คู่มือ Q4 MM ปี 2552

Page 1

สายงานประสิทธิผลองคกร


คํานํา เกณฑคุณภาพ TOT Q 4 Maturity Model เลมนี้จดั ทําขึ้น เพื่อใหผูบริหารสวนงานและ ผูปฏิบัติงานภายใน บมจ. ทีโอที นําไปใชเปนแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงงานและยกระดับคุณภาพ การบริหารจัดการสวนงานที่รับผิดชอบ เพื่อใหมีกระบวนการการบริหารจัดการและการปฏิบัติงาน ภายในสวนงานที่ดําเนินการอยางเปนระบบ และมีมาตรฐานการทํางานที่ดีเทียบเทาหรือดีกวามาตรฐาน คุณภาพที่บริษัทกําหนดขึ้น ซึ่งใชชื่อเรียกวา TOT Q 4 Maturity Model โดยมีมาตรฐานคุณภาพ 3 ระดับ คือ ระดับ C, B และ A เกณฑคุณภาพ TOT Q 4 Maturity Model ไดถูกพัฒนาออกแบบขึ้นมาเพื่อใชเปนมาตรฐาน ในการรับรองคุณภาพการบริหารจัดการสวนงานภายใน ทีโอที และสงเสริมกระตุน ใหทุกคนในองคกร ตระหนักถึงความสําคัญและประโยชนของการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพงาน กระบวนการทํางาน และ ระบบงานที่อยูในความรับผิดชอบใหมีการเพิ่มประสิทธิภาพ/ประสิทธิผลในกระบวนการสําคัญและทํา ใหเกิดผลลัพธทมี่ ีคุณภาพที่ดียิ่งขึ้นอยางตอเนื่อง เกณฑคุณภาพ TOT Q 4 Maturity Model ป 2552 ไดปรับปรุงจากเกณฑที่ประกาศใชในป 2551 เฉพาะในสวนของ Q4 (QUALITY OF RISK MANAGEMENT) เทานัน้ โดย สย. ไดทบทวน ปรับปรุงขอกําหนดของเกณฑคุณภาพดานการจัดการความเสี่ยงใหมีความเหมาะสมกับการดําเนินการ ของทุกสวนงานภายใน ทีโอที และสอดรับกับเกณฑการประเมินผลของทริสในระดับ 4-5 สายงานประสิทธิผลองคกร ขอขอบพระคุณ รศ. รัชตวรรณ กาญจนปญญาคม และ นายแพทยสิทธิศักดิ์ พฤกษปต ิกุล ทีไ่ ดใหคําปรึกษาแนะนําหลักการ แนวคิด และวิธีการในการพัฒนา และจัดทําเกณฑคุณภาพ TOT Q 4 Maturity Model เลมนี้ พรอมทั้งขอขอบพระคุณรองกรรมการ ผูจัดการใหญสายงานประสิทธิผลองคกร (นายกิตติพงศ เตมียะประดิษฐ) ที่ไดใหนโยบายและสงเสริม สนับสนุนการดําเนินการในการนี้ ตลอดจนคณะกรรมการบริหารจัดการคุณภาพของ ทีโอที ผูบริหาร และพนักงาน บมจ. ทีโอที ทุกทานทีไ่ ดเสียสละเวลาในการเขามามีสวนรวมในการใหขอคิดเห็นที่เปน ประโยชนตอการพัฒนามาตรฐานของเกณฑคุณภาพระบบการบริหารจัดการของ ทีโอที หวังเปนอยางยิ่งวา เกณฑคุณภาพ TOT Q 4 Maturity Model เลมนี้ จะเปนประโยชนตอ ผูบริหารและพนักงาน ทีโอที ที่นําไปใชงาน หากมีขอเสนอแนะและขอคิดเห็นประการใด โปรดแจงมา ไดที่สวนพัฒนาองคกร ฝายพัฒนาองคกรและประเมินผล สํานักกลยุทธ สายงานประสิทธิผลองคกร

สายงานประสิทธิผลองคกร


สายงานประสิทธิผลองคกร มีนาคม 2552

สารบัญ หนา 1 ความเปนมา

1

2 คํานิยาม

1

3 วัตถุประสงค

2

4 ระดับคุณภาพของ TOT Q 4 Maturity Model

2

5 ขอกําหนดหลักโดยยอของเกณฑคุณภาพ TOT Q 4 Maturity Model

3

6 รายละเอียดขอกําหนดมาตรฐานระดับคุณภาพของ Q 4 Maturity Model

4

·

·

·

·

Q1 (QUALITY OF STRATEGIC MANAGEMENT) - Level C - Level B - Level A

5-7 5 6

Q2 (QUALITY OF PERFORMANCE MANAGEMENT) - Level C - Level B - Level A

8-13 8 10 12

Q 3 (QUALITY OF PROCESS MANAGEMENT) - Level C - Level B - Level A

14-18 14 16 18

Q4 (QUALITY OF RISK MANAGEMENT) - Level C - Level B

19-23 19 21

7

สายงานประสิทธิผลองคกร


- Level A

23

เกณฑคุณภาพ TOT Q 4 Maturity Model 1. ความเปนมา บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) ตองเรงปรับเปลี่ยนกลยุทธและกระบวนการบริหารจัดการภายใน องคกรใหเกิดพลังในการขับเคลื่อนธุรกิจ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในสภาพแวดลอม ของการเปดเสรีในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมที่มีการแขงขันอยางรุนแรง และเพื่อใหบรรลุพันธกิจของ บริษัทซึง่ มุงเนนการตอบสนองความตองการของลูกคากลุมตางๆ และประชาชนผูรับบริการ จึงเปนความจําเปนที่ บมจ. ทีโอที จะดําเนินการพัฒนาองคกรอยางจริงจัง เพื่อมุงสูการเปน องคกรแหงคุณภาพที่มรี ากฐานทีม่ ั่นคงและพัฒนาไปสูก ารเปนองคกรแหงการเรียนรูและนวัตกรรมตอไป โดยการสรางระบบคุณภาพที่เขมแข็งภายในองคกรเปนตัวชี้วัดผลการดําเนินการที่สําคัญในการขับเคลื่อน ใหองคกรมีวิธีปฏิบัตแิ ละผลลัพธทางธุรกิจที่เปนเลิศพรอมทัง้ มีศกั ยภาพในการแขงขันทางธุรกิจ ดังนั้น บริษัทจึงไดกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาการบริหารจัดการองคกร โดยนําเกณฑรางวัลคุณภาพ แหงชาติ (Thailand Quality Award : TQA) มาใชเปนกรอบแนวทางในการพัฒนาองคกรและไดกําหนด เปาหมายการยกระดับคุณภาพขององคกร โดยเทียบเคียงกับการไดคะแนนประเมินองคกรตามเกณฑ TQA ป 2554 มากกวา 351 คะแนนขึ้นไปหรือเทียบเทากับการไดรับรางวัลการบริหารจัดการที่เปนเลิศ (Thailand Quality Class : TQC) สายงานประสิทธิผลองคกร ไดทําการศึกษาการประยุกตใชกรอบการบริหารจัดการของเกณฑรางวัล คุณภาพแหงชาติ (Thailand Quality Award : TQA) โดยมีที่ปรึกษาคือ รศ. รัชตวรรณ กาญจนปญญาคม และนายแพทยสิทธิศักดิ์ พฤกษปติกุล ซึ่งเปนผูทรงคุณวุฒิที่มีความรอบรูที่ดใี นเกณฑ TQA ไดให คําแนะนําในการพัฒนาและจัดทําเกณฑคุณภาพ TOT Q 4 Maturity Model เพื่อใชเปนเครื่องมือในระบบ คุณภาพของ ทีโอที เปนกลยุทธในการพัฒนาองคกร และเปนกลไกในการบูรณาการกระบวนการที่สําคัญ ๆ ภายในองคกรใหทํางานอยางเปนระบบ เสริมสรางใหเกิดการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพงานอยางตอเนื่อง และชวยผลักดันขับเคลื่อนใหมกี ารยกระดับการเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของทุกสวนงานใหดียงิ่ ขึ้น อยางเปนรูปธรรม 2. คํานิยาม เกณฑคุณภาพ TOT Q 4 Maturity Model คือ ขอกําหนด/มาตรฐานการปฏิบัติงานที่ใชกับทุกสวน งานภายใน บมจ. ทีโอที โดยครอบคลุมระบบการบริหารจัดการภายในสวนงานทุกระดับ 4 ระบบ คือ 1. ระบบการบริหารจัดการกลยุทธ สายงานประสิทธิผลองคกร


2. ระบบการบริหารจัดการผลการดําเนินงาน 3. ระบบการบริหารจัดการกระบวนการ 4. ระบบการบริหารจัดการความเสี่ยง 3. วัตถุประสงค เกณฑคุณภาพ TOT Q 4 Maturity Model พัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนขอกําหนดหรือมาตรฐานในการ ใหการรับรองคุณภาพของการระบบการบริหารจัดการภายในสวนงานของบริษทั ทีโอที จํากัด (มหาชน) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ 1. เสริมสรางใหเกิดการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการทํางานภายในทุกสวนงานอยางเปนระบบ และใชขอมูลจริงในการวิเคราะหปญหาและแกไขปรับปรุงคุณภาพงานอยางตอเนื่อง 2. กระตุนใหเกิดการเรียนรูและแลกเปลี่ยนวิธีการปฏิบัติงานภายในบริษัท 3. สนับสนุนและสงเสริมการพัฒนาปรับปรุงคุณภาพระบบการปฏิบัติงานทั่วทั้งองคกรที่จะ ทําใหเกิดการคิดคนนวัตกรรมทัง้ ดานผลิตภัณฑ/บริการและกระบวนการทํางานที่เปนวิธี ปฏิบัติที่เปนเลิศ (Best Practices) 4. สรางระบบการประกันคุณภาพสวนงานภายในองคกรใหมีมาตรฐานคุณภาพการปฏิบัติงาน ที่สอดคลองกับนโยบาย ยุทธศาสตร และกฏ ระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของกับบริษัท 4. ระดับคุณภาพของ TOT Q 4 Maturity Model ขอกําหนดมาตรฐานทีใ่ ชในการพิจารณาและตัดสินใหการรับรองคุณภาพระบบการบริหารจัดการ ของสวนงานภายในบริ ษัท ทีโ อที จํากัด (มหาชน) ทั้ ง 4 ระบบตามขอบเขตงานที่ กลาวในขอ 2 มี 3 ระดับ โดยมีขอกําหนดหลักที่สําคัญโดยรวมของเกณฑคุณภาพ TOT Q 4 Maturity Model ดังนี้

ระดับ A : มีระบบและกลไก มีการมอบหมาย ผูรับผิดชอบไปถึงระดับศูนยและพนักงาน มีการเก็บขอมูล มีการวิเคราะห มีการแกไข ปรับปรุงใหดีขึ้น เพื่อเพิ่มมูลคาองคกร ระดับ B : มีระบบและกลไก มีการกระจายกระบวนการและมอบหมายไป ยังผูรับผิดชอบในระดับสวน มีการเก็บขอมูล และมีการวิเคราะห ระดับ C : มีระบบและกลไก มีการมอบหมายผูรับผิดชอบ และมีการทบทวนในระดับฝาย สายงานประสิทธิผลองคกร

1


5. ขอกําหนดหลักโดยยอของเกณฑคุณภาพ TOT Q 4 Maturity Model ในระดับ C, B, A Q 4

2

Maturity Level

C

B

Q1 · ดําเนินการตามระบบคุณภาพการ · ดําเนินการตามระบบคุณภาพ จัดการกลยุทธในระดับฝาย

การจัดการกลยุทธในระดับฝาย และสวน

A · ดําเนินการตามระบบคุณภาพ การจัดการกลยุทธในระดับฝาย/ สวนและลงถึงรายบุคคล

Q2 · ดําเนินการตามระบบคุณภาพการ · ดําเนินการตามระบบคุณภาพ จัดการผลการดําเนินงานในระดับ ฝาย

Q3 · ดําเนินการตามระบบคุณภาพการ จัดการกระบวนการ โดยกําหนด กระบวนการที่สําคัญ และมีตัวชี้วัด ในกระบวนการและตัวชี้วัดผลลัพธ ของกระบวนการสําคัญ · มีการปฏิบัติงานตามคูมือการ ปฏิบัติงานของกระบวนการสําคัญ

Q4 · ดําเนินการตามระบบคุณภาพการ

· ดําเนินการตามระบบคุณภาพ การจัดการผลการดําเนินงานใน การจัดการผลการดําเนินงานใน ระดับฝายและสวน ระดับฝาย/สวนและลงถึง รายบุคคล · ดําเนินการตามระบบคุณภาพ · ดําเนินการตามระบบคุณภาพการ การจัดการกระบวนการ Level C จัดการกระบวนการ Level Bโดยมี โดยมีการจัดเก็บขอมูลของ การติดตามคุณภาพภายใน ตัวชี้วัดในกระบวนการและ กระบวนการสําคัญอยางเปน ตัวชี้วัดผลลัพธของกระบวนการ รูปธรรมและสม่ําเสมอ เพื่อใชในการวิเคราะหและ · มีผลลัพธจากการดําเนินงานใน ปรับปรุงคุณภาพของ กระบวนการสําคัญที่ดียิ่งขึ้น กระบวนการสําคัญ กวาเดิม · มีการดําเนินงานกิจกรรมปรับปรุง คุณภาพผลการดําเนินงานของ กระบวนการสําคัญ · ดําเนินการตามระบบคุณภาพ · ดําเนินการตามระบบคุณภาพการ การจัดการความเสี่ยง Level C จัดการความเสี่ยง Level B

จัดการความเสี่ยง โดยสื่อสาร TOT Risk Map & Risk Plan ใหกับ · มีแผนการจัดการความเสี่ยงที่ · มีการประเมินและจัดการความเสี่ยง พนักงานในฝาย/สวน สําคัญของฝายและมีการกําหนด ตามเกณฑ ก ารประเมิ น ผลของ ทริ ส ในระดั บ 4-5 ตามตั ว ชี้ วั ด · มีการวิเคราะห คนหา บงชี้ปจจัยเสี่ยง Key Risk Indicator โอกาสเกิดและผลกระทบเพื่อประเมิน เรื่ อ งการบริ ห ารความเสี่ ย งเพื่ อ · มีการดําเนินการ ติดตามทบทวน ระดับความรุนแรงและจัดลําดับ เ พิ่ ม มู ล ค า อ ง ค ก ร ( Value และรายงานผลการดําเนินการ ความเสี่ยงที่สําคัญของฝายที่ Creation) และปลู ก ฝ ง ให ก าร ตามแผนการจัดการความเสี่ยงที่ สอดคลองกับ TOT Risk Map / Risk บริ ห ารความเสี่ ย งเปนส ว นหนึ่ ง สําคัญและตาม Key Risk Indicator Plan และวัตถุประสงค/เปาหมาย/ ของวัฒนธรรมในการสรางสรรค · มีการปรับปรุงเพื่อใหการ กระบวนการที่สําคัญของฝาย มูลคาใหแกองคกร ดําเนินการตามแผนการจัดการ รวมถึงความตองการ/ขอรองเรียน สายงานประสิทธิผลองคกร


ของลูกคา · มีการสื่อสารและสรางความเขาใจ เกี่ยวกับความเสี่ยงที่สําคัญของ ฝายใหกับพนักงานอยางทั่วถึง

ความเสี่ยงบรรลุเปาหมายการ จัดการความเสี่ยงใหอยูในระดับ ที่ยอมรับได

รายละเอียด ขอกําหนดมาตรฐานระดับคุณภาพ C, B, A ของ TOT Q 4 Maturity Model

สายงานประสิทธิผลองคกร


ขอกําหนดมาตรฐานระดับคุณภาพระบบการบริหารจัดการของ Q 4 Maturity Model ป 2552 QUALITY MANAGEMENT MATURITY MODEL : Q1 (QUALITY OF STRATEGIC MANAGEMENT) คุณภาพของการจัดการเชิงกลยุทธ

กิจกรรมที่คาดหวัง

ตัวชี้วดั /หลักฐานแหงความสําเร็จ

Q1 Level C · มีการถายทอดวิสัยทัศน พันธกิจ คานิยมของ

องคกรอยางทั่วถึงภายในฝาย · มีการสื่อสารยุทธศาสตร แผนที่กลยุทธ (Strategy Map) ตามหลักการ Balanced Scorecard และ เปาหมายขององคกรอยางทั่วถึงภายในฝาย

· กําหนดกลไกที่ใชสําหรับการสื่อสารภายในฝาย · ดําเนินการสื่อสาร ตามกลไกที่กําหนด เพื่อใหเกิดผลอยางเปนรูปธรรม

· อธิบายไดถึงกลไก/กระบวนการ(ขั้นตอน ผูรับผิดชอบ ความถี่)

· ดําเนินการตามแผนงานหลักเพื่อใหเกิดผลลัพธอยางเปนรูปธรรม

· รายงานผลการดําเนินการตามแผนงานหลักของฝาย

· ติดตาม วิเคราะห และประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการ

· มีหลักฐานการติดตาม ทบทวน วิเคราะหประสิทธิภาพและ

ดําเนินการตามแผนงานหลัก · ผูบริหารสวนงานและผูเกี่ยวของดําเนินการรวมกันในการทบทวนการ ปรับเปลี่ยนแผนงานหลักใหมีความเหมาะสมกับสถานการณทางธุรกิจ

ประสิทธิผลของการดําเนินการตามแผนงานหลัก และแนวทาง การพิจารณาเพื่อปรับเปลี่ยนแผนงานหลักระดับฝาย · แผนงานที่ปรับเปลี่ยนตามสถานการณ

ในการสื่อสารภายในฝาย และทั่วถึงภายในฝาย ประเด็นที่ตองสื่อสารประกอบดวย อยางนอย ..... · มีหลักฐานการดําเนินการสื่อสารตามกลไกที่กําหนด เชน การ * วิสัยทัศน พันธกิจ คานิยม ประชุม จดหมายขาวภายใน การสงขาวสารผาน e-mail ฯลฯ * ยุทธศาสตร แผนที่กลยุทธ (Strategy Map) เปาหมาย องคกร · บุคลากรทุกระดับสวนใหญรับทราบและเขาใจ · ผูบริหารทุกระดับมีสวนรวมในการสื่อสารตามกลไกที่กําหนด · มีการจัดทําแผนที่กลยุทธ (Strategy Map) ตาม · ผูบริหารสวนงาน (ผจก. และ ผส.) รวมกันดําเนินการตามกลไกที่ · อธิบายไดถึงกระบวนการ(ขั้นตอน ผูรับผิดชอบ ความถี่) ในการ หลักการ Balanced Scorecard และแผนงานหลั ก กําหนด เพื่อใหไดมาซึ่งแผนที่กลยุทธ (Strategy Map) เปาหมาย และ จัดทําแผนที่กลยุทธ (Strategy Map) เปาหมาย และแผนงาน พรอมเปาหมายระดั บ ฝ ายที่ ส อดคล อ งกั บ แผนงานหลักระดับฝายที่สอดคลองและสงเสริมความสําเร็จขององคกร หลักระดับฝาย ยุ ท ธศาสตร แ ละเป าหมายขององค กร (ดําเนินการตามคูมือปฏิบัติงานการจัดการกลยุทธ) · มีแผนที่กลยุทธ (Strategy Map) เปาหมาย และแผนงานหลัก ระดับฝาย · มีการสื่อสารแผนที่กลยุทธ (Strategy Map) แผนงาน · ดําเนินการสื่อสาร แผนที่กลยุทธ เปาหมาย และแผนงานหลักระดับฝาย · บุคลากรสวนใหญรับทราบและเขาใจแผนที่กลยุทธ (Strategy หลักและเปาหมายระดับฝายอยางทั่วถึงภายในฝาย ตามกลไกที่กําหนด เพื่อใหเกิดผลอยางเปนรูปธรรมและทั่วถึงภายในฝาย Map) เปาหมายและแผนงานหลักของฝาย · มีการดําเนินการตามแผนงานหลักอยางมี

ประสิทธิผล · มีการติดตามและทบทวนผลการดําเนินงานตาม

แผนงานหลักเพื่อใหบรรลุเปาหมายของฝาย

5


คุณภาพของการจัดการเชิงกลยุทธ

กิจกรรมที่คาดหวัง

ตัวชี้วดั /หลักฐานแหงความสําเร็จ

Q1 Level B · มีการถายทอดแผนงานหลักและเปาหมาย ระดับ

· มีกลไกการถายทอดและจัดทํากลยุทธ เปาหมายตามแผนงานหลักของ

· มีกลไกที่เปนรูปธรรม เปนระบบ

ฝายลงสูระดับสวน เพื่อการวางแผนเชิงกลยุทธ ฝายไปจนถึงหนวยงานระดับ “สวน” อยางเปนระบบ และจัดทําแผนปฏิบัติการของหนวยงานระดับสวน · มีการดําเนินการถายทอด จัดทํากลยุทธ เปาหมาย และแผนงานของ · หนวยงานระดับสวนกําหนดแผนกลยุทธและจัดทํา หนวยงานระดับ “สวน” อยางเปนรูปธรรมและทั่วถึง แผนปฏิบัติการที่สอดคลองกับแผนที่กลยุทธ · ผูบริหารทุกระดับมีสวนรวมในการดําเนินการอยางสม่ําเสมอ (Strategy Map) ของฝายตามเปาหมายที่ไดรับการ ถายทอดมาจากฝาย

· มีหลักฐานการดําเนินการอยางเปนรูปธรรม

· มีการมอบหมายบทบาทหนาที่ที่ชัดเจนในการ

· มีหลักฐานการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการเหลานั้นในทุก

บรรลุเปาหมายของหนวยงานระดับสวน · มีการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการหนวยงาน

· มีผูรับผิดชอบกิจกรรมการดําเนินงานและเปาหมายตามแผนปฏิบัติการ

ของหนวยงานระดับ “สวน” อยางเปนรูปธรรม

· หนวยงานระดับสวนทุกหนวยงานมีการจัดทํากลยุทธ เปาหมาย

และแผนงานที่สอดรับกับระดับฝาย · บุคลากรสวนใหญในหนวยงานระดับสวนรับทราบและเขาใจ

กลยุทธ เปาหมาย และแผนงานเหลานั้น

หนวยงานระดับสวน

· ผูบริหารทุกระดับมีสวนรวมในการดําเนินการอยางสม่ําเสมอ

ระดับสวนอยางมีประสิทธิผล · มีการติดตามและทบทวนผลการดําเนินงานตาม

แผนปฏิบัติการเพื่อใหบรรลุเปาหมายของ หนวยงานระดับสวน

· มีการติดตาม วิเคราะห และทบทวนประสิทธิภาพ/ประสิทธิผลของการ

ดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการของหนวยงานระดับสวน รวมทั้งพิจารณา การปรับเปลี่ยนแผนงาน/กิจกรรมดําเนินการเพื่อใหบรรลุเปาหมายที่ตั้งไว

· มีหลักฐานการติดตาม ทบทวน วิเคราะหประสิทธิภาพและ

ประสิทธิผลของการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการ และการ พิจารณาเพื่อปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการระดับสวน · แผนปฏิบัติการที่ปรับเปลี่ยนใหมใหเหมาะสมกับสถานการณ

6


คุณภาพของการจัดการเชิงกลยุทธ

กิจกรรมที่คาดหวัง

ตัวชี้วดั /หลักฐานแหงความสําเร็จ

Q1 Level A · มีการถายทอดและจัดทําแผนกลยุทธและเปาหมาย · มีกลไกการถายทอดและจัดทํากลยุทธ เปาหมาย และแผนงานเปนลําดับ · มีกลไกที่เปนรูปธรรม เปนระบบ

เปนลําดับชั้นจากระดับฝายถึงหนวยงานระดับยอย ชั้นลงไปจนถึงระดับพนักงานรายคน อยางเปนระบบ สุดตามโครงสรางสวนงานของบริษัทลงไปจนถึง · มีการดําเนินการถายทอด จัดทํากลยุทธ เปาหมาย และแผนงานเปน ระดับพนักงาน ทําใหพนักงานทุกคนตระหนักใน ลําดับชั้นลงไปจนถึงระดับพนักงานอยางเปนรูปธรรมและทั่วถึง บทบาทหนาที่ของตนตอความสําเร็จขององคกร · มีการจัดทําแผนพัฒนาตนเองรายบุคคลเพื่อเพิ่ม

· มีการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคลอยางทั่วถึง เปนรูปธรรม

· มีหลักฐานการดําเนินการอยางเปนรูปธรรม · พนักงานสวนใหญรับทราบและเขาใจบทบาทของตนเองตอ

ความสําเร็จขององคกร · พนักงานสวนใหญมีการจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล

ศักยภาพในการบรรลุเปาหมายอยางทั่วถึง · มีการดําเนินการตามแผนพัฒนาตนเองใหเห็นเปน · มีการดําเนินการตามแผนงานพัฒนาตนเองเหลานั้นอยางเปนรูปธรรม

รูปธรรม และสม่ําเสมอ · มีการสรางบรรยากาศในสวนงานใหเอื้อตอ

ความสําเร็จตามกลยุทธและเปาหมายที่กําหนด

· พนักงานสวนใหญมีการดําเนินการตามแผน

สม่ําเสมอ · มีกลไกในการสรางบรรยากาศในหนวยงานใหเอื้อตอความสําเร็จ ตามกล

ยุทธและเปาหมายที่กําหนดอยางเปนระบบ

· พนักงานสวนใหญรูสึกฮึกเหิม ผูกพัน และมุงมั่นตอความสําเร็จ · ผูบริหารทุกระดับมีสวนรวมอยางเปนรูปธรรม

· ผูบริหารทุกระดับมีสวนรวมในการดําเนินการในการสรางบรรยากาศใน

หนวยงานใหเอื้อตอความสําเร็จตามกลยุทธและเปาหมายอยางสม่ําเสมอ เปนรูปธรรม · มีการสรางบรรยากาศในการทํางานที่ทําใหเกิด

คานิยมในสวนงานที่สอดคลองกับคานิยมของ องคกร มีการถือปฏิบัติตามกฎหมายและธรรมาภิ บาลที่ดี โดยผูนําของทุกระดับสวนงานแสดงให เห็นถึงการปฏิบัติตนที่เปนตนแบบที่ดีอยางมี ประสิทธิผล

· มีกลไกในการสรางคานิยม การถือปฏิบัติตามกฎหมาย และธรรมาภิบาล · พนักงานสวนใหญมีพฤติกรรมที่สอดคลองกับคานิยมองคกร

ที่ดีอยางเปนระบบ

และธรรมาภิบาลที่ดี

· ผูบริหารทุกระดับมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ที่เสริมสรางให

· ผูบริหารทุกระดับสวนงานมีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมตาง

เกิดคานิยมในสวนงานที่สอดคลองกับคานิยมขององคกร รวมถึงการ ปฏิบัติตามกฎหมาย และธรรมาภิบาลที่ดีอยางสม่ําเสมอ เปนรูปธรรม

ๆ ที่เสริมสรางใหเกิดพฤติกรรมในการทํางานตามคานิยมของ องคกรอยางเปนรูปธรรม

7


ขอกําหนดมาตรฐานระดับคุณภาพระบบการบริหารจัดการของ Q 4 Maturity Model ป 2552 QUALITY MANAGEMENT MATURITY MODEL : Q2 (QUALITY OF PERFORMANCE MANAGEMENT) คุณภาพของการจัดการผลการดําเนินงาน

กิจกรรมที่คาดหวัง

ตัวชี้วดั /หลักฐานแหงความสําเร็จ

Q2 Level C · มีการกําหนดตัวชี้วัดที่ชัดเจนในระดับฝาย โดยมี

การตั้งเปาหมายกํากับตัวชี้วัดทุกตัว

· มีการกําหนดแนวทางและวาระที่ชัดเจนในการ

ติดตามทบทวนผลการดําเนินงานระดับฝาย

· ผูบริหารสวนงาน (ผจก. และ ผส.) รวมกันดําเนินการตามกระบวนการ

· อธิบายไดถึงกระบวนการ(ขั้นตอน ผูรับผิดชอบ ความถี่) ในการ

และกลไกที่กําหนด เพื่อใหไดมาซึ่งตัวชี้วัดระดับฝายที่สอดรับและ สงเสริมความสําเร็จขององคกร โดยมีการกําหนดเปาหมาย (target) อยางชัดเจน(ดําเนินการตามคูมือปฏิบัติงานการจัดการผลการ ดําเนินงาน)

กําหนดตัวชี้วัดระดับฝายที่สอดรับและสงเสริมความสําเร็จของ องคกร

· ผูบริหารสวนงานและผูรับผิดชอบงานที่เกี่ยวของหารือรวมกันเพื่อ

กําหนดกลไก วาระและวัตถุประสงคในการติดตามทบทวนผลการ ดําเนินงานระดับฝาย เชน

· ตัวชี้วัดหลักที่สําคัญระดับฝาย

· มีหลักฐานและอธิบายไดถึงกลไกในการกําหนดวาระติดตาม

ทบทวนผลการดําเนินงานที่เปนรูปธรรม (ชองทาง/วิธีการ ผูรับผิดชอบที่เกี่ยวของ วัตถุประสงค และความถี่)

* ติดตามความสําเร็จเทียบกับเปาหมาย * ติดตามผลงานเทียบกับคาเปรียบเทียบ * ศึกษาแนวโนมของผลการดําเนินการที่ได * ติดตามความกาวหนาของแผนงาน * วิเคราะหหาโอกาสพัฒนา และนําสูการปรับปรุง * วิเคราะหการปฏิบัติที่ดี และนําสูการขยายผล * วิเคราะหความจําเปนในการปรับเปลี่ยนแผนงาน

8


คุณภาพของการจัดการผลการดําเนินงาน

กิจกรรมที่คาดหวัง

· มีการประชุมติดตามทบทวนผลการดําเนินงานใน

· ผูบริหารสวนงานและผูเกี่ยวของรวมกันทบทวนผลการดําเนินงานตาม

ระดับฝายตามกลไกและวัตถุประสงคที่กําหนด อยางสม่ําเสมอเพื่อเรียนรูและคนหา

กลไกและวัตถุประสงคที่กําหนด โดยมีการวิเคราะหขอมูลเพื่อคนหา

* โอกาสการพัฒนา * วิธีปฏิบัติที่ดี

* โอกาสพัฒนา (ปญหาอุปสรรคที่มีผลตอการบรรลุเปาหมายของฝาย

ซึ่งตองดําเนินการปรับปรุงแกไข) * วิธีปฏิบัติที่ดี (ผลงานที่เปนความสําเร็จของฝาย) เพื่อนําไป

ตัวชี้วดั /หลักฐานแหงความสําเร็จ · รายงานการประชุมติดตามและทบทวนผลการดําเนินงาน โดยมี

หลักฐานแสดงการวิเคราะหขอมูลที่พบ - ปญหาอุปสรรคจากการดําเนินงาน - ผลสําเร็จที่เกิดขึ้นที่เปนวิธีการปฏิบัติที่ดี ซึ่งควรนําไป แลกเปลี่ยนเรียนรูใหกับสวนงานอื่น

แลกเปลี่ยนการเรียนรูและขยายผล · มีการมอบหมายใหทําแผน/กิจกรรมปรับปรุงจาก

โอกาสพัฒนาที่พบ

· มีผูรับผิดชอบทําแผน/กิจกรรมปรับปรุงโอกาสพัฒนาอยางเปนรูปธรรม

เพื่อการบรรลุเปาหมายของฝาย

· มีการดําเนินการตามแผน/กิจกรรมพัฒนาปรับปรุง · มีการดําเนินการตามแผนพัฒนา/กิจกรรมปรับปรุงฯ ในระดับฝาย · มีการติดตามผลการปรับปรุงแกไขโอกาสพัฒนา

และเห็นความสําเร็จที่เปนรูปธรรมในระดับฝาย · (ถามี) มีการมอบหมายใหนํา “การปฏิบัติที่ดี” ไป

จัดทําแผนพัฒนาเพื่อขยายผลในระดับฝาย · (ถามี) มีการดําเนินการตามแผนพัฒนาการขยาย

ผล · (ถามี) มีการติดตามผลการดําเนินการขยายผล

· มีการติดตามผลการดําเนินการตามแผน/กิจกรรมปรับปรุงอยางเปน

· มีแผน/กิจกรรมเพื่อปรับปรุงโอกาสพัฒนาที่พบจากการทบทวน

ผลการดําเนินงานในระดับฝาย · มีหลักฐานแสดงผลการดําเนินการตามแผน/กิจกรรมเพื่อการ

พัฒนาปรับปรุงในระดับฝาย

รูปธรรม สม่ําเสมอ · มีผูรับผิดชอบทําแผน/กิจกรรมเพื่อขยายผล “การปฏิบัติที่ดี” อยางเปน

รูปธรรมในระดับฝาย · มีการดําเนินงานตามแผน/กิจกรรมขยายผล · มีการติดตามผลการดําเนินการตามแผน/กิจกรรมขยายผลวิธีการปฏิบัติที่

· มีแผน/กิจกรรมเพื่อการขยายผลวิธีปฏิบัติที่ดีในระดับฝาย เชน

กิจกรรม Show & Share องคความรูที่เปนวิธีปฏิบัติที่ดี · มีหลักฐานแสดงผลการดําเนินการตามแผน/กิจกรรมเพื่อการ

ขยายผลในระดับฝาย

ดีอยางเปนรูปธรรม สม่ําเสมอ

“การปฏิบัติที่ดี” ในระดับฝาย และเห็นความสําเร็จ ที่เปนรูปธรรม

9


คุณภาพของการจัดการผลการดําเนินงาน

กิจกรรมที่คาดหวัง

ตัวชี้วดั /หลักฐานแหงความสําเร็จ

Q2 Level B · มีการกําหนดตัวชี้วัดที่ชัดเจนในระดับฝายและสวนที่ · มีกลไกการกําหนดตัวชี้วัดในระดับฝายและระดับสวนอยางเปนระบบ

สอดคลองกัน โดยมีการตั้งเปาหมายกํากับในทุก ตัวชี้วัด · มีการกําหนดแนวทางและวาระที่ชัดเจนในการ

ติดตามทบทวนผลการดําเนินงานในระดับฝาย และระดับสวน

· มีกลไกที่เปนรูปธรรม เปนระบบทั้งสองระดับ

· มีการกําหนดตัวชี้วัดและเปาหมายระดับฝายและระดับสวน

· มีการกําหนดตัวชี้วัดและเปาหมายทั้งสองระดับ

· มีการกําหนดแนวทางในการรวบรวม วิเคราะห และรายงานตัวชี้วัด

· มีแนวทางที่เปนรูปธรรม เปนระบบ ในการรวบรวม วิเคราะห

· มีการกําหนดกลไก แนวทางและวาระในการติดตามผลงานระดับฝายและ

ระดับสวน

และรายงานทั้งสองระดับ · มีแนวทางที่เปนรูปธรรม เปนระบบในการติดตามและปรับปรุง

ผลงานทั้งสองระดับ · มีการประชุมติดตามทบทวนผลการดําเนินงานทั้ง

ในระดับฝายและสวนตามกลไกและวัตถุประสงคที่ กําหนดอยางสม่ําเสมอ เพื่อเรียนรูและคนหา * โอกาสการพัฒนา * วิธีปฏิบัติที่ดี

· มีการประชุมติดตามผลงานระดับฝายและระดับสวน อยางสม่ําเสมอตาม

วาระที่กําหนด โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ } ติดตามความสําเร็จเทียบกับเปาหมาย } ติดตามผลงานเทียบกับคาเปรียบเทียบ } ศึกษาแนวโนมของผลการดําเนินการที่ได

· มีหลักฐานการประชุมติดตามอยางสม่ําเสมอในทั้งสองระดับ · มีหลักฐานการคนหาการปฏิบัติที่ดีอยางสม่ําเสมอในทั้งสอง

ระดับ · มีหลักฐานการคนหาโอกาสพัฒนาอยางสม่ําเสมอในทั้งสอง

ระดับ

} ติดตามความกาวหนาของแผนงาน } วิเคราะหหาโอกาสพัฒนา และนําสูการปรับปรุง } วิเคราะหการปฏิบัติที่ดี และนําสูการขยายผล } วิเคราะหความจําเปนในการปรับเปลี่ยนแผนงาน

10


คุณภาพของการจัดการผลการดําเนินงาน · มีการมอบหมายใหทําแผน/กิจกรรมปรับปรุงจาก

โอกาสพัฒนาที่พบทั้งในระดับฝายและระดับสวน

กิจกรรมที่คาดหวัง

· มีผูรับผิดชอบทําแผน/กิจกรรมแกไขปรับปรุงอยางเปนรูปธรรม เพื่อการ · มีหลักฐานการจัดทําแผน/กิจกรรมเพือ่ การปรับปรุงโอกาส

บรรลุเปาหมายทั้งในระดับฝายและระดับสวน

· มีการดําเนินการตามแผน/กิจกรรมพัฒนาปรับปรุง · มีการดําเนินการตามแผนพัฒนา/กิจกรรมปรับปรุงฯ ในระดับฝายและ

ทั้งในระดับฝายและระดับสวน · มีการติดตามผลการปรับปรุงแกไข และเห็นความ

สําเร็จที่เปนรูปธรรมทั้งในระดับฝายและระดับสวน · (ถามี) มีการมอบหมายใหนํา “การปฏิบัติที่ดี” ไป

จัดทําแผนเพื่อขยายผลทั้งในระดับฝายและระดับ สวน · (ถามี) มีการดําเนินการตามแผนพัฒนาการขยาย

ระดับสวน

“การปฏิบัติที่ดี” และเห็นความสําเร็จที่เปน รูปธรรม ในระดับฝายและระดับสวน

พัฒนาที่พบจากการทบทวนผลการดําเนินงานในทั้งสองระดับ · มีหลักฐานแสดงผลการดําเนินการตามแผน/กิจกรรมเพื่อการ

ปรับปรุงที่เปนรูปธรรมในทั้งสองระดับ

· มีการติดตามผลการดําเนินการตามแผนพัฒนาปรับปรุงอยางเปน

รูปธรรม สม่ําเสมอในระดับฝายและระดับสวน · มีผูรับผิดชอบทําแผน/กิจกรรมเพื่อขยายผล “การปฏิบัติที่ดี” อยางเปน

รูปธรรมในระดับฝายและระดับสวน · มีการดําเนินงานตามแผน/กิจกรรมขยายผลในระดับฝายและระดับสวน

ผลทั้งในระดับฝายและระดับสวน · (ถามี) มีการติดตามผลการดําเนินการขยายผล

ตัวชี้วดั /หลักฐานแหงความสําเร็จ

· มีแผน/กิจกรรมเพื่อการขยายผลวิธีปฏิบัติที่ดีในทั้งสองระดับ

เชน กิจกรรม Show & Share องคความรูที่เปนวิธีปฏิบัติที่ดี · มีหลักฐานแสดงผลการดําเนินการตามแผน/กิจกรรมเพื่อการ

ขยายผลที่เปนรูปธรรมในทั้งสองระดับ · มีการติดตามผลการดําเนินการตามแผน/กิจกรรมเพื่อการขยายผลวิธีการ

ปฏิบัติที่ดีอยางเปนรูปธรรม สม่ําเสมอในระดับฝายและระดับสวน

11


คุณภาพของการจัดการผลการดําเนินงาน

กิจกรรมที่คาดหวัง

ตัวชี้วดั /หลักฐานแหงความสําเร็จ

Q2 Level A · มีการกําหนดตัวชี้วัดที่ชัดเจนในระดับฝาย ระดับ

· ผูบริหารสวนงานทุกระดับรวมกันดําเนินการตามกระบวนการและกลไกที่ · มีกระบวนการ/กลไกที่เปนรูปธรรม เปนระบบในการกําหนด

สวนหนวยงานระดับยอยสุดจนถึงพนักงาน กําหนด เพื่อใหไดมาซึ่งตัวชี้วัดผลงานระดับฝาย ระดับสวน หนวยงาน ตัวชี้วัดผลงานและเปาหมายในทุกระดับสวนงานจนถึงพนักงาน รายบุคคล โดยมีการตั้งเปาหมายกํากับทุกตัวชี้วัด ระดับยอยสุดจนถึงพนักงานรายบุคคลที่สอดรับและสงเสริมความสําเร็จ รายบุคคลทุกคน และมีเปาหมายของพนักงานรายบุคคลอยาง ขององคกร โดยมีเปาหมาย (target) กํากับทุกตัวชี้วัดอยางชัดเจน · มีหลักฐานการมีสวนรวมของผูบริห ารทุกระดับในการกําหนด ชัดเจน ตัวชี้วัดของสวนงานทุกระดับจนถึงพนักงานรายบุคคล · มีการกําหนดตัวชี้วัดและเปาหมายผลงานของพนักงานรายบุคคลที่เปน ระบบ · มีตัวชี้วัดและเปาหมายผลงานของพนักงานรายบุคคล · มีการกําหนดแนวทางและวาระที่ชัดเจนในการ

· มีการกําหนดแนวทางในการรวบรวม วิเคราะห และรายงานตัวชี้วัด

ติดตามทบทวนผลการดําเนินงานในทุกระดับ (ระดับ ผลงานในทุกระดับสวนงานจนถึงพนักงานรายบุคคล ฝาย ระดับสวน หนวยงานระดับยอยสุด จนถึง · มีการกําหนดแนวทางและวาระในการติดตามผลงานตามตัวชี้วัดในทุก พนักงานรายบุคคล) ระดับสวนงานจนถึงพนักงานรายบุคคล · ผูจัดการศูนยหรือหัวหนางาน มีการติดตามผลงานของพนักงานทุกคน อยางสม่ําเสมอ ทั้งรูปแบบที่เปนทางการและไมเปนทางการ · มีการประชุมติดตามทบทวนผลการดําเนินงานใน

· มีการประชุมติดตามผลงานอยางสม่ําเสมอทั้งรูปแบบที่เปนทางการและ

ทุกระดับสวนงานจนถึงพนักงานรายบุคคลดวย วิธีการที่เปนทางการและไมเปนทางการ เพื่อ เรียนรูและคนหา

ไมเปนทางการในทุกระดับสวนงานจนถึงพนักงานรายบุคคลตามวาระที่ กําหนด โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ } ติดตามความสําเร็จเทียบกับเปาหมาย } ติดตามผลงานเทียบกับคาเปรียบเทียบ } ศึกษาแนวโนมของผลการดําเนินการที่ได } ติดตามความกาวหนาของแผนงาน } วิเคราะหหาโอกาสพัฒนา และนําสูการปรับปรุง } วิเคราะหการปฏิบัติที่ดี และนําสูการขยายผล } วิเคราะหความจําเปนในการปรับเปลี่ยนแผนงาน

* โอกาสการพัฒนา * วิธีปฏิบัติที่ดี

· มีแนวทางที่เปนรูปธรรม เปนระบบในการรวบรวม วิเคราะห

และรายงานผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดในทุกระดับสวนงาน จนถึงพนักงานรายบุคคล

· มีหลักฐานการประชุมติดตามผลการดําเนินงานในทุกระดับสวน

งานจนถึงพนักงานรายบุคคล อยางสม่ําเสมอ · มีหลักฐานแสดงวาผูจัดการศูนยหรือหัวหนางานสวนใหญมีการ

ติดตามผลงานของลูกนองรายบุคคลอยางสม่ําเสมอ · มีหลักฐานแสดงวาผูบริหารสวนงานทุกระดับมีการคนหาโอกาส

พัฒนา และ การปฏิบัติที่ดีเพื่อนําไปขยายผลอยางสม่ําเสมอ

12


คุณภาพของการจัดการผลการดําเนินงาน · มีการมอบหมายใหทําแผน/กิจกรรมปรับปรุงจาก

โอกาสพัฒนาที่พบในทุกระดับสวนงานจนถึง พนักงานรายบุคคล · มีการดําเนินการตามแผน/กิจกรรมปรับปรุงในทุก

ระดับสวนงานจนถึงแผนพัฒนาพนักงานรายบุคคล · มีการติดตามผลการปรับปรุงแกไข และเห็นความ

สําเร็จที่เปนรูปธรรมในทุกระดับสวนงานจนถึง พนักงานรายบุคคล

· (ถามี) มีการมอบหมายใหนํา “การปฏิบัติที่ดี” ไป

จัดทําแผนเพื่อขยายผลในทุกระดับสวนงานจนถึง พนักงานรายบุคคล · (ถามี) มีการดําเนินการตามแผนพัฒนาการขยาย

ผลในทุกระดับสวนงานจนถึงพนักงานรายบุคคล · (ถามี) มีการติดตามผลการดําเนินการขยายผล

“การปฏิบัติที่ดี” และเห็นความสําเร็จหรือ นวัตกรรมที่เปนรูปธรรมในทุกระดับสวนงานจนถึง พนักงานรายบุคคล

กิจกรรมที่คาดหวัง · ผูบริหารทุกระดับจนถึงผูจัดการศูนยหรือหัวหนางานมีการคนหาโอกาส

พัฒนาในสวนงานทุกระดับจนถึงพนักงานรายบุคคล โดยมีผูรับผิดชอบทํา แผน/กิจกรรมปรับปรุงโอกาสพัฒนาทีพ่ บอยางเปนรูปธรรม · มีการดําเนินการตามแผนพัฒนา/กิจกรรมปรับปรุงในทุกระดับสวนงาน

จนถึงแผนพัฒนาพนักงานพนักงานรายบุคคล เพื่อสงเสริมใหเปาหมาย รายบุคคลและเปาหมายหนวยงานบรรลุความสําเร็จ · มีการติดตามผลการดําเนินการตามแผนพัฒนาปรับปรุงอยางเปน

ตัวชี้วดั /หลักฐานแหงความสําเร็จ · มีหลักฐานการจัดทําแผน/กิจกรรมเพื่อการปรับปรุงโอกาส

พัฒนาที่พบจากการทบทวนผลการดําเนินงานในทุกระดับสวน งานจนถึงพนักงานรายบุคคล · มีหลักฐานแสดงผลการดําเนินการตามแผน/กิจกรรมเพื่อการ

ปรับปรุงที่เปนรูปธรรมในทุกระดับสวนงาน โดยพนักงานสวน ใหญไดรับการติดตามและคนหาโอกาสพัฒนารายบุคคล · มีหลักฐานการปรับปรุงแผนพัฒนารายบุคคล

รูปธรรม สม่ําเสมอในทุกระดับสวนงานจนถึงแผนพัฒนาพนักงาน รายบุคคล · ผูบริหารทุกระดับจนถึงผูจัดการศูนยหรือหัวหนางานมีการคนหาการ

ปฏิบัติที่ดีรายบุคคล และมอบหมายผูรับผิดชอบทําแผน/กิจกรรมเพื่อขยาย ผลอยางเปนรูปธรรม · มีการดําเนินงานตามแผน/กิจกรรมขยายผลในทุกระดับสวนงานจนถึง

พนักงานรายบุคคล · มีการติดตามผลการดําเนินการตามแผน/กิจกรรมเพื่อการขยายผลวิธีการ

· มีแผน/กิจกรรมเพื่อการขยายผลวิธีปฏิบัติที่ดีในทุกระดับสวนงาน

จนถึงพนักงานรายบุคคลเชน กิจกรรม Show & Share องค ความรูที่เปนวิธีปฏิบัติที่ดี · มีหลักฐานแสดงผลการดําเนินการตามแผน/กิจกรรมเพื่อการ

ขยายผลที่เปนรูปธรรมในทุกระดับสวนงานจนถึงพนักงาน รายบุคคล

ปฏิบัติที่ดีอยางเปนรูปธรรม สม่ําเสมอในทุกระดับสวนงานจนถึงพนักงาน · มีหลักฐานแสดงความสําเร็จของการพัฒนาระดับรายบุคคลที่ รายบุคคล เปนรูปธรรม ในหนวยงานยอยสวนใหญ

13


ขอกําหนดมาตรฐานระดับคุณภาพระบบการบริหารจัดการของ Q 4 Maturity Model ป 2552 QUALITY MANAGEMENT MATURITY MODEL : Q3 (QUALITY OF PROCESS MANAGEMENT) คุณภาพของการจัดการกระบวนการ

กิจกรรมที่คาดหวัง

ตัวชี้วดั /หลักฐานแหงความสําเร็จ

Q3 Level C · มีการกําหนดกระบวนการหลักที่สําคัญ

ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานสําคัญของ ฝาย · มีการกําหนดวัตถุประสงคหรือเปาประสงค

และผลลัพธหลักของกระบวนการสําคัญ

· มีการกําหนดลูกคาทั้งภายนอกและภายใน

· มีกลไกโดยผูบริหารและพนักงานที่เกี่ยวของรวมกันพิจารณา

· มีกลไกที่เปนรูปธรรม เปนระบบในการกําหนดกระบวนการหลักที่สําคัญของ

เพื่อกําหนดกระบวนการหลักที่สําคัญที่ครอบคลุมขอบเขตการ ฝาย ปฏิบัติงานของฝาย · มีหลักฐานการกําหนดกระบวนการหลักที่สําคัญ ลูกคาสําคัญและความตองการ · มีการกําหนดวัตถุประสงคหรือเปาประสงคและผลลัพธหลักของ ที่สําคัญของลูกคา ตลอดจนวัตถุประสงคหลักของกระบวนการสําคัญที่ ทุกกระบวนการสําคัญ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่สําคัญในฝาย วัตถุประสงคของกระบวนการสําคัญ หมายถึง สิ่งที่ตองการทําให · มีแนวทาง/หลักฐานการคนหาความตองการของลูกคาในแตละกระบวนการ สําเร็จในการดําเนินงานของกระบวนการสําคัญ สําคัญ เปาประสงคของกระบวนการสําคัญ หมายถึง จุดหมายหรือระดับผล การดําเนินงานที่ตองการบรรลุผลสําเร็จในกระบวนการสําคัญ ผลลัพธหลักของกระบวนการสําคัญ หมายถึง ผลผลิตและผลลัพธ หลัก(Output & Outcome) ที่ไดจากการดําเนินงานของกระบวนการสําคัญ · มีการกําหนดลูกคาของกระบวนการสําคัญ และคนหาความ

ของกระบวนการสําคัญ · มีการคนหาความตองการของลูกคาทั้ง ภายในและภายนอกทีเ่ กี่ยวของกับ กระบวนการสําคัญ

ตองการของลูกคาทั้งภายนอกและภายในของกระบวนการ ดังกลาว

· มีการสื่อสารความตองการของลูกคาให

· มีการดําเนินการสื่อสารความตองการสําคัญของลูกคาในทุก

พนักงานทุกคนในฝายทราบและเขาใจ

กระบวนการสําคัญใหพนักงานที่เกี่ยวของไดรับรูและเขาใจ ชัดเจนในแนวทางเดียวกัน

· มีวิธีการสื่อสารความตองการสําคัญของลูกคาที่เปนรูปธรรม เปนระบบ · พนักงานในฝายทราบถึงกระบวนการหลักที่สําคัญของฝายและทราบวา

กระบวนการหลักที่เกี่ยวของกับหนาที่งานของตนนั้นมีเปาประสงคหลักของ กระบวนการคืออะไร ใครคือลูกคาของกระบวนการ รวมทั้งรูและเขาใจถึง ความตองการของลูกคา

14


คุณภาพของการจัดการกระบวนการ · มีการระบุขอกําหนดที่สําคัญของ

กระบวนการหลักที่สําคัญอยางชัดเจนและ สอดคลองกับความตองการของลูกคา · มีการกําหนดตัวชี้วัดของกระบวนการสําคัญ

ครอบคลุมทั้งตัวชี้วัดผลลัพธของกระบวนการ และตัวชี้วัดในกระบวนการ (In-Process Measure) เพื่อใชในการควบคุมผลลัพธและ ปรับปรุงกระบวนการสําคัญ · มีการจัดทํามาตรฐานการปฏิบัติงานของทุก

กระบวนการสําคัญ

· มีการสื่อสารใหพนักงานทุกระดับตระหนักใน

ความสําคัญของการปฏิบัติตามมาตรฐานการ ปฏิบัติงานและการตอบสนองความตองการ ของลูกคา

กิจกรรมที่คาดหวัง · มีการนําความตองการของลูกคาไปจัดทําขอกําหนดหรือ

เปาประสงคหลักที่สําคัญในการกําหนดขั้นตอนการทํางานของ กระบวนการสําคัญ รวมทัง้ วิเคราะหหาความเสีย่ งและจุดควบคุม ของแตละกระบวนการ · มีการกําหนดตัวชี้วัดและเปาหมายที่สําคัญของแตละ

กระบวนการสําคัญที่สัมพันธกับเปาประสงคและขอกําหนดของ กระบวนการ โดยมีทั้งตัวชี้วัดในกระบวนการและตัวชี้วัดผลลัพธ ของกระบวนการ เพื่อใชในการควบคุมใหไดผลลัพธตาม เปาประสงคของกระบวนการสําคัญ · มีการจัดทํามาตรฐานการปฏิบัติงานหรือคูมือปฏิบัติงานหรือผัง

กระบวนการทํางานครอบคลุมกระบวนการหลักที่สําคัญของฝาย ทั้งหมด · มีการถายทอดสื่อสารและ/หรือจัดฝกอบรมเพื่อใหพนักงานทุก

ระดับในฝายรับทราบและเขาใจมาตรฐานการปฏิบัติงาน

· มีกลไกการกํากับดูแลใหพนักงานปฏิบัติตาม · มีกลไกโดยผูบริหาร/หัวหนางานหรือทีมงานฯ ในการกํากับดูแล

มาตรฐานการปฏิบัติงานที่เปนรูปธรรมและมี การดําเนินการอยางสม่ําเสมอ

ใหพนักงานปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานอยาง เครงครัดและทั่วถึง

ตัวชี้วดั /หลักฐานแหงความสําเร็จ · มีการวิเคราะหความตองการของลูกคาของแตละกระบวนการหลักที่สําคัญ

และนําไปใชเปนขอกําหนดของกระบวนการสําคัญ โดยมีตัววัดผลลัพธ และตัว วัดในกระบวนการตามแบบฟอรมขางลางนี้ กระบวน ความ ผลลัพธ ตัววัด ตัววัด การ ตองการ ความ คูมือ/ ของ ผลลัพธของ ใน หลักที่ ของ เสี่ยง มาตรฐาน กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ สําคัญ ลูกคา

· มาตรฐานการปฏิบัติงานและ/หรือคูมือปฏิบัติงานหรือ Workflow ของทุก

กระบวนการหลักที่สําคัญ

· มีหลักฐานการสื่อสารและ/หรืออบรมพนักงานใหรับทราบ เขาใจ และถือ

ปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของแตละกระบวนการหลักที่สําคัญ

· มีกลไกการกํากับดูแลใหพนักงานปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติงานที่เปน

รูปธรรม เปนระบบ · มีหลักฐานแสดงการติดตามประสิทธิผลของการปฏิบัติงานตามมาตรฐานที่

เปนรูปธรรม สม่ําเสมอ เชน รายงานขอมูลผลการปฏิบัติงานตาม กระบวนการสําคัญตามระยะเวลาที่กําหนด

15


คุณภาพของการจัดการกระบวนการ

กิจกรรมที่คาดหวัง

ตัวชี้วดั /หลักฐานแหงความสําเร็จ

Q3 Level B · มีการดําเนินงานตามขอกําหนดมาตรฐาน

· มีกิจกรรมการดําเนินงานตามขอกําหนดมาตรฐาน Level C

· หลักฐานการดําเนินงานตามขอกําหนดมาตรฐาน Level C

Level C · มีการกําหนดแนวทางและผูรับผิดชอบในการ · มีแนวทางในการกําหนดตัวชี้วัดและเปาหมายของกระบวนการ

ติดตามผลงานของกระบวนการสําคัญตาม ตัวชี้วัดและเปาหมายที่กําหนดทั้งในระดับ ฝายและสวน · มีการเก็บขอมูลของตัวชี้วัดผลงานในทุก

กระบวนการสําคัญทั้งในระดับฝายและสวน อยางสม่ําเสมอ · มีการติดตามผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด

ในทุกกระบวนการสําคัญตามกลไกที่กําหนด ทั้งในระดับฝายและสวนอยางเปนรูปธรรม และสม่ําเสมอ

สําคัญ และการจัดเก็บ รวบรวม วิเคราะหขอมูลผลงานตาม ตัวชี้วัดของกระบวนการหลักที่สําคัญทั้งในระดับฝายและสวน

· มีตัวชี้วัดและเปาหมายของกระบวนการสําคัญทั้งในระดับฝายและสวน · มีกลไก/แนวทางที่เปนรูปธรรม เปนระบบ และมีผูรับผิดชอบในการติดตาม

จัดเก็บ รวบรวม วิเคราะหขอมูล และรายงานผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัด ของกระบวนการสําคัญทั้งในระดับฝายและสวน

· มีการกําหนดกลไก/แนวทางที่ใชในการติดตามผลงานของ

กระบวนการสําคัญทั้งในระดับฝายและสวน

· มีการประชุมติดตามผลงานของกระบวนการสําคัญทั้งในระดับ

ฝายและสวนอยางสม่ําเสมอตามวาระที่กําหนด โดยมี วัตถุประสงคเพื่อ

· มีหลักฐานการประชุมติดตามผลงานของกระบวนการสําคัญอยางสม่ําเสมอทั้ง

ในระดับฝายและสวน

} ติดตามความสําเร็จเทียบกับเปาหมาย } ติดตามผลงานเทียบกับคาเปรียบเทียบ } ศึกษาแนวโนมของผลการดําเนินการที่ได } วิเคราะหหาปญหา/โอกาสพัฒนา และนําสูการปรับปรุง

16


คุณภาพของการจัดการกระบวนการ · มีการนําเสนอขอมูลผลการดําเนินงานตาม

ตัวชี้วัดภายในกระบวนการสําคัญใหบุคลากร ทราบอยางสม่ําเสมอ

กิจกรรมที่คาดหวัง · มีกลไก/แนวทางในการสื่อสารขอมูลผลการดําเนินงานตาม

ตัวชี้วัดภายในกระบวนการสําคัญใหบุคลากรทราบอยาง สม่ําเสมอ เชน Scoreboard

· มีกิจกรรมควบคุมคุณภาพอยางเปนรูปธรรม · มีการทํากิจกรรมแกไขปญหาและกิจกรรมควบคุมคุณภาพเพื่อ

พัฒนาปรับปรุงอยางเปนรูปธรรม สม่ําเสมอทั้งในระดับฝายและ สวน

· มีการวิเคราะหขอมูลผลงานของทุกกระบวนการ · มีแนวทาง/วิธีการวิเคราะหขอมูลสารสนเทศผลงานของทุก

สําคัญเพื่อประเมินความสําเร็จและคนหา ปญหา/โอกาสพัฒนาของกระบวนการอยาง เปนรูปธรรม สม่ําเสมอ · มีกิจกรรมแกไขปญหาและจัดตั้งทีมเพื่อ

ตัวชี้วดั /หลักฐานแหงความสําเร็จ · มีหลักฐานการสื่อสารผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดภายในกระบวนการสําคัญ

ใหพนักงานทราบอยางสม่ําเสมอ · มีหลักฐานการคนหาโอกาสพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของ

กระบวนการสําคัญทั้งในระดับฝายและสวน · มีหลักฐานการจัดทํากิจกรรมคุณภาพเพื่อแกไขปญหาและพัฒนาปรับปรุงงาน

อยางเปนรูปธรรม สม่ําเสมอ และครอบคลุมปญหาสําคัญเปนสวนใหญ · มีวิธีการและหลักฐานการวิเคราะหขอมูลสารสนเทศผลงานของกระบวนการที่

กระบวนการที่สําคัญอยางเปนรูปธรรมและสม่ําเสมอ ทั้งในระดับ สําคัญทั้งสองระดับ ฝายและสวน · มีหลักฐานแสดงการติดตามผลการแกไขปญหาและโอกาสพัฒนาอยาง · มีการนําผลการวิเคราะหขอมูลของทุกกระบวนการที่สําคัญมา สม่ําเสมอทั้งสองระดับ ประเมินเพื่อคนหาปญหา/โอกาสพัฒนาของกระบวนการอยางเปน · มีหลักฐานแสดงความสําเร็จของการแกไขปญหาของกระบวนการที่เปน รูปธรรมและสม่ําเสมอ รูปธรรม ครอบคลุมปญหาสําคัญสวนใหญ

ปรับปรุงกระบวนการในกรณีที่ผลงานของ กระบวนการไมเปนไปตามเปาหมายที่กําหนด · มีการติดตามผลการปรับปรุงแกไขปญหาของกระบวนการสําคัญ (ถามี) อยางสม่ําเสมอทั้งในระดับฝายและสวน

17


คุณภาพของการจัดการกระบวนการ

กิจกรรมที่คาดหวัง

ตัวชี้วดั /หลักฐานแหงความสําเร็จ

Q3 Level A · มีการดําเนินงานตามขอกําหนดมาตรฐาน

· มีกิจกรรมการดําเนินงานตามขอกําหนดมาตรฐาน Level B

· หลักฐานการดําเนินงานตามขอกําหนดมาตรฐาน Level B

· มีกลไก/แนวทางการตรวจติดตามคุณภาพภายในกระบวนการ

· มีกลไกที่เปนรูปธรรม เปนระบบในทุกระดับสวนงาน

Level B · มีการตรวจติดตามคุณภาพภายใน

กระบวนการสําคัญอยางเปนรูปธรรมและ สม่ําเสมอในทุกระดับสวนงานภายในฝาย · มีการประชุมเพื่อทบทวนผลงานของ

กระบวนการสําคัญและผลการตรวจติดตาม คุณภาพภายในกระบวนการสําคัญ โดย ผูบริหารในฝายเพื่อคนหาโอกาสพัฒนา · มีการติดตามผลงานของกิจกรรมพัฒนา

สําคัญในระดับฝายและระดับหนวยงานยอย · มีการประชุมของผูบริหารระดับฝายเพื่อทบทวนผลงานของ

· มีหลักฐานการประชุมเพื่อการทบทวนของผูบริห าร

กระบวนการสําคัญและผลการตรวจติดตามคุณภาพภายใน กระบวนการอยางสม่ําเสมอ · มีกลไกการชี้นําเพื่อใหเกิดการพัฒนาคุณภาพกระบวนการ สําคัญใหดียิ่งขึ้นกวาเดิม

· มีหลักฐานการคนหาโอกาสพัฒนาและเกิดการชี้นําการพัฒนาคุณภาพอยาง

· มีการติดตามผลงานกิจกรรมพัฒนาคุณภาพอยางสม่ําเสมอ

· มีหลักฐานการจัดทํากิจกรรมพัฒนาคุณภาพอยางเปนรูปธรรม

คุณภาพอยางตอเนื่องที่เปนรูปธรรม · มีการดําเนินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพใหดีขึ้นกวาเดิมโดย สม่ําเสมอในทุกระดับ ครอบคลุม · มีการคนหาโอกาสพัฒนาเพื่อการปรับปรุง } ระดับคุณภาพที่ดีขึ้น ระดับคุณภาพใหดีขึ้นกวาเดิม และหาการ } รอบเวลาที่ดีขึ้น ปฏิบัติที่ดีอยางสม่ําเสมอในทุกกระบวนการ } ตนทุนการดําเนินการที่ลดลง ทุกระดับสวนงาน } ลดความซ้ําซอน · มีผลงานเปนที่ประจักษวา สามารถ } ลดความสูญเสีย ดําเนินการใหเกิดคุณภาพที่ดีขึ้น รอบเวลาที่ } ลดความแปรปรวน ดีขึ้น ตนทุนการดําเนินการลดลง ลดความ } เพิ่มความพึงพอใจของลูกคา สูญเสียซ้ําซอน ลดความแปรปรวนของ · มีการคนหาการปฏิบัติท่ดี ี และนําสูการขยายผล กระบวนการ ตลอดจนเพิ่มความพึงพอใจ ของลูกคา

สม่ําเสมอในทุกระดับสวนงาน · มีหลักฐานการคนหาการปฏิบัติที่ดีอยางสม่ําเสมอในทุกระดับสวนงาน

· มีหลักฐานการจัดทําแผนเพื่อขยายผลการปฏิบัติที่ดี · มีหลักฐานแสดงการติดตามกิจกรรมพัฒนาและแผนขยายผลอยางสม่ําเสมอ

ในทุกระดับ · มีหลักฐานแสดงความสําเร็จของการปรับปรุงพัฒนาครอบคลุมประเด็นตางๆที่

ระบุไวในกิจกรรมที่คาดหวังเปนสวนใหญ

18


ขอกําหนดมาตรฐานระดับคุณภาพระบบการบริหารจัดการของ Q 4 Maturity Model ป 2552 QUALITY MANAGEMENT MATURITY MODEL : Q4 (QUALITY OF RISK MANAGEMENT) คุณภาพของการจัดการความเสี่ยง

กิจกรรมที่คาดหวัง

ตัวชี้วัด/หลักฐานแหงความสําเร็จ

Q4 Level C · มีการสื่อสาร Risk Map และแผนบริหารความเสี่ยง · มีการประชุมหารือและแลกเปลี่ยนขอคิดเห็น เพื่อสรางความเขาใจ

ของ บมจ. ทีโอที รวมทั้งปจจัยเสี่ยง และแนวทาง การจัดการตามแผน Turnaround อยางทั่วถึง ภายในฝาย หมายเหตุ คนหาขอมูลเพิ่มเติมไดจากคูมือการบริหาร ความเสี่ยง หรือเว็บไซดของฝายบริหารความ เสี่ยง (http://10.0.255.11) (1) · การวิเคราะห คนหา บงชี้ปจจัยเสี่ยง โอกาสเกิด และผลกระทบ (2) เพื่อประเมินระดับความรุนแรง (3) และจัดลําดับความเสี่ยงที่สําคัญของฝาย ให สอดคลองกับ - Risk Map - แผนบริหารความเสี่ยงของ บมจ. ทีโอที - ปจจัยเสี่ยง และแนวทางการจัดการตามแผน Turnaround - วัตถุประสงค/เปาหมายตามแผนงานหลักของ ฝาย - กระบวนการที่สําคัญระดับฝาย - ความตองการและขอรองเรียนของลูกคา

รวมกันเกี่ยวกับแผนการบริหารความเสี่ยงของ บมจ. ทีโอที และความ เชื่อมโยงกับสวนงาน · หารือขอสงสัยมายังฝายบริหารความเสี่ยง / ผูจัดการความเสี่ยงของสาย งาน (รายละเอียดตามคําสั่ง บมจ. ทีโอที ที่ ต.152/2551 ลว.12 มี.ค. 51) · จัดทําสื่อเพื่อเผยแพรทําความเขาใจ ผานชองทางตางๆ เชน บอรดติด ประกาศ เว็บไซดสวนงาน e-Mail ของพนักงาน เปนตน

· บันทึกการประชุม ความถี่ในการประชุม · จํานวนสื่อ/ชองทางที่เผยแพรภายในฝาย · พนักงานสวนใหญรับรูและเขาใจ (เชน จากการสัมภาษณ หรือ

แบบสอบถามเพื่อประเมินผล)

ผูบริหารสวนงานและผูที่เกี่ยวของรวมกันพิจารณา โดยการประชุม หารือ · มีเกณฑการประเมินโอกาสเกิด และผลกระทบของความเสี่ยงใน หรือ Workshop เพื่อ ระดับฝาย (Risk 04) · วิเคราะห คนหาความเสี่ยงที่สําคัญของฝาย โดยพิจารณาจาก Risk Map · แบบการประเมินความเสี่ยงที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับ ความ แผนบริหารความเสี่ยงของ บมจ. ทีโอที ปจจัยเสี่ยง และแนวทางการ เสี่ยง โอกาสเกิด ผลกระทบ ระดับความรุนแรง และการ จัดการตามแผน Turnaround วัตถุประสงค/เปาหมายตามแผนงานหลัก จัดลําดับความสําคัญ (Risk 01) ของฝาย กระบวนการที่สําคัญระดับฝาย รวมถึงความตองการและขอ รองเรียนของลูกคา · กําหนดเกณฑการประเมินโอกาสเกิด และผลกระทบของความเสี่ยงใน ระดับฝาย · ประเมินความเสี่ยงตามเกณฑที่กําหนด และนํามาคํานวณระดับความ รุนแรงของความเสี่ยง · จัดลําดับความสําคัญของความเสี่ยงที่คนหาได เพื่อกําหนดรายการความ เสี่ยงที่สําคัญ

19


คุณภาพของการจัดการความเสี่ยง

กิจกรรมที่คาดหวัง

ตัวชี้วัด/หลักฐานแหงความสําเร็จ

หมายเหตุ (1)

โอกาสเกิด หมายถึง การประเมินความเปนไป ไดที่จะเกิดเหตุการณตางๆ โดยพิจารณาใน รูปแบบความถี่ (2)

ผลกระทบ หมายถึง มูลคาความเสียหายที่อาจ เกิดขึ้นทั้งที่เปนตัวเงินและมิใชตัวเงิน (Financial & Non-Financial) (3) ระดับความรุนแรง หมายถึง การคํานวณคาความ รุนแรงของความเสี่ยงซึ่งเปนผลคูณระหวางคาของ โอกาสเกิดและคาของผลกระทบ · มีการสื่อสารและสรางความเขาใจเกี่ยวกับความ · มีการประชุม ชี้แจง และแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นภายในฝายอยางทั่วถึง เสี่ยงที่สําคัญ อยางทั่วถึงภายในฝาย เพื่อรับรู เพื่อสรางความเขาใจใหเกิดความตระหนัก และใหความสําคัญกับความ รวมกัน เสี่ยงที่สําคัญ · จัดทําสื่อเพื่อเผยแพรทําความเขาใจ ผานชองทางตางๆ เชน บอรดติด ประกาศ เว็บไซดสวนงาน e-Mail ของพนักงาน เปนตน

· หลักฐานการสื่อสารเพื่อสรางความรู และความเขาใจแกพนักงาน

ที่เปนรูปธรรม เชน บันทึกการประชุม หนังสือเวียน บอรดติด ประกาศ เว็บไซดสวนงาน e-Mail ของพนักงาน เปนตน · พนักงานสวนใหญรับรูและเขาใจความเสี่ยงที่สําคัญของฝาย (เชน จากการสัมภาษณ หรือแบบสอบถามเพื่อประเมินผล)

20


คุณภาพของการจัดการความเสี่ยง

กิจกรรมที่คาดหวัง

ตัวชี้วัด/หลักฐานแหงความสําเร็จ

Q4 Level B · มีการดําเนินงานตามขอกําหนดมาตรฐาน Level C · มีกิจกรรมการดําเนินงานตามขอกําหนดมาตรฐาน Level C ทั้งในระดับ

ทั้งในระดับฝาย/สวน

ฝาย/สวน

· มีการจัดทําแผนการจัดการความเสี่ยงสําหรับความ · มีการจัดทําแผนจัดการความเสี่ยง โดยตองมีสาระสําคัญเกี่ยวกับ

· หลักฐานการดําเนินงานตามวิธีการ/กิจกรรมที่กําหนดไวใน

มาตรฐาน Level C ทั้งในระดับฝาย/สวน · มีแผนการจัดการความเสี่ยงของฝาย/สวน (ตามแบบฟอรม T9)

เสี่ยงที่สําคัญลําดับ 1-3 เปนอยางนอย

วัตถุประสงคหรือเปาหมายในการจัดการความเสี่ยง กําหนดระยะเวลา ดําเนินการ กิจกรรม ผูรับผิดชอบ รวมทั้งประมาณการคาใชจายที่อาจ เกิดขึ้น ตลอดจนผลลัพธที่คาดวาจะไดรับ เปนตน · มีการกําหนดตัวชี้วัดความเสี่ยง (Key Risk · การกําหนดตัวชี้วัดความเสี่ยง (Key Risk Indicator : KRI) สามารถ · ตัวชี้วัดความเสี่ยง (Key Risk Indicator : KRI) ของฝาย/สวน (4) Indicator : KRI ) ที่สําคัญของฝาย/สวน กําหนดคาเปน 3 ระดับ ไดแก ระดับที่ยอมรับได (สีเขียว / Acceptable พรอมทั้งเปาหมายกํากับตัวชี้วัดที่สามารถวัดระดับความเสี่ยง Level) ระดับที่ตองเฝาระวัง (สีเหลือง / Trigger Level) และระดับที่เปน ได หมายเหตุ ความเสี่ยง (สีแดง / Risky Level) เพื่อใชเปนขอมูลในการติดตามและ (4) KRI หมายถึง ตัวชี้วัดที่ใชในการติดตามและ ประเมินผลการจัดการความเสี่ยงตามแผนการจัดการความเสี่ยง รวมทั้ง ประเมินประสิทธิผลการจัดการความเสีย่ ง รวมทั้ง การรายงานผล (อาจใชตัวชี้วัด (KPI) ตามสัญญาการบริหาร หรือ ใชเปนระบบเตือนภัย (Warning System) หากการ ตัวชี้วัดองคกรบางตัวเปนตัวชี้วัดความเสี่ยงได) จัดการความเสี่ยงไมสามารถควบคุมระดับความ รุนแรงใหอยูในระดับทีย่ อมรับได (Acceptable Level) ซึง่ อาจกําหนดเปนคาเดียว หรือกําหนดเปน ชวง (Range) · มีการเผยแพรสื่อสารแผนการจัดการความเสี่ยง · มีการประชุม ชี้แจง และแลกเปลี่ยนขอคิดเห็นอยางทั่วถึงภายในฝาย/ · หลักฐานการสื่อสารเพื่อสรางความรู และความเขาใจแกพนักงาน และตัวชี้วัดความเสี่ยง (Key Risk Indicator : KRI) สวน เพื่อสรางความเขาใจใหเกิดความตระหนัก และใหความสําคัญกับ ที่เปนรูปธรรม เชน บันทึกการประชุม หนังสือเวียน บอรดติด ที่สําคัญของฝาย/สวน อยางทั่วถึง แผนการจัดการความเสี่ยง และตัวชี้วัดความเสี่ยง (Key Risk Indicator : ประกาศ เว็บไซดสวนงาน e-Mail ของพนักงาน เปนตน KRI) · พนักงานสวนใหญรับรูและเขาใจแผนการจัดการความเสี่ยง และ · จัดทําสื่อเพื่อเผยแพรทําความเขาใจ ผานชองทางตางๆ เชน บอรดติด ตัวชี้วัดความเสี่ยง (Key Risk Indicator : KRI) ของฝาย/สวน ประกาศ เว็บไซดสวนงาน e-Mail ของพนักงาน เปนตน (โดยการสัมภาษณ หรือแบบสอบถามเพื่อประเมินผล)

21


คุณภาพของการจัดการความเสี่ยง · มีการดําเนินการตามแผนการจัดการความเสี่ยง

ของฝาย/สวน · มีการติดตาม รายงานผลการจัดการความเสี่ยง วิเคราะห ประเมิน รวมทั้งทบทวนผลการ ดําเนินงาน เพื่อนําไปสูการปรับปรุงแผนใหความ เสี่ยงอยูในระดับที่ยอมรับได

กิจกรรมที่คาดหวัง

ตัวชี้วัด/หลักฐานแหงความสําเร็จ

· มีการดําเนินงานตามแผนการจัดการความเสี่ยงของฝาย/สวน · มีรายงานผลการดําเนินงานตามแผนการจัดการความเสี่ยง และ · มีการติดตาม รายงานผลการจัดการความเสี่ยง และตัวชี้วัดความเสี่ยง (Key ผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดการจัดการความเสี่ยงของฝาย/

Risk Indicator : KRI) · วิเคราะห และทบทวนผลการจัดการความเสี่ยง เพื่อนําไปสูการปรับปรุง แผนใหความเสี่ยงอยูในระดับที่ยอมรับได · มีกิจกรรมปรับปรุงแกไข กรณีที่ผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดความเสี่ยง (Key Risk Indicator : KRI) ไมเปนไปตามเปาหมายที่กําหนด

สวน ตามระยะเวลาที่กําหนด รวมทั้งกรณีที่ผลการดําเนินงาน ตามตัวชี้วัดความเสี่ยง (Key Risk Indicator : KRI) ไมเปนไป ตามเปาหมายที่กําหนด ใหระบุกิจกรรมปรับปรุงแกไขเพิ่มเติม (ตามแบบฟอรม T9 ในสวนที่ 2)

22


คุณภาพของการจัดการความเสี่ยง

กิจกรรมที่คาดหวัง

ตัวชี้วัด/หลักฐานแหงความสําเร็จ

Q4 Level A · มีการดําเนินงานตามขอกําหนดมาตรฐาน Level B · มีกิจกรรมการดําเนินงานตามขอกําหนดมาตรฐาน Level B

· หลักฐานการดําเนินงานตามขอกําหนดมาตรฐาน Level B

· มีการประเมินและจัดการความเสี่ยงตามเกณฑการ · มีการประเมินความเสี่ยงและจัดการความเสี่ยงในระดับพนักงาน ประเมินผลของทริสในระดับ 4-5 (5) ตามตัวชี้วัด · มีการจัดทําแผนจัดการความเสี่ยง โดยตองมีสาระสําคัญเกี่ยวกับ

· มีหลักฐานการติดตามผลคุณภาพการจัดการความเสี่ยงทั้งใน

ระดับฝายและหนวยงานยอยอยางสม่ําเสมอ เรื่องการบริหารความเสี่ยง เพื่อเพิ่มมูลคาองคกร วัตถุประสงคหรือเปาหมายในการจัดการความเสี่ยง กําหนดระยะเวลา · มีแผนการจัดการความเสี่ยง และตัวชี้วัดความเสี่ยง (Key Risk (Value Creation) และนําไปสูการเปนวัฒนธรรม ดําเนินการ กิจกรรม ผูรับผิดชอบ รวมทั้งประมาณการคาใชจายที่อาจ Indicator : KRI) ในระดับพนักงาน (ตามแบบฟอรม T9 องคกร เกิดขึ้น ตลอดจนผลลัพธที่คาดวาจะไดรับ เปนตน ในสวนที่ 1) · การกําหนดตัวชี้วัดความเสี่ยง (Key Risk Indicator : KRI) สามารถ · มีรายงานผลการดําเนินงานตามแผนการจัดการความเสี่ยง และ หมายเหตุ กําหนดคาเปน 3 ระดับ ไดแก ระดับที่ยอมรับได (สีเขียว / Acceptable ผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดการจัดการความเสี่ยงของ (5) ทริสกําหนดคาเกณฑวัดเปน 5 ระดับ ไดแก Level) ระดับที่ตองเฝาระวัง (สีเหลือง / Trigger Level) และระดับที่เปน พนักงานตามระยะเวลาที่กําหนด รวมทั้งกรณีที่ผลการ ดําเนินงานตามตัวชี้วัดความเสี่ยง (Key Risk Indicator : KRI) ระดับ 1 มีการบริหารความเสี่ยงนอยมาก ความเสี่ยง (สีแดง / Risky Level) เพื่อใชเปนขอมูลในการติดตามและ ไมเปนไปตามเปาหมายที่กําหนด ใหระบุกิจกรรมปรับปรุงแกไข ระดับ 2 มีการบริหารความเสี่ยงเบื้องตนที่มีระบบ ประเมินผลการจัดการความเสี่ยงตามแผนการจัดการความเสี่ยง รวมทั้ง ระดับ 3 มีการเชื่อมโยงและบูรณาการความเสี่ยงกับ การรายงานผล (อาจใชตัวชี้วัด (KPI) ตามสัญญาการบริหาร หรือตัวชี้วัด เพิ่มเติม (ตามแบบฟอรม T9 ในสวนที่ 2) การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดี องคกรบางตัวเปนตัวชี้วัดความเสี่ยงได) ระดับ 4 มีการบริหารความเสี่ยงที่สรางมูลคาเพิ่มแก · มีการคนหาความเสี่ยงในลักษณะการเพิ่มมูลคาใหแกงานในความ องคกร รับผิดชอบ และกําหนดแนวทางการควบคุมรวมทั้งการจัดการเพื่อเพิ่ม ระดับ 5 การปลูกฝงใหการบริหารความเสี่ยงเปน มูลคาดังกลาวใหเปนผลอยางเปนรูปธรรมทั้งในสวนที่เปนตัวเงินและมิใช สวนหนึ่งของวัฒนธรรมที่นําไปสูการ ตัวเงิน (Financial & Non-Financial) สรางสรรคมูลคาใหแกองคกร

23


ติดตอสอบถามขอสงสัย หรือ ขอขอมูลเพิ่มเติมไดที่ สวนพัฒนาองคกร (พปย.) ฝายพัฒนาองคกรและประเมินผล (ปย.) 0-2574-8380, 0819105823 : สุรภีพร 0-2575-7873 : จันทิมา 0-2574-7861 : ชมใจ 0-2505-6156 : กิตติพงศ 0-2575-7867 : ศรีสุดา

24


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.