รวมบทความของผู้ดูแลเด็ก ศูนย์อุบลราชธานี เล่มที่ 1 (ฉบับร่าง)

Page 1

การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เรียนรู้ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญาเด็กปฐมวัยใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนาร่องบ้านบุ่งหวาย อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี Experiencing-Enhancement Activities to encourage Children’s intelligence at Bungwai Child Development Center, Bungwai Sub-District, Warin Chamrab District, Ubon Ratchathanee. สุกญ ั ญา อุตภู Sukanya Uttapu บทคัดย่อ การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ช่วยให้เด็กมีโลกทัศที่กว้างและจุดประกายความอยากรู้ให้ มากขึ้น เด็กได้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนได้มีพัฒนาสติปัญญา ภาษา ส่งเสริมกระบวนการคิด ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมการใช้ภาษาในการฟัง และการถ่ายทอด เรื่องราว กล้าแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น ฝึกมารยาทในการฟัง พูด รู้จักแสวงหา ความรู้เกิดการเรีย นรู้ด้ว ยตนเอง ปลู กฝั งให้ มีคุณ ธรรม จริยธรรม รู้จักปรับ ตัว ในการท ากิจกรรม ร่วมกับผู้อื่นได้ การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญาเด็กปฐมวัยใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนาร่องบ้านบุ่งหวาย ตาบลบุ่งหวาย อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี เด็ก จานวน 32 คน ซึ่งแบ่งขั้นตอนการจัดกิจกรรมออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นนา ขั้นสอน ขั้นสรุป จาก การสังเกตพฤติกรรมพบว่า มีเด็กที่มีพัฒนาการดีขึ้น เด็กได้เรียนรู้จักสิ่งต่างๆ ด้วยการมอง ฟัง การ เลียนแบบการกระทาและมีการเชื่อมโยงภาพ บอกรูปร่าง สี ขนาด สัญลักษณ์รูปแบบต่างกับสิ่งของ หรื อ สถานที่ จ ริ ง เด็ ก แสดงความรู้ สึ ก ด้ ว ยค าพู ด การตั้ ง ค าถามของเด็ ก พู ด ถึ ง ผู้ อื่ น เกี่ ย วกั บ ประสบการณ์ของตนเอง เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับตนเองและสิ่งของ และรู้ถึงความแตกต่างระหว่างชาย หญิง การรับ ฟังเรื่องราวนิทาน คาคล้องจอง คากลอน เด็กได้เรียนรู้การจาแนก เปรียบเทียบ การ ทดลองสิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง คาสาคัญ : กิจกรรมเสริมประสบการณ์ พัฒนาการด้านสติปัญญา Keywords: experiencing, activity, intelligence, development


การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เรียนรู้ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญาเด็กปฐมวัยใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนาร่องบ้านบุ่งหวาย อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี สุกัญญา อุตภู* การจัดกิจกรรมสาหรับเด็กปฐมวัยมีการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เป็ น กิจกรรมหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมให้ เด็กปฐมวัยเจริญเติบโต รู้จักการช่วยเหลือตนเอง คิดอย่างมี เหตุผล มีความรู้สึกที่ดีต่ อตนเองและผู้อื่น มีการพัฒ นาด้านภาษาเหมาะสมตามวัย ได้ฝึกคิดแก้ไข ปัญหาใช้เหตุผล ฝึกการทางานและเข้ากับสังคม เพื่อให้เกิดความรู้ผ่านการปฏิบัติ ด้วยตนเองที่ใช้ ภาษาจากกิจกรรมที่ครูจัดให้เด็กด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การศึกษานอกสถานการณ์เล่านิทาน การแสดงบทบาทสมมติ การสาธิต การอภิปราย การใช้คาถาม การร้องเพลง ท่องคาคล้องจอง เป็น ต้น ความหมายการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ช่วยส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยเจริญเติบโตให้เด็กคิดอย่างมี เหตุผล มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น รู้จักช่วยเหลือตนเอง มีพัฒนาการทางภาษาได้เหมาะสม ตามวัย ได้ฝึกคิด แก้ไขปัญหา ใช้เหตุผล ฝึกการทางาน และเข้ากับสังคมกับเพื่อน ราศี ทองสวัสดิ์ และคณะ (2529:2) กล่าวว่า การจัดกิจกรรมตามแผนการจัดประสบการณ์และการจัดสิ่งแวดล้อม ภายในและภายนอกให้กับเด็กปฐมวัย โดยให้ได้รับประสบการณ์จากการเล่น ลงมือปฏิบัติซึ่งทาให้เด็ก เกิดการเรียนรู้ เพื่อเป็นการส่งเสริมพัฒนาให้ครบทุกด้าน ร่างกาย อารมณ์ -จิตใจ สังคม สติปัญญา พัฒนา ชัชพงศ์ (2530:24) กล่าวว่า การจัดการศึกษาให้เด็กระดับก่อนประถมศึกษาแต่จะเป็นการปู พื้นฐานความพร้อมให้โดยคานึงถึงวัยและความสามารถของเด็ก ความสาคัญของการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ อารี พนัธม์ณี (2546:149-150) ได้กล่าวว่า การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ว่าเป็นการจัด กิจกรรมที่ช่วยให้เด็กมีโลกทัศน์ที่กว้างและจุดประกายความอยากรู้ ให้มากขึ้นเพราะในสมัยปัจจุบัน เป็น สังคมแห่งการเรียนรู้ที่คนทุ กคนต้องเรียนรู้ตลอดเวลา จุดประกายความอยากรู้ให้มากขึ้ นเปิด โอกาสให้เด็กได้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนได้พัฒ นาสติปัญญา ภาษาส่งเสริมกระบวนการคิด ส่งเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและพัฒนาทักษะในการช่วยให้เด็กมีพัฒการทางด้านอารมณ์ และสังคมที่ดี ดังนั้นเด็กต้องเรียนรู้ของจริง ให้เด็กได้ลงมือทากิจกรรมต่างๆ ด้วยตนเอง เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการคิด และการแก้ปัญหา ขั้นตอนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนา เด็กเล็กนาร่องบ้านบุ่งหวาย ตาบลบุ่งหวาย อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี จานวน 32 คน


โดยจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์รวมเป็น 4 สัปดาห์ เริ่มตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2558 ถึง วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ.2558 ขั้นนา ครูวางแผนการเรียนตามแผนกิจกรรมประจาวัน การจัดประสบการณ์ เรียนรู้ได้แก่ หน่วย "ก้าวใหม่ได้เรียนรู้" "ชื่อของหนูก็มี" "เด็กดีมีวินัย" "สุขสดใสร่างกายของเรา" เด็กเป็นตัว U นั่งสองแถว ซ้อนกัน การนาเอาเพลง"เก็บของ""ชื่อของเธอ""ล้างมือ""มากินข้าวซิ""สวัสดีคุณครู""ร่างการของเรา" ร้องตามครูทีละวรรคจนคล่อง เด็กและครูร่วมร้องเพลง พร้อมปรบมือตามจังหวะเพลงอย่างอิสระ แล้วสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาของบทเพลง ขั้นสอน ครูแนะนาชื่อจริงและชื่อเล่นให้เด็กรู้จักพร้อมและเด็กออกไปหน้าห้องแนะนาชื่อของตนเอง ให้เพื่อนรู้จักแล้ว พร้อมบอกชื่อสัญลักษณ์ของตนเอง ครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการปฏิบัติตนก่อน หรือหลังการใช้ห้องน้า ห้องส้วม ครูอธิบายถึงชื่อนาหน้าของเด็กผู้หญิง เด็กผู้ชาย และอธิบายเกี่ยวกับ การมีสัญลักษณ์ประจาตัวมีประโยชน์อย่างไร และสนทนาเกี่ยวกับมารยาทในการรับประทานอาหาร เช่น ไม่คุยกัน ไม่ทาอาหารหกเลอะเทอะ เป็นต้น ครูขออาสาให้เด็กผู้ชาย เด็กผู้หญิง ออกมาหน้า ห้องเรียนแล้วสนทนาเกี่ยวกับเครื่องแต่งกายของเด็กผู้ชาย/หญิง ว่ามีอะไรบ้าง แล้วให้เด็กที่มีรูปร่าง อ้วน ผอม สูง เตี้ย ออกมายืนหน้าห้องแล้วให้เพื่อนสังเกตรูปร่างลักษณะของเพื่อน แล้วตอบคาถาม ครูและเด็กสนทนาเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเมื่ออยู่ในห้องเรียนอย่างมีความสุข ครูตั้งกติกาในห้องเรียน แล้วพูดตามทีละวรรคจนจบ เช่น พูดเบาๆ อย่าวิ่งในห้อง อย่ารักแกเพื่อน ฯลฯ ครูเล่านิทานปลูกฝัง คุณธรรม จริยธรรม ส่งเสริมลักษณะนิสัย "สวัสดีจ้ะสวัสดี " เด็กและครูสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาของ นิทาน ครูให้เด็กออกมาแสดงบทบาทสมมติการไหว้พร้อมพูดว่าสวัสดีครับ /ค่ะ เมื่อผู้ใหญ่ให้ของควร พูดว่าขอบคุณครับ /ค่ะ ครูอธิบายหน้าที่และการดูแลรักษาอวัยวะของร่างกาย เช่น ตา หู จมูก ปาก มือ เท้า เด็กและครูร่วมกันสรุปหน้าที่และการดูแลรักษา ตา หู จมูกปาก มือ เท้า ของอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย

ขั้นสรุป จากการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ส่งพัฒนาการด้านสติปัญญา โดยการฟังเรื่องราวที่ครู อธิบายและสาธิตเด็กสามารถสนทนาโต้ตอบคาถามได้ รู้จักแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความ คิดเห็ น ของผู้อื่น กล้ าพูด กล้ าแสดงออกบอกถึงความรู้สึ กที่ได้ประสบการณ์ สิ่งที่เคยเรียนรู้มา จา เรื่องราวที่พูดคุย เด็กมีทักษะในการใช้ความคิด สังเกต จาแนกเปรียบเทียบรูปร่างลักษณะ เด็กรู้จัก ปรับตัวเขากับเพื่อนและครูแสดงถึงมารยาทในการฟัง การพูด เด็กและครูสนทนาร่วมกันทากิจกรรม อย่างมีความสุข


ผลจากการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติ ปัญญาเด็กปฐมวัยใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนาร่องบ้านบุ่งหวาย ตาบลบุ่งหวาย อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี เด็ก จานวน 32 คน จากการสังเกตพฤติกรรมพบว่า มีเด็กที่มีพัฒนาการดีขึ้น เด็กได้เรียนรู้จักสิ่งต่างๆ ด้วย การมอง ฟั ง การเลี ย นแบบการกระท าและมีก ารเชื่ อมโยงภาพ บอกรูป ร่าง สี ขนาด สั ญ ลั ก ษณ์ รูปแบบต่างกับสิ่งของหรือสถานที่จริง เด็กแสดงความรู้สึกด้วยคาพูด การตั้งคาถามของเด็ก พูดถึง ผู้อื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ของตนเอง เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับตนเองและสิ่งของ และรู้ถึงความแตกต่าง ระหว่ า งชายหญิ ง การรั บ ฟั ง เรื่ อ งราวนิ ท าน ค าคล้ อ งจอง ค ากลอน เด็ ก ได้ เรี ย นรู้ ก ารจ าแนก เปรียบเทียบ การทดลองสิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง นักทฤษฎีจีน เพียเจต์ (Jean Piaget, 1896-1980 อ้าง ใน มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงราย, 2552) กล่ าวว่า การจัดประสบการณ์ ให้เด็กนั้น เด็กได้มีโอกาส ปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอกหรือสิ่งแวดล้อมให้อยู่ใ นภาวะสมดุล ฝึกทากิจกรรมตามลาพังและการ รวมกลุ่ม เด็กจึงได้เรียนรู้จากกันและกัน ซึ่งการเรียนรู้ในลักษณะนี้น่าจะทาให้เกิดความเข้าใจกันได้ ดีกว่าการเรียนรู้จากครู เด็กได้มีประสบการณ์ตรง มีอิสระทางความคิด การแสดงออกและการสนทนา ระหว่างเด็กด้วยกันจะทาให้เด็กสามารถเข้าใจกันได้เร็วกว่าครูเป็นผู้อธิบายหรือเล่าให้ฟัง นักทฤษฎีบรู เนอร์ (Bruner:1969 ชั ย วัฒ น์ สุ ท ธิรัต น์ , 2552, หน้ า 27-28) กระบวนการค้ น พบการเรียนรู้ด้ว ย ตนเอง เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ดีมีความหมายสาหรับผู้เรียน การวิเคราะห์และจัดโครงสร้างเนื้อหา สาระการเรียนรู้ให้เหมาะสมเป็นสิ่งที่จา เป็นที่ต้องทาก่อนการสอน เอกสารอ้างอิง โกสุม สายใจ และคณะ. (2550). สุนทรียภาพทางศิลปะสาหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. จิระพันธุ์ พูลพัฒน์ และคณะ. (2557). นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต. ณัฐนันท์ วงศ์ประจันต์ และคณะ. (2537). คณิตศาสตร์สาหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. เติมศักดิ์ คทวณิช. (2546). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ด. พัชรีพรรณ ลือวณิชย์พันธ์ และคณะ. (2558). การคิดและการตัดสินใจ. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏดุสิต. สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. (2550). การศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน ดุสิต.


ชื่อ

นางสาวสุกัญญา อุตภู นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต สถานทีท่ างาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กนาร่องบ้านบุ่งหวาย ตาบลบุ่งหวาย อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี ตาแหน่ง ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก จานวนเด็ก จานวนเด็กที่ดูแลทั้งหมด 32 คน


การเรียนรู้กิจกรรมเสริมประสบการณ์ผ่านเกมการศึกษา เพื่อพัฒนาการด้านการศึกษาของเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บ้านขัวไม้แก่น ตาบลหนองกินเพล อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี Learning through experience, extracurricular activities, educational games for children's educational development. Child Development Center houses 72 Anniversary gift heartwood. Nong Kin Phen Warinchamrab Ubon Ratchathani Province วิภาวรรณ ช่างคา Wipawan changkham บทคัดย่อ การจัดประสบการณ์เกมการศึกษา เป็นการเล่นที่ช่วยพัฒนาด้านสติปัญญา ช่วยให้เด็กรู้จัก สังเกตคิดหาเหตุผลและเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสี รูปร่าง และจานวน ซึ่งมีวัตถุประสงค์คือ 1. เพื่อส่งเสริมการสังเกตเปรีย บเทียบ 2. เพื่อส่ งเสริมการประสานสั มพันธ์ระหว่างมือกับตา 3. เพื่ อ ส่งเสริมการคิดหาเหตุผลและตัดสินใจปัญหา 4. เพื่อปลูกฝังให้มีคุณธรรมต่างๆ เช่น ความรับผิดชอบ การแข่งขัน 5. เพื่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน ร่าเริงแจ่มใส โดยแบ่งขั้นจัดกิจกรรมเป็น 3 ขั้น ได้แก่ 1. ขั้นน าไปสู่บ ทเรียนโดยจะรวบรวมเด็กด้วยการร้องเพลงเพื่อรวบรวมสมาธิ 2. ขั้นการจัด กิจกรรม มีการใช้คาถามชวนให้ เด็กสังเกตมากขึ้น ได้คิด ช่วยให้เด็กมีพัฒ นาการเป็นผู้ใฝ่รู้และหา ความจริงจากสิ่งที่เห็น 3. ขั้นสรุปเด็กสามารถทางานร่วมกันเป็นกลุ่มได้เด็กได้คิดและกล้าแสดงออก เรียนรู้ที่จะฟังผู้อื่น จากการจั ด กิ จ กรรม พบว่ า เด็ ก ปฐมวั ย เป็ น วั ย ที่ มี ลั ก ษณะเฉพาะของพั ฒ นาการด้ า น สติปัญญาคือ เป็นวัยที่สามารถใช้สัญลักษณ์แทนสิ่งของ วัตถุ เด็กมีความใใฝ่รู้ กล้าแสดงความคิดเห็น อย่างเหมาะสม ควรปลูกฝังให้เด็กเป็นผู้รู้จักคิด ฝึกสังเกตสิ่งรอบตัว ให้ความสนใจในสิ่งที่เด็กทา ให้ เด็กฝึกการแก้ปัญหาด้วยตัวเองเพื่อส่งเสริมด้านสติปัญญาของเด็ก ............................................................................................................ ความสาคัญ : กิจกรรมเสริมประสบการณ์ผ่านเกมการศึกษาเพื่อพัฒนาการด้านสติปัญญาของเด็ก


การเรียนรู้กิจกรรมเสริมประสบการณ์ผ่านเกมการศึกษาเพื่อพัฒนาการด้านการศึกษาของเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บ้านขัวไม้แก่น ตาบลหนองกินเพล อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี วิภาวรรณ ช่างคา* เด็กปฐมวัย เป็นวัยที่มีลักษณะเฉพาะของการพัฒนาการทางด้านสติปัญญา คือสามารถใช้ สัญลักษณ์แทนสิ่งของ มีความตั้งใจทีละเรื่องไม่สามารถพิจารณาหลายๆ เรื่องรวมกันได้ผู้ใหญ่จึงเป็น จุดสร้างแรงจูงใจให้ กับ เด็ก ให้ความสนใจในสิ่งที่เขาทาควรเปิดโอกาสให้ เด็กเป็นคนรู้จักคิด ฝึกให้ สังเกตสิ่งรอบตัว เพราะพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของเด็กเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับความคิดและ ความเข้าใจของเด็ก ควรให้เด็กได้มีโอกาสเรียนรู้จากการลองผิดลองถูกในเรื่องต่างๆ การจัดกิจกรรม เกมการศึกษาโดยจับคู่ภาพเหมือนจึงเป็นกิจกรรมที่ช่วยพัฒนาการทางด้านสติปัญญาของเด็ก เพื่อให้ เด็กได้ฝึกคิดและแก้ปัญหาด้วยตนเอง เกิดความรู้และความคิดรวบยอด ซึ่งสามารถเล่นคนเดียวหรือ เล่นเป็นกลุ่มได้ ทั้งนี้โดยอยู่บนพื้นฐานของการใช้เหตุผลและความถูกต้องเหมาะสม เด็กปฐมวัยมีพั ฒ นาการในแต่ล ะช่วงอาจเร็วหรือช้ากว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้และการพัฒ นา อาจจะเป็ น ไปอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จากการสั ง เกตพบว่ า เด็ ก มี ค วามก้ า วหน้ า อย่ า งชั ด เจน การจั ด ประสบการณ์สาหรับเด็กมีความสาคัญมาก เนื่องจากช่วงปฐมวัยเป็นวัยที่เริ่มต้นการพัฒนาด้านต่างๆ ของร่างกาย เป็นวัยที่รับรู้ซึมซับประสบการณ์ที่ก่อให้เกิดความรู้และยังเป็นความจาที่แปรเป็นจิตใต้ สานึกของเด็กเมื่อเติบโตขึ้นอีกด้วย เพี ยเจต์ (Piaget) กล่าวว่าการจัดประสบการณ์ ให้ เด็กนั้น เด็กมีโอกาสปฏิสั มพันธ์กับโลก ภายนอกหรือสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในภาวะสมดุล ฝึกทากิจกรรมตามลาพังและการรวมกลุ่ม เด็กจึงได้ เรียนรู้จากกันและกัน จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) กล่าวว่าการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัยมีความสาคัญมาก ในการฝึกให้เด็กได้คิดแก้ปัญหาการแสดงออกอย่างอิสระ และสามารถนาความรู้จากประสบการณ์ นั้ น ๆ มาใช้ ในการแก้ปั ญ หาร่ วมด้ วย เนื่องจากเด็ กปฐมวัยกาลั งมี พั ฒ นาการอย่างรวดเร็ว ทั้งทาง ร่างกาย อารมณ์ จิตใจและสติปัญญา เด็กจะเรียนรู้ได้ถ้าต่อเมื่อมีการสอนและประการณ์ที่จัดให้เด็ก เป็นประสบการณ์ตรง เด็กลงมือปฏิบัติเอง การจัดประสบการณ์โดยยึดเด็กเป็นศูนย์กลางจึงสาคัญ มาก อิริ ค สั น (Erikson) เชื่ อว่าวัย เด็ ก เป็ น วัย แห่ งการเรียนรู้แ ละการรับ ประสบการณ์ การจั ด สิ่งแวดล้อมที่ดีช่วยช่วยให้เด็กเกิดความมั่นใจในตนเอง มองโลกในแง่ดีและรู้จักไว้เนื้อเชื่อใจผู้อื่น เป็น ช่วงชั้นของความคิดริเริ่มและการตัดสันใจหรือความรู้สึกผิด เชื่อว่าเด็กวัยนี้สามารถช่วยเหลือตนเอง ได้ดีและมีความสามารถในการทาสิ่งต่างๆ การจัดประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัยมีหลากหลาย รูปแบบที่นิยมในการจัดประสบการณ์ สาหรับเด็กคือ หน่วยการจัดประสบการณ์ผู้สอนสามารถกาหนดหน่วยการจัดประสบการณ์เป็นราย สัปดาห์โดยกาหนดหัวข้อเป็น แกนกลางในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก สามารถทาได้ 3 วิธี คือ (พัฒนา ชัชพงศ์, 2530:24)


1. เด็กเป็นผู้กาหนด 2. ผู้สอนและเด็กกาหนดร่วมกัน 3. ผู้สอนเป็นผู้กาหนด ทั้งนี้เกมการศึกษาสาหรับเด็กมีหลากหลายรูปแบบเช่นเกมการจับคู่ภาพสิ่งมีชีวิตที่เหมือนกัน เพื่อฝึ กประสานสั มพั น ธ์ร ะหว่างมือกับตา สั งเกต จาแนก เปรียบเทียบสิ่ งมีชีวิตได้ วิธีการดาเนิ น กิจกรรมดังนี้ 1. สนทนากับเด็กเกี่ยวกับการเล่นเกมและภาพ 2. แนะนาวิธีการเล่นเกมโดยให้เด็กสังเกตภาพที่เหมือนกันแล้วนามาวางคู่กัน 3. แบ่งเด็กออกเป็น 5 กลุ่มให้เล่นเกมตามความสนใจ 4. ในระหว่างที่เด็กเล่นเกมควรมีคาถามสอดแทรกเพื่อให้เด็กได้คิด 5. เมือ่ เล่นเสร็จ ช่วยกันเก็บของเข้าที่ให้เรียบร้อย การจัดเกมการศึกษาจะช่วยให้ผู้เล่นมีความพร้อมที่จะเรียน อ่าน เขียน ด้วยความสนุกสนาน และสามารถจดจาเนื้อหาได้อย่างแม่นยา ช่วยพัฒนาการด้านสติปัญญา คือ มีเกณฑ์กติกาง่ายๆ ช่วย ให้เด็กรู้จักสังเกต คิดหาเหตผล หลักในการนาเกมมาใช้ในการเรียนการสอน ควรพิจารณาดังนี้ 1. หลักการนาเกมการศึกษามาใช้ประกอบการเรียนการสอน 2. จุดประสงค์ในการใช้เกมนั้นๆ ว่าจะสอนอะไร 3. สถานที่ที่จะใช้เล่นเกม 4. จานวนนักเรียนที่จะเล่นเกม การเล่นเกมควรหมุนเวียนเล่นเกมอื่นบ้าง หากว่าจาเจเด็กอาจจะเบื่อไม่อยากเล่น (อุษา กล เกม 2533:39) ดวงเดือน วังสินธ์ (2532:40-42) กล่าวถึงประโยชน์และความสาคัญของเกมและการเล่นเกม ดังนี้ 1. เพื่อเป็นการตอบสนองทางด้านอารมณ์ของเด็ก 2. เพื่อเป็นการตอบสนองความต้องการของเด็กในหลายๆ ด้าน 3. เพื่อช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก 4. เพื่อช่วยให้เด็กได้รับความสาเร็จในการทางาน 5. เพื่อเป็นการเตรียมชีวิตของเด็ก 6. เพื่อให้เด็กมีทัศนคติที่ดีต่อการออกกาลังกาย จากข้อความดังกล่าว จะเห็นว่าเกมการศึกษาเป็นสิ่งสาคัญและยังเป็นประโยชน์ในการใช้เป็น เครื่องมือในการจูงใจให้เกิดการเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจมากขึ้นโดยลองผิดลองถูกและได้สังเกต จะ เป็ นสิ่งที่ช่วยให้ เด็กค่อยๆ เกิดความเข้าใจตนเองและผู้อื่น รู้จักการค้นหาเหตุผลและการตัดสินใจ นอกจากนี้ยังช่วยส่งเสริมความเจริญงอกงามด้านสังคม การเล่นจึงเป็นการเรียนรู้สาหรับเด็กและเรียน อย่างมีความสุข ข้อดีของเกมจึงช่วยให้เด็กที่เรียนช้าและเรียนอ่อนมีพัฒนาการที่ดีขึ้น ................................................................................................


เอกสารอ้างอิง ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2546). คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภา. กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2547). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : เอดิสัน.

*นั ก ศึ ก ษาโครงการความร่ ว มมื อ ทางวิ ช าการระหว่ า งกรมส่ ง เสริ ม การปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น กั บ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต สาขาวิชา การศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช ภัฏสวนดุสิต ชื่อ สถานที่ทางาน จานวนเด็ก

นางสาว วิภาวรรณ ช่างคา นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บ้านขัวไม้แก่น สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลหนองกินเพล อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี จานวนนักเรียนทั้งหมด 30 คน


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย โดยผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อช่วยส่งเสริม พัฒนาการทางด้านอารมณ์ของเด็กปฐมวัยพัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองกินเพล Organizing learning event for preschool children at Nong Kin Phen Children พัชรี มูลทา Patcharee Moontha บทคัดย่อ จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย โดยผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒ นาเด็ก ทางด้านอารมณ์ของเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองกินเพล การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ให้ เด็ ก ปฐมวั ย นั้ น มุ่ งพั ฒ นากระบวนการคิ ด สร้างสรรค์ ข องเด็ ก และแสดงออกตามความรู้สึ ก และ ความสามารถของตนเอง ดังนั้นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และจิตนาการโดยการใช้ศิลปะ การเขียนภาพ การปั้นดินน้ามัน การฉีกปะหรือการพิมพ์ภาพ การร้อย ทาให้เด็กได้คิดสร้างสรรค์ และเหมาะสมกับ พัฒนาการของเด็ก ผลจากการที่ ครู ได้จั ดกิ จ กรรมสร้างสรรค์ ในการพั ฒ นาทางด้านอารมณ์ ของเด็ก ปฐมวัย จานวน 47 คน ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองกินเพล พบว่าเด็ก มีอารมณ์ที่ดี มีความร่าเริงแจ่มใส สามารถทากิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆ รู้จักชื่นชม ในผลงานของตนเอง เด็กมีความกล้าแสดงออก รู้จัก การทากิจกรรมร่วมกันฝึกให้รู้จักใช้เวลาว่าง คาสาคัญ : กิจกรรมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย กิจกรรมสร้างสรรค์ พัฒนาการทางด้านอารมณ์ Keyword : Organizing learning event for preschool children.


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย โดยผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อช่วยส่งเสริมพัฒนาการ ทางด้านอารมณ์ของเด็กปฐมวัยพัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองกินเพล พัชรี มูลทา* * เด็กเปรียบเสมือนแก้วน้า ที่พร้อมจะรองรับน้าและเก็บสะสมข้อมูลที่ได้รับอยู่ตลอดเวลา เด็ก ปฐมวัย ในช่วงอายุ 0-5 ขวบจะมีพัฒ นาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ ที่เจริญ เติบโตอย่างรวดเร็ว เหมือนดังที่ กิลฟอร์ด ได้กล่าวว่า “ความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถทางสมองในการคิดหลาย ทิศทาง ซึ่งมีองค์ประกอบความสามารถในการริเริ่ม ความคล่องในการคิด ความยืดหยุ่นในการคิด เด็ก เมื่อได้รับการเลี้ยงดูที่ถูกต้องเหมาะสม จะทาให้เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์ที่ดี เด็กจะยอมรับนับถือ ตนเอง ทาให้เด็กได้รับการยอมรับจากผู้อื่น และเด็กก็จะมีความสุขมีกาลังใจ มีแรงจูงใจ ในการทา กิจกรรมร่วมกับผู้อื่นดังนั้นการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ถือเป็นสิ่งที่สาคัญต่อพัฒนาการทางด้านอารมณ์ ของเด็ก ปฐมวัย เพื่อต้ องการให้ เด็กได้พั ฒ นาความคิด สร้างสรรค์ การรับ รู้ และให้ เด็ก แสดงออก ทางด้านอารมณ์ความรู้สึก และฝึกให้เด็กนั้นมีจินตนาการ เป็นต้น ความสาคัญในการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์สาหรับเด็กปฐมวัย กิจ กรรมสร้างสรรค์เป็ น กิจกรรมหนึ่งที่ ช่วยให้ เด็กแสดงออกทางด้านอารมณ์ และเด็กจะ เรียนรู้ได้ดีเมื่อเด็กได้รับประสบการณ์ตรง ได้ฝึกการคิด แสดงออกอย่างอิสระ และเด็กสามารถนา ความรู้ที่ได้รับจากประสบการณ์นั้นๆ มาใช้ในการแก้ปัญหาของตนและส่วนรวม เนื่องจากเด็กปฐมวัย มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา การจัดประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ในช่วงวัยนี้จะมุ่งเน้นการตอบสนองธรรมชาติและความต้องการ ตามวัยของเด็ก และความรู้สึกของเด็กเองดังนั้นความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และจิตนาการโดยใช้ศิลปะ ไม่ว่าจะเป็นการเขียนภาพ การปั้นดินน้ามัน การฉีกปะหรือการพิมพ์ภาพ การร้อย การประดิษฐ์ หรือวิธีการอื่นๆ ที่เด็กได้คิดสร้างสรรค์ และเหมาะสมกับพัฒนาการ ของเด็ ก ยกตั ว อย่ างการเล่ น พลาสติ ก การสร้า งรูป แบบจากกระดานปั ก หมุ ด การจั ด กิ จ กรรม สร้างสรรค์ ควรจัดให้เด็กในทุกๆ วัน วันละ 3-5 กิจกรรม เป็นอย่างน้อย และให้เด็กเลือกทากิจกรรม ตามความสนใจ อย่างน้อย 2-3 กิจกรรมและกิจกรรมสร้างสรรค์ที่ใช้ในแต่ละวันมีดังต่อไปนี้ 1. การปั้น 2. การเขียนภาพ 3. การวาดภาพระบายสี 4. การฉีกปะ ตัดปะ 5. การพิมพ์ภาพ 6. การร้อย นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัย สวนดุสิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ความหมายของการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ *


7. การเล่นกับสีน้า 8. การประดิษฐ์ 9. การโรยทราย กิลฟอร์ด ได้กล่าวไว้ว่า ความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถทางสมอง ในการคิดที่หลาย ทิศทาง ซึ่งมีองค์ประกอบความสามารถในการริเริ่ม ความคล่องในการคิด ความยืดหยุ่นในการคิด และความสามารถในการแต่งเติมและให้ คาอธิบายใหม่ที่มีการติดตามหลั กการและเหตุผลเพื่อหา คาตอบที่ ถู ก ต้ องเพี ย งค าตอบเดี ย ว แต่ งองค์ ป ระกอบที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด ของความคิ ด ริเริ่ม สร้างสรรค์ นอกจากนี้กิลฟอร์ด เชื่อว่า ความคิดสร้างสรรค์ไม่ใช่ นอกจากนี้กิลฟอร์ด (guilford, 1959: 145 - 151, อ้างอิงจาก กรรณิการ์ สุขุม 1, 2533) ได้ ศึกษาลักษณะพื้นฐานของผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ ดังนี้ 1. ความรู้สึกที่ไวต่อปัญหา หมายถึง บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์จะมีความสามารถในการ จดจาปัญหาต่างๆ รวมทั้งความสามารถในการเข้าถึงหรือการทาความเข้าใจกับสิ่งที่เข้าใจผิด สิ่งที่ขาด ข้อเท็จจริง ซึ่งสรุปได้ว่าปัญหานั้นคืออะไร หรืออย่างน้อยเขาจะต้องรู้ว่าเขากาลังประสบปัญหาอะไร 2. ความคล่องตัวในความคิด หมายถึง บุคคลที่มีความคิดสร้างสรรค์ จะมีความสามารถใน การผลิตแนวความคิดจานวนมากในเวลาอันรวดเร็วแล้วเลือกตามแนวความคิดที่ดีที่สุด มาใช้ในการ แก้ ปั ญ หาแนวความคิ ด ที่ ม ากมายและรวดเร็ ว และแนวความคิ ด ที่ ผ ลิ ต ขึ้ น มาใหม่ แ ล้ ว จึ ง เป็ น แนวความคิดที่แปลกใหม่และดีกว่าแนวความคิดที่มีอยู่ในปัจจุบัน นอกจากนั้นบุคคลที่ได้ชื่อว่ามีความ คล่องตัว 3. ความคิดริเริ่ม หมายถึง บุคคลที่ มีความคิดสร้างสรรค์จะมีความสามารถในการค้นหา แนวทางใหม่ๆ หรือวิธีการแปลงๆ แตกต่างกันออกไปมาใช้ในการแก้ปัญหา ความคิดริเริ่มเป็นสิ่งที่ จาเป็นอย่างยิ่งโดยเฉพาะในวงการธุรกิจ ผู้บริหารจาเป็นที่จะต้องแสวงหาแนวทางใหม่ๆ มาแก้ปัญหา ที่เปลี่ยนแปรไป นอกจากจะต้องแสวงหาแนวทางใหม่ๆ แล้ว ยังจาเป็นจะต้องปรับปรุงแนวทางใหม่ๆ เหล่ า นี้ ม าช่ ว ยแก้ ไขปั ญ หาที่ คิ ด ขึ้ น ในสภาพการณ์ ใหม่ ๆ ดั งนั้ น นั ก บริ ห ารจ าเป็ น จะต้ อ งสร้ า ง “ความคิดริเริ่ม” ให้เกิดขึ้น ที่กล่าวว่าความคิดริเริ่มเป็นสิ่งที่จาเป็นสาหรับนักบริหารในวงการธุรกิจ ก็ เนื่องมาจากว่าการประกอบธุรกิจนั้นมีการแข่งขั้นกันมาก โดยเฉพาะในด้านการผลิตสินค้าให้เป็นที่ ต้องการของตลาด ให้มีความแปลกใหม่ คุณภาพดี และราคาถูก ซึ่งความคิดริเริ่มจะช่วยแก้ปัญหา ต่างๆ เหล่านี้ได้มาก ขั้นนา - ครูสร้างข้อตกลงในชั้นเรียนกับเด็ก ๆ และอธิบายขั้นตอนการทากิจกรรมสร้างสรรค์ต่างๆ ยกตัวอย่าง เช่น การเขียนภาพ และการเล่นสี การวาดภาพ การปั้นดินน้ามัน การเป่าสี การทับสี การ ฉีกปะ เป็นต้น ในการทากิจกรรมสร้างสรรค์นั้นมีความหลากหลาย เป็นการให้เด็กนั้นลงมือทาด้วย ตัวเอง และเป็นการเตรียมความพร้อมให้กับเด็กเบื้องต้น


ขั้นสอน - ครูแจกอุปกรณ์ให้กับเด็ก และช่วยสาธิตการใช้วัสดุ แต่ละประเภท ให้สอดคล้องกับงานที่ จะให้เด็กทากิจกรรม ยกตัวอย่าง งานตัดปะกระดาษ ครูเตรียมกระดาษ กรรไกร กาว ผ้าเช็ดมือ ให้กับเด็ก งานปั้นครูเตรียมแผ่นรองปั้นดินน้ามัน และแผ่นรองผลงานปั้นของเด็ก ขั้นสรุป - ครูแ ละเด็ กช่ ว ยกัน สรุป เนื้ อหาต่ างๆ ของกิ จกรรม และให้ เด็ก ได้ มี ส่ ว นร่ว มในการที่ จ ะ ออกมาโชว์ผลงานให้เพื่อนดู สรุปผลจากการที่ได้จัดกิจกรรมสร้างสรรค์สาหรับเด็กปฐมวัย จากการที่ครูได้จัดกิจกรรมสร้างสรรค์ ในการพัฒนาทางด้านอารมณ์ของเด็กปฐมวัย จานวน 47 คน ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองกินเพล เป็นเวลากว่า 4 สัปดาห์ พบว่าเด็กที่ศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กบ้านหนองกินเพล มีอารมณ์ที่ดี มีความร่าเริงแจ่มใส สามารถทากิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆ ได้อย่างมี ความสุข สนุกสนาน เพลิดเพลิน รู้จักชื่นชม ในผลงานของตนเอง เด็กมีความกล้าแสดงออก มีความ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ดังนั้นกิจกรรมสร้างสรรค์ และกิจกรรมต่างๆ ที่ครูได้จัดให้เด็กถือเป็นส่วนที่สาคัญ สาหรับเด็กปฐมวัยเป็นอย่างมาก เพราะแต่ละกิจกรรม ถือว่าเป็นส่วนที่ช่วยพัฒนาทางด้านต่างๆ ของ เด็กให้ครบทั้ง 4 ด้านยิ่งขึ้นไป เอกสารอ้างอิง โกสุม สายใจ. (2550). สุนทรียภาพทางศีลปะสาหรับเด็กปฐมวัย.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต. จีระพันธ์ พูลพัฒน์. (2557). หนังสือนวัตกรรมปฐมวัย. กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. ประภาพรรณ สุวรรณสุข. (2526). เอกสารการสอนชุดวิชาพฤติกรรมวัยเด็ก. กรุงเทพฯ : คณะ ศึกษาศาตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ศรีสมวงศ์ วีรศิลปิน. (2520). การเล่นของเด็ก. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. สิริมา ภิญโญอนันพงษ์. (2550). การเล่นของเด็ก. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.


ชื่อ

สถานที่ทางาน จานวนเด็ก

นางสาวพัชรี มูลทา นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาตรบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสติ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองกินเพล อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี จานวนเด็กที่ดูแลทั้งหมด 47 คน


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เสริมประสบการณ์ที่ผ่านการเล่านิทาน เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดและการฟัง Activities to enhance learning experiences through storytelling to promote thinking skills and listening skills. เพลินจิตร ใจบุญชื่น PhloenchitChaiboonchuen บทคัดย่อ การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ที่ผ่านการเล่านิทานความสาคัญเป็นการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กได้รับการพัฒนาการทางภาษาการพูด การฟัง และเด็กได้รับความสนุกสนานเพลิดเพลินและเด็ก เกิ ด พั ฒ นาการทั้ ง 4 ด้ า นทั้ งด้ า นร่ างกาย อารมณ์ สั ง คมและสติ ปั ญ ญาที่ เหมาะสมตามวั ย การ วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย อารมณ์สังคม และสติปัญญาให้กับเด็กชั้นอนุบาล 2 จานวนเด็ก 28 คนของศูนย์เด็กก่อนเกณฑ์วัดศรีบุญเรือง ตาบลนาคา อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัด อุบลราชธานี มีขั้นตอนการจัดกิจกรรม 3 ขั้น คือ ขั้นนา ขั้นสอน ขั้นสรุป ผลของการจัดกิจกรรมเด็กฟังนิทานแล้วสามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทานเด็กได้รับ การพั ฒ นาทั ก ษะกระบวนการฟั งการพู ด เด็ ก ได้ รับ ความสนุ ก สนานเพลิ ด เพลิ น เป็ น การส่ งเสริ ม คุณธรรมจิยธรรมด้วย ความสาคัญ : การจัดการเรียนรู้เสริมประสบการณ์ทักษะทางภาษาการคิด การฟัง Keywords : Activities to enhance learning experiences through storytelling to promote thinking skills and listening skills.


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เสริมประสบการณ์ที่ผ่านการเล่านิทาน เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการคิดและการฟัง เพลินจิตร ใจบุญชื่น* เด็กปฐมวัยที่อยู่ในศูนย์เด็กวัดศรีบุญเรืองเป็นวัยที่อยู่ในช่วงอายุ 2-5 ปีเป็นช่วงที่เด็กกาลัง เรียนรู้อยากรู้อยากเห็น เป็นเด็กช่างถามช่างสังเกต การเล่านิทานมีความสาคัญต่อเด็กเป็นอย่างมาก จะทาให้เด็กได้รับพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย อามรณ์ สังคม และสติปัญญา การที่เด็กได้ฟังนิทานจากครูพ่อและแม่จะทาให้เด็กมีความสุขสนุกสนานเพลิดเพลิน มีจิตนา การและมีความคิดสร้างสรรค์การจัดกิจกรรมการเล่านิทานต้องให้เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยเพื่อจะเป็น การเสริมสร้างพัฒนาการให้เหมาะสมตามวัย กระทรวงศึกษาธิการ (2547:62) ระบุความหมายของกิจกรรมเสริมประสบการณ์ว่าหมายถึง กิจกรรมที่มุ่งเน้นให้เด็กได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้ฝึกการทางานและอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มทั้งกลุ่มย่อย และกลุ่มใหญ่กิจกรรมที่จัดมุ่งให้เด็กได้มีโอกาส ฟัง พูด สังเกตคิดแก้ไขปัญหาใช้เหตุผลและฝึกปฏิบัติ เผื่ อ ให้ เด็ ก เกิ ด ความคิ ด รวบยอดเกี่ ย วกั บ เรื่อ งที่ เ รีย นโดยจั ด กิ จ กรรมด้ ว ยวิธี ต่ า งๆ เช่ น สนทนา อภิปราย สาธิตทดลองเล่านิทานเล่าบทบาทสมมติร้องเพลง ท่องคาคล้องจอง ศึกษานอกสถานที่เชิญ วิทยากรมาให้ความรู้ อารี พั น ธ์ ม ณี (2546:149-150) ได้ ก ล่ า วถึ ง ความส าคั ญ ของการจั ด กิ จ กรรมเสริ ม ประสบการณ์ว่าเป็นการจัดกิจกรรมให้ช่วยทาให้เด็กมีโลกทัศน์ที่กว้างและจุดประกายความอยากรู้ ดังนั้นการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ที่ผ่านการเล่านิทานเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กทาให้ เด็กมีความสนุกสนานและผ่อนคลายอารมณ์แล้วนิทานยังช่วยให้เด็กได้พัฒนาทักษะทางภาษา การฟัง พูด การกล้าแสดงออก การคิดและจินตนาการของเด็ก การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์การเล่านิทาน การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ที่ผ่านการเล่านิทานเป็นการส่งเสริมทักษะทางภาษาการ ฟังและการพูดและกระบวนการคิดการเล่านิทานและเด็กไดัรับความสนุกสนานเพลิดเพลิน เด็กกล้า พูดกล้าแสดงออกและเกิดทักษะกระบวนการคิด การเล่านิทานเป็นกิจกรรมที่มีความจาเป็นสาหรับ เด็กปฐมวัยเป็นการเสริมสร้างเด็กได้ในทุกเรื่องทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา กระทรวงศึกษาธิการ (2546:35) ได้ระบุถึงความหมายของการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ว่าเป็ นการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ให้ กับเด็กเพื่อส่งเสริม พัฒ นาการทุกด้านทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาซึ่งจาเป็นต่อการพัฒนาเด็กให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์โดยมีสาระการเรียนรู้ที่ ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะหรือกระบวนการและคุณลักษณะหรือค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ส าหรั บ เด็ก วัย 3-5ปี จ ะเป็ น เรื่องราวที่ เกี่ ย วข้อ งกั บเด็ก บุ คคลและสถานที่ แวดล้ อ มตั ว เด็ ก นักศึกษาร่วมโครงการ ความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน ดุสิต *


ธรรมชาติรอบตัวและสิ่งต่างๆ รอบตัวเด็กมีโอกาสใกล้ชิดหรือมีปฎิสัมพันธ์ในชีวิตประจาวันและเป็น สิ่งที่เด็กสนใจจะไม่เน้นเนื้อหา การท่องจาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับทักษะหรือกระบวนการจาเป็นต้อง บูรณาการทักษะที่สาคัญและจาเป็นสาหรั บเด็ก เช่น ทักษะการเคลื่อนไหว ทักษะทางสังคม ทักษะ ทางการคิด ทักษะการใช้ภาษา คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เป็นต้น ขณะเดียวกันควรปลูกฝังให้เด็ก เกิดเจตคติที่ดีมีค่านิยมที่พึ่งประสงค์ เช่น ความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่นรักการเรียน รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและมีคุณธรรม จริยธรรมที่เหมาะสมกับเด็ก ขั้นตอนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ขั้นนา ครูให้เด็กนั่งเป็นรูปตัวยูครูพาเด็กร้องเพลง (ลมหายใจเข้า) และทาท่าทางประกอบเพลงครู ถามเด็กว่าเด็กรู้จักกระต่ายกับเต่าไหมค่ะกระต่ายมีกี่ขาและเต่ามีกี่ขาและเด็กคิด ว่าอะไรวิ่งเร็วกว่า เพราะอะไร ขั้นสอน 1. ครูใช้สื่อการสอนเป็นหนังสือนิทานกระต่ายกับเต่า 2. ครูเล่านิทานให้เด็กฟังโดยใช้ภาพประกอบ 3. ครูเล่านิทานเสร็จแล้วครูให้เด็กแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทานที่ฟัง 4. ครูสรุปและให้เด็กวาดรูปเกี่ยวกับนิทานที่ฟังและให้เด็กแสดงความคิดเห็นผลงานของตน ได้ ขั้นสรุป เด็กได้รับการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กเกิดกระบวนการคิดและการฟังเด็กมีความคิดสร้างสรรค์ กล้าคิดกล้าแสดงออกและร่วมพูดคุยสนทนากับครูและเพื่อนได้ การจัดประสบการณ์การเล่านิทานเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้เด็กได้รับการพัฒนาครบทั้ง 4 ด้าน ทั้งด้านร่ายกาย อารมณ์สังคมและสติปัญญาทาให้เด็กมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย เอกสารอ้างอิง จีรพันธ์ พูลพัฒน์และคณะ. (2557). นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต. ฉวีวรรณ คูหาภินันท์. (2527). บทสคริปต์การทาหนังสือสาหรับเด็ก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ศิลปาบรรณาคาร. พัชรีพรรณ ลือวณิชย์พันธ์และคณะ. (2558). การคิดและการตัดสินใจ. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต. พูนศรี คัมภีรปกรณ์. (2537). เอกสารคาสอนวิชาการผลิตหนังสือสาหรับเด็ก. ขอนแก่น : คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.


สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. (2550). การศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน ดุสิต.

ชื่อ สถานที่ทางาน ตาแหน่ง จานวนเด็ก

นางเพลินจิตรใจบุญชื่น นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์เด็กก่อนเกณฑ์วัดศรีบุญเรือง ตาบลนาคา อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี ผู้ดูแลเด็ก จานวนเด็กที่ดูแลทั้งหมด 28 คน


การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาให้กับเด็ก ปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดศรีบุญเรือง The activities to promote cognitive development experience with preschool children in child care centers before Sriboonruang criteria. ชุติกาญจน์ สันตะพันธ์ Chutikan Santaphan บทคัดย่อ เด็กปฐมวัยช่วงเปิดภาคการศึกษาแรกๆ สิ่งที่พบบ่อยๆ คือ เด็กยังไม่มีทักษะกระบวนการคิด ไม่กล้ าสนทนาโต้ตอบและแสดงความคิด เห็ น เมื่อครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมเสริม ประสบการณ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมพัฒ นาการด้านสติปัญ ญาของเด็กปฐมวัยเพื่อให้ มีทักษะ กระบวนการคิด กล้ าสนทนาโต้ตอบและแสดงความคิดเห็ นเมื่อทากิจกรรมร่วมกับผู้ อื่ นในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ครั้งนี้ใช้กับเด็กปฐมวัย 2 จานวน 28 คน ของศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดศรีบุญ เรื อ ง ต าบลนาค า อ าเภอศรี เมื อ งใหม่ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี ระยะเวลา 4 สั ป ดาห์ ซึ่ ง มี ก ารจั ด ประสบการณ์ การเรีย นรู้ 3 ขั้นตอน ดังนี้ (1) ขั้นนาเข้าสู่ บทเรียน โดยการใช้เพลง ดั่งดอกไม้บาน เพลงชื่ อของเธอ และเพลง สวัส ดี คุณ ครู (2) ขั้นสอน โดยมีการจัด กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 6 กิจกรรม คือ การสนทนาโต้ตอบกับครู การเล่านิทาน การทดลอง การสังเกต การร้องเพลง การใช้ บัตรภาพ บัตรคา (3) ขั้นสรุป โดยการสนทนาและร่วมกันสรุปเนื้อหา ผลการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาให้เด็กปฐมวัยของ ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดศรีบุญเรืองพบว่า เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาดีขึ้น โดยจากการสังเกต พฤติกรรมรายบุคคล และการบันทึกคาพูดของเด็กจากการสนทนาและตอบคาถามของครู คาสาคัญ : การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เสริมประสบการณ์ พัฒนาการด้านสติปัญญา Key words : Learning activities, Experiences, Cognitive development


การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาให้กับเด็กปฐมวัยในศูนย์ อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดศรีบุญเรือง ชุติกาญจน์ สันตะพันธ์* ธรรมชาติของเด็กปฐมวัยเป็นวัยที่อยากรู้อยากเห็น ชอบซักถามจนได้คาตอบที่ตนเองพอใจ และชั ด เจน เด็ ก ปฐมวั ย มี พั ฒ นาการที่ แ ตกต่ า งกั น ตามช่ ว งอายุ แ ละบริ บ ทการอบรมเลี้ ย งดู สภาพแวดล้อม เป็นวัยที่มีลักษณะเฉพาะของพัฒนาการทางสติปัญญา พัฒนาการทางด้านสติปัญญา เป็ น เรื่ อ งที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ ความคิ ด และความเข้ า ใจของเด็ ก เป็ น สิ่ ง ที่ ส ามารถพั ฒ นาให้ ป ระสบ ความสาเร็จในอนาคตได้ (Hunt and Sullivan.1974 131- 132) เพียเจย์ได้กาหนดขั้นพัฒ นาทาง สติปัญญาตามการเปลี่ยนแปลงเชิงคุณ ภาพของพฤติกรรมการคิด ซึ่งลักษณะสาคัญ ของขั้นในการ พัฒนาการทางสติปัญญานั้นมี 4 ประการด้วยกัน ครูผู้สอนมีบทบาทในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับความต้องการของเด็ก ซึ่งกิจกรรมเสริมประสบการณ์มีความสาคัญต่อการส่งเสริม พัฒนาการคิดของเด็กปฐมวัย เพราะการจัดกิจกรรมสอดคล้องกับธรรมชาติของเด็กโดยให้ได้ศึกษา ค้น คว้าผ่ านการสั มผั ส การซึมซับ การเลี ยนแบบ การกระทา การเล่น การทดลอง และการสร้าง แรงจูงใจให้เด็กมีความใฝ่รู้ ได้แสดงความสามารถ กล้าแสดงความคิดเห็นโดยปลูกฝังให้เด็กเป็นคน รู้จักคิด ฝึกให้สังเกตสิ่งรอบตัว ให้ความสนใจในสิ่งที่เด็กทา ให้เด็กได้มีโอกาสเรียนรู้จากการลองผิด ลองถูกในเรื่องต่างๆ ให้ เด็กได้ฝึกคิดแก้ปัญหาต่างๆ ด้วยตัวเอง ทั้งนี้โดยอยู่บนพื้นฐานของการใช้ เหตุผลและความถูกต้องเหมาะสม ซึ่งส่งผลต่อการเรียนรู้ด้านสติปัญญากับเด็ก การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์มีความสาคัญอย่างไร กิจกรรมเสริมประสบการณ์มีความสาคัญต่อการพัฒนาการคิดของเด็กปฐมวัย เพราะลักษณะ การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์อยู่บนพื้นฐานตามแนวคิดว่า เด็กทุกคนมีศักยภาพในการสร้างองค์ ความรู้ โดยอาศัย อย่างสอดคล้องกับธรรมชาติของเด็กปฐมวัย ซึ่งเป็นวัยแห่งการเรียนรู้ผ่านการสัมผัส การเลียนแบบ การกระทา การเล่นอย่างมีความสุข เพราะการที่เด็กได้ทดลองด้วยตนเองนั้นจะส่งผลต่อการพัฒนา ความสามารถในการสรุปข้อค้นพบหรือเรียกว่า องค์ความรู้ ได้จากประสบการณ์ตรง เด็กได้มีโอกาส ปฏิบัติโดยวิธีการที่หลากหลาย อีกทั้งยังเป็นการฝึกเด็กให้ได้คิดแก้ ปัญหา ใช้เหตุผลและฝึกปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกั บเรื่องที่เรียนด้วยวิธีการต่างๆ ได้แก่ การสนทนา การอภิปราย การสาธิต การใช้คาถาม การทดลอง ปฏิบัติการ ศึกษานอกสถานที่ การเล่านิทาน บทบาทสมมติ การ ร้องเพลง เล่ น เกม ท่องคาคล้ องจอง ฯลฯ เนื่องจากวิธีการดังกล่าว เด็กได้มีโอกาสคิด ได้ปลู กฝั ง คุณธรรมจริยธรรมซึ่งส่งเสริมให้เด็กได้มีโอกาสอยู่ในสังคมและมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น *นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต *


ขั้นตอนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ครูน าเด็ กเข้ากิ จกรรมโดยการร้องเพลง"ดั่งดอกไม้ บาน"เพลง "ชื่อของเธอ" เพลง "สวัส ดี คุณครู"แล้วให้เด็กร้องตามพร้อมแสดงท่าทางประกอบ ขั้นสอน 1. ให้เด็กนั่งเป็นวงกลมแล้ว ครูและเด็กสนทนาเกี่ยวกับ - การมีวินัยในตนเอง - ความสาคัญของชื่อ สกุลตนเอง - ความแตกต่างของรูปร่างหน้าตาของแต่ละคน - การปฏิบัติตนในห้องเรียน - เกี่ยวกับประโยชน์ของดอกอัญชัญ - หน้าที่การดูแลรักษาตา - หน้าที่การดูแลรักษาหู - หน้าที่การดูแลรักษาจมูก - หน้าที่การดูแลรักษาปาก - หน้าที่การดูแลรักษามือและเท้า 2. ครูขออาสาสมัครออกมาหน้าชั้นแล้วให้เพื่อนสังเกตรูปร่าง ลักษณะของหน้า ตา หู จมูก ปาก มือและเท้า 3. ครูเล่านิทานส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมเรื่อง หนูดีมีวัย ให้เด็กฟัง 4. ครูให้เด็กได้ทดลองการทาปฏิริยาของน้าดอกอัญชัญกับน้ามะนาวและให้เด็กได้ลองชิม รสชาติของน้าดอกอัญชัญ 5. ครูพาเด็กร้องเพลง ชื่อของเธอ แล้วให้เด็กร้องตามทีละวรรค จากนั้นให้เด็กร้องเพลง เมื่อ ครูชี้ไปที่ใครแล้วให้นักเรียนบอกชื่อตนเอง 6. ครูนาบัตรภาพ ก.ไก่ มาให้เด็กอ่าน 7. ครูนาบัตรภาพเลข 1 มาให้เด็กอ่าน ขั้นสรุป ครูเด็กร่วมกันสรุปเนื้อหาจากการสนทนาแล้วครูให้เด็กทาใบงาน ครูตรวจผลงานแล้วบันทึก คาพูดของเด็กลงในใบงาน สรุป จากการสอนกิ จ กรรมเสริ ม ประสบการณ์ ให้ เด็ ก ผลปรากฎว่ าเด็ ก มี พั ฒ นาการทางด้ า น สติปัญญาเพิ่มมากขึ้นจากการสั งเกตพฤติกรรมของเด็กและการประเมินจากการบันทึกคาพูดของเด็ก ลงในใบงาน เด็กสนทนาโต้ตอบกับครู กล้าพูดและสนทนาแสดงความคิดเห็นเพิ่มมากขึ้น นาเสนอ ผลงานของตนเองได้ดีขึ้น


เอกสารอ้างอิง จีระพันธ์ พูลพัฒน์ และคณะ. (2557). นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต. ทิศนา แขมมณี. (2547). องค์ความรู้เพื่อการจัดการกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ประทุม อังกูรโรหิต. (2543). ปรัชญาปฏิบัตินิยม รากฐานปรัชญาการศึกษาในสังคมประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ประสาท อิศรปรีดาและวีณา วิสเพ็ญ. (2534). ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถภาพทางสติปัญญาด้าน การคิดตามแนวเพียเจท์กับความพร้อมและผลสัมฤทธิ์ในการอ่านของเด็กเริ่มเรียน. รายงานการวิจัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม : มหาสารคาม. ศึกษาธิการ,กระทรวง. (2546). คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2546. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา.


ชื่อ

สถานที่ทางาน ตาแหน่ง จานวนเด็ก

นางชุติกาญจน์ สันตะพันธ์ นักศึกษา สาขาการึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดศรีบุญเรือง ตาบลนาคา อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี ผู้ดูแลเด็ก จานวนเด็กที่ดูแลทั้งหมด 28 คน


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เสริมประสบการณ์ที่ผ่านการเล่นบทบาทสมมุติ เพื่อส่งเสริมทักษะทางภาษา Design Learning Activities for Enhancing Experience and Language Skill-Based Role Plays บุศกร ป้องญาติ Busakorn Pongyat บทคัดย่อ การจั ด กิจ กรรมเสริ มประสบการณ์ ที่ผ่ านการเล่ น บทบาทสมมุติ มีค วามส าคัญ คือ การจั ด กิจกรรมให้เด็กได้แสดงออกอย่างเต็มที่ฝึกให้เด็กกล้าพูดกล้ าคิดกล้าแสดงความคิดเห็นการเรียนรู้การ อยู่ร่วมกับเพื่อนและครูโดยใช้นิทานหรือเรื่องราวใกล้ตัวมาร่วมในการเรียนเพื่อสร้างแรงจูงใจให้เด็กได้ มีความสนใจมากขึ้นปัญหาที่พบคือเด็กบางคนยังไม่กล้าแสดงออก โดยมีขั้นตอนการจัดกิจกรรมดังนี้ ขั้นเตรีย ม เริ่มการทากิจกรรมเคลื่ อนไหวจังหวะเพื่อนาไปสู่ ขั้นสอน ครูสนทนาถามตอบเรื่องราว อาชีพ ในจินตนาการเพื่อจะทากิจกรรมเล่นบทบาทสมมุติ ขั้นสรุป เด็กได้แสดงออกด้วยท่าทางการ พูดการสื่อสารการใช้ภาษาใช้ความคิดจินตนาการออกอย่างเต็มที่ ผลของการจัดกิจกรรมเด็กได้แสดงออกรู้จักการช่วยเหลือตนเอง มีพัฒนาการทางภาษาได้ เหมาะสมตามวัย ได้ฝึกคิด แก้ไขปัญหา ใช้เหตุผล ฝึกการทางาน และเข้าสังคมกับเพื่อน เพื่อให้เกิด ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติด้วยตนเองที่ใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า และการใช้ภาษา จากกิจกรรมที่ครูจัดให้ คาสาคัญ : การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เสริมประสบการณ์ การเล่นบทบาทสมมุติ ทักษะทางภาษา Keywords : Design Learning Activities, Experiences, Enhancements, Language Skills, Role Play.


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เสริมประสบการณ์ที่ผ่านการเล่นบทบาทสมมุติ เพื่อส่งเสริมทักษะทางภาษา บุศกร ป้องญาติ* การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาการทางด้านสังคมนั้นมีความสาคัญใน พัฒนาการทางด้านสังคม คือ การพัฒนาความสามารถในการสร้างสัมพันธ์กับผู้อื่น การปฏิบัติตนการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างปกติ สุข เกิดการเรียนรู้ทางสังคม เพราะคนเราจะอยู่กันเป็นสังคม เด็กจะพัฒนามาตั้งแต่แรกเกิด รู้จักพ่อ แม่ที่เป็นบุคคลใกล้ชิดที่สุด แล้วขยายมารู้จักบุคคลอื่นในครอบครัว เพื่อน ครูตามลาดับ ช่วยให้เขา เรียนรู้ที่จะเข้าใจคนอื่นและการปฏิบัติต่อกัน ดังทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมของ Albert Bandura ที่ กล่าวว่า เด็กจะเลียนแบบบุ คคลที่อยู่ ใกล้ชิดเป็นการเรียนรู้ทางสังคมของเด็ก การพัฒ นาทางด้าน สังคมของมนุษย์เรานั้นมีความแตกต่างกันขึ้นอยู่กับการอบรมเลี้ยงดูปลูกฝังตั้งแต่เด็ก ซึ่งการเรียนรู้ ทางสั งคมของเด็ กนั้ น มีก ารพั ฒ นามาตั้งแต่ แรกเกิด เด็ก เรียนรู้จากคนใกล้ ตัว แล้ ว เกิ ดการจดจ า เลียนแบบ ซึ่งถ้าได้รับการอบรมปลูกฝังที่ไม่ถูกต้องเหมาะสมกับวัยนั้นอาจส่งผลต่อการอยู่ร่วมกับ สังคมของเด็ก ดังนั้นจึงควรอบรม ปลูกฝังทักษะทางด้านสังคมที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัยของเด็ก ความสาคัญของกิจกรรมเสริมประการณ์ กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดไว้ในคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 ให้ สถานศึกษาปฐมวัย จัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ให้ แก่เด็กในความดูแล เนื่องจากกิจกรรมเสริม ประสบการณ์จะช่วยส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยเจริญเติบโดเป็นผู้ที่คิดอย่างมีเหตุผล มีความรู้สึกที่ดีต่อ ตนเองและผู้อื่น รู้จักการช่วยเหลือตนเอง มีพัฒนาการทางภาษาได้เหมาะสมตามวัย ได้ฝีกคิด แก้ไข ปัญหา ใช้เหตุผล ฝึกการทางาน และเข้าสังคมกับเพื่อน เพื่อให้เกิดความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เรียนรู้ ผ่านการปฏิบัติด้วยตนเองที่ใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า และการใช้ภาษาจากกิจกรรมที่ครูจัดให้เด็กด้วย วิธีการที่หลากหลาย เช่น การศึกษานอกสถานที่ การเล่านิทาน การแสดงบทบาทสมมติ การทดลอง การสาธิต การอภิปราย ขั้นตอนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ขั้นนา ครูนาเด็กเข้ากิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะพร้อมแสดงท่าทางประกอบเพลงอย่างสนุกสนาน เป็นการกระตุ้นให้เด็กเกิดความสนใจและกระตือรือร้นที่จะเข้าร่วมกิจกรรม ครูสนทนากับเด็กเพื่อ นาเข้าสู่การเรียนเล่นบทบาทสมมติ โดยครูอาจใช้วิธีโยงประสบการณ์ใกล้ตัวเด็ก เล่าเรื่องราว หรือ นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต *


สถานการณ์สมมติ อาชีพต่างๆ ชี้แจงประโยชน์ของการเล่นบทบาทสมมติ และการร่วมกันการใช้ ภาษาการพูดและช่วยกันแก้ปัญหา ขั้นสอน 1. ครูและเด็กร่วมกันแสดงความคิดในเรื่องที่จะเล่นบทบาทสมมุติ เช่น อาชีพต่างๆ ที่เด็ก สนใจ 2. ครูเลือกผู้แสดง เมื่อเด็กเกิดความกระตือรือร้นที่จะเข้าร่วมกิจกรรมแล้วครู จะจัดตัวผู้ แสดงในบทบาทต่าง ๆ 3. ครูเลือกผู้แสดงโดยให้อาสาสมัคร เพื่อให้เสรีภาพแก่ผู้เรียนในการเรียน การตัดสินใจ 4. ครูจัดเตรียมมุม อุปกรณ์ในการเล่นบทบาทสมมุติ 5. ครูพูดคุยในการใช้ภาษาที่ถูกต้องเพื่อใช้ในการสื่อสารที่ถูกต้อง 6. เด็กๆ เล่นบทบาทสมมุติโดยครูจะสลับเปลี่ยนให้เด็กได้เล่นแสดงออกกันทุกคน ครูให้เด็กๆ เล่นไปตามธรรมชาติโดยมีครูคอยดูแลช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด จากการค้นพบกระบวนการจัดประสบการณ์เด็กปฐมวัย การจั ดกิจ กรรมเสริมประสบการณ์ ครูควรจัดกิจกรรมที่ห ลากหลาย โดยเน้น ให้ เด็กได้รับ ประสบการณ์ตรง และมีโอกาสค้นพบด้วยตนเองให้ มากที่สุด ยืดหยุ่นในเรื่องระยะเวลาตามความ สนใจของเด็ก เปิดโอกาสให้เด็กได้ฝึกคิดฝึกพูดด้วยการใช้คาถามปลายเปิด และยอมรับความคิดเห็นที่ หลากหลายของเด็ก ระวีวรรณ วุฒิประสิทธิ์ (2530 : 74) กล่าวถึงการสอนแบบการแสดงบทบาทสมมติ ว่าเป็น การสอนที่กาหนดให้ผู้เรียนแสดงบทบทตามที่สมมติขึ้นเทียบเคียงกับสภาพที่เป็นจริง ตามลักษณะที่ผู้ แสดงบทบาทเข้าใจ เพื่อให้ผู้ดูเกิดความรู้ ความเข้าใจในสิ่งที่เกิดขึ้น หลักสาคัญของการสอนแบบนี้คือ ผู้สอนจะสร้างปัญหาให้ผู้เรียนได้คิดและให้ผู้เรียนแก้ปัญหานั้น ๆ ให้ได้ด้วยตนเอง ด้วยการแสดงที่ทา ให้ได้ด้วยตัวเอง ด้วยการแสดงที่ทาให้ผู้ดูเห็นจริง วิธีสอนโดยใช้การเล่นบทบาทสมมติจึงนับว่ าเป็น วิธีการฝึกการแก้ปัญหาและการตัดสินใจวิธีหนึ่ง เพราะในสถานการณ์ที่สมมติขึ้นมาและบทบาทที่ สมมติขึ้นมาให้คล้ายคลึงกับสิ่งที่เป็นจริงนั้น มักจะมีปัญหาและข้อขัดแย้งต่างๆ แฝงมาด้วย การที่ให้ ผู้เรียนได้เลือกที่จะแสดงบทบาทต่างๆ โดยไม่ต้องใดหรือเตรียมตัวมาก่อนนั้ น ผู้แสดงจะต้องแสดงไป ตามธรรมชาติโดยที่ไม่รู้ว่าผู้แสดงคนอื่นจะมีปฏิกิริยาตอบโต้อย่างไรนั้น นับว่าเป็นการช่วยฝึกให้ผู้ แสดงได้เรียนรู้ที่จะปรับพฤติกรรมและหาทางแก้ปัญหาตัดสินใจอย่างธรรมชาติ ขั้นสรุป จากการทากิจกรรมจะเห็นได้ว่าเด็กสามารถทากิจกรรมได้ดี เด็กมีความสนใจในกิจกรรมสาม รถสนทนาถาม โต้ตอบ กล้าพูดคุยสนทนากับครูและเพื่อน กล้าคิดกล้าแสดงออกได้อย่างเต็มที่เด็ก ๆ ได้แสดงออกด้วยท่าทางการพูดการสื่อสารการใช้ภาษาใช้ความคิดจินตนาการออกอย่างเต็มที่และยัง สอนให้เด็กรู้จักการรอคอย การแบ่งปันและร่วมกิจกรรมกับครูและเพื่อนได้เป็นอย่างดี


เอกสารอ้างอิง กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). คู่อมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 (สาหรับอายุ 3-5 ปี).กรุงเทพมหานคร : สกสค. จีระพันธ์ พูลพัฒน์และคณะ. (2557). นวัตกรรมการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต. ทสายสุรี จุติกุล. (2543). กระบวนการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : บางกอกบล็อก-ออฟเซต. อารี สัณหฉวี. (2544). นวัตกรรมปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : แว่นแก้ว.

ชือ่

สถานที่ทางาน ตาแหน่ง จานวนเด็ก

นางสาวบุศกร ป้องญาติ นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์วัดนาเวียง ตาบลนาคา อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี ผู้ดูแลเด็ก จานวนเด็กทีด่ ูแลทั้งหมด 60 คน


การปลูกฝังเรื่องความมีระเบียบวินัยของเด็ก ปฐมวัยผ่านกิจกรรมการเล่านิทานในศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่ากุงน้อย ตาบลลาดควาย อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี The knowledgeable about the discipline of going chidren grass storytelling The Child Development Center, Pakungnoi. Communiti Ladkeay district Srimuangmai Ubon Ratchatani Province. จิราภรณ์ สีเลิศ Jiraporn Srilert บทคัดย่อ การเรียนรู้และของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒ นาเด็กเล็กบ้านป่ากุงน้อยโดยใช้การเล่านิทานใน การปลูกฝังเด็กให้เกิดจิต สานึกในเรื่องความมีระเบียบวินัย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เด็กเกิดความ สนุกสนานและสอดแทรกแนวคิด คุณธรรมความมีระเบียบวินัยที่สามารถเป็นแนวทางในการดาเนิน ชีวิตให้เด็กเข้าใจด้วยน้าเสียง ท่าทางสื่อและอุปกรณ์ ในการจัดกิจกรรมครั้งนี้เป็นชาย-หญิง ที่มีอายุ ระหว่าง 2-5 ปี ที่กาลังศึกษาอยู่ในชั้นปฐมวัย จานวน 40 คน ศูนย์พั ฒ นาเด็กเล็ กบ้านป่ากุงน้อย สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลลาดควาย ตาบลลาดควาย อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งมีการจัดการเรียนการสอนผ่าน 3 ขั้นตอน โดยการใช้กิจกรรม 6 หลัก (ขั้นนา) ไปและพูดถึงความมี ระเบียบวินัย บอกวิธีการเก็บของเล่นและของใช้ที่ถูกต้องเพื่อให้เด็กเกิดความมีระเบียบวินัยในศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่ากุงน้อย (ขั้นสอน) คุณครูนานิทานเรื่อง "นครไร้วินัย" มาเล่าให้เด็กๆ ฟัง พร้อมทั้งสอดแทรกเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับตัวเด็กเพื่อทาให้เด็กเข้าใจในเรื่องของความมีระเบียบวินัย มากขึ้น (ขั้นสรุป) ทบทวนเนื้อหาที่เรียนโดยการสนทนากับเด็กเกี่ยวกับวินัยที่ควรปฎิบัติ เช่น การทิ้ง ขยะให้ถูกวิธี ผลจากการจัดกิจกรรมการเล่านิทานปรากฎว่าเด็กเริ่มมีระเบียบวินัยในการทิ้งขยะลงในถัง ขยะรู้จักเก็บของเล่นและของใช้ของตัวเองมากขึ้นโดยสังเกตจากพฤติกรรมองเด็ก คาสาคัญ : การปลูกฝังเรื่องความมีระเบียบวินัยโดยผ่านกิจกรรมการเล่านิทาน Keywords : Knowledgeable about the discipline through STORYTELLING.


การปลูกฝังเรื่องความมีระเบียบวินัยของเด็กปฐมวัยผ่านกิจกรรมการเล่านิทานในศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กบ้านป่ากุงน้อย ตาบลลาดควาย อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี นางสาวจิราภรณ์ สีเลิศ* เด็กปฐมวัยที่อยู่ในช่วง 3-5 ขวบ เป็นช่วงเวลาที่มีพัฒนาการสูง ถ้าเด็กได้รับการเรียนรู้ที่ดี เด็กจะมีการพัฒนาได้เต็มศักยภาพทั้งทางด้านอารมณ์ สังคม และสติปัญญา โดยครูต้องเป็นผู้กระตุ้น ให้เกิดการเรียนรู้คอยสนับสนุนให้เด็กเรียนรู้อย่างถูกต้อง ดังนั้นกิจกรรมการเล่านิทานจึงเป็นอีกส่วน หนึ่งในการพัฒนาเด็กปฐมวัยในด้านสติปัญญาเพื่อให้เด็กเกิดการจินตนาการ โดยผ่านกิจกรรมเสริม ประสบการณ์เรียนรู้ทั้ง 6 หลักในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและการจัดกิจกรรมที่เหมาะสม กิจกรรมการเล่า นิ ทานจึ งเป็ น อีกส่ ว นหนึ่ งที่ จะช่ว ยพัฒ นาสติปัญ ญาท าให้ เด็กเกิดจินตนาการ และยังช่ว ยปลู กฝั ง จิตสานึกในด้านความมีระเบียบวินัยของเด็กปฐมวัย โดยผ่านกิจกรรมการเล่านิทานได้อีกวิธีหนึ่ง ความสาคัญของการจัดการเรียนรู้เรื่องความมีระเบียบวินัยของเด็กปฐมวัย การเรียนรู้เรื่องความมีระเบียบวินัยของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่ากุงน้อย โดย การใช้กิจกรรมการเล่านิทานในการปลูกฝังเด็กให้เกิดจิตสานึกในเรื่องความมีระเบียบวินัย พร้อมทั้ง กระตุ้นให้เด็กเกิดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาด้านสติปัญญา เกิดจินตนาการระหว่างการฟังนิทานนาไปสู่ ความมีระเบียบวินัยในตนเอง และสร้างทัศนคติที่ดีในการเรียนสอดคล้องกับแนวคิดของ เบนจามิน บลู ม และคณะ (Bloom et al.1956) ได้ จ าแนกการเรี ย นรู้ อ อกเป็ น 3 ด้ า น คื อ 1. พุ ท ธิ พิ สั ย (Cognitive Domain) พฤติกรรมด้านสมอง เป็นพฤติกรรมด้านสติปัญญา ความคิด ความเฉลียวฉลาด ความสามารถในการคิดเรื่องราวต่างๆ อย่างมีประสิทธิ ภาพซึ่งเป็นความสามารถทางสติปัญญา 2. ด้านจิตติพิสัย (Affective Domain) (พฤติกรรมด้านจิตใจ) คือค่านิยมความรู้สึ ก ความซาบซึ้ง ความ เชื่อและความสนใจในคุณธรรม พฤติกรรมด้านนี้จะไม่เกิดทันทีดังนั้นกระบวนการจัดกิจกรรมการ เรี ยนการสอนโดยการจัดสภาพแวดล้ อมที่ เหมาะสมและสอดแทรกสิ่ งที่ดีงามตลอดเวลาจะทาให้ พฤติ ก รรมของผู้ เรี ย นเปลี่ ย นไปในแนวทางที่ พึ ง ประสงค์ ไ ด้ 3. ทั ก ษะพิ สั ย (Psychommotor Domain) (พฤติกรรมด้านเนื้อมือประสาท) พฤติกรรมที่บ่งบอกถึงความสามารถในการปฎิบัติงานได้ อย่างคล่ องแคล่ว ชานิช านาญ ซึ่งแสดงออกโดยมีเวลาและคุณภาพของงานเป็นตัวบ่งชี้ระดับของ ทักษะ

*นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต *


ความสาคัญของกิจกรรมการเล่านิทาน การเล่านิทานเป็นการเล่าเรื่องหรือถ่ายทอดเรื่องราวของนิทานโดยครูเล่าให้เด็กฟังอาจเป็น นิทานเล่าต่อกันมา เรื่องที่แต่งขึ้นใหม่ โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้เด็กเกิดความสนุกสนานและสอดแทรก แนวคิด คุณธรรมความมีระเบียบวินัยที่สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตให้เด็กเข้าใจ ด้วยน้าเสียง ท่าทาง สื่อและอุปกรณ์ที่ทาให้นิทานนั้นน่าสนใจและสนุกสนานมากขึ้ ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเล่านิทานเพื่อปลูกฝังความมีระเบียบวินัย ขั้นเตรียม ครูใช้กิจกรรมในวงกลมเพื่อเตรียมความพร้อมให้กับเด็กโดยการใช้เพลง "สามัคคีชุมนุม" เมื่อเด็ก รวมตัวกันแล้วครูใช้เพลง "ราระบา ก.ไก่" เพื่อให้เด็กนั่ง แล้วทาปากปลาปั กเป้าเพื่อเตรี ยมพร้อมเข้าสู่ บทเรียนในการสอน ขั้นนา ครูใช้หน่วย "มารยาทไทย" ในการเรียนรู้เรื่อง การมีคุณธรรมจริยธรรม โดยสนทนากับเด็ก เกี่ยวกับมารยาทในการทิ้งขยะ มารยาทในการเล่นของเล่นเก็บของเล่นเข้าที่ บอกวิธีการเก็บของเล่น และของใช้ส่วนตัวที่ถูกต้องให้กับเด็กเพื่อให้เกิดความมีระเบียบวินัยในบริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้าน ป่ากุงน้อย ขั้นสอน ครูนานิทานเรื่อง "นครไร้วินัย" โดยมีเนื้อเรื่องดังนี้ "เด็กชายแผนเป็นเด็กก้าวร้าวไม่มีระเบียบ วินั ย เย็นวันหนึ่งหลังเลิกเรียน แผนข้ามถนนโดยไม่ระวังจึงถูกรถชนจนหมดสติเมื่อตื่นขึ้นมาก็ พบว่าตัวเองอยู่ที่นครไร้วินัย ที่นครไร้ระเบียบวินัยผู้คนไม่มีระเบียบวินัยจนแผนทนไม่ได้ และวันหนึ่ง แผนไปโรงเรียนกับเพื่อนชื่อหูกางซึ่งรู้จักกันที่นครไร้วินัย โดยขับยานอวกาศไปโรงเรียนแต่หูกางขับ อย่างน่าหวาดเสียวจนไปชนกับยานอีกลาหนึ่งทาให้แผนสลบไป เมื่อตื่นขึ้นมาก็พบว่าตัวเองอยู่ที่โลก และเหตุก ารณ์ ค รั้ งนี้ ท าให้ แผนไม่ อ ยากกลั บ ไปเป็ น คนไร้วินั ย อีก แล้ ว " โดยระหว่างที่ เล่ านิ ท านก็ สอดแทรกเนื้อหาที่ใกล้กับตัวเด็ก เช่น เรื่องการทานขนมแล้วควรนาถุงขนมที่ทานเสร็จไปทิ้งถังขยะ การเข้าแถวอย่างมีระเบียบวินัย เพื่อให้เด็กเกิดความเข้าใจในเรื่องของความมีระเบียบวินัยมากขึ้น ขั้นสรุป ครูทบทวนเกี่ยวกับเนื้อหาที่เด็กได้เรียนรู้จากกิจกรรมเสริมประสบการณ์ในเรื่องของความมี ระเบียบวินัยสนทนากับเด็กเกี่ยวกับวินัยที่ควรปฎบัติ เช่น การทิ้งขยะให้ ถูกที่ เก็บของเล่นของใช้ ส่วนตัวเข้าที่ การเข้าแถวอย่างมีระเบียบวินัย เพื่อปลูกฝังจิตสานึกให้เด็กมีระเบียบวินัยมากขึ้น ผลของการจัดกิจกรรมการเล่านิทาน จากการจัดกิจกรรมการเล่านิทานปรากฎว่าเด็กเริ่มมีระเบียบวินัยในการทิ้งขยะลงในถังขยะ รู้จักเก็บของเล่นและของใช้ส่วนตัวของตัวเองมากขึ้น โดยสังเกตจากพฤติกรรมการเก็บขยะระหว่างที่


ทานขนมเสร็จจะนาไปทิ้งลงในถังขยะเองรู้จักเก็บของเล่นและของใช้ส่วนตัวเข้าที่มากขึ้นซึ่งสอดคล้อง กับทฤษฎีของ เบนจามิน บลูมและคณะ (Bloom et al,1956) เอกสารอ้างอิง โกสุม สายใจ และคณะ. (2550). สุนทรียภาพทางศิลปะสาหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. (ม.ป.ป). การจัดการเรียนรูส้ าหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. เมธาวี อุดมธรรมมานุภาพ และคณะ. (2550). ธรรมชาติของผู้เรียน. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. เยาวภา เดชะคุปต์ และคณะ. (ม.ป.ป.). การจัดการเรียนรูส้ าหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. วัฒนา บุญญฤทธิ์. (2549). นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต.

ชื่อ

สถานที่ทางาน ตาแหน่ง จานวนเด็ก

นางสาวจิราภรณ์ สีเลิศ นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่ากุงน้อย สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลลาดควาย ตาบลลาดควาย อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก จานวนเด็กที่ดูแลทั้งหมด 40 คน


การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้านความมีระเบียบวินัยใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคาบง The activities to promote learning skills,experience and discipline. The child Development center houses a bong จูมมะลี หอมหวล Jumalee Homhul บทคัดย่อ การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้านความมีระเบียบวินัยใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคาบง เพื่อจะช่วยส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยเจริญเติบโตที่เหมาะสมตามวัยรู้จักการ ช่วยเหลือตนเองและคิดอย่างมีเหตุผลมีการพัฒนาทางด้านภาษาที่เหมาะสมตามวัยเพื่อให้เกิดความรู้ ผ่านการปฏิบัติ ผลการจัดกิจกรรมทุกกิจกรรมพบว่า ผลจากการสังเกตพฤติกรรมของเด็กปฐมวัยมีการเรียนรู้ จากการเล่นกับเพื่อนส่งผลต่อการอยากจะทากิจกรรมต่างๆ ร่วมกับเพื่อนมากขึ้น การใช้เพลง คา คล้องจอง และการใช้นิทานมาช่วยสร้างแรงจูงใจให้เด็กเกิดการตื่นตัวเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ทั้ง 4 ด้าน คือด้านอารมณ์ สังคม ร่างกายและสติปัญญาและอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ความสาคัญ : กิจกรรมเสริมประสบการณ์ พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา Key words : Experiences physical, emotional,social and intellectual development.


การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เรียนรู้ เพื่อส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ดัานความมีระเบียบวินัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จูมมะลี หอมหวล* เด็กระหว่างอายุ 2-3 ปีเป็นวัยที่มีการพัฒนาการเรียนรู้ ด้านการใช้ภาษาและชอบเรียนรู้สิ่ง ใหม่ๆ ผ่านการสัมผัส การเลียนแบบ การปฎิบัติเพราะเด็กในวัยนี้ยังไม่มีความสามารถในการอ่าน และการเขี ย นการจั ด กิ จ กรรมส าหรั บ เด็ ก ปฐมวั ย มี ก ารจั ด กิ จ กรรมที่ ห ลากหลาย กิ จ กรรมเสริ ม ประสบการณ์เป็นกิจกรรมหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยเจริญเติบโตรู้จักการช่วยเหลือตนเองคิด อย่างมีเหตุผล มีการพัฒนาด้านภาษาที่เหมาะสมตามวัยเพื่อให้เกิดความรู้ผ่านการปฏิบัติด้วยตนเอง ความสาคัญการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เรียนรู้ การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ให้กับเด็กเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านซึ่งจาเป็นต่อ การพัฒนาของเด็กปฐมวัย การเรียนรู้เรื่องเกี่ยวกับตัวเด็กบุคคลและสถานที่ สิ่งแวดล้อมและธรรมชาติ นักทฤษฎี เพียเจต์(Jean plaget, 1896-1980 อ้างใน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 2552) กล่าวว่า การจัดประสบการณ์ให้กับเด็กนั้นเด็กจะได้มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับโลกภายนอกเด็กจะได้เรียนรู้ซึ่งกัน และกัน เด็กจะได้รับประสบการณ์ตรงมีอิสระทางความคิด การแสดงออกและการสนทนาระหว่างเด็ก ด้วยกันจะทาให้เด็กสามารถเข้าใจกันได้เร็ว นักทฤษฎีบรูเนอร์(Jerome Bruner 1969 พรรณี ช. เจน จิต, 2538, หน้า 201-204) เชื่อว่า การพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กเกิดจากกระบวนการภายใน อิน ทรีย์ เน้ น ความส าคัญ สิ่ งแวดล้ อมและวัฒ นธรรมที่ แวดล้ อมเด็ กกระบวนการคิดประกอบด้ว ย ลักษณะ 4 ข้อคือ แรงจูงใจ โครงสร้าง ลาดับขั้นตอน ความต่อเนื่องและการเสริมแรง ขั้นตอนและวิธีการในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีสมาธิ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กจานวน 58 คน ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคาบง สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลสงยาง อ. ศรีเมืองใหม่ จ. อุบลราชธานี โดยการใช้นิทานเพื่อส่งเสริม การมีสมาธิของเด็กปฐมวัยเป็นเวลา 4 สัปดาห์ เริ่มตั้งแต่วันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ถึงวัน ศุกร์ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ.2558 ขั้นนา คุณครูให้เด็กนั่งเป็นรูปตัว U ก่อนเริ่มการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กในแต่ละวันครูพา เด็กนั่งสมาธิด้วยเพลง ดั่งดอกไม้บาน ต่อจากนั้นก็เริ่มหลับตาทาสมาธิ 1-3 นาที เพื่อเป็นการเตรียมความ พร้อมให้กับเด็ก ขัน้ สอน *นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต *


คุ ณ ครู น าเข้า สู่ บ ทเรี ย นโดยใช้ เพลงที่ ห ลากหลายในกิ จ กรรมเคลื่ อ นไหวและจั งหวะ ซึ่ ง ประกอบด้ว ยเพลง ชื่อของฉั น เพลง ตา เพลงส่ ว นประกอบของร่างกาย เพลง มื อของฉั น เพลง อาบน้า โดยคุณครูจะสังเกตการเคลื่อนไหวของเด็กแต่ละคนและการทาท่าทางประกอบเพลงการร่วม กิจกรรมกับเพื่อน กิจกรรมเสริมประสบการณ์จะใช้นิทานนาเข้าสู่บทเรียนโดยนิทานที่ใช้ประกอบด้วย นิทานเรื่อง บ้านไร่ริมทุ่งนา อึ่งอ่างกับวัว น้องส้มมาโรงเรียน บทเรียนของน้องเกม คุณครูจะสนทนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดเห็นโดยการใช้คาถามกระตุ้นให้เด็กคิด ขั้นสรุป จากการจัดกิจกรรมทั้ง 6 หลักของเด็กปฐมวัย กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเด็กๆ สามารถ ร้องเพลงและทาท่าทางประกอบเพลงได้อย่างถูกต้องและสามารถเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้ ดี กิจ กรรมเสริ มประสบการณ์ เด็กมีส มาธิในการฟั งนิท านและฟั งเรื่อ งราวต่างๆ ที่ ครูอธิบายและ สามารถสนทนาโต้ตอบและตอบคาถามได้อย่างถูกต้อง กิจกรรมกลางแจ้ง เด็กๆ สามารถใช้กล้ามเนื้อ มัด เล็ กและกลั ามเนื้ อมั ด ใหญ่ ในการท ากิ จกรรมได้อ ย่างคล่ องแคล่ ว เกมการศึ กษา เด็ กสามารถ แก้ปัญหาในการเล่นเกมและรู้จักอดทนรอคอย แบ่งปัน ช่วยเหลือกัน ผลจากการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ จากการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมพัฒ นาการทางด้านสติปัญ ญาของเด็ก ปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กบ้านคาบง ต. สงยาง อ. ศรีเมืองใหม่ จ. อุบลราชธานี เด็กจานวน 58 คน จากการสั งเกตพฤติกรรมพบว่าเด็กมึพัฒ นาการที่ดี ขึ้น เด็กได้เรี ยนรู้สิ่ งต่ างๆ จากการสั งเกต การ มองเห็น การฟังและการเลียนแบบการกระทามีการเชื่อมโยงรูปร่าง สัญลักษณ์ สี ขนาดและรูปร่าง ต่างๆ กับสิ่งของ เด็กได้เรียนรู้จาแนก เปรียบเทียบและการทดลองสิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง เอกสารอ้างอิง โกสุม สายใจและคณะ. (2550). สุนทรียภาพทางศิลปะสาหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. จีระพันธ์ พูลพัฒน์ และคณะ. (2557). นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต. พัชรีพรรณ ลือวณิชย์พันธ์และคณะ. (2558). การคิดและการตัดสินใจ. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต. วัชรพล วิบูลยศริน และคณะ. (2558). ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย ราชภัฏ สวนดุสิต. สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. (2550). การศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน ดุสิต.


ชื่อ สถานที่ทางาน ตาแหน่ง จานวนเด็ก

นางจูมมะลี หอมหวล นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคาบง ตาบลสงยาง อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก จานวนเด็กทั้งหมด 58 คน


การจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมการรู้หน้าที่และความ รับผิดชอบของเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคาบง ตาบลสงยาง อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี Learning management Activity Experience to promote the knowledge and responsibility of early childhood. ปิยนาฎ วงชมภู Piyanate Wongchompoo บทคัดย่อ การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีลักษณะนิสัยที่เหมาะสมตามวัยผ่านกิจกรรม เสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยรู้หน้าที่และความรับผิดชอบของตนเอง การจัดกิจกรรม ในครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการรู้หน้าที่และความรับผิดชอบของเด็กปฐมวัย การจัดกิจกรรมครั้ง นี้ให้เด็กปฐมวัย ชาย-หญิง จานวน 15 คน ชั้นอนุบาล 3 ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคาบง ตาบลสง ยาง อ าเภอศรี เมื อ งใหม่ จั ง หวั ด อุ บ ลราชธานี การจั ด การเรี ย นการสอนโดยใช้ กิ จ กรรมเสริ ม ประสบการณ์ผ่านบทเพลง นิทานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การเล่นบทบาทสมมุติ การสนทนา โดย แบ่ งขั้น ตอนเป็ น 3 ขั้ น ตอน ดั งนี้ (1 ขั้ น น า) ครูให้ เด็ ก นั่ งสมาธิ เพื่ อ เตรี ยมความพร้อ มก่ อ นเข้า สู่ บทเรียน (2 ขั้นสอน) ครูสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดเห็น (3 ขั้น สรุป) ครูและเด็กร่วมกันสรุปเนื้อหาของเพลงและเนื้อหาของนิทานอีกครั้ง ผลจากการจัดกิจกรรมพบว่า เด็กปฐมวัยรู้จักหน้าที่และความรับผิดชอบของตนเองดีขึ้น โดย จากการสังเกตการร่วมกิจกรรมการสนทนาและตอบคาถามของเด็กโดยใช้เสียงเพลง นิทานส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรมเด็กมีพัฒนาการด้านการเล่นแล้วรู้จักเก็บของเข้าที่เรียบร้อยดีขึ้น ความสาคัญ : การจัดการเรียนรู้ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ การรู้หน้าที่และความรับผิดชอบ Key word : Learning management Activity Experience Knowledge and responsibilities


การจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมการรู้หน้าที่และความรับผิดชอบของ เด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคาบง ตาบลสงยาง อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี ปิยนาฎ วงชมภู* เด็กปฐมวัย 2-5 ปีเป็นช่วงเวลาที่สาคัญที่จะส่งเสริมให้เด็กมีลักษณะนิสัยที่เหมาะสมตามวัย โดยผ่ า นกระบวนการจั ด ประสบการณ์ ก ารเรี ย นรู้ ใ นศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก และกิ จ กรรมเสริ ม ประสบการณ์มีความสาคัญอย่างยิ่งในการที่จะส่งเสริมให้เด็กรู้จักการรู้หน้าที่และความรับผิดชอบ โดย จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของเด็กที่แตกต่างกัน ซึ่ง การส่งเสริมให้เด็กรู้หน้าที่และมีความรับผิดชอบจะทาให้เด็กปฐมวัยเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคต ความสาคัญของกิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมเสริมประสบการณ์จะช่วยส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยเจริญเติบโตเป็นผู้ที่คิดอย่างมีเหตุผล มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น รู้จักการช่วยเหลือตนเอง มีพัฒนาการทางภาษาได้เหมาะสมตามวัย ได้ฝึกคิด แก้ไขปัญหา ใช้เหตุผล ฝึกการทางาน และเข้าสังคมกับเพื่อน เพื่อให้เกิดความรู้เกี่ยวกับสิ่ง ต่างๆ ที่เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติด้วยตนเองที่ใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า และการใช้ภาษาจากกิจกรรมที่ครู และผู้ปกครองร่วมมื อจัดให้เด็กด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การศึกษานอกสถานที่ การเล่านิทาน การแสดงบทบาทสมมติ การทดลอง การสาธิต การอภิปราย ดังนั้นการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ได้สอดคล้องกับนักทฤษฎีของจอห์น ดิวอี้ (John Dewey) กล่าวว่า การจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก ปฐมวัยมีความสาคัญมากในการฝึกให้เด็กได้คิดแก้ปัญหา การแสดงออกอย่างอิสระ และสามารถนา ความรู้ที่ได้รับ จากประสบการณ์นั้ น ๆ มาใช้ในการแก้ปัญหาร่วมด้วย เนื่องจากเด็กปฐมวัยกาลังมี พัฒนาการอย่างรวดเร็วทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา เด็กจะเรียนรู้ได้ดีเมื่อมีการเรียน การสอน และประสบการณ์ ที่ จั ด ให้ เ ด็ ก เป็ น ประสบการณ์ ต รง เด็ ก ลงมื อ ปฏิ บั ติ เอง การจั ด ประสบการณ์โดยยึดเด็กเป็นศูนย์กลางจึงสาคัญมาก ขั้ น ตอนและวิ ธี ก ารในการจั ด กิ จ กรรมเสริ ม ประสบการณ์ เพื่ อ ส่ งเสริ ม การรู้ ห น้ า ที่ แ ละความ รับผิดชอบของเด็กปฐมวัย การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ให้กับเด็ก ปฐมวัย จานวน 15 คน ในชั้นอนุบาล 3 ของ ศูน ย์ พัฒ นาเด็กเล็ กบ้ านคาบง ตาบลสงยาง อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบ ลราชธานี โดยการจัด กิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมการรู้หน้าที่และความรับผิดชอบของเด็กปฐมวัยเป็นเวลา 4 สัปดาห์ โดยครูมีบทบาทในการสอนทั้ง 3 ขั้นตอนดังต่อไปนี้ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน *นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต *


ครูให้เด็กๆ นั่งเป็นรูปตัว (u) ก่อนเริ่มจัดประสบการณ์เรียนรู้ให้กับเด็กครูให้เด็กนั่งสมาธิ การ นั่งสมาธิเพื่อฝึกสมาธิให้กับเด็กเพื่อเตรียมพร้อมก่อนเข้าสู่การเรียน ขั้นสอน ครูจะนาเข้าสู่บทเรียนด้วยการร้องเพลงมีเพลงดังนี้ เพลงที่ 1 "สวัสดีคุณครู" เพลงที่ 2 "เพลง เก็บของ"เพลงที่ 3 "เพลงแปรงฟัน" เพลงที่ 4 "เพลงตา" เพลงที่ 5 "เพลง ส่วนประกอบของร่างกาย" โดยครูร้องเพลงให้เด็กฟังและทาท่าทางประกอบเพลงให้เด็กดู และให้เด็กทาท่างทางประกอบเพลง ตามครู กิจกรรมเสริมประสบการณ์ให้เด็กนั่งเป็นรูปตัว (u) ครูทบทวนเนื้อหาเพลงและเนื้อหาของ นิทานและกิจกรรมต่างๆ มีเพลงดังนี้ เพลง "สวัสดีคุณครู" เพลง "เก็บของ" เพลง "แปรงฟัน" เพลง "ตา" เพลง "ส่วนประอบของร่างกาย" นิทานส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมเรื่อง "ความรับผิดชอบ" การ เล่นบทบาทสมมุติ การสนทนาเรื่องกฎระเบียบของห้องเรียน ครูจะสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเปิด โอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดเห็นโดยใช้คาถามกระตุ้นให้เด็กได้คิด ครูจะสังเกตการร่วมสนทนาและ ตอบคาถาม ขั้นสรุป จะเห็ นได้ว่าจากการปฏิบั ติกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เพื่อส่ งเสริมการรู้ห น้าที่ และความ รับผิดชอบของเด็กปฐมวัยโดยครูใช้เพลง เพลงที่ 1 "สวัสดีคุณครู" เพลงนี้เด็กได้เรียนรู้การไหว้การ กล่าวคาทักทายคุณครูเมื่อมาอยู่ศูนย์เพลงที่ 2 เพลง "เก็บของ" คุณครูร้องเพลงและให้เด็กๆ ร้องตาม พร้อมทาท่าทางประกอบเด็กได้เรียนรู้เรื่องการมีความรับผิดชอบเมื่ อเล่นแล้วต้องเก็บเก็บของเข้าที่ให้ เรียบร้อยจากเพลงและสามารถทาท่าทางประกอบเพลงได้มีความกล้าแสดงออกมากขึ้นเพลงที่ 3 เพลง "แปรงฟัน" ครูร้องเพลงให้เด็กฟังพร้อมทาท่าทางประกอบเพลงตามครู เด็กๆ ร้องเพลง "แปรงฟัน" พร้อมทาท่าทางประกอบเพลงได้อย่างสนุกสนานเด็ก เด็กได้เรียนรู้วิธีการแปรงฟันจากบทเพลงทาให้เด็กๆ เกิดความสนใจและเพลงที่ 4 เพลง "ตา" และเพลง "ส่วนประกอบของร่างกาย" เด็กได้เรียนรู้หน้าที่ของ อวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกายผ่านบทเพลงและใช้นิทานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ในการจัดกิจกรรมเด็ก สามารถสนทนาและตอบคาถามได้อย่างถูกต้อง ครูและเด็กร่วมกันสรุปเนื้อหาของเพลงและเนื้อหาของ นิทานอีกครั้งและขอตัวแทนเด็กในการออกมาสรุปหน้าที่ความรับผิดชอบที่เด็กควรทาตามที่มีในเนื้อหา ของเพลงให้เพื่อนและครูฟัง ครูร่วมกันกับเด็กสรุปอีกครั้ง ผลจากการจัดกิจกรรม จะเห็นได้ว่าในการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมการรู้หน้าที่และความรับผิดชอบ ของเด็กปฐมวัยโดยเด็กทั้งหมด 15 คน ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคาบง เป็นเวลา 4 สัปดาห์ เด็กรู้จัก หน้าที่และความรับผิดชอบของตนเองดีขึ้น โดยจากการสังเกตการร่วมกิจกรรมการสนทนาและตอบ คาถามของเด็กโดยใช้เสียงเพลง นิทานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมเด็กมีพัฒนาการด้านการเล่นแล้ว รู้จักเก็บของเข้าที่เรียบร้อยดีขึ้นโดยจากการสังเกตการร่วมกิจกรรมและการเล่นร่วมกับเพื่อนเด็กรู้จัก บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่นจากการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ได้สอดคล้อง แนวคิด ทฤษฎี ของจอห์ น ดิ วอี้ (John Dewey) กล่ าวว่า การจัด ประสบการณ์ ให้ กับ เด็ กปฐมวัย มี ความสาคัญมากในการฝึกให้เด็กได้คิดแก้ปัญหา การแสดงออกอย่างอิสระ และสามารถนาความรู้ที่


ได้รับจากประสบการณ์นั้น ๆ มาใช้ในการแก้ปัญหาร่วมด้วย เนื่องจากเด็กปฐมวัยกาลังมีพัฒนาการ อย่างรวดเร็วทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา เด็กจะเรียนรู้ได้ดีเมื่อมีการเรียนการสอน และประสบการณ์ที่จัดให้เด็กเป็นประสบการณ์ตรง เด็กลงมือปฏิบัติเอง การจัดประสบการณ์โดยยึด เด็กเป็นศูนย์กลางจึงสาคัญมากและการสนทนาระหว่างเด็กด้วยกันจะทาให้เด็กสามารถเข้าใจกันได้ เร็วกว่า ครูเป็นผู้อธิบายหรือเล่าให้ฟังจะเห็นได้ว่า การจัดประสบการณ์ของเด็กปฐมวัยเป็นสิ่งที่สาคัญ มากที่ครูผู้ทาหน้าที่เป็นผู้สอนและเป็นกัลยาณมิตรของเด็กต้องจัดสภาพของการเรียนรู้ให้เด็กปฐมวัย ทั้งภายนอก และภายในเพื่อให้เด็กปฐมวัยได้มีโอกาสสัมผัสและสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม อุปกรณ์การ เรียนรู้ อุปกรณ์การทางานต่างๆ ด้วยการเล่น การลงมือปฏิบัติจริง เอกสารอ้างอิง กรรณิการ์ พงศ์เลิศวุฒิ. (2547). ผลของการจัดกิจกรรมเล่านิทานประกอบละครสร้างสรรค์ต่อ ความมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัย. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. ฉวีวรรณ กินาวงศ์. (2553). การจัดประสบการณ์ชั้นเด็กเล็ก. กรุงเทพมหานคร : บรรณกิจ. ดวงพร ทองชะอุ่ม. (2550). คู่มือพัฒนาความรับผิดชอบของเด็กปฐมวัย.สารนิพนธ์ กศ.ม. (จิตวิทยา การแนะแนว) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. มณีวรรณ เผ่าภูรี. (2553). การพัฒนาทางภาษาของเด็กชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมนิทาน. การศึกษาค้นคว้า มหาวิทยาลัยราชธานี. เสาวลักษณ์ เอี่ยมพิพัฒน์. (2549). ผลของการจัดกิจกรรมการเล่านิทานคติธรรมที่มีต่อความมีวินัย ในตนเองของเด็กปฐมวัย. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. มหาวิทยาลัยบูรพา.


ชื่อ สถานที่ทางาน ตาแหน่ง จานวนเด็ก

นางสาวปิยนาฎ วงชมภู นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านคาบง ตาบลสงยาง อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก จานวนเด็กทั้งหมด 58 คน


การจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายของเด็ก ปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสาโรง ตาบลสงยาง อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี Learning management using movement and rhythm activities to promote physical development of young children.Child Development Center Samrong School. Songyang district Srimuangmai Ubon Ratchathani Province พิสมัย ยุพโคตร Pisamai Yupakod บทคัดย่อ ธรรมชาติของเด็กปฐมวัยจะเคลื่อนไหวร่างกายเพื่อใช้พลั งกายและถ่ายพลังที่มีอยู่ล้นเหลือ ออกมา แต่ในขณะเดียวกันร่างกายและจิตใจของเด็กจะสมบูรณ์จากการเคลื่อนไหวได้นั้น เด็กจาเป็น จะต้องมีคุณ ลั กษณะที่พึงประสงค์ตามวัยซึ่งสมดุล ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ -จิตใจ สังคม และ สติปัญญาโดยการส่งเสริมพัฒนาการผ่านกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ให้เด็กได้ปฏิบัติและเรียนรู้ ด้วยตนเอง ได้มีโอกาสเรียนรู้ร่วมกับครู เพื่อน และคนอื่นๆ ในสภาพแวดล้อม สื่อ สาระการเรียนรู้ ทางการศึกษาปฐมวัยที่ครูได้วางแผนไว้บนพื้นฐานของความรู้ ความเข้าใจเด็กปฐมวัย ผลจากการจัด กิจกรรมจะเห็นได้ว่าในการจัดกิจกรรมเคลื่อ นไหวและจังหวะเพื่อการพัฒ นาด้านร่างกาย โดยเด็ก ทั้งหมด 22 คน ใน ศูนย์พัฒ นาเด็กเล็กบ้านสาโรง เด็กมีการพัฒ นาด้านร่างกายดีขึ้น โดยจากการ สังเกตการทาท่าทางประกอบเพลงและการร่วมกิจกรรมของเด็ก การทรงตัวในขณะเคลื่อนไหวอยู่กับ ที่และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่เด็กได้เคลื่อ นไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายอย่างอิสระ โดยใช้เสียงเพลง จังหวะ และทานอง คาคล้องจอง หรือเครื่องดนตรีประกอบการเคลื่อนไหว เพื่อเด็กจะได้มีพัฒนาการ ทางด้านร่างกาย อารมณ์ - จิ ตใจ สังคม และสติปัญญาเกิดจินตนาการความคิดสร้างสรรค์ เรียนรู้ จังหวะ และควบคุมการเคลื่อนไหวของตนเองได้ .......................................................................................................... คาสาคัญ : การจัดการเรียนรู้ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ พัฒนาร่างกาย Keywords : Learning management. Movement and rhythm activities.Physical development.


การจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายของเด็ก ปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสาโรง ตาบลสงยาง อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี พิสมัย ยุพโคตร* ธรรมชาติของเด็กปฐมวัยจะเคลื่อนไหวร่างกายเพื่ อใช้พลังกายและถ่ายพลังที่มีอยู่ล้นเหลือ ออกมา แต่ในขณะเดียวกันร่างกายและจิตใจของเด็กจะสมบูรณ์จากการเคลื่อนไหวได้นั้น เด็กจาเป็น จะต้องมีคุณ ลั กษณะที่พึงประสงค์ตามวัยซึ่งสมดุล ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ -จิตใจ สังคม และ สติปัญญาโดยการส่งเสริมพัฒนาการผ่านกิจกรรมเคลื่ อนไหวและจังหวะ ให้เด็กได้ปฏิบัติและเรียนรู้ ด้วยตนเอง ได้มีโอกาสเรียนรู้ร่วมกับครู เพื่อน และคนอื่นๆ ในสภาพแวดล้อม สื่อ สาระการเรียนรู้ ทางการศึกษาปฐมวัยที่ครูได้วางแผนไว้บนพื้นฐานของความรู้ ความเข้าใจเด็กปฐมวัย ความสาคัญของการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะจึงมีผลทาให้เด็กเรียนรู้ร่างกายของตนว่า การใช้ร่างกายแต่ละ ส่วนอย่างไร ซึ่งมีความหมายต่อเด็กมาก เด็กจะมีโอกาสได้ประเมินความสามารถของตนเอง ให้เด็กได้ คิด ได้ตัดสินใจว่าจะเคลื่อนไหวแบบใด อย่างไร อีกทั้งการเคลื่อนไหวไปพร้อมเพื่อนอย่างมีความหมาย จะทาให้เด็กเรียนรู้การปฏิบัติต่อกัน ทาให้เด็กเกิดความมั่นใจทั้งเป็นการลดอัตตา (Ego) ไปสู่การมี เหตุผลและคุณธรรม (superego) เด็กได้รับการฝึกการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ บุคคลิก ขอบเขตรอบตัว ด้วยการใช้เสียงเพลง ดนตรีทาให้เด็กเรียนรู้จังหวะ และเกิดจินตนาการ ดังนั้น กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้กาหนดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะไว้เป็นกิจกรรมหลัก ในตารางกิจกรรมประจาวันที่เด็ก จะต้องได้รับการส่งเสริม(ฉวีวรรณ จึงเจริญ, 2528, หน้า 7 - 12 ; อ้างอิงมาจาก Gesell.n.d.) ที่กล่าว ว่าพฤติกรรมของเด็กนั้นเป็นไปตามแบบแผนลาดับขั้ นแห่งพัฒนาการ จะข้ามขั้นไม่ได้ แต่อัตราแห่ง การเจริญเติบโตจะแตกต่างกันในตัวเด็กในทัศนะของกีเซลล์ สิ่งแวดล้อมไม่ได้มีอิทธิพลต่อเด็กเป็น สาคัญ แต่วุฒิภาวะทางร่างกายมีความสาคัญมาก และเป็นตัวกาหนดถึงพัฒนาการทางอารมณ์ของ เด็กด้วย ขั้นตอนและวิธีการในการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้าน ร่างกายของเด็กปฐมวัย การจัดกิจกรรมเลื่อนไหวและจังหวะให้กับเด็ก 22คน ในชั้นอนุบาล 1 ของศูนย์พัฒ นาเด็ก เล็กบ้านสาโรง ตาบลสงยาง อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี โดยการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหว *นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต *


และจั งหวะเพื่ อส่ งเสริ มพั ฒ นาการทางด้ านร่างกายของเด็ก ปฐมวัย เป็ นเวลา 4สั ป ดาห์ โดยครูมี บทบาทในการสอนทั้ง 3 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน เด็กๆ ยืนเป็นรูปตัว ( U )เพื่อทากิจกรรมพื้นฐานโดยให้เด็กเคลื่อนไหวร่างกายไปทั่วๆ บริเวณ อย่างอิสระตามจังหวะเพลงที่มีเสียงดนตรี เมื่อได้ยินเสียงสัญญาณหยุดให้หยุดท่านั้นทันที ขั้นสอน ครูจะนาเข้าสู่บทเรียนด้วยการร้องเพลงมีเพลงดังนี้เพลงที่ 1เพลง"ส่วนประกอบของร่างกาย" ครูร้องเพลงให้เด็กฟังและชี้อวัยวะประกอบเพลงให้เด็กดูเด็กทาท่างทางประกอบเพลง "ส่วนประกอบ ของร่างกาย"ได้อย่างสนุกสนานโดยที่เด็ก ๆ ให้ความสนใจในการทากิจกรรมเป็นอย่างดี เพลงที่ 2 เพลง"ชื่อของเธอ"คุณครูร้องเพลงและให้เด็ก ๆ ร้องตามพร้อมทาท่าทางประกอบเด็กได้เรียนรู้ชื่อของ ตนเองจากเพลงและสามารถทาท่าทางประกอบเพลงได้มีความกล้าแสดงออกมากขึ้นเพลงที่ 3เพลง" เรามาอยู่ศูนย์"ครูร้องเพลงให้เด็กฟังพร้อมทาท่าทางประกอบเพลงตามครู เด็กๆ ร้องเพลง"เรามาอยู่ ศูนย์"พร้อมทาท่าทางประกอบเพลงได้อย่างสนุกสนานเด็ก เด็กได้เรียนรู้การอยู่ร่วมสังคมกับเพื่อน และครูได้จากบทเพลงและกิจกรรมการงอตัวตามจังหวะและสัญญาณที่ครูให้ครูสาธิตทาท่างอตัวให้ เด็กๆ ดูครูสร้างข้อตกลงว่าถ้าได้ยินเสียงครูเป่าลูกหวีดให้เด็ก ๆ งอตัว ครูตีกลองให้เด็กยืดตัวโดยให้ ปฏิบัติพร้อมกันทั้งห้องให้เด็กปฏิบัติพร้อมกัน 2-3 นาที เด็กได้ฝึกการทรงตัว การใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ กล้ามเนื้อมัดเล็ก การยืดและการงอตัวได้ ขั้นสรุป จะเห็นได้ว่าจากการปฏิบัติกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้าน ร่างกายของเด็กปฐมวัยโดยครูใช้เพลงในการจัดกิจกรรม เด็กๆ สามารถร้องเพลงและทาท่าทาง ประกอบเพลงได้ด้วยความ สนุ ก สนานและท าท่ า ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งจากการสั ง เกตจากการท าท่ า ทางเพลงที่ 1 ครู ร้ อ งเพลง" ส่วนประกอบของร่างกาย"ให้เด็กฟังและชี้อวัยวะประกอบเพลงให้เด็กดูเด็กทาท่างทางประกอบเพลง อีกครั้งเด็กสามารถทาได้เด็กได้เรียนรู้อวัยวะของร่างกายจากเพลงนี้ได้เพลงที่ 2 เพลง"ชื่อของเธอ" คุณครูร้องเพลงและให้เด็ก ๆ ร้องตามพร้อมทาท่าทางประกอบเด็กได้เรียนรู้ชื่อของตนเองจากเพลง และสามารถทาท่าทางประกอบเพลงได้มีความกล้าแสดงออกมากขึ้นครูและเด็กร่วมกันร้องเพลง พร้อมทาท่าทางประกอบเพลงพร้อมกันอีกครั้งเพลงที่ 3เพลง"เรามาอยู่ศูนย์ "ครูร้องเพลงให้เด็กฟัง พร้อมทาท่าทางประกอบเพลงตามครู เด็กๆ ร้องเพลง"เรามาอยู่ศูนย์"พร้อมทาท่าทางประกอบเพลงได้ อย่างสนุกสนานเด็ก เด็กได้เรียนรู้การอยู่ร่วมสังคมกับเพื่อนและครูได้จากบทเพลงที่ร้องครูและเด็ก ร่วมกันร้องเพลงอีกครั้งกิจกรรมที่ 4 การงอตัวและยืดตัวตามจังหวะและข้อตกลงของเราเด็กได้ฝึกการ ทรงตัว การปฏิบัติตามข้อตกลงได้ ครูให้สัญญาณและให้เด็กยืดตัวและงอตัวตามจังหวะอีกครั้งเด็กได้ ฝึกการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่มัดเล็กและการร่วมกิจกรรมกับเพื่อนได้


ผลจากการจัดกิจกรรม จะเห็นได้ว่าในการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อการพัฒ นาด้านร่างกาย โดยเด็ก ทั้งหมด 22 คน ใน ศูนย์พัฒ นาเด็กเล็กบ้านสาโรง เด็ก มีการพัฒนาด้านร่างกายดีขึ้น โดยจากการ สังเกตการทาท่าทางประกอบเพลงและการร่วมกิจกรรมของเด็ก การทรงตัวในขณะเคลื่อนไหวอยู่กับ ที่และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายอย่างอิสระ โดยใช้เสียงเพลง จังหวะ และทานอง คาคล้องจอง หรือเครื่องดนตรีประกอบการเคลื่อนไหว เพื่อเด็กจะได้มีพัฒนาการ ทางด้านร่างกาย อารมณ์ - จิ ตใจ สังคม และสติปัญญาเกิดจินตนาการความคิดสร้างสรรค์ เรียนรู้ จั งหวะ และควบคุ ม การเคลื่ อ นไหวของตนเองได้ จากการจัด กิ จ กรรมเคลื่ อ นไหวและจั งหวะได้ สอดคล้องแนวคิดทฤษฎีของ(ฉวีวรรณ จึงเจริญ, 2528, หน้า 7 - 12 ; อ้างอิงมาจาก Gesell.n.d.) ที่ กล่าวว่าพฤติกรรมของเด็กนั้นเป็นไปตามแบบแผนลาดับขั้นแห่งพัฒนาการ จะข้ามขั้นไม่ได้ แต่อัตรา แห่งการเจริญเติบโตจะแตกต่างกันในตัวเด็กในทัศนะของกีเซลล์ สิ่งแวดล้อมไม่ได้มีอิทธิพลต่อเด็กเป็น สาคัญ แต่วุฒิภาวะทางร่างกายมีความสาคัญมาก และเป็นตัวกาหนดถึงพัฒนาการทางอารมณ์ของ เด็กด้วย เอกสารอ้างอิง กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2547). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : เอดิสัน. กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. สานักวิชาการ และมาตรฐานการศึกษาสานักงาน.กรุงเทพมหานคร : คณะกรรมการการศึกษาธิการขั้น พื้นฐาน. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ระดับชั้นอนุบาลศึกษา. กรุงเทพฯ. จิรพันธ์ พูลพัฒน์และคณะ. (2557). นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย . กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต. ชาติ แจ่มนุช. (2545). สอนอย่างไรให้คิดเป็น. กรุงทพมหานคร : เลี่ยงเซียง. สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. (2550). การศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน ดุสิต.


ชื่อ

พิสมัย ยุพโคตร นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

สถานที่ทางาน อุบลราชธานี

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสาโรง ตาบลสงยาง อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัด

ตาแหน่ง

ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก

จานวนเด็ก

22 คน


การเล่านิทานเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสาโรง สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลสงยาง อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี Storytelling to promote early childhood development In Child Development Center somrong Songyang district Srimuangmai district Ubonratchatanee province. ขันทอง วรรณสุภะ Khuntong Wannasupa บทคัดย่อ นิทานเป็นการบอกเล่าการถ่ ายทอดเรื่องราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นแก่กันเพื่อต้องการสื่อสารกับ คนรอบข้างเพื่อเล่าประสบการณ์ ความเชื่อ ความหวาดกลัว เพื่อแลกเปลี่ยนหรือสืบสานต่อรุ่นสู่รุ่นไป เรื่อยๆ และต่อมาก็พัฒนาขึ้นเป็นการเล่าเรื่องเชิงสังคม เพื่อถ่ายทอดความเชื่อหรือศรัทธา ค่านิยม ทางวัฒนธรรม ด้านการศึกษา การสืบสานเป็นตานานเรื่องเล่าต่างๆ หรือด้านเพื่อความบันเทิง ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กให้ดียิ่งขึ้นการเล่านิทานสาหรับเด็กปฐมวัย เป็นการปูพื้นฐานที่ ดีสาหรับเด็ก พัฒนาทักษะของเด็กเรื่องการฟัง การพูด พร้อมทั้งสร้างจินตนาการ เป็นการฝึกสมาธิให้ เด็กรู้จักจดจ่ออยู่กับเรื่องที่ฟัง และเป็นการปลูกฝังนิสัยรักการอ่านให้แก่เด็กได้เป็นอย่างดี ผลจาก การจัดกิจกรรมเล่ านิ ทานเพื่ อส่ งเสริมพัฒ นาการของเด็ก ในศูนย์พัฒ นาเด็กเล็ กบ้านส าโรง สังกัด องค์การบริหารส่วนตาบลสงยาง อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี ใช้ระยะเวลา 4 สัปดาห์ พบว่าเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเล่านิทานมีพัฒนาการที่ดีขึ้น การใช้ภาษาดีขึ้น มีสมาธิใน การฟังมากขึ้น และช่วยกระตุ้นจินตนาการให้แก่เด็ก ก็จะยิ่งเป็นการช่วยกระตุ้นพัฒนาการของเด็ก ทาให้เด็กเกิดการเรียนรู้เป็นการช่วยเสริมพัฒนาการทางสติปัญญา การเรียนรู้ อารมณ์ และสังคมของ เด็ก ช่วยให้เด็กเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่มีประสิทธิภาพต่อไป ................................................................................... คาสาคัญ : การเรียนรู้ การเล่านิทาน ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย Key words : Storytelling to promote early childhood development


การเล่านิทานเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสาโรง สังกัด องค์การบริหารส่วนตาบลสงยาง อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี ขันทอง วรรณสุภะ* นิทานเป็นการบอกเล่าการถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นแก่กันเพื่อต้องการสื่อสารกับ คนรอบข้างเพื่อเล่าประสบการณ์ ความเชื่อ ความหวาดกลัว เพื่อแลกเปลี่ยนหรือสืบสานต่อรุ่นสู่รุ่นไป เรื่อยๆ และต่อมาก็พัฒนาขึ้นเป็นการเล่าเรื่องเชิงสังคม เพื่อถ่ายทอดความเชื่อหรือศรัทธา ค่านิยม ทางวัฒนธรรม ด้านการศึกษา การสืบสานเป็นตานานเรื่องเล่าต่างๆ หรือด้านเพื่อความบันเทิง ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กให้ดียิ่งขึ้นการเล่านิทานสาหรับเด็กปฐมวัย เป็นการปูพื้นฐานที่ ดีสาหรับเด็ก พัฒนาทักษะของเด็กเรื่องการฟัง การพูด พร้อมทั้งสร้างจินตนาการ เป็นการฝึกสมาธิให้ เด็กรู้จักจดจ่ออยู่กับเรื่องที่ฟัง และเป็นการปลูกฝังนิสัยรักการอ่านให้แก่เด็กได้เป็นอย่างดี พัฒนาการของภาษาเด็กในช่วงวัยต่างๆ ส าหรั บ การเลื อกนิ ท านที่ จะนามาเล่ าให้ เด็ กจึงเป็ น เรื่องที่ ส าคั ญ จากบทความเรื่อง การ ส่งเสริมทักษะภาษาสาหรับเด็ก ของรวิวรรณ รุ่งไพรวัลย์ กล่าวถึงพัฒนาการทางภาษาของเด็กแต่ละ ช่วงวัยไว้ดังนี้ เด็กช่วงอายุ 4 – 12 เดือน เด็กวัยนี้จะมีความสนใจในระยะสั้นประมาณ 5-10 นาที เด็กจะสนใจหนังสือภาพที่เป็นรูป เหมือนของคน สัตว์ ผัก ผลไม้ สิ่งของในชีวิตประจาวันที่มีสีสวยงาม ขนาดใหญ่ชัดเจน หนังสือควรทา มาจากผ้า กระดาษ หรือพลาสติกที่ไม่มีมุมแหลมคม ในขณะอ่านนิทานให้เด็กฟังควรชี้ให้เด็กดูรูปภาพ ตาม และให้เด็กได้จับหรือเปิดหนังสือตามเนื้อเรื่องที่อ่านไปด้วย ก็จะเป็นการช่วยส่งเสริมทักษะทาง ภาษาของเด็กในวัยนี้เพิ่มมากขึ้น เด็กช่วงอายุ 1 - 3 ปี เด็กในวัยนี้จะมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ด้วยตนเอง และจะชอบในหนังสือที่ตนเองสนใจ ไม่ ควรบังคับให้ เด็กดูแต่ห นังสื อที่พ่อแม่ต้องการให้อ่าน ควรจะเป็นภาพเกี่ยวกับชีวิตประจาวัน สัตว์ สิ่งของเด็กในช่วงนี้จะมีประสาทสัมผัสทางหูที่ดีมาก หากใช้หนังสือที่มีเทคนิคพิเศษต่างๆ เช่น หนังสือ ที่มีผิวสัมผัสหลากหลาย หนังสือที่มีภาพซ่อนอยู่ หรือหนังสือที่กดและมีเสียงก็จะช่วยเพิ่มการเรียนรู้ ให้ เด็ กได้ม ากยิ่ งขึ้น อีกทั้ งเด็กในวัยนี้ จะมีค วามสนใจในสิ่ งต่างๆ เพิ่ ม ขึ้น เป็ น 15-20 นาที ดังนั้ น ในขณะที่อ่านนิทานให้เด็กฟัง ควรพูดเชื่อมโยงถึงสิ่งที่อ่านกับประสบการณ์ในชีวิตประจาวันของเด็ก เพิ่มเติมเข้าไปก็จะช่วยทาให้เด็กได้ความรู้เพิ่มเติมมากขึ้น เด็กช่วงอายุ 3 - 6 ปี เด็กวัยนี้จะอยากรู้อยากเห็ นสิ่งรอบตัวเกี่ยวกับธรรมชาติ เริ่มเข้าใจความแตกต่างระหว่าง ความจริงกับเรื่องสมมติ เข้าใจในรูปแบบการอ่าน โดยอ่านจากซ้ายไปขวาและจากบนลงล่าง สามารถ นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต *


ตอบคาถามจากนิทานได้ ดังนั้นนิทานที่เหมาะสมกับเด็กวัยนี้ควรเป็นนิทานที่เป็นเรื่องที่ยาวขึ้น แต่ เข้าใจง่าย ภาพประกอบมีสีสดใส มีตัวอักษรบรรยายเนื้อเรื่องไม่มากเกินไป มีขนาดใหญ่พอสมควร เพราะเด็กในวัยนี้สามารถเชื่อมโยงสัญลักษณ์ตัวพยัญชนะ กับเสียงสระได้แล้ว และหนังสือที่เป็นคา คล้องจองก็จะช่วยพัฒนาทักษะด้านภาษาของเด็กในวัยนี้เพิ่มยิ่งขึ้น (รวิวรรณ รุ่งไพรวัลย์, หน้า 2556, หน้า 111-112) การจัดกิจกรม การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ใ ห้กับเด็กจานวน 61 คน ในศูนย์พัฒ นาเด็กเล็กบ้านสาโรง สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลสงยาง อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี โดยการเล่านิทานเพื่อ ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เป็นเวลา4สัปดาห์ เริ่มตั้งแต่วันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ถึง วันศุกร์ ที่ 3 กรกฎาคม 2558 ขั้นนา เด็กๆ เคลื่อนไหวร่างกายไปทั่วบริเวณอย่างอิสระโดยมีครูคอยดูแลอย่างใกล้ ชิดเมื่อได้ยิน เสียงสัญญาณหยุดให้หยุดทันที ขั้นตอนการจัดกิจกรรม คุณครูเล่านิทานให้เด็กฟังวันละเรื่องเช่น เรื่องเด็กเลี้ยงแกะ หนูนิดกับกระเป๋าแดง อะ เดลล์ยอดนักออม ฯลฯ เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ เล่านิทานเสร็จคุณครูร่วมสนทนากับเด็กๆ เกี่ยวกับ นิทานเรื่องที่เล่าพร้อมทั้งสังเกตพฤติกรรมอย่างไกล้ชิด พร้อมซักถามเด็กใช้คาถามปลายเปิดเพื่อเปิด โอกาสได้เด็กได้พูด เช่นใครรู้จักแกะบ้าง แกะมีลักษณะอย่างไร ที่บ้านใครมีบ้าง หรือเคยเห็นที่ไหน หลั งจากนั้ น ให้ เด็กวาดรูป สิ่งที่เด็กชอบในนิทานที่เล่ า พร้อมทั้งระบายสีภ าพ แล้วให้ เด็กเข้ามาส่ ง คุณครู คุณครูถามเด็กว่าวาดรูปอะไร ที่ชอบเพราะอะไร ให้เด็กเล่าให้ฟังก่อนส่งผลงานทุกคน ขั้นสรุป ครูร่วมกันสนทนากับเด็กๆ ประโยชน์ที่ได้จากนิทาน และการนาไปใช้ได้จริงในชีวิตประจาวัน ครูลงบัน ทึกความสนใจของเด็ก ๆ ทุกวันเป็นเวลา 4 สัปดาห์ เด็กมีส่วนร่วมในการฟังนิทานที่ดีขึ้น สบตาคุณ ครูขณะฟั ง มีการตอบคาถามใช้ภ าษาที่ดีขึ้น แย่งกันตอบแสดงความคิดเห็ นเรื่องนิท าน สร้างสรรค์ผลงานได้อย่างดีเยี่ยมพร้อมบอกเล่าเรื่องราวได้ดีและเด็กทุกคนสามารถทางานร่วมกับผู้อื่น ได้ ผลการจัดกิจกรรม จากการเล่านิทานเพื่อส่งเสริมพัฒ นาการของเด็ก ในศูนย์พัฒ นาเด็กเล็กบ้านสาโรง สังกัด องค์การบริหารส่วนตาบลสงยาง อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี ใช้ระยะเวลา 4 สัปดาห์ พบว่าเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเล่านิทานมีพัฒนาการที่ดีขึ้น การใช้ภาษาดีขึ้น มีสมาธิใน การฟังมากขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับ เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทานมี ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาตร์สูงขึ้น ด้านการสังเกต การจาแนก การสื่อสารทุกด้านสูงขึ้น (ศศิพรรณ สาแดงเดช, 2553, หน้า 50) จากการศึกษาในต่างประเทศ กลุ่มกุมารแพทย์ในประเทศสหรัฐอเมริกา


ได้คิดโครงการส่งเสริมการอ่านและนิสัยรักการอ่านในเด็ก โดยการจัดให้มีอาสาสมัครอ่านนิทานให้เด็ก ที่มาตรวจที่คลินิกสุขภาพเด็กดีตั้งแต่อายุ 6 เดือน ถึง 5 ปีฟัง และจากโครงการดังกล่าวพบว่า เด็กที่ ฟังนิทานจะมีพัฒนาการทางคาศัพท์ และการใช้ภาษาที่ดีขึ้น (รวิวรรณ รุ่งไพรวัลย์, 2556, หน้า 111) เพราะการอ่านหนังสือให้เด็กฟังนั้นจะช่วยให้เด็กได้เรียนรู้คาศัพท์ใหม่ ๆ และช่วยกระตุ้นจินตนาการ ให้ แก่เด็ ก ก็จ ะยิ่ งเป็ น การช่วยกระตุ้น พัฒ นาการของเด็ก โดยเชื่อมโยงเรื่องราวในหนังสื อเข้ากับ ประสบการณ์ ในชีวิตของเด็กท าให้ เด็กเกิดจินตนาการสร้างภาพขึ้นในสมองเข้าใจภาพใช้คาแทน สัญลักษณ์จากของจริงตามทฤษฎีของบรูเนอร์ดังนั้น หลักสาคัญของการส่งเสริมพัฒนาการทางภาษา ของเด็ก สามารถทาได้ง่ายๆ โดยการมีปฏิสัมพันธ์สื่อสารร่วมกันกับเด็กตามพัฒนาการของแต่ละช่วง วัย (รวิวรรณ รุ่งไพรวัลย์, 2556, หน้า 112) หรือผ่านการทากิจกรรมต่างๆ ร่วมกันที่เกี่ยวข้องกับการ ใช้ภาษา เช่น การอ่านนิทาน การพูด การฟัง ก็จะเป็นการช่วยเสริมพัฒ นาการทางสติปัญญา การ เรียน อารมณ์ และสังคมของเด็ก ช่วยให้เด็กเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่มีประสิทธิภาพต่อไป เอกสารอ้างอิง กุลยา ตันติผลาชีวะ "การเล่านิทาน"วารสารการศึกษาปฐมวัย 2 (2):10-19 กรุงเทพมหานคร: เอดิ สันเพรสโปรดักส์, 2541. เกริก ยุ้นพันธ์. (2539). การเล่านิทาน. (พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาส์น. จินตนา ไบกายูน.ี (2544). การจัดทาหนังสือสาหรับเด็ก. กรุงเทพมหานคร: ชมรมเด็ก. รวิวรรณ รุ่งไพรวัลย์. (2556). ตาราพัฒนาการและพฤติกรรมเด็ก เล่ม 3 การดูแลเด็กสุขภาพดี . กรุงเทพฯ : บียอนด์ เอ็นเทอร์ไพรซ์ จากัด. ศศิ พ รรณ ส าแดงเดช. (2553). ทั ก ษะพื้ น ฐานทางวิ ท ยาศาสตรของเด็ ก ปฐมวัย ที่ ได้ รั บ การจั ด กิ จ กรรมการทดลองหลั ง การฟั ง นิ ท าน. ปริ ญ ญานิ พ นธ กศ.ม. (การศึ ก ษาปฐมวั ย ). กรุงเทพมหานคร: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.


ชื่อ

นางสาวขันทอง วรรณสุภะ นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

สถานที่ทางาน อุบลราชธานี

ศูน ย์ พัฒ นาเด็กเล็ กบ้านส าโรง ตาบลสงยาง อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัด

ตาแหน่ง

ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก

จานวนเด็ก

22 คน


การจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเสริมประสบการณ์การเล่านิทานเพื่อส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม เกษร สาธุพันธ์ Kason Satupun บทคัดย่อ เด็กปฐมวัยมีการเรียนรู้ของมีพัฒนาการด้านต่างๆ เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ดังนั้น การจัด กิจกรรมที่หลากหลายให้เด็กลงมือกระทาเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง (learning by doing) โดย ยึดเด็กเป็นศูนย์กลางจึงมีความสาคัญมาก เด็กจะเรียนรู้ได้ดีเมื่อเด็กได้รับประสบการณ์ตรง ได้ฝึกการ คิด แสดงออกอย่างอิสระและสามารถนาความรู้ที่ได้รับจากประสบการณ์นั้น ๆ มาใช้ในการแก้ปัญหา ของตนและส่วนรวม เนื่องจากเด็กปฐมวัยมีพัฒ นาการอย่างรวดเร็วทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา การจัดประสบการณ์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการและการเรีย นรู้ในช่วงวัยนี้จะมุ่งเน้น การตอบสนองธรรมชาติ แ ละความต้ อ งการตามวัย ของเด็ ก อย่า งสมดุ ล ดั งนั้ น การจั ด กิ จ กรรมที่ หลากหลายเป็นการส่งเสริมพัฒนาการทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ให้กับ เด็กปฐมวัย ครอบคลุมเด็กทุกประเภท คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล และบริบทของชุมชน เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข ตลอดจนมีการประสานความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนา เด็ก ผลการจัดกิจกรรมจากการเล่านิทานเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก ๆ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้าน สาโรง สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลสงยาง อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี ใช้เวลา 4 สัปดาห์ พบว่าเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเล่านิทานมีการพัฒนาที่ดีขึ้น การใช้ภาษาดีขึ้น มี สมาธิในการฟังมากขึ้น ซึ้งสอดคล้องกับ เด็กปฐมวัยช่วยให้เด็กได้เรียนรู้คาศัพท์ใหม่ๆ และช่วยกระตุ้น ความคิดจินตนาการให้แก่เด็ก ก็จะเป็นการช่วยกระตุ้นพัฒนาการของเด็กโดยการเชื่อมโยงเรื่องราวใน นิทานเข้ากับประสบการณ์ในชีวิตของเด็ก เกิดจินตนาการการสร้างภาพขึ้นสามารถเข้าใจเรื่องราวในที่ นิทานที่มีเนื้อหาสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมที่ดีงามจากการเลียนแบบบุคคลที่เด็กรักและชอบ ................................................................................... คาสาคัญ การจัดการเรียนรู้ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ การเล่านิทาน Keywords : Learning Management.Activities.storytelling Learning by experience storytelling activities to promote ethics


การจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเสริมประสบการณ์การเล่านิทานเพื่อส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสาโรง ตาบลสงยาง อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุลรธานี เกษร สาธุพันธ์* เด็กปฐมวัยมีการเรียนรู้ของมีพัฒนาการด้านต่างๆ เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ดังนั้น การจัด กิจกรรมที่หลากหลายให้เด็กลงมือกระทาเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง (learning by doing) โดย ยึดเด็กเป็นศูนย์กลางจึงมีความสาคัญมาก เด็กจะเรียนรู้ได้ดีเมื่อเด็กได้รับประสบการณ์ตรง ได้ฝึกการ คิด แสดงออกอย่างอิสระและสามารถนาความรู้ที่ได้รับจากประสบการณ์นั้น ๆ มาใช้ในการแก้ปัญหา ของตนและส่วนรวม เนื่องจากเด็กปฐมวัยมีพัฒ นาการอย่างรวดเร็วทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา การจัดประสบการณ์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ในช่วงวัยนี้จะมุ่งเน้น การตอบสนองธรรมชาติ แ ละความต้ อ งการตามวัย ของเด็ ก อย่า งสมดุ ล ดั งนั้ น การจั ด กิ จ กรรมที่ หลากหลายเป็นการส่งเสริมพัฒนาการทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ให้กับ เด็กปฐมวัย ครอบคลุมเด็กทุกประเภท คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล และบริบทของชุมชน เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข ตลอดจนมีการประสานความร่วมมื อกับชุมชนในการพัฒนา เด็ก ความสาคัญของการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเสริมประสบการณ์การเล่านิทาน เพื่อส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ขั้นนา นิทานเป็นสื่อที่มีคุณค่าต่อเด็ก การเล่านิทานเป็นการสร้างการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นกับเด็ก สร้าง แรงจูงใจในการเรียนรู้ ส่งเสริมให้เด็กมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในด้านต่างๆ ทั้งการกล้าแสดงออก ความเชื่อมั่นในตนเอง การคิดและจินตนาการ อีกทั้งยังช่วยสร้างแรงจูงใจให้เด็กเปิดรับพฤติกรรม ใหม่ๆ การจัดประสบการณ์การเล่านิทานสาหรับเด็กปฐมวัยด้วยภาษาง่ายๆ การมีปฏิสัมพันธ์กันผ่าน การทากิจวัตรต่างๆ แต่วิธีที่ง่ายและสามารถเรียกความสนใจจากเด็กได้ดีที่สุดคือ การอ่านนิทานให้ เด็กฟั งเนื่ องจากการเล่ านิ ทานท าให้ เด็กมีความสนุกสนานเพลิดเพลินและผ่ อนคลายอารมณ์ แล้ ว เนื้อหาในนิทานยังสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมที่ดีงามอันเป็นแนวทางในการปฏิบัติตนของเด็กอีกทั้ง ยังช่วยเสริมสร้างพัฒนาการในด้านภาษาของเด็กได้อีกด้วย กุลยา ตันติผลาชีวะ (2541)เด็กมักจะรบ เร้าเรีย กร้อ งให้ ผู้ ใหญ่ เล่ านิ ท านให้ ฟั งทุกวันแม้ ว่าจะเคยเล่ าให้ ฟั งแล้ ว กี่ครั้งก็ต ามเด็กบางคนอาจ ต้องการออกมาเล่านิ ทานให้ เพื่อนๆ ฟังหรือเด็กบางคนอาจต้องการแสดงบทบาทของตัวละครใน นิทานพฤติกรรมต่างๆ เหล่านี้เป็นการสะท้อนให้เห็นลักษณะธรรมชาติของเด็กทุกคนฉวีวรรณ กินา วงศ (2536) โดยเฉพาะทักทักษะการฟัง การพูด และการกล้ าแสดงออกการคิดและจินตนาการที่ กว้างไกลรวมถึงการพัฒนาคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ให้กับเด็กจากการฟังนิทานที่มีเนื้อหาสอดแทรก นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต รมป.2 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต *


คุณธรรมจริยธรรมที่ดีงามจากการเลียนแบบบุคคลที่เด็กรักและศรัทธาและเชื่อถือซึ่งสอดคล้องกับ ทฤษฎี ก ารเรี ย นรู้ ท างสั งคมของแบนบู ร่า (Bandura social learning thoory)ที่ เชื่ อว่าเด็ ก เรียนรู้ พฤติกรรมจากการใช้ตัวแบบสัญลักษณ์และทุกสิ่งทุกอย่างในสังคมซึ่งเกิดจากการรับรู้พ ฤติกรรมจาก การใช้ตัวแบบสัญลักษณ์และทุกสิ่งทุกอย่างในสังคมซึ่งเกิดจากการรับรู้พฤติกรรมพรจันทร์ จันทวิมล (2529) ให้เด็กมีคุณลักษณะที่พึ่งประสงค์ในด้านต่างๆ ทั้งกล้าแสดงออก ความเชื่อในตนเองอีกทั้งยัง ช่ว ยสร้างแรงจู งใจให้ เด็กเปิ ดรับ พฤติกรรมใหม่ ๆ ที่เด็กจะได้รับการเล่ านิ ทานการส่ งเสริมพั ฒ นา ทางด้านร่างกายการเปิดโอกาสให้เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเล่านิทานจะช่วยให้เด็ก ได้เคลื่อนไหว ส่วนต่างๆ ของร่างกายและการส่งเสริมพัฒ นาการทางด้านจิตใจในขณะที่เด็กฟังเด็กจะมีความ สนุกสนานเพลิดเพลินทาให้เด็กมีความสงบ สุขุม และเยือกเย็นและการส่งเสริมพัฒนาการทางด้าน สังคม รูปแบบการเล่านิทานที่เด็กจะมีโอกาสสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ใหญ่กับเด็กเกิดจากการเรียนรู้ ที่เด็กจะเข้าใจตนเองและเข้าใจผู้อื่นมากขึ้นได้อีกด้วย ขั้นเตรียม คุณครูให้เด็กนั่งเป็นรูปตัว U ก่อนการเริ่มการจัดกิจกรรมเสริประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับ เด็กในแต่ละวันครูจะพาเด็กนั่งทาสมาธิโดยหลับตาสัก 3-4 นาทีครูนานิทานมาเล่าให้เด็ก ๆ ฟังเรื่อง บันทึกของแม่โดยเนื้อหาในนิทานมีการสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมพอฟังเสร็จให้เด็ก ๆ วาดภาพตาม ตัวละครในนิทานที่เด็กๆ ชอบและพูดคุยเกี่ยวกับตัวละครในนิทาน ขั้นสอน ครูนาเข้าสู่บทเรียนโดยใช้เพลงที่หลากหลายในกิจกรรมเคลื่อนไหวเข้าจังหวะซึ่งเพลงที่ใช้ ประกอบด้วย ชื่อของฉัน เพลงลมหายใจเข้าลมหายใจออก เพลงร่างกายของฉัน เพลงนิ้วมือ เพลง หู ตา จมูก โดยคุณครูจะสังเกตการเคลื่อนไหวและการเคลื่อนที่อยู่กับที่ของเด็กแต่ละคน ครูสังเกตการ ร่วมกิจกรรมกับผู้อื่น สังเกตการร้องการทาท่าประกอบตามเพลงของเด็กกิจกรรมเสริมประสบการณ์ จะใช้นิ ทานน าเข้าสู่ บทเรียนโดยใช้นิทานที่ใช้ประกอบด้วย นิทานหนูนิดไม่อยากแปรงฟัน นิทาน บันทึกของแม่ นิทานกระเป๋าสตางค์สีแดง คุณครูจะร่วมพูดสนทนาเกี่ยวกับตัวละครเพื่อแลกเปลี่ยน การเรียนรู้ และเปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดเห็น โดยใช้คาถามกระตุ้นให้เด็กได้คิด คุณครูจะ สังเกตการร่วมสนทนาและการตอบคาถามและให้เด็ก ๆ วาดภาพตัวละครตามจินตนาการ ที่เด็กๆ ชอบและสนใจตามความคิดที่สร้างสรรค์ได้ ขั้นสรูป ครูร่วมสนทนากับเด็กๆ เรื่องนิทานว่าเด็กๆ สามารถนาไปใช้ได้จริงในชีวิตประจาวันได้ ครูลง บันทึกความสนใจของเด็กๆ ทุกวันเป็นเวลา 4 สัปดาห์เด็กๆ มีส่วนร่วมในการฟังนิทานที่ดีขึ้นสบตาครู ในขณะฟั ง มี ก ารตอบค าถามใช้ ภ าษาที่ ดี ขึ้ แ ละแสดงความคิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ นิ ท าน ตามความคิ ด สร้างสรรค์ สร้างผลงานได้อย่างดีพร้อมบอกเรื่องราวได้ดีและเด็ก ๆ ทุกคนสามารถทางานร่วมกับผู้อื่น ได้


ผลการจัดกิจกรรม จากการเล่านิทานเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก ๆ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสาโรง สังกัด องค์การบริหารส่วนตาบลสงยาง อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี ใช้เวลา 4 สัปดาห์ พบว่า เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเล่านิทานมีการพัฒนาที่ดีขึ้น การใช้ภาษาดีขึ้น มีสมาธิในการฟัง มากขึ้น ซึ้งสอดคล้ องกับ เด็กปฐมวัยช่วยให้ เด็กได้เรียนรู้คาศัพท์ใหม่ ๆ และช่ว ยกระตุ้น ความคิด จินตนาการให้แก่เด็ก ก็จะเป็นการช่วยกระตุ้นพัฒนาการของเด็กโดยการเชื่อมโยงเรื่องราวในนิทาน เข้ากับประสบการณ์ในชีวิตของเด็ก เกิดจินตนาการการสร้างภาพขึ้นสามารถเข้าใจเรื่องราวในที่นิทาน ที่มีเนื้อหาสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมที่ดีงามจากการเลียนแบบบุคคลที่เด็กรักและชอบ ศรัทธา และ เชื่ อ ถื อ ซึ้ ง สอดคล้ อ งกั บ ทฤษฏี ก ารเรี ย นรู้ ท างสั ง คมของแบนลู ร่ า ( Bandura Social Learning Thoory)ที่เชื่อว่าเด็กเรียนรู้พฤติกรรมจากการใช้ตัวแบบสัญลักษณ์และทุกอย่างในสังคมซึ่งเกิดจาก การรับรู้พฤติกรรมในประสบการณ์ในด้านต่างๆ ได้ด้วยตัวเด็กเอง เอกสารอ้างอิง กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2541). การเล่านิทาน. วารสารการศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพฯ : เอดิสันเพรสโปร ดักส์. 2(2), 10-19. ฉวีวรรณ กินาวงศ์. (2536). การศึกษาเด็ก.กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. พรจันทร์ จันทวิมล. (2529). การเล่านิทานสาหรับเด็กก่อนวัยเรียน. กรุงเทพมหานคร : นิตยสารลูกรัก. พูน ศรี คัมภีรปกรณ์ . (2537). เอกสารค าสอนวิชาการผลิตหนังสือสาหรับเด็ก . ขอนแก่น : คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วรรณี ศิริสุนทร. (2532). เอกสารประกอบคาสอนวิชาการเล่านิทาน. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์.


ชื่อ สถานที่ทางาน ตาแหน่ง จานวนเด็ก

นางสาวเกษร สาธุพันธ์ นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต ศูน ย์ พัฒ นาเด็กเล็กบ้านส าโรง ตาบลสงยาง อาเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัอ อุบลราชธานี ผู้ช่วยผู้ดูแลเด็ก 22 คน


การจัดการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียนเพื่อส่งเสริมการฝึกสมาธิของเด็ก ปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบุ่งมะแลงใต้ ตาบลบุ่งมะแลง อาเภอสว่างวีระวงศ์ จังหวัดอุบลราชธานี Academic articles Learning Management Before entering into lesson activities to promote meditation Early Child Development Center, Ban Bung Malaeng south Tambon Bung Malaeng Wirawong light district Ubon Ratchathani Province เพลินจิตร เสาราช Plernjit Saorat บทคัดย่อ การฝึกสมาธิเด็กก่อนเริ่มการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ทาให้เด็กเกิดสมาธิก่อนเริ่ มทา กิจกรรมในแต่ละวัน เพื่อให้เด็กเกิดความเคยชิน เด็กจะได้สงบและมีความอดทน การเรียนรู้ของเด็ก ในแต่ละวันนั้น เด็กจะมีพฤติกรรมไม่เหมือนกัน มีความบกพร่องทางกระบวนการเรียนรู้ วัตถุประสงค์ เพื่อฝึกให้เด็กได้ฝึกสมาธิก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นกิจกรรม 1. ขั้นนาครูแบ่งกลุ่มเด็ก ออกเป็นกลุ่มตามสัญลักษณ์ที่ครูจัดไว้เป็นวงกลมและก่อนจะเริ่มกิจกรรม 2. ขั้นสอนครูสนทนากับ เด็กเรื่องเด็กดีมีระเบียบวินัย ในการอยู่ร่วมกันกับเพื่อนๆ และครู หลังจากนั้นครูให้เด็กฟังเรื่องราว จากครูแล้วให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการตั้งคาถามและคาตอบ และให้เด็กปฏิบัติจริงในเรื่อง 3.ขั้นสรุป ทบทวนเนื้อหาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่เด็กได้ฟังได้เรียนรู้ และเห็นภาพชัดเจนและได้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์จากเพื่อนแล้วสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันของตนเองได้จริง ผล ของกิจกรรมพบว่าเด็กในศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กบ้านบุ่งมะแลงใต้ ตาบลบุ่งมะแลง อาเภอสว่างวีระวงศ์ จังหวัดอุบลราชธานี จากการสังเกตเป็นรายกรณีของเด็กในการตั้งคาถามและตอบคาถาม ทุกกิจกรรม พบว่า เด็กมีพัฒ นาการที่ดีขึ้นการได้ฝึกสมาธิก่อนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และเด็กสามารถ นาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ........................................................................................ ค าสาคัญ : การจั ดการเรี ย นรู้กิจ กรรมฝึ กสมาธิก่อนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน พั ฒ นาทั กษะ ทางด้านสติปัญญา Keywords: learning activities, practice meditation before teaching activities Intellectual skills


การจัดการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียนเพื่อส่งเสริมการฝึกสมาธิของเด็กปฐมวัยในศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กบ้านบุ่งมะแลงใต้ ตาบลบุ่งมะแลง อาเภอสว่างวีระวงศ์ จังหวัดอุบลราชธานี เพลินจิตร เสาราช* การจัดกิจกรรมในเด็กปฐมวัย โดยใช้สมาธิเป็นพื้นฐานในการจัดการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมก่อน เข้าสู่บทเรียนเพื่อส่งเสริมการฝึกสมาธิของเด็กปฐมวัย เพื่อให้ฝึกการเรียนรู้ของเด็กให้มีสมาธิ และ ความอดทนในการจัดกิจกรรม ดร.ชัยยศ ปรไพพงษ์ กล่าวว่า การเรียนรู้โดยใช้สมาธิเป็นฐาน คือ การ เรียนรู้ การทาให้รู้ เข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมหรือระดับปัญญา ที่เป็นผลมา จากประสบการณ์ที่ได้รับ การเรียนรู้เป็นภาวการณ์ที่เกิดขึ้นภายในตัวผู้เรียน จากความตั้งมั่นของ จิตใจ มีจิตใจจดจ่อมุ่งมั่น หรือภาวะจิตที่แน่วแน่ มั่นคงต่อสิ่งที่เรียนรู้ ที่กาหนดต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือ การเรียนรู้ที่จิตกาหนดแน่วแน่ ไม่ฟุ้งซ่าน ทั้งการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน การคิดพิจารณา หรือ การทากิจกรรมอื่นใด ที่มีต่อการเรียนรู้และเกิดปัญญาแจ่มแจ้ง โดยการเรียนรู้ทุกครั้งผู้เรียนจะต้องนา หลักของสมาธิเป็นเครื่องมือการเรียนรู้ทุกขั้นตอน ดังนั้นการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการฝึกสมาธิก่อน จัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อให้เด็กมีสมาธิก่อนทากิจกรรมในแต่ละวัน และเด็กๆ จะได้ฝึกสมาธิ มีสมาธิ ในการจัดกิจกรรม ความสาคัญของการฝึกสมาธิสาหรับเด็กปฐมวัย การฝึกสมาธิเด็กก่อนเริ่มการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนั้ น ทาให้เด็กเกิดสมาธิก่อนเริ่มทา กิจกรรมในแต่ละวัน เพื่อให้เด็กเกิดความเคยชิน เด็กจะได้สงบและมีความอดทน การเรียนรู้ของเด็ก ในแต่ละวันนั้น เด็กจะมีพฤติกรรมไม่เหมือนกัน มีความบกพร่องทางกระบวนการเรียนรู้ และครูเริ่ม จากสิ่งที่ต่กว่ า าความสามารถของเด็ก เพื่อให้เด็กมีกาลังใจ มั่นใจ และพร้อมที่จะเรียนรู้ในสิ่งที่ยาก ต่อไปได้ และให้เด็กมีความสุขในการเรียน และสามารถสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนและครูได้ ราศี ทองสวัสดิ์ และคนอื่น ๆ (2529, หน้า2) ได้ให้ความหมายของการจัดประสบการณ์ว่า หมายถึงการจั ด กิจ กรรมตามแผนการจัด ประสบการณ์ จากการจัด สภาพแวดล้ อ มทั้ งภายในและ ภายนอกห้องเรียนให้กับปฐมวัย โดยให้ได้รับประสบการณ์จากการ เล่น ลงมือปฏิบัติ ซึ่งทาให้เด็กเกิด การเรียนรู้ได้ดี และเพื่อส่งเสริมพัฒนาการให้ครบทุกด้าน ทั้งด้าน ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและ สติปัญญาในรูปแบบของการบูรณาการเนื้อหาวิชาต่างๆ

นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต รมป.2 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต *


นงเยาว์ คลิ ก คลาย (2543, หน้ า 19) กล่ า วว่ า การจั ด ประสบการณ์ หมายถึ ง การจั ด สภาพแวดล้อมให้ได้ต่อการพัฒ นาทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา ใน รูปแบบของการบูรณาการเนื้อหาวิชาต่างๆ เบญ จมาศ วิ ไ ล (2544, หน้ า 20) กล่ า วว่ า การจั ด ประสบการณ์ หมายถึ ง การจั ด สภาพแวดล้อม ทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน สื่อและวัสดุอุปกรณ์ ต่างๆ โดยให้เด็กได้มีส่วนร่วม ในการกระทาและลงมือปฏิบัติ เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้และส่งเสริมให้เกิดพัฒนาการทั้งด้าน ร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา ได้อย่างเหมาะสมตามวัย พร้อมที่จะเรียนรู้ในลาดับต่อไป วิธีการจัดการเรีย นรู้มีความส าคัญ ที่ครูผู้ สอนเด็กต้องศึกษาให้ เข้าใจ โดยต้องศึกษาเรื่อง เกี่ยวข้อง ดังนี้ คือ 1. เข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้ของเด็กโดยผ่านกระบวนการทางานของสมอง ซึ่งจะช่วยครูให้เข้าใจธรรมชาติความบกพร่องของการเรียนรู้ของเด็กได้ชัดเจนขึ้น 2. เข้าใจเกี่ยวกับ วิธีการจัดการเรียนรู้โดยรู้หลักการสอนทั่วไป และหลักการสอนเฉพาะ ซึ่งหลักการสอนทั่วไปช่วยให้ ครู ผู้ ส อนมีแนวทางการสอนที่ จ ะปรับให้ เหมาะกับ สภาพของเด็ก ส่ ว นหลั กการเฉพาะเป็นวิธีการ จัดการเรียนตามลักษณะความบกพร่องในแต่ละด้าน ขั้นตอน การจัดการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมก่อนเข้าสู่บทเรียนเพื่อส่งเสริมการฝึกสมาธิของเด็กปฐมวัยใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบุ่งมะแลงใต้ ตาบลบุ่งมะแลง อาเภอสว่างวีระวงศ์ จังหวัดอุบลราชธานีโดย ครูผู้สอนมีขั้นตอนการสอน 3 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นนา ครูแบ่งกลุ่มเด็กออกเป็นกลุ่มตามสัญลักษณ์ที่ครูจัดไว้เป็นวงกลมและก่อนจะเริ่มกิจกรรม ครู ให้เด็กฝึกสมาธิก่อนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละวัน และเป็นการสร้างสมาธิในกับเด็ก และมี ความอดทน จากนั้นครูแนะนาเรื่องราวในหน่วย เด็กดีมีวินัย ที่จะสอนเด็กพร้อมทั้งขั้นตอนการปฏิบัติ กิจกรรมในวันนี้สาหรับเด็ก และครูก็ใช้บทเพลง เด็กเอ๋ยเด็กดีนาเด็กเข้าสู่บทเรียน ขั้นสอน ครูใช้หน่วยการเรียนรู้ เด็กดีมีวินัย และครูสนทนากับเด็กเรื่องเด็กดีมีระเบียบวินัย ในการอยู่ ร่วมกันกับเพื่ อนๆ และครู ในเรื่องการเข้าแถว การรู้จักการรอคอย การดื่มน้า การเข้าห้องน้า การ รับประทานอาหาร การรู้จักแบ่งปันสิ่งของให้กับเพื่อน หลังจากนั้นครูให้เด็กฟังเรื่องราวจากครูแล้วให้ทุกคนมีส่วนร่วมใน การตั้งคาถามและคาตอบ เพื่อให้เด็กกล้าแสดงออก ในการพูด การซักถาม โดยครูกระตุ้นเด็กโดย เสริมแรงบวกให้กับเด็ก เพื่อเป็นการให้กาลังใจกับเด็ก และให้เด็กปฏิบัติจริงในเรื่องการเข้าแถว การ รู้จักการรอคอย การดื่มน้า การเข้าห้องน้า การรับประทานอาหาร การรู้จักแบ่งปันสิ่งของให้กับเพื่อน และจากนั้นครูก็ให้เด็กปฏิบัติจริงภายในศูนย์ เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้จริง และเด็กๆ ก็สามารถปฏิบัติได้ และให้ความร่วมมือในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันของ เด็กได้ ขั้นสรุป ทบทวนเนื้อหาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่เด็กได้ฟังได้เรียนรู้ และเห็นภาพชัดเจน ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละวันนั้น เด็กสามารถฟังเรื่องราวจากครู และได้แลกเปลี่ยน เรียนรู้ประสบการณ์จากเพื่อนแล้วสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันของตนเองได้จริง ในเรื่องของเด็ก


ดีมีวินัย โดยสังเกตจากเด็กตั้งคาถามและตอบคาถามร่วมกันกับเพื่อนและครู พร้อมให้เด็กปฏิบัติจริง ในศูนย์ของตนเอง ผลของการฝึกสมาธิก่อนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จากการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการฝึกสมาธิก่อนการจัดการเรียนการสอนของเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบุ่งมะแลงใต้ เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ผลปรากฏว่า เด็กๆ ได้ฝึกสมาธิก่อนการจัด กิจกรรมการเรียน การสอนในแต่ละวัน เด็กส่วนใหญ่ทาได้และเข้าใจในแต่ละกิจกรรมที่ครูให้ปฏิบัติ ได้ดี เนื่องจากครูใช้เวลา 1 นาที ในการฝึกทาสมาธิในแต่ละวัน ส่วนเด็กที่ยังทาสมาธิของตนเองยัง ไม่ได้นั้น ครูคอยให้คาแนะนา และพยายามสร้างความคุ้นเคยให้กับเด็ก และในการฝึกสมาธิเด็กที่ยัง ทาไม่ได้นั้น เวลาที่ใช้ฝึกต้องให้น้อยกว่าเด็กที่ทาได้ ถ้าเด็กเริ่มฝึกได้ทาได้เหมือนเพื่อนแล้ว ค่อยเพิ่ม เวลาตามความเหมาะสม เพื่อสร้างความเคยชินให้กับเด็ก และการฝึกสมาธิเด็กก่อนการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนนั้น เด็กสามารถสร้างสมาธิและความอดทนให้กับตนเอง และสามารถนาไปใช้ใน ชีวิตประจาได้ นงเยาว์ คลิกคลาย (2543, หน้า 20) เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่กาลังมีการพัฒนาการรวดเร็ว ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา การจัดประสบการณ์ตรงโดยยึดเด็กเป็นศูนย์กลาง ให้ เด็กมีอิสระในการคิด การแสดงออก และการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับเด็กในสภาพการณ์ที่เป็นจริง จะทาให้เด็กเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองและสามารถพัฒนาการสื่อสารที่ดี เอกสารอ้างอิง นงเยาว์ คลิกคลาย. (2543). ความสามารถด้านการฟังและการพูดของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัด กิจกรรมเสริมประสบการณ์ โดยใช้เพลงประกอบ. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การศึกษาปฐมวัย ). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เบญจมาศ วิไล. (2544). การส่งเสริมพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อเล็กของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรม ศิลปะสร้างสรรค์ประกอบการประเมินสภาพจริง . วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การศึกษาปฐมวัย ). กรุงเทพฯ : บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ราศรี ทองสวัสดิ์; และคนอื่นๆ . (2529). คู่มือการนิเทศฯการศึกษา. กรุงเทพฯ : อักษรไทย. วรวรรณ เหมะญา. (2536). ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดของกาเย่ที่มีต่อ ความสามารถรับรู้ทางด้านมิติสัมพันธ์ของเด็กก่อนวัยเรียน. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (การศึกษา ปฐมวัย). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วันทนีย์ เหมะผดุงกูล. (2535). พัฒนาการทางด้านสติปัญญาของเด็กก่อนประถมศึกษาที่ครูมีการ ใช้คาถามระหว่างการทากิจกรรมและหลังการทากิจกรรมในวงกลม. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การศึกษาปฐมวัย). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.


ชื่อ สถานที่ทางาน ตาแหน่ง จานวนเด็ก

นางสาวเพลินจิตร เสาราช นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบุ่งมะแลงใต้ ตาบลบุ่งมะแลง อาเภอสว่างวีระวงศ์ จังหวัดอุบลราชธานี ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก 25 คน


กิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อพัฒนาการการเรียนรู้ด้านสติปัญญาของศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กบ้านโนนจาน ตำบลขามป้อม อำเภอสาโรง จังหวัดอุบลราชธานี สุพรรณนี จันเลื่อน บทคัดย่อ การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ การเรียนรู้ด้านสติปัญญาของศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนจาน ต. ขามป้อม อ. สาโรง จ. อุบลราชธานี เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้เจริญเติบโต เป็นผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคต เป็นคนดี เป็นคนเก่ง ของสังคม ดังนั้น วัตถุประสงค์ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้าน โนนจาน มีจานวนเด็กนักเรียน 30 คน จึงมุ่งเน้นให้เด็กพูด ฟัง สังเกต คิดแก้ไข และ กล้าแสดงออก โดยผ่านการใช้กิจกรรมเสริมประสบการณ์ที่หลากหลาย และ แบ่งออกเป็น ขั้นตอนการทากิจกรรมมี 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน 2. ขั้นสอน 3. ขั้นสรุป โดยใช้กิจกรรม ดังนี้ ครูนารูปภาพสัตว์ ที่ครูเลือกให้เป็นสัญลักษณ์ประจาตัวเด็กมาให้เด็กดู และบอกเด็กๆ ว่ารูปถาพนั้นคือรูปอะไร เพื่อให้ เด็กๆ จดจา แล้วบอกครูทีละคน ผลจากการจัดกิจกรรมของศูนย์พัฒ นาเด็กเล็กบ้านโนนจานโดย สังเกตพฤติกรรมของเด็กแต่ละคนเด็กสามารถบอกชื่อเล่น ชื่อจริง และบอกสัญลักษณ์รูปสัตว์ต่างๆ ที่ ครูให้ดูได้ และสามารถสนทนาโต้ตอบคาถามกับครูและเพื่อนๆ ได้ ..................................................................................................... คาสาคัญ : กิจกรรรมเสริมประสบการณ์การเรียนรู้ด้านสติปัญญา Key Word : Developing the experience and knowledge by activities


การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ การเรียนรู้ด้านสติปัญญาของศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนจาน ตาบลขามป้อม อาเภอสาโรง จังหวัดอุบลราชธานี สุพรรณนี จันเลื่อน* การศึ ก ษาระดั บ ปฐมวั ย เป็ น การศึ ก ษขั้ น พื้ น ฐานตั้ ง แต่ เด็ ก 2-5 ขวบต้ อ งมี ก ารส่ ง เสริ ม กระบวนการ การเรียนรู้ด้านกิจกรรมเสริมประสบการณ์ให้เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาเพื่อให้เด็ก ได้เรียนรู้กับสิ่งต่างๆ ที่ผ่านการปฏิบัติด้วยตนเองโดยใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า ความสาคัญของการจัดการเรียนสาหรับเด็กปฐมวัย การเรียนรู้ด้านสติปัญญของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนจาน ความสาคัญต่อ การพัฒนาเด็กปฐมวัย จาเป็นต้องได้รับการอบรมเลี้ยงดูและการเรียนรู้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับวัย ด้วยการจัดประสบการณ์และการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้ออานวยให้เด็กได้พัฒนาตามศักยภาพของตน เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีในอนาคต เป็นคนดี คนเก่งมีความสุขและเติบโตเป็นพลเมือง ที่ดี มีคุณภาพสามารถดารงวิถีชีวิตในสถานกาณ์การเปลี่ยนแปลงของเศรฐกิจยุคใหม่ได้อ่านได้อย่างรู้ เท่ากัน ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนจาน จึงมุ่งฝึกให้เด็ก พูด ฟัง สังเกต คิดแก้ไข ใช้เหตุผล และการตัดสินใจ ซึ่งใช้กิจกรรมเสริมประสบการณ์เป็นกิจกรรมให้เด็กได้ฝึกการเรียนรู้ด้านสติปัญญ เช่น การเล่น บทบาทสมมุติ การทางานเป็นกลุ่ ม การฟังนิทาน การร้องเพลงประกอบท่าเต้น การ ทดลอง การเล่นเกม การเรียนรู้นอกสถานที่ ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้จะทาให้เด็กเกิดความคิด ความกล้า แสดงออก พร้อมสร้างทัศนคติการเรียนรู้ด้านสติปัญญาที่สอดคล้องกับแนวคิดของ เพียเจย์ ( Piaget ) เพื่อพัฒนาการทางด้านเชาว์ปัญญาของเด็กเกิดจากการที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมรอบๆ ตัว เด็ ก มี ก ารรั บ รู้ จ ากสิ่ งแวดล้ อมใหม่ ๆ ที่ เกิ ด ขึ้ น ตลอดเวลาและมี ก ารปรับ ขยายประสบการณ์ เดิ ม ความคิ ด และความเข้ าใจให้ ข ยายมากขึ้ น เจอโรม บรุน เนอร์ (Jerome.S.Bruner)ได้เสนอทฤษฎี เกี่ยวกับพัฒนาการทางการคิดและใช้เหตุผล (Cognitive) โดยให้เด็กทาสิ่งต่างๆ อย่างมีอิสระมากขึ้น การเรียนสัญลักษณ์ที่ใช้แทนสิ่งต่างๆ ผู้สอนและผู้เรียนมีความสัมพันธ์กันอย่างมีระบบ ขั้นตอนในการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมพีฒนาการการเรียนรู้ด้านสติปัญญาของ เด็กปฐมวัย ขั้นเตรียมเข้าสู่บทเรียน คุณครูใช้เพลง 'กายบริหาร' ครูใช้เพลงเตรียมความพร้อมให้กับเด็กๆ โดยใช้เพลง กายบริหาร เรามีตาไว้ดู เรามีหูไว้ฟัง จมูกอยู่กลางเอาไว้สาหรับหายใจ เรามีมือสองมือเอาไว้จับถือทางานทั่วไป

นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต รมป.2 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต *


ส่วนขาเราพาเดินได้ไปใหนมาใหนด้วยขาของเรา เพื่อเป็นการฝึกสมาธิให้กับเด็กๆ โดยให้เด็กมีส่วน ร่วมในการทาท่าทางประกอบเสียงเพลงและเด็กได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ขั้นนา ครูให้เด็กนั่งเป็นกลุ่มตามสัญลักษณ์ที่ครูติดไว้ และครูอธิบายถึงการเรียนการสอนเพื่อเสริม ประสบการณ์และครูแนะนาเรื่องราวในหน่วยการเรียนรู้ ชีวิตน่ารู้ และหน่วย นานาสัตว์โลก ที่จะใช้ สอนพร้อมขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรมและครูก็ใช้บทเพลง'นกเขา'เพื่อนาเด็กเข้าสู่บทเรียน ขั้นสอน ครูใช้หน่วยการเรียนรู้ ชีวิตน่ารู้ ครูสนทนากับเด็กและมีภาพเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต มาให้เด็กๆ ดูภาพแรกที่ครูให้เด็กดูคือภาพสิ่งมีชีวิตเช่น คน สัตว์มพืช และภาพสิ่งไม่มีชีวิต เช่น โต๊ะ เก้าอี้ แก้วน้าแล้วครูให้เด้กเปรียบเทียบสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต หลังจากนั้นครูให้ตัวแทนกลุ่มแต่ละ กลุ่มออกมาแล้วเลือกภาพสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตไปให้เพื่อนในกลุ่มดูและให้ตัวแทนกลุ่มอธิบายให้ เพื่อนๆ ในกลุ่มฟังว่าสิ่งที่มีชีวิตคือสัตว์และพืช ประโยชน์คือสามารถกินได้ และสิ่งไม่มีชีวิตคือโต๊ะ เก้าอี้ ประโยชน์คือสามารถนั่งได้และวางของเล่นได้ หลังจากที่เด็กเล่าให้เพื่อนฟังเสร็จแล้วครูก็แจก ภาพสิ่งมีชีวิตและสิ่ งไม่มีชีวิตให้ กับ เด็กทุกคนเพื่ อที่ เด็กจะได้น าภาพไปเปรียบเทียบระหว่างภาพ สิ่งมีชีวิตและภาพสิ่งไม่มีชีวิตครูใช้หน่วยการเรียนการสอน นานาสัตว์โลก ครูสนทนากับเด็กและมีรูป สัตว์ชนิดต่างๆ ให้เด็กดูเช่น กบ ปู ปลา วัว สุนัขแมวแล้วครูให้เด็กแต่ละคนออกมาชี้สัตว์บกสัตว์น้า หลังจากนั้นครูให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมาเลือกเอารูปภาพสัตว์ที่เด็กชอบไปให้เพื่อนในกลุ่มดูจากนั้น ครูให้ตัวแทนกลุ่มออกมาพูดถึงสัตว์บก และสัตว์น้า ให้เพื่อนๆ กลุ่มอื่นฟัง ขั้นสรุป ผลการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ด้านสติปัญญา ทบทวนเนื้ อหากิจกรรมเสริมประสบการณ์ ของเด็กหลังจากที่เด็กแต่ละกลุ่ มได้ร่วมกันทา กิจกรรมเด็กสามารถอธิบายให้เพื่อนฟังเกี่ยวกับ สิ่งมีชีวิต สิ่งไม่มีชีวิต มีประโยชน์และไม่มีประโยชน์ อย่างไร เด็กสามารถอธิบายให้เพื่อนฟังได้อย่างชัดเจนและเด็กสามารถบอกถึงลักษณะของสัตว์บก สัตว์น้าได้พร้อมทั้งอธิบายและทาท่าทางสัตว์ต่างๆ ให้เพื่อนดูได้ สรุป การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อพัฒนาการ การเรียนรู้ด้านสติปัญญาของเด็กปฐมวัย การจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาการ การเรียนรู้ด้านสติปัญญาเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็ก เล็ก บ้านโนนจาน เพื่อเป็นการมุ่งเน้นให้เด็กมีพัฒนาการด้านความคิด ทักษะทางสังคม ภาษา โดย มีการส่งเสริมให้เด็กได้ฝึกการเรียนรู้และการปฏิบัติด้วยตนเอง


เอกสารอ้างอิง จิระพันธุ์ พลูพัฒน์ และคณะ. (2557). นวัตกรรมการการศึกษา. กรุงเทพมหานคร. : มหาวิทยาลัย ราชภัฏ สวนดุสิต. มหาวิทยาลั ย ราชภั ฏ สวนดุสิต . (ม.ป.ป.). การจัดการเรียนรู้ สาหรับ ปฐมวัย . กรุงเทพมหานคร. : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. เมธาวี อุดมธรรมานุภาพ และคณะ. (2550). ธรรมชาติของผู้เรียน. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต วัฒนา ปุญญฤทธิ์. (2549). นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย.กรุงเทพมหานคร : มหา่ทยาลัยราชภัฏสวน ดุสิต.

ชื่อ สถานที่ทางาน ตาแหน่ง จานวนเด็ก

นางสาวสุพรรณนี จันเลื่อน นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนจาน ต. ข้ามป้อม อ. สาโรง จ. อุบลราชธานี ผู้ดูแลเด็ก 30 คน


การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย ภายใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสระดอกคูณ ตาบลโคกสว่าง อาเภอสาโรง จังหวัด อุบลราชธานี The movement and rhythm activities for development with in the body of the child care center Bansadorkoon Subdistrict Kokswang District Samrong Ubonratchatani. นางอุษณีย์ อินทรเทศ Usanee Intharathet บทคัดย่อ การจัดการเรียนรู้กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อพั ฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย ใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสระดอกคูณ ตาบลโคกสว่าง อาเภอสาโรง จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อ พั ฒ นาการให้ เด็ ก ได้ เคลื่ อ นไหวส่ ว นต่ างๆ ของร่า งกายอย่ างอิ ส ระตามจั งหวะ ให้ เด็ ก เกิ ด ความ สนุกสนาน เพลิดเพลิน ให้เด็กกล้าแสดงออกอย่างอิสระ ในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย จานวน 22 คน ซึ่งมีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ มีขั้นตอน 3 ขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้น นาเข้าสู่บทเรียน คุณครูให้เด็กท่องคาคล้องจองของห้องเรียนเพื่อสร้างข้อตกลงเตรียมความพร้อม ให้กับเด็ก ) 2. ขั้นสอน คุณครูพาเด็กร้องเพลงโดยให้เด็กร้องตามครูทีละวรรคและทาท่าทางประกอบ เพลง) 3.ขั้นสรุป เด็กสามารถร้องเพลงและทาท่าประกอบเพลงได้ ) ผลจากการจัดกิจกรรมพบว่า ผล จากการสั งเกตเด็ ก แต่ ล ะคนของเด็ ก ปฐมวั ย สามารถร้ อ งเพลงและท าท่ าประกอบเพลงได้ แ ละ เคลื่อนไหวอยู่กับที่ เคลื่อนไหวเคลื่อนที่ได้ เด็กรักการออกกาลังกายและสนุกสนาน มีความสุข กล้า แสดงออกได้ฝึกความเชื่อมั่นในตนเอง เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายให้มีสุขภาพที่ดี ......................................................................... ความสาคัญ : กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะพัฒนาการด้านร่างกาย Keywords: Development of physical activity and stroke


การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัยภายในศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กบ้านสระดอกคูณ อุษณีย์ อินทรเทศ* เด็กปฐมวัย คือ เด็กที่มีอายุ 0-5 ปี เป็นช่วงเวลาที่มีความสาคัญอย่างยิ่งสาหรับการพัฒนา ชีวิต เพราะสมองของเด็กในช่วงนี้จะพัฒนาอย่างรวดเร็ว ปัจจุบันมีการนากิจกรรมหลากหลายมาใช้ กับ เด็ กปฐมวัย ได้ แก่ กิจ กรรมเคลื่ อ นไหวและจังหวะของเด็ กปฐมวัย เป็ น กิจ กรรมที่ จัด ให้ เด็ก ได้ เคลื่ อนไหวส่ วนต่างๆ ของร่างกายอย่างอิสระตามจังหวะโดยใช้เ สี ยงเพลงปฏิบั ติตามสั ญ ญาณซึ่ง จังหวะและดนตรีที่ใช้ประกอบ เช่น เสียงปรบมือ เสียงเพลง เสียงเคาะไม้ ตีฉิ่ง กลอง มาประกอบการ เคลื่ อ นไหว การจั ด กิ จ กรรมเคลื่ อ นไหวและจั ง หวะของเด็ ก ปฐมวั ย จะช่ ว ยส่ ง เสริ ม ให้ เด็ ก วั ย นี้ เจริญเติบโตได้ดี เด็กเกิดจินตนาการความคิดสร้างสรรค์ เรียนรู้จังหวะและการเคลื่อนไหวของตนเอง ได้ เด็กเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ จากรายงานวิจัยของนงศ์นุช พรรณฑูล (2544, หน้า 76) ได้ค้นพบ ว่าเด็กปฐมวัยอายุ 4-5 ปี มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายจาแนกได้ 3 ด้านคือ การเดิน การยืน การวิ่งและกระโดด เด็กแต่ละคนมีจุดเริ่มต้นและเกิดการเปลี่ยนแปลงช้า - เร็วต่างกันเนื่องมาจาก ความพร้อมในการเรียนรู้ของแต่ละคนแตกต่างกันแต่สิ่งที่เหมือนกันคือเมื่อเกิดความพร้อมในการ เรียนรู้ นอกจากนี้ก็ยังมีการนากิจกรรมเสริมประสบการณ์ (ในวงกลม) กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรม เสรี (ตามมุม) กิจกรรมกลางแจ้ง และกิจกรรมเกมการศึกษา ในช่วงวัยนี้มีลักษณะพัฒนาการที่สาคัญ คือการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเคลื่อนไหวการทางาน ดังนั้นความสามารถในการเคลื่อนไหวจึงมี ความจ าเป็ น ต้องที่ครูห รือผู้ มีห น้ าที่ดูแลเด็กปฐมวัยต้องให้ ความสนใจ ส่งเสริมและจัดกิจกรรมให้ เหมาะสมกับพัฒนาการเด็ก ความสาคัญของการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะสาหรับเด็กปฐมวัย กิ จ กรรมเคลื่ อ นไหวและจั ง หวะ หมายถึ ง การเคลื่ อ นไหวต่ า งๆ ของร่ า งกายและการ เคลื่ อ นไหวพื้ น ฐานตามจั งหวะ กิ จ กรรมเข้ า จั ง หวะให้ เด็ ก รู้ จั ก แสดงความรู้ สึ ก ออกมาทางการ เคลื่อนไหวรู้จั กควบคุมส่วนต่างๆ ของร่างกายไปในทิ ศทางที่ต้องการฝึกการประสานงานอย่าง กลมกลืนของกล้ามเนื้อกับประสาทต่างๆ รวมทั้งให้เด็กเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินโดยเน้นให้เด็ก แสดงออกอย่ างอิ ส ระ เช่ น การก้ าวเดิ น กระโดด เขย่ ง การเคลื่ อ นไหวพร้อ มจั งหวะ ดั งนั้ น กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะจึงได้รับการจัดเป็นกิจกรรมหลักเพื่อพัฒนาเด็ก ซึ่งเป็นเรื่องสาคัญและ จ าเป็ น เพื่ อ ให้ เด็ ก เจริ ญ เติ บ โตอย่ างสมบู ร ณ์ มี ผ ลต่ อ การพั ฒ นาการเด็ ก ดั งนั้ น การใช้ กิ จ กรรม เคลื่อนไหวและจังหวะจึงมีผลทาให้เด็กเรียนรู้ร่างกายของตนว่า การใช้ร่างกายแต่ละส่วนอย่างไร ซึ่งมี ความหมายต่ อ เด็ ก มาก เด็ ก จะมี โอกาสได้ ป ระเมิ น ความสามารถของตนเอง ท าให้ เด็ ก ได้ คิ ด ได้ ตัดสินใจว่าจะเคลื่อนไหวแบบใด อย่างไร อีกทั้ง การเคลื่อนไหวไปพร้อมเพื่อนอย่างมีความหมาย จะ นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต รมป.2 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต **


ทาให้ เด็ กเรี ย นรู้การปฏิ บั ติต่อ กัน ท าให้ เด็กเกิดความมั่น ใจทั้ งเป็ นการลดอั ตตา (Ego) ไปสู่ การมี เหตุผลและคุณธรรม (superego) เด็กได้รับการฝึกการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ บุคลิก ขอบเขตรอบตัว ด้วยการใช้เสียงเพลง ดนตรีทาให้เด็กเรียนรู้จังหวะ และเกิดจินตนาการ ดังนั้น กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้กาหนดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะไว้เป็นกิจกรรมหลักในตารางกิจกรรมประจาวันที่เด็ก จะต้องได้รับการส่งเสริม ขั้นตอนและวิธีการในการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อพัฒนาการด้านร่างกายของเด็ก ปฐมวัย การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็ก จานวน 22 คน ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสระ ดอกคูณ สังกัดองค์การบริห ารส่วนตาบลโคกสว่าง อาเภอส าโรง จังหวัดอุบลราชธานี โดยการจัด กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อพัฒนาการของเด็กปฐมวัย เป็นเวลา 4 สัปดาห์ เริ่มตั้งแต่วันจันทร์ ที่ 8 เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2558 ถึง วันศุกร์ที่ 3 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558 ขั้นเตรียมเข้าสู่บทเรียน คุณครูให้เด็กนั่งเป็นตัว U ก่อนการเริ่มการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กในแต่ละวัน คุณครูสร้างข้อตกลงกับเด็กๆ โดยท่องคาคล้องจองของข้อตกลงของห้องว่า พวกเราทุกคน ไม่ซนไม่ดื้อ จะเรียนหนังสือ นับถือคุณครู จะไม่งอแงกับพ่อแม่หนู นับถือคุณครูหนูเป็นเด็กดี พร้อมปรบมือ เพื่อ เป็นการเตรียมความพร้อมให้กับเด็ก ขั้นสอน ครูน าเข้าสู่ บ ทเรีย นโดยการจัด กิจกรรม 6กิจกรรมหลั กใช้เพลงที่ห ลากหลายในกิจกรรม เคลื่อนไหวและจังหวะ ซึ่งเพลงที่ใช้ประกอบด้วย เพลงชื่อของเธอ เพลงสวัสดีเธอจ้า เพลงล้างมือ เพลงนิ้วมือ เพลงถาม- ตอบ เพลงลูกสัตว์ เพลงนี่ของฉัน เพลงสวัสดีคุณครู เพลงแปรงฟัน โดยคุณครู จะสังเกตการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่และการเคลื่อนไหวอยู่กับที่ของเด็กแต่ละคน สังเกตการร่วมกิจกรรม กับผู้อื่น สังเกตการร้องเพลง การทาท่าทางประกอบเพลงของเด็ก กิจกรรมเสริมประสบการณ์จะใช้ เพลงนาเข้าสู่บทเรียน เพลง เรามีตาไว้ดู เรามีหูไว้ฟัง และใช้นิทานประกอบด้วย นิทานเรื่อง น้องส้ม มาโรงเรียน คุณครูจะสนทนากับเด็กแลกเปลี่ยนความรู้และเปิดโอกาสให้เด็กแสดงความคิดเห็น โดย ใช้คาถามกระตุ้นให้เด็กได้คิด คุณครูสังเกตการร่วมสนทนาและการตอบคาถาม กิจกรรมสร้างสรรค์ คุณครูพาเด็กทากิจกรรมที่หลากหลาย เช่นการระบายสี รูปภาพ ร้อยดอกไม้ ฉีกตัดปะ ปั้นดินน้ามัน เด็กๆ ชอบมากปั้นดินน้ามันเป็นรูปสัตว์ต่างๆ กิจกรรมเสรีคุณครูให้เด็กๆ เล่นตามมุมตามความสนใจ ของแต่ละบุคคล โดยครูคอยดูแลอย่างใกล้ชิดและให้คาแนะนา คุณครูสังเกตการร่วมกิจกรรมกับผู้อื่น ของแต่ละคน กิจกรรมกลางแจ้ง ให้เด็กเรียนรู้ผ่านการเล่นเครื่องเล่นสนาม มีการเล่นกระดานลื่น ปั่น จักรยาน ปีนเชือก การเล่นเกมโยน-รับบอลและการเดินทรงตัวบน ยางล้อรถ คุณครูสังเกตการร่วมทา กิจกรรมของเด็กเพื่อให้เด็กฝึกการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ สังเกตการร่วมกิจกรรม ของเด็ก การทรงตัวและการเล่นอย่างปลอดภัย เกมการศึกษา คุณครูใช้เกมหลากหลาย เช่นเกมจับคู่ ภาพเหมือน เกมจับคู่ภาพกับเงา เกมภาพตัดต่อ สังเกตเด็กจากการทากิจกรรมกับผู้อื่น การแก้ปัญหา ในการเล่น เพื่อฝึกให้เด็กกล้ามเนื้อตาให้ประสานกัน


ขั้นสรุป จากการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยผ่านกิจกรรม 6 กิจกรรมหลัก โดยกิจกรรม เคลื่ อ นไหวและจั งหวะเด็ ก สามารถร้ อ งเพลงและท าท่ างประกอบเพลงได้ อ ย่ างถู ก ต้ อ งและกล้ า แสดงออก สามารถเคลื่อนไหวเคลื่อนที่และเคลื่อนไหวอยู่กับที่ได้ กิจกรรมเสริมประสบการณ์เด็ก สามารถสนทนาโต้ตอบและตอบคาถามกับคุณครูได้ กิจกรรมสร้างสรรค์เด็กสามารถเสนอผลงานของ แต่ละคนได้มีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ กิจกรรมเสรี เด็กเล่นอย่างมีความสุขกับกิจกรรมที่ ตนเองสนใจ กิจกรรมกลางแจ้ง เด็กรู้จักรอคอยและแบ่งปัน สามารถทรงตัวได้ดี ใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก และมัดใหญ่ ได้ร่วมกิจกรรมกับผู้อื่นได้สนุกสนาน เพลิดเพลิน กิจกรรมเกมการศึกษา เด็กๆ มีความ ตั้งใจและกระตือรือร้นและสามารถแก้ปัญหาในการเล่นได้อย่างถูกต้อง เอกสารอ้างอิง มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. (ม.ป.ป.). กิจกรรมพลศึกษาสาหรับเด็กปฐฐมวัย. กรุงเทพมหานคร. : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. ________. (ม.ป.ป.). การจัดการเรียนรู้สาหรับปฐมวัย . กรุงเทพมหานคร. : มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต. ________. (2550). สุนทรียภาพทางศิลปะสาหรับเด็กปฐมวัย . กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย ราชภัฏ สวนดุสิต. เมธาวี อุดมธรรมานุภาพ และคณะ. (2550). ธรรมชาติของเรียน. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย ราชภัฏ สวนดุสิต. วัฒนา ปุญญฤทธิ์. (2549). นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย . กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต.


ชื่อ สถานที่ ตาแหน่ง จานวนเด็ก

นางอุษณีย์ อินทรเทศ นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัยหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสระดอกคูณ ตาบลโคกสว่างอาเภอสาโรง จังหวัดอุบลราชธานี ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก 22 คน


การใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ด้านศิลปะเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเด็กปฐมวัย The use of creative arts to promote learning about the shift behavior of preschool children นางณิชธดากรณ์ ใจแก้ว Nittadakorn Jaikaew บทคัดย่อ บทความนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะเสนอความสาคัญของกิจกรรมสร้างสรรค์ด้านศิลปะสาหรับเด็ก ปฐมวัยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางด้านอารมณ์ สังคมซึ่งมีผลต่อความ พร้อมในการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ให้กับเด็ก 184 คน ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านเหล่าอินทร์แปลง สังกัดเทศบาลตาบลช่องเม็ก อาเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ กับเด็กมี 3 ขั้นตอน ขั้นเตรียมให้ เด็กฝึกนั่งสมาธิสาหรับเด็ ก ความเงียบสงบทาให้เด็กมีสมาธิในการทากิจกรรมด้านศิลปะมากขึ้น ขั้นสอนกิจกรรมสร้างสรรค์ด้าน ศิลปะมีความสาคัญกับเด็กทางด้านอารมณ์ ทาให้เด็กมีอารมณ์อ่อนโยนสามารถทางานร่วมกับเพื่อน ได้ รู้จักการแบ่งปันและอดทนรอคอยได้ ผลจากการจัดกิจกรรมพบว่าการใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ด้านศิลปะสาหรับเด็กนั้น จากการ สังเกตเด็กพบว่ามีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ดีสามารถทากิจกรรมต่างๆ ร่วมกับเพื่อนได้เด็กมี สมาธิ มีจินตนาการที่ดีเหมาะสมตามวัยและอารมณ์อ่อนโยนขึ้น คิดอย่างมีทักษะและแสดงออกอย่าง สร้างสรรค์โดยประเมินจากผลงานที่เด็กทาสามารถสรุปได้ว่ากิจกรรมสร้างสรรค์ด้านศิลปะสามารถ ส่งเสริมให้มีการปรับแปลี่ยนพฤติกรรมของเด็กปฐมวัยได้ดี --------------------------------------------------------คาสาคัญ : กิจกรรมสร้างสรรค์ การเรียนรู้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Keywords: creative learning behavior modification


การใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ด้านศิลปะเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเด็กปฐมวัย ณิชธดากรณ์ ใจแก้ว* เด็กในวัย 3-5 ปี เป็นวัยที่สาคัญและมีพัฒนาการตามวัยที่ดี เมื่อเด็กก้าวเข้าสู่วัยแห่งการ เรียนรู้ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญสาหรับเด็ก เด็กทุกคนจะต้องเรียนรู้ และปรับตัวเพื่อก้าวผ่านการเปลี่ยนแปลงนี้ให้ได้ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเหล่าอินทร์แปลงเมื่อเด็ก ก้าวเข้าสู่วัยเรียนรู้ครูจะสอนให้เด็กทากิจกรรมต่างๆ ด้วยตนเองให้เด็กช่วยเหลือตัวเองได้และอยู่ใน สังคมได้อย่างมีความสุข ความสาคัญของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การปรับตัวของเด็กปฐมวัย การจัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับวัยของเด็กจาเป็นมากเพราะเด็กในวัย 3 ปียังปรับตัวให้เข้ากับ การเรี ย นรู้ ในศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก ยั งไม่ ได้ ซึ่ งเด็ ก ในวั ย นี้ น อกจากจะต้ อ งปรั บ ตั ว เข้ ากั บ เพื่ อ น ครู สิ่งแวดล้อมและเด็กยังต้องปรับ ตัวในการเรียนรู้กิจกรรมที่ต้องทาทุกวันด้วย เด็กจะใช้เวลาในการ ปรับตัวนานกว่าผู้ใหญ่มาก เด็กจะค่อยๆ เรียนรู้จากการอยู่ร่วมกันการแบ่งปันและการทางานเป็นกลุ่ม (ece.pkru.ac.th) อาร์โนลด์ กีเซลล์ ได้กล่าวไว้ว่าพฤติกรรมด้านการปรับตัวเป็นความสามารถใน การประสานงานระหว่างระบบการเคลื่อนไหวกับระบบความรู้สึก เช่น การประสานงานระหว่างตากับ มือ ซึ่งดูได้จากความสามารถในการใช้มือของเด็ก เช่น ในการตอบสนองต่อสิ่งที่เป็นลูกบาศก์ การ สั่นกระดิ่ง การแกว่งกาไลฯลฯ ฉะนั้นพฤติกรรมด้านการปรับตัวจึงสัมพันธ์กับพฤติกรรมทางด้านการเคลื่อนไหว ดังนั้นครูจึง ไม่ควร เร่งความพร้อมเด็กเมื่อเด็กยังไม่พร้อมในช่วงรอยต่อระหว่างบ้านกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเด็ก ต้องการเวลาในการปรับตัวความพร้อมในการมาเรียนของเด็กต้องขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะของเด็กว่ามีความ พร้อมมากน้อยเพียงใด ขั้นตอนและวิธีการการใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเหล่าอินทร์แปลงสังกัดเทศบาลตาบล ช่องเม็กใช้กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ เช่น การวาดภาพ การปั้น เป็นต้น ศิลปะสร้างสรรค์ที่ดีต้องดู ความเหมาะสมกับพัฒนาการของเด็กด้วย ขั้นนา ครูให้เด็กนั่งล้อมวงและให้เด็กนั่งสมาธิเพื่อให้จิตใจสงบและเกิดสมาธิการจัดกิจกรรม สร้ างสรรค์ของศูน ย์ พั ฒ นาเด็กเล็ กบ้านเหล่ าอินทร์แปลงสั งกัดเทศบาลตาบลช่องเม็กจะใช้ศิล ปะ นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต รมป.2 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต *


สร้างสรรค์ครูอธิบายถึงสิ่งที่เด็กควรทาและไม่ควรทาในการใช้อุปกรณ์สาหรับวาดภาพ เช่น ดินสอไม่ ควรเอามาจิ้มเพื่อนเพราะทาให้เกิดอันตราย สีไม่ควรกัด กินและนาเข้าไปในจมูก ขั้นสอน ครูนาอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับวาดภาพมาอธิบายการวาดภาพให้เด็กฟังมีกระดาษ ดินสอ สีเทียน ครูแจกอุปกรณ์ให้เด็กสีครูจะแจกเด็กระบายเป็นกลุ่มเพราะเด็ กจะได้รู้จักการทางานเป็นกลุ่ม รู้จักแบ่งปันสิ่งของให้แก่ผู้อื่นครูแนะนาว่าเมื่อทางานเสร็จให้เด็กช่วยกันเก็บอุปกรณ์เข้าที่ให้เรียบร้อย ขั้นสรุป ในการทากิจกรรมครูควรปล่อยให้เด็กทางานด้วยตัวเองอย่างอิสระครูเพียงแค่คอย ดูแลอยู่ห่างๆ เพื่อเป็นการกระตุ้นจินตนาการให้เด็กมีพัฒนาการที่ดีเด็กควรได้รับการยอมรับและคา ชื่นชมเพื่อเป็น เอกสารอ้างอิง กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2551). รูปแบบการเรียนการสอนปฐมวัยศึกษา. กรุงเทพฯ: เบรน - เบส บุ๊คส์. ขวัญฟ้า รังสิยานนท์. (2555). สอนหนูให้เป็นเด็กดีต้องเริ่มที่ใจ. กรุงเทพฯ: แปลนสารา. จีระพันธุ์ พูลพัฒน์ และคณะ. (2544). คู่มือการสอนแบบมอนเตสซอรีจากทฤษฎีนาสูการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป แมนเนจเม้นท์. ชนาธิป พรกุล. (2554). การสอนกระบวนการคิดทฤษฎีและการนาไปใช้. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ทวีป อภิสิทธิ์. (2554). การศึกษาตามอัธยาศัย : การศึกษาของโลกยุคใหม่ที่มาแรง. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.


ชื่อ สถานที่ทางาน

นางณิชธดากรณ์ ใจแก้ว นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรการศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเหล่าอินทร์แปลง ตาบลช่องเม็ก อาเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี จานวนเด็กที่ดูแล 184 คน


การใช้เพลงบรรเลงเพื่อส่งเสริมการมีสมาธิของเด็กปฐมวัย Using instrumental music to promote meditation of early childhood concentrate สุนันทา บัวมาศ Sunantha Baumad บทคัดย่อ บทความนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะเสนอถึงความสาคัญของดนตรีสาหรับเด็กปฐมวัย มีวัตถุประสงค์ เพื่อแก้ปัญหาเด็กที่ไม่มีสมาธิ และปรับพฤติกรรมเด็กให้พร้อมในการเรียนรู้ในการจัดประสบการณ์ การเรี ย นรู้ให้ กับ เด็กจ านวน 55 คน ในศูนย์พั ฒ นาเด็กเล็ กบ้านสวนป่า -ห้ วยน้ าใส สั งกัดองค์การ บริหารส่วนตาบลช่องเม็ก อาเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี การจัดการเรียนรู้ให้กับเด็กจะมี 3 ขั้นตอน ขั้นเตรียมใช้เพลงบรรเลงฝึกสมาธิสาหรับเด็ก ซึ่ง เป็นเพลงที่จัดทาขึ้นเพื่อใช้ในกิจกรรมฝึกสมาธิของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสวนป่า -ห้วยน้าใส ก่อน การเริ่มการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กในแต่ละวัน ขั้นสอนกิจกรรมสร้างสรรค์ เปิดเพลง บรรเลงเสียงน้าใหลเบาๆ สร้างบรรยากาศให้เด็กรู้สึกผ่อนคลาย เพลิดเพลิน และมีสมาธิในการทา กิจกรรมสร้างสรรค์ ขั้นสรุป เด็กมีสมาธิมากขึ้น ผลจากการจัดกิจกรรมการเตรียมเด็กโดยใช้เพลงฝึ กสมาธิสาหรับเด็กนั้น จากการสั งเกต พฤติกรรมเด็กพบว่า เด็กมีสมาธิสามารถทากิจกรรมต่างๆ ได้ดี ตั้งใจฟังนิทาน ฟังอย่างตั้งใจและ สามารถสนทนาและตอบค าถามคุ ณ ครูได้ ถู กต้ อ ง ในการใช้ เพลงบรรเลงเสี ย งน้ าไหลในขณะท า กิจกรรมสร้างสรรค์ จากการสังเกตพฤติกรรมพบว่า เด็กมีสมาธิจดจ่อกับสิ่งที่ทามากขึ้น มีทักษะใน การใช้ความคิด และการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ โดยประเมินพัฒนาการจากใบงานที่เด็กทา ซึ่งมี พัฒนาการที่ดีขึ้น จึงสามารถสรุปได้ว่าการใช้เพลงบรรเลงสามารถส่งเสริมการมีสมาธิของเด็กปฐมวัย ได้ดี คาสาคัญ : เพลงบรรเลง ส่งเสริมสมาธิ สมาธิเด็กปฐมวัย Keyword : Instrumental Music, Promote meditation, Early childhood concentrate


การใช้เพลงบรรเลงเพื่อส่งเสริมการมีสมาธิของเด็กปฐมวัย สุนันทา บัวมาศ* เด็กปฐมวัยที่มีอายุในช่วง 2-5 ปี เป็นช่วงอายุที่มีความสาคัญอย่างยิ่งในการวางรากฐานการ เรียนรู้และการพัฒนาทักษะพื้นฐานของเด็กปฐมวัยทั้งทางด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา การมีสมาธิทาให้เด็กปฐมวัยสามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้อย่างเต็มศักยภาพ ในการ จั ด ประสบการณ์ ก ารเรี ย นรู้ ใ ห้ กั บ เด็ ก ปฐมวั ย ปั ญ หาที่ พ บบ่ อ ยคื อ เด็ ก ไม่ มี ส มาธิ ใ นขณะจั ด ประสบการณ์ การเรีย นรู้ เด็กจะขาดสมาธิที่จะตั้งใจฟั งครู ไม่ตั้งใจเรียน เมื่อไม่ มีส มาธิก็จะยุกยิก ตลอดเวลา แกล้งเพื่อน ชวนเพื่อนคุย ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้จะมีผลต่อการเรียนรู้ของเด็ก ดังนั้นการ ส่งเสริมให้เด็กมีสมาธิจึงมีความสาคัญมาก ความสาคัญของดนตรีสาหรับเด็กปฐมวัย การจัดประสบการณ์ สาหรับเด็กปฐมวัย ตั้งอยู่บนแนวคิดซึ่งใครจะจัดประสบการณ์ แบบใด ขึ้นอยู่กับความเชื่อของแต่ละบุคคลคล แต่การทาให้การจัดประสบการณ์สาหรับเด็กบรรลุผลตาม เป้าหมายได้นั้น สิ่งสาคัญคือบทบาทของครู ไม่ว่าจะเกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อม การจัดกิจกรรม ล้วนแต่เป็นหน้าที่ครูในการวางแผนให้เด็กมี ทัศนคติที่ดีต่อการเรียน อันจะนาไปสู่เป้าหมายนั้น (นง เยาว์ คลิกคลาย. 2543 : 21) ดนตรีเข้ามามีบทบาทและเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาด้านต่างๆ ของ เด็กปฐมวัย เพราะดนตรีทาให้เด็กเกิดความรู้สึกสุข สนุกสนาน ทาให้เด็ก ได้ใช้จินตนาการ ถ้าได้รับ การส่งสริมให้ได้แสดงออกทางดนตรี จะได้พัฒนา ทางด้านจิตใจ อารมณ์ ความคิด จินตนาการและ สังคม จะเป็นแรงผลักดัน ให้เด็กมีความมั่นคงทางอารมณ์ มีสุขภาพจิตดีและสุขภาพกายดี และเป็น คน ที่ มี ค วามเชื่ อ มั่ น ในตนเอง (พั ช รี วาศวิ ท . 2534 : 38-48) ส่ ว นหนึ่ ง ของชี วิ ต เด็ ก ดนตรี มี ความสาคัญในการพัฒ นาเด็กในช่วง ปฐมวัย คุณค่าของดนตรีคือ ให้โอกาสเด็กได้แสดงออกอย่าง เปิดเผย โดยไม่มี ความระแวง หรือไม่สบายใจ การที่เด็กได้รับประสบการณ์ทางดนตรี เด็กจะ เกิด ความรักและความชื่นชมต่อดนตรีและดนตรียังช่วยให้เด็กเข้าใจถึง วัฒนธรรมและผู้อื่นได้ (Ramsey & Bayless. 1980 : 143-144) เสี ย งดนตรียั งช่ว ยกระตุ้ น สมอง ช่ ว ยเสริม พั ฒ นาการด้ านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา การพัฒนาการรับฟังหรือการได้ยิน เสียงดนตรีมีส่วนช่วยกระตุ้นและ เป็นพื้นฐานแรกสาหรับการฟัง (แพง ชินพงศ์. 2550 : 15-17) และพัฒนาการที่เกิดขึ้นเมื่อเด็กปฐมวัย ได้เข้าร่วมการจัดกิจกรรมดนตรีนั้น ดนตรีช่วยลดภาวะการพูดช้า ไม่กล้า หวาดกลัว สมาธิน้อย และ ซึมเศร้าของเด็กปฐมวัย ยังช่วยให้เด็กปฐมวัยเกิดสมาธิ มีอารมณ์ที่ดี มี ความจาที่แม่นยาและเกิด

นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต รมป.2 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต *


ความรู้ สึ กซาบซึ้งในเสี ย งดนตรี เด็กมีพั ฒ นาการที่ดีขึ้น ดนตรีจึงเป็ นส่ ว นหนึ่ งที่ท าให้ เด็กปฐมวัย สามารถอยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมีความสุข(ถาวรดา จันทนะสุต. 2557 : 21) ขั้นตอนและวิธีการในการใช้เพลงบรรเลงเพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีสมาธิ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็ก จานวน 55 คน ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสวนป่า ห้วยน้าใส สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลช่องเม็ก อาเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี โดยการ ใช้เพลงบรรเลงเพื่อส่งเสริมการมีสมาธิของเด็กปฐมวัย เป็นเวลา 4 สัปดาห์ เริ่มตั้งแต่วันจันทร์ ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ถึง วันศุกร์ ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 ขั้นเตรียม คุณครูให้เด็กนั่งเป็นรูปตัว U ก่อนการเริ่มการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ให้กับเด็กในแต่ละ วัน ครูจะพาเด็กนั่งทาสมาธิโดยใช้เพลงฝึกสมาธิสาหรับเด็ก ซึ่งเป็นเพลงที่จัดทาขึ้นเพื่อใช้ในกิจกรรม ฝึกสมาธิของศูน ย์พั ฒ นาเด็กเล็ กบ้ านสวนป่า -ห้ วยน้าใส สั งกัดองค์การบริห ารส่วนตาบลช่องเม็ก อาเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี เป็นกิจกรรมคืนความสงบให้ แก่โลก โดยการร่วมร้องและทาท่า ประกอบเพลงดั่งดอกไม้บ าน ของเสถียรธรรมสถาน จากนั้นก็เริ่มหลั บตาทาสมาธิประกอบเพลง บรรเลงเบาๆ และจบด้วยการร่วมร้องเพลงและทาทางประกอบเพลงแผ่เมตตา ของเสถียรธรรมสถาน เพื่อมอบความสงบและความรักให้แก่สรรพสิ่งบนโลกที่สวยงามใบนี้ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อม ให้กับเด็ก ขั้นสอน ครูนาเข้าสู่บทเรียนโดยใช้เพลงที่หลากหลายในกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ซึ่งเพลงที่ใช้ ประกอบด้วย เพลงชื่อของฉัน เพลงตา เพลงส่วนประกอบของร่างกาย เพลงมือของฉัน เพลงทาความ สะอาดมือ เพลงอาบน้า โดยคุณครูจะสังเกตการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่และการเคลื่อนไหวอยู่กับที่ของ เด็กแต่ละคน สังเกตการร่วมกิจกรรมกับผู้อื่น สังเกตการร้องเพลงการทาท่าทางประกอบเพลงของเด็ก กิจกรรมเสริมประสบการณ์จะใช้นิทานนาเข้าสู่บทเรียน โดยนิทานที่ใช้ประกอบด้วย นิทานถนนสาย ฟ.ฟัน นิทานพี่เสือดาวไม่ทานผัก และนิทานบทเรียนของน้องเกม คุณครูจะสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดเห็น โดยใช้คาถามกระตุ้นให้เด็กได้คิด คุณครูจะสังเกตการร่วม สนทนาและการตอบค าถาม กิ จ กรรมสร้ า งสรรค์ คุ ณ ครู จ ะพาเด็ ก ๆ ท ากิ จ กรรมสร้ า งสรรค์ ที่ หลากหลาย เช่น วาดภาพศูนย์เด็กของหนูตามจิตนาการ วาดภาพคุณครูที่หนูรักตามจินตนาการ ปั้น ดินน้ามันเป็นรูปสัตว์ที่เด็กชอบ การระบายสีภาพตา ภาพหู ภาพใบหน้าคน ภาพปาก ภาพมือ การ ระบายสีภาพด้วยแปรงสีฟัน การฝนสีภาพใบไม้ โดยในระหว่างการปฏิบัติกิจกรรมคุณครูจะเปิดเพลง บรรเลงเสียงน้าใหลเบาๆ สร้างบรรยากาศให้เด็กฟังด้วย เพื่อให้เด็กรู้สึกผ่อนคลาย เพลิดเพลิน และมี สมาธิในการทากิจกรรมสร้างสรรค์มากขึ้น คุณครูเดินดูเด็กๆ ทุกคนทากิจกรรมและพูดให้กาลังใจใน การทากิจกรรมกิจกรรมเสรี คุณครูจะให้เด็กๆ เล่นตามมุมต่างๆ อย่างอิสระตามความสนใจของเด็ก แต่ละคน โดยคุณครูจะดูแลอยู่ห่างๆ และแนะนาวิธีเล่นที่ถูกวิธี คุณครูจะสังเกตการเล่นร่วมกันของ เด็กแต่ละคน กิจกรรมกลางแจ้ง คุณครูจะพาเด็กไปปฏิบัติกิจกรรมที่สนามเด็กเล่น โดยให้เด็กเรียนรู้ ผ่านการเล่นเครื่องเล่นสนามและใช้เกมที่หลากหลาย เช่น เกมเดินกะลา เกมงูกินหาง เกมมอญซ่อน ผ้า เกมการโยน-รับบอล เกมการวิ่งเก็บของ เกมกระโดด 2 ขา เกมการวิ่งซิกแซกเก็บของ เกมนิ้วโป้ง


อยู่ไหน เกมรีรีข้าวสาร และเกมโพงพาง เพื่อให้เด็กได้ฝึกการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ สังเกตการร่วมกิจกกรรมของเด็ก การทรงตัว และการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่และกล้ามเนื้อมัดเล็ก เกม การศึกษา ครูจะใช้เกมที่หลากหลาย เช่น เกมจับคู่ภาพเหมือนอวัยวะ เกมจับคู่ภาพเหมือนกับเงา เกม เรียงลาดับภาพจมูกขนาดเล็ก-ใหญ่ เกมภาพตัดต่อปาก เกมจับคู่ภาพเหมือนอาหารดีมีประโยชน์ เกม จับคู่ภาพเหมือนถุงมือ เพื่อเด็กๆ จะได้รับประสบการณ์สาคัญด้านการจับคู่ การจาแนก และการจัด กลุ่ม และฝึกการมีความอดทน รอคอยแบ่งปัน และช่วยเหลือกัน สังเกตการแก้ปัญหาในการเล่น การ ทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่นของเด็กแต่ละคน ขั้นสรุป จากการปฏิบัติกิจกรรม 6 หลักของเด็ก กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เด็กๆ สามารถร้อง เพลงและทาท่าทางประกอบเพลงได้อย่างถูกต้อง สามารถเคลื่อนไหวเคลื่อนที่และเคลื่อนไหวอยู่กับที่ ได้ดี กิจกรรมเสริมประสบการณ์เด็กมีสมาธิในการฟังนิทาน ฟังเรื่องราวที่คุณครูอธิบาย และสามารถ สนทนาและตอบคาถามได้อย่างถูกต้อง กิจกรรมสร้างสรรค์ซึ่งมีการเปิดเพลงบรรเลงเสียงน้าไหลให้ เด็กฟั งขณะท ากิ จ กรรม เด็ กมีส มาธิจดจ่อ กับสิ่ งที่ ท ามากขึ้น มีทั กษะในการใช้ความคิ ด และการ แสดงออกอย่างสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี เด็กสามารถเลือกเล่นกิจกรรมที่ตนเองสนใจ โดยรู้จักการรอ คอยและแบ่ งปั น กิ จ กรรมกลางแจ้ งเด็ ก ๆ สามารถทรงตั ว ได้ ดี สามารถใช้ก ล้ ามเนื้ อมั ด เล็ ก และ กล้ามเนื้อมัดใหญ่ในการทากิจกรรมอย่างคล่องแคล่ว เกมการศึกษา เด็กสามารถแก้ปัญหาในการเล่น เกมการศึกษาและรู้ จั กการรอคอยและแบ่งปั น และช่ว ยเหลื อ กัน เด็ กทุกคนสามารถทากิจกรรม ร่วมกับผู้อื่นได้ดี ผลของการใช้เพลงบรรเลงเพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีสมาธิ จากการใช้เพลงบรรเลงเพื่อส่งเสริมการมีสมาธิของเด็กปฐมวัย กับเด็ก 55 คน ที่ศูนย์พัฒนา เด็กเล็กบ้านสวนป่า -ห้วยน้าใส เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ผลปรากฎว่า การเตรียมเด็กโดยใช้เพลงฝึกสมาธิ สาหรับเด็กนั้น จากการสังเกตพฤติกรรมเด็กพบว่า เด็กมีสมาธิสามารถทากิจกรรมต่างๆ ได้ดี ตั้งใจฟัง นิทาน ฟังอย่างตั้งใจและสามารถสนทนาและตอบคาถามคุณครูได้ถูกต้อง ในการใช้เพลงบรรเลงเสียง น้าไหลในขณะทากิจกรรมสร้างสรรค์ จากการสังเกตพฤติกรรมพบว่า เด็กมีสมาธิจดจ่อกับสิ่งที่ทามาก ขึ้น มีทักษะในการใช้ความคิด และการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ โดยประเมินพัฒนาการจากใบงานที่ เด็กทา ซึ่งมีพัฒนาการที่ดีขึ้น จึงสามารถสรุปได้ว่าการใช้เพลงบรรเลงสามารถส่งเสริมการมีสมาธิของ เด็ ก ปฐมวัย ได้ ดี ซึ่ งสอดคล้ อ งกั บ ถาวรดา จั น ทนะสุ ต (2557 : 13)กล่ าวว่า พั ฒ นาการทางด้ า น อารมณ์ ดนตรี ช่ ว ยลดความกดดั น ทาง อารมณ์ ช่ ว ยผ่ อ นคลายความตึ งเครี ย ด เด็ ก ได้ ฝึ ก ปรั บ พฤติกรรมและมีพัฒนาการทางอารมณ์ที่ ดีขึ้น เมื่อฟังดนตรีจะเกิดอารมณ์สุขสดชื่น สบายและ เกิด จินตนาการร่วมกับเสียงดนตรี เช่น ผ่อนคลายอารมณ์ สดชื่น สนุกสนาน เพราะดนตรีช่วยกระตุ้นการ หลั่งสารแห่งความสุขจากสมองได้ เด็กมีสมาธิ ตลอดจนมีทักษะในการเรียนรู้ที่ดีขึ้น


เอกสารอ้างอิง ถาวรดา จันทนะสุต. (2557). พัฒนาการของเด็กปฐมวัยสร้างได้ด้วยดนตรี. ปทุมธานี : สถาบันวิจัย และพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. นงเยาว์ คลิกคลาย. (2543). ความสามารถด้านการฟังและการพูดของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัด กิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยการใช้เพลงประกอบ. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การศึกษา ปฐมวัย). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. แพง ชินพงศ์. (2550). ดนตรีแสนสุข. กรุงเทพฯ, แฮ้ปปี้แฟมิลี่. พัชรี วาศวิท. (2534). ดนตรีสาหรับเด็กก่อนเรียน. วารสารคหเศรษฐศาสตร์, 31(2), 37-42. Bamsey, M.E., & Bayless. K.M. (1980). Kindergarten : program and practices. St. Louis : The C. V. Mosby.

ชื่อ

สถานที่ทางาน ตาแหน่ง

นางสาวสุนันทา บัวมาศ นักศึกษาสาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสวนป่า - ห้วยน้าใส สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลช่องเม็ก อาเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก จานวนเด็กที่ดูแล 55 คน


การจัดการเรียนรู้โดยผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมจินตนาการของเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนา เด็กเล็กบ้านทุ่งหนองบัว ตาบลช่องเม็ก อาเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี Academic text about the creative activities To promote childhood's imagination Ban ThungnongBua children Center, Chongmek sub-district, Sirindhorn District, Ubonratchathani นางสาวศรีจันทร์ ผลสวัสดิ์ SRIJAN PHONSAWAT บทคัดย่อ จากการศึกษากิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมจินตนาการเด็กปฐมวัยเป็นการจัดการเรียนรู้มี วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านความคิดจินตนาการสร้างสรรค์ การจัดกิจกรรมครั้งนี้ใช้ เด็กหญิง-ชาย อายุระหว่าง 2-6 ปี จานวน 36 คน ของศูนย์พัฒ นาเด็กเล็กบ้านทุ่งหนองบัว สังกัด องค์การบริหารส่วนตาบลช่องเม็ก อาเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งมีวิธีการจัดกิจกรรมเป็น 3 ขั้นตอนดังนี้ 1 ขั้นเตรียม กิจกรรมในวงกลมครูนาเด็กเข้าสู่บทเรียนโดย การเล่านิทาน การท่องคา คล้องจอง ร้องเพลง ใช้ปริศนาคาทาย 2 ขั้นสอน ครูกับเด็กร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่สอนซึ่งต้อง เตรียมแผนการสอนแต่ละสัปดาห์ไว้ โดยใช้คาถามปลายเปิดเพื่อให้เด็กเกิดจินตนาการ อธิบาย สาธิต วิธีการทางาน 3 ขั้นสรุป ครูเด็กร่วมกันสรุปเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน ตรวจผลงานเด็กเปิดโอกาสให้เด็ก ได้เล่าถึงผลงานของตนเองซึ่งทั้ง 3 ขั้นตอนนี้จะผ่านกิจกรรมทั้ง 6 กิจกรรม คือ 1 กิจกรรมเคลื่นไหว และจังหวะ 2 กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 3 กิจกรรมสร้างสรรค์ 4 กิจกรรมเสรี 5 กิจกรรมกลางแจ้ง 6 กิจกรรมเกมการศึกษา รวมระยะเวลา 4 สัปดาห์ ผลจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่า นกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมจินตนาการเด็กปฐมวัยวัดจาก การสังเกตเป็นรายบุคคล พบว่าเด็กมีพัฒนาการที่ดีขึ้น สามารถตอบคาถาม แสดงความคิดเห็นได้ เล่น เกมการศึกษาได้ถูกต้อง เด็กสามารถเล่าประกอบผลงานของตนเองได้อย่างมีจินตนาการรู้จักชื่นชม ผลงานตนเองและผู้ อื่ น เด็ ก สามารถสร้า งสรรค์ ผ ลงานตามจิ น ตนาการได้ อ ย่ า งสร้ างสรรค์ ดี ขึ้ น ตามลาดับ คาสาคัญ : การเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการ Key Words : Learning Creative imagination


การจัดการเรียนรู้โดยผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมจินตนาการของเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนา เด็กเล็กบ้านทุ่งหนองบัว ตาบลช่องเม็ก อาเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี ศรีจันทร์ ผลสวัสดิ*์ สมองของมนุษย์สามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ต่อเนื่องโดยไม่มีขีดจากัด ดังนั้นในการพัฒนา ของเด็กเล็กในช่วงเริ่มต้นวัย 2-6 ปี ถือว่ามีความสาคัญต่อการพัฒ นาในด้านต่างๆ ทั้งด้านทัศนคติ พัฒ นาการทางอารมณ์ และการพัฒ นาด้านทักษะการรับรู้ทางด้านสมองระบบประสาทต่างๆ เด็ก ในช่วงวัยนี้โครงสร้างสมองซีกขวาซึ่งเกี่ยวกับศิลปะ จินตนาการความคิดสร้างสรรค์ดีมาก ถ้าส่งเสริม อย่างถูกทิศถูกทางจะทาให้เกิดพัฒ นาการอย่างต่อเนื่อง แต่เมื่อไหร่ที่เราไปขัดขวางพัฒ นาการ บีบ บังคับ สร้างความเป็นระบบแบบแผนมากเกินไปล้วนแล้วแต่เป็นตัวขัดขวางจินตนาการและความคิด สร้างสรรค์ของเด็ก ความสาคัญของการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ การจัดกิจกรรมให้เด็กมีความคิดจินตนาการที่สร้างสรรค์นั้นคือการสร้างความเจริญงอกงาม ทั้งด้านความคิด ร่างกาย และพฤติกรรม ส่วนศิลปะสร้างสรรค์ คือ เครื่องมือที่ดี และเหมาะสมที่สุด ในการส่งเสริมความคิดจินตนาการสร้างสรรค์เพราะกระบวนการทางศิลปะสร้างสรรค์ไม่มีขอบเขต แห่งการสิ้นสุด สามารถสร้างความเพลิดเพลินให้ แก่เด็กได้ตลอดเวลานอกจากนี้ยังช่วยให้ เด็กเกิด ความคิดที่ต่อเนื่องอย่างไม่จบสิ้น และก้าวไปยังโลกแห่งจินตนาการอย่างไม่มีขอบเขต การเรียนรู้ของ เด็กปฐมวัยโดยผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์เป็นการเปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดจินตนาการได้เต็มที่ ตามที่ได้เห็น เด็กสามารถสร้างจินตนาการได้กว้างกว่าที่เราจะคาดเดาได้ บางทีก็อาจจะสะท้อนจิตใจ ความรู้สึกของเด็ก ความสาคัญของความคิดจินตนาการสร้างสรรค์ ไอสไตน์กล่าวว่า จินตนาการมีคุณค่ากว่าความรู้มากนัก ส่วนไดซารีริ กล่าวว่า จินตนาการ ของคนเรา มีความสัมพันธ์เป็นอย่างยิ่งกับกาาเปลี่ยนแปลงภาพพจน์ตนเอง จึงควรฝึกออกกาลังสมอง ด้วยการจินตนาการให้มากพอๆ กับการออกกาลังกายในแต่ละวัน ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ ได้กาหนดสาระการเรียนรู้ไว้ประกอบเป็น 2 ส่วน คือ ประสบการณ์สาคัญและสาระที่ควรเรียนรู้ ทั้งสองส่วนใช้เป็นสื่อกลางในการจัดประสบการณ์ เพื่อ ส่งเสริมพัฒนาการทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา โดยครอบคลุมพัฒนาการเด็ก 4 ด้านดังนี้ 1.ประสบการณ์สาคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้พัฒนา กล้ามเนื้อเล็ก จากการเขียนภาพและการเล่นสี เช่น กิจกรรมเขียนภาพด้วยสีเทียน สีน้า เป่าสี ทับสี ปั้นดินเหนียว ดินน้ามัน งานประดิษฐ์จากเศษวัสดุเป็นต้น 2.ประสบการณ์สาคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการ นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต รมป.2 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต *


ด้านอารมณ์ เป็นประสบการณ์ทางสุนทรียภาพ 3.ประสบการณ์สาคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม เป็นประสบการณ์ให้เด็กเรียนรู้ทางสังคม ด้วยการเล่นและทางานร่วมกับผู้อื่น มีการวางแผนตัดสินใจ เลือกและลงมือปฏิบัติ ให้เด็กมีโอกาสได้รับรู้ความรู้สึก ความสนใจ ความต้องการของตนเองและผู้อื่น เช่น การเลือกทากิจกรรมสร้างสรรค์ตามความสนใจ การฟังความคิดเห็นของเด็กคนอื่น การรู้จักรอ คอยที่จะใช้อุปกรณ์ร่วมกับผู้อื่น การรู้จักแบ่งปันวัสดุ ของใช้ เป็นต้น 4.ประสบการณ์สาคัญที่ส่งเสริม พัฒ นาการด้านสติปัญญา เป็น ประสบการณ์ที่ส่งเสริมความคิดของเด็ก เกี่ยวกับการรับรู้ และการ แสดงความรู้ผ่านสื่อ วัสดุ และผลงาน เช่น การวาดภาพ ระบายสี ปั้นดิน ประดิษฐ์ เป็นต้น เด็กใน ระดับชั้นปฐมวัย จึงจาต้องสร้างกระบวนการเรียนรู้ เน้นให้เด็กเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน เมื่อ เขาสนุกและเพลิดเพลิน แล้วจะทาให้เขาสามารถคิดอะไรได้แปลกใหม่อย่างมีอิสระ และเสรีภาพ ครู ควรสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้เด็กต้องเข้าใจ มิฉะนั้นจะไม่สามารถสร้างสถานการณ์ของการเรียน การสอนได้ในการพัฒนาเสรีภาพ การเขียน การคิดจินตนาการที่สร้างสรรค์ได้อย่างแท้จริง ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมจินตนาการของเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งหนองบัว สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลช่องเม็ก อาเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี มีเด็กในความรับผิดชอบ ปีการศึกษา 2558 จานวน 36 คน อายุระหว่าง 2-6 ปี โดยการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ผ่ านกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมจินตนาการนี้มีระยะเวลา ดาเนินการตั้งแต่วันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน - วันศุกร์ที่ 3 กรกฎาคม 2558 รวมระยะเวลา 4 สัปดาห์ ใน การจัดกิจกรรมครูต้องเอาใจใส่จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรี ยนรู้ทั้งสภาพห้องเรียน การจัดหาสื่อ อุปกรณ์ให้พร้อม มีแผนการจัดกิจกรรมไว้ล่วงหน้า และดาเนินการจัดกิจกรรมตามแผน ส่งเสริมให้ เด็กได้เลือกปฏิบัติกิจกรรมสร้างสรรค์อย่างหลากหลาย อย่างน้อยวันละ 2 กิจกรรม ขั้นเตรียม กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ครูให้เด็กจับมือเป็นวงกลม เคลื่อนไหวร่างกายอย่างอิสระ ตามจังหวะไปรอบๆ บริเวณวงกลม เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดในท่านั้นทันที เด็กทาท่าทางตาม จินตนาการประกอบคาบรรยาย เช่นตั้งบทบาทสมมุติให้เด็กเป็นนกแล้วโบยบินขึ้นสู่ท้องฟ้าสูง บินต่า ลงมาดูดน่หวานจากเกสรดอกไม้ า เคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์ซึ่งอุปกรณ์อาจเป็น บล็อกไม้ กิ่งไม้ ดอกไม้ หรือสิ่งที่ครูประดิษฐ์ขึ้นเพื่อใช้ประกอบแผนการจัดประสบการณ์ตามหน่วยที่เรียนรู้ในแต่ละ สัปดาห์ การปฏิบัติตนเป็นผู้นา-ผู้ตาม ทาท่าทางประกอบเพลง การปฏิบัติตามคาสั่ง-ข้อตกลง เด็ก ปฏิบัติตาม 2-3 ครั้งเพื่อความสุข สนุกสนานเพลิดเพลิน จากนั้นให้เด็กผ่อนคลายกล้ามเนื้อโดยจับมือ เป็นวงกลมแล้วนอนราบกับพื้นหลับตานิ่งสักครู่ ขั้นสอน กิ จ กรรมเสริ ม ประสบการณ์ ครู ใ ห้ เ ด็ ก นั่ ง เป็ น รู ป ตั ว ยู (U) ในการจั ด กิ จ กรรมเสริ ม ประสบการณ์นี้ครูนาเด็กเข้าสู่บทเรียนโดยการท่องคาคล้องจอง การร้องเพลง การเล่านิทาน การใช้ ปริศนาคาทาย กิจกรรมเล่านี้ล้วนแต่ส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของเด็กซึ่งแล้วแต่ว่า ครูจะมีแผนการจัดประสบการณ์ตรงกับหน่วยอะไรในสัปดาห์ที่สอน โดยปฏิบัติดัง่น้ ร้องให้เด็กฟัง 2 รอบ เด็กร้องตามทีละวรรคแล้วร้องพร้อมกัน ในการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เนื้อหาต้องไม่เกิน


15 นาที ครูควรใช้คาถามให้เด็กเกิดจินตนาการในการคิดที่สร้างสรรค์ เช่น อย่างไร ทาไม เพราะเหตุ ใด ควรทาอย่างไร เป็นต้น เมื่อเสร็จจากกิจกรรมเสริมประสบการณ์แล้วเด็กจะเก็บอุปกรณ์ช่วยกัน จากนั้นจึงเริ่มต้น (กิจกรรมสร้างสรรค์) ในการจัดกิจกรรมครูเด็กช่วยกันเตรียมอุปกรณ์ ครูแนะนา สาธิตวิธีการทากิจกรรม การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ ครูควรส่งเสริมจัดกิจกรรมให้เด็กมีประสบการณ์ ตรงและฝึกปฏิบัติอย่างหลากหลาย ได้แก่ การวาดภาพระบายสี การปั้น การพิมพ์ภาพ การพับ การ ตัด การฉีกปะ ตลอดจนการประดิษฐ์เศษวัสดุฯลฯ กิจกรรมสร้างสรรค์ครูควรระลึก อยู่เสมอว่า ศิลปะ สร้างสรรค์สาหรับเด็กมิได้เน้นให้เด็กทาได้สวยหรือเหมือนของจริง แต่ทาเพื่อจินตนาการและให้เด็กได้ พัฒ นาครบทุกด้านจากการทากิจกรรมนี้ ครูควรให้ โอกาสเด็กอธิบายผลงานของตนเองและชื่นชม ผลงานของตนเอง ครูควรมีคาถามให้ เด็กได้คิดและเชื่อมโยงไปสู่การใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง และกิจกรรมเกมการศึกษา เป็นการเลือกทากิจกรรมสร้างสรรค์ตาม ความสนใจ ดังนั้นครูจึงควรแนะนาทบทวนข้อตกลงในการทากิจกรรม เมื่อทากิจกรรมเสร็จต้องเก็บ อุปกรณ์เข้าที่ ให้เรียบร้อย กิจกรรมเหล่านี้เป็นการฝึกประสบการณ์ให้เด็กเรียนรู้ทางสังคม ด้วยการ เล่น และท างานร่ วมกับ ผู้ อื่น มีการวางแผนตัดสิ นใจเลื อกและลงมือปฏิบั ติ ให้ เด็กมีโอกาสได้รับ รู้ ความรู้สึก ความสนใจ ความต้องการของตนเองและผู้อื่น เช่น การรับฟังความคิดเห็นของเด็กคนอื่น การรู้จักรอคอยที่จะใช้อุปกรณ์ร่วมกับผู้อื่น การรู้จักแบ่งปันวัสดุ ของใช้ เช่นการเล่นตามมุมบล็อกไม้ มุมตัวต่อจิกซอ มุมเกมการศึกษา มุมตุ๊กตาอาชีพ มุมหนังสือ ส่วนการเล่นเกมกลางแจ้ง เช่น เกมเสือ กินวัว มอญซ้อนผ้า รีๆ ข้าวสาร อีตัก การเล่นเครื่องเล่นสนาม เกมการศึกษา มีการตัดต่อภาพ ต่อ ภาพกับ เงา เรีย งล าดับ เล็ ก -ใหญ่ จั บ คู่รูป ภาพพยั ญ ชนะ กั บ ภาพ เป็ น ต้น ซึ่งการจัด กิจ กรรมนั้ น แล้วแต่ว่าครูจะมีแผนการจัดประสบการณ์ตรงกับหน่วยอะไรในสัปดาห์ที่สอน ขั้นสรุป ครูและเด็กร่วมกันสรุปเนื้ อหาที่เรียนจากการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ซึ่งจะเห็ นว่ากิจกรรม สร้างสรรค์จะเป็นการฝึกกล้ามเนื้อมือให้แข็งแรง และสัมพันธ์กับการใช้ตา เช่นการปั้นแป้ง ดินน้ามัน วาดรูป และระบายสี เด็กได้ใช้ส่วนต่างๆ ของนิ้วมือ แขนไหล่และส่วนอื่น ๆ ของร่างกาย เป็นการ เตรียมความพร้อมในด้านการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ -เล็กเป็นอย่างดี ทาให้เด็กสามารถหยิบจับสิ่งต่างๆ ได้ อันจะนาไปสู่การเรียนรู้ของเด็กต่อไป การจัดกิจกรรมศิลปะให้กับเด็กปฐมวัยในแต่ละวัน นับว่ามี ความสาคัญ อย่างยิ่งสาหรับ เด็กปฐมวัย นอกจากจะได้พัฒ นาความแข็งแรงของกล้ ามเนื้อเล็ กการ ประสานสัมพันธ์ระหว่าง มือกับสายตาแล้ว กิจกรรมสร้างสรรค์ยังสอดคล้ องกับแบบแผนการเรียนรู้ ของสมอง ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมจินตนาการ จากการสังเกตเด็กเป็นรายบุคคลเด็กสามารถเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย ปฏิบัติตาม สัญญาณ ปฏิบัติตามคาสั่ง-ข้อตกลงได้ สามารถร่วมกิจกรรมกลางแจ้งได้ เด็กทาท่าทางประกอบคา บรรยายทาท่าทางประกอบเพลงได้อย่างมีจินตนาการสนุกสนานร่าเริงแจ่มใสเพลิดเพลินด้วยความสุข เด็กสามารถร่วมกิจกรรมตามความสนใจ มีความคิดจินตนาการสร้างสรรค์ เด็กสามารถร่วมกิจกรรม กับผู้อื่นได้ สามารถเก็บอุปกรณ์เข้าที่เมื่อเล่นเสร็จรู้จักการอดทนรอคอยการใช้อุปกรณ์ต่อจากเพื่อน รู้จักการแบ่งปันขนม ของเล่นให้ผู้อื่น เด็กสามารถร่วมสนทนา ตอบคาถามแสดงความคิดเห็นได้ เล่น


เกมการศึกษาได้ถูกต้อง เด็กสามารถเล่าประกอบผลงานของตนเองได้อย่างมีจินตนาการรู้จักชื่นชม ผลงานตนเองและผู้อื่น เด็กสามารถสร้างสรรค์ผลงานของตนเองตามจินตนาการได้อย่างสร้างสรรค์ เอกสารอ้างอิง กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2543). การสอนแบบจิตปัญญา: แนวการใช้ในการสร้างแผนการสอนระดับ. อนุบาล. กรุงเทพฯ : เอดิสัน เพรสโปรดักส์. จีระพัน่ธ์ พูลพัฒน์ และคณะ. (2544). คู่มือการสอนแบบมอนเตสซอรีจากทฤษฎีสู่แนวทางนาไป ปฏิบัต.ิ กรุงเทพฯ : เดอะมาสเตอร์กรุ๊ปแมนเนจเม้นท์. ศึกษาธิการ,กระทรวง. (2546). คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. (สาหรับเด็ก อายุ 3-5 ปี). กรุงเทพฯ : สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงาน คณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. ทสายสุรี จุติกุล. (2543). กระบวนการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : บางกอกบล็อก-ออฟเซต. อุมาพร ตังคสมบัติ. (2543). Everest พาลูกค้นหาความนับถือตนเอง. กรุงเทพฯ : ซันตาการพิมพ์.


ชื่อ สถานที่ทางาน

นางสาวศรีจันทร์ ผลสวัสดิ์ นักศึกษาสาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรการศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งหนองบัว ตาบลช่องเม็ก อาเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี จานวนเด็กที่ดูแลทั้งหมด 36 คน


การจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีระเบียบวินัยใน ตนเองและรู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง Learning Management Activity Experience For Discipline And Previous Knowledge นางสาวธิดา คณะพันธ์ THIDA KHANAPHAN บทคัดย่อ การจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีระเบีย บวินัยแก่เด็ก ปฐมวัยอายุ สามขวบขึ้นไปในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดบ้านเป้าห้องอนุบาล 1/1 จานวน 15 คน ชายหญิงโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เด็กเป็นคนที่มีระเบียบวินัยรู้บทบาทหน้าที่ที่ตัวเองต้องทาในศูนย์พัฒนา เด็กเล็ กวัดบ้ านเป้ า ตาบลเหล่ าเสือโก้ก อาเภอเหล่ าเสือโก้ก จังหวัดอุบลราชธานี ให้ เด็กรู้จักการ ช่วยเหลือตัวเองเบื้องต้น เช่น การล้างมือ การใช้ห้องสุขาที่ถูกวิธีการทานอาหารด้วยตัวเองได้และรู้จัก เก็บสิ่งของเครื่องใช้ของตนเองให้ถูกที่ตามสัญลักษณ์ที่ตัวเองเลือกทั้งชั้นเก็บกระเป๋า แก้วน้า ที่แขวน แปรงและผ้าเช็ดหน้าโดยแบ่ งออกเป็น 3 ขั้นตอนคือ ขั้นนาเข้าสู่ บทเรียน ขั้นการจัดกิจกรรม ขั้น สรุปผลการจัดกิจกรรม ผลจากการจัดกิจกรรมด้วยการสังเกตเด็กได้ทากิจกรรมจะเห็นได้ว่าเด็กมีพัฒนาการดีขึ้นครบ ทั้งสี่ด้านเด็กสามารถตอบคาถามที่ครูถามและสนทนาโต้ตอบกับเพื่อนและครูได้จากการที่ครูเล่านิทาน และเพลงเก็บของเข้าที่ ความสาคัญ : การจัดการเรียนรู้ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เด็กมีระเบียบวินัยรู้บทบาทหน้าที่ Keyword : LEARNING MANAGEMENT ACTIVITY EXPERIENCE DISCIPLINE PREVIOUS KNOWLEDGE


การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีระเบียบวินัยในตนเอง และรู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง ธิดา คณะพันธ์* เด็กปฐมวัยต้องมีพัฒนาการการเรียนรู้ให้ครบทั้ง 4 ด้าน คือด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้าน สังคม ด้านสติปัญญา และช่วงอายุของเด็กปฐมวัยเริ่มนั้นนับจากแรกเกิดถึงห้าขวบ การที่จะให้เด็กวัย นี้มีระเบียบวินัยนั้นเราจะต้องปลูกฝังโดยการทาให้เด็กดูเป็นตัวอย่างเพราะเด็กวัยนี้โดยส่วนใหญ่แล้ว ผู้ปกครองจะยังไม่ได้ให้เด็กฝึกช่วยเหลือตัวเองตนเองเบื้องต้นขณะที่อยู่ที่บ้านเพราะยังคิดว่ายังเด็ก มากต้องมีผู้ใหญ่คอยช่วยเหลือทุกอย่างแต่ถ้าเด็กวัยนี้ต้องเริ่มเข้าสู่ รั้วศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเด็กจะต้อง เริ่มการที่จะต้องเข้าสู่ระบบ ระเบียบของทางศูนย์เด็ก เริ่มจากการไหว้ก็ยังไม่อยากทา การเก็บของก็ ยั งไม่ มีระเบี ย บเพราะอาจจะเป็ น เพราะที่ บ้ านไม่เคยสอนการทาเช่นนี้ เลยหรือ แม้แต่สิ่ งแวดล้ อ ม รอบตัวเด็กเองเริ่มจากครอบครัวไม่ทาให้เด็กดูเป็นตัวอย่างไม้กวาดไม่เคยจับให้ลูกเห็น ไม่เก็บของที่รก รุงรังเข้าที่ให้เป็นระเบียบเด็กก็จะซึมซับพฤติกรรมนี้มาใช้ในศูนย์เด็กฯ ความสาคัญของกิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้เด็กได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้ ฝึกการ ทางานและอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มทั้งกลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ กิจกรรมที่จัดมุ่งฝึกให้เด็กได้มีโอกาสฟัง พูด สังเกต คิดแก้ปัญหา ใช้เหตุผล และฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน โดยจัด กิจกรรมด้วยวิธีต่างๆ เช่น สนทนา อภิปราย เล่านิทาน สาธิต ทดลอง ศึกษานอกสถานที่ เล่นบทบาท สมมติ ร้องเพลง เล่ นเกม ท่องคาคล้องจอง ประกอบอาหาร เชิญวิทยากรมาพูดคุยกับเด็กการจัด กิ จ กรรมเสริ ม ประสบการณ์ ไ ด้ ส อดคล้ อ งกั บ ทฤษฎี ข องเพี ย เจต์ (Piaget) ซึ่ ง กล่ า วว่ า การจั ด ประสบการณ์ให้ เด็กนั้ น เด็กได้มีโอกาสปฏิสั มพันธ์กับโลกภายนอกหรือสิ่ งแวดล้ อมให้ อ ยู่ในภาวะ สมดุล ฝึก ทากิจ กรรมตามล าพั งและการรวมกลุ่ ม เด็ก จึงได้เรียนรู้จากกัน และกั น ซึ่งการเรีย นรู้ใน ลักษณะนี้น่าจะทาให้เกิดความเข้าใจกันได้ดีกว่าการเรียนรู้จากครู เด็กได้มีประสบการณ์ตรง มีอิสระ ทางความคิด การแสดงออกและการสนทนาระหว่างเด็กด้วยกันจะทาให้เด็กสามารถเข้าใจกันได้เร็ว กว่าครูเป็นผู้อธิบายหรือเล่าให้ฟังจะเห็นได้ว่า การจัดประสบการณ์ของเด็กปฐมวัยเป็นสิ่งที่สาคัญมาก ที่ครูผู้ทาหน้าที่เป็นผู้สอนและเป็นกัลยาณมิตรของเด็กต้องจัดสภาพของการเรียนรู้ให้เด็กปฐมวัยทั้ง ภายนอก และภายในเพื่อให้เด็กปฐมวัยได้มี โอกาสสัมผัส และสั มพันธ์กับสิ่ งแวดล้อม อุปกรณ์การ เรียนรู้ อุปกรณ์การทางานต่างๆ ด้วยการเล่น การลงมือปฏิบัติจริงโดยครูมีบทบาทในการจัดการเรียน การสอนทั้ง 3 ขั้นตอนดังนี้ จุดมุ่งหมาย ให้รู้จักหน้าที่ความรับผิดชอบและเรื่องราว นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตรุ่นที่ 2 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต *


อุปกรณ์/สื่อ 1.กลอง 2.เพลง"ช่วยกันเก็บ" วิธีการดาเนินการ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน เด็กจับมือกันเป็นวงกลมครูร้องเพลง"ช่วยกันเก็บ"ให้เด็กๆ ฟังและทาท่าทางประกอบเพลง ตามครู ขั้นสอน ครูและเด็กร่วมกันร้องเพลง"ช่วยกันเก็บ"พร้อมทาท่าทางประกอบเพลงครูและเด็กสนทนา เกี่ยวกับเนื้อหาของเพลง"ช่วยกันเก็บ"ว่าเด็กๆ สามารถปฏิบัติตนได้เป็นคนมีความรับผิดชอบในการ เล่นด่วยวิธีไหนบ้างจากเนื้อหาของเพลงเด็กสามารถปฏิบัติตนได้และเมื่อเล่นเสร็จก็ควรเก็บของให้เข้า ที่ช่วยกันดูแลและรับผิดชอบต่อสิ่งที่เล่นเพื่อความเป็นระเบียบวินัยของห้องเรียนเป็นการปลูกฝัง ความ มีระเบียบวินัยให้กับเด็กได้ ขั้นสรุป ครูและเด็กร่วมกันสรุปเนื้อหาของเพลงอีกครั้งและขอตัวแทนเด็กในการออกมาสรุปหน้าที่ ความรับผิดชอบที่เด็กควรทาตามที่มีในเนื้อหาของเพลงให้เพื่อนและครูฟังครูร่วมกันกับเด็กสรุปอีก ครั้ง ผลจากการจัดกิจกรรม จะเห็นได้ว่าในการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีระเบียบวินัยในและรู้ บทบาทหน้าที่ของตนเองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเป้ามีพัฒนาการด้านการเล่นแล้วรู้จักเก็บของเข้าที่ เรียบร้อยดีขึ้นโดยจากการสังเกตการร่วมกิจกรรมและการเล่นร่วมกับเพื่อนเด็กรู้จักบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่นจากการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ได้สอดคล้องแนวคิดทฤษฎี ของเพียเจต์ (Piaget) ซึ่งกล่าวว่าการจัดประสบการณ์ ให้ เด็กนั้น เด็กได้มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับโลก ภายนอกหรือสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในภาวะสมดุล ฝึกทากิจกรรมตามลาพังและการรวมกลุ่ม เด็กจึงได้ เรียนรู้จากกันและกัน ซึ่งการเรียนรู้ในลักษณะนี้น่าจะทาให้เกิดความเข้าใจกันได้ดีกว่าการเรียนรู้จาก ครู เด็กได้มีประสบการณ์ตรง มีอิสระทางความคิด การแสดงออกและการสนทนาระหว่างเด็กด้วยกัน จะท าให้ เด็ ก สามารถเข้ า ใจกั น ได้ เร็ ว กว่ า ครู เป็ น ผู้ อ ธิ บ ายหรื อ เล่ า ให้ ฟั ง จะเห็ น ได้ ว่ า การจั ด ประสบการณ์ของเด็กปฐมวัยเป็นสิ่งที่สาคัญมากที่ครูผู้ทาหน้าที่เป็นผู้สอนและเป็นกัลยาณมิตรของ เด็กต้องจัดสภาพของการเรียนรู้ให้เด็กปฐมวัยทั้งภายนอก และภายในเพื่อให้เด็กปฐมวัยได้มีโอกาส สัมผัสและสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม อุปกรณ์การเรียนรู้ อุปกรณ์การทางานต่างๆ ด้วยการเล่น การลงมือ ปฏิบัติจริง


เอกสารอ้างอิง กรรณิการ์ พงศ์เลิศวุฒิ. (2547). ผลของการจัดกิจกรรมเล่านิทานประกอบละครสร้างสรรค์ต่อ ความมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัย. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒประสานมิตร. ฉวีวรรณ กินาวงศ์. การจัดประสบการณ์ชั้นเด็กเล็ก. กรุงเทพมหานคร. บุญเลิศ วิเศษรินทอง. การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สาหรับนักเรียนก่อน ประถมศึกษา. การศึกษาค้นคว้าอิสระ กศ.ม.มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2546. มณีวรรณ เผ่าภูรี. การพัฒนาทางภาษาของเด็กชั้นอนุบาลปีที่ 2 โดยใช้กิจกรรมนิทาน. การศึกษา ค้นคว้า. มหาวิทยลัยราชธานี, 2553. เสาวลักษณ์ เอี่ยมพิพัฒน์. (2549). ผลของการจัดกิจกรรมการเล่านิทานคติธรรมที่มีต่อความมีวินัย ในตนเองของเด็กปฐมวัย. ปริญญานิพนธ์. กศ.ม.ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชื่อ สถานที่ทางาน ตาแหน่ง

นางสาวธิดา คณะพันธ์ นักศึกษาสาขาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดบ้านเป้า ตาบลเหล่าเสือโก้ก อาเภอเหล่าเสือโก้ก จังหวัดอุบลราชธานี ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก จานวนเด็กในความรับผิดชอบ 15 คน


การจัดการเรียนรู้โดยกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริม ความมีระเบียบวินัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดบ้านเป้า ตาบลเหล่าเสือโก้ก อาเภอเหล่าเสือโก้ก จังหวัดอุบลราชธานี Articles about management experiences to promote learning activities. Discipline preschool wat ban pea children child development centers. LaoSueaKok district Ubon Ratchathani นางสาวนพมาศ ดีแสน Noppamat Deesan บทคัดย่อ การจัดการเรียนรู้โดยกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริม ความมีระเบียบวินัย ของเด็ก ปฐมวัย ซึ่งเด็กปฐมวัย 3-5 ปี เด็กวัยนี้ต้องการสร้างความสมดุลระหว่างการยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง กับความต้องการที่จะอยู่ร่วมกับคนอื่นในสังคม เด็กวัยนี้ขาดการปลูกฝังระเบียบวินัย ช่วงเปิดภาค เรียนใหม่สิ่งที่พบในศูนย์พัฒ นาเด็กเล็กวัดบ้านเป้า เด็กเข้าเรียนใหม่จะไม่ชอบเก็บกระเป๋า รองเท้า ของใช้ของตนเองเข้าที่ ที่เก็บที่ครูจัดไว้ให้ เด็กต้องการให้เพื่อน ครู ผู้ปกครองเก็บให้ ครูใช้การจัดการ เรียนรู้โดยกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริม ความมีระเบียบวินัยเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาล 1/2 จานวน 20 คนใน ศูนย์พัฒ นาเด็กเล็กวัด บ้านเป้า ตาบลเหล่าเสือโก้ก อาเภอเหล่าเสือโก้ก จังหวัด อุบลราชธานี โดยได้แบ่งขั้นตอนการจัดกิจกรรมออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นเตรียม การจัดการเรียนการสอนโดยใช้กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเป็นเพลง นิทาน คาคล้องจอง ขั้นสอนโดยใช้กิจกรรมเสริมประสบการณ์ นิทาน ภาพประกอบการบรรยาย กิจกรรมเสรี กิจกรรมเกม การศึกษา กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมสร้างสรรค์ ขั้นสรุป ครูสังเกตการตอบคาถาม การร่วมสนทนา ครูสังเกตการเก็บอุปกรณ์และของใช้เด็กเข้าที่ได้ ถูกต้อง เด็กรู้จักใช้คาว่าสวัสดี ขอบคุณ ได้ถูกต้อง การสรุปเรื่องราวหรือกิจกรรมต่างๆ ผลจากการจัดกิจกรรมครูได้ประเมินผลงานเด็กโดยการสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของเด็ก แต่ละบุคคลขณะทากิจกรรมทั้ง 6 กิจกรรม พบว่าจากการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริม ความมีระเบียบวินัยเด็กปฐมวัย เด็กสนใจและตั้งปฎิบัติกิจกรรมต่างๆ และการทากิจกรรมร่วมกันเป็น กลุ่ม เด็กเรียนรู้ระเบียบวินัยการอยู่ร่วมกัน รู้จักการรอคอย แบ่งปัน รับผิดชอบเก็บอุปกรณ์ร่วมกัน หลังการใช้งานเข้าที่ให้เรียบร้อยได้ดีขึ้น ...................................................................................................... คาสาคัญ : การจัดการเรียนรู้ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ความมีระเบียบวินัย Key Words : Learning Management Activity Experience Discipline


การจัดการเรียนรู้โดยกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริม ความมีระเบียบวินัยเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดบ้านเป้า ตาบลเหล่าเสือโก้ก อาเภอเหล่าเสือโก้ก จังหวัดอุบลราชธานี นางสาวนพมาศ ดีแสน* เด็กวัย 3-5 ปี เป็นช่วงที่เด็กต้องสร้างความสมดุลระหว่างการยึดตนเองเป็นศูนย์กลางกับ ความต้องการที่จะอยู่ร่วมกับคนอื่นในสังคม เด็กในวัยนี้ในปัจจุบันขาดการปลูกฝังระเบียบวินัย เพราะ วินัยนั้นเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์มนุษย์กับมนุษย์กับธรรมชาติสังคมมนุษย์จาเป็นต้องมีวินัยเพื่อทาให้ เกิดระเบียบ ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญในการสร้างความสงบสุข และความเจริญก้าวในชีวิตของเด็กต่อไป (พระธรรมปิฎ 2538:18-22) การสร้างวินัยในตัวเองของเด็กที่ดีที่สุดคือการสร้างวินัยให้เด็กทาเป็นครั้ง แรกก่อน ซึ่งได้แก่ในช่วงปฐมวัยหลังจากนั้นเมื่อเด็กฝึกวินัยอย่างสม่าเสมอ ก็จะเกิดความเคยชินและ เป็นวิถีชีวิตในที่สุด ปัญหาที่พบเรื่องในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดบ้านเป้า เด็กเข้าเรียนใหม่จะไม่ยอมเก็บ กระเป๋ า รองเท้า ของใช้ของตนเองเข้าที่ ที่ครูจัดไว้ให้ เด็ กต้องการให้ เพื่ อน ครู ผู้ ปกครองเก็บให้ ผู้ปกครองต้องการตามใจลูก ด้วยการช่วยลูกมากเกินไปจนเด็กเอาแต่ใจตนเองไม่ยอมช่วยเหลือตัวเอง ครูสังเกตว่าเด็กในห้องบางคนไม่ชอบเก็บสิ่งของส่วนตัวและอุปกรณ์ในห้องเรียน การฝึกระเบียบวินัย ต้องฝึกอย่างสม่าเสมอ มีความอดทน และความพยายามไม่ใจร้อน และต้องคานึงถึงความแตกต่าง ระหว่างบุคคลของเด็ก เด็กแต่ละคนมีความสามารถแตกต่างกันให้เด็กมีความเข้าใจระเบียบวินัย แต่ ละเรื่องที่ให้ปฏิบัติ โดยอธิบายให้เข้าใจเหตุผลชี้ให้เห็นผลดีของการปฏิบัติ และผลเสียที่เกิดขึ้นหากไม่ ปฏิบัติ เมื่อเด็กมีความเข้าใจ เด็กจะปฏิบัติด้วยความเต็มใจ ซึ่งจะช่วยให้เด็กมีวินัยในตนเองไม่ว่าอยู่ ต่อหน้าหรือลับหลังผู้ใหญ่ก็จะประพฤติปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบวินัยอันดี และการฝึกวินัยต้องฝึกตั้งแต่ แรกก้าวเข้ามาโรงเรียน ( ชม ภูมิภาค 2525 : 136 – 137) อีริคสัน (Leatzow et al., 2542: 26-27) กล่าวถึงความสัมพันธ์ของการพึ่งตนเองกับการมีวินัยในตนเองของเด็ก ไว้ว่าเด็กที่สามารถทาสิ่งต่างๆ ด้วยตนเองจะรู้สึกว่าตนมีความสามารถ และเป็นคนที่ควบคุมตนเองได้ในที่สุด ครูจึงใช้กิจกรรมเสริม ประสบการณ์ ช่ว ยให้ เด็กเข้ าใจเนื้ อหา กิ จกรรมที่ ใช้ส าระการเรีย นรู้ เรื่อง เด็กดีมี วินัย ครูเป็ นผู้ มี บทบาทสาคัญ ในการส่งเสริมให้ เด็กเรียนรู้ที่จะพึ่งตนเอง เด็กควรได้ฝึกช่วยเหลื อตนเองในกิจวัตร ประจาวัน เช่น การหยิบและเก็บของเล่นหรือของใช้ส่วนตัว การรับประทานอาหาร การใช้ห้องน้าห้อง ส้ว ม การแต่งตัว การปู ที่ น อน ครู พิจารณาว่าสิ่ งที่ฝึ กให้ เด็กช่วยเหลื อตนเองนั้นต้องเหมาะสมกับ พัฒนาการตามวัยของเด็ก ความสาคัญของกิจกรรมเสริมประสบการณ์ กระทรวงศึ ก ษาธิก ารได้ ก าหนด คู่ มื อ หลั ก สู ต รการศึ ก ษาปฐมวัย พุ ท ธศั ก ราช 2546 ให้ สถานศึกษาปฐมวัย จัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ให้ แก่เด็กในความดูแล เนื่อ งจากกิจกรรมเสริม ประสบการณ์จะช่วยส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยเจริญเติบโตเป็นผู้ที่คิดอย่างมีเหตุผล มีความรู้สึกที่ดีต่อ นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตรุ่นที่ 2 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต *


ตนเองและผู้ อื่น รู้จั กการช่วยเหลื อตนเอง มีพั ฒ นาการเหมาะสมตามวัยอย่างสร้างสรรค์ การจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ให้เด็ก ครูใช้กิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่ อส่งเสริมความมีระเบียบวินัยใน เด็ ก ปฐมวั ย เป็ น เวลา 4 สั ป ดาห์ เริ่ ม ตั้ งแต่ วั น จั น ทร์ ที่ 8 มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2558 ถึ ง วั น ศุ ก ร์ ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2558 จานวนเด็ก 20 คน ชั้นอนุบาล 1/2 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดบ้านเป้า ตาบลเหล่า เสือโก้ก อาเภอเหล่าเสือโก้ก จังหวัดอุบลราชธานี สังกัดเทศบาลตาบลเหล่าเสือ โก้ก ตาบลเหล่าเสือโก้ก อาเภอเหล่าโก้ก จังหวัดอุบลราชธานี กิจกรรมเสริมประสบการณ์ หมายถึงกิจกรรมที่ องค์ความรู้ ได้จากประสบการณ์ตรง เด็กได้มี โอกาสปฏิบัติโดยวิธีการที่หลากหลาย อีกทั้งยังเป็นการฝึกเด็กให้ได้คิดแก้ ปัญหา ใช้เหตุผลและฝึก ปฏิบั ติเพื่ อให้ เกิดความคิด รวบยอดเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนด้ว ยวิธีการต่างๆ ได้แก่ การสนทนา การ อธิบาย การเล่านิทาน การสาธิต การใช้คาถาม บทบาทสมมติ การร้องเพลง เล่นเกม ท่องคาคล้อง จอง ได้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างเสรี เลือกงานในห้องด้วยตนเอง โดยมีครูช่วยแนะนาให้เด็กเลือกและทา เอง การจัดประสบการณ์ซึ่งมี 3 ขั้นตอน ซึง่ แต่ละขัน้ มีรายละเอียดดังนี้ ขั้น ที่ 1 ขั้ น น า เด็กนั่ งประจ าที่ ตามสั ญ ลั กณ์ ของตนเองเป็นการเตรียมเด็กให้ พ ร้อม ที่จะเข้าร่ว ม กิจกรรมด้วยกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เพื่อให้เด็กเคื่อนไหวร่างกายอย่างอิสระรู้จัก จังหวะและ ควบคุม การเคลื่ อนไหวของตนเอง โดยการร้องเพลงสวัส ดี คุณ ครู เพลงโรงเรียนของเรา เพลงมา โรงเรียน เพลงเก็บของเข้าที่ เพลงชื่อของฉัน ดูภาพโรงเรียน ห้องเรียน ชื่ออุปกรณ์และเครื่องใช้ใน ห้อง บุคคลในโรงเรียน ฟังนิทานเรื่องส้มมาโรงเรียน นิทานเรื่องวันดีดีของหมีน้อย ขั้นที่ 2 ขั้นสอน กิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อเด็กได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้ เนื้อหา เรื่องราวตาม แผนประสบการณ์ ฝึกการทางานและอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม ฝึกความมีระเบียบวินัย มารยาทในการฟัง พูด และลักษณะนิสัยที่ดี มีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนและครู โดนครูสนทนาประสบการ์เดิมของเด็ก การ พูดคุย สนทนาซักถาม อภิปราย เรื่องการกล่าวคาสวัสดี กล่าวคาขอบคุณ การหยิบและเก็บของเล่น หรือของใช้ส่วนตัว การรับประทานอาหาร การใช้ห้องน้าห้องส้วม การแต่งตัว การปูที่นอน วิธีการ ปฏิบัติตามกฎห้องเรียน ปฏิบัติตามกฎข้อตกลงของห้องเรียน ครูแนะนาชื่ออุปกรณ์และเครื่องใช้ให้ เด็กสังเกตและจดจาที่เก็บที่ถูกที่ การปฏิบัติจริงเด็กได้ลงมือฝึกเก็บของเข้าที่ ถูกที่ ถูกประเภทซึ่งอยู่ ในกิจกรรมเสรีที่เปิดโอกาสให้เด็กเลือกเล่นอิสระตามศูนย์การเรียนรู้ ที่ครูจัดไว้ เช่น ศูนย์บล็อก ศูนย์ หนังสือ ศูนย์ร้านค้า ศูนย์บ้าน เด็กได้เรียนรู้ผ่านการเล่นและแก้ปัญหาโดยครูเป็นผู้สนับสนุนอานวย ความสะดวกและเตรียมอุปกรณ์สื่อการเรียนตามมุมการเรียนรู้ต่างๆ กิจกรรมเกมการศึกษาเพื่อ พัฒนาสติปัญญา ช่วยให้เด็กรู้จักการสังเกต เปรียบเทียบ คิดหาเหตุผลและการแก้ปัญหา โดยเกมจับคู่ ความสัมพันธ์ของภาพอุปกรณ์ใช้ในห้องเรียน เกมภาพตัดต่ออุปกรณ์ในห้องเรียน เกมเรียงลาดับจาก เล็ กไปใหญ่ จับ คู่ภ าพกับ เงา กิจกรรมกลางแจ้งเพื่อพัฒ นากล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก และการ ประสานสัมพันธ์ของอวัยวะต่างๆ โดยให้เด็กเล่นเครื่องเล่นสนาม ศูนย์ทราย ศูนย์อุปกรณ์กีฬา เกม การละเล่นไทย ขั้น ที่ 3 ขั้น สรุป ครูส นทนาแลกเปลี่ ยนเรียนรู้และเปิดโอกาสให้ เด็กได้แสดงความคิดเห็ น โดยใช้ คาถามกระตุ้นให้เด็กได้คิด ความสนใจในการร่วมกิจกรรม ครูสังเกตการตอบคาถาม การร่วมสนทนา


ครูสังเกตการเก็บอุปกรณ์และของใช้เด็กเข้าที่ได้ถูกต้อง เด็กรู้จักใช้คาว่าสวั สดี ขอบคุณ ได้ถูกต้อง การสรุปเรื่องราวหรือกิจกรรมต่างๆ กิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อให้เด็กได้แสดงออกทางอารมณ์ ความคิด สร้างสรรค์และจินตนาการ โดยการวาดภาพ ระบายสี ปั้นดิน ฉีกปะติด พิมพ์ภาพ แล้วให้เด็กนาเสนอ ผลงาน โดยเด็กและครูร่วมกันสรุป โดยการใช้คาถามหรือการไปหาข้อมูล หรือโดยการให้ผู้ปกครองมี ส่วนร่วมในการหาคาตอบในใบงาน ครูได้ประเมินผลงานเด็กโดนการสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของ เด็กแต่ละบุคคลขณะทากิจกรรมทั้ง 6 กิจกรรม พบว่าเด็กสนใจและตั้งใจในการปฎิบัติกิจกรรมต่างๆ และการทากิจกรรมร่วมกันเป็นกลุ่ม เด็กเรียนรู้ระเบียบวินัยการอยู่ร่วมกัน รู้จักการรอคอย แบ่งปัน รับผิดชอบเก็บอุปกรณ์ร่วมกันหลังการใช้งานเข้าที่ให้เรียบร้อย สรุปผลได้ว่ากิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อแก้ปัญหาเด็กขาดระเบียบวินัยในตนเอง ศูนย์ พัฒ นาเด็กเล็ กวัดบ้ าน ตาบลเหล่ าเสื อโก้ก อาเภอเหล่ าเสื อโก้ก จังหวัดอุบลราชธานี เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ผลปรากฎว่าเด็กได้เรียนรู้แก้ไขปัญหาการขาดระเบียบวินัยเด็ก ๆ เรียนรู้การกล่าวคาสวัสดี กล่าวคาขอบคุณ การหยิบและเก็บของเล่นหรือของใช้ส่วนตัว การรับประทานอาหาร การใช้ห้องน้า ห้ อ งส้ ว ม การแต่ งตั ว การปู ที่ น อน วิ ธีก ารปฏิ บั ติ ต ามกฎห้ อ งเรีย น ปฏิ บั ติ ต ามกฎข้ อ ตกลงของ ห้องเรียน ชื่ออุปกรณ์และเครื่องใช้ให้เด็กสังเกตและจดจาที่เก็บที่ถูกที่ การปฏิบัติจริงเด็กได้ลงมือฝึก เก็บของเข้าที่ถูกที่ ใช้เหตุผล ฝึกการทางาน และเข้าสังคมกับเพื่อน เพื่อให้เกิดความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติด้วยตนเองที่ การใช้ภาษาจากกิจกรรมที่ครูและผู้ปกครองร่วมมือจัดให้เด็กด้วย วิธีการที่ หลากหลาย เพื่อส่งเสริมความเชื่อมั่นในตนเองให้แก่เด็ก ครูพูดให้กาลังใจ แสดงความชื่นชม การยอมรับความคิดเห็นเด็ก ช่วยให้เด็กเกิดความรู้สึกอบอุ่นใจ มีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าคิด กล้า แสดงออก มีปฏิสัมพันธ์ที่ต่อผู้อื่น และมีความสุขในการเรียนรู้ และสามารถปรับพฤติกรรมการเอาแต่ ใจตนเอง ไม่ยอมเก็บของใช้อุปกรณ์ของตนเองเข้าที่ให้เด็กกลายเป็นคนรับผิดชอบการกระทาของ ตนเอง ส่ ง เสริ ม การเป็ น ตั ว ของตั ว เองและการช่ ว ยเหลื อ ตนเองได้ ม ากขึ้ น และปรั บ ตั ว เข้ า กั บ สิ่งแวดล้อม พร้อมในการเรียนรู้ในระดับชั้นต่อไป ........................................................................................ เอกสารอ้าง กระทรวงศึกษาธิการ.(2548). คู่มือหลักสูตร.การออกแบบกระบวนการเรียนรู้ สถาบันส่งเสริมอัจฉริยภาพและนวัตกรรมการเรียนรู้.สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา : กรุงเทพมหานคร. การจัดประสบการณ์แบบบูรณาการเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย. ในประมวลสาระชุดวิชาการจัด ประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัยหน่วยที่1-6. หน้า482 - 483(2527) : สุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี. สถาบันส่งเสริมอัจฉริยภาพและนวัตกรรมการเรียนรู้. (2550).การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร Brainbased Learning ด้านการคิด. กรุงเทพมหานคร : เอกสารประกอบการอบรม. สุวัฒนา เอี่ยมอรพรรณ และคณะ (บรรณาธิการ). แนวคิดและแนวปฏิบัติสู่การจัดการเรียนรู้. หน้า 43 - 80. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.


สุวิทย์ มูลคาและอรทัย มูลคา. (2545). หน้า19. วิธีจัดการเรียนรู้และทักษะ. กรุงเทพมหานคร : ภาพพิมพ์.

ชื่อ

สถานที่ทางาน ตาแหน่ง จานวนนักเรียน

นางสาวนพมาศ ดีแสน นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต รุ่น2 สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดบ้านเป้า สังกัดเทศบาลตาบลเหล่าเสือโก้กอาเภอเหล่าเสือโก้ก จังหวัดอุบลราชธานี ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก 20 คน ห้องอนุบาล1/2


การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านอารมณ์และสังคมของเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไร่ ตาบลสะเดียง อาเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ Articles about the activities to develop emotional and social skills of young children in the Banrai Child Development Center, District Sadiang, Phetchabun province. นางประอรรัตน์ กาญจน์ธนภัทร Praonrat Kanthanaphat บทคัดย่อ เด็กปฐมวัยช่วงเปิดภาคเรียนแรก สิ่งที่พบอยู่เป็นประจา คือปัญหาพฤติกรรมของเด็กปฐมวัย ที่ไม่สามารถปรับตัวเข้าสู่สิ่งแวดล้อมใหม่ได้ การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์สาหรับเด็กปฐมวัยเป็นกิจกรรม ที่ เปิ ด โอกาสให้ เด็ กได้ แสดงออกทางอารมณ์ ห รือความรู้สึ ก ความคิด สร้างสรรค์แ ละจิน ตนาการ วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะด้านอารมณ์และสังคมของเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไร่ ตาบล สะเดียง อาเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้จัดกิจกรรมสร้างสรรค์ให้กับเด็กปฐมวัยช่วงอายุ 3-4 ขวบ จานวน 15 คน โดยใช้ศิลปะหลากหลายรูปแบบและเหมาะสมกับวัย ผลจากการจัดกิจกรรมพบว่าเด็ก ๆ ให้ความสนใจมีความกระตือรือร้น และมีความตั้งใจมี ความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง มีความมั่นใจในการนาเสนอผลงาน เกิดการเรียนรู้การทางาน ร่วมกับผู้อื่น รู้จักการแบ่งปันและการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ................................................. คาสาคัญ : กิจกรรมสร้างสรรค์ทักษะทางด้านอารมณ์และสังคม Key Word : The creative activities, Emotional and social skills


การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านอารมณ์และสังคมของเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไร่ ตาบลสะเดียง อาเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ นางประอรรัตน์ กาญจน์ธนภัทร* เมื่อเริ่มภาคการศึกษาใหม่ ปัญหาพฤติกรรมของเด็กปฐมวัยที่ไม่อยากมาโรงเรียนเป็นเรื่อง ปกติ เด็กๆ จะใช้ช่วงเวลาสั้นๆ ในการปรับตัวให้สามารถดาเนินกิจวัตรประจาวันที่ต้อง ไปโรงเรียน ได้อย่างรวดเร็วแต่สาหรับเด็กบางคนอาจจะเกิดความกลัวเพิ่มมากขึ้นและไม่อยากมาโรงเรียน สาเหตุ เกิดจากการที่เด็กยังไม่สามารถปรั บตัวเข้าสู่สิ่งแวดล้อมใหม่ได้ เนื่องจากธรรมชาติของเด็กวัยนี้เริ่มมี กิจกรรมต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย มีความเป็นตัวของตัวเอง บางครั้งอาจพบว่าเด็กแสดงปฏิกิริยา โต้ตอบกับเหตุการณ์บางอย่างที่ไม่เหมาะสม และแสดงออกมาในรูปของพฤติกรรมที่เป็นปัญหาได้ ซึ่ง ปั ญ หาของพฤติ ก รรมของการปรับ ตัวต่อ สภาพแวดล้ อมที่เกิดขึ้น กับ เด็กวัยนี้ถ้าเด็กได้ เรียนรู้จาก สิ่งแวดล้อม อย่างไม่เหมาะสมก็อาจจะก่อให้เกิดปัญหาทางพฤติกรรมและอารมณ์ของเด็กทั้งสิ้น เด็กในช่วงวัย นี้ มีพัฒ นาการทางร่างกายที่มีความสามารถช่วยเหลือตัวเองได้มากขึ้น เริ่ม เข้าใจและใช้ภาษาในการสื่อความหมายได้ มีความคิดที่อยากจะทาอะไรด้วยตนเอง อยากเรียนรู้สิ่ง ต่างๆ รอบตัว มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการ จึงควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เด็กได้แสดง ความสามารถของตนอย่างเต็มที่ อีริค อีริคสัน (1902-1994) มีแนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีพัฒนาการ ทางสังคมและบุคลิกภาพ ซึ่งกล่าวถึงพัฒ นาการของเด็กในช่วงอายุ 3 – 5 ปี ว่าเด็กวัยนี้ร่างกายมี ความสามารถและช่ว ยตัว เองได้ มากขึ้น กว่าเดิ ม แต่ก็ ยั งอยู่ในวงจากัด การพั ฒ นาความคิ ดริเริ่ม สร้างสรรค์สาหรับเด็กในช่วงวัยนี้ทาได้โดยให้เด็กได้ร่วมทากิจกรรมต่างๆ ที่ท้าทายความสามารถ ของเขา รวมทั้งสิ่งแวดล้อมก็มีส่วนผลักดัน และเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ให้กับเด็กได้ศูนย์พัฒนา เด็กเล็กบ้านไร่ ตาบลสะเดียง อาเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ ได้มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สาหรับเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมหลากหลายและเหมาะสมกับวัย กิจกรรมสร้างสรรค์ ก็เป็นกิจกรรม หนึ่งที่สาคัญ ซึ่งสามารถพัฒนาทักษะด้านต่างๆ ตลอดจนพัฒนาทักษะทางด้านอารมณ์และสังคมของ เด็กปฐมวัยให้สามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ดี การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์สาหรับเด็กปฐมวัย การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์สาหรับเด็กปฐมวัยเป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงออก ทางอารมณ์หรือความรู้สึก ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ โดยใช้ศิลปะสาหรับเด็กหลากหลาย รูปแบบและเหมาะสมกับวัย การส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยได้ทากิจรรมสร้างสรรค์ด้วยตัวเอง ได้แสดง ความสามารถของตน ทาให้เด็กเกิดความภาคภูมิใจ เติมศักดิ์ คทวณิช (2546, 28) ได้ส รุปแนวคิด พื้นฐานเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ตามทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มมนุษยนิยม ไว้ว่า มนุษย์มีความ ต้องการด้านต่างๆ เช่น ความรัก ความเข้าใจและมีความสามารถในตัวที่แตกต่างกัน มนุษย์ ทุกคนต่าง นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตรุ่นที่ 2 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต *


พยายามที่จะค้นหาและทาความเข้าใจตนเอง รวมทั้งยอมรับในศักยภาพของตนเอง ถ้ามนุษย์สามารถ เข้าใจตนเองและยอมรับผู้อื่นได้เมื่อไร จะเกิดความพยายามที่จะพัฒนาตนเองไปถึงขั้นสูงสุดของความ เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทิศนา แขมมณี (2550, 50-76) กล่าวไว้ว่า ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยม ให้ ความส าคัญ ของการเป็ น มนุ ษย์ และมองมนุษ ย์ว่ามีคุณ ค่า มีความดีงาม มีความสามารถ มีความ ต้องการ และมีแรงจูงใจภายในที่จะพัฒ นาศักยภาพของตน หากบุคคลได้รับอิสรภาพและเสรีภาพ มนุษย์จะพยายามพัฒ นาตนเองไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ นักจิตวิทยาคนสาคัญ ในกลุ่มนี้คือ มาสโลว์ (Maslow) มีแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้ คือ มนุษย์ทุกคนมีความต้องการพื้นฐาน ตามธรรมชาติเป็นลาดับขั้น และต้องการที่จะรู้จักตนเองและพัฒนาตนเอง ดังนั้น กิจกรรมสร้างสรรค์ สาหรับเด็กปฐมวัย จึงเป็นกิจกรรมที่มีกระบวนการเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะด้านต่างๆ ที่นาไปสู่การ รู้จักและเข้าใจตนเอง ในขณะที่เด็กได้แสดงออกผ่ านกิจกรรมสร้างสรรค์ โดยครูจัดกลุ่มให้ เด็กได้ ทางานและใช้วัสดุอุปกรณ์ร่วมกัน ครูจะสามารถสังเกตและวิเคราะห์ พฤติกรรม เรียนรู้และทาความ เข้ า ใจธรรมชาติ ความคิ ด อารมณ์ ความรู้ สึ ก ความสามารถของเด็ ก แต่ ล ะคนเพื่ อ น าไปพั ฒ นา กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับวัยและความสามารถของเด็ก ตลอดจน พัฒนาทักษะด้านอารมณ์และสังคมของเด็กปฐมวัย ขั้นตอนการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์สาหรับเด็กปฐมวัย กิจกรรมสร้างสรรค์สาหรับเด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไร่ ครูได้จัดการเรียนการ สอนเริ่มด้วยขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ครูสนทนากับเด็กเกี่ยวกับประสบการณ์เดิมที่เกี่ยวกับเรื่องที่จะเรียน หรือถามคาถามให้เด็กได้แสดงความคิดเห็น หรือใช้บทเพลง คาคล้องจองเพื่อนาเข้าสู่บทเรียน ขั้น สอนโดยแบ่งขั้นสอนออกเป็นสามขั้นตอน ขั้นแรก ครูให้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับเนื้อหาที่จะเรียนตามแผนการจัดการเรียนรู้ในแต่ละวัน ขั้น ที่สอง ให้ เด็กได้มีส่ วนร่วมแสดงความคิดเห็ นและมีส่ วนร่ว มในการเลื อกกิจกรรมการ เรียนรู้ ขั้นที่สาม ครูจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ที่สอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หลากหลาย รูปแบบ ได้แก่ การวาดภาพระบายสี การเล่นสี การเป่าสี การบีบสี การพับสี การปั้น การฉีกปะ การ พิม พ์ภ าพ โดยครูส าธิต การใช้ วัส ดุ อุปกรณ์ ที่ถู กวิธี และจัด กลุ่ มให้ เด็กท างานและใช้วัส ดุอุป กรณ์ ร่วมกัน ขั้นสรุป เด็กๆ นาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และร่วมกันสรุปความรู้ จากการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ ครูได้ประเมินผลโดยการสังเกตและบันทึกพฤติกรรมของเด็ก แต่ละคนในขณะที่ปฏิบัติงาน พบว่าเด็กๆ ให้ความสนใจ มีความกระตือรือร้นและมีความตั้งใจในการ ปฏิบัติกิจกรรมสร้างสรรค์ทุกครั้ง มีความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง มีความมั่นใจในการนาเสนอ ผลงานของตนเองและได้ประเมินผลโดยการสังเกตและบันทึกพฤติกรรมการปฏิบัติงานร่วมกันเป็น กลุ่ม พบว่าเด็กๆ เกิดการเรียนรู้ที่จะแบ่งปันและการรอคอย ที่จะต้องใช้วัสดุอุปกรณ์ร่วมกัน การเก็บ วัสดุอุปกรณ์หลังจากการใช้งานเข้าที่ให้เรียบร้อย สรุปได้ว่า การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อพัฒ นาทักษะทางด้านอารมณ์และสังคมของเด็ก ปฐมวัย มีหลากหลายรูปแบบ เป็นกิจกรรมที่ทาให้เด็กได้แสดงออกทางอารมณ์หรือความรู้สึก ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการเด็กๆ ได้ปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเองทาให้เกิดความภาคภูมิใจ รู้จัก


และเข้าใจตนเอง รวมทั้งยอมรับ ในศักยภาพของตนเอง และการทางานร่วมกับผู้อื่น ทาให้เด็กได้ เรียนรู้ที่จะแบ่งปัน รู้จักช่วยเหลือผู้อื่น รู้จักการรอคอย และการยอมรับในตัวผู้อื่น ซึ่งสอดคล้องกับ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มมนุษยนิยมที่ว่า มนุษย์มีความต้องการด้านต่างๆ เช่น ความรัก ความเข้าใจ และ มีความสามารถในตัวที่แตกต่างกัน มนุษย์ทุกคนต่างพยายามที่จะค้นหาและทาความเข้าใจตนเอง รวมทั้งยอมรับในศักยภาพของตนเอง ถ้ามนุษย์สามารถเข้าใจตนเองและยอมรับผู้อื่นได้เมื่อไร จะเกิด ความพยายามที่จะพัฒนาตนเองไปถึงขั้นสูงสุดของความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ...................................... เอกสารอ้างอิง จีระพันธุ์ พูลพัฒน์ และคณะ (2557). นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. เติมศักดิ์ คทวณิช. (2546). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น. ทิศนา แขมมณี. (2550). การสอนจิตวิทยาการเรียนรู้ เรื่องศาสตร์การสอนองค์ความรู้ เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นพมาศ ธีรเวคิน. (2540). ทฤษฎีบุคลิกภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. นวลละออ สุภาผล. (2527). ทฤษฎีบุคลิกภาพ. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.


ชื่อ

ประอรรัตน์ กาญจน์ธนภัทร นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต สถานที่ทางาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไร่ ตาบลสะเดียง อาเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ ตาแหน่ง ครูผู้ดูแลเด็ก จานวนเด็กที่ดูแลทั้งหมด 15 คน.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.