VPAT News Aug 2012

Page 1






ผศ.น.สพ.ดร.ณุวีร ประภัสระกูล

สวัสดีครับทานสมาชิกทุกทาน ในปจจุบนั ทัง้ วงการแพทยและวงการสัตวแพทยไดเริม่ มีการตืน่ ตัวเรือ่ งการใชยาปฏิชวี นะ กับมากขึน้ เนือ่ งจากประสบปญหาเชือ้ ดือ้ ยาสงผลใหการรักษาทัง้ ผูป ว ยและสัตวปว ยไมประสบความสำเร็จ ทาง VPAT News ฉบั บ นี ้ ไ ด ร ั บ เกี ย รติ จ าก ผศ.น.สพ.ดร.ณุ ว ี ร  ประภั ส ระกู ล หั ว หน า ภาควิ ช าจุ ล ชี ว วิ ท ยา คณะสั ต วแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและบรรณาธิการวารสารผูป ระกอบการบำบัดโรคสัตวแหงประเทศไทยมาเปนผูไ ขความกระจาง ในเรือ่ งนีค้ รับ VPATNews : สวัสดีครับอาจารย ในลำดับแรกเลยอยากถามอาจารยวา ภาวะเชือ้ ดือ้ ยาในสัตว มี ห รื อ ไม แ ละจริ ง ๆ แล ว คำกำจั ด ความของคำว า เชื ้ อ ดื ้ อ ยาคื อ อะไร อ.ณุวีร : สวัสดีครับทุกทาน เชื้อดื้อยาเกิดขึ้นไดทั้งในโฮสตที่เปน สัตว คน หรือแมกระทั้งพืชครับ ตามคำจำกัดความแลวเชื้อดื้อยาหมายถึง ภาวะที่เชื้อโรคมีการพัฒนาและเรียนรูเพื่อตานทานตอ ฤทธิข์ องยา ซึง่ เคยใชไดผลมากอนสวนใหญเปนผลมาจากการเปลีย่ นแปลงทางพันธุกรรมของเชือ้ โรค ปญหาที่ตามมาก็คือ เชื้อโรคซึ่งดื้อตอยาปฏิชีวนะตัวใดตัวหนึ่งมักจะพลอยดื้อตอยาปฏิชีวนะอื่นที่ อยูในประเภทเดียวกันหรือมีสูตรโครงสรางคลายคลึงกันไดหรือแมแตการดื้อตอยาขามกลุมที่มี จุดออกฤทธิ์ของยาที่ใกลเคียงกัน ซึ่งทำใหจำเปนตองเปลี่ยนไปใชยาปฏิชีวนะประเภทอื่นหรือที่มี สูตรโครงสรางตางออกไป VPATNews : สาเหตุหลักๆ ของการเกิดเชือ้ ดือ้ ยาในสัตวคอื อะไรและจะมีวธิ กี ารแกไขอยางไร อ.ณุวีร : ภาวะการดื้อยาของเชื้อเกิดขึ้นไดจากธรรมชาติของเชื้อโรคเอง (Intrinsicresis tance) เชน ธรรมชาติของเชือ้ แกรมลบอยางเชน Escherichia coli ทีด่ อ้ื ตอ vancomycin กลุม streptococci และ anaerobes ที่ดื้อตอยา gentamicin โดยไมตองสัมผัสกับยามากอนเลยหรือเปนผลกรรม อยางหนึ่งของผูใชยา (acquire resistance) ขยายความก็คือ เปนผลภายหลังการใหยาเชื้อโรค จะสามารถเรียนรูแ ละปรับตัวเพือ่ ความอยูร อดของสายพันธุ โดยจะเห็นวาในอดีตหลังจากทีค่ ดิ คนยา penicillin และใชกนั อยางแพรหลายหลังจากนัน้ เพียง 1 ป ก็พบเชื้อดื้อตอ penicillin ขึ้น จึงไดมี การพัฒนายาใหมๆขึ้นมาเรื่อยๆ จนถึงปจจุบันซึง่ เราก็ตอ งจายแพงมากขึน้ เรือ่ ยๆเชนกัน แตกย็ งั ไม สามารถคิดคนยา เพือ่ ใหทนั ตอการปรับตัวของเชือ้ โรคไดอยูด ี วิธกี ารแกไขอยางเปนขัน้ ตอนนัน้ คงไมมี เพราะยาปฏิชีวนะในทางสัตวแพทยยังมีการใชในวงกวางซื้อหาไดงายและไมมีการจัดกลุมการใช ระหวางสัตวและคนอยางชัดเจนนัก โดยเฉพาะอยางยิ่งสัตวแพทยบางทานใชยาปฏิชีวนะเพียง เพื ่ อ ป อ งกั น การติ ด เชื ้ อ แทรกซ อ นทั ้ ง ๆที ่ ย ั ง ไม ท ราบสาเหตุ ท ี ่ แ ท จ ริ ง ของปฐมเหตุ ข องโรค ดังนัน้ ทีจ่ ะแนะนำไดอยางสัน้ ๆ ในเวลาจำกัด คือ 1. ใชที่ออกฤทธิ์ในวงแคบที่สุด ที่ตรงกับสาเหตุของการติดเชื้อ 2. ใชสอดคลองกับผลการทดสอบจากหองปฏิบัติการ ไดแกชนิดของเชื้อ และความไวรับตอยา 3. ใชใหเหมาะสมตามระยะเวลาและความเขมขนที่แนะนำ 4. ใชเมื่อจำเปน หากขอแนะนำตางๆนั้น หากไมสามารถนำไปปรับใชไดในทางปฏิบัติ คงเหลือขอแนะนำเดียวคือ ใหใชอยางมีสติตามหลักการทางจุลชีววิทยาคลินิก และเภสัชวิทยา ไมใชเนื่องจากความกลัวเพียงอยางเดียว VPATNews : ในฐานะเปนสัตวแพทยทท่ี ำงานดานคลินกิ อาจารยคดิ วาสัตวแพทยเราจะมี สวนชวยอยางไรไดบางในการกำจัดปญหานี้ อ.ณุวรี  : ความจริงแลวปญหาการดือ้ ยาคือ ธรรมชาติของการปรับตัวของสิง่ มีชวี ติ ดังนัน้ คงเปน การยากที่จะกำจัดธรรมชาติของจุลชีพนั้นออกไป สิ่งที่ทำไดคงเปนเพียงการยอมรับและเขาใจวา เมือ่ มีการใชเมือ่ ใดจะตองมีผลจากการใชตามมาสัตวแพทยทท่ี ำงานคลินกิ สามารถการลดปญหาดวย ตระหนักวิธกี ารทัง้ 4 ขอ ทีก่ ลาวขางตนและเพิม่ เติมความรูเ ชิงจุลชีววิทยาคลินกิ วาปญหาในแตละทีข่ อง ระบบของรางกายนาจะมาจากการติดเชือ้ กลุม ใด เชน ทีผ่ วิ หนัง สวนใหญแลวเปน แบคทีเรีย แกรมบวก ชนิด Staphylococcus pseudintermedius การแกปญ  หาในเบือ้ งตน ก็นกึ ถึงยาทีอ่ อกฤทธิต์ อ ผนัง เซลลโดยตรงที่ peptideglycan เชน beta-lactam, cephalosporins หรือ glycopeptide สวนของแบคทีเรียทีก่ อ ใหเกิดภาวะอาหารเปนพิษสวนใหญก็นา จะนึกถึงเชือ้ สกุล Enterobacteriaceae ซึง่ ยาทีค่ วรนึกถึงก็นา จะออกฤทธิต์ อ การขัดขวามการสังเคราะหโปรตีน หรือ DNA อยางไรก็ดปี ญ  หา การติดเชือ้ มักมีสาเหตุโนมนำจากกรณีอน่ื ๆ เชน ชวงอายุ การจัดการ อาหาร สรีรวิทยาของสัตว ที่เปนปฐมเหตุของปญหา ดังนั้นผูใชยาตองตรึกตรองกอนวาการใหยาปฏิชีวนะเปนการแกปญหา ทีต่ น เหตุหรือปลายเหตุ หากตองการแกปญ  หาอยางยัง่ ยืนนัน้ ทานควรตองทำอยางไร VPATNews : ทราบมาวาในเดือนมกราคม 2556 นี้ ทางอาจารยไดรบั มอบหมายเปนประธาน การจั ด งาน International Conference on Veterinary Science 2013 (ICVS2013) ของสั ต วแพทยสมาคมแห ง ประเทศไทยในพระบรมราชู ป ถั ม ป โดยมี concept งานคือ 3G ซึ่งเปนแนวคิดที่นาสนใจทีเดียว อยากใหอาจารยเลาถึงที่มาที่ไปของแนวคิดในการจั ด งาน ในครั ้ ง นี ้ อ.ณุวรี  : วิถกี ารดำรงชีวติ ของคนในปจจุบนั ในขณะทีม่ คี วามเจริญกาวหนาทางวัตถุดา นตางๆเพิม่ มากขึน้ อยางกาวกระโดดในชวง 10 ปทผ่ี า นมาสัญลักษณ 3G เปนภาพของตัวแทนเทคโนโลยี ที่กาวเขาสูยุคสมัยของ Third Generation Mobile Network แตการพัฒนาของสังคมกลับเปน ปฏิภาคผกผันกับความสมดุลและความอุดมสมบูรณของสิ่งแวดลอม ยิ่งเราใชเทคโนโลยีเพื่อ

ความสบาย ผลจากความสะดวกสบายกลับมาทำลายคุณภาพชีวติ ของคนบนโลกมากขึน้ ในขณะที่ หนวยงานภาครัฐและเอกชนในวิชาชีพตางๆ ตืน่ ตัวเรือ่ งของการอนุรกั ษสง่ิ แวดลอมโดยนำ green technology ตางๆมาปรับใช เพื่อการคงอยูอยางผาสุขของลูกหลานในอนาคตผมเชื่อเหลือ เกินวาวงการสัตวแพทยเองก็ไดรบั ผลกระทบจากผลการเปลีย่ นแปลงของโลกไมนอ ยและไดตระหนัก ถึ ง ผลกระทบที ่ เ กิ ด จากระบบการเลี ้ ยงสั ต ว อ ุ ต สาหกรรมการแปรรู ป และตลอดจนหลั ก การ ปฏิ บ ั ต ิ ต  า งๆบนคลิ น ิ ก ดั ง นั ้ น จึ ง ประยุ ก ต 3G ที ่ ส ื ่ อ ถึ ง พั ฒ นาการทางเทคโนโลยี ร  ว มกั บ การใหหลักประกันที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมภายใตพันธกิจที่สัตวแพทยมีความเกี่ยวของจึงเปน Global Green Guarantee for Foods and Friends ครัง้ นีจ้ งึ เปนการประชุมวิชาการทีเ่ ปนสือ่ กลาง ทางวิชาการที่มีการนำเสนอขอมูลแบบอนุรักษสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยที่มีตอผูบริโภค สัตวเลี้ยงและสวัสดิภาพสัตวใหสังคมไดรับทราบวาวิชาชีพสัตวแพทยก็ตระหนักถึงการสราง เครือขายและขอตกลงดานการเฝาระวังโรคควบคุมปองกันโรคในระดับนานาชาติ ปญหาดานมลพิษ และเทคโนโลยีการผลิตอยางยั่งยืนที่ตอบโจทยแนวโนมการขยายตัวที่ครอบคลุมประเทศสมาชิก ASEAN โดยใชเทคโนโลยีที่มีเปนมิตรตอสิ่งแวดลอมและปลอดภัยผูบริโภคสูงสุด VPATNew… : หลายๆคนอาจคิดวางาน ICVS มีแตหัวขอของปศุสัตวซึ่งคอนขางไกลตัวแต ไดขา วมาวาปน้ี จะมีการปรับเปลีย่ นรูปแบบหัวของานประชุมไปจากปทผ่ี า นๆมา อ.ณุวรี  : จากปทผ่ี า นมาการประชุม ICVS เปนการชุมนุมทางวิชาการไดรบั การยอมรับทัง้ ในระดับ ประเทศและนานาชาติมีองคกรพันธมิตรมากมายซึ่งตองขอพระคุณคณะกรรมการชุ ด ที ่ ผ  า นมา ทีไ่ ดสรางความเขมแข็งของงานอยางตอเนือ่ งในปน้ี เราจัดโปรแกรมทีม่ คี วามหลากหลายตามชนิด ของสัตว ไดแก สุกร สัตวปก สัตวเคี้ยวเอื้องและสัตวเลี้ยง งาน ICVS 2013 จะจัดขึน้ ในวันพุธที่ 16วันศุกรท่ี 18 มกราคมดีท่ี 18 มกราคม 2556 ทีเ่ ดิมคือ Impact forum เมืองทองธานี จ. นนทบุรี และสำหรับ สัตวแพทยที่ทำงานดานสัตวเลี้ยงและสัตวปา เราก็เตรียมโปรแกรมที่นาสนใจตางๆมากมายอาทิ เชน โรคติดเชื้อในสัตวเลี้ยง เทคนิคการใชยา ปฏิชีวนะ เทคนิคทางศัลยกรรม การแกปญหาทาง สูตกิ รรม เปนตน ซึง่ ไดรบั ความรวมมือเปนอยางดีจากทางสมาคม สัตวแพทย ผูป ระกอบการบำบัดโรค สัตวเสมอมา จึงตองขอกราบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ ทีน่ ้ี หากคุณหมอทานที่ไมสะดวกเขาทั้ง 3 วันของงานประชุม ก็สามารถลงทะเบียนแบบ 1 day/CE ในวันที่ 18 มกราคม 2556 ก็ไดซึ่งเราจะเนนโปรแกรมวิชาการใหกับสัตวแพทยทท่ี ำงานคลินกิ สัตวเลี้ยง ในราคา 1,500 บาท ในราคานี้จะรวมอาหาร หนังสือ proceeding และกระเปา เชนเดียวกับผูท ล่ี งทะเบียน 3 วัน สามารถเขาไปดูรายละเอียดเพิม่ เติม http://www.icvsthailand.com VPATNews : สุดทายนี้อาจารยอยากจะฝากอะไรถึงสมาชิก VPAT ครับ อ.ณุวรี  : ทำเร็ว เคาหาวา ล้ำหนา ทำชา เคาหาวา อืดอาด แกลงโง ก็หันมา ตวาด ทำเปนฉลาด ก็กลับ ระแวง พอทำกอน ก็วา ยังไมไดสั่ง ครั้นทำทีหลัง ก็ดา ไมรูจัดคิด นี่หละชีวิต อยาคิดอะไรมาก นะครับ แลวพบกันในวารสารฯ เลมหนา ( Modified from Facebook )

ผศ.น.สพ.ดร.ณุวีร ประภัสระกูล

การศึกษา : สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต รุน 55 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย Ph.D. (Animal Production) ป 2546 Faculty of Agriculture and Technololgy, Tokyo University of Agriculture and Technology, Japan Advanced training in veterinary microbiology ป 2549 Murdoch University, Western Australia ตำแหนงปจจุบัน : บรรณาธิการวารสารผูประกอบการบำบัดโรคสัตวแหงประเทศไทย ประธานการจัดประชุมวิชาการนานาชาติ International Conference on Veterinary Science 2013 หัวหนาภาควิชาจุลชีววิทยา สัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เจาของกิจการเสนาสัตวแพทยโพลีคลินิก




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.