จัดทำโดย สมาคมนิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ห้อง 118 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์: 02 218 4350 | โทรสาร: 02 252 4938 อีเมล: admin@acua.or.th | www.acua.or.th
สมาคมนิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ห้อง 118 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท์: 02 218 4350 | โทรสาร: 02 252 4938 อีเมล: admin@acua.or.th | www.acua.or.th
จัดทำโดย สมาคมนิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หนังสือเผยแพร่ผลงานออกแบบดีเด่น ของนิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ราคา 950 บาท
จัดทำโดย สมาคมนิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หนังสือเผยแพร่ผลงานออกแบบดีเด่น ของนิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
resort and spa, Hua Hin หนังสือเผยแพร่ผลงานออกแบบดีเด่นจัดทำโดย ของนิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมาคมนิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Veranda Chiang Mai : the high resort
หนังสือเผยแพร่ผลงานออกแบบดีเด่น ของนิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จัดทำโดย สมาคมนิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หนังสือเผยแพร่ผลงานออกแบบดีเด่น ของนิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมาคมนิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
VERANDA
Chiang Mai : the High Resort
1
Chiang Mai : the High Resort
2
VERANDA
3
“...ในทีมออกแบบก็เสนอความคิดดีๆ ที่น่าสนใจ แล้วก็แปลกๆ แต่ ในบางครั้ง ผมก็ว่ามีความแตกต่าง มากจนเกินไป แต่ ในจุดหนึ่งผมก็รู็สึกยินดีที่สามารถไปกระตุ้นความคิดพวกเขา แล้วผมก็อยากให้ “คิดต่าง” อยู่แล้ว เพราะถ้าคิดเหมือนกัน แล้วจะทำงานให้ผมทำไม การคิดต่างนั้นก็มีข้อดีอยู่แล้ว แต่บางทีก็มีข้อจำกัดบางสิ่งบางอย่างของมันอยู่ เพราะถ้าตัดสินใจทำไปแล้วต้องมาแก้ ไขทีหลัง ผมว่าจะยุ่งยากไปใหญ่...” วีรวัฒน์ องค์วาสิฏฐ์ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท วีรันดา รีสอร์ท แอนด์ สปา จำกัด
“...สถาปัตยกรรมแห่งนี้ ก็เป็นสถาปัตยกรรมแห่งความพอใจ ทั้งของผู้ที่เป็นเจ้าของ และผู้ที่ออกแบบ... ผมว่าผลลัพธ์เกิดจากการ รวบรวมเอาความอยากของผู้ร่วมงานทั้งหมดเข้าด้วยกัน...”
สมิตร โอบายะวาทย์ สถาปนิก - บริษัท สำนักงานสถาปนิกกรุงเทพ จำกัด
Chiang Mai : the High Resort
“เวลาที่ผมทำงานออกแบบภายในให้กับรีสอร์ทโครงการใด ผมทำไม่ ได้ถ้าไม่ ได้เจอ หน้ากับสถาปนิก และภูมิสถาปนิก คือผมไม่ทราบว่าจะไปถามใคร ว่าเราจะต่อกันอย่างไร คิดอะไรกันมาบ้าง ผมทำไม่ ได้ โครงการจะออกมาไม่สมบูรณ์ เพราะมีแค่เส้นกรอบขีดแบ่งแค่ส่วนของผม แต่ตรงรอยต่อของแต่ละ ส่วนนัน้ ผมไม่สามารถทีจ่ ะไปคิดอะไรได้ แล้วก็จะไม่ทราบว่าจะออกแบบไปให้ตอ่ กันติดได้อย่างไร จนคิด ไม่ออกว่าส่วนของผมเองจะออกแบบอะไรดี ผมว่าโครงการทีด่ แี ล้ว ทุกส่วนของการออกแบบจะต้อง ไปด้วยกัน และพร้อมๆ กัน”
พงษ์เทพ สกุลคู สถาปนิกออกแบบภายใน - บริษัท ออกัสท์ ดี ไซน์ คอนซัลแตนท์ จำกัด
“...โครงการนี้ เราใช้วธิ คี ดิ เหมือนกับการวางผังอาคารในอดีต คือทำให้คนทีเ่ ข้ามาได้เกิดความรูส้ กึ และเกิดประสบการณ์กบั รีสอร์ทแห่งนี้ เหมือนกับค่อยๆ หยิบยื่น นำเสนอให้เป็นลำดับ เป็นเรื่อง เป็นขั้นเป็นตอน”
สมหวัง ลีวาณิชยกูล ภูมิสถาปนิก - บริษัท เบล คอลลิน อินเตอร์เนชั่นเนล (ไทยแลนด์) จำกัด
5
VERANDA
4
President Veranda Resort and Spa
Smith Obayawat,
Architect
6
“I have much experience with the design of resorts. I cannot carry out my interior design work without meeting the other designers to determine what they think. This is a must because interior design will not stand alone. I am concerned with the entire project, not just the individual aspects”.
Pongthep Sagulku,
Somwong Leevanijkul,
Landscape Architect
Shall We Start
02/ สนทนารอบหุบเขา / 17 / A Wild Discussion 03/ สถาปัตยกรรม / 39 / Architectural Design 04/ ภูมิสถาปัตยกรรม / 55 / Landscape Architecture 05/ สถาปัตยกรรมภายใน / 67 / Interior Architecture 06/ Pavillion / 73 / 07/ Veranda High Resident / 81 / 08/ Higher Room / 83 /
“The resulting architecture is to the satisfaction of the owner and all the designers. I think this satisfaction comes from the willingness to work as part of a team”.
“The layout of Veranda Chiang Mai is based on ancient architecture. We are interested in an experience of space based on sequence and variable perceptions”.
จุดเริ่ม / page 9 /
Interior Architect
09/
10/ 11/ 12/
13/
14/ 15/
89 / Spa ระเบียงชา / 95 / Rabieng Cha ล็อบบี้ / 101 / Lobby the Library / 111 / เรขศิลป์ ในโครงการ / 113 / Graphic Design แบบพิมพ์เขียว / 114 / Blueprint ทีมออกแบบ / 127 / Designers สปา /
ในที ว ่ า ่ ง /สารบัญ/
content/
Chiang Mai : the High Resort
Verawat Ongvasith,
01/
7
VERANDA
“Though the design team offered great ideas as the result of brainstorming, I feel the team sometimes went too far. However, I like the fact I can push their imaginations. In fact, this might be the reason why I chose to work with these designers. But, on the other hand, there is the risk that if we cannot find neat solutions later we end up with a mess”.
Chiang Mai : the High Resort
Verawat Ongvasith | President Veranda Resort and Spa Co., Ltd.
guaranteed commercial success such as Krabi or Phuket?
Mostly because I couldn’t find the kind of land I wanted in those areas, not because I deliberately avoided them. During the period of planning I thought “we have the sea already, why not use the mountains for a change”. I was inspired by a trip to Bali where there are a great many quality resorts in mountainous areas, not close to the beach at all. These resorts are magnificent and designed to fit with the atmosphere of the mountains. Even when raining they look spectacular. In addition, I am very familiar with Chiang Mai. While I was working on the Sky Villa project at Hua Hin I started to look for a nice piece of land on the mountains in Chiang Mai. My aim was to do something new, to create a long-stay resort for both Thais and foreigners with the atmosphere I experienced in Bali. I remember visiting a lot of mountains in order to find the right piece of land and
VERANDA
8
วีรวัฒน์ องค์วาสิฏฐ์ | ประธานกรรมการบริหาร | บริษัท วีรันดา รีสอร์ท แอนด์ สปา จำกัด
จุดเริ่ม
คุณวีรวัฒน์มีเหตุผลใด ที่ไม่เลือกทำรีสอร์ทริมทะเล ในบริเวณที่ มีโอกาสประสบความสำเร็จสูงๆ เพิ่มอีก อย่าง ภูเก็ต กระบี่ ครับ เป็นเพราะผมไม่มีพื้นที่ในบริเวณที่ว่ามากกว่านะ ไม่ใช่ว่าผมไม่อยาก ไปทำ อยากทำ แต่ช่วงจังหวะนั้นคิดว่า เรามีทะเลแล้ว แต่ยังไม่มีภูเขา น่าจะทำภูเขาบ้าง แรงบันดาลใจเรื่องนี้ผมได้มาจากตอนที่ไปบาหลี มี โรงแรมในโซน UBUD (อูบดุ ) อยูบ่ นภูเขา ไม่ได้อยูใ่ กล้ทะเล แล้วทีบ่ าหลี รีสอร์ทคุณภาพดีๆ นีเ่ ต็มไปหมดเลย แล้วก็ทำได้สวยๆ มากๆ ออกแบบ ให้เข้ากับบรรยากาศของภูเขาที่นั่น แม้ตอนที่ผมไปพักไม่ใช่ฤดูหนาว ถึงจะมีฝนตกอยู่บ้าง แต่ก็ยังดูสวย และด้วยความที่ผมก็คุ้นเคยกับเมือง เชียงใหม่เป็นทุนอยูแ่ ล้ว เลยเริม่ คิดอยากจะทำต่อทีเ่ ชียงใหม่ ในระหว่าง ที่ทำ Sky Villa ที่วีรันดา หัวหิน ผมเริ่มหาที่ดินบริเวณภูเขาที่เชียงใหม่ แล้ว ตอนนั้นคิดไว้แน่นอนว่าต้องขยาย อยากทำต่อ อยากให้สิ่งใหม่ๆ ที่คนอื่นๆ ยังไม่ได้ทำ ถ้าพูดตรงๆ คืออยากให้คนไทยที่มีสตางค์ ได้ไป /01/ พักรีสอร์ทที่เชียงใหม่กันหลายๆ คืนบ้าง อยากจะสร้างรีสอร์ทที่ทั้งคน 9 ไทยและต่างชาติสามารถเข้ามาพักได้ ส่วนบรรยากาศและภูมิทัศน์ก็จะ Shall We Start ทำให้คล้ายกันกับโรงแรมที่ผมไปเห็นที่บาหลี อยากจะมีรีสอร์ทของตัว Why choose Chiang Mai เองบนภูเขาที่หนึ่ง ตอนนั้นจำได้ว่า เดินทางเพื่อไปหาที่ดินบนภูเขาอยู่ as the location for your resort instead of หลายลูกมาก places with almost
Chiang Mai : the High Resort
initially encountered certain problems. For example, land can be part of preserved forest areas. However, we finally found the land we have which is perfect because it’s also not so far from the city and the airport. The design team began immediately because I wanted to give them as much time as possible. All in all it took them 9 months which is longer than my usual projects. From the beginning I told the team that I wanted a really cool pool: the kind of pool that seems to float, and at a level that overlooks everything. It transpired that the pool became the centerpiece of the resort and consequently determined the restaurant, spa, office and fitness center; in a word, the whole building. Finalizing the concept of Veranda Chiang Mai was a difficult task because of the many details involved in our ideas. Someone then came up with the idea of a wall that separated the Veranda from local culture, as if we were an independent, self-governing, city. It was agreed that the key materials were to be concrete, wood and brick; nothing too modern as we wanted our guests to experience an aspect of Lanna culture, the historical culture of Chiang Mai. The view from outside
11
VERANDA
10
พอได้ที่ดินช่วงนั้นมาแปลงแรกๆ พอไปตรวจสอบกันแล้ว ก็มักจะ ติดเรื่องของที่ดินที่อยู่ในเขตของป่าสงวนบ้าง บางแปลงโฉนดก็โอนไม่ ได้บ้าง คือมีข้อจำกัดเยอะ สุดท้ายมาลงเอยกันที่ดินแปลงปัจจุบันที่ทุก อย่างพร้อม เพราะว่าอยูไ่ ม่ไกลจากใจกลางเมืองเชียงใหม่มากนัก วันไหน อยากจะไปกินข้าวในเมือง ก็ขับรถเข้าไปได้ไม่ 30 นาที ไปสนามบินก็ 20 นาที ผมบอกให้ทีมออกแบบเริ่มงานได้เลย สำหรับที่นี้ผมให้เวลา ออกแบบมากขึ้น เรื่องการจัดทีมก็ยังเป็นเรื่องที่สำคัญอยู่ ผมยังอยาก ให้ทีมเดิมทำกันดูอีก จนวันที่ได้ที่ดินแปลงนี้มาถูกต้องเรียบร้อย ผมก็ พาคุณสมิตรกับทีมออกแบบไปเดินดูกนั รอบๆ พวกเขาก็มคี ำแนะนำว่า จะต้องไปดูกนั หลายๆ เวลานะ พอตอนบ่ายๆ มาดู อืม...ตรงนีร้ อ้ นนะ พอร้อนก็ต้องมีน้ำนะ พอตกเย็นประมาณทุ่มหนึ่ง ก็แวะไปดูกันอีกทีว่า บรรยากาศตอนกลางคืนเป็นอย่างไร เช้าวันรุง่ ขึน้ ก็แวะมากันอีก เจ็ดโมง กว่าบรรยากาศของที่นี่เป็นอย่างไร ที่นี่เลยต้องให้เวลาในการออกแบบ เยอะมากกว่าที่เดิม ทีมออกแบบใช้เวลากันอยู่ประมาณ 9 เดือน นับแต่เริ่มต้น ผมคิด สิ่งที่ผมอยากได้เอาไว้แล้วในส่วนของผมเอง ผมบอกกับทีมไปเลยว่า อยากได้สระว่ายน้ำเท่ห์ๆ ลอยอยู่กลางป่า เลยคิดกันต่อไปอีกว่าระดับ ความสูงก็ต้องสูงพอเหมาะ ฉะนั้นเรื่องแรกที่เราทำกันคือการออกแบบ สระน้ำ แล้วเรื่องของสภาพของภูมิทัศน์กัน ทุกคนอยากให้สระว่ายน้ำ อยูส่ งู พอในระดับทีม่ องข้ามทุกสิง่ ทุกอย่างไปเลย นอกจากภูเขาลูกไกลๆ กับสระว่ายน้ำของเราเท่านั้น คุณสมิตรเลยชวนกันให้ขึ้นไปดูว่า จะเอา สูงกันแค่ไหนดี ก็ตั้งนั่งร้านเหล็กขึ้นไป สูงได้ประมาณสี่ห้าชั้น แล้วก็ขึ้น ไปมองดูกนั ว่าสูงได้ระดับกันหรือยัง จากนัน้ วัดระดับความสูง เลยกลาย เป็นว่าระดับของสระว่ายน้ำ เป็นการกำหนดตัวอาคารเลยทีเดียว ซึ่งก็ ตรงข้ามไปจากการเริ่มออกแบบแบบเดิมๆ เลย พอจากอาคารกำหนด สระว่ายน้ำ สระว่ายน้ำก็กลับมากำหนดเรื่องราวต่างๆ ภายในอาคาร หลังนี้ ในอาคารเราอยากได้อะไรก็ค่อยๆ มากำหนดไป เช่น เราอยาก ให้มีร้านอาหารสบายๆ ข้างสระว่ายน้ำ อยากได้สปาที่มองออกไปเห็น แต่ป่า มีส่วนสำนักงาน ส่วนออกกำลังกาย คือเราเอาสระว่ายน้ำเป็น ตัวตั้ง แล้วทุกอย่างค่อยๆ ตามมา
Chiang Mai : the High Resort
the wall suggests a mix of modern and traditional oriental style. We also used a lot of water due to the high temperatures during some months of the year, and this corresponds with the Hua Hin project. I hope the overall feel of the resort is one of comfort, even though the resort occupies a large area. Are you aiming to attract the same type of clientele as the Sky Villa project in Hua Hin, such as families and honeymoon couples? When I started the Veranda Chiang Mai project I didn’t have a clear idea about clientele in mind. Chiang Mai has a big expatriate community and attracts Thai tourists. I wanted to respond to clients’ needs, recognize what competition existed, and note the prices of other hotels etc. Veranda Chiang Mai obviously needs to differentiate itself from other resorts. We have standard rooms and suites. Our standard rooms are bigger than usual and our suites are divided into pavilion and presidential pool villas. However, the prices are cheaper than other resorts. Also, we have rooms to accommodate seminar groups.
13
VERANDA
12
ตอนนั้นรู้สึกว่ายากเหมือนกัน ในเรื่องของการกำหนดแนวคิดของ วีรันดาที่เชียงใหม่ เพราะต้องคิดให้ละเอียดว่าจะทำเป็นรูปแบบไหนดี เช่น จะแบบล้านนาดีไหมนะ ถ้าทำมาแล้วจะเข้ากับคนรุน่ ใหม่หรือเปล่า คาดเดากันยากมากเลย สุดท้ายมีคนหนึ่งในทีมออกแบบพูดออกมาว่า เราน่าจะเอากำแพงเป็นทีแ่ ยกระหว่างวัฒนธรรมกับวีรนั ดา คล้ายๆ กับ กำแพงเมืองเชียงใหม่ ทีเ่ ป็นตัวเแบ่งระหว่างในเมืองและนอกเมือง ผมว่า แนวคิดนี้ลงตัว ฉะนั้นสิ่งที่อยู่ในเมืองของเรา เราก็ต้องคุมโทนของวัสดุ ให้ได้นะ เราก็ทำแค่คอนกรีตเปลือย ไม้ แล้วก็อิฐ หลักๆ แค่ 3 อย่าง เท่านั้นเอง วัสดุสมัยใหม่ก็อย่าให้มี เพื่อผู้มาพักมาแล้วจะได้รู้สึกว่าอยู่ ในเมืองล้านนา เมืองเชียงใหม่ พอออกมานอกเมือง นอกกำแพง ก็ตอ้ ง เจอกับคูเมืองที่เป็นน้ำก่อน คราวนี้จะออกแบบให้สมัยใหม่ขึ้นอย่างไรก็ ทำได้เลย จึงเกิดตัวอาคารที่ระเบียงมีหลังคา ผมขอให้ทีมออกแบบช่วย ใส่องค์ประกอบของความสมัยใหม่ และความรู้สึกที่เป็นของตะวันออก เข้าไป และจากการที่ไปดูสถานที่ก่อสร้างกันบ่อยๆ หลายเวลา ทำให้ คิดได้ว่า ควรจะต้องใส่น้ำเข้าไปในโครงการนี้ให้มากหน่อย เพราะที่นี่ อากาศค่อนข้างร้อนพอควรในบางฤดู ทีมออกแบบก็ออกแบบให้ทางเดิน ประกอบไปด้วยน้ำไปตลอด ส่วนหนึ่งผมคิดว่าเป็นสิ่งดี เพราะที่วีรันดา หัวหิน เราใช้แนวคิดเรื่องของน้ำเยอะพอสมควรในการออกแบบ ก็น่า จะนำมาต่อเนื่องกันที่นี่อีก น้ำทีใ่ ช้ในโครงการนีก้ ม็ าจากธรรมชาตินะ แต่หาไม่ได้เลยต้องสร้าง ขึน้ มา สำหรับวีรนั ดา หัวหิน ติดทะเล เราก็เลยไม่ได้นกึ ไปถึงการนำเอา น้ำมาช่วยในเรื่องของการลดความร้อนเท่าใดนัก เพราะที่นั่นมีลมแรง พัดเข้ามาดีอยู่แล้ว แต่สำหรับภูเขาที่เชียงใหม่นี่ ถ้าในช่วงที่อากาศร้อน ก็จะร้อนพอสมควร การจะทำให้บรรยากาศของที่นี่สำหรับผู้มาพักผ่อน ให้รสู้ กึ สบายๆ นอกจากจะใช้พนื้ ทีส่ เี ขียวแล้ว ผมคิดว่าน้ำก็มสี ว่ นสำคัญ ทีจ่ ะเข้ามาช่วยได้เยอะ แล้วทีต่ งั้ โครงการของเราก็ใหญ่มาก ถ้าจะเดินให้ ครบรอบๆ ทีหนึง่ ก็เหนือ่ ยพอควร แล้วถ้ายิง่ แดดร้อนๆ จะยิง่ ทำให้รสู้ กึ ว่าในแต่ละจุดอยู่ไกลกันมากยิ่งขึ้น ซึ่งไม่ค่อยจะดีนัก
Please discuss the condominiums at
I was already aware of the fact that because of the success of the Pool Villa at Hua Hin people became interested in buying into it. For Veranda Chiang Mai I decided to set the number of rooms at 100, whereby 70 rooms were part of the hotel and the remaining are for sale. This decision is essentially to do with business. I have seen people buy houses locally and let them deteriorate because they don’t have the time for maintenance. If people buy at the Veranda Chiang Mai we will take care of the properties for them, and sublet if the owners want. This is a residential, rather than country house project and an interesting experiment for me. The leader of your design team told us that he had proposed the idea of turning a rice field into a maze.
Everyone on the design team offered a lot of good and unique ideas. I encouraged this because I wanted the team to think differently. I wouldn’t hire people who all think in the same way! But, of course, there are limitations with any approach. Practical issues arise in terms of executing certain ideas so we needed to be cautious at the developmental stage. []
Chiang Mai : the High Resort
Veranda Chiang Mai.
15
VERANDA
14
โจทย์ออกแบบสำหรับทีน่ ี่ คุณวีรวัฒน์มองไว้วา่ เป็นสถานทีพ ่ กั ผ่อน สำหรับครอบครัว หรือคู่ฮันนีมูนเหมือนที่หัวหินหรือเปล่าครับ ตอนนั้น โจทย์ของผมสำหรับที่เชียงใหม่ก็ไม่ค่อยชัดเท่าไหร่นะ เพราะ ตลาดของรีสอร์ทในเชียงใหม่ ขึ้นตรงกับทางต่างประเทศเยอะ คนไทย ไปเที่ยวเชียงใหม่ก็จริง แต่ไม่ได้ไปจริงจังเหมือนกับไปทะเล ฉะนั้นเรา ต้องทำอะไรทีส่ นองความต้องการของลูกค้าได้ชดั ว่า คุณกำลังจะแข่งกับ ใครคุณก็ต้องรู้ แล้วก็ต้องดูด้วยว่าคู่แข่งเราเขามีดีอย่างไร แล้วต้องเก็บ รายละเอียดให้มากในเชิงของลูกค้า ผมเองก็ต้องลองไปพักที่อื่นๆ ใน เชียงใหม่ดูเหมือนกัน เพื่อที่จะได้รู้ว่าที่อื่นเขากำหนดราคากันเท่าไหร่ อย่างไร แล้วเราจะสามารถกำหนดราคาของเราได้ จุดเด่นของเราเป็น อย่างไร แล้วถ้ากำหนดราคาเท่านี้ คนที่มาพักได้อะไรที่มากกว่ากลับไป แม้ว่าทีมออกแบบของเรา จะมีความสำคัญในเรื่องของการสร้างจุดเด่น ให้กบั รีสอร์ท แต่ผมคิดว่าแนวคิดในเรือ่ งแบบนีข้ องเจ้าของ ก็ตอ้ งมีความ ชัดเจนให้มากๆ ด้วย เราก็ทำห้องพักเป็นแบบ ห้องธรรมดา (Standard) กับห้อง Suite ลักษณะพิเศษของห้อง Suite ก็จะเป็นแบบ Pavilion กับ Presidential Pool ่ ำ่ กว่าทีอ่ นื่ แต่หอ้ งธรรมดาของเราจะใหญ่กว่าทีอ่ นื่ Villa ซึง่ จะมีราคาทีต นอกจากนัน้ ทีเ่ ชียงใหม่ เรายังจัดให้มหี อ้ งประชุมสำหรับการสัมมนาของ บริษัทต่างๆ อีกด้วย ตอนนี้เราก็เน้นไปที่กลุ่มนี้อยู่เหมือนกัน ส่วนโครงการของคอนโดมิเนียมในโครงการนี้ มีที่มาที่ไปอย่างไร ที่มาของคอนโดมิเนียมของที่นี่ ก็มาจากห้อง Pool Villa ที่หัวหิน ได้รับ ความนิยมค่อนข้างดี มีคนมาขอซื้อ Villa ที่หัวหินเยอะพอควร พอมา ถึงที่เชียงใหม่ ผมก็เลยคิดอยากจะทำอย่างนั้นบ้างประมาณ 100 ห้อง เป็นแนวคิดของห้องพักสำหรับโรงแรม 70 ห้อง ที่เหลือ 30 ห้องเอาไว้ สำหรับขาย แล้วก็เอาเงินกำไรจาก 30 ห้องทีข่ ายนีม้ าลดหนี้ เรือ่ งนีเ้ ป็น โมเดลทางธุรกิจนะ เพราะผมเห็นว่าคนที่มีสตางค์ส่วนใหญ่ มักชอบมา ซื้อบ้านพักตากอากาศที่เชียงใหม่เก็บไว้เยอะ แต่แล้วก็มักจะปล่อยทิ้ง ไว้จนโทรม เพราะไม่ค่อยมีเวลาได้มาอยู่ ไม่มีคนดูแลให้ เราเลยคิดว่า ตรงนีน้ า่ จะเป็นโอกาสทีด่ ี ถ้าเขาจะมาซือ้ กับโครงการอย่างเราทีไ่ ม่มที าง ปล่อยให้บา้ นโทรม และกลับจะสร้างรายได้ให้กบั เขาในช่วงทีไ่ ม่ได้มาพัก เพราะอย่างทีห่ นึง่ เราจะดูแลรักษาสภาพบ้านให้อย่างดี และอย่างทีส่ อง เราจะหาคนมาพักให้ด้วย ผมคิดว่าในโครงการส่วนนี้น่าจะขายได้ดีนะ เพราะว่าเป็นเหมือนโครงการสำหรับการอยู่อาศัย (Residential Project) มากกว่าเป็นลักษณะของบ้านพักตากอากาศ ส่วนนีก้ ำลังทดลองทำดูอยู่ แล้วก็ไม่ได้คาดหวังเรื่องความสำเร็จอะไรมากนัก คุณสมิตรเล่าให้ฟงั ว่า เคยเสนอให้ทำทุง่ นาขึน ้ เป็นเขาวงกต 7 ชัน ้ กลางโครงการ ตอนนั้นคุณวีรวัฒน์รู้สึกอย่างไรบ้างครับ ผมชืน่ ชอบในทีมออกแบบนีม้ าก ทุกคนต่างก็เสนอความคิดดีๆ น่าสนใจ แล้วก็แปลกๆ บางทีผมคิดว่ามีความแตกต่างมากจนเกินไป แต่จุดหนึ่ง ผมรูส้ กึ ดี ทีผ่ มสามารถไปกระตุน้ ความคิดของพวกเขาได้ แล้วผมก็อยาก ให้ทมี ออกแบบเขาต้อง “คิดต่าง” อยูแ่ ล้ว เพราะถ้าคิดเหมือนกันกับผม แล้วผมจะจ้างทำไม แต่การคิดต่างนั้นต้องมีข้อดีอยู่แล้ว แต่บางทีก็มีข้อ จำกัดบางสิ่งบางอย่างของมันอยู่ เพราะถ้าตัดสินใจทำไปแล้ว แต่กลับ ต้องมาแก้ไขทีหลัง ผมว่าจะยุ่งยากไปใหญ่. []
Somwong: For Veranda Chiang Mai the three of us began by brainstorming ideas. Khun Smith’s key responsibility was the planning of the buildings while all of us worked on ideas about circulation. We separated the condominium, villa and resort with water and a garden and Khun Pongthep gave us a great many ideas about the lobby, the restaurant and a connected point of entry. Please discuss your ideas about the interior design. Pongthep: We looked at other resorts in Chiang Mai in order to determine our competition and make decisions about Veranda’s general image. Because of our Hua Hin project, Veranda began to develop a brand image and establish a target group. In the case of Veranda
สมหวัง : ที่วีรันดา เชียงใหม่นี้ เราทั้งสามคนได้มีโอกาสมาเริ่มต้นคิดพร้อมๆ กัน ได้มีการแลกเปลี่ยนความ
คิดกันพอสมควร คุณสมิตรก็ต้องถือว่าเป็นหลักในการจัดกลุ่มอาคารอยู่แล้วนะครับ โดยเฉพาะเรื่องของพวก ตำแหน่งของกลุ่มอาคารประเภทต่างๆ ห้องพักชนิดต่างๆ ระบบการสัญจร ผมกับคุณพงษ์เทพก็เข้ามาช่วยดู เรื่องเส้นทางสัญจรด้วย เพราะมีหลายประเภทของกลุ่มคนที่เข้ามาในโครงการนี้ เราได้พยายามแยกส่วน คอนโดมิเนียม หรือการแยกส่วนของวิลล่าของตัวรีสอร์ท โดยใช้องค์ประกอบทางภูมิสถาปัตยกรรม ในเรื่อง ของน้ำ ของสวน คุณพงษ์เทพเองก็ให้ความคิดดีๆ หลายอย่าง เช่น เรื่องของล็อบบี้ จุดเชื่อมโยงทางเข้าต่างๆ และตำแหน่งห้องอาหาร คุณพงษ์เทพได้ไปเห็นสถานทีต่ งั้ ทีเ่ ชียงใหม่ รูส้ กึ อย่างไรบ้างครับ วาดภาพอะไรไว้บา้ งในใจ ในฐานะ ที่ต้องออกแบบภายใน พงษ์เทพ : ผมคิดในแง่ของผมสำหรับที่เชียงใหม่ว่า เราพยายามมองรีสอร์ทต่างๆ ที่มีอยู่ในเชียงใหม่ ว่าคู่ แข่งของเราคือใคร แล้วความเป็น วีรันดา คืออะไร อย่างที่เราช่วยกันออกแบบที่หัวหิน วีรันดาเองก็เริ่มมี ภาพลักษณ์ทางแบรนด์ (brand image) ขึน้ มาส่วนหนึง่ แล้ว ส่วนอีกเรือ่ งหนึง่ ถ้าพูดกันตามภาษาการตลาด วีรันดามีขาประจำกันอยู่แล้ว ถ้าเกิดจะต้องไปสร้างเพิ่มขึ้นอีกที่เชียงใหม่ ก็ควรจะต้องคิดกันให้รอบคอบว่า เราอยากจะให้ความเป็นวีรันดาอยู่ตรงไหน จะให้ไปแข่งกับคู่แข่งรอบๆ อย่างไร โชคดีที่เรามีที่ตั้งโครงการ อยูท่ า่ มกลางธรรมชาติ และเป็นรูปแบบร่วมสมัย ผมคิดว่ายังไม่มรี สี อร์ทในหุบเขาทีเ่ ชียงใหม่ทำในลักษณะ เดียวกับเรา อาจจะเป็นรีสอร์ทที่เป็นรูปแบบของเชียงใหม่ไปเลย ซึ่งก็เป็นรูปแบบของพื้นถิ่น (vernacular) แต่ของเราเป็นแบบร่วมสมัย ที่มีกลิ่นของรูปแบบเชียงใหม่ปนอยู่บ้าง การที่จะทำให้งานออกแบบออกมา ดูเป็นภาษาเดียวกับที่คุณสมิตรทำ คือลักษณะของตัวอาคารเป็น แบบร่วมสมัย ผนวกกับอาคารทีเ่ ป็นแบบเชียงใหม่ คุณสมิตรมีโจทย์ของตัวเองอยูอ่ ย่างเดียว คืองานออกแบบ ต้องห้ามซ้ำกับของคนอืน่ โครงการอืน่ แต่สำหรับส่วนตัวผมแล้ว คิดว่าซ้ำก็ได้ แต่ไม่ใช่เหมือนเดิม คือไม่ได้ ลอกเลียนแบบเดิม แต่ต้องต่อยอดไปอีก ตอนที่คุณสมิตรเสนอเรื่อง เขาพระสุเมรุ เจ็ดชั้น คิดเห็นกันอย่างไรครับ สมิตร : จำได้หรือเปล่าที่ตอนไปดูที่ครั้งแรก ตรงกลางเลยผมเสนอให้ทำเป็นวงๆ กลมๆ ขึ้นไป แล้วในทีมก็บอก กันว่าจะทำไม่ได้ เพราะจะไปขวางแนว contour ผมจำติดตามาจากเรือ่ ง The Sign ทีเ่ มล กิบ๊ สันเล่น ทีอ่ ยูด่ ๆี ภาพ ก็ตดั ไปทีท่ งุ่ หญ้า ผมคิดเลยว่าเวลาทีเ่ ครือ่ งบิน บินมาวนๆ แถวนี้ พอมาเจอรีสอร์ทเรา ก็จะเฮ้ย!!! อยูด่ ๆี มีกลมๆ มีน้ำไหล แต่ทุกคนบอกว่ายังไม่ดี ซึ่งตรงนี้ผมก็ต้องยอมยกให้คุณสมหวังไป เพราะเป็นส่วนของเรื่องภูมิทัศน์ ผมก็ไม่ได้เกี่ยว (หัวเราะ)
Chiang Mai : the High Resort
/02/
สนทนารอบหุบเขา
17
VERANDA
16
A Wild Discussion
How did you all respond to Khun Smith’s ideas about the seven levels of Mount Meru?
Do you remember when we first saw the site? I proposed that we create circles in the middle but discovered that we couldn’t because we would have to go against the contour. My idea for the circles was inspired by the Mel Gibson movie ‘Sign’ which showed a birdseye view of such a pattern. I thought it would be cool to do something similar. However, the idea was vetoed by others so I let Khun Somwong handle it because the landscape design was his responsibility. Somwong: We all really liked the location’s atmosphere and also wanted to use the uniqueness of a city like Chiang Mai. We discussed the scale of the project and that we aimed to fit with local characteristics and the landscape by preserving a sense of the rural and the vernacular. Khun Smith wanted the resort to be like a new city, retaining the city wall but with other components also. Smith: This is about the composition of two ideas: the city wall and the sequence of accessibility. I am talking about the way people enter the resort in a gradual manner, step-by-step. Before you reach the resort you go through the tree-line and then the fence. The experience is as if the heart is not immediately available although you have entered Veranda’s territory. This is very different from the Hua Hin project where you see the resort and the sea instantly. In Chiang Mai the resort is a-step-at-atime from the entrance to the lobby and then…wow…you are suddenly exposed to the great view of the landscape. Smith:
18
Chiang Mai : the High Resort
สมหวัง : ผมคิดว่าธีมหลักทีเ่ ราคุยแล้วทุกคนเห็นด้วยคือ ตอนทีไ่ ด้ มีโอกาสเดินดูบริเวณรอบๆ กันนั้น ทุกคนชอบเรื่องของบรรยากาศ แล้วพอรูว้ า่ จะทำงานทีเ่ ชียงใหม่ ผมคิดว่าทุกคนคงคิดเหมือนกันว่า เราต้องเอาลักษณะพิเศษเฉพาะของตรงนี้ออกมาให้ได้ ที่เด่นที่สุด แถวนั้นก็คือวัดต้นเกว๋น (วัดอินทราวาส) ตรงทางขึ้นโครงการ ผม พาทุกคนไปดูก็ชอบกันหมด ชอบที่ขนาด (scale) ทุกคนคุยกันถึง ขนาดที่ว่า รีสอร์ทของเราอาจไม่จำเป็นต้องทำขนาดใหญ่เหมือน รีสอร์ททั่วไป อาจจะทำขนาดที่ให้เข้ากับลักษณะของท้องถิ่นดีไหม หรือเข้ากับภูมิทัศน์รอบๆ เราคุยกันว่าต้องทำให้ทุกคนที่ได้เข้ามา แล้วรู้สึกได้เลยว่า ไม่ได้มาเชียงใหม่ในตัวเมือง หรือเชียงใหม่ที่เป็น แบบประเพณี แต่อยากให้คงความเป็นพื้นถิ่น คงความเป็นชนบท ของที่นี่เอาไว้ เหมือนกับวัดต้นเกว๋นที่อยู่ในสภาพแบบนั้น ฉะนั้น นอกจากเรื่องนี้แล้ว ผมคิดว่าคงเป็นเรื่องของกลุ่มก้อนของอาคาร ที่เราได้มีการพูดคุยกัน คุณสมิตรเองอยากได้ลักษณะของการสร้าง เมือง แล้วมีกำแพงเมือง มีส่วนต่างๆ อันนั้นผมถือว่าเป็นการเริ่ม สร้างเมืองขึ้นมาแล้ว สมิตร : เรื่องนี้ประกอบกันอยู่ 2 เรื่อง คือ เรื่องกำแพงเมือง กับ sequence ของการเข้าถึง ซึง่ เราใช้วดั ต้นแกว๋นเป็นต้นแบบการเข้าถึงโรงแรม คือเวลา ที่เราขับรถหรือเดินเข้าวัดต้นเกว๋น จะรู้สึกเหมือนถึงแล้ว แต่ยังไม่ถึง เห็น แนวต้นตาล เห็นแนวรั้ว แต่ยังไม่เห็นด้านใน เราก็หยิบยืมเอาสิ่งนี้มาใช้ เอาแบบว่ามาถึงก็ยังไม่ให้เข้า แต่ให้เข้าไปได้ทีละชั้น ซึ่งต่างจากที่หัวหิน เข้าไปโป้ง เห็นทะเลเลย แต่ที่นี่ จะไปทีละขั้น ทีละตอน จนไปถึงตัวล็อบบี้ จึง...ว้าว... มีทุ่งกว้างยาวไปอีกสุดตา... วางแผนกันไว้อย่างนี้ สมหวัง : ผมว่าเป็นวิธีคิดเหมือนกับการวางแผนผังแบบโบราณ คือวิธีค่อยๆ ให้ประสบการณ์ในการรับรู้ที่ละนิด ซึ่งค่อยๆ เหมือน กับควบคุมสิ่งที่จะให้คนได้รู้เป็นลำดับ เป็นเรื่อง เป็นลำดับขั้นตอน และผมคิดว่าด้วยภูมิทัศน์ของที่นี้ ความที่เป็นที่ตั้งที่ไม่เหมือนกับ บางโครงการ ที่ดูจะออกเป็นทางการมาก ตั้งใจมาก องค์ประกอบ กันมาก แบบและลวดลายต่างๆ วิจิตรมาก แต่ที่นี่จะเป็นการผสม ผสานกันระหว่างงานสถาปัตยกรรมกับภูมสิ ถาปัตยกรรมทีส่ มบูรณ์ จะเห็นว่าคอร์ทแต่ละแห่ง บางส่วนสมบูรณ์ แต่คอร์ทบางส่วนก็เริ่ม จะเปิดให้พื้นที่ว่างไหลเข้าได้ด้วย สมิตร : ผมไม่แน่ใจว่าจะดูออกเป็นทางการหรือปล่า แต่ผมคิดว่าน่าจะ ออกเป็นแบบจิก๊ โก๋นดิ ๆ เราไม่อยากให้ออกมาเป็นคอร์ททางการ เพราะถ้า เราเขียนแปลนแบบไทยๆ เราก็จะซ้ายขวาที่เท่ากัน เห็นแกน มีกรอบ และ ที่ว่าง แต่เราอยากจะเปลี่ยนไปนิดหนึ่ง เพราะเราคิดว่าที่นี่เป็นรีสอร์ท สมหวัง : แต่ผมว่าวิธีคิดแบบนี้ ส่วนหนึ่งประสบความความสำเร็จ ในแง่ที่ว่า ความที่ตัวโครงการอยู่บนพื้นที่ที่ลาดเอียง เมื่อไหร่ที่ทำ เป็นลาน (courtyard) ที่ดูวิจิตรมากๆ ในพื้นที่แบบนี้ เหมือนว่าเรา กำลังเปลี่ยนแปลงหรือเสนออะไรบางอย่าง ที่มีความเป็นมนุษย์
19
VERANDA
Chiang Mai we are lucky to have a natural setting but while we wanted a certain local feel we did not want entirely vernacular architecture. Rather, our aim is to be contemporary. However, there is a sense of a mix that I believe has not been done before.
Chiang Mai : the High Resort
20
planning to gradually reveal the view of the sea and we had to design people’s movements step-by-step. We achieved a perfect balance of built environment and landscape because there is a successive merger between the designed and the natural for each of the courts. The project is located on a slope and here a courtyard can add a humanizing touch but also reduce the spirit of the site. In Veranda Chiang Mai we allow the spaces of the hills and meadows to be part of the project; nature has its own sense of space and we encourage a freedom for people to imagine and create spaces of their own. For example, we didn’t want to have the court at the entrance so we designed a small wall that would cover parts of the view. Again, our aim is to encourage a gradual experience of the space. Smith: I wasn’t sure if the design was going to turn into something quite formalist though I wanted something cool with an element of gimmickry. Our ambition for the court was to do something unconventional so the court emerged as a space that wasn’t strictly symmetrical or strictly defined in terms of frame and space. Somwong: We were very lucky to get what we wanted with this project because our landscape design fitted a characteristic of Chiang Mai in terms of the tea and rice fields. These particular areas were combined wonderfully. When you first look at the buildings you may think the resort is hidden in the forest because of a design of the garden that puts it on the roof. It seems that everything was united for one complete picture. I maintained a sense of simplicity with a pebble courtyard and a kitchen garden that has chili and basil. This gives an effortless sense of comfort and relaxation – in tune with the surrounding natural environment. Smith: I didn’t like the kitchen garden because I wanted the tall trees to provide shade and give a forest, rather than kitchen garden, feel.
21
VERANDA
Somwong: I think it is conventional
เข้ามา และกำลังจะไปลดความเป็นจิตวิญญาณของพืน้ ทีบ่ ริเวณนีล้ ง แต่สำหรับที่นี้ เหมือนกับว่าเราได้ปล่อยให้พื้นที่บางส่วน ให้เข้ามา มีส่วนในพื้นที่ว่างของโครงการนั้นๆ อย่างลักษณะของเนิน ทุ่งหญ้า หรือวิวทีเ่ รามองเห็นในจุดทีส่ งู กว่า แทนทีจ่ ะเอากำแพงไปบัง แต่เรา ก็เปิด และบังในส่วนที่เราต้องการสร้างที่ว่างเหล่านั้น เพราะฉะนั้น ในแต่ละจุด ก็เหมือนกับการให้อสิ ระกับคนทีจ่ ะเข้าไป พอเริม่ ได้เข้า ไปแล้ว ก็เริ่มที่จะมีจินตนาการมากขึ้น เราก็จะปล่อยให้ธรรมชาติ ช่วยสร้างพื้นที่ต่างๆ ขึ้นมา เพราะฉะนั้นโดยส่วนตัว ผมคิดว่าที่นี่ ค่อนข้างจะประสบความสำเร็จในเรื่องนี้ สิ่งหนึ่งที่น่าสนใจ เพราะสิ่งที่เราทำให้พื้นที่ของโครงการนี้ ดู เหมือนจะเป็นทางการ แล้วก็ทำให้เกิดสิ่งที่ตรงกันข้าม (contrast) ออกไปในบางส่วน อย่างจุดแรกที่เข้ามา ทุกคนเห็นพ้องต้องกันว่า เราไม่ต้องการการออกแบบที่เป็นแบบคอร์ทใหญ่ตรงทางเข้า และ เรารู้สึกเหมือนกันคือ เมื่อเข้าไปแล้ว จะต้องทำให้เกิดมีลำดับขั้น มี ลักษณะพิเศษเฉพาะส่วนตัวทีค่ ณ ุ สมิตรเสนอ และต้องมีกำแพงเตีย้ ๆ ผมก็ยังเสนอเองเลยว่าน่าจะปิดด้วยซ้ำ คือไม่ให้มองทะลุ เมื่อไหร่ เปิดเข้าไปแล้วก็จะเห็น จะเหมือนกับการค่อยๆ เปิดประสบการณ์ ไปเรื่อยๆ จากด้านหน้าที่เป็นคอร์ทหินคลุกธรรมดา ดูเป็นทางการ เรียบๆ พอเปิดไปก็เห็นเป็นคอร์ทน้ำ เห็นตัวอาคาร เห็นล็อบบี้ ต้อง บอกว่าเป็นสิ่งที่ท้าทายมาก พอเราเห็นตรงนั้นที่เด่นแล้ว คนก็จะ เริม่ มามองดูดา้ นข้าง เริม่ เห็นภูมสิ ถาปัตยกรรมทีไ่ หลเข้ามาในคอร์ท เห็นศาลาวัดต้นเกว๋นที่จำลองมา เห็นอาคารสูงที่อยู่เลยเข้าไปทาง ด้านใน เขาก็จะเริ่มเข้าใจพื้นที่ว่างของโครงการทีละน้อยๆ แต่ในขณะเดียวกัน แนวคิดของเรื่องของแกนก็คงยังมีอยู่ ถาม ว่าเด่นไหม ก็เด่นนะ เพราะด้วยระยะ ด้วยการนำน้ำมาใช้ แม้แต่ คอร์ทน้ำก็มีการคุยกับคุณพงษ์เทพกับคุณสมิตรว่าให้มาช่วยดู และ ช่วยกันแนะนำว่าจะทำอย่างไรกันดี ให้ผสมผสานกันได้มากขึ้นไป ถึงล็อบบี้แล้วมองออกไป ให้เห็นเป็นภาพวาดขนาดใหญ่ ที่จะทำให้ คนสัมผัสได้ว่า นี่คือที่ตั้งโครงการทั้งหมด
garden?
I think what we tried to do here is like a regional landscape. We had both the manmade environment and the natural landscape. I believe, historically, the Thai garden is more in tune with agriculture, as opposed to the traditional patterned Japanese garden. We used the simplicity of Thailand’s rural landscape as a distinction because our project is rooted locally. In addition to the existing trees we also had the tea field and meadow as a big, open, space while on the roofs of the resort we put plants and climbers so if you look down you can see an integrated area. To be honest, if this is was an international project the chances of us doing this type of work would be slim because of the size of the area and therefore the effort needed in terms of maintenance. Luckily, Khun Verawat was really open and appreciated what we aimed to do. Smith: Khun Verawat liked the idea of having plants instead of grass on the roof, which would give a neat look similar to other hotels. When the opening night was approaching he asked us if we were really going to go with this and we said yes. Otherwise, it wouldn’t be cool, Khun Verawat likes cool stuff! Somwong:
22
With such a large area, how do you deal with maintenance issues in terms of softscape areas? Somwong: Most of the big trees are not a problem because they are local but in terms of the grassland there is some control and maintenance. Smith: I wanted the restaurant in the field to feel very natural. It was my dream to eat a meal in the middle of the forest; to be surrounded by trees. We built the barns in case of rain and installed air conditioners because of the heat. We built a large glass roof so guests could avoid rain. In other words, there were many issues to work out but the project started from a dream and a feeling.
Chiang Mai : the High Resort
name for this kind of
23
VERANDA
Pongthep: What is the
ผมคิดว่างานนี้โชคดีที่เราทำแล้วเราเข้าใจ เราได้สิ่งที่ต้องการ เราได้งานภูมิสถาปัตยกรรม ที่นำเสนอความเป็นเชียงใหม่ และสิ่ง นั้นก็คือทุ่งชา ซึ่งตรงบริเวณพื้นที่นั้น ความสูงอาจจะไม่ได้สูงมาก แต่เริ่มจะปลูกชาได้บ้าง แล้วเราคิดว่าน่าจะเอาตรงนี้เข้ามา แทนที่ จะไปทำอะไรอย่างอืน่ เพือ่ เป็นการดึงดูด แล้วผมคิดว่าบริเวณส่วนนี้ ได้ถูกผสมผสานได้ดีกับภาพโดยรวม ก็กลายเป็นทุ่งนา ซึ่งเป็นใน โซนของวิลล่า เหมือนภูมิทัศน์ของเชียงใหม่ในโซนนั้นเลย พอเรามองกลับไปที่ตัวอาคาร เราเข้าใจว่าห้องพักข้างล่างเป็น ระดับต่ำลงมานะ พอมองมาเห็นทุง่ ชา แต่พอเป็นส่วนข้างบน แทนที่ จะเป็นหลังคาก็จะเป็นสวนบนหลังคา บนนีเ้ ราก็คยุ กันไว้วา่ จะทำให้ เป็นต้นไม้ เหมือนอาคารกลุม่ นีอ้ ยูใ่ นป่า ให้ภมู สิ ถาปัตยกรรมผสาน ขึน้ ไปข้างบน เหมือนกับทุกส่วนแต่งงานกัน แต่ไม่ได้บอกว่าอันนีจ้ ะ ต้องเด่น อันนีจ้ ะต้องเป็นรอง ทุกอย่างถูกผสมผสาน ดูแล้วรูส้ กึ กลม กลืนเป็นภาพเดียวกัน แล้วภาพนี้ก็ไหลมาถึงตรงบริเวณระเบียงชา ภายใต้หลังคาผืนใหญ่ ซึ่งคุณสมิตรคงได้เล่าในรายละเอียดต่อไป ผมก็ยงั คงความเรียบง่ายด้วยลานกรวด แล้วก็เสริมความเป็นพืน้ ถิน่ เข้าไป เช่น พืชสวนครัว คนไปนัง่ ทานอาหารก็จะเห็นเลยว่ามีตน้ พริก มีต้นโหระพา เป็นเรื่องที่คุยได้กินได้ ฉะนั้นทุกอย่างผมว่าเป็นสิ่งที่ ดีที่สุดจากสิ่งที่เป็นอยู่ และเราก็ซื่อตรงกับสถานที่ตั้ง เราทำออกมา อย่างนั้นจริงๆ โดยให้ความรู้สึกเหมือนกับว่าปราศจากความตั้งใจ เพราะฉะนั้นเมื่อคุณดูจากล็อบบี้มา ทุกส่วนก็สร้างความผ่อนคลาย ให้เห็นแล้วว่านีแ่ หละรีสอร์ท นีแ่ หละคือสิง่ ทีเ่ ราพยายามจะนำเสนอ ให้มีความเป็นธรรมชาติหลงเหลืออยู่ สมิตร : ผมไม่ชอบสวนครัว สวนผักจะเป็นต้นเตี้ยๆ ผมอยากได้ต้นสูงๆ บังแดด กินในป่า... ไม่กินในสวนครัว พงษ์เทพ : คุณสมหวังเรียกสวนแบบนี้ว่าอะไรครับ สวนป่าหรือ สมหวัง : ไม่ใช่สวนป่าครับ ผมว่าเราพยายาม regional landscape ใน โซนนี้มากกว่า ซึ่งผมมองว่าสิ่งที่ควรจะเป็นก็คือธรรมชาติด้านหลัง พอ เข้ามาในส่วนที่เป็นคอร์ท ในส่วนที่มีการกำหนดเหมือนกับกำแพง ที่เรา คุยกันว่าเข้ามาอีกส่วนหนึ่ง นั้นคือส่วนที่สร้างเป็นอาคารขึ้นมาแล้ว แล้ว ส่วนที่เป็นภูมิทัศน์ที่มนุษย์สร้างขึ้น ในประวัติศาสตร์ของเราจะไม่มีเรื่อง ของประวัติศาสตร์สวนไทย ที่เป็นแบบสวนทางการเหมือนสวนญี่ปุ่น สิ่ง ที่เรามีคือเกษตร ฉะนั้นเราจะแทนตรงนี้ด้วยเกษตร นั่นก็คือความเป็น ไทยจริงๆ และเป็นไทยที่เกี่ยวข้องกับที่ตั้งโครงการแบบนี้ คือธรรมชาติ เป็นสิ่งที่เรียบง่ายแล้วก็ซื่อตรงมาก แต่ต้นชาเป็นพันธ์ไม้ที่โตช้า ต้นชา ไม่ใช่ไม้ตลาดที่จะสามารถหาต้นใหญ่ๆ แล้วมาปลูกได้เลย คุณวีรวัฒน์ ต้องไปซื้อมาในราคาที่สูงมาก แต่ด้วยขนาดพื้นที่ที่เราอยากจะเน้นเรื่อง ความเขียวเป็นหลัก ในตอนนี้เราก็อาจมีต้นชาที่ยังโตไม่ได้ขนาด แต่ผม คิดว่าภายใน 4-5 ปีขา้ งหน้า คงจะคล้ายกับทีโ่ คลัมโบ เวลาทีข่ บั รถยนต์ วิ่งไปตามแนวสันเขา คุณจะเห็นไร่ชา แล้วของเราก็ไม่ใช่ไร่ชาเฉยๆ นะ เราได้เก็บต้นไม้เดิมๆ เอาไว้ แล้วเสริมต้นไม้ที่เป็นพันธุ์ไม้ป่าเข้าไปด้วย ฉะนั้นเรื่องของต้นไม้นี่ก็เป็นอีกธีมหนึ่งที่เราคุยกันว่า เราจะใช้ทุ่งหญ้า หรือหญ้าธรรมชาติสำหรับพื้นที่โล่งๆ ใหญ่ๆ แม้แต่คุยกันว่าเราอยากจะ ให้มมุ มองจากตรงสระว่ายน้ำ มองลงมาเห็นภาพรวมของโครงการทัง้ หมด ซึ่งคุณสมิตรก็สนับสนุนความคิดนี้เต็มที่ ก็เลยเห็นพ้องกันว่า คงจะต้อง เป็นประเภทวัชพืชเลย ไม่ใช่หญ้าสวยๆ แบบหญ้านวลน้อย
that one of the reasons he chose design companies that aren’t too big is because the experienced seniors of
24
these companies will be the ones who take of the project themselves. Pongthep: Exactly. We all liked working: coming to the site, figuring out problems and exchanging ideas. Somwong: It is very important that designers feel their worth in a project so they can be united by the same objective, and this is not just to do with the business aspects. Everyone should make the best of their abilities. Smith: I am not a veteran but I am a senior in my company; I cannot take care of everything by myself. Though I visited the site often to fix and re-do things but Khun Piyadoa and Khun Sirichai might say “oh, let it go”. Nevertheless I did a lot of work with the layout, plans, perspectives and elevation. Pongthep: I have considerable experience with resorts and hotels and I know it will be difficult if the conditions are not right to integrate the ideas of the different designers. When I work I need connecting points that link me to the architecture generally and/or the landscape. It’s so much better to develop your ideas with others as a team. Good design will be built from a united effort.
Chiang Mai : the High Resort
Khun Verawat said to me
25
VERANDA
Pongthep: As Khun Somwong said, if this project was an international hotel chain we could never have done what we did because of certain standards and procedures. But this project was fun because Khun Verawat was the one who made the decisions; he treated the project like his own house.
ส่วนสวนบนหลังคา ในตอนแรกผมว่าจะปลูกต้นไม้ให้ลักษณะเป็น แท่งๆ เหมือนเป็นฉากด้านหน้า ต้นไม้อยู่ในป่า สวนบนหลังคาตรงนั้น ก็คือปลูกวัชพืชเลย ฉะนั้นเมื่อเวลาที่มองลงมาจากมุมสูง ก็จะคล้ายกับ บรรยากาศของภูมทิ ศั น์ทอี่ ยูด่ า้ นล่าง ก็กลับขึน้ มาอยูข่ า้ งบนด้วย ผมเรียน ตรงๆ ได้เลยว่า ถ้าเป็นรีสอร์ทระดับนานาชาติ โอกาสที่จะทำแบบนี้ได้ น้อยมาก สมิตร : คุณวีรวัฒน์ชอบวัชพืชบนหลังคา จะได้ไม่ต้องดูแลมาก ถ้า หญ้าบนหลังคาเนี๊ยบๆ ก็จะเหมือนโรงแรมในเมืองเกินไป…แต่ตอน ใกล้เปิดก็ยังมาถามย้ำกับผมว่า “เอาอย่างงี้จริงๆ นะพี่” เราก็อืออือ ไม่งั้นไม่เท่ห์..แกชอบเท่ห์ๆ อยู่แล้ว ต้นไม้ในโครงการนี้ ต้องใช้การดูแลมากเป็นพิเศษ หรือไม่ครับ พื้นที่เยอะมากพอสมควร สมหวัง : สำหรับพวกที่เป็นต้นไม้ใหญ่ๆ ก็คงจะไม่มีปัญหา เพราะเป็น ไม้ทอ้ งถิน่ ทัง้ นัน้ อาจจะมีเรือ่ งพวกทุง่ หญ้ามากกว่า ทีจ่ ะต้องมีการควบคุม การตัด คือต้องคอยตัดเล็มดูแล เพราะพวกนี้ถ้าเกิดเราทิ้งไว้ระยะหนึ่ง แล้วหากไม่ดแู ล ก็จะเฉาแล้วจะฟืน้ กลับมายาก เพราะฉะนัน้ เราต้องคอย ดูแลไม่ให้เป็นไปตามธรรมชาติ อันนีค้ อื ภาพรวมและเรือ่ งของบรรยากาศ โดยรวม ผมพยายามเล่าให้เห็นที่มาที่ไป และเหตุผลของการออกแบบ ให้ออกมาเป็นลักษณะนี้ เพราะผมคิดว่าเป็นเรื่องสำคัญ สมิตร : ร้านอาหารในทุ่ง (ระเบียงชา) อยากให้มีเรื่องของธรรมชาติ มากๆ เป็นความฝันของผมที่จะได้ทานข้าวกลางป่าต้นไม้เยอะๆ แต่ ฝนตกจะทำอย่างไรดี ผมก็เลยใส่ยุ้งข้าวไว้หลบฝน แล้วคนขี้ร้อนทำ อย่างไรดี ก็เลยติดแอร์ในยุง้ ข้าว...แล้วถ้าคนเยอะๆ จะหลบฝนเข้ายุง้ กันได้หมดเหรอ ก็เลยต้องทำหลังคากระจกกว้างๆ จะได้เปียกกันแค่ เล็กๆ น้อยๆ ต้องคอยตอบคำถามตลอดเวลา แต่เราเริม่ ด้วยความฝัน เริ่มด้วยอารมณ์ก่อน แหม...เปียกฝนนิดหน่อยจะเป็นไรเชียว พงษ์เทพ : ถ้าเป็นรีสอร์ทของต่างประเทศมาเปิด อย่างที่คุณสมหวัง ว่านะ ผมว่าสิ่งต่างๆ ที่เราทำมาทั้งหมดนี้ รับรองว่าไม่ได้ทำเลย ผมคิด ว่าเขาคงไม่ให้ผ่านมาตรฐานต่างๆ ของเขาทั้งหลาย คือตั้งแต่แขกมา ต้องเดินสะดวกสบาย ทางเดินจะมีบนั ไดเยอะๆ ก็ไม่ได้ ทีนเี้ วลาการทำ โครงการ ถ้าผู้บริหารโรงแรมกับเจ้าของโครงการ เป็นผู้ตัดสินใจเพียง คนเดียวนี่ ผมว่าจะสนุกตรงนี้ คือถ้าเขาสนุกกับเราด้วยก็เหมือนกับบ้าน
Is there anything you would want to go back
Pongthep: For me, I think, the construction work. I think it could have been done better. But given our time limits the construction emerged pretty good; 14 months is pretty quick for a project of this scale. Smith: I think 14 months for construction and the interior design was too rushed. The design took 4 months and we were working on drawings while the construction was underway. We pretty much built and fixed at the same time. Khun Verawat said that
26
it will take at least a year for the resort to become well-known on the international market.
Most people who come to the resort won’t notice the details like a designer would. It is only us who see the mistakes in the project. Smith: I think Khun Verawat has his own methods in terms of decision-making. He has a personal combination of alarm clock, calculator and love of art, so he knows when to make decisions, when to pay and how to understand beauty. Because of his professional background he undeniably saw this project as a business. But, in terms of balance, he knows the value of art and beauty and what is sufficient in this regard. Also, Khun Verawat is very relaxed so problems are solved easily. Somwong:
Is it because Khun Verawat is experienced in construction that he can do all the fixing by himself? Smith: I don’t think so because sometimes the problems emerged from the design. But Khun Verawat was always satisfied with the results. When you have this type of client you often have to change your perspective and your attitude. Nothing is going to be perfect but Khun Verawat was understanding and positive and this affected the project a great deal.
ต่างๆ ที่เราได้ทำสิ่งที่สนุกๆ ร่วมกัน ซึ่งผมว่าไม่มีโอกาสที่จะได้ทำกับ โรงแรมที่เป็นระบบการจัดการ ของระบบโรงแรมต่างประเทศ (chain management) ทัง้ ในเรือ่ งของสถาปัตยกรรม ภูมสิ ถาปัตยกรรม หรือว่า ออกแบบภายใน ทุกอย่าง ผมว่าผลลัพท์ก็คงไม่ได้ออกมาเป็นอย่างที่ เราเห็นกันนี้ ตามที่ได้ไปคุยกับคุณวีรวัฒน์ นี่คงเป็นสิ่งหนึ่งที่เขาตัดสินใจเลือก บริษัทออกแบบที่มีขนาดไม่ใหญ่จนเกินไปนัก เพราะบริษัทใน ขนาดนี้ “รุ่นใหญ่” หรือ “ระดับบริหาร” มักจะมาลงมือเองกับ โครงการแบบนี้เอง มาดูที่ดินเอง มาดูหน้างานก่อสร้างเอง พงษ์เทพ : ใช่ คือผมเองก็ชอบอยู่แล้ว เรื่องการมาตรวจดูที่หน้างาน ก่อสร้างเอง ดูนู่นดูนี่ แก้ปัญหาหน้างานกับคุณสมิตร คุณสมหวัง หรือ แม้แต่กับคุณวีรวัฒน์ แล้วผู้ช่วยผมเขาก็ชอบ เพราะเป็นเรื่องที่สนุก สมหวัง : สิ่งนี้ผมว่าเป็นเรื่องที่สำคัญมาก เมื่อไหร่ก็ตามที่เรานัก ออกแบบเริม่ รูส้ กึ ว่า เราเป็นส่วนหนึง่ ทีส่ ำคัญในงานนัน้ ๆ ไม่ใช่เป็น แค่เพียงในเชิงของธุรกิจ ผมว่าเรื่องความคิดต่างๆ ที่ออกมาจะออก มาดีกว่าเยอะ ต้องยอมรับว่าบางงานออกแบบที่ทำ ต่างก็ให้ความ รู้สึกกับผู้ออกแบบที่ไม่เหมือนกัน ความรู้สึกในงานหนึ่งงาน กับอีก โครงการกับอีกทีมหนึ่ง ตรงนี้... อย่างที่ผมบอกตอนต้นๆ เรื่องของ ปฏิกริยาเคมีในการทำงานเข้ากันได้ดีนี้มีความสำคัญมาก แล้วเมื่อ ไหร่ก็ตาม ถ้าเรารู้ว่าเป็นส่วนหนึ่งร่วมกันแล้ว เราก็อยากจะให้งาน ออกมาดี แล้วก็จะสามารถทำแบบนั้นได้กับทุกงาน ผมเชื่อว่าถึงแม้ ว่าอาจจะไม่ได้ 100% แต่ก็ออกมาเป็นงานที่เราพอใจ สมิตร : ผมไม่ใช่รุ่นใหญ่ เพียงแต่ใหญ่ในบริษัท ดูคนเดียวไม่ไหวหรอก ไปดูบอ่ ยก็แก้บอ่ ย ผูช้ ว่ ยผมซึง่ เป็นสถาปนิกโครงการนี้ คือ คุณปิยะดาว กับ ศิรชิ ยั เขาก็ผลัดกันไปดู บางทีเขาเห็นอะไรบางอย่างก็ยังแอบกระซิบกันว่า “อย่าไปบอกพี่ปุ๋ย” บางทีพอมันเลยไปแล้วก็แล้วกัน แต่ถ้าถามว่าลงมือ เองไหม ก็เยอะทีเดียว lay out, plan, tive รูปด้าน เกือบหมดแล้ว พงษ์เทพ : ผมทำงานรีสอร์ทมาพอสมควร แต่ผมจะทำงานไม่ได้ ถ้าไม่ได้เจอหน้ากับภูมิสถาปนิก หรือไม่ได้เจอหน้ากับสถาปนิกที่ ออกแบบโครงการนั้นเลย คือผมไม่รู้ว่าจะไปถามใคร แล้วจะไป ต่อความคิด หรือคิดส่วนออกแบบของผมกันได้อย่างไร ใครคิด อะไรกันไว้บ้าง ผมทำไม่ได้ แล้วงานทั้งหมดก็ออกมาไม่สมบูรณ์ บางครัง้ ผมได้แค่ขอบเขตงานของผมทีเ่ ขาขีดเส้นมาให้ แต่ตรงรอย ต่อต่างๆ เช่น รอยต่อของงานออกแบบภายในกับสถาปัตยกรรม หรือภูมิสถาปัตยกรรม ผมไม่สามารถที่จะไปทำอะไร แล้วก็ไม่รู้ จะคิดให้ต่อยอดออกไปได้อีกอย่างไร คิดอย่างไรก็ไม่ออก คือคิด ไม่ออกจริงๆ นะ จะออกแบบอะไรลงไปดี บางโครงการ ผมเคย เจอว่าให้ทำงานออกแบบภายในไปทำก่อน แต่งานภูมิทัศน์ยังไม่ เริม่ ทำ ทัง้ ๆ ทีผ่ มคิดว่าควรจะต้องไปด้วยกัน เพราะสำหรับผมแล้ว สำหรับงานออกแบบทีด่ แี ล้ว ทุกส่วนจะต้องเริม่ งานไปพร้อมๆ กัน
27
VERANDA
Mai project?
Chiang Mai : the High Resort
and fix for the Chiang
design of the rooms. How would you like the guests to feel?
I want people to feel comfortable and relaxed. But, of course, I also want the guests to experience something unique so the Veranda Chiang Mai will be special. The rooms all have individual details, for example, the textiles we used for each of the beds are all different.
Pongthep:
Did you get to test new ideas?
28
Pongthep: Yes. After discussions with Khun Smith we, for example, decided to paint the walls rather than leave the cement bare as planned. The latter seemed too untidy-looking. We paid great attention to details because we want people not to want to leave! Guests can read, lie down, watch TV or movies, perhaps do some work, and generally feel relaxed and comfortable. So did you do anything special for the landscape design in this regard? Somwong: The project has a very large area and the climate is pretty hot, so I created a type of complex to house different activities: swimming, fitness, a spa and a children’s area. However, we had to create a balance because there are buildings scattered all over the area. So, for example, we also have a dip pool where we serve drinks so you don’t have to walk to the restaurant upstairs when you just want to hang out. We also designed an underwater walkway that goes through the dip pool from the guests’ rooms and to the restaurant. This feature is like an activity, to do with the experience of space. Pongthep: Because of the large area of Veranda Chiang Mai we could create more activities than with Veranda Hua Hin. If I were a guest here I would imagine myself walking through different areas and planning my activities for each day. We want to stimulate people with different types of spaces while also having a good time.
แล้วทางเจ้าของโครงการเหล่านั้น ก็ไม่ได้ให้ความสำคัญกับส่วน ต่างๆ ที่ว่านั้นเลยหรือครับ พงษ์เทพ : ไม่ค่อย หรือบางทีก็ไม่สนใจ คือบางโครงการ แต่ละส่วน นักออกแบบเขาก็อยากจะทำส่วนของเขา ให้ดีที่สุดเพียงอย่างเดียว โดยทีไ่ ม่คดิ ว่าส่วนอืน่ ๆ นัน้ ก็สามารถเข้ามาส่งเสริม หรือสร้างสิง่ ต่างๆ ให้ดีขึ้นได้ ในโครงการวีรันดาที่เชียงใหม่นี้ มีส่วนไหนของการทำงานที่คุณ พงษ์เทพอยากจะกลับไปเปลี่ยนบ้างหรือเปล่าครับ พงษ์เทพ : สำหรับผมก็มีเรื่องฝีมือของงานก่อสร้างครับ ซึ่งผมว่างานที่ ออกมาน่าจะทำได้ดีกว่านี้ แต่ด้วยกำหนดการเปิดของโครงการ ด้วย โอกาสทางธุรกิจต่างๆ ก็เลยทำให้ต้องเร่งเปิด นับเป็นรีสอร์ทที่เสร็จเร็ว มากนะตั้งแต่ผมทำงานออกแบบมา (หัวเราะ) เราใช้เวลากี่เดือนถึงจะ ทำแบบจนเสร็จครับคุณสมิตร สมิตร : ถ้านับเวลาของการก่อสร้าง ไปจนถึงงานตกแต่งภายใน พวกนี้ใช้เวลาประมาณ 14 เดือน ผมว่างานนี้เร่งไปนิดหนึ่งนะ เวลา ที่ใช้ไปกับส่วนออกแบบอยู่ประมาณ 4 เดือน เริ่มสร้างแล้วก็ทำแบบ ไปด้วย ทำต่อๆ กันไปเรือ่ ยๆ สร้างไปแก้แบบไป ทำก็เลียนแบบพีๆ่ ที่ มีงานดีๆ หลายๆ ท่าน คือสร้างไป แล้วก็ทุบไปเหมือนกัน คุณวีรวัฒน์บอกว่าทีเ่ ชียงใหม่นี่ เขาให้เวลาทีมออกแบบมากไปนิด แกว่าไม่เคยทำโรงแรมที่ไหน ให้เวลานานทั้งปีขนาดนี้ สมหวัง : ปกติผมว่ารีสอรท์ขนาดนี้นับว่าเร็วมากเลยนะ สมิตร : ที่หัวหิน ผมก็ว่าเร็วแล้วนะ ที่หัวหินค่าที่ดินสูงมาก คุณวีรวัฒน์บอกว่าเลยต้องเร่งหน่อย แต่ เชียงใหม่ที่ดินไม่สูงเท่า เลยให้เวลาส่วนออกแบบมากหน่อย พงษ์เทพ : ก็เพิม่ มาแค่ 2 เดือนเอง (หัวเราะ) ผมว่าถ้าเป็นลักษณะของ โครงการขนาดนี้ อย่างน้อยๆ ต้อง 18 เดือนเลยนะ แต่ถ้าเกิดเป็นรีสอร์ทของต่างประเทศมาเปิด ก็จะต้องทำกันให้ เร็วกว่านี้ใช่ไหมครับ พงษ์เทพ : ต้องช้ากว่านีค้ รับ ทีผ่ มทำอยูต่ อนนีก้ ็ 2 ปีครับ เพราะว่าเป็น สิ่งที่ถูกกำหนดมาเลยว่า จะต้องมีช่วง pre-opening มี soft run มีการ ทดสอบและตรวจสอบระบบต่างๆ กว่าจะเปิดได้จริงอย่างน้อยๆ ก็ใช้ เวลา 2 ปี ครับ คุณวีรวัฒน์ก็บอกเหมือนกัน ว่าต้องใช้เวลาอย่างน้อยหนึ่งปีกว่า ตลาดในต่างประเทศจะรู้จักแล้วก็มาพักกัน พงษ์เทพ : เรื่องนี้ผมเอง ก็ได้แลกเปลี่ยนกับคุณวีรวัฒน์เหมือนกันนะ ผมบอกไปว่าแต่ถา้ เปิดไปแล้วไม่สมบูรณ์ ถ้าคนทีเ่ ข้ามาพักแล้วไม่รสู้ กึ ประทับใจอะไรเลยขึน้ มา แล้วก็เริม่ ติกนั มากๆ จะเป็นผลเสียมากกว่านะ คุณวีรวัฒน์ก็บอกไม่เป็นไรครับ คนชอบก็มี คนชอบเยอะกว่าคนชังไม่ เป็นไร เจ้าของเองเป็นคนพูดอย่างนี้ (หัวเราะ)
Chiang Mai : the High Resort
concepts for the
29
VERANDA
Please discuss your
How did you imaginations first respond to the empty land? Smith: Throughout this project I imagined the scene from the movie ‘Gladiator’ when Maximus is about to die and he visualizes himself walking through a meadow. I also held images of Mount Meru and water. I like the image of water leading to and disappearing in a field but Khun Verawat wanted a rice field, which looks good during the rainy season, and a tea field for the winter. Somwong: Khun Verawat said he wanted this project to use less water because the condition of the land here is different from Hua Hin. Here the levels are diverse so it would be quite a heavy task to use a lot of water like we did at Hua Hin. We used what was really necessary, to contribute to the theme and when it could be used naturally. []
Chiang Mai : the High Resort
31
VERANDA
30
สมหวัง : ส่วนใหญ่คนที่จะเห็นคือคนที่เข้าใจ แล้วก็เห็นคุณค่าของ งานออกแบบ บางทีคนทั่วๆ ไปที่มาพัก อาจจะมองข้ามไปมองว่า ไม่เป็นไร คุณวีรวัฒน์อาจจะบอกเป็นนัยยะว่า คนที่มาพักรีสอร์ท ของเขาส่วนใหญ่ เป็นคนประเภทที่ไม่ได้จะมาสนใจ หรือมานั่งดู รายละเอียดพิเศษต่างๆ แต่เพราะว่าเป็นพวกเรากันเอง ที่เวลาไป ดูกันกี่ครั้ง เห็นข้อผิดพลาดกันทุกครั้งไป พงษ์เทพ : เราเป็นพวก attention to details สมหวัง : คือผมเข้าใจว่า ช่วงแรกๆ คนทีม่ าพักทีน่ ี่ คุณวีรวัฒน์กจ็ ะ เชิญเป็นกลุ่มพิเศษตัวอย่างของเขาเท่านั้น สมิตร : ผมคิดว่าคุณวีรวัฒน์มีหลักการของตัวเองในการตัดสินใจ แกมี นาฬิกาปลุก เครือ่ งคิดเลขและความรักศิลปะอยูใ่ นตัวเท่าๆ กัน เพราะฉะนัน้ แม้เราอยากจะให้แกมองความเนีย๊ บ ความงาม ก็ขน้ึ อยูก่ บั ว่าเมือ่ ไหร่ แกจะ ใช้สว่ นไหนมอง แกจะรูเ้ มือ่ ไหร่ทจ่ี ะต้องตัดสินใจ เมือ่ ไหร่ตอ้ งจ่าย เมือ่ ไหร่ ต้องสวย... สมหวัง : อาจจะเป็นเพราะคุณวีรวัฒน์สวมหมวกเป็นผู้รับเหมาฯ โครงการนี้เสียเอง ฉะนั้นทัศนคติก็จะเป็นไปอีกแบบหนึ่ง ถ้าสมมุติ ไม่ได้เป็น การตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ก็อาจจะไม่ใช่อย่างนี้ก็ได้ สมิตร : ผมว่าก็ไม่ใช่ทั้งหมดเสียทีเดียวนะ คือถ้าเรามองว่าวิชาชีพของ เขาแบบนั้น จะทำให้เขาตัดสินใจแบบนั้น ผมว่าไม่ใช่ คือเขาดูแลธุรกิจ ทั้งหมด แล้วเขาก็มองเป็นธุรกิจพอสมควร แล้วมองว่าถ้าสมดุลได้แล้ว คุณค่าของความงาม ความเป็นศิลปะ ที่ทีมออกแบบอย่างพวกเราทำให้ ก็ได้เพียงพอแล้ว ผมคิดว่าอันนี้ คือคุณวีรวัฒน์เป็นคนทีเ่ รียกว่า “พอเพียง” ก็คงจะได้ เพราะเขารู้ว่าแค่ไหน ว่าเป็นอย่างนี้ไม่ได้นะ แต่ไม่เนี้ยบเลย ถ้า อย่างนั้นก็คงจะติดกันไปใหญ่ แต่เขาก็คงจะยืนยิ้ม ซึ่งเขาก็คงจะเป็นคน อายุยืนน่ะ เป็นคนสบายใจดี เจอใครติก็จะยิ้มๆ โอ้...ไม่เป็นไรหรอก แล้ว เขาก็จะไม่เครียด เราจะทำอย่างไรดีผนัง น้ำตกรั่ว ไม่เป็นไรก็ซ่อมไป.... เพราะคุณวีรวัฒน์เป็นคนซ่อมได้เองหรือเปล่าครับ ก็เลยไม่ทุกข์ ไม่ร้อนมากนัก สมิตร : ผมก็วา่ ไม่นะ คือหลายๆ ครัง้ ปัญหาบางทีกเ็ กิดจากการออกแบบ ของพวกเราเหมือนกัน อย่างของคุณพงษ์เทพ หินขัดจะทำออกมาให้เป็น เหลีย่ มๆ ก็ทำได้ยาก หรืออยากได้ได้หนิ ขัดสีดำ พอสีดำเสร็จ ตอนก่อสร้าง ไม่มีไฟคือจะขัดได้อย่างไร มันมืด แล้วก็มองพื้นผิวสะท้อนไม่ออก เพราะ ฉะนั้นสิ่งที่ออกมาได้คือพอแล้ว ผมก็ต้องยอมรับครับ ถ้าคุณเจอลูกค้า อย่างนี้ คุณก็ต้องเปลี่ยนความคิดและจิตใจของคุณใหม่ ถ้าคุณเจอลูกค้า ประเภทไอ้นั่นก็ไม่ได้ ไอ้นี่ก็ไม่ได้ มีแต่เสียงติ เสียงบ่นให้ฟังกันตลอดเวลา นั้นก็จะมีเรื่องติมาถึงคุณด้วย บ่อยครั้งที่แบบของเราเองก็มีผิด ใครจะไป สมบูรณ์แบบได้ขนาดนั้น คุณวีรวัฒน์แกก็ว่าไม่เป็นไร เดี๋ยวก็แก้กลับให้ หน่อยแล้วกัน เป็นคนทีเ่ ข้าใจสิง่ ต่างๆ ไดดี คิดในแง่บวกน่ะครับ งานก็เลย ออกมาเป็นอย่างนี้ ถ้าได้ไปดูก็จะเห็น แต่คนทำงานทุกคนเกรงใจแกมาก นะครับ พงษ์เทพ : เราไม่ได้ทำโรงแรมในแบบของคุณองอาจ สาตรพันธ์ ใช่ไหมครับ สมิตร : พี่หมายถึงในแง่ไหนครับ โรงแรมที่สวยที่สุด และผมชอบที่สุดก็ คือโรงแรมราชมรรคา (ออกแบบโดยคุณองอาจ สาตรพันธ์) จนทุกวันนี้ถ้า
Chiang Mai : the High Resort
33
VERANDA
32
ได้มีโอกาส ก็จะไปพักเพื่อเอาอีกอารมณ์หนึ่ง วีรันดาที่เชียงใหม่นี้ ก็มี อิทธิพลของราชมรรคามาก ผมลอกเก่ง ลอกแบบให้ดูไม่รู้ พงษ์เทพ : ที่ผมอ้างถึงโรงแรมราชมรรคา ก็เพราะว่าชื่นชมใน ความละเอียดของคุณองอาจ เพราะว่าที่นั่นละเอียดที่จะหยาบ ตั้งใจที่จะให้หยาบถึงขนาดนี้ ตรงไหนที่เป็นอย่างนี้ ก็ต้องอย่างนี้ ต้องชัดเจน ของเราที่นี่ถือว่าเป็นเรื่องโชคดี บังเอิญ แต่ราชมรรคา ของคุณองอาจผมว่าไม่มี เพราะทุกอย่างท่านได้เห็นภาพล่วงหน้า หมดแล้ว และเป็นสถาปนิกที่พวกเราให้ความเคารพมาก ตั้งแต่ ทำโรงแรมมะขาม พอเห็นเสร็จเห็นแล้วก็ตกใจนะ ต้นไม้ต้นเดียว อยูก่ ลางคอร์ท ผมอยากให้โรงแรมทีเ่ ราทำมีความดิบ มีความหยาบ ทีจ่ ะต้องเป็น แต่ในส่วนทีเ่ นีย้ บ ก็ตอ้ งเนีย้ บ แต่วา่ ผลทีอ่ อกมาไม่ได้ เพราะออกมาแล้วดูไปทางเดียวกันหมดเลย ปัญหาเรื่องการก่อสร้างล่าช้า คุณวีรวัฒน์ทำธุรกิจด้านนี้อยู่แล้ว ก็ไม่น่าจะมีปัญหาเรื่องนี้ใช่ไหมครับ พงษ์เทพ : คุณวีรวัฒน์ก็เอาช่างของเขาเองมาหมด แต่บริษัทวิวัฒน์ ก่อสร้างเอง ก็ไม่ได้ชำนาญในการทำโครงการที่มีรายละเอียดมากมาย ขนาดนี้หรอก ปกติจะรับงานที่เป็นราชการส่วนใหญ่ ทำพวกโครงสร้าง ใหญ่ๆ เช่น สนามกีฬา ทำถนน พอเจองานนี้เข้าไปก็แทบแย่เหมือนกัน แต่อันที่จริงคุณวีรวัฒน์ก็ทำ Banyan Tree phase 2 นะ ตอนที่คุณพงษ์เทพเริ่มออกแบบห้องพัก มีแนวคิดอย่างไรครับ อยากให้ผู้ที่มาพักได้ประสบกับสิ่งใดบ้างครับ คุณพงษ์เทพอยาก จะเน้นส่วนไหน แล้วก็ด้วยวิธีอย่างไรครับ พงษ์เทพ : ผมอยากจะให้รีสอร์ทนี้เข้ามาพักแล้ว อยู่ได้อย่างสบายๆ คุณสมิตรก็ทำห้องพักไว้ใหญ่กว่ามาตรฐานอยู่แล้ว ก่อนหน้าที่จะมา เตรียมการ เราก็มาช่วยกันคิดกันอยู่หลายแบบในแง่ของผังห้องพัก กว่าจะมาถึงแบบทีเ่ ห็นได้นี้ ก็ผา่ นการทดลอง และการคิดมาแล้ว หลายแบบมากเลย ไม่ใช่โผล่มาเลยก็ได้เลย แน่นอนว่าเราไม่อยากให้ ที่นี่ไปเหมือนกับรีสอร์ทที่อื่น อยากให้มีความเป็นพิเศษ อยากจะให้มี ลักษณะเฉพาะของตัวเอง คือเห็นแล้วจำได้ ไม่ใช่ เอ...นีโ่ รงแรมอะไรหนอ ดูแล้วคุ้นๆ ตามากแต่นึกไม่ออก อยากให้พอเห็นรูปถ่ายแล้วจำได้เลย ว่าเป็นวีรันดา ที่เชียงใหม่แน่นอน อย่างไรก็ตามผมก็คิดว่า ห้องพักโดยมาตราฐานแล้วก็มีอยู่ 2-3 แบบ อยากให้ลักษณะหรือบุคคลิกเฉพาะทำออกมาแล้วต่างกันและดู ออกเลย อย่างห้องที่เป็น superior ธรรมดา ความกว้างของช่วงเสาอยู่ ที่ 5 เมตร เราก็อยากให้สัมผัสอารมณ์ของเชียงใหม่เพิ่มขึ้นมานิดหนึ่ง ส่วนที่เป็นของวิลล่าก็อยากให้ดูสบายๆ เป็นอารมณ์ต่อเนื่องจากวิลล่า ที่หัวหิน ที่เป็นหาดทรายขาวๆ ให้มีความแตกต่างสำหรับแขกผู้มาพัก ซึง่ เวลาเข้ามาพักในแต่ละครัง้ ก็จะได้รสู้ กึ ว่าเปลีย่ นบรรยากาศ และคิด ว่างานประดับพวกศิลปะต่างๆ ทีอ่ ยูใ่ นห้องพักก็มคี วามสำคัญ อยากจะ ได้ไม่เหมือนกัน เช่น ผ้าบุทอี่ ยูห่ วั เตียง ก็จะสัง่ ให้ทอพิเศษ ไม่ให้เหมือน กันเลย เป็นหลากหลายรูปแบบ ไม่ยึดติดกับแบบใดแบบหนึ่ง เหมือน กับเป็นการผสม ผมคิดว่าสิง่ ใดทีเ่ หมาะสม ก็นา่ จะนำมาใช้ได้ อย่างเช่น ลวดลายที่ผนัง หรือที่หัวเตียง ก็นำเอามาจากลวดลายของรูปเขียนที่ เชียงใหม่ แล้วก็สอดใส่กระจกสีเข้าไปบ้าง
Chiang Mai : the High Resort
35
VERANDA
34
ลายผนังบนหัวเตียงของห้องพัก คุณพงษ์เทพลองหาวิธีคิดของตัว เองใหม่หมดเลยใช่ไหมครับ พงษ์เทพ : ครับ..ลองดูกัน คุยกันไปกันมาระหว่างผมกับคุณสมิตร พอ สุดท้ายออกมาไม่ได้อย่างที่คิดเอาไว้ ก็ต้องกลับไปเป็นการทาแลงโก้ (lanco) คือเดิมทีผมจะให้เป็นซีเมนต์ธรรมดา แต่พอทำออกมาแล้วมี ปัญหาเรื่องที่งานออกมาไม่เรียบร้อย เลยต้องใช้วิธีการทา ความตั้งใจ เดิมคืออยากให้ผนังออกมาดูเนีย้ บ แต่กไ็ ด้ออกมาไม่มากนัก แต่ในภาพ รวมๆ ก็ใช้ได้ครับ แล้วก็คดิ ถึงเรือ่ งห้องน้ำทีม่ ขี นาดใหญ่ เราเน้นห้องน้ำ ที่ใหญ่ๆ สบายๆ สมิตร : เพราะเราไม่เชื่อว่าคอนกรีตจะแพง เราก็ขยาย (หัวเราะ) ไม่ ต้องมีการขอเตียงเสริมเลย ในกรณีที่มีเด็กเล็กมาพักด้วย ห้องพักเรา ใหญ่พอทีจ่ ะนอนได้ 3 คน space ทีม่ มี ติ ทิ ต่ี า่ งไป คนจะรูส้ กึ ได้นะครับ กว้างก็กว้างให้เห็น ถ้ายาวก็ให้ตา่ งกันไปเลย ทีเ่ ชียงใหม่ เราเน้นกว้าง เพราะที่เรามีเยอะ พงษ์เทพ : คนที่จะไปพักที่เชียงใหม่ เวลามาแล้วเราไม่อยากให้เขาไป ทีอ่ นื่ อยากให้นงั่ อ่านหนังสือเล่น นอนเล่น ดูโทรทัศน์ ดูหนัง หรือจะเอา งานมาทำ ไปสระว่ายน้ำ คืออยากจะให้ใช้ชวี ติ อยูใ่ นรีสอร์ททัง้ หมดแบบ ที่มีความสุข โดยไม่ต้องออกไปไหนเลย ถ้าจะให้ได้อย่างที่ตั้งใจไว้ว่า ไม่อยากให้ออกไปไหน การออกแบบ ภูมิทัศน์จะมีการออกแบบสิ่งใดเป็นพิเศษไหมครับ เช่น กิจกรรม กลางแจ้งต่างๆ เพื่อเข้ามาสอดรับกับความคิดนี้ สมหวัง : ว่าไปแล้วในพื้นที่นี้ เนื่องจากสถานที่ตั้งของตัวโครงการนี้มี ขนาดที่ค่อนข้างใหญ่ และสภาพอากาศของเชียงใหม่ ถ้าอากาศร้อนก็จะ ร้อนมาก ผมพยายามที่จะสร้างบริเวณที่ผู้เข้ามาพัก สามารถเข้าไปใช้ และสร้างให้เกิดเป็นจุดกิจกรรมที่เกิดร่วมกันได้ และจะไม่พยายามที่จะ กระจายให้มากจนเกินไป อย่างกิจกรรมหลักๆ เช่น สระว่ายน้ำ ห้องออก กำลังกาย ห้องกิจกรรมสำหรับเด็ก หรือสปา เราก็จัดให้อยู่ใน complex อาคารสูงทีเ่ ดียว คือถ้าไปถึงแล้ว ก็สามารถใช้บริการได้อย่างสะดวกสบาย แต่ในขณะเดียวกัน เนื่องจากอาคารต่างๆ ที่ดูแล้วก็เหมือนจะกระจาย ออกไป เราก็พยายามที่จะสร้างความสมดุลย์ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น อาจ จะไม่ได้มีสระว่ายน้ำที่ว่ายกันได้ทั้งวัน เราก็จะจัดให้เป็น dip pool ซึ่งก็ อาจจะให้บริการเครือ่ งดืม่ ได้ดว้ ย คือถ้ามาพักแล้ว แต่ไม่อยากเดินไปทาน ทีห่ อ้ งอาหารชัน้ บนก็ไม่ตอ้ งไป มานัง่ เล่นอยูท่ นี่ กี้ ไ็ ด้ มีพนื้ ทีโ่ ดยรอบทีจ่ ะ นั่งอาบแดดอยู่บนหลังคาพวกนี้ มองออกไปเห็นทุ่งไร่ชา มีคนมาเก็บชา ให้ดู มีคนมาปลูกข้าว พงษ์เทพ : เราคุยกันถึงขนาดว่า อยากให้สระว่ายน้ำบนชั้น 4 นี้ ใส่เครื่องทำความร้อนเข้าไปด้วย เวลาถึงหน้าหนาวของเชียงใหม่ อากาศหนาวๆ นะ โอ้โห… ได้เลย สมหวัง : ใช่ครับ คือเรื่องจุดต่างๆ ที่ผู้มาพักจะได้ทำกิจกรรมต่างๆนั้นมี การพูดคุยกันเยอะมาก ตอนที่มีการคุยกันว่าสระว่ายน้ำจะอยู่ตรงนี่ เรา อยากให้มีอีกอันหนึ่งที่ใกล้กับระเบียงชา อาจจะใหญ่กว่านี้นิดหน่อย แต่ ด้วยปัจจัยหลายๆ อย่าง ทั้งเรื่องงบฯ แล้วเราก็ต้องการเพียงแค่เป็น dip pool แต่แทนที่จะเป็น dip pool เฉยๆ ก็อยากให้เป็นส่วนสำคัญที่พิเศษ อีกอันหนึ่ง คือเป็นส่วนที่ผู้มาพัก เวลาจะเดินจากห้องพักตรงกลางมาที่
Chiang Mai : the High Resort
37
VERANDA
36
ระเบียงชา จะต้องเดินมุดผ่านสระว่ายน้ำ เราทำให้เป็นเหมือนกับเป็นทาง เดินที่มุดลงไปในดิน แล้วแหวกน้ำลอดไป…. เวลาเดินจากที่สูง และเดินทะลุอุโมงค์มา คนจะเริ่มมีประสบการณ์ กับพื้นที่ว่าง แล้วก็เป็นกิจกรรมด้วย ส่วนพื้นที่ตรงกลาง อันนี้เป็นไร่ชา กับทุ่งนา ข้างๆ จะมีทางเดินและมีพื้นที่เล็กๆ ตอนเย็นๆ อาจจะจัดเป็น พืน้ ทีพ่ เิ ศษทีจ่ ดั เป็นมือ้ เย็นพิเศษส่วนตัว ฉะนัน้ ในเรือ่ งของกิจกรรมต่างๆ เราพยายามที่จะรวมเข้าด้วยกัน แล้วจะพยายามเน้นพื้นที่ใช้สอยให้เป็น กลุ่มๆ มากกว่า ส่วนพื้นที่ตรงกลาง เราก็จะสงวนไว้ให้เป็นพื้นที่สีเขียว แล้วก็อาจจะใช้ในรอบเย็นในเชิงพืน้ ทีพ่ เิ ศษ จากพืน้ ทีข่ องส่วนระเบียงชา ซึ่งถือว่าเป็นพื้นที่หลัก พงษ์เทพ : เชียงใหม่มพี นื้ ทีใ่ หญ่ ทำให้มโี อกาสสร้างสรรค์กจิ กรรม ต่างๆ ได้มากกว่าหัวหินเยอะเลย ทำให้ผมจินตนาการได้ว่าถ้าผม เป็นผูท้ มี่ าพัก ผมจะค่อยๆ เดินผ่านพืน้ ทีต่ รงนัน้ ตรงนี้ ได้มองเห็น ได้รู้จัก และสามารถวางแผนได้เลยว่า เดี๋ยวเย็นนี้จะมาที่นี่ พรุ่งนี้ จะย้ายตัวเองไปตรงโน้น ดึกๆ จะไปนั่งจิบไวน์ตรงนี้ คือผมคิดว่า ทีน่ นี่ า่ จะมีบรรยากาศลักษณะนี้ จะทำให้ผมู้ าพักรูส้ กึ ถูกกระตุน้ ว่า อยากจะไปใช้พนื้ ทีต่ า่ งๆ บางทีเ่ ราไปถึงรีสอร์ทนัน้ แล้ว ไปเห็นภาพ ก็จบแล้ว คือความรูส้ กึ ของทีน่ ี้ เราได้ใช้ตวั เองตัดสินได้วา่ เราอยาก จะเห็นอะไรในระหว่างทีเ่ ข้ามาพักผ่อน เช่น บางทีอยากจะเปลีย่ น มุมถ่ายรูป ตรงนั้นตรงนี้ ย้อนกลับไปตอนที่เห็นที่บริเวณตรงนี้เป็นที่ว่างเปล่า จินตนาการ กันไว้อย่างไรครับ สมิตร : ภาพที่ผมเห็นตลอดในการออกแบบโครงการนี้คือ ภาพจากใน ภาพยนต์เรื่อง Gladiator นี้คือในตอนที่พระเอกใกล้จะตาย แล้วเดินเอามือ ลูบทุ่งหญ้า ผมว่าเป็นจินตนาการที่เข้ามาใกล้ตัวผมตลอด ตอนแรกเรื่อง ท้องทุง่ และก็มเี รือ่ งของเขาพระสุเมรุ มีนำ้ คิดดูนะ น้ำโผล่ขน้ึ มา แล้วค่อยๆ ไหลหายไปเลย เป็นเรื่องทุ่งหญ้าที่คุยกันไว้ ถ้าตอนนี้ไปดู เป็นทุ่งหมดเลย คือกลับไปเหมือนเดิมให้มากที่สุด ผมเองอยากให้เป็นอย่างนั้น ทีแรกคุณ วีรวัฒน์อยากได้ทุ่งข้าว แต่หลายๆ แห่งที่เชียงใหม่นี้ก็ทำกันแล้ว เราจะไป ทำซ้ำอีกก็คงมีคนจำได้แล้ว แต่เหมือนที่คุณพงษ์เทพบอก ซ้ำก็ได้ ถ้าเป็น ของดี เลยเป็นภูมิทัศน์ที่มีทุ่งข้าว ทุ่งชา ใบชาสวยในฤดูหนาว ทุ่งข้าวสวย ในฤดูฝน เอ! แล้วหน้าร้อนจะเอาอะไรมาสวยดีหล่ะ สมหวัง : ที่นี้อาจจะไม่เหมือนกับที่หัวหิน ที่นี้คุณวีรวัฒน์บอกว่า อันนี้ขอน้ำน้อยหน่อยนะ ที่โน่นน้ำเยอะเพราะว่าขนาดที่ดินกระชับ แล้วเราก็ต้องพยายามสร้างความประทับใจ แต่ที่นี้แตกต่างเพราะ เรื่องของที่ตั้ง แล้วก็ระดับสูงต่ำก็เยอะ ถ้าเกิดอยากจะเล่นเรื่องของ น้ำให้เป็นเรื่องเป็นราว ผมว่าก็คงมหาศาล เพราะว่าเรื่องแรงดึงดูด ดังนั้นในแนวความคิดหลักของเรา ก็พยายามใช้น้ำที่เกี่ยวกับธีม ของเราจริงๆ แล้วก็ใช้ตามหลักธรรมชาติ ตามระดับความสูงต่ำของ พื้นที่ ไม่ใช้เกินจำเป็น. []
สถาปัตยกรรม คุณสมิตร หลังจากเสร็จโครงการวีรนั ดาทีห่ วั หิน ใช้เวลานานไหมครับ ที่ “วีรนั ดา เชียงใหม่ เดอะ ไฮ รีสอร์ท” จะเริ่มโครงการ หลังจากทีห่ วั หินเปิดและประสบความสำเร็จได้ประมาณ 1 ปี คุณวีรวัฒน์บอกผมว่า “พี… ่ ผมว่างานออกแบบ ที่เราช่วยกันทำขายได้นะ พอเราทำโรงแรมดีๆ คนก็มาชื่นชมงานออกแบบดีๆ กัน” ผมรู้สึกดีใจมากเลย รู้สึกว่า ประสบความสำเร็จแล้ว ผมนึกไว้ตั้งแต่เริ่มทำงานออกแบบว่า งานทุกชิ้นก็มีคุณงามความดีในตัวของมันเองนะ ด้วยที่ตั้งที่ไม่ไกลนัก เคยคุยกันต่อว่าอยากจะทำโรงแรมสวยๆ ในกรุงเทพฯ ด้วย ผมก็ช่วยคุณวีรวัฒน์หาที่ดินใน อารมณ์ที่อยากจะทำมาก จะเป็นที่ดินแถวริมแม่น้ำเล็กๆ ที่ไหนก็ได้ ทำได้กี่ห้องก็จะทำ คุยไปคุยมา คุณวีรวัฒน์ ไปนึกถึงภูเขา บอกว่าไปเห็นโรงแรมบาหลีที่สวยๆ และมักจะอยู่บนภูเขา แล้วบอกว่ามีที่ดินอยู่แปลงหนึ่งหลุด ธนาคารอยู่ พอไปดูปรากฏว่าอยู่ใกล้โรงแรม Regent ซึ่งก็คือโรงแรม Four Seasons ผมเองด้วยความเคารพ… เพราะโรงแรมนัน้ เป็นโรงแรมทีส่ วยทีส่ ดุ อันหนึง่ ในใจผม คูก่ บั โรงแรมราชมรรคาด้วย ลองคิดดูกแ็ ล้วกันว่าสถาปนิกกับเจ้าของโครงการนัน้ คิดกันได้อย่างไร มีทงุ่ นาข้าวอยูต่ รงกลาง Four Seasons เปิดมา 10 กว่าปีมาแล้ว ขายความเป็นเกษตรกรรม ความพอเพียง ความยั่งยืน ไม่ได้ชนะด้วยรูปลักษณ์ หรือรายละเอียดทางสถาปัตยกรรม แต่เป็นเรือ่ งแนวคิด แค่นง่ั มองท้องนา เวลาว่ายน้ำอยู่ แล้วเห็นคนกำลังทำนา แค่นี้ก็กินขาดแล้ว
Chiang Mai?
About a year after the success of the Hua Hin project, Khun Verawat told me that it is clear our work can sell. That is, people admire and appreciate good design. I was very glad. We began discussing the possibilities for a new project and Khun Verawat told me he was thinking about a mountainous site. He had seen beautiful hotels in the mountains of Bali and he told me about land available in Chiang Mai, which turned out to be close to the Four Seasons hotel. The Four Seasons is a hotel I admire along with the Ratchamaka hotel. The former has been open for more than 10 years now and the concept sells ideas of agriculture, sufficiency and sustainability. There is a rice field in the middle of the hotel and seeing the farmers working is just amazing. The Four Seasons doesn’t win by appearance or architectural details: the concept itself is unbeatable. The land myself and Khun Verawat initially looked at is in Mae Rim, close-by. The view from the slope is very nice. I sketched and tried to figure out the layout plan, coming up with the idea 50 rooms. However, we decided this area was not the best in case we were viewed as a shadow of the Four Seasons. We thought we wouldn’t be able to compete with Ajarn Jultus Kitibutr’s design so this location gradually fell away from our interests.
/03/ tectural design
Archi
Chiang Mai : the High Resort
and launching Veranda
39
VERANDA
period for developing
Smith Obayawat | Architect | Office of Bangkok Architect Co., Ltd.
สมิตร โอบายาวาทย์ | สถาปนิก | บริษัท สำนักงานสถาปนิกกรุงเทพ จำกัด
38
Please discuss the time
Designing begins
Once we decided on the land, the design team (same as Hua Hin) started to work on the concept. In view of Chiang Mai itself, the first thing that came to mind is Lanna architecture, and bringing in the Pool Villa. I worked out the layout plan in terms of making it like the city: seemingly disappeared or hidden in the hills. We had a big field in the middle and made 7 circles of rice fields, referring to beliefs attached to Mount Meru. Legend can incite one’s imagination. I was looking for something deeper, more historical, than the surface appearances of Lanna culture. I remembered seeing the movie ‘The Legend of Naresuan the Great’ and how the inside and outside of the city were depicted as representing very different types of living. I used this idea as a concept by planning the resort similar to the plan of the city of Chiang Mai. We drove around the city and saw how the architecture in the inner city is lower than outside. This observation was applied to our resort.
Chiang Mai : the High Resort
41
VERANDA
40
กลับมาเรื่องที่ดินบนเขาแปลงแรกที่ผมกับคุณวีรวัฒน์ไปดูกัน ซึ่งอยู่ ใกล้ๆ กับโรงแรม Four Seasons แถวแม่รมิ มองไปก็สวยดี แต่ตรงไหล่เขามี มุมลาดลงไป มุมของเนินดีมากแต่ค่อนข้างแคบ ผมลองๆ สเก็ตช์ลองวาง ผังห้องพัก (lay out plan) ทำได้ประมาณ 50 ห้อง แต่คดิ ๆ กันว่าไม่เอาดีกว่า เพราะว่าตรงนี้เป็นที่ทิ้งขยะของชาวบ้านแถวๆ นั้น แต่เจ้าของที่บอกว่าไม่ ต้องกังวลเรื่องกลิ่น เดี๋ยวเขาไปจัดการกับทางอบต. ให้ แต่ความรู้สึกของ เราแล้ว บอกได้เลยว่าไม่นา่ ดู ถ้ามีคนแอบทิง้ ขยะได้ แสดงว่าต้องมีคนผ่าน เข้ามาได้ แสดงว่าต้องไปมาเข้าได้สะดวก และทีส่ ำคัญคืออยูใ่ กล้กบั โรงแรม Four Seasons เสร็จแน่ เราทำอย่างไรก็ได้ออกมาได้ไม่ดีเท่างานออกแบบ ของอาจารย์จุลแน่เลย (อาจารย์จุลทัศน์ กิติบุตร) หลังจากนั้นก็เงียบๆ ไป เหมือนกับคุณวีรวัฒน์ตัดสินใจที่จะไม่ซื้อ จนอยูม่ าวันหนึง่ คุณวีรวัฒน์กโ็ ทรศัพท์มาบอกผมว่า “พี… ่ ผมซือ้ ทีไ่ ด้ แล้วนะ เป็นอีกที่หนึ่ง พี่ไม่ต้องดู ผมมั่นใจ” ผมเองก็ไม่ได้บอกคุณวีรวัฒน์ ไปในตอนนั้น ในเรื่องของโรงแรม Four Seasons แต่ผมคิดว่าเขารู้อยู่ในใจ เหมือนคุณไปทำโรงแรมอยูใ่ กล้กบั โรงแรมราชมรรคา เหมือนคุณไปออกแบบ บ้านใกล้ๆ กับบ้านที่คุณนิธิ สถาปิตานนท์ ออกแบบ ไม่ต้องคิดอะไรแล้ว เพราะว่ามีตวั เปรียบเทียบทีใ่ หญ่ขนาดนัน้ เลีย่ งได้กค็ วรจะหลีก แม้วา่ จะไม่ เกีย่ วกัน แต่ความรูส้ กึ เราก็คอื เราคงต้องคิดมากแน่ๆ แล้วก็ทำให้ไม่เป็นตัว ของตัวเองแน่ๆ เพราะจะกลายเป็นเรื่องของการแข่งขัน ถ้าเมื่อไหร่ที่ความ รู้สึกนี้เกิดขึ้นมา เราก็คงจะไม่ได้เป็นตัวของตัวเอง แต่ถ้าเราคิดของเราไป เรื่อยๆ อย่างวีรันดา หัวหิน ที่ไม่มีโรงแรมอื่นอยู่ในบริเวณรอบๆ เลย ข้างๆ ก็เป็นเพิงขายปลา เป็นร้านอาหารชาวบ้าน หมู่บ้านชาวประมง ทางขวาก็ เป็นที่โล่งๆ แล้วก็มีคอนโดฯ ขึ้นมาสูงๆ อย่างนั้นก็สบาย ไม่ต้องคิดมาก อันนี้ก็เหมือนกัน พอไปดูสถานที่ใหม่ ปรากฏว่าอยู่ใกล้วัดต้นเกว๋น (วัดอินทราวาส) ซึ่ง วัดทีม่ ชี อ่ื เสียงมากในหมูส่ ถาปนิก ตอนแรกคุณวีรวัฒน์ไม่รจู้ กั วัดนีม้ าก่อน ผมบอกไปว่า เป็นวัดหนึ่งที่สวยที่สุดในเชียงใหม่ มีอุโบสถเก่าแก่ที่สัดส่วน สวยมาก ได้รับรางวัลจากสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้เป็นอาคารประเภทอนุรกั ษ์ดเี ด่น บรรยากาศดี เป็นหุบเขาแต่มคี วามลาด ไม่มากนัก ต้นไม้ใหญ่ไม่เยอะ เนือ้ ทีป่ ระมาณ 20 ไร่ เป็นทุง่ ลำไยบนเนินเขา มีภูเขาลูกเล็กๆ อยู่ข้างหลัง มีแควเล็กๆ ไหลอยู่ทางด้านหน้า พอเอาโฉนด มากางดูปรากฏว่า มีส่วนหนึ่งเป็นที่เหมือนทางเกวียน กว้างประมาณ 2 เมตร ผ่าขึ้นไปบนเขา อาจเป็นบริเวณที่ชาวบ้านจะสามารถเดินขึ้นไปเก็บ ของในป่า ผมเลยทำเป็นถนนคอนกรีตให้ (นี่เราทำถูกกฎหมายนะ) ส่วน ข้างหลัง เป็นที่ของวนอุทยานแห่งชาติ ตรงนี้ต้องระวังให้ดี เพราะอาจจะ กลายเป็นเจอข้อหาบุกรุกเขตป่าสงวนได้ โชคดีที่มีรั้วลวดหนามกันไว้ก่อน อยู่แล้ว เราเลยสามารถจัดการทุกอย่างให้เรียบร้อย และถูกต้องได้
Later Khun Verawat called to say he had bought another piece of land and was very confident about the location. I didn’t tell him what I thought about the Four Seasons because I guessed he thought the same. For example, building a hotel near the Ratchamaka is like building a house close to Nithi Sthapitanonda’s house: you won’t think of anything else besides the nearby iconic work. It is better to avoid such competition because otherwise you and your work won’t be itself. There are no hotels near the Veranda Hua Hin project. However, the new location turned out to be very close to the Indrawas Temple, which is reputed among Thai architects. I informed Khun Verawat this is one of the most beautiful temples in Chiang Mai and it won an award from the ASA (The Association of Siamese Architects Under Royal Patronage) for achievements in conservation. Indrawas is situated in a dell within an area of 8 acres, the slope is not too high and the hill is covered with longan trees. A little mountain sits at the back and there is a creek at the front.
Chiang Mai : the High Resort
42
เริ่มต้นออกแบบ
เมือ่ จัดการเรือ่ งทีด่ นิ เรียบร้อยแล้ว พวกเราทีมออกแบบชุดเดิมก็เริม่ มา นัง่ คิด… เริม่ ต้น เชียงใหม่กต็ อ้ งล้านนา สถาปัตยกรรมล้านนา แต่เชียงใหม่ ไม่เคยมี Pool Villa เลยนี่ คุณวีรวัฒน์ก็คิดว่าของเราที่เชียงใหม่นี่ ก็น่าจะมี เหมือนที่หัวหินนะ ผมเลยวางผังของห้องพักให้เป็นส่วนหนึ่งของผังเมือง เชียงใหม่ แล้วแทรกหายไปในเนินเขา แล้วก็จะได้ทุ่งขนาดใหญ่ตรงกลาง แล้วทำทุ่งนาเป็นวงๆ 7 วง สมมุติว่าเป็นเขาพระสุเมรุ จะได้ไม่ซ้ำกับขั้น บันไดที่บาหลีกับที่ Four Seasons ผมมีแนวคิดว่า ตำนานเป็นเรื่องที่ทำให้คนสามารถจินตนาการได้ แล้วที่วีรันดานี้ ผมคิดว่าน่าจะหาสิ่งที่ลึกไปกว่ารูปลักษณ์ของล้านนาที่จับ ต้องได้มาใช้ เช่น เอาประวัติศาสตร์เข้ามาใช้ เพื่อทำให้คนได้รำลึกถึงบาง สิง่ บางอย่างได้ ตอนทีท่ ำงานนีช้ ว่ งนัน้ จำได้วา่ ดูภาพยนต์ไทยเรือ่ ง ตำนาน สมเด็จพระนเรศวรฯ เห็นเรือ่ งความต่างระหว่างความเป็นนอกเมืองกับในเมือง คนนอกเมืองจะอยูแ่ บบหนึง่ ส่วนคนในเมืองจะอยูอ่ กี แบบหนึง่ ซึง่ มีลกั ษณะ ทีป่ ลอดภัยกว่า เราเลยได้แนวคิดนีม้ าใช้ โดยออกแบบให้เป็นลักษณะของ ผังเมืองเชียงใหม่ บางส่วนเป็นนอกเมือง บางส่วนเป็นในเมือง คิดแล้วก็ ขับรถเข้าไปดูในตัวเมืองเชียงใหม่กัน แต่ก็งงทุกครั้งเลยว่าอยู่ตรงไหนอยู่
นอกเมือง ตรงไหนคือในเมือง แต่สุดท้ายก็ได้ข้อสังเกตว่า ถ้าเป็นในเมือง ตึกรามบ้านช่องจะเตีย้ ๆ ส่วนนอกเมืองจะเป็นตึกสูงๆ เราเลยทำสถาปัตยกรรม สูงๆ เอาไปไว้นอกเมืองหมด สถาปัตยกรรมเตี้ยๆ ก็เอาไว้ในเมือง แล้วทำ ล็อบบี้ไว้นอกกำแพงเมือง พอผมเสนอเรื่องกำแพงเมือง พวกเราก็ช่วยกันคิดต่อว่า รูปแบบควร จะเป็นอย่างไรดี วัสดุตา่ งๆ จะเป็นอะไร ช่วงแรกๆ ดูเหมือนทุกคนจะพอใจ กับ modern เพื่อเป็นเพียงสัญลักษณ์ แต่พอมานึกดูอีกที ผมก็ว่ามีคนทำ แบบนีเ้ ยอะแยะแล้ว ก็เลยตัดสินใจว่าเอาอิฐเลย ให้รกู้ นั ชัดๆ ว่าเลียนแบบ กำแพงเมือง จะได้เกิดความขัดแย้งกับแนวกำแพงภายในอาคาร ซึ่งเป็น คอนกรีตเปลือย ตอนทำงานก็มีปัญหามาก เพราะอยากให้ก่อกำแพงอิฐนี้ เกือบเนี๊ยบ แต่ไม่เนี๊ยบ ซึ่งยากมากที่จะอธิบายช่างที่ก่อกำแพง เพราะแต่ ละคนก็จะทำได้ไม่เหมือนกัน ก็ก่อรื้อ ก่อรื้อ กันอยู่หลายครั้ง ส่วนขอบบน กำแพงให้ก่อแบบสุ่มๆ ซึ่งก็ยากมาก เพราะบอกก็ไม่ได้ เขียนแบบก็ไม่ได้ ตอนหลังผมไปชีเ้ องเลย เอาก้อนนีเ้ ข้า เอาก้อนนีอ้ อก ก็ไม่รวู้ า่ สวยหรือเปล่า พวกช่างก็งงๆ ไปกันหมด
VERANDA
43
We then tried to figure out the exact style and materials. At first, everyone seemed happy to go with a modern style but, after thinking further, we decided on using brick. This is because we wanted to make it clear that we were referring to Chiang Mai’s city wall and also the brick would contrast well with the concrete walls of the building’s interior. When we briefed the final plan I pushed the Villa to the end of the property because we had to have a restaurant in the middle of the forest, and we used the tea field as a link. The rice field was put at the front of the Villa according to Khun Verawat’s preference. The restaurant is important as a point of interest the guests can see from their rooms. Our idea is that the restaurant can function, outside opening hours, as a type of museum that shows the seniors’ craftsmanship and interesting way of life. We thought about using a large glass roof also but the price was prohibitive so we used more of the steel structure and frames and less glass. As for the rooms, we had to lower them so we decided to leave the ground floor empty, as if part of the field. We split another two floors by placing them further up on the hill,
Why didn’t you make the longan field the point of distinction for the resort? Isn’t this what differentiates the resort from others in Chiang Mai?
ผมเป็นคนประเภทชอบคิดฟุ้งซ่าน ทั้งเรื่องงานแล้วก็เรื่องอื่นๆ ปนกัน ไปหมด อย่างวันก่อนไปคิดถึงภาพจิตรกรรมของวัดๆ หนึ่ง วาดเป็นเขา พระสุเมรุ 7 ชั้น แล้วก็เอามาปนกับเรื่องนี้ ในวีรันดา… บริเวณในเมืองเรา จะทำเป็นทุ่ง ผมก็ไปนึกถึงภาพยนต์เรื่อง Sign ที่อยู่ดีๆ ก็มีมนุษย์ต่างดาว เจาะหญ้าเป็นวงๆ ตั้งแต่แรกเริ่ม คุณวีรวัฒน์เองก็เคยมีความคิดที่อยาก จะได้ทุ่งนาอยู่แล้ว ผมก็เลยคิดเป็นวงๆ 7 วง แล้วมีร่องน้ำเป็น 7 วงใหญ่ๆ มีคนมาดำนาให้ดูเหมือนกัน ผมเอาแนวคิดนี้ไปเสนอในที่ประชุม ทุกคน อึ้งหมดเลย คุณสมหวังบอกว่าแรงไป ขอเปลี่ยนมาเป็นทุ่งชาดีกว่า ในวัน ที่อากาศหนาวทุ่งข้าวจะไม่สวย แต่ทุ่งชาจะดูสวยเหมือนเดิม ทุ่งชานี้สุดท้ายแล้วก็ใช้เป็นตัวเชื่อม ผมดัน Villa ไปสุดมุมที่ดินเพราะ ต้องทำร้านอาหารกลางป่า (ระเบียงชา) เพิ่มอีกร้านหนึ่ง ก็เลยตกลงกันว่า จะใช้ทุ่งชาเป็นตัวเชื่อม ส่วนนาข้าวให้ไปอยู่หน้า Villa เอาใจคุณวีรวัฒน์ ระเบียงชาก็คิดอยู่นาน เพราะเป็นจุดสนใจที่จะเห็นได้จากห้องพัก เลยเอา แบบมองมาแล้วเห็นเป็นหมู่บ้าน ให้สงสัยเล่นว่าอะไรกันแน่ คิดกันเอาไว้ ว่าช่วงไม่ขายอาหาร อาจจะทำเป็น living museum ให้พ่อแก่ แม่แก่มาทำ
Initially I wanted to keep a lot of longan trees because I like the fact they have a shape similiar to olive trees. They remind me of Van Gogh’s paintings. However, unfortunately, these trees would block the view and also they bring a lot of ants, so we had to move a lot of them at the end. The grass on the roof was made to look bushy, while the front of the Pool Villa is a rice field in order to suggest you are swimming in a field. I wanted a certain Chinese feel, which I thought would go well with the atmosphere of the mountain. That is, create a peaceful and calm ambience. This isn’t an urban hotel: we are 30 minutes from the city, so the resort is a destination. People can walk around, not just use it as a hotel. I think we have been very successful in this respect. How did Khun Verawat respond to your references to Mount Meru?
Khun Verawat listened to my, and everyone else’s, ideas. But he is a quiet man, very subtle. He considered my idea and then softly told me that maybe it is too far-fetched.
Chiang Mai : the High Resort
44
45
VERANDA
outside of our ‘inner city’ area. We also brought in the waterway to run in front of the rooms and move downwards. The glass on the roof of the lower buildings is plated in order to hide the slabs. Our original concept was to divide up the circulation into many routes, so the resort wouldn’t look busy and crowded. A well situated in the middle of the building was meant to be used in winter like a Japanese bath. But, in the end, it became just a well with a path underneath that leads to the restaurant.
Chiang Mai : the High Resort
47
VERANDA
46
งานเล็กๆ น้อยๆ โชว์วิถีชีวิต แต่คราวนี้ถ้าฝนตก เราจะทำอย่างไรกันดี ก็ เลยใส่หลังคากระจก ตั้งใจเอาไว้ว่าจะให้เฉียบใส ทันสมัยเลย กันฝนแต่ ไม่กนั แดด มองไม่เห็นตัวตน ผูร้ บั เหมาฯ ส่งราคาออกมา 10 ล้าน เลยต้อง ยอมแพ้ ยอมมีแค่โครงเหล็กกับเฟรมเยอะหน่อย ส่วนห้องพัก ต้องทอนให้เตี้ยก็เลยทำชั้นล่างว่าง ให้ติดดินเหมือนอยู่ ในทุ่ง แล้ว split อีก 2 ชั้นดันไปอยู่นอกเมืองบนเนิน ต่อแนวคูเมืองมาไหล ผ่านหน้าห้องแล้วตกลงไปข้างล่าง หลังคาตึกล่างก็ปลูกหญ้าให้เขียว ทำให้ดู รกๆ ให้เวลามองลงจากตึกสูง ดูแล้วเขียว และน่าเกลียดน้อยกว่าเห็น slab ส่วนเรื่องเส้นทางสัญจรภายในโครงการ คือ แยกเส้นทางสัญจรออก เป็นหลายๆ เส้น ทำให้แต่ละเส้นมีคนเดินดูน้อยๆ ดูแล้วเหมือนไม่มีคนวุ่น วายในโครงการ คล้ายกับที่หัวหิน บ่อน้ำสีดำกลางตึกระเบียงชา วางแผนกันเอาไว้ว่า จะทำเป็นบ่อน้ำ ร้อนพอหน้าหนาวจะได้มานั่งแช่กันทั้งตัวแบบญี่ปุ่น แต่ท้ายสุดก็เป็นบ่อ ธรรมดา ที่มีทางเดินลอดไปยังระเบียงชากลางทุ่ง ทำไมไม่ทำให้ไร่ลำไย กลายเป็นจุดเด่นของโครงการไปเลยครับ ในเมื่อเดิมเป็นไร่ลำใยที่ดูจะพิเศษไปจากรีสอร์ทที่อื่นๆ ครับ ในตอนแรก ผมอยากเก็บต้นลำไยไว้เยอะๆ เหมือนกัน ชอบมากเลย ด้วย รูปทรงดูแล้วเหมือนต้นมะกอก ทำให้นึกถึงภาพวาดของแวนโก๊ะ ที่มักมี ต้นไม้มีกิ่งหยักๆ หักๆ ในรูปวาดของเขา แต่ลำไยเป็นต้นไม้ประเภทบังตา บังวิว แล้วก็มีมดเยอะ ท้ายที่สุดต้องเอาออกไปเยอะพอสมควร ด้านหน้าของ Pool Villa จะเป็นทุ่งนาข้าวเลยนะ ตัว Villa จะดูเหมือน เสียบเข้าไปในทุ่งข้าว ฉะนั้นเวลาว่ายน้ำในสระของตัวเอง จะได้อารมณ์ ราวกับว่าได้ว่ายน้ำอยู่ในทุ่งนา
Is there anything you
49
VERANDA
48
บรรยากาศโดยรวมแล้ว ผมอยากให้มีบรรยากาศจีนนิดๆ คือเป็น อารมณ์ของจีนกับภูเขา ผมว่าไปกันได้ดี แล้วก็พยายามแทรกอารมณ์ของ ความเป็นพิพิธภัณฑ์เข้าไป เพราะผมอยากให้ดูสงบ ให้คนมาพักแล้วสงบ จิตสงบใจได้ระดับหนึ่ง แต่ก็จะไม่ทำให้อารมณ์ออกมาเป็นพิพิธภัณฑ์ไป เสียหมด จะมีแซมๆ เรือ่ งราวต่างๆ เข้ามาบ้าง แล้วทีน่ ก่ี ไ็ ม่ได้อยูเ่ ป็นรีสอร์ท ที่อยู่ในตัวเมือง เพราะห่างมาประมาณ 30 นาที ผมอยากทำรีสอร์ทที่คน มาเพื่อมาเที่ยว ไม่ใช่มาพัก เป็นรีสอร์ทที่คนอยากจะมาเดิน อยากจะมา เห็นรอบๆ ว่ามีอะไรบ้าง แล้วเราก็คิดว่าเราทำได้สำเร็จ ด้วยความที่พื้นที่ ค่อนข้างใหญ่ ก็เลยไม่อยากทำให้ผู้ที่เข้ามาเกิดความรู้สึกเบื่อ บางจุดก็ไป คล้ายโรงแรมทีแ่ อฟริกาทีค่ ณ ุ วีรวัฒน์ไปเห็นมา แล้วกลับมาบอกพวกเราว่า อยากจะได้อย่างนั้น อย่างนี้นะ พวกเราก็พยายามที่เลี่ยงไปเลี่ยงมานะ แต่สุดท้ายก็ต้องทำให้.. เพราะคุณวีรวัฒน์ยืนยันว่าอยากได้จริงๆ พอผังของโครงการรวม เริ่มจากการที่มีแบบแผน แต่เมื่อทับซ้อนลง บนพื้นที่เนินธรรมชาติก็คงต้องกลายไป จะไปยึดแกนและสัญลักษณ์ตาม ทีผ่ มเสนอแต่ทแี รก ก็จะเป็นการฝืน terrain น้ำคงไหลได้ไม่สะดวก แต่ลกึ ๆ ผมก็ยังมีความเชื่อว่า การทำอะไรให้ต่างจากภาพที่คุ้นตา แม้เพียงแค่เป็น สิ่งเล็กๆ ก็จะกระตุกอารมณ์คนที่มาพักได้ เพราะได้มาเที่ยวเปิดหูเปิดตา สร้างจินตนาการ แต่ต้องไม่มากไปนะเดี๋ยวเลอะเทอะ แล้วสิ่งที่ผมเสนอก็ เป็นงานส่วน softscape ซึ่งเปลี่ยนไปได้เรื่อยๆ พอเบื่อก็ปลูกต้นยางพารา ก็ยังได้ ไม่ใช่ว่าจะเป็นเขาพระสุเมรุไปตลอดเสียที่ไหน ตอนเสนอเรื่องพระสุเมรุนี้ คุณวีรวัฒน์คิดอย่างไรบ้างครับ คุณวีรวัฒน์กน็ ง่ิ ไปพักหนึง่ แต่เขาก็พอจะรูว้ า่ ผมเป็นคนมีนสิ ยั ทีจ่ ะคิด อะไรแบบนี้ คุณวีรวัฒน์มลี กั ษณะทีเ่ หมือนจะเงียบๆ เรียบร้อย แต่คงไม่ใช่ ในบางเรือ่ ง พอถึงเวลาฟัง เขาก็ฟงั ทุกคน แล้วก็คอ่ ยๆ บอกว่าแนวคิดทีผ่ ม เสนอมาแรงไป ฟังแล้วนิ่มๆ แต่ชัดเจน
I tried something new for this project, partly for myself. There are certain things that I am disappointed with. I wanted to use wood columns as the structure and build the roof in the manner of Chinese architecture, where columns stick out and support the roof. I also wanted the roof to be curvy like paper and use wood columns in the way we did for the Villa at our Hua Hin project. I lifted up the edge of the flat slap roof to guard against rain pouring down. I’d like the rain to run back inside, putting the main structure inside while, outside, the tall wood columns would act as support. There are certain similarities between China and Chiang Mai. Furniture in this region has been influenced by Chinese style and culture. Nevertheless, when it came to the construction process the engineer couldn’t tell because wood and concrete have different settings and he wouldn’t allow me support the concrete with wood. I was disappointed that our timber poles were not used for the actual structure, even though they are strong enough, and instead employed as decoration. The positioning might look random but if you look at the elevation plan they look just a bit crossed, though this is not the signature of my design at all. I think Khun Verawat is quite happy with our work. So this project is a satisfactory accomplishment for all who were involved. []
Chiang Mai : the High Resort
would go back and fix?
Chiang Mai : the High Resort
มีส่วนไหนบ้างไหมครับที่อยากจะกลับไปแก้ไขใหม่ ผมพยายามจะให้ที่นี่มีอะไรใหม่ๆ สำหรับตัวเองออกมา แต่ก็มีหลาย อย่างที่ผมรู้สึกผิดหวัง อย่างเสาไม้ที่อยากจะให้เป็นโครงสร้าง อยากทำให้ เหมือนกับหลังคาของสถาปัตยกรรมจีน ที่ยื่นออกมารับหลังคา อยากทำ เส้นหลังคาโค้ง ๆ เหมือนกับกระดาษทีย่ กขึน้ มา แล้วใช้เสาไม้มารับเหมือน กับเรือน Villa ทีว่ รี นั ดา หัวหิน ส่วนหลังคาเรียบ flat slap เห็นได้วา่ มีหลายๆ รีสอร์ททำกันเยอะแล้ว ผมเลยกันตรงที่ปลายแล้วยกขอบขึ้นมาอีกนิดหนึ่ง เพราะไม่ชอบเวลาที่น้ำฝนไหลล้นๆ ออกมา อยากให้น้ำไหลกลับเข้าไป เหมือนกระดาษยกขอบ เอาโครงสร้างหลักไว้ด้านใน ส่วนข้างนอกทำเป็น เสาไม้สูงๆ มารับ ผมคิดว่าจีนกับเชียงใหม่นั้นมีความใกล้กันอยู่ เฟอร์นิเจอร์ของทางที่ เชียงใหม่ก็มีวัฒนธรรม รับอิทธิพล และรูปแบบของจีนมาผสม แต่พอจะ ลงมือสร้างตามทีค่ ดิ เอาไว้จริงๆ วิศวกรโครงสร้างบอกว่าทำไม่ได้ เพราะการ อยู่ตัวของไม้กับคอนกรีตนั้นมีความต่างกันอยู่ การเอาเสาไม้ไปรับหลังคา คอนกรีตแบบทีผ่ มอยากได้นน้ั ทำไม่ได้ มีความเสีย่ งมาก อันนีว้ ศิ วกรไม่ยอม เสาค้ำยันพวกนีก้ เ็ ป็นไม้ ภายหลังจึงต้องมาติดหลอกเอา ผมเสียใจว่า ควรจะทำให้เป็นโครงสร้างของอาคารไปได้เลย เพราะเราเลือกไม้เนื้อแข็ง ทีส่ ามารถใช้เป็นโครงสร้างของอาคารได้เลย รับน้ำหนักตัวอาคารได้ แต่พอ สุดท้ายเสาไม้เหล่านี้เป็นได้แค่ส่วนตกแต่งเฉย ๆ ตรงนี้ที่ผมเสียดาย ผมอยากให้เวลาทีม่ องไป เห็นเหมือนกับว่าเสานีเ้ ป็นการวางแบบสุม่ ๆ ที่ไม่ได้จงใจทำให้เกิดเป็นลักษณะนี้ แต่ถ้ามองรูปด้านข้าง เสาอาจจะดู แล้วขยักกันนิดๆ ซึ่งไม่ใช่ลักษณะของลายเซ็นงานออกแบบผมหรอกนะ ผมคิดว่าโดยรวมๆ แล้ว คุณวีรวัฒน์รู้สึกพอใจกับงานชิ้นนี้นะ เพราะ ฉะนั้นสถาปัตยกรรมแห่งนี้ก็เป็นสถาปัตยกรรมแห่งความพอใจ ทั้งของผู้ที่ เป็นเจ้าของ และผู้ที่ออกแบบ ...ผมว่าผลลัพธ์นี้ เกิดมาจากการรวบรวม เอาความอยากของผู้ร่วมงานทั้งหมด เข้าด้วยกัน. []
51
VERANDA
50
VERANDA
Chiang Mai : the High Resort
52
53
1. Resort Main Entry 2. Drop Off 3. Lobby 4. Reflecting Pool 5. Lake 6. Villa for Sale 7. Semi-outdoor Restaurant 8. Tea Plantation 9. Rice Terrace 10. Presidential Terrace 11. Pool Villa 12. 2 Storey Guest Block 13. Jacuzzi Pool 14. Roof Garden 15. Restaurant 16. Spa Cottage 17. Main Swimming Pool 18. Dry Moat 19. Cultural Sala 20. Natural Grasstand 21. Low-rise Condominium 22. Swimming Pool 23. Condominium Entry
ภูมิสถาปัตยกรรม
การออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมที่เชียงใหม่นี้ เมื่อเปรียบเทียบกับ ที่หัวหิน มีความต่างหรือคล้ายกันอย่างไรบ้างครับ คุณสมหวัง ด้วยลักษณะของธรรมชาติ และเนื้อที่ของโครงการที่ไม่เหมือนกันเลย ทำให้เป็นโจทย์ทตี่ อ้ งคิดใหม่ แต่สำหรับทีน่ ผี้ มคิดว่าพอใจมากในภาพรวม โดยเฉพาะงานส่วนต้นไม้ และน้ำ (softscape) เป็นตัวอย่างหนึ่งที่ทำให้ เห็นว่างานออกแบบภูมสิ ถาปัตยกรรม หลายๆ ครัง้ ทีภ่ มู สิ ถาปนิกพยายาม จะเรื่องราวของการออกแบบมากจนเกินไป แต่ถ้าพยายามจะทำให้เรียบ ง่าย (simplify) และควบคุมกลุ่มสีให้ได้ และพยายามสร้างสรรค์พื้นที่สี เขียวให้สอดคล้องกับบริบท ผมคิดว่าเป็นการออกแบบที่ติดตา เป็นสิ่งที่ คนมาพักจะจดจำได้ งานออกแบบชิน้ นี้ ทำให้เห็นว่าภูมสิ ถาปนิกได้ทำงานร่วมกับธรรมชาติ และสถาปัตยกรรม ผลลัพธ์ทไี่ ด้คอื ความเป็นธรรมชาติ ไม่เสแสร้ง ไม่เป็น สิ่งที่ยัดเยียด เมื่อเราทำได้สำเร็จ เมื่อสภาพแวดล้อมกับงานออกแบบที่ กลมกลืนกัน ทำให้เกิดพลังจากภายนอกเข้ามาสู่ภายใน ผมเริม่ ต้นด้วยการมองเรือ่ งของสภาพแวดล้อม สังเคราะห์และนำเสนอ สิ่งที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม งานเขียนแบบในส่วนก่อสร้างของส่วน ภูมิทัศน์หลักๆ มีเพียงแค่ภาพตัด ทีสำคัญคือเรื่องของระดับ การเปลี่ยน และถ่ายระดับ รายละเอียดของขอบ การมาพบกันของสภาพดิน น้ำ บ่อ ถนน หรือรายละเอียดของบ่อน้ำต่างๆ
Chiang Mai : the High Resort
/04/
55
VERANDA
สมหวัง ลีวาณิชยกูล | ภูมิสถาปนิก | บริษัท เบล คอลลิน อินเตอร์เนชั่นแนล (ไทยแลนด์) จำกัด
54
Somwong Leevanijkul | Landscape Architect | Belt Collins International (Thailand) Co., Ltd.
การแบ่ง หรือออกแบบกลุ่มต้นไม้ คุณสมหวังเริ่มต้นอย่างไรครับ งานชิ้นนี้ตั้งใจว่า อยากให้รีสอร์ทนี้ในอนาคต เป็นรีสอร์ทที่แฝงตัวใน ธรรมชาติ เป็นอีกหนึ่งความคิดที่คุณสมิตรออกแบบอาคาร 2 ความสูง และหลังคาแบน ปลูกต้นไม้ลักษณะทรงสูงโปร่ง และมีทรงพุ่มข้างบน ในอนาคต ตึกด้านหลังไร่ชาก็จะมีร่มเงาเพิ่มมากขึ้น ต้นชาเมื่อโตเต็มที่ จะมีความสูงได้ถึงขนาด 1.2 เมตร แล้วแต่สภาพอากาศ แต่ที่นี่อาจไม่ หนาวมาก เป็นความสูงกำลังดี ในความคิดที่จะขายบรรยากาศของไร่ชา ต้นไม้ที่ปลูกจะจัดให้เป็นกลุ่มๆ กระจายกันไปในไร่ชา อีกทีก็ให้ไปจะอยู่ ใกล้น้ำ โดยธรรมชาติต้นไม้จะอยู่ริมน้ำส่วนใหญ่ เราสร้างบริเวณที่เป็น ส่วนตัว ต้นไม้แนวราบ ดูธรรมชาติมาก เป็นหญ้าพันธุต์ า่ งๆ อยูป่ ระมาณ 3-4 ชนิด ส่วนที่เป็นหญ้าสี เราปลูกเน้นเฉพาะบริเวณที่อยู่ใกล้กับคน อย่างบริเวณระเบียงชา ผมก็จะเน้นพวกพืชผักสวนครัว อยากให้ความ รู้สึกเป็นลำลอง ต้นไม้ทั้งหมดพยายามมาจากกรอบของต้นไม้ทมี่ อี ยูเ่ ดิม พยายามกระจายให้ดเู ป็นธรรมชาติ ภาพรวมของทุง่ หญ้าต่างๆ คุณสมิตร เองก็ชอบอารมณ์แบบนัน้ เหมาะกับสภาพโดยรวมซึง่ เป็นป่าลำไย ทิวเขา ด้านหลัง สภาพดินดีมาก โดยรอบจะเป็นเนิน มองรอบๆ ตัวจะเห็นแต่ ภูเขา วันแรกที่มีการคุยกัน เรานั่งมองเห็นต้นลำไยจำนวนเยอะมากที่ บริเวณระเบียงชา มากขนาดนี้ถ้าคนมาพักมาเดินดู ก็จะเจอปัญหาเรื่อง แมลงวันและมดรบกวน เลยตัดสินใจทีจ่ ะเก็บเฉพาะบางส่วนของต้นลำไย เอาไว้ ในส่วนที่ทำโครงการคอนโดมิเนียมไว้นิดหน่อย ส่วนตรงวิลล่ามี น้ำตก บริเวณข้างๆ มีตน้ สักของเก่าแก่เก็บไว้หลายต้นเหมือนกัน เราเก็บ พวกต้นใหญ่ๆ เดิมพวกนี้ไว้หมด
Chiang Mai : the High Resort
Landscape architecture
Please discuss the differences in landscape architecture between Veranda Chiang Mai and Veranda Hua Hin.
Both projects had entirely different environments. Chiang Mai was a whole new task for me but I am very happy with the outcome, especially with what we have done with the trees and the water areas. Often landscape architecture tries to put in too many elements instead of aiming for simplification and controlling color tones, including making the effort to preserve green areas in terms of the context. We now have something that people can remember. This design makes evident the architect’s attempt to work with an intersection between nature and architecture and the results appear natural and unpretentious. Once a harmony between design and the natural environment is accomplished energy from the outside world will be brought into it. I began the design by examining the environment and categorizing it. Then I presented what we thought would suit it best. Most of the working drawings of the landscape were elevations, though level was also important: changing levels, edge
57
VERANDA
56
Chiang Mai : the High Resort
คุณสมหวังเริ่มต้นวิเคราะห์ที่ตั้งโครงการนี้ อย่างไรบ้างครับ ทิศ ลม ต้นไม้ใหญ่ที่เหลือ ส่วนใหญ่เป็นลำไยทั้งหมด วันแรกที่เข้ามาดู ที่ดินกัน สภาพพื้นที่และธรรมชาติโดยรอบก็สวยอยู่แล้ว คุณสมิตรก็ได้ พยายามวางอาคารให้มีการเปิดช่อง เปิดมุมมองต่างๆ แล้วระดมความ คิดกัน มีหลายความคิดมากเลยที่โยนเข้ามา แต่แล้วก็ไปจบตรงที่เป็นไร่ ชากับนาข้าว ส่วนสระว่ายน้ำข้างบนชั้น 4 หรือบริเวณ drop off เราก็ทำให้มีน้ำตก ลงมา แนวคิดคือตัง้ ใจสร้างให้เป็น canyon ออกแบบน้ำให้มที งั้ ขึน้ และลง ลักษณะกรอบของการเห็นวิว ก็จะไม่เหมือนกับที่วีรันดา ที่หัวหิน แต่จะ ไปเหมือนเป็นองค์ประกอบในสวน เราใช้รูปร่างมาเป็นนามธรรมทำให้ เกิดช่อง เกิดพืน้ ทีว่ า่ ง วิว และน้ำ เกิดเป็นความรูส้ กึ ทีเ่ หมือนอยูใ่ นความฝัน สร้างให้ผู้ที่เดินมาเส้นทาง ได้เกิดความรู้สึกคาดเดาว่าต่อไปข้างหน้าจะ มีอะไรรออยู่ ต่อกับระเบียงชา ซึ่งมีต้นไม้เดิมและฉากหลังที่สวยอยู่แล้ว คุณสมิตรอยากได้สถาปัตยกรรมทีเ่ ห็นถึงความขัดแย้ง และสร้างอารมณ์ ตรงกันข้าม มีชอ่ งแสงเปิดจากด้านบนลงมา ข้างล่างเป็นต้นตะโกเหมือน เป็นลานบ้าน ทำให้เกิดความน่าสนใจ เสมือนเป็นการเดินทาง การออกแบบเพือ่ ให้ผทู้ มี่ าพักในโครงการนี้ สามารถเห็น และเกิดการ รับรู้ (perception) สภาพพื้นที่เดิมของโครงการก็นับเป็นส่วนสำคัญ โดยการกำหนดให้มุมมอง และช่องของภาพที่จะมองเห็น ได้ถูกจัดให้มี การสอดคล้องหรือขัดแย้งกัน เช่น การเดินมุดลงก่อน บีบมุมมอง แล้ว ค่อยเปิดโล่ง หรือปิดมุมมองก่อน ค่อยๆ เปิดเผย โดยการเดินผ่านกลุ่ม ทุ่งหญ้าสูง ฯลฯ เปรียบเหมือนกับการลำดับเรื่องราวของงานออกแบบ ภูมิสถาปัตยกรรม ในสภาพภูมิประเทศที่น่าสนใจ กลมกลืน ลึกลับ และ พึงพอใจ.
details, the relationships of different types of earth, water, bumps, roads and specifications of wells. How did you begin to design or categorize the trees?
I always intended the resort to become part of the natural surroundings, which was also one of Khun Smith’s ideas when he designed the project (in terms of the height, flat roof and tall trees whereby bunches of leaves would spread and cover the roof). At the back building the tea field can provide shade because it grows to almost 1.2 meters depending on the weather, and this height maintains a sense of the natural. We categorized trees into groups as they spread across the field, and some were planted near the water. We also created a private area where the trees were lined horizontally and looked very natural along with 3-4 different types of grass. For the tea terrace we used household garden plants in order to create a casual ambience. We aimed to preserve the original tree lines and spread them out across the sea; this went really well with the surrounding longan forest. Also, we kept some of the longan trees in the condominium
59
VERANDA
58