของประเทศ และระบบเศรษฐกิจของอาเซี ยนในอนาคต ในปั จจุบนั สถานี รถไฟจังหวัดนครราชสี มา เป็ นสถานี รถไฟที่ใหญ่ที่สุดในจังหวัด ตั้งอยู่บริ เวณ ใจกลางเมืองนครราชสี มา มีรถไฟสายภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อกรุ งเทพ - อุบลราชธานี และกรุ งเทพ - หนองคายทั้ง ขบวนรถด่วนพิเศษ รถด่วน รถเร็ วและรถธรรมดาวิ่งให้บริ การจากสถานี รถไฟกรุ งเทพ (หัวลาโพง) นอกจากนี้ยงั มี ขบ วน รถ ท้ อ งถิ่ น วิ่ ง ให้ บ ริ การระห ว่ า งส ถานี รถไฟ น ค รราช สี ม าไป ยั ง ส ถานี รถไฟ จั ง ห วั ด อื่ น ๆ เช่น สุ รินทร์ อุบลราชธานี อุดรธานีหนองคาย และอาเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรีอีกด้วย พื้นที่โครงการนี้ เป็ นพื้นที่ของสถานีรถไฟนครราชสี มา ซึ่ งมีพ้ืนที่ขนาดใหญ่ และมีพ้ืนที่ที่ไม่ได้ ใช้ประโยชน์และรกร้างมากกว่าพื้นที่ที่ได้ใช้งานในปั จจุบนั และในปี พ.ศ. 2558 จะมีการเปิ ดประชาคมอาเซี ยน จะ ทาให้มีชาวต่ างชาวชาติ และมี การขนส่ งสิ นค้า เข้ามาในประเทศไทยมากขึ้ น โดยตาแหน่ งและความสาคัญ ของ สถานี รถไฟนครราชสี มาตั้งอยู่ใจกลางเมืองนครราชสี มาและมีการเชื่ อมต่อไปยังสถานที่ ต่างๆมากมายจึ งมีหน้าที่ เหมื อ นประตู ข องเมื องนครราชสี ม าและภาคตะวัน ออกเฉี ย งเหนื อ จึ งเหมาะสมที่ จ ะพัฒ นาเป็ นพื้ น ที่ ต ้อ นรั บ นักท่องเที่ยวได้ในอนาคต จากเหตุ ผ ลและความเป็ นมาดั ง กล่ า วข้ า งต้ น จึ ง เสนอโครงการออกแบบและวางผัง ภู มิ สถาปั ตยกรรมสถานี รถไฟนครราชสี มา อาเภอเมืองนครราชสี มา จังหวัดนครราชสี มา เพื่อ ออกแบบและปรับปรุ ง สภาพแวดล้อมที่ เสื่ อมโทรมของพื้ นที่ โครงการ และพัฒ นารู ปแบบสถาปั ตยกรรม โดยโครงการนี้ จะก่อให้เกิ ด ประโยชน์ต่อผูค้ นในชุมชนทาให้เกิดความสะดวกสบายในการเดินทาง เพิ่มมูลค่าทางด้านเศรษฐกิจ และสร้างพื้นที่ นันทนาการต่อผูค้ นในชุมชน 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่ อ รองรั บ การพัฒ นาระบบรางรถไฟที่ จะเกิ ด ขึ้ น ในพื้ น ที่ ที่ จะตอบรั บ ความ ต้องการของคนที่ทาการสัญจรเข้า-ออกพื้นที่ และคนที่อาศัยอยูใ่ นพื้นที่ 4.1.2 เพื่ อพัฒ นาพื้ นที่ เป็ นพื้ นที่ พ กั ผ่อน พื้ นที่ สีเขี ยวเพื่ อรองรั บ คนที่ สัญจรเข้า-ออก พื้นที่และคนที่อาศัยอยูใ่ นพื้นที่ พร้อมกับส่ งเสริ มภูมิทศั น์ของสถานีให้มีความสวยงาม 4.1.3 เพื่ อพัฒ นาพื้ นที่ ให้เป็ นย่านการค้า แหล่ งที่ พ กั อาศัย และจุ ด เปลี่ ยนถ่ ายระบบ สัญจร ให้รองรับกับนักท่องเที่ยว และการขนส่ งสิ นค้า ที่เพิ่มขึ้นในอนาคต 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาถึงข้อมูลและวิธีการออกแบบวางผังภูมิสถาปัตยกรรมพื้นที่สถานีรถไฟ


4.2.2 เพื่ อศึ กษาถึ งสภาพปั ญ หาและการแก้ไขปั ญหาที่ เกิ ดขึ้ นในพื้ นที่ โครงการสถานี รถไฟนครราชสี มา 4.2.3 เพื่ อศึ กษาแนวทางการใช้ป ระโยชน์ ที่ ดิ น ในพื้ น ที่ โครงการให้มีป ระสิ ท ธิ ภ าพ สู งสุ ดและสอดคล้องกับพฤติกรรมและความต้องการของผูค้ นที่เข้ามาใช้พ้ืนที่ 4.2.4 เพื่อศึกษาความต้องการพื้นที่นนั ทนาการของชุมชนโดยรอบพื้นที่โครงการสถานี รถไฟนครราชสี มาและออกแบบวางผังบริ เวณได้อย่างเหมาะสมและสมบรู ณ์แบบ 4.2.5 เพื่อเป็ นข้อมูลเบื้ องต้นและเป็ นทางเลือกในการพัฒนาปรับปรุ งสภาพของสถานี รถไฟนครราชสี มาในอนาคต 5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.1 สถานที่ต้ งั โครงการ สถานี รถไฟนครราชสี มา ถนนรถไฟ ตาบลในเมือง อาเภอเมืองนครราชสี มา จังหวัด นครราชสี มา





5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 การใช้ที่ดิน (Land Use) เนื่ องจากพื้ นที่ เป็ นโครงการของการรถไฟ ที่ มีโครงการ เกิดขึ้นจริ ง ดังนั้นจึงมีความเหมาะสมในการออกแบบและพัฒนาภูมิสถาปัตยกรรม 5.2.2 สาธารณู ปโภค สาธารณู ปการ (Infrastructure) เนื่ องจากพื้นที่มีท้ งั สาธารณู ปโภค สาธารณู ปการ ทั้งถนน เส้นทางคมนาคม ไฟฟ้า ประปา จึงเหมาะสมที่จะสนับสนุนโครงการให้เกิดขึ้น 5.2.3 การคมนาคม (Transportation) โครงการมีรูปแบบการคมนาคมที่เข้าสู่ โครงการที่ สะดวก สามารถเข้าถึงพื้นที่ได้ง่าย ซึ่ งสามารถช่วยส่ งเสริ มให้ดาเนินกิจกรรมต่างๆ ที่สาคัญได้ดี 5.2.4 สภาพโดยรอบบริ เวณโครงการ (Surrounding) พื้ นที่ ต้ งั อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ ดี เช่น พื้นที่สวนสาธารณะ และแหล่งชุมชนเมือง ซึ่ งเป็ นแหล่งกิจกรรมที่มีภาพลักษณ์ส่งเสริ มต่อโครงการนี้ 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่ โครงการตั้งอยู่ ตาบลในเมือง อาเภอนครราชสี มา จังหวัดนครราชสี มา เป็ นพื้นที่ ในการดูแลของการรถไฟ จังหวัดนครราชสี มา มีเนื้ อที่ประมาณ 240 ไร่ 85 ตารางวา ประกอบไปด้วย บริ เวณสถานี รถไฟนครราชสี มา กับบริ เวณบ้านพักพนักงานของการรถไฟ อาณาเขตติดต่อ ทิศเหนือ

ติดกับ ชุมชนเสาธง-สมอราย

ทิศใต้

ติดกับ พื้นที่นนั ทนาการชุมชนบ้านพักรถไฟ

ทิศตะวันออก

ติดกับ พื้นที่พาณิ ชย์ประเภทร้านค้าของประชาชน

ทิศตะวันตก

ติดกับ ชุมชนโคกสู งเนินพัฒนา,ชุมชนสุ รวิชยั ,ชุมชนประสพสุ ข

7. บรรณานุกรม สุ ทิพย์ ดิสโร และ สุ ขุมวิทย์ ไสยโสภณ. 2555. รายงานการวิจยั เรื่ อง ผลกระทบของโครงการ ก่อสร้ างรถไฟรางคู่ต่อชุ มชนอาเภอเมื อง จังหวัดขอนแก่ น. ขอนแก่ น : วิทยาลัยการ ปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น. Realist Blog (The Real Source of all Things Real Estate). ม.ป.ป. “ คสช.อนุมตั ิแล้ว รถไฟทางคู่ 8 เส้นทาง 8.6 แสนล้าน”. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.realist.co.th/blogรถไฟทางคู่ใหม่-8-สาย/ (25 กุมภาพันธ์ 2558) Wikimapia (The Map Created By People Like You!). ม.ป.ป. พื้นที่ตาแหน่งที่ต้ งั สถานี รถไฟฟ้าความเร็ วสู ง นครราชสี มา และโรงซ่อมบารุ ง รถไผผ้าความเร็ วสู ง (โคราช (นครราชสี ม า)). [ระบบออนไลน์ ]. แหล่ งที่ มา :http://wikimapia.org/ 27273829/th/


พื้นที่ตาแหน่งที่ต้ งั -สถานี-รถไฟฟ้าความเร็ วสู ง-นครราชสี มา-และโรงซ่อมบารุ งรถไฟฟ้าความเร็ วสู ง (27 กุมภาพันธ์ 2558) โดยข้ า พเจ้า ยิ น ดี ที่ จ ะปฏิ บั ติ ต ามหลัก และวิ ธี ด าเนิ นงานวิ ท ยานิ พ นธ์ ของคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ)……………………………………. (……………………………………………) ……….../………./………..


ควำมเห็นของคณะกรรมกำรประจำหลักสู ตร 1. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 2. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 3. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) 4. (ความเห็น)…………………………………………………………………………………………………... (ลงชื่อ)………………………………….. (…………………………………………..) ควำมเห็นของประธำนกรรมกำรประจำหลักสู ตร อนุมตั ิให้ดาเนิ นงานวิทยานิพนธ์ตามหัวข้อที่เสนอมาได้ (ลงชื่อ)…………………………………… (.……………………………) ……….../………./………..


คาร้ องเสนอหัวข้ อวิทยานิพนธ์ ปริ ญญาภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ ข้าพเจ้า นางสาวสิ ริวรรณ เอื้ออมรสุ ข รหัส 5419102527 นักศึกษาชั้นปี ที่ 4 สาขาวิชาภูมิสถาปั ตยกรรม คณะสถาปั ตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม ศึกษามาแล้วจานวน 7 ภาคการศึกษา จานวนหน่วยกิต สะสม 133 หน่วยกิต คะแนนสะสมเฉลี่ยจนถึงขนาดนี้ได้เท่ากับ 3.50 มีความประสงค์จะขอทาวิทยานิ พนธ์ระดับปริ ญญาภูมิสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณ ฑิต โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาไทย) โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนื อ อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ 2. หัวข้อเรื่ อง (ภาษาอังกฤษ) The Landscape Architectural Design And Planning Project Of Northern Science Park, Sankampaeng, Chaing mai 3. ความเป็ นมาของโครงการและเหตุผลในการเลือกโครงการ คณะรัฐบาลในปั จจุบนั ได้เล็งเห็นความสาคัญทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี โดย กล่าวว่า ประเทศไทยจะต้องเข้มแข็ง และพัฒนาโดยนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาเป็ นตัวขับเคลื่ อนประเทศเหมือน ประเทศที่พฒั นาแล้วโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส่ งผลให้เกิดนโยบายการดาเนิ นงานของ กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (วท.) ซึ่ งเป็ นหน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้องกับการพัฒนาศักยภาพของประเทศใน หลายมิติ รวมทั้งการสร้างนักวิทยาศาสตร์และผูม้ ีความรู ้ความชานาญพิเศษเพื่อนามาใช้ขบั เคลื่อนงานวิทยาศาสตร์ และนวัตกรรมใหม่ๆตลอดจนการเพิ่ มโอกาสการเข้าถึงองค์ความรู ้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ให้กบั ประชาชนทั้งใน ส่ วนกลางและส่ วนภูมิภาค ซึ่ งเป็ นองค์ประกอบสาคัญในการสร้างศักยภาพเชิ งการแข่งขันของประเทศให้ทดั เทียม นานาชาติ ด้ว ยเหตุ ข ้า งต้น ทางกระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี (วท.) จึ ง มี แ ผนยุ ท ธศาสตร์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี พ.ศ. 2555-2559 ให้ขยายขอบเขตการให้บริ การ ด้วยการจัดตั้งศูนย์รวบรวม และถ่ายทอดความรู ้ทางด้านวิทยาศาสตร์เพื่ออนาคตในภูมิภาคต่างๆของประเทศ จากแผนยุทธศาสตร์ จึงได้จดั ทาโครงการออกแบบวางผังภูมิสถาปั ตยกรรมอุทยานวิทยาศาสตร์ ภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเป็ นศูนย์กลางเรี ยนรู ้และเพิ่มโอกาสการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารทางวิทยาศาสตร์ ให้กบั


เครื อข่ายภาคเหนือตอนบน ทั้งยังเป็ นส่ วนช่วยส่ งเสริ มความคิดสร้างสรรค์ให้กบั เยาวชนและประชาชนทัว่ ไป สร้าง ประสบการณ์วิทยาศาสตร์ ที่ก่อให้เกิ ดการเรี ยนรู ้ คิ ด และทาอย่างเป็ นวิทยาศาสตร์ เป็ นพื้นที่ ที่จะก่อเกิ ดการเรี ยน การเล่น และเป็ นแหล่งท่องเที่ ยวให้กบั นักท่องเที่ยว ซึ่ งจะส่ งผลให้เกิดทัศนคติและความเข้าใจที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ จนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน และปฏิงานได้จริ งต่อไป (สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ , 2554) 4. วัตถุประสงค์ 4.1 วัตถุประสงค์ของโครงการ 4.1.1 เพื่อเป็ นแหล่งส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ทางด้านวิทยาศาสตร์และความคิดสร้างสรรค์ให้กบั เด็กและเยาวชนในทุกระบบการศึกษา ตลอดจนประชาชนทัว่ ไปที่มีความสนใจ 4.1.2 เพื่ อสร้ างความตื่ นตัวและตระหนักต่ อวิทยาศาสตร์ ในอนาคตที่ มีผลต่ อการดารง ชีวิตประจาวันให้กบั ประชาชนได้เข้าใจผ่านรู ปแบบกิจกรรม 4.1.3 เพื่อส่ งเสริ มให้เกิดเป็ นพื้นที่ ท่องเที่ยวสาคัญ พื้นที่ นนั ทนาการ พื้นที่ พกั ผ่อนและ พื้นที่เล่นในเชิ งวิทยาศาสตร์ ในระดับประเทศและกลุ่มอาเซี ยนและยังเพิ่มทางเลือกให้แก่นกั ท่องเที่ยวทั้งไทยและ ชาวต่างประเทศ 4.1.4 เพื่อเป็ นศูนย์กลางการส่ งเสริ ม และพัฒนานักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ในรู ปแบบของการ จัดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ท้ งั ในระดับจังหวัด ระดับเขตภูมิภาค ระดับชาติและนานาชาติ 4.2 วัตถุประสงค์หรื อประเด็นปัญหาของการศึกษา 4.2.1 เพื่อศึกษาการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมกับโครงการอุทยานวิทยาศาสตร์ 4.2.2 เพื่อศึ กษาการใช้ประโยชน์ของพื้นที่ ศักยภาพ สภาพแวดล้อมและข้อจากัดในการ พัฒนาเป็ นสถานที่สาหรับการถ่ายทอดความรู ้ สถานที่นนั ทนาการ และสถานที่พกั ผ่อนทางด้านวิทยาศาสตร์ 4.2.3 เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ในส่ วนต่างๆของพื้นที่ กับผูใ้ ช้สอยโครงการ และกิ จกรรม เพื่อเป็ นแนวทางในการออกแบบวางผังโครงการอุทยานวิทยาศาสตร์


5. สถานที่ต้ งั ของโครงการและเหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ (แสดงแผนผังที่ต้ งั โครงการโดย สังเขปข้างล่างนี้ พร้อมแนบแผนผังโครงการที่ชดั เจนและ/หรื อภาพถ่ายทางอากาศไว้ตอนท้ายของคาร้อง)

โครงการออกแบบและวางผังภูมิสถาปัตยกรรมอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ

N

ตาบลออนใต้ อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ แผนที่ 1 แสดงที่ต้ งั โครงการ

มาตราส่ วน

ที่มา ดัดแปลงจาก https://www.google.co.th/maps

Not to scale

สัญลักษณ์

พื้นที่โครงการ 5.1 สถานที่ต้ งั ของโครงการ

โครงการตั้งอยู่บนพื้นที่ ดินของรัฐบาล พื้นที่ ท้ งั หมด 150 ไร่ 1งาน 23 ตารางวา ตั้งอยู่ที่ ตาบลออนใต้ อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ ติดทางหลวงแผ่นดิน 1147 (ถนนสันกาแพง-บ้านธิ ) 5.2 เหตุผลในการเลือกที่ต้ งั โครงการ 5.2.1 พื้นที่ โครงการดังกล่าวมี ความต้องการจัดสร้ างอุทยานวิทยาศาสตร์ ภาคเหนื อ จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อใช้เป็ นสถานที่ให้ความรู ้ในระดับภาคและนานาชาติ


5.2.2 เหตุ ผ ลการขยายตัวของเมื องเนื่ อ งจากพื้ นที่ อ ยู่ทางฝั่ ง ตะวันออกของจัง หวัด เชียงใหม่ซ่ ึ งเป็ นอาเภอที่อยูใ่ กล้ตวั เมืองเชียงใหม่ ซึ่ งมีระบบโครงสร้างพื้นฐานคมนาคมที่สะดวกด้วยถนนวงแหวน รอบ 4 ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต รวมทั้งยังสามารถเชื่ อมโยงไปสู่ จงั หวัดใกล้เคียง อาทิ จังหวัดเชี ยงราย จังหวัดพะเยา จังหวัดลาพูน เชื่อมต่อไปจังหวัดลาปางและลงสู่จงั หวัดภาคเหนือตอนล่างได้เป็ นอย่างดี 5.2.3 พื้นที่ดงั กล่าวตั้งอยู่ในพื้นที่ที่มีระบบนิ เวศป่ าและเทือกเขา ซึ่ งสามารถเป็ นแหล่ง เรี ยนรู ้ทางธรรมชาติและเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงนันทนาการของประชาชนทัว่ ไป และนักท่องเที่ยว 6. ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา 6.1 ขอบเขตของพื้นที่ศึกษา พื้นที่โครงการเป็ นที่ดินของรัฐบาล พื้นที่ท้ งั หมด 150 ไร่ 1งาน 23 ตารางวา โดยมี อาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ

ติดต่อกับ

สันกาแพงเลควิว รี สอร์ท

ทิศตะวันออก

ติดต่อกับ

พื้นที่ป่าเต็งรัง

ทิศตะวันตก

ติดต่อกับ

พื้นที่เกษตร

ทิศใต้

ติดต่อกับ

อาเภอบ้านธิ จังหวัดลาพูน

7. บรรณานุกรม กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ . 2554. แผนยุทธศาสตร์ กระทรวงวิ ท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี พ.ศ. 2555-2559. กรุ ง เทพฯ: ส านัก งาน ปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

โดยข้าพเจ้ายินดีที่จะปฏิบตั ิตามหลักและวิธีดาเนินงานวิทยานิพนธ์ ของคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์และการออกแบบสิ่ งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ทุกประการ จึงเรี ยนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมตั ิ (ลงชื่อ) ( นางสาวสิ ริวรรณ เอื้ออมรสุ ข )






Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.