VPAT News June 2015

Page 1



to Approach w o H the Vomiting Patient POA

ผูชวยศาสตราจารยดร.สัตวแพทยหญิงวลาสินี มูลอามาตย ภาคว�ชาเวชศาสตรคลินิกและการสาธารณสุข คณะสัตวแพทยศาสตร มหาว�ทยาลัยมหิดล

(ตอจากหนา 1)

2.จำแนกปญหา (define the problem)

ตองทำการแยกการอาเจียนออกจากการสำรอก และตองแยกอาการอาเจียนออกจากการไอ แบบทีม่ กี ารขาก (gagging) ตามมา และเจาของสัตวมกั จะไมสามารถแยกการอาเจียน การสำรอก การขากออกจากกันได จึงจำเปนตองถามคำถามที่เฉพาะเจาะจง เพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตอง เชน ลักษณะและความพยายามในการเอาอาหารออกจากปาก ลักษณะของ vomitus ถาหากไมแนใจ สัตวแพทยอาจรับสัตวไวเพื่อสังเกตอาการ หรือใหเจาของสัตวบันทึกวิดีโอไวใหดู

3.ความผิดปกติของทางเดินอาหารแบบปฐมภูมิหรือทุติยภูมิ (primary vs secondary gastrointestinal disorders) มีความจำเปนอยางยิง่ ทีจ่ ะตองจำแนกวาการอาเจียนเกีย่ วของกับความผิดปกติระบบใด (define the body system) ซึง่ ในทีน่ ท้ี ำการจำแนกการอาเจียนวามีสาเหตุจาก primary gastrointestinal (GI) disorders (โรคที่เกี่ยวของกับ GI โดยตรง) หรือเปน secondary GI (non-GI) disease เชน ความผิดปกติที่ระบบอื่นๆ ที่มีผลโดยออมใหเกิดการอาเจียน อันเนื่องมาจาก toxins ไปมีผลตอ CRTZ หรือไปกระตุน ที่ peripheral non-GI vomiting receptors ทัง้ นีเ้ พือ่ เปนการประหยัดทัง้ เงิน และเวลาที่จะตองใชไปในการตรวจวินิจฉัย 3.1 Primary GI disease โดยทัว่ ไปแลวการอาเจียนทีเ่ กิดจาก primary upper GI disease มักสัมพันธกบั ชวงเวลา ทีก่ นิ อาหาร เชน สัตวมกั อาเจียนหลังกินอาหารครึง่ ชัว่ โมง และยิง่ ชวงเวลาทีอ่ าเจียนเกิดตามหลัง เวลากินยิง่ นอยเทาไรแลว ยิง่ บงชีว้ า สวนของปญหาอยูท ท่ี างเดินอาหารสวนตน แตกพ็ งึ รำลึกไวเสมอวา ทุกกฎมีขอยกเวน อยางไรก็ตาม การอาเจียนอาจเกิดชาออกไปหลายชัว่ โมง (บางทีอาจถึง 24 ชัว่ โมง) ในสัตวที่ ประสบปญหา non- inflammatory GI disorders สำหรับในสัตวทป่ี ระสบปญหามีสง่ิ แปลกปลอม (foreign bodies) หรือ secretory disorders ของทางเดินอาหาร มักจะอาเจียนแมวา ไมไดกนิ อาหาร ในรายที่เปน lower bowel disorders มักจะอาเจียนเวลาใดก็ได โดยไมสัมพันธกับการกิน สัตวปวยที่ประสบปญหา primary GI disease อาจไมพบความผิดปกติของระบบใดๆ รวมดวยเลย สัตวอาจจะกินไดเปนปกติ หรืออาจจะมีอาการเพียงแคซมึ หรือเบือ่ อาหาร อันเนือ่ งมาจาก รอยโรคทีเ่ กีย่ วของ เชน neoplsia หรือ local effects จาก foreign body หรือเปนผลทีเ่ กิดขึน้ ตามมาจาก การอาเจียนเปนระยะเวลานาน เชน dehydration, electrolyte disturbances หรือ shock ลักษณะที่บงชี้วาสัตวประสบปญหาอาเจียนเนื่องจาก primary GI disease ไดแก ตรวจคลำพบความผิดปกติในสวนของชองทอง เชนกรณี intussusception, foreign bodies หากอาการอาเจียนมีความสัมพันธกับอาการทองเสียอยางมีนัยสำคัญ (แตพึงระลึก ไวเสมอวา สาเหตุของ primary GI disease มักไมทำใหเกิดปญหาทองเสีย) หากสัตวไมมีความผิดปกติอื่นๆ จากประวัติการปวยและอาการทางคลินิก

3.2 Primary GI disease สัตวปว ยทีแ่ สดงอาการอาเจียนอันเนือ่ งมาจาก secondary GI disease เกิดจากผลของ toxins ตอ vomiting center หรือ CRTZ หรือเพราะการกระตุน ของ non-GI associated peripheral receptors การอาเจียนในกรณีเชนนี้มักไมสัมพันธกับการกิน ยกเวนในกรณี pancreatitis และทีส่ ามารถพบไดบอ ย คือ สัตวอาจมีประวัตกิ ารปวยหรืออาการทางคลินกิ ทีแ่ สดงถึง ความผิดปกติของระบบอื่นๆ ของรางกายรวมดวย รวมกับอาการอาเจียนที่เกิดขึ้นมักเกิดขึ้นแบบ เปนครัง้ คราว หรือไมสมั พันธกบั การกิน อาจจะกลาวไดวา สัตวปว ยทีแ่ สดงอาการอาเจียนเนือ่ งจาก extra GI disease เกิดจากความความผิดปกติของเมตาโบลิซึมของรางกาย จากที่ไดกลาวมาขางตนที่วาอาการอาเจียนในกรณี pancreatitis มีรูปแบบคลายกับ primary GI disease เชน อาเจียนแบบ acute onset vomiting หรือสัตวไมมอี าการอะไรเลย หรือ เกิดการอาเจียนทันทีทันใดภายหลังจากกินอาหาร หรือมีความอยากอาหารลดลง

4.ขั้นตอนในการวินิจฉัยสัตวปวยที่มาดวยอาการอาเจียน (diagnostic approach to the vomiting patient) สิง่ ทีส่ ำคัญทีส่ ดุ คือ ทำการประเมินประวัตกิ ารปวยและการตรวจรางกายเพือ่ ทีจ่ ะหามูลเหตุ วาสาเหตุของการอาเจียน เปน primary GI disease หรือ secondary GI disease แมวา ประวัตสิ ตั วปว ย และการตรวจรางกายจะบงชี้วาเปน secondary GI disease แลวไดทำการตรวจดวยวิธีการที่ เหมาะสมไปแลว ดังนั้นจะมีสัตวปวยดวยอาการอาเจียนบางสวนเทานั้นที่ตองไดรับการวินิจฉัย เพิม่ เติม แตอยางไรก็ตามตองระลึกไวเสมอวายังไมสามารถระบุชข้ี าดลงไปไดวา สัตวปว ยเนือ่ งจาก primary GI disease หรือ secondary GI disease อยางใดอยางหนึ่งได สาเหตุของการอาเจียนอันเนือ่ งมาจาก primary GI disease ทีพ่ บไดบอ ยทีส่ ดุ คือ gastritis ซึง่ ตอบสนองตอ symptomatic treatment เปนอยางดี ในขณะทีโ่ รคของ secondary GI disease ไมตอบสนองตอ symptomatic treatment จึงตองไดรับการจัดการที่เหมาะสมอื่นๆ เพิ่มเติม โดยทัว่ ไปแลว clinical pathology มีประโยชนในการใหขอ มูลเกีย่ วกับ การวินจิ ฉัยหาสาเหตุ ของการเกิดการอาเจียนจาก secondary GI disease สวนโรคของ primary GI disease นัน้ ผลทาง clinical pathology มักจะบอกขอมูลที่เกี่ยวของกับผลที่เกิดตามมาจากการอาเจียน เมือ่ ไหรกต็ ามทีไ่ มสามารถทำการแยกวาเปน primary GI disease หรือ secondary GI disease จากการซักประวัตแิ ละตรวจรางกาย ควรจะทำการตรวจหาสาเหตุของ secondary GI disease กอน เพราะราคาถูกกวา รวดเร็วกวา และไม invasive และจึงพิจารณาทำการตรวจหาสาเหตุของ primary GI disease ดวยวิธี plain radiography, contrast radiography, endoscopy, หรือ exploratory laparotomy ถาหากผลของ clinical pathology เปนปกติ ขอบงชีใ้ นการตัดสินใจวา จะทำการตรวจวินจิ ฉัยเพิม่ เติมรวมกับการทำการรักษาตามอาการ (symptomatic treatment) ในสัตวทีมีปญหาอาเจียน มีดังนี้ สัตวไมตอบสนองตอ symptomatic treatment การอาเจียนเปนแบบ รุนแรง และ persistent เมือ่ สัตวปว ยมีอาการทางคลินกิ อืน่ ๆ รวมดวย เชน polydipsia, icterus, inappetance, severe depression, คลำพบความผิดปกติในชองทอง


POA 5.Primary gastrointestinal disease Clinical pathology อาจมีประโยชนนอยในการวินิจฉัย primary GI disease ดังนั้น เมื่อทานสงสัยวาสัตวปวยดวย primary GI disease แลว เปาหมายในการวินิจฉัยคือการสำรวจ ความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร อยางไรก็ตาม ตองทำการประเมินสภาวะ dehydration และ electrolyte status ของสัตวปว ย เนือ่ งจากสัตวทม่ี ปี ญ  หาการอาเจียนทีร่ นุ แรงและยาวนาน อาจประสบความผิดปกติของเคมีคลินกิ เชน alkalosis, acidosis, pre-renal azotemia, hypokalemia, hyponatremia และ hypochloremia 5.1 ระบุตำแหนงของรอยโรค (define anatomic location) หากมีแนวโนมวาสาเหตุของปญหาเกิดจาก primary GI disease แลว ใหทำการพิจารณาวา อาการอาเจียนสัมพันธกบั การกินหรือไม ลักษณะของ vomitus เปนอยางไร และควรทำการประเมิน ดวยวารอยโรคนาจะเปนอยางไร เครือ่ งมือทีใ่ ชประกอบการวินจิ ฉัย เชน contrast radiology อาจเปนสิง่ ทีเ่ หมาะสมในการ หาตำแหนงของรอยโรค ทั้งนี้เพื่อที่จะหาแนวทางการวินิจฉัยที่เหมาะสมตอไป เชน พิจารณาทำ endoscopy ในกรณีทส่ี งสัยวามีปญ  หาทีล่ ำไสเล็กสวน duodenum หรือกระเพาะอาหาร แตการตรวจ ดวยเครื่องมือดังกลาวจะไมมีประโยชนเลยหากสงสัยวารอยโรคอยูที่ลำไสเล็กสวนปลาย 5.2 ระบุรอยโรค (define the lesion) เมื่อทำการระบุตำแหนงของรอยโรคไดแลว ก็ควรทำการตรวจเพื่อระบุปญหา ใหไดวา เกิดจากอะไร เชน การทำ biopsy ชิน้ เนือ้ ซึง่ ควรจะทำทัง้ ในกรณีทพ่ี บการเกิดการอักเสบ หรือเนือ้ งอก หรือแมแตสภาพของทางเดินอาหารที่ปกติ 5.3 โรคกระเพาะอาหาร (diseases of the stomach) Gastritis Garbage induced Drug induced Immune mediated Eosinophilic Infection e.g. Helicobacter Gastric foreign bodies Gastric ulceration Primary GI Secondary to extra GI disease (e.g. mastocytoma, liver disease, drugs e.g. NSAIDs) Disorders of the pylorus Pylorospasm Pyloric obstruction (e.g. congenital stenosis, chronic hypertrophic gastropathy, neoplasia, foreign bodies) Abnormal gastric motility

6.Secondary GI disease

มี secondary GI disease มากมายที่ทำใหเกิดการอาเจียน ตารางที่ 1 เปนโรคสำคัญ ที่ทำใหเกิดการอาเจียน พรอมกับการตรวจเพื่อประกอบการวินิจฉัย

Secondary gastrointestinal disease 1 è Õ · § Ò ที่เปนสาเหตุของการอาเจียนในสุนัขและแมว µÒÃ

Disorder

Clinical pathology

Pancreatitis

Amylase*, lipase*, WBC count, ALP, specPL, cPLi, fPLi ALT, ALP, bile acids, bilirubin Urea, creatinine, phosphate, urine SG Na+, K+, urea, cortisol Blood and urine glucose, ketones WBC count Serum Ca2+ Serum K+ CSF analysis (possibly) Blood lead and/or urinary δ-ALA

Hepatic disease Renal disease Hypoadrenocorticism Diabetic ketoacidosis Toxemia due to infection Hypercalcemia Hypokalemia/hyperkalemia CNS disease Lead toxicity *ไมมีประโยชนในแมว

5.4 โรคลำไส (intestinal disease) โรคลำไสที่ทำใหเกิดการอาเจียน ไดแก Enteritis e.g. parvo, corona, garbage Intestinal obstruction (e.g. foreign body, intussusception) Feline inflammatory bowel disease

Dr. Brian Beale DVM, ACVS

Diplomat, American College of Veterinary Surgeons Leading US orthopaedic Veterinarian and past president of the American Veterinary Orthopaedic Society.

Cesar Millan

World Famous Dog Behaviouralist, Author and TV presenter of Cesar 911


POA อาจารยสัตวแพทยหญิงดร.ม.ล.นฤดี เกษมสันต ภาควิชาสรีรวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

ในการวางแผนการวินิฉัยและการรักษาโรคทางเดินอาหารที่แสดงออกดวยอาการถายเหลวนั้น ถาสัตวแพทยทําเปนขั้นตอนไปทีละขั้นตอน จะทําใหเราสามารถวินิจฉัยไดจนถึง สาเหตุทแี่ ทจริง และทําใหการรักษาเกิดไดทนั ทวงที สัตวปว ยมีโอกาสหายขาดจากโรคได แตถา การรักษาไมไดคน หาถึงสาเหตุทแี่ ทจริง การดําเนินของโรคอาจจะนําไปสูภ าวะทีไ่ มหายขาด และทําใหสัตวตายได กอนทําการวินจิ ฉัยอาการใดๆ ก็ตาม สิง่ แรกทีค่ วรจะกระทําคือการประเมินหาปญหาทีแ่ ทจริง มีหลายครัง้ หลายหนทีเ่ จาของแจงปญหาใหสตั วแพทยฟง โดยความเขาใจผิดและรูเ ทา ไมถึงการณ ถาสัตวแพทยไมไดประเมินดีพอ ความเขาใจผิดจะนําไปสูการวางแนวทาง การวินิจฉัย และการรักษาที่ผิด นําไปสูความเสียหายและไมเขาใจกันในที่สุด หลายกรณีที่เจาของ เขาใจวา secretion ที่ไหลออกมาจากรูกนของสัตวเปนอุจจาระที่เหลว ถาสัตวแพทยไมไดทําการตรวจรางกายหรือซักประวัติใหดีอาจจะทําใหการวางแผนการรักษาผิดได จุดประสงคในการซักประวัติ การตรวจรางกายของสัตวปวยในรายที่มีอาการถายเหลวนั้น มีจุดประสงคในการแยกการถายเหลวแบบเฉียบพลัน และการถายเหลวแบบเรื้อรังออก จากกัน และยังตองแยกการถายเหลวแบบมีการติดเชือ้ และการถายเหลวแบบไมมกี ารติดเชือ้ รวมดวยออกจากกัน กอนทีจ่ ะนําไปสูก ารวางแนวทางการวินจิ ฉัยเพือ่ แยกสาเหตุของการถายเหลว

Diarrhea

การถายเหลวประเภทตางๆทีแ่ บงตามกลไกการถายเหลวนี้ มีสว นชวยใหการวางแผน การรักษาของเราเปนไปไดอยางถูกตองและมีโอกาสประสบความสําเร็จมากขึ้น อยางเชน การถายเหลวทีม่ กี ลไกการกระตุน การบีบตัว สวนใหญจะเปนการถายเหลวทีเ่ กิดขึน้ เนือ่ งจาก ความผิดปกติของลําไสใหญมากกวาลําไสเล็ก หรือการถายเหลวที่เปนแบบ osmotic และ secretory diarrhea นัน้ เปนการถายเหลวทีเ่ กิดขึน้ เนือ่ งจากความผิดปกติของลําไสเล็กมาก กวาลําไสใหญ ดังนั้นการทดลองอดอาหารเพื่อดูการตอบสนองของอาการ ควรกระทําเมื่อ สัตวแพทยสงสัยวาการถายเหลวนี้มากจากลําไสเล็ก เปนตน

Osmotic diarrhea

ขั้นตอนในการวางแผนการวินิจฉัยและวางแนวทางการรักษาทําไดดังตอไปนี้

เปนภาวะทีส่ ตั วถา ยอุจจาระเปลีย่ นแปลงไปจากปกติ ทีน่ บั รวมถึงความแข็ง ความ เหลวของอุจจาระ ปริมาณนํา้ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ในเนือ้ อุจจาระ สวนประกอบของเนือ้ อุจจาระทีเ่ ปลีย่ น แปลงไป เชน มีมูก หรือมีเลือดปน ความเปนเนื้อเดียวของอุจจาระ และความถี่ในการถาย อุจจาระ ประเภทของการถายเหลว (Classification of diarrhea) แบงไดหลายประเภท ดังนี้

เกิดจากการมีปริมาณนํา้ เพิม่ ขึน้ ในเนือ้ อุจจาระ จึงสงผลใหปริมาณ fecal content เพิ่มสูงขึ้นและกระตุนการบีบตัวของทางเดินอาหาร สาเหตุหลักมักเกิดจากการที่ microvilli ถูกทําลายไปเมื่อเกิดโรคของทางเดินอาหาร ทําใหเกิดการลดลงของ พื้นที่ผิวในการดูดซึม สงผลให unabsorbed nutrients คงคางอยูใน intestinal lumen เกิด malassimilation ขึ้น และสงผลทําใหเกิดภาวะถายเหลวในทีส่ ดุ ภาวะถายเหลวแบบ osmotic diarrhea นีจ้ ะลดลง อยางเห็นไดชัดถาสัตวปวยไดรับการอดอาหาร

หมายเหตุ: malassimilation เปนภาวะที่ทางเดินอาหารไมสามารถขนสงสารอาหารเขาสูระบบ ไหลเวียนโลหิตได อาจจะเกิดจากความผิดปกติในการยอยอาหารของทางเดินอาหาร (maldigestion) หรือ ความผิดปกติในการขนสงสารอาหาร (malabsorption) หรือทั้งสองปจจัยรวมกันก็ได

Secretory diarrhea

การถายเหลวแบบ secretory diarrhea นี้เกิดจาก intestinal crypt cell หลั่งของ เหลวออกมามากเกินไปในทอทางเดินอาหาร การถายเหลวแบบนีส้ ามารถแยกจาก osmotic diarrhea ไดจากการที่ยังสามารถถายเหลวเปนปริมาณมากอยู ถึงแมวาจะอดอาหารสัตว เปนเวลาสองถึงสามวันแลวก็ตาม กลไกการกระตุน intestinal crypt cell ที่ทําใหหลั่งของ เหลวมากเกินไป มีทั้งการกระตุนแบบ passive secretion ซึ่งเกิดจากการเพิ่ม hydrostatic pressure ของหลอดเลือดใน lamina propria เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของ venous pressure หรือเนือ่ งจากเกิดการอุดตันของ lymph vessel หรือการสูญเสียโครงสรางของ tight junction และการกระตุน แบบ active secretion เชน การกระตุน จาก enterotoxin, gut hormones หรือ จาก hydroxybile acid เปนตน

การถายเหลวเนื่องจาก

INCREASED PERMEABILITY

การถายเหลวประเภทนี้เกิดจากการอักเสบหรือการเพิ่มขึ้นของ intestinal fluid pressure สงผลใหเกิดการสูญเสียโมเลกุลขนาดใหญ เชน โปรตีนหรือเม็ดเลือด ไปกับทอ ทางเดินอาหาร

การถายเหลวเนื่องจาก

ALTERED MOTILITY

เปนการถายเหลวเนือ่ งการเกิดกลไกการกระตุน vagus acitivty ทีส่ งู ขึน้ ทําใหเกิด การยับยั้ง segmental contraction แตกระตุน peristalsis contraction ทําใหเกิดการลด transit time ลดการดูดซึมสารอาหาร ซึง่ สวนใหญมผี ลมาจาก gut hormone ทีม่ ผี ลตอการ ทํางานของ vagus nerve

1 ระบุปญหาที่เกิดขึ้นกับสัตวปวย (Define

problem)

ขัน้ ตอนแรกของการ approach สัตวปวยทีป่ ระวัตกิ ารถายเหลวคือ การแยก acute diarrhea ออกจาก chronic diarrhea Acute diarrhea เปนการถายเหลวทีม่ รี ะยะเวลาไมเกินสองสัปดาห ซึง่ มากกวา 90% ของการถายเหลวแบบนีจ้ ะเปนการถายเหลวแบบพบการติดเชือ้ รวมดวย (infectious diarrhea) สัตวปวยจะแสดงอาการ systemic sign รวมดวย การถายเหลวแบบนี้ สัตวปวยสามารถ มีกลไกการตอบสนองของรางกายทีม่ าชวยเหลือทําหสตั วมโี อกาสทีอ่ าการดีขนึ้ ไดดว ยตัวเอง ในทางตรงกันขาม การถายเหลวแบบ Chronic diarrhea นัน้ จะมีการถายเหลวติด ตอกันอยางนอยสองสัปดาห บางครัง้ เราสามารถพบอาการถายเหลวอยางรุนแรงแทรกเปน ระยะๆ สวนใหญแลวการถายเหลวแบบเรือ้ รังนี้ มักไมพบการติดเชือ้ (non infectious diarrhea) รวมดวย สัตวปวยสามารถกินอาหารไดปกติ และมีอาการราเริงปกติ ทําใหเจาของสัตวไม สามารถตรวจพบความผิดปกติของสัตวได โดยเจาของสัตวเขาใจวาอุจจาระทีเ่ หลวผิดปกติ ในชวงนัน้ เปนอุจจาระทีป่ กติของสัตวปว ย จึงละเลยทีจ่ ะนําสัตวปว ยมารักษา ตอเมือ่ อาการ ถายเหลวรุนแรงขึน้ หรือมีอาการทาง systemic sign รวมดวย (acute on chronic diarrhea) จึงนํามารักษา ดังนัน้ การซักประวัตทิ จี่ ะทําใหการรักษาสัตวปว ยประสบความสําเร็จได ตอง เปนการซักประวัติที่สามารถแยกภาวะ chronic diarrhea ที่เจาของละเลยออกมาได สวนใหญแลวสัตวปว ยทีม่ อี าการของการถายเหลวแบบเรือ้ รังนัน้ มักจะไมมอี าการ ทาง systemic sign รวมดวย ในกรณีทมี่ ี systemic sign รวมดวย ควรหาสาเหตุอนื่ ๆ ทีเ่ ปน รวมกัน


POA 2. ระบุอวัยวะที่ผิดปกติ​ิ

(Define system)

โดยปกติแลว การวางแนวทางการรักษาแบบที่เราเรียกวา problem orientated approach หลังจากที่เราไดทราบวาสัตวปวยนั้นมีปญหาอะไรบาง ลําดับตอไปคือการระบุ หาอวัยวะที่ผิดปกติที่ทําใหสัตวแสดงอาการตามที่เปนอยู โดยที่การระบุอวัยวะที่เกี่ยวของ นัน้ อาศัยหลักดังตอไปนี้ ถาอวัยวะหลักทีท่ าํ หนาทีน่ นั้ มีโครงสรางทาง anatomy ผิดปกติไป การระบุอวัยวะนัน้ เราจะถือวาเกิดความผิดปกติแบบ primary disease แตถา โครงสรางของ อวัยวะหลักยังมีโครงสรางปกติ แตการทําหนาทีข่ องอวัยวะนัน้ ทํางานแบบผิดปกติไป (โดยมี อวัยวะอืน่ ทีผ่ ดิ ปกติ สงผลมายังการทํางานของอวัยวะหลัก) การระบุอวัยวะนัน้ เราจะถือวา เกิดความผิดปกติแบบ secondary disease กอนทีจ่ ะหาตําแหนงทีผ่ ดิ ปกติไปเปนลําดับทีส่ าม ของการวางแผน แตในกรณีของการถายเหลว การวางแผนในลําดับขั้นแบบนี้จะทําได คอนขางยุง ยากกวาการทีเ่ ราจะซักประวัตติ วั รางกายสัตวปว ยเพือ่ ระบุตาํ แนงของทางเดินอาหาร ที่ผิดปกติไปกอน แลวคอยยอนกลับมาขั้นตอนที่สองเพื่อหาวาความผิดปกตินั้นเปนแบบ primary หรือ secondary disease

3. ระบุตําแหนงที่ผิดปกติ

(Define location)

จากทีก่ ลาวแลวขางตนเราพบวาการหาตําแหนงทีผ่ ดิ ปกติไปของทางเดินอาหารที่ งายทีส่ ดุ คือการประเมินจากลักษณะอุจจาระของสัตวปว ย พฤติกรรมการถายอุจจาระ อาการ ของสัตวปว ย เนือ่ งจากลักษณะอุจจาระของสัตวปว ย พฤติกรรมการถายอุจจาระ อาการของ สัตวปว ยทีม่ สี าเหตุมาจากลําไสเล็กและลําไสใหญนน้ั มีความแตกตางอยางชัดเจน ดังนัน้ ขอมูล จากในตารางตอไปนี้ จะเปนคําถามหลักทีส่ ตั วแพทยใชในการซักประวัตเิ พือ่ ใหสามารถแยก ตําแหนงที่ผิดปกติของทางเดินอาหารไดอยางถูกตอง ลักษณะผิดปกติ

ความผิดปกติเกิดขึ้นที่ลําไสเล็ก

ความผิดปกติเกิดขึ้นที่ลําไสใหญ

fecal volume

เพิ่มขึ้น

ไมเพิ่มขึ้น

blood containing

มีลักษณะเปน Melena

มีลักษณะเปน hematochezia

mucus containing

ไมพบ

พบ

frequency

ไมเพิ่ม

เพิ่ม

tenesmus

ไมพบ

พบ

weight loss

นํ้าหนักลด

นํ้าหนักไมลด ยกเวนในกรณีเปนมะเร็งลําไสใหญ

boborhymy sound

สามารถพบได

ไมพบ

เมือ่ สัตวแพทยทาํ การซักประวัติ เพือ่ แยกแยะตําแหนงทีผ่ ดิ ปกติไปนัน้ ถาลักษณะ ที่ผิดปกติไปทั้งหมดที่ไดรับ ไมไดระบุชัดวาเปนเพียงลําไสใหญ หรือลําไสเล็กเทานั้น ความ ผิดปกติที่เกิดขึ้นเราเรียกวา mixed bowel diarrhea ในกรณีทเี่ ราทําการซักประวัตจิ ากความผิดปกติของสัตวแลวพบวาความผิดปกติที่ เกิดขึน้ นัน้ เกิดกับลําไสใหญเทานัน้ เราสามารถทราบไดทนั ทีวา ความผิดปกติของลําไสใหญ นัน้ เปนความผิดปกติจากลําไสใหญโดยตรง จึงเปนความผิดปกติทเี่ ปนแบบ primary disease สวนความผิดปกติทไี่ ดจากซักประวัตแิ ลวพบวาผิดปกติขนึ้ กับลําไสเล็กนัน้ อาจเกิดไดทง้ั แบบ primary และ secondary disease ซึ่งเราจําเปนตองหาสาเหตุตอไป ยอนกลับมาทีข่ นั้ ตอนทีส่ องหลังจากเราไดทาํ การซักประวัตเิ พือ่ แยกหาตําแหนงที่ ผิดปกติของอวัยวะนั้นแลว

ลักษณะสําคัญของการแยก primary GI disease ออกจาก secondary GI disease สวนใหญแลว สัตวปว ยดวยกลุม อาการ secondary GI disease จะมาดวยปญหาเดนอืน่ ๆ ทีไ่ มใชปญ  หาในทางเดินอาหาร เชนสัตวปว ยดวยโรคตับ อาจจะมีปญ  หาการเกิด jaundice ขึน้ มาเปนปญหาหลัก หรือ hyperthyroid cat มักจะมาดวยปญหาของอาการของระบบหัวใจ และหลอดเลือดมากกวา ทีจ่ ะมาดวยปญหาการถายมากผิดปกติ ยกเวนเพียงแค secondary GI disease ที่เกิดจากโรค Exocrine pancreatic insufficiency เทานั้นที่เจาของสัตวจะนํา สัตวเลี้ยงมาดวยปญหาการถายผิดปกติ ดังนัน้ การระบุถงึ ปญหาทีเ่ กิดขึน้ กับสัตวปว ย จะเปนแนวทางในการนําไปสูข อ สรุป ของสาเหตุทแี่ ทจริงของโรคหรือความผิดปกติทเี่ กิดขึน้ กับตัวสัตวปว ย ในกรณีทสี่ ตั วปว ยถูก นํามารักษากับเรา โดยมีอาการหลักทีเ่ กิดขึน้ เปนกลุม อาการอืน่ ทีไ่ มไดเดนชัดวาเกีย่ วของกับ ทางเดินอาหาร แนวทางการ approach และแนวทางการวางแผนการรักษาจะยึดตามอาการ หลักทีเ่ กิดขึน้ สวนอาการผิดปกติของทางเดินอาหารนัน้ จะเปนสิง่ ทีส่ าํ คัญทีร่ องลงมาเทานัน้ เมือ่ ทําการรักษาสาเหตุหลักไดดขี นึ้ แลว อาการของทางเดินอาหารจะดีขนึ้ ตามมาดวยเชนกัน อยางไรก็ตามเมือ่ การซักประวัตนิ นั้ ระบุถงึ ความผิดปกติทลี่ าํ ไสเล็ก ลําดับตอไปทีเ่ ราตองทํา การวินจิ ฉัยแยกแยะคือ ความผิดปกตินน้ั เกิดในลักษณะ primary หรือ secondary disease โดยทีเ่ ราทําการวางแนวทางวินจิ ฉัยโดยอาศัยการทํางานของลําไสเล็กเปนหลัก เนือ่ งจากลําไส เล็กทํางานอยูส องประการคือ ทํางานรวมกับถุงนํา้ ดีและตับออน ในการยอยอาหาร และ ทํางาน ในการดูดซึมสารอาหาร ดังนั้น การวินิจฉัยโรคณ จุดนี้ คือการประเมินความผิดปกติของ การยอยและการดูดซึมสารอาหารของลําไสเล็ก โดยดูจากปริมาณของ enzyme และวิตะมิน บางชนิดทีจ่ าํ เปนตองอาศัยลําไสเล็กในการดูดซึม เพือ่ ประเมินการยอยและการดูดซึมวาผิดปกติ หรือไม

การประเมินการยอยที่ผิดปกติในสัตวปวย (maldigestion) อวัยวะหลักทีท่ าํ หนาทีย่ อ ยอาหารคือ ตับออน เนือ่ งจากทําหนาทีห่ ลัง่ นํา้ ยอยและ สารหลายชนิดทีช่ ว ยในการสงเสริมใหการยอยอาหารในบริเวณลําไสเล็กนัน้ เปนไปดวยดี การ ตรวจทางหองปฏิบัติการแลวสามารถระบุไดวาการยอยอาหารของสัตวปวยนั้นเกิดขึ้นแบบ ไมสมบูรณ การวินจิ ฉัยจะมุง ไปทีอ่ วัยวะทีท่ าํ หนาทีผ่ ดิ ปกตินนั้ คือตับออน ทําใหการถายเหลว เรื้อรังในกรณีนี้เกิดจากสัตวปวยดวยโรค exocrine pancreatic insufficiency ซึ่งถือวาเปน secondary disease เนื่องจากตับออนทํางานผิดปกติไป undigested nutrient จึงกระตุน การบีบตัวของเดินอาหารซึ่งเปนการถายเหลวแบบ osmotic diarrhea ในอดีตเราสามารถตรวจการยอยทีไ่ มสมบูรณไดหลายอยาง แตในปจจุบนั การตรวจ หาปริมาณเอนไซมทจี่ าํ เพาะตอการยอยอาหารวามีปริมาณลดลงกวาระดับปกติหรือไม จะมี ความไวและความจําเพาะตอการวินจิ ฉัยโรคนีไ้ ดมากกวา ดังนัน้ การตรวจหาเอนไซม trypsin ทีส่ งั เคราะห ในรูปแบบของการทดสอบทางดานอิมมูโนวิทยา นัน้ ถือวาเปน gold standard of diagnosis ของโรคนี้ การวัดระดับ trypsin like immunoreactivity (TLI) นัน้ ถาตํา่ กวาระดับ ปกติ (5.7-45.2 µg/L) สามาถยืนยันการเปนโรคในสัตวปว ยไดดที สี่ ดุ trypsin like immunoreactivity (TLI) เปนการทดสอบซึง่ อยูใ นลักษณะ specie specific ดังนัน้ การสงตรวจทางหอง ปฏิบัติการจําเปนตองระบุทุกครั้งวาตัวอยาง serum ที่สงเพื่อตรวจหาระดับเอนไซมตัวนี้มา จากสัตวชนิดใด ปจจุบนั ในประเทศเราการตรวจหา TLI ในแมวยังไมสามารถทําไดเนือ่ งจาก ไมมีชุดทดสอบในทองตลาด

การประเมินการดูดซึมที่ผิดปกติของสัตวปวย (malabsorption)

Malabsorption เปนภาวะผิดปกติของการดูดซึมสารอาหารเขาสู circulation โดย ภาวะนีส้ ง ผลใหสตั วเกิดภาวะการถายเหลวได ดังนัน้ เมือ่ การวินจิ ฉัยของเราสงสัยวาสัตวปว ย ประสบปญหา chronic small bowel disease หลังจากไดทาํ การประเมิน ภาวะ maldigestion และ การประเมินภาวะ malabsorption สามารถตรวจประเมินไดโดยการอาศัยกลไกการทํางาน ปกติในเรื่องการดูดซึมสารอาหารในบริเวณลําไสเล็ก เปนที่รูกันเปนอยางดีวา folate และ cobalamin เปนวิตามินทีม่ คี วามจําเพาะตอการดูดซึมบริเวณลําไสเล็ก โดยที่ folate ดูดซึม บริเวณลําไสเล็กสวนตนโดยเฉพาะ jejunum ในขณะที่ cobalamin ดูดซึมบริเวณ ileum ถามี ปริมาณของวิตามินสองชนิดนี้ตํ่ากวาปกติในกระแสเลือด หมายถึงสัตวปวยประสบปญหา การดูดซึมสารอาหาร ซึง่ ภาวะนีส้ ง ผลใหเกิดการกระตุน การบีบตัวของลําไสทผี่ ดิ ปกติและเกิด การถายเหลวตามมา แตอยางไรก็ตาม รางกายสัตวไมไดรบั folate จากอาหารทีก่ นิ เขาไปเพียงทางเดียว แบคทีเรียในลําไสสามารถผลิต ดังนัน้ ในภาวะทีร่ า งกายมีแบคทีเรียเจริญเติบโตมากเกินไป (SIBO) สัตวปว ยจะมีระดับ folate สูงขึน้ ไดทงั้ ๆ ทีส่ ตั วปว ยอาจจะมีภาวะ malabsoption อยู แลวก็ตาม การวินจิ ฉัยภาวะ malabsorption ดวยระดับ folate นี้ จําเปนตองแนใจวาคุณสามารถ ควบคุมระดับแบคทีเรียในลําไสไดดแี ลว ซึง่ ปกติใชระดับ folate เพือ่ ตัดสินภาวะนีใ้ นรายสัตว ปวย มีภาวะ EPI อยูกอนแลว สัตวปวยดวยโรค exocrine pancreatic insufficiency นัน้ เนือ่ งจากตับออนมีหนาที่ สราง intrinsic factor ทีใ่ ชในการขนสง cobalamin เขาสู circulation ดวย ดังนัน้ โอกาสทีส่ ตั ว ปวยดวยโรคนีจ้ ะมีระดับ cobalamin ตํา่ กวาปกติ มีคอ นขางสูง โดยทีส่ ตั วปว ยไมไดเกิดความ ผิดปกติในการดูดซึม cobalamin เนือ่ งจาก enterocyte เสียหาย ดังนัน้ การวินจิ ฉัยเพือ่ ตัดสิน วาสัตวปว ยมีภาวะ malabsorption เนือ่ งจาก enterocyte ผิดปกติในกรณีนี้ จําเปนตองอาศัย ระดับ folate ใน circulation เปนตัวตัดสินภาวะ malabsorption แตมขี อ จํากัดของการตรวจ ดังที่ไดกลาวแลวขางตน


การวินิจฉัยภาวะ chronic diarrhea ดวยวิธีอื่นๆ การวินิจฉัยดวยวิธีการทางรังสีวินิจฉัย การวินิจฉัยดวยภาพถายเอ็กซเรย พรอมทั้งการทํา barium serie ไมสามารถระบุ ปญหาที่เกิดขึ้นได ยกเวนในกรณีเกิดการอุดตันของลําไสขึ้น การใชการวินิจฉัยดวยภาพ ultrasound มีประโยชนมากวา เนือ่ งจากสามารถสามารถวัดขนาดของผนังลําไส หรือการหา บริเวณทีเ่ กิดเนือ้ งอกได การทําการ ultrasound แนะนําใหทาํ กอนทีจ่ ะทํา endoscopy หรือ exploration เพือ่ เปนการคนหาตําแหนงทีม่ แี นวโนมผิดปกติ ซึง่ จะทําใหสามารถตัดสินใจได วาการทํา endoscopy หรือ exploration มีประโยชนมากกวากัน

การตรวจชิ้นเนื้อดวยวิธีทางจุลพยาธิวิทยา (Tissue biopsy and histopatological finding) ปกติตามพยาธิสรีรวิทยาที่พบไดบอยภายใตภาวะการเกิด malabsorption นั้น เปนกลไกการกระตุน ทางภูมคิ มุ กันทีม่ ลี กั ษณะแบบ immune mediated disease โดยปจจัย หลักของการเปนสิง่ กระตุน หรือแอนติเจน คือ bacteria และโปรตีนจากอาหาร ทําใหการรักษา ภาวะอาการนีม้ ปี จ จัยหนึง่ ทีเ่ ขามาเกีย่ วของคือการทํา elimination diet trial เพือ่ ดูการตอบสนอง ของการรักษา ถาการเปลีย่ นอาหารทําใหสตั วปว ยไมแสดงอาการของโรคได หมายความวา enterocyte ไมไดถกู ทําลายจากปฏิกริ ยิ าทางภูมคิ มุ กันมากเกินไป แตถา การเปลีย่ นอาหาร ไมสามารถทําใหสตั วหายขาดจากโรคนีไ้ ด หมายความวาอัตราการถูกทําลายของ enterocyte นาจะมากและลึกลงไปถึงชัน้ laminar propria ซึง่ สามารถกอใหเกิดภาวะ immune mediated disease หรือการดําเนินของโรคไดกา วหนาไปจนกระทัง่ ถึงการเกิดเนือ้ งอกแลวของผนังลําไส แลว การวินจิ ฉัยโรคโดยอาศัยการตรวจชิน้ เนือ้ จึงเปนแนวทางการวางแผนการรักษาทีด่ ที สี่ ดุ เพื่อวินิจฉัยสาเหตุหรือพยาธิสภาพที่แทจริงของสัตวปวย ดังนั้นชวงเวลาที่แนะนําใหเก็บ ตัวอยางชิน้ เนือ้ เพือ่ ตรวจทางจุลพยาธิวทิ ยา คือชวงเวลาทีไ่ ดทาํ การทดสอบการเปลีย่ นอาหาร แลวสัตวปวยตอบสนองไมดีเทาที่ควร การตรวจชิ้นเนื้อมีจุดประสงคในการวินิจฉัยแยก infiltrative inflammatory gut disease และ/หรือ protein losing enteropathy เปนวิธกี ารวินจิ ฉัยทีด่ ี แตอยางไรก็ตาม การ ตรวจชิน้ เนือ้ ยังมีขอ จํากัดในการอาน เนือ่ งจากตําแหนงชิน้ เนือ้ ทีเ่ ก็บและจํานวนชิน้ เนือ้ ทีเ่ ก็บ ไปทํา biopsy เองก็มสี ว นสําคัญในการวินจิ ฉัยโรค หลายครัง้ ทีผ่ ลทีไ่ ดรบั จากการตรวจชิน้ เนือ้ ไมมีความสัมพันธกับอาการของสัตวปวยที่สัตวแสดงออก ประสบการณและความชํานาญ ของ pathologist เองมีความสําคัญมากตอการแปลผลชิ้นเนื้อ

สาเหตุทพี่ บไดการแยกอาการถายเหลวเรือ้ รังทีม่ สี าเหตุมาจากการติดเชือ้ สามารถ ทําการวินจิ ฉัยโดยการนําอุจจาระเพือ่ หาโปรโตซัวและพยาธิทสี่ าํ คัญ เชน Giardia hookworm และ Tritrichomonas ในกรณีถา เกิดกับแมวหรือในกรณีทสี่ งสัยวาติดเชือ้ แบคทีเรีย Salmonella และ Campylobacter ควรจะทําการสงตัวอยางใหเหมาะสมกับเชื้อที่สงสัย

4. ระบุความผิดปกติที่เกิดขึ้น และหรือพยาธิสภาพ (Define lesion /disease) ตารางที่ 1 แสดงสาเหตุที่ทําใหเกิด chronic ทั้งในสุนัขและแมว

small bowel disease

- lactose intolerance Diet related

- dietary-responsive disease (dietary allergy or dietary intolerance)

- gluten intolerance - intestinal parasites (as above) Parasites

- Giardia sp - Coccidia e.g. Cryptosporidium parvum, Isospora sp. - antibiotic responsive enteropathy

Infection

- Campylobacter/Salmonella - FIV/FeLV - eosinophilic enteritis - lymphocytic-plasmacytic enteritis

Infiltrative

- diffuse lymphosarcoma - adenocarcinoma

การตรวจวินิจฉัยทางเซลลวิทยา (brush border cytology)

- mast cell tumour (feline)

ขอมูลที่ไดจากการตรวจทางเซลลวิทยาเพื่อตรวจหาเซลลที่ผิดปกติไปบริเวณ brush border ไมสามารถทดแทนผลจากการตรวจชิน้ เนือ้ ได แตสามารถใหขอ มูลเพือ่ ประกอบ การวินิจฉัยแยกภาวะ severe lymphocytic-plasmacytic enteritis ออกจากเนื้องอกของ ทางเดินอาหาร เนือ่ งจากภาวะหลังสามารถพบเซลลเฉพาะหรือการเปลีย่ นแปลงของนิวเคลียส ที่บงบอกภาวะการเกิดเนื้องอกไดชัดเจนกวาภาวะแรก

- lymphangiectasia (primary or secondary)

การวินิจฉัยโดยวิธี laparotomy และ endoscopy การใช fibreoptic endoscopy เพื่อการวินิจฉัยและเก็บตัวอยางนั้นสามารถเก็บ ตัวอยางผนังกระเพาะ และลําไสเล็กรวมถึงสามารถทํา aspiration ของผนังกระเพาะเพือ่ การ เพาะเชือ้ ซึง่ ประโยชนของการใช fibreoptic endoscopy เพือ่ การวินจิ ฉัยในลักษณะนีม้ ปี ระโยชน มากกวาการทํา laparotomy โดยเฉพาะอยางยิง่ เมือ่ สัตวปว ยอยูใ นภาวะทีเ่ สีย่ งตอความผิดปกติ ในการหายของแผล เชน ในภาวะที่สัตวปวยเกิด protein losing enteropathy นอกจากนี้ colonoscopy ยังเปน diagnostic method of choice ของ large bowel diarrhea อีกดวย แตอยางไรก็ตาม endoscopy มีขอจํากัดในการเก็บตัวอยางบริเวณ jejunum และ ileum และการเก็บตัวอยางดวยวิธี endoscopy ชิน้ ตัวอยางทีไ่ ดนนั้ จะไมใช full thickness biopsy ทําใหการวินจิ ฉัยภาวะ infiltrative บางชนิดไมสามารถทําได สวนการทํา laparotomy มีประโยชน อยางมากในการทีท่ าํ ใหเรามองเห็นสภาพทีผ่ ดิ ปกติไปจริงๆ ของสัตวปว ย และทําใหการวินจิ ฉัยนัน้ แนนอนมากยิง่ ขึน้ นอกจากนีใ้ นกรณีทเ่ี กิด alimentary tract tumor การทํา laparotomy สามารถแกไขความผิดปกติไดเลยทันที

- brush border enzyme biochemical defects Miscellaneous and secondary GI causes

- motility disorders e.g. - hyperthyroidism - lead toxicity - dysautonomia - hypoadrenocorticism - exocrine pancreatic insufficiency

การเลือกหาเครือ่ งมือชวยวินจิ ฉัยทีถ่ กู ตองและตรงเปาประสงคนนั้ จะทําใหเราสามารถ สรุปสาเหตุหลักในการเกิดโรคได เพื่อจะไดวางแนวทางการรักษาไดถูกตองมากขึ้น จากที่กลาวมาแลวทั้งหมด เปนแนวทางการวางแผนการวินิจฉัยเพื่อหาความผิด ปกติของการถายเหลวเรือ้ รัง ทีม่ สี าเหตุมาจากทางเดินอาหารเอง หรือ สาเหตุมาจากโรคอืน่ ๆ โดยอาศัยพืน้ ฐานความคิดทีว่ า ความผิดปกติแบบนีส้ ว นใหญแลวเปนความผิดปกติทไี่ มเกิด รวมกับการติดเชือ้ แตอยางไรก็ตามสัตวแพทยทดี่ ไี มควรละเลยปญหาถึงแมวา โอกาสความ ผิดปกติเหลานั้นอาจจะมีโอกาสเกิดตํ่าก็ตาม

Flea-free Worry-free Activyl, with indoxacarb , has a unique mode of action that can drive fleas to extinction in the pet’s environment.

Elanco Animal Health

A Division of Eli Lilly Asia, Inc.-Thailand Branch

The first flea products with bioactivation.


POA Protein Losing enteropathy เปนกลุมอาการที่เกิดขึ้นกับลําไสเมื่อเกิดมี diffuse small intestinal disease จนกระทั่งเกิดการสูญเสียโปรตีนลงสู lumen ของทางเดินอาหาร ทําใหเกิดภาวะ hypo proteinaemia ขึน้ โรคทีท่ าํ ใหเกิด diffuse small intestinal disease ทีพ่ บบอยๆ ไดคอื IBD, lymphangiectasia lymphoma และ idiopathic crypt necrosis

อาการ สวนใหญแลวสัตวปวยดวยภาวะกลุมอาการนี้มักจะถูกนํามารักษาดวยอาการที่ แสดง ออกทีเ่ กีย่ วของกับภาวะโปรตีนตํา่ เชน ascites subcutaneous edema แตอาการถาย เหลวอาจจะไมรุนแรงในชวงเวลานั้นก็ได

Clinical pathology สัตวปว ยจะพบวามีอาการ albumn และ globulin ตํา่ สัตวปว ยอาจจะพบ lymphopenia เนือ่ งจากมีการสูญเสียนํา้ เหลืองลงสูท างเดินอาหาร พบ hypocholesterolaemia และ hypocalcemia ซึง่ มีสาเหตุมาจาก สูญเสีย protein fraction เนือ่ งจากโปรตีนตํา่ ทําใหการ ดูดซึม vitamin D การดูดซึมสารประกอบแคลเซียมในกรดไขมันและโปรตีนลดลง บางราย สัตวปวยมีปญหาไขมันในอุจจาระ บางรายสัตวปวยมีปญหาไขมันในอุจจาระ

การวินิจฉัย การวินจิ ฉัย Protein-losing enteropathy ทีด่ ที สี่ ดุ คือการ tissue biopsy ซึง่ ภาวะ ทีเ่ ปนสาเหตุทพี่ บไดบอ ยมากทีส่ ดุ คือ lymphangiectasia ซึง่ เกิดจากอุดตัน lymph vessel และ lacteal ดวยอาการอักเสบแบบ granulomatous แตอยางไรก็ตามสาเหตุทแี่ ทจริงของ การอุดตันยังไมสามารถอธิบายได

ตารางที่ 2 แสดงสาเหตุที่ทําใหเกิด chronic large bowel disease ทั้งในสุนัขและแมว Parasites

- Trichuris vulpis - Ancylostoma caninum - Giardia sp. (more commonly small bowel) - Entamoeba sp.

Infection

- FIP - Tritrichomonas foetus (cats) - Antibiotic responsive diarrhoea

Diet related

- fibre deficiency - diet-responsive disease (dietary allergy or dietary intolerance) - passing foreign material

- idiopathic ulcerative (plasmacytic-lymphocytic) - eosinophilic Inflammatory - histiocytic (Boxers) - granulomatous - pseudomembranous (antibiotic associated) Neoplasia

- diffuse or discrete mass - e.g. lymphosarcoma

Stress Strictures

- scar or neoplastic (adenocarcinoma).

การรักษา

การรักษาอาการถายเหลวเรื้อรังเริ่มตนจากการใชยาปฏิชีวนะ oxytetracycline tylosin หรือ metrondidazole (sulfasalazine ในกรณีผดิ ปกติทลี่ าํ ไสใหญ) อยางนอยเปนเวลา 4 - 6 สัปดาห ติดตอกันในรูปแบบของยากินเทานัน้ บางครัง้ การถายเหลวดวยกลุม อาการของ ลําไสใหญ พบวาการตอบสนองจะดีขนึ้ ถามีการให fiber รวมดวยเนือ่ งจาก fiber เปนสิง่ ทีก่ ระตุน ใน mucosal ของผนังลําไสมคี วามแข็งแรงมากขึน้ การพยากรณโรคในการรักษา small intestinal bacteria overgrowth (SIBO) นัน้ ขึน้ กับธรรมชาติของสาเหตุที่แทจริงของสัตวปวย แตขณะที่การพยากรณโรคของ antibiotic responsive diarrhea นัน้ ตองคอยเฝาระวัง เนือ่ งจากสัตวปว ยบางตัว อาการนีอ้ าจจะหาย ขาดได แตสตั วปว ยบางตัวอาการสามารถกลับมาแสดงไดอกี ทุกครัง้ ทีห่ ยุดยาไป ในกรณีนี้ การควบคุมอาการของสัตวปว ย จําเปนตองหาขนาดยาทีเ่ หมาะสมทีส่ ามารถควบคุมอาการ ได ซึง่ สัตวปว ยบางตัวนัน้ จําเปนตองใหยาตลอดชีวติ เลยก็มี ซึง่ การรักษาแบบนี้ การดือ้ ยา ปฏิชีวนะของสัตวที่ควรกังวลอาจจะไมเกิดขึ้น ถามีการควบคุมอยางดีและสมํ่าเสมอ การเปลีย่ นอาหารเปนอีกสิง่ ทีค่ วรกระทํา เนือ่ งจากเปนสาเหตุทพี่ บไดบอ ย จุดประสงค ในการทํา elimination diet คือใหสัตวปวยไดรับโปรตีนจากอาหารเพียงชนิดใดชนิดหนึ่ง เทานัน้ ซึง่ รางกายสัตวไมเคยสัมผัส (novel protein) หรือโปรตีนนัน้ มีขนาดเล็กกวาปกติโดย ผานกระบวนการ hydration (hydralysed protein) และคารโบไฮเดรตชนิดเดียวทีไ่ มมี gluten เปนสวนผสม (ขาวขาว) การใหควรจะใหตดิ ตอกันอยางนอย 4 สัปดาห ถาอาการไมหายไป เราสามารถสรุปไดวา ความผิดปกตินนั้ ไมไดเกิดจากอาหาร ถาสามารถวินจิ ฉัยไดวา สัตวสญ ู เสียความสามารถในการดูดซึมสารอาหาร และเกิด infiltrative inflammation ซึง่ มีโอกาสนําไปสูภ าวะ immune mediated disease หรือ protein losing enteropathy ภาวะนั้นยาในกลุม immuno supressive drug และ cobalamin supplement จําเปนจะตองวางแผนในสัตวปวยใหไดรับตามระยะเวลาที่เหมาะสม และมี ปริมาณทีน่ อ ยทีส่ ดุ ทีส่ ามารถควบคุมอาการโดยไมมผี ลขางเคียงเกิดขึน้ โดยเฉพาะการใชยา steroid เพิ่มกด immune ที่มากเกินไป


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.