โครงการออกแบบพัฒนาสินค้าและบรรจุภัณฑ์ น้าตาลมะพร้าวน้าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี
จัดท้าโดยนางสาววิภาดา โทนสูงเนิน รหัสนักศึกษา 5211311237 สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม
โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )
โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจ เชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัด กาญจนบุรี
1
Individual Final Project
ค้าน้า รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ARTI3314 ซึ่งในโครงการ ออกแบบพัฒนาสินค้าและบรรจุภัณฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้้าตาลมะพร้าวน้้าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี จัดท้าขึ้นเพื่อพัฒนาสินค้าทั้งตัวผลิตภัณฑ์และกราฟิกบนบรรจุภณ ั ฑ์ เพื่อเป็นการศึกษาในการเรียนออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ARTI3314 โดยโครงการนี้จะออกแบบผลงานให้สามารถใช้งานได้จริงและตามความต้องการของ ผู้ประกอบการ โดยการศึกษาในครั้งนี้ใช้หลักการด้าเนินงาน 3ส.คือ ส.1 สืบค้นส.2 สมมติฐาน ส.3 สรุปผลการออกแบบจัดท้าขึ้น ส่วนรายงานนี้ ผู้ศึกษาได้ตั้งใจเรียบเรียงข้อมูลที่ได้ศึกษามาอธิบายขั้นตอนการท้าไว้ในเล่มนี้หาก มีข้อผิดพลาดประการได้ ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย
ภาพที่1 : ผลิตภัณฑ์น้าตาลมะพร้าวน้้าหอมแท้ 100% ไผ่ริมแคว จังหวัดกาญจนบุรี OTOP ที่มาของรูปนางสาวจารุรตั น์ น่าเยี่ยม -จากกากศึกษาผลิตภัณฑ์น้าตาลมะพร้าวไผ่ริมแคว พบว่าภาพลักษณ์ขาดความสวยงาม ซึ่งเป็นตัวดึงดูด ความน่าสนใจของผู้บริโภค เมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์น้าตาลมะพร้าวยี่ห้ออืน่ ๆ อีกทั้งการน้าไปใช้ประโยชน์ ด้วยความที่เป็นน้้าตาลปึก มีความแข็งของตัวน้้าตาล จึงยากต่อการใช้สอยและเก็บถนอม ซึ่งเป็นจุดอ่อนที่ ผลิตภัณฑ์น้าตาลมะพร้าวควรจะให้ความส้าคัญในจุดนี้ ประวัติความเป็นมาของกลุ่ม เตาน้้าตาลไผ่ริมแควเริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่29ธันวาคม2550โดยมีจุดประสงค์ของการก่อตั้งเริ่มจาก “การ พลิกวิกฤตให้ เป็นโอกาส” ของคุณพรเลิศ เลี่ยนเครือ(คุณแดง)ซึ่งขณะนั้นคุณแดงได้ท้าไร่ผลไม้ เช่น ขนุน , ส้มโอ , แก้วมังกร , กระท้อนมะพร้าว และผลไม้อื่นๆอีกมากมาย แต่ขณะนั้นประสบปัญหาเรื่องตลาด ผลไม้ล้นตลาดท้าให้ขายไม่ได้ราคาเท่าที่ควรแต่คณ ุ แดงก็ไม่ได้ละความพยายามเพราะคุณแดงเชื่อเรื่อง ประสบการณ์การท้าไร่ของตัวเองที่ท้ามาเกือบ10ปีคุณแดงคิดอยู่เสมอว่าสักวัน ผลไม้ที่อยู่ในสวนของ ตนเองต้อง
โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )
ส.1สืบค้น บรรจุภัณฑ์โอท๊อป น้้าตาลมะพร้าวน้้าหอม 100% ไผ่ริมแคว
2
โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )
3
ขายได้ราคาและขณะที่ปลูกผลไม้ก็พยายามดูแลสวนผลไม้ของตนเอง ด้วยดีมาตลอดแต่ก็ยัง ประสบปัญหาอยู่ตลอดจนกระทั่งวันหนึ่งน้ามะพร้าวที่สวนไปขายกลุ่มลูกค้ากลับกดราคาต่้ามากจึงมี ความคิดว่ามะพร้าวสามารถผลิตน้้าตาลปี๊บได้เหมือนกับเองต้องขายได้ราคาและขณะที่ปลูกผลไม้ก็ พยายามดูแลสวนผลไม้ของตนเองด้วยดีมาตลอดต้นตาลโตนดประกอบกับขณะนั้นลุงของคุณแดงมีอาชีท้า น้้าตาลมะพร้าว ร้าวอยู่ทแี่ ม่กลองซึ่งเป็นแหล่งผลิตน้้าตาลมะพร้าวที่ขึ้นชื่อ ของจังหวัดสมุทรสาครคุณแดง ก็เลยขอค้าปรึกษาจากลุงโดยตรงว่ามะพร้าวที่ปลูกในจังหวัดกาญจนบุรีสามารถท้าน้้าตาลหรือไม่?ก็เลย เชิญลุงที่มีประสบการณ์ได้มาดูที่สวนของคุณแดงและได้ลองท้าน้้าตาลดูปรากฎว่าท้าน้้าตาลปี๊บได้และมี คุณภาพเทียบเท่ากับน้้าตาลจากแม่กลอง เพราะ 1.น้้าตาลใสมีกลิ่นหอมของมะพร้าวน้้าหอม 2.มะพร้าวมีความมันอยู่ในตัวของมะพร้าวเอง 3.มะพร้าวน้้าหอมมีความหวานเป็นทุนอยู่ในตัวเอง จากนั้นลุงก็แนะน้าให้คุณแดงทดลองน้าน้้าตาลใสที่ได้จากงวงมะพร้าวมาเคี่ยวดูปรากฏว่าสามารถท้าเป็น น้้าตาลปี๊บได้จึงเกิดเป็นน้้าตาลไผ่ริมแควมาจนทุกวันนี้ ซึ่งเป็นเตาน้้าตาลปี๊บแห่งแรกของจังหวัด กาญจนบุรีต่อมาในปีพ.ศ.2551ส้านักงานเกษตร อ้าเภอท่าม่วงได้เข้ามาแนะน้าให้ จดทะเบียนเป็น วิสาหกิจชุมชนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 โดยใช้ชื่อ ว่า “วิสาหกิจชุมชนกลุ่มน้า้ ตาลมะพร้าว 100% ไผ่ริมแคว” มีสมาชิก 7 คน ปัจจุบันกลุ่มมีสมาชิก25คน ด้าเนินกิจกรรแปรรูปผล ผลิตจากน้้าตาลมะพร้าวน้้าหอม ได้แก่ น้้าตาล มะพร้าวน้้าหอมบรรจุปบี๊ , น้้าตาลมะพร้าวน้า้ หอมบรรจุกล่องพลาสติก(น้้าหนัก 1 กิโลกรัม) , น้้าตา มะพร้าวน้้าหอมบรรจุถุงพลาสติก(น้้าหนัก 1 กิโลกรัม) และน้้าตาลสด ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มได้รับการ รับรอง มาตรฐานผลิตภัณฑ์โดยได้รับเครื่องหมาย “มผช.” จากกระทรวงอุตสาหกรรมในปี พ.ศ. 2552 และต่อมาได้รับการคัดสรรให้เป็น สินค้า OTOP ระดับ 4 ดาว ในปี พ.ศ. 2553 จากการตัง้ ใจ ด้าเนินงานและมีการพัฒนาสินค้าอยู่ตลอดท้าให้ปัจจุบันมียอดจ้าหน่ายน้้าตาล เดือนละไม่ต่้ากว่า20ตัน และได้มีการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกต้นมะพร้าวน้้าหอมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนขณะนี้มีต้นมะพร้าว น้้าหอมอยู่ ทั้งหมด4,200ต้น และได้ท้าการขยายตลาดโดยการลงโฆษณาทาง หนังสือพิมพ์และTV.ต่างๆอย่างต่อ เนืองมาตลอด เพื่อให้น้าตาลมะพร้าวของอ้าเภอท่าม่วง จังหวัด กาญจนบุรี ให้เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค อย่างมากต่อไปในอนาคต การผลิตกลุ่มจะ เน้นการผลิตสินค้าที่ ปลอดสารพิษต่อไปในอนาคต
การด้าเนินกิจกรรมของกลุ่ม กลุ่มด้าเนินกิจกรรมแปรรูปผลผลิตจากน้้าตาลมะพร้าน้า้ หอมได้แก่ 1.น้้าตาลมะพร้าวน้้าหอมบรรจุปี๊บ 2.น้้าตาลมะพร้าวน้้าหอมบรรจุกล่องพาสติก(น้้าหนัก1กิโลกรัม) 4.น้้าตาลสด การตลาดแหล่งจ้าหน่าย 1.ร้านขายของฝาก 2.ห้าสรรพสินค้า 3.ร้านค้าทั่วไป หน่วยงานสนับสนุน 1.องค์การบริหารส่วนต้าบลทุ่งทอง 2.ส้านักงานเกษตรอ้าเภอท่าม่วง 3.ส้านักงานพัฒนาชุมชนอ้าเภอท่าม่วง ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.doae.go.th/files/sugarcoconut.pdf
โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )
3.น้้าตาลมะพร้าวน้้าหอมบรรจุถุงพาสติก(น้้าหนัก1กิโลกรัม)
4
โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )
ขันตอนในการท้าน้าตาลมะพร้าวน้าาหอม100%ของเตาน้าตาลไผ่ริมแคว
5
ภาพที่ 2ขั้นตอนวิธีการท้าน้้าตาลมะพร้าว ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.doae.go. th/files/sugarcoconut.pdf 1.เริ่มจากการเลือกงวงมะพร้าวที่อยู่ต้น มะพร้าวต้องเป็นงวงมะพร้าวที่สมบูรณ์ที่สดุ เพื่อที่จะน้ามาท้าน้้าตาล
ภาพที่ 3ขั้นตอนวิธีการท้าน้้าตาลมะพร้าว ใสก่อนอันดับแรก ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.doae.g o.th/files/sugarcoconut.pdf 2.ท้าการปาดปลายของงวงมะพร้าวที่เราเลือก แล้ว
ภาพที่ 4ขัน้ ตอนวิธีการท้าน้้าตาลมะพร้าว ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.doae.g o.th/files/sugarcoconut.pdf 3.ท้าการโน้มงวงมะพร้าวโดยการใช้เชือกมัด เพื่อที่จะท้าให้งวงมะพร้าวสามารถผลิต น้้าตาลใสไหลออกตามท่อของงวงที่เราโน้มได้ สะดวก
มีดที่มีความคมและไม่เป็นสนิมเพื่อให้ได้ น้้าตาลใสขณะที่ทา้ การปาดงวงมะพร้าวถ้า กรณีมีลูกมะพร้าวเล็กๆติดที่งวงก็ต้องท้าลายทิ้งเพือ่ ไม่ให้ดูดน้้าตาลใสไปเลี้ยงลูกมะพร้าวได้งวมะพร้าวที่ สมบูรณ์และพร้อมที่จะผลิตน้้าตาลใสได้เต็มที่ ภาพที่ 6ขั้นตอนวิธีการท้าน้้าตาลมะพร้าว ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.doae. go.th/files/sugarcoconut.pdf 5.ท้าการมัดหรือตกแต่งงวงมะพร้าวที่เรา ปาดในขั้นตอนที่ 4 เพื่อให้ดูเรียบร้อยใน ขณะเดียวกันต้องสังเกตุ ด้วยว่าพอเราปาด งวง ไปแล้ว น้้าตาลใสหยดจากงวงมะพร้าว หรือไมท้าการตกแต่งงวงมะพร้าวที่เราโน้มและปาดงวงเพื่อในดูสวยงามและให้ดูเรียบร้อย ภาพที่ 7ขั้นตอนวิธีการท้าน้้าตาลมะพร้าว ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.doae. go.th/files/sugarcoconut.pdf 6.น้ากระบอกที่สะอาดๆ ที่เราเตรียมไว้มา รองรับน้้าตาลใสที่หยดออกมาจากงวงที่เรา
โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )
ภาพที่ 5ขั้นตอนวิธีการท้าน้้าตาลมะพร้าว ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.doae. go.th/files/sugarcoconut.pdf 4.จากนั้นก็ทา้ การปาดงวงมะพร้าวโดดใช้
6
โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )
7
ภาพที่ 8ขั้นตอนวิธีการท้าน้้าตาล มะพร้าว ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.d oae.go.th/files/sugarcoconut.pdf 7.พอได้น้าตาลใสเราก็นา้ น้้าตาลใสมา กรองเศษขยะออกโดยใช้ผ้าขาวบาง กรองจากนั้นก็น้าน้้าตาลใสที่เรากรอง แล้วมาเคี่ยวไฟที่มีอุณหภูมิที่ร้อนจัดในขณะก่อนเคี่ยวต้องเติมส่วนผสมน้า้ ตาลทรายลงไปด้วยเคี่ยวที่ อุณหภูมิที่ร้อนจัด ภาพที่ 9ขั้นตอนวิธีการท้าน้้าตาล มะพร้าว ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.d oae.go.th/files/sugarcoconut.pdf 8.เมื่อเคี่ยวจนได้ที่แล้วจากนั้นก็น้า น้้าตาลที่ได้จากการเคี่ยวน้ามากรอง เศษผงอีกรอบแล้วน้าเข้าเครื่องปั่นจน กระทั้งเป็นเนี้อเดียวกันแล้ว ภาพที่ 10ขั้นตอนวิธีการท้าน้้าตาล มะพร้าว ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.d oae.go.th/files/sugarcoconut.pdf 9.ขั้นตอนต่อไปก็น้าน้้าตาลที่ปั่นแล้วมา หยอดใสภาชนะตามที่เราต้องการเช่น ถ้วยหรือภาชนะ
การศึกษาสินค้าชนิดเดี่ยวกันตามท้องตลาด ภาพที่ 12 ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน การศึกษาสินค้าชนิดเดี่ยวกันตาม ท้องตลาด
4w2h what : น้าตาลที่มาจากมะพร้าวน้าหอม 100% where:เลขที่ 55 หมู่ที่ 3 ถนน ตาบลทุ่งทอง อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
when : น้้าตาลปี๊บแห่งแรกของจังหวัดกาญจนบุรีต่อมาในปีพ.ศ.2551ส้านักงานเกษตร อ้าเภอท่าม่วงได้ เข้ามาแนะน้าให้ จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.
โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )
ภาพที่ 11ขั้นตอนวิธีการท้าน้้าตาลมะพร้าว ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.doae.go .th/files/sugarcoconut.pdf 10.ขั้นตอนสุดท้ายปล่อยให้น้าตาลเย็นแล้วท้า การใส่ถุงหรือบรรจุภัณฑ์ที่สวยงามแล้วน้าออก จ้าหน่วย ข้อมูลรายละเอียดสินค้าของเตาน้้าตาลมะพร้าวน้า้ หอมไผ่ริมแดง ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.doae.go.th/home.html ดาวน์โหลด:http://thamuang.kanchanaburi.doae.go.th/files/sugarcoconut.pdf
8
โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )
9
2548 โดยใช้ชื่อ ว่า “วิสาหกิจชุมชนกลุ่มน้้าตาลมะพร้าว 100% ไผ่ริมแคว” who :คุณพรเลิศ เลี่ยนเครือ(คุณแดง) และ เจ๊หนู how muct :น้้าตาลมะพร้าวน้้าหอมบรรจุกล่องพลาสติก(น้้าหนัก 1 กิโลกรัม) , น้้าตามะพร้าว น้้าหอมบรรจุถุงพลาสติก(น้ําหนัก 1 กิโลกรัม) และน้้าตาลสด มีการพัฒนาสินค้าอยู่ตลอดท้าให้ปัจจุบันมี ยอดจ้าหน่าย ําตาล น้ เดือนละไม่ต่้ากว่า20ตันและได้มีการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกต้นมะพร้าวน้ําหอม เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนขณะนี้มีต้นมะพร้าว น้า้ หอมอยู่ทั้งหมด4,200ต้น
how to:เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29ธันวาคม 2550 โดยมีจุดประสงค์ของการก่อตั้งเริ่มจาก “การพลิก วิกฤตให้ เป็นโอกาส” ของคุณพรเลิศ เลี่ยนเครือ(คุณแดง)ซึ่งขณะนั้นคุณแดงได้ท้าไร่ผลไม้ เช่น ขนุน , ส้มโอ , แก้วมังกร , กระท้อนมะพร้าว และผลไม้อื่นๆอีกมากมาย แต่ขณะนั้นประสบปัญหาเรื่องตลาดผลไม้ล้นตลาดท้าให้ขายไม่ได้ราคาเท่าที่ควรแต่คุณแดงก็ไม่ได้ละ ความพยายามเพราะคุณแดงเชื่อเรื่องประสบการณ์การท้าไร่ของตัวเองทีท่ ้ามาเกือบ10ปี ลุงก็แนะน้าให้ คุณแดงทดลองน้าน้า้ ตาลใสที่ได้จากงวงมะพร้าวมาเคี่ยวดูปรากฏว่าสามารถท้าเป็นน้้าตาลปี๊บได้ จึงเกิด เป็นน้้าตาลไผ่ริมแควมาจนทุกวันนี้ ซึ่งเป็นเตาน้้าตาลปี๊บแห่งแรกของจังหวัดกาญจนบุรีต่อมาในปีพ.ศ. 2551ส้านักงานเกษตร อ้าเภอท่าม่วงได้เข้ามาแนะน้าให้ จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชนตาม พระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 โดยใช้ชื่อ ว่า “วิสาหกิจชุมชนกลุ่มน้้าตาลมะพร้าว 100% ไผ่ริมแคว” มีสมาชิก 7 คน ปัจจุบันกลุ่มมีสมาชิก25คน
ภาพแสดงโครงสร้าง และส่วนประกอบทางกราฟิกของผลิตภัณฑ์สินค้าน้้าตาลมะพร้าวน้้าหอม 100% ตราไผ่ริมแคว ที่มา : จารุรตั น์ น่าเยี่ยม ,2555 URL .https://docs.google.com/open?id=0BzCnHDsssG7VZ29PWEczRFVxUG8 เข้าถึงเมื่อ 18 กรกฎาคม 2555 ผลการวิเคราะห์ ก.โครงสร้างของตัวบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ปัจจุบัน หมายเลข 1 คือ กล่องพลาสติก 1.1 กล่องพลาสติก ชนิด P.P. Polypropylene 1.2 ขนาด มิติ ความกว้าง 11 ซม / ยาว 18 ซม / หนา 6 ซม 1.3 รูปแบบกล่องพลาสติกสี่เหลี่ยม มีฝาปิด 1.4 ราคา 35 บาท หมายเลข 2 คือ (ในกล่อง)ตัวผลิตภัณฑ์ น้้าตาลมะพร้าวน้้าหอม 100% หมายเลข 3 คือ ฝาปิดของกล่องพลาสติก ข.กราฟิกที่ปรากฏบนตัวบรรจุภัณฑ์ทใี่ ช้ปัจจุบัน หมายเลข 4 คือ ภาพประกอบรูปมะพร้าวน้า้ หอม หมายเลข 5 คือ ชื่อสินค้าน้้าตาลมะพร้าวน้า้ หอม 100% หมายเลข 6 คือ LOGO บริษัทผู้ผลิต = ไผ่ริมแคว หมายเลข 7 คือ ภาพประกอบรูปต้นมะพร้าว
โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )
การวิเคราะห์ข้อมูลผลิตภัณฑ์ด้วยการมอง (Product Visual analysis) ชื่อผลิตภัณฑ์ น้าตาลมะพร้าวน้าหอม 100% ตราไผ่ริมแคว
10
โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )
หมายเลข 8 คือ ข้อความประกอบและเบอร์โทรติดต่อของผู้ผลิต หมายเลข 9 คือ LOGO ผู้ผลิต หมายเลข 10คือ ภาพประกอบ หมายเลข 11 คือ ข้อมูลผู้ผลิต หมายเลข 12 คือ เครื่องหมาย มอก (มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม)
11
ได้ไปพบผู้ประกอบการท้าให้รู้ความต้องการของผูป้ ระกอบการและยังได้เห็นปัญหาของการขาย ผลิตภัณฑ์
ข้อเสียของบรรจุภัณฑ์เดิมคือ 1.จุดบอดทางการมองเห็น-การสือ่ สาร ได้แก่ 1.1. ตัวฉลากสินค้ามีขนาดเล็ก และไม่ดึงดูดสายตา 1.2. ภาพประกอบบนฉลากสินค้าไม่ชดั เจน ท้าให้เข้าใจได้ยาก 2. ข้อเสียโดยภาพรวมของผลิตภัณฑ์ ได้แก่ 2.1. ผลิตภัณฑ์ขาดความสวยงามซึ่งเป็นตัวดึงดูดความสนใจของผู้บริโภค 2.2. ตัวผลิตภัณฑ์มคี วามยากต่อการน้าไปใช้สอย เพราะมีลกั ษณะเป็นก้อนแข็ง
การออกแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่ 1.
ชื่อผลิตภัณฑ์ เปลี่ยนจากชื่อเดิม คือ ไผ่ริมแคว เป็น ตาลริมแคว โดยมีแนวคิดจากจุดทีว่ ่า ชือ่ ไผ่ริมแคว เป็นชื่อ ร้านอาหารของเพื่อน จึงปรับเปลี่ยนเล็กน้อย ให้ดูมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน โดยเปลี่ยนแค่ค้าว่าไผ่ เป็น ค้าว่าตาล ซึ่งบ่งบอกถึงว่าผลิตภัณฑ์นี้ คือน้้าตาลนั่นเอง
2.
ตราสัญลักษณ์ มีการดัดแปลงจากรูปแบบเดิม คือจากรูปแบบเดิมมีการใช้รูปภาพต้นมะพร้าวประกอบ ด้านข้าง แต่ปัญหาคือ รูปภาพไม่ชัด ท้าให้เข้าใจยาก จึงได้สร้างเป็น ลายกราฟิก รูปใบ มะพร้าวขึน้ มา เพื่อยังคงความเป็นตัวบ่งบอกว่าสินค้านี้ ผลิตมาจากส่วนหนึ่งของต้นมะ พร้าวเอาไว้ และยังคงข้อความ หลักๆไว้ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นค้าว่า น้้าตาลมะพร้าวน้้าหอม 100% ยืนยันถึงคุณภาพ ของสินค้า และเจ้า แรกของจังหวัดกาญจนะบุรี ซึ่งบ่งบอกถึงความ เป็นผู้น้าของผลิตภัณฑ์ชิ้นนี้ ในจังหวัด เพิ่มด้วยสโลแกน
โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )
ส2. สมมติฐาน
12
โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )
13
การทดลองท้าน้าตาลมะพร้าวแปรรูป ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน น้าน้้าตาลมะพร้าวที่มีอยูต่ ามท้องตลาดมาหั่นให้บาง ลง
ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน หั่นเสร็จแล้วน้าใส่หม้อแล้วตั้งไฟอ่อนๆ
ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน น้้าตาลเริ่มอ่อนตัวลงเป็นของเหลวบางส่วน
ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน แบบแม่พิมพ์ที่ต้องการน้ามาเปรี่ยน รูปแบบ
ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูง เนิน น้าน้้าตาลที่เป็นของเหลวแล้วมาใส่ใน แม่แบบที่เราเตรียมไว้
โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )
ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน น้้าตาลเป็นของเหลว ทั้งหมดแล้วเตรียมใส่แม่พิม
14
โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )
ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน เมื่อน้้าตาลแข็งตัวก็สามารสน้าออกจาก แม่แบบได้
15
ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน น้าน้้าตาลมาเทใส่จาน
ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน แล้วน้าแม่พิมพ์ที่เตรียมมากดลงไปที่น้าตาลที่ ยังไม่แข็งตัว ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน
ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูง เนิน รูปแบบกล่อง
โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )
ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน รูปน้้าที่แปรรูปแล้ว
16
โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )
ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน แบบจ้าลอง
17
ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน แบบจ้าลอง
ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน แบบจ้าลอง
ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน แบบจ้าลอง
โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )
ส.3 สรุป น้้าตาลทีท่ ้าออกมาสรุปแล้วมี2แบบทีม่ ีการพัฒนา แบบที่1เป็นน้้าตาลแบบก้อนที่น้ามาขึ้นรูป แล้วน้าไปใส่ไว่ในกล่องทีเ่ ตรียมไว้ ตามแบบในรูป
18
โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )
19
แบบที่2. เป็นน้้าตาลมะพร้าวที่น้าไปป่นให้ละเอียด แล้น้ามาใส่ซองที่เตรียมไว้ซึ่งในหนึ่งซองมีขนาดเท่า กับสองซอนชา
และนี้คือกล่องที่ใส่ซองน้้าตาลอีกทีเพื่อเวลาขนส่งจะได้มีการขนส่งได้ในจ้านวนที่มีขึ้น
20
โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )