รวมบทความวิชาการของผู้ดูแลเด็ก ศูนย์อุบลราชธานี เล่ม 2

Page 1

การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย The movement and rhythm activities to promote physical development of young children. บุณฑริกา แจ้งจิตร Buntharika jangjit บทคัดย่อ ธรรมชาติของเด็กปฐมวัยแล้ว จะมีการเคลื่อนไหวร่างกายโดยธรรมชาติอยู่แล้วไม่จาเป็นต้องมี การฝึกหัด โดยจะมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและส่งเสริมผ่านการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ การ จัดการเรียนการสอนนี้จัดที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กห้วยปอ ห้วยปอเจริญ สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลบัว งาม อาเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชราชธานี ได้จัดเป็นกิจกรรมหลัก 6 หลัก แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ 1. กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ 2. กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 3.กิจกรรมสร้างสรรค์ 4. กิจกรรมเสรี 5. กิจกรรมกลางแจ้ง 6. กิจกรรมเกมการศึกษา จากการจัดกิจกรรมทั้ง 6 หลักนี้ โดยคุณครูจะสร้างแรงจูงใจ ให้แก่เด็ก คือ การร้องเพลง รับส่งน้าเพื่อฝึกทาสมาธิ หรือคาคล้องจอง นิทาน ขั้นนา) ครูพาเด็กๆ ร้อง เพลงก่อนเข้าสู้เนื้อหา ขั้นสอน) และคุณครูสนทนาซักถามเด็ก เพื่อให้เกิดความสนใจ ขั้นสรุป จากการจัด กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะด้วยเพลง คาคล้องจอง นิทาน ประกอบกับกิจกรรม เด็กๆ อยากร่ว ม กิจกรรมมาขึ้น เพื่อจะได้พัฒนาเด็กปฐมวัย ซึ่งเป็นเรื่องที่สาคัญและจาเป็นมาก เพื่อให้เด็กเจริญเติบโต อย่างสมบูรณ์จะมีผลต่อพัฒนาการของเด็ก ผลการจัดกิจกรรมทุกกิจกรรมพบว่า ผลจากการสังเกตพฤติกรรมเด็กปฐมวัย เด็กสามารถร่วม ทางานกับเพื่อนในห้องเรียนได้ เด็กอยากทากิจกรรมมาขึ้น สรุปได้ว่า การใช้เพลง รับส่งน้าเพื่อฝึกทา สมาธิ คาคล้องจอง หนังสือนิทาน เพื่อกระตุ้นให้เด็กตื่นตัวอยู่เหมือน เพื่อเพิ่มทักษะความคิดเกิดการ เรียนรู้ เพื่อจะได้ส่งเสริมให้เด็กได้เกิดจินตนาการ เกิดความคิดสร้างสรรค์ ได้พัฒนากล้ามเนื้อของเด็กด้วย ได้เกิดการเรียนรู้เรื่องจังหวะ และรู้จักควบคุมการเคลื่อนไหวร่างกายของตนเองได้ฝึกการทางานกับเพื่อน ร่วมห้อง และทากิจกรรมอย่างสนุกสนาน ......................................................................................................... คาสาคัญ : กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ พัฒนาการด้านร่างกาย Keywords : Learning activities Development activity and rhythm Body


การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย บุณฑริกา แจ้งจิตร** ธรรมชาติของเด็กปฐมวัยแล้ว จะมีการเคลื่อนไหวร่างกายโดยธรรมชาติอยู่แล้วไม่จาเป็นต้องมี การฝึกหัด หรือไม่ต้องมีการดิ้นไปอะไร และการกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ จึงได้จัดเป็นกิจกรรมหลัก เพื่อจะได้พัฒนาเด็กปฐมวัยเติบโต ซึ่งเป็นเรื่องที่สาคัญและจาเป็นมาก เพื่อให้เด็กเจริญเติบโต อย่าง สมบูรณ์จะมีผลต่อพัฒนาการของเด็ก การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ คือ การจัดกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย อย่างอิสระ โดยใช้เสียงเพลง จังหวะ และทานอง หรือคาคล้องจอง หรือเครื่องดนตรีประกอบ เพลงกับการเคลื่อนไหว เพื่อจะได้ส่งเสริมให้เด็กได้เกิดจินตนาการ เกิดความคิดสร้างสรรค์ ได้พัฒนา กล้ามเนื้อของเด็กด้วย ได้เกิดการเรียนรู้เรื่องจังหวะ และรู้จักควบคุมการเคลื่อนไหวร่างกายของตนเองได้ ความสาคัญของการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย ของเด็กปฐมวัย การจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กห้วยปอ เจริญ ห้วยปอเจริญ ดังนี้ 1. ช่วยในการเคลื่อนไหวจะช่วยให้สายตาของเด็กมีพัฒนาการ รู้ช่องว่างระหว่างบุคคลและ สิ่งของ 2. ช่วยให้เด็กเดิน วิ่ง หรือกลิ้ง การกระทาดังกล่าวจะช่วยพัฒนาเกี่ยวกับกล้ามเนื้อมัดใหญ่ของ ร่างกายได้ 3. ช่วยให้เด็กแต่ละคนมีรูปร่างแตกต่างกันไป และเด็กที่แตกต่างกันในแต่ละอายุจะมีขนาดและ รูปร่างต่างกัน ดังนั้นเด็กจะเรียนรู้ตนเอง และเสริมสร้างด้านสมรรถนะของตนเองต่างกันออกไป การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ จึงความสาคัญและจาเป็นต่อมนุษย์ตั้งแต่แรกเกิด เพราะ จะช่วยให้บุคคลได้แสดงความรู้สึก ช่วยคลายความตึงเครียด ทางด้านร่างกาย - ใจ และจะสามารถปรับตัว ด้านสังคมได้ดีขึ้น และผู้ใหญ่ควรคานึงถึงเสรีภาพในการเคลื่อนไหวของเด็ก จากแนวความคิดของ อาร์ โนลด์ กี เ ซล (Arnold Gesell) สามารถน ามาอธิ บ ายพั ฒ นาการของมนุ ษ ย์ ใ นด้ า นการเจริ ญ เติ บ โต นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกับ มหาวิทยาลัยราช ภั ฏ สวนดุ สิ ต รุ่ น ที่ 2 สาขาวิ ช าการศึ ก ษาปฐมวัย หลั ก สู ต รศึ ก ษาศาสตร์บั ณ ฑิ ต คณะครุ ศ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต


พัฒนาการทางร่างกาย และสามารถนาไปเชื่อมโยงกับพัฒนาการทางสติปัญญาได้อีกด้วย นอกจากนั้น อาร์โนลด์ กีเซล (Arnold Gesell) ซึ่งแนวคิดดังกล่าวนี้มีบทบาทมากต่อการจัดกลุ่มเด็กเข้าศึกษาในชั้น อนุ บ าลศึกษาและชั้น ประถมศึกษา จากการวิเคาระห์ ถึงพฤติกรรมเด็กและทาวิจัย เพื่อบอกลั กษณะ พัฒนาการของเด็ก โดยใช้อายุทางปฏิทินเป็นเกณฑ์ นอกจากนี้มีบทบาทมากในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้กับเด็ก โดยการจัดกิจกรรมนั้นต้องให้เหมาะสมกับ วุฒิภาวะของเด็กแต่ละคน ขั้นตอนการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็ก จานวน 43 คน ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กห้วยปอ ห้วยปอ เจริญ สังกัดองค์การบริ หารส่วนตาบลบัวงาม อาเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี โดยการจัดกิจกรรม เคลื่อนไหวและจั งหวะ เป็นเวลา 4 สัปดาห์ เริ่มตั้งแต่ 8 มิถุนายน พ.ศ 2558 ถึง วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ 2558 ขั้นเตรียม ครู ใช้กิจ กรรมเตรี ย มความพร้อมให้ กับเด็ก โดยใช้ท่าทางและเพลงประกอบจังหวะ ใช้เพลง เสถียรธรรมสถาน/เพลงดอกไม้บาน จากนั้นก็เริ่มหลับตาทาสมาธิประกอบเพลงบรรเลงเบาๆ ครูพาเด็กนั่ง เป็นวงกลม เพื่อรับส่งน้า เพื่อให้เด็กได้มีสมาธิก่อนเข้าสู้บทเรียน ขั้นสอน ครูนาเข้าสู้บทเรียน โดยใช้เพลงที่หลากหลายในการทากิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ซึ่งเพลงที่ ใช้ประกอบกิจกรรม คือ "ออกกาลังกายรับแสงตะวัน/พระอาทิตย์ยิ้มแฉ่ง " โดยคุณครูจะพาเด็กๆ ทาท่า ทางประกอบกับเพลง และครูจะสังเกตการเคลื่อนไหวเคลื่อนอยู่กับที่หรือเคลื่อนที่ของแต่ละคน สังเกต การร่ ว มกิ จ กรรมกั บ ผู้ อื่ น สั ง เกตจากการร้ อ งเพลงและท าท่ า ทางประกอบเพลงเด็ ก กิ จ กรรมเสริ ม ประสบการณ์ จะใช้นิทานเข้าสู่บทเรียน โดยนิทานที่ใช้ คือ ไก่ย่างแสนอร่อย และสุนัขกับเงา คือ ครูจัด ให้เด็กนั่งเป็นครึ่งวงกลม เพื่อจะได้สัมผัสภาพจากหนังสือนิทานได้ และครูให้เด็กได้สนทนาโต้ตอบได้ง่าย ขึ้น กิจกรรมนี้ เป็นการเสริมประสบการณ์ด้านสติปัญญาการคิดจินตนาการและการใช้สัมผัสอื้นๆ อีกด้วย กิจกรรมสร้างสรรค์ คุณครูพาเด็กทากิจกรรมสร้างสรรค์ที่หลากหลาย เช่น วาดภาพตามจินตนาการของ เด็ก และครูสาธิตการปั้นดินน้ามันให้เด็กดู และให้เด็กลงมือปฎิบัติตาม แล้วให้เด็กออกมานาเสนอผลงาน ของตนเอง ในขณะที่ทากิจกรรมนี้ ครูเปิดเพลงบรรเลงเบาๆ เพื่อสร้างบรรยาย ให้เด็กผ่อนคลาย และมี สมาธิในการทากิจกรรมสร้างสรรค์มากขึ้น เมื่อเด็กทากิจกรรมเสร็จแล้ว ครูแนะนามุมประสบการณ์ต่างๆ ให้แก่เด็ก และทาข้อตกลงในการทากิจกรรมนี้ ครูให้เด็กเล่นตามมุมประสบการณ์ต่างๆ อย่างอิสระตาม ความสนใจของเด็กแต่ละคน ครูสังเกตถึงการร่วมทากิจกรรมของเด็กแต่ละคน ต่อด้วยกิจกรรมกลางแจ้ง ครูและเด็กสนทนาเกี่ยวกับข้อตกลงในการปฎิบัติตนในการเล่นเครื่องเล่นสนามที่ถูกต้อง กิจกรรมนี้ให้เด็ก เรียนรู้ผ่านการเล่นเครื่องเล่นสนามที่มีความหลากหลาย เช่น การโยนรับลูกบอล การวิ่งเพื่ออบอุ่นร่างกาย และเมื่อทากิจกรรมเสร็จแล้ว ให้เด็กเข้าแถวเตรียมล้างมือ กิจกรรมที่จัดขึ้นนี้ เพื่อให้เด็กได้ฝึกการใช้ กล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ การทรงตัว จะสังเกตจากการทากิจกรรมของเด็ก และกิจกรรมเกมการศึกษา ครู


จะใช้เกมที่หลากหลายแตกต่างกันในแต่ละวัน เช่นเกมจับคู่ภาพเหมือน เกมจับคู่ภาพเหมือนกับเงา เกม ภาพตัดต่อรูปคุณครู เกมจับคู่ภาพเหมือนอุปกรณ์ทาความสะอาดปากและฟัน กิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่ ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย กล้ามเนื้อมัดเล็ก คือ มือและตา พัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจ เด็กมีความ ตั้งใจในการทางาน พัฒนาการด้านสังคม เด็กสามารถร่วมทางานกับเพื่อน พัฒนาการด้านสติปัญญา เด็ก ได้ใช้ความคิดสร้างสรรค์ และฝึกการมีความอดทน การรู้จักการรอคอยแบ่งปัน ครูจะสังเกตจากการแก้ไข ปัญหาในการเล่นเกมนี้ ขั้นสรุป จากการปฏิ บั ติ กิ จ กรรมทั้ ง 6 กิ จ กรรมหลั ก ของเด็ ก กิ จ กรรมเคลื่ อ นไหวและจั ง หวะ เด็ ก ๆ สามารถร้องเพลงและทาท่าทางประกอบเพลงได้อย่างถูกต้อง สามารถเคลื่อนที่หรืออยู่กับที่ก็ได้ กิจกรรม เสริมประสบการณ์ เด็กมีสมาธิในการฟังนิทานมากขึ้น ครูเล่านิทานให้เด็กๆ ฟัง และสนทนาและตอบ คาถามได้อย่างถูกต้อง เด็กสนุกสนานที่ได้ฟังนิทาน และเด็กจาตัวละครได้อีกด้วย และกิจกรรมสร้างสรรค์ ซึ่งมีการบรรเลงเพลงเบาๆ เพื่อให้เด็กๆได้มีสมาธิในการทางานมากขึ้น และเด็กมีสมาธิจดจ่อกับสิ่งที่จะทา มากขึ้น เพื่อพัฒนาทักษะด้านความคิด และเป็นการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี เด็กสามารถ เลื อกเล่ น เกมที่ตนเองสนใจได้ โดยรู้การรอคอยและแบ่งปันสิ่ งของ ต่อด้ว ยกิจกรรมกลางแจ้ง เด็กๆ สามารถทรงตัวได้ดี โยนรับลูกบอลและส่งได้ และใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ ได้คล่องแคล่ว เกมการศึกษา เด็กสามารถแก้ไขปัญหาในการเล่นเกมนี้ได้เองและรู้จักการรอคอยและแบ่งปันสิ่งของช่วยเหลือเพื่อนร่วม ห้อง เด็กๆ ทุกคนสามารถทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ดี ผลของการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ จากการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กับเด็กจานวน 43 คน ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กห้วยปอ ห้ ว ยปอเจริ ญ เป็ น เวลา 4 สั ป ดาห์ ผลปรากฎว่าการฝึกเด็กโดยการพาเด็กเคลื่ อนไหวส่ว นต่างๆ ของ ร่างกาย ดังนั้นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ซึ่งการเคลื่อนไหว เพื่อ ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกายและการสื่อสาร การใช้ประสาทรับรู้ การเคลื่อนไหวเป็นกระบวนการที่ เด็ ก ปฐมวั ย พั ฒ นาทั ก ษะ และความสามารถในการใช้ ป ระสาทรั บ รู้ เพื่ อ ท าความเข้ า ใจข้ อ มู ล จาก สิ่งแวดล้อมที่อยู่นอบตัว ครูจะสังเกตจากเด็กตั้งใจฟังครูเล่านิทาน และสามารถสนทนาและตอบคาถามครู ได้ถูกต้อง ในการใช้เพลงบรรเลงในขณะที่ทากิจกรรมสร้างสรรค์ จากการสังเกตพฤติกรรมเด็กพบว่า เด็ก มีสมาธิในการทางานมากขึ้น มีทักษะในการใช้ความคิด จึงสรุปได้ว่าการใช้เพลงบรรเลงในการทากิจกรรม สร้างสรรค์นี้ ได้ดี ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของนักทฤษฏี "กีเซล (Gesell)" เชื่อว่า การพัฒนาการของเด็ก เป็นไปอย่างมีแบบแผนและเป็นขั้นตอน เด็กควรพัฒนาไปตามธรรมชาติไม่ควรเร่งหรือบังคับเด็ก การ เรียนรู้ของเด็กเกิดขึ้นจากการ การเคลื่อนไหว การใช้ภาษา การปรับตัวเข้ากับสังคมกับบุคคลรอบข้างอีก ด้วย กิจกรรมนี้ เป็นการเสริมประสบการณ์ด้านสติปัญญาการคิดจินตนาการและการใช้สัมผัสอื้นๆ อีก ด้วย


เอกสารอ้างอิง กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2547). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัย. กรุ ง เทพฯ: บริ ษั ท เอดิ สั น จ ากั ด .(2550). แผนการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ ร ะดั บ ชั้ น อนุ บ าลศึ กษา. กรุงเทพฯ จี ร พัน ธุ์ พูล พัฒ น์ ,สุ ทธิพรรณ และคณะ. (2557) . นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย . กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. นภเนตร ธรรมบวร. (2544). การประเมินผลพัฒนาการเด็กปฐมวัย . กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. นิตยา ประพฤติกิจ. (2539) . การพัฒนาเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์. เมธาวี อุดมธรรมนุภาพ และคณะ. (2550). ธรรมชาติของผู้เรียน. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราช ภัฏ สวนดุสิต ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2545) . คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย. พุทธศักราช 2546. สานักวิชาการและ มาตรฐานการศึกษา. สานักงาน คณะกรรมการการศึกษาธิการขั้นพื้นฐาน.

ชื่อ สถานที่ทางาน ตาแหน่ง จานวนเด็ก

นางสาวบุณฑริกา แจ้งจิตร นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต ศูนย์พัฒนาเด็กห้วยปอ ห้วยปอเจริญ ตาบลบัวงาม อาเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก 27 คน


การจัดกิจกรรมกลางแจ้งเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของเด็กปฐมวัย Outdoor activities to promote the development of body muscles of the young children ว่าที่ร้อยตรีหญิงปรีญาพัชร มิตถา Acting Sub.Lt. Preeyaphat Mitatha บทคัดย่อ การจัดกิจกรรมกลางแจ้งเพื่อส่งเสริมการพัฒนากล้ามมัดใหญ่มีความจาต่อการพัฒนาการ เรียนรู้ด้านต่างๆสาหรับเด็กปฐมวัย วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้ออกกาลังกาย เคลื่อนไหวส่วน ต่างๆของร่างกายใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ได้แก่ แขน ขา และลาตัวได้คล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน โดย แบ่งการจัดกิจกรรมเป็น 3 ขั้นตอน (ขั้นนา) ครูพาเด็กอบอุ่นร่างกายด้วยการทาท่ากายบริหาร (ขั้นสอน) ครูสาธิตและอธิบายวิธีการเล่นที่ถูกวิธีและให้เด็กทากิจกรรมร่วมกัน (ขั้นสรุป) ครูทบทวนกิจกรรมว่าทา เพื่ออะไร ทาแล้วได้อะไร เกิดประโยชน์อย่างไร เด็กสนุกสนานชอบในกิจกรรมหรือไม่ ผลจากการจัดกิจกรรมกลางแจ้งเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย กล้ามเนื้อส่วนต่างๆของ เด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กห้วยปอ ห้วยปอเจริญ ตาบลบัวงาม อาเภอบุณฑริก จังหวัอุบลราชธานี ให้กับเด็กจานวน 43 คนในระยะเวลา 4 สัปดาห์ ด้วยกิจกรรมกลางแจ้งที่ หลากหลาย ได้แก่ การเล่น เครื่องเล่นสนาม เล่นฝึกการทรงตัวบนล้อรถยนต์ เกมวิ่งแตะสลับ การเล่นเกมลิงชิงบอล เล่นปีนป่ายข้าม สิ่งกีดขวาง การเล่นแตะฟุตบอล เกมรับ-ส่งลูกบอล เกมงูกินหาง เกมเก้าอี้ดนตรี เกมแตะสลับ การเล่น แตะฟุตบอลรับ-ส่ง เกมโยนบอลข้ามศรีษะ จากการสังเกตการร่วมกิจกรรม ผลปรากฎว่า เด็กมีพัฒนาการ ทางด้านร่างกายสามารถเดิน วิ่ง และร่วมทากิจกรรมกับเพื่อนๆได้ การเคลื่อนไหวร่างกายทาได้ดีขึ้น กล้า เล่น กล้าแสดงออก กล้าตัดสินใจแก้ปัญหาในการเล่นได้ ....................................................................... คาสาคัญ : กิจกรรมการเล่นกลางแจ้ง การใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ เด็กปฐมวัย Key words : Playing outdoor activities Using muscle Bales Preschool children


การจัดกิจกรรมกลางแจ้งเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของเด็กปฐมวัย ปรีญาพัชร มิตถา* เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่ต้องมีการเรียนรู้ที่หลากหลายด้านพัฒนาการต่างๆ ดังนั้นการฝึกให้เด็กได้รับ การจัดกิจกรรมกลางแจ้งเพื่อส่งเสริมการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่จึงมีความจาเป็นที่ครูหรือผู้มี หน้าที่ดูแลเด็กปฐมวัยต้องให้ความสนใจ ส่งเสริมและจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับพัฒนาการเด็ก กิจกรรมกลางแจ้งเป็นกิจกรรมหลักที่สาคัญที่จัดให้มีการเรียนการสอนในตารางกิจกรรมประจา วันที่เด็กจะต้องได้รับการส่งเสริมให้เด็กได้ออกกาลังกาย เคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกาย ได้แสดงออก อย่างอิสระผ่านการเล่นหลากหลายแบบโดยมีจุดมุ่งหมายให้เด็กเจริญเติบโตเหมาะสมตามวัย มีสุขนิสัยที่ดี ใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ได้แก่ แขน ขา และลาตัวได้คล่องแคล่ว และประสานสัมพันธ์กัน ให้สอดคล้องกับการ เจริญเติบโตของเด็กแต่ละคนให้มีสุขภาพจิตดีและมีความสุข การจัดกิจกรรมกลางแจ้งมีความสาคัญต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย ดังนี้ 1. ช่ว ยทาให้ เด็กปฐมวัย มีพัฒ นาการด้านการประสานสั มพันธ์การเคลื่ อนไหวส่ ว นต่างๆของ ร่างกายได้ 2. ช่วยทาให้เด็กปฐมวัยมีการพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่คือการประสาน การฝึกการทางานของ ระบบประสาท สัมผัสกับระบบร่างกายได้ดีขึ้น 3. ช่วยทาให้เด็กปฐมวัยเกิดความมั่นใจในตนเองสามารถใช้กล้ามเนื้อเพื่อเคลื่อนไหวร่างกาย กล้า คิด กล้าเล่น กล้าทากิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆได้ 4. ช่วยทาให้เด็กปฐมวัยเกิดความสนุกสนานร่าเริงในการแสดงออกทางอารมณ์ถึงความรู้สึกด้าน ต่างๆ 5. ช่วยทาให้เด็กเรียนรู้การปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมโดยสามารถเล่นทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ สามารถรอคอย ปฏิบัติตามคาสั่งหรือข้อตกลงได้ถูกต้อง 6. ช่วยทาให้เด็กมีความกระตือรือร้น ไม่เฉื่อยชา และมีปฏิภาณไหวพริบ กล้าตัดสินใจ เกิดการ คิดแก้ปัญหาต่างๆจากการร่วมกิจกรรม 7. ช่วยทาให้สามารถนาประสบการณ์จากการจัดกิจกรรมกลางแจ้งมาช่วยพัฒนากล้ามเนื้อส่วน ต่างๆที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้ชีวิตประจาวันได้

นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัยราช ภัฏสวนดุสิต รมป.2 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต *


ความสาคัญของการจัดกิจกรรมกลางแจ้ง เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย กล้ามเนื้อส่วน ต่างๆ ของเด็กปฐมวัย การจัดกิจกรรมการแจ้งเป็นกิจกรรมหนึ่งที่เน้นให้มีการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัยเพื่อช่วย พัฒนาด้านร่างกาย กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ใช้เวลาประมาณ 40 - 60 นาทีต่อวัน มีทั้งการเล่นเครื่องเล่นสนาม และการละเล่นเกมต่างๆที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาใหัเด็กมีพัฒนาการที่ดีสมวัย การศึกษาปฐมวัยเป็นการศึกษาที่ เน้นการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย 6 ปีแรก เพื่อให้ เป็นไปอย่างเต็มศักยภาพ แนวการจัดประสบการณ์ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546 เน้นหลัก 7 ประการ คือพัฒ นากล้ ามเนื้ อใหญ่ พัฒ นากล้ ามเนื้ อเล็ ก พัฒ นาจิตใจและคุณธรรม พัฒ นาสั งคมนิสัย พัฒนาการคิด พัฒนาภาษาและความคิดสร้างสรรค์ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2546, หน้า 36) ทักษะกล้ามเนื้อใหญ่ในเด็กปฐมวัย เช่น การยืน เดิน วิ่ง ปีนป่าย กล้ิง กระโดด โดยการใช้แขน ขา เท้า และลาตัว ในการเคลื่อนไหวอย่างคล่องแคล่ว จะทาให้เด็กปฐมวัยเรียนรูิงต่ ้ส่ างๆ รอบตัวได้ดีกว่า เด็ก ปฐมวัยที่เคลื่อนไหวอย่างเชื่ องช้า ดังนั้นผู้สอนจะต้องเปิดโอกาสให้เด็กปฐมวัยได้ออกไปวิ่งเล่น ออก กาลังกาย ไม่ใช่ใช้เวลาให้หมดไปกับการนั่งโต๊ะเขียนหนังสือ หรืออ่านหนังสือ (สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์, 2547, หน้า 22) พัฒนาการทางด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กทารกเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ เห็ น ได้ ชั ด เจน ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากอั ต ราการเจริ ญ เติ บ โตทางด้ า นร่ า งกายเป็ น ไปอย่ า งรวดเร็ ว มาก เมื่ อ เปรียบเทียบ กับพัฒนาการทางด้านอารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา การเปลี่ยนแปลงท่ิว่าิได้ น้ แก่ นิา หนัก ส่วนสูง และโครงสร้างของอวัยวะต่างๆ รวมทั้งกล้ามเนื้อต่างๆด้วย เมื่อเด็กปฐมวัยย่างเข้าสู่วัย 3-4 ปี พัฒนาการ ทางด้านร่างกายจะปรากฏในรูปของความสามารถในการใช้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายได้ ชัดเจนขึ้น ทั้งความสามารถในการทางานประสานกันของกล้ามเนื้ อใหญ่ (Gross Motor Coordination) และการทางาน ประสานกันของกล้ ามเนื้อมัดเล็ ก (Fine Motor Coordination) (นภเนตร ธรรมบวร, 2544, หน้า 73) กีเซลล์และฮาวิกเฮิร์ส (Gesell & Havighurst 2004)ได้กล่าวถึงขั้นพัฒนาการที่บุคคลพึ่งมีว่า วัย ทารกและวัยเด็กตอนต้น (แรกเกิด ถึง 6 ปี) เรียนรู้การควบคุมกล้ามเนื้อการเดินการเคลื่อนไหว การทรง ตัว การพูด การรับประทานอาหาร การขับถ่าย เรียนรู้การสร้าง สัมพันธภาพกับบุคคลที่แวดล้อม บุคคล ในครอบครัว เรียนรู้ความแตกต่างระหว่างเพศ ยอมรับ ความจริงทางกายภาพ และสภาพความจริงทาง สังคม เรียนรู้จริยธรรมเบื้ องต้น จาแนกสิ่งที่ถูก-ผิ ดได้ (เมธาวี อุดมธรรมานุภาพ และภักดี ปรีวรรณ, 2554, หน้า 8) ขัน้ ตอนการจัดกิจกรรมกลางแจ้ง การจั ดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมกลางแจ้งเพื่อส่งเสริมพัฒ นาการด้านร่างกาย กล้ามเนื้อ ส่วนต่างๆ ของเด็กปฐมวัย ให้กับเด็กจานวน 43 คนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กห้วยปอ ห้วยปอ


เจริญ สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลบัวงาม อาเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน 2558 ถึง วันศุกร์ที่ 3 กรกฎาคม 2558 ขั้นนา ครูพาเด็กสนทนาถึงกิจกรรมที่จะนามาจัดประสบการณ์ครูพาเด็กอบอุ่นร่างกายด้วยการทาท่า กายบริหาร หมุนเข่า สลัดข้อมือ แตะสลับ กระโดดตบ วิ่งอยู่กับที่ เพื่อเตรียมความพร้อมในการทา กิจกรรมกลางแจ้ง ครูจัดให้เด็กแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม ยืนเรียงแถวให้ห่างกัน 1 ช่วงแขน เพื่อไม่ให้ชน กัน แล้วทาท่ากายบริหารประมาณ 5 นาที ก่อนเริ่มกิจกรรมกลางแจ้ง ขั้นสอน ครูนาเข้าสู่กิจกรรมกลางแจ้งที่หลากหลายสลับกันไปในแต่ล่ะวั น ครูจัดให้มีการเล่นเครื่องเล่น สนาม ครูสนทนากับเด็กและอธิบายวิธีการเล่นเครื่องเล่นที่ถูกวิธี ให้เด็กได้เล่นตามความสนใจ การฝึกการ ทรงตัวบนล้อรถยนต์ครูอธิบายการเล่นและสาธิตการเดินบนล้อรถยนต์ให้เด็กดูให้กางแขนไปด้านข้าง ขนานกับพื้นก้าวขาไปด้านหน้าตามองตรง แล้วให้เด็กได้ทากิจกรรม เกมวิ่งแตะสลับครูอธิบายการเล่น และสาธิต ให้เด็กแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม ยืนอยู่คนละฝ่าย ให้วิ่งจากจุดที่กาหนดไปแตะมือเพื่อนฝ่าย ตรงข้ามแล้วให้เพื่อนวิ่งกลับมาแตะมือเพื่อนอีกฝ่ายหนึ่งสลับกัน ไปมา การเล่นเกมลิงชิงบอลครูอธิบาย การเล่นและแบ่งกลุ่มเป็น 4 กลุ่ม ให้แบ่งเป็นสองทีมพลัดกันเป็นลิงแล้วให้เล่นเกมร่วมกัน การเล่นปีนป่าย ข้ามสิ่งกีดขวางให้เด็กปีนขึ้นลงอุโมงค์ตัวหนอน การเล่นแตะฟุตบอล ครูอธิบายการเล่นบอกกติกา แล้วให้ เด็กเล่นแตะฟุตบอล เกมรับ-ส่งลูกบอล ครูอธิบายการเล่นและแบ่งกลุ่มเป็น 2 กลุ่ม ต่อแถวยาวสองด้าน ให้อีกฝ่ายโยนบอลให้เพื่อนอีกฝ่ายสลับกัน การเล่นเครื่องเล่นสนาม ครูบอกชื่อและอธิบายวิธีการเล่น เครื่องเล่นที่ถูกวิธี ให้เด็กได้เล่นตามความสนใจ เกมงูกินหาง ครูอธิบายการเล่นและแบ่งกลุ่มเป็น 2 กลุ่ม ต่อแถวยาวสองด้านฝ่ายหนึ่งเป็นแม่งู อีกฝ่ายหนึ่งเป็นพ่องู สาธิตการเล่นและพาเด็กเล่นเกม เกมรับ - ส่ง บอล เล่นและแบ่งกลุ่มเป็น 2 กลุ่ม ต่อแถวยาวสองด้านโยนบอลให้อีกฝ่ายรับ - ส่ง กันไปมา สลับกันจน ครบทุกคน เกมเก้าอี้ดนตรีสาธิตการเล่นร่วมกับเด็ก ครูสาธิตการเล่นกิจกรรมและพาเด็ก เกมแตะสลับ ตามสัญญานกหวีดครู แนะนาวิธีการเและสาธิตการเล่นร่วมกับเด็ก การเล่นแตะฟุตบอลรับ -ส่งแบ่งกลุ่ม ออกเป็น 4 กลุ่มสลับกันแตะและรับบอล เกมโยนบอลข้ามศรีษะครูสนทนาถึงข้อตกลงในการเล่นเกมและ สาธิตการเล่นให้เด็กดูและให้เด็กร่ว มเล่ นเกมกับเพื่อนๆ และครูพาเล่นเครื่องเล่ นสนามครูส นทนาถึง ข้อตกลงในการใช้เครื่องเล่นสนามและให้เด็กเล่นอย่างอิสระ เพื่อดูการเครื่อนไหวโดยรวมด้านการใช้ กล้ามเนื้อการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ครูสังเกตการเล่น วิ่ง และการใช้กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกาย ขั้นสรุป หลั งจากทากิจ กรรมกลางแจ้งครูพาเด็กล้ างมือทาความสะอาดร่างกายแล้ ว นามาสรุปผลใน ห้องเรียนร่วมกับเด็กถึงกิจกรรมที่ทาว่าทาเพื่ออะไร ทาแล้วได้อะไร เกิดประโยชน์อย่างไร เด็กสนุกสนาน ชอบในกิจกรรมหรือไม่


ผลของการจัดกิจกรรมกลางแจ้ง เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของเด็ก ปฐมวัย จากการจัดกิจกรรมกลางแจ้งเพื่อส่งเสริ มพัฒนาการด้านร่างกาย กล้ามเนื้อส่วนต่างๆของเด็ก ปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กห้วยปอ ห้วยปอเจริญ ตาบลบัวงาม อาเภอบุณฑริก จังหวัอุบลราชธานี ให้กับเด็กจานวน 43 คนในระยะเวลา 4 สัปดาห์ ผลปรากฎว่า เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกายที่ดีขึ้น หลังจากที่ครูจัดประสบการณ์ด้วยการทากิจกรรมกลางแจ้งทั้งการเล่นเครื่องเล่นสนาม เล่นฝึกการทรงตัว บนล้อรถยนต์ เกมวิ่งแตะสลับ การเล่นเกมลิงชิงบอล เล่นปีนป่ายข้ามสิ่งกีดขวาง การเล่นแตะฟุตบอล เกมรับ-ส่งลูกบอลเกมงูกินหาง เกมเก้าอี้ดนตรี เกมแตะสลับ การเล่นแตะฟุตบอลรับ-ส่ง เกมโยนบอลข้าม ศรีษะ ทาให้เกิดการเรียนรู้ผ่านการเล่นที่หลากหลาย สามารถเคลื่อนไหวได้ดีขึ้นทั้ง การเดิน การวิ่ง การ ร่ ว มทากิจ กรรมกับ เพื่อนๆ สามารถทาได้เด็กเกิดความมั่นใจในตนเองที่จะทาสิ่งต่างๆ กล้ าเล่ น กล้ า แสดงออก กล้าตัดสินใจแก้ปัญหาในการเล่นได้และนามาพัฒนาใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวันได้ ดังคา กล่ า วที่ ว่ า “เด็ ก ที่ มี สุ ข ภาพดี มั ก ชอบเล่ น กลางแจ้ ง เพราะเขาได้ เ ล่ น อย่ า งสนุ ก สนาน ร่ า เริ ง และ สร้างสรรค์” (นิตยา ประพฤติกิจ, 2539, หน้า 78) สังเกตจากการร่วมกิจกรรม การเคลื่อนไหวร่างกาย ส่วนต่างๆ การเดิน การวิ่ง การใช้ชีวิตประจาวันที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เอกสารอ้างอิง คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สานักงาน. (2546). คู่มือหลักสูตรการปฐมวัยพุทธศักราช 2546 (สาหรับเด็กอายุ 3-5 ปี). กรุงเทพมหานคร : คุรุสภาลาดพร้าว. นภเนตร ธรรมบวร. (2544). การประเมินผลพัฒนาการเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. นิตยา ประพฤติกิจ. (2539). การพัฒนาเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์. เมธาวี อุดมธรรมานุภาพ และภักดี ปรีวรรณ. (2554). ธรรมชาติของผู้เรียน. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์. (2547). คู่มือครูแผนจัดประสบการณ์การเรียนรู้กิจกรรมพัฒนาพหุปัญญา. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.


ชื่อ สถานที่ทางาน ตาแหน่ง จานวนเด็ก

ว่าที่ร้อยตรีหญิงปรีญาพัชร มิตถา นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กห้วยปอ ห้วยปอเจริญ ตาบลบัวงาม อาเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก 16 คน


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมกลางแจ้ง เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายของ เด็กปฐมวัย Activities learning through outdoor activities. To promote physical development of young children. สมหวัง วันนิจ SOMWANG WANNIT บทคัดย่อ เด็กปฐมวัยเป็นช่วงวัยที่ไม่อยู่นิ่ง มีการเคลื่อนไหวร่างกายอยู่ตลอดเวลา การจัดกิจกรรมกลางแจ้ง เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้เด็กได้ออกกาลังกาย และเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างอิสระ เพื่อให้เด็กได้ใช้ประสาท สัมผัส และได้เคลื่อนไหวร่างกาย เช่น การเดิน การวิ่ง การกระโดด การแกว่งแขนขา โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อส่วนต่างๆของร่างกายให้เด็กปฐมวัย การจัดกิจกรรมกลางแจ้งนี้จัดขึ้นเพื่อพัฒนาเด็ก ปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กห้วยปอ ห้วยปอเจริญ สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลบัวงาม อาเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีขั้นตอนในการจัดกิจกรรม 3 ขั้น คือ ขั้นนา) ครูพาเด็กอบอุ่นร่างกายด้วยการ ทาท่ากายบริหารประมาณ 5 นาที จากนั้นครูแนะนากิจกรรมที่จะจัดขึ้นในแต่ละวัน ขั้นสอน) ครูอธิบาย และสาธิตวิธีการทากิจกรรม รวมไปถึงการทาข้อตกลงในการทากิจกรรมร่วมกับเด็ก แล้วให้เด็กได้ทา กิจกรรมร่วมกับ เพื่อน โดยครูคอยดูแลและสังเกตการเล่นของเด็ก ขั้นสรุป) เด็กส่วนใหญ่สามารถทา กิจกรรมร่วมกับครูและเพื่อนได้ โดยระหว่างการทากิจกรรมเด็กๆ สนุกสนานเพลิดเพลินและไม่มีอาการ เหนื่อยหอบ จากการจัดกิจกรรมพบว่า เด็กชอบการเล่นเป็นกลุ่ม การเล่นเป็นการเล่นเลียนแบบกัน เป็นผู้นา และ ผู้ตามที่ดี มีการยอมรับและปฏิบัติตามข้อตกลง รู้จักการให้ การเสียสละและแบ่งปัน สามารถทา กิจกรรมต่างๆ ที่ครูพาจัดได้เป็นอย่างดี ทั้งการเดิน วิ่ง กระโดด รวมไปถึงการปีนเครื่องเล่นสนาม ซึ่งแสดง ให้เห็นว่าเด็ก ส่วนใหญ่มีพัฒนาการด้านร่างกายเหมาะสมกับวัย ………………………………………………………………………… คาสาคัญ : กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมกลางแจ้ง พัฒนาการด้านร่างกาย Keywords: Learning activities, Outdoor activities, Physical development


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมกลางแจ้ง เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย สมหวัง วันนิจ* เด็กปฐมวัยเป็นช่วงวัยที่ไม่อยู่นิ่ง มีการเคลื่อนไหวร่างกายอยู่ตลอดเวลา การเรียนรู้ของเด็กใน วัยนี้จึงควรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการเล่น เพื่อให้เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัส และได้เคลื่อนไหว ร่างกาย เช่น การเดิน การวิ่ง การกระโดด การแกว่งแขนขา เพื่อให้เกิดการประสานสัมพันธ์กันของอวัยวะ ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ซึ่งจะช่วยนาไปสู่การพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่ให้เด็กปฐมวัยได้ ดังนั้นการจัดกิจกรรมกลางแจ้งเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้เด็กได้ออกกาลังกาย และเคลื่อนไหวร่างกาย ได้อย่างอิสระ ซึ่งช่วยส่งเสริมการพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่ ได้แก่ แขน ขา และลาตัว เป็นต้น ทั้งนี้การจัด กิจกรรมต้องคานึงถึงพัฒนาการและช่วงอายุของเด็กเป็นสาคัญ ความสาคัญของการจัดกิจกรรมกลางแจ้ง เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย การศึกษาปฐมวัยเป็นการศึกษาท่ิเน้นการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย 6 ปีแรก เพื่อให้ เป็นไป อย่างเต็มศักยภาพ แนวการจัดประสบการณ์ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546 เน้นหลัก 7 ประการ คือพัฒนากล้ามเน้ิอใหญ่ พัฒนากล้ามเน้ิอเล็ก พัฒนาจิตใจและคุณธรรม พัฒนาสังคมนิสัย พัฒนาการคิด พัฒนาภาษาและความคิดสร้างสรรค์ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2546 : 36) หลักสูตร การศึกษาปฐมวัยสาหรับเด็กอายุ 3-5 ปี มุ่งให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาท่ิเหมาะสมกับวัย และความแตกต่างระหว่างบุคคล ส าหรั บ ประสบการณ์ ส าคั ญ ที่ ส่ ง เสริ ม พั ฒ นาการด้ า นร่ า งกายนั้ น จะเน้ น ที่ ก ารทรงตั ว และ ประสานสัมพันธ์ของกล้ามเน้ิอใหญ่ เช่นการเคลื่อนไหวอยู่ กับที่ การเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ การเคลื่อนไหว พร้อมวัสดุอุปกรณ์ และการเล่นเครื่องเล่นสนาม (กระทรวงศึกษาธิการ, 2547,หน้า 8 อ้างถึง ใน กุลยา ตันติผลาชีวะ, 2547, หน้า 68) พัฒนาการทางด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กทารก เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ ชัดเจน ทั้งนี้เนื่องจากอัตราการเจริญเติบโตทางด้านร่างกายเป็นไปอย่าง รวดเร็วมาก เมื่อเปรียบเทียบ กับพัฒนาการทางด้านอารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา การเปลี่ยนแปลง ที่ว่านั้น ได้แก่ น้าหนัก ส่วนสูง และ โครงสร้างของอวัยวะต่างๆ รวมทั้งกล้ามเนื้อต่างๆ ด้วย เมื่อเด็ก ปฐมวัยย่างเข้าสู่วัย 3-4 ปี พัฒนาการ ทางด้านร่างกายจะปรากฏในรูปของความสามารถในการใช้ อวัยวะ ต่างๆ ของร่างกายได้ชัดเจนขึ้น ทั้งความสามารถในการทางานประสานกันของกล้ามเน้ิอใหญ่ (Gross นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการ ปกครองท้องถิ่นกับ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิ ต รมป.2 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต *


Motor Coordination) และการทางาน ประสานกันของกล้ า มเนื้ อ เล็ ก (Fine Motor Coordination) (นภเนตร ธรรมบวร, 2544, หน้า73) ขั้นตอนการจัดกิจกรรมกลางแจ้ง การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมกลางแจ้งเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายของเด็ก ปฐมวัย ในศูน ย์ พัฒ นาเด็กเล็ กห้ ว ยปอ ห้ ว ยปอเจริญ สั งกัดองค์การบริห ารส่ ว นตาบลบัว งาม อาเภอ บุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี มีนักเรียนทั้งหมดจานวน 43 คน ระยะเวลาการจัดประสบการณ์ 4 สัปดาห์ เริ่มตัง้ แต่วันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน 2558 ถึง วันศุกร์ที่ 3 กรกฎาคม 2558 ขั้นนา ครูพาเด็กสนทนาถึงกิจกรรมที่จะนามาจัดประสบการณ์ครูพาเด็กอบอุ่นร่างกายด้วยการทาท่า กายบริหาร หมุนเข่า สลัดข้อมือ แตะสลับ กระโดดตบ วิ่งอยู่กับที่ เพื่อเตรียมความพร้อมในการทา กิจกรรมกลางแจ้ง ครูจัดให้เด็กแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม ยืนเรียงแถวให้ห่างกัน 1 ช่วงแขน เพื่อไม่ให้ชน กัน แล้วทาท่ากายบริหารประมาณ 5 นาที ก่อนเริ่มกิจกรรมกลางแจ้ง ขั้นสอน ครูนาเข้าสู่กิจกรรมกลางแจ้งที่หลากหลายสลับกันไปในแต่ล่ะวัน การเล่นลานทราย ครูและเด็ก สร้างข้อตกลงในการเล่นลานทรายร่วมกันแล้วให้เด็กได้ทากิจกรรม การเล่นเกมลิงชิงบอลครูอธิบายและ สาธิตวิธีการเล่นลิงชิงบอล จัดให้เด็กยืนเป็นวงกลม และให้ 1 คนอยู่ตรงกลางเป็นคนคอยวิ่งไล่แย่งลูกบอล แล้วคนที่ถูกแย่งผลัดกันเป็นลิงแล้วให้เล่นเกมร่วมกัน การเล่นรีรีข้าวสาร ครูอธิบายและสาธิตวิธีการเล่นรี รีข้าวสารให้เด็กเข้าแถว 1 แถว และให้เด็กอีก 2 คนยืนจับมือกันเพื่อให้เพื่อนเดินลอดไปและคอยจับเพื่อน เมื่อเพื่อนร้องเพลงจบแล้วพาเด็กๆ เล่น การเล่นแตะฟุตบอลมาเสริมครูอธิบายการเล่นบอกกติกา แล้วให้ เด็กเล่นแตะฟุตบอล เกมรับ-ส่งลูกบอล ครูอธิบายการเล่นและแบ่งกลุ่มเป็น 2 กลุ่ม ต่อแถวยาวสองด้าน ให้อีกฝ่ายโยนบอลให้เพื่อนอีกฝ่ายสลับกันจนครบทุกคน เกมงูกินหาง ครูอธิบายการเล่นและแบ่งกลุ่มเป็น 2 กลุ่ม ต่อแถวยาวสองด้านฝ่ายหนึ่งเป็นแม่งู อีกฝ่ายหนึ่งเป็นพ่องู สาธิตการเล่นและพาเด็กเล่นเกม เกม เก้าอี้ดนตรีสาธิต การเล่นร่ว มกับเด็ก ครูสาธิตการเล่นกิจกรรมและพาเด็ก เกมโยนบอลข้ามศรีษ ะครู สนทนาถึงข้อตกลงในการเล่นเกมและสาธิตการเล่นให้เด็กดูและให้เด็กร่วมเล่นเกมกับเพื่อนๆ ครูสังเกต การเล่นและการเคลื่อนไหวส่วนต่างของร่างกาย ขั้นสรุป เด็กสามารถทากิจกรรมร่วมกับครูและเพื่อนาได้อย่างสนุกสนาน และสามารถปฏิบัติตามกฎและ กติกาที่ตกลงร่ วมกันไว้ได้ ในการเล่ นเครื่องเล่ นสนามส่ วนใหญ่เป็นการเล่ นกันเป็นกลุ่ ม มีการเล่ นแบบ เลียนแบบกัน เด็กส่วนใหญ่สามารถปีนเครื่องเล่นชนิดปีนป่ายได้ บางคนไม่สามารถปีนได้การเล่นเกมต่างๆที่ ครูพาเล่น เด็กส่วนใหญ่สามารถทาได้ดี


ผลจากการจัดกิจกรรม จากการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมกลางแจ้งเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายของ เด็กปฐมวัย ในศูน ย์ พัฒ นาเด็กเล็ กห้ ว ยปอ ห้ ว ยปอเจริญ ผลปรากฏว่าเด็กส่ วนใหญ่มีพัฒ นาการด้าน ร่างกายดีขึ้น มีกล้ามเนื้อที่แข็งแรง มีการประสานสัมพันธ์กันระหว่างกล้ามเนื้อมัดเล็ก กล้ามเนื้อมัดใหญ่ ตา ทั้ ง นี้ สั ง เกตได้ จ ากการท ากิ จ กรรมของเด็ ก ทั้ ง การวิ่ ง การเดิ น การแกว่ ง แขน ขา รวมไปถึ ง การ เคลื่อนไหวอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกาย เด็กสามารถยอมรับและปฏิบัติตามข้อตกลงได้ รู้จักแบ่งปันและ เสียสละ มีน้าใจนักกีฬา ซึ่งผลจากการจัดกิจกรรมกลางแจ้งนี้ได้สอดคล้องแนวคิดและทฤษฎีของกีเซลล์ และฮาวิกเฮิร์ส (Gesell & Havighurst 2004) ที่กล่าวถึงขั้นพัฒนาการที่บุคคลพึ่งมีว่า วัยทารกและวัย เด็กตอนต้น (แรกเกิด ถึง 6 ปี) เรียนรู้การควบคุมกล้ามเนื้อการเดินการเคลื่อนไหว การทรงตัว การพูด การรับประทานอาหาร การขับถ่าย เรียนรู้การสร้าง สัมพันธภาพกับบุคคลที่แวดล้อม บุคคลในครอบครัว เรียนรู้ความแตกต่างระหว่างเพศ ยอมรับ ความจริงทางกายภาพ และสภาพความจริงทางสังคม เรียนรู้ จริยธรรมเบื้องต้น จาแนกสิ่งที่ถูก-ผิดได้ (เมธาวี อุดมธรรมานุภาพ และภักดี ปรีวรรณ, 2554, หน้า 8) เอกสารอ้างอิง กุล ยา ตัน ติผ ลาชีว ะ. (2547). การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู้ สาหรั บเด็ กปฐมวั ย . กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2546). คู่มือหลักสูตรกการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2546 (สา หรับ เด็กอายุ 3-5 ปี). กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. นภเนตร ธรรมบวร. (2544). การประเมินผลพัฒนาการเด็กปฐมวัย . กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. เมธาวี อุดมธรรมานุภาพ และคณะ. (2550). ธรรมชาติของผู้เรียน. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย ราชภัฏ สวนดุสิต.


ชื่อ สถานที่ทางาน ตาแหน่ง จานวนเด็ก

นางสาวสมหวัง วันนิจ นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กห้วยปอ ห้วยปอเจริญ ตาบลบัวงาม อาเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก 27 คน


การจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมกลางแจ้งเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย Learning through activities to promote physical development of young children. รุ่งรัตน์ ชริด Rungrat charid บทคัดย่อ กิจกรรมกลางแจ้งมีผลต่อความพร้อมในการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่มัดเล็กการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสุขภาพดี และเพื่อส่งเสริมการ พัฒนาการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่มัดเล็กให้สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้คล่องแคล่วและประสานสัม พันธ์กัน กิจกรรมที่จัดขึ้นในครั้งนี้ใช้กับเด็กชาย-หญิงที่มีอายุระหว่าง 2-5 ปีจานวน 53 คนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก หัวแข้ ศรีสมุทร สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลบัวงาม อาเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งมีการ จัดการเรียนการสอนแบ่งเป็น3ขั้นตอนดังนี้ (ขั้นนา) โดยครูสนทนาถึงกิจกรรมที่จะนามาจัดประสบการณ์ แล้วให้เด็กอบอุ่นร่างกายด้วยการทาท่ากายบริหาร (ขั้นสอน) ครูและเด็กสร้างข้อตกลงร่วมกันในการ ปฏิบัติตนเมื่อลงไปเล่นที่สนามครูอธิบายและสาธิตวิธีการเล่นที่ถูกวิธีและปลอดภัยแล้วให้เด็กทากิจกรรม ร่วมกัน(ขั้นสรุป)ครูทบทวนกิจกรรมสังเกตและประเมินพัฒนาการเด็ก เด็กสามารถใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่มัด เล็กได้คล่องแคล่วขึ้นและสนุกสนานเพลิดเพลินกับการทากิจกรรม ผลของการจัดกิจกรรมพบว่า การใชักิจกรรมกลางแจ้ง ทาให้เด็กได้พัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่ มัดเล็กให้แข็งแรงและคล่องแคล่วขึ้นทาให้เด็กกล้าคิดและแสดงออกตามจินตนาการอย่างสร้างสรรค์และ เด็กสามารถทากิจกรรมร่วมกับเพื่อนได้อย่างมีความสุข ……………………………………………………………………………. คาสาคัญ : กิจกรรมกลางแจ้ง การใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ เด็กปฐมวัย Key word : Playing outdoor activities Using muscle Bales Preschool Children.


การจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมกลางแจ้งเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย รุ่งรัตน์ ชริด * เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่สาคัญที่ร่างกายและพัฒนาการมีการเจริญเติบ -โตอย่างรวดเร็วและพัฒนา อย่างเต็มที่ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา การพัฒนาเด็กในช่วงวัยนี้จะเป็นการปู พื้นฐานทางจิตใจนิสัย และความสามารถของเด็กซึ่งกิจกรรมกลางแจ้งเป็นกิจกรรมที่จัดนอกชั้นเรียนเพื่อ ส่งเสริมให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายและแสดงออกตามจินตนาการอย่างอิสระ โดยได้ออก กาลัง เป็นการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายโดยเฉพาะกล้ามเนื้อมัดใหญ่ได้แก่ แขน ขา และลาตัวให้ สอดคล้องกับการเจริญเติบโตของร่างกายและพัฒนาการของเด็กแต่ละคน ความสาคัญของการจัดกิจกรรมกลางแจ้งเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของเด็กฐมวัย การจัดกิจกรรมกลางแจ้งมีความสาคัญต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย ดังนี้ 1. ช่ว ยทาให้ เด็กปฐมวัย มีพัฒ นาการด้านการประสานสั มพันธ์การเคลื่ อนไหวส่ ว นต่างๆของ ร่างกายได้ 2. ช่วยทาให้เด็กปฐมวัยมีการพัฒนากล้ามเนื้ อมัดใหญ่คือการประสาน การฝึกการทางานของ ระบบประสาท สัมผัสกับระบบร่างกายดีขึ้น 3. ช่วยทาให้เด็กปฐมวัยเกิดความมั่นใจในตนเองสามารถใช้กล้ามเนื้อเพื่อเคลื่อนไหวร่างกาย การ คิด กล้าเล่นกล้าทากิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆ 4. ช่วยทาให้เด็กปฐมวัยเกิดความสนุกสนานร่าเริงในการแสดงออกทางอารมณ์ถึงความรู้สึกด้าน ต่างๆ 5. ช่วยทาให้เด็กเรียนรู้การปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมโดยสามารถเล่นและทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่น ได้ สามารถรอคอยปฏิบัติตามคาสั่งหรือข้อตกลงได้ถูกต้อง 6. ช่วยทาให้เด็กมีความกระตือรือร้น ไม่เฉื่อยชา และมีปฏิภาณไหวพริบ กล้าตัดสินใจ เกิดการ คิดแก้ปัญหาต่างๆจากการร่วมกิจกรรม 7. ช่วยทาให้สามารถนาประสบการณ์จากการจัดกิจกรรมกลางแจ้งมาช่วยพัฒนากล้ามเนื้อส่วน ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้ชีวิตประจาวัน นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัยราช ภั ฏ สวนดุ สิ ต รุ่ น ที่ 2 สาขาวิ ช าการศึ ก ษาปฐมวั ย หลั ก สู ต รศึ ก ษาศาสตรบั ณ ฑิ ต คณะครุ ศ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต *


กิจกรรมกลางแจ้งให้ประโยชน์กับเด็กปฐมวัยอย่างไร? 1. เพื่อส่งเสริมให้มีร่างกายแข็งแรง สุขภาพดี 2. เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัด ใหญ่ และกล้ามเนื้อมัดเล็ก ให้สามารถเคลื่อนไหวได้คล่องแคล่ว 3. เพื่อพัฒนาประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา 4. เพื่อส่งเสริมความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ 5. เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน ผ่อนคลายความเครียด 6. เพื่อส่งเสริมการปรับตัวในการเล่น การทางานร่วมกับผู้อื่น รู้จักเสียสละ ให้อภัย การแบ่งปัน อุปกรณ์การเล่น 7. เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ต่างๆเช่น การสังเกต เปรียบเทียบ เป็นต้น การจัดกิจกรรมกลางแจ้งมีความสาคัญต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัยในด้านต่างๆทั้ง 4 ด้านและทา ให้เกิดความรักที่จะออกกาลังกายมีความกระตือรือร้นไม่เฉื่อยชาและมีปฏิภาณไหว พริบ กล้าตัดสินใจ เกิดความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าแสดงออกสามารถร่วมทากิจกรรมกับผู้อื่นได้ดี นอกจากนี้ยังสามารถนา ประสบการณ์จากการจัดกิจกรรมกลางแจ้งไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ การศึกษาปฐมวัยเป็นการศึกษาที่เน้นการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย 6 ปีแรก เพื่อให้ เป็นไป อย่างเต็มศักยภาพ แนวการจัดประสบการณ์ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546 เน้นหลัก 7 ประการ คือพัฒนากล้ามเน้ิอใหญ่ พัฒนากล้ามเนื้ อเล็ก พัฒนาจิตใจและคุณธรรม พัฒนาสังคมนิสัย พัฒนาการคิด พัฒนาภาษาและความคิดสร้างสรรค์ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2546, หน้า 36) ทักษะกล้ามเนื้อใหญ่ในเด็กปฐมวัย เช่น การยืน เดินวิ่ง ปีนป่าย กลิ้ง กระโดดโดยการใช้แขน ขา เท้า และลาตัวในการเคลื่อนไหวอย่างคล่องแคล่ว จะทาให้เด็กปฐมวัยเรียนรู้สิ่ งต่างๆ รอบตัวได้ดีกว่าเด็ก ปฐมวัยที่เคลื่อนไหวอย่างเชื่ องช้า ดังนั้นผู้สอนจะต้องเปิดโอกาสให้เด็กปฐมวัยได้ออกไปวิ่งเล่น ออกกาลัง กายไม่ใช่ใช้เวลาให้หมดไปกับการนั่งโต๊ะเขียนหนังสือ หรืออ่านหนังสือ (สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์ , 2547, หน้า 22) “เด็กที่มีสุขภาพดีมักชอบเล่นกลางแจ้งเพราะเขาได้เล่นอย่างสนุกสนาน ร่าเริง และ สร้างสรรค์” (นิตยา ประพฤติกิจ, 2539, หน้า 78) พัฒนาการทางด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กทารกเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ เห็ น ได้ ชั ด เจน ทั้ ง นี้ เ นื่ อ งจากอั ต ราการเจริ ญ เติ บ โตทางด้ า นร่ า งกายเป็ น ไปอย่ า งรวดเร็ ว มาก เมื่ อ เปรียบเทียบกับพัฒนาการทางด้านอารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา การเปลี่ยนแปลงที่ว่านั้น ได้แก่ น้า หนัก ส่วนสูง และโครงสร้างของอวัยวะต่างๆ รวมทั้งกล้ามเนื้อต่างๆ ด้วย เมื่อเด็กปฐมวัยย่างเข้าสู่วัย 3-4 ปี พัฒนาการทางด้านร่างกายจะปรากฏในรูปของความสามารถในการใช้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายได้ ชัดเจนขึ้น ทั้งความสามารถในการทางานประสานกัน ของกล้ามเนื้อใหญ่ (Gross Motor Coordination) และการทางานประสานกันของกล้ามเนื้อเล็ก (Fine Motor Coordination) (นภเนตร ธรรมบวร, 2544, หน้า 73)


กีเซลล์และฮาวิกเฮิร์ส (Gesell & Havighurst 2004) ได้กล่าวถึงขั้นพัฒนาการที่บุคคลพึ่งมีว่า วัยทารกและวัยเด็กตอนต้น (แรกเกิด ถึง 6 ปี) เรียนรู้การควบคุมกล้ามเนื้อการเดินการเคลื่อนไหว การ ทรงตัว การพูด การรับประทานอาหาร การขับถ่าย เรียนรู้การสร้างสัมพันธภาพกับบุคคลที่แวดล้ อม บุคคลในครอบครัวเรียนรู้ความแตกต่างระหว่างเพศยอมรับความจริงทางกายภาพและสภาพความจริงทาง สังคมเรียนรู้จริยธรรมเบื้องต้น จาแนกสิ่งที่ถูก-ผิดได้ (เมธาวี อุดมธรรมานุภาพ และภักดี ปรีวรรณ, 2554, หน้า 8) ขั้นตอนการจัดกิจกรรมกลางแจ้ง การจั ดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมกลางแจ้งเพื่อส่งเสริมพั ฒ นาการด้านร่างกาย กล้ามเนื้อส่วนต่างๆของเด็กปฐมวัย ให้กับเด็กจานวน 53 คนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหัวแข้ ศรีสมุทร สังกัด องค์การบริหารส่วนตาบลบัวงาม อาเภอบุณฑริก จังหวัดอุบลราชธานี เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ตั้งแต่วันจันทร์ ที่ 8 มิถุนายน 2558 ถึง วันศุกร์ที่ 3 กรกฎาคม 2558 ขั้นนา ครูสนทนากับเด็กถึงกิจกรรมที่จะนามาจัดประสบการณ์และเตรียมความพร้อมเด็กโดยให้เด็ก อบอุ่นร่างกายด้วยการทาท่ากายบริหารพื้นฐานโดยการ กระโดดตบ หมุนไหล่ หมุนเอว หมุนเข่า วิ่งอยู่กับ ที่ จากนั้นครูจัดให้เด็กยืนเรียงแถว 4 แถวให้ห่างกัน 1 ช่วงแขนเพื่อไม่ให้ ชนกัน แล้วทาท่ากายบริหาร ประมาณ 5 นาที ก่อนเริ่มปฏิบัติกิจกรรมกลางแจ้ง ขั้นสอน ครูและเด็กร่วมกันสนทนาถึงข้อตกลงในการปฏิบัติตนเมื่อลงไปเล่นที่สนามแล้วให้เด็กเดินแถวลง ไปที่สนามครูอธิบายและสาธิตวิธีการปฏิบัติกิจกรรมกลางแจ้งที่ถูกวิธีและปลอดภัยแล้วให้ เด็กปฏิบัติ กิจกรรม ครูให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านการเล่นที่หลากหลายเช่น เล่นเครื่องสนาม เล่นทราย เล่นนิา เล่นกับ อุปกรณ์ต่าง เล่นในห้องเรียนและนอกห้องเรียน และใช้เกมที่หลากหลายในการจัดกิจกรรมกลางแจ้งเช่น เกมรับ-ส่งลูกบอล เกมจับคู่กระโดด เกมมอญซ่อนผ้า เก้าอี้ดนตรี เกมกระซิบ เกมวิ่งเก็บของ เกมโยนลูก บอล และเกมวิ่งซิ ก แซกเก็ บ ของ เป็นต้นเพื่อ ให้ เด็ ก ได้เ คลื่ อ นไหวส่ ว นต่า งๆของร่า งกายและพั ฒ นา กล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ตลอดจนให้เด็กได้คิดและแสดงออกตามจินตนาการอย่างอิสระที่เหมาะสมกับวัย ครูใช้สื่ออุปกรณ์ต่างๆช่วยในการจัดกิจกรรมได้แก่ เครื่องเล่นสนาม ทราย น้าลูกบอล เก้าอี้ นกหวีด ของ เล่น เครื่องเล่นซีดี ซีดีเพลงต่างๆที่ใช้ประกอบกิจกรรม จากนั้นครูสังเกตและประเมินพัฒนาการของเด็ก ในการปฏิบัติกิจกรรมปฏิบัติตามข้อตกลงและการเล่นร่วมกับผู้อื่นตลอดจนการคิดแก้ปัญหาเมื่อประสบ กับปัญหาในระหว่างการปฏิบัติกิจกรรมและการดูแลความสะอาดของร่างกายเมื่อเลิกปฏิบัติกิจกรรมแล้ว


ขั้นสรุป เด็กสามารถทากิจกรรมร่วมกับครูและเพื่อนาได้อย่างสนุกสนาน และสามารถปฏิบัติตามกฎและ กติกาที่ตกลงร่วมกันไว้ได้ ในการเล่นเครื่องเล่นสนามส่วนใหญ่เป็นการเล่นกันเป็นกลุ่ ม มีการเล่นแบบ เลียนแบบกัน เด็กส่วนใหญ่สามารถปีนเครื่องเล่นชนิดปีนป่ายได้ บางคนไม่สามารถปีนได้การเล่นเกมต่างๆ ที่ครูพาเล่น เด็กส่วนใหญ่สามารถทาได้ ผลของการจัดกิจกรรม จากการจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมกลางแจ้งเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย กับเด็กจานวน 53 คนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหัวแข้ ศรีสมุทรเป็นเวลา4สัปดาห์ ผลปรากฎว่า เด็กสามารถ ทรงตัวได้ดีสามารถเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายและใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ในการทากิจกรรมได้ คล่องแคล่ว เด็กมีทักษะในการใช้ความคิดและแสดงออกอย่างสร้างสรรค์รู้จักการแบ่งปันรอคอยลาดับ ก่อน-หลังและช่วยเหลือซึ่งกันและกันตลอดจนสามารถปฏิบัติตนเป็นผู้นาและผู้ตามที่ดีได้ซึ่งครูเป็นผู้มี บทบาทในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ สร้างบรรยากาศในการจัดกิจกรรมต่างๆที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของ เด็กและส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตลอดจนให้คาปรึกษาแนะนาและคอยดูแล อย่างใกล้ชิด เอกสารอ้างอิง คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สานักงาน. (2546). คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2546 (สาหรับเด็กอายุ 3-5 ปี). กรุงเทพมหานคร : คุรุสภาลาดพร้าว. นภเนตร ธรรมบวร. (2544). การประเมินผลพัฒ นาการเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. นิดา หงส์วิวัฒน์ (2554). ออกกาลังกาย.ในภาวะการร้อนเกินของร่างกาย.กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์ แสงแดด. นิตยา ประพฤติกิจ. (2539). การพัฒนาเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์. เมธาวี อุดมธรรมานุภาพ และภักดี ปรีวรรณ. (2554). ธรรมชาติของผู้เรียน. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์. (2547). คู่มือครูแผนจัดประสบการณ์การเรียนรู้. กิจกรรมพัฒนาพหุปัญญา. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช.


ชื่อ สถานที่ทางาน ตาแหน่ง จานวนเด็ก

นางสาวรุ่งรัตน์ ชริด นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหัวแข้ ศรีสมุทร ตาบลบัวงาม อาเภอบุณฑริก จังหวัด อุบลราชธานี ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก 24 คน


การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาของเด็กปฐมวัย ORGANIZING MOVEMENT AND RHYTHMIC ACTIVITIES FOR INTELLECTUAL DEVELOPMENT OF CHILDHOOD บทคัดย่อ สุมาลี วิชัย Sumalee vichai การจัดการศึกษากิจกรรมเคลื่อ นไหวและจังหวะ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาของเด็ก ปฐมวัย เป็นการจัดการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัย มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา ทางด้านการคิด ด้านการใช้ภาษา ด้านมิติสัมพันธ์ และด้านเวลา ในการจัดกิจกรรมครั้งนี้ ใช้เด็กช่วงอายุ ระหว่าง 3-5 ปี จานวน 17 คน ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าสน-คาอุดม สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบล โพนงาม อาเภอบุ ณฑริ ก จั งหวัดอุบลราชธานี ซึ่งมีการจัด การสอนเป็ น 3 ขั้นตอนดังนี้ (ขั้นนาเข้ า สู่ บทเรียน) เป็นการอบอุ่นร่างกายในท่าที่ง่ายๆก่อน (ขั้นจัดกิจกรรม) ครูร้องเพลงร้องเล่นเต้นรา และเพลง ตบมือ ตบตัก ตบไหล่ แล้วให้เด็กทาท่าทางตามครู ครูเปิดเพลง Head shoulder knees and toes และ เพลง Abc ชักกะตุก เพื่อให้เด็กได้ออกแบบท่าทางเคลื่อนไหวอย่างอิสระ (ขั้นสรุปการจัดกิจกรรม) ครูและ เด็กร่วมสนทนาเกี่ยวกับกิจกรรม ผลจากการจั ดกิกรรมพบว่า เด็กมี พัฒ นาการด้านสติปัญญา จากการสั งเกต พบว่า เด็กมีมิติ สัมพันธ์ ระหว่างกล้ามมือกับตา เด็กรู้จักเวลาในการเริ่มเคลื่อนไหว และหยุดเคลื่อนไหว เด็กได้ใช้ทักษะ ด้านการคิดจากการเต้นอิสระ เด็กมีการใช้ทักษะทางภาษาในการตอบคาถาม …………………………………………………………………………….. คาสาคัญ : กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ พัฒนาการด้านสติปัญญา เด็กปฐมวัย Key word : Movement and rhythmic, Intellectual development,childhood.


การจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาของเด็กปฐมวัย สุมาลี วิชัย* เด็กปฐมวัยในช่วงอายุ 3-5 ปี เป็นวัยที่มีการเคลื่อนไหวเพื่อพัฒนาพัฒนาการด้านต่างๆ การใช้ ประสาทรับรู้เคลื่อนไหวเป็นกระบวนการที่เด็กปฐมวัยพัฒนาทักษะและความสามารถในการใช้ประสาท รับรู้เพื่อทาความเข้าใจข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัว ดังนั้นกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะจึงได้รับ การจัดเป็นกิจกรรมหลักเพื่อพัฒนาเด็ก ซึ่งเป็นเรื่องสาคัญและจาเป็น เพื่อให้เด็กเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ มีผลต่อการพัฒนาการเด็กธรรมชาติของเด็กปฐมวัยจะเคลื่อนไหวร่างกายเพื่อใช้พลังกายและถ่ายพลังที่มี อยู่ล้นเหลือออกมา การเคลื่อนไหวมีความสัมพันธ์กับชีวิตส่วนหนึ่งของเด็ก เด็กรู้จักตนเองจากการเคลื่อนไหวร่างกาย วิธีเคลื่อนไหวหลายๆวิธี ช่วยให้เด็กเกิดทักษะในการใช้ร่างกาย ทักษะในการคลุมกล้ามเนื้อ การหยิบจับ การแก้ปัญหา เพิ่มความรู้และเจตคติ (พวงทอง ไสยวรรณ, 2530, หน้า 56) ความสาคัญของกิจกรรมเคลื่อนไหว กิจกรรมเคลื่อนไหวจึงมีความสาคัญต่อกระบวนการเรียนรู้ของเด็ก เพราะการมีร่างกายที่พร้อม และแข็งแรงก็จะส่งผลให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี 1. ช่วยให้เด็กเรียนรู้การเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกาย และสามารถพัฒนาการเคลื่อนไหวได้ อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ช่วยให้เด็กมีการพัฒนาในทางสร้างสรรค์ เพราะว่าการเรียนแบบวิธีคิดค้นการเคลื่อนไหวเป็น กิจกรรมที่ได้แก้ปัญหาการเคลื่อนไหวได้ด้วยตนเองอยู่ตลอดเวลา 3. ช่วยให้เด็กเข้าใจประโยชน์ของการเคลื่อนไหวของส่วนต่างๆของร่างกายได้เป็นอย่างดี ทาให้ สามารถนาประโยชน์ในการเคลื่อนไหวเหล่านี้ไปใช้ในชีวิตประจาวันของตนเองต่อไป ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะมีดังนี้ 1. ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์เน้นการเรียนรู้ที่สาคัญด้วยกฎ 3 ประการคือ ประการแรก กฎแห่งความพร้อมที่เชื่อว่า การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อเด็กมีความพร้อมทั้งกายและใจ สาหรับ นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนถิ่นกับ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต รมป.2 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต *


ร่างกายเป็นการเตรียมการใช้กล้ามเนื้อและระบบประสาทสัมพันธ์กัน ส่วนจิตใจเป็นความพร้อมทางด้าน สมองหรือสติปัญญา นอกจากนี้ควรคานึงถึงความพร้อมของแต่ละวัยด้วยเพราะความพร้อมทั้งร่างกาย และจิตใจส่งผลให้เกิดการเรียนรู้ที่ดี ประการที่สองกฎแห่งการฝึกหัดเชื่อว่าเด็กจะเรียนรู้จากการกระทา ซ้าๆ กันหลายครั้งเพราะการทากิจกรรมอย่างสม่าเสมอจะทาให้ระบบประสาทและกล้ามเนื้อทางาน สั มพัน ธ์กัน ดี ประการที่ส ามกฎแห่ ง ผล เชื่อว่าเด็กจะเรียนรู้ ไ ด้ ดีขึ้ นถ้ าผลของการกระท าเป็น ไปใน ทางบวกหรือดีขึ้น เพราะจะทาให้เด็กเกิดความสนใจ เกิดทักษะและความพึงพอใจ 2. ทฤษฎีพัฒ นาทางสติปั ญญาของเพียเจท์ เพียเจท์ ถือว่าการให้ เด็กได้สั มผัส วัตถุต่างๆ จะ ส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้ โดยเฉพาะในเด็กก่อนศึกษา ซึ่งอาศัยการรับรู้เป็นสื่อในการกระตุ้นทาง ความคิดของเด็กจาเป็นต้องให้เด็กมีโอกาสเคลื่อนไหวและสัมผัสสิ่งต่างๆ ทฤษฎีนี้เป็นประโยชน์ในการจัด เนื้อหาและกิจกรรมทางการเคลื่อนไหว โดยให้เด็กสัมผัสวัตถุต่างๆ ที่อยู่รอบๆตัวเด็ก ซึ่งจะช่วยให้เด็ก ได้เรี ย นรู้ ในสิ่ งใหม่ ๆ (ส านั ก งานคณะกรรมการประถมศึ กษาแห่ งชาติ , 2535, หน้า 69; อ้างอิง จาก Piaget's 1652) หลักการจัดการเรียนรู้กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กุลยา ตันติผลาชีวะ (2547: 114-115) ได้ให้ข้อเสนอแนะหลักการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหว สาหรับเด็กปฐมวัยไว้ดังนี้ 1. กิจกรรมที่ครูให้เด็กกระทาต้องมีลักษณะสร้างสรรค์มากที่สุด ม้แต่จะเป็นกิจกรรมเคลื่อนไหว อยู่กับที่ 2. กิจกรรมควรเริ่มต้นจากการเคลื่อนไหวร่างกาย โดยส่วนรวมก่อนแล้วจึงไปส่วนแขน ขา ใน ขณะเดียวกันครูต้องสังเกตและสร้างความเชื่อมั่นให้กับเด็กเรียนรู้ร่างกาย และการเคลื่อนไหวของตนเอง 3. ท่าทางของการเคลื่อนไหวต้องไม่ยุ่งยากให้กับเด็กเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับเด็ก แต่ต้องมี ความหมายสาหรับเด็กในการเรียนรู้ โดยเฉพาะการพัฒนาและการสร้างสรรค์ 4. มีบริเวณและพื้นที่สาหรับเด็ก เพื่อให้เด็กมีความคล่องตัวในการเคลื่อนที่ร่างกายทั้งอยู่กับที่ และเคลื่อนที่ เพื่อเด็กจะได้เรียนรู้พื้นที่รอบๆ ตัว รู้จักบริเวณรอบตัว บริเวณรอบข้าง การเคลื่อนไหวสอน ให้เด็กเรียนรู้พื้นที่ สิ่งที่ครูควรสอนไม่ใช่สั่งให้เด็กยืน ณ ตาแหน่งที่ครูกาหนด แต่การเรียนรู้พื้นที่คือ สิ่งที่ ครูบอกเด็กว่าให้หาพื้นที่ที่เด็กๆ กางแขน แกว่ง แล้วไม่ชนเพื่อน การบอกเด็กเช่นนี้เป็นการสร้างให้ เด็กเรียนรู้ตนกับพื้นที่ 5. ให้อิสระเด็กในการเคลื่อนไหวตามลักษณะของกิจกรรมการเคลื่อนไหวซึ่งอิสระนี้หมายถึง การทาให้เด็กทาเสียงดนตรีมากกว่าการทาท่าตามเนื้อเพลงหรือทาตามคาสั่ง แต่ให้เด็กรู้จักการสังเกตว่า เมื่อไรควรเคลื่อนไหวและเมื่อไรควรหยุดด้วยตัวของตัวเอง ดังนั้น แนวทางการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและ จังหวะต้องมีลักษณะสร้างสรรค์โดยการเคลื่อนไหวร่างกายควรเริ่มจากแขน ขา ควรเริ่มจากท่าง่ายๆ ก่อน เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจให้กับเด็กก่อน ต้องมีพื้นที่สาหรับให้เด็กได้เคลื่อนไหว กางแขน แกว่งแล้วไม่ ชนเพื่อน และให้อิสระเด็กในการเคลื่อนไหวตามลักษณะกิจกรรม


การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาให้กับเด็กในศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าสน-คาอุดม จานวน 17คน เด็กอายุระหว่าง 3-5ปี มีขั้นตอนดังนี้ ขั้นนา - ครูให้เด็กจับมือกันเป็นวงกลมแล้วอบอุ่นร่างกายด้วยการสลัดมือ หมุนเอว หมุนหัวไหล่ หมุน เข่า ผงกหัว โดยใช้การนับท่าละ10ครั้ง ขั้นสอน - ครูร้องเพลงร้องเล่นเต้นรา และร้องเพลงตบมือ ตบตัก ตบ ไหล่ ให้เด็กทาท่าทางตามเพลงโดย ครูสาธิตให้ดูก่อนแล้วให้เด็กลองทาตาม ครูสังเกตการทากิจกรรมของเด็ก และครูใช้การเปิดเพลง Head shoulder knees and toes และเพลง ABCชักกะตูกโดยให้เด็กๆคิดสร้างสรรค์ท่าทางการเคลื่อนไหว ด้วยตนเอง ครูสังเกตการทากิจกรรมของเด็กให้เด็ก - อบอุ่นร่างกาย และพักผ่อนร่างกาย 2-3 นาที ขั้นสรุป ครูและเด็กร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะโดยครูสังเกตการพูดและการ ตอบคาถามของเด็ก เด็กสามารถตอบคาถามได้อย่างชัดเจน เด็กมีความกล้าแสดงออกในการพูด อธิบาย ส่วนประกอบของร่างกายในเพลงได้ จากการสังเกตขณะทากิจกรรมเด็กสามารถประสานสั มพันธ์ระหว่าง มือกับตาโดยการมองดูขณะครูทากิจกรรมและทาท่าทางตามครูได้ ประสานสัมพันธ์ระหว่างหูกับปากได้ ขณะเด็กฟังเพลงที่ครูร้องและเด็กก็ร้องคลอไปกับครูได้เมื่อเปิดเพลงให้เด็กไดัออกแบบการเคลื่อนไหว อย่างอิสระ เด็กได้แสดงความคิดสร้างสรรค์ของเด็กออกมา มีทั้งกระโดด วิ่งอยู่กับที่ โยกย้ายในแบบของ ตนเองอย่างสนุกสนาน สรุปผลการจัดกิจกรรม จะเห็นได้ว่าการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาของเด็ก ปฐมวัยโดยการสังเกตขณะเด็กปฏิบัติกิจกรรม เด็กใช้มิติสัมพันธ์ระหว่างมือกับตาในการที่มองครู ทา ท่าทางและเด็กเองก็ทาท่าทางไปด้วย ใช้มิติสัมพันธ์ระหว่างหูกับปาก ในขณะที่เด็กฟังเพลงที่ครูร้องเด็กก็ จะร้องตามไปด้วยในช่วงของขั้นนาที่เป็นการอบอุ่นร่างกายเป็นการเคลื่ อนไหวในท่าที่ง่ายเพื่อให้ เ ด็ก สามารถปฏิบัติได้เป็นการเสริมสร้างคามมั่นใจให้กับเด็ก นอกจากนั้นยังพบว่ากิจกรรมเคลื่อนไหวที่ให้เด็ก ได้คิดสร้างสรรค์ท่าทางการเคลื่อนไหวของเด็กเองทาให้เด็กมีจินตนาการสอดคล้องกับงานวิจัยของพรพิมล เวสสวัสดิ์ ที่ว่าประสิทธิภาพของกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะโดยใช้แนวคิดการเต้นเชิงสร้างสรรค์ส่งผล ถึงความคิดสร้างสรรค์ใน3องค์ประกอบ ได้แก่ คามคิดคล่องตัว ความคิดริเริ่ม และจินตนาการ ดังนั้นจึง สรุปได้ว่า กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา ด้านการคิด ด้านการใช้ ภาษา ด้านมิติสัมพันธ์ และเวลา


เอกสารอ้างอิง กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2547). การจัดการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรีนค รินทรวิโรฒ. จุฑามาศ วงศ์สุวรรณ. (2548). การเคื่อนไหวประกอบจัวหวะที่ผลต่อประสิทธิภาพในการเคลื่อนไหว ของเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา. สารนิพนธ์. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรีนคริ นทรวิโรฒ. พวงทอง ไสยพรรณ. (2530). กิจกรรมพละศึกษาสาหรับเด็กปฐมวัย. พิษณุโลก : ภาควิชาอนุบาลศึกษา คณะครุศาสตร วิทยาลัยครูพิบูลสงคราม พิษณุโลก. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2547). คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 (สาหรับเด็กอายุ 3-5 ปี). กรุงเทพมหานคร : คุรุสภาลาดพร้าว. สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. (2550). การศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

ชื่อ

นางสาวสุมาลี วิชัย นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต สถานที่ทางาน ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก บ้ า นป่ า สน-ค าอุ ด ม ต าบลโพนงาม อ าเภอบุ ณ ฑริ ก จั ง หวั ด อุบลราชธานี ตาแหน่ง ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก จานวนเด็ก 47 คน


การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมการปรับตัวของเด็กปฐมวัยในศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก บ้านโนนข่า-โนนยาง ตาบลโพธิ์ศรี อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี Create Activity for Help Adapting Of Early Childhood in NONKANONYA Child Development CenterPhosri Phibunmagsahan Ubonratchathani Province ปฏิกรณ์ โพธาราม Patikorn Potaram บทคัดย่อ การเรียนรู้การปรับตัวของเด็กปฐมวัยแบ่งออกด้วยกัน3อย่างคือ (1) การปรับตัวกับเพื่อน (2) การ ปรับตัวกับครู (3) การปรับตัวเข้ากับสถานที่ เพื่อส่งเสริมเด็กปฐมวัยให้เรียนรู้การปรับตัวโดยใช้กิจกรรม สร้างสรรค์ คือ การปั้นการปะติด การระบายสี การเรียนรู้นอกสถานที่ โดยจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ให้กับ เด็ ก ปฐมวั ย ในศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก บ้ า นโนนข่ า โนนยาง ต าบลโพธิ์ ศ รี อ าเภอพิ บู ล มั ง สาหาร จั ง หวั ด อุบลราชธานี จานวน 30 คน ซึ่งแบ่งขั้นตอนการจัดกิจกรรมออกเป็น 4 ขั้นตอนคือ (1) ขั้นเตรียม (2) ขั้น นาเข้าสู่บทเรียน (3) ขั้นสอน (4) ขั้นสรุป ผลของการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์พบว่าเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนข่าโนนยาง ผล จากการวัดโดยการสังเกตการร่ว มกิจกรรมประจากลุ่มพบว่าเด็กมีพัฒ นาการด้านสั งคมดีขึ้นรู้จั ก การ ปรับตัวเข้ากับเพื่อนเเละสถานที่ได้มากขึ้น …………………………………………………………………………………. คาสาคัญ : กิจกรรมสร้างสรรค์ การปรับตัวของเด็ก Key Word : Create Activity Adapting Of Child


การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมการปรับตัวของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนข่าโนนยาง ตาบลโพธิ์ศรี อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ปฏิกรณ์ โพธาราม* เด็กปฐมวัยในช่วงอายุ 0-5ขวบจะมีพัฒนาการทางด้านร่างกายที่เจริญเติบโตได้ดี อาร์โน กลีเชล (Gesell) ว่าด้วยทฤษฎีการพัฒนาทางร่างกายว่าจะมีการเจริญเติบโตและแบ่งพัฒนาการเด็กออกเป็น 4 ด้านคือ 1. ด้านการเคลื่อนไหว 2. ด้านการปรับตัว 3. ด้านการใช้ภาษา 4. ด้านนิสัยส่วนตัว ในช่วงวัยนี้ ลักษณะพัฒนาการที่สาคัญ คือ การเปลี่ยนแปลงทางด้านการเคลื่อนไหว การทางานของส่วนต่างๆของ ร่างกาย พฤติกรรมด้านการปรับตัวเป็นความสามารถในการประสานงานระหว่างระบบการเคลื่อนไหวกับ ระบบความรู้สึก เช่นการประสานงานระหว่างมือกับตา ซึ่งดูได้จากความสามารถในการทากิจกรรมต่างๆ เช่น การเล่นกลางแจ้ง การทางานกลุ่มหรือการทางานเดี่ยว การฟังนิทาน การร้องเพลง ดั้งนั้นทางศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กจึงนากิจกรรมสร้างสรรค์มาใช้เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้และปรับตัวเข้ากับเพื่อน ครู สถานที่ เพื่อ ส่งเสริมพัฒนาการให้เหมาะสมกับวัย ความสาคัญของการจัดการเรียนรู้การปรับตัวของเด็กปฐมวัย การเรียนรู้การปรับตัวของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนข่าโนนยางจะมีอยู่ด้วยกัน 3 อย่าง คือ 1. การปรับตัวกับเพื่อน 2. การปรับตัวเข้ากับครู 3. การปรับตัวเข้ากับสถานที่ ซึ่งใช้กิจกรรม สร้างสรรค์เป็นกิจกรรมให้เด็กได้เรียนรู้ กิจกรรมสร้างสรรค์ก็จะมีรูปแบบต่างๆ เช่น การออกกาลังกาย การเต้นประกอบเพลง การทางานเป็นกลุ่ม การทางานเดี่ยว การเล่นตามมุมต่างๆ การเรียนรู้นอกสถานที่ ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้จะเป็นเครื่องมือช่วยให้เด็กเกิดความสนุกสนานและมีความกล้าแสดงออก พร้อมสร้าง ทัศนคติที่ดีต่อการเรียนซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ กลีเชล (Gesell) (นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย, 2550, หน้า 13) เชื่อว่าพัฒนาการของเด็กเป็นไปอย่างมีแบบแผนและเป็นขั้นตอน เด็กควรได้รับการพัฒนาไป ตามธรรมชาติไม่ควรเร่งหรือบังคับ เด็กจะเรียนรู้การปรับตัวจากการเคลื่อนไหว การใช้ภาษา การเล่น กลางแจ้ง โดยการใช้กิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อฝึกการใช้มือและประสาทสัมพันธกับตาโดยใช้กิจกรรมให้เด็ก ได้ฟังได้เกิดการเรียนรู้ ได้พูดและได้ทาตาม ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้จะเป็นกิจกรรมเดี่ยวหรือกิจกรรมกลุ่มก็ได้ ความสาคัญของกิจกรรมสร้างสรรค์ กิ จ กรรมสร้ า งสรรค์ ส าหรั บ เด็ ก ปฐมวั ย คื อ การจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นรู้ เ พื่ อ พั ฒ นาการคิ ด สร้างสรรค์ โดยให้เด็กแสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึกและจิตนาการโดยใช้ศิลปะในหลายรูปแบบดังที่ โกสุม สายใจและคณะ(สุนทรีทางศิลปะสาหรับเด็กปฐมวัย, 2550, หน้า 4) การเขียนภาพ การปั้น การ *นักศึกษา โครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต รมป.2 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ รหัส 571111321180


ระบายสี การฉีก การตัดปะ การประดิษฐ์หรือกระบวนการอื่นๆ โดยช่วยให้เด็กได้มีการพัฒนาทางด้าน การคิดสร้างสรรค์ มีทักษะในการใช้มือและการควบคุมกล้ามเนื้อมัดเล็ก มีอารมณ์เพลิดเพลินตามวัย ชึ่ง เป็นพื้นฐานสาคัญเกีย่ วกับความมีจิตสุนทรีย์ ขั้นตอนการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ ขั้นเตรียม ครูใช้กิจกรรมเตรียมความพร้อมให้กับเด็กโดยใช้เพลงประกอบ ใช้เพลง ลมหายใจเข้า และเพลง ดอกไม้กับตะวันทุกวันก่อนการจัดกิจกรรมประจาวันเหตุที่ใช้เพราะจะช่วยให้เด็กได้เกิดการเคลื่อนไหว ร่างกายและยังสามารถปรับตัวเข้ากับเพื่อนได้ดีด้วยและสร้างความสนุกสนานพร้อมที่จะทากิจกรรมต่อไป ขั้นนา แบ่งกลุ่มเด็กออกเป็นกลุ่มตามสัญญลักษ์ที่ครูจัดไว้แล้วครูแนะนาเรื่องราวในหน่วยการเรียนรู้ ดอกไม้งามตาและนานาสัตว์โลกที่จะใช้สอนพร้อมทั้งขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม และครูก็ใช้บทเพลง ดอกไม้กับตะวัน สวนสัตว์น่ารักนาเด็กเข้าสู่บทเรียน ขั้นสอน ครูใช้หน่วยการเรียนรู้ ดอกไม้งามตา และครูสนทนากับเด็กและมีภาพดอกไม้ชนิดต่างๆให้เด็กดู คือ ดอกกุหลาบ ดอกดาวเรือง ดอกมะลิ ดอกทานตะวัน แล้วให้เด็กตอบคาถามก่อน หลังจากนั้นครูให้ เด็กในแต่ละกลุ่มเลือกภาพดอกไม้ และนากลับไปที่กลุ่มของตนเองแล้วให้ช่วยกันดูและออกมาพูดให้เพื่อน กลุ่มอื่นฟังว่าดอกไม้ที่เด็กได้มีลักษณะอย่างไร และสามารถใช้ประโยชน์อย่างไรได้บ้าง หลังจากที่เด็กพูด เสร็จ ครูก็ให้ใบกิจกรรมกับเด็กแต่ละกลุ่ม แล้วให้แต่ละกลุ่มช่วยกันระบายสีปะติดและจุ่มสีตามภาพที่เด็ก ได้เลือกในแต่ละกลุ่มแล้วครูสังเกตการร่วมกิจกรรมของกลุ่ม ครูใช้หน่วยการเรียนรู้ ดอกไม้งามตา และครูสนทนากับเด็กและมีภาพดอกไม้ชนิดต่างๆ ให้เด็กดู คือ ดอกกุหลาบ ดอกดาวเรือง ดอกมะลิ ดอกทานตะวัน แล้วให้เด็กตอบคาถามก่อน หลังจากนั้นครูให้ เด็กในแต่ละกลุ่มเลือกภาพดอกไม้ และนากลับไปที่กลุ่มของตนเองแล้วให้ช่วยกันดูและออกมาพูดให้เพื่อน กลุ่มอื่นฟังว่าดอกไม้ที่เด็กได้มีลักษณะอย่างไร และสามารถใช้ประโยชน์อย่างไรได้บ้าง หลังจากที่เด็กพูด เสร็จ ครูก็ให้ใบกิจกรรมกับเด็กแต่ละกลุ่ม แล้วให้แต่ละกลุ่มช่วยกันระบายสีปะติดและจุ่มสีตามภาพที่เด็ก ได้เลือกในแต่ละกลุ่มแล้วครูสังเกตการร่วมกิจกรรมของกลุ่ม ครูใช้หน่วยการเรียนรู้ นานาสัตว์โลก และครูสนทนากับเด็กและมีรูปสัตว์ชนิดต่างๆ ให้เด็กดู เช่น รูปเสือ รูปกบ รูปวัว รูปไก่ รูปนก แล้วให้เด็กตอบคาถามก่อน หลังจากนั้นครูให้เด็กในแต่ละกลุ่มเลือกรูป สัตว์ที่เด็กชอบ และนากลับไปที่กลุ่มของตนเองแล้วให้ช่วยกันดูและออกมาพูดให้เพื่อนกลุ่มอื่นฟังว่ารูป สั ตว์ที่เด็กได้มีลักษณะอย่ างไร และเคยเห็ นที่ไหนบ้างพร้อมทั้งทาท่าทางประกอบของสัตว์ชนิดนั้นๆ หลังจากที่เด็กพูดเสร็จ ครูก็ให้ใบกิจกรรมกับเด็กแต่ละกลุ่ม แล้วให้แต่ละกลุ่มช่วยกันระบายสีตามภาพที่ เด็กได้เลือกในแต่ละกลุ่มและครูสังเกตการร่วมกิจกรรมของเด็กภายในกลุ่ม


ขั้นสรุป ครูทบทวนเนื้อหาที่เด็กได้ทากิจกรรมนั้นมากับเด็กหลังจากที่เด็กในแต่ละกลุ่มระบายสีเสร็จว่า ลักษณะของดอกไม้เป็นอย่างไรใช้ประโยชน์ อย่างไรและลักษณะของสัตว์ที่เด็กรู้จักเป็นอย่างไรพร้อมให้ เด็กออกมาพูดให้เพื่อนๆและครูฟังพร้อมทั้งให้ทาท่าทางของสัตว์ชนิดนั้นๆประกอบด้วย และครูตั้งคาถาม เพื่อให้เด็กตอบ ดอกทานตะวันสีอะไร ดอกดาวเรืองใช้ทาอะไรได้บ้าง เสือมีสีอะไร กบกินอะไรเป็นอาหาร โดยเลือกเด็กออกมาตอบคาถามครู ผลของการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้การปรับตัวของเด็กปฐมวัย จากการจั ด การเรี ย นการสอนกิ จ กรรมสร้ า งสรรค์ ทั้ ง 4สั ป ดาห์ ที่ ผ่ า นมาผลปรากฏว่ า เด็ ก มี พัฒนาการทางด้านสังคมดีขึ้นรู้จักการปรับตัวเข้ากับเพื่อนกับสถานที่รวมทั้งกับครูด้วยโดยสังเกตจากการ ร่วมกิจกรรมประจากลุ่ มในแต่ล ะวันที่ได้จัดให้ กับเด็กและรู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเองซึ่งสอดคล้ อง แนวคิดของ อีริคสัน (Erikson) (ธรรมชาติของผู้เรียน, 2550, หน้า 33) เด็กเริ่มเรียนรู้ทาความเข้าใจกับ สิ่งแวดล้อม เรียนรู้ติแหน่ า งของตนเองในครอบครัว บทบาทการเป็นพี่ เป็นน้อง การเป็นนักเรียน เรียนรู้ที่ จะปรับพฤติกรรมของตนเองตามสถานการณ์และบทบาทในขณะนั้น เอกสารอ้างอิง โกสุม สายใจ และคณะ. (2550). สุนทรียภาพทางศิลปะสาหรับเด็กปฐมวัย . กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. คณะมนุ ษศาสตร์ และสั งคมศาสตร์มหาวิทยาลั ยราชภัฏสวนดุสิ ต . (2551). การพัฒนาภาษาของเด็ก ปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. จีระพันธุ์ พูลพัฒน์ และคณะ. (2557). นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย ราชภัฏ สวนดุสิต. เมธาวี อุดมธรรมานุภาพ และคณะ. (2550). ธรรมชาติของผู้เรียน. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย ราชภัฏ สวนดุสิต. วัฒนา ปุญญฤทธิ์ และคณะ. (2549). นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราช ภัฏ สวนดุสิต.


ชื่อ

นายปฏิกรณ์ โพธาราม นักศึกษาสาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน ดุสิต สถานที่ทางาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโนนข่า-โนนยาง เทศบาลตาบลโพธิ์ศรี อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ตาแหน่ง ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก จานวนเด็ก 30 คน


การจัดการเรียนรู้ผ่านการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนชุมชนบ้านดอนจิก (จรรยาราษฎร์) Academic journal about learning through creative activities to promote four areas of learner development in Choomchonbandonchick Chanyaratch Early childhood Center วิภาพักตร์ พรหมดี VIPAPAK PROMDEE บทคัดย่อ การจัดการเรียนรู้วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและ สติปัญญาในเด็กปฐมวัยนั้นมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่งจึงมีการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์สาหรับเด็กจานวน 68 คนในศู น ย์ พั ฒ นาเด็ก เล็ ก โรงเรี ย นชุม ชนบ้า นดอนจิ ก (จรรยาราษฎร์ ) อ าเภอพิ บู ล มั ง สาหาร จั ง หวัด อุบ ลราชธานี โดยแบ่ งขั้น ตอนออกเป็น 3 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นนาครูเตรียมเด็กโดยใช้เพลงและท่าทาง ประกอบเพลง ขั้นสอน ครูนาเข้าสู่บทเรียนด้วยการใช้คาถาม การใช้ประสบการณ์เดิม ของเด็ก การใช้ นิทาน ครูและเด็กร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาที่จะเรียนรู้ ครูอธิบายให้เด็กๆฟังเกี่ยวกับกิจกรรมที่จะให้ เด็กๆทาให้เด็กเข้าใจและให้เด็กลงมือปฏิบัติ ครูใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ เช่น การระบายสีภาพต่างๆ การขีด เขียน การวาดภาพ การปั้นดินนิมั า นตามจินตนาการ การฉีก ปะภาพ การพิมพ์ภาพจากใบไม้ การเป่าสี การพับกระดาษเป็นรูปต่างๆ เป็นต้น ขั้นสรุป ครูและเด็กร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับผลงานและเด็กออกมา นาเสนอผลงานของตัวเอง ผลจากการจัดกิจกรรมจากการสังเกตพฤติกรรมเด็กพบว่า เด็กได้พัฒนากล้ามเนื้อมัด เล็กจากการเขียนภาพและระบายสีภาพ เด็กมีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ สามารถอธิบายผลงาน ของตัวเองได้ เด็กสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ รู้จักการรอคอยการใช้อุปกรณ์ร่วมกับผู้อื่น รู้จักการ แบ่งปันวัสดุของใช้ เด็กมีสมาธิในการทากิจกรรม เด็กแสดงออกอย่างสร้างสรรค์โดยประเมินจากผลงาน ของเด็ก จึงสรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ช่วยส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา ค าสาคัญ : การจั ดการเรีย นรู้ กิจ กรรมสร้างสรรค์ พัฒ นาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สั งคมและ สติปัญญา Keywords : learing managment, Creative activities, Physiacal, Emotional,Social and intellectual development


การจัดการเรียนรู้ผ่านการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง4ด้านในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียนชุมชนบ้านดอนจิก (จรรยาราษฎร์) วิภาพักตร์ พรหมดี* การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัยมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่งเพราะเด็กในวัยนี้เป็นวัยที่ ต้องการการพัฒนาโดยมีการจัดกิจกรรมที่หลากหลายและเหมาะสมกับวัย ต้องคานึงถึงความสนใจและ ความต้องการของเด็ก การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัยมีการจัดกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม หลักคือ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมกลางแจ้ง และกิจกรรมเกมการศึกษา ทุกกิจกรรมที่กล่าวมาล้วนมีความสาคัญทุกกิจกรรมแต่ กิจกรรมที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนชุมชนบ้านดอนจิก(จรรยาราษฎร์)ได้เน้นจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริม พัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็กคือ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมสร้างสรรค์สาหรับเด็กปฐมวัย คือ การจัด กิ จ กรรมเพื่ อ พั ฒ นาการคิ ด สร้ า งสรรค์ แ ละจิ น ตนาการ กระตุ้ น ให้ เ ด็ ก แต่ ล ะคนได้ แ สดงความรู้ สึ ก ความสามารถ การจัดกิจกรรมสร้า งสรรค์ช่วยส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคมและ สติปัญญา กิจกรรมสร้างสรรค์ได้แก่ การวาดภาพระบายสี การปั้น การพิมพ์ภาพ การพับ การตัด การฉีก ปะและการประดิษฐ์จากเศษวัสดุต่างๆ ความสาคัญของกิจกรรมสร้างสรรค์ กิ จ กรรมสร้ า งสรรค์ เ ป็ น กิ จ กรรมที่ ช่ ว ยให้ เ ด็ ก แสดงออกทางอารมณ์ ความรู้ สึ ก ความคิ ด สร้ า งสรรค์ แ ละจิ น ตนาการโดยใช้ ศิ ล ปะขณะที่ เ ด็ ก ท างานศิ ล ปะสมองของเด็ ก ได้ เชื่ อ มโยงความคิด จินตนาการส่งผลให้เด็กมีความรู้สึกพอใจ มีความสุขและได้สัมผัสสุนทรียภาพด้านศิลปะ (คณะครุศาสตร์, 2557, หน้า 134) ความสามารถในการคิดสร้างสรรค์เกิดจากการประสานความสามารถตามธรรมชาติของ มนุษย์จากส่วนประกอบ 2 ส่วนคือ ความสามารถในการคิด และ ความสามารถในการริเริ่มสร้างสรรค์ การฝึกฝนการคิดจึงเป็นกิจกรรมที่ควรกระทาอย่างสม่าเสมอ การฝึกฝนการคิดส่งผลให้เกิดการพัฒนาการ คิดนาไปสู่พลังแห่งความสามารถในการริเริ่มสร้างสรรค์ (คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี , 2558, หน้า 53) สมองของเด็กปฐมวัยอยู่ในระยะการรับประสบการณ์โดยสมองซีกขวาจะทางานเกี่ยวกับการเรียนรู้ และทาความเข้าใจในด้านศิลปะและการสร้างสรรค์ (สถาบันส่งเสริมอัจฉริยภาพ และนวัตกรรมการเรียนรู้ , 2550, หน้า 3-4) การจัดกิจกรรมศิลปะสาหรับเด็กนับว่ามีความสาคัญยิ่ง นอกจากพัฒนาความพร้อม ด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาแล้ว กิจกรรมศิลปะยังสอดคล้องกับแบบแผนการเรียน ของสมอง (Brain Base Learning :BBL) โดยเด็กได้ฝึกปฏิบัติจริงเรียนรู้ผ่าน การสังเกตและมีอิสระภาพ ทางความคิด กิจกรรมที่เด็กได้แสดงออก ทาให้เกิดจุดเชื่อมต่อของใยประสาท ที่สามารถพัฒนาไปสู่แบบ *นักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาการศึกษาปฐมวัย รมป.2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต


แผนการเรี ย นรู้ ของสมองซึ่ง คุณ ค่ าของศิล ปะมีส่ ว นส่ ง เสริ มพั ฒ นาการทั้ งสี่ ด้าน(ส านั กวิช าการ และ มาตรฐานการศึกษา, 2549, หน้า 23;สานักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ, 2541, หน้า 76) ดังนี้ 1. ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย เป็นการสนับสนุนให้เด็กมีโอกาสพัฒ นากล้ ามเนื้อมัด ใหญ่ กล้ามเนื้อมัดเล็ก เช่น การเขียนภาพ การเล่นสี การปั้น การประดิษฐ์ 2. ส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้แสดงออกทางอารมณ์และ ความรู้ สึ ก ที่ เ หมาะสมกั บ วั ย มี ค วามสุ ข ร่ า เริ ง แจ่ ม ใส ได้ พั ฒ นาคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม สุ น ทรี ย ภาพ มี ความรู้สึกที่ดี ต่อตนเองและความเชื่อมั่นตนเอง เช่น วาดภาพตามจินตนาการ 3. ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้มีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับบุคคลและ สิ่งแวดล้อมต่างๆ เช่นการเล่นและการทางานร่วมกับผู้อื่น การวางแผนเลือกทากิจกรรมตามความสนใจ และมีโอกาสแสดงความรู้สึกตามความต้องการของตนเอง การแบ่งปัน การรับผิดชอบและเป็นผู้นา ผู้ ตามที่ดี 4. ส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา เป็นการสนับสนุนให้เด็กได้รับรู้ เรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัวด้วย ประสาทสัมผัสทั้งห้า การคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ การคิดหาเหตุผล การแก้ปัญหา การจาแนกมิติ สัมพันธ์ เช่น การรับรู้และแสดงความรู้สึกผ่านสื่อวัสดุ และผลงานเขียนภาพระบายสี การปั้นดิน การ ประดิษฐ์เศษวัสดุ เป็นต้น ขั้นตอนการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ การจัดการเรียนรู้ผ่านการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนชุมชนบ้านดอนจิก (จรรยาราษฎร์) สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลดอนจิก อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี มีขั้นตอนและวิธีการดังนี้ ขั้นเตรียม ครูเตรียมความพร้อมเด็กโดยใช้เพลงและท่าทางประกอบ ครูร้องเพลงให้เด็กฟัง ให้เด็กร้องเพลง ตามและทาท่าทางประกอบเพลงเพื่อเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย เพลงที่ใช้เตรียมความพร้อมมี ความหลากหลาย เพื่อไม่ให้เด็กเกิดความเบื่อหน่าย เช่น เพลงสวัสดี เพลงออกกาลังกายรับแสงตะวัน เพลงพระอาทิตย์ยิ้มแฉ่ง เพลงดั่งดอกไม้บาน เป็นต้น ขั้นสอน ครูนาเข้าสู่บทเรียนด้วยการใช้คาถาม การใช้ประสบการณ์เดิมของเด็ก การใช้นิทาน ครูและเด็ก ร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาที่จะเรียนรู้ ครูเปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดเห็น ครูอธิบายให้เด็กๆฟัง เกี่ยวกับกิจกรรมที่จะให้เด็กๆทาให้เด็กเข้าใจและให้เด็กลงมือปฏิบัติ ครูคอยให้คาแนะนาอย่างใกล้ชิดและ คอยสังเกตขณะทากิจกรรม ครูใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ที่


หลากหลายขั้นสรุปเพื่อให้เด็กได้เลือกตามความสนใจ เช่น การระบายสีภาพต่างๆ การขีดเขียน การวาดภาพ การปั้นดินนิมั า นตามจินตนาการ การฉีก ปะภาพ การพิมพ์ภาพจากใบไม้ การเป่าสี การ พับกระดาษเป็นรูปต่างๆ เป็นต้น ครูและเด็กร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับผลงานและเด็กออกมานาเสนอผลงานของตัวเอง จากการใช้กิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กโรงเรียนชุมชนบ้านดอนจิก(จรรยาราษฎร์) จากการสังเกตพฤติกรรมพบว่า เด็กได้พัฒนากล้ามเนื้อมัด เล็กจากการเขียนภาพและระบายสีภาพ เด็กมีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ สามารถอธิบายผลงาน ของตัวเองได้ เด็กสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ รู้จักการรอคอยการใช้อุปกรณ์ร่วมกับผู้อื่น รู้จักการ แบ่งปันวัสดุของใช้ เด็กมีสมาธิในการทากิจกรรม เด็กแสดงออกอย่างสร้างสรรค์โดยประเมินจากผลงาน ของเด็ก จึงสรุปได้ว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ช่วยส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญาซึ่งสอดคล้องกับแนวความคิดของ เกล (Gale, 1960, หน้า 430) ได้ กล่าวไว้ว่า ความคิดสร้างสรรค์เป็นความสามารถที่จะส่งเสริมและพัฒนาได้ เพราะความคิดสร้างสรรค์มิได้ ถ่ายทอดมาทางยีน (Gene) ของบิดา มารดาหากแต่เป็นพฤติกรรมที่ได้รับในภายหลัง ความคิดสร้างสรรค์ หากมิได้รับการเอาใจใส่ตั้งแต่เยาว์วัยแล้ว ความสามารถด้านนี้จะไม่สามารถพัฒนาขึ้นแต่อาจหยุดชะงัก หรือฝ่อไปในที่สุด การเรียนการสอน ประสบการณ์และสิ่งแวดล้อมต่างมีผลโดยตรงต่อการพัฒนาความคิด สร้างสรรค์ของเด็ก เด็กจะมีความคิดสร้างสรรค์มากหรือน้อยย่อมขึ้นอยู่กับประสบการณ์ที่ได้รับ เอกสารอ้างอิง จิระพันธ์ พูลพัฒน์ และคณะ. (2557). นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต. พัชรีพรรณ ลือวณิชย์พันธ์และคณะ. (2558).การคิดและการตัดสินใจ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน ดุสิต. สถาบันส่งเสริมอัจริยภาพและนวัตกรรมการเรียนรู้. (2550) การจัดการเรียนรู้หลักสูตร Brain-BasedLearning ด้านการคิด.เอกสารประกอบการฝึกอบรมครู BBL ระดับอนุบาล. กรุงเทพฯ: สพฐ. จัดพิมพ์ในโครงการ. ความร่วมมือระหว่าง สสอน. ส านั ก งานคณะกรรมการการประถมศึ ก ษาแห่ ง ชาติ . (2541).คู่ มื อ การอบรมเลี้ ย งดู เ ด็ ก ระดั บ ก่ อ น ประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา. สานักงานวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2549). Gale, R.F. (1960).Developmental Behavior: Humanity Approach. New york, The Macmillan Co.


ชื่อ

นางสาววิภาพักตร์ พรหมดี นักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน ดุสิต สถานที่ทางาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนชุมชนบ้านดอนจิก(จรรยาราษฎร์) อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ตาแหน่ง ผู้ดูแลเด็ก จานวนเด็ก 68 คน


การจัดการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัยโดยเตรียมความพร้อม เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคมของเด็ก Academic articles Learning for kids by preparing to promote the social development of children อรวรรณ สีหันต์ orawan Seehan บทคัดย่อ การจัดการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัยมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะเด็กในวัยนี้เป็นวัยที่ต้องการ พัฒนา และเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคมของเด็ก เด็กจะเรียนรู้กระบวนการที่สาคัญ เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติตัวในสังคมที่ถูกต้อง คือการปรับตัวให้บุคคลอื่นยอมรับ การอยู่ร่วมกับบุคคล รอบตัวได้ การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ก็มี ความสาคัญอย่างยิ่ง ทาให้เด็กเรียนรู้สังคมด้วยการเล่น และ ทางาน ผู้อื่น มีการวางแผน การตัดสินใจและลงมือปฏิบัติ ทาให้เด็กได้มีโอกาสรับรู้ความรู้สึก ความสนใจ ของตนเอง และผู้อื่น การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์มีหลากหลายเช่น การวาดภาพระบายสี การปั้น การพิมพ์ ภาพ การพับ การตัด การฉีกปะ และประดิษฐ์จากเศษวัสดุต่างๆ ในการจัดกิจกรรมครั้งนี้เป็นเด็กชายหญิง ที่มีอายุ ร ะหว่า ง 2-5 ปี ที่กาลั งศึกษาอยู่ ในชั้น ปฐมวั ย จานวน 77 คน ศูนย์พัฒ นาเด็กเล็ ก บ้ า น สมบูรณ์ สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลดอนจิก อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งมีการ จัดการเรียนการสอน โดยแบ่งเป็นขั้นตอน 3 ขั้นตอน โดยมีการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ ขั้นนา) ครูและเด็ก ร่ ว มกัน ร้ องเพลงดั่งดอกไม้บ าน ขั้นสอน) ครูส นทนาและซักถามเพื่อให้ เด็กเกิดความเข้าใจในการทา กิจกรรม ขั้นสรุป) ครูสนทนาเนื้อหาที่ทากิจกรรม ครูสังเกตพฤติกรรมจากการตอบคาถาม ผลของการจัดกิจกรรมพบว่าการใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ ทาให้เด็กได้พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก ทาให้ เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการ รู้จักจักการอดทนรอคอยฝึกการทางานร่วมกัน …………………………………………………………………………………………. คาสาคัญ: กิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคมของเด็ก KEYWORDS: Activities to prepare for the social development of children.


การจัดการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัยโดยเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคมของเด็ก อรวรรณ สีหันต์* การจัดการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัยมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะเด็กในวัยนี้เป็นวัยที่ต้องการ พัฒนา และเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคมของเด็ก เด็กจะเรียนรู้กระบวนการที่สาคัญ และจาเป็นสาหรับเขา เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติตัวในสังคมที่ถูกต้อง คือการปรับตัวให้บุคคลอื่นยอมรับ การอยู่ร่วมกับบุคคลรอบตัวได้ การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ก็มีความสาคัญอย่างยิ่ง ทาให้เด็กเรียนรู้สังคม ด้วยการเล่น และทางานร่วมกับผู้อื่น มีการวางแผน การตัดสินใจและลงมือปฏิบัติ ทาให้เด็กได้มีโอกาส รับรู้ความรู้สึก ความสนใจของตนเอง และผู้อื่น การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์มีหลากหลายเช่น การวาดภาพ ระบายสี การปั้น การพิมพ์ภาพ การพับ การตัด การฉีกปะ และประดิษฐ์จากเศษวัสดุต่างๆ ความสาคัญของกิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมสร้างสรรค์สามารถเชื่อมโยงการทางานของสมองหลายด้าน และอวัยวะบางส่วน และ พัฒนาจินตนาการโดยเชื่อมโยงประสบการณ์เป็นภาพ/รูปเพื่อพัฒนาจุดเชื่อมต่อของใยประสาท ภายใต้ สภาพแวดล้อมที่ผ่อนคลาย มีอิสระความคิด ผลงานศิลปะเกิดจากการคิดและตัดสินใจเป็นกิจกรรมที่ช่วย ให้เด็กแสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึก ความคิดสร้างสรรค์จินตนาการ โดยใช้ศิลปะเช่นการวาด การตัด ปะ การฉีกปะ การระบายสีฯลฯ ขณะที่เด็กทางานศิลปะ สมองของเด็กจะเชื่อมโยงความคิดจินตนาการ ส่งผลทาให้เด็กเกิดความรู้สึกพอใจ และได้สัมผัสสุนทรียภาพด้านศิลปะ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ สาหรับเด็กปฐมวัยโดยเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคมของเด็ก ขั้นเตรียม ครูให้เด็กนั่งเป็นวงกลม ก่อนการเริ่มจัดประสบการณ์เรียนรู้ในแต่ละวัน ครูให้เด็กทาสมาธิโดยใช้ เพลงดั่งดอกไม้บาน โดยครูและเด็กร่วมกันร้องและทาท่าทางประกอบเพลงดั่งดอกไม้บาน เป็นการเตรียม ความพร้อมให้กับเด็กเพื่อให้เด็กเกิดสมาธิและทากิจกรรมต่อไป ขั้นสอน ครูนาเข้าสู่บทเรียน ครูและเด็กร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาที่จะเรียนโดยใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ที่ หลากหลาย เช่น การวาดภาพ ระบายสี พับสี ติดปะ ร้อยลูกปัดและปั้นดินนิมั า น ครูและเด็กทาข้อตกลง

*นักศึกษาหลักสูตรการศึกษาศาตรบัณฑิต สาขาการศึกษาปฐมวัย รมป มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต


ร่วมกัน จากนั้นครูอธิบายการทากิจกรรมให้เด็กฟัง และสาธิตวิธีการทาให้ดู เพื่อให้เกิดความเข้าใจและให้ เด็กลงมือทา โดยครูคอยดูและให้คาแนะนาอย่างใกล้ชิด ขั้นสรุป ครูทบทวนเนื้อหากิจกรรมที่ทา แล้วให้เด็กออกมาบรรยายผลงานของตน เพื่อให้ครูและเพื่อนๆ ฟัง ครูสังเกตพฤติกรรมของเด็กจากการทากิจกรรม และการตอบคาถาม ผลของการจัดกิจกรรม จากการใช้กิจกรรมสร้ างสรรค์เพื่อการจัดการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัยโดยเตรียมความพร้อมเพื่อ ส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคมของเด็กจากการสังเกตพฤติกรรมพบว่าเด็กได้พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก จาก การเขียนภาพและระบายสีเด็กมีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการและสามารถอธิบายผลงานของตนเอง ได้ เอกสารอ้างอิง กุลยา ตันติผลาชีวะ.(2543).การสอนแบบจิตปัญญา:แนวการใช้ในการสร้างแผนการสอนระดับอนุบาล. กรุงเทพฯ: เอดิสัน เพรสโปรดักส์. โกสุ ม สายใจ และคณะ. (2550). สุ น ทรี ย ภาพทางศิ ล ปะส าหรั บ เด็ ก ปฐมวั ย . กรุ ง เทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. จิระพันธุ์ พลพัฒน์ และคณะ. (2557). นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย . กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต. เมทาวี อุดมธรรมานุภาพ และคณะ. (2550). ธรรมชาติของผู้เรียน. กรุงเทพมหานคร. มหาวิทยาลัยราช ภัฏสวนดุสิต. ศึกษาธิการ,กระทรวง.(2546).คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546.(สาหรับเด็กอายุ3-5 ปี ). กรุ งเทพฯ: ส านั กวิช าการและมาตรฐานการศึ กษา ส านักงานคณะกรรมการขั้ น พื้ น ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.


ชื่อ

นางอรวรรณ สีหันต์ นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต สถานที่ทางาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสมบูรณ์สามัคคี ตาบลดอนจิก อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ตาแหน่ง ผู้ดูแลเด็ก จานวนเด็ก 77 คน


การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก Articles sbout the event and rhythmic to promote the development of the emotions-the mind of young children in child care centers ปาริชาติ ชมภูประเภท PARICHAT CHOMPHOOPRAPHET บทคัดย่อ การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจของเด็กปฐมวัยใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองไผ่ ตาบลดอนจิก อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี จานวน 38 คน สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลดอนจิก เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายอย่าง เป็ น อิส ระโดยสอนเสี ย งเพลง จั งหวะ หรือเครื่องดนตรีประกอบการเคลื่ อนไหวเพื่ อ เสริม ให้ เด็ ก เกิ ด จินตนาการ ความคิด และแสดงออกทางอารมณ์ช่วยให้เด็กมีพัฒนาการทางอารมณ์ช่วยให้เด็กเรียนรู้สิ่ง ต่างๆรอบตัว และแสดงออกทางอารมณ์ได้เหมาะสมกับวัยซึ่งมีการจัดการเรียนการสอน โดยแบ่งขั้นตอน 3 ขั้นตอน โดยใช้กิจกรรม 6 หลัก คุณครูให้เด็กนั่งเป็นรูปตัว U ก่อนการเริ่มจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ของเด็กก่อนการเรียนครูจะพาเด็กนั่งสมาธิก่อนทากิจกรรม เพลงที่ใช้ในศูนย์คือ เพลง ลมหายใจเข้า-ออก และเพลงออกกาลัง กายครูนาเข้าสู้บทเรียนโดยใช้เพลงหลากหลายในการทากิจกรรมเคลื่อนไหวและ จังหวะเพลงที่ใช้ประกอบด้วย คือ เพลง นิ้วมือของฉัน ลูกเป็ด กามือ เป็นต้น โดยการที่ครูจะสังเกตการ เคลื่อนไหวของเด็กแต่ละคนสังเกตการร่วมกิจกรรมกับเพื่อนในห้องสังเกตการร้องเพลงสังเกตการทาท่า ประกอบ เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายอย่างเป็นอิสระโดยสอนเสียงเพลง จังหวะ หรือเครื่องดนตรีประกอบการเคลื่อนไหวเพื่อเสริมให้เด็กเกิดจินตนาการ ความคิด และแสดงออก ทางอารมณ์ช่ว ยให้ เด็กมีพัฒ นาการทางอารมณ์ช่วยให้ เด็กเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัว และแสดงออกทาง อารมณ์ได้เหมาะสมกับวัยซึ่งมีการจัดการเรียนการสอน โดยแบ่งขั้นตอน 3 ขั้นตอน โดยใช้กิจกรรม 6 หลัก คุณครูให้เด็กนั่งเป็นรูปตัว U ก่อนการเริ่มจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กก่อนการเรียนครูจะพา เด็กนั่งสมาธิก่อนทากิจกรรม เพลงที่ใช้ในศูนย์คือ เพลง ลมหายใจเข้า-ออก และเพลงออกกาลังกายครู นาเข้าสู้บทเรียนโดยใช้เพลงหลากหลายในการทากิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพลงที่ใช้ประกอบด้วย คือ เพลง นิ้วมือของฉัน ลูกเป็ด กามือ เป็นต้น ผลจากการจัดกิจกรรมดังนั้นการใช้กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะจึงมีผลทาให้เด็กเรียนรู้ร่างกาย ของตนเองจากการปฎิบัติกิจกรรมทั้ง 6 กิจกรรมของเด็กกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เด็กๆสามารถร้อง เพลงและทาท่าประกอบเพลงได้สามารถเคลื่อนไหวเคลื่อนที่อยู่กับที่ได้และเปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้ด้วย


ตนเองจากการสังเกตและลงมือปฎิบัติเองตามจินตนาการของเด็กซึ่งจะควบคู่ไปกับความรับผิดชอบ การ รอคอย การแบ่งปันและสามารถเล่นร่วมกับผู้อื่นได้ การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจของเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ปาริชาติ ชมภูประเภท* การเคลื่อนไหวและจังหวะเป็นกระบวนการที่เด็กปฐมวัยพัฒนาทักษะและความสามารถในการใช้ ประสาทรับรู้เพื่อทาความเข้าใจสิ่ งที่อยู่รอบๆตัว เป็นกิจกรรมที่จัดให้ เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่างๆของ ร่างกายอย่างเป็นอิสระโดยใช้เสียงเพลง จังหวะ หรือเครื่องดนตรีประกอบการเคลื่อนไหว เพื่อส่งเสริมให้ เด็กเกิดจินตนาการและความคิดส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทางอารมณ์ช่วยให้เด็กเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัว และแสดงออกทางอารมณ์ได้เหมาะสมกับวัยเพื่อให้เด็กเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ ความสาคัญของกิจกรรมเคลื่อนไหว กิจ กรรมเคลื่ อนไหวจึ งมีความสาคัญต่อกระบวนการเรียนรู้ของเด็กได้เรียนรู้ด้วยตนเองตาม ศักยภาพของแต่ละคนเป็นสิ่งที่สาคัญในการพัฒนาของเด็กควรได้รับความเอาใจใส่และมุ่งหวังให้เด็กได้ เจริญเติบโตสมบูรณ์ทั้งกายและจิตใจ มีความสุข สนุกสนานและการทางานร่วมกับเพื่อนๆได้ เด็กมีจิตที่ ซึมซาบได้ (the Absorbent Mind) มอนเตสซอรี่เชื่อว่าเด็กแต่ละคนไม่ได้รับการศึกษามาจากคนอื่น แต่ ว่าแต่ละคนคือผู้ให้การศึกษาแก่ตนเองใช้จิตในการแสวงหาความรู้ เด็กซึมซาบข้อมูลต่างๆเข้าไปในจิตใจ ของตนเองได้พัฒนาการของจิตที่ซึมซาบได้มี2ระดับคืออายุตั้งแต่เกิดถึง 3ปีเป็นช่วงที่จิตซึมซาบโดยไม่ รู้สึกตัว (unconscious absorbentmind ) เป็นการพัฒนาประสาทสัมผัสการมองเห็น (seeing) การได้ ยิน (hearing) การชิมรส (tasting) การดมกลิ่น (smslling) และการสัมผัส (touching) เด็กจะซึมซาบทุก สิ่งทุกอย่างรอบตัว ขั้นตอนและวิธีการในการใช้กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์และ จิตใจของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก การจัดประสบการณ์เรี ยนรู้ส าหรับเด็ก 38 คนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองไผ่ องค์การ บริ ห ารส่ ว นต าบลดอนจิ ก สั ง กั ด องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลดอนจิ ก อ าเภอ พิ บู ล มั ง สาหาร จั ง หวั ด อุบลราชธานี โดยการใช้เพลง ช้าง ช้าง ช้าง ของเด็กปฐมวัยเป็นเวลา 4 สัปดาห์ เริ่มตั้งแต่วันจันทร์ที่ 8 มิ.ย. 58 ถึง วันที่ 3 ก.ค. 58

*นักศึกษาสาขาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต


ขั้นเตรียม คุณครูให้เด็กนั่งเป็นรูปตัว U ก่อนการเริ่มจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กก่อนการเรียนครูจะ พาเด็กนั่งสมาธิก่อนทากิจกรรม เพลงที่ใช้ในศูนย์คือ เพลง ลมหายใจเข้า-ออก และเพลงออกกาลังกาย ขั้นสอน ครูนาเข้าสู่บทเรียนโดยใช้เพลงหลากหลายในการทากิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพลงที่ใช้ประกอบด้วย คือ เพลง นิ้วมือของฉัน ลูกเป็ด กามือ เป็นต้น โดยการที่ครูจะสังเกตการเคลื่อนไหวของเด็กแต่ละคนสังเกตการ ร่วมกิจกรรมกับเพื่อนในห้องสังเกตการร้องเพลงสังเกตการทาท่าประกอบเพลงส่วนกิจกรรมเสริมประสบการณ์ จะใช้นิทานนาเข้าสู่บทเรียนและนิทานที่ใช้คือ มะเขือเทศยักษ์ กุ๊กไก่ปวดท้อง นอกจากนี้คุณครูจะสนทนา แลกเปลี่ยนความรู้โดยเปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดเห็นกิจกรรมสร้างสรรค์เด็กสามารถเลือกเล่นกิจกรรม ที่ตัวเองสนใจโดยรู้จักรอคอยและแบ่งปันของเล่นให้กับเพื่อนๆ ภายในห้อง กิจกรรมกลางแจ้ง เด็กสามารถเดิน ทรงตัวได้เคลื่อนไหวอยู่กับที่และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ได้ สามารถใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ ได้ดีส่วนกิจกรรมเกมการศึกษาเด็กๆสามารถเล่นเกมภาพตัดต่อรูปผลไม้ต่างๆได้ เช่น ภาพตัดต่อรูปแอ๊ปเปิ้ลได้ เด็กสามารถเล่นร่วมกับผู้อื่นได้ ครูจะคอยสังเกตความถูกต้องในการเล่นเกมและสังเกตการเล่นร่วมกับผู้อื่นได้ ขั้นสรุป ดังนั้นการใช้กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะจึงมีผลทาให้เด็กเรียนรู้ร่างกายของตนเอง การใช้ ร่างกายแต่ละส่วนอย่างไร จากการปฎิบัติกิจกรรมทั้ง 6 กิจกรรมของเด็กกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เด็กๆ สามารถร้องเพลงและทาท่าประกอบเพลงได้สามารถเคลื่อนไหวเคลื่อนที่อยู่กับที่ได้ กิจกรรมเสริม ประสบการณ์เด็กมีสมาธิในการฟังนิทาน เมื่อครูเล่าจบเด็กสามารถตอบคาถามได้ กิจกรรมสร้างสรรค์ จะ ให้เด็กปั้นดินน้ามันเป็นรูปต่างๆตามจินตนาการของเด็กปรากฎว่าเด็กสามารถปั้นดินน้ามันเป็นรูปตาม จินตนาการของเด็กได้และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ กิจกรรมเสรี เปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้ด้วย ตนเองจากการสังเกตและลงมือปฎิบัติเองตามจินตนาการของเด็กซึ่งจะควบคู่ไปกับความรับผิดชอบ การ รอคอย การแบ่งปัน กิจกรรมกลางแจ้ง ให้เด็กได้เคลื่อนไหวอยู่กับที่และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ และการ เดินทรงตัว เด็กสามารถปฎิบัติได้ กิจกรรมเกมการศึกษา ให้เด็กได้เล่นเกมการตัดต่อผลไม้รูปต่างๆเด็ก สามารถตัดต่อรูปผลไม้ต่างๆ ได้และสามารถเล่นร่วมกับผู้อื่นได้ เอกสารอ้างอิง กุลยา ตันติผลาชีวา. (2557). การจัดการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัย . กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัย ศรีนครรินทรวิโรฒ. จิระพันธุ์ พูลพัฒน์ และคณะ. (2557). นวัตกรรมการศึกษา. กรุงเทพมหานคร,มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต นิตยา ประพฤติกิจ. (2539). การพัฒนาเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนส์โตร์.


พัชรีพรรณ ลือวณิชย์พันธ์ และคณะ. (2558). การคิดและการตัดสินใจ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. (2550). การศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

ชื่อ

นางสาวปาริชาติ ชมภูประเภท นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต สถานที่ทางาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองไผ่ ตาบลดอนจิก อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัด อุบลราชธานี ตาแหน่ง ผู้ดูแลเด็ก จานวนเด็ก 35 คน


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อเล็กของเด็กปฐมวัย Article The activity-based learning activities to develop small muscle of preschool children. สุมาลี วงค์ตรี Sumalee Wongtree บทคัดย่อ การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัยเพื่อให้เด็กมีพัฒนาการของ กล้ามเนื้อที่แข็งแรงขึ้น และมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากล้ ามเนื้อของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้าน นกเต็น ตาบลโนนกลาง อาเภอพิบูล มังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี มีกิจกรรมการเรียนการสอน 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ครูให้เด็กทาสมาธิก่อนเรียน จากเพลง "ดั่งดอกไม้บาน" 2) ขั้นสอน ครูอธิบายการระบายสีรูปภาพที่ ครูกาหนด 3) ขั้นสรุป ให้เด็กนาเสนอผลงานรายบุคคลแล้วสังเกตจาก ชิ้นงานเด็ก ผลจากการจัดกิจกรรมพบว่าเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนกเต็น จานวน 42 คน ผลจากการดู จากชิ้นงานรายกรณี จากกิจกรรมสร้างสรรค์ พบว่าเด็กมีพัฒนาการของกล้ามเนื้อเล็กที่ดีขึ้นคือมีการ เคลื่อนไหวร่างกายได้คล่องแคล่ว และการประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตาได้ดีขึ้น การจับดินสอใช้งาน ได้ดีขึ้นตามลาดับ คาสาคัญ : การจัดการเรียนรู้ กิจกรรมสร้างสรรค์ พัฒนากล้ามเนื้อเล็กของเด็กปฐมวัย Keywords: learning activities. Creative activities Developing small muscles of the child.


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อของเด็กปฐมวัย นางสาวสุมาลี วงค์ตรี** การจัดกิจกรรมในเด็กปฐมวัย มีพัฒนาการทั้งหมด 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและ สติปัญญา ซึ่งทางด้านร่า งกายจะ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีผลต่อการ เจริญเติบโตของเด็กในวัยนี้ ซึ่งเด็กจะมีการเคลื่อนไหวที่คล่องแคล่วขึ้น เด็กในวัยนี้กล้ามเนื้อยังไม่แข็งแรง จับดินสอไม่ค่อยถนัดแต่ก็สามารถขีดเขียนเส้นตรงเส้นโค้งได้และจะดีขึ้น หากมีความเข้าใจในการพัฒนา และจัดกิจกรรมที่เหมาะสม เด็กจะสามารถพัฒนาความสามารถได้อย่างเต็มศักยภาพ ความสาคัญของกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อสาหรับเด็กปฐมวัย กิจกรรมสร้างสรรค์เป็นกิจกรรมที่ช่วยเชื่อมโยงการทางานของสมองและพัฒนาจินตนาการซึ่ง สัมพันธ์กับประสบการณ์ของเด็ก เด็กจะแสดงออกมาเป็นภาพ รูปร่าง และรูปทรง จึงเป็นโอกาสที่เด็กจะ ได้ฝึกพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กจากกิจกรรมสร้างสรรค์ที่มีหลากหลาย เป็นการกระตุ้นให้กล้ามเนื้อของเด็ก ได้พัฒนาให้แข็งแรง ถ้าเด็กใช้กล้ามเน้ิอเล็ก ได้คล่องแคล่ว จะช่วยส่งเสริมพัฒนาการด้านต่ างๆ (ลลิต พรรณ ทองงาม, 2539, หน้า 32 ) การเล่นและการจัดกิจกรรมศิลปะต่างๆ จะเป็นเครื่องมือที่ ช่วยให้เด็ก ได้พัฒนาความพร้อมทางมือและตามากที่ สุดเด็กจะเรียนรู้ อย่างสนุกสนาน เด็กจะใช้มือใน การหยิบจับ วัสดุต่างๆ ทาให้เข้าใจวิธีการใช้นิ้วจับดินสอได้อย่างถูกวิธี สอดคล้องกับพัฒนา ชัชพงศ์, 2541, หน้า 122) กล่าวว่า การพัฒนากล้ามเนื้อเล็กให้แข็งแรงเด็กก็พร้อมที่จะลากลีลามือซึ่งเป็นพื้นฐาน สาคัญของการ เขียน เพราะความคล่องแคล่ว ของกล้ ามเนื้อนิ้วมือมีความสั มพันธ์อย่างมากกับการเขียน ของเด็ก ซึ่ง กิจกรรมหรืออุปกรณ์ที่ช่วยส่งเสริมการใช้กล้ามเนื้อมือกับสายตา (สุวิมล ตั้งสัจจพจน์, 2540, หน้า 27) เพราะมือของคนเราคือ ฐานของสมองสาหรับผู้ที่ได้รับการบริหาร มือมาตั้งแต่เด็กๆจะเป็นผู้ที่มีสมองดี มีความคิดฉับไว และ การฝึกฝนความคล่องแคล่วของการใช้กล้าม เนื้ อมัดเล็ กมีความสั มพันธ์อย่ างมากกับการเขียนของเด็ก ซึ่งสามารถฝึ กฝนได้โ ดยการจัดกิจกรรมให้ เหมาะสมกับความสามารถของเด็ก (เกียรติวรรณ อมาตยกุล , 2539, หน้า 9) ความสามารถในการใช้ กล้ามเนื้อมัดเล็กมีความสาคัญและจาเป็นต่อการดารง ชีวิตประจาวันโดยกล้ามเนื้อมัดเล็กเป็นอวัยวะหนึ่ง ในการประกอบกิจวัตรประจาวันด้วยตนเอง

*นักศึกษาโครงการร่วมมือทางวิชาการ ระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต (รมป. 2) สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต


ขั้นตอนและวิธีการในการจัดกิจกรรม การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อของเด็กปฐมวัยในศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กบ้านนกเต็น สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลโนนกลาง อ.พิบูลมังสาหาร จ.อุบลราชธานี โดยใชกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กเป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์เริ่มตั้งแต่วันที่ 8 3 กรกฎาคม พ.ศ 2558 ขั้นเตรียม ก่อนเข้าสู่ กิจ กรรมต่างๆครู ให้ เด็กนั่งเป็นวงกลม ครูกล่ าวทักทายพูดคุยกับเด็กแล้ ว ให้เด็กทาท่า ประกอบเพลง "ดั่งดอกไม้บาน" ให้เด็กได้เคลื่อนไหวร่างกายและฝึกสมาธิเพื่อเตรียมความพร้อมในการทา กิจกรรม ขั้นสอน ครูนาเด็กๆเข้าสู่กิจกรรมเคลื่อนไหวโดยใช้เพลงที่หลากหลาย ได้แก่ เพลงตะวันยิ้มแฉ่ง เพลงกาย บริหาร เพลงมือของฉัน เพื่อให้เด็กได้ฝึกการเคลื่อนไหวอย่างอิสระ ทั้งการเคลื่อนไหวอยู่กับที่และการ เคลื่อนไหวเคลื่ อนที่เป็ นการกระตุ้นการพัฒนาของกล้ามเนื้อเล็ กและและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ กิจกรรม สร้างสรรค์ ครูจะให้เขียนภาพระบายสีและปั้นดินน้ามันตามจินตนาการของเด็กแต่ละคน เพื่อให้เด็กได้ฝึก กล้ามเนื้อมือและพัฒนากล้ามเนื้อเล็ก รวมทั้งการใช้ประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา เมื่อผลงานเสร็จ แให้เด็กนาเสนอผลงานและตั้งชื่อผลงาน โดยครูประเมินจากการสังเกตการใช้กล้ามเนื้อมือและชิ้นงาน ของเด็กแต่ละคน ขั้นสรุป จากกิจกรรมที่หลากหลายที่ครูได้จัด กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเด็กๆสามรถร้องเพลงและ สามรถทาท่าทางประกอบเพลงและสามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้อย่างคล่องแคล่วทั้งการเคลื่อนไหวอยู่ กับที่และการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่และกิจกรรมสร้างสรรค์โดยกิจกรรมการเขียนภาพระบายสีและการปั้น ดินน้ามันเด็กสามารถใช้กล้ามเอมือได้อย่างคล่องแคล่วและสามารถใช้กล้ามเนื้อมือสัมพันธ์กับตาได้ดี เยาวพา เดชะคุปต์ (2542, หน้า 108) กล่าวว่า การเตรียมมกิจกรรมทางศิลปะที่เหมาะสมจะเป็นการเปิด โอกาสให้เด็กเป็นอสิระในการทดลองค้นคว้าและสามารถื่อสารสิ่งที่เขาทดลองกับผู้อื่นนอกจากนี้ยังได้มี โอกาสพฒันากล้ามเนื้อใหญ่กล้ามเนื้อเล็กสร้างความสัมพันธ์ระหว่างมือและตา ผลจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านกิจรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อเล็กของเด็กปฐมวัย จากการที่ได้จัดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนากล้ามเนื้อเล็กของเด็กปฐมวัยกับเด็กที่ศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กบ้านนกเต็นเป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ผลการใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ในการพัฒนากล้ามเนื้อเล็กของเด็ก จาก การสังเกตพบว่าการเรียนรู้ศิลปะสร้างสรรค์สาหรับเด็กปฐมวัยนั้นเป็นการ พัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็ก กิจกรรมต่างๆ ทางศิลปะสร้างสรรค์จะเป็นการฝึกกล้ามเนื้อมือให้แข็งแรง และสัมพันธ์กับการใช้ตา เช่นการ


ปั้น ดินน้ามัน วาดรูป และระบายสี เด็กได้ใช้ส่วนต่างๆ ของนิ้วมือ แขนไหล่ และส่วนอื่นๆ ของร่างกาย เป็น การเตรียมความพร้อมในด้านการใช้กล้ามเนื้อใหญ่-เล็กเป็นอย่างดี ทาให้เด็กสามารถหยิบจับสิ่งต่างๆ ได้ อัน จะนาไปสู่การเรียนรู้ของเด็กต่อไป กุลยา ตันติผลาชีวะ (2551, หน้า 100-102) กล่าวว่ากล้ามเนื้อเล็ กเป็น พัฒนาการทางกายอีกส่วนหนึ่งที่สาคัญมาก เพราะหมายถึงการสร้างเสริมความสามารถในการหยิบ จับ ขีด เขียนและทากิจกรรมทต้องงใช้กล้ามเนื้อนิ้วมือ ฝ่ามือ และข้อต่อการส่งเสริมพัฒนาการ กล้ามเนื้อเล็กเป็น การพัฒนากล้ามเนื้อนิ้วมือเพราะเด็กต้องใช้มือในการทากิจกรรมกรรมที่สาคัญ เอกสารอ้างอิง จีระพันธ์ พูลพัฒน์และคาแก้ว ไกรสรพงษ์. (2543). การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยไทย. กรุงเทพฯ: อัมรินทร์พริ้ นติ้ง แอนด์พับลิซซิ่ง. เยาวนา เตชะคุปต์. ( 2542). การศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพฯ : เอพีกราฟฟิกส์ดีไซน์. (2542). กรุงเทพฯ: แม็ค เบญจมาศ วิไล. (2544). การส่งเสริมพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมศิลปะ สร้างสรรค์ประกอบการประเมินสภาพจริง. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การศึกษาปฐมวัย) พร พันธุ์โอสถ. (2543). การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยไทย. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์ อารี พันธ์มณี. (2545). การพัฒนาความคิดสู่ความเป็นเลิศ. กรุงเทพฯ: ธนธิชการพิมพ์.

ชื่อ

นางสาวสุมาลี วงค์ตรี นักศึกษาสาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ตาแหน่ง ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก สถานที่ทางาน ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก บ้ า นนกเต็ น ต าบลโนนกลาง อ าเภอพิ บู ล มั ง สาหาร จั ง หวั ด อุบลราชธานี จานวนเด็ก 42 คน


กิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแขมใต้ ตาบลบ้านแขม อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลาราชธานี Academic articles Learning Management Creative activities for Preschool Children Development ชุลีกร กันยามา Chuleekron Kanyama บทคัดย่อ จั ดการศึกษากิจ กรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมพัฒ นาการเด็กปฐมวัยเป็นการจัดการเรียนรู้ สาหรับเด็กปฐมวัย มีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ด้านร่างกาย ด้านสังคมด้าน อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา ในการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ใช้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแขมใต้ ตาบล บ้านแขม อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี จานวนเด็ก 25 คนช่วงอายุระหว่าง 2-4 ปีซึ่งมีการ จัดการเรียนการสอนดังนี้ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ฝึกให้เด็กนั่งสมาธิ ร่วมร้องและทาท่าประกอบเพลงดั่ง ดอกไม้บ านเพราะจะช่วยให้ เด็กมีส มาธิและพร้อมทากิจกรรมสร้าสรรค์ ขั้นสอน ครูอธิบายเกี่ ยวกับ กิจกรรมสร้างสรรค์ที่พาเด็กทา ขั้นตอนและวิธีทาที่ถูกต้อง ขั้นสรุป เด็กสามารถสร้างสรรค์ผลงานใน กิจกรรมสร้างสรรค์อย่างสวยงาม และมีพัฒนาการที่ดีขึ้น ผลจากการจัดกิจกรรมพบว่า จากการใช้กิจกรรมสร้างสรรค์และศิลปะที่หลากหลาย ในการจัด ประสบการณ์การเรี ย นรู้ ที่ศูน ย์ พัฒ นาเด็กเล็ กบ้านแขมใต้ กับเด็ก 25 คนเป็นเวลา 4 สั ปดาห์ โดยใช้ กิจกรรมสร้างสรรค์ที่สอดคล้องกับหน่วยการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในแต่ละวัน และให้เด็กมีส่วนร่วม ในการเลือกทากิจกรรมสร้างสรรค์ จากการสังเกตพฤติกรรมของเด็ก พบว่า เด็กทุกคนมีพัฒนาการที่ดีขึ้น สามารถทางานศิลปะร่วมกับเพื่อนคนอื่นได้ และพิจารณาจากชิ้นงานที่เด็กทา เด็กสามารถใช้กล้ามเนื้อมือ ได้ดีขึ้นเรื่อยๆ พิจารณาจากความสวยงามของชิ้นงาน และการเล่าเรื่องจากชิ้นงาน เด็กจะมีความภูมิใจใน ชิ้นงานที่ตนเองทา ซึ่งแสดงได้ว่า การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ที่หลากหลาย สามารถส่งเสริมพัฒนาการที่ดี ของเด็กปฐมวัย ใช้กล้ามเนื้อได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คาสาคัญ : กิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อ ส่งเสริมพัฒนาการ เด็กปฐมวัย Keyword : Creative Activities for Children Development.


การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแขมใต้ ตาบลบ้านแขม อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ชุลีกร กันยามา * เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่ควรได้รับการส่งเสริมให้มีความพร้อมทั้ง 4 ด้านคือด้านร่างกาย ด้านอารมณ์จิ ต ใจ ด้ า นสั ง คม และด้ า นสติ ปั ญ ญา เพื่ อ ให้ พ ร้ อ มในการเรี ย นรู้ เ มื่ อ เข้ า สู่ วั ย เรี ย น การจั ด กิ จ กรรม สร้างสรรค์สาหรับเด็กปฐมวัยนั้นมีความสาคัญอย่างยิ่ง เพราะกิจกรรมสร้างสรรค์ คือการจัดกิจกรรมการ เรี ย นรู้ เพื่อพัฒ นาความคิดจิ น ตนาการ การรับรู้ความงาม ฝึ กให้ เด็กได้แ สดงออกทางอารมณ์ อ ย่ า ง สร้างสรรค์ โดยใช้กิจกรรมศิลปะสาหรับเด็กที่มีความหลากหลาย เช่น การเขียนภาพ การปั้น การฉีกปะ การตัดปะ การพิมพ์ การร้ อย การประดิษฐ์ หรือวิธีอื่นๆที่เ ด็กสามารถคิดสร้างสรรค์ได้ และมีความ เหมาะสมตามวัย ของเด็ก โดยตอบสนองความต้องการการเรียนรู้ของเด็กที่แตกต่างกันโดยใช้ ค วาม หลากหลายของกิจกรรมสร้างสรรค์ศิลปะ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการที่ดีของเด็กปฐมวัย ความสาคัญของกิจกรรมสร้างสรรค์ศิลปะของเด็กปฐมวัย สิริพรรณ ตันติรัตน์ไพศาล (2545, หน้า 31-32) กล่าวไว้ว่าการสอนศิลปะในระดับปฐมวัย เป็นการ ฝึกฝน เบื้องต้น มิได้มุ่งให้เด็กวาดรูปเก่ง แต่เพื่อปลูกฝังให้เด็กมีนิสัยอันดีงาม และมีความพร้อมในการเรียนดังมีความมุ่ง หมาย ดังนี้ 1. เพื่อฝึ กและเตรี ยมความพร้อมด้ านต่างๆ ให้ เด็ กรู้จักใช้ประสาทสั มผั สให้ สั มพันธ์กัน ได้อย่ าง เหมาะสม 2. เพื่อส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การรู้จักสังเกต การมีไหมพริบสามารถแสดงออก ตาม ความถนัด ความสามารถของแต่ละคน และชื่นชมต่อสิ่งที่สวยงามต่างๆ 3. เพื่อการพัฒนาทางกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา และบุคลิกภาพ 4. ปลูกฝังค่านิยม เจตคติ และคุณสมบัติที่ดีของศิลปะและวัฒนธรรมไทย 5. เพื่อให้เด็กเริ่มต้นรู้จักการใช้เครื่องมือ เครื่องใช้ต่างๆ ในการทางานศิลปะ รู้จักการเก็บรักษา และการทาความสะอาดอย่างถูกต้อง 6. เพื่อฝึกให้รู้จักการทางานเป็นกลุ่ม เป็นคนมีระเบียบ ประณีต 7. เพื่ อ ให้ เ ด็ ก มี โ อกาสแสดงออกอย่ า งอิ ส ระ สนุ ก สนานเพลิ ด เพลิ น และใช้ เ วลาว่ า งให้ เ กิ ด ประโยชน์ 8. เพื่อนาไปใช้ให้สัมพันธ์กับการจัดประสบการณ์ด้านอื่นๆ หลักในการจัดกิจกรรมศิลปะสาหรับเด็กปฐมวัย *นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกับ มหาวิทยาลัยราช ภัฏสวนดุสิต รมป.2 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน ดุสิต


กระทรวงศึ กษาธิ การ (2546, หน้ า 58) อธิ บายถึ งหลั กในการจั ดกิ จกรรม ศิ ลปะหรื อกิ จกรรม สร้ างสรรค์ว่า เป็ นกิจกรรมที่ช่วยเด็ กให้ แสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึ กความคิ ด ริเริ่มสร้างสรรค์ และ จินตนาการ โดยใช้ศิลปะ เช่น การเขียนภาพ การปั้น การฉีก- ปะ การตัด-ปะ การ พิมพ์ภาพ การร้อย การ ประดิษฐ์ หรือวิธีการอื่นที่เด็กได้คิดสร้างสรรค์และเหมาะกับพัฒนาการ เช่น การเล่นพลาสติกสร้างสรรค์ การ สร้างรูปจากกระดานปักหมุด ฯลฯ การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ ควรจัดให้เด็กทาทุกวัน โดยอาจจัดวันละ 3 - 5 กิจกรรม ให้ เด็กเลือกทา อย่างน้อย 1-2 กิจกรรมตามความสนใจ เยาวพา เดชะคุปต์ (2542 : 108) กล่าวว่า การเตรียมกิจกรรมทางศิลปะที่เหมาะสมให้ กับเด็กควรคานึงว่าจะเป็นการเปิดโอกาสให้เด็กเป็นอิสระในการ ทดลอง ค้นคว้า และสามารถสื่อสารที่ เขาทดลองกับผู้อื่น นอกจากนี้ ยังมีโอกาสได้พัฒนากล้ามเนื้ อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก สร้างความสัมพันธ์ ระหว่างมือและตา เสริมสร้างความเข้าใจระหว่างรูปทรงและสี ซึ่งจะเป็น พื้นฐานต่อการเตรี ยมความ พร้อมในการอ่าน และยังได้มีโอกาสพัฒนาทางสังคมจากการแลกเปลี่ยนวัสดุ อุปกรณ์ หมุนเวียนกัน รับผิดชอบในการใช้และเก็บอุปกรณ์ต่างๆ ประเภทของกิจกรรมสร้างสรรค์ศิลปะสาหรับเด็กปฐมวัย สัตยา สายเชื้อ (2541, หน้า 43) มีทัศนะเกี่ยวกับกิจกรรมร้างสรรค์ศิลปะที่เหมาะสมสาหรับ เด็ก ก่อนวัยเรียนว่า อาจแบ่งได้ออกเป็น 7 สาขาใหญ่ๆ คือ 1. กิจกรรมวาดเส้นและระบายสี 2. กิจกรรมศิลปะด้วยสีธรรมชาติ 3. กิจกรรมภาพพิมพ์ 4. กิจกรรมประติมากรรม 5. กิจกรรมกระดาษ 6. กิจกรรมประดิษฐ์ตกแต่ง 7. กิจกรรมการจัดนิทรรศการ ขั้นตอนการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กจานวน25คนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแขมใต้ สังกัด องค์การบริ ห ารส่ ว นตาบลบ้ า นแขม อาเภอพิบูล มังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี โดยการให้ เด็ ก ท่ อ ง ข้อตกลงของหนูในห้องเรียนทุกวันเพื่อให้เด็กฝึกปฎิบัติตามกฎกติกาของห้องเรียน ขั้นเตรียม คุณครูให้เด็กนั่งเป็นวงกลมก่อนการเริ่มการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กในแต่ละวันครู จะพาเด็กนั่งทาสมาธิโดยใช้เพลงฝึกสมาธิสาหรับเด็กซึ่งเป็นเพลงที่จัดทาขึ้นเพื่อใช้ในกิจกรรมฝึกสมาธิ สาหรับเด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแขมใต้ โดยให้เด็กร่วมร้องและทาท่าประกอบเพลงดั่งดอกไม้บาน ทุกวันก่อนจัดกิจกรรมเพราะจะช่วยให้เด็กมีสมาธิและพร้อมทากิจกรรมสร้างสรรค์


ขัน้ สอน ครูนาเข้าสู่บทเรียนโดยใช้เพลงที่หลากหลายในการจัดกิจกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ซึ่ง เพลงที่ใช้ประกอบไปด้วยเพลง โดยคุณครูจะสังเกตการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่ และการเคลื่อนไหวอยู่กับที่ ของเด็กแต่ละคนสังเกตการร่วมกิจกรรมกับผู้อื่น สังเกตการร้องเพลงทาท่าประกอบของเด็กกิจกรรม ประสบการณ์จะใช้นิทานนาเข้าสู่บทเรียนโดยนิทานที่ใช้ประกอบด้วยนิทานน้องส้มมาโรงเรียน นิทาน ลูกไม้ขอโทษ และนิทานต้นกล้าผู้กล้าหาญ คุณครูจะสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเปิดโอกาสให้เด็กได้ แสดงความคิดเห็น โดยใช้คาถามกระตุ้นให้เด็กได้คิด คุณครูจะสังเกตการร่วมสนทนาและการตอบคาถาม กิจกรรมสร้างสรรค์คุณครูจะพาเด็กๆ ทากิจกรรมสร้างสรรค์ที่หลากหลายเช่นวาดภาพคุณพ่อคุณแม่ ของหนูเองตามจินตนาการวาดภาพบ้านของหนูตามจินตนาการปั้นดินนิมั า นเป็นรูปไข่ต่างๆ ปั้นเป็นผลไม้ ต่างตามจินตนาการการระบายสีภาพลูกบอล ภาพมือ ภาพหู ภาพตากิจกรรมเสรีคุณครูจะให้เด็กๆ เล่น ตามมุมต่างๆ อย่างอิสระตามความสนใจของเด็กแต่ละคนโดยคุณครูจะดูแลอยู่ห่างๆ และแนะนาวิธีเล่นที่ ถูกวิธีคุณครูจะสังเกตการเล่นร่วมกับเพื่อนของเด็กแต่ละคนมีความรับผิดชอบต่องานและสิ่งที่ตนเล่น กิจกรรมกลางแจ้งคุณครูจะพาเด็กไปปฎิบัติที่สนามเด็กเล่นโดยให้เด็กเรียนรู้ผ่านการเล่นเครื่องเล่นสนาม และใช้เกมที่หลากหลายเช่นเกมโยน-รับบอล เกมวิ่งซิกแซกเก็บของ เกมกระโดด 2 ขา เกมรีรีข้าวสาร เกมมอญซ่อนผ้าเพื่อให้เด็กได้ฝึกการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่สังเกตการร่วมกิจกรรมของ เด็ก การทรงตัวและการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่และกล้ามเนื้อมัดเล็ก เกมการศึกษาครูจะใช้เกมที่หลากหลาย เช่นเกมจับคู่ภาพที่เหมือนกัน เกมจับคู่ภาพเหมือนกับเงา เกมภาพตัดต่อปาก เกมเรียงลาดับภาพจมูก ขนาดเล็ ก-ใหญ่ เกมจั บคู่ภาพที่สั มพันธ์กัน ภาพตัดต่อเครื่องเล่ นสนามและฝึ กการมี ความอดทน รอคอย แบ่งปัน ช่วยเหลือกันใช้ภาษาสุภาพสังเกตการแก้ปัญหาในการเล่นการทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่นของเด็กแต่ละ คน ขั้นสรุป การปฎิบัติกิจกรรม 6 หลักของเด็กกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเด็กสามารถร้องเพลงและ ทาท่าทางประกอบได้อย่างถูกต้องสามารถเคลื่อนไหวเคลื่อนที่และเคลื่อนไหวอยู่กับที่ได้ดี กิจกรรมเสริม ประสบการณ์เด็กมีสมาธิในการฟังนิทานฟังเรื่องราวที่คุณครูอธิบาย และสามารถสนทนาและตอบคาถาม ได้ถูกต้อง กิจกรรมสร้างสรรค์ซึ่งให้เด็กได้วาดรูประบายสีรูปภาพ การฉีก การปะ การปั้นดินนิมั า นครูจะใช้ เพลงดั่งดอกไม้บานทุกวันก่อนการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์เพราะจะช่วยให้เด็กมีสมาธิและพร้อมทากิจกรรม สร้างสรรค์กิจกรรมเสรีเด็กสามารถเลือกเล่นกิจกรรมที่ตนเองสนใจโดยฝึกให้เด็กรู้จักเล่นกับเพื่อนๆรู้จักใช้ ภาษาสุภาพ รู้จักการรอคอยและแบ่งปันกิจกรรมกลางแจ้งเด็กสามารถทรงตัวได้ดีสามารถใช้กล้ามเนื้อมัด เล็กและมัดใหญ่ได้ในการทากิจกรรมอย่างคล่องแคล่วเกมการศึกษาเด็กสามารถแก้ปัญหาในการเล่นเกม การศึกษาและรู้จักการรอคอยและแบ่งปันและช่วยเหลือกันเด็กสามารถทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ดี


ผลของการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ จากการใช้กิจกรรมสร้างสรรค์และศิลปะที่หลากหลาย ในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ศูนย์ พัฒนาเด็กล็กบ้านแขมใต้ กับเด็ก 25 คนเป็นเวลา 4 สัปดาห์ โดยใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ที่สอดคล้องกับ หน่วยการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในแต่ละวัน และให้เด็กมีส่วนร่วมในการเลือกทากิจกรรมสร้างสรรค์ จากการสังเกตพฤติกรรมของเด็ก พบว่า เด็กทุกคนมีพัฒนาการที่ดีขึ้น สามารถทางานศิลปะร่วมกับเพื่อน คนอื่นได้ และพิจารณาจากชิ้นงานที่เด็กทา เด็กสามารถใช้กล้ามเนื้อมือได้ดีขึ้นเรื่อยๆ พิจารณาจากความ สวยงามของชิ้นงาน และการเล่าเรื่องจากชิ้นงาน เด็กจะมีความภูมิใจในชิ้นงานที่ตนเองทา ซึ่งแสดงได้ว่า การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ที่หลากหลาย สามารถส่งเสริมพัฒนาการที่ดีของเด็กปฐมวัย ซึ่งสอดคล้องกับคา กล่าวของพรเพ็ญ บัวทอง (2555, หน้า 23) กล่าวว่า การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ให้กับเด็กปฐมวัย สามารถส่งเสริมพฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัยได้ เป็นอย่างดี เนื่องจากพฤติกรรมทางสังคมเป็น พื้นฐานสาคัญในการดารงชีวิตประจาวันและการทากิจกรรมต่างๆ ของเด็กยังส่งเสริมพฤติกรรมทางสังคม ที่เป็นที่ยอมรับไม่เต็มที่ ต้องอาศัยการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมทางสังคมที่ดีและเป็นที่ ยอมรับ เช่น การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยวัสดุธรรมชาติท้องถิ่น การตัด ฉีก ปะ การร้อย สาน ซึ่ง เป็นกิจกรรมที่เด็กได้ทา ร่วมกับเพื่อนล้วนเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมพฤติกรรมทางสังคมให้มีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นพื้นฐาน สาคัญสาหรับเข้าสู่สังคมต่อไป เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2546 (สาหรับเด็กอายุ 35 ปี). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา. พรเพ็ญ บัวทอง. (2555). ผลของการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ด้วยวัสดุธรรมชาติท้องถิ่นที่มีผล ต่อพฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัย. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (การศึกษาปฐมวัย). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. เยาวพา เดชะคุปต์. (2542). กิจกรรมสาหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : เจ้าพระยาระบบการพิมพ์. สัตยา สายเชื้อ. (2541). กิจกรรมศิลปะสาหรับเด็กก่อนวัยเรียน. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. สิริพรรณ ตันติรัตน์ไพศาล. (2545). ศิลปะสาหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.


ชื่อ

นางชุลีกร กันยามา นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

สถานทีท่ างาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านแขมใต้ สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลบ้านแขม อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ตาแหน่ง

ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก

จานวนเด็ก

25 คน


การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อความมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัยภายศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านไร่ใต้ ตาบลไร่ใต้ อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี Create acuity for help discipline of. Easily Children Rrita. Development. enter Rrita. Phibunmumgshan. Ubonratchathani. Province. ละอองศรี คาภูมี Laongsri Kumpumee บทคัดย่อ เด็กปฐมวัยควรได้รับการปลูกฝังลักษณะนิสัยให้เป็นคนมีวินัยในตนเอง มีความปราณีต เป็นคนมี ระเบียบ รักความสะอาดในการทางานข้อควรตระหนักและความสาคัญ คือ การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ ระดับปฐมวัย มิได้มุ่งเน้นเพื่อความสวยงาม แต่เป็นการส่งเสริมความมีวินัยของเด็ก การใช้คาว่ากิจกรรม สร้างสรรค์เพื่อทาให้ ครูควรรู้ว่าความต้องการของเด็กนั้นมีอะไรบ้าง และจะตอบสนองอย่างไร จึงจะ สนองต่อธรรมชาติความต้องการของเด็กและพัฒนาเด็กย่างได้ผล การตอบสนองเด็กโดยยึดหลักคือ "กฎ แห่งผลที่ดีที่สุด" ซึ่งกระทาได้โดยการให้คิดว่าการให้ประการณ์แก่เด็ก เช่นความเอาใจใส่ คาชมเชย ความ รัก การกระตุ้น ความเป็นอิสระ ความแปลกใหม่และการมีสิทธิเลือกทากิจกรรมนั้น ผลการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์พบว่าเด็กได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความคิดเห็นระหว่างเพื่อน ภายในกลุ่มมีความสนุกสนานกับจินตนาการของตนเองมากขึ้น เด็กรู้จักวางแผน และการทางานร่วมกับ ผู้อื่น เด็กกล้าแสดงออก กล้าคิด กล้าทา กล้าพูด และมีวินัยในการทางานมากขึ้น คาสาคัญ : กิจกรรมสร้างสรรค์ ความมีวินัยของเด็ก keywords : Creative activities Discipline Child


การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อความมีวินัยในตนเองของเด็กปฐมวัย ภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไร่ใต้ ตาบลไร่ใต้ อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ละอองศรี คาภูมี* การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์สาหรับเด็กปฐมวัย เป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่จะต้องใช้ความมีวินัยใน ตนเองในการลงมือปฏิบัติ ดังนั้นเพื่อเป็นการกระตุ้นและส่งเสริมให้เด็กการพัฒนาการกระบวนการคิด อย่ างริ เริ่ มสร้ างสรรค์การจั ดกิจ กรรมสร้างสรรค์ หรือการจัดกิจกรรมศิล ปะส าหรับเด็ กปฐมวัย เป็น กิจกรรมเกี่ยวกับงานศิลปศึกษาต่างๆ ได้แก่ การวาดภาพระบายสี การปั้น การพิมพ์ภาพ การพับ การตัด การฉีก ปะ การร้ อย การประดิษฐ์ ตลอดจนการประดิ ษฐ์ เ ศษวัส ดุ ต่า งๆที่มุ่ ง พัฒ นากระบวนการคิ ด สร้างสรรค์ การรับรู้เกี่ยวกับความงามและส่งเสริมกระตุ้นให้เด็กแต่ละคนได้แสดงออกตามความรู้สึกและ ความสามารถของตนเอง ปลูกฝังลักษณะนิสัยให้เป็นคนมีความประณีต มีความละเอียดอ่อน เป็นคนมี ระเบียบ รักความสะอาดในการทางาน ข้อควรตระหนักและให้ความสาคัญคือ การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ ระดับปฐมวัย มิได้มุ่งเน้นผลงานที่สวยงาม แต่เป็นการส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของเด็ก การใช้คา ว่ากิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อทาให้ครูระลึกอยู่เสมอว่าศิลสาหรับเด็กมิได้เน้นให้เด็กทาได้สวยหรือเหมือนของ จริง แต่ทาให้เด็กได้พัฒนาครบทั้ง 4 ด้านได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคม และสติปัญญา นักจิตวิทยาเอกปฐมวัยโดย เฟรอเบล ได้กล่าวไว้ดังนี้ เด็กมีความสามารถสาหรับสิ่งดีงามและความรู้มา ตั้งแต่เกิด การเรียนที่ดีต้องให้เด็กมีประสบการณ์ที่เด็กสามารถได้เล่น ได้แสดงออก ได้ค้นหาสืบเสาะ ประสบการณ์ที่จัดให้เด็กนั้นต้องสะท้อนระดับพัฒนาการ ความสนใจการเรียนรู้ด้วยการลงมือกระทาอย่าง เข้าใจของเด็กอย่างชัดเจน (วัฒนา ปุญญฤทธิ์, 2549, หน้า 10-11) ทฤษฎีปรัชญาพัฒนาการเด็กปฐมวั ย เฟรอเบล ได้นาความคิดของเขามาใช้โดยเปิดโรงเรียนสาหรับ เด็กปฐมวัยเป็นแห่งแรกในปี ค.ศ.1842 โดย เรียกว่า “Kindergarten” (สวนเด็ก) ทาให้ได้รับการย่องว่าเป็นบิดาแห่งการศึกษาปฐมวัยในโรงเรียนที่ เปิ ดขึ้น ใช้วีธีการสอนโดยให้ เด็ก เรี ยนจากการเล่ น และทากิจกรรมที่เ คลื่ อ นไหว การเล่ นของเล่ น ใน ธรรมชาติและอุปกรณ์ที่สร้างขึ้น ความหมายของความมีวินัยกับเด็กปฐมวัย วินัยสร้างระเบียบ วินัยสร้างคนให้เป็นคนดี วินัยสร้างคนให้เป็นคนเก่ง วินัยจึงเป็นเรื่องสาคัญ เราจาเป็นต้องสร้างวินัยให้แก่มนุษย์ตั้งแต่เด็กสาหรับการจัดการศึกษา ดังนั้นภายในศูนย์พัฒนาเด็กจึงมี ข้อตกลงภายในห้องเรียนเพื่อฝึกให้เด็กได้รู้จักจักกฎระเบียบที่เด็กทุกคนต้องพึ่งปฏิบัติอยู่เสมอและจักการ มีวินัยในตนเอง(เยาววพา เดชะคุปต์, 2550, หน้า 182-187) ความมีวินัยจึงเป็นสิ่งสาคัญที่ครูผู้สอนต้องให้ ความสาคัญ ในการส่งเสริมให้เกิดขึ้นในวัยเด็ก ซึ่งเป็นการปลูกฝังให้เด็กเห็นคุณค่าของความมีวิ นัยใน ตนเอง เพื่อความสุขและความสาเร็จของตนเองและสังคมดังนั้นการทาจะให้เกิดวินัยขึ้นในหมู่คณะวินัย *

นักศึกษาร่วมโครงการรุ่นที่ 2 สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต


ด้านใดก็ตามล้วนแต่มีความสาคัญและจาเป็นต่อการอยู่ร่วมกันในสังคม หากแต่ว่าวินัยในตนเองนั้นเป็น พื้นฐานที่นาไปสู่การมีวินัยในสังคมและประเทศชาติต่อไป ความสาคัญของการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ ในการจั ดกิจ กรรมการเรียนการสอนเพื่อตอบสนองความต้องการของเด็กปฐมวัยนั้นควรตั้ง คาถามที่ว่า"เด็กต้องการอะไร"และจัดสิ่งนั้นมาให้กับเด็ก (สิริมา ภิญญโญอนันต์พงษ์, 2550, หน้า 100101) จากลักษณะความต้องการที่กล่าวมา จะเห็นได้ว่าเด็กมีความต้องการให้สนองความเจริญตามธรารม ชาติ ทั้ ง 4 ด้ า น ครู ค วรรู้ ว่ า ความต้ อ งการของเด็ ก นั้ น มี อ ะไรบ้ า ง และจะตอบสนองอย่ า งไร และจะ ตอบสนองอย่างไรจึงจะสนองต่อธรรมชาติความต้องการของเด็กและพัฒนาเด็กย่างได้ผล การตอบสนอง เด็กโดยยึดหลักคือ "กฎแห่งผลที่ดีที่สุด" ซึ่งกระทาได้โดยการให้คิดว่าการให้ประการณ์แก่เด็ก เช่นความ เอาใจใส่ คาชมเชย ความรัก การกระตุ้น ความเป็นอิสระ ความแปลกใหม่และการมีสิทธิเลือกทากิจกรรม หลักการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อตอบสนองความต้องการของเด็กปฐมวัยคือ - ให้ความรู้สึกปลอดภัยอย่างแท้จริง - ให้ความรักและปฏิบัติต่อเด็กอย่างพอเหมาะพอควร - สร้างความรู้ที่ดีให้เกิดขึ้นในตัวเด็ก - ให้เด็กรู้จักตัดสินใจด้วยตนเอง - ให้เด็กมีอานาจในตนเอง - ครูควรพัฒนาเด็กให้เป็นเด็กที่สมบูรณ์ ความสาคัญของการจัดการเรียนการสอนของเด็กปฐมวัย เด็ ก ควรได้ รั บ ประสบการณ์ ก ารเรี ย นรู้ ทั้ ง ในและนอกชั้ น เรี ย นโดยเฉพาะการเรี ย นรู้ จ าก ประสบการณ์ที่ดีสาหรับเด็กคือการเล่นโดยเฉพาะการเรียนรู้จากประสบการณ์ที่ดีสาหรับเด็กได้แก่ การ วาดภาพระบายสี การปั้น การพิมพ์ภาพ การพับ การตัด การฉีกปะ ตลอดจนการประดิษฐ์เศษวัสดุต่างๆ การรับรู้เกี่ยวกับความงามและปลูกฝั งลักษณะนิสัยของเด็กให้มีวินัยในตนเอง (คณะมนุษย์ศาสตร์และ สังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต , 2551) แนวการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กอายุช่วงสามขวบ ถึงห้าขวบ การใช้คาว่ากิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อทาให้ครูระลึกอยู่เสมอว่า ศิลปสาหรับเด็กมิได้เน้นให้เด็กทา ได้สวยหรือเหมือนของจริง แต่ทาให้เด็กได้พัฒนาครบทุกด้านจากการทากิจกรรม ขั้นตอนและวิธีการสร้างวินัยในตนเองโดยการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย จากการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนให้กับเด็กภายในศูนย์จานวนเด็กทั้งหมด20คนภายใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไร่ใต้ ตาบลไร่ใต้ อาเภอพิบูลมังสาหารจังหวัดอุบลราชธานี การจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนในช่วงวันที่ 8 มิถุนายน ถึงวันที่3 กรกฎาคม พ.ศ.25558 การเตรียมความพร้อมเพื่อสร้าง แรงจูงใจ สื่อการเรียนการสอนประกอบด้วย กลอง/ฉิ่ง/ระนาดจาลอง/การเคาะไม้/เสียงปรบมือ เป็นต้น


ขั้นนา การจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนระดับปฐมวัยให้มีความสะอาดสวยงาม สะดวกปลอดภัย ร่มรื่น น่าอยู่ มีการสุขาภิบาลทีดี มีบริเวณให้เล่นทั้งกลางแจ้งและในร่ม สภาพแวดล้อมทางจิตใจเด็กมีสุขภาพจิต ดี มีภาวะจิตใจที่เป็นสุข มีความเป็นมิตร การอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขมีมิตรไมตรี การมีปฏิสัมพันธ์ทีดีทั้ง ในระหว่างเด็กด้วยกัน และเด็กกับผู้ใหญ่การทากิจกรรมให้มีความสดชื่น แจ่มใส ให้เด็กเลือกทากิจกรรม อย่างอิสระตามความสนใจของตนเอง ครูให้เด็กนั่งเป็นกลุ่ม/กลุ่มละ 5-6 คน ครูพาเด็กๆท่องคาคล้องจอง ร้องเพลงเที่ยวเขาดิน เพลงโอ้ทะเลแสนงามเพลงสวัสดีเธอจ๋า เพลงกุ๊กกุ๊กไก่ เพลง ก.ไก่ มนสวนบ้านฉัน เด็กๆร่วมร้องเพลงกับครูอย่างสนุกสนาน ขั้นสอน คุณครูสนทนากับเด็ก เกี่ยวกับวิธีการปฏิบัติและกาหนดข้อตกลงระหว่างครูกับเด็ก ครูลงมือ ปฏิบัติให้เด็กดูเป็นตัวอย่าง แล้วให้เด็กลงมือปฏิบัติตาม ครูคอยให้ความช่วยเหลือในขณะที่เด็กลงมือทา กิจกรรม สิ่งที่ค้นพบ เด็กได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความคิดเห็นระหว่างเพื่อนภายในกลุ่ มมี ความ สนุกสนานกับจินตนาการของตนเองมากขึ้น กล้าแสดงออก กล้าคิด กล้าทา กล้าพูด และมีวินัยในการ ทางานมากขึ้น ปัญหาและอุปสรรค เด็กบางคนมีพัฒนาการที่ช้าการเรียนรู้ไม่ทัน ต่อเหตุการณ์การพัฒนา ของกล้ามมือมัดเล็กยังไม่พร้อมต่อการเรียนรู้ประสบการณ์ แนวทางแก้ใข แยกเด็กออกจากกลุ่มโดยการ แยกเด็กที่มีพัฒนาการที่ใกล้เคียงกัน จะทาให้เด็กเกิดการเรียนรู้ไปพร้อมๆ กัน จากการค้นพบกระบวนการจัดประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัย สิ่ งที่ค้น พบ เด็ กได้มีโ อกาสแลกเปลี่ ยนเรียนรู้ความคิดเห็ นระหว่างเพื่อนภายในกลุ่ ม มี ค วาม สนุกสนานกับจินตนาการของตนเองมากขึ้น เด็กรู้จักวางแผน และการทางานร่วมกับผู้อื่น เด็กกล้าแสดงออก กล้าคิด กล้าทา กล้าพูด และมีวินัยในการทางานมากขึ้น เมื่อทางานเสร็จแล้วเด็กรู้จัก เก็บสิ่งของเข้าที่ได้เช่น ชิ้นงานของตนเอง/หลอดเป่าสี/กล่องสี/ถาดใส่สาหรับใส่สีเป็นต้น กระบวนการจัดการเรียนการสอน (จีรพันธ์ พูลพัฒน์ และคณะ, 2557, นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย) เป็น การแสดงถึงการวางแผนในการนาหลักสตูรไปสู่การใช้ ในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กที่เกี่ยวกับการ กาหนดกิจกรรมประสบการณ์ กาหนดวัตถุประสงค์กิจกรรม สาระการเรียนรู้ การจัดสภาพแวดล้ อม วิธีการจัดประสบการณ์ การกาหนดสื่อและหน่วยการเรียนรู้ และวิธีประเมินผลการเรียนการสอน สาหรับ กระบวนการการเรียนการสอนในระดับปฐมวัย จะวางแผนประสบการณ์ให้เด็กเรียนรู้จากการทากิจกรรม ประจาวัน ที่จะนาไปสู่การพัฒนาทุกๆด้านโดยกิจกรรมจะจัดอย่างหลากหลาย ให้เด็กมีโอกาสเลือกทา กิจกรรมที่สนใจและเรียนรู้ผ่านการเล่น ปัญหาและอุปสรรค เด็กบางคนมีพัฒนาการที่ช้าการเรียนรู้ไม่ทัน ต่อเหตุการณ์การพัฒนาของกล้ามมือมัดเล็กยังไม่พร้อมต่อการเรียนรู้ประสบการณ์และเมื่อครูสังเกตพบว่า เด็กคนใดที่สนใจทากิจกรรมอย่างเดียวตลอดเวลา ครูควรกระตุ้นเร้าให้เด็กได้ทากิจกรรมอย่างอื่นบ้าง


สรุป การจั ดการศึ ก ษาปฐมวัย นั้ น เริ่มจากการมีแ นวคิด ของนั กปรัช ญาที่ม องเห็ น เป้ าหมายของ การศึกษาที่มีผลต่อการพัฒนาคน เพื่อให้เป็นพลเมืองที่มีคุณค่าของสังคมประเทศชาติมีความรับผิดชอบ ต่ อ หน้ า ที่ มี ค วามอดทนและมี ร ะเบี ย บวิ นั ย ในตนเอง มี นั ก คิ ด นั ก การศึ ก ษาที่ ใ ห้ ค วามเห็ น ว่ า การจั ด การศึกษาที่จะส่งผลต่อคุณภาพของคนนั้นจะต้องให้การศึกษาตั้งแต่วัยต้นชีวิตเพราะเป็นวัยที่วางรากฐาน พัฒนาการทุกด้านทั้งนี้การจัดการศึกษาให้แก่เด็กนั้น เริ่มตั้งแต่แรกเกิดผู้เลี้ยงดู ได้แก่พ่อ แม่ จึงเป็นครูคน แรกที่ให้การเลี้ยงดูและให้การศึกษาพื้นฐานต่างๆรวมทั้งการส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านได้แก่ ความ เจริญทางร่างกาย ทางอารมณ์-จิตใจ ทางสังคม และทางสติปัญญา ของเด็กบ้านกับสถานศึกษาจึงต้องทา หน้าที่ร่วมกันในการจัดการศึกษาการเจริญเติบโตจากเด็กเป็นผู้ใหญ่ในที่สุด เอกสารอ้างอิง โกสุ ม สายใจ และคณะ. (2550). สุ น ทรี ย ภาพทางศิ ล ปะส าหรั บ เด็ ก ปฐมวั ย . กรุ ง เทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต . (2551). การพัฒนาภาษาของเด็ก ปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. จีรพันิธ์ พูลพัฒน์ และคณะ. (2557). นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราช ภัฏสวนดุสิต. เมธาวี อุดมธรรมานุภาพ และคณะ. (2550). ธรรมชาติของผู้เรียน. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราช ภัฏสวนดุสิต. วัฒนา ปุญญฤทธิ์ และคณะ. (2549). นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย . กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต.


ชื่อ สถาที่ทางาน ตาแหน่ง จานวนเด็ก

นางละอองศรี คาภูมี นักศึกษาสาขาศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน ดุสิต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไร่ใต้ ตาบลไร่ใต้ อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก 20 คน


การเรียนรู้เรื่องมารยาทโดยการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์การเล่านิทานในศูนย์พัฒนา เด็กเล็กบ้านไร่ใต้ ตาบลไร่ใต้ อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี Learning Management The event etiquette Storytelling experience At The Child Development Center raitai . the Community raitai district Phibunmangsahan Ubon Ratchathani Province. ภัทราภรณ์ บุญสอน Patthrapon Bunson บทคัดย่อ การจัดการเรียนรู้เรื่องมารยาทโดยการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์การเล่านิทานที่ศูนย์พัฒนา เด็กเล็กบ้านไร่ใต้ สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลไร่ใต้ อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี จานวน เด็ก 20 คน เพื่ อเป็ น การถ่ายทอดเรื่องราวนิทาน โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ เด็กมีความสนุกสนานและ สอดแทรกแนวคิดคุณธรรม ปลูกฝัง พัฒนาเรื่องมารยาทการไหว้โดยแบ่งขั้นตอนการทากิจกรรมออกเป็น 3 ขั้นคือขั้นนาให้เด็กเข้าแถวเป็นรูปตัวU และร้องเพลงสวัสดีเธอจ๋า ขั้นสอนคุณครูนาหนังสือนิทานมาเล่า ให้เด็กฟังแนะนาชื่อเรื่องให้เด็กเกิดความสนใจอยากฟังขั้นสรุปเด็กเกิดความสนใจและนาไปปฏิบัติต่อ ผลจากการสังเกตหลังจากการจัดกิจกรรมพบว่าเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไร่ใต้ รู้จัก การไหว้ ทักทายคุณครู และผู้ปกครอง มีพัฒนาการดีขึ้นจากแต่ก่อนเด็กไม่ไหว้และไม่ปฏิบัติตามคุณครู คาสาคัญ : การจัดการเรียนรู้ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ การเล่านิทาน Keyword : Learning Management. Activity Experience. Storytelling.


การเรียนรู้เรื่องมารยาทโดยการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์การเล่านิทานในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้าน ไร่ใต้ ตาบลไร่ใต้ อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ภัทราภรณ์ บุญสอน* การศึ ก ษาระดั บ เด็ ก ปฐมวั ย เป็ น การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานตั้ ง แต่ เ ด็ ก 2-5 ขวบต้ อ งมี ก ารส่ ง เสริม กระบวนการเรียนรู้เรื่องมารยาทโดยการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์การเล่านิทานเพื่อเป็นการถ่ายทอด เรื่องราวของนิทานโดยมีจุดประสงค์เพื่อให้เด็กมีความสนุกสนานและสอดแทรกแนวคิด คุณธรรม ปลูกฝัง และพัฒนาเรื่องมารยาทไทย ที่สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางในการดาเนินชีวิต ความสาคัญของการเรียนรู้เรื่องมารยาทจากกิจกรรมเสริมประสบการณ์ การเรียนรู้เรื่องมารยาทของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ กบ้านไร่ใต้ มีความสาคัญเป็นอย่างมาก เพราะเป็นวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีข องชาติโดยเฉพาะวัฒนธรรมของไทยซึ่งได้รับการยก ย่องจากชาวต่างชาติมาช้านานว่าเป็นผู้มีมารยาทอ่อนโยน นุ่มนวล น่ารัก ลักษณะมารยาทที่ดีในเด็ก ปฐมวัยที่ควรปลูกฝังเช่น มารยาทการพูดจา ควรเจรจาไพเราะ มีหางเสียง ครับหรือค่ะ รู้จัก ไม่พูดเสียงดัง เกิ น ไป งดพู ด ค าหยาบคาย มารยาทการแสดงออก มี สั ม มาคารวะ มารยาทในการนั่ ง การรู้ จ ก เกรงอกเกรงใจ มีสัมมาคารวะ เป็นต้น เพื่อเป็นการปลูกฝังซึมซับคุณครูต้องฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับมารยาท ประจาอย่างต่อเนื่อง จัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยการเล่านิทานให้กับเด็กปฐมวัยฟังเพื่อให้เด็กมีเกิด ความสนุกสนาน น่าสนใจ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ อีริก อีริกสัน นักจิตวิทยาด้านบุคลิกภาพมีความ สนใจในเรื่องอิทธิพลของสภาพแวดล้อมด้านการอบรมเลี้ยงดูของพ่อแม่และผู้เลี้ยงดูโดยมีแนวคิดว่าเด็กจะ เรียนรู้จากประสบการณ์ที่ได้รับจากสภาพแวดล้อมโดยเฉพาะการปฏิบัติของผู้ใกล้ชิดหากให้การปฏิบัติ อย่างเหมาะสมกับเด็ก เด็กรู้สึกพึงพอใจ มีความสุข และพัฒนาการเชื่อมั่นในตนเองให้เกิดขึ้นซึ่งทาให้เด็ก เป็นผู้มีสุขภาพจิตดีทาให้เป็นบุคคลที่สามารถเผชิญกับปัญหาต่างๆได้อย่างเหมาะสมและเติบโตเป็นบุคคล ที่มีบุคลิกภาพที่พึงประสงค์ของสังคม ขั้นสรุป การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์การเล่านิทานเรื่องมารยาท ทาให้เด็กพัฒนากระบวนการคิด การเชื่อมโยงเรื่องราวและการจัดระบบเรื่องราวได้ดียิ่งขึ้น เป็นการเพิ่มกระบวนการทางานของสมองแก่ เด็ก สร้างสมาธิให้เด็ก เพราะช่วงเวลาในการเล่านิทานเด็กจะตั้งใจฟังนิทานอย่างใจจดใจจ่อ ทาให้เด็กๆรู้ และเข้าใจถึงวัฒนธรรมการทักทายซึ่งกันและกัน เด็กสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและสวยงาม ทาได้เอง โดยไม่ต้องมีผู้ปกครองหรือคุณครูสั่ง เพราะเด็กได้รู้ว่าการไหว้เป็นสิ่งที่ดีงามและควรปฏิบัติ นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต (รมป.2) สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต *


ผลของการจัดกิจกรรมการเล่านิทาน จากการจัดกิจกรรมการเล่า นิทานเสริมประสบการณ์ปรากฎว่าเด็กเริ่มรู้จักการไหว้การทักทาย เด็กผู้ชายพูดว่าสวัสดีครับ เด็กผู้หญิงพูดสวัสดีค่ะ. เมื่อเจอหน้าคุณครู โดยเด็กไม่มีอาการเขินอาย เอกสารอ้างอิง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต . (2551). การพัฒนาภาษาของเด็ก ปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. วัชรพล วิบูลยศรินทร์ และคณะ (2558). ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราช ภัฏสวนดุสิต. วัฒนา ปุญญฤทธิ์ และคณะ (2549). นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราช ภัฏสวนดุสิต. เมธาวี อุดมธรรมมานุภาพ และคณะ (2550). ธรรมชาติของผู้เรียน. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราช ภัฏสวนดุสิต. เบญจวรรณ กี่สุขพันธ์ (2551). หลักสูตรกับการจัดการเรียนรู้ . กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต.


ชื่อ

นางสาวภัทราภรณ์ บุญสอน นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน ดุสิต สถานที่ทางาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านไร่ใต้ ตาบลไร่ใต้ อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ตาแหน่ง ผู้ดูแลเด็ก จานวนเด็ก 20 คน


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อส่งเสริมพัฒนาการ ของเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านราษฏร์เจริญ ตาบลอ่างศิลา อาเภอพูบูลมังสาหาร Academic articles learning activities through movement activities and rhythm to promote early childhood development child develop enter ,home to the ret Charlene Angsila Phibunmangsahan. Ubon Ratchathani นางสาววรจิตร เผ่าพันธ์ Worajit Phaopan บทคัดย่อ การเรียนการสอนของเด็กปฐมจะผ่ านการเล่น ดังนั้นกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะจึงเป็น การพัฒนา การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย จากการเล่นที่เป็นประโยชน์ เด็กจะพัฒนาทักษะทางกายได้ เด็ก ต้องปฏิบัติและเคลื่อนไหวด้วยตัวเด็กเอง ขณะที่เด็กได้ทากิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ เด็กจะได้ พัฒนาทักษะหลายทักษะที่ จาเป็น ได้แก่ ทักษะทางสังคมได้ผูกมิตรกับผู้อื่น ทักษะชีวิตที่จะเรียนรู้และ เข้าใจสิ่งรอบตัว ทักษะการคิดที่ได้คิดและตัดสินใจวัตถุประสงค์จัดขึ้นเพื่อให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย ตามจังหวะอย่างอิสระ โดยจังหวะและดนตรีที่ใช้ประกอบเสียง-ทานองเพลง เสียงปรบมือ มา ประกอบการเคลื่ อนไหว เพื่อส่งเสริมให้ เด็กเกิดจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ เรียนรู้ จังหวะ เป็น กิจกรรมที่ส่งเสริมการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกาย ขั้นตอนการจัดกิจกรรม 1. ขั้นนาเด็กและครูสร้าง ข้อตกลงร่วมกันในการทากิจกรรมให้เด็กแตะสัมผัสส่วนต่างๆของร่างกายโดยครูบอกให้เด็กได้รู้จักชื่อและ สามารถชี้ส่วนต่างๆ ของร่างกายว่า มีอะไรบ้าง 2. ขั้นสอนเด็กเข้าแถวจับมือขยายเป็นวงกลมร่วมกับครู แล้ ว เอามือลง ครู เปิ ดเพลง ครู ทาท่าทางประกอบเพลงให้ เด็กดูเป็นตัว อย่างเด็กทาตามครู ครูพูดถึง ความหมายของเพลง "ผีเสื้อแสนงาม" พร้อมถามคาถามสั้นๆ เกี่ยวกับเพลงให้เด็กตอบ เด็กตอบอย่าง อิสระ 3. ขั้นสรุปเด็กและครูสรุปถึงความสาคัญของการทาท่าทางประกอบเพลง ผลของการจัดกิจกรรมของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านราษฏร์เจริญ ตาบลอ่างศิลา อาเภอพิบูลมังสา หาร จังหวัดอุบลราชธานี จากการสังเกตเป็นรายกรณีของเด็กในการจัดกิจกรรมการเคลื่ อนไหวและ จังหวะเด็กเกิดความเชื่อมั่นในการนาไปใช้ในชีวิตประจาวันและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย คาสาคัญ: การจัดการเรียนรู้ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ พัฒนาการของเด็กปฐมวัย keywords: Learning activities,movement and rhythm.Early childhood development.


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก ปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านราษฏร์เจริญ ตกลบอ่างศิลา อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี วรจิตร เผ่าพันธ์* การจัดกิจกรรมในเด็กปฐมวัย โดยใช้กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ หมายถึงการจัดกิจกรรมให้เด็กได้ เคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายอย่างอิสระ โดยใช้เพลง จังหวะ คาคล้องจอง หรือเครื่องดนตรีประกอบการ เคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อพัฒนาการกล้ามเนื้อ ส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ เพื่อให้เด็กได้ออก กาลังกาย ฝึกการฟังและการปฏิบัติตามคาสั่ง ดังคากล่าว ครอฟท์และเฮสส์ (croft and Hess 1980, 131-195 อ้างใน อารยา สุขวงค์, 2533, หน้า 154-156) กล่าวว่า การเรียนของเด็กจะผ่านการเล่น ดังนั้นกิจกรรมการ เคลื่อนไหวและจังหวะจึงเป็นการพัฒนา การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย จากการเล่นที่เป็นประโยชน์ เด็กจะพัฒนา ทักษะทางกายได้ เด็กต้องปฏิบัติและเคลื่อนไหวด้วยตัวเด็กเอง ขณะที่เด็กได้ทากิจกรรมการเคลื่อนไหวและ จังหวะ เด็กจะได้พัฒนาทักษะหลายทักษะที่จาเป็น ได้แก่ ทักษะทางสังคมได้ผูกมิตรกับผู้อื่น ทักษะชีวิตที่จะ เรียนรู้และเข้าใจสิ่งรอบตัว ทักษะการคิดที่ได้คิดและตัดสินใจ และทักษะทางกายในการเคลื่อนไหว เป็นต้น การเคลื่อนไหวมีความสัมพันธ์กับชีวิตส่วนหนึ่ งของเด็ก เด็กรู้จักตนเองจากการเคลื่อนไหวของร่างกาย วิธี เคลื่อนไหวหลาย ๆ วิธีช่วยให้เด็กเกิดทักษะในการใช้ร่างกาย ทักษะ ในการควบคุมกล้ามเนื้อ การหยิบจับ และ การแก้ปัญหา เพิ่มความรู้และเจตคติ (พวงทอง ไสยวรรณ, 2530, หน้า 56) นอกจากเน้นการเคลื่อนไหวและ จังหวะยังเป็นกิจกรรมที่ร่างกายและจิตใจมีปฏิกิริยาตอบสนองจังหวะ เสียงดนตรีและเสียงเพลง โดยการแสดง ท่าทาง หรือเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้อย่างอิสระแสดงออกทางอารมณ์ ความคิดสร้างสรรค์ (อธิ ภัทร สายนาค, 2543) ดังนั้นการใช้กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะจึงมีผลทาให้เด็กเรียนรู้ร่างกายของตนว่า การใช้ร่างกาย แต่ละส่ วนอย่ างไร ซึ่งมีความหมายต่ อเด็ กมาก เด็กจะมีโอกาสได้ ประเมิ นความสามารถของตนเอง การ เคลื่อนไหวและจังหวะ หมายถึง กิจกรรมที่ร่างกายได้เคลื่อนไหวทุก ส่วนของร่างกายให้สัมพันธ์กับจังหวะ และ เสียงเพลงอย่างอิสระ โดยใช้ร่างกายเป็นสื่อในการ แสดงออกทางอารมณ์และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในช่วงที่ มีการเคลื่อนที่ ความสาคัญของการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ จัดขึ้นเพื่อให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย ตามจังหวะ อย่างอิสระ โดยจังหวะและดนตรีที่ใช้ประกอบ ได้แก่ เสียง-ทานองเพลง เสียงปรบมือ เสียงเคาะไม้ กลอง นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต (รมป.2) สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต *


คาคล้องจอง เป็นต้น มาประกอบการเคลื่อนไหว เพื่อส่งเสริมให้เด็กเกิดจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ เรียนรู้ จังหวะ และควบคุมการเคลื่อนไหวของตนเองได้ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เป็นกิจกรรมที่ ส่งเสริมการเคลื่ อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย กระ ทรวงศึกษาธิการจึงได้กาหนดลักษณะของการจัด กิจกรรม ดังนี้ การเลียนแบบ เช่น ท่าทางสัตว์ ท่าทางคน เครื่องยนต์กลไก และเครื่องเล่น ปรากฏการณ์ ธรรมชาติ การเคลื่อนไหวตามบทเพลง เช่น การเคลื่อนไหวหรือทาท่าทางประกอบเพลง การทาท่าทาง กายบริหารประกอบขณะที่เด็กได้ทากิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ เด็กจะได้พัฒนาทักษะหลาย ทักษะที่จา เป็น ได้แก่ ทักษะทางสังคมได้ผู กมิตรกับผู้ อื่น ทักษะชีวิตที่จะเรียนรู้และเข้าใจสิ่งรอบตัว ทักษะการคิดที่ได้คิดและตัดสินใจ และทักษะทางกายในการเคลื่อนไหว เป็นต้น เด็กมีความสุข ผ่อนคลาย เพราะได้เล่น ผู้ปกครองจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะให้ลูกเล่นที่บ้านได้ ในบรรยากาศครอบครัว พ่อ แม่ ลูก พี่ น้อง ร่วมกิจกรรม พ่อแม่ทาหน้าที่เช่นเดียวกับครู เช่น สนับสนุนให้เด็กคิดสร้างสรรค์ท่าทาง ตัดสินใจด้วยตนเองส่งเสริมให้เด็กกล้าแสดงออก (ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขา, 2547, หน้า 128 - 132) กล่าวไว้ ว่า กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายอย่าง อิสระตามจังหวะ โดยใช้เสียงเพลง คาคล้องจอง เครื่องเคาะจังหวะ หรืออุปกรณ์อื่นๆมาประกอบการ เคลื่อนไหว เพื่อส่งเสริมให้เด็กเกิดจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ เด็กวัยนี้ร่างกายกาลังอยู่ในระหว่าง พัฒ นา การใช้ส่ ว นต่างๆ ของร่ างกายยังไม่ผ สมผสานหรื อประสานสั ม พันธ์ กัน อย่า งสมบูรณ์ การท า กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะช่วยให้เด็กเรี ยนรู้จังหวะและควบคุมการเคลื่อนไหวของตนเองได้ สมอง ส่วนที่รับผิดชอบหลักเกี่ยวกับการจัดสมดุลของร่างกาย คือ สมองเล็กหรือซีรีเบลลั่ม การกระตุ้นสมรรถนะ ของสมองส่วนนี้จะส่งผลต่อการพัฒนาความสามารถในด้านการรับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมไปด้วยพร้อมๆ กัน ช่วงปฐมวัยเป็นช่วงเวลาที่ดีที่สุดในการพัฒนาทักษะเกี่ยวกับการเคลื่ อนไหวส่วนต่างๆ ซึ่งจะช่วย พัฒนาระบบความสัมพันธ์ของประสาทสัมผัส เด็กต้องพัฒนาความสามารถในการใช้ตา มือ เท้า และ ประสาทรับความรู้สึกต่างๆ ให้สัมพันธ์กัน การเคลื่อนไหวร่างกายของเด็กเป็นการเตรียมสมรรถนะของ ร่ า งกายทุ ก ส่ ว นเพื่ อ ใช้ ป ระโยชน์ ใ นการมี ชี วิ ต อยู่ และพร้ อ มกั น นั้ น การเคลื่ อ นไหวร่ า งกายก็ พั ฒ นา ความสามารถของสมองอันเป็นเครื่องมือของการเรียนรู้ไปด้วย ธูปทอง ศรีทองท้วม (2538, หน้า 26) กล่าวว่า การเคลื่อนไหวและจงั หวะเป็นการเคลื่อนไหวที่ ผสมผสานกัน อย่างกลมกลืนต่อเสียงเพลงและดนตรี โดยใช้ร่างกายเป็นสื่อกลางในการแสดงออก ของ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของเด็กในช่วงที่มีการเคลื่อนที่ การเคลื่อนไหวและจังหวะเป็นสิ่งจาเป็นต่อการดารงชีวิตมนุชยอตั้งแต่แรกเกิดจนถึงสิ้นอายุขัย โดยเฉพาะในเด็กแรกเกิดจะมีการเคลื่อนไหวตามธรรมชาติโดยไม่ต้องรับ การ ฝึกหัด เช่น การ ดิ้นไปมา การไขว่คว้า ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวที่ช่วยให้เด็กมีพัฒนาการ และการสื่อความหมาย (วัลลีย์ ภัทรโรภาส, 2533, หน้า 1) ภรณี คุรุรัตนะ (2526, หน้า 24-30 ) กล่าวว่า การส่งเสริมให้เด็กมีอิสระในการเคลื่ อนไหว ที่ เหมาะสมกับพัฒนาการและวัยของเด็ก จะช่วยให้เด็กได้แสดงออกถึงความรู้สึกและอารมณ์อย่างเปิดเผย และเป็ธรรมชาติ ซึ่งเป็นการส่งเสริมให้เด็กมีจินตนาการและความคิดสร้างสรรคค์ การจัดกิจกรรมการ


เคลื่อนไหวและจังหวะให้กับเด็กตั้งแต่ยังเล็ก จะช่วยกให้เด็กเกิดทักษะ พื้นฐานในการเรียนวิชาต่างๆ เช่น ภาษา ดนตรี นาฏศิลป์ ฯลฯ ขณะเดียวกนั จะทาให้เด็ก มีจังหวะในการเคลื่อนไหว ไม่เกิดปัญหาการวิ่งชน ผู้อื่นอื่นหรือสิ่งของต่างๆ ในขณะทากิจกรรม ซึ่งมีผลิตการปรับตวัของเด็กเพราะการรู้จักจังหวะจะเป็นผล ทาให้ไม่กระทบกระทั่งผู้อื่นได้ สามารถดาเนินชีวิต ได้ถูกต้องและอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวและจังหวะ 1. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจท์ (Piaget’s Cognitive Development Theory) เพียเจท์ถือว่าการให้เด็กได้สัมผัสวัตถุต่าง ๆ จะส่งเสริมให้เด็กเกิดการเรียนรู้ได้ โดยเฉพาะในเด็กก่อน ศึกษา ซึ่งอาศัยการรับรู้เป็นสื่อในการกระตุ้นทางความคิดของเด็ก จาเป็นต้องให้เด็กมีโอกาสเคลื่อนไหว และสัมผัส สิ่งต่าง ๆ ทฤษฎีนี้เป็นประโยชน์ในการจัดเนื้อหาและกิจกรรมทางการเคลื่อนไหว โดยให้ เด็กสัมผัสวัตถุต่าง ๆ ที่อยู่รอบๆ ตัวเด็ก ซึ่ง จะช่วยให้เด็กเรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆ (สานักงานคณะกรรมการ ประถมศึกษาแห่งชาติ, 2523, หน้า 69; อ้างอิงจาก Piaget’s 1652) ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว และจังหวะมีอยู่หลายทฤษฎี การเลือกให้ทฤษฎีใดเน้นขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของครู โดยคานึงถึงความ เหมาะสมกับวัยและ ความแตกต่างของเด็กแต่ละคนเพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้ที่ดี ความสาคัญของกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะให้กับ เด็กจานวน 24 คน ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านราษฏร์เจริญ สังกัดองค์การบริหารส่วนตาบลอ่างศิลา อ. พิบูลมังสารหาร จ.อุบลราชธานี โดยการใช้เพลง จังหวะ คาค้องจอง เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้าน ต่างๆ เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ตั้งแต่ วันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน - วันศุกร์ 3 กรกฎาคม 2558 ขั้นเตรียมร่างกาย ให้เด็กแตะสัมผัสส่วนต่างๆ ของร่างกายเช่นศีรษะ คอ ไหล่ สะโพก ฯลฯ โดยครูบอกให้เด็กได้ รู้จักชื่อและสามารถชี้ส่วนต่างๆ ของร่างกายว่า มีอะไรบ้าง ขั้นนา เด็กและครูสร้างข้อตกลงร่วมกันในการทากิจกรรม ขั้นสอน เด็กเข้าแถวจับมือขยายเป็นวงกลมร่วมกับครูแล้วเอามือลง ครูเปิดเพลง"ผีเสื้อแสนงาม" ครูทา ท่าทางประกอบเพลงให้เด็กดูเป็นตัวอย่างเด็กทาตามครูอย่างอิสระ 2 รอบ ครูคุยเรื่องบรรยากาศในตอน เช้าๆ ร่วมกับเด็กๆ ครูพูดถึงความหมายของเพลง"ผีเสื้อแสนงาม" ที่ครูนามาเปิดให้เด็กๆ ฟังพร้อมถาม คาถามสั้นๆเกี่ยวกับเพลงให้เด็กตอบ เด็กตอบอย่างอิสระ ครูคอยแนะนา ครูกล่าวถึงความสาคัญของการ ทาท่าทางประกอบเพลงถือเป็นกายบริหารอย่างหนึ่งให้เด็กเข้าใจ เด็กพักผ่อนร่างกาย 2-3 นาที


ขั้นสรุป เด็กและครูสรุปถึงความสาคัญของการทาท่าทางประกอบเพลงโดยให้ครูเปิดเพลง"ผีเสื้อแสนงาม" ให้เด็กได้ร้องคล้อยตามเพลงและทาท่าทางประกอบเพลงตามอิสระ เด็กสามารถเคลื่อนไหวอย่างอิ สระ ตามจังหวะมื่อสัญญาณหยุดให้หยุดเคลื่ อนไหวและฟังคาสั่ งและปฏิบัติตามที่ตกลงกันไว้แนวทางการ ประเมินกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะสังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายสังเกตการทาท่าทาง แปลกใหม่ไม่ซ้ากันสังเกตการทาท่าทางตามคาสั่งและข้อตกลง สังเกตการแสดงออกสังเกตความสนใจใน การเข้าร่วมกิจกรรม (บูรชัย ศิริมหาสาคร, 2545, หน้า 54-57) ผลของการจัดกิจกรรม การจัดกิจกรรม เคลื่อนไหวและจังหวะใช้ประกอบการเรียนการสอนของเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านราษฏร์เจริญ เป็นเวลา 4 สัปดาห์ผลปรากฏว่า ทาให้เด็กๆ มีความสนใจอยากเรียนรู้สนุ กสนานกับการเรียนและยังได้ เคลื่อนไหวร่างกายอยู่ตลอดเวลาเด็กๆได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติและเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ทาให้ ได้รับประสบการณ์ต่างๆ ผ่านการร้องเพลง การเคลื่อนไหวร่างกายทาให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ มากขึ้น แนวทางการประเมินกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ สังเกตการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายสังเกตการทาท่าทางแปลกใหม่ ไม่ซ้ากัน สังเกตการทาท่าทาง ตามคาสั่งและข้อตกลง สังเกตการแสดงออกสังเกตความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม (บูรชัย ศิริมหา สาคร, 2545,หน้า 54-57) เอกสารอ้างอิง กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2547). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัย . กรุงเทพฯ: บริษัท เอดิสัน จากัด . . (2550). แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ระดับชั้นอนุบาลศึกษา. กรุงเทพฯ : บริษัท เบรน-เบส บุ๊ค จากัด. พร พันธ์โอรถ. (2543) . การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยไทย. กรุงเทพฯ:ภาพพิมพ์ ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2545) . คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. สานักวิชาการและ มาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาธิการขั้นพื้นฐาน. สุจินดา ขจรรุ่งศิลป์;และธิดา พิทักษ์สินสุข. (2543). การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยตามแนวคิดเรกจิโอเอมิ เลีย.กรุงเทพฯ:พริกหวานกราฟฟิค. สุภาวดี ศรีวรรธนะ.(2542). พัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัยและวิธีการส่งเสริม . นครสวรรค์: เจ กรุ๊ป.แอดเวอร์ไทซิ่ง/อินทนนท์การพิมพ์.


ชื่อ

วรจิตร เผ่าพันธ์ นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบันฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน ดุสิต ตาแหน่ง ผู้ดูแลเด็ก สถานที่ทางาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านราษฏร์เจริญ ตาบลอ่างศิลา อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี จานวนเด็ก 24 คน


การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กบ้านโนนสว่าง ตาบลอ่างศิลา อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี An academic article about the supplementary activities to promote the learning experience of children, primary. Child development center houses non-lit Tambol Ang Sila A. phibun mangsahan Ubon Ratchathani province ส่งศรี ขันทอง Songsri Khanthong บทคัดย่อ เด็กปฐมวัยถือว่าเป็นวัยแห่งการเรียนรู้ การเรียนรู้ของเด็กเป็นการพัฒนากระบวนการคิดของเด็ก ซึ่งต้องอาศัยข้อมูลจากการรับรู้ของสมองจานวนมาก ถ้าไม่มีข้อมูลในความทรงจา ก็ไม่สามารถคิดอะไร ออกมาได้ ดังนั้นกระบวนการพัฒนาการคิดของของเด็กจึงต้องมุ่งเน้นให้เด็กได้มีประสบการณ์ที่ต้องใช้ ประสาทสัมผัสทั้งห้า สิ่งที่ออกมาในการคิดของเด็กเริ่มต้นที่การจับต้อง สัมผัส การชิม การดมกลิ่น การได้ ยิน การเห็น และมีประสบการณ์โดยตรง ครูจึงควรออกแบบกิจกรรมเสริมประสบการณ์ให้เด็กเรียนรู้แบบ ลงมื อ กระท าซึ่ ง จะท าให้ เ ด็ ก มี โ อกาสใช้ ป ระสาทสั ม ผั ส ทั้ ง ห้ า รวมทั้ ง จั ด ให้ เ ด็ ก มี ป ระสบการณ์ ใ น สถานการณ์จาลองทุกอย่างที่เป็นไปได้ เพื่อกระตุ้นให้เด็กคิดสิ่งที่ซับซ้อนขึ้นตามลาดับ เด็กจะได้เคยชิน กับการใช้ความคิดและคิดเป็นในที่สุด ดังนั้นการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์จึงมีความสาคัญต่อการ เรียนรู้ของเด็ก ขั้นตอนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์มี 3 ขั้น คือ 1. ขั้นนา เด็กและครูร่วมกันสร้างข้อตกลงในการทากิจกรรมร่วมกัน 2. ขั้นสอน ครูจัดกิจกรรมในหลายๆ รูปแบบ ฝึกให้เด็กลงมือปฏิบัติ และการใช้คาถามกระตุ้น ความคิด 3. ขั้นสรุป ครูและเด็กร่วมกันสรุปถึงกิจกรรมที่เรียนรู้ ผลของการจัดกิจกรรมจากการสังเกตพฤติกรรมเด็กเป็นรายบุคคล พบว่า การจัดกิจกรรมเสริม ประสบการณ์ผ่านการใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า และการลงมือปฏิบัติ จะช่วยให้เด็กเกิดทักษะการจดจาและ เรียนรู้ได้เป็นอย่างดี คาสาคัญ: การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ของเด็กปฐมวัย Key words: reinforced activities to promote the learning experience of children, primary.


การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้าน โนนสว่าง ตาบลอ่างศิลา อาเภอพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ส่งศรี ขันทอง* เด็กปฐมวัย เป็นวัยที่เริ่มเรียนรู้สิ่งที่อยู่ใกล้ตัวสามารถเรียนรู้และจดจาเรื่องราวต่างๆ ได้มาก เทิด ศักดิ์ สุขคง (2553) ที่กล่าวว่า เด็กปฐมวัย เป็นเด็กที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิดถึง 6 ปีบริบูรณ์ การอบรมและ เลี้ยงดูแก่เด็กปฐมวัยมีความสาคัญอย่างมาก เนื่องจากเด็กวัยนี้ต้องการการเรียนรู้ในสิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัว ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ด้าน จากบิดา มารดา คนรอบข้างและสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะส่งผลให้เกิดพัฒนาการที่ เป็นรากฐานของ บุคลิกภาพ อุปนิสัย และการเจริญเติบโตทั้งทางร่างกายและจิตใจ สมอง สติปัญญครูจึง เป็นผู้ที่มีบทบาทและมีความสาคัญต่อการเรียนรู้ของเด็ก การจัดการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัย ครูต้องออกแบบกิจกรรมที่หลากหลาย และยึดเด็กเป็น ศูนย์กลาง ฝึกให้เด็กเรียนรู้โดยการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ผ่านการใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า ดังคากล่าวว่า นงเยาว์ คลิกคลาย (2543, หน้า 20) เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่กาลังพัฒนาการอย่างรวดเร็วทั้งทางด้าน ร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา การจัดประสบการณ์ตรงโดยยึดเด็กเป็นศูนย์ก ลางให้เด็กอิสระใน การคิด การแสดงออก และการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับเด็กในสภาพการณ์ที่เป็นจริง จะทาให้เด็กเกิด การเรียนรู้ด้วยตนเองและสามารถพัฒนาการสื่อสารที่ดี การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ก็ถือเป็นอีก กิจกรรมหนึ่งที่ส่งผลให้เด็กเกิดการเรียนรู้ สามารถพัฒนาเด็กทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และ สติปัญญา ความหมายของกิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจ กรรมเสริ มประสบการณ์ หมายถึง กิจกรรมที่จัดให้ เด็กได้ ฟัง พูด สั งเกต คิด และปฏิบั ติ ทดลอง เพื่อให้เกิดความคิดรวบยอด และเพิ่มพูน ทักษะต่างๆ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสนทนา ซักถาม หรืออภิปราย สังเกต ทัศนศึกษา และปฏิบั ติการทดลองตามกระบวนการเรียนรู้ (ส านักการศึกษา กรุงเทพมหานคร, 2540, หน้า 15) (สานักคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ , 2544, หน้า 35) กิจกรรมเสริมประสบการณ์ หรือกิจกรรมใน วงกลม เป็นกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้เด็กได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้ ฝึกการทางานและอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นเป็น กลุ่ม ทั้งกลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ กิจกรรมที่จัดมุ่งฝึกให้เด็กมีโอกาส ฟัง พูด สังเกต คิด แก้ปัญหาเป็น ใช้ เหตุผลและฝึกปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนและเพิ่มพูนทักษะต่างๆ ด้วยวิธีการที่ หลากหลาย

นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต (รมป.2) สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต *


กุลยา ตันติผลาชีวะ (2547, หน้า 52) กล่าวว่า กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เป็นกิจกรรมพัฒนา ทักษะการเรียนรู้ ฝึกการทางานเป็นกลุ่ม รู้จักการพูด การฟัง การสังเกต การคิด และการแก้ปัญหาโดย การจัดกิจกรรมด้วยวิธีต่างๆ เช่น สนทนา อภิปราย สาธิต เล่านิทานเป็นต้น สรุปได้ว่า กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เป็นการจัดกิจกรรมที่บูรณาการผ่านการกระทา หรือการ เล่น ซึ่งเป็นประสบการณ์ตรงที่ทาให้เด็กเกิดการเรียนรู้ และเสริมพัฒนการตามวัยทั้ง 4 ด้าน ความสาคัญของกิจกรรมเสริมประสบการณ์ คณะกรรมการการศึ ก ษาเอกชน (2535, หน้ า 47) ในการจั ด กิ จ กรรมเสริ ม ประสบการณ์ มี ความสาคัญต่อเด็กปฐมวัยมากเพราะเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้เด็กได้เข้าใจเนื้อหา กิจกรรมนี้เปิดโอกาสให้เด็ก ได้ทาความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน กิจกรรมเสริมประสบการณ์ช่วยให้เด็กมีความคิดรวบยอดที่ชัดเจน ซึ่งเป็นการพัฒนาทักษะทางสติปัญญาให้เด็กเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเนื้อหาหน่วยการสอน ตลอดจน ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสังคมฝึกการกล้าแสดงออก นอกจากนั้นยังช่วยให้เด็กเกิดความรู้สึกอบอุ่นมี ความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับครู อุไรวรรณ คุ้มวงศ์ (2551, หน้า 9) กล่าวว่า ความสาคัญของการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ คือ การจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนบรรลุจุดมุ่งหมายของการส่งเสริมพัฒนาการทุกด้าน โดยจะคานึงถึง สิ่งที่อยู่ใกล้ตัว สิ่งที่เป็นรูปธรรม เปิดโอกาสให้เด็กได้ปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง จนเด็กเกิดความคิดรวบ ยอดที่ชัดเจน ธี ร ภรณ์ ภั ก ดี (2550, หน้ า 17) กล่ า วว่ า ความส าคั ญ ของกิ จ กรรมเสริ ม ประสบการณ์ เป็ น กิจกรรมที่ช่วยให้เด็กได้เข้าใจเนื้อหา โดยคานึงถึงสิ่งที่อยู่ใกล้และไกลตัวเด็ก เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ เด็กมีความคิดรวบยอด ตลอดจนส่งเสริมการกล้าแสดงออกและพัฒนาการทุกด้านของเด็กปฐมวัย สรุปได้ ว่า ความสาคัญของกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เป็นกิจกรรมที่ช่วยส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน และสร้รง เสริมประสบการณ์ตามหลักสูตรให้กับเด็กโดยบูรณาการเนื้อหาเพื่อมุ่งเน้นทักษะการใช้แหล่งการเรียนรู้ และประสบการณ์ชีวิตที่จาเป็นสาหรับเด็กปฐมวัย รูปแบบการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ไพเราะ พุ่มมั่น (2551 : 22-30) ได้นาเสนอรูปแบบการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ หลาย รูปแบบ ดังนี้ การสนทนา อภิปราย เป็นการส่งเสริมพัฒนาการทางด้านภาษาในการพูด การฟัง รู้จักแสดง แสดงความคิดเห็นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นซึ่งสื่อที่ใช้อาจเป็ นของจริง ของจาลอง รูปภาพ สถานการณ์จาลอง ฯลฯ การเล่านิทาน เป็นการเล่าเรื่ องต่าง ๆ ส่วนมากจะเป็นเรื่องที่เน้นการปลูกฝังให้ เกิดคุณธรรมและจริยธรรม วิธีการนี้จะช่วยให้เด็กเข้าใจได้ดีขึ้น ในการเล่านิทาน สื่อที่ใช้อาจเป็นรูปภาพ หนังสือ นิทาน หุ่น การ แสดงท่าทางประกอบการเล่าเรื่อง


การสาธิต เป็นการจัดกิจกรรมที่ต้องการให้เด็กสังเกตและเรียนรู้ตามขั้นตอนของกิจกรรมนั้น ๆ ในบางครั้ง ครูอาจให้เด็กอาสามัครเป็นผู้สาธิตร่วมกับครู เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติจริง เช่น การเพาะเมล็ด การเป่า ลูกโป่ง การเล่นเกมการศึกษา การทดลอง/ปฏิบัติการ เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เพราะได้ทดลองปฏิบัติด้วยตนเอง ได้สังเกตการ เปลี่ยนแปลง ฝึกการสังเกต การคิดแก้ปัญหา ส่งเสริมให้เด็กมีความอยากรู้อยากเห็นและค้นพบด้วยตนเอง เช่น การประกอบ อาหาร การทดลองทางวิทยาศาสตร์ง่าย ๆ การเลี้ยงหนอนผีเสื้อ การปลูกพืช ฯลฯ การศึกษานอกสถานที่ เป็นการจัดกิจกรรมที่ทาให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงอีกรูปแบบหนึ่งด้วยการพาไปทัศนศึกษาสื่อ ต่างๆ รอบโรงเรียน หรือสถานที่นอกโรงเรียนเพื่อเป็นการเพิ่มพูนประสบการณ์แก่เด็ก การเล่นบทบาทสมมติ เป็นการให้เด็กได้เล่นสมมติเป็นตัวละครต่าง ๆ ตามเนื่อเรื่องในนิทาน หรือเรื่องราวต่าง ๆ อาจใช้ สื่อประกอบการเล่นสมมติเพื่อเร้าความสนใจและก่อห้เกิดความสนุกสนาน เช่น หุ่นสวมศรีษะ ที่คาด ศรีษะรูปคนและรูปสัตว์รูปแบบต่าง ๆ เครื่องแต่งกาย และอุปกรณ์ของจริงชนิดต่าง ๆ การร้องเพลง เล่นเกม ท่องคาคล้องจอง เป็นการจัดกิจกรรมให้เด็กให้เด็กได้แสดงออกเพื่อความสนุกสานเพลิดเพลินและเรียนรู้เกี่ยวกับ ภาษาโดยสรุป แม้ว่ากิจกรรมเสริมประสบการณ์สามารถจัดกิจกรรมได้หลากหลายรูปแบบ ครูผู้สอนควร ออกแบบกิจกกรรมให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก ให้เขามีประสบการณ์และบรรลุจุดมุ่งหมายของ การสอน ขั้นตอนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ณ.ศูน ย์ พัฒ นาเด็กเล็ กบ้ านโนนสว่าง สั งกัดองค์การบริห ารส่ ว นตาบลอ่างศิลา ต.อ่างศิล า อ. พิบูลมังสาหาร จ.อุบลราชธานี ขั้นนา กิจกรรมในหน่วยสุขสดใสในร่างกาย และหน่วยแสนสบายกินดีมีสุข โดยให้เด็กนั่งจับมือกันเป็น วงกลม แล้วสร้างข้อตกลงในการทากิจกรรมร่วมกัน และนาเด็กเข้าสู่บทเรียนด้วยเพลง ฝึกกายบริหาร อาบน้าซู่ซ่า(หน่วย สุขสดใสในร่างกาย) และเพลงผลไม้ไทย (หน่วย แสนสบายกินดีมีสุข)


ขั้นสอน หน่วยสุขสดใสในร่างกาย ครูจัดกิจกรรมด้วยการนาภาพการทาความสะอาดร่างกายในแต่ละวัน มาให้เด็กๆ ดู เพื่อให้เด็กสั งเกตรายละเอียดของภาพจากนั้น ก็ร่วมสนทนาถึงวิธีการทาความสะอาด ร่างกายและขั้นตอนการการใช้ห้องน้า ห้องส้วม ครูก็ขออาสาสมัครเพื่อมาสาธิต การใช้ห้องน้า ห้องส้วม ที่ถูกวิธีร่วมกับครู เมื่อสาธิตเสร็จแล้ว ครูก็ให้เด็กเข้าแถวออกมาปฏิบัติตามครูทีละคน จนครบ โดยมีครู คอยให้คาแนะนา หน่วย แสนสบายกินดีมีสุข ครูได้นารูปภาพผลไม้มาให้เด็กดูเพื่อสังเกตประเภทของผลไม้และ สนทนาถึงชื่อของผลไม้แต่ละชนิดและประโยชน์ของผลไม้ จากนั้นครูก็ให้เด็กเล่นเกมภาพตัดต่อผลไม้ด้วย การแบ่งกลุ่มและอธิบายถึงวิธีการเล่นเกมให้เด็กฟังครูก็คอยสังเกตพฤติกรรมในการเล่นร่วมกันเป็นกลุ่ม ขั้นสรุป ทบทวนเนื้อหาในกิจกรรมที่ทาวันนั้น หน่วย สุขสดใสในร่างกาย โดยครูใช้คาถามเพื่อกระตุ้นการ เรียนรู้ของเด็ก คือ ก่อนมาโรงเรี ยนเด็ก ๆ ต้องทายังไงบ้างคะโดยให้เด็ กตอบอย่างอิสระ และการใช้ ห้องน้า ห้องส้วมที่ถูกวิธีทายังไงบ้างคะ โดยมีครูคอยเสริม หน่วย แสนสบายกินดีมีสุข ครูทบทวนเนื้อหาด้วยการให้เด็กบอกชื่อผลไม้ที่พบจากเกมภาพตัด ต่อว่ามีผลไม้ชนิดใดบ้าง และใช้คาถามว่า ผลไม้มีประโยชน์ต่อร่างกายอย่างไรบ้าง โดยให้เด็กตอบอย่าง อิสระ โดยมีครูคอยเสริม ผลของการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เด็กได้เรียนรู้ในเนื้อหาสาระที่ครูสอน ได้เรียนรู้ผ่านการกระทาด้วยตนเอง ฝึกทักษะทางด้านการ สังเกต รู้จักการทางานกลุ่มร่วมกับเพื่อนได้ซึ่งสอดคล้องกับนักทฤษฎีจอห์น ดิวอี้ (John Dewey) กล่าวว่า การจัดประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัยมีความสาคัญมากในการฝึกให้เด็กได้คิดแก้ปัญหา การแสดงออก อย่างอิสระ และสามารถนาความรู้ที่ได้รับจากประสบการณ์นั้นๆ มาใช้ในการแก้ปัญหาร่วมด้วย เนื่องจาก เด็กปฐมวัยกาลังมีพัฒนาการอย่างรวดเร็วทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา เด็กจะเรียนรู้ได้ดี เมื่อมีการเรียนการสอน และประสบการณ์ที่จัดให้เด็กเป็นประสบการณ์ตรง เด็กลงมือปฏิบัติเอง การจัด ประสบการณ์โดยยึดเด็กเป็นศูนย์กลางจึงสาคัญมาก


เอกสารอ้างอิง กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2547). การจัดการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : เอดิสันเพรสโปรดักส์ พัชรา อยู่สมบูรณ์. (2533). ผลการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เรื่องแสงที่มีต่อทักษะการแสวงหา ความรู้ ข องเด็ ก ปฐมวั ย . ปริ ญ ญานิ พ นธ์ (กศ.ม.) (การศึ ก ษาปฐมวั ย ). กรุ ง เทพ : บั ณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. วรวรรณ เหมะญา. (2536). ผลการจั ด กิ จ กรรมการเรี ย นการสอนตามแนวคิ ด ของกานิ เ ย่ ที่ มี ต่อ ความสามารถในการรั บ รู้ ท างด้ า นมิ ติ สั ม พั น ธ์ ข องเด็ ก ก่ อ นวั ย เรี ย น . วิ ท ยานิ พ นธ์ ค.ม.(การศึกษาปฐมวัย). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศรีนวล รัตนานนท์. (2540). ผลการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์นอกชั้นเรียนที่มีต่อทักษะ การสั ง เกตของเด็ ก ปฐมวั ย . ปริ ญ ญานิ พ นธ์ ก ารศึ ก ษามหาบั ณ ฑิ ต สาขาการศึ ก ษาปฐมวัย . กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ชื่อ

นางสาวส่งศรี ขันทอง นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต ตาแหน่ง ผู้ดูแลเด็ก สถานที่ทางาน ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก บ้ า นโนนสว่ า ง ต าบลอ่ า งศิ ล า อ าเภอพิ บู ล มั ง สาหาร จั ง หวั ด อุบลราชธานี จานวนเด็ก 23 คน


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคมและด้านสติปัญญาของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตาบลโพธิ์ไทร อาเภอโพธิ์ไทรจังหวัดอุบลราชธานี Learning activities through creative activities. To promote the development of physical, emotional , social and intellectual. Development of young children in child care centers. Phosai district . Ubon Ratchathani province. อาทิตยา กุลโชติ Artittaya Koonlachote บทคัดย่อ เด็กปฐมวัย เป็ น วัย ที่ต้องสร้างกระบวนการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ จึงเป็นการจัด กิจกรรมที่มุ่งส่งเสริมให้เด็กได้แสดงออกอย่างอิสระ มีความคิดจินตนาการ ฝึกการรู้จักทางานด้วยตนเอง ซึ่งถ่ายทอดออกมาเป็นผลงานทางด้านศิลปะ ผ่านการสร้างสรรค์งานจากกิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบที่ ครูจัดให้ตามความสนใจ วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ด้านร่ างกาย ด้านอารมณ์ จิ ตใจ ด้านสั งคมและด้านสติปัญญา การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ให้ กั บ เด็ ก จานวน 30 คน ของเด็กชั้นอนุ บาล 1/2 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตาบลโพธิ์ไทร สังกัดเทศบาลตาบล โพธิ์ไทร อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี มีขั้นตอนการจัดกิจกรรม ดังนี้ (1) ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (2) ขั้นสอน (3) ขั้นสรุป จากการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ให้กับเด็ก จานวน 30 คน ของเด็กชั้นอนุบาล 1/2 ศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กเทศบาลตาบลโพธิ์ไทร สังกัดเทศบาลตาบลโพธิ์ไทร อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี ผลจากการ สังเกตพบว่า เด็กๆมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้านดีขึ้น เด็กมีความสนใจ ตั้งใจทากิจกรรม รู้จักทางานร่วมกับผู้อื่น รู้จักแบ่งปันสิ่งของให้ กับผู้ อื่น ฟังความคิดเห็นของคนอื่น รู้จักการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างทา กิจกรรม การรู้จักรอคอยที่จะใช้อุปกรณ์ร่วมกับผู้อื่นได้ คาสาคัญ : กิจกรรมสร้างสรรค์ พัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคมและด้านสติปัญญา Keywords: creative activities Development of physical, emotional, social and intellectual .


การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคมและด้านสติปัญญา ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตาบลโพธิ์ไทร อ. โพธิ์ไทร จ.อุบลราชธานี อาทิตยา กุลโชติ* เด็กปฐมวัยเป็นวัยเริ่มต้นของชีวิตและพัฒนาการทุกด้าน เด็กในวัยนี้จึงต้องดูแลอบรมเลี้ยงดูอย่าง ใกล้ชิด มีความเข้าใจพัฒนาการและความต้องการของเด็ก เป็นแบบอย่างที่ดีเด็กก็จะเกิดการเรียนรู้และ ซึมซับสิ่งดีดีในชีวิต เมื่อเติบโตก็จะเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ความสาคัญของกิจกรรมสร้างสรรค์สาหรับเด็กปฐมวัย กิจกรรมสร้างสรรค์ เป็นกิจกรรมที่เหมาะสมกับความสนใจ ความสามารถและสอดคล้องกับหลัก พัฒนาการของเด็ก กิจกรรมสร้างสรรค์ไม่เพียงแต่ส่งเสริมการประสานความสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อมือ กับ ตา และการผ่ อนคลายความเครี ยดทางอารมณ์ แต่ยังเป็นการส่ งเสริม ความคิด อิส ระ ความคิ ด จินตนาการ ฝึกการรู้จักทางานด้วยตนเองและฝึกการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ทั้งความคิดและการ กระทา ซึ่งถ่ายทอดออกมาเป็นผลงานทางด้านศิลปะ ศาสตราจารย์ ดร.อี พอล ทอเรนจ์ (Torrance) แห่ งมหาวิทยาลั ย จอเจี ย ร์และกิล ฟอร์ด (Guilford) นักจิตวิทยาชาวอเมริกั น กล่ าวไว้ว่า เด็กทุกคนมี ความคิดสร้างสรรค์โดยเฉพาะเด็กปฐมวัย ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กกาลังต้องการการพัฒนาอย่างยิ่ง เด็กวัยนี้เป็นวัยช่างซักช่างถาม อยากรู้อยากเป็นชอบตั้งคาถาม ฉะนั้นหากวัยนี้ได้รับการส่งเสริมความคิด สร้างสรรค์ที่ถูกต้องเหมาะสม ก็ช่วยให้เด็กได้รู้จักพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ได้สูงขึ้น ดังนั้นช่วงปฐมวัยจึง เป็นวัยหลักของปูพื้นฐานเพื่อการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่ต้องสร้างกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้เด็กเกิดความสนุกสนาน เพลิดเพลิน เมื่อเขาสนุกและเพลิดเพลิน แล้วจะทาให้เขาสามารถคิดอะไรได้แปลกใหม่อย่างมีอิสระเสรี การกิจกรรม สร้างสรรค์จึงเป็นการจัดกิจกรรมที่มุ่งส่งเสริมให้เด็กได้แสดงออกอย่างอิสระผ่านการสร้างสรรค์งานจาก กิจกรรมที่หลากหลายแบบที่ครูจัดให้ ตามความสนใจ โอภาส บุญครองสุข (2535, หน้า 89) กล่าวถึง ความสาคัญในการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ทางศิลปะให้กับเด็ก คือ การพัฒนาให้เกิดความงอกงามทั้ง ทางร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ซึ่งในการจัดกิจกรรมศิลปะนั้นควรเน้นการพัฒนาประสาทสัมผัสทั้ง 5 และควรเป็นกิจกรรมที่กระตุ้นให้เด็กได้คิดตลอดจนการลงมือปฏิบัติ ขั้นตอนและวิธีการในการใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ของเด็กปฐมวัย

นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต (รมป.2) สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต *


การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็ก จานวน 30 คน ของเด็กชั้นอนุบาล 1/2 ศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กเทศบาลตาบลโพธิ์ไทร สังกัดเทศบาลตาบลโพธิ์ไทร อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี โดยการใช้ใช้ กิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ของเด็กปฐมวัย ขั้นเตรียม ครูให้เด็กนั่งเป็นวงกลม ก่อนการเริ่มการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กในแต่ละวัน ครูให้ เด็กนั่งทาสมาธิ โดยใช้เพลงดั่งดอกไม้บาน โดยครูและเด็กร่วมกันร้องและทาท่าประกอบเพลงดั่งดอกไม้ บาน เป็นการเตรียมความพร้อมให้กับเด็ก เพื่อให้เด็กมีสมาธิและพร้อมทากิจกรรมต่อไป ขั้นสอน ครูนาเข้าสู่บทเรียน ครูและเด็กร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาที่จะเรียนในแต่ะวัน โดยใช้กิจกรรม สร้างสรรค์ที่หลากหลาย เช่น การวาดภาพ ระบายสี พับสี การปะติด ร้อยลูกปัดและปั้นดินน้ามัน ครูและ เด็กสร้างข้อตกลงในการทากิจกรรมร่วมกัน จากนั้นครูอธิบายวิธีการทากิจกรรมให้เด็กฟังและสาธิตวิธีการ ทาให้เด็กดู เพื่อให้เด็กเกิดความเข้าใจ แล้วให้เด็กลงมือปฏิบัติ โดยครูคอยดูแลและให้คาแนะนาอย่าง ใกล้ชิดในขณะที่เด็กทากิจกรรม ขั้นสรุป ครูทบทวนเนื้อหากิจกรรมที่ทา แล้วให้เด็กออกมาบรรยายผลงานของตนเองให้เพื่อนๆและครูฟัง ครูครูสังเกตพฤติกรรมของเด็กจากการทากิจกรรม เด็กมีความสนใจ ตั้งใจทากิจกรรม สามารถพูดบรรยาย ผลงานของตนเองได้ รู้จักทางานร่วมกับผู้อื่น รู้จักแบ่งปันสิ่งของให้กับผู้อื่น ฟังความคิดเห็นของคนอื่น การรู้จักรอคอยที่จะใช้อุปกรณ์ร่วมกับผู้อื่นได้ ผลของการใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ของเด็กปฐมวัย จากการใช้ใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ของเด็กปฐมวัยกับ เด็ก 30 คน ของเด็กชั้นอนุบาล 1/2 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตาบลโพธิ์ไทร สังกัดเทศบาลตาบลโพธิ์ไทร อาเภอ โพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี ผลปรากฎว่า * พัฒนาการด้านร่างกาย เด็กได้พัฒนากล้ามเนื้อเล็ก จากการวาดภาพ ระบายสี พับสี การปะติด ร้อยลูกปัดและปั้นดินน้ามัน - พัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ เด็กมีความสุข สนุกสนานในการทากิจกรรม ได้ชื่นชม ได้แสดง ความคิดเห็นต่อผลงานของตนเองและสร้างสรรค์ผลงานให้สวยงาม - พัฒนาการด้านสังคม เด็กเรียนรู้การเล่นและทางานร่วมกับผู้อื่น รู้จักตัดสินใจเลือกและลงมือ ปฏิบัติเอง ฟังความคิดเห็นของคนอื่น การรู้จักรอคอยที่จะใช้อุปกรณ์ร่วมกับผู้อื่น การรู้จักแบ่งปันวัสดุของ ใช้


พัฒนาการด้านสติปัญญา เด็กรู้จักการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างทากิจกรรม ส่งเสริม ความคิดของเด็กเกี่ยวกับการรับรู้ และการแสดงความรู้สึกผ่านผลงาน เช่น การวาดภาพ ระบายสี พับสี การปะติด ร้อยลูกปัดและปั้นดินน้ามัน จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) กล่าวว่า การจัดประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัยมีความสาคัญมากใน การฝึกให้เด็กได้คิดแก้ปัญหา การแสดงออกอย่างอิสระ และสามารถนาความรู้ที่ได้รับจากประสบการณ์ นั้นๆ มาใช้ในการแก้ปัญหาร่วมด้วย เนื่องจากเด็กปฐมวัยกาลังมีพัฒนาการอย่างรวดเร็วทั้งทางร่างกาย อารมณ์ จิตใจ และสติปัญญา เด็กจะเรียนรู้ได้ดีเมื่อมีการเรียนการสอน และประสบการณ์ที่จัดให้เด็กเป็น ประสบการณ์ตรง เด็กลงมือปฏิบัติเอง การจัดประสบการณ์โดยยึดเด็กเป็นศูนย์กลางจึงสาคัญมาก -

เอกสารอ้างอิง กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2547). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : เอดิสัน เพรสโปร ดักส์. รวิพร ผาด่าน. (2557). ความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรม ศิลปสร้างสรรค์การฉีก ตัด ปะเศษวัสดุ. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.(การศึกษาปฐมวัย). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สิริพรรณ ตันติรัตน์ไพศาล. (2545). ศิลปะสาหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น. เต็มสิริ เนาวรังสี. (2544). ครูปฐมวัยกับศิลปะเด็ก . กรุงเทพฯ : ภาควิชาการอนุบาลศึกษา คณะครุ ศาสตร์ สถาบันราชภัฏสวนดุสิต. โอภาส บุ ญ ครองสุ ข . (2535). เราจะสอนวิ ช าศิ ล ปศึ ก ษาให้ เ ด็ ก มี สุ น ทรี ย ภาพตามแนวปรั ช ญาใด ศิลปศึกษา-ศึกษาศิลปะ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ชื่อ

นางสาวอาทิตยา กุลโชติ นักศึกษา สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต สถานที่ทางาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตาบลโพธิ์ไทร อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี ตาแหน่ง ผู้ดูแลเด็ก จานวนเด็ก 30 คน


การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้าน สังคมและด้านสติปัญญาของเด็กปฐมวัย ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตาบลโพธิ์ไทร อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี Creative activities to promote the development of Physical Emotional Social and cognitive development of young children in child care centers Pho Sai district. Pho Sai Ubon Ratchathani Province รัชนีกร วงศ์กัณหา Ratchaneekorn Wongkanha บทคัดย่อ การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์สาหรับเด็กปฐมวัยมีความสาคัญอย่างยิ่ง เพราะเด็กในวัยนี้เป็นวัยที่ ต้องการการพัฒนา กิจกรรมสร้างสรรค์เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตาบลโพธิ์ไทร ได้จัดการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญาของเด็ก ให้มี ความพร้อมและเหมาะสมตามวัย โดยจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ ได้แก่ ปั้นดินน้ามัน ขีดเขียน ระบายสี ต่อบล็อคตามจินตนาการ ร้อยลูกปัด เป็นต้น ซึ่งแบ่งขั้นตอนการจัดกิจกรรมดังนี้ (1) ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (2) ขั้นสอน (3) ขั้นสรุป จากการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้าน สังคมและด้านสติปั ญญาของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒ นาเด็กเล็ กเทศบาลตาบลโพธิ์ไทร อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี พบว่าเด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้านดีขึ้น สามารถใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กจากการขีดเขียน ระบายสี เด็กมีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ สามารถอธิบายผลงานตนเองได้ รู้จักแบ่งปัน และ สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข คาสาคัญ : กิจกรรมสร้างสรรค์ พัฒนาการด้านร่างกาย พัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจ พัฒนาการด้าน สังคม พัฒนาการด้านสติปัญญา Keywords : Creative activities, Physical development, Emotional development, Social development and Cognitive development


การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคมและด้าน สติปัญญาของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตาบลโพธิ์ไทร อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี รัชนีกร วงศ์กัณหา* การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์สาหรับเด็กปฐมวัยมีความสาคัญอย่างยิ่ง เพราะเด็กในวัยนี้เป็นวัยที่ ต้องการการพัฒนา โดยมีการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย กิจกรรมสร้างสรรค์เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ทางศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตาบลโพธิ์ไทร ได้จัดการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจสังคมและสติปัญญาของเด็กให้มีความพร้อมและเหมาะสมตามวัย กรมวิชาการ (2540, หน้า 15) กล่าวว่า กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้เด็กแสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด สร้างสรรค์ โดยใช้ศิลปะ หรือวิธีการต่างๆ เป็นเครื่องมือ เช่น การวาดภาพ ระบายสี พิมพ์ภาพ ปั้น ฉีก ตัด ปะ การประดิษฐ์เศษ วัสดุ ฯลฯ ดังนั้นการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์สาหรับเด็กปฐมวัย จึงจาเป็นที่จะต้องจัด กิจกรรมที่เหมาะสมกับเด็ก เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กอย่างเต็มศักยภาพของเด็กแต่ละคน ความสาคัญของกิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมสร้างสรรค์เป็นกิจกรรมท่ิมีความสาคัญต่อเด็กปฐมวัยในการส่งเสริม พัฒนาการด้าน ต่างๆของเด็กโดยเฉพาะการส่งเสริมความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง เยาวพา เดชะคุปต์ (2528, หน้า 36 - 38) กล่าวว่า กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ เป็นกิจกรรมที่ ส่งเสริมความสามารถด้านการใช้กล้ามเนื้ อเล็กช่วยพัฒนากล้ามเนื้ อมือและตาให้สัมพันธ์กัน เพื่อเตรียม ความพร้อมด้านการเรียนและมีโอกาสพัฒนาพื้นฐานในการอ่าน พรมารินทร์ สุทธิจิตตะ (2529, หน้า 24) กล่าวกิจกรรมสร้างสรรค์ทางศิลปเป็นกิจกรรมที่ เหมาะสมกับความสนใจความสามารถและสอดคล้องกับหลักพัฒนาการของเด็กเป็นอย่างดีทั้งยังช่วยให้ กล้ ามเนื้ อมือและตาสั ม พัน ธ์กัน ช่ว ยผ่ อนคลายความเครียดทางอารมณ์ และส่ งเสริมความคิด อิ ส ระ ความคิดจินตนาการ การรู้จัก การทางานด้วยตนเองฝึกการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ทั้งความคิดและการ กระทา ซึ่งสามารถถ่ายทอดออกมาเป็นผลงานศิลปะและนาไปสู่การเรียน เขียน อ่านต่อไป โอภาส บุ ญครองสุ ข (2535, หน้ า 89) กล่ าวถึง ความส าคัญในการจัดประสบการณ์ การ เรียนรู้ ทางศิลปะให้กับเด็ก คือการพัฒนาให้เกิดความงอกงามทั้งทางร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ซึ่งในการจัดกิจกรรมศิลปะนั้นควรเน้นการพัฒนาประสาทสัมผัสทั้ง5 และควรเป็นกิจกรรมที่กระตุ้นให้เด็ก ได้คิดตลอดจนการลงมือปฏิบัติ นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต (รมป.2) สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต *


เลิศ อานันทนะ (2535, หน้า 44-48) กล่าวถึงการที่เด็กได้รั บการส่ งเสริมพัฒ นาการด้ว ย ศิลปะที่เหมาะสมจะสามารถพัฒนาในด้านต่างๆ ดังนี้พัฒนาการทางด้านร่างกาย ส่งเสริมพัฒนาการ ทางานที่ประสานสัมพันธ์ ระหว่างการใช้กล้ามเนื้อมือ และประสาทตาทาให้อวัยวะต่างๆ ของร่างกายมี ความแข็งแรง มีทักษะในการทางานที่คล่องตัวขึ้น พัฒนาการทางด้านอารมณ์ ทาให้เด็กมีความชื่นบาน สนุกสนาน ยิ่งเด็กได้ประสบผลสาเร็จใน งานท่ิลงมื อ ท าก็ ยิ่ ง ท าให้ เ ด็ ก เชื่ อ มั่ น ในตนเองบนพื้ น ฐานของความรั ก และความรู้ สึ ก ภาคภู มิ ใ จใน ความสามารถของตนเองส่งผลให้เด็กมีสุขภาพจิตที่ดีสามารถมองโลกที่สวยงาม ตลอดจนมีความรู้สึกที่ดี งามต่อผู้คนและสิ่งแวดล้อมรอบข้าง พัฒนาการทางด้านสังคม การจัดกิจกรรมทางด้านศิลปะเพื่อพัฒนาการทางสังคมให้แก่เด็ก อย่างเหมาะสม ได้แก่ การจัดกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ (Group Process) ทาให้เด็กเรียนรู้และ ฝึกหัด ด้านสังคม เช่น การวางแผนหรือปรึกษาหารือ การร่วมมือร่วมใจ การประนีประนอม การแก้ปัญหาความ ขัดแย้ง ฯลฯ มีผลทาให้เด็กลดความต้องการของตนเองเมื่อ ต้องการอยู่ร่วมในการทางานร่วมกับเพื่อน หรือพี่น้องของตนที่จะมีความสนใจแตกต่างกัน พัฒนาการด้านสติปัญญา ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และจินตนาการ การที่เด็กได้สารวจ ทดลอง ค้นคว้ากับวัสดุนานาชนิดเด็กจะมีการแก้ไขปัญหา เลือกสรร วางแผน ลงมือกระทาจริงรวมทั้งการวิจารณ์ และการประเมินค่าในผลงานที่ตนเองแสดงออกจนสาเร็จขึ้นมา ทาให้เด็กแสดงออกอย่างอิสระเสรีภายใต้ บรรยากาศที่สนุกสนานเพลิดเพลิน ขัน้ ตอนการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กเทศบาลตาบลโพธิ์ไทร อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี มีขั้นตอนและวิธีการดังนี้ ขั้นเตรียม ครูเตรียมความพร้อมเด็ กโดยใช้เพลง ดั่งดอกไม้บาน โดยครูและเด็กร่วมกันร้องเพลงและ ทาท่าประกอบเพลง ขั้นสอน ครูนาเข้าสู่บทเรียนครูและเด็กร่วมกันสนทนาในเนื้อหาที่จะเรียน ครูใช้คาถามเพื่อกระตุ้นให้ เด็กได้แสดงความคิดเห็น จากนั้นครูอธิบายให้เด็กฟังเกี่ยวกับกิจกรรมที่จะทาให้ เด็กเข้าใจ แล้วให้เด็กลง มือปฏิบัติ ครูคอยให้คาแนะนาและสังเกตเด็กขณะทากิจกรรม ใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ที่หลากหลาย เพื่อให้ เด็ ก ได้ เ ลื อ กท าตามความสนใจและความถนั ด เช่ น ปั้ น ดิ น นิมั า น ขี ด เขี ย น ระบายสี ต่ อ บล็ อ คตาม จินตนาการ ร้อยลูกปัด เป็นต้น


ขั้นสรุป สังเกตการทากิจกรรมของเด็กว่าเด็กมีความสนใจ สามารถพูดสนทนาและตอบคาถามได้ รู้จัก แบ่งปันสิ่งของให้กับเพื่อน ทางานร่วมกันอย่างมีความสุข ผลของการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ของเด็กปฐมวัย จากการจั ดกิจ กรรมสร้างสรรค์เพื่อส่ งเสริมพัฒ นาการทั้ง 4 ด้าน ของเด็กปฐมวัยในศูนย์ พัฒนา เด็กเล็กเทศบาลตาบลโพธิ์ไทร อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี จากการใช้กิจกรรมสร้างสรรค์ พบว่าเด็กได้พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กจากการขีดเขียน ระบายสี เด็กมีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ สามารถอธิบายผลงานตนเองได้ รู้จักแบ่งปัน และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข สรุปได้ว่า กิจกรรมสร้างสรรค์มีคุณค่าและมีความสาคัญอย่างยิ่งสาหรับเด็กปฐมวัย ช่วยพัฒนาเด็ก ได้หลายด้าน เช่น พัฒนากล้ามเนื้อมือให้พร้อมสาหรับการเขียนหนังสือ ส่งเสริมทักษะทางภาษา เด็กได้แสดงออกทางด้ าน ความคิดและจินตนาการ เด็กสามารถแสดงออกได้อย่างอิสระ นอกจากนี้ยังเป็นการส่งเสริมให้เด็กรู้จัก การแบ่งปัน สามารถเรียนรู้การเข้าสังคม รู้จักการทางานด้วยตนเองและความสาเร็จในการสร้างสรรค์ ผลงานจะช่วยให้เด็กเกิดความภาคภูมิใจ เอกสารอ้างอิง กรมวิชาการ. กระทรวงศึกษาธิการ. (2540). หลักสูตรก่อนประถมศึกษา พุทธศักราช 2540. กรุงเทพฯ: คุรุ สภา. พรมารินทร์ สุทธิจิตตะ. (2529). การเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่1 ที่ เ รี ย นการสร้ า งภาพโดยการใช้ แ ละไม่ ใ ช้ รู ป เลขาคณิ ต เป็ น สื่ อ .วิ ท ยานิ พ นธ์ ค.ม. (การ ประถมศึกษา).กรุงเทพฯ:บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร เยาวพา เดชะคุปต์. (2528). กิจกรรมสาหรับเด็กก่อนวัยเรียน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. เลิศ อานันทนะ. (2535). เทคนิควิธีสอนศิลปะเด็ก.กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. โอภาสบุ ญ ครอง. (2535). เราจะสอนวิ ช าศิ ล ปะศึ ก ษาให้ เ ด็ ก มี สุ น ทรี ย ภาพตามแนวปรชั ญ าใด ศิลปศึกษา–ศึกษาศิลปะ.กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.


ชื่อ

นางสาวรัชนีกร วงศ์กัณหา นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต สถานที่ทางาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตาบลโพธิ์ไทร อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี ตาแหน่ง ผู้ดูแลเด็ก จานวนเด็ก 29 คน


การจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านสังคม ของเด็ก ปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตาบลม่วงใหญ่ Academic articles.Learning through experience.To develop social skills EarlyCommunity Child DevelopmentCenter, a large purple. ยุวลี วงศ์เกย Yuwalee Wongkaey บทคัดย่อ การจัดการเรียนรู้ กิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อพัฒนา พัฒนาการด้านสังคมเด็กปฐมวัยนั้นมี ความสาคัญ เนื่องจาก พัฒนาการทางด้านสังคมของมนุษย์เรานั้นมีความแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับการอบรม เลี้ยงดูปลูกฝังตั้งแต่เด็ก ซึ่งถ้าได้รับการอบรมปลูกฝั งที่ไม่ถูกต้องเหมาะสมกับวัยอาจส่ งผลต่อการอยู่ ร่วมกับสังคมของเด็กได้ ดังนั้นจึงมีการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะด้านสังคมให้ กับเด็ก ชั้นอนุบาล2 จานวน35คนของศูนย์พัฒนาเด็ก เล็ ก องค์การบริหารส่วนตาบลม่วงใหญ่ อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งมีขั้นตอนการจัดกิจกรรม 3 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นนา ขั้นสอน ขั้นสรุป ผลจากการจัดกิจกรรมพบว่าเด็กใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตาบลม่วงใหญ่ จานวน 35คนจากการสังเกตพฤติกรรมพบว่า เด็กมีการปรับตัวในการร่วมกับสังคมได้ดีขึ้น รู้จักการปฏิบัติตนที่ถูกต้อง เมื่ออยู่ร่วมกับสังคม รู้หน้าที่และสามารถดูแลตนเองได้รู้จักขอบคุณเมื่อผู้ใหญ่ให้ของและรู้จักการปฏิบัติ ตนเมื่ออยู่ ในห้ องเรี ย น การรู้ จั กการแบ่งปันและรอคอย สามารถปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมเมื่ออยู่ ร่วมกับสังคม …………………………………………………………………………………………….. คาสาคัญ : การจัดการเรียนรู้ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ทักษะทางด้านสังคม Keyword : Learning Management. Activity Experience. Social skills.


การจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านสังคม ของเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตาบลม่วงใหญ่ ยุวลี วงศ์เกย* การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนา พัฒนาการทางด้านสังคมนั้นมีความสาคัญ พัฒนาการทางด้าน สังคม คือ การพัฒนาความสามารถในการสร้างสัมพันธ์กับผู้อื่น การปฏิบัติตนการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างปกติสุข เกิดการเรียนรู้ทางสังคม เพราะคนเราจะอยู่กันเป็นสังคม เด็กจะพัฒนามาตั้งแต่แรกเกิด รู้จักพ่อแม่ที่เป็น บุคคลใกล้ชิดที่สุด แล้วขยายมารู้จักบุคคลอื่นในครอบครัว เพื่อน ครูตามลาดับ ช่วยให้เขาเรียนรู้ที่จะเข้าใจคน อื่นและการปฏิบัติต่อกัน ดังทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมของ Albert Bandura ที่กล่าวว่า เด็กจะเลียนแบบ บุคคลที่อยู่ใกล้ชิดเป็นการเรียนรู้ทางสังคมของเด็ก การพัฒนาทางด้านสังคมของมนุษย์เรานั้นมีความแตกต่าง กันขึ้นอยู่กับการอบรมเลี้ยงดูปลูกฝังตั้งแต่เด็ก ซึ่งการเรียนรู้ทางสังคมของเด็กนั้น มีการพัฒนามาตั้งแต่แรก เกิด เด็กเรียนรู้จากคนใกล้ตัวแล้วเกิดการจดจา เรียนแบบ ซึ่งถ้าได้รับการอบรมปลูกฝังที่ไม่ถูกต้องเหมาะสม กับวัยนั้นอาจส่งผลต่อการอยู่ร่วมกับสังคมของเด็ก ดังนั้นจึงควรอบรม ปลูกฝังทักษะทางด้านสังคมที่ถูกต้อง เหมาะสมกับวัยของเด็ก กิจกรรมเสริมประสบการณ์มีความสาคัญอย่างไร กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดไว้ในคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546 ให้ สถานศึ ก ษาปฐมวั ย จั ด กิ จ กรรมเสริ ม ประสบการณ์ ใ ห้ แ ก่ เ ด็ ก ในความดู แ ล เนื่ อ งจากกิ จ กรรมเสริ ม ประสบการณ์จะช่วยส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยเจริญเติบโตเป็นผู้ที่คิดอย่างมีเหตุผล มีความรู้สึกที่ดตี ่อตนเองและผู้อื่น รู้จักการช่วยเหลือตนเอง มีพัฒนาการทางภาษาได้เหมาะสมตามวัย ได้ ฝึกคิด แก้ไขปัญหา ใช้เหคุผล ฝึกการทางาน และเข้าสังคมกับเพื่อน เพื่อให้เกิดความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติด้วยตนเองที่ใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า และการใช้ภาษาจากกิจกรรมที่ครูจัดให้เด็ก ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การศึกษานอกสถานที่ การเล่านิทาน การแสดงบทบาทสมมติ การทดลอง การสาธิต การอภิปราย (ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขา, 2547, หน้า 98-100) กล่าวไว้ว่าในช่วงแรกของชีวิตสมอง เติบโตอย่างรวดเร็วมาก การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ของสมองเกิดจากการที่บุคคลมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม มนุษย์แต่ละคนเป็นส่วนหนึ่งในสังคม ดังนั้น ความสัมพันธ์ทางสังคมจึงมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ ขั้นตอนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์

นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต (รมป.2) สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต *


ขั้น ตอนการจั กกิจ กรรมเสริมประสบการณ์เพื่อพัฒ นาทักษะทางด้านสังคมให้กับเด็กศูนย์ พัฒ นา เด็กเล็ กองค์การบริ ห ารส่ ว นตาบลม่ว งใหญ่ อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเวลา 4 สัปดาห์ ซึ่งมีหน่วยการเรียนรู้ดังนี้ ก้าวใหม่ได้เรียนรู้ ชื่อของหนูก็มี เด็กดีมีวินัย สุขสดใสในร่างกาย โดย ฝึกเน้นให้เด็กพัฒนาทักษะทางสังคมผ่านกิจกรรมที่หลากหลาย การที่เด็กได้เรียนรู้ผ่านการทากิจกรรมที่ หลากหลายช่วยให้เกิดการตกผลึกทางความคิด และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ความรู้ที่ได้ไม่ลบเลือนไป โดยง่าย การนาสาระการเรียนรู้และทักษะต่างๆ ที่ต้องการให้เด็กฝึกฝนมาเชื่อมโยงไว้ในการสอน การใช้ แหล่งเรียนรู้รอบตัว สื่อมีความหลากหลายมีความเพียงพอกับความต้องการของเด็ก และการจัดกิจกรรมที่ มีความยืดหยุ่นและปรับเปลี่ยนให้เหมาะกับกลุ่มเด็กและสภาพแวดล้อม โดยมุ่งให้เกิดประโยชน์แก่เด็ก มากที่สุด (พัฒนา ชัชพงศ์, 2530, หน้า140 - 142) ขั้นนา ครูให้เด็กเข้าแถวครึ่งวงกลม ครูนาเด็กเข้ากิจกรรมโดยการร้องเพลง แล้วให้เด็กร้องตามพร้อม แสดงท่าทางประกอบ ขั้นสอน - ให้เด็กยืนเป็นวงกลมทบทวนการร้องเพลง - ครูและเด็กสนทนาเกี่ยวกับปฏิบัติตนเมื่ออยู่ในห้องเรียน - เด็กช่วยกันบอกวิธีการปฏิบัติตนเมื่ออยู่ในห้องเรียน เช่น ไม่พูดเสียงดัง ออกนอกห้องต้องบอก คุณครูก่อน - เด็กร้องเพลงเก็บของและสนทนาถึงเนื้อหาในเพลง - ครูแนะนาชื่ออุปกรณ์และเครื่องใช้ให้เด็กสังเกตและจดจาที่เก็บที่ถูกต้อง - เด็กฝึกเก็บของใช้ให้ถูกที่โดยครูนาของเล่นมาร่วมกันและให้เด็กช่วยกัน แยกประเภทและนา เก็บไปไว้ที่เดิม - ครูให้เด็กหยิบของเล่น 1 ชิ้น และหยิบบัตรคาเลข 1 มาให้เด็กดูและอ่านตาม - ครูให้นักเรียนแสดงบทบาทสมมติ เช่น เมื่อครูให้ของจะทาอย่างไร ความหมายของการจัดกิจกรรมที่ให้เด็กมีส่วนร่วมนั้น ทิศนา แขมมณี ได้กล่าวไว้ใน แนวทางการ จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ (ทิศนา แขมมณี, 2536, หน้า 102 – 103) การมีส่วนร่วมอย่างตื่นตัว ในการเรียนรู้ (Active Participation) ไม่ได้หมายความถึงลักษณะที่แสดงออกทางกายเท่านั้น แต่รวมถึง ความกระฉับกระเฉงทางด้านสติปัญญา ความคิด ความจดจ่อ ทางด้านสังคมคือปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น การ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน และทางด้านอารมณ์ คือเกิดอารมณ์ร่วมในกิจกรรมนั้นๆ มีความสนุก เต็ม ใจ ไม่มีความเครียดการเลือกรูปแบบการสอนซึ่งมีหลากหลายวิธีมาใช้ ควรมีเกณฑ์พิจารณ์ความเหมาะสม


ขั้นสรุป จากการสอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคมโดยการร้องเพลง การสนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเมื่ออยู่ในห้องเรียน สนทนาเกี่ยวกับเนื้อเพลงเก็บของ การแสดง บทบาทสมมุติทาให้เด็กกล้าแสดงออก มีความรับผิดชอบมากขึ้น รู้จักการเสียสละสามารถบอกได้ว่าการ ปฏิบัติตนในห้องเรียนควรปฏิบัติามกฏตามข้อตกลงของห้องเรียน รู้การรอคอยไม่แย่งของเล่น ไม่แซงคิว ผลจากการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านสังคมให้กับเด็กศูนย์พัฒนาเด็ก เล็กองค์การบริหารส่วนตาบลม่วงใหญ่ อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี เด็กจานวน 35คน จากการ สังเกตพฤติกรรม พบว่า เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมดีขึ้น เด็กได้เรียนจากฟัง สังเกต การแสดงบทบาท สมมติ การมีส่วนร่วมในการทากิจกรรม การสนทนาโต้ตอบเกี่ยวกับบทเรียนหรือกิจกรรมที่ครูจัดขึ้น ได้ เรียนรู้ทักษะทางสังคมจากการเล่นหรือการทากิจกรรมร่วมกับเพื่อนในห้องโดยการแนะนาปลูกฝังอย่าง ถูกต้องและเหมาะสม ทาให้เด็ก รู้จักการปฏิบัติตนที่ถูกต้องเมื่ออยู่ร่วมกับสังคม รู้หน้าที่และสามารถดูแล ตนเองได้ รู้จักขอบคุณเมื่อผู้ใหญ่ให้ของและรู้จักการปฏิบัติตนเมื่ออยู่ในห้องเรียน การรู้จักการแบ่งปัน และรอคอย สามารถปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสมเมื่ออยู่ร่วมกับสังคม เอกสารอ้างอิง กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย. พุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). คู่อมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย. พุทธศักราช 2546 (สาหรับเด็กอายุ3-5 ปี).กรุงเทพมหานคร:สกสค. จีระพันธ์ พูลพัฒน์และคณะ. (2557).นวัตกรรมการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนุ สิ ต . ทิ ศ นา แขมมณี (2536 : 102 – 103). การเตรี ย มความพร้ อ มของเด็ ก ปฐมวั ย . กรุงเทพมหานคร : สถาบันราชภัฏพระนคร. พัฒนา ชัชพงศ์ (2530 : 140 - 142). นวัตกรรมปฐมวัย.กรุงเทพมหานคร : แว่นแก้ว.


ชื่อ สถานที่ทางาน ตาแหน่ง จานวนเด็ก

นางสาวยุวลี วงศ์เกย นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตาบลม่วงใหญ่ ตาบลม่วงใหญ่ อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก 35 คน


กิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์(กิจกรรมสร้างสรรค์) ระดับปฐมวัยของศูนย์พัฒนา เด็กเล็กบ้านสองคอน ตาบลสองคอน อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี Create Activity Help Thinks (Create) Of Early Childhood Development Center Of Bansongkon, Songkon Sub-district, Phosai Districts, Ubonratchathani โสพิศ แก้วเนตร Sopit Kaewnet บทคัดย่อ การจัดการเรียนรู้ให้กับเด็กปฐมวัยเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ การรับรู้ความสวยงาม เด็กได้ แสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึก ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และจินตนาการของเด็กปฐมวัย 2-4 ขวบใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสองคอน ตาบลสองคอน อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี จานวน74 คนโดยใช้ ศิลปะสาหรับเด็กหลากหลายแบบ เช่น การเขียนภาพ การปั้น การฉีกปะ การตัดปะ การพิมพ์ภาพ การ ปั้ น การร้ อ ย การประดิ ษ ฐ์ ที่ เ ด็ ก สามารถจะคิ ด สร้ า งสรรค์ ไ ด้ แ ละมี ค วามเหมาะสมตามวั ย ของเด็ ก วิทยาการทางด้านสมองทาให้เราทราบได้ว่า เด็กมีศักยภาพทางการคิด เกิดจากสมองทั้ง 2 ซีกทั้งซีกซ้าย และซีกขวา ซึ่งแบ่ งขั้น ตอนการจั ด กิจ กรรมออกเป็ น 3 ขั้นตอนคือ 1. ขั้นนาเข้าสู่ บทเรียน 2. ขั้นจัด กิจกรรม 3. ขั้นสรุป เพื่อฝึกให้เด็กรู้จักการวางแผน รู้จักช่วยตนเอง รู้จักพัฒนาความคิดของตนเอง ผลจากการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์พบว่า ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้น จากการจัดกิจกรรมความรู้ใหม่ที่ เกิดขึ้นในด้านตัวเด็กเด็กสามารถสร้างผลงานด้วยตนเองได้ตามศักยภาพของตนเองครูไม่ควรเปรียบเทียบ ผลงานเด็กกับเพื่อนและควรสร้างความมั่นใจให้เด็กเข้าใจว่าผลงานของเด็กแต่ละคนนั้นมีคุณค่าเสมอและ มีแรงบันดาลใจในการทางานเกิดจากความต้องการให้เด็กมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ผลงานของตัวเอง กล้า คิด กล้าทา …………………………………………………………………………….. คาสาคัญ : กิจกรรมสร้างสรรค์ ความคิดสร้างสรรค์ของเด็ก Key word : Create activity Thinks new create


กิจกรรมส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ (กิจกรรมสร้างสรรค์) ระดับปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้าน สองคอน ตาบลสองคอน อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี โสพิศ แก้วเนตร* การจัดการเรียนรู้ให้กับเด็กปฐมวัยเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้งด้านร่างกายอามรณ์ สังคม และ สติปั ญญา การกิจ กรรมสร้ างสรรค์ส าหรับเด็กปฐมวัย คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับเด็กเพื่อ พัฒนาการคิดสร้างสรรค์ การรับรู้ความสวยงาม เด็กได้แสดงออกทางอารมณ์หรือ ความรู้สึก ความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ และจินตนาการโดยใช้ศิลปะสาหรับเด็กหลากหลายแบบ เช่น การเขียนภาพ การปั้น การ ฉี ก ปะ การตั ด ปะ การพิ ม พ์ ภ าพ การปั้ น การร้ อ ย การประดิ ษ ฐ์ หรื อ วิ ธี อื่ น ๆ ที่ เ ด็ ก สามารถจะคิ ด สร้างสรรค์ได้และมีความเหมาะสมตามวัยของเด็กวิทยาการทางด้านสมองทาให้เราทราบได้ว่า คนเรามี ศักยภาพทางการคิด เกิดจากสมองทั้ง 2 ซีกทั้งซีกซ้ายและซีกขวา ปัญหาการเรียนการสอนที่พบ เกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมสร้างสรรค์ พบ ปัญหาที่เป็น อุป สรรคในการจัดกิ จ กรรมที่สาคัญได้แก่ การทากิจกรรมสร้างสรรค์ของเด็ก ผลงานที่ ออกมาเป็นผลงานที่เอาอย่างกันหรือทาตามกัน และขาดความมั่นใจในตนเอง ไม่กล้าเสี่ยงไม่กล้าตัดสินใจ ลงมือกระทาใดใดมักคิดว่าตนเองทาไม่เป็น ทาไม่ได้ ความต้องการที่จะแก้ไขปรับปรุง จากปัญหาการเรียนการสอนที่พบ จึงต้องการแก้ไขปรับปรุง เพื่อส่งเสริมให้เด้กมีความคิดอิสระ มั่นใจในตนเอง กล้าคิดกล้าแสดงออก มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ส่งเสริมให้เด็กเกิดความคิดจินตนาการ ให้รู้จักการทางานด้วยตนเอง และรู้จักการสร้างผลงานขึ้น กิจกรรมสร้างสรรค์ที่ครูจัดให้เด็กที่โรงเรียนเป็นการจัดกิจกรรมที่มุ่งส่งเสริมให้เด็กได้แสดงออก อย่างอิสระผ่านการสร้างสรรค์งานจากกิจกรรมที่หลากหลายแบบที่ครูจัดให้วันละ 3-5 กิจกรรม และเด็กมี โอกาสเลือกทาอย่างน้อยวันละ 1-2 กิจกรรม ตามความสนใจ คือ 1. กิจกรรมงานปั้น ได้แก่ ปั้นดินเหนียวหรือแป้งโด ดินน้ามัน เป็นต้น 2. กิจกรรมวาดภาพระบายสี ทั้งสีน้า สีเทียน สีดินสอ ได้แก่ หยดสี เทสี ระบายสี เป่าสี ละเลงสี ด้วยนิ้วมือ หรือส่วนต่างๆ ของมือหรือ พิมพ์ภาพ เป็นต้น 3. กิจกรรมงานกระดาษ ได้แก่ ฉีก พับ ตัด ปะ กระดาษ เป็นต้น กิจกรรมประดิษฐ์จากวัสดุต่างๆ และของเหลือใช้ ได้แก่ ประดิษฐ์กระทงใบตอง ประดิษฐ์หน้ากากจากจานกระดาษ เป็นต้น ขั้นตอนการจัดกิจกรรม * ครูเตรียมอุปกรณ์และร่วมกันวางแผนการใช้สื่อ อุปกรณ์ให้สอดคล้องกับงานศิลปะที่ต้องการ เช่น งานตัดปะกระดาษ ควรมีกระดาษ กรรไกร กาว กระดาษพื้นหรือกระดาษ A4 สีขาวไว้ติดภาพ ผ้าเช็ด นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต (รมป.2) สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต *


มือ งานปั้น ควรมีแผ่นรองปั้นดินและรองผลงานปั้นของเด็ก ดินเหนียวหรือแป้งโด เป็นต้น เพื่อฝึกให้เด็ก รู้จักการวางแผน * ครูแนะนาพร้อมสาธิตการใช้อุปกรณ์ต่างๆให้เด็กดู * สร้างความมั่นใจให้กับเด็ก สนับสนุนให้หเด็กกล้าคิดกล้าแสดงออก * ร่วมกันประเมินผลงานและชื่นชมผลงานเด็กทุกครั้ง กิล ฟอร์ ด (Guilford) นั กจิ ตวิทยาชาวอเมริกัน ซึ่งกล่ าวโดยสรุปพบว่า เด็กทุกคนมีความคิด สร้างสรรค์โดยเฉพาะเด็กปฐมวัย ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กกาลังต้องการการพัฒนาอย่างยิ่ง เด็กวัยนี้ เป็ น วั ย ช่ า งซั ก ช่ างถาม อยากรู้ อ ยากเป็ น ชอบตั้ ง ค าถาม ฉะนั้ น หากวั ย นี้ ไ ด้ รั บ การส่ ง เสริ ม ความคิด สร้างสรรค์ที่ถูกต้องเหมาะสมก็ช่วยให้เด็กได้รู้จักพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ได้สูงขึ้นจะเป็นพื้นฐานสาคัญ ในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในวัยต่อมา ในทางตรงกันข้าม หากเด็กไม่ได้รับการส่งเสริมแต่กลับถูก ลิดรอนทางความคิดสร้า งสรรค์ นอกจากความคิดสร้างสรรค์จะไม่พัฒนา ความคิดสร้างสรรค์อาจสูญ หายไป ดังนั้นช่วงปฐมวัยจึงเป็นวัยหลักของ การปูพื้นฐานเพื่อการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ การวางแผนการทางาน 1. ให้เด็กๆทากิจกรรมต่างๆที่ครูกาหนดไว้เช่นการปั้น การระบายสี การฉีกพับ ตัดปะ เป็นต้น 2. เมื่อเด็กทากิจกรรมเสร็จถ้าเป็นการวาดภาพให้เด็กบอกว่าวาดรูปอะไร ถ้าปั้นดินน้ามันให้ บอกว่าปั้นรูปอะไร เป็นต้น 3. ชักชวนให้เด็กสนทนา หรืออธิบายจากผลงานที่เด็กสร้างขึ้น 4. เสนอผลงานเด็ก 1. ผลที่เกิดขึ้น - ความสาเร็จของตนเอง เกิดความภาคภูมิใจที่ประสบความสาเร็จในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระดับหนึ่ง ได้ สร้างพื้นฐานที่ดีในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ตามความสามารถและศักยภาพของเด็กแต่ละบุคคล - ความสาเร็จของนักเรียน หลั งจากเด็กได้เรี ย นรู้ จากการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ในลักษณะต่างๆ เด็กสามารถสร้าง ผลงานที่เป็นอิสระทางความคิด ด้วยความพอใจของตน เกิดความคิดที่แปลกใหม่ ผลงานไม่ซ้ากัน เป็น การเริ่มต้นให้เด็กกล้าคิด มีความั่นใจในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออก รู้จักการทางานด้วยตนเองมากขึ้น 2. สรุปบทเรียนที่ได้ - ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้น จากการจัดกิจกรรม ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้น ในด้านตัวเด็ก เด็กสามารถสร้างผลงานด้วย ตนเองได้ตามศักยภาพของตนเอง ครูไม่ควรเปรียบเทียบผลงานเด็กกับเพื่อน และควรสร้างความมั่นใจ ให้เด็กเข้าใจว่าผลงานของเด็กแต่ละคนนั้นมีคุณค่าเสมอ - ได้แรงบันดาลใจเพื่อการดาเนินงาน


แรงบันดาลใจในการทางานเกิดจากความต้องการให้เด็กมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ผลงาน ของตัวเอง กล้าคิด กล้าทา 3. ประโยชน์ที่ได้รับ มี 4 ด้านดังนี้ - ด้านร่างกาย เด็กได้พัฒนากล้ามเนื้อเล็ก จากการเขียนภาพและการเล่นสี เช่น กิจกรรมเขียน ภาพด้วยสีเทียน สีน้า เป่าสี ทับสี ปั้นดินเหนียว ดินน้ามัน งานประดิษฐ์จากเศษวัสดุ - ด้านอารมณ์ จิตใจ เด็กมีโอกาสชื่นชมและสร้างสรรค์สิ่งสวยงาม เช่น กิจกรรมเขียนภาพตาม ความคิดสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นต่อผลงานของตัวเอง - ด้านสังคม เด็กได้เล่นและทางานร่วมกับผู้อื่น มีการวางแผน ตัดสินใจเลือ กและลงมือปฏิบัติ ให้เด็กมีโอกาสได้รับรู้ความรู้สึก ความสนใจ ความต้องการของตนเองและผู้อื่น เช่น การเลือกทากิจกรรม ศิลปะตามความสนใจ การฟังความคิดเห็นของเด็กคนอื่น การรู้จักรอคอยที่จะใช้อุปกรณ์ร่วมกับผู้อื่น การ รู้จักแบ่งปันวัสดุ ของใช้ เป็นต้น - ด้านสติปัญญา ส่งเสริมด้านการใช้ภาษาและด้านการเขียนในหลายรูปแบบผ่านประสบการณ์ ที่สื่อความหมายต่อเด็ก และการสื่อความหมายของมิติสัมพันธ์ด้วยภาพวาด เช่น การให้เด็กเขียนภาพ นิทาน วาดภาพด้วยสีเทียน สีน้า เป็นต้น เอกสารอ้างอิง กรมวิชาการ. (2544). ความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร : กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. โกสุม สายใจ. (2550). สุนทรียภาพทางศิลปะสาหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราช ภัฏสวนดุสิต. จีระพันธุ์ พลูพัฒน์ และคณะ. (2557). นวัตกรรมการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนดุสิต. นภเนตร ธรรมบวร. (2549). การพัฒนาการคิดในเด็กปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์แห่งชาติ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อารี พันธ์มณี. (2540). คิดอย่างสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร : ต้นอ้อ แกรมมี.


ชื่อ สถานที่ทางาน ตาแหน่ง จานวนเด็ก

นางสาวโสพิศ แก้วเนตร นักศึกษาสาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต อุบลราชธานี ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก บ้ า นสองคอน ต าบลสองคอน อ าเภอโพธิ์ ไ ทร จั ง หวั ด อุบลราชธานี ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก 74 คน


การจัดการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้าน สติปัญญาของเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาขาม ตาบลสาโรง อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี Learning through experience activities. To promote the intellectual development of children, child development centers Na Kham Somrong sub-district,Phosai Districts,Ubonratchathani. Province. นฤนารถ เจริญชาติ Naruenart Charoenchart บทคัดย่อ การพัฒ นาเด็กปฐมวัย ซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒ นาความส าคัญกับ การจัดการเรียนรู้ เพื่อ ปลูกฝังทั้งใน ด้านพัฒนาการสติปัญญาและอารมณ์ การจัดการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เพื่ อ ส่ ง เสริ ม พั ฒ นาการทางด้ า นสติ ปั ญ ญาของเด็ ก ปฐมวั ย ศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก บ้ า นนาขาม โดยมี กลุ่มเป้าหมายในการจัดกิจกรรมคือ เด็กปฐมวัยระดับ 2 - 4 ขวบ จานวน 67 คน ผ่านการจัดกิจกรรม เสริ ม ประสบการณ์ โดยใช้ ก ารจั ด กิ จ กรรมที่ ผ่ า นการปฏิบั ติ ด้ ว ยตนเอง ครู แ ละเด็ ก ได้ จั ด กิ จ กรรมที่ หลากหลาย เพื่อพัฒนาและส่งเสริมกระบวนการด้านสติปัญญาของเด็กปฐมวัย .โดยแบ่งขั้นตอนการจัด กิจกรรม ออกเป็น 3 ขั้นตอน 1. ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ก็จะใช้เพลงประกอบการเรียนการสอนเพื่อให้เด็กได้ มี ส มาธิ แ ละพร้ อ มที่ จ ะเรี ย นรู้ 2. ขั้ น การจั ด กิ จ กรรม ครู จ ะเน้ น ให้ เ ด็ ก ได้ รั บ การเรี ย นรู้ ครู ใ ช้ เ พลง ประกอบการสอน และสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหา โดยใช้คาถามปลายเปิด เด็กได้แสดงความคิดเห็น เด็กได้ลง มือปฏิบัติและได้พัฒนาทักษะทางด้านสติปัญญา 3. ขั้นสรุป เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองได้และช่วยฝึก ความคิดพัฒนาทักษะของตนเอง ผลการกิจกรรมเสริมประสบการณ์ พบว่า เด็กปฐมวัยได้เกิดการเรียนรู้จากสิ่งต่างๆ รอบตัวอย่าง มีจุดหมาย เกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนรู้ และสามารถ ฝึกให้เด็กได้คิด แก้ไขปัญหาอย่างมี เหตุผลได้ โดยจะเน้นเรื่องการส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาของเด็ก เด็กได้มีพัฒนาการในด้านต่างๆ ได้ดีขึ้น สามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เด็กสามารถพูดกับผู้ อื่นเกี่ยวกับประสบการณ์ ข อง ตนเอง หรือเล่าเรื่องเกี่ยวกับตนเองได้ และส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาได้ดียิ่งขึ้น ………………………………………………………………………………………………. คาสาคัญ : กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญา Key words: experience activities, promote intellectual development


การจัดการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ ทางด้านสติปัญญา ของเด็ก ปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาขาม นฤนารถ เจริญชาติ* การพัฒ นาเด็กปฐมวัยซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนาความสาคัญกับการจัดการเรียนรู้ เพื่อ ปลูกฝังทั้งใน ด้านพัฒนาการสติปัญญาและอารมณ์ ในปัจจุบัน การพัฒนาการด้านสติปัญญาเด็กปฐมวัยมี ความสาคัญเป็นอย่างมาก เพราะเด็กจะมีพัฒนาการในด้านต่างๆ ได้ดีก็ขึ้นอยู่กับพัฒนาการด้านสติปัญญา เป็นหลัก. ดังทฤษฎีของเพียเจต์ (Piaget) เขาอธิบายว่า การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทาง สติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่างๆ เป็นลาดับขั้น พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ การ จัดประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในช่วงที่เด็กกาลังจะพัฒนาไปสู่ขั้นที่สูงกว่า สามารถช่วยให้เด็ก พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เพียเจต์จึงเน้นความสาคัญของการเข้าใจธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กมากกว่า การกระตุ้นเด็กให้มีพัฒนาการเร็วขึ้น ไว้ 3 ขั้นตอน คือ1.ขั้นประสาทรับรู้และการเคลื่อนไหว 2. ขั้นก่อน ปฏิบัติการคิด 3.ขั้นปฏิบัติการคิดด้านรูปธรรม เพื่อให้เด็กปฐมวัยให้มีคุณภาพและสามารถมีพัฒนาการ ด้านสติปัญญาได้เต็มตามศักยภาพ ความสาคัญของการจัดการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้าน สติปัญญาของเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาขามการเรี ยนรู้ของเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านาขาม จะเรียนรู้ผ่านการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ประสบการณ์ ซึ่งเป็นการจัดกิจกรรมที่จัดมุ่งฝึกให้เด็กได้มี โอกาสฟัง พูด สังเกต คิดแก้ปัญหา ใช้เหตุผล และฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเรื่องที่ เรียน โดยจัดกิจกรรมด้วยวิธีต่างๆ เช่น สนทนา อภิปราย เล่านิทาน สาธิต ทดลอง ศึกษานอกสถานที่ เล่น บทบาทสมมติ ร้องเพลง เล่นเกม ท่องคาคล้องจอง ประกอบอาหารเชิญวิทยากรมาพูดคุยกับเด็ก เพื่อให้ เด็กเกิดกระบวนการให้สมองเรียนรู้ เป็นการพัฒนากระบวนการคิดของเด็ก ซึ่งต้องอาศัยข้อมูลจากการ รั บ รู้ ข องสมองจ านวนมาก ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ แนวคิ ด ของ เพี ย เจต์ (พ.ศ. 2439 - 2523) Jean Piaget (ค.ศ.1896 - 1980) ผู้สร้างทฤษฎีพัฒนาการเชาวน์ปัญญา กิจกรรมเสริมประสบการณ์ที่เน้นให้เด็กเรียนรู้ผ่านการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ทาซึ่งจะทา ให้เด็กได้มีโอกาสเพิ่มพัฒนาการด้านสติปัญญา เพื่อกระตุ้นให้เด็กคิดสิ่งที่ซับซ้อนขึ้นตามลาดับ เด็กจะได้ เคยชินกับการใช้ความคิดและคิดเป็นในที่สุด จึงทาให้ครูได้เล็งเห็น. ความสาคัญในการพัฒนาและส่งเสรม กระบวนการด้านสติปัญญาของเด็ก . โดยคาถามปลายเปิด เด็กได้แสดงความคิดเห็น ครูได้รับฟังความ คิดเห็นที่หลากหลายของเด็ก การจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ในครั้งนี้ เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการ นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต (รมป.2) สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต *


ด้านสติปัญญา. เด็กได้เกิดการเรียนรู้จากสิ่งต่างๆรอบตัวอย่างมีจุดหมาย เกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ เรื่องที่เรียนรู้ และสามารถ ฝึกให้เด็กได้คิด แก้ไขปัญหาอย่างมีเหตุผลได้ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ จะช่วยส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยเจริญเติบโดเป็นผู้ที่คิดอย่างมีเหตุผล มี ความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น รู้จักการช่วยเหลือตนเอง มีพัฒนาการทางภาษาได้เหมาะสมตามวัย (กระทรวงศึกษาธิก ารได้กาหนดไว้ในคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546) เด็กได้ฝีกคิด แก้ไขปัญหา ใช้เหตุผล ฝึกการทางาน และเข้าสังคมกับเพื่อน เพื่อให้เกิดความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เรียนรู้ ผ่าน การปฏิบัติด้วยตนเองที่ใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า และการใช้ภาษาจากกิจกรรมที่ครูและผู้ปกครอง ร่วมมือจัดให้เด็กด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การศึกษานอกสถานที่ การเล่านิทาน การแสดงบทบาท สมมติ การทดลอง การสาธิต การอภิปราย เป็นต้นซึ่งกิจกรรมที่กล่าวมาแล้วนั้น จะช่วยกระตุ้นและส่งเสิม ให้เด็กได้มีพัฒนาการด้านสติปัญญาและการแก้ไขปัญหาที่ถูกต้อง ขั้นนา ครู ใช้กิจ กรรมเตรี ย มความพร้อม โดยใช้เพลงประกอบ "เพลงสวัส ดีเธอจร้า " และเพลง "ลม หายใจ" ก่ อ นการจั ด กิ จ กรรม เพราะว่ า ก่ อ นที่ เ ด็ ก จะนิ่ ง เราต้ อ งใช้ เ พลงกระตุ้ น เพื่ อ ให้ เ ด็ ก มี ค วาม กระตือรือร้น เมื่อได้ยินเสียงเพลงแล้วเด็กก็จะปฏิบัติตาม และมีสมาธิก่อนที่จะเริ่มเรียน ขั้นสอน เด็กและครูร่วมกันร้องเพลง “โรงเรียนของเรา” โดยครูร้องให้เด็กฟังก่อน แล้วจึงให้ร้องตามจน สามารถร้องได้เสร็จแล้วสนทนาร่วมกันเกี่ยวเนื้อหาของบทเพลง เด็กและครูสนทนาร่วมกัน เกี่ยวกับชื่อ ของโรงเรียน โดยครูบอกชื่อของโรงเรียนให้เด็กฟังก่อ นแล้วให้เด็กพูดตามให้ถูกต้อง ครูแนะนาห้องเรียน และชื่อของครูประจาชั้น และชื่อพี่เลี้ยงให้เด็กๆ ทราบ เสร็จแล้วให้เด็กๆ แนะนาตนเองโดยบอกชื่อจริง และชื่อเล่นให้เพื่อนๆ ในห้องฟังทุกคน เด็กและครูสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับการร่วมกิจกรรมต่างๆ ของ ห้องเรียนโดยครูพยายามพูดคุยและสร้างความคุ้นเคยกับเด็กๆ จนเด็กรู้สึกผ่อนคลายและเป็นกันเอง เด็ก และครูร่วมกันร้องเพลง “โรงเรียนของเรา” อีกครั้ง เด็กและครูสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับเครื่องหมายประจาตัว โดยครูแจกภาพเครื่องหมายประจาตัว ของเด็กแต่ละคน พร้อมกับบอกชื่อภาพเครื่องหมายให้ เด็กทราบ และตอบคาถามเกี่ยวกับเครื่องหมาย เพราะเหตุใดเด็กๆ จึงต้องมีเครื่องหมายประจาตัวและเคยเห็นเครื่องหมายแบบนี้ที่ใดบ้างหรือเปล่า เด็ก และครูสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับของใช้ส่วนตัวของเด็ก โดยครูแนะนาของใช้ต่างๆให้เด็กทราบว่าแต่ละคนมี อะไรบ้างและใช้อย่างไรเก็บ ไว้ที่ไหน ครูนาภาพเครื่องหมายประจาตัวเด็กไปติดไว้กับของใช้ต่างๆ เช่น แก้วนา ราวแขวนผ้าเช็ดตัว แล้วให้เด็กนาภาพเครื่องหมายของตนเองไปเปรียบเทียบกับภาพที่ติดตาม ของใช้ต่างๆ เหล่านั้นเป็นการฝึกให้เด็กรู้จักเครื่องหมายประจาตัวและของใช้ของตัวเอง เด็กและครูร่วมกัน ร้องเพลง “เก็บของ” โดยครูร้องให้เด็กฟังก่อนแล้วจึงให้ร้องตามเสร็จแล้วสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับเนื้อหา ของบทเพลง


ขั้นสรุป การจัดกิจกรรมประสบการณ์ในครั้งนี้ เด็กสามารถร้องเพลงตามครูตามคุณครูได้ และจดจา เนื้อหาของเพลงได้อย่างรวดเร็วจนสามารถร้องเองได้ และจากกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เด็กสามารถ ช่วยตนเองได้และช่วยฝึกความคิดพัฒนาทักษะของตนเองในการมารงเรียนและการเก็บสิ่งของให้เข้าที่โดย ใช้สัญลักษณ์ เด็กได้รับการส่งเสริมให้ฝึกปฏิบัติด้วยตนเองจากการจัดสภาพแวดล้อม การใช้แหล่งเรียนรู้ สื่อ การเล่นให้สอดคล้องกับสภาพจริงในชีวิตประจาวัน ผลจากการจัดการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญา ของเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาขาม ผลจากการจั ด การเรี ย นรู้ ผ่ านกิจกรรมเสริม ประสบการณ์ เพื่อส่ งเสริ ม พัฒ นาการทางด้ า น สติปัญญา. ของเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาขาม กับเด็กปฐมวัยระดับ 2 - 4 ขวบ จานวน 67 คน ทั้ง 4 สั ป ดาห์ ที่ผ่ านมาปรากฏว่า เด็กจะมีพัฒ นาการในด้านต่างๆได้ดีก็ขึ้นอยู่กับพัฒ นาการด้าน สติ ปั ญ ญาเป็ น หลั ก ดั ง ทฤษฏี ษ์ ข องเพี ย เจต์ (Piaget) เขาอธิ บ ายว่ า การเรี ย นรู้ ข องเด็ ก เป็ น ไปตาม พัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่างๆ เป็นลาดับขั้น พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตาม ธรรมชาติ การจัดประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในช่วงที่เด็กกาลังจะพัฒนาไปสู่ขั้นที่สูงกว่า สามารถช่ ว ยให้ เ ด็ ก พั ฒ นาไปอย่ างรวดเร็ ว เพี ย เจต์ จึ ง เน้น ความส าคั ญ ของการเข้ าใจธรรมชาติและ พั ฒ นาการของเด็ ก มากกว่า การกระตุ้ นเด็ก ให้ มี พั ฒ นาการเร็ว ขึ้ น เด็ ก สามารถพู ด กั บผู้ อื่ นเกี่ ยวกับ ประสบการณ์ของตนเอง หรือเล่าเรื่องเกี่ยวกับตนเองได้ เด็กได้มีโอกาสฟัง พูด สังเกต คิดแก้ปัญหา ใช้ เหตุผล และฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้าน สติปัญญา เด็กได้เกิดการเรียนรู้จากสิ่งต่างๆ รอบตัวอย่างมีจุดหมาย เกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ เรื่องที่เรียนรู้ และสามารถ ฝึกให้เด็กได้คิด แก้ไขปัญหาอย่างมีเหตุผลได้ เอกสารอ้างอิง จีระพันธุ์ พูลพัฒน์ และคณะ. (2557). นวัฒกรรมการศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต นภเนตร ธรรมบวร (2549). การพั ฒ นาการคิ ด ในเด็ ก ปฐมวั ย . กรุ ง เทพมหานคร : จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์ และคณะ. (2551). การสอนคิดด้วยโครงงาน. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. พรรณทิ พ ย์ ศิ ริ ว รรณบุ ศ ย์ . (2549). ทฤษฎี จิ ต วิ ท ยาพั ฒ นาการ. กรุ ง เทพมหานคร : จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. สุรางค์ โค้วตระกูล (2537). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.


ชื่อ

นางสาวนฤนารถ เจริญชาติ นักศึกษาสาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต สถานที่ทางาน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านนาขาม ตาบลสาโรง อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี ตาแหน่ง ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก จานวนเด็ก 67 คน


การจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาทักษะด้านสังคมของเด็กปฐมวัยใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่างาม อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัด อุบลราชธานี Learning Management through creative activities to develop social skills in young childhood child development center community Laogam, Phosai District, Ubonratchathani. นันทพร เตมิยะ Nanthaporn Temiya บทคัดย่อ การจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาทักษะด้านสังคมของเด็กปฐมวัย ชั้นอนุบาล 3 จ านวน 34 คน ในศูน ย์ พัฒ นาเด็กเล็ ก องค์ การบริห ารส่ ว นตาบลเหล่ า งาม อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัด อุบลราชธานี มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะทางด้านสังคมของเด็กปฐมวัยและให้เด็กสามารถแสดงออก ถึงพฤติกรรมที่เหมาะสมในการอยู่ร่วมกันในสังคม ซึ่งมีขั้นตอนการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ ดังนี้ ขั้นนาเข้าสู่ บทเรียนคุณครูพาเด็กร้องเพลงและทาท่าทางประกอบเพลงเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่บทเรียน ขั้น สอน คุณครูแจกอุปกรณ์และสาธิตการทากิจกรรมสร้างสรรค์ ขั้นสรุป เด็กสามารถพัฒนาทักษะทางด้าน สังคม ผลการกิจ กรรม พบว่า จากการสั งเกตพฤติกรรมของเด็ กในการท างานร่ว มกัน กับผู้ อื่น เด็ก สามารถเรียนรู้การอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น รู้จักปฏิสัมพันธ์กันในการทางาน มีน้าใจต่อเพื่อนๆรู้จักเอื้อเฟื้อ แบ่งปันในการใช้สิ่งของร่วมกัน สามารถปฏิบัติตามกฎกติกาของการทางานร่วมกันในกลุ่ม ไม่ยื้อแย่งกัน ไม่ทะเลาะกัน เคารพในสิทธิของผู้ อื่น รู้จักขอบคุณเมื่อมีคนอื่นช่วยเหลือหรือให้สิ่งของ รู้จักขอโทษเมื่อ ตนเองทาผิด ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าว ทาให้เด็กมีพื้นฐานทักษะทางด้านสังคมที่ดีและสามารถนาไปปรับใช้ เมื่อเติบโตสู่วัยผู้ใหญ่ในอนาคต ............................................................................................................ คาสาคัญ : การจัดการเรียนรู้ กิจกรรมสร้างสรรค์ ทักษะทางด้านสังคม Key words : Learning Management Creative activities Social skills


การจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาทักษะด้านสังคม ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนา เด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่างาม อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี นันทพร เตมิยะ* เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่ต้องได้รับการส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์จิตใจ ด้านสังคมและด้านสติปัญญา ปัจจุบันทักษะการใช้ชีวิตของคนในสังคมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก เนื่องจากสภาวะทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทาให้คนในสังคมขาดความมี น้าใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีความเห็นแก่ตัวเพิ่มมากขึ้นโดยไม่คานึงถึงผู้อื่น การจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์จึงจาเป็นสาหรั บเด็กปฐมวัยเพื่อฝึกทักษะด้านสั งคม เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้การอยู่ร่วมกันกับผู้ อื่น การทางานร่วมกัน การเล่นร่วมกัน การใช้สิ่งของเครื่องใช้ ด้วยกัน กิจกรรมนี้จะทาให้เด็กได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเคารพในสิทธิของผู้อื่น โดยการจัดกิจกรรม ดังกล่าวสามารถเป็นพื้นฐานให้เด็กมีพัฒนาการทางสังคมที่ดีต่อไปในอนาคต ความสาคัญทักษะทางสังคมสาหรับเด็กปฐมวัย ทักษะทางด้านสังคมของเด็กปฐมวัยนั้น เป็นทักษะที่สาคัญในการเตรียมความพร้อมที่จะเข้าสู่วัย ผู้ใหญ่ เด็กๆ ต้องเริ่มต้นจากการเรียนรู้ในการทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่น การให้ความเป็นเพื่อนกับบุคคลอื่น และการเรียนรู้มารยาททางสังคม กิจกรรมการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์ สามารถพัฒนาทักษะทางสังคม ของเด็กปฐมวัย มีผู้ให้นิยามศัพท์ทักษะทางด้านสังคม ดังนี้ ทักษะทางด้านสังคม (Social Skills) หมายถึง ความสามารถของบุคคลในการติดต่อสื่ อสาร การ มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น ทั้งการใช้ถ้อยคา (Verbal) และไม่ใช้ถ้อยคา (Non-Verbal) ซึ่งคลอบคลุมใน การรับ การส่งและการควบคุมสื่อสารระหว่างบุคคล (นพรัตน์ นาชาสิงห์, 2551, หน้า 15) ทักษะทางสังคมนั้น เป็นความสามารถที่เราสามารถเข้าใจความรู้สึก ความต้องการทางจิตใจหรือความ ต้องการต่างๆ ของคนที่เราเกี่ยวข้องด้วย รวมทั้ง รู้จักที่จะสร้างสานสายสัมพันธ์ด้วยความรัก ความเอาใจใส่เอื้อ อาทร ต่อผู้อื่นอย่างต่อเนื่อง รู้จักการแสดงออกอย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ต่างๆ (อุษณีย์ โพธิสุข, 2542, หน้า 132) การศึกษาระดับปฐมวัยในช่วงอายุ 3-6 ปี มีความสาคัญอย่างยิ่งในการวางรากฐานของชีวิตมนุษย์ เพราะเป็นช่วงที่เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้มากที่สุด เพียเจต์ (Piajet) เชื่อว่าพัฒนาการทางด้านสังคมแสดง ถึงความสามารถทางด้านสติปัญญาของเด็ก รวมทั้งบรูเนอร์ (Bruner) วิก็อทสกี้ (Vygotsky) และเวลส์ นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต (รมป.2) สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต *


(Wells) ต่างเห็นตรงกันว่าประสบการณ์ทางด้านสังคมเป็นพื้นฐานสาคัญต่อการพัฒนาทางด้านสังคมของ เด็กปฐมวัย (สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์, 2555, หน้า 18) การเปิดโอกาสให้เด็กเล่นและทากิจกรรมต่างๆ โดยเฉพาะเด็กในวัยเดียวกัน ซึ่งจะทาให้เด็กได้ เกิดการเรียนรู้ทักษะทางสังคมในการเรี ยนรู้การอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น ได้รับการถ่ายทอดมารยาทและกติกา ทางสังคม เกิดมีจิตสานึกความรับผิดชอบต่อสมาชิกคนอื่นๆ ในสังคม (ทิศนา เขมมณี และคนอื่นๆ, 2536, หน้า 80) อีริคสัน (Erikson) นักทฤษฎีจิตสังคมเป็นผู้วิเคราะห์เกี่ยวกับเด็กเป็นคนแรก เห็นว่าการจะทา ความเข้าใจพฤติกรรมเด็ก จะต้องศึกษาจากการอบรมเลี้ยงดู สภาพสังคมและความเป็นอยู่ของเด็ก อีริค สันมีแนวความคิดว่ามนุษย์ต้องพึ่งสังคมและสังคมก็ต้องพึ่งมนุษย์ มนุษย์มีวิวัฒนาการที่สลับซับซ้อนและ ผ่านขั้นตอนต่างๆของธรรมชาติหลายขั้นตอนซึ่งอีริคสัน ได้แบ่งพัฒนาทางบุคลิกภาพออกเป็น 8 ขั้น คือ 1. 1-2 ขวบ ไว้ใจ หรือไม่ไว้ใจ 2. 2-3 ขวบ เป็นอิสระหรือละอายสงสัย 3. 4-5 ขวบ คิดริเริ่ม หรือรู้จักผิด 4. 6-11 ขวบ ขยัน หรือมีปมด้อย 5.11-18 ปี เข้าใจบทบาทของตัวเองหรือสับสนในบทบาทของตัวเอง 6. 20-35 ปี ผูกพัน หรือตีตัวออกห่าง 7. 36-45 ปี ให้กาเนิด หรือหมกมุ่นในตัวเอง 8. 45 ขึ้นไป มีศักดิ์ศรี หรือหมดหวัง ขั้นที่ 1 อายุ 1-2 ขวบ ไว้ใจ หรือไม่ไว้ใจ (Trust vs Mistrust) ความอบอุ่นที่เกิดจากครอบครัว ทาให้เด็กเชื่อถือไว้ใจต่อโลก ไว้ใจคนอื่น ทาให้กล้าที่จะเรียนรู้สิ่ง ใหม่ ขั้นที่ 2 อายุ 2-3 ขวบ เป็นอิสระหรือละอายสงสัย (Autonomous vs Shame and Doubt)ระยะที่เด็กพยายามใช้ คาพูดของตัวเอง และสารวจโลกรอบๆตัว ถ้าพ่อแม่สนับสนุน จะทาให้เด็กรู้จักช่วยตนเองและมีอิสระ ส่งเสริมความสามารถของเด็ก ขั้นที่ 3 อายุ 4-5 ขวบ คิดริเริ่ม หรือรู้จักผิด (Initiative vs Guilt) เด็กจะชอบเล่นและเรียนรู้บทบาทของสังคม ริเริ่ม ทางความคิดจากการเล่น เด็กที่ถูกห้ามไม่ให้ทาอะไรในสิ่งที่เขาอยากทา เป็นเหตุให้เด็กรู้สึกผิด ตลอดเวลา บิดามารดาควรพิจารณาร่วมกันว่ากิจกรรมใดที่ปล่อยให้เด็กทาได้ ก็ให้เด็กทา จะได้เกิดคุณค่าในตัวเองลด ความรู้สึกผิดลงได้ ขั้นที่ 4 อายุ 6-11 ขวบ


ขยัน หรือมีปมด้อย (Industry vs Inferiority) เด็กจะเริ่มมีทักษะทางด้านร่างกายและสังคม มากขึ้น โดยไม่ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากผู้ใหญ่เด็กเริ่มมีการแข่งขันกันในการทางาน เด็กวัยนี้จะชอบ ให้คนชม ถ้าขาดการสนับสนุนอาจทาให้เกิดความรู้สึกมีปมด้อย ขั้นที่ 5 อายุ 11-18 ปี เข้าใจบทบาทของตัวเอง หรือ สับสนในบทบาทของตัวเอง(Ego Identity vs Role Confusion) ระยะมีเอกลักษณ์ของตนเองกับความไม่เข้าใจตนเอง : เป็นระยะที่เด็กเริ่มสนใจเพศตรงข้ามรู้จักตนเอง ว่า เป็นใคร ถนัดด้านใด สนใจอะไร และถ้าเด็กมีความรู้สึกไม่เข้าใจตนเองก็จะเกิดความสับสน ในตนเอง และ ล้มเหลวในชีวิตได้ ขั้นที่ 6 อายุ 20-35 ปี ผู กพัน หรื อตีตัว ออกห่ า ง (Intimacy vs Isolation)เป็นวัยผู้ ใหญ่ตอนต้นใช้ชีวิตแบบผู้ ใหญ่ ทางาน เพื่อประกอบอาชีพ สร้างหลักฐาน มีความรัก ความผูกพัน ขั้นที่ 7 อายุ 36-45 ปี ให้กาเนิด หรือหมกมุ่นในตัวเอง (Generativity vs Stagnation)ระยะให้กาเนิดและเลี้ยงดูบุตร วัยผู้ใหญ่ถึงวัยกลางคน มีครอบครัวมีบุตร ได้ทาหน้าที่ของพ่อแม่ ขั้นที่ 8 อายุ 45 ขึ้นไป มีศักดิ์ศรี หรือหมดหวัง (Ego Integrity vs Despair)วัยที่ต้องยอมรับความจริงของชีวิต ระลึกถึง ความทรงจาในอดีต ถ้าอดีตที่ผ่านมาแล้วประสบความสาเร็จจะทาให้มีความมั่นคงทางจิตใจ ขั้นตอนและวิธีการเตรียมการจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาทักษะทางสังคม ขั้นเตรียม คุณครูให้เด็กร้องเพลงตามคุณครูทีละวรรคจนคล่องและทาท่าทางประกอบเพลง และให้เด็ก เคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายไปทั่วบริเวณห้องอย่างอิสระตามที่คุณครูให้สัญญาณเคาะจังหวะ ช้า-เร็ว สลับกัน เมื่อได้ยินสัญญาณเคาะ 2 ครั้งติดกันให้เด็กหยุดการเคลื่อนไหวอยู่กับที่ในท่านั้นทันที จากนั้นให้ เด็กนั่งพัก 2-3 นาที ก่อนจะเริ่มกิจกรรมต่อไป ขั้นสอน คุณครูให้เด็กนั่งเป็นรูปตัว U แล้วแนะนาอุปกรณ์ต่างๆในการทากิจกรรมสร้างสรรค์และสาธิต ขั้น ตอนการปฏิบั ติ กิจ กรรม จากนั้นคุณครูแบ่ งเด็ กนั่ งเป็น กลุ่ ม ๆละ 3-4 คน พร้อมแจกอุป กรณ์ แ ละ กระดาษใบงาน หลังจากเสร็จกิจกรรมเด็กช่วยกันทาความสะอาดและเก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย คุณครูให้ เด็กนาเสนอผลงานและบอกชื่อผลงานให้เพื่อนและคุณครูฟัง คุณครูตรวจผลงานและนาไปติดที่ป้ายแสดง ผลงาน


ขัน้ สรุป จากการสังเกตการปฏิบัติกิจกรรมสร้างสรรค์ในการทางานเป็นกลุ่มของเด็ก พบว่า เด็กสามารถ เรียนรู้การอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น รู้จักพูดคุยสนทนาโต้ตอบกันในการทางาน มีน้าใจต่อเพื่อนๆรู้จักเอื้อเฟื้อ แบ่งปันในการใช้สิ่งของร่วมกัน สามารถปฏิบัติตามกฎกติกาของการทางานร่วมกันในกลุ่ม ไม่ยื้อแย่งกัน ไม่ทะเลาะกัน เคารพในสิทธิของผู้อื่น รู้จักขอบคุณเมื่อมีคนอื่นช่วยเหลือหรือให้สิ่งของ รู้จักขอโทษเมื่อ ตนเองทาผิด เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช2556 (ส าหรับเด็กอายุ 3-5 ปี) ขวัญฟ้า รังสิยานนท์. (2555). สอนหนูให้เป็นคนดีต้องเริ่มที่หัวใจ. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แปลน สารา. พระเทพโสภณ(ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2546). ทิศทางการศึกษาไทย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัย มหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. เพ็ญพิไล ฤธาคณานนท์. (2536). จิตวิทยาการเรียนรู้ของเด็ก. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์. ส านั กงานคณะกรรมการการศึกษาแห่ งชาติ . (2540). ทฤษฎีการเรี ยนรู้ เ พื่อพัฒนากระบวนการคิ ด ต้ น แบบการเรี ย นรู้ ท างด้ า นหลั ก ทฤษฎี แ ละแนวปฏิ บั ติ . กรุ ง เทพมหานคร: ส านั ก งาน คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.


ชื่อ สถานที่ทางาน

นางสาวนันทพร เตมิยะ นักศึกษา สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตาบลเหล่างาม อาเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี

ตาแหน่ง

ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก

จานวนเด็ก

34 คน


การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ผ่านการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยเพื่อส่งเสริมจินตนาการของเด็ก ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดบ้านหนองแฝก Academic articles activities through the creation.of early childhood learning to encourage children's imagination in training centers for preschool.child in Vad ban nong fak. วันนา สิงห์แก้ว Wanna singkaew บทคัดย่อ การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ผ่านการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยเพื่ อส่งเสริมจินตนาการของเด็กจานวน ทั้ ง หมด 70 คนโดยใช้ เ ด็ ก อนุ บ าล 2 จ านวน 25 คนเด็ ก ปฐมวั ย มี พั ฒ นาการด้ า นร่ า งกายที่ ส ามารถ ช่วยเหลือตัวเองได้เข้าใจในการใช้ภาษาสื่อความหมายมีความอยากรู้อยากเห็นกับสิ่งแวดล้ อม ดังนั้น กิจกรรมสร้างสรรค์จึงมีความสาคัญต่อเด็กในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดบ้านหนองแฝกเป็นอย่างมาก เนื่องจากเด็กขาดสมาธิในการทางาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็กทั้ง4ด้านร่วมทั้งการเรียนรู้ของเด็กในช่วงอายุ 35 ปีในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดบ้านหนองแฝกให้มีพัฒนาการที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ซึ่งขั้นตอนใน การจัดกิจกรรมให้กับเด็กครูใช้เสียงเพลงในการนาเข้าสู่บทเรียนและการทากิจกรรมต่างๆ ในแต่ละวัน ผล ของการจัดกิจกรรม จากการสังเกตพบว่าเด็กที่ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดบ้านหนองแฝกมีพัฒนาการ ที่ดีขึ้นหลังจากนาเสียงเพลงมาร่วมในกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อฝึกสมาธิให้กับเด็กก่อนการทากิจ กรรมของ เด็กในแต่ละวัน ....................................................................................... คาสาคัญ : กิจกรรมสร้างสรรค์ จินตนาการ Key words : Creative activities


การจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ผ่านการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยเพื่อส่งเสริมจินตนาการของเด็กในศูนย์อบรม เด็กก่อนเกณฑ์ในวัดอบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดบ้านหนองแฝก วันนา สิงห์แก้ว* เด็กปฐมวัยเป็นช่วงอายุที่มีความสาคัญอย่างยิ่งในการเรียนรู้และการพัฒนาทักษะของเด็กปฐมวัย ทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์-จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญาการมีสมาธิที่ดีทาให้เด็กเกิดการเรียนรู้ใน สิ่งแวดล้อมรอบข้างได้อย่างเต็มที่ในการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ให้กับเด็กปฐมวัยในศูนย์อบรมเด็กก่อน เกณฑ์ในวัดบ้านหนองแฝก ปัญหาที่พบบ่อยของเด็กในศูนย์เด็กขาดสมาธิในการทางาน ชอบแกล้งเพื่อน ในขณะทางาน ชอบชวนเพื่อนคุย ไม่ตั้งใจฟังเมื่อครูอธิบายงานต่างๆ ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้จะส่งผลกระทบ ต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยในศูนย์ ความสาคัญของการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ผ่านการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยเพื่อส่งเสริมจินตนาการของ เด็กในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดบ้านหนองแฝก เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทางด้านร่างกายที่ดีสามารถช่วยเหลือตนเองได้เข้าใจในการใช้ภาษาสื่อ ความหมายและการมีความคิดอยากทาอะไรด้วยตนเองมีความอยากรู้อยากเห็ นกับสิ่งแวดล้อมรอบตัว ร่วมทั้งการคิดจินตนาการอย่างสร้างสรรค์การจัดกิจกรรมให้เด็กได้เรียนรู้ด้วยการแสดงออกทางท่าทาง ทางอารมณ์เด็กสามารถแสดงออกได้อย่างเต็มที่และเหมาะสมกับวัย อีริกสัน Erikson (จิตวิทยา 63-64 ) แนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีพัฒนาการทางสังคมและบุคลิกภาพซึ่งกล่าวถึงพัฒนาการของเด็กในช่วงอายุ 3-5 ปี ว่าเด็กวัย นี้ร่ างกายมีความสามารถและช่วยตัวเองได้มากขึ้นกว่าเดิมแต่ก็ยังอยู่ในวงจากัดการพัฒนา ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์สาหรับเด็กในวัยนี้ทาได้โดยให้เด็กได้ร่วมกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งสิ่งแวดล้อมมีส่วน ผลักดันและเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ให้กับเด็กดังนั้นศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดบ้านหนองแฝกจึง ได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เด็กในศูนย์ตามที่ได้กล่าวมาเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก ขั้นตอนและวิธีการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ผ่านการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยเพื่อส่งเสริมจินตนาการของ เด็ก การจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก 70 คน ของศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดบ้านหนองแฝก สังกัด องค์การบริหารส่วนตาบลยางสักกระโพหลุ่ม อาเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี โดยการใช้กิจกรรม สร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีสมาธิในการทางานเป็นเวลา 4 สัปดาห์ เริ่มตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน 2558 นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต (รมป.2) สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต *


ถึงวันที่ 3 กรกฎาคม 2558 ขั้นเตรียม ครูจัดให้เด็กนั่งเป็นวงกลมก่อนเริ่มกิจกรรมในแต่ละวัน ครูพาเด็กนั่งนิ่งๆเพื่อให้เด็กมีสมาธิก่อน การทากิจกรรมโดยการฟังเพลงเบาๆก่อนเพื่อเป็นการผ่อนคลายและพร้อมที่จะทากิจกรรม ขั้นสอน ครูนาเข้าสู่บทเรียนโดยการท่องคาคล้องจอง ร้องเพลงอาบน้า เพลงชื่อของฉัน เพลงส่วนประกอบ ของร่างกาย,โดยครูสังเกตการเคลื่อนไหวเคลื่อนที่และการเคลื่อนไหวอยู่กับที่ของเด็กแต่ละคน สังเกตการ มีส่วนร่วมในกิจกรรม สังเกตการร่วมร้องเพลงและแสดงท่าทางประกอบเพลง กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ครูจะใช้รูปภาพและนิทานครูเล่านิทานรวมทั้งสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาในนิทานและแลกเปลี่ยนความรู้เปิด โอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดเห็นโดยการใช้คาถามปลายเปิดเพื่อให้เด็กได้คิดครูสังเกตการร่วมสนทนา และการตอบคาถามของเด็ก กิจกรรมสร้างสรรค์ ครูจัดสื่อการเรียนรู้ให้เด็กหลากหลายเช่น การวาดภาพ ตามจินตนาการ การปั้นดินน้ามันเป็นรูปผลไม้ การระบายสีภาพอวัยวะของทุกส่วนในร่างกาย ระบายสี ภาพด้วยแปรงสีฟัน การฝนสีจากใบไม้,ในการทากิจกรรมครูคอยเดินดูและให้คาชมกับเด็กทุกคน กิจกรรม เสรี ครูให้เด็กๆเลือกเล่นตามมุมในห้องเรียนตามความสนใจของแต่ละคนครูอธิบายถึงวิธีการเล่นอย่างถูก วิธีในแต่ละมุมให้เด็กฟัง กิจกรรมกลางแจ้ง ครูสร้างข้อตกลงกับเด็กก่อนออกนอกห้องเรียนรวมทั้งการเล่น เครื่องเล่นสนามทุกชนิดอย่างถูกวิธีการเล่นเกมที่หลากหลายเช่น เกมโยนบอล เกมมอญซ่อนผ้า เกมวิ่ง เก็บ ของ เกมนิ้ ว โป้ ง เกมรี รี ข้าวสาร เกมงูกินหาง เพื่อฝึ กพัฒ นาการในด้านการใช้กล้ามเนื้อมัด ใหญ่กล้ า มเนื้ อ มั ด เล็ ก ครู สั ง เกตการเข้ าร่ ว มกิ จกรรม การใช้ ก ล้ า มเนื้ อ ในส่ ว นต่ างๆ ของร่ า งกายได้ อ ย่าง คล่ องแคล่ ว เกมการศึกษา ครู ให้ เด็กเล่ นเกมที่หลากหลายเช่น เกมจับคู่ภ าพเหมือนอวัยวะต่างๆ ใน ร่างกาย เกมภาพกับเงา เกมภาพตัดต่ออาหารดีมีประโยชน์ เกมเรียงขนาดภาพจมูกจากเล็ก-ใหญ่ เพื่อที่ เด็กจะได้ฝึกการจาแนก รวมทั้งการจัดกลุ่มรู้จักการรอคอยรู้จักการแบ่งปัน การช่วยเหลือ ครูสังเกต การแก้ปัญหาของเด็กในขณะที่เด็กเล่นและการทางานร่วมกับเพื่อนของเด็กแต่ละคน ขั้นสรุป จากการปฏิบัติกิจกรรมทั้ง 6 กิจกรรมของเด็ก กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เด็กๆสามารถร้อง เพลงตามครูและเคลื่อนไหวร่างกายประกอบเพลงได้เหมาะสมกับวัย กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เด็กมี พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจากเดิมอย่างเห็นได้ชัดสามารถทางานและฟังเรื่องราวที่ครูอธิบายรวมทั้งสนทนา ตอบคาถามได้ดีขึ้น กิจกรรมสร้างสรรค์ เด็กสามารถจินตนาการและสร้างผลงานตามความคิดของตัวเอง และมีสมาธิในการทางานมากขึ้นตลอดจนการกล้าแสดงออกของเด็ก กิจกรรมเสรี เด็กสามารถเลือกเล่น ตามมุมที่ตนเองสนใจรู้จักการรอคอยการแบ่งปันในขณะที่เล่นในมุมต่างๆ กิจกรรมกลางแจ้งเด็กสามารถ เล่ น และทรงตั ว ได้ ดี ในการเคลื่ อ นไหวกล้ า มเนื้ อ มั ด ใหญ่ - กล้ า มเนื้ อ มั ด เล็ ก ได้ อ ย่ า งคล่ อ งแคล่ ว เกม การศึกษาเด็กสามารถแก้ปัญหาในการเล่นเกมและรู้จักการรอคอยและการแบ่งปันรวมทั้งการช่วยเหลือซึ่ง กันและกันของเด็กผลของการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ผ่านการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยเพื่อส่งเสริมจินตนาการ ของเด็กในศูนย์อบรมเด็ก่อนเกณฑ์ในวัดบ้านหนองแฝก


ผลของการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ผ่านการเรียนรู้ของเด็กเพื่อส่งเสริมจินตนาการของเด็กในผศูนย์ อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดบ้านหนองแฝก จากการใช้กิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมจินตนาการของเด็กในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด บ้านหนองแฝก เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ผลปรากฎว่าการฝึกเด็กโดยการใช้กิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อฝึกสมาธิใน การทางานนั้น จากการได้สังเกตพบว่าเด็กมีส มาธิในการทางานมากขึ้นตั้งใจในการทากิจกรรมและมี ความสามารถในการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ โดยครูประเมินจากใบงานที่ให้เด็กทาซึ่งมีการเปลี่ยนแปลง ไปในทางที่ดีขึ้นจึงสรุปได้ว่าการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ให้กับเด็กนั้นสามารถฝึกให้เด็กมีสมาธิในการทางาน ได้มาก เอกสารอ้างอิง จิระพันธ์ พูลพัฒน์ และคณะ. (2557). นวัตกรรมการศึกษา. ปฐมวัย.กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต. เติมศักดิ์ คทวณิช. จิตวิทยาทั่วไป (General Psychology). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเค วรนาท รั ก สกุ ล ไทย และคณะ. (2555). สุ ด ยอดเทคนิ ค การจั ด การเรี ย นรู้ แ บบครู มื อ อาชี พ กรุงเทพมหานคร วัชรพล วิบูลยศริน และคณะ. (2558). ภาษาไทยเพื่อกาสื่อสาร. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวน ดุสิต. ศรีสุรางค์ บรรหาร และคณะ. (2542 ). พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตนเอง. อุบลราชธานี : คณะครุ ศาสตร์ อุบลราชธานี


ชื่อ สถานทีท่ างาน ตาแหน่ง จานวนเด็ก

นางวันนา สิงห์แก้ว นักศึกษาสาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดบ้านหนองแฝก ตาบลยางสักกระโพหลุ่ม อาเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี ผู้ช่วยครูดูแลเด็กอนุบาลและปฐมวัย 25 คน


การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจของเด็กปฐมวัย Academic articles The movement and rhythm activities to promote motivation of preschool children. วิมล บางใบ บทคัดย่อ การจัดการเรียนรู้กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะมีความสาคัญคือเป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กใด้ เคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายอย่างอิสระตามจังหวะโดยใช้เสียงเพลงเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจของเด็ก ปฐมวัยที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตาบลยางสักกระโพหลุ่มมีเด็กทั้งหมด 64 คนโดยใช้เด็ก อนุบาล 3 จานวนเด็ก 15 คนปัญหาที่พบคือเด็กติดขวดนมเป็นสาเหตุที่ทาให้เด็กไม่สนใจทากิจกรรมกับ เพื่อนแต่จากการสังเกตุพบว่ากิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเป็นกิจกรรมที่สร้างแรงจูงใจให้กับเด็กปฐมวัย ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตาบลยางสักกระโพหลุ่มใด้มากที่สุดโดยมีขั้นตอนการจัดกิจกรรม ดังนี้ขั้นเตรียมเตรียมในการเริ่มต้นการทากิจกรรมคือพาเด็กทาสมาธิโดยใช้เพลงลมหายใจเข้า -ออกพร้อม ทาท่าทางประกอบขั้นสอนคือครูแนะนาเพลงที่ใช้คือเพลงลิงครูร้องให้เด็กฟังทีละท่อนแล้วพาเด็กร้องครู ท าท่ า ทางประกอบแล้ ว ให้ เ ด็ ก ท าตามเด็ ก และครู ร่ ว มกั น ร้ อ งเพลงลิ ง และท าท่ า ทางประกอบอย่ า ง สนุกสนาน ผลของการจัดกิจกรรมจากการสังเกตพบว่าเด็กที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตาบล ยางสักกระโพหลุ่มมีพัฒนาการดีขึ้นหลังจากนากิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจของ เด็กปฐมวัยมาใช้ทาให้เด็กได้พัฒนาการทักษะหลายทักษะที่จาเป็นได้แก่ทักษะทางสังคมได้ผูกมิตรกับผู้อื่น ทักษะชีวิตจะได้เรียนรู้และเข้าใจสิ่งรอบตัวทักษะการคิดที่ได้คิดและตัดสินใจและทักษะทางกายในการ เคลื่อนไหว ................................................................................................................................................ คาสาคัญ : กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ แรงจูงใจของเด็กปฐมวัย Key Words: Movement and rhythm activities Motivation of Young Children


การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจของเด็กปฐมวัย วิมล บางใบ* ปัจจุบันมีการนากิจกรรมหลากหลายมาใช้กับเด็กปฐมวัย เช่น กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะซึ่ง เป็นกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายอย่างอิสระตามจังหวะโดยใช้เสียงเพลงปฎิบัติ ตามสัญญาณซึ่งจังหวะและดนตรีที่ใช้ประกอบ ใด้แก่ เสียงปรบมือ เสียเพลง เสียงเคาะไม้ เคาะเหล็ก ตีฉิ่ง กลองมาประกอบการเคลื่อนไหวเพื่อส่งเสริมให้เด็กเกิดจินตนาการความคิดสร้างสรรค์ นอกจากนี้ก็ยังมี การนากิจกรรมเสริมประสบการณ์ (ในวงกลม) กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเสรี กิจกรรมกลางแจ้ง และ กิจกรรมเกมการศึกษามาใช้กับเด็กปฐมวัยมาสโลว์ (จิตวิทยาทั่วไปหน้า247-248) เชื่อว่าปัจจัยสาคัญอยู่ที่ ธรรมชาติของมนุษย์ในความปรารถนาที่ต้องการจะพัฒนาตนเองเพื่อให้ถึงจุดสูงสุดตามศักยภาพของแต่ ละคนเพื่อความเป็นมนุษย์โดยสมบูรณ์ (self actualization) เนื่องจากที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การ บริหารส่วนตาบลยางสักกระโพหลุ่มรับเด็กตั้งแต่อายุ 2 ขวบปัญหาที่พบ คือ เด็กติดขวดนมและก็จะทาให้ เด็กไม่สนใจทากิจกรรมกับเพื่อนแต่จากการสังเกตพบว่า กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะเป็นกิจกรรมที่ สร้างแรงจูงใจให้กับเด็กปฐมวัยที่ศพด.อบต.ยางสักกระโพหลุ่มใด้มากที่สุดทาไห้เด็กวางขวดนมแล้วมาร่วม กิจกรรมกับเพื่อนได้ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ หมายถึง กิจกรรมที่จัดให้เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายอย่าง อิสระ โดยใช้เสียงเพลง จังหวะ และทานอง คาคล้องจอง หรือเครื่องดนตรีประกอบ การเคลื่อนไหว เพื่อ ส่งเสริมให้เด็กเกิดจินตนาการความคิดสร้างสรรค์ เรียนรู้จังหวะ และควบคุมการเคลื่อนไหวของตนเองได้ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะมีความสาคัญและความเป็นมาคือธรรมชาติของเด็กปฐมวัยจะเคลื่อนไหว ร่างกายเพื่อใช้พลังกายและถ่ายพลังที่มีอยู่ล้นเหลือออกมา แต่ในขณะเดียวกันร่างกายและจิตใจของเด็ก จะสมบูรณ์จากการเคลื่อนไหว ดังนั้น กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะจึงได้รับการจัดเป็นกิจกรรมหลักเพื่อ พัฒนาเด็ก ซึ่งเป็นเรื่องสาคัญและจาเป็น เพื่อให้เด็กเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ มีผลต่อการพัฒนาการของ เด็ก ขั้นตอนและวิธีการในการใช้กิจกรรมเคลื่อนไหวและจัวหวะเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจของเด็กปฐมวัย การจัดประสบการณ์เรียนรู้สาหรับเด็ก 64 คนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตาบล ยางสั ก กระโพหลุ่ ม สั ง กั ด องค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นต าบลยางสั ก กระโพหลุ่ ม อ าเภอม่ ว งสามสิ บ จั ง หวั ด

นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต (รมป.2) สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต *


อุบลราชธานี โดยการใช้เพลง ชื่อเพลงลิงเพื่อส่งเสริมแรงจูงใจของเด็กปฐมวัยเป็นเวลา 4 สัปดาห์เริ่ม ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน 2558 ถึง วันทึ่ 3 กรกฎาคม 2558 ขั้นเตรียม คุณครูให้เด็กนั่งเป็นรูปตั ว U ก่อนการเริ่มจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กแต่ละวันครูจะพา เด็กนั่งทาสมาธิโดยใช้เพลงฝึกสมาธิสาหรับเพลงที่ใช้ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตาบลยางสัก กระโพหลุ่มคือเพลง ดอกไม้บาน เพลงลมหายใจเข้า -ออก ขั้นสอน ครู น าเข้ า สู่ บ ทเรี ย นโดยใช้ เ พลงหลากหลายในกิ จ กรรมเคลื่ อ นไหวและจั ง หวะเพลงที่ ใ ช้ ประกอบด้ ว ยร าระบ าชาวเกาะ เพลงหั ว หู ไหล่ เพลงคนโง่ ส ร้ า งบ้ า นเป็ น ต้ น โดยครู จ ะสั ง เกตการ เคลื่อนไหวเคลื่อนที่และการเคลื่อนไหวอยู่กับที่ของเด็กแต่ละคนสังเกตการร่วมกิจกรรมกับผู้อื่น สังเกต การร้องเพลงสังเกตการทาท่าทางประกอบเพลงโดยเฉพาะเพลงลิงเป็นเพลงที่จังหวะเร้าใจและท่าทาง ประกอบก็น่าสนใจทาไห้เด็กมีความสนุกสนานและสามารถดึงความสนใจเด็กๆ ได้เป็นอย่างดีไม่ว่าเด็กจะ ทาอะไรอยู่ถ้าได้ยินเพลงนี้เด็กๆก็จะทิ้งทุกอย่างแล้วเข้าร่วมกิจกรรมทันที ส่วนกิจกรรมเสริมประสบการณ์ จะใช้นิทานนาเข้าสู่ บทเรีย นและนิทานที่ใช้ เช่น เรื่องแม่ไก่สีแดง สมบัติของพ่อ นอกจากนี้คุณ ครูจ ะ สนทนาแลกเปลี่ยนความรู้และเปิดโอกาสไห้เด็กแสดงความคิดเห็น กิจกรรมสร้างสรรค์เด็กสามารถเลือก เล่นกิจกรรมที่ตัวเองสนใจโดยรู้จักการรอคอยและแบ่งปัน กิจกรรมกลางแจ้งเด็กๆสามารถทรงตัวใด้ดี สามารถใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ใด้ดีสามารถทากิจกรรมอย่างคล่องแคล่วส่ วนกิจกรรม เกมการศึกษาเด็กๆ สามารถแก้ปัญหาในการเล่นเกมการศึกษาและรู้จักการรอคอย แบ่งปัน ช่วยเหลือกัน เด็กทุกคนสามารถทากิจกรรมร่วมกับผู้อื่นใด้ ขั้นสรุป ดังนั้นการใช้กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะจึงมีผลทาให้เด็กเรียนรู้ร่างกายของตนว่า การใช้ ร่างกายแต่ละส่วนอย่างไร ซึ่งมีความหมายต่อเด็กมาก เด็กจะมีโอกาสได้ประเมินความสามารถของตนเอง ทาให้เด็กได้คิด ได้ตัดสินใจว่าจะเคลื่อนไหวแบบใด อย่างไร อีกทั้ง การเคลื่อนไหวไปพร้อมเพื่อนอย่างมี ความหมาย จะทาให้เด็กเรียนรู้การปฏิบัติต่อกัน ทาให้เด็กเกิดความมั่นใจทั้งเป็นการลดอัต ตา (Ego) ไปสู่ การมีเหตุผลและคุณธรรม (superego) เด็กได้รับการฝึกการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ บุคลิก ขอบเขตรอบตัว ด้วยการใช้เสียงเพลง ดนตรีทาให้เด็กเรียนรู้จังหวะ และเกิดจินตนาการ ดังนั้น กระทรวงศึกษาธิการจึงได้ กาหนดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะไว้เป็นกิจกรรมหลักในตารางกิจกรรมประจาวันที่เด็กจะต้องได้รับ การส่งเสริมและเรียนรู้ต่อไป


เอกสารอ้างอิง จีระพันิธ์ พูลพัฒน์ และคณะ. (2557). นวัตกรรมการศึกษาปฐมวัย . กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต. วรนาท รักสกุลไทย. (2555). สุดยอดเทคนิคการเรียนรู้แบบครูมืออาชี พ. กรุงเทพมหานคร : แฮปปี้ เลิร์นนิ่ง. ศรีสุรางค์ บรรหารและคณะ. (2542). พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน. อุบลราชธานี : คณะครุ ศาสตร์ สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี. สานักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.(2551).ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ยอดเยี่ยมระดับประเทศแห่งปี 2551. กรุงเทพมหานคร : ควอเตทกราฟิกส์. เติมศักดิ์ คทวณิช. (2546). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น 2546.

ชื่อ ตาแหน่ง สถานที่ทางาน จานวนเด็ก

นางวิมล บางใบ ผู้ช่วยครูดูแลเด็กอนุบาลและปฐมวัย ห้องอนุบาล 3 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตาบลยางสักกระโพหลุ่ม อาเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี 17 คน


การเรียนรู้ของเด็กผ่าการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะการฟังของ เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองหว้า The child's learning experience through extracurricular activities to strengthen listening skills of preschool children n child care centers Nong Wa. ปุณยนุช สายเบาะ Punyanuct Saibow บทคัดย่อ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการเล่านิทานเพื่อเสริมสร้างการพัฒนาด้านภาษาของเด็ก ปฐมวัย เพื่อพัฒนาทักษาด้านการฟังให้ เด็กมีการพัฒนาที่ดีขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการพัฒ นา ทักษะด้านภาษาของเด็ก และเพื่อต้องการพัฒนาทักษะการฟังของเด็กปฐมวัย ในการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ เป็นการเสริมสร้างทักษะด้านภาษาของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองหว้า ปีที่ 2 อายุ 5-6 ปี ซึ่งมีเด็กอยู่ 20 คน เป็นชาย 16 คน หญิง 4 คน ซึ่งมีการจัดกิจกรรม 6 หลัก การจัดกิจกรรมด้านภาษา ทั้ง 4 ด้าน คือ การฟัง การพูด การอ่าน กานเขียน. และมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3 ขั้นตอน ดังนี้ (1) ขั้นนาเข้าสู่บทเรียนโดยครูพาเด็กพูดคาคล้องจอง (2) ขั้นสอน ครูนานิทานที่เกี่ยวกับหน่วยการ เรียนมาเล่าให้เด็กฟัง (3) ขั้นสรุป จากการสังเกตุการร่วมกิจกรรมของเด็ก เด็กมีทักษะในการใช้ภาษาดีขึ้น ผลของการจัดกิจกรรม พบว่าการพัฒนาทักษะด้านภาษาของเด็กปฐมวัย อายุ 5-6 ปี ของเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองหว้า มีทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน ดีขึ้น โดยการจดบันทึก การ สังเกตุ ล และการตรวจผลงาน ………………………………………………………………………………………………………………. ความสาคัญ : การเสริมสร้างทักษะด้านการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน Keyword : strengthening the skills of listening, speaking, reading and writing.


การเรียนรู้ของเด็กผ่าการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เพื่อเสริมสร้างทักษะการฟังของเด็กปฐมวัยใน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองหว้า ปุณยนุช สายเบาะ* การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยในช่วงอายุ 4-6 ปี จะมีการเรียนรู้ด้านภาษาทั้งสี่ด้าน คือ ฟัง พุด อ่าน เขียน จะแตกต่างไปจากวิธีการเรี ยนรู้ทางภาษาเลี้ ยงดู หรือจากการเรียนรู้ของเด็กในการดารงชีวิต ประจาวัน เมื่อมาอยู่ในสถานศึกษาเด็กก็จะได้เรียนรู้จากครู และเพื่อน หรือจากการเรียนรู้ของเด็กในการ ดารงชีวิตประจาวันเมื่ออยู่ที่บ้าน เด็กจะเกิดการเรียนรู้ ลอกเลียนแบบ การออกเสียง ลีลา ท่าทาง เด็กจะ จดจาและเรียนรู้จากการฟังและภาพประกอบ โดยเฉพาะการฟังและการพูด ความเคยชินกับภาพ และ ตัวอักษรที่ผ่านสายตาอยู่บ่อยครั้ง การฟัง และเป็นคาที่ตนเองมีความสุขหรือเป็นพฤติกรรมทางบวกจะ ช่วยกระตุ้นทักษะการอ่าน การเขียน การพูดออกมาเป็นคาให้เกิดขึ้นอย่างง่ายดาย การเล่านิทานจึงเป็น การเสริมสร้างทักษะการฟังของเด็กให้มีความบทกระตือรือร้นในการทากิจกรรม และเพิ่มกระบวนการ เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพในอนาคต ความสาคัญของกาจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะด้านภาษาให้กับเด็กปฐมวัย การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองหว้าจะพัฒนาตามวัยให้ครบทั้งสี่ด้าน คือ ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา และการพัฒนาเพื่อให้สมวัยและให้เกิดทักษะการจา การเชื่อมโยง การแก้ปัญหาเพื่อให้เด็กมีทัศนคติที่ดีต่อการเรียน จึงได้หาแนวทางมาประกอบเพิ่มการ เรี ย นรู้ โ ดยผ่ า นกิ จ กรรมสร้ า งเสริ ม ทั ก ษะการฟั ง ของเด็ ก เพื่ อ ต้ อ งการให้ เ ด็ ก เกิ ด การเรี ย นรู้ ต ามวั ย ความสาคัญของกิจกรรมการเรียนรู้กิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะด้านการฟังให้กับเด็กปฐมวัยเพื่อให้เด็กได้ เรี ย นรู้ ไ ด้ ดี ขึ้ น จึ ง ได้ น านิ ท านมาเล่ า เป็ น สื่ อ เพื่ อ เสริ ม สร้ า งทั ก ษะการฟั ง เพราะในเนื้ อ หานิ ท านมี ภาพประกอบ และ คาอ่านตามภาพ ทาให้เกิดจินตนาการณ์ตาม เนื่องจากเด็ก อายุ 5-6 ปี ยังไม่สามารถ ควบคุมตัวเองได้มากนัก การใช้เทคนิกที่เหมาะสม หลีกเลี่ยงการใช้ภาษาที่ยุ่งยาก ซับซ้อน การพูดหยาบคาย พูดไม่ชัดเจน ครูพยายามทาความเข้าใจกับเด็กให้มาก ในขณะที่เล่านิทานครูควรเปิดโอกาสให้เด็กได้ถามในเรื่องที่เด็ก ต้องการสื่อสาร และหาโอกาสสอดแทรกสิ่งที่ดีเข้าไปในนิทานในเรื่องนั้นๆด้วย ในขณะเดียวกันการเล่า นิทานจาเป็นที่ต้องมีภาพประกอบเพื่อการจดจา ซึ่งการเล่าหรือการบอกของผู้เล่าจะต้องมีอารมณ์ร่วมกับ เนื้อเรื่อง มีการแสดงสีหน้า ท่าทาง น้าเสียง แวว ตา นิตยา ประพฤติกิจ (2546, หน้า 46 ) กล่าวไว้ว่า การ ฝึกให้เด็กรู้จักฟังจะช่วยให้เด็กเพิ่มพูนคา ศัพท์เรียนรู้เกี่ยวกับประสบการณ์โครงสร้างของภาษาพูด และ นักศึกษาโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต (รมป.2) สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต *


เข้าใจในเรื่องราวต่างๆมากขึ้น ซึ่งจะช่วยให้เด็กใช้ภาษาพูดถูกต้องมากยิ่งขึ้น การพัฒนาเสริมทักษะเด็ก ปฐมวัยจะเน้นพัฒนาการทั้งสี่ด้าน คือ ฟัง พูด อ่าน เขียน โดยเฉพาะการฟัง เด็กจะได้รับประสบการณ์ โดยตรงคือ การฟัง ซึ่งมีเทคนิกการเล่าเรื่องเพื่อให้ผู้ฟังมีส่ว นร่วมในการเลือกนิทาน และ เมื่อถึงฉากที่ตัว ละครจะต้องแก้ปัญหา ขอคาแนะนาจากเด็กด้วยว่าควรจะแก้ปัญหาอย่างไร จากนั้นเล่าวิธีการแก้ปัญหา ให้เด็กฟังและบอกการแก้ปัญหามีหลายวิธี เพื่อที่เด็กจะได้ขบคิดถึงวิธีป้องกัน และการแก้ปัญหา ราศี ทองสวัสดิ์ (2546, หน้า 178) กล่าวไว้ว่า เทคนิคการเล่านิทานมีหลายวิธีแต่ละวิธีมีลัษณะที่ แตกต่างกัน แต่สามารถกระตุ้นให้เด็กเกิดความสุขและเข้าใจในพฤติกรรมของตัวละครเป็นนามธรรมให้ เป็นรูปธรรมให้ดีขึ้นและสามารถนาพฤติกรรมของตัวละครมาใช้ในชีวิตประจาวันได้ วรรณี โสมประยูร (2545, หน้า 86) กล่าวว่าการฟังเป็นทักษะที่สาคัญมากเพราะในสังคมของ คนเราจะใช้ทักษะการฟังร้อยละ 50 ซึ่งเป็นทักษะด้านภาษาที่ใช้มากที่สุดและใช้เวลาในการพูด การอ่าน การเขียน ลดหลั่นลงมาตามลาดับ ดวงเดือน ศาสตรภัทร (2549, หน้า 214-215) ภาษามความสาคัญต่อเด็กปฐมวัยเพราะภาษา เป็นเครื่องมือที่ทาใหเกิดการเรียนรู้ เป็นพฤติกรรมชิดหนึ่งช่วยใหเด็กมีการพัฒนาการทางสังคม เกิดความ อบอุ่น เกิดแนวคิด ตลอดจนความรู้ต่างๆ ที่อยู่รอบข้าง เด็กสามารถสร้างจินตนาการในสมอง ซึ่ก่อให้เกิด การทดลองขึ้นและทาให้การจัดการการกระทากับวัตถุนั้น ความสาคัญของการจัดกิจกรรมสร้างเสริมทักษะด้านภาษาของเด็กปฐมวัย ขัน้ ตอนการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะด้านภาษาให้กับเด็กปฐมวัยโดยใช้นิทานเป็นสื่อมีดังนี้ ขั้นนา ครูจัดกิจกรรมการเข้าแถวเคารพธงชาติและกิจกรรมต่างๆหน้าเสาธง และการพูดคุยกับเด็กใน เรื่องการเรียนรู้ตามหน่วยการเรียนในแต่ละสัปดาห์ และก่อนการนาเข้าสู่บทเรียนครูมีวิธีเก็บเด็กคือ พา เด็กท่องคาคล้องจองเกี่ยวกับข้อตกลงในชั้นเรียน และนั่งสมาธิ ประมาณ 3 นาที หลังจากนั้นได้เข้าสู่ กระบวนการเรียนรู้โดยการนานิทานมาเสริมในหน่วยการเรียนเพื่อเป็นการเพิ่มสื่อการจัดกิจกรรม และ จะต้องเป็นนิทานที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เพือ่ ให้เด็กได้เกิดข้อคิดที่ดี ขั้นดาเนินการ การเล่านิทานให้เด็กปฐมวัยต้องมีเทคนิคที่หลากหลายการพูด การออกเสียงต้องชัดเจนและเป็น คาง่ายๆ ที่เด็กรับรู้และเข้าใจ ภาพสีสันที่สวยงาม ตัวหนังสือต้องใหญ่ที่เด็กสามารถมองเห็นได้ หรือ เป็น หนังสือนิทานที่ให้ความบรรเทิง สนุกสนานการจัดกิจรรมครูให้เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรม โดยให้เด็กร่วม แสดงเป็นตัวละครที่เด็กชอบ การเล่นตามบทบาทสมมุติของตัวละคร เด็กจะเกิดความสนุกสนาน และเกิด การเรียนรู้กระบวนการคิด การแก้ปัญหาแบง่ายๆได้และจะเล่านิทาให้เด็กฟังหลายครั้งในเรื่องเดียวกัน เพื่อที่เด็กจะได้จดจาได้ดียิ่งขึ้น


การทากิจกรรมครูได้นานิทานมาเล่าให้เด็กฟังเพื่อส่งเสริมทักษะด้านภาษาทั้งหมด 10 เรื่อง ใน เวลา 20 วัน * นิทานเรื่อง กอด นิทานเรื่องนี้จะสอนให้รู้ว่าเมื่อเด็กมาอยู่ที่โรงเรียนเด็กก็ยังได้รับความอบอุ่น จากครูและเพื่อนๆ * นิทานเรื่อง หนูดีมาโรงเรียน สอนให้เด็กรู้ว่ามาโรงเรียนมันดียังไง และได้เรียนรู้อะไรมากมาย * นิทานเรื่อง ลูกหมูปวดท้อง นิทานเรื่องนี้สอนให้เด็กรู้ว่า การไม่รับประทานอาหารเป็นเวลาจะ ทาให้เป็นโรคกระเพาะ * นิทานเรื่อง ลูกหมูจอมหวง นิทานเรื่องนี้สอนให้เด็กรูว่า ให้รู้จักแบ่งปัน * นิทานเรื่อง ต้นกล้ากลับใจ นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า การทาให้ผู้อื่นเดือดร้อนมันไม่ดี และเมื่อ เราทาความดีจะมีคนที่รักเรา * นิทานเรื่อง อีเล้ง เคล้งโคล้ง นิทานเรื่องนี้ จะทาให้เด็กรู้จักรับผิดชอบมากขึ้น และการฟัง การ ออกเสียงของคา * นิทานเรื่อง กากับหงห์นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ธรรมชาติให้เรามา จงพอใจในสิ่งที่เราเป็น * นิ ทานเรื่ อง กระต่ า ยในดวงจั นทร์ นิ ทานเรื่ องนี้ ช่ วยส่ง เสริ มความคิด ให้ เด็ กๆได้ รู้จั กการคิด การเสียสละ * นิทานเรื่อง กล่องข้าวน้อยฆ่าแม่ ส่งเสริมคุณธรรมให้เด็กรู้จักคิดมีสติก่อนตัดสินใจ * นิทานเรื่อง นักดนตรีแห่งเมืองปูลามี นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่าทุกชีวิตมีค่า การช่วยเหลือกัน และการฟังให้ดีแล้วถึงตัดสินใจว่าใช่หรือไม่ใช่ ขั้นสรุป ครูทบทวนเนื้อหาในนิทานว่าเด็กๆควรปฏิบัติตัวอย่างไรและ การนามาใช้ในชีวิตประจาวันของ เรา จากการสังเกตในขณะที่ครูเล่านิทานให้เด็กฟังเด็กจะมีสมาธิในการฟังมาก และเมื่อครูให้เด็กมีส่วน ร่วมในการเล่นบทบาทสมมุติเป็นตัวละครในเรื่องเด็กจะเกิดความสนุกสนานและที่สาคัญเด็กได้พัฒนา ทักษะด้านภาษาจากการฟัง เด็กๆสามารถถ่ายทอดผลงานให้คนอื่นได้ชื่นชมและการใช้ภาษาได้ดีขึ้น ตามลาดับ ทั้งอยู่ที่โรงเรียนและอยู่ที่บ้านจากการจัดกิจกรรมการเล่านิทานครูได้ให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วม และได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี ครูได้นาผลการจัดกิจกรรมเสนอขอความร่วมมือกับเพื่อนร่วมงานและ หัวหน้างานเพื่อขอคาแนะนาในการจัดทากิจกรรมต่อไปในครั้งหลัง การพัฒนาด้านภาษาเพื่อเพิ่มทักษะการฟังโดยการฟังนิทานของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็เล็กบ้าน หนองหว้า เด็กมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ดีขึ้น มีการใช้ภาษาที่สุภาพ รู้จักการให้อภัย การแบ่งปัน การ รอคอย มีความรับผิดชอบในการทากิจวัตรประจาวันมากขึ้น เด็กสมารถพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน คือ ร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา ควบคู่ไปกับการพัฒนาทักษะด้านภาษาได้แก่ การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ซึ่งเด็กในวัยนี้ต้องได้รับการพัฒนาอย่างมากเพื่อให้เขาอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมที่ดี ได้


เอกสารอ้างอิง คณาจารย์ภาควิชาภาษาไทยเพื่อัการสื่ อสาร คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (2541). ภาษาไทยเพื่อการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์กอหญ้า. ดวงเดือน ศาสตรภัทร. (2549:214-215). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพฯ: นิตยา ประพฤติกิต. (2546). วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาษาไทยเพื่อ การสื่อสาร. นภเนตร ธรรมบวร. (2546). หลั ก สู ต รการศึ ก ษาปฐมวั ย . กรุ ง เทพฯ: ส านั ก พิ ม พ์ จุ ฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. เบญจา แสงมะลิ . (2545). การพั ฒ นาเด็ ก ปฐมวั ย .กรุ ง เทพฯ: ส านั ก พิ ม พ์ ศู น ย์ ส่ ง เสริ ม วิ ช าการ. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา. ราศี ทองสวัส ดิ์ . (2546). การพัฒนาภาษาเด็กปฐมวัย . กรุงเทพมหานคร: ส านักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

ชื่อ ตาแหน่ง สถานทีท่ างาน จานวนเด็ก

นางปุณยนุช สายเบาะ นักศึกษาสาขาการศึกษาปฐมวัย หลักสูตรศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต ครูผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองหว้า เทศบาลตาบลขามใหญ่ อาเภอเมืองอุบล จังหวัดอุบลราชธานี 165 คน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.