«i °ª ² r ¢ ££¡¨²ª £l ¸¬²¥ £ l¡«²§´ ¢²¥±¢ ²Ä À ¸¡§± £¸ À ¡«² £  £¨± l ]  £ª²£ µÀ¡¥ BENJO!BDVB PS UI ] XXX BDVB PS UI
± ³Â ¢ ª¡² ¡ ´ª´ À h² °ª ² r ¢ ££¡¨²ª £l ¸¬²¥ £ l¡«²§´ ¢²¥±¢
± ³Â ¢ ª¡² ¡ ´ª´ À h² °ª ² r ¢ ££¡¨²ª £l ¸¬²¥ £ l¡«²§´ ¢²¥±¢
± ³Â ¢ ª¡² ¡ ´ª´ À h² °ª ² r ¢ ££¡¨²ª £l ¸¬²¥ £ l¡«²§´ ¢²¥±¢
« ± ª·À ¢Á £h ¥ ² Á µÀ h ´ª´ À h² °ª ² r ¢ ££¡¨²ª £l ¸¬²¥ £ l¡«²§´ ¢²¥±¢
£² ² ²
« ± ª·À ¢Á £h ¥ ² Á µÀ h ´ª´ À h² °ª ² r ¢ ££¡¨²ª £l ¸¬²¥ £ l¡«²§´ ¢²¥±¢
resort and spa, Hua Hin « ± ª·À ¢Á £h ¥ ² Á µÀ h ± ´ ª´ À h² °ª ² r ¢ ££¡¨²ª £l ¸¬²¥ £ l¡«²§´ ¢²¥±¢ ³Â ¢ ª¡² ¡ ´ª´ À h² °ª ² r ¢ ££¡¨²ª £l ¸¬²¥ £ l¡«²§´ ¢²¥±¢ Veranda Chiang Mai : the high resort
« ± ª·À ¢Á £h ¥ ² Á µÀ h ´ª´ À h² °ª ² r ¢ ££¡¨²ª £l ¸¬²¥ £ l¡«²§´ ¢²¥±¢
± ³Â ¢ ª¡² ¡ ´ª´ À h² °ª ² r ¢ ££¡¨²ª £l ¸¬²¥ £ l¡«²§´ ¢²¥±¢
« ± ª·À ¢Á £h ¥ ² Á µÀ h ´ª´ À h² °ª ² r ¢ ££¡¨²ª £l ¸¬²¥ £ l¡«²§´ ¢²¥±¢
ª¡² ¡ ´ª´ À h² °ª ² r ¢ ££¡¨²ª £l ¸¬²¥ £ l¡«²§´ ¢²¥±¢
«i °ª ² r ¢ ££¡¨²ª £l ¸¬²¥ £ l¡«²§´ ¢²¥±¢ ²Ä À ¸¡§± £¸ À ¡«² £  £¨± l ]  £ª²£ µÀ¡¥ BENJO!BDVB PS UI ] XXX BDVB PS UI
ª¡² ¡ ´ª´ À h² °ª ² r ¢ ££¡¨²ª £l ¸¬²¥ £ l¡«²§´ ¢²¥±¢
1
คำนิยม forward
VERANDA Resort
And Spa, Hua Hin
2
โครงการหนังสือ a+A ของ สมาคมนิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นหนึ่งในความพยายามเผยแพร่ความรู้ เกี่ยวกับกระบวนการออกแบบออกสู่สาธารณชน ผ่านงานออกแบบ สถาปัตยกรรม ที่เป็นผลงานของนิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิชาชีพสถาปัตยกรรมนั้น หากมองผิวเผินจากภายนอก สถาปนิก เสมือนเป็นศิลปิน สร้างสรรค์ผลงานได้เพียงลำพังผูเ้ ดียว แต่แท้ทจี่ ริงแล้ว สถาปนิกจะต้องร่วมมือและประสานงานกับทุกๆ ฝ่าย นับแต่เริม่ โครงการ จนสำเร็จ แต่ละโครงการก็ไม่ได้มีแค่งานออกแบบสถาปัตยกรรม ยังมี ส่วนประกอบอืน่ ๆ อันได้แก่ งานภูมสิ ถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมภายใน ฯลฯ รวมทั้งข้อพิจารณาทางธุรกิจ ที่มีความสำคัญเช่นกัน สถาปนิก เปรียบเสมือนเป็นปูนซีเมนต์ ทำหน้าที่ประสานส่วนต่างๆ ให้เข้ากัน อย่างกลมกลืน และก่อให้เกิดรูปทรงที่แข็งแรง สนองประโยชน์ใช้สอย และสร้างสุนทรียภาพ แก่ผู้ใช้ เจ้าของโครงการ และบ้านเมือง หนังสือ a+A เล่มนี้ เกี่ยวกับโครงการรีสอร์ท วีรันดา ทั้งที่หัวหิน และเชียงใหม่ มีเนื้อหาน่าสนใจ และน่าชื่นชมเป็นอย่างยิ่ง นับเป็นอีก หนึง่ ตัวอย่างของงานออกแบบสถาปัตยกรรม ทีท่ กุ ฝ่ายร่วมมือร่วมใจกัน และทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในโครงการ ดูเหมือนว่าไม่มีสวนมุมใด ที่ไม่ได้ ผ่านสายตาของสถาปนิก และไม่มสี ว่ นอาคารใดทีไ่ ม่ ผ่านคำแนะนำของ สถาปนิกออกแบบภายใน ในขณะทีแ่ ต่ละคนต่างเคารพในความคิดของ ผู้อื่น และพร้อมที่จะทำงานร่วมกันจนประสบความสำเร็จ ดังที่ปรากฏ ในเล่มนี้ ในนามของคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอแสดงความยินดีต่อนิสิตเก่า ที่มีส่วนในการออกแบบโครงการนี้ และ หวังว่าสมาคมนิสติ เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะได้ดำเนินการจัดพิมพ์หนังสือ a+A และนำเสนอผลงานทีน่ า่ สนใจจาก นิสิตเก่าของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ต่อๆ ไป.
ศาสตราจารย์ ดร.บัณฑิต จุลาสัย
คณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
The a+A book project of Chulalongkorn University’s Faculty of Architecture Alumni aims to foster knowledge about the design process for the general public. The project focuses on the professional architectural design work of former students of Chulalongkorn’s Faculty of Architecture. Outside the profession, the work of an architect may be perceived as akin to the work of an artist. That is, defined by the creative ability of an individual. In reality, however, architects work collaboratively from the beginning to the end of a project. There are many aspects besides architecture in a pure sense, such as landscaping and interior design. Also, the business side of the project requires skilled management. The architect unites and harmonizes different components in order to ensure a successful construction in terms of form and function for users, spectators and the surrounding environment. This edition of a+A is about the Veranda Resort projects at Hua Hin and Chiang Mai. These projects can be greatly admired as models of collaboration. The design process that is detailed here demonstrates what can be achieved by teamwork at its best. It seems that no aspect of the Veranda’s natural environment escaped the eye of the landscape architect and no part of the building escaped the eye of the interior designer. As Dean of the Faculty of Architecture of Chulalongkorn University, I congratulate our former students on the success of the Veranda projects. I hope that the Faculty of Architecture Alumni continues to publish a+A as a necessary and important index of the achievements of our graduates. Professor Dr. Bandit Chulasai
Dean, Faculty of Architecture Chulalongkorn University
คำนำ
ฉบับที่ 2 นี้ นำเสนอผลงานออกแบบสถาปัตยกรรมโดย บริษัท สำนักงานสถาปนิกกรุงเทพ จำกัด ประกอบด้วย 2 โครงการ คือ วีรันดา รีสอร์ทแอนด์สปา หัวหิน และ วีรันดา เชียงใหม่ เดอะ ไฮ รีสอร์ท ในเล่มเดียวกัน อาจจะดูแปลกไปจากแนวความคิดดั้งเดิมของผู้จัดทำฯ ในการเป็นนิตยสารที่เจาะลึกเพียง โครงการเดียวในแต่ละเล่ม แต่เมื่อผู้จัดทำฯ ได้คุยกับสถาปนิกผู้ออกแบบ ซึ่งเสนอว่าทั้ง 2 โครงการนี้มาจาก เจ้าของโครงการเดียวกัน และมีความต่อเนื่องให้เห็นในแง่มุมของการออกแบบ แต่อยู่ในเงื่อนไขของสภาพที่ ตั้งที่แตกต่างกัน จึงเป็นเรื่องน่าสนใจที่จะนำมาเสนอให้เห็นถึงความเหมือน และความแตกต่างในการค้นหา แนวคิดในการออกแบบ ระหว่างรีสอร์ทที่ตั้งอยู่ริมทะเลกับหุบเขา ดังนั้นรูปเล่มของ a+A ที่ออกมาฉบับนี้ จึงดูแตกต่างไปจากเล่มแรกบ้าง แต่ขั้นตอน และวิธีการนำเสนอยังคงเดิมอยู่ทุกประการ หนังสือ a+A ลำดับต่อๆ ไป กำลังอยู่ในระหว่างการดำเนินการจัดทำ มีหลากหลายโครงการจากบริษัท สถาปนิกขนาดต่างๆ กัน อาคารเก่าและใหม่ ใหญ่ถงึ เล็ก โดยฝีมอื ของสถาปนิกสมาชิกรุน่ ใหญ่ กลาง และใหม่ คละเคล้ากันไป แต่ยังคงเน้นไปที่คุณภาพของผลงาน ความสมบูรณ์ของเนื้อหา และคงแนวความคิดที่จะนำ เสนอการทำงานของสถาปนิก และผู้ออกแบบในสาขาที่เกี่ยวข้อง นับแต่เริ่มโครงการจนเสร็จเป็นอาคารที่ สมบูรณ์เป็นสำคัญ ในโอกาสนี้ ทางคณะผูจ้ ดั ทำฯ ขอประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกสมาคมฯ ทุกๆ ท่าน ส่งข้อมูล โครงการออกแบบทีน่ า่ ใจ และสามารถจัดทำลงในหนังสือ a+A ในฉบับต่อๆ มาทีส่ มาคมฯ เพือ่ คณะผูจ้ ดั ทำฯ จะได้ประสานงาน และดำเนินการในลำดับต่อๆ ไป. ขอแสดงความนับถือ คณะกรรมการผู้จัดทำหนังสือ a+A สมาคมนิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย a+A
a+A
ลำดับต่อๆ ไป:
King Power (โดย บริษัท สถาปนิก 49 Grand Rapid Art Museum (บริษัท wHY Architect
จำกัด) จำกัด) ศิลา เอวาซอน ไฮด์อะเวย์ รีสอร์ท (บริษัท เมตริก จำกัด) อลีลา รีสอร์ท (บริษัท ดวงฤทธิ์ บุนนาค จำกัด) อาคารเฉลิมพระเกียรติ ภูมิพลสังคีต (บริษัท ต้นศิลป์ สตูดิโอ จำกัด) เป็นต้น
Forward from The a+A Committee
This second issue of a+A features two projects by The Office of Bangkok Architect Co., Ltd (OBA). The projects are Veranda Resort and Spa and Veranda Chiang Mai: the High Resort. This issue slightly departs from our original intention of focusing on just one project per issue. Further to discussion, we realized OBA’s projects presented interesting ideas about the relationship between land and sea and therefore we decided to present their work in terms of both aspects. While this issue may be expanded we have kept to our usual method of presentation, conceptual design and thinking processes etc. Future issues of a+A are on their way to inspire each of our members. The content will vary according to the work of our architects and designers, whether the projects are concerned with renovation or working from scratch, big or small, or involving senior or emergent designers. However, a+A always focuses on the quality of projects, from the creativity of the concepts to the details of resolution. Finally, we would like to take the opportunity to invite all our members to submit their design works for possible featuring. Please contact our association for details. Best regards, a+A Committee
3
VERANDA Resort
And Spa, Hua Hin
4
“...ผมมองว่าสถาปนิกและนักออกแบบส่วนต่างๆ ถือเป็นเหมือนหุ้นส่วนนะ คือผมไม่ ได้มองแค่การจ้างเขาทำงานให้แล้วก็จบกันไป เราไม่ ได้มองอย่างนั้น จุดหนึ่งที่สำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของโครงการต่างๆ ก็ต้องอยู่ที่เจ้าของโครงการว่า จะปฏิบัติต่อทุกคน อย่างไร เจ้าของมีทัศนคติกับเขาอย่างไร...”
วีรวัฒน์ องค์วาสิฏฐ์ ประธานกรรมการบริหาร บริษัท วีรันดา รีสอร์ท แอนด์ สปา จำกัด
5
“...โครงการนี้ต้องให้เครดิตทุกคน ไม่ ใช่แค่ผมคนเดียวแน่ๆ เพราะสิ่งที่ปรากฏและเห็นได้ชัดเจนมากว่าผมทำคนเดียวไม่ ได้หรอก เหนือสิ่งอื่นใด… ลูกค้าคือคนสำคัญที่สุด ที่จะปล่อยให้งานทั้งหมดออกมาในลักษณะอย่างไร คุณวีรวัฒน์เองก็มีส่วนร่วมกับเรา ในหลายๆ จุด แล้วสิ่งที่เขาเสนอมาก็ดีด้วย ซึ่งผมว่าเรื่องนี้ก็เกี่ยวกับเรื่องของวิสัยทัศน์นะ...”
สมิตร โอบายะวาทย์ สถาปนิก - บริษัท สำนักงานสถาปนิกกรุงเทพ จำกัด
VERANDA Resort
And Spa, Hua Hin
6
“...ถ้าเกิดไปเห็นรีสอร์ทบางแห่ง จะเริ่มรู้ทันทีว่าส่วนนี่สถาปนิกเป็นคนทำนะ ตรงนี้เป็นส่วนของ คนออกแบบภายในทำนะ ส่วนนี้เป็นภูมิสถาปนิกเป็นคนทำนะ เพราะว่าแต่ละส่วนจะดูไม่สอดคล้อง กันเลย เพราะหลายๆ นักออกแบบ มักจะพยายามใส่ความเป็นตัวเองเข้าไป”
สมหวัง ลีวาณิชยกูล ภูมิสภาปนิก - บริษัท เบล คอลลิน อินเตอร์เนชั่นแนล (ไทยแลนด์) จำกัด
“...การทำงานออกแบบกับโครงการนี้ ทำให้ผมรู้สึกว่าสนุกมาก ทุกคนในทีมสนุก กับงานนี้มาก แม้ว่าผลงานที่ออกมาขั้นสุดท้าย อาจจะไม่ ได้อย่างที่แต่ละคนคิดเอาไว้ 100 % เต็ม แต่เมื่อเทียบกับงานออกแบบลักษณะโครงการแบบนี้ ผมคิดว่าทุกคนในทีมต่างก็ มีความสุขในการทำงาน ... ผมเองมีความสุขกับกระบวนการคิดงานแบบนี้มาก...”
7
พงษ์เทพ สกุลคู สถาปนิกออกแบบภายใน - บริษัท ออกัส ดี ไซน์ คอนซัลแตนท์ จำกัด
คณะกรรมการบริหาร สมาคมนิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551-2553
VERANDA Resort
And Spa, Hua Hin
8
มนู ตระกูลวัฒนะกิจ ศิระ วิสุทธิโกศล ศานิต กี่บุตร วรพงษ์ กำนลมาศ ชาญชัย จรุงเรืองเกียรติ ศรีรัฏฐ์ สมสวัสดิ์ สุจิตรา ศรีไกรวิน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เสก สวัสดี อาจารย์ ปารณ ชาตกุล ธนิชา นิยมวัน วิมลรัตน์ ยงชัยตระกูล จาฑารัตน์ องค์ติลานนท์
นายกสมาคมฯ อุปนายก อุปนายก เลขาธิการ เหรัญญิก นายทะเบียน กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
กรรมการจัดทำหนังสือ a+A : คณะอนุ Resort and Spa, Hua Hin + Veranda Chiang Mai: the High Resort Veranda
มนู ตระกูลวัฒนะกิจ บรรณาธิการอำนวยการ ศิระ วิสุทธิโกศล บรรณาธิการบริหาร ศรีรัฏฐ์ สมสวัสดิ์ รองบรรณาธิการบริหาร วิมลรัตน์ ยงชัยตระกูล รองบรรณาธิการบริหาร อธิโชค พิมพ์วิริยะกุล บรรณาธิการ/ศิลปกรรม มนทิรา อร่ามกิจโพธา กองบรรณาธิการ ปองบุญ วงศ์ฉลาด กองบรรณาธิการ วิมลรัตน์ กฤษณะเกรียงไกร กองบรรณาธิการ ดร. ไบรอัน เคอร์ติน บรรณาธิการภาษาอังกฤษ ธนว์กัญญา แจ้งใจธรรม รองบรรณาธิการภาษาอังกฤษ พฤกษ์ เดชกำแหง ช่างภาพหลัก อุกฤษณ์ นพพรถิรชัย โฆษณา/การตลาด นงนุช จันทรสมโภชน์ เลขากองบรรณาธิการ หมายเหตุ: รูปถ่ายที่ปรากฏในเล่มนี้ทั้งหมด ได้รับการเอื้อเฟื้อเพิ่มเติมจาก บริษัทที่ออกแบบในโครงการ รวมทั้งเจ้าของโครงการ ขอขอบคุณมา ณ ที่นี้.
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของสำนักหอสมุดแห่งชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สมาคมนิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์. a+A : Veranda resort and spa, Hua Hin & Veranda the high resort, Chiang mai.- กรุงเทพฯ : สมาคมนิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551. 264 หน้า. 1. การออกแบบสถาปัตยกรรม. I. ชื่อเรื่อง. 729 ISBN: 978-974-592-600-4
a+A : 02 | Verada Resort and Spa, Hua Hin & Veranda Chiang Mai: the High Resort หนังสือรวบรวมผลงานออกแบบดีเด่น นิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ISBN: 978-974-592-600-4
เจ้าของ: สมาคมนิสิตเก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห้อง 118 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์: 02-218-4350 | โทรสาร: 02-252-4938 | อีเมล: admin@acua.or.th | www.acua.or.th ออกแบบและจัดทำ: สำนักพิมพ์ ช่องเปิด | โทรศัพท์: 081-347-5935 | www.voidpub.com จัดจำหน่าย: สมาคมนิสติ เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิมพ์ที่: บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน)
รีสอร์ทในประเทศไทยทุกวันนี้ ปรากฏขึน้ ให้เห็นได้อย่างรวดเร็วตามทุกชายหาด ทีไ่ ด้รบั ความนิยม มากและเร็วพอๆ กับคอนโดมิเนียมบนถนนสุขมุ วิท เป็นเงา สะท้อนที่เห็นได้ชัดถึงธุรกิจการท่องเที่ยวเบ่งบาน รอความท้าทายใหม่ๆ ของ นักออกแบบให้สร้างสรรค์เป็นทีจ่ บั ตาและจับใจนักท่องเทีย่ ว แต่ดว้ ยรูปแบบที่ โดดเด่นสะดุดตาอย่างเดียว อาจสร้างแรงดึงดูดได้เพียงครัง้ สองครัง้ เพราะการ ตลาดยุคสมัยใหม่ คงจะต้องมองให้กว้าง ให้นอกเหนือจากกรอบมาตราฐาน ดังนั้นการออกแบบและรูปแบบของสถาปัตยกรรม ก็เป็นสิ่งที่ปฏิเสธไม่ได้ว่า จะต้องทำหน้าที่ของแต่ละส่วนอย่างเต็มที่ โครงการรีสอร์ทมีความคล้ายคลึงกับโครงการอสังหาริมทรัพย์ในบางมุม การคำนึงถึงความรวดเร็วในการก่อสร้างโครงการ การแข่งกับเวลา เปิดบริการ ก่อนได้ถกู เห็นและเป็นทีร่ จู้ กั ก่อน การบริหารต้นทุน และทีส่ ำคัญ คือ “แบรนด์” ทีต่ อ้ งสร้าง เพราะรีสอร์ทในปัจจุบนั โดยส่วนใหญ่ มักไม่ได้เกิดทีเ่ ดียว แห่งเดียว เพราะโอกาสขยายตัวสามารถทำได้ตามความต้องการ ส่งผลให้ธุรกิจแข็งแรง ในระยะยาว การสร้างและเสริมความจงรักภักดีในแบรนด์ ถือเป็นมาตราฐาน ที่นักออกแบบในปัจจุบัน ล้วนจะต้องนำมาคิดพร้อมๆ กับการทำงานของตน เมื่อผู้บริโภคมีความชอบและนิยมทดลองของใหม่ไปเรื่อยๆ อิสรภาพในการ เลือกก็มมี ากพอกับงบประมาณในกระเป๋า หากเป็นความรูส้ กึ พึงพอใจทีจ่ ะจ่าย การดึงกลุ่มเป้าหมายของกลุ่มนี้ไว้ให้ได้นานแสนนาน เป็นเรื่องที่ต้องคำนึงถึง อย่างยิ่ง รวมถึงวิถีทางขยาย และแผ่กลุ่มเป้าหมายไปให้ได้กว้างที่สุดด้วย โครงการวีรนั ดา รีสอร์ทแอนด์สปา หัวหิน และวีรนั ดา เชียงใหม่ เดอะไฮท์ นับเป็นอีกหนึ่งแบรนด์สองโครงการ ที่ชี้ให้เห็นว่ากลยุทธ์ในการมัดใจของการ ออกแบบรีสอร์ท ท่ามกลางรีสอร์ทที่เปิดใหม่และมีการแข่งขันสูงนั้น วิธีคิด อย่างสร้างสรรค์จากเจ้าของโครงการและทีมผู้ออกแบบ หากได้ถูกนำมาผสม ผสานกันอย่างกลมกล่อมแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้จะออกมาน่าสนใจเพียงใด เพราะ รีสอร์ททีห่ ากไม่ได้เอา “ใจ” มา “ใส่” ให้กนั และกันแล้ว ผลลัพท์ทไี่ ด้คงไม่ตา่ ง ไปจากอาคารที่กั้นเป็นห้องๆ มีระเบียง เตียง สระว่ายน้ำ ห้องน้ำ และเรียก ตัวเองว่ารีสอร์ท เป็นได้แค่เพียงป้ายที่เขียนไว้ เพราะขาดแรงดึงดูดและเสน่ห์ ใดๆ ทีจ่ ะทำให้ผมู้ าเยือนรูส้ กึ และสัมผัสได้ จนอยากจะกลับมาอีกหลายๆ ครัง้ ด้วยความผูกพัน การนำเสนอของ a+A ฉบับนี้ ยังคงใช้วิธีการถ่ายทอดจากประสบการณ์ ตรงเช่นเดิม โดยหวังว่าผูท้ สี่ นใจจะได้รบั ความรู้ ความเข้าใจ ในวิธกี ารออกแบบ ในอีกแนวทางหนึง่ ทีส่ มั พันธ์ และผสานอยูใ่ นชีวติ ของเราทุกวันนีอ้ ย่างแยกกัน ไม่ออก. ขอแสดงความนับถือ บรรณาธิการ.
คำนำ
From the Editor
Resorts have sprung up on every popular beach in Thailand to seemingly the same extent as condominiums on Sukhumvit Road in Bangkok. This reflects the growth of tourism and consequently opportunities and challenges are created for designers in order to attract both local and international guests. Catchy architectural forms and styles can be employed, but contemporary marketing strategies should look beyond the conventional. Design and architectural style has to reach its greatest potential. In many respects a resort project is similar to a real-estate project. Both involve construction within a limited timeframe and often require ‘branding’ because of the possibility of expansion. That is, the possibility of further projects if the demand is high. Expansion, of course, signifies a healthy business. Branding and brand loyalty are important for designers today. This needs to be considered alongside the design process. So long as consumers have freedom of choice and money in their pocket it is an imperative to keep them loyal to a brand. Branding, however, includes the possibility of expanding existing target groups. Veranda Resort and Spa in Hua Hin and Veranda The Hight in Chiang Mai are two projects but one brand. Both demonstrate a strategy of how to capture the hearts of guests. In view of fierce competition within the hotel business, the creative collaboration between the owner and designers of these resorts could emerge as extraordinary. Or, put another way,
if hearts are not in the projects, a resort will end up as nothing different from a building divided into rooms with pools and balconies etc. added. Sometimes a resort is claimed as such by a sign. But there won’t be any charm there, no attraction to encourage guests to come back. The Veranda projects exemplify great relationships between all the people involved. All the meetings, discussions and compromises that led to the completion of the projects are a reflection of the resorts’ success. a+A presents this journey towards completion by publishing the experiences of those involved. This book will hopefully provide knowledge and understanding for people concerned with alternative possibilities in the field of design. These alternative possibilities include the idea of design as a science that connects life and/or experience in a way that only architecture can render as inseparable.
9
VERANDA Resort
And Spa, Hua Hin
10
ในเล่ม ในอาคาร ในความคิด ในสระน้ำ
Veranda Resort and Spa, Hua Hin
ในที่ว่าง 01/
จุดเริ่ม / page 15 / Shall We Start 02/ สนทนารอบสระ / 31 / A Round Pool Discussion 03/ ภูมิสถาปัตยกรรม / 41 / Landscape Architecture 04/ สถาปัตยกรรม / 53 / Architectural Design 05/ ระเบียงเล / 69 / Rabiang Lay 06/ สถาปัตยกรรมภายใน / 77 / Interior Architecture 07/ Pool Villa / 87 08/ Veranda Sky / 93 09/ แบบพิมพ์เขียว / 102 / Blueprint 10/ ผู้ร่วมสร้าง / 115 / Suppliers 11/ เรขศิลป์ ในโครงการ / 120 / Graphic Design
/content
/สารบัญ/
11
VERANDA Resort
And Spa, Hua Hin
12
“I see the architect and all the other project designers as my partners. I did not hire them to design for me only. That was not my vision. Personally, I believe the key to a project’s success is the owner, in terms of the owner’s attitude and how he or she treats the others involved”. Verawat Ongvasith,
President Veranda Resort and Spa
13 “Everyone involved in this project deserves credit, not just me as architect. Everything you see here is clear proof that I could not have done this alone. However, of essential importance is the owner. Khun Verawat had a clear, strong vision he always gave us good comments”. SMITH OBAYAWAT,
Architect
“I really enjoyed working on this project. I think everyone involved had fun, even though the final outcome may not be 100% as expected. But, in comparison to similar projects, I think the process here was of great value”. Pongthep Sagulku,
“Regretfully, some resorts demonstrate the signature styles of the different designers involved. This means they didn’t see the whole picture”. Somwong Leevanijkul,
Landscape Architect
Interior Architect
VERANDA Resort
And Spa, Hua Hin
14
/01/
President Veranda Resort and Spa Co., Ltd.
จุดเริ่ม
ขอให้คุณวีรวัฒน์เล่าถึงที่มาที่ไปของวีรันดาครับ คงจะต้องขอเล่าภูมิหลังให้ทราบกันเล็กน้อยก่อนว่า ครอบครัวของผม ดำเนินธุรกิจก่อสร้างมานานแล้ว โครงการส่วนใหญ่จะเป็นงานราชการ ซึง่ ทำให้ผมพอทราบแล้วว่า ลักษณะและธุรกิจของการก่อสร้างเป็นอย่างไร ต่อมาผมเข้าไปเป็นหุน้ ส่วนกับทาง Major Cineplex ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ โดยเข้าไปเป็นกรรมการบริหาร เลยได้รจู้ กั กับคุณสมิตร ซึง่ เป็นผูอ้ อกแบบ โครงการต่างๆ ของเมเจอร์ในขณะนั้น โครงการต่างๆ ของเมเจอร์นี่เอง ที่ทำให้ผมได้เรียนรู้เรื่องโครงสร้าง เรื่องค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการก่อสร้าง ในการออกแบบว่า จะต้องมีการลดทอนบางอย่าง เพื่อให้ได้ประโยชน์ Shall We Start สูงสุด จากนัน้ ก็เรือ่ งการวางแผนงาน และเรือ่ งการพัฒนาโครงการ ซึง่ เป็น Please discuss the เรื่องใหม่ๆ ที่ได้เรียนรู้ นอกเหนือจากการเป็นผู้รับงานก่อสร้างธรรมดา background and starting point of จากนัน้ ทางเมเจอร์กเ็ ข้าสูต่ ลาดหลักทรัพย์ฯ เริม่ มีเงินทุนมากขึน้ เลยมอง Veranda. หาธุรกิจอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการก่อสร้าง โดยก่อนหน้านีค้ ณ ุ พ่อผมท่านทำ On a personal level, my family is in the construction business โรงแรมอยู่หนึ่งที่เชียงใหม่ ชื่อโรงแรมธาริน เป็นโรงแรมขนาด 3 ดาว involved and, though we mostly worked with เปิดเมื่อปี พ.ศ. 2538 ผมเองก็ได้บริหารตั้งแต่เริ่มเปิดอยู่แล้ว เลยทำให้ governmental organizations, this provided a solid foundation พอที่จะทราบเกี่ยวกับกับการบริหารโรงแรมอยู่บ้าง และจากการที่ได้ไป background in business practice for me. I later ท่องเทีย่ วต่างประเทศบ่อยๆ เลยทำให้ได้เห็นแนวโน้มใหม่ๆ ของโรงแรม joined Major Cineplex and became ที่ในเมืองไทยยังไม่ค่อยมีมากนัก เป็นโรงแรมที่เน้นเรื่องการออกแบบ a member of the executive board. There I met the designer of many เป็นพิเศษ เลยมีความรูส้ กึ ว่าอยากจะทำเองบ้าง ตอนแรกๆ คิดไว้วา่ อยาก of their projects, Mr. Smith, and จะทำทีห่ วั หิน เพราะคิดว่าเป็นทีต่ งั้ ทีเ่ หมาะกับคนไทยรุน่ ใหม่ทมี่ กี ำลังซือ้ learned about costing, planning and development. Also, my father owns อยู่ไม่ไกลจากกรุงเทพฯ และกำลังเป็นที่นิยม a 3 star hotel in Chiang Mai and this ทีด่ นิ แปลงทีเ่ ห็นอยูน่ กี้ ว่าจะได้ ผมใช้เวลาหาอยูเ่ กือบ 4 ปีนะ พอได้ provided me with some experience the hotel business. Finally, my travels มาแล้วก็เริม่ โครงการนีเ้ ลย อย่างแรกทีเ่ ริม่ ผมเน้นเรือ่ งของการสร้างทีม of abroad provided an opportunity for ผูอ้ อกแบบก่อนเลยนะ โดยเฉพาะในช่วงแรกซึง่ ผมถือว่าเป็นขัน้ ตอนของ me to understand hotels that are การวางโครงสร้างนีส่ ำคัญมาก เมือ่ โครงสร้างหลักนีผ้ า่ นไปแล้ว ผมคิดว่า very much focused on design. I became interested in Hua Hin as a place เหมือนกับเรือ่ งทีส่ ำคัญๆ ต่างๆ ได้ถกู ตัดสินใจหมดแล้ว ทีเ่ หลือคือเป็น because it isn’t far from Bangkok and การเก็บเกี่ยวเรื่องรายละเอียด ตอนนั้นคุณสมิตรเองยังมีประสบการณ์ is increasingly popular with people possess a great buying potential. ทางออกแบบรีสอร์ทไม่มากนัก ส่วนผมยังกึ่งๆ เป็นนักพัฒนาอสังหา who It took me 4 years to find the land ริมทรัพย์ (developer) ที่มีพื้นหลังทางด้านการเงินมาค่อนข้างเยอะ ผม I wanted. At the beginning I focused putting together the design team รีบบอกคุณสมิตรไว้ตงั้ แต่แรกก่อนเลยนะว่า โครงการนีต้ อ้ งใช้เวลาสัน้ นะ on and planning the structure. This part ผมจะทำห้องพักที่มีจำนวนไม่มากนัก เพื่อให้ขึ้นโครงการและสร้างเสร็จ of the project is crucial because the ได้เร็ว คิดว่าประมาณ 100 ห้องน่าจะบริหารเองได้ แล้วค่อยไปขยายเพิม่ main structure represents the most important decisions and then it’s a สาขาที่อื่นๆ (chain) ได้อีกในอนาคต matter of deciding on details. Khun
Verawat Ongvasith
วีรวัฒน์ องค์วาสิฏฐ์ | ประธานกรรมการบริหาร | วีรันดา รีสอร์ท แอนด์ สปา
15
VERANDA Resort
And Spa, Hua Hin
16
จากนัน้ เราก็เริม่ คุยกันตัง้ แต่ชอื่ ของตัวรีสอร์ท ขณะนัน้ คุณสมิตรเอง ก็ยังไม่ทราบเรื่องให้ช่วยกันตั้งชื่อด้วยซ้ำ แต่ผมมองว่าสถาปนิกและนัก ออกแบบในส่วนต่างๆ ถือเป็นเหมือนหุ้นส่วนนะ ผมไม่ได้มองแค่การ จ้างเขาทำงานให้แล้วก็จบกันไป ผมไม่ได้มองอย่างนั้น จุดหนึ่งที่ผมคิด ว่าจะมีความสำคัญต่อผลความสำเร็จของโครงการต่างๆ อยู่ที่ตัวของ เจ้าของโครงการเอง ว่าจะปฏิบัติต่อทุกคนรอบๆ ที่ร่วมกัน ช่วยทำงาน ให้กันอย่างไร เจ้าของโครงการจะมีทัศนคติกับพวกเขาเหล่านั้นอย่างไร ผมเองก็ถือว่าใหม่ในเรื่องนี่ ซึ่งก็ต้องฟังคุณสมิตรเยอะ เพราะว่าในการ ที่จะดึงงานออกแบบส่วนอื่นๆ เช่น ภูมิสถาปัตยกรรม หรือการตกแต่ง ภายในเข้ามา แนวคิดต่างๆ ก็ต้องไปด้วยกันได้ ต้องมีการคุยกันก่อนที่ จะเลือกเข้ามาร่วมงานออกแบบกัน เราจะคุยเรือ่ งธีมหลักๆ ว่าอยากให้ เป็นแบบนั้นแบบนี้ แล้วคนที่จะทำให้เราได้ตามนั้นเป็นใครได้บ้าง ผมก็ ต้องไปเชื้อเชิญเขาเหล่านั้นเข้ามาคุย ส่วนเรื่องค่าบริการวิชาชีพผมว่า เป็นเรื่องสำคัญที่รองลงไป ผมเองก็มีตัวเลขอยู่ในใจบ้างแล้ว ถ้าได้ไม่สูง กว่าทีค่ ดิ ไว้กเ็ ป็นการดี แต่ผมคิดว่าสิง่ สำคัญกว่านัน้ จะต้องได้สงิ่ ที่ “ใช่” มากกว่า “ถูก” เรื่องของการรวมทีมก็มีความสำคัญไม่แพ้กัน เพราะว่า จะต้องมีการตัดสินใจร่วมกันในขัน้ ตอนสุดท้าย จะต้อง “เคาะ” ให้จบกัน ให้ได้ในทีป่ ระชุม ซึง่ ตอนนัน้ วีรนั ดาทีห่ วั หิน ก็ตอ้ งให้เครดิตของเรือ่ งการ ทำงานกันเป็นทีมให้กบั ทุกคน สำหรับคุณสมิตรคงต้องให้เครดิตมากเป็น พิเศษหน่อย เพราะว่ามีสว่ นเกีย่ วข้องตัง้ แต่ตน้ เลย นับตัง้ แต่เริม่ เรือ่ งการ วางผังของโครงการตั้งแต่เริ่มต้น ผมชืน่ ชมว่าคุณสมิตรเป็นสถาปนิกทีย่ ดื หยุน่ มาก แล้วก็เป็นสถาปนิก ที่ “รับฟัง” อย่างตัง้ ใจมาก เพราะหลังจากทีร่ บั ฟังโจทย์จากผมไปแล้วว่า อยากจะได้รสี อร์ทแบบนีๆ ้ คุณสมิตรก็ลองร่างแบบมาให้เราได้พจิ ารณา ก่อนได้ และยังสามารถแนะนำเรือ่ งสำคัญอืน่ ๆ ต่างๆ ทีต่ อ้ งคิดตามมา ได้ด้วย ผมคิดว่าสถาปนิกที่ดีน่าจะต้องมีลักษณะคล้ายๆ กันอย่างนี้ คือจะต้องทำงานกับคนอืน่ ได้ดี และต้องเป็นผูเ้ ล่นในทีมทีด่ ี อย่างทีเ่ รียน ไว้แต่แรกว่าการสร้างทีมเป็นเรือ่ งทีส่ ำคัญ แล้วการทีท่ กุ คนสามารถรับฟัง กันและกันก็เป็นเรื่องที่สำคัญไม่แพ้กัน เพราะไม่มีใครเก่งกว่าใครในทีม ไหนหรอกครับ แต่ละคนต่างก็มีความคิดที่ดีๆ ของตนทั้งนั้น ฉะนั้นผม คิดว่าไม่ใช่ว่าพอออกแบบส่วนของตัวเองเสร็จ พื้นที่ข้างนอกหรืองาน ส่วนอื่นๆ ก็โยนต่อไปให้คนอื่นเขามาทำต่อ แต่เราต้องมาคุยกันใน แต่ละส่วนด้วยว่าคิดกันอย่างไร ในขณะเดียวกันทีเ่ จ้าของโครงการเอง ก็จำเป็นต้องมีแนวคิดหลักของ ตัวเองด้วยเหมือนกัน ไม่ใช่แค่รู้ว่าอยากจะได้ห้องจำนวนเท่านั้น เท่านี้ ห้องสัมมนาอยากได้ใหญ่เท่านี้ ห้องอาหารขนาดเท่านี้ พอ จบแล้วแต่
ไม่เข้ามามีส่วนร่วมอะไรอีกเลย แล้วไปรออีกทีตอนแบบก่อสร้างเสร็จ อย่างนัน้ ผมว่าไม่ใช่นะ ผมมองว่าปัญหาต่างๆ จะลดทอนไปได้มากเลย ถ้าเจ้าของโครงการเข้าไปมีส่วนร่วมในการออกแบบตั้งแต่ต้น มีและให้ ความคิดเห็น แล้วช่วยกันพัฒนาแบบร่วมกันในการออกแบบ ไม่ใช่พอ ทำแบบเสร็จแล้ว แต่พอไม่ชอบใจอะไร ก็โยนให้กลับไปทำใหม่ อย่างนี้ สถาปนิกหรือคนออกแบบก็จะปวดหัวตาย เพราะว่าเวลาการทำงานของ พวกเขาก็ถอื เป็นเงินเป็นทองเหมือนกัน แล้วการบริหารเวลาดีๆ ก็คอื การ บริหารเงินทีด่ เี หมือนกัน แล้วถ้าสิ่งใดที่เราไม่ชอบ ก็ควรต้องรีบบอกคน ทำงานตั้งแต่ต้น แล้วระบุความต้องการลงไปเลย ไม่ใช่ให้เขาออกแบบ มาจนเสร็จแล้ว อ้าว… ไม่ชอบ ไม่เอา อย่างนีเ้ ป็นใครๆ ก็เหนือ่ ย อย่าง ทีบ่ อกแล้วว่า ถ้าเรามองว่าเขาเป็นหุน้ ส่วน เราก็ตอ้ งคิดเผือ่ ให้เขาด้วยว่า จะช่วยเขาประหยัดเรื่องเวลาต่างๆ ด้วย เวลามีอะไรเกิดขึ้น ก็ต้องบอก กันล่วงหน้าก่อน สมมุตผิ มอยากจะเห็นรีสอร์ทของผมออกมาเองเป็นอย่างไร ผมก็ตอ้ ง ไปทำการบ้านมา ไปดูโรงแรมที่ดีๆ เดินทางไปท่องเที่ยว อ่านหนังสือ ทำการบ้านต่างๆ สารพัด แล้วก็มาบอกทีมออกแบบ ชีท้ างพวกเขาอย่า ให้ไปผิดทาง เพราะจะเสียเวลากันทุกๆ ฝ่าย โดยเฉพาะที่นี้ ผมให้เวลา คุณสมิตรและทีมออกแบบไม่นานนัก ส่วนแนวคิดทำแบบจริงๆ ไม่ถึง 6 เดือน ระยะการก่อสร้างไม่ถึง 18 เดือนด้วยซ้ำ แล้วรีสอร์ทก็จะเสร็จ ได้ทันตามที่ผมกำหนดไว้ แล้วผลจะที่ได้ตามมาก็คือเรื่องของการเงินที่ ประสบความสำเร็จ และนัน้ คือเป้าหมายหลัก นอกเหนือไปจากนัน้ งาน ชิ้นนี้ของเรา ยังได้รับรางวัลต่างๆ ตามมา ทีมผู้ออกแบบก็มีความสุข ผมเองในฐานะเจ้าของโครงการก็มีความสุข ที่สำคัญคือการเงินจะต้อง ประสบความสำเร็จด้วย ถึงจะสามารถเดินไปเป็นก้าวที่ 2 3 4 ต่อไปได้
Smith didn’t have a lot of experience of hotel design and I was more or less a developer with a substantial business background. I told Khun Smith that I wanted this to be a short project and there should be around 100 rooms so I can ultimately manage the Veranda by myself. I see architects and designers as my partners. A key to success is in how people are treated. Khun Smith gave me advice because I was new to this type of work; so many aspects need to be integrated, from landscape architecture to interior design etc. We had many discussions about the selection of the designers, the central themes of Veranda and the cost. I give great credit to our teamwork because there had been so many meetings before we reached our final decisions. However, extra credit needs to go to Khun Smith because of his involvement from the start. Khun Smith is a very practical architect; he is a listener and designed according to my preferences in terms of style. Also, he gave great advice. Good architects need to be team players and every member of the team was as good as each other. We all had great ideas to share; it wasn’t a case where we left the interior design to interior designers or the exterior as the sole responsibility of the landscape architects. Potential problems can be avoided if the person who commissioned the project is part of the design process from the very beginning. It is important to ensure your vision is initially very clear, instead of waiting for the design to be complete and then expressing your opinions. For this project I didn’t give Khun Smith and the team a long period of time. There was 6 months for the design concept and the construction took less than one and a half years. Everything was finished on schedule and the financial success of the project followed from this. This project also won many awards, which was brilliant for all of us. However, financial success is of key importance because it keeps us moving forward.
17
VERANDA Resort
And Spa, Hua Hin
18
เพราะถ้าโครงการนี้เกิดได้แต่กล่อง แล้วพวกเราทุกคนต้องมาค้างคาอยู่ กับโครงการนี้ไปอีก 5 ปี 10 ปี ก็จะไม่เกิดประโยชน์สำหรับใครๆ เลย สถาปนิกเองก็จะไม่ได้งานต่อเนือ่ ง อาจจะได้เพียงแค่กล่อง เพราะฉะนัน้ โครงการทีด่ ผี มว่า ก็จะต้องประสบความสำเร็จทุกส่วน ทัง้ เจ้าของโครงการ สถาปนิก และทีมนักออกแบบทุกๆ คน อย่างโจทย์วรี นั ดาทีห่ วั หินนี้ เนือ่ งจากตอนนัน้ ผมเพิง่ จะแต่งงานใหม่ๆ เพิ่งจะมีลูก เลยอยากให้เป็นรีสอร์ทสำหรับคู่รักมาฮันนีมูนกัน รูปแบบ ของสถาปัตยกรรมหรือการออกแบบส่วนต่างๆ ก็ต้องไม่ทันสมัยเกินไป สิง่ อำนวยความสะดวกสบายต่างๆ ต้องมีให้เหมาะสมสำหรับการใช้งาน แต่ในขณะเดียวกันในมุมมองและประสบการณ์ของการเริม่ มีลกู เราก็คดิ ถึงเรื่องการเตรียมจะเล่นน้ำกับเด็กเล็กๆ ต้องมีอะไรบ้าง ซึ่งเหล่านี้ผม คิดว่าเป็นวิธีการที่สำคัญมาก โจทย์ที่ให้กับทีมออกแบบคือ ผมต้องการ สระว่ายน้ำที่อยู่ในร่ม หรือมีร่มเงา มีหาดทราย และน้ำที่ตื้นพอที่จะให้ เด็กเล็กๆ หน่อยเล่นได้ เพราะเรารู้ดีว่า เวลาครอบครัวที่มีลูกเล็กๆ มา พักนั้นต้องการอะไรบ้าง ในขณะเดียวกัน Beach front pool villa ผมก็ บอกว่าอันนั้นเป็นสำหรับสองคน หรือคู่ฮันนีมูนนะ เพราะต้องมีความ เป็นส่วนตัวมากๆ แล้วก็ต้องมีองค์ประกอบอื่นๆ อีกอะไรบ้าง นอกจากนี้ผมเคยไปสัมมนากับเครือเมเจอร์ เลยพอจะรู้เรื่องความ ต้องการด้านการตลาด ของการจัดประชุมสัมมนาในที่ต่างๆ เหมือนกัน ว่าเมืองที่ใกล้กรุงเทพฯ นี่ก็สำคัญเหมือนกัน ผมเลยบอกโจทย์ไปอีกว่า ต้องทำห้องจัดสัมมนาให้ผม เป็นหลายๆ อย่างที่ผมคิดว่าไม่ใช่เรื่องที่ เจ้าของโครงการจะมารอให้สถาปนิกแนะว่า การสร้างรีสอร์ทหนึง่ ๆ นัน้ จะต้องประกอบไปด้วยอะไรบ้าง เรื่องแบบนี้ควรเป็นเรื่องของเจ้าของ มากกว่า ที่จะเป็นคนระบุไปเลยว่าอยากจะได้ส่วนประกอบต่างๆ เพื่อ ทีจ่ ะเดินไปถึงจุดๆ หนึง่ ได้ ทางผมเองก็ตอ้ งเป็นผูอ้ ธิบาย แล้วก็ให้โจทย์ กับทีมออกแบบเยอะเหมือนกัน บางอย่างผมคิดว่าเจ้าของต้องเป็นผูต้ งั้ โจทย์มาเลยว่าอยากจะได้อะไรบ้าง แต่บางอย่างก็เป็นเรือ่ งของสถาปนิก หรือนักออกแบบอื่นๆ ที่จะต้องโน้มน้าวกับผมว่าอย่างนี้ๆ น่าจะดีกว่า ซึง่ ผมเองก็ตอ้ งรับฟัง ผมเรียกว่าเป็นการวางแผนร่วมกัน ใช้เวลาร่วมกัน ไม่ใช่คิดเพียงว่าจ้างเขาออกแบบให้ แล้วก็มีหน้าที่คอยไปตัดในสิ่งที่เขา เสนอออกไป อันนั้นอันนี้ไม่เอา อย่างห้องพักวีรันดาที่หัวหินบางมุม เลีย่ งไม่ได้ทจี่ ะต้องหันไปประจันหน้ากับกำแพง ผมเห็นแบบแล้วก็คดิ ได้ ทันทีว่าอย่างนี้ไม่ดีแน่ เพราะจะเกิดกรณีของห้องพัก ที่จะมีข้อด้อยใน
เรื่องการบริหารจัดการทันที เพราะห้องลักษณะนี้จะสร้างความรู้สึกที่ไม่ ดีแก่ผู้มาพัก ด้วยการเป็นคนบริหารโรงแรม ผมก็ต้องจัดการรีบแก้ไขใน ทันที โดยจัดให้มีน้ำตกเพิ่มบริเวณรอบๆ บริเวณนั้นเข้าไป สิ่งเหล่านี้ก็ ต้องทำเลยในตอนนั้น พร้อมๆ กันเลย ไม่ใช่รอให้เปิดรีสอร์ทเสร็จก่อน ให้มีคนเข้ามาพักก่อน เกิดปัญหาแล้วค่อยๆ เพิ่มทีหลัง อย่างนี้ไม่ดีแน่ เราต้องแก้หรือป้องกันให้มีจุดอ่อนให้น้อยที่สุด เพราะเวลาของทุก คนเป็นสิ่งมีค่า ทีมออกแบบเขาก็อยากทำส่วนออกแบบของเขาให้เสร็จ เพือ่ ทีจ่ ะได้เอาเวลาไปทุม่ เทให้กบั โครงการอืน่ ๆ ของเขาต่อ แต่บางทีถา้ เจ้าของโครงการต้องการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาอย่างที่บอก แล้วไป เพิ่มทีหลังผมว่าจะเหนื่อย แล้วทำให้ทำงานกันได้ยาก เพราะบางทีงาน ที่เพิ่มมาตั้งแต่เริ่มต้น แล้วทำให้โครงการประสบความสำเร็จ จะรู้สึกว่า คุ้มค่ากว่ากันมาก สถาปนิกหรือนักออกแบบส่วนต่างๆ เองก็ต้องเข้าใจ ตรงนี้ ซึ่งคุณสมิตรและทีมออกแบบทุกท่านก็เข้าใจดี ผมเองก็ต้องขอ แสดงความชื่นชมกับทีมออกแบบเป็นอย่างมาก ที่เข้าใจผมในเรื่องการ บริหารจัดการงบประมาณการก่อสร้าง อีกเรื่องหนึ่งที่สำคัญ คือเรื่อง ความรูส้ กึ ดีๆ ทีผ่ มู้ าพักจะต้องได้รบั กลับไป ผมถือว่าเรือ่ งนีเ้ ป็นเรือ่ งสำคัญ ที่สุดเลย เพราะเป้าหมายสำคัญของเราคือ เมื่อมาที่นี่แล้ว ผู้ที่มาพักจะ ต้องได้ รับความประทับใจที่แตกต่างไปจากที่อื่น พอเปิดวีรนั ดาทีห่ วั หินสำเร็จ เราเปิดแล้วก็ทำการตลาดได้ดี คนทีไ่ ป พักมาแล้วก็รู้สึกประทับใจ ในสิ่งที่ทีมผู้ออกแบบช่วยกันคิดสร้างสรรค์ จะเห็นเป็นเรื่องปกติเลย ที่ผู้เข้ามาที่นี่แทบจะทุกท่านถือกล้องถ่ายรูป เดินไปเดินมา ถ่ายรูปในมุมต่างๆ กันอย่างเพลิดเพลิน บางคนตัง้ ใจมาก ถึงกับใช้ขาตั้งกล้องเลยก็มี แล้วไปโพสต์รูปทางอินเตอร์เน็ต เลยกลาย เป็นกระแสตอบรับทีด่ ใี ห้กบั รีสอร์ทของเราไป โดยทีเ่ ราเองก็ไม่ได้คาดคิด มาก่อนว่ารีสอร์ทของเรา จะมีรูปแบบและให้ประสบการณ์ในการมาพัก ทีไ่ ม่เหมือนกับรีสอร์ททีเ่ ป็นเครือใหญ่ๆ ทีเ่ ปิดกันทัว่ โลกหรือทัว่ ประเทศ (chain hotel) นะ อาจเป็นเพราะบางเรือ่ งเป็นเรือ่ งทีข่ ดั ต่อกฏเกณฑ์ใน การออกแบบสำหรับรีสอร์ทเหล่านัน้ แต่ผมรับได้ พอทีมออกแบบเสนอ อะไรมาผมก็รบั ฟัง แต่ไม่ใช่วา่ ตัวเองไม่มกี รอบอะไรเลย เพียงแต่วา่ เป็น กรอบที่มองเห็นขอบไม่ค่อยชัดเจนนัก ไม่ชัดพอที่จะให้ผู้ออกแบบได้ใส่ ความคิดดีๆ กันได้อย่างเต็มที่ ทางคุณพงษ์เทพ กับ August Design เอง ก็ได้สนุกสนานกับการจัดเตียงในห้องพัก ที่ขนาดและการวางไม่เหมือน ปกติกบั ทีเ่ คยทำมากับรีสอร์ทของเครือใหญ่ๆ มาก่อน แล้วการออกแบบ สระว่ายน้ำที่ผมให้โจทย์กับคุณสมหลังว่า จะต้องมีขนาดใหญ่ และมี
I wanted Veranda Hua Hin to be a resort for honeymooners or couples with young children. This was the result of me recently marrying and having a young child. The style of architecture and general design needed to be functional in terms of comfort. For example, I required the design team to create an indoor pool or outdoor pool with shades and a beach and the depth of the pool needed to suit young children. The Beach Front Pool Villa was designed for couples and has a very private atmosphere. I greatly admire the design team for their understanding of budgetary issues and their concern for our clients’ impressions in order to distinguish Veranda. The project has been very successful. People recognize that Veranda is very different from other international chain hotels. I remember Khun Pongthep and August Design had fun arranging the beds in each room and our landscape architect, Khun Somwong, worked so we could keep the existing trees, which adds a nice touch. The designers also removed the weak point of most seaside resorts, especially for children, in terms of clients having to wait until 4pm or so to use the pool because of the sun. At Veranda everyone can play in the pool all day long. Why didn’t you choose an architect with an established career in hotel design?
I sought an architect whose work had evolved from small scale projects to larger ones. Also, I wanted an architect who is the owner of their company rather than hiring a big company that might delegate my project to a young and inexperienced architect. Finally, I was new to this back then and was worried that a big company with much experience in hotel design might not welcome my input to the extent I wanted. I already knew Khun Smith and our relationship is good in terms of discussion and exchanging ideas. We were collaborators, or partners, and it’s a kind of strategy to give people who work for you the opportunity to develop their potential.
19
VERANDA Resort
And Spa, Hua Hin
20
พื้นที่ชายหาดเล็กๆ สำหรับเด็กเล็กด้วย ทางภูมิสภาปนิกก็ออกแบบให้ หลบและเก็บต้นไม้เดิมๆ เอาไว้ได้หมด ทำให้เราสามารถรักษาต้นไม้เดิม ได้หมดเลยซึ่งเป็นเรื่องที่ดีมากๆ สระว่ายน้ำสำหรับเด็กนี้ ก็สามารถไป ลบข้อด้อยหลายอย่างๆ ของรีสอร์ทเดิมๆ ที่ติดทะเล เช่น ถ้าอยากจะ ว่ายน้ำกับเด็กเล็กๆ ทัง้ วัน เป็นเรือ่ งทีท่ ำไม่ได้ ต้องรอให้เลย 4 โมงเย็น ไปก่อน หรือรอให้แดดร่มถึงจะว่ายได้ แต่ที่วีรันดาหัวหินนี้สามารถว่าย ได้ทั้งวันเลย คือถ้าไปพักถึงรีสอร์ทริมทะเล แล้วต้องรอให้ถึง 4 โมงเย็น เพือ่ จะเล่นน้ำ ผมว่าจบเลย เป็นเรือ่ งไม่คมุ้ ค่ามาก ตรงนีผ้ ทู้ เี่ ป็นเจ้าของ โครงการต้องมีการใส่ข้อมูลที่ดี และทีมนักออกแบบก็ต้องรับพอสมควร เพราะเหตุผลใดคุณวีรวัฒน์จงึ ไม่เลือกสถาปนิก ทีช่ ำนาญด้านการ ออกแบบรีสอร์ทโดยเฉพาะ ประเภทที่ออกแบบแล้วประสบความ สำเร็จ เป็นทีร่ จู้ กั และกล่าวถึงกันมากมาย ซึง่ ในวงการออกแบบใน บ้านเราเองก็มใี ห้เห็นอยูพ ่ อสมควร จะได้ไม่เสีย่ งกับโครงการใหม่ๆ ลักษณะนี้มากเกินไป เพราะคุณสมิตรเองก็ไม่ได้ชำนาญด้านนี้ เป็นพิเศษ ผมต้องการสถาปนิกที่ทำงานเล็กๆ มาก่อนแล้วค่อยไปใหญ่ สถาปนิก คนทีเ่ ป็นเจ้าของบริษทั ออกแบบของเขาเอง ก็ตอ้ งเป็นคนมาลงมือเองได้ สามารถทำ และตัดสินใจเองได้ และถ้าเขาได้มสี ว่ นร่วมกับโครงการเยอะ โครงการของเราก็จะได้ใช้ประสบการณ์ของเขา มากกว่าการที่เราไปจ้าง บริษัทใหญ่ๆ ที่สุดท้ายแล้วก็อาจจะให้สถาปนิกรุ่นเด็กๆ หน่อยมาดูแล โครงการให้กับเรา ในขณะเดียวกัน ผมเองก็ค่อนข้างที่จะใหม่ในวงการ นี้อย่างที่บอก แม้ว่าจะมีความคิดต่างๆ บวกกับสิ่งที่รู้ว่าอยากจะได้ไว้ แล้วมากพอควร แต่การที่ไปจ้างบริษัทสถานิกใหญ่ๆ ที่รู้เรื่องเกี่ยวกับ
โรงแรมหรือรีสอร์ทเยอะๆ คิดไปว่าบางทีพอผมอยากจะบอกหรือเสนอ อะไรบางอย่างไป เขาคงไม่อยากจะฟัง แล้วคงบอกผมว่าเขาทำมานาน แล้ว ทำมาเยอะแล้ว เอาอย่างนี้แบบนี้เลยดีกว่า เพราะดีแน่ ได้ผลแน่ กลายเป็นว่าผมจะมีส่วนร่วมในการให้ความคิดต่างๆ ได้น้อย ซึ่งผมเอง ต้องการความสมดุลระหว่างบริษัทออกแบบกับเจ้าของ ผมจึงตัดสินใจ ที่จะเลือกคุณสมิตร เพราะความที่รู้จักกันมาก่อน เราคุยกันได้ทุกเรื่อง แล้วก็รับฟังกันและกัน มีอะไรก็แลกเปลี่ยนกัน คุณสมิตรเองก็เป็นคนที่ ชอบเดินทางไปมากมายหลายที่ เวลาไปเห็นอะไรดีๆ ก็กลับมาเล่าให้ ผมฟังเสมอๆ ผมคิดว่าเป็นการพัฒนาความคิดร่วมกัน เหมือนเป็นคูค่ ดิ (partner) กันในระดับหนึ่งแล้ว ก็เลยทำงานกันได้อย่างมีความสุข เขา ทำงานกับเราเขาเองก็มีความสุข ไม่ใช่ว่าพอทำงานกันแล้วก็ติดๆ ขัดๆ หลายเรื่อง แก้ใหม่ทำใหม่กันซ้ำๆ ซากๆ ถ้าเรามองว่าเขาเป็นคู่คิด เรา ก็ควรจะให้เกียรติเขาด้วย ไม่ใช่พออยากจะได้อะไร ก็สั่งอย่างเดียว ผมคิดว่าองค์กรที่ใช้พลังสมองของคนเป็นส่วนสำคัญหลัก ไม่ว่าจะ เป็นบริษัทออกแบบหรือประเภทใดก็ตาม ผู้บริหารควรจะต้องให้เกียรติ และต้องรับฟังความคิดเห็น และให้ความสำคัญกับคนทีท่ ำงานให้ ซึง่ เขา จะรูส้ กึ ยินดีมาก และอยากจะทุม่ เทเวลาให้กบั เราอย่างเต็มที่ ผมมองว่า เป็นกลยุทธ์อย่างหนึ่งของการทำโครงการ เป็นการเปิดโอกาสให้บุคคล ที่เขาทำงานกับคุณ ได้มีโอกาสได้ใส่ความคิดความสามารถอย่างเต็มที่ สมมุตวิ า่ โครงการนีม้ ลู ค่า 5 ล้านบาท ไม่วา่ ผูเ้ กีย่ วข้องโครงการนีจ้ ะเป็น ใครบ้าง แต่เขาสามารถที่จะทำงานให้คุณได้เป็น 7-8 ล้าน หรือแค่ 5 ล้านบาทก็ได้ ขึ้นอยู่กับว่าเขาจะมีใจแล้วมานั่งลงทำงานในรายละเอียด ต่างๆ เพือ่ ให้โครงการของคุณครบถ้วนสมบูรณ์มากน้อยแค่ไหน ผมเชือ่ ว่าการทีเ่ ราให้เกียรติเขา และปฏิบตั กิ บั เขาเหมือนกับเป็นเพือ่ นคูค่ ดิ เขา จะทุ่มเทให้กับเราได้มาก เวลามีปัญหาอะไรเกิดขึ้น เขาก็จะใช้ความรู้ และศักยภาพต่างๆ ของเขาในการแก้ปัญหาให้เราอย่างเต็มที่ เวลาจะ คิดอะไรก็จะคิดให้เราหลายๆ ตลบ ก่อนจะสรุปออกเป็นแนวทางต่างๆ ว่าแต่ละทางนัน้ จะมีขอ้ ดีอย่างนี้ มีขอ้ เสียอย่างนี้ แล้วต้องใช้งบประมาณ เท่านี้ๆ แล้วทางคุณวีรวัฒน์จะรับตรงไหนได้บ้าง แล้วส่วนการออกแบบสถาปัตยกรรมภายในกับภูมิสถาปัตยกรรม คุณวีรวัฒน์เป็นคนเลือกเองทั้งหมดเลยหรือเปล่าครับ คุณสมิตรเป็นผู้แนะนำมาอีกทีครับ แต่ได้คุยกันจนเข้าใจกันดีแล้วว่าเรา อยากจะเห็นรีสอร์ทออกมาในรูปแบบไหน ผมว่างานภูมิสถาปัตยกรรม ของวีรันดา ที่หัวหินเรานี่เยี่ยมนะ ผมรู้สึกว่าไม่เหมือนอยู่เมืองไทยเลย ผมคิดว่ารีสอร์ทที่ดีนั้น นอกเหนือจากเรื่องของสถาปัตยกรรมแล้ว เรื่อง ของภูมิทัศน์ก็สำคัญไม่น้อยไปกว่ากัน เพราะถ้าอยากจะมาพักแล้วอยู่ แค่ในห้องพัก พักที่ไหนก็ได้ ไปอยู่โรงแรมที่ไม่ติดทะเลก็ได้ แต่สถานที่ แบบนี้ ก็คือคนจะใช้เวลาส่วนใหญ่ คือนอกห้องใช่ไหมครับ ฉะนั้นงาน ภูมิทัศน์จึงสำคัญมาก บางโครงการที่ไปเห็นมาผมเสียดายมาก ลงทุน ไปเยอะ ห้องพักใส่อุปกรณ์อำนวยความสะดวกต่างๆ ครบเลย แต่พอ
Did you personally choose the interior and landscape architects?
Khun Smith made recommendations, but we were already in agreement about what we wanted the resort to be like. I think the landscape architecture at the Veranda is magnificent. If guests just want to stay in their rooms they can stay anywhere but at the Veranda you are encouraged to spend time outdoors. This is a very important consideration, especially for a resort outside Bangkok.
Please give an example of the types of tasks you gave the design team.
The central task was to create a resort that is worth spending money for. Also, we want to compete with international hotel chains so our price is a bit lower but it still has to be reasonable. Ultimately, however, the main tasks were quality design and facilities. How do the construction costs of Veranda compare to international hotel chains opening in Thailand?
There are certain limitations with international hotel chains. For example, investment requires that these hotels have a lot of rooms and also the salaries of foreign executives are relatively high. However, in a city like Bangkok some people prefer the chain hotels, which is a positive point. For the Veranda I already knew the construction costs of a room and therefore I understood the limits of our budget. I could stay within that scale.
As a businessman, were there many risks with this project?
To be honest, not really; I didn’t require a loan and the project is not large-scale. With only 100 rooms, I can manage the resort myself. The issue is how much risk one is prepared to take.
21
VERANDA Resort
And Spa, Hua Hin
22
ออกมานอกห้องแล้วรู้สึกว่าแห้งแล้งมาก ไม่มีอะไรเลย โครงการมูลค่า หลายร้อยล้าน แทนทีจ่ ะลงกับพืน้ ทีส่ เี ขียวบ้างสัก 10 ล้านบาท หรือแบ่ง ให้เป็นค่าจ้างนักออกแบบ 2-3 ล้านบาท เพื่อสนับสนุนให้คนที่มาพัก ได้ใช้เวลา 70% หรือ 50% นอกห้องพักบ้าง โดยเฉพาะถ้าเป็นรีสอร์ท ตามต่างจังหวัดแล้ว ผมว่าพืน้ ทีส่ เี ขียวนีเ้ ป็นสิง่ ทีข่ าดไม่ได้เลย แล้วส่วนที่ เป็นสีเขียวนี้ ก็ต้องทำพร้อมๆ กันนะ จะมารอให้รีสอร์ทเปิดก่อนแล้ว ค่อยสร้างทีหลังก็ไม่ได้ เพราะว่าแต่ละส่วนจะไม่เข้ากัน ผมถึงบอกว่าการ สร้างทีมมีความสำคัญตั้งแต่แรก เพราะทั้งโครงการต้องไปด้วยกันทั้ง สถาปัตยกรรม ตกแต่งภายใน และภูมิทัศน์ โจทย์ที่คุณวีรวัฒน์บอกคุณสมิตรตอนทำโครงการนี้คืออะไรครับ โจทย์ของเราค่อนข้างชัดเจนว่า คนที่มาพักจะต้องรู้สึกคุ้มค่ากับสตางค์ ที่เขาจ่าย เราอยากทำรีสอร์ทเพื่อสู้กับโรงแรมต่างประเทศที่มาเปิดกัน ฉะนั้นราคาของเราจึงต่ำกว่านิดหน่อย แต่ดูสมเหตุสมผล แต่จะให้มาก กว่าในเรื่องของการออกแบบ และเรื่องสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ความทีว่ รี น ั ด้า ไม่ได้เป็นโรงแรมในเครือจากต่างประเทศ มีความ แตกต่างกันมากในการเริ่มต้น การบริหาร การลงทุนไหมครับ โรงแรมแบบนั้นจะมีข้อจำกัดพอสมควร แต่ข้อดีก็มีเยอะ อย่างโรงแรม ในกรุงเทพฯ ก็ต้องเป็นโรงแรมเครือใหญ่ๆ ของต่างประเทศเพราะไม่มี คนไทยคนไหนคิดจะไปพักอยู่แล้ว ส่วนโรงแรมตามจังหวัดอื่นๆ ก็มีคน ไทยส่วนหนึ่งไปพัก เลยมีโอกาสที่จะใช้โรงแรมแบบที่ว่าได้ สองคือ ถ้า จะเปิดเป็นโรงแรมในเครือใหญ่ๆ ของต่างประเทศ แล้วมีห้องพักที่น้อย เกินไป ทาง chain ที่ต่างประเทศก็ไม่อนุมัติให้เปิดอยู่ดี เพราะไม่คุ้มกัน ถ้าขึน้ โรงแรมแล้วมีไม่ถงึ ร้อยห้อง แล้วต้องจ้างชาวต่างชาติเงินเดือนเป็น หลายแสนบาทมาบริหาร ดูแลจัดการเรือ่ งต่างๆ ให้ ทำอย่างไรก็ไม่รอด เรื่องนี้ก็มีข้อยืดหยุ่นอยู่ที่ว่า จะทำได้หรือไม่ได้อย่างไร แล้วก็มีข้อจำกัด เรื่องการลงทุนเหมือนกัน เพราะเราทราบอยู่แล้วว่าห้องพักห้องหนึ่ง มี ต้นทุนค่าก่อสร้างประมาณกี่ล้านบาทต่อห้อง พอเรารู้ว่าเรามีงบฯ อยู่ เท่าไหร่ ผมก็สามารถบอกได้เลยว่า รีสอร์ทจำนวนห้องขนาดเท่านี้เรา สามารถทำได้เอง ไม่ต้องใช้โรงแรมในเครือของต่างประเทศมาช่วย ในแง่ของความเป็นนักธุรกิจ รู้สึกเสี่ยงมากไหมครับ ตอนเริ่มทำ ไม่รสู้ กึ เสีย่ งมากนะ พูดตรงๆ ว่าไม่ตอ้ งกูเ้ งินใครมาผมก็ทำได้ เลยไม่คอ่ ย รู้สึกว่าเป็นการเสี่ยง แล้วก็ไม่ได้ทำห้องพักเยอะขนาด 200 ห้อง เพราะ ถ้า 200 ห้อง แล้วลงทุนห้องละ 3.5 ล้านบาท ดูเป็นการลงทุนที่สูงไป การทีค่ ณ ุ พยายามเริม่ ต้นหนักๆ ตัง้ แต่ชว่ งแรก ผมคิดว่าเป็นเรือ่ งทีเ่ สีย่ ง มากไป ผมเลยลองทำในขอบเขตสมมุติ ถ้าเกิดสถานการณ์ที่ไม่ดีผมก็ ไม่จำเป็นต้องกูเ้ งินใครก็ได้ เราต้องดูกำลังของเราก่อนว่าไปได้ไกลแค่ไหน โจทย์ก็มองเห็นออกมาแล้วว่าถ้าเป็นขนาดประมาณ 100 ห้องนี้ เราจะ บริหารเองได้ ก็น่าจะคุ้ม ถ้าจำนวนของห้องพักน้อยเกินไป เราก็อาจจะ
After the success of the Veranda Hua Hin, did you immediately begin work on the Sky Villa?
The success of the Veranda was quite unexpected as it took only a year and a half to reach our goal. Therefore I was in a position to expand my business. I started the Sky Villa project as soon as the land agreement was settled and then it took only 4 months for design and 10 months to complete the construction. Why did you choose to build the Sky Villa away from the seaside area?
Actually, we are not as far from the beach as some hotels that rely on the beach as an attraction for guests. However, I wanted to make our hotel autonomous. I consulted with Khun Smith and we decided to have a small amount of rooms but many floors and some special features, in order to make the hotel distinct. Khun Smith offered the idea of a 7 storey building, containing 6 units of villa and a gigantic lobby. He also suggested we keep the 2nd and 3rd floors empty, which is unorthodox. The rooms are big, as well as the beds and balconies, and special features include a fairly big pool in our sky pool villa. Why use the name Veranda?
It is a name that is easy for both Thai and foreigners to remember. Also, we have many verandas in the hotel and they are big so as to take advantage of the view for our guests. Please discuss the free-form shape of the pool, which is unusual in Hua Hin.
Actually, I didn’t give the design team any specifications about the pool, so they take full credit for creating this big pool with a walkway. The main objective of the design was to keep the existing trees in order to maintain the shades that cover the whole resort. The free-form shape was therefore necessary and the team did a great job.
23
VERANDA Resort
And Spa, Hua Hin
24
ไม่คมุ้ ถ้าคิดว่าทัง้ 100 ห้องนี้ ถ้าเราสามารถบริหารได้ การขอกูเ้ งินเพิม่ อีกก็คงไม่ยาก แล้วอีกอย่างก็เป็นธุรกิจที่เราทำเอง (หัวเราะ) คือเป็น เรือ่ งแล้วแต่คณ ุ ว่า คุณจะยอมรับความเสีย่ งได้ไหม คือถ้ารับได้นอ้ ยก็ทำ ห้องพักให้น้อยๆ ถ้าคุณรับได้มาก ก็ลงทุนเยอะหน่อย รูปทรงของสระว่ายน้ำ คุณวีรวัฒน์มีความคิดเห็นอย่างไรบ้างครับ เพราะได้ยินมาว่าช่วงที่ทำแบบกันตอนแรกๆ สระว่ายน้ำต่างๆ ที่ หัวหิน จะต้องมีรูปทรงเป็นเหลี่ยม ถ้าเป็นรูปทรงอิสระแบบที่เห็น ที่วีรันดานี้แล้ว จะดูแปลกตาเกินไป ผมไม่ได้ให้โจทย์เรือ่ งรูปทรงนีใ้ ดๆ แก่ทมี ออกแบบเลยนะครับว่าต้องการ สระว่ายน้ำลักษณะไหน อันนี้ก็ต้องให้เครดิตและขอชื่นชมทีมออกแบบ ด้วยที่พยายามสร้างสระว่ายน้ำให้ใหญ่ๆ และมีจุดประสงค์หลักๆ คือ เก็บต้นไม้เดิมเอาไว้ให้ได้มากที่สุด เพื่อให้รักษาร่มเงาของทั้งโครงการไว้ เลยกลายมาเป็นสระว่ายน้ำรูปร่างอิสระ ซึ่งถ้าเปลี่ยนมาเป็นเส้นตรงๆ ก็อาจจะไม่ได้ร่มเงาเลยก็เป็นได้ ผมว่าที่เห็นอยู่นี้ลงตัวดีแล้ว ทีมนักออกแบบชุดนี้ทำงานประสานกันได้ดีมาก คำแนะนำของผม สำหรับการทำโครงการลักษณะนี้คือ ต้องจับนักออกแบบทั้งหมดให้มา นัง่ คุยกันให้ได้ โดยเฉพาะเวลาเสนอแบบของแต่ละฝ่าย ต้องดึงสถาปนิก เข้ามาร่วมด้วย จะได้คุยกันได้จบตรงนั้นเลย ไม่ต้องมาปวดหัวทีหลัง ขอทราบที่มาของชื่อ Veranda ครับ ตอนแรกเราก็คิดกันหลายชื่อเหมือนกัน แต่อยากให้เป็นชื่อที่ทั้งคนไทย และชาวต่างชาติอ่านได้สะดวก บางทีชื่อที่เป็นไทยมากจนเกินไป ชาว ต่างชาติมักจำกันไม่ค่อยได้ ชื่อ Veranda (วีรันดา) เป็นภาษาอังกฤษ เราเอาความหมายของระเบียงทีม่ หี ลังคาคลุมมาจับเป็นชือ่ แล้วทุกๆ ที่ เราก็จะมีระเบียง ซึ่งกลายเป็นผลดีเพราะทำให้คนจำชื่อได้ เขียนก็เขียน ง่ายเพราะจำได้หมด ในขณะเดียวกันเราก็ทำระเบียงให้ใหญ่ขึ้น คือบาง ทีห่ อ้ งพักใหญ่แต่ระเบียงเล็ก บางทีไ่ ม่มรี ะเบียงด้วยซ้ำ ทำให้ชาวต่างชาติ โดยเฉพาะตะวันตก จะไม่สนใจไปพักเลยเพราะไม่มีระเบียง ระเบียงถือ เป็นเรือ่ งสำคัญมากสำหรับเขา แล้วจะไม่มวี วิ ให้เห็นเลยก็ไม่ได้ดว้ ย ต้อง มีอะไรให้มอง เลยมาลงเอยทีท่ งั้ คนไทยและต่างชาติอา่ นแล้ว เข้าใจแล้ว ก็มีความหมายด้วย พอส่วนแรกประสบความสำเร็จ แล้วค่อยคิดต่อยอด คุณวีรวัฒน์ ขึ้น Veranda Sky เลยหรือเปล่าครับ ตอนนัน้ วีรนั ดาทีห่ วั หิน ประสบความสำเร็จเกินคาด เกินกว่าเป้าหมายที่ ตั้งไว้มาก จากที่เคยวางแผนไว้ว่าน่าจะใช้เวลาประมาณ 3 ปี แต่นี่แค่ 1.5 ปี ก็ถึงแล้ว เลยคิดว่าน่าจะขยายต่อไปอีก เผอิญคุยกับที่ดินแปลง ที่เราสนใจแล้วตกลงกันได้ ผมเริ่มโครงการ Veranda Sky เลย ถือว่า เร็วมาก เพราะใช้เวลาออกแบบแค่ 4 เดือน ก่อสร้างเสร็จใน 10 เดือน เรียกว่าเร็วกว่าหลายๆ โครงการที่เคยทำกันมามาก
Is the fact you are both owner and contractor a great benefit?
Only partly; as contractor I was very much part of the process and I looked into all the details thoroughly. The design team, however, was very active and visited the site every month. We shared a commitment to excellence and always aimed to fix problems immediately. As a contractor, I know the price of materials and I am familiar with the market for resorts such as this, so I know what is at stake in terms of competition.
Are your guests at the Veranda Hua Hin Thai or foreign?
This shifts, during the first year our guests were 70% Thai but is now 70% foreigner. This is good because it means our market is expanding. We get a lot of foreigners during the weekdays whereas Thai guest tend to come at the weekend or for public holidays. Is there anything you would change if you did this project again?
I don’t think I need to fix anything that has been done. However, I did miss the opportunity to buy a piece of land next to Veranda when I was in the middle of the investment procedure. My aim is to expand and develop but there is nothing about the Veranda Hua Hin I regret. []
25
VERANDA Resort
And Spa, Hua Hin
26
ในขณะนัน ้ มีความคิดอย่างไรครับ ถึงได้คดิ สร้าง Veranda Sky บน ด้านที่ไม่ติดกับทะเลเลย เนื่องจากผมเคยไปเที่ยวหลายๆ ที่แล้วเห็นว่า บางโรงแรมจะมีโซนที่ไม่ ติดทะเล แถมยังจะเดินไกลกว่าของเราเสียอีก เลยคิดว่าเราน่าจะทำให้ มีจดุ ขายใหม่ได้อย่างไรดีนะ ปรึกษากันกับคุณสมิตรว่า ลองทำห้องน้อยๆ ได้ไหม แต่ใส่เรื่องราวต่างๆ ใหม่ๆ ให้มากกว่าห้องพักปกติ เพื่อที่จะได้ ขายแพงกว่าด้วย คุณสมิตรเลยเสนอว่าทำเป็นตึก 7 ชั้น เป็นแบบ Villa 6 ยูนติ แต่ทำล็อบบีด้ า้ นล่างใหญ่ๆ หน่อย ในแง่ของการขายห้องพักให้ กับผู้มาพักโรงแรม ห้องขนาดเล็กจะขายได้ดีและง่ายกว่าเยอะ ส่วนชื่อ ของส่วนนี้คือ Sky Villa ในตอนนั้นก็ยังไม่ได้คิดนะครับ แต่มาทีหลัง ผมปรึกษากับคุณสมิตรว่า ทำห้องพักให้มองข้ามอาคารอืน่ ๆ ไปเลย ดีไหม ส่วนห้องพักชั้นล่างๆ ก็ให้ในราคาที่ไม่แพง แต่คุณสมิตรยืนยัน ว่าห้องพักชั้นล่างๆ ไม่มีเสียเลยดีกว่า เราทำห้องให้คนพักตั้งแต่ชั้น 4 ขึน้ ไปเลย แล้วตัง้ ราคาแพงๆ ไปเลย ซึง่ ผมก็เห็นด้วย ทีนกี้ ต็ อ้ งเป็นเรือ่ ง ของการตลาดและการขายแล้ว ที่ผมจะต้องคิดหาวิธีเองแล้วหล่ะ ชั้น 2 ชั้น 3 ห้องพักยกเลิกไปเลย ทำเป็นห้องประชุมเล็กๆ แทน คือห้องตรง นี้ไม่ต้องให้ใครมาพักได้เลย ถ้าเกิดถามเจ้าของโรงแรมคนอื่นๆ ผมว่า เขาคงอาจจะไม่อยากทำอย่างนี้ น่าจะคิดว่าเอาห้องพักจำนวนเยอะๆ ไว้ก่อนเพื่อให้คุ้มค่ากับเงินลงทุน แต่ผมกลับคิดว่าถ้าห้องพักมีจำนวน มากๆ ก็จะมีจดุ บอดเยอะขึน้ คนทีม่ าพักก็จะเริม่ บ่น เริม่ รูส้ กึ ไม่ดี จะเกิด ความรูส้ กึ ทีไ่ ม่ดกี บั รีสอร์ทเรา เลยคิดว่าตัดประเด็นนีอ้ อกไปเลย แต่ขาย ชัน้ บนให้แพงไปเลยดีกว่า หาวิธเี พิม่ ลูกเล่นใหม่ๆ ให้มากขึน้ ทำห้องให้ ใหญ่ขึ้น เตียงก็ใหญ่ขึ้นตาม ขยายระเบียงกว้างขึ้น มีสระว่ายน้ำอยู่ชั้น บนด้วย เลยกลายเป็น Sky Pool Villa ที่มี 2 ห้องนอนและสระว่ายน้ำ
27
VERANDA Resort
And Spa, Hua Hin
28
ที่ใหญ่พอสมควร ซึ่งของแบบนี้ก็มีตลาดของมันนะ มีคนยอมที่จะจ่าย เพื่อมาพักห้องแบบนี้ อีกอย่างก็มีแค่ 3 ห้องเท่านั้น เพราะตลาดส่วนนี้ น้อยมาก คนทีย่ อมจ่ายสตางค์ 20,000 กว่าบาทต่อคืน คงมีไม่เยอะมาก แต่แค่ 3 ห้องก็เลยเป็นไปได้ การทีเ่ ป็นทัง้ เจ้าของโครงการและรับเหมาก่อสร้างเอง คุณวีรวัฒน์ คิดว่าทั้งสองส่วนนี้ได้ช่วยเอื้อประโยชน์มากกว่าคนอื่นๆ ไหมครับ ผมเพียงแต่คิดว่าเป็นเพียงแค่ปัจจัยหนึ่งเท่านั้น จุดที่จะเรียกว่าเป็นการ เอื้อประโยชน์สำหรับตัวผมเองก็คือ ผมเป็นผู้รับเหมาก่อสร้างอยู่แล้ว ฉะนัน้ ก็ดเู หมือนกับว่ากำลังทำงานอยู่ ได้ดแู ละได้ตามงานทุกส่วนอย่าง สม่ำเสมอ อย่างที่บอกไว้แต่ตอนแรกว่า ถ้าเราให้ใจกับทีมนักออกแบบ ของเราแล้ว พวกเขาก็จะให้สิ่งนั้นตอบกลับมาที่เราด้วย คือเขาจะเข้าไป ดูทกี่ อ่ สร้างให้เรามากกว่าปกติ บางทีกำหนดวันกันไว้วา่ จะเข้าไปดู 4 ครัง้ ต่อปี หรือ 4 ครัง้ ต่องาน แต่พวกเขาอาจแวะไปดูให้ทกุ เดือนเลย ต้องขอ ชืน่ ชมตรงส่วนนีด้ ว้ ย เพราะพวกเขาเองก็อยากให้งานออกมาดีดว้ ยหนึง่ สองเพราะผมเป็นคนอย่างนี้ เวลาเข้าไปดูงานก็จะเข้าไปพร้อมๆ กันที เดียวเลย ชี้โน่นชี้นี่กัน อันไหนแก้ได้ หรือแก้ไม่ได้ก็คุยกันให้จบได้เลย ตรงนั้น ตัดสินใจ “เคาะ” กันได้เลยตั้งแต่วันนั้น การที่ผมเป็นผู้รับเหมา ก่อสร้างเองก็เลยจะเข้าใจเรื่องราคาการก่อสร้าง ฉะนั้นถ้าอันไหนปรับ เปลีย่ นได้กเ็ ปลีย่ น แม้กระทัง่ เวลางานจวนเกือบจะเสร็จอยูแ่ ล้ว ยังมีการ เปลี่ยนโน่นเปลี่ยนนี่กันอยู่เลย แต่จะต้องเป็นเรื่องของการเปลี่ยนแปลง ที่ผมรับได้นะ น่าจะเป็นเพราะผมเป็นคนทำเอง ก็เลยสามารถปรับงาน ให้ตามความนิยมของตลาดได้ ความหมายก็คอื นับตัง้ แต่วนั ออกแบบจน ถึงวันทีส่ ร้างเสร็จ สมมติวา่ เราจัดทีมทุกส่วนมาดีหมด ออกแบบได้ดมี าก แต่ถา้ วันหนึง่ บังเอิญมีรสี อร์ทลักษณะเดียวกับเราเปิดก่อนเรา แล้วดีกว่า ของเราก็จะถูกเรียกว่าไม่มอี ะไรใหม่แล้ว แต่สำหรับคนทีไ่ ม่ได้ทำงานทาง การก่อสร้างเอง ผมก็ยังคิดว่าจะสามารถทำโครงการลักษณะนี้ให้สำเร็จ ได้เหมือนกัน
ผู้ที่มาพักที่วีรันดา หัวหินส่วนใหญ่ เป็นคนไทยหรือต่างชาติครับ ปีแรกจะเป็นคนไทย 70% แต่ตอนนีเ้ ป็นชาวต่างชาติ 70% ซึง่ ถือว่าเป็น ข้อดีครับ เพราะถือว่าขยายตลาดได้มากขึน้ วันทำงานปกติชาวต่างชาติ จะมาพักกันเต็มแทบทุกห้องเลย ส่วนวันเสาร์ - อาทิตย์ หรือวันหยุดที่ ติดกันยาวๆ จะเป็นคนไทยครับ ถ้าย้อนกลับไปได้ คุณวีรวัฒน์อยากจะกลับไปแก้ไขในส่วนใดบ้าง ทั้งเรื่องการตัดสินใจ รายละเอียด และงบประมาณครับ สิง่ ทีท่ ำไปแล้ว ผมไม่อยากจะไปแก้ไขอะไรอีกหรอกครับ แต่กม็ เี รือ่ งของ ที่ดินข้างๆ โครงการที่หัวหินอยู่แปลงหนึ่ง ที่มีการคุยกันไว้ว่าจะขายให้ แต่ไม่ได้ตดั สินใจซือ้ เอาไว้ในขณะนัน้ เป็นเพราะตอนนัน้ กำลังอยูใ่ นช่วง ของการลงทุนที่นี่อยู่ ตอนนี้ก็เลยเกิดนึกเสียดาย เพราะราคาก็ต่างกัน นิดเดียวเอง ถ้าซื้อมาทำคอนโดมิเนียมให้โครงการที่หัวหิน ตอนนี้ก็น่า จะสบายไปแล้ว นั่นคือสิ่งที่แก้ได้ก็อยากจะแก้ (หัวเราะ) ก่อนหน้านั้น ผมก็บินไปดูที่ดินที่เกาะสมุยเหมือนกัน แต่เสียดายที่ไม่ได้ซื้อเก็บเอาไว้ เพราะเมื่อ 2 ปีก่อนกลับไปดูอีกที เขาขายไปแล้ว แล้วที่ดินลักษณะนั้น ไม่คอ่ ยจะมีแล้ว ตอนนีเ้ ลยค่อนข้างแพงมาก เสียดาย แต่ถา้ เป็นเรือ่ งของ โครงการทีท่ ำไปแล้วนัน้ ผมไม่มอี ะไรทีจ่ ะมารูส้ กึ เสียดาย ไม่มหี รอกครับ มีแต่อยากทำห้องพักเพิ่มอีกเท่านั้นเอง. []
29