October 6, 1976

Page 1

สรุปขอมูลเกี่ยวกับเหตุการณนองเลือด ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ “อาชญากรรมที่รัฐและผูมีอํานาจกระทําตอประชาชนในความขัดแยงทางการเมือง”

โดย ใจ อึ๊งภากรณ ตีพิมพในหนังสือ “อาชญากรรมรัฐในวิกฤติการเปลี่ยนแปลง” คณะกรรมการรับขอมูลและสืบพยานเหตุการณ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ บรรณาธิการ ใจ อึ๊งภากรณ และ สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ(๒๕๔๔) บทความนี้เปนการนําเสนอขอมูลและหลักฐานเกี่ยวกับเหตุการณในวันที่ ๔, ๕ และ ๖ ตุลาคม๒๕๑๙ ที่นําไปสูการนอง เลือดที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรในเชาของวันที่ ๖ ตุลาคม โดยใชขอมูลปากคําและเอกสารที่ “คณะกรรมการรับขอมูลและ สืบพยานเหตุการณ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙” ไดรับจากพยาน 62 คนในเดือนกันยายนและพฤศจิกายน ๒๕๔๓ มาเปรียบเทียบ กับขอมูลในบทความ หนังสือวิชาการ และรายการวิทยุหรือโทรทัศน เกี่ยวกับเหตุการณเดียวกัน

การปราบปรามผูชุมนุมภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรโดยเจาหนาที่ของฝายรัฐไทย ในเชามืดของวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ ประมาณเวลาหานาฬิกา มีบุคคลที่ไมทราบชื่อยิงลูกระเบิด M79 ลงกลางสนาม ฟุตบอลของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรขณะที่มีนักศึกษาและประชาชนชุมนุมกันอยางสงบ ปรากฏวามีทั้งผูเสียชีวิตและ ผูบาดเจ็บ การยิงระเบิด M79 จากหนามหาวิทยาลัย ขามตึกหอประชุมใหญ ในครั้งนั้น คงตองเปนการกระทําของ “ผูที่รูจัก ใชอาวุธประเภทนี้ เพราะตองเขาใจวิถีโคงของลูกระเบิด” (พยาน 62) ลูกระเบิด M79 จะยิงจากปนยาวที่ถือดวยมือ การมี อาวุธสงครามประเภทนี้และความรูในการใชอาวุธชนิดนี้แสดงวาผูที่ยิงตองเปนเจาหนาที่ของรัฐหรืออยางนอยที่สุดตองเปน ผูที่ใกลชิดกับทหารหรือตํารวจ ผูที่อยูในธรรมศาสตรในคืนวันนั้นคาดวาการยิง M79 ในเชามืดของวันที่ ๖ ตุลาคมเปน “สัญญาณเขาตีและเริ่มปราบปรามของเจาหนาที่รัฐไทย” (พยาน 12, 62) หลังจากนั้นไมนานกองกําลังตํารวจหลายหนวยงานภายใตการบังคับบัญชาของ พลต.ท. ชุมพล โลหะชาละ รองอธิบดี กรมตํารวจ ไดใชอาวุธปนกลยาวชนิดมือถือ(เชน M16) ปนกลชนิดหนักHK33 ปนM79 และปนไรแรงสะทอน ระดมยิงเขามา ในมหาวิทยาลัยจากศูนยบัญชาการตํารวจในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ และจากดานหนาของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร การ ยิงระดมโดยอาวุธสงครามดังกลาวกระทําอยางไมเลือกหนา หลังจากที่ระดมยิงเสร็จแลวก็มีกลุมคนไมแตงเครื่องแบบขับ รถเมลพังประตูดานหนาของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรเพื่อเปดทางใหกองกําลังตางๆ บุกเขาไปในมหาวิทยาลัย (พยาน 2, 3, 4, 27, 33) บางคนตั้งขอสังเกตวาผูที่ขับรถเมลพังประตูคงจะเปนพลทหารนอกเครื่องแบบที่เปนสมาชิกกลุมนวพล (พยาน 46) 1


เทาที่เรามีขอมูลจากสิ่งตีพิมพ (เชน ธวัชชัย ๒๕๒๒, สมยศ ๒๕๓๑, มนัส ๒๕๓๗ และ สารคดี ต.ค. ๒๕๔๑) หนวย ตํารวจที่มีสวนในการระดมยิงและบุกเขาไปในธรรมศาสตรในครั้งนี้ อยูภายใตคําสั่งของอธิบดีกรมตํารวจ พลต.อ. ศรีสุข มหิ นทรเทพ และอยูภายใตการบัญชาการโดยตรงของ พลต.ท. ชุมพล โลหะชาละ (รองอธิบดีกรมตํารวจ) พลต.ต. เสนห สิทธิ พันธ พลต.ต. กระจาง (ไมทราบนามสกุล) พลต.ต. เสริม จารุรัตน พลต.ต. วิเชียร แสงแกว และพลต.ต. ยุทธนา วรรณโกวิท และผูที่ออกคําสั่งใหเจาหนาที่ตํารวจใชอาวุธปนไดตามความจําเปนคือ อธิบดีกรมตํารวจ พลต.อ. ศรีสุข มหินทรเทพ (มนัส ๒๕๓๗) หนวยตํารวจที่ออกมาปฏิบัติงานปราบปรามนักศึกษาและประชาชนในเชาวันนั้นมีทั้งหมดสามหนวยดังนี้คือ 1. ตํารวจตระเวนชายแดน พลรมจากคายนเรศวรหัวหิน ภายใตการบังคับบัญชาของ พลต.ต. กระจาง (ไมทราบ นามสกุล) และ พลต.ต. เสนห สิทธิพันธ 2. ตํารวจกองปราบ ภายใตการบังคับบัญชาของ พลต.ต. วิเชียร แสงแกว 3. กองปฏิบัติการพิเศษตํารวจนครบาล ภายใตการบังคับบัญชาของ พลต.ต. เสริม จารุรัตน (ขอมูลประกอบมาจาก: พยาน 1, 4, 11, 21, 27, 41 ; คําใหการของ พ.ต.ท. ประสาท ชูสาร, พ.ต.ท. สลาง บุนนาค, ส.ต.อ. อากาศ ชมภูจักร ในศาล และจดหมายจากพระสุรินทร ใน ธวัชชัย คดีประวัติศาสตร #๒, ๒๕๒๒; พลต.ท. ชุมพล โลหะชา ละ ในรายการสถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย ๙ ต.ค. ๒๕๑๙; พ.ต.ท. สลาง บุนนาค ในรายการของสถานีวิทยุ ยานเกราะ บาย ๖ ต.ค. ๑๙; มนัส ๒๕๓๗) พฤติกรรมของกองกําลังตํารวจในเชาวันนั้นไมใชพฤติกรรมของกองกําลังที่จะรักษาความสงบเรียบรอยแตอยางใด การ ปฏิบัติงานในครั้งนั้นเปนการปราบปรามอยางชัดเจน ยิ่งกวานั้นการปราบปรามของหนวยงานรัฐกระทําดวยความทารุณ โหดรายเกินความจําเปน (พยาน 4, 11, 34, 40, 56, เอกสาร #1) เชนมีการทํารายฆาฟนนักศึกษาที่กําลังวิ่งหนีมือเปลา หรือวายน้ําอยูในแมน้ําเจาพระยา (พยาน 29, 30) หรือที่ยกมือยอมจํานนแลว (พยาน 44, 45, 53) หรือที่ถูกจับมัดมือไป แลว (I.T.V. ๒๕๔๒) หรือที่อยูในหอประชุมใหญของมหาวิทยาลัย (เผชิญ ในวิดีโอ งาน ๒๐ ป ๖ ตุลา) นอกจากนี้หนวยงาน ของรัฐที่บุกเขาไปในธรรมศาสตรไมไดใหเกียรติแกหนวยแพทยและพยาบาลอาสาสมัครที่ตั้งศูนยพยาบาลไวใตตึกบัญชีแต อยางใด (พยาน 41, 57, 58, 59, เผชิญ ในวิดีโอ งาน ๒๐ ป ๖ ตุลา, ฤดี ๒๕๓๙: 163) ซึ่งถือวาผิดหลักสากลในการทํา สงครามของกองทหารมืออาชีพโดยสิ้นเชิง นักศึกษาแพทยและพยาบาลที่เปนสมาชิกหนวยอาสาสมัคร “พยาบาลเพื่อ มวลชน” ถูกฆาตายในวันนั้นทั้งหมด 5 คนรวมถึงนักศึกษาพยาบาลหญิงคนหนึ่งที่ถูกยิงตายในแมน้ําเจาพระยาขณะที่ กําลังวายน้ําหนี (เพื่อนมหิดล ๒๕๔๐) สรุปแลวการฆาฟนนักศึกษาโดยเจาหนาที่ของรัฐในเชาวันนั้นทําอยางเปนระบบดวย เจตนาที่จะใชความโหดรายทารุณ

2


วิโรจน มุทิตานนท อดีตชางภาพจากหนังสือพิมพ ไทยรัฐ ที่อยูในเหตุการณ มองวาเชาวันนั้น “ไมใชสงคราม แตคือการ เขนฆาคนที่ไรทางตอสู ... เปนการปดประตูตีแมว” (สารคดี ต.ค. ๒๕๔๑; 144-145) นักศึกษาที่ถูกตอนลงมาจากตึกคณะบัญชี และตึกคณะวารสารศาสตร ทั้งชายและหญิง ถูกสั่งใหถอดเสื้อนอนคว่ําบน สนามหญา คนที่บังเอิญเงยหนาขึ้นดูสถานการณจะถูกยิงทิ้งหรือทําราย (พยาน 22) กอนหนานั้นตํารวจ และกลุมพลเรือน ที่มีอาวุธชนิดตางๆ ที่เขามาในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (เชนกลุมลูกเสือชาวบาน กระทิงแดง และนวพล) ไดตบตีและปลน ทรัพยสินสวนตัวจากนักศึกษาดุจเสมือนกองโจรที่ไรวินัย (พยาน 11, 23, 40, 44, 45, 54) หลังจากนั้นกองกําลังตํารวจ บางสวนไดตั้งปนกลหนักบนพื้นดินและยิงปนเหลานั้นขามหัวนักศึกษาที่นอนอยูบนสนามหญา เขาไปในตึกบัญชี เพื่อ กอใหเกิดความหวาดกลัว และปลอกกระสุนรอนๆ จากปนกลดังกลาวไดตกลงบนหลังนักศึกษาที่ไมใสเสื้อ (พยาน 16, 44, 58) ซึ่งการกระทําดังกลาวของตํารวจนอกจากจะเปนการขมขูนักศึกษาแลว ยังถือวาเปนการทําลายทรัพยสินของ มหาวิทยาลัยดวย นอกจากนั้นในยามเย็นของวันที่ ๖ ตุลา มีนวพลบางคนอวดกับเพื่อนวาในเชาวันนั้นได “ลวงผูหญิงตาม สบาย” ขณะ “ปฏิบัติการ” ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (พยาน 33) นักศึกษาและประชาชนที่บาดเจ็บจากการโจมตีของตํารวจตองรอการรักษาพยาบาลเปนเวลานาน บางคนที่บาดเจ็บ สาหัสคิดวาตนโชคดีที่ไดขึ้นไปนอนบนรถพยาบาลที่มาจอดอยูที่สนามฟุตบอล แตแลวเขาก็ตองรอเปนชั่วโมงๆ กวาตํารวจ จะใหรถพยาบาลออก (พระไพศาลและ ส.ศิวรักษ ๒๕๓๙) โดยที่ไมมียาหรือแมแตน้ําดื่มเพื่อชวยเหลือผูบาดเจ็บเหลานั้น พยาบาลที่อยูบนรถตองใชน้ําลายของตนเองชวยเหลือผูบาดเจ็บที่กระหายน้ําอยางหนัก (พยาน 32) สวนผูที่บาดเจ็บที่ถูก จับจะตองรอการรักษาพยาบาลหลายวัน นักศึกษาและประชาชนที่ถูกจับในธรรมศาสตรกวา 3000 คน ไมไดถูกจับในลักษณะที่เปน “ผูตองหา” ในการปฏิบัติการ “ปกติ” ของตํารวจในระบอบประชาธิปไตยแตอยางใด เกือบทุกคนจะถูกรุมซอมโดยนายตํารวจที่มาตั้งแถว “ตอนรับ” ขณะที่ ลงจากรถในสถานที่คุมขัง ไมวาจะเปนบางเขน นครปฐม หรือชลบุรี นอกจากนี้แลวพยาน 62 ใหการวาตํารวจ ต.ช.ด. เรียกผู ถูกจับในธรรมศาสตรวาเปน “เชลย” ซึ่งแสดงใหเห็นวาตํารวจมองวากําลังทําสงครามกับนักศึกษา การสั่งใหนักศึกษาถอดเสื้อก็เปนสวนหนึ่งของวิธีการในการทําลายศักดิ์ศรีของนักศึกษาที่ถูกมองวาเปน “เชลยศึก” และ ดูเหมือนจะกลายเปนประเพณีอันชั่วรายของฝายเจาหนาที่รัฐไทยในการปราบปรามประชาชนเนื่องจากมีการใชวิธีการนี้ใน เหตุการณพฤษภาทมิฬ ๒๕๓๕ เพราะการถอดเสื้อไมมีความจําเปนแตอยางใดในกระบวนการของการจํากุม “ผูตองหา” ถา จะอางวาตองถอดเสื้อเพื่อพิสูจนวาไมไดซอนอาวุธ ก็ตองถามวานักศึกษาสวนใหญมีอาวุธจริงหรือไม และในเมื่อสามารถ ซอนอาวุธในกางเกง การถอดเสื่อจะมีประโยชนอะไรนอกจากการทําลายความรูสึกของผูถูกจับ การทําลายศักดิ์ศรีและ ความรูสึกของ “ผูตองหา” กอนที่จะมีการนําขึ้นศาลเพื่อพิสูจนความผิด เปนพฤติกรรมที่ขัดกับมาตรฐานความยุติธรรมของ ประเทศอารยะสากล 3


การรวมมือกันระหวางเจาหนาที่ฝายรัฐกับ “กลุมฝายขวานอกระบบ” เชน ลูกเสือชาวบาน กระทิงแดง และนวพล กอนอื่นเราตองทําความเขาใจวากลุมลูกเสือชาวบาน กลุมกระทิงแดง และกลุมนวพล เปนตัวอยางของ “กลุมฝายขวานอก ระบบราชการ” ที่มีแนวทางการเมืองประเภทที่อางแนวคิดรัก “ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย” และที่สําคัญคือ เปนกลุมที่ พรอมเสมอที่จะใชความรุนแรงนอกขอบเขตของกฎหมาย ดังนั้นเราตองตั้งคําถามวาทําไมเจาหนาที่ของรัฐไทยจึงรวมมือกับ กลุมเหลานี้? ขบวนการลูกเสือชาวบาน เปนขบวนการที่ถูกตั้งขึ้นมาในป ๒๕๑๔ โดย พลต.ท. สมควร หริกุล รองผูบัญชาการ ตํารวจตระเวนชายแดน “ถาพลต.ท. สมควร หริกุล เปนตัวหลักในการกอกําเนิดขบวนการ ในหลวงเปนบุคคลสําคัญที่สุดในการสนับสนุนการ ขยายขบวนการ..... และราชูปถัมภชวยเปดทางใหมีการสนับสนุนลูกเสือชาวบานจากภาครัฐและภาคเอกชน” (Bowie 1997: 81) “ภายหลังการพังทลายของพวกเผด็จการ (ในป ๒๕๑๖) ลูกเสือชาวบานก็จะเปลี่ยนมาเปนเครื่องมืออยางเปดเผยของ ฝายนิยมเจา ..... ทางราชวงศเปนผูใหการสนับสนุนทางการเมืองถึงลูกถึงคนอยางตอเนื่อง ..... การไดรับราชูปถัมภทําให สะดวกในการทําใหการปราบปรามประทวงของชาวนาและนักศึกษา ที่เปนการกระทําสวนตัวและเปนเรื่องเฉพาะทองถิ่น เปนสิ่งที่ถูกตอง คือเปนเรื่องสําคัญตอการรักษาชาติ ศาสน กษัตริยไป (เบเนดิก แอนเดอรสัน ๒๕๔๑: 121-122) การตั้งลูกเสือชาวบานขึ้นโดย พลต.ต. สมควร คงไดรับอิทธิพลมาจากองคกรปราบปรามคอมมิวนิสตของสหรัฐอเมริกาที่ เคยทดลองใชรูปแบบนี้ในเวียดนาม (Girling 1981; 213) แตที่สําคัญคือการตั้งลูกเสือชาวบานในยุคแรกตั้งขึ้นมาเพื่อปลุก ระดมคนในชนบทใหเกลียดชังคอมมิวนิสต เพราะในชวงนั้นพรรคคอมมิวนิสตไทย (พ.ค.ท.) เริ่มมีการปฏิบัติการในชนบท ไทย (Bowie 1997) ขบวนการลูกเสือชาวบานเดิมเปนขบวนการของชาวชนบท แตในตนป ๒๕๑๙ เริ่มมีการสรางขบวนการนี้ในเมือง ซึ่งทํา ใหขบวนการลูกเสือชาวบานกลายเปนเครื่องมือของนักการเมืองฝายขวาบางคนโดยตรง ในการเลือกตั้งป ๒๕๑๘ และ ๒๕๑๙ ลูกเสือชาวบานถูกนํามาใชในการหาเสียงใหนักการเมืองเหลานี้ และนาสังเกตวาเวลาที่นายกรัฐมนตรี เสนีย ปรับ คณะรัฐมนตรีในตนเดือนตุลาคม ๒๕๑๙ โดยนําเอา นาย สมบุญ ศิริธร และ นายสมัคร สุนทรเวช ออกจากคณะรัฐมนตรี 4


กลุมลูกเสือชาวบานไดรวมพลังประทวงรัฐบาลและลอมทําเนียบจนมีคนเตือนรัฐมนตรี สุรินทร มาศดิตถ (ซึ่งถูกมองวาเปน “ฝายซาย”) ใหระวังตัวเมื่อเดินทางออกจากทําเนียบรัฐบาล (สุรินทร ๒๕๒๒, Bowie 1997: 110) การรวมมือกันระหวางตํารวจตระเวนชายแดนกับลูกเสือชาวบานที่ธรรมศาสตรในวันที่ ๖ ตุลาคม คงจะเขาใจไดถาเรา ทราบที่มาของขบวนการนี้วาถูกจัดตั้งขึ้นโดย ต.ช.ด. และในวันที่ ๕ ตุลาคม พลต.ตรี เจริญฤทธิ์ จํารัสโรมรัน รองผู บัญชาการ ต.ช.ด. ไดออกคําสั่งกับสมาชิกขบวนการลูกเสือชาวบาน ผานสื่อมวลชนฝายขวา เชนสถานีวิทยุยานเกราะ ให ลูกเสือชาวบานมาชุมนุมกันที่ลานพระรูปทรงมาในกรุงเทพฯ โดยที่ ต.ช.ด. จัดรถเพื่อลําเลียงคน (Bowie 1997: 26, สารคดี ต.ค. ๒๕๔๑; 103) ตอจากนั้นก็มีการนําลูกเสือชาวบานบางสวนมาที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรเพื่อรวมในเหตุการณนอง เลือด (พยาน 3, 4, 8, 22, 23, 43, 51, 54, 56, มนัส ๒๕๓๗) กลุมกระทิงแดง เปนอีกกลุมหนึ่งที่ตั้งขึ้นมาโดยคนที่ใกลชิดกับอํานาจรัฐไทย กระทิงแดงตั้งขึ้นมาโดยพันเอก สุตสาย หัสดินทร ซึ่งอยูในองคกร กอ.รมน. (กองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในประเทศ)ของรัฐ และกระทิงแดงไดรับเงินจาก งบประมาณลับของ กอ.รมน. เพื่อจูงใจใหกระทําความรุนแรงกับขบวนการนักศึกษาดวย (ปวย ๒๕๑๙ และเบเนดิก แอน เดอรสัน ๒๕๔๑ หนา 151, พยาน 53) กลุมกระทิงแดง นอกจากจะไดงบประมาณจากฝายรัฐแลว ยังใชอุปกรณของตํารวจ นครบาลในการปฏิบัติการดวย (Morell & Chai-anan 1981: 167) แกนนําของกระทิงแดงมีลูกชายของพันเอก สุตสาย ที่ชื่อ สืบสาย หัสดินทร และ สมศักดิ์ ขวัญมงคล กับ เฉลิมชัย มัจฉากล่ํา (“ผูพันตึ๋ง”) และสมาชิกกระทิงแดงประกอบไปดวย นักศึกษาอาชีวะหรือทหารผานศึก นอกจากนี้นักการเมืองในพรรคชาติไทยเชน ชาติชาย ชุณหะวัน ก็ใกลชิดกับกระทิงแดง ดวย (เบเนดิก แอนเดอรสัน ๒๕๔๑ หนา 151) ในหนังสือ “เราไมลืม ๖ ตุลา” (คณะกรรมการประสานงาน 20ป 6 ตุลา ๒๕๓๙) วีราวรรณ ทัศนุตากุล อาง อรนุช หัสดินทร (ภรรยาของ สุดสาย) จากหนังสือพิมพ มติชน ๒/๑๐/๒๒ วา ในวันที่ ๖ ตุลา เจาหนาที่ของรัฐขอยืมกระทิงแดงเพื่อ เขาไปตีรวนที่ธรรมศาสตร เพราะเปนลูกไมที่ทําใหตํารวจเขาไปจัดการได สุตสาย หัสดินทร เองเลาในบทความหนังสือพิมพวาในยุค ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ กระทิงแดงไดเปรียบศูนยนิสิตนักศึกษา แหงประเทศไทย เพราะถึงแมวาศูนยนิสิตฯ จะมีมวลชน แตกระทิงแดงมีระเบิด และสุตสายมีสวนในการทําระเบิดเองและ เก็บสะสมไวที่บาน (เนชั่นสุดสัปดาห ๔-๑๐ มิ.ย. ๒๕๔๔ หนา11) กลุมนวพล กลุมนอกระบบอีกกลุมหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญในการใชความรุนแรงในวันที่ ๖ ตุลาคมคือ กลุมนวพล กลุมนี้ ถูกจัดขึ้นโดย กอ.รมน. เชนเดียวกัน แตหัวหนาคือ วัฒนา เขียววิมล ซึ่งเปนอาจารยสอนสงครามจิตวิทยาของ กอ.รมน.

5


มีรายงานขาวจากนักเขียนสหรัฐที่เสนอวา วัฒนา เขียววิมล เคยประกาศในป ๒๕๑๘ วาจะพยายามสรางความแตกแยก ในสังคมไทยเพื่อเปนเหตุผลในการยึดอํานาจของฝายทหาร (Shawcross 1976: 59) และในเดือนมกราคม ๒๕๑๙ วัฒนา เรียกรองใหมีการตั้งรัฐบาลใหมที่มีทหารหนุนหลังเพื่อรักษาความสงบเรียบรอยของบานเมือง (Shawcross 1976: 59) กลุมนวพลจะพยายามขยายสมาชิกในหมูนายทุน ทหาร ภิกษุ และปญญาชนและจะเนนวิธีการแบบจิตวิทยามากกวา กระทิงแดง (ปวย ๒๕๑๙) เชนสมาชิกนวพลมีความสัมพันธใกลชิดกับหนังสือพิมพ ดาวสยาม ซึ่งเปนสื่อที่คอยโจมตี ขบวนการนักศึกษาและฝายที่เรียกรองประชาธิปไตยมาตลอด (พยาน 46) อยางไรก็ตามมีขอมูลบางสวนที่เสนอวานวพลก็มี การแจกเงินและสะสมลูกระเบิดหรืออาวุธอื่นๆ เพื่อใชความรุนแรงในธรรมศาสตรดวย และบางคนเชื่อวาผูที่ขับรถพังประตู เพื่อเปดทางใหมีการบุกมหาวิทยาลัยในเชาของวันที่ ๖ ตุลาคม อาจเปนสมาชิกนวพลที่เปนพลทหารนอกเครื่องแบบ (พยาน 39, 46, 44, 51) ยิ่งกวานั้นมีบางคนที่ตั้งขอสงสัยวาบุคคลที่กอทารุณกรรม เชนการแขวนคอ หรือเผาทั้งเปน ในเชาวันที่ ๖ ตุลาคม คงไดรับการฝกฝนมาจากหนวยทหาร เพราะคนธรรมดานาจะไมทารุณถึงขนาดนี้ (นิธิ ๒๕๔๓) สมาชิกเดนๆ ของกลุม นวพล นอกจาก วัฒนา เขียววิมล แลว มี ธานินทร กรัยวิเชียร (Bowie 1997: 319) ทมยันตี และ กิติวุฒโท นอกจากสามกลุมหลักที่กลาวถึงไปแลว มีกลุมฝายขวานอกระบบอีกหลายกลุม เชนกลุมคางคาวไทย กลุมกุหลาบดํา ชุมนุมแมบาน และกลุมพิทักษชาติไทย เปนตน ทั้งสามกลุม “นอกระบบ” ที่กลาวถึงไดรับการประสานงานทางสื่อวิทยุในวันที่ ๕ และ ๖ ตุลาคม โดยสื่อของรัฐเอง โดยเฉพาะ สถานีวิทยุยานเกราะ ซึ่งมี พ.ท. อุทาร สนิทวงศ เปนผูอํานวยการ (Shawcross 1976: 60, สารคดี ต.ค. ๒๕๔๑: 103) จุดยืนของสถานีวิทยุแหงนี้คือจะคอยตอตานโจมตี ขบวนการนิสิตนักศึกษา ขบวนการกรรมกร ขบวนการ ชาวนา ขบวนการคอมมิวนิสต และบุคคลที่มีความเห็นทางการเมืองที่ตางออกไปจากมุมมองของฝายขวาทุกคน ตัวอยางเชนสถานีวิทยุแหงนี้จะมองวาผูที่ยึดถือแนวความคิดเสรีนิยมหรือสังคมนิยมประชาธิปไตยออนๆ อยาง ปวย อึ๊ง ภากรณ หรือ ชวน หลีกภัย “เปนคอมมิวนิสต” สถานีวิทยุ ยานเกราะ ทําหนาที่ชี้นําการกระทําของฝายขวาที่ใชความรุนแรงมานาน เชนดูเหมือนวาเปนหนวยบังคับ บัญชาการเผามหาวิทยาลัยธรรมศาสตรโดยกลุมกระทิงแดงในป ๒๕๑๘ และการโยนระเบิดเขาใสการเดินขบวนของ นักศึกษาที่สยามสแควในตนป ๒๕๑๙ (เสนห ๒๕๔๓, Morell & Chai-anan 1981: 167) ในบายวันที่ ๖ ตุลาคม หลังจากที่ กลุมฝายขวาเสร็จสิ้นการฆาฟนนักศึกษาที่ธรรมศาสตร สถานีวิทยุยานเกราะก็ไดสั่งการตอใหกลุมลูกเสือชาวบานเดินทาง ไปที่สนามบินดอนเมืองเพื่อทําราย ดร. ปวย อึ๊งภากรณ แตโชคดีที่เจาหนาที่สนามบินไมใหพวกนี้เขาไป อยางไรก็ตาม พ.ต.ท. สลาง บุนนาค ไดเดินทางไปที่ดอนเมืองตามคําสั่งของสถานีวิทยุ ยานเกราะ โดยที่ไมไดรับคําสั่งอะไรเลยจากกรม 6


ตํารวจ (ปวย ๒๕๒๐) และพ.ต.ท. สลาง ไดเขาไปดาวา ดร.ปวย ขณะที่พูดโทรศัพทอยูและตบหูโทรศัพทออกจากมือของ ดร. ปวย (ปวย ๒๕๑๙) หลายปภายหลัง พ.ต.ท. สลาง ไดพยายามแกตัวโดยพูดเท็จวาไปที่ดอนเมืองเพื่อปกปอง ดร. ปวย อีกคนหนึ่งที่ปจจุบันพยายามอางวาไป “ปกปอง” ดร. ปวย ที่ดอนเมือง คือ วัฒนา เขียววิมล หัวหนากลุมนวพล ซึ่งมา พรอมลูกนองอาจารยนวพลสองคนจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร คือ อาจารย ราตรี กับ อาจารย ปนัดดา (ปวย ๒๕๑๙) ปจจุบันนี้ วัฒนา เขียววิมล ดํารงตําแหนงเปนที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการการบริหารและยุติธรรมของวุฒิสภาไทย การใชสื่อมวลชนของฝายรัฐเพื่อโจมตีนักศึกษา กรรมกร ชาวนา และอาจารยมหาวิทยาลัย เริ่มในสมัยที่ พลตรีประมาณ อดิเรกสาร หัวหนาพรรคชาติไทย คุมสื่อตางๆ ของรัฐ พรรคพวกที่ พลตรีประมาณ เกณฑมาเพื่องานประเภทนี้ไดแก ดุสิต ศิ ริวรรณ ประหยัด ศ.นาคะนาท ธานินทร กรัยวิเชียร อุทิศ นาคสวัสดิ์ ทมยันตี อาคม มกรานนท และ พ.ท. อุทาน สนิทวงศ เปนตน (ปวย ๒๕๑๙) เนื่องจากดานหนาของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรมีการชุมนุมกันของกลุมฝายขวานอกระบบในวันที่ ๕ ตุลาคมทําใหมี การพยายามกอกวนผูที่อยูในมหาวิทยาลัยดวยวิธีการตางๆ เชนการยิงปนสั้นและโยนระเบิดเขาไปบาง หรือการพยายาม เผาสิ่งของที่อยูติดรั้วมหาวิทยาลัยตั้งแตยามดึกของวันนั้น (พยาน 1, 10, 27, 28, 45, 51, 53) อยางไรก็ตามหลังจากที่กองกําลังตํารวจเริ่มระดมยิงและบุกเขาไปในมหาวิทยาลัย การกระทําของกลุมฝายขวาไมได หยุดอยูแคการกอกวน หลายคนบุกเขาไปในมหาวิทยาลัยพรอมๆ กับเจาหนาที่ตํารวจเพื่อทํารายนักศึกษา (พยาน 3, 4, 8, 22, 23, 43, 51, 54, 56) หลายคนมีบทบาทโดยตรงในการกอทารุณกรรม เชนมีการแขวนคอ เผาทั้งเปน ทุบตีจนตาย ตอก ไมทิ่มศพ ใชไมกระทําอนาจารกับศพผูหญิง หรือปสสาวะบนศพ สิ่งเหลานี้เกิดขึ้นกลางทองสนามหลวงในยามสวาง หนาวัด พระแกวและวัดมหาธาตุ และสวนใหญเจาหนาที่ของรัฐไทยไมไดพยายามหามปรามแตอยางใด ตรงกันขาม ในวันนั้นมี หลายกรณีที่เจาหนาที่ตํารวจทํางานรวมกับกลุมฝายขวาเหลานี้ (พยาน 4, 8, 18, 27, 28, 37, 42, 45, 54, มนัส ๒๕๓๗, วิดีโอ ๖ ตุลา) นอกจากนี้ กิติวุฒโท นวพลภิกษุที่เคยประกาศวาการฆาคอมมิวนิสต “ไมบาป” ก็มาทํา “หนาที่” ในเชาวันนั้น โดยเดินกวาดตอนนักศึกษาที่หลี้ภัยในวัดมหาธาตุ ออกไปจากเขตวัดเพื่อใหตํารวจจับ (พยาน 51, สินธุสวัสดิ์ ๒๕๓๙) พฤติกรรมของลูกเสือชาวบานหรือกลุมนอกระบบอื่นในเชาวันที่ ๖ ตุลาคม ที่ธรรมศาสตรอาจอธิบายไดจากขอมูลซึ่ง Bowie (1997) ไดจากนักวิชาการไทยในออสเตรเลียคือ มีคนเสนอวา ลูกเสือชาวบานที่นครปฐมเคยมีการฝก “แขวนคอ นักศึกษาชั่ว” กอนเหตุการณ ๖ ตุลา ซึ่งนครปฐมก็คือสถานที่ที่เกิดเหตุการแขวนคอพนักงานการไฟฟาสวนภูมิภาคที่กําลัง ติดโปสเตอรตอตานการกลับมาของเผด็จการจอมพลถนอมดวย

7


ภาพถายของทารุณกรรมที่เกิดขึ้นในเชาวันนั้นถูกถายทอดไปทั่วโลก แตภายในประเทศไทยมีนักขาวคนหนึ่งที่มีความ กลาหาญในการแสดงขอเท็จจริง คือ สรรพสิริ วิรยสิริ ผูอํานวยการสถานีโทรทัศนชอง 9 ซึ่งไปถายภาพเพื่อบอกความจริง ใหกับสังคมไทย เขาเลาวานักศึกษาที่กําลังถูกเขนฆาเปน “ลูกหลานเราทั้งนั้น ทําไดอยางไร? คนไมมีสิทธิ์จะผูกคอเขา” “การเกลียดชังที่เห็นวันนั้นมาจากการเพาะเชื้อของบางคน” “ผมไมมีปน ...ผมสูไดอยางเดียวโดยเอาความจริงมาเปดเผยให คนรับรู นี่คือหนาที่ของผม” หลังจากนั้นไมนาน คุณสรรพสิริก็ถูกปลดออกจากตําแหนง (I.T.V. ๒๕๔๒, สารคดี ต.ค. ๒๕๔๑: 139) คาดวาเชาวันนั้นมีผูเสียชีวิตไมนอยกวา 46 คน อาจมีมากกวานี้ ในจํานวนนั้นมีผูที่เราทราบชื่อไมกี่คน แตชื่อของผูที่เรา รูจักไดรับการบันทึกไวที่ดานหลังของอนุสาวรีย ๖ ตุลา ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร ในเย็นวันที่ ๖ ตุลาคม ขณะที่ พยาน (51) เดินกลับบานตามถนนมหรรณพ หลังเสาชิงชา เขาไดเห็นกลุมนวพล และ ลูกเสือชาวบานกินเหลากินเลี้ยงฉลอง “ชัยชนะ” ของเขาในธรรมศาสตรเมื่อเชาวันนั้น

เหตุผลที่เจาหนาที่ฝายรัฐเสนอเพื่อสรางความชอบธรรมในการปราบปรามนักศึกษาและ ประชาชน ในเชาของวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ ตามหลักการที่ยอมรับกันทั่วไปในระบบประชาธิปไตย เจาหนาที่ตํารวจมีหนาที่รักษาความสงบเรียบรอยของบานเมือง ถามี ผูที่ตํารวจสงสัยวากระทําความผิดตามกฏหมายเจาหนาที่จะพยายามจับคุม “ผูตองหา” มาสอบสวน และหลังจากที่ สอบสวนเสร็จเรียบรอยแลว ถามีขอมูลเพียงพอวามีการกระทําผิดจริง ตํารวจจะตองสงเรื่องใหศาลพิจารณา ในยามปกติ เจาหนาที่ของรัฐในระบบประชาธิปไตยควรจะพยายามหลีกเลี่ยงการใชความรุนแรง และถาเกิดการใชอาวุธ ใชความรุนแรง หรือมีการปราบปรามอยางหนัก เจาหนาที่ของรัฐและนักการเมืองที่มีหนาที่รับผิดชอบหนวยงานดังกลาวจะตองออกมา ชี้แจงอธิบายเหตุผล “พิเศษ” ที่นําไปสูการใชความรุนแรงฆาฟนประชาชน ดังนั้นในกรณี ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ เราควรพิจารณา เหตุผล “พิเศษ” ที่ฝายรัฐไทยเสนอเพื่อสรางความชอบธรรมในการปฏิบัติการดังกลาว เหตุผลที่ฝายรัฐใชในการปราบปรามนักศึกษาและประชาชนในเชาวันที่ ๖ ตุลาคม มีทั้งหมด 4 เหตุผลดังนี้คือ

1. นักศึกษาเลนละครหมิ่นเจาฟาชาย 2. นักศึกษาชุมนุมและสะสมอาวุธในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรเพื่อกอการกบฏ 3. มีการปะทะกันระหวางกลุม “ผูรักชาติ” กับกลุมนักศึกษา และตํารวจคุมสถานการณไมได จึง ตองบุกเขาไปในธรรมศาสตร 4. นักศึกษาอาศัยการมี “ประชาธิปไตยมากเกินไป” หลัง ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ เพื่อฉวยโอกาส เผยแพรลัทธิคอมมิวนิสตโดยมีวัตถุประสงคที่จะทําลายชาติ 8


ในการวิเคราะหเหตุการที่เกิดขึ้นในเชาวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ วามีความชอบธรรมมากนอยเพียงไรเราจําตองพิจารณา ประเด็นสี่ประเด็นนี้

1. นักศึกษาเลนละครหมิ่นเจาฟาชายหรือไม? ในชวงบายและเย็นของวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๑๙ สถานีวิทยุ ยานเกราะ ไดประโคมขาววานักศึกษาเลนละครแขวนคอที่ลาน โพธิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรในวันที่ ๔ ตุลาคม เพื่อดูหมิ่นเจาฟาชาย สถานีวิทยุแหงนี้อางอิงรูปถายในหนาหนังสือพิมพ ดาวสยาม และ บางกอกโพสต เพื่อเปนการยืนยันขาวดังกลาว หนังสือพิมพ ดาวสยาม เองก็ไดมีการพิมพรูปภาพการเลน ละครแขวนคอของนักศึกษาเปนใบปลิวพิเศษแจกประชาชนในชวงนั้น นอกจากนี้นายตํารวจหลายนาย ที่เปนพยานโจทก (ฝายรัฐ)ในคดี ๖ ตุลา ไดใหคําในศาลวาตนเองไดทราบขาว “การหมิ่นเจาฟาชายของนักศึกษา” หลังจากที่ไดดูภาพใน หนังสือพิมพ บางกอกโพสต (ธวัชชัย คดีประวัติศาสตร ๒๕๒๐-๒๑) ในเย็นวันที่ ๕ ตุลาคม สถานีวิทยุ ยานเกราะ และสถานีวิทยุอื่นในเครือขายเดียวกันไดประโคมขาวอยางตอเนื่องเรื่อง การเลนละครของนักศึกษา และมีการสั่งการผานสถานีวิทยุแหงนี้ใหขบวนการลูกเสือชาวบาน และนวพล ลงมาชุมนุมกันที่ ลานพระรูปทรงมาเพื่อจัดการกับนักศึกษา ยิ่งกวานั้นมีการเรียกรองใหผูรักชาติ “ฆามัน! ฆามัน!(นักศึกษา)” (Bangkok Post 6/10/76) นักศึกษาเลนละครดูหมิ่นหรือไม? การเลนละครของนักศึกษาในวันที่ ๔ ตุลาคม ที่ลานโพธิ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปนการเลนละครที่เลาเรื่องเหตุการณที่ พนักงานการไฟฟาสวนภูมิภาคสองคนถูกฆาตายและแขวนคอที่นครปฐมขณะที่เขากําลังติดปายโปสเตอรคัดคานการ กลับมาของอดีตเผด็จการจอมพลถนอม เปาหมายในการเลนละครครั้งนั้นก็เพื่อที่จะเตือนใจนักศึกษาป ๑ ที่กําลังจะเขา สอบ ใหเขามีความคิดเพื่อสังคมมากขึ้นและมารวมการประทวงตอตานเผด็จการกับนักศึกษาอื่นๆ โดยที่ไมเขาหองสอบ การเลนละครครั้งนั้นไมมีเจตนาที่จะดูหมิ่นเจาฟาชายแตอยางใดทั้งสิ้น (พยาน 7, 10, 13, 18, 19, 21, 22, 23, 24, 29, 32, 31, 37, 39, 40, 41, 42, 45, 47, 51, 56) และในการเลนละครครั้งนั้นมีผูดูละครมากพอสมควร ซึ่งรวมถึงผูที่ไมใช นักศึกษาดวย เชน อาจารยในธรรมศาสตร (รวมถึงอาจารยที่เปนสมาชิกกลุม นวพล ) ตํารวจจราจรและตํารวจสันติบาล (ชุมพล โลหะชาละ ๒๕๑๙) และนักขาวจากสื่อมวลชนตางๆ ปรากฏวาไมมีใครที่อยูในเหตุการณในวันนั้นที่มองวาเปนการ เลนละครดูหมิ่นแตอยางใดเลย (พยาน 21, 41, 45, 54, 56 และบทความปวย ๒๕๑๙) นอกจากนี้อดีตนายกรัฐมนตรี เสนีย ปราโมช ก็ไมเชื่อวามีการเลนละครทํานองนั้นดวย (ธวัชชัย ๒๕๒๒ คดีประวัติศาสตร หนา 429) และ พลต.ท. คงเดช ชูศิริ สรุปวามีการสรางเรื่องแลวเอามาอางเพื่อกระทําการยึดอํานาจ (I.T.V. ๒๕๔๒)

9


เจาหนาที่ตํารวจของรัฐไทยที่ไดรับการแตงตั้งใหเปนประธานคณะกรรมการสอบสวนคดีเรื่องนี้โดยตรงมีขอสรุป “ภายใน ไมกี่วัน” วา ไมมีขอมูลเพียงพอที่จะดําเนินคดีกับใคร (พลต.ท. จํารัส จันทรขจร ๒๕๔๓) ขอหาวา อ.ลาวัลยแตงหนาผูเลนละคร ไมมีความจริงแตอยางใด ในขณะที่มีการประโคมขาวเท็จวานักศึกษาเลนละครดูหมิ่นเจาฟาชาย มีการเสนอผานสถานีวิทยุ ยานเกราะ วาผูที่เปนตัว แสดงการแขวนคอไดรับการแตงหนาใหเหมือนเจาฟาชาย (ชุมพล โลหะชาละ ๒๕๑๙ สมัคร สุนทรเวช ๒๕๒๐ หนา 151) และการแตงหนากระทําโดยอาจารย ลาวัณย อุปอินทร ซึ่งขณะนั้นเปนอาจารยประจําที่มหาวิทยาลัยศิลปากรและเปน สมาชิก “แนวรวมศิลปนแหงประเทศไทย” ขอกลาวหานี้ไมมีขอเท็จจริงแตอยางใด ในประการแรก อาจารย ลาวัณย ไมไดมีสวนในการแตงหนาหรือจัดละครในวัน นั้น ในประการที่สอง อาจารย ลาวัลย ไมเคยพบนักศึกษาผูที่แสดงการแขวนคอสองคนกอนที่จะเกิดเหตุการณนองเลือด ๖ ตุลา และในประการที่สาม การแตงหนาผูที่เลนละครผูกคอในวันนั้นแตงหนาเพื่อใหดูเหมือนคนที่ถูกซอมจนตายแลวนํามา แขวนคอตามเหตุการณที่เกิดขึ้นที่นครปฐม (พยาน 5, 6, 12, 32, เอกสาร #3,4) ความจริงเกี่ยวกับเรื่องนี้ยืนยันไดจากการที่ หนวยงานตํารวจไมมีการดําเนินคดีในศาลกับอาจารย ลาวัณย แตอยางใด ความเชื่อผิดเรื่อง “การแตงฟลม” โดยหนังสือพิมพ ดาวสยาม และ บางกอกโพสต หลายคนที่เกี่ยวของกับเหตุการณ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ มีความเชื่อวาหนังสือพิมพ ดาวสยาม และ หนังสือพิมพ ฺบางกอก โพสต มีการนําฟลมรูปถายจากการเลนละครไปแตงใหผูเลนละครที่ชื่อ อภินันท บัวหภักดี มีหนาคลายเจาฟาชายเพื่อใหเกิด เรื่อง แตการสํารวจรูปถายจากสื่อมวลชน 4 แหลง หลายๆ รูป ซึ่งรวมถึงภาพถายที่นํามาตีพิมพโดย ดาวสยาม และ บางกอกโพสต ที่รวบรวมไวในแฟมของกรมตํารวจ (พลต.ท. จํารัส จันทรขจร) พิสูจนวาไมมีการแตงฟลมแตอยางใด เพราะ ใบหนาของ อภินันท มีลักษณะคลายกันในทุกรูป และคลายภาพถายหนาตรงของอภินันทในยุคนั้นที่ถายไวในวันอื่นๆ ดวย ดังนั้นเราจําตองสรุปวาไมมีการแตงฟลมโดยสื่อมวลชนแตอยางใด มีแตการประโคมขาวเท็จเกี่ยวกับการเลนละครของ นักศึกษาโดยหนังสือพิมพ ดาวสยาม และโดยสถานีวิทยุ ยานเกราะ และการประโคมขาวเท็จทําไดสําเร็จเพราะกลุมฝาย ขวาตางๆ ตองการที่จะเชื่อคํากลาวหาตางๆ ที่ปายรายปายสีนักศึกษาอยูแลว (สมศักดิ์ ๒๕๔๓) และโดยบังเอิญ ถาไม สํารวจรายละเอียดใหดี ใบหนาของ อภินันท มีลักษณะบางประการที่อาจคลายคลึงกับเจาฟาชาย หนังสือพิมพ บางกอกโพสต ไมไดแตงภาพและไมไดประโคมขาวเท็จวานักศึกษาเลนละครหมิ่นเจาฟาชายอยางที่หลายๆ คนเคยเขาใจ (ดูบทที่ ๓) ทําไมคนเดือนตุลาไมนอยถึงเชื่อและเขาใจผิดวา บางกอกโพสต มีสวนในการปายรายนักศึกษา? อาจมีเหตุผลสามประการคือ (๑) กลุมฝายขวาอางถึงรูปถายในหนังสือพิมพ บางกอกโพสต ตลอดเพื่อกอความรุนแรง ใน หนังสือพิมพ ไทยรัฐ มีภาพกลุมฝายขวายืนชูหนังสือพิมพ บางกอกโพสต ที่หนาธรรมศาสตรดวยอาการโกรธแคน (๒) 10


บางกอกโพสต เปนหนังสือพิมพฝายขวาที่ไมเห็นดวยกับนักศึกษา และเปนหนังสือพิมพที่ไมถูกปดหลังการทํารัฐประหาร ๖ ตุลาคม (๓) บางกอกโพสต ไมไดใชความพยายามในการออกมาแกขาวเท็จเกี่ยวกับการเลนละครของนักศึกษาทั้งๆ ที่มีการ อางถึงภาพถายใน บางกอกโพสต ที่ “พิสูจน” วานักศึกษาหมิ่นเจาฟาชายโดยคนที่ใชความรุนแรงกับนักศึกษาในเชาของ วันที่ ๖ และโดยตํารวจที่เปนพยานโจทกในคดี ๖ ตุลาภายหลัง อาจมีบางคนสงสัยวาเปนไปไดหรือไมที่นักศึกษาจงใจเลือก อภินันท มาเลนละครเพราะใบหนาเขาคลายเจาฟาชาย? คําตอบคือเปนไปไมไดเนื่องจาก 1) ละครแขวนคอที่เลนวันนั้นมีสาระสําคัญเกี่ยวกับพนักงานการไฟฟาที่ถูกแขวนคอเทานั้น 2) ในการเลนละครแขวนคอมีผูแสดง สองคน ที่ตองสลับกันเลนเพราะการถูกแขวนทําใหเจ็บหนาอก ผูที่เลนละครอีกคน หนึ่งคือ วิโรจน ตั้งวาณิชย ซึ่งมีใบหนาแตกตางจากเจาฟาชายโดยสิ้นเชิง 3) ผูที่เลนการแขวนคอสองคนถูกคัดเลือกมาโดยไมมีการวางแผนลวงหนาดวยเงื่อนไขที่เขามีน้ําหนักนอยและตัวเล็กที่สุดใน หมูผูเลนละคร ซึ่งเหมาะกับการนํามาถูกแขวน 4) อภินันท เองไมไดตั้งใจจะเลนละครในวันนั้น เขาไมไดเปนสมาชิกของคณะผูเลนละครดวย วันนั้นเขาเขาไปใน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรเพื่อนัดพบเพื่อนไปดูภาพยนต แตเนื่องจากเพื่อนไมมาตามนัด อภินันทจึงเดินไปหาเพื่อนคนอื่นที่ กําลังเตรียมเลนละครอยู พ.ต.ท. ชุมพล โลหะชาละ รองอธิบดีกรมตํารวจ และผูบังคับบัญชาหนวยตํารวจตางๆ ที่ธรรมศาสตรในคืนวันที่ ๕ และ เชาวันที่ ๖ ตุลาคม เสนอวาทางตํารวจตองการเขาไปเจรจาอยางสันติกับนักศึกษาเพื่อนําผูแสดงละครออกมาสอบสวน และ เมื่อทําไมไดจึงจําเปนตองบุกเขาไปในธรรมศาสตร (ชุมพล ๒๕๑๙) แตขอเสนอนี้มีจุดออนสองประการคือ 1) ทางตํารวจสามารถโทรศัพทเขาไปที่ตึก อ.ม.ธ. เพื่อคุยกับแกนนํานักศึกษา และในอดีตตํารวจเคยโทรศัพทคุยกับผูนํา นักศึกษาเปนประจํา แตในคืนวันที่ ๕ และเชาวันที่ ๖ ตํารวจไมเลือกที่จะโทรศัพทเขาไป ยิ่งกวานั้นเมื่อสถานการณแยลง และนักศึกษาพยายามโทรศัพทออกไปขอความชวยเหลือปรากฏวาสายโทรศัพทถูกเจาหนาที่ตัดขาด (พยาน 36) 2) พ.ต.ท. ชุมพล เสนอวาตนเองไดคุยกับนายกรัฐมนตรีเมื่อเวลา ตี 1 ของวันที่ ๖ ตุลาคม และหลังจากนั้นไดกําหนด นโยบายวาจะตองหาทางใหผูนํานักศึกษาออกมาชี้แจงและตอบคําถามใหได และถาไมออกมาภายในเวลา 7 โมงเชาจะตอง สงตํารวจเขาไปเจรจาในธรรมศาสตร (ชุมพล ๒๕๑๙) แตทางนักศึกษาเสนอวาตั้งแตค่ําวันที่ ๕ ตุลาคม ไดมีการตกลงกัน กับนายกรัฐมนตรีวาจะสงผูแทนนักศึกษาและผูแสดงละครออกไปชี้แจงกับนายกรัฐมนตรีในเชาวันที่ ๖ อยูแลว (สุธรรม ๒๕๔๓ และพยาน 54) ดังนั้นรองอธิบดีกรมตํารวจนาจะมีขอมูลนี้

สรุปแลว นักศึกษาไมไดมีการเลนละครดูหมิ่นเจาฟาชายแตอยางใด และเจาหนาที่ตํารวจสามารถสืบขอเท็จจริงเรื่องนี้ได งาย ดังนั้นการปราบปรามนักศึกษาดวยอาวุธสงครามโดยยกขอกลาวหานี้มาใช ไมมีความชอบธรรมแตอยางใดทั้งสิ้น

11


2. นักศึกษาชุมนุมสะสมอาวุธในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรเพื่อกอการกบฏหรือไม? หลังจากที่มีการปราบปรามนักศึกษาในวันที่ ๖ ตุลาคม มีการประโคมขาววาภายในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรนักศึกษามี การสะสมอาวุธ มีการขุดอุโมงค มีการสรางบังเกอร และมีทหารเวียดนามเหนือเขาไปสมทบ ขอกลาวหาวามี “ญวน” ในหมูนักศึกษา และผูที่ถูกเผาคือ “ญวน” ถูกเสนอโดยรองอธิบดีกรมตํารวจ ชุมพล โลหะชาละ หลังเหตุการณเพียงสามวัน (ชุมพล ๒๕๑๙) และโดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย สมัคร สุนทรเวช หลังเหตุการณ แปดเดือน (สมัคร สุนทรเวช ๒๕๒๐ หนา 156) อยางไรก็ตามไมมีขอมูลอะไรเลยที่สามารถนํามาสนับสนุนขอกลาวหานี้ได เลย กอนหนาที่จะเกิดเหตุการณนองเลือด สมัคร สุนทรเวช ซึ่งเปนนักการเมืองฝายขวาที่สนับสนุนสถานีวิทยุยานเกราะ และ กลุมฝายขวา เชนลูกเสือชาวบาน (ประชาชาติ, ประชาธิปไตย และ ชาวไทย 27/8/2519) ไดเคยพูดในฐานะรัฐมนตรีชวยวา การกระทรวงมหาดไทยวามีพวกฝายซายขนอาวุธมาเพื่อกอการจลาจลในกรุงเทพฯ (ประชาชาติ 23/7/2519 และ ประชาธิปไตย 15/9/2519) ทางเจาหนาที่ตํารวจมีความเห็นขัดแยงกันเองในเรื่องอาวุธของนักศึกษา พ.ต.ท. ชุมพล โลหะชาละ เสนอวาในเชาวันที่ ๖ ตุลาคมนักศึกษาใชปนกลยิงออกมาจากมหาวิทยาลัยในขณะที่ตํารวจ “มีแตปนพก และปนคารไปน” (ชุมพล ๒๕๑๙) แต ในขณะเดียวกัน พ.ต.ท. ชุมพล สารภาพวาเวลาเขาไปในธรรมศาสตรพบแคปนพก 3 กระบอกและ ปนลูกซองยาว 1 กระบอก (ชุมพล ๒๕๑๙) สวนพลต.ต.กระจาง ซึ่ง สุรินทร มาศดิตถ เสนอวาเปนผูคุมกําลังตํารวจ ต.ช.ด. ที่เขาไปใน ธรรมศาสตร แจงตอคณะรัฐมนตรีในเวลาสายๆ ของวันที่ ๖ ตุลาคมวานักศึกษาไมมีอาวุธสงครามเพราะไมมีปญญาที่จะหา อาวุธประเภทนั้นมาใช และผูที่ใชอาวุธสงครามในวันนั้นมีแตฝายตํารวจเองเทานั้น (สุรินทร ใน ธวัชชัย ๒๕๒๒ หนา 457) พ.ต.ท. สลาง บุนนาค เสนอวาหลังจากการปราบปรามนักศึกษาก็คนพบอาวุธ “มากมาย” (สลาง บุนนาค ๒๕๑๙) พ.ต.ท. สลาง ดูเหมือนจะสับสนวาเขาไปในธรรมศาสตรเพราะเหตุใด เพราะในสวนหนึ่งของคําใหการในศาลเสนอวาเขาไป เพื่อ “เจรจากับนักศึกษา” แตในอีกสวนหนึ่งพูดวาเพื่อ “ปราบปรามกบฏ” (สลาง ใน ธวัชชัย ๒๕๒๒) พลต.อ. ศรีสุข มหินทรเทพ อธิบดีกรมตํารวจ ไดแจงตอที่ประชุม ค.ร.ม. ในยามสายของวันที่ ๖ ตุลาคม วาตํารวจที่เขา ปฏิบัติการที่ธรรมศาสตรในเชาวันนั้น “ไมตาย แตบาดเจ็บไมกี่คน” โดยไมอธิบายวาบาดเจ็บจากฝายตรงขามยิง หรือจาก ตํารวจยิงกันเองโดยไมเจตนา (สุรินทร ใน ธวัชชัย ๒๕๒๒) แต พลต.ท. ชุมพล โลหะชาละ พยายามเสนอในที่ประชุม เดียวกันกอนหนานั้นไมนานวาฝายนักศึกษาใชอาวุธสงครามยิงตํารวจตายมากมาย ตํารวจนครบาลสูไมไหวจึงตองสง ตํารวจพลรม และ ต.ช.ด.เขาไปปราบปราม และขณะที่ พลต.ท. ชุมพล ใหการในครั้งนั้นก็รองไหน้ําตาไหล (สุรินทร ใน ธวัช ชัย ๒๕๒๒) 12


ในบทความของ พ.ต.ต. มนัส สัตยารักษ (ยศในป ๒๕๑๙) มนัส อธิบายวาตํารวจบางคนที่อยูรอบนอกมหาวิทยาลัยใช ปนสวนตัวยิงเขาไปเพื่อสรางความพอใจกับตนเองเทานั้น และในความชุลมุนของเหตุการณ มนัส ก็เกือบถูกยิงจากฝาย ตํารวจเอง (มนัส ๒๕๓๗) จากขอมูลที่เสนอตอศาลในคดี ๖ ตุลาคม ทางกรมตํารวจรายงานวามีตํารวจถึงแกกรรมที่โรงพยาบาลตํารวจในวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ เวลา 08.00 น. 1 ราย และอีกหนึ่งรายถึงแกกรรมที่โรงพยาบาลตํารวจในวันที่ ๗ ตุลาคม ๒๕๑๙ เวลา 10.15 น. ตํารวจสองนายนี้ตายเพราะถูกยิงที่สมอง แตไมมีขอมูลวาถูกยิงขณะที่ปฏิบัติการที่ไหน (ธวัชชัย ๒๕๒๑ หนา 4143) เมื่อโฆษกของรัฐบาลนํานักขาวตางชาติไปดูมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรเจ็ดวันหลังเหตุการณเขาตองยอมรับวาหาอุโมงค ลับ “ไมพบ” และ “ไมรูวาบังเกอรหายไปไหน” ตอจากนั้นเมื่อนักขาวถามวา “ใครเริ่มยิงกอน นักศึกษาหรือตํารวจ?” โฆษก ตอบวา “ใครยิงกอนไมใชประเด็น” และเมื่อนักขาวถามตอไปวา “นักศึกษามีอาวุธมากนอยแคไหน? ขอดูไดไหม? และถา นักศึกษามีอาวุธทําไมนักศึกษาตายมากกวาตํารวจ?” โฆษกตอบวา “ไมทราบ” (สัมภาษณภาษาอังกฤษโฆษกรัฐบาล พัน เอกอรุณ ๒๕๑๙) อาวุธของนักศึกษา ในเชาวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ มีนักศึกษากลุมเดียวเทานั้นที่มีอาวุธ กลุมนั้นคือกลุมที่มีหนาที่รักษาความปลอดภัย อาวุธที่ เขามีอยูในมือสวนใหญเปนอาวุธประเภทปนสั้นที่ใชปองกันตัว การถืออาวุธในยุคนั้นเพื่อการปองกันตัวเปนสิ่งจําเปนเพราะ มีการลอบสังหารผูนํานักศึกษา ผูนํากรรมกร และนักการเมืองเชน ดร. บุญสนอง บุญโญทยาน มานาน นอกจากนี้ผูนํา ชาวนา 44 คนในภาคเหนือก็ถูกยิงตาย (กนกศักดิ์ ๒๕๔๒: 155) สวนดร. ปวย อึ๊งภากรณ อธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรในยุคนั้นก็ตองระวังตัวและมีคนแนะนําใหถือปน แตดร.ปวยปฏิเสธ (ปวย ๒๕๒๐) นอกจากนี้เวลา มีการชุมนุมของนักศึกษาและฝายประชาชน มักจะมีการกอกวนลอบยิงและขวางระเบิดโดยกลุมกระทิงแดงเปนประจํา เชน กรณีการเดินขบวนตอตานฐานทัพสหรัฐที่สยามสแควเมื่อเดือนมีนาคม ๒๕๑๘ ที่มีการขวางระเบิดจนผูเสียชีวิต 4 ราย บาดเจ็บหลายราย แตทุกครั้งที่เกิดเหตุการณแบบนี้ทางเจาหนาที่ตํารวจไมเคยจับคุมผูรายเลย (ปวย ๒๕๑๙) ยิ่งกวานั้น พลตรีประมาณ อดิเรกสาร นักการเมืองที่เปนรัฐมนตรีและผูนําพรรคชาติไทยยังอางดวยวาการสังหารผูนําชาวนาใน ภาคเหนือ “ไมใชเรื่องเกี่ยวของกับการเมือง” (I.T.V. ๒๕๔๒ข) ดังนั้นการถืออาวุธในธรรมศาสตรในวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ เปนการถืออาวุธประเภทที่ใชปองกันตัวเปนหลัก ไมใชอาวุธ อัตโนมัติหรืออาวุธสงครามแตอยางใด อาวุธที่นักศึกษามีในธรรมศาสตรมีปนสั้นไมเกิน 30 กระบอก ปนลูกซองยาว 2 กระบอก และระเบิดมือประมาณ 10 ลูก ซึ่งทั้งหมดนี้เปนอาวุธที่เหมาะสมกับการตีกับอันธพาลขางถนน แตไมเหมาะกับการ 13


กอกบฏหรือการสูรบกับหนวยงานของรัฐแตอยางใดเลย ยกตัวอยางเชนเวลามีการยิงเพื่อยับยั้งผูที่บุกเขามาในธรรมศาสตร ผูที่ใชปนคนหนึ่งรายงานวาลูกกระสุนไปไมถึงเปาเพราะตกลงกลางสนามฟุตบอลเปนตน นอกจากนี้นักศึกษาหนวยรักษา ความปลอดภัยบางคนอาจมีปน แตไมคอยอยากใช คนหนึ่งรายงานวาตอนรักษาการในคืนวันที่ ๕ เขาเอาปนไปซอนไวใน ตนไมเพราะไมกลาใช สรุปแลวนักศึกษาที่ใชปนในเชาวันนั้นใชเพื่อหามไมใหกระทิงแดงปนเขามาในธรรมศาสตรในประการ แรก และเมื่อตํารวจระดมยิงและบุกเขามาเขาพยายามยิงปนเพื่อถวงเวลาใหนักศึกษาสวนใหญหนีความตายไปออก ทางดานหลังของมหาวิทยาลัย ซึ่งตองนับวาหนวยรักษาความปลอดภัยกลุมนี้ไดสละชีวิตเพื่อปกปองผูมาชุมนุม (พยาน 10, 11, 14, 15, 18, 27, 38, 44, 45, 49, 62) นอกจากนี้ไมมีขอมูลอะไรทั้งสิ้นที่เสนอวาหนวยรักษาความปลอดภัยสามารถยิง ตํารวจได หลายคนเชื่อวาตํารวจที่บาดเจ็บหรือเสียชีวิตในวันนั้นถูกยิงจากพวกตํารวจกันเองเนื่องจากความสับสนของ เหตุการณ

สรุปแลว ถึงแมวานักศึกษาบางคนมีอาวุธขนาดเล็กที่ไรประสิทธิภาพในการสูรบ ไมมีขอมูลอะไรทั้งสิ้นที่สนับสนุนขอ กลาวหาวานักศึกษาสะสมอาวุธเพื่อกอการกบฏแตอยางใด

3. “มีการปะทะกันระหวางกลุม ‘ผูรักชาติ’ กับกลุมนักศึกษา และตํารวจคุมสถานการณไมได จึงตอง บุกเขาไปในธรรมศาสตร” - ขอเสนอนี้จริงหรือไม? ในระบบประชาธิปไตยคนสวนใหญจะมองวาเจาหนาที่ตํารวจควรมีจุดยืนเปนกลาง ไมเขาขางพลเมืองฝายใดฝายหนึ่ง ไม เลือกเขาขางกลุมคนที่มีความเชื่อทางการเมืองประเภทหนึ่ง แตถามีการกระทําที่ผิดกฏหมายเจาหนาที่ตํารวจจะตองเขาไป ระงับการกระทําดังกลาว ในกรณีที่มีการปะทะกันระหวางพลเมืองสองกลุม คือมีการใชความรุนแรงที่ผิดกฏหมายจากทั้ง สองฝาย เจาหนาที่ตํารวจมีหนาที่เขาไปแยกคูกรณีที่ปะทะกันโดยหามปรามและปลดอาวุธทั้งสองฝาย ในรายการวิทยุสองวันหลังเหตุการณ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ พ.ต.ท. ชุมพล โลหะชาละ รองอธิบดีกรมตํารวจ และนายตํารวจ ซึ่งมียศสูงสุดที่ประจําการในเหตุการณ (ชุมพล ๒๕๑๙) ไดแจงวาตํารวจจําเปนที่จะตองใชอาวุธบุกเขาไปในธรรมศาสตร เพราะ “ประชาชนบุกเขาไปแลว” และตํารวจหามไมได พ.ต.ท. ชุมพลเสนอวา (1) ตํารวจคุมสถานการณไมได (2) ตํารวจจําเปนตองใชอาวุธบุกเขาไปในธรรมศาสตรเพื่อปกปองประชาชนที่บุกเขาไปในธรรมศาสตรในลักษณะ “มือ เปลา” ไมถืออาวุธ ในเมื่อนักศึกษาที่ยิงออกมาขางนอก (3) ตํารวจจําเปนตองบุกเขาไปเพื่อคุมครองมหาวิทยาลัยซึ่งเปนสถานที่ราชการ ขอเสนอของ พ.ต.ท. ชุมพล มีน้ําหนักมากนอยแคไหน?

14


พลเมืองสองกลุมที่มีการ “ปะทะกัน” ตั้งแตคืนวันที่ ๕ ตุลาคม ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร คือ หนึ่ง กลุมฝายขวา ภายนอกรั้วของมหาวิทยาลัย ซึ่งประกอบไปดวยกระทิงแดง นวพล และลูกเสือชาวบาน และ สอง นักศึกษาประชาชนที่ ชุมนุมกันภายในรั้วมหาวิทยาลัย การ “ปะทะกัน” ระหวางสองฝายนี้มีลักษณะอยางไร? ตั้งแตประมาณเที่ยงคืนกลุมกระทิงแดงไดกระทําการ “กอกวน” การชุมนุมของนักศึกษาในลักษณะที่เคยกระทําในอดีตหลายครั้งคือ ยิงปนพกเขามาเปนบางครั้งบางคราว โยนระเบิดพลา สดิกเพื่อกอใหเกิดความกลัว และพยายามปนรั้วมหาวิทยาลัยเขามาเผาบอรดหรือปอมยามที่อยูใกลๆ รั้ว นอกจากนี้ก็ พยายามสงคนเขาไปทางประตูในตอนหัวค่ําเพื่อกอความวุนวาย สวนฝายหนวยรักษาความปลอดภัยของนักศึกษาก็ พยายามกันไมใหการ “กอกวน” ดังกลาวมีผลกระทบกับการชุมนุมภายในโดยตรวจเช็คคนที่เดินเขามาทางประตูในชวงหัว ค้ํา และในชวงดึกๆ จะยิงปนพกออกไปขางนอกถามีคนพยายามปนรั้ว เพื่อเตือนไมใหเขามา นี่คือสภาพการ “ปะทะกัน” ที่ เกิดขึ้นในยามดึกของวันที่ ๕ ตุลาคม (พยาน 1, 10, 11, 12, 14, 15, 27, 28, 38, 45, 49, 53 ) เราทราบจากจํานวนนักศึกษาและประชาชนที่ถูกจับในเชาวันที่ ๖ ตุลาคม วาภายในมหาวิทยาลัยมีผูคนประมาณ 3-4 พันคน กลุมฝายขวาภายนอกรั้วมหาวิทยาลัยมีจํานวนเทาไร? พ.ต.ท. ชุมพล โลหะชาละ (ชุมพล ๒๕๑๙) เสนอวาพลเรือนที่ บุกเขาไปในธรรมศาสตรในเชาวันที่ ๖ ตุลาคม มีเปน “พันๆ” แต พ.ต.ท. ประสาท ชูสาร พยานโจทกของฝายรัฐในคดี ๖ ตุลา ใหการในศาลวามีประชาชนที่หนาธรรมศาสตรในตอนเชาของวันที่ ๖ ตุลาคมประมาณ 70-80 คน และพยานที่มาใหการกับ คณะกรรมการฯ เสนอวามีกลุมฝายขวาชุมนุมนอกรั้วในจํานวนนอยกวาที่ พ.ต.ท. ชุมพล เสนอ เชนอดีตนักศึกษา (พยาน 10) ซึ่งอยูใน “หองขาว” ตึก อ.ม.ธ. เสนอวาเวลา ตี1-ตี2 มีแค 50-60 คน และพยาน (18) ใหการวาผูไมแตงเครื่องแบบที่บุก เขามาในมหาวิทยาลัยในชวงเชามีจํานวนเปน “รอย” เทานั้น นอกจากนี้ภาพถายจากสถานีโทรทัศนของนักขาวไทยและ ตางประเทศแสดงใหเห็นวาจํานวนผูชุมนุมภายนอกธรรมศาสตรมีไมมากจนหนวยตํารวจไมอาจคุมสถานการณได (วิดีโอ ๖ ตุลา) และยิ่งกวานั้นตํารวจที่มาประจําการที่มหาวิทยาลัยมาจากหนวยงานสามหนวยที่มีการฝกฝนในการปราบจลาจลและ การตอสูกับ พ.ค.ท. โดยตรง ทุกหนวยมาพรอมอาวุธสงคราม ดังนั้นความเห็นของพยาน (56) ซึ่งเปนนักขาวชาวไทยที่อยูใน เหตุการณ สรุปวา “ขออางวาเจาหนาที่ของรัฐคุมสถานการณไมไดเปนขออางที่เหลวไหล” (สนับสนุนโดยพยาน 57, 58, 59) หลักฐานอีกสองชิ้นที่ปฏิเสธขออางวาตํารวจอยูในสภาพที่ไมพรอมเพียงพอที่จะคุมสถานการณ คือการที่มีการสั่งการให ตํารวจตระเวนชายแดนเดินทางมาจากคายนเรศวร อ.หัวหิน ตั้งแตเวลา 02.00 น. ในเชาวันที่ ๖ ตุลาคม (สิบตํารวจเอก อากาศ ใน ธวัชชัย ๒๕๒๒: 345) และการที่ พลต.ท. ชุมพล โลหะชาละ รองอธิบดีกรมตํารวจตั้งกองบัญชาการตํารวจที่ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติตั้งแตยามดึก (ชุมพล ๒๕๑๙, สลาง ๒๕๑๙) โดยที่มีการยืนยันวา พลต.ท ชุมพล อยูใน สถานการณเวลา 03.00 น. (ธวัชชัย ๒๕๒๒: 152) ขอมูลดังกลาวพิสูจนวาตํารวจไดมีการเตรียมการอยางหนักตั้งแตยามดึก ของวันที่ ๕ ตุลาคม หรืออยางนอยตั้งแต ตีสองตีสาม ของเชาวันที่ ๖ ตุลาคม ไมใชวาตํารวจไมพรอมที่จะรับมือกับ สถานการณแตอยางใด ยิ่งกวานั้น ศ. เสนห จามริก ใหขอมูลปากคํากับ “คณะกรรมการรับขอมูลและสืบพยานเหตุการณ ๖ 15


ตุลาคม ๒๕๑๙” วาในชวงปลายเดือนสิงหาคม ๒๕๑๙ ในขณะที่มีการชุมนุมตอตานการกลับมาของจอมพลประภาส ตํารวจไดระดมกําลังพรอมอาวุธสงครามในพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ขางๆ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ในรูปแบบเดียวกันกับ ที่เกิดขึ้นในคืนวันที่ ๕ ตุลาคม ซึ่งถามองยอนกลับไปอาจจะดูเหมือนเปนการซอมรบก็ได และ ศ. เสนห ใหความเห็นวามี อะไรหลายๆ อยางที่ชี้ใหเห็นวามีการวางแผนเพื่อปราบปรามนักศึกษา เชนวิธีการใหขอมูลออกอากาศของสถานีวิทยุยาน เกราะที่มีลักษณะคลายๆ การสั่งการเปนตน พ.ต.ท. สลาง บุนนาค เสนอขอมูลเพิ่มวาตนเองไมมีความสามารถที่จะเปนผูบังคับบัญชาหนวยกองกําลังตํารวจ เพราะ ตนเองไมสามารถคุมลูกนองในหมูนายตํารวจได (สลาง ๒๕๑๙) พูดงายๆ ลูกนองของ พ.ต.ท. สลาง กําลังวิ่งเตนเพื่อใหมี การปราบปรามนักศึกษา ดังนั้นถา พ.ต.ท. สลาง ไมตามใจเขาก็จะคุมสถานการณไมได ทําไมนายตํารวจหลายระดับ ตั้งแตรองอธิบดี ที่อางวา “คุมสถานการณไมได” จนเกิดเหตุนองเลือดอยางปาเถื่อน ไมถูก ปลดออกจากตําแหนงหรือถูกเลื่อนไปทํางานในตําแหนงที่ไมเกี่ยวกับการปฏิบัติการในฐานะที่ทํางานลมเหลว และคุมลุก นองไมได ? พยาน (14, 15, 27, 45) ซึ่งเปนอดีตหนวยรักษาความปลอดภัยของนักศึกษาที่ประจําการอยูดานหนาของ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร รายงานวาผูบุกเขาไปครั้งแรกประกอบไปดวยเจาหนาที่แตงเครื่องแบบเปนสวนใหญ โดยเฉพาะ หนวย ต.ช.ด. และผูไมใสเครื่องแบบบางคนก็ถืออาวุธดวย (ยืนยันโดยพยาน 4, 39,) ขอเสนอของ พลต.ท. ชุมพล วาตํารวจตองบุกเขาไปในธรรมศาสตรเพื่อปกปองประชาชนมือเปลาที่กําลังบุกเขาไปสูกับ นักศึกษาเปนขอเสนอที่แปลก เพราะถาตํารวจจะรักษาความสงบเรียบรอยที่ธรรมศาสตรในวันนั้นมีวิธีการที่งายและมี ประสิทธิภาพมากกวานี้คือ ตํารวจจะตองใชกองกําลังติดอาวุธที่มีอยู เพื่อยืนตามรั้วของมหาวิทยาลัยและแยกสองฝายออก จากกัน คือกั้นไมใหฝายขวาเขามาใกลธรรมศาสตรและกั้นไมใหฝายผูอยูขางในยิงออกมานั้นเอง และถามีฝายใดฝายหนึ่ง ฝาฝนคําสั่งของตํารวจก็อาจใชความรุนแรงไดระดับหนึ่ง คําถามคือในเมื่อ พลต.ท. ชุมพล อางวาประชาชนฝายขวาเปนฝาย ที่ฝาฝนคําสั่งของตํารวจและบุกเขาไปเพื่อสูกับนักศึกษาทําไมตํารวจเขาไปยิงนักศึกษาและไมยิงหรือจับคุมพวกฝายขวา ขอเสนอของ พลต.ท. ชุมพล วาตํารวจตองใชอาวุธบุกเขาไปในธรรมศาสตรเพื่อปกปองสถานที่ราชการนาสงสัยและ แปลกยิ่งกวานั้น เพราะพอตํารวจเขาไปในมหาวิทยาลัยก็ตั้งปนกลหนักยิงกราดเขาไปในตึกบัญชีและยิงระเบิด M 79 ใสตึก ตางๆ ของสถานที่ราชการ ซึ่งกอใหเกิดความเสียหายกับตึกคณะบัญชีและคณะวารสารไมนอย และที่สําคัญคือการใชปน ในชวงนี้เปนการใชปนในขณะที่นักศึกษาทุกคนยอมจํานนแลว

16


พยานทุกคนรายงานวาหลังจากที่ตํารวจเริ่มระดมยิงเขามา และกอนหนานั้นดวยซ้ํา มีหนวยตํารวจประจําการตามประตู ตางๆ ของมหาวิทยาลัยเพื่อหามไมใหนักศึกษาหนีออกไป ถาเจตนาของตํารวจคือการเขาไปเจรจา การสลายการชุมนุม อยางสันติ หรือการเขาไปจับคุมแกนนําของขบวนการนักศึกษาหรือนักศึกษาที่แสดงละคร ทําไมตองหามไมใหนักศึกษาคน อื่นออกจากประตูมหาวิทยาลัยทางดานทาพระจันทรกับทาพระอาทิตย? และทําไมมีการถอนหนวยตํารวจจาก ส.น. ในพื้นที่ (ซึ่งรูจักผูนํานักศึกษาอยางดี) ออกจากการประจําการตามประตูดานหลังมหาวิทยาลัยเพื่อนําหนวยตํารวจอื่นจากนอกพื้นที่ เขามาแทน? (พยาน 56) หลังเหตุการณ ๖ ตุลา ในวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๑๙ ปลัดทบวงมหาวิทยาลัย ประเสริฐ ณ นคร ไดออกจดหมายถึง อธิการบดีมหาวิทยาลัยตางๆ เพื่อขอความรวมมือในการชี้แจง “ขอเท็จจริง” เกี่ยวกับเหตุการณที่เกิดขึ้นที่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรใหผูปกครองและนักศึกษาทราบ โดย ประเสริฐ ณ นคร เขียนวา “การปฏิบัติงานของเจาหนาที่ ตํารวจ ... มิไดกระทําเกินกวาเหตุ เพราะในวันดังกลาว ประชาชนมีความเคียดแคนและตองการเขาจับตัวนักศึกษาที่หมิ่น พระบรมเดชานุภาพ .... ถาเจาหนาที่ตํารวจไมเขาไปปฏิบัติงานกอน ประชาชนที่เคียดแคนก็อาจจะเขาไปประชาทัณฑ นัก ศึกษา... และทรัพยสินของมหาวิทยาลัยทั้งหมดอาจถูกทําลาย” (สร.ทม. 0203/13064 สํานักงานปลัดทบวงหมาวิทยาลัย เอกสาร #2) เอกสารฉบับนี้ ซึ่งตองถือวาเปนความเห็นของรัฐบาลในยุคนั้น เปนการเสนอขอมูลเท็จทั้งสิ้น เพราะนอกจากจะ มีการกระทําเกินเหตุโดยตํารวจแลว ซึ่งมีผลใหนักศึกษาหลายคนเสียชีวิต มีการประชาทัณฑอันเลวรายทารุณ และทรัพยสิน ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรยังถูกทําลายโดยเจาหนาที่ของรัฐเองดวย และนอกเหนือจากนั้นนักศึกษาไมไดหมิ่นพระบรม เดชานุภาพแตอยางใดดวย

สรุปแลว ขอเสนอวาตํารวจจําเปนตองเขาบุกเขาไปปราบปรามนักศึกษาเพราะคุมสถานการณไมอยู หรือเพื่อปกปอง ประชาชนที่ไรอาวุธ หรือเพื่อปกปองมหาวิทยาลัยอันเปนสถานที่ราชการ ไมมีน้ําหนักและความจริงเลย

4. ตํารวจจําเปนที่จะตองปราบปรามนักศึกษาเพราะนักศึกษาอาศัยการมี “ประชาธิปไตยมากเกินไป” หลัง ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ เพื่อฉวยโอกาสเผยแพรลัทธิคอมมิวนิสตโดยมีวัตถุประสงคที่จะทําลายชาติ - ขอเสนอนี้มีน้ําหนักหรือไม ? ในความเห็นของฝายขวา การบุกเขาไปฆาฟนคนในธรรมศาสตรอยางปาเถื่อนในวันที่ ๖ ตุลาคม เปนสิ่งจําเปนเพราะพวกที่ อยูในธรรมศาสตรเปน “คอมมิวนิสต” และหวังลมสถาบันของชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย พูดงายๆ ในการปกปอง สามสถาบันนี้เขามองวาจะใชความรุนแรงเทาไรก็ใชได และยอมมีความชอบธรรมทั้งสิ้น ขออางนี้เปนขออางสุดทายของคน ที่จนตรอกในการใหความชอบธรรมกับสิ่งที่เกิดขึ้นในวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙

17


อาจารยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรคนหนึ่งที่เปนสมาชิกกลุมนวพล พอเขาเห็นภาพของการ “เลนละครดูหมิ่น” ประกาศ ตอเจาหนาที่ตํารวจวา อยาก“ขวางระเบิดใสนักศึกษาฆาใหตาย” นี่คือตัวอยางของความคิดอาจารยในกลุมนวพลตอ นักศึกษาที่เปนลูกศิษยลูกหาของตนเอง (ชุมพล ๒๕๑๙) ตัวอยางของผูที่มองวาการใชความรุนแรงกับ “ฝายซาย” ไมผิดอะไรเลยมีอีกมากมาย เชน นวพลภิกษุ กิติวุฒโท มองวา “การฆาคอมมิวนิสตเปนเรื่องไมบาป” หัวหนากระทิงแดง พ.ต. สุตสาย หัสดินทร มองวาเหตุการณในวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ “ไมมีอะไรนาเสียใจ” (I.T.V. 6/10/42) พลต.ท. สมควร หริกุล แกตัวแทนผูที่กระทําความโหดรายในวันนั้นโดย อธิบายวาในหมูนักศึกษามีการแทรกแซงของลัทธิคอมมิวนิสตเพราะมีหนังสือของฝายซายที่วิเคราะหสังคมไทยเต็มไปหมด (I.T.V. 6/10/42) สมัคร สุนทรเวช มองในลักษณะเดียวกันวานักศึกษากําลังจะพาประเทศไทยไปเปนคอมมิวนิสตเพราะ เสนอวา “ประชาชนจะเปนใหญในแผนดิน” (I.T.V. 6/10/42) และ พลต.ท. ชุมพล โลหะชาละ ก็มองวาศูนยนิสิตนักศึกษา ควรจะถูกปราบปรามเพราะเปนสิ่งผิดกฏหมายมาตลอด ไมไดจดทะเบียนและเที่ยวไปยุงเกี่ยวกับปญหาในสังคมภายนอก (ชุมพล ๒๕๑๙) ความเห็นของ สมัคร สุนทรเวช วาการเรียกรองใหมีประชาธิปไตย (ประชาชนตองเปนใหญในแผนดิน) คือสิ่งที่ทําใหเกิด ความวุนวายในสังคม โดยเฉพาะในชวงหลัง ๑๔ ตุลา เปนความเชื่อของชนชั้นปกครองไทยโดยทั่วไป ทั้ง สมัคร สุนทรเวช และ โฆษกของ “คณะปฏิรูปการปกครอง” ที่ยึดอํานาจในเย็นวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ มองวาหลัง ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ ประเทศไทยมี “ประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพมากเกินไป” ดังนั้นถาจะมีเสถียรภาพในสังคมตองมีเผด็จการ (สมัคร ๒๕๑๙ และสัมภาษณภาษาอังกฤษโฆษกรัฐบาล พันเอกอรุณ ๒๕๑๙) แต สุธรรม แสงประทุม อดีตผูนํานักศึกษามีความเห็นตาง สุธรรม อธิบายวาในยุคนั้นเมื่อชาวบานมีบัญหาแลวไป รองเรียนกับทางราชการมักจะไมมีใครฟง ชาวบานก็ยอมพยายามมาหานักศึกษาเปนเรื่องธรรมดา ดังนั้นขบวนการ นักศึกษาถูกมองโดยประชาชนผูถูกเอารัดเอาเปรียบวาเปนเพื่อนของผูถูกกดขี่ หรือเปนองคกรที่จะชวยสรางความเปนธรรม ในสังคม (I.T.V. 6/10/42) ในลักษณะเดียวกัน ปวย อึ๊งภากรณ ก็อธิบายวาสิทธิเสรีภาพในการประทวงตามหลักการประชาธิปไตยเปนสิ่งจําเปนถา สังคมจะมีความเปนธรรม “การปรับสถานการณตางๆ ในสังคมใหดีขึ้น (เชนการปฏิรูปที่ดิน ฯลฯ) เกิดขึ้นทามกลางความ วุนวาย แตการกดดันใหนายจางหัวแข็งลงมาเจรจากับลูกจางทําไดอยางไรถาไมนัดหยุดงาน? การกดดันใหรัฐบาลออกมา แกไขปญหาชาวบานที่มีกับบริษัทเหมืองแรทําไดอยางไรถาไมประทวง? ... ถามองยอนกลับไป รูสึกวาพวกเราทุกคนในยุค นั้นสายตาสั้นเวลาบนเรื่องความวุนวายเหลานี้” (ปวย ๒๕๒๐ ข, ปวย ๒๕๒๓)

18


อดีตนายกรัฐมนตรี พ.อ. เปรม ติณสูลานนท มีความเห็นวานักศึกษาเขาปาไปรวมกับพรรคคอมมิวนิสตเพราะถูกกดขี่ใน เมือง โดยเฉพาะในเหตุการณ ๖ ตุลาคม ดังนั้น พ.อ. เปรม เสนอวาการสรางความเปนธรรมและเสรีภาพในสังคมจะสามารถ เอาชนะพรรคคอมมิวนิสตได (I.T.V. 13/10/42) ขอสรุปนี้นาจะเปนขอสรุปที่แยงความเห็นวาการมีประชาธิปไตยมากเกินไป เปนสิ่งที่ทําลายเสถียรภาพของสังคมไทยหรือจะพาไทยไปเปนคอมมิวนิสต ตรงกันขาม อดีตนายก เปรม มองวาเสถียรภาพ ของสังคมไทยมาจากการมีสิทธิเสรีภาพเต็มที่ตางหาก ในแงหนึ่งเราอาจมองไดวาการทําลายขบวนการนักศึกษาในวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ เปนการทําลายขบวนการหลักใน สังคมไทยที่มีเจตนาและความสามารถเพียงพอที่จะนําการเปลี่ยนแปลงไปสูสังคมที่เปนธรรมหรือสังคมนิยมที่มี องคประกอบของประชาธิปไตยแทก็ได เราไมควรลืมวาองคกรนักศึกษาเปนแกนนําสําคัญที่ลมเผด็จการทหารและตอสูเพื่อ ประชาธิปไตยมาตั้งแตกอนยุค ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ เสียอีก ดังนั้นถาขบวนการนักศึกษาไมถูกทําลายในวันที่ ๖ ตุลาคม สังคมไทยอาจมีลักษณะที่แตกตางจากรูปแบบปจจุบันที่มีความเหลื่อมล้ําสูง แตในขณะเดียวกันแตกตางจากระบบเผด็จ การ “คอมมิวนิสต” ในอินโดจีนดวย (Ungpakorn 2001) สิ่งหนึ่งที่สนับสนุนขอเสนอนี้คือ ขบวนการนักศึกษามีสวนในการ ถกเถียงกับผูนําพรรคคอมมิวนิสตในตอนทายๆ กอนที่จะพากันออกจากปา เพราะนักศึกษาไมพอใจกับสิ่งที่เขาเห็นวาเปน ความเผด็จการของพรรค และการถกเถียงดังกลาวมีสวนสําคัญในการลดบทบาทและอิทธิพลของพรรคในที่สุด เกษียร เตชะ พีระ (๒๕๓๙) อธิบายวา “ฝายซายไทย” ในยุคระหวาง ๑๔ ถึง ๖ ตุลา เปนการบรรจบรวมของสามกระแสหลักคือ (๑) กระแสปญญาชนฝายคานในเมืองซึ่งมีองคประกอบหลากหลาย เชนแนวพุทธของตะวันออก แนวซายใหมตะวันตก และ แนวมารคซิสต (๒)กระแสความคิดของพรรคคอมมิวนิสตไทย และ(๓)กระแสซายดั้งเดิมของไทยจากปญญาชนมารคซิสต สมัย ๒๔๙๐ สามกระแสดังกลาวนอกจากจะนําไปสูความขัดแยงจนปาแตกในที่สุดแลว ยังแสดงใหเห็นวาขบวนการ นักศึกษาและฝายซายในเมือง ถาไมถูกปราบ ไมจําเปนตองนําเมืองไทยไปสูรูปแบบสังคมที่เหมือน จีน เวียดนาม หรือ เขมร ก็ได ปวย (๒๕๑๙) แสดงความเห็นวา “ขอนาเสียดายสําหรับคนรุนหนุมรุนสาวที่ใฝในเสรีภาพก็คือเหตุการณในวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ ไมเปดโอกาสใหเขามีทางเลือกที่ ๓ เสียแลว ถาไมทําตัวสงบเสงี่ยมคลอยตามอํานาจไมเปนธรรม ก็ตองเขา ปาไปทํางานรวมกับคอมมิวนิสต”

สรุปแลว

ขอเสนอวาตํารวจจําเปนตองเขาบุกเขาไปปราบปรามนักศึกษาเพราะเปนวิธีเดียวที่จะปกปองชาติจากการมี ประชาธิปไตย “มากเกินไป” เปนขอเสนอที่เหลวไหล

ใครควรจะเปนผูรับผิดชอบกับพฤติกรรมของเจาหนาที่รัฐ และเหตุการณนองเลือดที่เกิดขึ้นในวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ ? 19


ในเมื่อสังคมมีคนที่ดํารงตําแหนงเปน “ผูนํา” ในหนวยงานตางๆ ซึ่งคนเหลานั้นไดรับการมอบหมายอํานาจในการตัดสินใจ สั่งการ และยศศักดิ์ หรือคาตอบแทนตามบทบาทหนาที่ดังกลาว ผูที่เปนผูนําหรือผูบังคับบัญชายอมจะตองรับผิดชอบกับ เหตุการณหรือผลงาน ทั้งที่ดี และไมดี ที่เกิดขึ้นภายใตการนําของตน ความหมายของ “ผูที่ตองรับผิดชอบ” ในที่นี้มีความหมายที่กวางขวาง เพราะการรับผิดชอบโดยรวมตองครอบคลุมถึง การวางนโยบายและทิศทางการทํางาน การวางแผนเพื่อใหบรรลุผล การตัดสินใจสั่งการโดยรวม การตัดสินใจสั่งการใน เหตุการณ และการลงมือกระทําเอง การกระทําใดๆ ของเจาหนาที่รัฐ และเหตุการณนองเลือด ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ ไมไดเกิด จากอุบัติเหตุ มีทั้งการปูทางหรือวางนโยบาย (ไมวาจะมีเจตนาใหเกิดเหตุการณนองเลือดหรือไม) มีการวางแผนลวงหนา มี การตัดสินใจสั่งการ และมีการลงมือกระทําทามกลางสถานการณดวย ความหมายของ “การรับผิดชอบ” กับการกระทําของเจาหนาที่รัฐในเหตุการณนองเลือดมีหลายระดับ อาจเปนการ ออกมาสารภาพผิดตอสาธารณะและการแสดงความเสียใจ อาจเปนการยอมรับผิดซึ่งรวมถึงการยอมชดเชยผูที่ไดรับความ เสียหายในเหตุการณหรือยอมแกไขสถานการณดวยวิธีอื่นๆ หรืออาจมีการนําผูนําที่ตองรับผิดชอบมาขึ้นศาลภายในหรือ ภายนอกประเทศเพื่อลงโทษผูกระทําความผิด กรณีการลงโทษอดีตประธานาธิบดีในเกาหลีใตที่มีสวนในการปราบปราบ นักศึกษา หรือกรณีการพยายามนํา อดีตประธานาธิบดี นายพล พิโนเช ของชิลี ที่มีสวนในการสังหารฝายซายและนัก สหภาพแรงงาน มาขึ้นศาล เปนตัวอยางที่ดี หลายคนอาจตั้งขอสงสัยวาในเมื่อเหตุการณมันผานไป ๒๕ ปแลว ทําไมตองมาแสวงหาผูรับผิดชอบกันในยุคนี้ คําตอบ คือตราบใดที่ไมมีการพิจารณาพฤติกรรมอยางเปนทางการของผูนําระดับสูงของไทยที่สั่งการ หรืออยูในตําแหนงสั่งการ ใน เหตุการณที่เจาหนาที่ของรัฐใชความรุนแรงกับประชาชนโดยไมมีเหตุผลอันชอบธรรม คนชั่วที่กอใหเกิดเหตุการณนองเลือด จะลอยนวลและจะไดกําลังใจ ในอนาคตผูนําแบบนี้ก็จะไมเกรงกลัวในการใชความรุนแรงกับประชาชนเพื่อรักษา ผลประโยชนสวนตัวอีก และเปนที่นาสังเกตวาทุกวันนี้ยังไมมีผูนําคนใดที่ถูกสังคมไทยบังคับใหรับผิดกับเหตุการณนองเลือด ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖, ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ และ พฤษภาคม ๒๕๓๕ เลย ยิ่งกวานั้นการฆาฟนนักศึกษาใน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรในวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ เปนการกระทําเพื่อ “พิสูจน” ตอสาธารณะวาทรราชที่กอใหเกิด เหตุการณนองเลือด ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ จะไมมีการถูกลงโทษ และใครที่คิดจะประทวงเรื่องนี้จะตองถูกปราบปราม บางคนอาจเสนอวาในสังคมพุทธแบบเอเซียตะวันออกของเมืองไทยเรามีวัฒนธรรมที่ปฏิเสธการชี้ถูกชี้ผิดโดยอางเมตตา ธรรม แต กิตติศักดิ์ ปรกติ (๒๕๓๙) อธิบายวาขอเสนอนี้เปนความเขาใจผิด เพราะการฆาฟนประชาชนโดยรัฐในประเทศ เอเซียตางๆ รวมถึงประเทศไทย กระทําบนพื้นฐานการปายสีชี้ผิดผูถูกกระทํา และการฆาฟนดังกลาวไมมีเมตตาธรรมแต อยางใด ดังนั้นการปฏิเสธการชี้ถูกชี้ผิดในกรณี ๖ ตุลา ของสังคมไทยเปน “ลัทธิยอมจํานนที่ไรหลักการ” มากกวาความคิด

20


วิถีไทยๆ หรือวิถีเอเซีย กิตติศักดิ์ เสนอตอไปวาการนําอดีตประธานาธิบดีระดับนายพลของเกาหลีใตมาขึ้นศาลลงโทษสอง คนในกรณีฆาฟนนักศึกษาที่กวางจูเปนบทเรียนที่ดีสําหรับไทย ตามหลักการณรัฐศาสตรผูที่ไดรับการเลือกตั้งเปนผูนําทางการเมืองสูงสุดของประเทศในระบอบประชาธิปไตยจะตอง รับผิดชอบกับสิ่งที่เกิดขึ้นในสมัยของตนเองกอนผูอื่น ดังนั้นนายกรัฐมนตรี เสนีย ปราโมช ควรจะรับผิดชอบกอนอื่นตามมา ดวยรัฐมนตรีมหาดไทยที่คุมกรมตํารวจ (ปวย ๒๕๑๙) แตเมื่อเราพิจารณาความเปนจริงทางประวัติศาสตรแลว มีคําถามวา ในยุคนั้นนายกรัฐมนตรี เสนีย และรัฐบาลของเขามีอํานาจจริงหรือ? หลายคนมองวารัฐบาลประชาธิปตยของนายก เสนีย เปนเพียงรัฐบาลในนามเทานั้น เพราะผูถืออํานาจจริงคือผูถืออาวุธ (สุธรรม ๒๕๒๒; 15) คําถามที่ตามมาคือใครบางที่มี อํานาจจริงในยุคนั้น? เราตองแสวงหาขอมูลเพิ่มตรงนี้ คําตอบคงหาไดไมยากถาเราศึกษาขอเขียนของนักวิชาการที่สํารวจ ไปแลวในบทที่ ๑ ของหนังสือเลมนี้ อยางไรก็ตาม ถานายกรัฐมนตรี เสนีย ไมมีอํานาจในยุคนั้น และมีเหตุการณนองเลือดเกิดขึ้น เขามีหนาที่ที่จะลาออก จากตําแหนงทันทีและประณามการกระทําของฝายที่มีอํานาจจริง รองลงมาจากระดับนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีแลว ผูที่ควรจะรับผิดชอบตอการตัดสินใจสั่งการในวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ จะตองเปนอธิบดีกรมตํารวจ และผูบังคับบัญชากองกําลังตํารวจในสนาม เพราะคนเหลานี้มีสวนในการตัดสินใจ และลงมือใชอาวุธปราบปรามนักศึกษาโดยตรง เราทราบชื่อของคนเหลานี้ ในกรณีอธิบดีกรมตํารวจเจาหนาที่คนนี้ถูกปลด ออกจากตําแหนงหลังเหตุการณ แตการปลดออกจากตําแหนงครั้งนั้นไมไดเปนเพราะรัฐบาลใหมที่มาจากการรัฐประหาร มองวาเขากระทําความผิดในการปราบปรามนักศึกษาที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร นายตํารวจระดับลางๆ ที่เพียงแตทําตามคําสั่งของผูบังคับบัญชามักจะกลายเปนแพะรับบาปแทนผูใหญที่สั่งการ ดังนั้น เราจําเปนที่จะตองระมัดระวังในการโทษนายตํารวจชั้นผูนอยที่มีสวนในการใชความรุนแรง อยางไรก็ตามมีสองกรณีที่ นายตํารวจชั้นผูนอยจะตองรับผิดชอบกับสิ่งที่ตนเองกระทําคือ (๑) ในกรณีที่ตัดสินใจกระทําอะไรนอกกรอบของคําสั่ง หรือ ในกรณีที่ฟงคําสั่งจากผูอื่นที่ไมใชผูบังคับบัญชา และ (๒) ในกรณีที่จงใจโกหกในศาลหรือในสื่อมวลชนเกี่ยวกับสิ่งที่เกิดขึ้น นอกจากนี้แลวนายตํารวจชั้นผูนอยและพลเมืองธรรมดาทุกคนจะตองรับผิดชอบตอจิตสํานึกของตนเองในสิ่งที่เขากระทําใน ฐานะที่เปนมนุษยในสังคม แตเรื่องนี้อาจไมเปนเรื่องสาธารณะก็ได สิ่งที่เปนเรื่องสาธารณะอีกเรื่องหนึ่ง คือการกระทําทารุณกรรมของพลเมืองในกลุมฝายขวานอกระบบ ผูนําของกลุม เหลานี้ ผูที่กอตั้งและผูที่ใหการสนับสนุนกับกลุมตางๆ ผูที่ประโคมขาวเท็จเรื่องการเลนละครเพื่อปลุกระดมกลุมนอกระบบ ใหมาชุมนุมกัน ผูที่มีสวนในการระดมกองกําลังนอกระบบในเชาวันนั้น ตลอดจนเจาหนาที่ตํารวจชั้นผูใหญที่ไมยอมหาม การกระทําของพวกนี้ จะตองรับผิดชอบกับสิ่งที่เกิดขึ้นในเชาวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ สวนสมาชิกระดับลางของกลุมนอก 21


ระบบที่มีสวนในการทําอาชญากรรมก็ตองรับผิดชอบตอสังคมดวย เพราะเขาไมไดรับการสั่งการตามหนาที่เหมือน นายตํารวจชั้นผูนอย อยางไรก็ตามการรับผิดชอบหลักเกี่ยวกับการกระทําของ ลูกเสือชาวบาน กระทิงแดง และนวพล ในเชา วันที่ ๖ ตุลาคม ตองอยูกับผูนําทางการเมืองในระดับสูงของชาติเปนหลักเพื่อไมใหผูนอยในระดับลางรับบาปแทน อยางที่ มักเกิดขึ้นบอยครั้งทั่วโลก นักการเมืองที่เขามาครองตําแหนงหลังการทํารัฐประหารในบายของวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ และตัดสินใจนํานักศึกษาผู บริสุทธิ์มาขึ้นศาลในขณะที่ไมยอมนําฆาตกรจริงที่กอทารุณกรรมมาขึ้นศาล ตองรับผิดชอบตอสังคมไทยดวย และ นักการเมืองและผูนําทางสังคมอื่นๆ ที่พยายามใหขอมูลเท็จตอสังคมทั้งภายในและภายนอกประเทศเพื่อปกปดความจริง เกี่ยวกับ ๖ ตุลา ก็ควรรับผิดชอบเชนกัน สุดทายนี้เราตองกลับมาพิจารณาวาในยุคนั้นบุคคลกลุมไหนบางที่มีอํานาจทางการเมืองจริง ถาไมใชรัฐบาลของนายก เสนีย เพราะนายตํารวจ แมแตอธิบดีกรมตํารวจเองในป ๒๕๑๙ คงไมกลาตัดสินใจลงมือใชอาวุธสงครามปราบปราม นักศึกษาถึงขนาดนั้น เราตองถามวาใครสั่งการใหตํารวจทํา หรือใครสัญญากับตํารวจวาถาลงมือปราบปรามนักศึกษาจะ ไมมีผลรายเกิดกับตนเอง คนที่ใหคํามั่นสัญญาแบบนี้ได อาจเปนผูมีอํานาจอิทธิพลในขณะนั้น หรือเปนผูที่วางแผนจะยึด อํานาจในวันที่ ๖ ตุลาคมผานวิธีการของการทํารัฐประหาร ดังนั้นเราตองพิจารณาผูที่มีสวนในการวางแผนทํารัฐประหาร ผู ที่มีสวนในวางแผนและสนับสนุนการนําอดีตเผด็จการ ถนอม กลับเขามาสูประเทศไทยเพื่อกอเหตุวุนวาย และผูที่ทํา รัฐประหารจริงในวันที่ ๖ ดวย กรรมการแสวงหาความจริง (Truth Commission) “คณะกรรมการรับขอมูลและสืบพยานเหตุการณ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙” ไมใช กรรมการแสวงหาความจริง ในลักษณะของ กรรมการประเภทนี้ที่ถูกตั้งขึ้นมาในประเทศอัฟริกาใต และโดยรวมแลวทั่วโลกมี กรรมการแสวงหาความจริง เกิดขึ้นใน ๒๐ ประเทศ (Zurbuchen 2001) กรรมการเหลานี้มีลักษณะพิเศษที่ตางจาก “คณะกรรมการรับขอมูลและสืบพยาน เหตุการณ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙” ตรงที่ กรรมการแสวงหาความจริง มักจะไดรับมอบหมายใหทํางานเปนทางการ ดังนั้นจะ มีอํานาจทางกฏหมายในการเรียกพยานและสืบหาเอกสาร ในการพิจารณาวาเมืองไทยควรมี กรรมการแสวงหาความจริง หรือไม เราควรพิจารณาสิ่งที่กําลังเกิดขึ้นในประเทศ อินโดนีเซียหลังจากที่เผด็จการ ซุฮารโต ถูกลมไป เพราะในยุคนี้มีกระแสสําคัญในสังคมอินโดนีเซียที่เรียกรองใหเกิด กรรมการแสวงหาความจริง และรัฐบาลของ ฮาบีบี และ วาฮีด ก็ลวนแตสนับสนุนความคิดอันนี้ โดยมีการสงเจาหนาที่ และนักสิทธิมนุษยชนไปดูงานที่อัฟริกาใตและเกาหลีใตดวย นอกจากนี้ผูนําทางสังคมบางคนในอินโดนีเซียมีความกลาหาญ เพียงพอที่จะรับผิดชอบและขออภัยตอสังคมเกี่ยวกับเรื่องที่เกิดขึ้นในอดีต เชนนายพล วิรานโต ที่ขออภัยในการปราบปราม

22


เกินเหตุในแควน Ache และประธานาธิบดี วาฮีด ที่ออกมาขออภัยเรื่องบทบาทขององคกรอิสลาม Nahdlatul Ulama ซึ่งเคย มีสวนในเหตุการณนองเลือดที่เกาะชวาในป ค.ศ. 1965-66 เปนตน (Zurbuchen 2001) Mary Zurbuchen อดีตผูอํานวยการมูลนิธิ Ford Foundation ในอินโดนีเซีย และนักวิชาการจากมหาวิทยาลัย California, Los Angeles อธิบายวาการจัดตั้ง กรรมการแสวงหาความจริง มีประโยชนตอสังคมหาประการดังนี้ (Zurbuchen 2001) ๑) กรรมการฯ จะเปดโอกาสใหผูถูกกระทําเลาเหตุการณอยางเปนทางการตอสังคม ๒) มีประโยชนในการใหการศึกษาตอพลเมืองเกี่ยวกับเหตุการณที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร เพราะมีการตีพิมพรายงานเปน ทางการ ๓) กรรมการฯ สามารถเปดโอกาสใหมีการยอมรับวามีการกระทําความผิด และกรรมการฯ อาจแนะนําการจายคาชดเชยได ๔) กรรมการฯ อาจชวยในการแกปญหาความขัดแยงในสังคมได โดยเสนอการปฏิรูปสถาบันตางๆ ที่เคยมีสวนในเหตุการณ นองเลือด ๕) กรรมการฯ สามารถคนหาผูที่ตองรับผิดชอบ และผูที่มีสวนในการกอเหตุ ซึ่งทั้งหมดนี้จะนําไปสูการรักษาบาดแผลที่เกิดขึ้นกับสังคม ถาสังคมเราไมหาทางเรียนบทเรียนเพื่อยุติการใชความรุนแรงของรัฐที่กระทําตอประชาชน เหตุการณนองเลือดจะเกิดขึ้น อยางตอเนื่องเปนระยะๆ เผชิญ สุวรรณทัต คือผูหนึ่งที่เขาใจปญหานี้ดี ในวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ เผชิญ กับภรรยาพยายาม ชวยเหลือนักศึกษาที่บาดเจ็บ แตกลับถูกเจาหนาที่รัฐทําราย ตอมาในเหตุการณพฤษภาทมิฬ ป ๒๕๓๕ ภรรยาและลูกชาย อายุ ๑๔ ของ เผชิญ ตองเสียชีวิตไป (วิดีโอ งาน ๒๐ ป ๖ ตุลา) ธงชัย วินิจจะกูล อดีตผูนํานักศึกษาที่อยูในเหตุการณและนักวิชาการปจจุบัน เสนอวาสังคมไทยจะตองมาทําความ เขาใจกับเหตุการณนองเลือด ๖ ตุลา และการสังหารผูนําชาวนา นักการเมืองและนักศึกษากอนหนานั้น เพราะเปนเรื่อง สําคัญที่จะชวยทําใหเราหลีกเลี่ยงความรุนแรงในอนาคตได ธงชัย มองวาความรุนแรงที่เกิดขึ้นในป ๒๕๑๙ มาจากการที่ สังคมไทยไมสามารถจัดการกับความขัดแยงทางความคิด ซึ่งทุกวันนี้ก็ยังมีความพยายามในการสราง “ความสามัคคีของ ชาติ” บนพื้นฐานกรอบแคบๆ ของลัทธิอํานาจนิยมที่มักปรากฏตัวในนามของความสามัคคีผลประโยชนของชาติ ศาสน และ กษัตริย ความคิดที่ไมเขากรอบแบบนี้ถูกมองวาเปนภัย ถึงเวลาแลวที่สังคมไทยควรจะมองวาความคิด “แหวกกรอบ” คือ คลังภูมิปญญาของสังคม (ธงชัย ๒๕๔๔)

สรุป ในเชาวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ เจาหนาที่ตํารวจของรัฐไทยไดกออาชญากรรมทางการเมือง โดยลงมือปราบปรามขบวนการ นักศึกษาดวยอาวุธสงครามในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร การปราบปรามครั้งนั้นไมมีเหตุผลที่มีความชอบธรรมแตอยางใด 23


ทั้งสิ้น นอกจากนี้เจาหนาที่ตํารวจไดรวมมือกับอันธพาลฝายขวาที่มาชุมนุมตอตานนักศึกษาที่หนามหาวิทยาลัย โดยปลอย ใหผูบริสุทธิ์ถูกเขนฆาอยางทารุณที่ทองสนามหลวงหนาวัดพระแกวและวัดมหาธาตุ การแสวงหาผูนําของสังคมไทยที่ตองออกมารับผิดชอบกับเหตุการณนองเลือดครั้งนี้ไมใชเรื่องยากในดานขอมูลหลักฐาน ขอมูลทางประวัติศาสตรที่สังคมไทยมีอยูในมือ ไมวาจะเปนเอกสาร สิ่งตีพิมพ หนังสือพิมพ หนังสือวิชาการ หรือคําใหการ ของพยาน เกือบจะมีหลักฐานเพียงพอที่จะเจาะจงวาใครมีสวนรวมในการกอเหตุ ดังนั้นในขั้นตอนตอไปสังคมไทยจะตอง ตัดสินใจวาควรเดินหนาอยางไรในเรื่องนี้ สําหรับการสรุปบทบาทของบุคคลและองคกรตางๆ ในเหตุการณ ๖ ตุลา จากขอมูลที่ “คณะกรรมการรับขอมูลและ สืบพยานเหตุการณ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙” มีอยู เราขอฝากภาระนี้ไวกับผูอาน โดยที่ผูอานจะตองพิจารณาขอมูลทั้งหมดในบท ตางๆ ของรายงานนี้เพื่อตัดสินใจเอง

อยางไรก็ตามสิ่งที่ “คณะกรรมการรับขอมูลและสืบพยานเหตุการณ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙” อยากจะ เนนคือ การปดหูปดตา การฝง การลืม หรือการหลีกเลี่ยงการพิจารณาปญหาของเหตุการณนอง เลือด ๖ ตุลา อยางที่เคยทํากันมาตลอดในอดีตไมใชทางออกสําหรับสังคมไทยถาเราตองการสราง สังคมไทยใหมีความสงบสุข คุณธรรม และความยุติธรรม หมายเหตุ พยานหลายคนที่มาใหการไดแสดงความจํานงที่จะพบบุคคลที่รวมผานเหตุการณ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ กับเขา แตไมมีโอกาส พบกันอีกหลังจากเหตุการณครั้งนั้น บางคนเปนเพื่อนกัน บางคนเปนผูชวยเหลือพยาน บางคนไดรับความชวยเหลือจาก พยาน อยางไรก็ตาม จนถึงทุกวันนี้เราไมสามารถแนะนําทางออกสําหรับบุคคลเหลานี้ได ดังนั้นเราจึงขอความชวยเหลือจาก “คนเดือนตุลา” ทุกคนชวยกรุณาหาทางออกใหดวย

เอกสารอางอิง กนกศักดิ์ แกวเทพ และคณะ (๒๕๔๒) “เสนทางชาวนาไทย” มูลนิธิโกมลคีมทอง กิตติศักดิ์ ปรกติ (๒๕๓๙) ใน พนม เอี่ยมประยูร -บรรณาธิการ “๒๐ ป ๖ ตุลา” คณะกรรมการดําเนินการจัดงาน ๒๐ ป ๖ ตุลา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เกษียร เตชะพีระ (๒๕๓๙) ใน พนม เอี่ยมประยูร -บรรณาธิการ “๒๐ ป ๖ ตุลา” คณะกรรมการดําเนินการจัดงาน ๒๐ ป ๖ ตุลา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร คณะกรรมการประสานงาน 20ป ๖ ตุลา (๒๕๓๙) เราไมลืม ๖ ตุลา ธงชัย วินิจจะกูล (๒๕๔๔) บทเรียนจากเหตุการณ ๖ ตุลา ซึ่งสังคมไทยไมยอมรับรู ปาฐกถาในพิธีเปดประติมานุสรณ ๖ ตุลา ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ๖ ตุลาคม ๒๕๔๓ วารสารสืบสาร (เครือขายเดือนตุลา) ฉบับที่ 20 ม.ค. ๒๕๔๔

24


ธวัชชัย สุจริตวรกุล (๒๕๒๑) คดีประวัติศาสตร คดี ๖ ตุลา เลม ๑ บพิธการพิมพ ธวัชชัย สุจริตวรกุล (๒๕๒๒) คดีประวัติศาสตร คดี ๖ ตุลา เลม ๒ บพิธการพิมพ นิธิ เอียวศรีวงศ (๒๕๔๓) ยอนรอย ๖ ตุลา มติชน รายวัน 13/10/2543 หนา 6 เนชั่นสุดสัปดาห ปที่๙ ฉบับที่ ๔๗๐, ๔-๑๐ มิถุนายน ๒๕๔๔ “ยอนรอยทางชีวิต ‘ตึ๋งกระทิงแดง’ ในเงื้อมเงากระทิงเฒา” หนา 10-12 พระไพศาล และ ส.ศิวรักษ (๒๕๓๙) “๖ ตุลาจารึก ความทรงจํา ความหวัง บทเรียน” มูลนิธิโกมลคีมทอง กรุงเทพฯ เพื่อนมหิดลเดือนตุลา (๒๕๔๐) หนังสืองานรําลึกในวันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๔๐ เบเนดิก แอนเดอรสัน (๒๕๔๑) บานเมืองของเราลงแดง: แงมุมทางสังคมและวัฒนธรรมของรัฐประหาร ๖ ตุลาคม ใน จาก ๑๔ ถึง ๖ ตุลา บรรณาธิการ ชาญวิทย เกษตรศิริ และ ธํารงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตร และมนุษยศาสตร ปวย อึ๊งภากรณ (๒๕๑๙) ความรุนแรงและรัฐประหาร ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ ตีพิมพหลายครั้งโดยมูลนิธิโกมลคีมทอง ปวย อึ๊งภากรณ (๒๕๒๓) แนวโนมของการเมืองไทย ใน “อันเนื่องมาแต ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙” มูลนิธิโกมลคีมทอง กรุงเทพฯ มนัส สัตยารักษ (๒๕๓๗) “รําลึก ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ วันวังเวง” มติชน สุดสัปดาห ๗-๑๓ ตุลาคม ๒๕๓๗ ตีพิมพอีกครั้งใน ตุลาชนตุลาชัย ฉบับที่๒ ปที่ ๑ เดือนตุลาคม ๒๕๔๓ ฤดี เริงชัย (๒๕๓๙) “หยดหนึ่งในกระแสธาร” สํานักพิมพมิ่งมิตร กรุงเทพฯ สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล (๒๕๔๓) “ชนวน: ภาพละครแขวนคอที่นําไปสูกรณี ๖ ตุลา” น.ส.พ. มติชน รายวัน ๓๑ ต.ค. ๔๓ หนา 6 สมยศ เชื้อไทย - บรรณาธิการ (๒๕๓๑) คดีประวัติศาสตร ๖ ตุลา ใครคือฆาตกร? พิมพครั้งที่สอง สามัคคีสาสน สมัคร สุนทรเวช (๒๕๒๐) คําปราศรัยตอนักศึกษาไทยในฝรั่งเศส ๔ มิถุนายน ๒๕๒๐ ตีพิมพใน วีระ มุสิกพงศ (๒๕๒๑) โหงว นั้ง ปง สันติ์ วนาการพิมพ สารคดี (๒๕๔๑) “รวมเลือดเนื้อชาติไทย รวมสามเหตุการณสําคัญทางประวัติศาสตรการเมืองไทย (๑๔ตุลา ๖ตุลา และพฤษภา๓๕)” ฉบับ เดือนตุลาคม ๒๕๔๑ สินธุสวัสดิ์ ยอดบางเตย (๒๕๓๙) “บันทึกของฉัน สีสันไปสูดวงดาว” รักและเมตตาวรรณกรรม เชียงใหม สุธรรม แสงประทุม (๒๕๒๒) “ผมผานเหตุการณ ๖ ตุลาคมมาไดอยางไร?” สํานักพิมพดาวหาง กรุงเทพฯ สุรินทร มาศดิตย (๒๕๒๒) จดหมายพระสุรินทร ใน ธวัชชัย สุจริตวรกุล บรรณาธิการ คดีประวัติศาสตร คดี ๖ ตุลา เลม ๒ บพิธการพิมพ (เขียน๒๔ ตุลาคม ๒๕๒๐) Bangkok Post 6/10/1976 page1. Bowie, K. (1997) Rituals of national loyalty. Columbia University Press, New York. Girling, L. S. (1981) Thailand: society & politics. Cornell University Press. Morell, D. & Chai-anan Samudavanija (1981) Political Conflict in Thailand. Oelgeschlager, Gunn & Hain. Cambridge Massachusetts. Morell, D. & Morell, S. (1977) Thailand: The costs of political conflict. Pacific Community, 8 (2) January. Shawcross, W. (1976) How tyranny returned to Thailand. New York Review of Books. December 9th 1976. Ungpakorn, Ji Giles (2001) Slamming the door to beat the cat. Crushing the Thai left on the 6th October 1976. Paper presented at the 18th Annual Conference on Southeast Asian Studies, University of California, Berkeley, 16-17 February 2001. Zurbuchen, M. (2001) Looking back to move forward. A Truth Commission could bring healing for a tragic past. Inside Indonesia No. 65, Jan-Mar 2001.

25


ขอมูลจากวิทยุ โทรทัศน และเทปสัมมนา สลาง บุนนาค (๒๕๑๙) สถานีวิทยุยานเกราะ บาย ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ (เทป) ชุมพล โลหะชาละ (๒๕๑๙) สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย ๙ ตุลาคม ๒๕๑๙ รายการสนทนาประชาธิปไตย (เทป) เทปการใหคําสัมภาษณภาษาอังกฤษกับนักขาวตางประเทศโดยโฆษกรัฐบาล (พันเอกอรุณ) ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หลังการยึดอํานาจ ของ “คณะปฏิรูปการปกครอง” ๑๓ ตุลาคม ๒๕๑๙ ปวย อึ๊งภากรณ (๒๕๒๐ ก) เทปการอภิปรายใหนักศึกษาไทยที่ประเทศออสเตรเลีย ปวย อึ๊งภากรณ (๒๕๒๐ ข) จากเทปการอภิปรายใหนักศึกษาที่มหาวิทยาลัย Georgetown, Washington สหรัฐอเมริกา 15/2/2520 แปลเปน ไทยใน ปวย อึ๊งภากรณ (๒๕๒๓) แนวโนมของการเมืองไทย ใน “อันเนื่องมาแต ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙” มูลนิธิโกมลคีมทอง กรุงเทพฯ สมัคร สุนทรเวช (๒๕๑๙) เทป รายการโทรทัศนชอง 7 เมื่อ ๑๑ ตุลาคม ๒๕๑๙ วิดีโอ บันทึกงาน ๒๐ ป ๖ ตุลา ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร -การใหการของ เผชิญ สุวรรณทัต I.T.V. (๒๕๔๒ก) รายการ “ยอนรอย” เหตุการณ ๖ ตุลา ถายทอดวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๔๒ I.T.V. (๒๕๔๒ข) รายการ “ยอนรอย” ทําไมนักศึกษาและประชาชนถึงเขาปา ถายทอดวันที่ ๑๓ ตุลาคม ๒๕๔๒

ขอมูลปากคํา พยานที่มาใหการกับ “คณะกรรมการรับขอมูลและสืบพยานเหตุการณ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙” จะมีหมายเลขกํากับตามลําดับ การใหการ หมายเลขดังกลาวปรากฏในรายงานชิ้นนี้ แตรายชื่อพยานที่มาใหคําใหการตอ กรรมการฯ ที่ตีพิมพทายเลมนี้จะ เรียงลําดับใหมตามตัวอักษรแรกของชื่อ

แหลงขอมูลเอกสารหรือภาพถายที่มอบใหคณะกรรมการฯ ในป ๒๕๔๓ จํานง สรพิพัฒน พลต.ท. จํารัส จันทรขจร ประเสริฐ ณ นคร ลาวัลย อุปอินทร สุขุม เลาหพูนรังษี

26


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.