VPAT News July 2015

Page 1

ฉบับที่ 107/2558 เดือน กรกฎาคม 2558

Seizures syncope and weakness

อาจารยนายสัตวแพทยศิราม สุวรรณว�ภัช ภาคว�ชาอายุรศาสตร คณะสัตวแพทยศาสตร จ�ฬาลงกรณมหาว�ทยาลัย

บทนำ

อาการชัก เปนลม และออนแรง นีม้ คี วามคลายคลึงกันตรงทีส่ ตั วจะปรากฏ อาการทรุดตัวลง หรือลมลง (collapse) อยางทันทีทนั ใด บางรายถึงกับมีอาการหมดสติ บางรายก็ยงั คงมีสติสมบูรณบา ง ไมสมบูรณบา ง เจาของสัตวอาจนำสัตว เขามาปรึกษาในขณะทีส่ ตั วยงั คงหมดสติ แตโดยสวนใหญเมือ่ เจาของนำสัตวเขามาพบมักจะรูส กึ ตัว ดีขึ้นจนเปนปกติแลว เมื่อซักถามอาจไดความวาสัตวเกิดอาการ collapse ดังกลาวมาเพียงแคครั้งเดียวก็พามาเลย หรือไมก็เกิดอาการมาแลว หลายครั้งแลวจึงคอยพามา กรณีออ นแรงนัน้ สัตวอาจปรากฏอาการออนแรงมาตลอดจน ณ ขณะทีพ่ บสัตวแพทยเลย หรือ อาการออนแรงอาจเกิดขึน้ เปนพักๆ (episodic) หลังออกกำลังกายหรือตืน่ เตนดีใจเทานัน้ จะเห็นไดวา กลุม อาการจำพวก collapse นีม้ คี วามหลากหลายของการปรากฏอาการทางคลินกิ (clinical presentation) ทานจำเปนตองทำความเขาใจ เพือ่ ใหการแยกแยะออกจากกัน ไดอยางถูกตอง เหตุผลก็เนื่องจากแตละอาการนั้นมีสาเหตุ (etiology) ที่แตกตางกันนั่นเอง ขณะเขารับการปรึกษาเจาของสัตวบางคนอาจตกอยูใ นภาวะตืน่ ตระหนก ในขณะทีบ่ างรายอาจควบคุมอารมณ ตัวเองได ทัง้ นีค้ งขึน้ อยูก บั ประสบการณและบุคลิกภาพ ของแตละคน หลายครัง้ ทีเ่ จาของมีสติพอจนสามารถถายวิดโี อขณะเกิดเหตุ หรือหลังเกิดเหตุแลวนำมาใหเราไดพเิ คราะหไดดว ย กรณีหลังนีถ้ อื วาเปนการใชเทคโนโลยีเขามาชวยในการ วินิจฉัยโรคไดเปนอยางดี ซึ่งจะพบไดมาขึ้นเปนลำดับจากนี้ไป การแยกชนิดของภาวะ collapse ลักษณะของอาการและบริบทของแตละภาวะนัน้ จะแตกตางกันไป เจาของสัตวสามารถเรียกอาการรวมๆ ทัง้ หมดไดวา collapse ชัก ออนแรง เปนลม อยางใดอยางหนึ่งก็ได สัตวแพทยผูใหการรักษามีความจำเปนตองเรียนรูใหเกิดความเขาใจ และสามารถจดจำอาการและบริบทตางๆ ใหไดเพราะเราตองใชขอ มูลเหลานีป้ ระกอบการซักประวัตแิ ละเก็บขอมูลจากเจาของสัตว และยังใชเพื่อการแยกแยะอาการทั้งสามลักษณะออกจากกัน จากนี้ไปเราจะมาทำความเขาใจในรายละเอียดของอาการทั้งสามดังจะกลาวโดยอาจลองแยกออกเปนสวนๆ ตามลักษณะความตึงตัวของกลามเนื้อ (muscular tone) ดังนี้ การสูญเสีย muscular tone ซึง่ ไดแก อาการออนแรงชัว่ ขณะ (episodic weakness) อาการเปนลม (faint หรือ syncope) อาการออนแรงหลังจากออกกำลังกาย (exercise induced weakness) อาการออนแรงเฉียบพลัน (paroxysmal weakness) การออนแรงถาวร (persistent weakness) และ กลุม อาการลมหลับ (narcolepsy-cataplexy) เปนตน การเพิม่ ขึน้ ของ muscular tone เชน อาการชัก (seizures) มักมีและมีการกระตุกของกลามเนือ้ รวมดวย สัตวมกั ไมสามารถควบคุมการเกร็งหรือกระตุกได โดยอาจเกิดกับกลามเนือ้ ทัง้ รางกายทำใหถกู เรียกกวา generalized seizures หรือเกิดกับกลามเนือ้ บางสวนหรือซีกใดซีกหนึง่ ทำใหถกู เรียกวา partial หรือ focal seizures กรณีหลังสัตวมกั ยังคง มีความรูสึกตัวตางกับกรณี generalized seizures ที่สัตวมักสูญเสียความรูสึกตัว บางครั้งเจาของสัตวอาจเรียก อาการชักไดหลายๆ ชือ่ ในภาษาอังกฤษวา fits, convulsions หรือ epilepsy ในขณะทีภ่ าษาไทยเราใชคำวา “ชัก” เพียงอยางเดียว แตหากวาเราแบงอาการในกลุม นีอ้ อกตามการมีความรูส กึ ตัว (consciousness) ซึง่ เปนวิธที ผ่ี แู ตงมักใชบอ ยในการ แยกแยะปญหา collapse ออกเปนสวนๆ โดยจะแยกออกไดเปนสองจำพวกคือ สัตวยงั มีความรูส กึ ตัวอยู ซึง่ ไดแก อาการออนแรง (weakness) สัตวทม่ี อี าการออนแรงจะยังคงรูส กึ ตัวเพราะสาเหตุ ปญหาหรือรอยโรคไมไดเกิดขึ้นในสมอง อาการ weakness สามารถแยกออกไดเปนสองประเภทตามรูปแบบ การเกิดอาการคือ อาการออนแรงชั่วขณะ (episodic weakness) คือเกิดการออนแรงโดยมากจะเกิดหลังมีกิจกรรมเชน การ ออกกำลังกาย วิง่ เลน หรืออารมณตน่ื เตน ดีใจ กลัว หรือเหามาก เปนตน บางครัง้ ภาวะการออนแรงชัว่ ขณะ อาจถูกเรียกวา exercise precipitated weakness ซึง่ ก็แปลความหมายตรงตัวคือการออนแรงอันเนือ่ งมาจาก การออกกำลัง อาการออนแรงถาวร (persistent weakness) สัตวจะเกิดอาการออนแรงตลอดเวลา แมในเวลาทีเ่ ขามาตรวจ ทีโ่ รงพยาบาลก็มอี าการออนแรงปรากฏใหเห็น สัตวมกั ไมสามารถเคลือ่ นทีไ่ ด มักจะนอนอยูก บั ที่ อาจสามารถ ถดตัวเองไปขางหนาหรือหลังไดบาง ซึ่งคงตองขึ้นกับความแข็งแรงที่พอมีเหลืออยูของกลามเนื้อ สัตวสญ ู เสียความรูส กึ ตัวไป กรณีนไ้ี ดแก ภาวะชักชนิดทัง้ ตัว (generalized seizures) เปนลม (syncope) และ ภาวะลมหลับ (narcolepsy-cataplexy syndrome) ไมใชทกุ กรณีทส่ี ตั วจะสูญเสียความรูส กึ ตัวหากเกิดภาวะชักหรือ เปนลม ทัง้ นีข้ น้ึ กับความรุนแรงของ lesion และตำแหนงของ lesion วาเกิดทีจ่ ดุ ใดบาง สวนกรณี narcolepsy-cataplexy สัตวมักจะไมรูสึกตัวหรือวูบหลับไปแตก็สามารถปลุกใหตื่นขึ้นมาได









Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.