เมื อ งระยองในเส้ น ทางกู ้ช าติ ข องสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น ฯ
เอกสารเนื่องในการจัดประชุมเพื่อเสนอผลการศึกษา “เมืองระยองในเส้นทางกู้ชาติของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช”
ณ วัดลุ่มหาชัยชุมพล อำเภอเมือง จังหวัดระยอง
สมเด็จพระวีร มหาราชเจ้ า ตากสิ น
ศรี ศั ก ร วั ล ลิ โ ภดม รายงานการสำรวจเมืองระยองในเส้นทางกู้ชาติ สมเด็จพระเจ้าตากฯ
วลัยลักษณ์ ทรงศิริ
เมื อ งระยองในเส้ น ทางกู ้ช าติ ข องสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น ฯ
สมเด็จพระวีรมหาราชเจ้าตากสิน ศรีศักร วัลลิโภดม ในประวัติศาสตร์สยามประเทศครั้งกรุงศรีอยุธยาที่เป็น ราชอาณาจักไทยยาวนานถึง ๔๐๐ ปีนั้น มีสมเด็จพระวีรมหาราชเจ้า ๒ พระองค์ ผู้ทรงกอบกู้ประเทศชาติให้พ้นภัยพิบัติ และตกเป็นข้าของชาติอื่น คือ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และสมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช ทั้งสองพระองค์ทรงมีพระชนม์มายุในสมัยเวลาที่ต่างกัน เกือบ ๒๐๐ ปี คือในสมัยอยุธยาตอนกลางกับตอนปลาย การที่กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าข้าศึกถึงสองครั้งนั้น สาเหตุ ปัจจัยคล้ายคลึงกันคือเกิดจากความอ่อนแอและแตกแยกกัน ภายในก่อนประการหนึ่ง อีกประการหนึ่งคือพม่ามีความเป็น ปึกแผ่นและแข็งแกร่งกว่า เพราะมีกษัตริย์เป็นนักรบที่เก่งกล้า กว่า
การเสี ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาครั้ง แรกพม่ า มี พ ระเจ้ า หงสาวดี บุเรงนองเป็นพระเจ้าช้างเผือกผู้ชนะสิบทิศ แต่การเข้าตีกรุง ศรีอยุธยาก็ไม่อาจทำได้สำเร็จ ถ้าไม่อาศัยช่องว่างของการ แตกแยกภายในที่ช่วงชิงอำนาจกันระหว่างสมเด็จพระมหินทรธิ ราชผู้ครองอยุธยากับสมเด็จพระมหาธรรมราชาผู้ครองเมือง เหนือคือ พิษณุโลก การดำเนินกลยุทธ์ที่ทำให้สมเด็จพระมหาธรรมราชาเมือง พิษณุโลกเป็นเมืองขึ้นพม่า ทำให้สามารถตีกรุงศรีอยุธยาได้ สำเร็จ และการเป็นเมืองขึ้นของพม่าในครั้งนี้บ้านเมืองไม่เสีย หายยับเยิน ยังอยู่ในภาวะค่อนข้างปกติ เพราะกษัตริย์พม่าใน ตอนนั้นเน้นความเป็นจักรพรรดิราชที่แสดงบุญบารมีมากกว่า การทำลายบ้านทำลายเมืองและทำลายวัดวาอารามและผู้คน
๒
เมื อ งระยองในเส้ น ทางกู ้ช าติ ข องสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น ฯ
การกอบกู้เอกราชของ สมเด็ จ พระนเรศวรฯ นั้น สำเร็ จ ได้ เ พราะความเป็ น นั ก รบที่ช าญ ฉลาดและกล้ า หาญในส่ ว นพระองค์ เ ป็ น สำคัญ อันเป็นพลังที่ผลักดันมาจากการ เสี ย ศั ก ดิ์ศ รี ข องบ้ า นเมื อ งที่เ คยเป็ น ราช อาณาจักรไทยที่ยิ่งใหญ่มาตกเป็นเมืองขึ้น ของพม่า การที่ถู ก นำพระองค์ ไ ปเป็ น เชลย ตั ว แทนเมื อ งไทยที่ก รุ ง หงสาวดี ท ำให้ มี ประสบการณ์ในเรื่องความข่มขื่นกับการ ต้องเป็นขี้ข้าของชาติอื่นๆ ทั้งๆ ที่ทรงได้ รับพระเมตตาพระเจ้าหงสาวดีบุเรงนองให้ อยู่ในฐานของลูกหลวงหลานหลวงก็ตาม ซึ่งนับเป็นคุณูปการเป็นอย่างมาก ทำให้ ได้รับการศึกษาอบรมเสมอด้วยเจ้านายใน พระราชวงศ์ โดยเฉพาะการเรียนรู้และ ฝึกฝนในเรื่องการทำศึกสงคราม ซึ่งพม่า มักใช้เจ้าเมืองประเทศราชเป็น กองทัพมา ร่วมกับพม่าในการปราบปรามบ้านเมืองที่ แข็งข้อ ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้การสู้รบ และการทำสงครามของพม่าก็ดี การรู้จัก
บ้านเมืองพม่าในทางสังคมภูมิศาสตร์และ ก า ร เ มื อ ง คื อ ฐ า น ท า ง ค ว า ม รู ้ แ ล ะ ประสบการณ์ในการทำสงครามที่สมเด็จ พระนเรศวรฯ ทรงใช้ในการทำสงคราม กอบกู้เอกราชของบ้านเมือง การทำสงครามกู้เอกราชของสมเด็จ พระนเรศวรฯ นั้น ทรงทำได้ทั้งเชิงรุกและ เชิงรับ ในเชิงรับก็คือสามารถตั้งรับทัพ พม่าให้เข้ามาถึงพระนครและล้อมกรุงฯ ได้ ด้ ว ยการส่ ง กองทหารออกไปรบเป็ น ครั้ง คราแบบกองโจรเพื่อ ตั ด กำลั ง พม่ า ส่ ว นในเชิ ง รุ ก นั้น คื อ ยกกองทั พ ออกไป ประจัญบานนอกกรุงบนเส้นทางพม่า ยก กองทัพเข้ามาที่เสริมไปด้วยกำลังกองโจร ปล้นสดมภ์เพิ่มเพื่อตัดกำลัง ทำให้ขับไล่ พม่าออกไปได้อย่างเข็ดหลาบ เ มื ่ อ ก อ บ กู ้ เ อ ก ร า ช ไ ด้ ก็ ท ร ง ท ำ สงครามขยายราชอาณาจักรให้มั่นคงและ กว้ า งขวางไปกว่ า เดิ ม โดยเฉพาะกรุ ง หงสาวดีนั้น ทรงต้องการรุกรานเพื่อเอา เป็นเมืองขึ้นประเทศไทยเป็นการตอบแทน แม้ไม่สำเร็จแต่ก็ได้ทำให้อาณาจักรพม่าที่ ยิ่ง ใหญ่ ข องบุ เ รงนองแตกแยกและล่ ม
สลาย ในขณะที่กรุงศรีอยุธยาขึ้นมาเป็น มหาอำนาจแทน เพราะบ้านเล็กเมืองน้อย ทั ้ ง ที ่ เ คยเป็ น เมื อ งขึ ้ น พม่ า และไม่ เ ป็ น ต่างยอมมาขึ้นกับกรุงศรีอยุธยา ครั ้ ง รั ช กาลสมเด็ จ พระนเรศวร มหาราช กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาว่ า งศึ ก และมี เสถียรภาพทั้งทางการเมืองและเศรษฐกิจ กลายเป็นศูนย์กลางการค้าขายทั้งทางบก และทางทะเลที่รุ่งเรืองที่สุดแห่งหนึ่งของ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นยุค สมั ย ที่เ ข้ า สู่ส มั ย อยุ ธ ยาตอนปลายที่มั ก จะติ ด ต่ อ กั บ บ้ า นเมื อ งทางตะวั น ตกทั้ง ทางการค้าขาย เศรษฐกิจและการเมือง อยุธยามั่งคั่งร่ำรวยสวยงามไปด้วย ศิ ล ปวั ฒ นธรรม เป็ น เมื อ งที ่ มี ข อง นานาชาติเข้ามาตั้งหลักแหล่งและทำการ ค้าขาย ทำให้ความเจริญในทางวัตถุเข้ามา แทนที่ในชีวิตวัฒนธรรมแบบประเพณีที่มี ศีลธรรมแต่เดิมให้เสื่อมคลาย ชนทุกชั้น ของอยุธยามีความโลภ อยากได้อำนาจจน ขาดศีลธรรมจริยธรรม เป็นเหตุให้บ้าน เมืองอ่อนแอ แตกแยก แย่งชิงอำนาจ และความมั่งคั่งกันเอง โดยไม่มีใครคิดถึง ๓
รั ฐ และเป็ น สู ญ ญากาศทางการปกครอง [Anarchy] เกิ ด จลาจลแย่ ง ชิ ง ฆ่ า ฟั น กันเองภายใน รวมทั้งมีการรวมกลุ่มกัน เป็นก๊กเหล่ามากมาย บางก๊กก็รวมกันเพื่อ ป้องกันตนเอง แต่บางก๊กก็รวมกันเป็น ซ่องโจร ปล้นฆ่าเพื่อเอาทรัพย์สินเงินทอง พระยาตากหรื อ เจ้ า ตากก็ ร วมผู้ค น เป็ น ก๊ ก ๆ หนึ่ง เพื่อ ปกป้ อ งตั ว เองจาก กองทัพพม่าในชั้นแรก หาได้คิดที่จะตั้งตัว เป็ น ใหญ่ ขึ้น มาแทนที่ก รุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาไม่ เพราะมีบ้านเมืองใหญ่ที่มีเจ้าเมือง ขุนนาง และกำลังทหาร หลายเมืองที่ตั้งตัวขึ้นเพื่อ ขับไล่พม่า เช่น เมืองนครราชสีมา เมือง พิษณุโลก เมืองฝาง และเมืองนครศรีธรรมราช เป็นต้น รวมทั้งการรวมคน เพื่อการกู้บ้าน เมืองของกรมหมื่นเทพพิพิธ ผู้ทรงเป็น ราชโอรสของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ แต่ พ ระยาตากมี ค วามแตกต่ า งจาก บรรดาผู้น ำก๊ ก ใหญ่ ๆ เหล่ า นั้น อย่ า ง สำคั ญ ในเรื ่ อ งภู มิ ห ลั ง ที ่ เ ป็ น ขุ น ทหาร กำเนิดจากครอบครัวสามัญชนที่เชื้อสาย คนจีนที่มีฐานะ แม้มารดาจะเป็นคนไทย แต่บิดาเป็นนายอากรบ่อนเบี้ยที่มีแวดวง เป็ น เครื อ ข่ า ยของคนจี น หลายกลุ่ม และ หลายอาชีพ ทำให้ได้รับรู้ถึงบ้านเมืองตาม ท้องถิ่นต่างๆ ที่คนจีนไปมาค้าขายและตั้ง หลักแหล่ง การเข้ามารับราชการเป็นนายทหาร นั้น สะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ความมี จิ ต ใจกล้ า หาญเด็ ด ขาดเป็ น ทุ น เดิ ม เมื ่ อ ได้ มี ประสบการณ์ในการสู้รบก็ทำให้เกิดบารมี เป็นที่ยอมรับของทหารทั่วไป สิ่งนี้นับเป็น อำนาจบารมีในตัวเอง พระยาตากคือขุนทหารคนหนึ่งที่ ผ่านการสู้รบกับพม่าครั้งสงครามอลอง พญา ได้เรียนรู้หลายอย่างในการสู้รบกับ พม่าในครั้งนั้น หลังสงครามแล้วจึงได้ถูก แต่งตั้งให้ไปรับราชการ ณ เมืองตากและ เมืองกำแพงเพชร อันเป็นเมืองด่านสำคัญ
ที ่ ก องทั พ พม่ า ที ่ ม าจากด่ า นแม่ ละเมาะผ่านลงไปที่กรุงศรีอยุธยา ซึ่ง ตำแหน่ ง ครั้ง หลั ง คื อ เจ้ า เมื อ ง กำแพงเพชรในนาม พระยาวชิร ปราการ เมื่อศึกเข้าล้อมกรุงใกล้จะ แตกจึงถูกสั่งให้เข้ามาช่วยป้องกัน พระนคร กองทัพพม่าที่เข้ามาล้อมกรุง ครั้งนั้นมีไพร่พลและแสนยานุภาพ มากเกินกำลังที่จะต้านได้ เพราะเข้า มาแทบทุกทิศและทำลายล้างบ้าน เมืองและที่มั่นจนพินาศเป็นการตัด กำลัง แล้วจึงล้อมพระนครเพื่อหวัง ให้ ค นอดตาย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาใช้ แผนการรบแบบล้าหลังด้วยหวังว่า เมื่อ ฤดู น้ ำ มาถึ ง น้ ำ คงท่ ว มทำให้ พม่ า อยู่ไ ม่ ไ ด้ แ ล้ ว เลิ ก ทั พ กลั บ ไป แต่พม่ามาครั้งนี้ตั้งค่ายรายล้อมที่ อยู่กั บ น้ ำ ได้ ต ลอดปี แล้ ว ระดม กำลังข้ามคลองเมืองด้านตะวันออก เข้ายึดชานกำแพงเมือง ทำลายป้อมปืน และผ่านประตูช่องกุดเข้าเมืองได้ในที่สุด พระยาตากเห็นสู้ไม่ไหวจึงต้องเอาตัว รอด พร้อมด้วยกำลังพลที่ส่วนใหญ่เป็น ทหารจีนอาสาสมัครและไพร่พลที่มาร่วม ตีฝ่าวงล้อมของพม่าออกไปทางตะวันออก ผ่านทุ่งนาป่าเขาไปนครนายก เพราะเป็น ทิศทางและพื้นที่ปลอดพม่ามากกว่าด้าน อื่นๆ
๔
เมื อ งระยองในเส้ น ทางกู ้ช าติ ข องสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น ฯ
ภั ย สงครามที่ม าจากภายนอก ทั้ง การ ศึกสงครามก็ไม่มีการฝีกฝน เป็นเหตุให้ พม่าที่หนีสมเด็จพระนเรศวรฯ ไปตั้งกรุง อังวะเป็นราชธานีขึ้นทางเหนือ เพื่อให้ห่าง รัศมีการรุกรานของกองทัพไทยสามารถ กลับมาเป็นใหญ่ได้อีกวาระหนึ่ง โดยราชวงศ์ใหม่ที่ผู้นำมาจาก พราน อ่องไจยะ จากหมู่บ้ านมุกโชโพปราบปราม พวกมอญและบ้ า นเมื อ งที่เ คยมี อ ำนาจ เข้าไว้ภายใต้การปกครองของราชวงศ์โก ฟ่องของพรานอ่องไจยะ ที่เสวยราชใน พระนาม พระเจ้าอลองพญา ซึ่งเป็ น ราชวงศ์ที่โหดเหี้ยมและขาดศีลธรรม รบ พุ่งฆ่าพันบ้านเมืองอื่นๆ ด้วยความรุนแรง พระเจ้ า อลองพญายกกองทั พ มาตี กรุงศรีอยุธยา เข้าล้อมเมืองแต่ตีเมืองไม่ ได้ เพราะประสบอุบัติเหตุ ถอยทัพกลับ และสิ้นพระชนม์ กรุงศรีอยุธยาจึงรอดพ้น จากการเสียพระนคร แต่ทว่าหลังพม่าถอยทัพกลับไปแล้ว คนไทยทั้งกษัตริย์ ขุนนาง ข้าราชการ ขุนศึก แม่ทัพนายกองก็หาได้สำนึกถึง ความอ่อนแอและความพ่ายแพ้ที่พม่าได้ทำ ไว้ไม่ ยังคงย่ามใจอยู่กันเป็นปกติแบบ แตกแยกและลุ่มหลงในความมั่งคั่งรุ่งเรือง ดังเดิม พม่ า จึ ง กลั บ มาอี ก ที ใ นรั ช กาลของ พระเจ้ามังระ ที่เป็นพระโอรสของพระเจ้า อลองพญา ซึ่งเป็นกษัตริย์ที่โหดเหี้ยมต่าง กับการเป็นราชาธิราชของบุเรงนอง ความ มุ่งหมายในการทำสงครามครั้งนี้ของพม่า ไ ม่ ต้ อ ง ก า ร ใ ห้ เ ป็ น เ มื อ ง ขึ ้ น ใ น ท า ง เกียรติยศ หากมุ่งที่จะเข้าทำลายทุกบ้าน ทุกเมืองในทุกภูมิภาคของประเทศ ปล้น ฆ่าผู้คน กวาดทรัพย์สมบัติและกวาดต้อน คนไปเป็ น เชลยอย่ า งไร้ ศี ล ธรรม เผา ผลาญทำลายแม้แต่วัดวาอาราม ฆ่าฟันคน แก่เด็กและผู้หญิง กรุงศรีอยุธยาแตกครั้ง นี้พม่าไม่ได้เอาเป็นเมืองขึ้น แต่มุ่งทำลาย ให้แตกราบไปทุกหนแห่ง บ้านเมืองไม่มี กษัตริย์ผู้นำ ไม่มีรัฐบาลอยู่ในสภาพที่ไร้
เมื อ งระยองในเส้ น ทางกู ้ช าติ ข องสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น ฯ
๕
จากนครนายกไป ปราจีนบุรีที่มี ดงป่าใหญ่ ศ รี ม หา โ พ ธิ ์ เ ป็ น พื ้ น ปลอดภัยกว่า เป็นเส้นทาง และทิ ศ ทางที่จ ะหนี ไ ปยั ง ชายแดนกั ม พู ช าในเขต จังหวัดสระแก้วได้ แต่ความ เข้ า ใจในสภาพภู มิ ศ าสตร์ บ้านเมืองดี ได้ทำให้นำกอง ทหารและผู้คนผ่านชายแดน ลงศรีมหาโพธิ์อันเป็นพื้นที่ มีผู้คนตั้งถิ่นฐานอยู่ รวม ผู้คนหนีผ่านชายทุ่งนาและ ป่ า ลงมาทาง อำเภอ พนมสารคาม ที่มี ลำน้ำ ท่ า ลาด ไหลผ่ า นไปออก แ ม่ น้ ำ บ า ง ป ะ ก ง ใ น เ ข ต อำเภอบางคล้ า บริ เ วณ ปากน้ ำ นี้เ รี ย กตำบลเจ้ า โล้ มีค่ายพม่าตั้งอยู่ จึงเกิดการ
เขตจังหวัดชลบุรี พนัสนิคมเป็นเมืองเก่า โบราณมาแต่สมัยทวารวดี-ลพบุรี อยู่ต้น ลำน้ำพานทอง อันเป็นลำน้ำสำคัญที่ไหล ผ่านพื้นที่ราบ มีชุมชนเรียงรายไปจนออก ทะเลที่อ่าวบางปะกง และติดต่อกับบรรดา ชุมชนชาวประมงและพ่อค้าที่ตั้งอยู่ที่เมือง ศรีพะโล เมืองบางปลาสร้อยและบางละมุง ที่เป็นย่านของเมืองชลบุรีเป็นย่านเมืองที่มี ผู้คนอยู่มาก ห่างจากการเข้ามาของกอง ทัพพม่า เป็นย่านชุมชนที่มีการรวมตัว ของคนในท้องถิ่นที่ไม่มีความแน่นอนใน การจะสู้ร บกั บ พม่ า หรื อ เข้ า ด้ ว ยกั บ พม่ า เพราะเป็นเมืองที่อยู่ชายขอบ เจ้ า ตากไม่ เลื อ กนำกองกำลั ง และ ผู้คนหนีไปชลบุรี แต่หากผ่านขึ้นเนินเขา และช่องเขาไปตามทางน้ำที่เป็นต้นน้ำ ของลำน้ำพานทองไปทาง เมืองพญาเร่ เมืองโบราณสมัยทวารวดีเขตอำเภอบ่อ ทอง ที่เป็นเส้นทางบกผ่านป่าเขาและ ช่องเขาไปยังเมืองระยองและจันทบุรี
สู้รบกัน แต่เจ้าตากไม่ไปเมืองจันทบุรี เมื่อ เมื่อเจ้าตากได้ชัยชนะแล้วก็พาไพร่พล ผ่านทุ่งนาไปยัง อำเภอพนัสนิคม ซึ่งอยู่ใน ผ่ า นต้ น น้ ำ พานทองผ่ า นช่ อ งเขาถึ ง ทาง
แยกไปเขตชายทะเลที่เมืองระยอง ก็หักลง ใต้ ผ่ า นตำบลหนองละหานและหนองบั ว มายัง อำเภอบ้ า นค่ า ย ที่เป็นชุมชนบ้ าน ชุมชนเมืองเก่ามาแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นบริเวณที่เป็นที่ลุ่มหนองบึงและธารน้ำ อันเป็นต้นน้ำของ คลองใหญ่ ที่ไหลลงไป เป็นแม่น้ำระยอง ออกทะเลที่เมืองระยอง ใน การสำรวจศึกษาทางประวัติศาสตร์ โบราณคดี และมานุษยวิทยาของข้าพเจ้า และคณะพบว่า บริเวณพื้นที่เป็น เมือง ระยอง นั้น มีลักษณะแตกต่างไปจาก บรรดาเมื อ งทั้ง หลายทางฝั่ง ทะเลตะวั น ออกของประเทศไทย โดยเฉพาะชลบุรี และจันทบุรีที่เป็นเมืองตั้งอยู่ใกล้ชายฝั่ง ทะเลที่มีลักษณะเว้าเป็นอ่าว และมักมีทาง น้ำออกทะเลกว้างตอนปากน้ำในลักษณะ ที่เป็นลากูน หรือพูดง่ายๆ ก็คือ ใกล้กับ ปากแม่น้ำหรือลำน้ำไปออกทะเล โดย อาศัยเวิ้งอ่าวเป็นที่หลบลมและคลื่น เมื่อ ผ่ า นฟากแม่ น้ ำ ลำน้ ำ เข้ า มาใน ลากูนก็เป็นแหล่งจอดเรือใหญ่น้อยที่มีทั้ง เรือประมงเรือสินค้า รวมทั้งการตั้งชุมชน
เมื อ งอยู่ภ ายในลากู น นั้นๆ การเกิดชุมชน บ้ า นและเมื อ งจึ ง อยู ่ ภายในลากู น และตาม ชายฝั่ง ทะเลของอ่ า ว พื้นที่เป็นบ้านเป็นเมือง เกื อ บส่ ว นใหญ่ จึ ง อยู่ เฉพาะบริ เ วณใกล้ ฝั่ง ทะเลและห่ า งทะเล เ ข้ า ไ ป ใ น ดิ น แ ด น ภายในแทบไม่ เ กิ น ๓-๔ กิ โ ลเมตรจาก ชายฝั่ง บริ เ วณเช่ น นี้มั ก เป็ น บ้ า นเมื อ งที ่ ไ ม่ มี พื้นที่ภายในที่เป็นฐาน ทางเกษตรกรรมปลูก ข้าวและพืชผักเพื่อการ กิ น อยู ่ ข องคนเมื อ ง สภาพเช่ น นี้เ ห็ น ได้ ทั้ง ช ล บุ รี แ ล ะ จั น ท บุ รี ชลบุรีอยู่ใกล้ปากอ่าว บางปะกงพื ้ น ที ่ เ ป็ น ทะเลตม ไม่มีชายหาด มี แ ต่ ต ลิ่ง สู ง และเมื อ ง ไม่ว่า ศรีพะโลและบาง ปลาสร้อย ล้วนตั้งอยู่ บนเนิ น สู ง ที่มี เ ขาสาม มุ ข อยู ่ ด้ า นหลั ง มี ส ภ า พ เ ป็ น เ มื อ ง ท่ า ค้าขายและการประมง ในขณะที่จั น ทบุ รี ตั ้ ง อยู ่ บ ริ เ วณที ่ ป าก แม่น้ำออกทะเลเป็นลา กู น ขนาดใหญ่ ซึ่ง มี ดอนและที่ลุ่มเสมอน้ำ สลับกันไป รวมทั้งภูเขาโดดและทิวเขาอยู่ เบื้องหลัง ไม่มีพื้นที่ราบลุ่มภายในเพื่อ การเพาะปลูก ต่างกันกับเมืองระยองที่มี พื ้ น ที ่ ทั ้ ง ชายทะเลที ่ เ ป็ น ปากน้ ำ ลากู น [Lagoon] และพื้นที่ภายในเป็นพื้นที่ลุ่มน้ำ
เพื่อการเพาะปลูกที่ทำให้ความเป็นเมือง ของระยองกินเลยจากพื้นที่ชายฝั่งทะเลเข้า มาร่วม ๑๐ กิโลเมตร พื้นที่ภายในของเมืองระยองที่เรียกได้ ว่าเป็นลุ่มน้ำนั้น กินพื้นที่ทางเหนือซึ่งลาด ลงจากทิ ว เขาบรรทั ด มายั ง หนองละหาร
และหนองบัว อันเป็นต้นน้ำของคลองใหญ่ ที่มีลำน้ำใหญ่น้อยไหลลงสู่ที่ราบลุ่มที่เป็น หนองและบึง ทำให้ลักษณะพื้นของอำเภอ บ้านค่ายที่อยู่ตอนบนและพื้นที่ใกล้ทะเล ของอำเภอเมืองระยองมีลักษณะเป็นแอ่ง ที่มีที่สูงจากอำเภอเมืองไปอำเภอบ้านฉาง ๖
เมื อ งระยองในเส้ น ทางกู ้ช าติ ข องสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น ฯ
ทางตะวันตก และเนินเขา และทิวเขาอยู่ทางตะวันออก ที่กั้นเขตอำเภอเมืองระยอง ออกจากพื้นที่สูงของอำเภอ แกลง ความเป็ น บ้ า นเมื อ ง ภายในของระยองอยู ่ ที ่ อำเภอบ้านค่าย บริเวณที่ ลำน้ำหลายสายมารวมเป็น ค ล อ ง ใ ห ญ่ มี ชุ ม ช น ที ่ ท ำการเพาะปลู ก ทั ้ ง ทำ สวนและทำนาเกิ ด ขึ้น เป็ น หย่ อ มๆ ไปโดยที่ท างน้ ำ ผ่านถึงแทบทุกแห่ง ชุมชนที่เก่าที่สุดเห็นจะ ได้ แ ก่ ชุ ม ชนบ้ า นเก่ า ที่มี วั ด โบราณอั น ประกอบด้ ว ย พระสถูปเจดีย์ โบสถ์ และ หอไตรกลางสระน้ำ ที่มีอายุ แต่สมัยอยุธยาตอนปลายลง มา คือตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ ๒๓ ลงมา วั ด โ บ ร า ณ ที ่ มี รู ป แ บ บ ท า ง ศิ ล ป สถาปัตยกรรมแบบวัดบ้านเก่านี้กระจาย อยู่ในตำแหน่งต่างๆ ของอำเภอบ้านค่าย มาจนติดพื้นที่อำเภอเมือง ได้แก่ วัดนาตา ขวัญ วัดบ้านแลง วัดตะพงใน วัดทับมา เป็นต้น
๗
การเกิดและการกระจายอยู่ของชุมชน ที่มีวัดเก่าเป็นศูนย์กลางชุมชนเหล่านี้ เป็น สิ่งบ่งบอกถึงความเป็นบ้านเป็นเมืองที่มี มาก่ อ นสมั ย ที่เ จ้ า ตากจะเดิ น ทั พ ผ่ า นเข้ า มาและใช้ พื ้ น ที ่ บ ริ เ วณนี ้ เ ป็ น ที ่ ตั ้ ง ด้ ว ย เป็ น ฐานทั พ ดั ง มี ร่ อ งรอยให้ เ ห็ น ที ่ วัดบ้านค่าย ซึ่ง ณ บริเวณนี้ก็มีศาลเจ้าแม่ หลั ก เมื อ งตั ้ ง อยู ่ ใ ห้ เ ป็ น สถานที ่ ส ำคั ญ ควบคู่ไปกับค่ายของเจ้าตาก ความเชื ่ อ ในเรื ่ อ งของศาลเจ้ า แม่ หลักเมืองนี้สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อของ คนในท้องถิ่นแต่เดิมว่าเคยเป็นบ้านเป็น เมืองที่มี เจ้าเมืองเป็ นสตรี ซึ่งประเพณี ความเชื่อเก่านี้พบในกลุ่มของ คนซอง อัน เป็นคนพื้นเมืองในเขตป่าเขาของจังหวัด จันทบุรีที่เชื่อในเรื่อง นางกาไว ที่เป็น กษัตริย์เมืองพะเนียดที่เชิงเขาสระบาปที่ เป็นเมืองโบราณมาแต่สมัยทวารวดี เท่าที่ทราบก็มีเชื้อสายของคนซองใน เขตเมื อ งระยองกระจายไปตามเนิ น เขา บรรทัดข้ามไปถึงพื้นที่ต้นน้ำของลำน้ำท่า ลาดในเขตตำบลเกาะขนุ น และอำเภอ สนามชัยเขตและอำเภอท่าตะเกียบ เพราะฉะนั้นอาจอนุมานได้ว่า เมือง ระยองมี ค วามเป็ น บ้ า นเมื อ งอยู ่ ส อง บริเวณ ตอนล่างตรงปากน้ำระยองเป็น
เมืองท่าค้าขายและการประมง ในขณะที่ ตอนบนเป็นเมืองทางเกษตรมีไร่นาที่สวน ที่อุ ด มสมบู ร ณ์ ที่ผ ลิ ต อาหารเลี้ย งผู้ค น และการเดิ น ทั พ เข้ า มาตั้ง หลั ก แหล่ ง เป็ น ค่ายเป็นฐานทัพของเจ้าตาก ที่บ้า นค่ า ยนี้น่า จะเป็ น ตำแหน่ ง ใน ทางยุทธศาสตร์ที่เจ้าตากเปลี่ยนความ ตั้งใจจาก การพาผู้คนและหนีตายมาอยู่ ทางชายทะเลอันห่างไกลภัยจากพม่า มา เ ป็ น ปั ก ห ลั ก สู ้ แ ล ะ รุ ก ก ลั บ เ พื ่ อ กู ้ พระนครศรีอยุธยา บ้า นค่ า ยคื อพื้นที่ท างเกษตรกรรม ที่อุดมสมบูรณ์ เลี้ยงคนและทหารได้ดี กว่ า การไปตั้ง หลั ก แหล่ ง ในที่อื่น เช่ น ชลบุ รี แ ละจั น ทบุ รี และจากทิ ศ ทาง ประวั ติ ศ าสตร์ ห ลั ง จากเจ้ า ตากปั ก หลั ก มั่น คงที่บ้ า นค่ า ยแล้ ว จึ ง ขยายค่ า ยเข้ า ครอบครองเมื อ งระยองทางปากแม่ น้ ำ อันเป็นเมืองที่มีผู้คนมากและมีเจ้าเมือง ปกครองที่ก็ยอมสวามิภักดิ์ต่อเจ้าตาก เ พื ่ อ ค ว า ม เ ป็ น เ อ ก ภ า พ ใ น ก า ร ปกครองและการสร้างเมืองระยองให้เป็น เมืองสำคัญในการทำศึก เจ้าตากคงได้ทำ พิธีกรรมปราบดาภิเษกตนเองเป็นเจ้าที่มี อำนาจเหนือบรรดาเจ้าเมืองทั้งหลายใน ภูมิภาคนี้ ที่มีอำนาจจากการยอมรับโดย สมบู ร ณาฉั น ทามติ ข อง ผู ้ น ำ บ้ า น เ มื อ ง ใ น ภู มิ ภ า ค ต ะ วั น อ อ ก ที ่ จ ะยอมให้ เ จ้ า ตาก ร ว บ ร ว ม ก ำ ลั ง พ ล ส ร้ า ง ฐ า น ทั พ แ ล ะ ก อ ง ทั พ เ พื ่ อ กู ้ พระนครศรีอยุธยาใน ช่ ว งเวลาไม่ ถึ ง หนึ ่ ง เดือน เจ้ า ตากใช้ เ วลา ปราบปรามกลุ่มคนที่ แข็งข้อและขัดขืนตาม บ้านเมืองต่างๆ ให้เข้า มาสวามิ ภั ก ดิ์อ ยู่ภ าย
เมื อ งระยองในเส้ น ทางกู ้ช าติ ข องสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น ฯ
๘
ใต้อำนาจ ทำให้อาณาเขตของเมือง ระยองกิ น ไปถึ ง เมื อ งชลบุ รี แ ละ ฉะเชิ ง เทรา แต่ ยั ง ติ ด อยู่ที่เ มื อ ง จั น ทบุ รี อั น เป็ น หั ว เมื อ งใหญ่ ที่อ ยู่ ชายขอบราชอาณาจักรที่อำนาจการ ปกครองจากศู น ย์ ก ลางควบคุ ม เข้าไปไม่ถึง ในทำนองเดียวกันกับ เมื อ งสงขลาและพั ท ลุ ง ในสมั ย สมเด็ จ พระนารายณ์ฯ ที่ต้อ งส่ง กองทั พ ออกไปปราบปรามสู้ร บ เป็นแรมปีจึงจะตีได้สำเร็จ จันทบุรีเป็นเมืองท่าชายทะเลที่ ใหญ่โตและแข็งแรง มีคูน้ำคันดิน ล้อมรอบเมืองต่างจากเมืองระยอง และชลบุรี ตั้งอยู่บนเนินเขาซึ่งอยู่ ในตำแหน่ ง ที ่ ไ ด้ เ ปรี ย บในทาง ภูมิประเทศ และมีป้อมปราการ ค่อนข้างแข็งแรง ผู้คนพลเมืองมี ความหลากหลายทั้งจีน ญวน ไทย คนพื้น เมื อ ง และบรรดาพ่ อ ค้ า วานิชหลายชาติหลายภาษา โดยเฉพาะเจ้าเมืองก็เป็นคนจีนที่เป็น พ่อค้าแบบเดียวกันกับ เมืองบันทายมาศ หรือโจฎก ตรงปากแม่น้ำโขงในเวียดนาม ที่อยู่อย่างเป็นอิสระ เพราะฉะนั้น การที่ เจ้าตากจะชักชวนให้เข้ามาร่วมมือในการกู้ พระนครศรี อ ยุ ธ ยาจึ ง ไม่ ใ ช่ เ ป็ น ของง่ า ย แต่การจะปล่อยให้เป็นไปตามแบบเดิมก็ เป็นไปไม่ได้กับการรวมผู้คนทางเจ้าตาก เพราะอยู ่ ใ นฐานะของเมื อ งใหญ่ แ ละ ตำแหน่งของขุนนางในระดับเสมอกันหรือ สูงกว่าตามตำแหน่งของเมือง ดั ง นั ้ น การยกกองทั พ ไปตี เ มื อ ง จันทบุรีจึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เจ้ า ตากสะสมกำลั ง พลอยู ่ ที ่ เ มื อ ง ระยองจนเกิดความพร้อมแล้วก็ยกออก จากระยองไปจันทบุรี โดยเริ่มแต่การรวม ทัพประชุมพลที่ วัดลุ่มชัยมหาชุมพล อัน อยู่ใ นท้ อ งทุ่ง ทางเหนื อ ของเมื อ งระยอง เคลื่อนทัพข้ามแม่น้ำระยองไปตามที่ลาด เชิงเขา ผ่านเมืองแกลงไปยังประแส พัก
ทัพที่ วัดราชบั ลลังก์ ใกล้กับลำน้ำประแส แล้วเคลื่อนต่อไปยัง ลุ่มน้ำพังราด ในเขต ตำบลนายายอาม ตั้งฐานทัพเตรียมเสบียง และสรรพอาวุธ เตรียมดินปืนที่ วัดกอง ดิ น จากนั้น ก็เ คลื่อ นลงที่ลุ่ม ต่ ำ ทางฝั่ง ตะวันออกของลำน้ำพังราด เข้าเส้นทาง ใกล้ทะเลไปตั้งทัพอยู่ที่ เนินดินกลางทุ่ง ใกล้กับวัดสนามชัย อันเป็นบริเวณชาย ขอบของเมืองจันทบุรี เข้าใจว่า ค่ายพักที่ตำบลสนามชัย คือ แหล่งประชุมพลที่สำคัญก่อนที่จะเคลื่อน ทัพผ่านเขาเตี้ยริมทะเลลงสู่ที่ราบลุ่มของ อ่าวคุ้งกระเบน ข้ามเนินเขาลงสู่บริเวณ ย่านชุมชนชาวจีนนอกเมือง บริเวณเขา พลอยแหวนและวัดพลับบางกะจะ นอก เมืองจันทบุรี แต่แยกเข้าคลองแกลบไปหัว เมืองจันทบุรีที่ตั้งอยู่บนเนิน แล้วตั้งนำทัพ ปิดล้อมเมืองที่นับว่าตั้งอยู่ในภูมิประเทศ ที่เป็นชัยภูมิที่ดี โดยทางพระยาจันทบุรีใช้ เมื อ งเป็ น ที่มั่น ที่ท างกองทั พ เจ้ า ตากทำ อะไรไม่ได้ และขณะเดียวกันก็โต้กลับด้วย การระดมยิงจากเชิงเทินและกำแพงเมือง ทำความเสี ย หายให้ กั บ กองทั พ เจ้ า ตาก ทำให้ในที่สุดก็ต้องทุ่มกำลังครั้งสุดท้าย เพื่อบุกเข้าเมืองให้ได้ การเข้าตีเมืองจันทบุรีครั้งสุดท้ายนี้ เจ้าตากอยู่ในภาวะที่เสี่ยงต่อความล้ม เหลวในการคิดกอบกู้เอกราชเพราะถ้า หากไม่สำเร็จก็จะล้มเหลวทั้งหมดโดย สิ้นเชิง สงครามครั้งเข้าตีเมืองจันทบุรี จึ ง เป็ น สงครามที่แ สดงถึ ง ความ กล้ า หาญที่ยิ่ง ใหญ่ ใ นฐานะเป็ น นักรบที่สะท้อนให้เห็น จากตำนาน การเข้าตีเมืองจันทบุรีที่เริ่มแต่การ สั่ง ให้ แ ม่ ทั พ นายกองและทหาร ทุ บ ห ม้ อ ข้าวทิ้ง หลัง อาหารมื้อ สุดท้าย เพื่อตีเมืองให้ได้ และเพื่อ ไปกินอาหารมื้อใหม่ในเมือง โดยที่ ในการบุกเข้าโจมตี เจ้าตากนั้นทรง ขี่ช้ า งนำหน้ า กำลั ง พลเข้ า ทำลาย
ประตู เ มื อ งที่ต้ อ งฝ่ า กระสุ น ปื น ลู ก ธนู หอก จากกองกำลังป้องกันเมืองของฝ่าย พระยาจันทบุรี นับเป็นอันตรายอย่างยิ่ง ทำให้ควาญช้างพยายามยั้งข้าศึกไว้ไม่ให้ เข้ า ไปใกล้ อั น ตรายเป็ น เหตุ ใ ห้ เ จ้ า ตาก โกรธและหันมาจะฟันควาญช้างที่พยายาม ขัดขวาง แต่ ด้ ว ยบุ ญ บารมี ข องเจ้ า ตากทำให้ ปลอดภั ย และพั ง ประตู เ มื อ งเข้ า เมื อ ง จันทบุรีได้ และเป็นชัยชนะที่ทำให้เจ้าตาก เป็นใหญ่เหนือบรรดาเจ้าเมืองใหญ่น้อย ทั ้ ง หลายทางชายทะเลภาคตะวั น ออก ทั้งหมด และเกิ ด เป็ น ก๊ ก ใหญ่ ก๊ ก หนึ ่ ง ที ่ จ ะ ทำการกู้กรุงศรีอยุธยา แต่เจ้าตากก็หาได้ เข้าไปปกครองเมืองจันทบุรีแทนที่พระยา จันทบุรีไม่ หากใช้เมืองจันทบุรีเป็นฐาน กำลังทางน้ำเพื่อการสร้างกองทัพเรือ และ แผ่อำนาจเข้าไปยังเมืองบันทายมาศในเขต กัมพูชาและเวียดนามในลุ่มแม่น้ำโขง ซึ่ง เวลานั้นเมืองบันทายมาศมีเจ้าเมืองเป็น พ่อค้าคนจีนเช่นเดียวกับทางเมืองจันทบุรี เมืองเหล่านี้อยู่ในสภาพอิสระไม่ขึ้น กั บ ศู น ย์ ก ลางแต่ มั ก สร้ า งความสั ม พั น ธ์ ระหว่างกันเพื่อการป้องกันตนเองและการ มีอำนาจทางทะเล จำเป็นที่เจ้าตากต้องนำ มาเข้าไว้ให้อยู่ในอำนาจ แต่ฐานทัพใหญ่ซึ่งเป็นทัพของเจ้าตาก คงอยู่ที่เมืองระยองที่น่าจะเป็นที่ อำเภอ บ้านค่าย อันเป็นฐานความอุดมสมบูรณ์
ของการเป็นจักรพรรดิราช ต่างกันกับพระ เจ้ามังระและกษัตริย์ในราชวงศ์คองบองที่ อำมหิตไม่มีศีลธรรม ถึงแม้ว่าในขณะนั้นจะเกิดก๊กใหญ่ขึ้น เป็ น จำนวนมากที่ต้ อ งการกู้พ ระนครศรีอยุธยา แต่ก็ดูขาดสติปัญญาไม่มีความ กล้ า หาญและเด็ ด เดี่ย วเท่ า กั บ เจ้ า ตาก เพราะส่วนใหญ่เป็นผู้มีบรรดาศักดิ์เป็นเจ้า นายและเจ้ า เมื อ งที่ไ ม่ มี ใ จกั บ การทำศึ ก สงครามและสู้รบ เพียงรักษาตั้งไว้ให้รอด จากการสู้รบกับพม่าและรอเวลาให้พม่าล่า ถอยไปเอง เลยทำให้สถานการณ์บ้านแตก สาแหรกขาดยังดำเนินอยู่ได้ การยกกองทัพขึ้นมาตีค่ายโพธิ์สามต้ น นั้น หาใช่ เ พื่อ เป็ น การกู้เ อกราชกู้ก รุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาที่ค นส่ ว นใหญ่ คิ ด กั น เองไม่ เพราะกรุงศรีอยุธยาในนั้นไม่เหลืออะไรที่ จะให้กู้ ถูกรื้อทำลายเพื่อค้นหาสมบัติทั้ง จากกองกำลังของข้าศึกและคนชั่วร้ายใน ประเทศเอง หากการตีค่ายโพธิ์สามต้น ของเจ้ า ตากนั ้ น ก็ เ พื ่ อ การปลดปล่ อ ย บรรดาคนไทยที่ถูกคุมขังและกวาดต้อนไป เป็นเชลยที่พม่า และขับไล่กองกำลังของ
พม่าที่ยังคงทำลายล้างบ้านเมืองอยู่ เรื่อยๆ นั้นให้สิ้นซากไป ผลของชั ย ชนะของเจ้ า ตากได้ ทำให้คนไทยที่ถูกทำลายร้างมีที่พึ่ง จึงได้ หันมาพึ่งเจ้าตากกันจากแทบทุกแห่งหน ทำให้เจ้าตากมีกำลังมากขึ้นและพร้อมที่จะ ตั้งตัวเป็นใหญ่ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระ มหากษัตริย์แห่งสยามประเทศ โดยหันมา พัฒนาพื้นฟูชุมชนบ้านเมืองชายทะเลทาง ตะวันออกจากจันทบุรี ระยอง ชลบุรี และ ฉะเชิงเทรามาจนถึงเมืองธนบุรี และสร้าง เมืองธนบุรีขึ้นเป็นราชธานีขึ้นมาแทนกรุง ศรีอยุธยา เจ้าตากปราบดาภิเษกตนเองขึ้นเป็น พระมหากษั ต ริ ย์ แ ห่ ง สยามประเทศ ณ เมื อ งธนบุ รี สร้ า งพระราชวั ง และ วัดวาอารามที่สำคัญ รวมทั้งป้อมปราการ กำแพงเมื อ งให้ เ มื อ งธนบุ รี มี ส ภาพ และฐานะเป็นกรุงราชธานีแทนพระนครศรีอยุธยา จึงทรงมีพระนามว่า สมเด็จ พระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงได้รับการยกย่อง จากคนทั้งประเทศให้เป็นพระวีรมหาราชที่ ยิ่ง ใหญ่ ข องประเทศ ช่ น เดี ย วกั น กั บ สมเด็จพระนเรศวรฯ ๙
เมื อ งระยองในเส้ น ทางกู ้ช าติ ข องสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น ฯ
ในเรื่อ งเสบี ย งอาหารเลี้ย งกองกำลั ง ได้ อย่างมั่นคง จากเมืองระยองเจ้าตากหันมา ปราบปรามบรรดาบ้านเล็กเมืองน้อยทาง เมืองพัทยาและชลบุรีที่ขัดขืนและเข้าด้วย กั บ พม่ า เช่ น ที ่ เ มื อ งชลบุ รี จ นสิ ้ น เสี ้ ย น หนาม เมื่อได้เวลาก็เคลื่อนทัพทั้งทางบกและ ทางทะเลมายังแม่น้ำเจ้าพระยา ยึดเมือง ธนบุรีได้เรียบร้อยก็ยกกำลังขึ้นตามลำน้ำ เจ้าพระยา ไปตีค่ายโพธิ์สามต้นอันเป็น ศู น ย์ ก ลางของอำนาจทางฝ่ า ยพม่ า ที่มี สภาพเหมือนกับเป็นเมืองอยุธยาใหม่ ที่ พม่าตั้งให้สุกี้พระนายกองที่เป็นคนมอญ ในเมืองไทยมาเข้าด้วยกับพม่าและมีส่วนที่ ทำให้พม่าตีกรุงศรีอยุธยาได้ สุกี้พระนายกองที่พม่ามอบหมายให้มี อำนาจนั้น มีหน้าที่สำคัญเพื่อการทำลาย ร้างเมืองไทยเพียงอย่างเดียว คือปล้นฆ่า เผาผลาญชุมชนและกวาดต้อนผู้คน ขน ทรัพย์สมบัติของบ้านเล็กเมืองน้อย วัดวา อารามส่งไปพม่า ทำให้เมืองไทยไม่ได้ตก เป็นเมืองขึ้นหรือประเทศราชของพม่าเช่น สมัยการเสียกรุงศรีอยุธยาตอนต้น ครั้ง พระเจ้ า หงสาวดี บุ เ รงนองที่อ ยู่ใ นกติ ก า
หวุ่น กี้ถู ก เรี ย กทั พ กลั บ ไป กรุ ง ธนบุ รี ปลอดภัยและไทยมีเวลาฟื้นตัว แต่สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงกรำ ศึกอ่อนล้า เป็นเหตุให้ทรงหันมาฟื้นฟูวัด และศาสนาและปฏิบัติธรรม อันเป็นเหตุ ต่อมาที่ทำให้เกิดการกบฏวุ่นวายในการ แ ย่ ง ชิ ง อ ำ น า จ แ ล ะ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า กรุงธนบุรีถูกสำเร็จโทษ สมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้ า และกรมพระราชวั ง บวรมหา สุรสีหนาทได้ขึ้นครองราชย์ ย้ายพระนคร มาสร้ า งกรุ ง เทพฯ ทางซ้ า ยของแม่ น้ ำ เจ้าพระยาแทน บ้านเมืองเข้มแข็งกว่าเดิม แต่ก็ไม่ร้างศึกพม่าที่ยังมีกำลังเหนือกว่า อยู่จนกระทั่งเกิด สงครามลาดหญ้าและ ท่าดินแดง ที่รัชกาลที ่ ๑ และกรมพระราชวังบวรฯ ทรงสามารถขับไล่พม่าให้พ้น ดิ น แดนไทยและเข็ ด หลาบไม่ ก ล้ า เข้ า มา รุกรานอีก ความยิ่งใหญ่ของวีรกรรมและพระ ราชกรณียกิจที่สมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราชทรงให้แก่ประชาชนชาวสยาม ทั้งประเทศ หาได้อยู่ที่ทรงกู้บ้านกู้เมือง ให้เป็นเอกราชไม่เป็นเมืองขึ้นของพม่า เช่ น เดี ย วกั บ สมั ย สมเด็ จ พระนเรศวร
มหาราช หากยังทรงช่วยให้บ้าน เมืองที่เรียกว่าสยามประเทศไม่ แตกสลาย ประชาชนสิ้นแผ่นดิน อยู่อาศัยเช่นเดียวกันกับการล่มสลาย ของอาณาจักรใหม่ๆ ในประเทศเพื่อน บ้าน เช่น จามปาและมอญ สยามก็ยัง คงเป็นสยามที่กลายมาเป็นไทยในทุกวัน นี้ พระคุณของสมเด็จพระมหากษัตริยาธิราชเจ้าพระองค์นี้ได้รับการถ่ายทอด และซึมซับในหมู่ประชาชน โดยเฉพาะคน ชั้นล่างที่เป็นไพร่ฟ้าประชากรอย่างไม่มีวัน ลืม ซึ่งก็สะท้อนออกมาจาก การสร้างศาล ตามท้องถิ่นต่างๆ ที่สมเด็จพระเจ้าตาก สินฯ เคยเสด็จไปและไม่เคย พร้อมทั้ง สร้างตำนานเกี่ยวกับพระองค์ไว้ให้คนได้ สักการบูชาในฐานะเป็นมเหสักข์หลักบ้าน หลักเมืองของประเทศ และในยามที ่ บ ้ า นเมื อ งเกิ ด ความ ขัดแย้ง สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ ก็จะ เสด็ จ กลั บ มาให้ เ ป็ น สั ญ ลั ก ษณ์ ข องพลั ง การต่ อ สู้ที่ใ ห้ ค วามเป็ น ธรรมร่ ม เย็ น แก่ บ้านเมือง ๑๐
เมื อ งระยองในเส้ น ทางกู ้ช าติ ข องสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น ฯ
ความต่างกันของสมเด็จพระมหาราช เจ้าทั้ง ๒ พระองค์นี้อยู่ที่ สมเด็จพระ นเรศวรฯ ทรงกอบกู้อิสรภาพของกรุง ศรีอยุธยาจากกันเป็นเมืองขึ้นของพม่าให้ กลับมาเป็นราชธานีที่รุ่งเรืองและยิ่งใหญ่ เหนื อ นานาประเทศที่เ ป็ น รากฐานของ ความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ การเมือง และ ศิลปวัฒนธรรม จนเป็นศูนย์กลางการค้า ทางทะเลที่ยิ่ง ใหญ่ แ ห่ ง หนึ่ง ของภู มิ ภ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ที่สำคัญคือ การทำสงครามของราชอาณาจักรทำลาย ล้างอำนาจที่ยิ่งใหญ่ของพม่า ณ กรุง หงสาวดี อั น เป็ น ราชธานี ข องพระเจ้ า สิ บ ทิ ศ บุ เ รงนองจนสิ้น สภาพความเป็ น ศูนย์กลางของราชอาณาจักร ทำให้พม่า แตกแยกต้องย้ายราชธานีหนีไปอยู่ ณ กรุงอังวะแทน แต่สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ ทรงเป็น มหาราชในทางตรงข้าม คือทรงเป็นผู้ปลด ปล่อยบ้านเมืองที่แตกสลายให้ประชาชนที่ บ้านแตกสาแหรากขาดพ้นทุกข์ มีที่อยู่ บ้านเมืองมั่นคงและเป็นปึกแผ่นปลอดภัย จากการรุกรานทำลายร้างของข้าศึก โดยที่ สมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น ฯ ต้ อ งทรง ตรากตรำพระวรกายและสติปัญญา ทำ สงครามทั้งภายนอกและภายใน สงครามจากภายนอกคือจากพม่านั้น ยืดเยื้อและก่อกวนตลอดรัชกาล เพราะ ไทยไม่สามารถทำลายอำนาจพม่าที่เมือง หลวงให้หมดศักยภาพได้ เมื่อหมดศึกจาก ภายในก็สู้รบขับไล่พม่าและยึดคืนบรรดา บ้านเมืองภายในราชอาณาจักรที่พม่าเข้า ครอบครอบกลั บ คื น ไม่ ไม่ ว่ า ทั้ง ทาง ล้านนาและล้านช้าง จนถึ ง สงครามพม่ า ครั้ง สำคั ญ คื อ ศึ ก อะแซหวุ ่ น กี ้ ซึ่ ง พม่ า ยกกำลั ง มา มากมาย และมี แ ม่ ทั พ ที ่ เ กรี ย งไกร สงครามคือ อะแซหวุ่นกี ้ ที่สามารถตีเมือง พิ ษ ณุ โ ลกแตกและกำลั ง เคลื่อ นทั พ ลง มายังเมืองหลวงที่ธนบุรี แต่เผอิญเกิด ความวุ่นวายเสียก่อนที่เมืองพม่าและอะแซ
๑๑
ผลจากการสำรวจ
เมืองศรีพะโลมีมาก่อนการสร้างกรุง ศรีอยุธยาเป็นเมืองท่าของนครรัฐภายในที่ อยู่บ ริ เ วณต้ น ลำน้ ำ พานทองที่เ ป็ น เมื อ ง สมัยทวารวดี-ลพบุรี ที่ปัจจุบันคนเรียกว่า เมืองพระรถ เมืองนี้เป็ นนครรัฐที่สัมพันธ์ กับเมืองภายในที่เรียกว่า เมืองพญาเร่ ใน เขตตำบลบ่อทอง ซึ่งเป็นเมืองที่อยู่ในเขต ๑. ก่อนสมัยอยุธยาตอนปลาย ภูเขาบนเส้นทางบกจากอำเภอพนัสนิคม ไปยังระยองและจันทบุรี อาณาเขตทาง บริเวณพื้นที่ชายทะเลฟากตะวันออกของ ชายฝั่งทะเลของนครรัฐโบราณแห่งนี้ กิน ในการลงพื้นที่สำรวจศึกษาเส้นทาง เดินทัพของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ในพื้นที่หัวเมืองชายทะเลที่นับเนื่องเป็น ภาคตะวันออกของประเทศไทยในครั้งนี้ ทำให้ได้เข้าใจในหลายเรื่องถึงพัฒนาการ และการเติบโตของหัวเมืองชายทะเล ที่พอ จะสรุปให้เห็นได้ดังนี้
ปากแม่ น้ ำ จั น ทบุ รี แหลมสิ ง ห์
แม่น้ำเจ้าพระยา นับเป็นพื้นที่ห่างไกลเป็น ชายขอบของราชอาณาจักร มีแหล่งชุมชน บ้านเล็กเมืองน้อยกระจายอยู่ตามเวิ้งอ่าว เป็นระยะห่างๆ กัน ที่ส่วนมากเป็นชุมชน ชาวประมงและเป็นแหล่งท่าเรือจอดเพื่อ การแลกเปลี่ยนสินค้า มีเมืองโบราณที่เป็นเมืองใหญ่อยู่ ๒ แห่ง คือ เมืองศรีพะโล บนเนิ นสูงชายฝั่ง ทะเลในเขตตำบลหนองไม้แดง และ บาง ปลาสร้อย ที่ต่อมาในสมัยอยุธยาตอน ปลายรวมเรียกเป็น เมืองชลบุรี
พื้นที่ตั้งแต่ปากลำน้ำพานทองผ่านเมืองศรี พะโลถึ ง บางปลาสร้ อ ยไปถึ ง บางละมุ ง พัทยา และสัตหีบที่มีชุมชนบ้านและท่าเรือ จอดกระจายอยู่ อี ก เมื อ งหนึ ่ ง ที ่ เ ป็ น นครรั ฐ เช่ น เดียวกันคือ เมืองจันทบุรีที่ตีนเขาสระบาป เป็นเมืองใหญ่เป็นทั้งเมืองท่าและเมืองการ ปกครองที่มีกษัตริย์ปกครอง ที่มีอายุแต่ พุทธศตวรรษที่ ๑๑-๑๒ ลงมา เป็นแหล่ง ของสินค้าป่าและการแลกเปลี่ยนทางทะเล ที่สั ม พั น ธ์ กั บ ชนชาติ จ ามอั น เป็ น พ่ อ ค้ า
ระยะไกลทางทะเล และชนชาติซองคนพื ้น เมืองในตระกูลภาษามอญ-เขมร เป็นพวก รวบรวมของป่า เช่น เร้ว และกระวานเพื่อ ขายเป็นสินค้า ในสมั ย ก่ อ นเมื อ งพระนคร ที่เรียกว่า สมัย เจนละ เมืองจันทบุรีนี้ได้ เข้ า ไปอยู่ใ นเครื อ ข่ า ยของรั ฐ เจนละใน กัมพูชา จึงพบศิลาจารึกและโบราณวัตถุที่ มีพระนามของกษัตริย์เจนละที่เมืองนี้ เมืองจันทบุรีอยู่สืบมา แต่ ส มั ย ทวารวดี เ จ น ล ะ จ น ถึ ง ลพบุรี พอถึงสมัย อ ยุ ธ ย า ก็ ย้ า ย ตำแหน่งเมืองมาอยู่ ริ ม แม่ น้ ำ จั น ทบุ รี บนที่สูงทางฟากเขา เนิ น วงและพลอย แหวน เมื อ งนี ้ มี พั ฒ น า ก า ร เ ป็ น เมื อ งใหญ่ ใ นสมั ย อยุ ธ ยาตอนปลาย เป็นเมืองกึ่งอิสระที่ มี พ่ อ ค้ า คนจี น เป็ น เจ้าเมืองและขึ้นอยู่ กั บ อ า ณ า จั ก ร อยุ ธ ยาแต่ เ พี ย งใน นาม คลุมพื้นที่ชายทะเลแต่เมืองจันทบุรี ไปถึงเมืองตราด และจากจันทบุรีไปยังเขต เมืองระยอง ทั้ง เมื อ งชลบุ รี แ ละเมื อ งจั น ทบุ รี คื อ เมื อ งชายขอบที่เ ริ่ม พั ฒ นาเป็ น บ้ า นเป็ น เมื อ งขึ้น หลายแห่ ง ในสมั ย อยุ ธ ยาตอน ปลายคือราวพุทธศตวรรษที่ ๒๒ ลงมา อั น เป็ น ผลพวงมาจากความรุ ่ ง เรื อ ง ทางการค้าของกรุงศรีอยุธยามาแต่รัชกาล สมเด็จพระนเรศวรลงมา
๑๒
๒. การที่เจ้าตากพากำลังคนหนีจาก อยุธยาเข้ามาตั้งเป็นที่มั่นในการรวบรวม คนให้เป็นกองทัพทั้งทางบกและเรือขึ้นใน เขตหั ว เมื อ งชายทะเลนี้ ได้ท ำให้มีการ เติบโตของชุมชนบ้านเมืองขึ้นที่มาจากการ รวมกลุ่มคนหลายชาติพันธุ์ ทั้งฟากพ่อค้า คนจีน คนญวน คนไทยและคนพื้นเมือง
โดยเฉพาะชุมชนท่าเรือจอดชายทะเล นั้นเกิดขึ้นหลายแห่งที่เป็นกลุ่มคนจีนที่มี ทั้งสัมพันธ์กับการเป็นทหารของเจ้าตาก และเป็นพ่อค้าจากแดนไกลที่มีมาแต่เดิม วั ด พลั บ บางกะจะ จั น ทบุ รี ดังเช่นชุมชนที่ บ้านคลองขุด ก็มีผู้ เชื่อ ว่ า ตนเองมาจากกลุ่ม คนจี น ที่เ ป็ น ทหารของเจ้าตาก และเมื่อเจ้าตากเสด็จขึ้น
ครองราชย์เป็นสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี แล้ว ทำให้ความเป็นบ้านเมืองชายทะเลที่ เคยเป็นบ้านเล็กเมืองน้อยเป็นเมืองชาย ขอบกลายเป็นบ้านเมืองที่เป็นปึกแผ่นและ มี อ ยู่ใ นทำเนี ย บของราชอาณาจั ก รไทย ส มั ย ก รุ ง ธ น บุ รี จ น ถึ ง ส มั ย ก รุ ง รัตนโกสินทร์
๓.
ปากแม่ น้ ำ ระยอง
ในส่วนเมืองระยองนั้น การเดิน ทัพผ่านแต่เมืองพนัสนิคมตามเส้นทาง เดินบกไปจันทบุรี แต่แยกลงมาที่ระยอง และตั้งค่ายฐานทัพที่อำเภอบ้านค่าย อัน เป็นพื้นที่อุดมสมบูรณ์เป็นแหล่งเสบียงที่ สำคัญที่ดีกว่าที่อื่นๆ นั้น ได้ทำให้ระยองกลายเป็นเมืองฐานทัพ ที่เ หมาะสมและปลอดภั ย แก่ เ จ้ า ตากใน การเป็นที่ประชุมพลเพื่อการเคลื่อนย้าย กองทัพทั้งทางบกและทางทะเลไปปากน้ำ เจ้ า พระยา เพื่อ ขั บ ไล่ ก องทั พ พม่ า ที่ โพธิ์สามต้น ผลที ่ ต ามมาได้ ท ำให้ เ มื อ งระยอง กลายเป็ น เมื อ งสำคั ญ ที ่ มี ทั ้ ง พื ้ น ที ่ ชายทะเล และพื้นที่ภายในที่โดดเด่นกว่า บรรดาเมืองชายทะเลอื่นๆ ทางฝั่งตะวัน ออกของแม่น้ำเจ้าพระยา เกิดชุมชนทั้ง ชายฝั่งทะเลและชุมชนภายในที่ทำนาทำ สวนและทำไร่มากมาย ชุมชนที่เกิดแต่ สมัยเจ้าตากรวมพลดังกล่าวนี้หลายแห่ง มีการสร้างศาล สร้างตำนานเกี่ยวกับเจ้า ตากให้ มี ฐ านะเป็ น ผู ้ น ำวั ฒ นธรรม [Culture hero] และมเหสักข์หลักเมือง เพื่อความมั่นคงทางจิตใจและสังคม
๑๓
รายงานการสำรวจ เมืองระยองในเส้น
ระยอง ๔. หาพันธมิตรที่บางปลาสร้อยหรือเมือง ชลบุรี แล้วมุ่งสู่เมืองจันทบูรและตราด
มี ผู้ค นมี ป รากฏชื่อ เป็ น ขุ น นาง ร่ ว ม ร บ แ ล ะ ขุ น น า ง ใ น ส มั ย กรุงธนบุรีต่อมา เช่น พระเชียง เงิน, หลวงพรหมเสนา, หลวง พิ ชั ย อาสา, หลวงราชสเน่ ห า, ขุนอภัยภักดี ตีฝ่าทัพพม่าออก มาด้วยกัน
แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อได้ออกสำรวจ และพิ จ ารณาความเป็ น ไปได้ ใ นสภาพ ภูมิประเทศและข้อมูลทางประวัติศาสตร์และ พระเจ้าตาก โบราณคดีต่างๆ ในระยะรายทางพบว่า มี การเดินทางเพื่อหนีทัพพม่า ข้ อ มู ล ที่แ ตกต่ า งไปจากการสั น นิ ษ ฐานแต่ วลัยลักษณ์ ทรงศิริ ดั้งเดิมอยู่มาก โดยเฉพาะที่เกี่ยวเนื่องกับ ครั้งแรกนั้น พระยาตากคงเพียง ตั้งใจตีฝ่าวงล้อมกองทัพพม่าเพื่อ การสำรวจเส้นทางการเดินทางออกจาก ทางเขตเมืองระยอง หนี เ อาตั ว รอดจากพระนครไป กรุงศรีอยุธยาของพระยาตากหรือพระยาวชิร ๑. การเดินทัพเพื่อหลบหนีกองทัพพม่า ก่อนเท่านั้น ปราการก่อนกรุงฯ แตกไม่นาน โดยรวบรวม จากกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาสู ่ ช ายเขตแดนเมื อ ง ทิศทางที่นำพลพรรคออกมา พลพรรคจำนวนไม่ ม ากนั ก ตั ด สิ น ใจตี ฝ่ า นครนายกนั้น น่าจะเป็นไปตาม พระราช วงล้อมทัพพม่าออกจากพระนครศรีอยุธยาใน พงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับต่างๆ เช่น ฉบับ คื อ มุ่ง ไปทางตะวั น ออกของ ระหว่างสงครามครั้งสุดท้ายที่กำลังแตกสลาย พั น จั น ทนุ ม าศ (เจิ ม ) และฉบั บ บริ ต ริ ช พระนครศรีอยุธยา และทางหัว ลงไปแล้วมุ่งไปทางตะวันออก เพื่อไปทางด่าน มิวเซียม เป็นต้น ว่าราววันที่ ๓ มกราคม เมื อ งทางฝั ่ง ตะวั น ออก เช่ น เมืองนครนายกและดงศรีมหาโพธิ์ แล้วมุ่งสู่หัว พ.ศ. ๒๓๐๙ เกิดเพลิงไหม้ในพระนคร ลาม เมื อ งระยองและจั น ทบู ร จนถึ ง เมืองชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ก่อนพระนคร ไปยังวัดต่างๆ กุฎิ วิหารต่างๆ รวมทั้งบ้าน ตราด ชายฝั่งทะเลด้านนี้ปลอด สูญเสียต่อทัพพม่าราว ๓ เดือน เป็นการ เรือนราษฎรกว่าหมื่นหลังคาเรือน และไฟไหม้ จากกองทั พ พม่ า มี ป ระชากร กระทำเพื่อสะสมผู้คนและจัดทัพเตรียมเสบียง ยังไม่ทันดับ ช่วงนี้ที่พระยาตากนำไพร่พล จำนวนมากและมีคนทั้งเชื้อสาย เพื่อย้อนกลับไปกู้บ้านเมืองอีกครั้ง จำนวนไม่ ม ากนั ก แต่ เ อกสารในพระราช เวียดนาม เขมร และจีนที่อาจจะ จากการสำรวจข้อมูลเอกสารและรายงาน พงศาวดารสมัยหลังว่าพลไทยจีนกว่า ๕๐๐ ใช้ เ ป็ น กองกำลั ง สนั บ สนุ น ที ่ การศึกษาตลอดจนบทความต่างๆ ที่แสดงไว้ นาย ที่ตั้งค่ายสู้รบอยู่นอกกำแพงพระนคร สำคัญ ในรายงานฉบับที่ ๑ ที่ผ่านมาทำให้ได้สร้าง หรือนอกเกาะเมืองทาง “ค่ายวัดพิชัย” ซึ่ง กองกำลั ง ของพระยาตาก สมมติฐานแนวทางการเดินทัพของพระยาตาก ปัจจุบันชื่อว่าวัดพิชัยสงคราม ริมแม่น้ำป่าสัก ออกเดินทางจากค่ายวัดพิชัยมา เพื่อรวบรวมไพร่พลแสดงไว้ดังนี้คือ ทางด้านทิศตะวันออกของเมือง นำกองกำลังที่ จนถึง บ้านหันตรา บ้านธนู ที่ห่าง การเดินทางในแต่ระยะสามารถ แบ่งออกได้เป็น ๔ ช่วงตามลำดับ คือ
ทางกู้ชาติสมเด็จ
๑. จากกรุ ง ศรี อยุ ธ ยาสู่ช าย เขตแดนต่อเมืองนครนายก ๒. จากนครนายก เดินทางสู่ ลำน้ำปราจีนบุรีผ่านด่านกบแจะและ ชายดงศรี ม หาโพธิ์ แล้ ว รบพม่ า ที่ ปากน้ำเจ้าโล้ บริเวณบางคล้า จังหวัด ฉะเชิงเทรา แล้วใช้เส้นทางเลียบลำน้ำ บางปะกงสู่เมืองบางปลาสร้อยหรือ ชลบุรี ๓. จากบางปลาสร้อยมุ่งสู่พัทยา นาจอมเทียน สัตหีบ และแขวงเมือง
ศาลสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น ที ่วั ด พิ ชั ย นอกเกาะเมื อ งพระนครศรี อ ยุ ธ ยา
๑๔
ไปราว ๓ กิโลเมตร ทัพพม่ายกทัพเร่งมาทัน จึงสู้รบกัน ชาวบ้านในบริเวณนี้มีตำนานเล่า กันถึง “ทุ่งชายเคือง” ริมลำคลองข้าวเม่า ซึ่ง เป็นสถานที่สู้รบกับกองกำลังพม่า และตีแตก ไม่ได้จึงถอยทัพกลับไป และต่อมาเดินทางไป ยัง บ้านสามบัณฑิต ซึ่งตั้งอยู่โดดเดี่ยวกลาง ทุ่งพระอุทัยในเวลาสองยามเศษ ในพระราช พงศาวดารบรรยายว่า เมื่อมองกลับไปเห็น แสงไฟไหม้กรุงอย่างชัดเจน แล้วจึงให้ทัพหยุด พักที่นี่
ตะวันออกราว ๒๐ กิโลเมตร พม่าส่งกองทัพ ติดตามมาอีกจึงได้รบกันจนพม่าแตกพ่ายไป บริเวณบ้านโพสาวหาญชาวบ้านสร้างศาลเจ้า แม่โพสาวหาญทั้งสองคนไว้ที่วัดโพสาวหาญ ด้วย
แล้วเดินทัพต่อไปจนถึง บ้านพรานนก จึง หยุดพักแรม แล้วให้ทหารออกไปลาดตระเวณ พบว่าทัพพม่ายกมาจากทางบางคางหรือเมือง ปราจีนเก่า พระยาตากและพลพรรคใช้ม้า เพียง ๔ ม้า สู้กับทัพม้า ๓๐ ม้าของทัพพม่า จนรุ่งเช้าเป็นวันอาทิตย์ พระยาตากจึง แตกพ่ายไปอีกครั้ง ถือเป็นการสู้รบบนหลังม้า เดิ น ทางต่ อ ไปยัง บ้ า นโพสั ง หารหรื อ บ้ า น ที่ดุเดือดและใช้ความกล้าหาญและเชี่ยวชาญ โพสาวหาญ ที่อยู่ห่างจากกรุงศรีอยุธยาไปทาง อย่างยิ่ง บริเวณนี้พบว่ามีร่องรอยของทราก
ศาลที ่บ้ า นโพสาวหาญ อำเภออุ ทั ย จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา
ศาลพรานนก ที ่บ้ า นพรานนก
อำเภออุ ทั ย จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา
ศาสนสถานกลางทุ่งและสถานที่ ซึ ่ ง ชาวบ้ า นเชื ่ อ ว่ า เป็ น ทุ ่ ง โพ สังหารหรือโพสาวหาญ ซึ่งทั้งเด็ก วั ย รุ่น และผู้ใ หญ่ ส ามารถชี้จุ ด บริเวณที่เชื่อว่าเป็นสถานที่สู้รบ กันได้ทุกคน ถือเป็นความทรงจำ ตกทอดสืบต่อกันมาอย่างชัดเจน เมื่อตัดถนนในเขตฝั่งธนบุรีหลัง จากสร้ า งสะพานพุ ท ธยอดฟ้ า ฯ พ.ศ. ๒๔๗๕ ก็มีการขนานนาม ถนนเพื่อ เป็ น เกี ย รติ์แ ละที่ร ะลึ ก คือ “ถนนพรานนก” และ ศูนย์ การทหารม้า สระบุรี ซึ่งยังใช้วัน ที่ ๔ มกราคมดังกล่าว เป็นวัน ทหารม้าต่อมาในทุกปี องค์ ก ารปกครองส่ ว นท้ อ ง ถิ่นร่วมกันสร้างป้ายหรือเส้นทาง บอกเส้ น ทางการเดิ น ทั พ ของ พระยาตากโดยองค์ ก ารบริ ห าร ส่วนจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่ ทำป้ า ยแบบมาตรฐานของกรม ทางหลวง แสดงจุดหรือเส้นทาง เดิ น ทั พ ประกอบ ซึ่ง เป็ น การ สนับสนุนเพื่อการศึกษาและการ ท่องเที่ยวเป็นสำคัญ โดยอธิบาย ร า ย ล ะ เ อี ย ด จ า ก พ ร ะ ร า ช พงศาวดารซึ่งเขียนแต่งเติมขึ้นใน ภายหลังและนำเสนอว่าเป็น “เส้น ทางศึกษาประวัติศาสตร์และวิถี ชีวิต ชาวชนบทกรุงเก่า” และน่า เสียดายที่ไม่มีการสร้างพื้นที่เพื่อ การศึกษาเช่นนี้นอกเหนือไปจาก เขตการปกครองภายในจั ง หวั ด พระนครศรีอยุธยา ช่ว งเวลาแห่ ง การสู้ร บเพื่อ หนีจากทัพพม่าที่อยู่ประชิดเมือง และสู้รบตามรายทางใช้เวลาราว ๒-๓ วัน จึงเดินทางเข้าเขตเมือง นครนายก ๒. จากนครนายก เดินทาง สู ่ ล ำ น้ ำ ป ร า จี น บุ รี ผ่ า น ด่ า น
เมื อ งระยองในเส้ น ทางกู ้ช าติ ข องสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น ฯ
๑๕
สามารถข้ามลำน้ำช่วงนี้เพื่อตัดตรงพาทัพไป ยังภาคตะวันออกทางชายฝั่งทะเลได้โดยใช้เส้น ทางเลียบทุ่งในช่วงปลายหน้าน้ำ เดินทางเลียบ ชายดงศรีมหาโพธิ์ที่เป็นป่าใหญ่ต่อกับท้องทุ่ง จ า ก ก า ร ส ำ ร ว จ ครั ้ ง นี ้ พ บว่ า ที ่ ลุ ่ ม น้ ำ ท่ ว มถึ ง ในหน้ า น้ ำ ไปยั ง แม่ น้ ำ ท่ า จากบริเวณบ้านพรานนกซึ่งอยู่ในกลุ่ม กระดานเข้ า สู่เ ขตป่ า เขาในดงของป่ า ต้ น น้ ำ บ้ า นโพสาวหาญ เป็ น ทุ ่ ง กว้ า งอั น ระบม-สียัดได้อีกทางหนึ่ง ทั พ พ ร ะ ย า ต า ก เ ดิ น ท า ง ข้ า ม แ ม่ น้ ำ เป็นรอยต่อระหว่างท้องทุ่งในเขตอำเภอ อุทัยทางใต้ อำเภอท่าเรือ จังหวัด ปราจีนบุรีที่ด่านกบแจะ เดินทางเลียบชาย พระนครศรี อ ยุ ธ ยาทางเหนื อ และ ดงศรีมหาโพธิ์ ผ่านบ้านคู้ลำพัน ซึ่งมีเส้นทาง อำเภอเมื อ ง จั ง หวั ด นครนายกทาง น้ำคู้ลำพันไหยจากบริเวณที่สูงในอาณาบริเวณ ตะวันออก เมื่อทัพพระยาตากเลียบเขา ของเขตเมื อ งโบราณสมั ย ทวารวดี ที่ปั จ จุ บั น ผ่ า นบ้ า นนาเริ ่ ง หรื อ น่ า จะเป็ น แถบ เรียกว่า “เมืองศรีมโหสถ” บริเวณคู้ลำพันนี้มี อำเภอบ้านนา มุ่งไปยังเมืองปราจีนบุรี ชุ ม ชนสำคั ญ อี ก แห่ ง หนึ่ง คื อ บริ เ วณต้ น โพธิ์ เก่าที่อยู่ริมแม่น้ำปราจีนที่ “ด่านกบ ศรีมหาโพธิ์ ซึ่งมีชุมชนชาวพวนที่ถูกอพยพมา แจะ” ซึ่งตั้งอยู่ริมแม่น้ำปราจีนบุรีฝั่ง ในครั้งรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้า ทางเหนือ บริเวณนี้ชาวบ้านในท้องถิ่น อยู่หัวอยู่อาศัยเป็นชุมชนใหญ่มาจนถึงปัจจุบัน สั น นิ ษ ฐานว่ า น่ า จะเป็ น บริ เ วณวั ด พระยาตากอาจจะพักทัพที่แห่งนี้ แล้วคงช่งใจ กระแจะ บริเวณตำบลท่างาม ในอำเภอ ว่ า จะเดิ น ทางต่ อ ไปทางลำน้ ำ บางปะกงเพื่อ เมือง ซึ่งเป็นพื้นที่ชุมชนบ้านด่านหนึ่ง ออกปากน้ ำ ไปยั ง บางปลาสร้ อ ยซึ่ง คื อ เมื อ ง ในชุ ม ชนด่ า นที่ส ามารถเดิ น ทางไปยั ง ภาค ชลบุรีในภายหลัง อันเป็นเมืองที่เป็นจุดเริ่มต้น อีสานผ่านทางช่องเขาบรรทัดในเขตเขาใหญ่ ของบ้านเมืองทางชายฝั่งทะเลตะวันออก หรือเดินทางตามลำน้ำปราจีนบุรีเพื่อผ่านไปยัง โดยรอกลุ่มพระเชียงเงินที่ไปลาดตระเวณ กั ม พู ช าทางด่ า นหนุ ม าณและด่ า นพระปรง และพบว่ า มี ทั พ พม่ า กองทั พ ใหญ่ ตั ้ ง ทั พ ที ่ เ ป็ น ชุ ม ชนบ้ า นด่ า นมาตั ้ ง แต่ ส มั ย กรุ ง อยู่ที่ ปากน้ ำ เจ้ าโล้ ห รื อ โจ้ โ ล้ บางคล้า เมือง ศรีอ ยุธ ยาตอนต้ น หรือ อี ก ประการหนึ่ง ก็ ฉะเชิงเทรา และทัพพม่าตามมาทันและตั้งทัพ กบแจะและชายดงศรีมหาโพธิ์ แล้วรบ กั บ พม่ า ที ่ ตั้ ง ทั พ อยู ่ ที ่ ป ากน้ ำ เจ้ า โล้ บริเวณบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทราใน ปัจจุบัน
อยู ่ ที ่ บ้ า นท่ า ข้ า ม จึ ง รบกั น เป็นการรบใหญ่อีกครั้งหนึ่งหลัง จากหนี อ อกจากพระนครใน บริเวณทุ่งใกล้ลำน้ำท่าลาด ซึ่ง เป็นลำน้ำที่ไหลมารวมกับแม่น้ำ ปราจีนบุรีหรือแม่น้ำบางปะกงที่ ปากน้ำโจ้โล้นั่นเอง แต่ในปัจจุบัน นักประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจำนวนหนึ่งไม่เชื่อ ว่ า เจดี ย์ ที่ป ากน้ ำ โจ้ โ ล้ จ ะเป็ น สิ่ง ก่ อ สร้ า งที ่ สื บ เนื ่ อ งมาแต่ ค รั ้ ง สมเด็จพระเจ้าตากสินสร้างภาย หลังขึ้นครองราชย์แล้ว เพราะ สามารถสื บ ค้ น ประวั ติ ศ าสตร์ ภายในท้องถิ่นได้ว่า สร้างขึ้นครั้ง ราวรั ช กาลพระบาทสมเด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดย คหบดีท้องถิ่นนั่นเอง และในช่วง นั้นยังไม่มีการระลึกและฟื้นความ ทรงจำเกี่ยวกับเรื่องพระเจ้าตาก ของชาวบ้ า นในท้ อ งถิ ่ น ต่ า งๆ มากเท่ากับในปัจจุบันนี้ เจดีย์ ที่ปากน้ำโจ้โล้เป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ ที่เคยมีศาลเจ้าจีนและมีการสร้าง เจดีย์ในภายหลัง ซึ่งเป็นปกติของ สถานที่เ ช่ น บริ เ วณปากน้ ำ ที่ส บ กันและเกิดเป็นชุมชน โดยเฉพาะบริเวณนี้ก็ มี ผู้ค นเชื้อ สายจี น อยู่ มาก โดยเฉพาะ ในช่ ว งต้ น กรุ ง รั ต นโกสินทร์
ทุ ่ง กว้ า งต่ อ ชายเนิ น ดงศรี ม หาโพธิ ์ ที ่บ้ า นคู ้ล ำพั น จั ง หวั ด ปราจี น บุ รี
ดังนั้นจึงน่าจะเป็น ไปได้ว่าพระยาตากไม่ ได้นำกองกำลังมารบ กั บ ทั พ พม่ า บริ เ วณ ปากน้ำนี้ แต่เป็นการ ร บ ใ ก ล้ ล ำ น้ ำ ท่ า กระดานในท้ อ งทุ่ง ที่ ลุ ่ ม กว้ า งใหญ่ ซึ ่ ง ปั จ จุ บั น น่ า จ ะ อ ยู ่
๑๖
บริเวณเขตอำเภอพนมสารคามและอำเภอบ้าน ป่าเขาอ่างฤไน ที่อยู่ในรอยต่อระหว่างจังหวัด ป ล า ส ร้ อ ย ที ่ ตั ้ ง อ ยู ่ ใ ก ล้ กั บ ซ่อ ง ต่ อ เนื ่องกั บ ชุม ชนบริ เ วณท่ า ขนุ น ใน ชลบุรี จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรีใน ปากน้ ำ บางปะกงและทางบ้ า น บริเวณลุ่มน้ำท่าลาดนั่นเอง ปัจจุบนั ท่าข้ามที่เป็นช่องทางสำคัญใน การเดิ น ทางต่ อ ไปยั ง คลอง ส ำ โ ร ง เ พื ่ อ ต่ อ ไ ป ยั ง แ ม่ น้ ำ เจ้ า พระยาและกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา บริเวณนี้จึงเป็นจุดยุทธศาสตร์ ส ำ คั ญ ที ่ ก อ ง ทั พ พ ม่ า ต้ อ ง ควบคุมอย่างใกล้ชิด ดังเห็นได้ จากการมี ก องทั พ ชุ ด หนึ่ง ที่มี จำนวนไพร่ พ ลไม่ น้ อ ยตั้ง เฝ้ า ระวังอยู่ที่บริเวณปากน้ำเจ้าโล้ เพื่อควบคุมการคมนาคมสำคัญ ทางฝั่งตะวันออก และคงมีทัพ ศาลเจ้ า พ่ อ เขากา พม่ า ตั ้ ง เป็ น ระยะในบริ เ วณ ที ่อ ำเภอท่ า ตะเกี ย บ ลำน้ ำ บางปะกงตลอดจนบาง ปลาสร้ อ ยที่เ ป็ น ปากน้ ำ สำคั ญ และสามารถควบคุ ม เจ้ า เมื อ ง หรื อ ผู้ค นสำคั ญ ทางฝ่ า ยบาง ปลาสร้ อ ยไว้ ไ ด้ ทั้ง หมด ดั ง ปรากฏชื่อ “นายทองอยู่ นก เล็ก” ที่พระยาตากต้องนำกำลัง ไปปราบในเวลาต่อมา
ศาลเจ้ า พ่ อ พญาเร่ ชาวบ้ า นท้ อ งถิ ่น
เชื ่อ ว่ า เป็ น ทหารเอกของพระเจ้ า ตาก
ที ่อ ำเภอบ่ อ ทอง เมื อ งพญาเร่ โ บราณ
การรบที่บริเวณทุ่งระหว่างทางปากน้ำโจ้ โล้และลำน้ำท่าลาดครั้งนี้เป็นศึกหนักครั้งหนึ่ง หลังจากออกจากกรุงศรีอยุธยามาแล้ว จาก นั้นจึงเดินทางมุ่งไปยัง บ้านหัวทองหลาง บ้านตะพานทอง และสำนักหนองน้ำ ซึ่งน่า จะเป็นพื้นที่ในเขตภายในบริเวณลุ่มน้ำท่าลาด ในเขตเมื อ งพนมสารคามในเวลาต่ อ มา บริเวณนี้ติดต่อกับเขตที่สูงและป่าเขาทางของ ต้นน้ำแควระบม-สียัด ซึ่งมีต้นน้ำมาจากทาง
การวิเคราะห์ที่ใช้ข้อมูลจากพงศาวดาร ฉบับต่างๆ รวมทั้งฉบับปริตริช มิวเซียม และฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) ซึ่งเขียนขึ้น มาในช่วงต้นกรุงรัตนโกสินทร์แล้วและผ่าน พ้นสมัยกรุงธนบุรีไปในระยะเวลาหนึ่ง ต่าง บันทึกไว้ในทิศทางเดียวกันว่า เจ้าตากมุ่ง หน้าสู่บางปลาสร้อย ซึ่งอยู่ในบริเวณเมือง “ชลบุรี” ในปัจจุบัน แต่หากการสำรวจพบ ว่า พระยาตากไม่น่าที่จะเดินทางไปยังบาง
ศาลเจ้ า พ่ อ พญาเร่ ที ่อ ำเภอบ่ อ ทอง
ในพงศาวดารกล่ า วถึ ง การ เดินทางมายังนาจอมเทียนและทุ่ง ไก่เตี้ย และสัตหีบ ก่อนจะเข้าสู่ แถบชายทะเล บ้านหินโด่งและ บ้านน้ำเก่าแล้วจึงเข้าสู่เขตเมือง ระยอง ๓. ข้ อเสนอใหม่ หลังจาก รบพม่าที่แถบทุ่งลุ่มน้ำท่าลาด บริ เ วณเมื อ งพนมสารคามใน ปั จ จุ บั น แล้ ว จึ ง ใช้ เ ส้ น ทาง โ บ ร า ณ เ ดิ น ท า ง สู ่ เ มื อ ง พนัสนิคม ซึ่งมีผู้คนตั้งถิ่นฐาน กั น อยู ่ อ ย่ า งต่ อ เนื ่ อ งมาโดย ตลอดตั้งแต่สมัยทวารวดี คือ “เมืองพระรถ” เพราะเป็นบ้าน เมืองภายในที่ตั้งอยู่ไม่ห่างจาก ลำน้ำบางปะกงที่สามารถออก ไปยังชายฝั่งทะเลได้ และติดต่อ
บริเวณเมืองพระรถหรือเมืองพนัสนิคม ในเวลาต่อมา เป็นเมืองขนาดใหญ่ที่ตั้งอยู่ห่าง ปากน้ำบางปะกงราว ๒๕ กิโลเมตร และอยู่ใน เขตลุ่มน้ำพานทองซึ่งอยู่ในพื้นที่ภายใน ซึ่ง สะดวกแก่การเดินทางข้ามทุ่งและข้ามลำน้ำท่า ลาดมายังแถบนี้ และน่าจะปลอดจากกองทัพ พม่าพอสมควร เพราะในพงศาวดารเองก็ระบุ ถึงการเดินทางมายัง บ้านหัวทองหลาง บ้าน ตะพานทอง และสำนักหนองน้ำ ซึ่งนักวิชาการ หลายท่านสันนิษฐานว่าอยู่บริเวณ “บ้านหัว สำโรง” ที่เป็นชุมชนเก่ามีร่องรอยสืบเนื่องใน สมัยกรุงศรีอยุธยา ห่างจากลำน้ำพานทองไม่ ทัพเรือกลับไปกู้กรุงศรีอยุธยาหลังจากเวลา สร้ า งศาลเจ้ า พ่ อ เขากาไว้ ที่สั น เกิน ๘ กิโลเมตร เขื่อ นสี ยั ด ใหม่ ซึ่ง อยู่ใ นพื้น ที่ ส่วนคำว่า “สำนัก” ค้นพบว่า เป็นคำใช้ ผ่านไปราว ๗ เดือนแล้ว ทั พ พระยาตากน่ า จะเดิ น ทางตามลำน้ ำ อำเภอท่าตะเกียบ เรี ย กชื่อ บ้ า นหรื อ ชุ ม ชนขนาดหย่ อ มบ้ า นที่มี ลักษณะเป็นบ้านห่าง [Homestead] พบการ เรียกชื่อชุมชนเช่นนี้มากในบริเวณเมืองระยอง และชลบุรี โดยเฉพาะในบริเวณเขตภายใน แผ่ น ดิ น ที่ตั้ง อยู่ค่ อ นข้ า งห่ า งไกลจากชุ ม ชน ใหญ่ทางฝั่งชายทะเลหรือชุมชนใหญ่ในระดับ เมืองภายใน อย่างไรก็ตาม การสำรวจบริเวณชุมชน ตามเส้นทางที่สันนิษฐานว่า พระยาตากน่าจะ เดิ น ทางเพื่อ หลบหนี ทั พ พม่ า ในเส้ น ทางน้ ำ บางปะกงตามที่พงศาวดารบันทึกไว้ว่าเดินทาง ไปยังบางปลาสร้อย แต่คณะสำรวจคาดว่าไม่ น่าจะเดินทางไปในทิศทางนั้น เพราะทั้งทัพ พม่าและเจ้าเมืองหรือผู้ปกครองเมืองต่างน่าจะ เข้ากับทัพพม่าไปแล้ว ดังเห็นได้จากการที่ พระยาตากต้องเตรียมการเพื่อปราบกลุ่มนาย ทองอยู่ นกเล็ก ในครั้งที่เดินทางไปยังเมือง ระยองแล้ว และจับประหารในครั้งเดินทางด้วย
บริ เ วณบ้ า นท่ า คานเป็ น พานทองจากชุมชนแถบพนัสนิคมขึ้นมาตาม ลำน้ ำ พานทองและเข้ า สู่พื้น ที่ภ ายในบริ เ วณ ถิ่นฐานของชาวบ้านคนหนึ่งที่เคย อำเภอบ่ อ ทองที่มี เ มื อ งโบราณสมั ย ทวารวดี ไปร่วมรบกับทัพพระยาตากครั้ง สู้รบกับพม่าในเขตลำน้ำท่าลาด ขนาดเล็กคือ “เมืองพญาเร่” ตั้งอยู่ จากการสำรวจพบว่า มีศาลที่ชาวบ้านเชื่อ ซึ่ง เป็ น ลำน้ ำ สายย่ อ ยที่ต่ อ เนื่อ ง ว่ า เคยเป็ น ทหารเอกของพระยาตากที่ต่ อ สู้ กับทั้งแคควระบบและสียัด เมื่อ บริเวณสนามรบในแถบทุ่งริมลำน้ำท่าลาดที่ ตายไปแล้วจึงกลายเป็นเจ้าพ่อผู้ เรียกว่า “เจ้าพ่อเขากา” ชาวบ้านเชื่อว่าเป็น พิทักษ์ [Gardian spirit] ของ ทหารของพระยาตาก ไม่ทราบถิ่นกำเนิดว่า ชาวบ้านบริเวณภายในติดกับแนว อยู่ที่ใด เมื่อกองทัพตั้งค่ายอยู่ที่ “บ้านท่า เทือกเขาอ่างฤไน ซึ่งอยู่ห่างไป คาน” เจ้าพ่อเขากาป่วยและเสียชีวิตลงที่บ้าน จากเส้นทางเดินทัพเพื่อมุ่งไปทาง ท่าคาน จึงสร้างศาลไว้ใกล้กับที่ฝังศพ ต่อมา บางปลาสร้อยอย่างชัดเจน ชาวบ้านท่าคานก็ร่วมกันจัดงานเซ่นไหว้พร้อม กันในวันขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๓ รวมเป็น ประเพณี เผาข้าวหลามของชาวพวนที่อพยพ เข้ามาในภายหลัง แล้วยังบนโดยใช้ เหล้า ยาสูบ (บุหรี่) หัวหมู เป็นของเซ่น หลังจาก สร้างเขื่อนสียัดน้ำท่วมบ้านท่าคาน จึงมีการ
ศาลในปัจจุบันของเจ้าพ่อเขา กานั้น เป็นศาลใหม่ที่สร้างขึ้น ภายหลังและมีอิทธิพลความเป็น จีนปรากฏอยู่อย่างชัดเจน ซึ่้งก็ มั ก ป ร า ก ฏ ที ่ ศ า ล ต่ า ง ๆ ที ่ เกี่ยวข้องกับพระเจ้าตากสินฯ อยู่ ๑๗
เมื อ งระยองในเส้ น ทางกู ้ช าติ ข องสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น ฯ
กับบ้านเมืองหรือชุมชนภายในที่อยู่ในเขต ป่าเขา แล้วเดินทางตามทางโบราณสู่เมือง โบราณอีกแห่งหนึ่งที่อยู่ภายในคือ “เมือง พญาเร่” ที่อยู่ในเขตอำเภอบ่อทอง จังหวัด ชลบุรีในปัจจุบัน แล้วข้ามช่อเขาเตี้ยๆ สู่ เมื อ งระยองที่มี ชุ ม ชนเก่ า แก่ ใ นที่ร าบลุ่ม ลำน้ำคลองใหญ่หรือแม่น้ำระยองที่อำเภอ บ้านค่ายในปัจจุบัน
จากบริเวณเมืองพญาเร่ หากเดินทางตัด ลงทางใต้ ผ่ า นช่ อ งเขาเตี้ย ๆ ซึ่ง แนวเขานี้มี ความสูงราว ๓๐๐-๔๐๐ เมตรจากระดับน้ำ ทะเลผ่านลงสู่อำเภอหนองใหญ่ จังหวัดชลบุรี ในปัจจุบันนี้และเดินทางสู่ต้นน้ำคลองใหญ่ที่ อยู่ในเขตอำเภอปลวกแดงในปัจจุบัน ลำน้ำนี้ นอกจากนี้ที่อำเภอบ่อทองซึ่งอยู่ติดต่อกับ ผ่านเข้าสู่ที่ราบลุ่มลำน้ำคลองใหญ่หรือที่ราบ บริ เ วณลุ ่ ม น้ ำ ระบบและสี ยั ด ในอำเภอท่ า ลุ่มแม่น้ำระยอง ซึ่งเป็นที่ตั้งของชุมชนขนาด ตะเกียบอันเป็นที่ตั้งของบ้านท่าคาน ถือเป็น ใหญ่ ที่มี ชุ ม ชนหมู่บ้ า นตั้ง อยู่จ ำนวนไม่ น้ อ ย เสมอ อาจจะมีข้อยกเว้นที่บริเวณศาลของเฒ่า พรานนกและศาลเจ้าแม่โพสาวหาญ ที่อำเภอ อุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยาอยู่บ้างที่ไม่มี สัญลักษณ์ในรูปแบบของจีนอยู่เลย เพราะ เรื่องราวนั้นเป็นเรื่องของคนท้องถิ่นแถบนั้น โดยชัดเจน
ระยองแต่อย่างใด เพราะจะใช้เส้น ทางจากนาจอมเทียนตัดตรงมา ทางระยองโดยไม่จำเป็นต้องผ่าน สัตหีบหรือทุ่งไก่เตี้ย และไม่มี เหตุผลใดจะเป็นการเดินทางเพื่อ เสียเวลาในการเดินทางเลียบริม ฝั ่ ง ทะเลดั ง แนวทางที ่ พ ระราช พงศาวดารกล่าวถึง นอกเสียจาก เป็ น เส้ น ทางเดิ น เรื อ ทะเลเลี ย บ
สะตื อ เสี ่ย งทาย
ที ่วั ด ลุ ่ม มหาชั ย ชุ ม พล เมื อ งระยอง
เส้นทางเดินทัพที่ได้รับการสันนิษฐานใหม่นั้น ก็ยังพบว่า ชาวบ้านมีความเชื่อเกี่ยวกับ “เจ้า พ่อพญาเร่” ว่าเป็นทหารของพระยาตากที่เดิน ทัพผ่านในบริเวณนี้ โดยเล่ากันว่า เจ้าพ่อพญา เร่นั้นเคยเป็นคนเขมรบนทางเมืองศรีษะเกษ เมื ่ อ รบและตายลงจึ ง กลายเป็ น ผู ้ พิ ทั ก ษ์ [Gardian spirit] ของเมืองในปัจจุบัน และ สร้างเรื่องราวให้สัมพันธ์กับ “บ้านอมพนม” ที่ มีเรื่องเล่าเกี่ยวกับบ่อทอง ศาลเจ้าพ่อพญาเร่อ ยู่ในบริเวณโรงเรียนอนุบาลบ่อทองในปัจจุบัน ซึ่งอยู่ติดกับเชิงเนินที่สูงซึ่งเป็นที่ตั้งของเมือง โบราณพญาเร่
และเป็ น ชุ ม ชนที่อ ยู่ภ ายในแผ่ น ดิ น ของบ้ า น ชายฝั่ง ซึ่งเป็นเส้นทางขากลับไป เมืองชายฝั่งทะเล ที่มีศูนย์กลางการปกครอง กู้กรุงศรีอยุธยาของพระเจ้าตากฯ อยู่ที่ใกล้บริเวณปากแม่น้ำที่เรียกว่า “เมือง รายละเอี ย ดของชุ ม ชนและ ระยอง” การอยู่อ าศั ย ในบริ เ วณอำเภอ อย่างไรก็ตาม ในพระราชพงศาวดารไม่ได้ บ้านค่ายและในบริเวณที่ราบลุ่ม กล่ า วถึ ง การเดิ น ทั พ ผ่ า นทางแถบอำเภอ เมืองระยองนั้น จะกล่าวถึงโดย บ้านค่ายแต่อย่างใด แต่กลับใช้เส้นทางนาจอม สังเขปในหัวข้อต่อไป เทียนและสัตหีบที่สันนิษฐานกันว่าน่าจะตัดขึ้น ต่อมาในพระราชพงศาวดาร เข้ามาทางอำเภอบ้านฉาง ซึ่งแม้แต่ความทรง กล่าวว่า ทัพพระยาตากยึดเมือง จำของผู้คนในปัจจุบันก็จะจำได้ว่า ไม่ใช้เส้น ระยองได้ ตั้งค่ายพักอยู่บริเวณ ทางจากสั ต หี บ ผ่ า นทางบ้ า นฉางจนเข้ า เมื อ ง วัดลุ่มมหาชัยชุมพล ตั้งค่ายพัก ๑๘
เมื อ งระยองในเส้ น ทางกู ้ช าติ ข องสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น ฯ
๑๙
ที่วัดลุ่มฯ ๒ วัน การบรรยายในช่วงนี้ เป็ น การนำเสนอภาพของความมี บุ ญ ญาธิ ก ารอั น สื บ เนื่อ งต่ อ ไปจะได้ เ ป็ น ผู้นำการกู้กรุงฯ และพระมหากษัตริย์ ในภายหน้า พระราชพงศาวดารกล่าวว่า เมื ่ อ เดิ น ทั พ ออกจากวั ด พิ ชั ย กรุ ง ศรีอยุธยาแล้ว ๒๓ วัน ในเวลาเพียงไม่ ถึงเดือนก็สามารถยึดเมืองระยองและ รวบรวมกำลังพลได้จำนวนหนึ่ง และ เกิดเหตุการณ์อัศจรรย์พายุหมุนจนบิด ต้นตาลเป็นเกลียวโดยไม่คลายตัว ซึ่ง ชาวบ้านเรียกว่า ตาลขด ดังนั้นฝ่าย ทหารทั ้ ง หลายและพลพรรคจึ ง ยก พระยาตากเป็น “เจ้าตาก” ปัจจุบันอยู่ ในบริเวณ วัดลุ่มมหาชัยชุมพล อำเภอ เมือง จังหวัดระยอง ภายในวัดยังมีต้น สะตือใหญ่ต้นหนึ่งที่ชาวบ้านเชื่อว่าเคย เป็นที่เจ้าตากผูกช้างทรง การประกาศตนเป็น “เจ้าตาก” หรือ “พระเจ้าตาก” นั้น ก็เพราะน่าจะทราบ สถานการณ์ในช่วงก่อนเสียกรุงฯ เล็กน้อยได้ เป็นอย่างดี การตั้งตนเองเป็นเจ้านั้น ทำให้ กองกำลังไพร่พลของเจ้าตากแตกต่างไปจาก กองกำลังที่เป็นชุมโจรทั่วไปที่คงมีอยู่มากใน ช่วงเวลานั้น แม้แต่เจ้าเมืองหรือผู้ปกครอง หัวเมืองทางฝ่ายตะวันออกก็ยังเป็นกองกำลัง ของคนท้องถิ่นเท่านั้น การสถาปนาตนเอง เ ป็ น ผู ้ น ำ ข อ ง รั ฐ ที ่ ล่ ม สลายไปแล้ว จึงเกิดขึ้นที่ เมื อ งระยอง อั น เป็ น เมื อ งที ่มี ผู ้ค นประชากร อยู่ม าก และมี ร ากฐาน ของบ้านเมืองที่ตั้งมั่นมา ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา อย่ า งชั ด เจน พระเจ้ า ตากคงรวบรวมผู้ค นได้ จำนวนมากจากเมื อ ง ระยองนี่เอง ขณะนั้นมีผู้แจ้งเหตุว่า มี ‘ขุนราม หมื่นซ่อง นาย
ทองอยู่นกเล็ก ขุนจ่าเมือง’ เป็นต้น คบคิดกัน นำผู้คนจำนวนหนึ่งจะหมายทำร้ายสังหารเจ้า ตาก จึงวางแผนปราบปรามจนราบคาบกอง กำลังล้มตายยับเยิน แล้วจึงหยุดอยู่ที่เมือง ระยองราว ๗-๘ วัน แล้วมีดำริ ให้คนไปเกลี้ย กล่ อ มเจ้ า เมื อ งจั น ทบู ร ให้ อ อกมายอม อ่อนน้อม แต่พระยาจันทบูรผัดผ่อนเรื่อยมา แต่ในระหว่างรอพระยาจันทบูรยอมอ่อนน้อม พวกขุนราม หมื่นซ่องและนายทองอยู่นกเล็ก ที่แตกหนีไปจากเมืองระยอง ก็แอบเข้ามาลัก ฝูงสัตว์ เช่น โค กระบือ ช้างม้าไปตลอดเวลา เจ้าตากจึงนำกองกำลังออกจากเมืองระยอง เพื่อจะไปตีเมืองจันทบูร โดยเดิ น ทางผ่ า น ชุมชนที่น่าจะมีรายชื่ออยู่ตั้งแต่เมืองระยองไป จนถึ ง เมื อ งแกลง อั น เป็ น สถานที่ขุ น ราม หมื่นซ่อง ตั้งกองกำลังของตนเองอยู่ เมื่อออก ปราบปรามก็แตกหนีไปอยู่กับพระยาจันทบูร
มีข้อมูลการสำรวจจากกรม แผนที่ทหารเป็นรายงานชื่อสถาน ที่และหมู่บ้านต่างๆ ที่น่าจะอยู่ใน เส้นทางเดินทัพของพระเจ้าตาก ในพื้น ที่เ มื อ งระยอง มี ร ายชื่อ สถานที่ดังนี้
วัดลุ่มมหาชัยชุมพล, เจ็ดลูก เนิน, บ้านตะพงนอก, บ้านช้าง ชน, บ้านในไร่, บ้านเพ, บ้านหัว แหลมแกลง, บ้ า นมาบเหลา ชะโอน, ตะกาดหมาหิว, บ้าน สะพานยายเหม, บ้ า นแหลม ทองหลาง, บ้านกลาวน, บ้าน หนองอี แ หละ, บ้ า นกร่ ำ , บ้ า นพงฆ้ อ , เนิ น ทราย, วั ด ราช บั ล ลั ง ก์ , แ ม่ น้ ำ ป ร ะ แ ส , บ้านแหลมเมือง, บ้านนาชา, บ้าน จึงรวมพลต่างๆ ที่หนีไปอยู่ตามป่าดง ปากดง, บ้านเกาะลอย, บ้านพัง กลับเข้ามาอยู่เมืองระยองเป็นจำนวนมาก ราด, บ้านกองดิน แล้วตั้งทัพรอคำตอบจากพระยาจันทบูรอยู่ แต่พบว่าสถานที่หลายแห่ง ที่เมืองระยอง รวมแล้วท่านใช้ฐานเมือง ที่เ คยถู ก กล่ า วถึ ง ในงานวิ จั ย ฯ ระยองเป็นค่ายที่พักเพื่อรวบรวมไพร่พลอยู่ อื่นๆ นั้นไม่ได้มีประจักษ์พนาย ถึง ๔ เดือน เมืองระยองและผู้คนที่นี่จึงถือ หรื อ ความทรงจำเกี ่ ย วกั บ เป็ น ฐานกำลั ง พั น ธมิ ต รสำคั ญ ในแถบหั ว พระเจ้ า ตากยกทั พ ผ่ า นไปยั ง เมืองภาคตะวันออก เมืองจันทบูร แต่อย่างใด และ หลายแห่งก็มีการสร้างตำนาน
๒๐
ขึ้นมาใหม่เมื่อมีความนิยมเดิน ทางกราบไหว้สักการะพระเจ้า ตากฯ ของผู้คนในยุคปัจจุบัน ส่วนสถานที่หลายแห่งมีประวัติ และความทรงจำเกี่ย วข้ อ งกั บ ทัพพระยาตากอย่างชัดเจนเช่น กัน
พระประธานหลวงพ่ อ องค์ ห วาย
วั ด ราชบั ล ลั ง ก์ อำเภอแกลง จั ง หวั ด ระยอง
ศาลสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น มหาราช
บริ เ วณวั ด ราชบั ล ลั ง ก์ อำเภอแกลง จั ง หวั ด ระยอง
บริ เ วณวั ด ราชบั ล ลั ง ก์
อำเภอแกลง จั ง หวั ด ระยอง
และจำมี ก ารขั ด การประชุ ม กั บ ชาวบ้ า นแถบวั ด ราชบั ล ลั ง ก์ ซึ่งตั้งอยู่บริเวณบ้านทะเลน้อยริม ลำน้ ำ ประแส ซึ ่ ง น่ า จะมี ร าย ละเอียดของเรื่องเล่าและการเดิน ทางในบริเวณนี้มากยิ่งขึ้นในการ จัดประชุมครั้งที่ ๒ ในปลาย เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๘ นี้ เมื ่ อ ตั ้ ง อยู ่ ท ี่ เ มื อ งระยอง ในระยะเวลา ๔ เดื อ นนั ้ น พระเจ้าตากทราบว่า นายทองอยู่ นกเล็ก หนีไปรวมพรรคพวกตั้ง อยู่ที่เมืองชลบุรี คอยข่มเหงชาว บ้ า นจึงยกไพร่ พ ลไปปราบและ วัตถุประสงค์ที่สำคัญกว่านั้นคือ การเข้าตีหัวเมืองขนาดใหญ่กว่า เมืองระยองซึ่งคือเมืองบางปลา สร้อยหรือชลบุรีและเมืองจันทบูร และตราด ซึ ่ ง จะได้ ก ำลั ง พล มากกว่าเดิมอย่างแน่นอน การก อบกู้บ้ า นเมื อ งก็ น่ า จะมี โ อกาส สำเร็จมากขึ้น จึ ง ออกเดิ น ทั พ ไปทาง บ้าน หนองมน หยุดทัพที่ วัดหลวง โดยรออยู่แ ละให้ เ พื่อ นของนาย ทองอยู่นกเล็ก ไปเกลี้ยกล่อม ก่ อ น แล้ ว นายทองอยู่น กเล็ ก ยอมแพ้ น ำทั พ และเจ้ า ตากเข้ า เลี ย บเมื อ งชลบุ รี โดยมี ก รม การเมืองอ่อนน้อม ภายหลังเจ้า ตากแต่ ง ตั้ง นายทองอยู่น กเล็ ก เป็ น ‘พระยาอนุ ร าชบุ ร ี ศ รี
๒๑
จันทบูร ซึ่งอยู่บนเนินสูงเป็นที่ตั้งอยู่ในสภาพ ภูมิศาสตร์ที่ได้เปรียบกว่า แล้วให้พระยาจัน ทบูรออกมาอ่อนน้อมเสีย โดยส่ง ขุนราม หมื่น ซ่ อ ง คื น มาก่อ นจึ งจะเข้ า ไปในเมื อ ง นอกจากจะไม่คืนทั้งสองนาย หากล่อหลอก เมื่อเจ้าตากกลับไปสู่ฐานทัพที่เมืองระยอง ครั้งแล้วครั้งเล่า เจ้าตากจึงประกาศต่อกอง แล้ว พระยาจันทบูรเชื่อคำยุยงของ ขุนราม กำลังที่มาด้วยกัน มีความพรรณนาอยู่ในพระ หมื่นซ่อง ที่ทำอุบายให้พระสงฆ์มาเชิญเจ้าตาก ราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ ( เ จิ ม ) ที ่ เ ป็ น ก า ร รั บ รู ้ ใ น เ นื ้ อ ห า ท า ง ไปเมืองจันทบูร แล้วให้จับเจ้าตากเสีย ประวัติศาสตร์ทั่วกันว่า แต่ เ จ้ า ตากก็ เ สด็ จ พร้ อ มกองกำลั ง ตาม สั่งให้หุงข้าวแจกจ่ายแบ่งปันให้ทั่วกัน พระสงฆ์ที่มาเชิญไปถึง บ้านพลอยแหวนที่ เขาพลอยแหวน บริเวณนี้เป็นแห่งที่ตั้งของ หากเหลือให้เททิ้งเสีย ทุบหม้อข้าวหม้อแกง ชุมชนจีนเก่าดั้งเดิมของเมืองจันทบูรที่ทำมา ให้หมดสิ้นในคืนนี้ จะตีเอาเมืองจันทบูรให้ หากิ น ในการทำสวนไม่ ใ ช่ ก ารค้ า ขายตาม ได้ แล้วไปหาเอาข้าวเช้ากันในเมือง แต่ถ้าตี ปากน้ ำ หรื อ จั บ สั ต ว์ น้ ำ เช่ น ในปั จ จุ บั น เช่ น เมืองไม่ได้ก็ให้ตายเสียพร้อมกัน ดึ ก คื น นั ้ น เจ้ า ตากพร้ อ มกองกำลั ง สวนพริกไทย ที่มีการค้าขายเป็นเครื่องเทศส่ง พลพรรคทั้งมวลบุกเข้าโจมตีเมืองจันทบูรทุก ออกอย่างหนึ่งในเขตนี้ ก็ ท ราบว่ า เป็ น กลอุ บ าย มี ทั พ รอลอบ ด้าน ส่วนพระยาจันทบูรพาลูกเมียหนีลงเรือ ทำร้ายอยู่ เจ้าตากท่านจึงให้กองกำลังล้อมวัด เดินทะเลเลียบชายฝั่งไปยังเมืองพุทไธมาสหรือ รออยู่ที่ วัดแก้ว ริมเมืองจันทบูร ปัจจุบันเมือง เมืองฮ่าเตียนในประเทศเวียดนามปัจจุบัน มหาสมุทร’ ซึ่ง เมืองชลบุรี หรือบางปลาสร้อย นี้ถือเป็นฐานกำลังหรือเป็นเมืองที่เข้มแข็งหนึ่ง ในสองเมืองของหัวเมืองชายฝั่งตะวันออกที่เจ้า ตากจำเป็ น ต้ อ งพึ่ง พากองกำลั ง จากเมื อ งนี้ ส่วนอีกเมืองหนึ่งคือ เมืองจันทบูร
อ่อนน้อมและใช้ ปืนใหญ่ไล่ยิง จึงรบกันอยู่ถึงครึ่งวัน บริเวณ ปากน้ำเมืองตราด เมื่อยอมแพ้จึง นำทัพเรือสำเภาจีนส่วนหนึ่งกลับ ไปยังจันทบูร
หลั ง จากนั ้ น จึ ง ได้ เ ดิ น ทั พ ผ่านเมืองระยองและเข้าตีเมืองจัน ทบูรแล้ว และได้ไปจนถึงเมือง ตราด จึงพักอยู่ที่เมืองจันทบูรอัน เป็นช่วงฤดูมรสุม ฝนตกหนักไป ทั่วภูมิภาคตะวันออกนั้นเพื่อต่อ เรือไว้ใช้สำหรับกองกำลังใช้เพื่อ เป็ น เรื อ โดยสารและเรื อ รบมุ่ง กลั บ ไปกู ้ ก รุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาโดย สันนิษฐานไว้ว่า น่าจะต่อไว้ราว ๑๐๐ ลำเศษ และเมื่อราว พ.ศ. ๒๕๒๓ พบว่ามีซากเรือไม้จมอยู่ ชายตลิ่ง จำนวนหลายลำ จึ ง สันนิษฐานว่าเป็นสถานที่หนึ่งที่ เป็นอู่ต่อเรือซ่อมเรือของเจ้าตาก ที ่ บ ริ เ วณปากแม่ น้ ำ จั น ทบุ รี ที ่ ต่อจากนั้นจึงออกไปตีเมืองตราด และมี จันทบูรหรือจันทบุรีเดิมคงเหลือแนวกำแพง เรียกกันว่า อู่ต่อเรือพระเจ้าตาก ดินเก่า ๒ ชั้น ริมลำน้ำท่าช้าง สาขาของลำน้ำ การรบทางน้ ำ กั บ เรื อ สำเภาจี น ที ่ ไ ม่ ย อม เสม็ดงาม
ทุ ่ง นาวงล้ อ มของเนิ น เก่ า ที ่ช าวบ้ า นเชื ่อ ว่ า
เป็ น ที ่พั ก ทั พ ของเจ้ า ตาก บริ เ วณหลั ง วั ด สนามชั ย อำเภอนายายอาม จั ง หวั ด จั น ทบุ รี
เมื อ งระยองในเส้ น ทางกู ้ช าติ ข องสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น ฯ
โดยมี ต ำนานความเชื ่ อ เรื ่ อ ง พระเจ้าตากติดพื้นที่ โดยสร้าง เป็นศาลขนาดเล็กๆ และร่องรอยแนวคันดินที่ ชาวบ้านเชื่อว่าเป็นแนวค่ายของพระเจ้าตากใน บริเวณบ้านเสม็ดงาม ก่อนที่จะพบหลักฐาน การมีสถานที่ต่อเรือสำเภาจีนหรืออู่ต่อเรือเก่า ดังกล่าว
หลังจากตีเมืองจันทบูรได้แล้ว พระเจ้า ตากน่าจะกลับมาตั้งมั่นอยู่ที่ “เมืองระยอง” ดั ง เดิ ม เพราะเป็ น พื ้ น ที ่ อุ ด มสมบู ร ณ์ สามารถควบคุมได้อย่างเบ็ดเสร็จ รวมทั้ง เป็นสถานที่สถาปนาตนเองขึ้นเป็น “พระเจ้า ตาก” เพื่อ สร้ า งความชอบธรรมในการ รวบรวมกำลังผู้คน เตรียมเรือสำเภาเพื่อ
ส่ ว นหนึ ่ง ของกำแพงเมื อ งจั น ทบู ร
ในค่ า ยตากสิ น จั ง หวั ด จั น ทบุ รี
เ ดิ น ท า ง เ ข้ า สู ่ ป า ก แ ม่ น้ ำ เจ้าพระยาเพื่อกู้ชาติและรบกับ ทัพพม่าที่เหลืออยู่ การสงครามและการตัดสิน อย่ า งเด็ ด ขาดก็ เ ป็ น ส่ ว นหนึ่ง ใน ความเป็ น ผู้น ำสำหรั บ กองทั พ ที่ คิ ด การใหญ่ แ ตกต่ า งไปจาก ชุมนุมเจ้าอื่นๆ ที่คิดสู้รบเพื่อการ กู้ชาติและพลิกฟื้นกรุงศรีอยุธยา ขึ้นมาอีกครั้ง จึ ง มี บั น ทึ ก ว่ า ในเวลานั้น มี บ ร ร ด า ขุ น น า ง เ ดิ ม จ า ก ก รุ ง ศรีอยุธยาที่หลบหนีไปยังที่ต่างๆ ก็เริ่มเข้ามาร่วมรบและสวามิภักดิ์ กั บ กองกำลั ง เจ้ า ตากที่เ มื อ งจั น ทบูรตั้งแต่เมื่อพักรบเพื่อต่อเรือ ซ่อมเรือและรอไพร่พลทั้งจากใน ท้ อ งถิ่น ฝ่ า ยข้ า หลวงเดิ ม ใน ราชวงศ์บ้านพลูหลวง เช่น ‘นาย บุญมา’ หรือ กรมพระราชวัง บวรมหาสุรสิงหนาท ในภายหลัง น้องชายของ ‘นายทองด้วง’ หรือ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า ๒๒
เมื อ งระยองในเส้ น ทางกู ้ช าติ ข องสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น ฯ
๒๓
จุฬาโลกฯ ซึ่งไปหลบอยู่ที่สวนนอกบาง พฤศจิกายน ๒๓๑๐ และการเดินทัพในเส้น พื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ช้าง แขวงอัมพวา ก็แนะนำให้นายบุญมา ทางกู้กรุงฯ ทั้งหมดนี้ใช้เวลาราว ๗ เดือน ไม่ว่าจะเป็นลำน้ำประแส ลำน้ำ เดินทางมาถวายตัวแก่พระเจ้าตาก พังราด ลำน้ำจันทบูร และลำน้ำ ตราดที่สุดปลายชายเขตแดน เป็น ซึ่งในห้วงเวลานั้นน่าจะเป็นกองกำลัง การสำรวจเบื้องต้นบริเวณลุ่มน้ำ พื้นที่แอ่งปลูกข้าวที่สำคัญ และใน ที่เป็นความหวังเพื่อกู้ชาติที่สำคัญที่สุด คลองใหญ่หรือแม่น้ำระยอง ส่วนที่เนินชายขอบก็มีการทำสวน เข้มแข็งที่สุด และน่าจะมีจุดมุ่งหมายที่ ต้นน้ำคลองใหญ่หรือแม่น้ำระยองเกิดจาก ที่พัฒนาจนกลายเป็นสวนในเชิง ประกาศอย่างเด่นชัดและชัดเจนในการก ลั บ มากู้ก รุ ง ฯได้ ม ากกว่ า ชุ ม นุ ม อื่น ๆ ลำน้ำหลายสายและหลายทิศทางจากแนวเขาที่ พา-นิชย์ในเวลาต่อมา นายบุญมาเดินทางติดตามทัพมาร่วมสู้ สูงทางเขตชลบุรีและฉะเชิงเทรา ทางฝั่งตะวัน พื้น ที่ร าบและเป็ น แอ่ ง ปลู ก รบกับกองกำลังของเจ้าตากที่เมืองจัน ตกมี ล ำคลองดอกกรายและลำน้ ำ สายอื่น ๆ ข้ า วที ่ ส ำคั ญ ทำให้ มี ก ารตั ้ ง ทบูรและกลายเป็นนายทหารคนสำคัญ จากทางอำเภอปลวกแดง ทางด้ า นเหนื อ มี ถิ่นฐานของชุมชนจำนวนมากมา คลองหนองปลาไหล คลองหนองอ้ า ยรื่น ตั้ง แต่ ส มั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาอย่ า ง ในเวลาต่อมา ปณิธานที่เด่นชัดของเจ้าตากในครั้ง คลองหมามุ่ย คลองป่าหวาย ฯลฯ จากแนวเขา ชัดเจน เมืองระยองที่ตั้งอยู่ใกล้ นั้น ทำให้ มี ก ารรวบรวมกำลั ง คนที่ห นี ต่างๆ ทางฝั่งตะวันออกมีลำน้ำสายสั้นๆ หลาย กับปากน้ำกลับเป็นเมืองระยองที่ พม่าออกจากกรุงฯ รวมถึงไพร่พลเมือง สายจากแนวเขาตะเคียนงาม ทั้งหมดนี้ไหลมา มีคนจีนเข้ามาตั้งถิ่นฐานจับจอง ที่ไ ม่ ไ ด้ ถู ก กวาดต้ อ นไปยั ง พม่ า เข้ า มา รวมเป็นแนวลำน้ำคลองใหญ่หรือแม่น้ำระยอง พื้น ที่เ พื่อ ต่ อ เรื อ เดิ น ทะเล ทำ ร่วมสู้รบ จนกลายเป็นรากฐานกำลังพล ซึ่ง ไหลผ่ า นอำเภอบ้ า นค่ า ยและอำเภอเมื อ ง ผลผลิตจากทะเล เช่น น้ำปลา ระยองในปัจจุบัน ไปออกทะเลที่ปากน้ำระยอง เป็ น ศู น ย์ ก ลางการค้ า ขายแลก ในการกลับมากู้กรุงฯ ในระยะต่อมา ตัวเมืองระยองที่ตั้งอยู่ชายฝั่ง ลำน้ำสายสำคัญ เปลี่ย นระหว่ า งพื้น ที่ และเป็ น กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยากลั บ มาอยู ่ ใ นการ ของเมืองระยองสายนี้ ทำให้เกิดพื้นที่ราบลุ่ม พื ้ น ที ่ เ มื อ ง เ นื ่ อ ง จ า ก เ ป็ น ควบคุมอีกครั้งเมื่อคำนวนแล้วคือวันที่ ๗ กว้างกว่าพื้นที่ตามลำน้ำสายต่างๆ ของบริเวณ
แผนที ่แ สดงบริ เ วณจั ง หวั ด ระยอง
๒๔
ใบเสมาหิ น ทารย อายุ ส มั ย อยุ ธ ยาตอนกลาง ลั ก ษณะเป็ น เอกลั ก ษณ์ เ ด่ น ด้ ว ยลวดลาย ประดั บ แบบจี น ที ่วั ด บ้ า นค่ า ย
ศูนย์กลางทางการปกครอง ในขณะที่พื้นที่ ภายในแถบอำเภอบ้านค่ายต่อเนื่องถึงอำเภอ เ มื อ ง นั ้ น เ ป็ น เ ข ต ชุ ม ช น ห น า แ น่ น มีศูนย์กลางของชุมชนบ้านขนาดใหญ่ซึ่งตั้ง อยู่ที่วัดบ้านค่ายในทุกวันนี้ และยังมีชุมชน เก่าอีกหลายแห่งที่ตั้งอยู่ในเขตอุดมสมบูรณ์ นี้ และที่สำคัญบริเวณอำเภอบ้านค่ายหลง เหลื อร่ อ งรอยความทรงจำเกี่ย วกั บทั พ พระเจ้ า ตากหลายแห่ ง จนกระทั่ง มี ก าร เปลี่ยนชื่อ “อำเภอไผ่ล้อม” เป็น “อำเภอ บ้ า นค่ า ย” ในสมั ย รั ช กาลที่ ๖ การ เปลี่ยนแปลงนั้นไม่มีผู้ใดสามารถสันนิษฐาน ได้ว่าจะเกี่ยวข้องกับเรื่องเล่าในท้องถิ่นเกี่ยว
มณฑปประดิ ษ ฐานรอยพระพุ ท ธบาท
วั ด บ้ า นค่ า ย
พระพุ ท ธรู ป หิ น ทรายแดง น่ า จะมี อ ายุ ส มั ย อยุ ธ ยาตอนกลาง
พบที ่วั ด บ้ า นค่ า ย
กั บ ทั พ พระเจ้ า ตากอย่ า งแน่ ชั ด เพียงใด แต่ก็ถือว่าน่าจะมีส่วน เกี่ยวข้องอย่างมาก เพราะภาย หลั ง มี ก ารสร้ า งอนุ ส าวรี ย์ ห รื อ ศาลโดยคนท้ องถิ่น ไว้ ที่ส ำคั ญ ทางประวั ติ ศ าสตร์ ที่มี เ รื่อ งเล่ า เกี่ยวกับทัพพระเจ้าตากในอำเภอ บ้านค่ายด้วย อย่างไรก็ตาม บริเวณชุมชน ในแถบอำเภอบ้ า นค่ า ยไม่ ไ ด้ ถู ก ระบุไว้ในเส้นทางกู้ชาติของพระ เจ้าตากฯ ในพระราชพงศาวดาร ฉบับต่างๆ แต่อย่างใด ในเขตลุ่มน้ำคลองใหญ่หรือ แม่น้ำระยองที่บ้านละหาร ซึ่งมี หนองน้ำใหญ่ซึ่งเป็นที่ลุ่มเต็มไป ด้วยหนองน้ำมากมาย ภายใน “วัดละหารไร่” มีหนองน้ำที่เรียก ว่า “วังสามพญา” เป็นสระน้ำ ศั ก ดิ์สิ ท ธิ์ข องเมื อ งระยองที่เ คย นำน้ำจากสระแห่งนี้ไปใช้ในพระ ราชพิธีมรุธาภิเษกร่วมกับการใช้ น้ำศักดิ์สิทธิ์จากสถานที่อื่นๆ และ ใช้ ต่ อ เนื ่ อ งมาจนถึ ง ปั จ จุ บั น นอกจาก จะมีพระดีคือ “หลวงปู่ ทิม” ที่คนทั่วไปกราบไหว้บูชา โดยเฉพาะเหรี ย ญหลวงปู ่ ทิ ม ก็ยังมีตำนานที่หลวงปู่ทิมเล่าไว้ ให้เป็นเรื่องศักดิ์สิทธิ์ของชุมชน ว่ า วั ง สามพญานั้น เกี่ย วข้ อ งกั บ กองทัพและทหารผู้เสียชีวิตของ พระเจ้าตากเมื่อครั้งพักทัพ ช้าง ศึกของพระเจ้าตากฯ ลงอาบน้ำ บริเวณบึงใหญ่ ที่มีน้ำใต้ดินไหล ซึมอยู่ตลอดเวลา ภายหลังชาว บ้ า นจึ ง เรี ย กบึ ง นี้ว่ า “วั ง สาม พญา” ต่ ำ ลงมาจากบ้ า นละหารไร่ คื อ ที ่ ตั ้ ง ของ “วั ด บ้ า นค่ า ย” ในปั จ จุ บั น ที ่ ตั ้ ง อยู ่ ต่ ำ กว่ า ตั ว อำเภอบ้านค่ายในปัจจุบันนี้ราว
บริ เ วณที ่ลุ ่ม ใกล้ กั บ แนวคั น ดิ น ที ่สั น นิ ษ ฐานว่ า อาจจะเป็ น แนว ทำนบโบราณ บ้ า นค่ า ย
ศาลสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น ที ่อ ำเภอบ้ า นค่ า ย
นอกจากนี้ โบราณวัตถุที่พบ จากวั ด บ้ า นค่ า ยยั ง เป็ น โบราณ วัตถุชิ้นสำคัญที่ควรเก็บรักษาให้ ดีขึ้นกว่าเดิม เพราะพบชิ้นส่วน พระพุ ท ธรู ป หิ น ทรายในสมั ย อยุธยา ซึ่งน่าจะมีอายุในช่วงต้น กรุงฯ อาจจะอยู่ในรูปแบบศิลปะ แบบอู่ท องที่พ ระพุ ท ธรู ป มี พ ระ พักต์กลมมนและแนวสันหน้าแข้ง ยังไม่ปรากฏที่เรียกว่า “แข้งคม” พบพระพุทธรูปยืนปางรำพึงหรือ ประทานอภัย ซึ่งไม่เคยพบการ แกะสลักพระพุทธรูปหินทรายใน รู ป แบบเช่ น นี ้ แต่ จ ะนิ ย มทำ พระพุทธรูปปางดังกล่าวจากการ หล่อโลหะสำริด เป็นต้น นอกจากทรากพระพุทธรูป หินทรายแล้ว ยังพบ “ใบเสมา” ทำจากหินทราย และมีลวดลาย ๒๕
เมื อ งระยองในเส้ น ทางกู ้ช าติ ข องสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น ฯ
ศาลเจ้ า แม่ ห ลั ก เมื อ ง บ้ า นค่ า ย
๒ กิโลเมตร วัดนี้ชาวบ้าน เล่าว่าเคยมีศานสถานใหญ่ โตที่ถูกรื้อไปแล้วจนไม่พบ ร่องรอยศาสนสถานรุ่นเก่า เช่น โบสถ์ขนาดใหญ่ พระ เจดีย์ราย ๓ องค์ มีสระน้ำ ขนาดใหญ่ภายในวัด ทาง ตะวันออกเฉียงเหนือเล่าว่า มีแนวคันดินยาวระยะทาง มากกว่ า กิ โ ลเมตรขึ ้ น ไป และเป็นสันสูงและกว้างจน ผู้ค นต่ า งสั น นิ ษ ฐานกั น ว่ า เป็ น “ค่ า ย” ตามชื ่ อ บ้ า นค่ า ย หรื อ “ถนน โบราณ” ซึ่ง ลั ก ษณะดั ง กล่าวน่าจะเป็น “ทำนบ” สำหรับชักน้ำสู่ทุ่งข้าวกว้าง ใหญ่ทางฝั่งตะวันออกของ คลองใหญ่ที่มีแนวเทือกเขา และพื้น ที่สู ง ที่ต่ อ เนื่อ งมา จากเขตอำเภอเขาชะเมาในจังหวัด จันทบุรี
ประดับแตกต่างไปจากที่เคยพบ จากที่อื่นๆ สันนิษฐานว่าน่าจะ มีอายุสมัยรุ่นเดียวกับการสร้าง พระพุ ท ธรู ป ชุ ด ที่ก ล่ า วมาแล้ ว บางชิ้น ที่ส ำคั ญ มี ล วดลายคล้ า ย ลายเมฆแบบจี น ประดั บ อยู่ด้ ว ย ซึ่งถือว่าชุดใบเสมาที่วัดบ้านค่าย นี้มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่โดดเด่น เป็นลักษณะแบบท้องถิ่น
วั ด นาตาขวั ญ
หอไตรกลางน้ ำ อั ต ลั ก ษณ์
ของวั ด ในเขตเมื อ งระยอง
วั ด บ้ า นเก่ า อำเภอบ้ า นค่ า ย
หน้ า บั น หอไตรกลางน้ ำ
วั ด บ้ า นเก่ า อำเภอบ้ า นค่ า ย
ใกล้กับวัดบ้านค่าย ยังพบว่า ชาวบ้านตั้งศาลหลักเมืองให้กับ “เจ้าแม่หลักเมืองบ้านค่าย” ซึ่ง ถือว่าประหลาดกว่าที่อื่นๆ เพราะ เป็นหลักเมืองที่เป็นเพศหญิงและ ชาวบ้ า นทั่ว ไปยั ง คงสงสั ย ในระ เด็นดังกล่าว เพราะความเข้าใจ โ ด ย ทั ่ ว ไ ป นั ้ น ค ว า ม เ ป็ น หลั ก เมื อ งมั ก แสดงออกเป็ น “เพศชาย” ซึ่งมีหน้าที่ในการปก ปั ก รั ก ษ า ม า ก ก ว่ า อี ก ทั ้ ง หลั ก เมื อ งของเมื อ งใหญ่ ใ นเขต ภูมิภาคตะวันออกปัจจุบันนี้ก็ถูก แปรสภาพกลายเป็ น ศาลเจ้ า จี น ไปแทบทั้งหมดแล้ว ร่ อ งรอยจากศาลเจ้ า แม่ หลั ก เมื อ งนี่เ องที่แ สดงถึ ง ความ เก่ า แก่ ข องชุ ม ชนบริ เ วณวั ด บ้านค่ายและเมืองในเขตบ้านค่าย เพราะกลุ่มคนชาติพันธุ์ “ชอง” นั้น เคยอยู่อ าศั ย ในบริ เ วณพื้น ที่ ภายในของภูมิภาคตะวันออกมา ก่อนที่จะเคลื่อนย้ายไปอยู่ในเขต ป่าและภูเขาลึกภายในแถบอำเภอ เขาชะเมาหรือแก่งหางแมว ใน จังหวัดจันทบุรีในปัจจุบัน และ เป็ น กลุ่ม ที่นั บ ถื อ ผู้น ำฝ่ า ยหญิ ง ดังเช่นที่ปรากฏจากเรื่อง “เจ้าแม่ กาไว” ตำนานเจ้าแม่ผู้คุ้มครอง เมื อ งพะเนี ย ดที่เ ชิ ง เขาสระบาป ในจังหวัดจันทบุรี
๒๖
นอกจากนี้ บริเวณฝั่งตะวัน ตกของของคลองใหญ่หรือแม่น้ำ ระยอง ในแนวเหนือวัดบ้านค่าย เ ล็ ก น้ อ ย มี ล ำ น้ ำ ที ่ เ รี ย ก ว่ า “ฉนวน” ซึ่งเป็นแนวลำน้ำขนาด เล็กต่อกับหนองน้ำขนาดใหญ่ ที่ เรียกว่า “หนองน้ำขาว” ชาวบ้านก็ เล่าสืบต่อกันมาว่า ที่ได้ชื่อหนอง น้ ำ ขาวเพราะไพร่ พ ลในทั พ ของ พระเจ้าตากฯ แวะพักหุงหาอาหาร และหุ ง ข้ า วโดยเทน้ ำ ข้ า วลงใน หนองจนน้ำกลายเป็นสีขาว การ ี ่ก ำลั ซ่ อ ม อ ง เล่ าโบสถ์ ประวั ตท ิ ข องชื ่อ บ้งา นนามเมื ร ณะวั สืบบูทอดกั นมาเช่ดนนาตาขวั นี้ ถือว่ามีคญ วาม ผู ก พั น ที่ส ร้ า งขึ้น โดยธรรมชาติ จากตำนานการเดินทัพและพักทัพ ในบริเวณบ้านค่ายของทัพพระเจ้า ตากที่เ ดิ น ทางจากทางบ้ า นเมื อ ง ภายในมาทีเดียว และเป็นบันทึก ความทรงจำที่อ ยู่น อกเหนื อ เส้ น ทางในพระราชพงศาวดารที่ใ ช้ วิ เ คราะห์ กั น อยู่ใ นทุ ก วั น นี้อ ย่ า ง เด่นชัด ต่ำจากบริเวณวัดบ้านค่ายลง มาราว ๔ กิโลเมตร มีวัดบ้านเก่า ที่อยู่ริมลำน้ำคลองใหญ่หรือแม่น้ำ ระยอง บริเวณนี้มีพื้นที่ราบริม ลำน้ำค่อนข้างน้อยและดูเป็นชุมชน ใหญ่ในภายหลัง จากวัดบ้านเก่าก็ มีวัดตาขัน ซึ่งอยู่ใกล้กันแต่อยู่ใน เขตอำเภอเมืองระยองแล้ว จาก บริ เ วณนี้ใ นทิ ศ ทางต่ ำ ลงไปริ ม ลำคลองใหญ่และมีหนองน้ำใหญ่ ตั้งอยู่มี “วัดนาตาขวัญ” และ บ้ า น นา ต า ข วั ญ ท า ง ทิ ศ ตะวันออกใกล้เชิงเขามี “วัดแลง และบ้านแลง” ซึ่งต่อเนื่องไปจนถึง วัดตะพงในซึ่งมีชุมชนบ้านตะพง ในทางตะวันออกของทุ่งราบลุ่มน้ำ คลองใหญ่ ซึ่งมี “วัดทับมา” อยู่ ทางตะวันตกสุดของทุ่งราบแห่งนี้
โบสถ์ แ ละเจดี ย์ แ บบดั ้ง เดิ ม
วั ด บ้ า นเก่ า อำเภอบ้ า นค่ า ย
โบสถ์ ที ่มี พ าไล เป็ น อั ต ลั ก ษณ์ ของวั ด ในเขตจั ง หวั ด ระยอง
วั ด บ้ า นแลง
โบสถ์ ที ่มี พ าไล เป็ น อั ต ลั ก ษณ์ ของวั ด ในเขตจั ง หวั ด ระยอง
วั ด ตะพงใน
๒๗
ของวั ด ในเมื อ งระยองและจั น ทบุ รี วั ด บ้ า นแลง
คติที่ไม่ให้ผู้หญิงเข้าไปด้านใน เพราะเป็นพื้นที่สังฆกรรมอีก ด้วย มีหอไตรกลางน้ำที่มักสร้าง อยู่ในสระนะขนาดย่อมๆ แต่มี ความลงตัวสวยงาม หอไตร กลางน้ ำ นี ้ พ บแทบทุ ก วั ด ที ่ ปรากฏชื่อข้างต้น มีเจดีย์แบบ ย่ อ มุ ม หรื อ บางแห่ ง เป็ น พระ ปรางค์ ข นาดเล็ ก ๆ ที่มี ฐ าน แบบย่อมุม เช่นที่วัดแลง รูป แบบทางศิลปกรรมเหล่านี้วน สร้ า งขึ้น ในสมั ย อยุ ธ ยาตอน เจดี ย์ อ งค์ ร ะฆั ง บนฐานมาลั ย เถาสามชั ้น กลางจนถึงตอนปลาย แต่ดูมี เป็ น อั ต ลั ก ษณ์ ข องวั ด ในเขตจั ง หวั ด ระยอง เอกลั ก ษณ์ โ ดดเด่ น ที่เ ป็ น รู ป และจั น ทบุ รี วั ด ตะพงใน แบบเฉพาะแบบเมื อ งระยอง เพราะไม่ พ บรู ป แบบที่ชั ด เจน เช่ น นี้ใ นเขตพื้น ที่ลุ่ม น้ ำ อื่น ๆ ทุกวันที่กล่าวข้างต้น ล้วนมีรูปแบบของ เช่น บางปะกง จันทบูร หรือที่เมืองตราด อาจ ศาสนสถานแบบเดี ย วกั น หรื อ คล้ า ยคลึ ง กั น จะเรียกได้ว่าเป็นศิลปกรรมเนื่องในพระพุทธ อย่างที่เรียกว่าเป็นแบบแผนเดียวกันทั้งหมด ศาสนาที่เป็นวัดแบบ “เมืองระยอง” ได้เลย คือ มีโบสถ์ขนาดย่อมๆ และมีหลังคา “พาไล” ทีเดียว พาดคลุมอยู่ด้านหน้า บริเวณภูมิภาคชายฝั่ง ดั ง นั้น ศาสนสถานที่ป รากฏตลอดจน ทะเลตะวันออกมักมีฝนตกอยู่เสมอ ดังนั้น พื้น ที่ภ ายในพาไลจึ ง ป้ อ งกั น ฝนได้ ดี ใ นช่ ว ง ลักษณะการตั้งถิ่นฐานของชุมชนที่มีรากเหง้า เวลาทำพิ ธี ก รรมสำหรั บ ผู้ที่ไ ม่ ไ ด้ เ ข้ า ไปใน ความเป็นมาตั้งแต่อาจจะถึงสมัยอยุธยาตอน โบสถ์อันเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ บางแห่งก็ถือ ต้น และมีความหนาแน่นอย่างมากในสมัย
เมื อ งระยองจึ ง เป็ น ฐานที่ มั ่ น สำคั ญ อย่ า งยิ ่ ง และข้ อ พิ สู จ น์ นี ้ ไ ด้ ค้ น พ บ จ า ก ก า ร สำรวจและวิ เ คราะห์ ป ระเมิ น หลั ก ฐานที ่ ป รากฏดั ง กล่ า ว โดยไม่ เ พี ย งใช้ แ ต่ ข้ อ มู ล จาก พงศาวดารแหล่งเดียวเท่านั้น
๒๘
เมื อ งระยองในเส้ น ทางกู ้ช าติ ข องสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น ฯ
หอไตรกลางน้ ำ อั น เป็ น อั ต ลั ก ษณ์
อยุ ธ ยาตอนปลาย และ แทบจะเป็นพื้นที่แ่งเดียวใน ภู มิ ภ าคตะวั น ออกของหั ว เมื อ งชายฝั่ง ทะเลที่มี ก าร ตั้งถิ่นฐานบ้านช่องอยู่อย่าง หนาแน่น และไม่ได้อยู่ภาย ใต้การควบคุมของทัพพม่า ที ่ เ ข้ า ยึ ด ค ร อ ง ก รุ ง ศรีอยุธยาเวลานั้น ทำให้ ทัพของพระยาตาก ลงหลัก ปักฐานตั้งมั่นอยู่บริเวณตัว เมื อ งที่อ ำเภอบ้ า นค่ า ยใน ปัจจุบัน แล้วเดินทัพเข้ายึด เ มื อ ง ร ะ ย อ ง ที ่ ป า ก น้ ำ ตั้ง ทั พ อยู่ที่วั ด ลุ่ม มหาชั ย ชุมพล แล้วสถาปนาตนเอง ขึ้นเป็น “พระเจ้าตาก” เพื่อ ค ว บ คุ ม ก ำ ลั ง ไ พ ร่ พ ล สะสมกองกำลั ง เรื อ รบ และเสบียงอาหาร และน่า จะใช้เมืองระยองเป็นฐานกลางใน การควบคุ ม หั ว เมื อ งชายทะเล ตะวันออกนี้ไว้ในช่วงรอเวลาหน้า ฝนให้ผ่านพ้นและรวบรวมสรรพ กำลังดังที่กล่าวไปแล้วอยู่ที่นี่ไม่ ต่ำกว่า ๔-๕ เดือนหลังรอนแรม หนีทัพใหญ่ของพม่าออกจากกรุง ศรีอยุธยามา
เมื อ งระยองในเส้ น ทางกู ้ช าติ ข องสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น ฯ
๒๙
เมืองระยองใน ฐานะเมืองสำคัญ ในเส้นทางกู้ชาติ ของสมเด็จ พระเจ้าตากสิน มหาราช การข้ามลำน้ำประ แสที่บ้านทะเลน้อย เป็นไปได้อย่างยิ่ง เมื่ออยู่ ที่เมืองระยอง เจ้าตากได้ตั้ง ทัพเพื่อรวบรวบรวมไพร่พล ชาวบ้ า นชาวเมื อ งรวมทั ้ ง ข้ า หลวงเดิ ม ผู้แ ตกพ่ า ยหนี จากกรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา กอง กำลังต่างๆ รวมทั้งการต่อ เรือเพื่อเดินทางเลียบชายฝั่ง กลับไปยังกรุงศรีอยุธยา เพื่อกอบ กู้บ้านเมืองอีกครั้งหนึ่ง
แม่ น้ ำ ประแส
บริ เ วณกรอกตากสิ น ที ่บ้ า นทะเลน้ อ ย
ที่เมืองระยองนี้เอง เจ้าตาก เดินทางไปยังเมืองบางปลาสร้อย แท่ น ที ่ป ระทั บ สั น นิ ษ ฐานว่ า น่ า จะเป็ น ของสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น หรื อ ชลบุ รี ใ นเวลาต่ อ มาเพื ่ อ นำมาจากเมื อ งแกลง น่ า จะมาจากวั ด เนิ น สระหรื อ วั ด ราชบั ล ลั ง ก์ จัดการปราบปราบ รวมทั้งเดิน ปั จ จุ บั น เก็ บ รั ก ษาไว้ ที ่พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถานแห่ ง ชาติ กรุ ง เทพฯ ทางไปยังหัวเมืองใหญ่ที่เมืองจัน ทบูร อันเป็นเมืองใหญ่แห่งเดียวที่ มี รู ป แบบการตั้ง ถิ่น ฐานแบบค่ า ย น้ำลงหรือน้ำแห้งจะเห็นเป็น คู เ มื อ งมาตั้ง แต่ ก่ อ นสมั ย พุ ท ธศตวรรษที่ ชายหาดทรายพื้น ดิ น แน่ น ๒๒-๒๓ ซึ่งเป็นหัวเมืองการค้าของป่าที่สำคัญ กว่าบริเวณป่าชายเลนอื่นๆ และมีชาวจีนตั้งถิ่นฐานอยู่ไม่น้อย ซึ่ง แถบนี้เ รี ย กกั น ในภาษา เจ้าตากเดินทางผ่านไปยังเมืองแกลง เพื่อ ท้องถิ่นว่า “กรอกตากสิน” ข้ามลำน้ำใหญ่ที่ประแส โดยพิจารณาถึงสภาพ ตำว่า “กรอก” หมายถึง แวดล้อมและการเดินทางของชาวบ้านท้องถิ่น พื ้ น ที ่ ซึ ่ ง มี ค วามกว้ า งเว้ า ชาวบ้านทะเลน้อยเล่าว่า การข้ามลำน้ำ เข้าไป และมีชุมชนเก่าที่มี ประแส คนท้องถิ่นจะฃคำนึงถึงช่วงเวลาน้ำขึ้น เศษภาชนะดินเผาหลงเหลือ น้ำลง และจุดข้าม ตามเรื่องเล่ากล่าวว่าเจ้าตาก อยู่แ ละมี ก ารตั้ง บ้ า นเรื อ น ข้ามลำน้ำประแสบริเวณ “ท่าบน” และ “ท่า เป็ น กลุ ่ ม อยู ่ บ นสั น ทราย ล่าง” ทั้งสองแห่งมีศาลตั้งอยู่ บริเวณนี้หาก กว้างริมลำน้ำประแส ในดง ใบเสมาทำจากหิ น ปู น น่ า จะทำ ยางใหญ่ล้อมรอบด้วยท้อง ขึ ้น ในสมั ย อยุ ธ ยา
เมื อ งระยองในเส้ น ทางกู ้ช าติ ข องสมเด็ จ พระเจ้ า ตากสิ น ฯ
ซ้ า ย บริ เ วณท่ า บนที ่เ คยมี ศาลและชาวบ้ า นเชื ่อ ว่ า เป็ น สถานที ่ข้ า มลำน้ ำ ประแสของ เจ้ า ตากเมื ่อ ผ่ า นบ้ า นทะเล น้ อ ยไปยั ง เมื อ งจั น ทบู ร ล่ า งซ้ า ย ตู ้พ ระไตรปิ ฎ ก อายุ ร าวร้ อ ยปี แ ล้ ว แต่ ยั ง มี สภาพสมบู ร ณ์ แ ละสี สั น สดใส ล่ า งขวา ผื น เสื ่อ พระราชทานมี ต ราอาร์ ม หรื อ ตราแผ่ น ดิ น ในสมั ย รั ช กาล ที ่ ๕
ทุ่งนาที่กลายเป็นสวนและนากุ้งเสียมาก
ฝีมือช่างชั้นสูงที่ผสมผสานกับศิลปะจีนชัดเจน ที่บ้านทะเลน้อยมีวัดเนินสระ หรือวัดราช จึงได้นำไปเก็บรักษาไว้ ณ พิพิธภัณฑสถาน บั ล ลั ง ก์ ใ นเวลาต่ อ มาเพราะเมื่อ ราว พ.ศ. แห่งชาติ พระนคร และยังคงเก็บรักษามา ๒๔๖๐ สมเด็จพระสังฆราชเจ้ากรมหลวงวชิร จนถึงทุกวันนี้ ญาณวงศ์ เมื่อดำรงสมณศักดิ์พระสุคุณคุณานอกจากนี้ที่วัดราชบัลลังก์ ยังมีโบสถ์เก่า ภรณ์ ผู้อำนวยการศึกษามณฑลจันทบุรี รับรู้ ที่เป็นรูปแบบเช่นเดียวกับเมืองระยอง คือมี มาจากชาวบ้านว่าเป็นพระแท่นที่ประทับของ ขนาดย่อมๆ และมีพาไลด้านหน้า กล่าวกันว่า สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชที่นำมาถวายไว้ เคยสร้างจากไม้ก่อนที่จะมาสร้างโดยการก่อ ที่ “วัดเนินสระ” และเห็นว่าเป็นแท่านที่ประทับ อิฐถือปูนและใช้ลวดลายปูนปั้นที่มีอิทธิศิลปะ
จีนอย่างชัดเจน และมีใบเสมาที่ ทำจากหิ น ชนวนและมี ล วดลาย คล้ายคลึงกัน น่าจะเป็นของที่ทำ ขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา ซึ่งแตก ต่างไปจากวัดเก่าที่เมืองระยองซึ่ง เป็นใบเสมาหินทราย นอกจากนี้ ยังมีความสำคัญ ในฐานะเป็นวัดของเจ้าคณะแขวง ที ่ ม ี พ ระสงฆ์ ส ำคั ญ ผู ้ เ ป็ น พระ ๓๐
เปลี่ยนรูปแบบไปแล้ว ก า ร เข้ าตี เมื อ งจั น ทบู ร ตามพระราชพงศาวดารอาจจะ ถื อ ว่ า เป็ น ด่ า นสุ ด ท้ า ยที ่ ย าก ลำบากอย่างยิ่งของทัพเจ้าตาก ที่ มีฐานกองทัพอยู่ ณ เมืองระยอง เพราะจากการเปรี ย บเปรยว่ า “ให้ทุบหม้อข้าวหม้อแกงเสียให้ สิ้น เพราะจะไม่มีการกลับมาอีก”
กำแพงเมื อ งจั น ทบู ร ในสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา ในค่ า ยตากสิ น จั ง หวั ด จั น ทบุ รี
หมายถึงความมุ่งมั่นในการ เข้าตีเมืองจันทบูรที่เป็นเมืองมีคู น้ำคันดิน และอยู่ในชัยภูมิที่ได้ เปรี ย บบนที่เ นิ น สู ง กว่ า บริ เ วณ โดยรอบ
ปั จ จุ บั น เมื อ งจั น ทบู ร เก่ า ที่ แล้ ว ผ่ า นไปยั ง วั ด หนองไซ อยู่ริมลำน้ำท่าช้าง อันเป็นสาขา วัดโขดหอย ไปยังวัดสนามชัย ของลำน้ำจันทบูร อยู่ในบริเวณ บริเวณวัดสนามไชยนี้อยู่ใน ค่ายตากสิน หน่วยนาวิกโยธิน วงล้ อ มของภู เ ขาขนาดย่ อ มๆ ของกองทั พ เรื อ และเปิ ด ให้ ผู้ และเป็นทุ่งนาอันอุดมสมบูรณ์ ศรัทธาเข้าเยี่ยมชม โดยมีเนินดินขนาดใหญ่ที่ชาว หลังจากตีเมืองจันทบูรแล้ว บ้ า นเชื่อ ว่ า เป็ น ที่ป ระทั บ พั ก จึงยึดเอากองเรือของพ่อค้าจีนที่ แรมของเจ้าตาก ก่อนเดินทาง ปากน้ำเมืองตราด ก่อนจะรอช่วง โดยใช้ ช่ อ งเขาตะอุ ก คอเขา เวลาให้พร้อมสรรพ แล้วจึงกลับ ตอม่อตัดผ่านลำน้ำขโมง เพื่อ ไปกู้บ้านกู้เมืองที่กรุงศรีอยุธยา เดิ น ทางไปยั ง ท่ า ใหม่ แ ละเขา โดยใช้ เ ส้ น ทางเดิ น เรื อ เลี ย บ พลอยแหวน ชายฝั่ง ซึ่ง ต้ อ งผ่ า นทั้ง สั ต หี บ
ซึ่งมีวัดพลับบางกะจะ อัน เ ป็ น แหล่ ง ทำพลอยมาแต่ โบราณและเป็ น ชุ ม ชนจี น เก่ า หอไตรกลางน้ ำ ที ่วั ด พลั บ บางกะจะ ดั ้ ง เดิ ม ของเมื อ งจั น ทบุ รี ท ำ สวนทำประมงในบริ เ วณนี ้ และคงพักทัพที่วัดพลับ ตาม อุปัชฌาย์ถึง ๔ รูป นอกจากนี้ยังมีโบราณ ตำนานการบอกเล่าของชาวบ้านที่ยังคงมีความ วัตถุสิ่งของสำคัญ เช่น ตู้พระไตรปิฎก ผืนเสื่อ ทรงจำเกี่ย วกั บ เจ้ า ตากพั ก ทั พ ก่ อ นจะเข้ า ตี พระราชทาน พระพุทธรูปสานจากหวายที่มี เมืองจันทบูร การพอกปูนลงรักปิดทอง เป็นต้น วัดพลับบางกะจะ เป็นวัดที่มีศาสนสถาน จากบ้านทะเลน้อย มีเส้นทางเดินทางที่ รู ป แบบเดี ย ว รุ่น เดี ย วกั บ วั ด ในสมั ย กรุ ง ชาวบ้ า นใช้ กั น เป็ น ประจำเพื ่ อ จะไปเมื อ ง ศรีอยุธยาตอนปลายที่เมืองระยอง เพราะพบ จันทบุรี คือเดินทางผ่านท่าช้างข้าม เพื่อข้าม ทั้งหอไตรกลางน้ำ พระเจดีย์แบบยอดปรางค์ที่ ลำน้ำพังราด ซึ่งไม่ได้กว้างเท่ากับลำน้ำประแส มีการบูรณะอย่างต่อเนื่อง ส่วนโบสถ์นั้นปรับ
เกาะคราม เกาะสีชัง นาเกลือ บางปลาสร้อย ไปยังปากแม่น้ำ เจ้าพระยา เส้ น ทางการกู้ช าติ ข องเจ้ า ตากใช้เวลาราว ๗ เดือน นับแต่ สิ้นกรุงศรีอยุธยา
๓๑