วารสารก้าวสู่ฝัน ปีที่1 ฉบับที่1 เดือนมกราคม 2555

Page 1

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม 2555

ÊÙ‹½˜¹

ÊÌҧÊØ¢ÀÒ¾´Õ´ŒÇÂÇÔ¶ÕªÕÇÔµä·Â ÃÙŒ·Ñ¹âääÁ‹µÔ´µ‹Í

เอาชนะเบาหวานทั้งตําบล ที่...ต.บอยาง จ.อุทัยธานี ฟตอยางไร.......ใหกายกระชับ หายใจชา...ลดความดันโลหิตสูง

สมุนไพรกับโรคความดันโลหิตสูง


จากใจบก. วารสารกาวสูฝน ปที่1 ฉบับที่1 เดือนมกราคม 2555 เจ า ของ: แผนงานเครื อ ข า ยควบคุ ม โรคไม ติ ด ต อ

A multi - sectoral network for non - communicable diseases control (NCD network) ทีต่ ง้ั สํานักงาน : สํานักพัฒนานโยบายสุขภาพระหวางประเทศ อ า ค า ร ค ลั ง พั ส ดุ ชั้ น 3 ถ น น ส า ธ า ร ณ สุ ข 6 กระทรวงสาธารณสุข ถ.ติวานนท อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทร. 0-2590-2370 โทรสาร 0-2590-2370 www.thaincdnet.com

วัตถุประสงคของ NCD network

1. ส ง เสริ ม ให เ กิ ด การประสานความร ว มมื อ ระหวางภาคสวนตางๆ ที่ทํางานเรื่องควบคุมปองกันโรค ไม ติ ด ต อ ทั้ ง ที่ เ ป น หน ว ยงานที่ เ กี่ ยวข อ งกั บ สาธารณสุ ข โดยตรงและไมไดเกี่ยวของโดยตรง 2. สงเสริมใหเกิดความเขมแข็งในดานนโยบาย แผนงาน และมาตรการที่จะปองกันควบคุมโรคไมติดตอ สําคัญ 5 โรค คือโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็งและโรคปอดเรื้อรัง 3. ส ง เสริ ม ให ค วามเข ม แข็ ง ในเรื่ อ งระบบ การติดตามและประเมิน ผลของนโยบายและมาตรการที่ใช เพื่อควบคุมปองกันโรคไมติดตอ 4. สงเสริมใหประชาชนมีวิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ และหามาตรการที่มีประสิทธิภาพ เพื่อควบคุมปจจัยเสี่ยง ที่สําคัญของโรคไมติดตอคือ การสูบบุรี่ การดื่มสุราที่ทําให เกิดอันตรายตอสุขภาพ การบริโภคอาหารทีไ่ มเหมาะสมและ การขาดการออกกําลังกาย 5. สนั บ สนุ น การศึ ก ษาวิ จั ย ที่ เ กี่ ย วกั บ การ ควบคุมปจจัยเสี่ยงและควบคุมโรคไมติดตอ บรรณาธิการบริหาร ดร.นพ.วิชช เกษมทรัพย กองบรรณาธิการ นพ.ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย นธีรัตน ธรรมโรจน ทวีวรรณ สัมพันธสิทธิ์ ดนยา วสุวัต ภัทราภรณ สอนคํามี เมธาพร เสนคํา ณัฐวดี ศรีสง ออกแบบ / รูปเลม บริษัท เฮลท แชนแนล จํากัด เพลท / พิมพ บริษัท 168 พริ้นทติ้ง จํากัด จํานวนพิมพ 20,000 เลม ตองการเผยแพรกจิ กรรมเครือขาย สงภาพและขอความมาที่ E-mail : ncd_a@hotmail.com และ nsrisong@hotmail.com

มหกรรมจัดการความรู

วารสารฉบับนีเ้ ปนฉบับปฐมฤกษของแผนงานเครือขายควบคุมโรค ไมตดิ ตอ (A multi-sectoral network for non-communicable diseases control หรือ NCD network) ภายใตการสนับสนุนงบประมาณจาก กระทรวง สาธารณสุข องคการอนามัยโลก สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริม สุขภาพ (สสส.) และสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) โดยมี วัตถุประสงคสาํ คัญคือ เพือ่ สนับสนุนสงเสริมทุกภาคสวน ทัง้ ภาครัฐฯ ภาคเอกชน ภาคประชาชนใหมคี วามเขมแข็งในการควบคุมและปองกันโรคไมตดิ ตอ ทุกวันนี้ ภาระโรคของประชาชนไทยและประชากรทั้งโลกกําลังถูก บัน่ ทอนดวยโรคไมตดิ ตอทีส่ าํ คัญคือ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคมะเร็งและโรคปอดเรือ้ รังในอัตราทีส่ งู สุด สํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพ ระหวางประเทศ ไดศกึ ษาและประมาณวาคาใชจา ยสุขภาพเกีย่ วกับโรคไมตดิ ตอ เหลานีใ้ นประเทศไทยคิดเปนเงิน 1.4 แสนลานบาทตอป ถาตัง้ เปาจะลดภาระลง ไดแคหนึง่ ในสีป่ ระเทศไทยเราก็จะประหยัดงบประมาณไปไดหลายหมืน่ ลานบาท วารสารกาวสูฝ น สรางสุขภาพดีดว ยวิถชี วี ติ ไทย รูท นั โรคไมตดิ ตอ ฉบับนีจ้ ดั ทําขึน้ เพือ่ เปนเวทีแลกเปลีย่ นนวัตกรรม องคความรู การถายทอดประสบการณ ของหนวยงานเครือขายภาคสวนตางๆ โดยมีเปาหมายใหญทท่ี า ทายคือ การ ลดภาระจากโรคไมตดิ ตอทีส่ าํ คัญทีก่ ลาวมา ผมมีความมัน่ ใจวาหากเราทุกคนมี ความฝนทีส่ งู วาคนไทยเราตองมีสขุ ภาพดียง่ิ ขึน้ อยากใหพอ แมพน่ี อ งเราแข็งแรง มีอายุยนื ยาว อยากใหลกู ๆ หลานๆ ของเราเติบโตมาเปนคนอดทน ฉลาดเทาทัน สิง่ เยายวนทีม่ อี ยูใ นวิถชี วี ติ สมัยใหม เพือ่ ทีจ่ ะเติบโตเปนคนรุน ใหมทส่ี ดใสปลอด โรครายแลว เราทุกคนจะมารวมกันเปนเครือขายรวมเสริมพลังกันเพื่อสราง สุขภาพดีตามวิถชี วี ติ แบบไทยๆ เรา

นพ.วิชช เกษมทรัพย ผูจ ดั การแผนงานเครือขายควบคุมโรคไมตดิ ตอ


กิจกรรม สธ.

เปด “ศูนยชมุ ชนสรางสรรค”

น.ส.ยิง่ ลักษณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เปด “ศูนยชมุ ชน สร า งสรรค ” บริ เ วณใต ท างด ว นถนนสุ ขุ ม วิ ท (เพลิ น จิ ต ) และเยีย่ มชมกิจกรรมของโครงการฯ เมือ่ 21 ม.ค. 2555 โดยมี นายวิทยา บุรณศิริ รัฐมนตรีวา การกระทรวงสาธารณสุข พรอมดวย นายแพทยไพจิตร วราชิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุขและคณะ รวมตอนรับ เพือ่ พัฒนาพืน้ ทีส่ าธารณะใหเกิดประโยชนตอ เด็ก เยาวชน สตรีและครอบครัว นับวาเปนศูนยชมุ ชนสรางสรรคแหงแรกในประเทศ และเปนศูนยพฒ ั นาตนแบบ เพือ่ ใหเปนแหลงขอมูลความรูด า นสุขภาพ ดําเนินกิจกรรมสงเสริมการมีสขุ ภาพดีและพฤติกรรม ทีเ่ หมาะสม ทัง้ ในระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน และสังคม

งานมหกรรมอาหารและวัฒนธรรมมุสลิมไทย

เมื่อ 21 ม.ค. 2555 นายวิทยา บุรณศิริ รัฐมนตรีวาการ กระทรวงสาธารณสุข เปนประธานเปดงามหกรรมอาหารและวัฒนธรรมมุสลิมไทย ครัง้ ที่ 4 ทีม่ ลู นิธเิ พือ่ ศูนยกลางอิสลามแหงประเทศไทย กรุงเทพมหานคร มุง เนน การรณรงค แ ละเฝ า ระวั ง ความปลอดภั ย อาหาร เพื่อ ให ป ระชาชน ไดบริโภคอาหารปลอดภัย ปราศจากการปนเปอนของสารพิษตกคาง ยาปฏิชวี นะ และเชือ้ จุลนิ ทรียท ก่ี อ ใหเกิดโรค โดยใหสาํ นักงานสาธารณสุข จังหวัดทัว่ ประเทศ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ตรวจสอบเฝาระวัง อาหารปนเปอ น

ลดความดันเบาหวานที่พัทลุง โรงพยาบาลกงหรา อํ า เภอกงหรา จั ง หวั ด พั ท ลุ ง คั ด กรอง เบาหวานความดั น โลหิ ต สู ง ตามโครงการสนองน้ํ า พระราชหฤทั ย ในหลวง ทรงห ว งใยสุ ข ภาพประชาชน เนื่ อ งในวโรกาสพระราชพิ ธี “มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2554” ครอบคลุม พื้นที่ 100 %

ชื่นมื่นวันเด็ก น า ง อ ลิ ส ร า ไ ผ ป ร ะ เ ส ริ ฐ น า ย ก ส ม า ค ม แ ม บ า น สาธารณสุ ข สาขาพั ท ลุ ง มอบอุ ป กรณ กี ฬ าให แ ก ร ร.ศึ ก ษา สงเคราะห พั ท ลุ ง เนื่ อ งในวั น เด็ ก แห ง ชาติ ป ระจํ า ป 2555 ทําใหเด็กๆ ชื่นมื่นกันทั่วหนา

ตองการเผยแพรกจิ กรรมเครือขาย สงภาพและขอความมาที่ E-mail : ncd_a@hotmail.com และ nsrisong@hotmail.com Á¡ÃÒ¤Á 2555

3


สังคมเครือขาย

สุขภาพดี Happy Workplace... ทีธ่ นาคารกรุงไทย

“มีอยูชวงหนึ่งที่ผมไปฟงบรรยายของคุณหมอทานหนึ่งในงานสัมมนา HR มีโอกาสไปพบบูธของ สสส. แลวก็ไปเจอโครงการแฮปปเวิรคเพลส ผมก็สนใจเลยเขาไปจอยกับทางคุณหมอ และไดเชิญใหทานมา บรรยายเรื่องแฮปปเวิรคเพลสในแนวคิดของทาน หลังจากนั้นผมก็พยายามผลักดันใหหนวยงานในธนาคาร ใหไดรบั ความรูเ รือ่ งแฮปปเ วิรค เพลส ทีว่ า จะดูแลนอกเหนือจากเรือ่ งการทํางานแลว เราก็จะดูแลเรือ่ งสุขภาพกาย และสุขภาพใจของพนักงานของเราใหทํางานดวยความเปนสุขพรอมๆ กันไปดวย” ร.อ.นพ.คัคนันต กีรติสุนทร ผูอํานวยการฝายอาวุโส ผูบริหารกลุมบรรษัทภิบาลและสวัสดิการ สายงาน ทรัพยากรบุคคลและบรรษัทภิบาล ธนาคารกรุงไทย จํากัด กลาวกับทีมงานถึงแนวคิดและที่มาสั้นๆ ทานบอกวา ตอนเริ่มโครงการขึ้นใหมๆ เพียงแคผลิตแคสื่อประชาสัมพันธความรูดานสุขภาพรูปแบบ ตางๆ ทั้งวีซีดี โปสเตอร แผนพับเพื่อแจกจายแกพนักงานทุกสาขาทั่วประเทศ เปนการรณรงคใหพนักงาน ใส ใ จสุ ข ภาพ ต อ มาในยุ ค ที่ คุ ณวิ โ รจน นวลแข มาเป น กรรมการผู จั ด การใหญ ใ นราวป 43 - 44 ท า นเห็ น ความสําคัญในเรื่องนี้และสนับสนุนเต็มที่ มีกิจกรรมเพื่อสุขภาพของธนาคารฯ หลายโครงการ มีการจางครู แอโรบิคมาสอนเตนและเปดใหบุคคลภายนอกที่สนใจเขามารวมเรียนไดดวย ตอมาจึงมีการอนุมัติใหใชพื้นที่ ที่สํานักงานใหญของธนาคารทําเปน Fitness Center อยางที่เห็นในปจจุบัน เมื่อมีการริเริ่มแลว ผูบริหารตอๆ มา ก็มีการสานตอและขยายกิจกรรมอื่นๆ ออกไปอีกในปจจุบัน ธนาคารกรุงไทยในเวลานี้ จึงไมเพียงแคมสี ถานพยาบาลทีจ่ ะคอยดูแลพนักงานเวลาปวยไขเทานัน้ ยังมีศนู ย ฟ ต เนสเซ็ น เตอร ที่ ต อ งบอกว า ใหญ โ ตไม แ พ ส ถานฟ ต เนสที่ เ ก็ บ ค า สมาชิ ก เลย สถานที่ แ ห ง นี้ เ ป ด ให บ ริ ก าร พนักงานกรุงไทยทุกระดับมาใชบริการ มีผูเชี่ยวชาญประจําคอยสอนและใหคําแนะนํา มีนักกายภาพบําบัดดูแลดวย ยังไมหมดเพียงเทานี้ ธนาคารฯ ยังมีชมรมตางๆ ของพนักงานเพือ่ เปนกิจกรรมผอนคลายอีกดวย ตัวอยางเชน ชมรมกรุงไทยคนรักศิลป เปนชมรมของคนรักการวาดภาพดวยสีน้ํา มีการเชิญอาจารยสมโภชน สิงหทอง ซึ่งมีฝมือ ดานวาดภาพสีน้ํา มาสอนเปนรุนๆ ซึ่งขณะนี้สอนมาแลว 7 รุน จนสามารถจัดแสดงภาพสีน้ําของชาวกรุงไทยได ภาพที่ขายไดก็นําเขาสมทบการกุศล สมาชิกชมรมมารวมกิจกรรมนี้ก็ไดรับการผอนคลาย ไดฝกสมาธิ “มีทา นผูบ ริหารระดับสูงหลายทานก็เขามารวมในชมรม จนมีผลงานภาพวาดสีนาํ้ ออกมาโชวไดหลายภาพแลว” คุณศิณา ยิ่งจอหอ หัวหนาสวนผูบริหารงานเสริมสรางสุขภาพและพลานามัย ฝายสถานพยาบาลธนาคาร บมจ. ธนาคารกรุงไทย สมาชิกชมรมทานหนึ่งกลาวกับทีมงาน นพ.คัคนันตบอกกับทีมงานเพิ่มเติมวา “โรค TOP 5 อันไดแก เบาหวาน, ความดัน, น้ําหนักเกิน, หลอดเลือดและไขมันในเลือด เปนเรื่องที่กําลังโฟกัส เพราะดูจากตัวเลขสถิติแลวเปนกันมาก รองๆ ลงไป สําหรับพนักงานแบงกก็จะมีโรคเครียด โรคออฟฟศซินโดรม เพราะงานแบงกจะอยูกับตัวเลข ตัวเงินและนั่งอยู หนาจอคอมพิวเตอรนานๆ เราก็จะมีโปรแกรมเพื่อดูแลปองกันสุขภาพเปนพิเศษเพื่อปองกันโรค TOP 5 เหลานี้” นับเปนเรือ่ งนโยบายในการดูแลสุขภาพพนักงานทีด่ ขี องธนาคารกรุงไทย ซึง่ ไมไดสงวนลิขสิทธิท์ อี่ งคกร หรือหนวยงานอื่นๆ จะนําไปใชในหนวยงาน เพื่อใหคนทํางานในหนวยงานมีความสุขทั้งกายและใจ 4

Á¡ÃÒ¤Á 2555


วิชาการนารู

ฟตอยางไร.......ใหกายกระชับ พิสษิ ฐ ธิตเิ ลิศเดชา ผูช าํ นาญการพิเศษนักกายภาพบําบัด 7 โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ สภากาชาดไทย ความแข็งแรงสมบูรณของรางกายและจิตใจนั้น โดยธรรมชาติแลวรางกายคนเราจะปรับตัวเพื่อรักษาความ สมดุลของรางกายเปนธรรมดาอยูแลว การที่เราจะมีพฤติกรรมที่ชวยสงเสริมใหรางกายปรับตัวเพื่อรักษาสมดุลของ รางกายไดเร็วและมากขึ้นเทาไรยอมเปนสิ่งที่ดีตอตัวเราเอง นอกจากนั้น สิ่งอํานวยความสะดวกในชีวิตประจําวันมากมายที่ทําใหรางกายของเรามีการเคลื่อนไหวและ ออกแรงในการทํากิจวัตรประจําวันในการงานนอยลง เชน กลุมคนที่ทํางานนั่งโตะหรือในกลุมผูสูงอายุ กลุมบุคคล ดังกลาวจึงถูกจัดใหอยูในกลุมเสี่ยงตอการเจ็บปวยและเปนโรค ทั้งโรคมะเร็ง, โรคหัวใจ, โรคเบาหวาน, โรคเกี่ยวกับ หลอดเลือด, โรคเกี่ยวกับความดันโลหิต, โรคภูมิแพ, โรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ ซึ่ ง ความเจ็ บ ป ว ยและโรคเหล า นี้ ส ามารถป อ งกั น และแก ไ ขได ด ว ยการออกกํ า ลั ง กายทั้ ง สิ้ น กระทรวงสาธารณสุขไดเล็งเห็นความสําคัญในปญหาดังกลาว จึงมีนโยบายรณรงคเกี่ยวกับการสรางเสริมสุขภาพให กับประชาชน โดยใชยุทธศาสตร (3 อ .) ใหถือเปนแนวปฏิบัติไดแก เรื่อง อ.อาหาร อ.ออกกําลังกาย และอ.อารมณ ในการสงเสริมสุขภาพ เพราะจะสงผลทําใหรางกาย สมบู ร ณ แ ข็ ง แรง ช ว ยสร า งสมรรถภาพทางกาย ช ว ยส ง เสริ ม สุ ข ภาพจิ ต นอกจากนี้ ยั ง สามารถป อ งกั น โรค หรือลดอัตราเสี่ยงการเกิดโรคตางๆ

การออกกําลังกายคืออะไร

การออกกําลังกาย หมายถึงการเคลื่อนไหวของรางกายอยางตอเนื่อง ในชวงระยะเวลาที่นานเพียงพอ ที่ จ ะทํ า ให เ กิ ด ผลต อ การเพิ่ ม ความแข็ ง แรงของร า งกาย (Physical Fitness) เช น หั ว ใจและปอดแข็ ง แรง (Cardiorespiratory Fitness), กล า มเนื้ อ แข็ ง แรง (Muscular Strength), กล า มเนื้ อ มี ค วามทนทาน (Muscular Endurance), มีความยืดหยุน (Flexibility)

ความฟตคืออะไร (Physical Fitness) fi

หมายถึงความสามารถของรางกายที่จะเคลื่อนไหวรางกายซึ่งตองอาศัยความทนทาน (Endurance), พละกําลัง (Strength), ความยืดหยุน (Flexibility) ซึ่งความสามารถของรางกายนี้ขึ้นกับการออกกําลังกายอยาง สม่ําเสมอและกรรมพันธุ

ความฟตของรางกายตองประกอบดวยปจจัย 5 อยาง

• Cardio - Respiratory Endurance หมายถึ ง ความสามารถของระบบหายใจและไหลเวี ย น โลหิต โดยเฉพาะการที่หัวใจสามารถที่จะสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงสวนตางๆ ไดอยางเพียงพอในขณะออกกําลังกาย ซึ่งการออกกําลังกายแบบแอโรบิค (aerobic) ถือวาเปนการออกกําลังกายที่จะชวยใหหัวใจแข็งแรง • Muscular Strength ความแข็งแรงของกลามเนือ้ ซึง่ เราสามารถเพิม่ ความแข็งแรงไดโดยการออกกําลังกาย ชนิดที่มีแรงตาน เชน ยกน้ําหนัก หรือวิ่งขึ้นบันได • Muscular Endurance ความทนของกลามเนื้อ หมายถึงความสามารถของกลามเนื้อที่จะทํางานอยาง ตอเนื่องโดยที่ไมเกิดอาการเมื่อยลา Á¡ÃÒ¤Á 2555

5


• Body Composition หมายถึ ง สั ด ส ว นของกล า มเนื้ อ กระดู ก ไขมั น การออกกํ า ลั ง กาย อย า งสม่ํ า เสมอจะทํ า ให ร า งกายมี ป ริ ม าณกล า มเนื้ อ เพิ่ ม ขึ้ น แต ป ริ ม าณของไขมั น ในร า งกายจะลดลง อาจจะดูไดจากดัชนีมวลกาย • Flexibility เป น ความยื ด หยุ น ของกล า มเนื้ อ เอ็ น และข อ ต อ เพื่ อ ป อ งกั น การได รั บ บาดเจ็ บจาก การออกกําลังกาย

ขัน้ ตอนของการออกกําลังกาย

1. ชวงการอบอุนรางกาย (Warm Up) มีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มอุณหภูมิของรางกายและกลามเนื้อ เพื่อกระตุนใหเลือด และออกซิเจนมาเลี้ยงกลามเนื้อ กระตุนการทํางานของเอนไซม สามารถชวยลดอุบัติการณ เกีย่ วกับเลือดไปเลีย้ งหัวใจไมเพียงพอในขณะออกกําลังกาย ลดการบาดเจ็บตอกลามเนือ้ และกระดูก รวมทัง้ ชวย ลดความตื่นเตน และเพิ่มความมั่นใจ ใชเวลาในชวงนี้ประมาณ 5 - 10 นาที 2. ชวงการออกกําลังกาย (Training Exercise) ตองมีการกําหนดองคประกอบตางๆ ตามวัตถุประสงค ของการออกกําลังกาย ซึง่ องคประกอบเหลานี้ ไดแกความถีข่ องการออกกําลังกาย (F : Frequency) ความรุนแรง หรือความหนักของการออกกําลังกาย (I : Intensity) ระยะเวลาในการออกกําลังกาย (T : Time) และชนิดของ การออกกําลังกาย (T : Type) รวมเรียกวาหลักของการ FITT ดังนี้ • ความถี่ของการออกกําลังกาย (Frequency) จํานวนครั้งตอสัปดาหในการออกกําลังกาย ควรออกกําลังกาย 3 - 5 ครั้งตอสัปดาห • ความหนักของการออกกําลังกาย (Intensity) นับวาเปนสวนทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ ของการออกกําลังกาย ในผูที่เริ่มออกกําลังกายใหมๆ ควรใชความหนักในการออกกําลังกายนอยๆ และใชเวลาในแตครั้งนานๆ เพื่อการ ปรับตัวที่ดีของระบบหัวใจและหลอดเลือด • ระยะเวลาของการออกกําลังกาย (Time) ควรมีความตอเนือ่ งนานเพียงพอเพือ่ ใหเกิดผลตอการ เปลี่ยนแปลงของระบบหัวใจ และหลอดเลือด ซึ่งระยะเวลาที่ดีที่สุดควรอยูระหวางเวลา 15 - 60 นาที • ชนิดของการออกกําลังกาย (Type) ควรพิจารณาใหเหมาะสมกับแตละบุคคลและเปาหมายของ การออกกําลังกาย 3. ชวงของการผอนคลาย (Cool Down) เปนชวงสุดทายของการออกกําลังกายตองมีการลดความหนัก ของการออกกําลังกายดวยการลดความเร็วในการออกกําลังกายดวยการชะลอการเคลือ่ นไหวรางกายคอยๆ ชาลง รวมกับการยืดเหยียดกลามเนื้อจนรางกายเขาสูภาวะปกติ เพื่อลดระดับกรดแลคติกในรางกายซึ่งจะสงผลดีตอ การฟนตัว และชวยลดภาวะการบาดเจ็บของกลามเนื้อ (Muscle Soreness) ได รวมทั้งยังเปนการปองกัน การเปนลมจากการที่เลือดไปเลี้ยงสมองและหัวใจลดลง

รูไ หมใครฟต

การทดสอบความฟตภายหลังการออกกําลังกายสามารถทําได ทันทีดว ยวิธกี ารงายๆ โดยการรองเพลง (การลากเสียงยาวๆ) หรือการพูดคุย (Singing and Talking Test) เมื่อเปรียบเทียบกันแลวใครสามารถ รองเพลงไดเพราะ หรือลากเสียงไดยาวที่สุด พูดคุยไดอยางตอเนื่องไม สะดุด แสดงวา บุคคลนั้นมีสภาพรางกายที่ฟต

6

Á¡ÃÒ¤Á 2555


เรื่องจากปก

ถอดประสบการณ เอาชนะเบาหวานทัง้ ตําบล

ทีบ่ อ ยาง จ.อุทยั ธานี

จังหวัดอุทัยธานีอยูหางจากกรุงเทพฯ ราว 220 กิโลเมตร ไมใชจังหวัดใหญหรือมีชื่อเรื่องแหลงทองเที่ยว ไมมีหางใหญระดับประเทศ มีรานสะดวกซื้ออยูบางในตัวจังหวัดแตไมหนาแนน หากใครขับรถเพื่อมุงสูภาคเหนือ จ.อุทยั ธานีจงึ เปนเพียงเมืองผาน ดวยสภาพทีก่ ลาวมา ถาใครจะมองวาจ.อุทยั ธานียงั หางไกลความเจริญก็ไมผดิ หาก ผูนั้นใชขนาดของเศรษฐกิจและสิ่งปลูกสรางสมัยใหมมาเปนมาตรวัด แตหากใครใชดัชนีความสุขทางใจและวิถีความ เปนอยูอยางพอเพียงมาเปนมาตรวัด จ.อุทัยธานีนาจะติดอันดับตนๆ ที่จังหวัดศิวิไลซหลายๆ จังหวัดเทียบไมติด จนมีคํากลาวทีเลนทีจริงวา “เห็นเศรษฐีตางจังหวัดหลายคนขี่รถเบนซขามจังหวัดมาจายดอกเบี้ยเงินกู ใหแกชาวบานธรรมดาๆ ที่มีแครถมอเตอรไซตเกาๆ ในจ.อุทัยธานี” เสนหของจ.อุทัยธานีจึงอยูที่ความเขมแข็งและความรวมไมรวมมือของชุมชน ความเอื้อเฟอแบงปนกัน ในชุมชน และความสมัครสมานสามัคคี ไมชิงดีชิงเดนกันในชุมชนมีแตสงเสริมงานกันในชุมชน

จากพระราชหฤทัยในหลวง..ไปสูก ารปฏิบตั ิ

ในป 2554 ที่ ผ า นมา กระทรวงสาธารณสุ ข ได จั ด ให มี โ ครงการสนองน้ํ า พระราชหฤทั ย ในหลวง ทรงหวงใยสุขภาพประชาชนขึ้น โดยใหโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล (รพ.สต.) ทั่วประเทศจัดทําโครงการ เชิ ง รุ ก เพื่ อ ควบคุ ม และป อ งกั น โรคเบาหวานและโรคความดั น โลหิ ต สู ง แก ป ระชาชนในชุ ม ชน เพื่ อ ถวายแก พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 7 รอบในวันที่ 5 ธันวาคม 2554 ซึ่ ง ทุ ก ตํ า บลทั่ ว ประเทศต า งดํ า เนิ น โครงการด ว ยกิ จ กรรมต า งๆอย า งหลากหลายและมี ก ารจั ด ทํ า เป น รายงานการทํ า งานขึ้ น เพื่ อ นํ า เสนอต อ กระทรวงสาธารณสุ ข รวมทั้ ง ร ว มแสดงผลงานและผลการทํ า งาน ทัง้ ในระดับจังหวัด ระดับภาค, ระดับทัว่ ประเทศ และทีร่ พ.สต.บอยาง อ.สวางอารมณ จ.อุทยั ธานีนเี่ องทีไ่ ดรบั รางวัล ผลงานดีเยี่ยมทั้งในระดับจังหวัด ระดับภาคและระดับประเทศ

ไพฑู ร ย จิ ต เนาวรั ต น ผู อํ า นวยการรพ.สต.บ อ ยาง

บอกว า ป จ จั ย สํ า คั ญ ของความสํ า เร็ จ ในโครงการนี้ อ ยู ที่ ค วามร ว มมื อ อย า งแข็ ง ขั น ของทุ ก ภาคส ว น ประกอบด ว ย 1. ที ม งานในรพ.สต. ทุ ก คนมี ใ จที่ จ ะทํ า และได ทํ า อย า งเข ม แข็ ง 2. ผู บ ริ ห ารระดั บ สู ง ตั้ ง แต สาธารณสุ ข ระดั บ จั ง หวั ด ระดั บ อํ า เภอให ก ารสนั บ สนุ น เป น อย า งดี และ 3. ภาคีเครือขายในชุมชนเห็นความสําคัญและใหความรวมมือ เชน ทานนายกอบต. ผูอํานวยการโรงเรียนและครูอาจารยในโรงเรียน ชมรม ผูสูงอายุ ผูใหญบาน กลุมอสม.ทุกกลุม รวมถึงเจาอาวาสและพระสงฆในวัด ทีส่ าํ คัญอีกประการหนึง่ คือ ทุกคนรักในหลวงจึงทุม เทและใหความรวมมือเมือ่ ทราบวาเปนโครงการสนองน้าํ พระราชหฤทัยในหลวงทีท่ า นทรงหวงใยสุขภาพ ของประชาชน “โรคเบาหวานสวนใหญมาจากวิถีชีวิต การควบคุมและปองกันโรคจึงตองมีการปรับเปลี่ยนที่พฤติกรรม มีการดูแลติดตามอยางตอเนือ่ งเปนองครวม และพยายามทําใหทกุ ครัวเรือนในชุมชนตระหนักวาสุขภาพดีเริม่ ทีบ่ า น” ผอ.รพ.สต.บอยางกลาว Á¡ÃÒ¤Á 2555

7


นวั ต กรรม 4 สหาย Exercise DM มาจากชาวบ า น เพือ่ ชาวบาน

เนื่อ งจากการส ง เสริ ม ให มีก ารกระตุน การไหลเวี ย นเลื อ ด ทัว่ รางกายตัง้ แตหวั จรดเทาเปนปจจัยสําคัญขอหนึง่ ในการควบคุมโรคเบาหวาน และฟ น ฟู ศั ก ยภาพผู ป ว ยโรคเบาหวานได ส ว นผู ที่ ยั ง ไม เ ป น โรค ก็สามารถใชเพือ่ ปองกันโรคไดเปนอยางดี ดังนัน้ จากการระดมความคิด ของทุกภาคสวนจึงรวมกันคิดคนอุปกรณขึ้นมาโดยใชวัสดุเหลือใชหรือ หาไดงายในชุมชนมาประดิษฐเปนอุปกรณออกกําลังและกระตุนการ ไหลเวียนขึน้ และตัง้ ชือ่ วา “4 สหาย Exercise DM” คําวา 4 สหายมาจาก อุปกรณนี้ชวยได 4 สวนหลักๆ ประกอบดวย 1. กระตุน ระบบหมุนเวียนเลือดและระบบประสาทสัมผัสของเทา 2. เสริมสรางความแข็งแรงทีร่ ะบบกลามเนือ้ และเสนเอ็นขอเขา 3.เสริ ม สร า งความแข็ ง แรงโดยเพิ่ ม การเคลื่ อ นไหวของข อ หัวไหลและขอทุกสวนทั่วรางกาย 4. ชวยบริหารกลามเนื้อคอ ศีรษะและใบหนา อุปกรณ 4 สหาย Exercise DM สามารถสรางขึน้ มาใชเองได โดย ใชไมกระดาน ไมโครง กะลามะพราว ลูกแกว กระจกเงาบานเล็กๆ ลูกบอล ยางและหนังยาง ซึง่ คุณไพฑูรยบอกกับทีมงานวา ขณะนีม้ ที รี่ พ.สต.อยู 1 ตัว เพือ่ ใหชาวบานมาใชไดตอนเย็นๆ กําลังทําอีก 2 - 3 ตัวไวทวี่ ดั ทีโ่ รงเรียน หรือที่ทําการอบต.บอยาง (ดูภาพประกอบ)

นานาทัศนะจากทุกภาคสวน ดต.ถวัลย ชูเรือง นายกองคการบริหาร ส ว นตํ า บลบ อ ยาง (อบต.บ อ ยาง) บอกกั บ

ที ม งานว า ป จ จั ย แห ง ความสํ า เร็ จ ในการควบคุ ม โรค และเอาชนะโรคไดมาจากความรวมมือของชุมชนทุกภาค สวน ทุกคนทําดวยใจไมไดทําดวยเงิน ถามัวแตรอเงิน งบประมาณมันจะเขมแข็งไมได ทุกคนมีอะไรจะคุยกันไดหมด แมแตทานอดีตนายอําเภอก็ยังมาชวย “สํ า หรั บ อบต.บ อ ยาง แม ป ๆ หนึ่ ง จะได งบประมาณนอย แตผมก็ชว ยสนับสนุนทุกเรือ่ งทีท่ าํ แลว ชาวบานไดประโยชน รพ.สต.บอยางกําลังกาวไปอีก ขั้นหนึ่ง เห็นเขาอบรมใหอสม.ใหสามารถไปบริการ เจาะเลื อ ดเพื่ อ วั ด ค า น้ํ า ตาลในเลื อ ดแก ช าวบ า น ถึงที่บานได เรื่องนี้ดีมาก สําหรับผมเอง ขณะนี้กําลัง คิ ด อยากทํ า สวนสุ ข ภาพใกล ๆ กั บ ที่ ทํ า การอบต. และกําลังทําแปลงทดลองปลูกพืชผักเกษตรอินทรีย อยากสงเสริมใหชาวบานปลูกเกษตรอินทรียไ วกนิ เองได ซึ่ ง จะเป น ผลดี ต อ สุ ข ภาพ” ดต.ถวั ลย ชู เ รื อง กล าว 8

Á¡ÃÒ¤Á 2555


ทางดานคุณวิมล แสงอุทยั สาธารณสุข อําเภอสวางอารมณ ซึง่ เปนหนึง่ ในทีมงานระดับบริหาร

ที่รวมแรงรวมใจในโครงการนี้กลาววา เมื่อทางรพ.สต. มาปรึกษาหารือถึงโครงการฯ คุณวิมลก็ไดเขารวมประชุม กับทุกภาคสวนดวยทุกครั้ง “แรกเริ่มของโครงการ ทางรพ.อําเภอใหการ สนับสนุนการประชาสัมพันธอยางดี รถสาธารณสุข อํ า เภอทุ ก คั น ติ ด ป า ยประชาสั ม พั น ธ เวลาออก พื้ น ที่ ก็ แ จ ง ประชาสั ม พั น ธ ต ลอด ใช เ วลาเป น เดื อ น เหมื อ นกั น จนเมื่ อ ผู นํ า ชุ ม ชนต า งๆ เริ่ ม มาร ว ม ประชุ ม ระดมความคิ ด เห็ น กั น กิ จ กรรมโครงการ

จึงเริ่มเดินหนาไปดวยดี มีอสม.1 คนดูแล 10 ครัวเรือน

มี ก ารบั น ทึ ก ข อ มู ล ผู ป ว ยเบาหวานอย า งใกล ชิ ด ตรวจเลือดทุกระยะ ติดตามกิจกรรมการออกกําลังและปจจัยเสี่ยงอื่นๆ หากตองการใชเครื่องมือหรือน้ํายาตางๆ เพิ่มเติม รพ.สวางอารมณก็ใหการสนับสนุนดวยดี” คุณวิมลกลาวพรอมกับรอยยิ้ม ทายสุดเมือ่ ถามถึงมีโครงการใดทีอ่ ยากทําอีกไหม? คุณวิมลบอกวา เทาทีร่ วบรวมขอมูลผูป ว ยระดับอําเภอ มาระยะหนึ่งพบวา มีปญหาเรื่องหลอดเลือดหัวใจกันมากขึ้น กําลังจัดหาระบบกระบวนการสงเสริมสุขภาพเพื่อการ ปองกันรวมทั้งการฟนฟูสําหรับผูที่มีปญหาโรคหลอดเลือด นอกจากนั้นก็มีปญหาการตั้งครรภโดยไมพรอมหรือ ตั้งครรภกอนวัยอันควร นี่ก็เริ่มเห็นตัวเลขมากขึ้น

สําหรับนายแพทยสชุ นิ คันศร ผอ.รพ.สวางอารมณ

ซึ่ ง เป น โรงพยาบาลประจํ า อํ า เภอและเป น แรงสนั บ สนุ น สํ า คั ญ อี ก แรงหนึ่ ง ในโครงการกล า วว า “ความจริ ง รพ.สต.บ อ ยาง ได ทํ า งานส ง เสริ ม สุ ข ภาพเชิ ง รุ ก มาอย า งต อ เนื่ อ งแล ว สั ก 2 - 3 ป มี ตั ว เลขที่ พ อจะชี้ วั ด ได ว า เกิ ด ผลดี ต อ สุ ข ภาพ เมื่ อ ทํ า เป น โครงการอย า งเป น กิ จ จะลั ก ษณะก็ ยิ่ ง ได ผ ลมากขึ้ น โดยสวนตัวผม ผมใหความสําคัญที่การใหความรูแกเยาวชนดวย สอดแทรกเข า ไปในสื่ อ บั น เทิ ง ก็ ไ ด ถ า ยทอดเป น บทเพลง หรื อ โคลงกลอน เมื่ อ เขาได ซึ ม ซั บ ความรู เ หล า นี้ มั น จะติ ด ตั ว เขาไปอี ก 20 - 30ป นอกจากนั้ น เขายั ง อาจนํ า ไป

Á¡ÃÒ¤Á 2555

9


ถายทอดตอใหพอ แม ญาติๆ ที่บานไดดวย นอกจากนั้น ตอง ชมเชยกลุมอสม.ที่ทํางานแข็งขันทุกคน เมื่อทิศทางการทํางาน ชัดเจนบวกกับขวัญกําลังใจในการทํางานดี สิ่งที่อบรมอสม.ไป เขาสามารถนําไปปฏิบัติกันอยางไดผล” เมื่ อ ที ม งานถามถึ ง ตั ว เลขชี้ วั ด นพ.สุ ชิ น บอก กั บ ที ม งานว า วั ด ได ชั ด จากตั ว เลขผู ป ว ยโรคเรื้ อ รั ง ที่ ม าใช บริ ก ารที่ โ รงพยาบาลอํ า เภอ ขณะนี้ น อ ยลงไปราว 60% เมื่อเทียบกับ 2 ปที่แลว เพราะรพ.สต.รับไปดูแลไดมากขึ้น คนที่มาโรงพยาบาลปจจุบันจึงเปน ผูปวยดานอื่นๆ มากกวา อยูในราว 150 คนตอวัน ซึ่งเปนตัวเลขที่ลดลง

บุ ค ค ล อี ก ท า น ที่ ที ม ง า น ไ ป พู ด คุ ย ด ว ย คื อ คุ ณ ครู ธ นวรรณ พรหมมา ครู ป ระจํ า โรงเรี ย น

บ อ ยางวิ ท ยา ซึ่ ง จั ด ตั้ ง ที ม นั ก เรี ย นในโรงเรี ย นขึ้ น มาเพื่ อ ร ว มรณรงค ใ นโครงการสนองน้ํ า พระราชหฤทั ย ในหลวง โดยคุณครูไดประพันธบทโครงกลอน บทเสภา แหลและเพลง พื้นบานมากมายหลายชุด และฝกฝนใหนักเรียนรวมการแสดง เปนการนําศิลปะพื้นบานที่เขาถึงชาวบานไดเปนอยางดี โดยใส เนื้อหาสาระการดูแลสุขภาพตามแนวคิดของโครงการฯ “ปกติเปนครูสอนภาษาไทยและชอบแตงโคลงกลอน อยู แ ล ว พอแต ง ออกมาแล ว เด็ ก ๆ นํ า ไปถ า ยทอดได ผู ป กครองเด็ ก ก็ ภู มิ ใ จ แล ว เขาก็ ไ ด รั บ เนื้ อ หาการป อ งกั น เบาหวานไปด ว ย โดยเฉพาะในเรื่ อ ง 3 อ. (อาหาร, ออกกํ า ลั ง กาย, อารมณ ) และ 2 ส. (สู บ บุ ห รี่ แ ละสุ ร า) ก็ ทํ า ให เ ขาปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมไปด ว ย นอกจากนั้ น เมื่ อ ทางโรงเรียนมีโอกาสนําไปแสดงในที่ตางๆ ผูปกครองก็ดีใจ ที่ ไ ด เ ห็ น ลู ก หลานมี ค วามสามารถ โรงเรี ย นก็ ภู มิ ใ จ” ครูธนวรรณกลาว ทายสุดนี้ ทานจะเห็นไดวา แมโรคเบาหวานและโรคเรือ้ รังอีกหลายโรคทีข่ นึ้ ชือ่ วารักษาใหหายขาดไมไดนนั้ ก็ มิ ไ ด ห มายความว า ผู ป ว ยจะมี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ไ ม ไ ด หากชุ ม ชนได ร ว มกั น ดู แ ล กรณี ศึ ก ษาที่ ต.บ อ ยาง ก็ ส ามารถสร า งขึ้ น ในชุ ม ชนอื่ น ๆ ทุ ก หนแห ง ทั่ ว ประเทศได ขอเพี ย งมี ค วามร ว มมื อ ร ว มใจกั น ในชุ ม ชน โรคไหนๆ ก็สามารถเอาชนะได 10

Á¡ÃÒ¤Á 2555


หองรับแขก

ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ ประธาน NCD Network ภาควิ ช าการ ภาคธุ ร กิ จ เอกชนและภาคประชาชน มารวมกันระดมสมองและรวมกันกําหนดวา มีงานอะไร ทีต่ อ งการการสนับสนุน ตองการความรวมมือประสานงาน ขอมูลอะไรที่ยังขาดหรือควรตองมีการวิจัยอะไรเพิ่มเติม เพื่อใหทุกภาคสวนสามารถผลักดันงานใหไดผลสําเร็จ เมื่อทีมงานถามถึงเรื่องสถิติตัวเลขผูเสียชีวิต จากโรคไมติดตอ คุณหมอประกิตบอกวา “จากตัวเลข ใ น ป 2 5 5 2 จ า ก จํ า น ว น ผู เ สี ย ชี วิ ต ทั้ ง ห ม ด 415,900 คน เปนการเสียชีวิตจากโรคไมติดตอถึง 210,963 คนหรือคิดเปน 50.7% นั่นคือเสียชีวิต จากภาวะโรคหั ว ใจและหลอดเลื อ ด โรคปอดเรื้ อ รั ง โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน ทีน่ า สนใจคือในจํานวนผูเ สียชีวติ จากโรคไมติดตอนี้มีถึง 27% อายุนอยกวา 60 ป ซึ่งถือวาเปนการสูญเสียบุคลากรวัยทํางานไป สวนอีก 49.3% เสียชีวติ จากสาเหตุอนื่ ๆ เชน อุบตั เิ หตุ ชราภาพ โรคติดตออื่นๆ อาชญากรรม ฯลฯ” คุณหมอประกิตกลาวตอวา “ความตั้งใจของ คณะกรรมการฯ ตองการวิจัยขอมูลผลกระทบการรักษา โรคไมตดิ ตอ ทีท่ าํ ใหประเทศไทยตองแบกภาระการรักษา โรคเทาไหร เรื่องนี้อยูในระหวางการดําเนินการ วันนี้ โรคไมติดตอเปนปญหาใหญที่มีผลกระทบตอประชากร ทั่วประเทศ แมวาการรักษามีอยูแลวทุกโรงพยาบาล แต ตอ งไปดู วา คุ ณ ภาพการรั ก ษาได ม าตรฐานหรื อ ไม รักษาเบาหวานไดผลดีก่เี ปอรเซ็นต คุมความดันสูงไดผล ดีก่เี ปอรเซ็นต ครอบคลุมไดทั่วถึงหรือไม และหากเรา หาวิธไี ปลดปจจัยเสีย่ งกอนทีจ่ ะเกิดโรค เชน การงดสูบบุรี่ งดแอลกอฮอลล งดอาหารขยะ งดกินเค็ม ฯลฯ และจะ รวมมือทุกภาคสวนผลักดันลงไปสูก ารปฏิบตั จิ ริงในชุมชน ทั่วประเทศไดอยางไร อันนี้เปนเรื่องที่ตองทําตอไป” “แอคชั่นจริงๆคงจะเกิดในปนี้ เพราะปแรก เปนแคการวางรากฐาน การเรียนรู หาขอมูล หาภาคี ลาสุดมีแนวโนมวาเราจะไปสนับสนุนโครงการสุขภาพดี วิ ถี ไ ทย ของกระทรวงสาธารณสุ ข ที่ เ ขามี อ ยู แ ล ว ซึ่งเกี่ยวกับการปองกันโรคไมติดตอ แตวามันขาดกลไก

คอลัมนหองรับแขกฉบับปฐมฤกษนี้ ขอนําพา ท า นผู อ า นมาพู ด คุ ย กั บ ศ.นพ.ประกิ ต วาที ส าธกกิ จ ในฐานะประธานอนุกรรมการกํากับดูแลแผนงานเครือขาย ควบคุมโรคไมติดตอ (NCD Network) เพื่อทําความรูจัก กับแผนงานเครือขายฯ วามีความเปนมาอยางไรและจะ ทําภารกิจอะไรตอไป คุณหมอประกิตเลาใหทีมงานฟงวา เนื่องจาก สภาพเศรษฐกิจสังคมที่เปลี่ยนไปทําใหมีความทาทาย ใหม ๆ ในด า นสุ ข ภาพตา งจากอดีต ดังนั้น องคก าร อนามั ย โลกจึ ง มี ก ารจั ด ประชุ ม ร ว มกั บ หน ว ยงาน ผูกําหนดนโยบายสาธารณสุขในประเทศไทยหลายครั้ง เพื่ อ หารื อ กั น ถึ ง ประเด็ น ที่ ค วรจะต อ งส ง เสริ ม เป น พิ เ ศษ จนกระทั่ ง เมื่ อวั น ที่ 3 มิ ถุ น ายน 2553 ที่ประชุมไดเลือกเรื่องสําคัญขึ้นมา 5 เรื่อง ประกอบดวย 1. การลดอุบัติเหตุบนทองถนน 2. สุขภาพในชุมชน 3. การเป ดการคา เสรีกับผลกระทบตอการ บริการดานสุขภาพ 4. ปญหาจากโรคไมติดตอเรื้อรัง 5. การเตรียมความพรอมรับมือกับภัยพิบัติ และสรุปสุดทายเมือ่ 3 สิงหาคม 2553 ทัง้ 5 เรือ่ ง ก็จะมีคณะทํางานลงไปกําหนดยุทธศาสตร แผนงาน เปาหมายและมาตรการตางๆ ในการทํางานตอไป ในส ว นของแผนงานเครื อ ข า ยควบคุ ม โรค ไมติดตอหรือ NCD Network ก็มีการตั้งคณะกรรมการ ขึ้นชุดหนึ่งเมื่อตนป 2554 โดยมาจากหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ ทั้งจากกระทรวงสาธารณสุข, สํานักงาน หลั ก ประกั น สุ ข ภาพแห ง ชาติ (สปสช.), สํ า นั ก งาน กองทุ น สนั บ สนุ น การสร า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.), และองค ก ารอนามั ย โลก โดยมี น พ.วิ ช ช มาเป น ผู จั ด การแผนงานเครื อ ข า ยฯ ในรอบป ที่ ผ า นมา ที่จะผลักดัน NCD Network จึงอยากที่จะไปชวยผลักดัน มีการประชุมกรรมการฯ ไปราว 4 - 5 ครั้ง มีการเชิญ สิ่ ง ที่ อ ยู ใ นแผนให เ ป น จริ ง ” คุ ณ หมอ ประกิ ต กล า ว เครือขายที่ทํางานเกี่ยวกับโรคไมติดตอทั้งภาคราชการ ตอนทาย Á¡ÃÒ¤Á 2555

11


บทความ

หายใจชา...ลดความดันโลหิตสูง

มาณีย อุย เจริญพงษ ผูเ ชีย่ วชาญพยาบาล 8 ฝายการพยาบาลโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ

ใ นป จ จุ บั น โรคความดั น โลหิ ต สู ง มี ค วามชุ ก ของโรคเพิ่ ม ขึ้ น และยิ่ ง มี อ ายุ สู ง ขึ้ น ก็ จ ะพบมากขึ้ น ตาม ไปด ว ย สาเหตุ สํ า คั ญที่ ทํ า ให เ กิ ด ความดั น โลหิ ต สู ง คื อ ความเครี ย ด หากเรามี ก ารจั ด การกั บ ความเครี ย ดได พรอมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินการอยูก็จะทําใหหางไกลจากโรคได การฝกลมหายใจเปนวิธหี นึง่ ทีฝ่ ก จิตของเรา ดังนัน้ ควรหายใจใหถกู ตองเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการไหลเวียน ของโลหิตและสรางเสริมภูมิคุมกันโรคทางระบบหายใจและฝกหายใจชาเพื่อการผอนคลายและลดความดันโลหิตสูง การหายใจทีถ่ กู ตองทําอยางไร การหายใจเขา ทําใหทรวงอกขยายตัวรับอากาศจากทางเดินหายใจเขาสูป อด 2 ขาง การขยายตัวของทรวงอก เกิดจากกะบังลม โดยกลามเนื้อระหวางซี่โครง 2 ขางและกลามเนื้อไหลเปนตัวชวยดึงกะบังลมใหขยายและหดตัว กะบังลมเปนกลามเนื้อชวยกั้นสวนชวงอกออกจากชวงทองดานลาง เมื่อหายใจเขากะบังลมจะหดตัวผลักดันอวัยวะ ในชองทองสวนลางลงไปทําใหทอ งโปงนูนออกมา เมือ่ หายใจออกกะบังลมจะคลายตัวโคงเปนรูประฆังคว่าํ อวัยวะใน ชองทองจะเคลื่อนขึ้นเปนผลทําใหเกิดการผลักอากาศออกจากปอด การหายใจออก เพือ่ ระบายอากาศคารบอนไดออกไซดออกจากปอดไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยการหายใจ เขาชาๆ ลึกๆ หายใจเขาใหเต็มปอดโดยใชกลามเนือ้ ทีซ่ โี่ ครงและกลามเนือ้ ไหล จากนัน้ หายใจออกอยางชาๆ แผวเบา โดยใชกะบังลมผลักออกดันลมออกทางปากหรือจมูกใหทองแฟบลง พยายามหายใจเขา - ออกเปนจังหวะสม่ําเสมอ จะทําใหรางกายไดรับออกซิเจนในปริมาณคงที่เปนผลดีตอสุขภาพ ในทางการแพทยสามารถอธิบายไดวาการหายใจชาชวยลดความดันโลหิตสูงได กลาวคือในชีวิตประจําวัน เมื่อตื่นนอน มีการใชความคิด เดิน การใชสมอง นี่คือการใชพลังงานเผาผลาญเปนระบบสู และเมื่อทํางานตอเนื่อง กัน 4 - 5 ชั่วโมง เรารูสึกเหนื่อยลา รางกายตองการผอนคลาย นั่นคือรางกายตองการระบบพัก ฉะนั้นในรางกาย จะประกอบดวยระบบ 2 ระบบ คือระบบพักและระบบสูสลับกันไปอยางตอเนื่อง จึงเกิดความสมดุลของรางกาย มีงานวิจัยเรื่อง การหายใจชาชวยลดความดันโลหิตในผูที่มีความดันโลหิตสูง ผลของการหายใจชาตอการ เปลีย่ นแปลงของระดับความดันโลหิตสูง ศึกษาในกลุม ผูม คี วามดันโลหิตสูงทีโ่ รงพยาบาลจุฬาลงกรณ สภากาชาดไทย ป 2552 พบวาภายหลังฝกหายใจทีถ่ กู ตองและหายใจชาใหนอ ยกวา 10 ครัง้ ตอ 1 นาทีวนั ละ 15 นาทีเปนเวลา 8 สัปดาห โดยบันทึกผลระดับความดันโลหิตของผูรับการอบรมกอนฝกและติดตามผลการฝกทุก 4 สัปดาหอยางตอเนื่อง สามารถลดระดับความดันโลหิตตัวบนได 23.59 มม.ปรอท ระดับความดันโลหิตตัวลางลดลง 8.57 มม.ปรอทและ พบวากลุมที่ใชยารักษาความดันโลหิตและกลุมที่ไมไดใชยา ผลไมแตกตางกัน สนับสนุนวาการหายใจชาใชไดผล ไมวาจะใชยารักษาหรือไม เปาหมาย

การหายใจชาถาปฏิบตั ทิ กุ วันทําใหมสี มาธิ เพิม่ สติเกิดปญญา ลองเริม่ ปฏิบตั เิ มือ่ กอนเขานอนหรือตืน่ นอน

หายใจชาใหนอยกวา 10 ครั้งตอ 1 นาที ประโยขนทไ่ี ดรบั 1. รางกายจิตใจไดรับการผอนคลาย ลดความตึงเครียดในชีวิตประจําวัน 2. ทําใหความดันโลหิตลดลงในผูมีความดันโลหิตสูงและชวยรักษาความดันโลหิตใหอยูในเกณฑปกติ ในผูมีสุขภาพดี 3. ลดความเสี่ยงตอโรคหลอดเลือดและหัวใจ 12

Á¡ÃÒ¤Á 2555


วิธฝี ก หายใจเขา-ออกใหชา และละเอียด • ใชนาิกาเปนเครื่องจับเวลาโดยเริ่มตนหายใจเขาใหเต็มปอดแลวหายใจออกชาๆ ใหยาวนาน 6 วินาที • การหายใจรอบตอไปเริ่มตนหายใจเขาใหเต็มปอดแลวหายใจออกชาๆ ใหยาวนานกวารอบที่ 1 ใชเวลามากกวา 6 วินาที • การหายใจรอบที่ 3 เริ่มตนหายใจเขาใหเต็มปอดแลวคอยๆ ผอนลมหายใจออกชาๆ ใหยาวนานแผวเบา ใชเวลามากกวา 6 วินาที ถายังไมสามารถยืดเวลาหายใจออกใหยาวนานไดใหฝกหายใจใชเวลาเทาเดิมไปกอนและ พัฒนาตนเองใหหายใจชาลงเรื่อยๆ เมือ่ ฝกจังหวะการหายใจใหชา ลึกไดอยางสม่าํ เสมอจนคุน ชินเปนนิสยั แลว จะพบวาชวงเวลาเริม่ ตนหายใจ เขา - ออก รอบใหมจะเนิ่นนานออกไป หลายคนสัมผัสไดวาเปนชวงเวลาที่รางกายสงบ ยังไมตองการออกซิเจน เพิ่มเสมือนอยูในภวังคแหงสมาธิเปนผลใหจังหวะการหายใจชาลงชาลงและเมื่อออกจากสมาธิแลว ยังคงหายใจ ไดเปนปกติแตมีสิ่งที่ไดรับคือความผอนคลาย จิตใจสงบเกิดความปติในใจ เอกสารอางอิง

1. สุขภาพคนไทย 2553 : วิกฤตทุนนิยม สังคมมีโอกาส? ชืน่ ฤทัย กาญจนะจิตรา และคณะ พิมพครัง้ ที่ 1 นครปฐม : สถาบันวิจยั ประชากรและสังคม 2553. 2. สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน. หายใจชา พาจิตผอนคลาย. โรครายและการพอกพูนสะสม. สํานักพิมพหมอชาวบาน, 2550. 3. มาณีย อุย เจริญพงษและเบญจพร ทองเทีย่ งดี งานวิจยั การหายใจชาชวยลดความดันโลหิตในผูม คี วามดันโลหิตสูง

ขาวคราวเครือขาย

ปใหมตายเปนศูนย

น.ส.ยิ่ง ลั กษณ ชินวัต ร นายกรัฐมนตรี เปน ประธานเป ดโครงการ และปลอยขบวนคาราวานรณรงคลดอุบัติเหตุปใหมตายเปนศูนย (New Year Zero Dead) โดยมี นายวิรฬุ เตชะไพบูลย รมช.กระทรวงการคลัง นายดํารง พุฒตาล ประธานมูลนิธเิ มาไมขบั มร.อิตะ ยาชิโร อดีตรมว.กระทรวงไปรษณียแ ละคมนาคม ญี่ปนุ พรอมดวยผูแทนภาคีเครือขายภาครัฐ ภาคเอกชน กวา 200 หนวยงาน รวมเปนเกียรติ เมือ่ วันที่ 23 ธันวาคม 2554 ณ ตึกสันติไมตรี ทําเนียบรัฐบาล

กิจกรรมรักษหทัย

ที มรั ก ษ ห ทั ย สั ง กั ด คณะแพทยศาสตร จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย และ

รพ.จุฬาลงกรณ สภากาชาดไทย ไดจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองไดท่บี าน โดยมี 5 ฐานฝก ประกอบดวย ฐานกินใหเปน เปนการเรียนรูเ กีย่ วกับการเลือกรับประทานอาหาร ฐานเนน ฝกจิต ฝกเรียนรูเกี่ยวกับประโยชนและวิธีการหายใจชา การฝกสติและสมาธิ และการผอนคลายความเครียด ฐานฟตรางกาย เรียนรูเ กีย่ วกับการออกกําลังกายอยางไรใหกายกระชับประโยชนและ ขอจํากัดของการออกกําลังกาย ฐานมุง สูเ ปาหมาย ไดเรียนรูเ กีย่ วกับการคนหาแรงจูงใจในการดูแลสุขภาพ การลดน้าํ หนัก สามารถกําหนดวิธกี ารทีเ่ หมาะสมกับตนเอง ฐานสลายพุง ไดเรียนรูเ กีย่ วกับการประเมินความเสีย่ งดวยตนเอง โดยเนนเรือ่ ง การควบคุมน้าํ หนัก ควบคุมระดับความหิวหรืออิม่ ตองการเผยแพรกจิ กรรมเครือขาย สงภาพและขอความมาที่ E-mail : ncd_a@hotmail.com และ nsrisong@hotmail.com

GAPC (Global Alcohol Policy Conference 2011) การประชุมนโยบายแอลกอฮอลระดับโลก 2011จากแผนยุทธศาสตรระดับโลกสูการปฏิบัติในระดับชาติ และทองถิ่น 13 -15 กุมภาพันธ 2555 หองแกรนด ไดมอนด บอลรูม ศูนยประชุมอิมแพค เมืองทองธานี ดูรายละเอียดเพิ่มเติม : www. GAPC2011.com หรือ โทร.0-2590-2366 (ศูนยวิจัยปญหาสุรา) ผูจัด


จับกระแสโรค

โรคไมติดตอเรื้อรังเปนปญหาสําคัญระดับโลก จากการประชุมสหประชาชาติ เมื่อเดือนกันยายน 2554 ทีผ่ า นมาทีก่ รุงนิวยอรค ประเทศสหรัฐอเมริกา ไดยกระดับความสําคัญของกลุม โรคไมตดิ ตอทีน่ านาชาติตอ งเขามารวมมือ กันแกไข ทัง้ นี้ จากขอมูลสถิตสิ าธารณสุขในแตละปมผี เู สียชีวติ ดวยโรคมะเร็ง หลอดเลือดสมอง หัวใจขาดเลือด เบาหวาน และความดันโลหิตสูง มากถึง 98,000 ราย หรือประมาณ 268 คน/วัน โดยมีสาเหตุการตายสูงสุดจากโรคมะเร็งสูงถึง 3 ใน 5 รองลงมาเปนหลอดเลือดสมอง หัวใจขาดเลือด เบาหวานและความดันโลหิตสูง ตามลําดับ เมื่อพิจารณาอัตราผูปวยในแตละปพบวาแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ประมาณ 1.5 - 2 เทาภายใน 5 ป พ.ศ. 2549 - 2553

จากรายงานการสํารวจสภาวะสุขภาพประชาชนไทย อายุ 15 ปขึ้นไป ป พ.ศ. 2551 พบวา มีความชุก

ของโรคความดั น โลหิต สูง รอ ยละ 21.4 หรือ ประมาณ 11 ล านคน โรคเบาหวาน ร อยละ 6.9 หรื อกว า 3 ลานคน ขณะที่ขอมูลจากการสัมภาษณ ผูที่เคยไดรับการวินิจฉัยวาเปนโรคหลอดเลือดหัวใจ รอยละ 1.4 และ โรคหลอดเลือดสมอง รอยละ 1.5 โดยพบวาปจจัยเสี่ยงตอการเกิดโรค ไดแก การกิน ผักและผลไมไมเพียงพอ ภาวะอวนและอวนลงพุง ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ เพิ่มขึ้น

สมุนไพรสูโรค

สมุนไพรกับโรคความดันโลหิตสูง

ทราบไหมวาทุกวันนี้สมุนไพรพื้นบานของไทยมีสรรพคุณลดความดันโลหิตสูงไดดีไมแพยาของตางชาติ เลย และเพื่อเปนการปองกันและหลีกเลี่ยงโรคความดันโลหิตสูง สมุนไพรสูโรควันนี้ มีเกร็ดความรูเรื่องนี้มาฝากกัน ใบทองพันชัง่ นําใบที่ไมออนหรือแกเกินไปนํามาตากแดดใหแหง ประมาณ 1 หยิบมือหรือประมาณ 20 ใบ ผสมกับชาจีน 1 หยิบมือ หลังจากนั้นใชชงในน้ํารอนปลอยทิ้งไวประมาณ 15 นาที แลวนํามาดื่มวันละ 3 ครั้ง

กอนอาหาร 5 - 7 วันติดตอกัน แตหากดื่มไปแลวความดันโลหิตยังสูงอยูก็ควรดื่มตอไปอีก 5 - 7 วัน จนกวาความดัน

นั้นจะลดลงเปนปกติ กระเทียม ซอยกระเทียมสดประมาณครึง่ ชอนชา กินพรอมอาหารวันละ 2 - 3 ครัง้ หรืออาจจะเคีย้ วกระเทียม กินสดๆ ก็ได ที่สําคัญหามกินตอนทองวาง เพราะฤทธิ์รอนของกระเทียมจะทําใหแสบกระเพาะได ขึน้ ฉาย วิธีการนําขึ้นฉายมารักษานั้นใหเลือกตนสดๆ มาตํา คั้นเอาแตน้ําดื่ม หรือใชตนสด 1 - 2 กํามือ ตําใหละเอียดตมกับน้ํา แลวกรองเอากากออก ใชรับประทานครั้งละ 1 - 2 ชอนโตะกอนอาหาร หรือกินเปนผักสด ผสมในอาหารก็ได ใชกาฝากของตนมะมวง นํามาตากแหงตมน้าํ ดืม่ ตางน้าํ ชาหรือตากแหงคัว่ แลวชงดืม่ วิธกี ารทํา เอาน้ําใสหมอตมใสกาฝากมะมวงที่ตากแหงแลวลงไปตมใหเดือดและเคี่ยวจนกวาน้ําของกาฝากจะออกมาเปนสี น้ําตาลออนๆ ก็สามารถนํามาดื่มเปนน้ําชา หรือดื่มแทนน้ําไดตลอดเวลาที่หิวน้ํา ใชสว นของกลีบเลีย้ ง ทีแ่ หง ตมน้าํ หรือชงน้าํ รอนดืม่ เปนชากระเจีย๊ บ นอกจากจะชวยลดอาการ ความดันโลหิตสูงแลวยังชวยลดคอเลสเตอรอล แกนิ่ว และลดไขไดอีกดวย ใชตนสดจํานวน 1 - 2 กํามือ มาตมกับน้ําดื่ม แลวดื่มเปนประจําก็จะสามารถลดอาการความ ดันโลหิตสูงได นอกจากนี้แลวสมุนไพรอื่นๆ ที่มักเปนสวนผสมอยูในอาหารที่เรารับประทานอยูทุกวัน ก็สามารถชวยลดความดันโลหิตสูงได 14


ครัวสุขภาพ

“แกงเลียงสุขภาพ” สําหรับผูท มี่ ปี ญ  หาสุขภาพ อยางไขมันในเลือดสูง ความดันเลือดสูง และ โรคหัวใจ ควรหลีกเลีย่ งอาหารประเภทผัดๆ ทอดๆ ไข เนย นม และกะทิ ซึง่ อาหาร ที่ดีที่สุดดูเหมือนจะเปนบรรดาอาหารไทยๆ อยางแกงสม, ตมยํา, น้ําพริก และ แกงเลียง เชน เมนู “แกงเลียงสุขภาพ” ซึ่งสามารถทําเองไดงายๆ เครือ่ งปรุงนํา พริกแกงเลียง ประกอบดวย พริกไทย, หอมแดง, กระชาย (หัน่ ชิ้นเล็กๆ), กุงแหงปน โดยนําสวนผสมทั้งหมดมาตํารวมกันใหละเอียด สวนเครือ่ งปรุงอืน่ ๆ ประกอบไปดวย น้ําซุปผัก, ซีอิ๊วขาวปรุงรส, กระชายหั่น ฝอย, ใบแมงลัก และผักชนิดตางๆ เชน ฟกทอง, บวบเหลีย่ ม, น้าํ เตา, ขาวโพดออน และตําลึง โดยผักทีไ่ มมเี ปลือก ใหเด็ดหรือหัน่ เปนชิน้ ใหญๆ สวนผักทีม่ เี ปลือกให ปอกเปลือกออกและเอาเมล็ดออกกอน แลวหั่นเปนชิ้นใหญๆ แตถาเปนฝกออน เชน น้ําเตา หรือบวบไมตองเอาเมล็ดออก วิธที าํ คือใหละลายเครื่องแกงที่ตําไวกับน้ําซุปผัก คนใหละลายแลวจึงตั้งไฟใหเดือด จากนั้นใสผักที่สุกยาก ลงกอนสัก 2 - 3 นาที จึงใสผักที่สุกงายตามลําดับ แลวปรุงรสดวยซีอิ๊วขาว สุดทายใสกระชายหั่นฝอย และใบแมงลัก ปดฝายกลงจากเตาพรอมจะเสิรฟได

สวยหลอเลือกได

สวยดวยมะนาว ขึ้นชื่อวามะนาว ที่มีเอกลักษณเฉพาะตัวในความเปรี้ยวจี๊ดจาดแลว มะนาวยังมี ประโยชนตอ สุขภาพหลายอยาง น้าํ มะนาวชวยรักษาอาการไอและขับเสมหะ มีวติ ามินซีสงู ทีช่ ว ยรักษาโรคเลือดออกตามไรฟน มะนาวยังมีสรรพคุณชวยขจัดสารพิษ ขจัดเสมหะ และ แกไอไดดี สวนในทางความงาม มะนาวอุดมดวยกรดผลไมที่จะชวยขจัดเซลลผิวที่ตายแลว อยางออนโยน ลอกเซลลผิวที่ตายแลวและลดเลือนจุดดางดํา ผามะนาวครึ่งซีกผสมกับน้ําตาล ทราย ½ ชอนชา แลวขัดผิวอยางเบามือสองสามนาที ทําอยางนอยสัปดาหละครั้งจน กระทั่งรอยดําจางลง คอนดิชนั เนอรสาํ หรับผม ผสมน้าํ มะนาวหนึง่ ลูกกับน้าํ อุน หนึง่ ถวย และชโลมลงบนเสนผมปลอยทิง้ ไว 2 - 3 นาที แลวลางออก มันจะเพิ่มความเงางามและทําใหเสนผมสปริงตัวดี รังแค ผสมน้ํามะนาวสดสองถึงสามชอนโตะ กับน้ํามันมะกอกอุนๆ แลวนวดลงบนหนังศีรษะ ปลอยทิ้งไว 15 นาที แลวสระผมตามปกติ

Á¡ÃÒ¤Á 2555

15


สาสนปใหม ปพุทธศักราช ๒๕๕๕

ในโอกาสวั น ขึ้ น ป ใ หม ป พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๕ นี้ กระผมขอ สงความปรารถนาดีมายังทุกทาน และขอขอบคุณเครือขายงานควบคุมโรค ไมติดตอ (NCD Network) ทุกทาน ที่ใหความรวมมือในการปฏิบัติงาน ในรอบป ที่ ผ า นมาเป น อย า งดี และหวั ง เป น อย า งยิ่ ง ว า เราจะเป น เครื อ ข า ยการทํ า งานที่ ดี มีความเขมแข็ง และยั่งยืนตลอดไป สุดทายนี้ ขออํานาจสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ งั้ หลายในสากลโลก พระสยามเทวาธิราช พระพุทธอังคีรส พระบุญญาบารมีแหงองคพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว สมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ

ไดโปรดดลบันดาล พระราชทาน ประทานพรใหทุกทานพรอมครอบครัว ประสบแตความสุข ความเจริญ

ความสําเร็จดวยจตุรพิธพรชัย และสัมฤทธิ์ผลในสิ่งอันพึงปรารถนาทุกประการ อีกทั้งมีทรัพยสิน เงินทองเพิ่มพูนมั่นคง สุขภาพพลานามัยสมบูรณ แข็งแรง มีกําลังกาย กําลังใจ กําลังสติปญญา ที่จะประกอบกิจการนอยใหญสัมฤทธิ์ผล ปราศจากภัยทั้งหลายทั้งปวง โดยทั่วกัน

(ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ) ประธานคณะกรรมการกํากับดูแล แผนงานเครือขายควบคุมโรคไมติดตอ

กรุณาสง

ผูสง

ผนึกอากรแสตมป

แผนงานเครือขายควบคุมโรคไมติดตอ A multi - sectoral network for non - communicable diseases control (NCD network) สํานักพัฒนานโยบายสุขภาพระหวางประเทศ อาคารคลังพัสดุ ชั้น 3 ถนนสาธารณสุข 6 กระทรวงสาธารณสุข ถ.ติวานนท อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.