E 20
ประเภทเชื้อเพลิง รถยนต์ในปัจจุบนั
เบนซิน 95
ดีเซล
NGV
เบนซิน 91
ไบโอ ดีเซล
LPG
แก็สโซฮอล์ 95 แก็สโซฮอล์ 91 แก็สโซฮอล์ E 20
E20 คืออะไร E20
ำ นเบนซินไร้สำรตะกัว่ ผสมกับเอทำนอลซึ่งเป็ นแอลกอฮอล์ คือน้ำมั ำ น บริ สุทธิ์ 99.5% ในอัตรำส่ วน เบนซิน 80 : เอทำนอล 20 ได้เป็ นน้ำมั E 20 ออกเทน 95 ตำมมำตรฐำนของกระทรวงพลังงำน
E20 ใช้ กบั เครื่องยนต์ แบบไหน E20 ใช้ได้กบั เครื่ องยนต์ที่ออกแบบมำสำำหรับกำรใช้ E 20 โดยรถที่สำมำรถใช้นำมั ้ ำ นแก๊สโซฮอล์ E 20 ได้ยงั สำมำรถใช้นำมั ้ ำ นเบนซิ น ำ นแก๊สโซฮอล์ 95 ได้อีกด้วย ออกเทน 95 และน้ำมั
เอทานอล ใน E20 ทำาจากอะไร มีส่วนผสมของเอทานอลที่ผลิตได้เองจากพืชผลเกษตรในประเทศถึง 20% (มันสำาปะหลัง) ซึ่งพลังงานชีวภาพเหล่านี้ช่วยลดมลพิษจาก การเผาไหม้ โดยลดคาร์บอนไดออกไซด์ และสารไฮโดรคาร์บอนลงจึง ลดการเกิดภาวะโลกร้อน E20
เรื่องน่ ารู้เกีย่ วกับ E20 1.สมรรถนะของเครื่องยนต์ เมือ่ เปรียบเทียบกับน้ำ ามันเบนซิน - ด้วยสัดส่ วนของเอทานอลที่เพิ่มขึ้นเป็ น 20% ช่วยให้การเผาไหม้สมบูรณ์ ทำาให้เครื่ องยนต์ สะอาดขึ้น กำาลังของเครื่ องยนต์ และแรงบิดจึงมี ประสิ ทธิภาพดีข้ ึน - อัตราเร็ วสู งสุ ดใกล้เคียงกับการใช้นามั ้ ำ นเบนซิน
เรื่องน่ ารู้เกีย่ วกับ E20 2.รถรุ่ นไหนบ้ างทีใ่ ช้ E20 ได้ ในเบื้องต้นจะมีรถยนต์แก๊สโซฮอล์ E 20 จำาหน่ายในปี 51 ประมาณ 60,000คัน จาก 5 ยีห่ อ้ (ข้อมูลจากบริ ษทั รถยนต์ ณ วันที่ 20 ธันวาคม 2550) - Ford : Focus ทุกรุ่ นตั้งแต่ปี 2005, Escape 3.0 L ตั้งแต่ปี 2005 - Honda : Accord, CR-V, Civic, City รุ่ นปี 2008 - Mazda : Mazda 3 - Mitsubishi : New Space Wagon minor change - Nissan : Tiida, Teana รุ่ นปี 2008 - Toyota : Camry, New Altis, New Vios รุ่ นปี 2008
เรื่องน่ ารู้เกีย่ วกับ E20 3.รถทีใ่ ช้ แก๊สโซฮอล์ อยู่ในปัจจุบันจะเปลีย่ นไปใช้ E 20 ได้ หรือไม่ รถที่จะใช้ E 20 ได้ ต้องเป็ นรถที่ออกแบบมาเฉพาะ โดยมีการพัฒนาอุปกรณ์ ำ นเชื้อเพลิงให้เหมาะสม เพื่อรองรับส่ วนผสมของเอทา บางอย่างในระบบน้ามั นอลที่สูงกว่าร้อยละ 10 ทั้งนี้เนื่องจากปริ มาณเอทานอลที่สูงขึ้นเป็ นร้อยละ 20 ในแก๊สโซฮอล์ E 20 นั้น จะส่ งผลถึงความสามารถในการกัดกร่ อนยาง และโลหะ หรื อทองแดง ใน ำ นในเครื่ องยนต์ ระบบเก็บส่ งน้ามั
เรื่องน่ ารู้เกีย่ วกับ E20 3.รถทีใ่ ช้ แก๊สโซฮอล์ อยู่ในปัจจุบันจะเปลีย่ นไปใช้ E 20 ได้ หรือไม่ ำ นโดยตรง เช่น ถังน้ามั ำ น ท่อส่ ง จากการศึกษาพบว่าชิ้นส่ วนที่สมั ผัสกับน้ามั ำ น หัวฉีด คาบูเรเตอร์ ที่ทาำ จากโลหะ ทองเหลือง ทองแดง ยาง พลาสติก รวม น้ามั ถึงระบบสมองกล ECU จำาเป็ นต้องปรับเปลี่ยนให้เหมาะสม ปัจจุบนั มีค่ายรถยนต์เพียงรายเดียวที่ออกแบบชิ้นส่ วนให้รองรับการใช้ E 20 ได้แก่ ฟอร์ด โฟกัส โดยปรับเปลี่ยนโลหะบางชนิดมาใช้สเตนเลสแทน ซึ่ง ทนทานกว่า และคาดว่าในปี นี้ ค่ายรถยนต์อื่นๆ จะเปิ ดตัวรถยนต์ที่รองรับการใช้ E 20 หลังรัฐบาลให้การสนับสนุนมาตรการด้านภาษีกบั รถยนต์ที่ใช้เชื้อเพลิง แก๊สโซฮอล์ E 20 ในปี 2551
เรื่องน่ ารู้เกีย่ วกับ E20 4.มีประเทศไหนบ้ างทีใ่ ช้ น้ำามัน E 20 มีหลายประเทศใช้เอทานอลผสมในสัดส่ วน 15% - 100% (E15-E100) เช่น บราซิล, อเมริ กา, สวีเดน, อาร์เจนตินา เป็ นต้น 5.ในเมืองไทยสามารถเติม E 20 ได้ ทไี่ หนบ้ าง ำ นแก๊สโซฮอล์ E 20 ปัจจุบนั มีอยูท่ ้ งั สิ้ น 18 แห่ง โดยเป็ น สถานีบริ การน้ามั ของ บางจาก 5 แห่ง และของ ปตท อีก 12 แห่ง
เรื่องน่ ารู้เกีย่ วกับ E20 สถานีบริการน้ำ ามัน บางจาก ทีจ่ ำาหน่ าย E20 5 สถานี - สาขาสุขาภิบาล 1 - สาขาเกษตร - สาขาคู่ขนานรามอินทรา-อาจณรงค์ 2 - สาขาเอกมัย - สาขาพระราม 3
เรื่องน่ ารู้เกีย่ วกับ E20 สถานีบริการน้ำ ามันปตท. ทีจ่ ำาหน่ าย “ พีทที ี E20 พลัส ” 12 สถานี - สาขาทางด่วนบางนาขาออก(สุขมุ วิท 62) - สาขาบางบอน - สาขากรมช่างอากาศ - สาขาการท่าอากาศยาน 2 (ดอนเมือง)
- หจก. ศรี เจริ ญภัณฑ์ (วิภาวดี) - บจก. เกษตรนวมินทร์ปิโตรเลียม - บจก. ที.3 เจ. (ราชพฤกษ์) - สาขาองค์การแบตเตอรี่
ำ น (รามอินทรา) - บจก. ปิ โตรเลียมน้ามั - สาขาสำานักงานใหญ่
- หจก. สุวจั ชัยออยล์ (ประชาชื่น) - บจก.นาคสวัสดิ์
เรื่องน่ ารู้เกีย่ วกับ E20 6.อัตราภาษีสรรพสามิตรถยนต์ E20 กระทรวงการคลังได้ออกประกาศ เรื่ อง ลดอัตราภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ 80) เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2550 (เอกสารแนบ 2) และมีผลบังคับใช้ต้ งั แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2551 โดยลดอัตราภาษีสรรพสามิตรถยนต์ที่สามารถใช้เชื้ อเพลิง ำ นเชื้อเพลิง ดังนี้ ประเภทเอทานอลไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 20 เป็ นส่ วนผสมกับน้ามั - รถยนต์ที่มีความจุกระบอกสูบไม่เกิน 2,000 ลบ.ซม. และมีกาำ ลังเครื่ องยนต์ ไม่เกิน 220 แรงม้า จากอัตราภาษีที่จดั เก็บในปัจจุบนั ร้อยละ 30 (ซึ่ งมีเพดานภาษีร้อยละ 50) ลดลงเหลือร้อยละ 25
เรื่องน่ ารู้เกีย่ วกับ E20 - รถยนต์ที่มีความจุกระบอกสูบเกิน 2,000 ลบ.ซม. แต่ไม่เกิน 2,500 ลบ.ซม. และมีกาำ ลังเครื่ องยนต์ไม่เกิน 220 แรงม้า จากอัตราภาษีที่จดั เก็บในปั จจุบนั ร้อย ละ 35 (ซึ่งมีเพดานภาษีร้อยละ 50) ลดลงเหลือร้อยละ 30 - รถยนต์ที่มีความจุกระบอกสูบเกิน 2,500 ลบ.ซม. แต่ไม่เกิน 3,000 ลบ.ซม. และมีกาำ ลังเครื่ องยนต์ไม่เกิน 220 แรงม้า จากอัตราภาษีที่จดั เก็บในปั จจุบนั ร้อย ละ 40 (ซึ่งมีเพดานภาษีร้อยละ 50) ลดลงเหลือร้อยละ 35 - รถยนต์ที่มีความจุกระบอกสูบเกิน 3,000 ลบ.ซม. หรื อมีกาำ ลังเครื่ องยนต์เกิน 220 แรงม้า จัดเก็บคงเดิมในอัตราภาษีจดั เก็บในปัจจุบนั ร้อยละ 50
เรื่องน่ ารู้เกีย่ วกับ E20 7.รถยนต์ ทจี่ ะใช้ อตั ราภาษีสรรพสามิตรถยนต์ ใหม่ นี้ จะต้ องมีคุณลักษณะ ครบถ้ วนทุกข้ อดังนี้
1. เป็ นรถยนต์ที่ถกู ออกแบบและผลิต ให้ใช้เชื้ อเพลิงประเภทเอทานอลไม่นอ้ ยกว่าร้อย ำ นเชื้อเพลิงได้ และต้องผลิตโดยโรงงานอุตสาหกรรมที่ผลิต ละ 20 เป็ นส่ วนผสมกับน้ามั รถยนต์รุ่นนั้นๆ โดยตรง 2. มีการรับประกันจากผูผ้ ลิตว่าสามารถใช้เชื้อเพลิงประเภทเอทานอลไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ ำ นเชื้อเพลิงได้ 20 เป็ นส่ วนผสมกับน้ามั 3. ต้องได้รับการรับรองมาตรฐานมลพิษจากสำานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ำ าระดับ มอก. 2160-2546 (สมอ.) ไม่ต่ากว่
เรื่องน่ ารู้เกีย่ วกับ E20 8.มาตรฐานน้ำ ามันแก๊สโซฮอล์ E20 ตามประกาศของกรมธุรกิจพลังงานเรื่ อง กำาหนดลักษณะและคุณภาพของ ำ นแก๊สโซฮอล์ พบว่าคุณภาพของน้ามั ำ นแก๊สโซฮอล์ E 20 นั้น แทบจะไม่ได้ น้ามั ำ นแก๊สโซฮอล์ E10 มีค่าเพียง 3 ค่าที่แตกต่างกันคือ แตกต่างจากน้ามั 1. อุณหภูมิการกลัน่ 2. ความดันไอสู ง 3. ปริ มาณผสมเอทานอล
เรื่องน่ ารู้เกีย่ วกับ E20 9.ประโยชน์ ของการใช้ น้ำามันแก๊สโซฮอล์ E 20 ต่ อผู้บริโภค
1. ผูบ้ ริ โภคได้ใช้นามั ้ ำ นเบนซิ นออกเทน 95 ในราคาถูกลงกว่าลิตรละ 5 บาท 2. ราคารถยนต์ที่ใช้ E20 ถูกลงจากการลดภาษีสรรพสามิตประมาณคันละ 5 หมื่น -1 แสนบาท
10.ข้ อดีของการใช้ น้ำามันแก๊สโซฮอล์
ำ นเบนซินปกติ จึงช่วยเพิม่ กำาลังและ 1. การเผาไหม้ของ E 20 สมบูรณ์กว่าน้ามั แรงบิดของเครื่ องยนต์ 2. การใช้แก๊สโซฮอล์ E 20 ช่วยลดการปล่อยแก๊สเรื อนกระจกกว่าร้อยละ 30 3. ช่วยพยุงราคาพืชผล(มันสำาปะหลัง) ซึ่งเป็ นวัตถุดิบสำาคัญในการผลิตเอทานอล ำ นเบนซิน 4. ลดการนำาเข้าน้ามั
เรื่องน่ ารู้เกีย่ วกับ E20 FFV (Flexible Fuel Vehicle) เป็ นรถยนต์ที่ได้รับการออกแบบให้มีระบบเซ็นเซอร์สาำ หรับตรวจสอบ ำ นเบนซิน และสามารถใช้นามั อัตราส่ วนผสมของเอทานอลกับน้ามั ้ ำ นที่มีส่วน ผสมของเอทานอลในอัตราส่ วนต่างๆ ( E15 – E100)ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ำ น ท่อจ่าย รถยนต์ FFV ได้มีการปรับเปลี่ยนวัสดุระบบเชื้ อเพลิง เช่น ถังน้ามั ำ น และหัวฉี ดน้ามั ำ น ให้ทนต่อการกัดกร่ อนของเอทานอลได้ ซึ่งโดยรวมแล้ว น้ามั ระบบต่างๆ ของรถยนต์ FFV แทบจะไม่แตกต่างจากรถยนต์ทวั่ ไป
เรื่องน่ ารู้เกีย่ วกับ E20 เพิ่มเติมเรื่ องอื่นๆ
- ความคืบหน้าเพิ่มเติม เกี่ยวกับสถานการณ์นามั ้ ำ นแก็สโซฮอล์ที่มีส่วนผสม ของเอทานอล 85% หรื อ E85 โดยปัจจุบนั กำาลังอยูใ่ นขั้นตอนการวิจยั ของ บางจาก และมีแนวโน้มสู งที่จะสามารถนำามาใช้ในประเทศไทยภายในปี 2552 นี้ ท่ามกลางการคัดค้านของบริ ษทั ผูผ้ ลิตรถยนต์หลายราย
- ยังไม่มีผผู ้ ลิตรถยนต์รายใด ให้การรับรองรถยนต์ที่ผลิตและจำาหน่ายก่อน ปี 2551 ว่าสามารถใช้นามั ้ ำ น E 20ได้ ยกเว้นฟอร์ดบางรุ่ น ำ นแก็สโซฮอล์ E 20 ในปัจจุบนั จะถูกกว่าเบนซิ น 95 อยูถ่ ึง 6 บาท - ราคาน้ามั โดยจะมีผลถึงวันที่ 31 มีนาคม 2551 นี้
ปัญหาจาก E20 ำ นเบนซิน เช่น เนื่องจาก เอทานอลคือแอลกอฮอล์บริ สุทธิ์ มีคุณสมบัติเด่นที่ต่างจากน้ามั ำ าน้ามั ำ นทำาให้มีแรงดันไอมากกว่า ซึ่ งจะมีปัญหากับรถบาง จุดเดือดของแอลกอฮอล์จะต่ากว่ ำ นติดตั้งห่างจากตัวเครื่ องยนต์มากเกิน รุ่ น โดยเฉพาะรถรุ่ นเก่าที่ใช้คาร์บิวเรเตอร์ ที่มีถงั น้ามั ไป หรื อรถยนต์ที่มีขนาดของท่อเชื้อเพลิงที่เล็กเกินไป อาจมีผลทำาให้แอลกอฮอล์ที่อยูใ่ นท่อ เชื้อเพลิงเปลี่ยนสภาพจากของเหลวเป็ นไอได้ง่าย เนื่องจากความฝื ดของท่อมีมาก ส่ งผล ำ ให้การหมุนของเครื่ องยนต์มีความเร็ วรอบไม่สม่าเสมอ เครื่ องจะกระตุกหรื อดับในบางช่วง
ปัญหาจาก E20 นอกจากนี้ แอลกอฮอล์ยงั มีคุณสมบัติการกัดกร่ อนสูง ยิง่ สัดส่ วนของแอลกอฮอล์ใน ำ นมากขึ้นจะยิง่ เพิม่ คุณสมบัติการกัดกร่ อนให้เพิ่มมากขึ้นด้วย ซึ่งสามารถกัดกร่ อนยาง น้ามั ำ นไป พลาสติกบางชนิด และโลหะประเภททองเหลือง ทองแดง และอาจส่ งผลให้ท่อส่ งน้ามั ำ นเกิดการผุกร่ อนจนทะลุได้ภายในระยะเวลาประมาณ ครึ่ งปี – 1 ปี จนถึงถังน้ามั
ปัญหาจาก E20 สำาหรับผูท้ ี่ใช้ แก็สโซฮอล์ E10 แล้วยังมีปัญหา ส่ วนใหญ่จะเป็ นกลุ่มผูใ้ ช้รถที่มกั จะจอด ำ นเกิดการแยกตัวออกจากกัน รถทิ้งไว้นานๆ ไม่ได้ใช้รถเป็ นประจำา ทำาให้แอลกอฮอล์กบั น้ามั เพราะ ทิ้งไว้เป็ นเวลานานเกินไป แอลกอฮอล์ซ่ ึ งมีนาหนั ้ ำ กเบากว่าจะลอยอยูด่ า้ นบน เมื่อมีการใช้รถ เชื้อเพลิงที่ถกู สูบเข้าไปในห้องเครื่ องจะไม่ใช่นามั ้ ำ นแก๊สโซฮอล์ แต่จะ เป็ นแอลกอฮอล์ที่มีความเข้มข้นสู งมากหรื อเทียบได้กบั การใช้แอลกอฮอล์ลว้ น ๆ เป็ นเชื้อ เพลิง ทำาให้เกิดปัญหากับระบบเผาไหม้ของเครื่ องยนต์
ทีม่ าของข้ อมูล - บริ ษทั บางจากปิ โตเลียม จำากัด(มหาชน) - บริ ษทั ปตท. จำากัด(มหาชน) - สำานักนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน - หนังสื อพิมพ์ กรุ งเทพธุรกิจ - หนังสื อพิมพ์ ไทยรัฐ - หนังสื อพิมพ์ ฐานเศรษฐกิจ - เว็บไซท์ ไทยแลนด์ อินดัสตรี ดอทคอม * ข้อมูลจากแหล่งที่เชื่อถือได้