รายงานการฝึกงาน บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
โดย นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน ศศ.บ.(4)/13A 5211311237
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สาขาวิชาศิลปกรรม ออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม พ.ศ. 2555
คานา
การเขียนรายงานถือ เป็ นกิ จ กรรมบัง คั บของการฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ของนัก ศึ ก ษา สาขาวิชาศิลปกรรม ออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ จันทรเกษม มีวั ตถุประสงค์เพื่ อฝึก ฝนทัก ษะการสื่อ สารของนักศึก ษา และเพื่อจั ดทาข้อมูล ที่เป็น ประโยชน์สาหรับสถานประกอบการนักศึกษาจะต้องขอรับคาปรึกษาจากพนักงานที่ปรึกษา เพื่อกา หนดหัวข้อรายงานที่เหมาะสมโดยคานึงถึงความต้องการของสถานประกอบการเป็นหลัก ตัวอย่างของ รายงานการฝึกงานวิชาชีพได้แก่ ผลงานออกแบบที่นักศึกษาปฏิบัติ รายงานวิชาการในหัวข้อที่สนใจ การสรุปข้อมูลหรือสถิติบางประการและการวิเคราะห์และประเมินผลงาน เป็นต้น
นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน
หัวข้อภาคนิพนธ์
บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ผู้ศึกษา
นางสาว วิภาดา โทนสูงเนิน
สาขาวิชา
ศิลปกรรม(ออกแบบนิเทศศิลป์)
อาจารย์นิเทศก์ตรวจสอบภาคนิพนธ์
อาจารย์ธีระชัย สุขสวัสดิ์
บทคัดย่อ
บริษัทได้เริ่มกิจการผลิตกระเป๋าอลูมิเนียม ในปี พ.ศ. 2532 โดยคุณนคินทร์ โศภิษฐ์เวศ สกุลเป็นผู้เริ่มก่อตั้ง เริ่มแรกบริษัทได้ผลิตกระเป๋าอลูมิเนียมสาหรับใส่อุปกรณ์ถ่ายรูปและกล้อง ในปี ถัดมา คุณนคินทร์ได้สังเกตเห็นการใช้กระเป๋าอลูมิเนียมในต่างประเทศ ส่วนใหญ่ใช้สาหรับสินค้า หนักซึ่งต้องการความปลอดภัยสูง บริษัทได้คานึงถึงความต้องการของตลาดจึงพัฒนากระเป๋า อลูมิเนียมสาหรับสินค้าที่มีราคาแพงเหมาะสาหรับความต้องการการปกป้องสิ่งของที่บรรจุภายในและ สะดวกสบายในการเคลือ่ นย้าย บริษัทจึงได้นาเสนอกระเป๋าอลูมิเนียมสาหรับโปรเจ็คเตอร์ให้ บริษัทผู้ผลิตสินค้าชั้นนา เช่น พานาโซนิค ฮิตาชิ โตชิบา และอีกหลายยี่ห้อ ซึ่งได้รับการตอบรับ อย่างดี ปีถัดมา บริษัทได้ขยายสายการผลิตเพิ่มอันได้แก่ กระเป๋าเจมส์บอนด์ กระเป๋า เครื่องสาอางค์ กระเป๋าสาหรับใส่ปืน เป็นต้น
สารบัญ เรื่อง คานา กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ สารบัญ บทที่ 1 บทนา 1. วัตถุประสงค์ของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพศิลปกรรม 1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.3 วิธีการดาเนินการศึกษา 1.4 ขอบเขตการศึกษา 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 การจัดการภายในองค์กร 1. ประวัติองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย 1.2 วัตถุประสงค์ 2. วิสัยทัศน์ 3. สร้างความไว้วางใจและความน่าเชื่อถือ 4. แผนที่ตั้ง
หน้า
1 1 1 2 2 3 4 4 5 5 5 6
บทที่ 3 การปฏิบัติงาน 7 1. ถาพรวมภายในบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด 7 2. ภาระงานที่ได้รับมอบหมาย 7 2.1 งานที่ได้รับมอบหมายทั้งหมดระหว่างการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 8 3. รายละเอียดและขั้นตอนการทางานที่ได้รับมอบหมาย 8 3.1 รีทัชถาพสินค้า 8-31 3.2 ดราฟโลโก้ 3.3 ดราฟนักลบ 3.4 ทาบล็อกสกริน 3.5 สกรีนซองจดหมาย
32 33 34 35
3.6 ออกแบบสินค้าที่จะใส่ในเว็ปไซต์ บทที่ 4 ผลที่ได้รับจากการฝึกงาน 1. ประโยชน์จากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 2. สิ่งที่ผู้ฝึกได้รับจากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 3. สิ่งที่สถานประกอบการได้รับ 4. ผลงานสรุปตัวงานสุดท้าย 4.1 สเก็ตรูปแบบงานคราวๆก่อน พร้อมโลโก้ 4.2 ภาพรายละเอียดผลงานและสถานที่ที่ถูกนาไปติดตั้งใช้งานจริง บทที่ 5 สรุปผลการฝึกงาน 1. ผลลัพธ์โดยภาพรวมของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 2. สถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 3. ระยะเวลาในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 4.หน้าที่ที่ได้รับหมอบหมาย 5. ปัญหาที่ได้จากการศึกษา 6. แนวทางแก้ไขปัญหา 7. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 8. การตอบรับจากที่ฝึกงาน 9. ความรู้สึกที่มีต่อที่ฝึกงาน บรรณานุกรม
36-37 38 38 38 39 39 40 40-46 47 47 48 48 48 48 48 49 49 49
บทที่ 1 บทนา 1. วัตถุประสงค์ของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพศิลปกรรม การฝึกประสบการณ์วิชาชีพเป็นกระบวนการการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่กระทา ร่วมกับมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการทั้งของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อให้นักศึกษา ได้ความรู้ที่ จาเป็นต่อการประกอบอาชีพ ทาให้ได้ ประสบการณ์โดยตรงจากการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพและเรียนรู้การทางานจริง และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ เป็นการเรียนรู้ก ารเพิ่มทักษะและ ประสบการณ์ในการทางานที่มีประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพของนักศึกษา ซึ่งเป็นการนาเอาความรู้ ความเข้าใจที่ได้จากการศึกษานามาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานและการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจริง ซึ่ง เป็นการเรี ยนรู้ สถานการณ์ และสภาพความเป็ นจริ ง ในการท างานของสถานประกอบการ และ ประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผลต่อสังคมได้เป็นอย่างดี ปัจจุบันงานกราฟฟิคได้มีการนามาใช้งานอย่างกว้างขวางเราตามสื่อสิ่งพิมพ์หรือโฆษณาต่างๆ ซึ่งอาจจะกล่าวได้ว่า งานกราฟฟิคได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจาวัน และกลายเป็นส่วนหนึ่งที่ สาคัญในการผลิตงานในหลายๆด้าน จึงได้นาความรู้ที่ได้จากการเรียนมาใช้ในการฝึกวิชาชี พเพื่อให้ เกิดการเรียนรู้ที่จะนาเอาความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในการฝึกปฏิบัติงานจริง และยังช่วยให้ได้รั บความรู้ และมีประสบการณ์ในการทางานและมีการเตรียมตัวในการทางานจริงในอนาคต สาหรับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ณ บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด ครั้งนี้ เพื่อเป็น การนาความรู้ความสามารถที่นักศึกษาได้เรียนมาในชั้นเรียนด้านต่าง ๆ มาประยุกต์ปรับใช้ในการฝึก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ซึ่ ง นั ก ศึ ก ษาจะต้ อ งน าความรู้ จ ากภายในและภายนอกชั้ น เรี ย นมาใช้ ใ น สถานการณ์การทางานจริงซึ่งเพื่อหาประสบการณ์ใหม่ๆในสถานที่ฝึกประสบการณ์ครั้งนี้ เป็นการฝึก ให้ นั ก ศึ ก ษาเกิ ด กระบวนการเรี ย นรู้ ใ นสิ่ ง ต่ า ง ๆ ที่ น อกเหนื อ จากการเรี ย นในชั้ น เรี ย น ท า ให้ มี ประสบการณ์และนาประสบการณ์ที่ได้รับมาเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต 1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1.2.1 เพื่ อ ให้มีค วามรู้ ความเข้า ใจในลั ก ษณะงานของหน่ว ยงานต่ า ง ๆ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ วิชาการสาขา วิชาชีพของตน 1.2.2 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในสาขาวิชาของตนให้กว้างขวาง ยิ่งขึ้น
1.2.3 เพื่อให้มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์พอที่จะประกอบอาชีพ หรือสร้างงาน ให้กับตนเองในอนาคต 1.2.4 เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายให้เกิดผลงานอย่างมีประสิทธิภาพ 1.2.5 เพื่อให้แก้ไขสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงระหว่างการปฏิบัติงานได้ 1.2.6 เพื่อให้มีความรับผิดชอบในหน้าที่การงานที่ได้รับมอบหมาย 1.3 วิธีการดาเนินการศึกษา 1.3.1 หาสถานที่ ฝึก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ด้ ว ยตนเองและด าเนิน การติ ด ต่ อ หน่ว ยงานที่ เหมาะสมในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1.3.2 เข้า ไปติด ต่ อ กับหัวหน้า หน่ว ยงานก่ อนล่ วงหน้าหากหน่ว ยงานรับนัก ศึก ษาเข้า ฝึ ก ประสบการณ์วิชาชีพ ต้องรีบแจ้งมาทางมหาวิทยาลัยรับทราบและพิจารณา 1.3.3 รับหนังสือส่งตัว แล้วนาไปเสนอต่อหัวหน้าหน่วยงานที่ได้ติดต่อไว้พร้อมกับ หนังสือ ตอบรับจากหน่วยงาน เพื่อนามาส่งให้แก่ทางมหาวิทยาลัย 1.3.4 เข้ารายงานตัวต่อหน่วยงานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1.3.5 เข้ารับการปฐมนิเทศ ก่อนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1.3.6 เริ่มเข้าฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2556 จนถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2556 ระยะเวลาในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1 มีนาคม 2556 จนถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2556 สถานประกอบการ บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด 66/1 ถนนเทพารักษ์ ตาบลบางพลีใหญ่ อาเภอบาง พลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 โทรศัพท์ : 0 2750 5221, โทรสาร : 0 2750 5222 www.metalliccase.com
1.4 ขอบเขตการศึกษา 1.4.1 ศึกษากระบวนการทางานของฝ่ายกราฟฟิค 1.4.2 ศึกษาเรื่องการแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติงาน 1.4.3 ฝึกทักษะการทางานร่วมกับผู้อื่น
1.4.4 ฝึกทักษะการทางาน การตรงต่อเวลา ความซื่อสัตย์ ความขยัน ความอดทน และความ รับผิดชอบต่อหน้าที่ 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.5.1 ได้เรียนรู้ระบบการทางานของหน่วยงาน 1.5.2 ได้เรียนรู้ทักษะในการออกแบบกราฟฟิค 1.5.3 ได้นาความรู้จากการเรียนไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ 1.5.4 ได้เรียนรู้การทางานร่วมกับบุคคลอื่น การเข้าสังคม และการวางตัวในสังคม 1.5.5 สามารถนาความรู้ที่ได้รับจากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพไปปรับปรุงแก้ไข หรือนาไป ปรับใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.5.6 ได้แนวทางการประกอบอาชีพต่อไปในอนาคต
บทที่ 2 การจัดการภายในองค์กร
1. ประวัติบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด บริษัทได้เริ่มกิจการผลิตกระเป๋าอลูมิเนียม ในปี พ.ศ. 2532 โดยคุณนคินทร์ โศภิษฐ์เวศ สกุลเป็นผู้เริ่มก่อตั้ง เริ่มแรกบริษัทได้ผลิตกระเป๋าอลูมิเนียมสาหรับใส่อุปกรณ์ถ่ายรูปและกล้อง ในปี ถัดมา คุณนคินทร์ได้สังเกตเห็นการใช้กระเป๋าอลูมิเนียมในต่างประเทศ ส่วนใหญ่ใช้สาหรับสินค้า หนักซึ่งต้องการความปลอดภัยสูง บริษัทได้คานึงถึงความต้องการของตลาดจึงพัฒนากระเป๋า อลูมิเนียมสาหรับสินค้าที่มีราคาแพงเหมาะสาหรับความต้องการการปกป้องสิ่งของที่บรรจุภายในและ สะดวกสบายในการเคลือ่ นย้าย บริษัทจึงได้นาเสนอกระเป๋าอลูมิเนียมสาหรับโปรเจ็คเตอร์ให้ บริษัทผู้ผลิตสินค้าชั้นนา เช่น พานาโซนิค ฮิตาชิ โตชิบา และอีกหลายยี่ห้อ ซึ่งได้รับการตอบรับ อย่างดี ปีถัดมา บริษัทได้ขยายสายการผลิตเพิ่มอันได้แก่ กระเป๋าเจมส์บอนด์ กระเป๋า เครื่องสาอางค์ กระเป๋าสาหรับใส่ปืน เป็นต้น แรกเริ่ม สินค้ามีความยากลาบากต่อการทาตลาด แต่เรามั่นใจในกระเป๋าอลูมิเนียมของเรา ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ดีมีคณ ุ ภาพ โดยบริษัทมีนโยบาย 3 ประการเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้แทน จาหน่าย คือ สินค้าขายไม่ได้ บริษัทจะเปลี่ยนรูปแบบให้ใหม่ทันที ประการที่สอง สินค้าเสียหาย เนื่องจากการจัดวาง บริษัทยินดีเปลี่ยนสินค้าให้ใหม่ ประการที่สาม บริษัทรับประกันสินค้าตลอด การใช้งาน ทาให้ผู้แทนจาหน่ายมีความสบายใจและมั่นใจว่าจะไม่เป็นภาระในการจาหน่าย ปัจจุบัน บริษัทเป็นผู้นาการผลิตกระเป๋าอลูมิเนียมทั้งสินค้าผลิตเพื่อจาหน่ายและสั่ง ผลิต โดยโรงงานมีความสามารถผลิตสินค้าประเภทสั่งผลิตได้รวดเร็วตรงตามความต้องการของลูกค้า ภายในเวลากาหนด บริษัทมีการพัฒนารูปแบบของกระเป๋าอลูมิเนียมได้ตรงความต้องการของลูกค้า ทุกประเภท จึงทาให้ลูกค้าสั่งผลิตมีการแนะนาแบบปากต่อปากทาให้ปัจจุบันบริษัทมีลูกค้ามา กว่า 100 ราย โดยบริษัทมีกาลังการผลิตมากกว่า 5,000 ใบ ต่อเดือน โดยจาหน่ายทั้งในประเทศ และต่างประเทศ เช่น สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน ญี่ปุ่น ลาว อเมริกา อังกฤษ ฮาวาย แอฟริกาใต้ ตะวันออกกลาง ฯลฯ
About us :::: ‘LIGHT BUT STRONG’ and multi-purposed metallic Case, “METALLIC” is one of the world’s best cases made from aluminum with made-to-order inner settings! We, Metallic T.F (1999) Co., Ltd., have been producing the best quality metallic case for more than 10 years in Thailand, as manufacturer, distributor and exporter. Our multi-functional cases are able to serve in any size of items such as PROJECTOR AND VISUALIZER TROLLEY CASE, TOOL BOX, DOCUMENT BRIEFCASE, LUGGAGES FOR TRAVELLING, JEWELRY BOX, GUN CASE, MUSIC INSTRUMENT CASE, SOUND ENGINEER EQUIPMENT CASE, etc. We can make any metallic cases as per your exact request, requirements or customization. With over 100 high skilled workers, we are always ready to meet with your needs no matter how small the order is. SONY, PANASONIC, JVC, HITACHI, PIERRE CARDIN, ALEN DELON etc. are our reference customers who regularly order us to make metallic cases for their high valued products. Contact us now to add value to your product with our “light but strong metallic case” specially designed for you !
1.2 วัตถุประสงค์ ประการที่หนึ่งสินค้าขายไม่ได้ บริษัทจะเปลี่ยนรูปแบบให้ใหม่ทันที ประการที่สอง สินค้า เสียหายเนื่องจากการจัดวาง บริษัทยินดีเปลี่ยนสินค้าให้ใหม่ ประการที่สาม บริษัทรับประกันสินค้า ตลอดการใช้งาน ทาให้ผู้แทนจาหน่ายมีความสบายใจและมั่นใจว่าจะไม่เป็นภาระในการจาหน่าย 2. วิสัยทัศน์ สินค้ามีความยากลาบากต่อการทาตลาด แต่เรามั่นใจในกระเป๋าอลูมิเนียมของเราซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ดี มีคุณภาพ 3. สร้างความไว้วางใจและความน่าเชื่อถือ บริษัทมีการพัฒนารูปแบบของกระเป๋าอลูมิเนียมได้ตรงความต้องการของลูกค้าทุก ประเภท จึงทาให้ลูกค้าสั่งผลิตมีการแนะนาแบบปากต่อปากทาให้ปัจจุบันบริษัทมีลูกค้ามา กว่า 100 ราย โดยบริษัทมีกาลังการผลิตมากกว่า 5,000 ใบ ต่อเดือน โดยจาหน่ายทั้งในประเทศ และต่างประเทศ เช่น สิงคโปร์ มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน ญี่ปุ่น ลาว อเมริกา อังกฤษ ฮาวาย แอฟริกาใต้ ตะวันออกกลาง ฯลฯ
4. แผนที่ตั้ง บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด 66/1 ถนนเทพารักษ์ ตาบลบางพลีใหญ่ อาเภอบาง พลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 โทรศัพท์ : 0 2750 5221, โทรสาร : 0 2750 5222 www.metalliccase.com
รปูท1ี่ แผนที่บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด ที่มา : http://www.metalliccase.com/contactus.asp
บทที่ 3 การปฏิบัติงาน
1. ถาพรวมภายในบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 2 บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด ที่มา : http://www.metalliccase.com/contactus.asp
2. ภาระงานที่ได้รับมอบหมาย ในส่วนหน้าที่ของผู้ฝึกงานที่ได้รับมอบหมายจะอยู่ในส่วน ฝ่ายกราฟฟิค โดยงานที่ผู้ฝึกได้รับ มอบหมาย จะมาจากพี่เลี้ยงและผู้บริหารทางฝ่ายกราฟฟิค โดยทางพี่เลี้ยงจะมอบหมายงานให้ทา และคอยตรวจตราดูแลการทางานออกแบบ และเมื่อวิเคราะห์แล้วว่าผู้ฝึก สามารถทางานที่ได้รับ มอบหมายได้ ตลอดช่วงเวลาการฝึกงาน และจะสอนเทคนิคต่างๆ และปล่อยให้ผู้ฝึกทางานทางานเอง
คอยตรวจทานงานออกแบบอีกครั้งก่อนส่งผลิตชิ้นงาน โดยอาจจะมีการแก้ไขตามวิจารณญาณของ ทางพี่เลี้ยงฝ่ายกราฟิค
2.1 งานที่ได้รับมอบหมายทั้งหมดระหว่างการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ - รีทัชถาพสินค้า - ดราฟโล้โก - ดราฟรูปนักรบ - ทาบล็อกสกริน -สกรินซองจดหมาย - ออกแบบสินค้าที่จะใส่ในเว็ปไซต์ - ออกแบบเว็ปไซต์ 3. รายละเอียดและขั้นตอนการทางานที่ได้รับมอบหมาย 3.1 รีทัชถาพสินค้า - รับใบสั่งงานและภาพสินค้าจากฝ่ายกราฟฟิค - ใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ในการ รีทัชภาพสินค้าของทางบริษัท
รปูที่ 3 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด 2-0032_293 x 420 cm. SONY Z7+Z5
รปูที่ 3.1 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด2-0032_293 x 420 cm. SONY Z7+Z5
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.2 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด 2-0032_293 x 420 cm. SONY Z7+Z5 ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.3 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด 4833-08-5510_8640 OR [แกรนด์ สยาม]
รปูที่ 3.4 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด 4833-08-5510_8640 OR [แกรนด์ สยาม]
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.5 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด 4833-08-5510_8640 OR [แกรนด์ สยาม] ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.6 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด 4869-08-5511_AVIA Board [เอวิเอ แซทคอม] รปูที่ 3.7 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด 4869-08-5511_AVIA Board [เอวิเอ แซทคอม] ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.8 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด 4869-08-5511_AVIA Board [เอวิเอ แซทคอม] ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.9 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด 4871-08-5511_Meatest M-140 [ร็อคเกอร์เทค] รปูที่ 3.10 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด 4871-08-5511_Meatest M-140 [ร็อคเกอร์ เทค]
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.11 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด 4871-08-5511_Meatest M-140 [ร็อคเกอร์เทค] ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.12 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด 4887-08-5511_3D ARM V600 [ทีบีทีเอส]
รปูที่ 3.13 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด 4887-08-5511_3D ARM V600 [ทีบีทีเอส]
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ที่มา : บริษทั เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.14 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด 4887-08-5511_3D ARM V600 [ทีบีทีเอส] ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.15 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด 4917-08-5512_Measure Skin [เคมีโก้ ]
รปูที่ 3.16 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด 4917-08-5512_Measure Skin [เคมีโก้ ]
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ที่มา : บริษทั เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.17 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด 4917-08-5512_Measure Skin [เคมีโก้ ] ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.18 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.19 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
5009-03-5602_ชุด Wireless Camera + จอ PRM-802L [สตรองฯ #L]
5009-03-5602_ชุด Wireless Camera + จอ PRM-802L [สตรองฯ #L]
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.20 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด 5009-03-5602_ชุด Wireless Camera + จอ PRM-802L [สตรองฯ #L] ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.21 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด 5009-03-5602_ชุด Wireless Camera + จอ PRM-802L [สตรองฯ #L] ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
ปัญหาที่เกิดขึ้น : -สีของภาพไม่ตรงกับสินค้าจริง -ภาพยังดูลอยๆ การแก้ไขปัญหา : -ต้องปรับสีของภาพให้ตรงกับสีของสินค้าจริง(ดูภาพที่อยู่ในเว็ปเป็นกรณีศกึ ษา) -ใส่เงานให้กับสินค้า ประสบการ์ที่ได้รับ : -ได้ความละเอีดในการทางาน -ได้รที ัชภาพให้เหมาะสมกับการใช้งาน
รปูที่ 3.22 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.23 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
5039-10-5602_สาหรับใส่มดี กรีดยาง [แอดวานซ์ คิว]
5039-10-5602_สาหรับใส่มีดกรีดยาง [แอดวานซ์ คิว]
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.24 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด 5039-10-5602_สาหรับใส่มดี กรีดยาง [แอดวานซ์ คิว] ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.25 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.26 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
5047-08-5603_Agilent 5322A & DSO-X2 & 33508 & N2771 [เมเชอร์เมนต์ #H]
5047-08-5603_Agilent 5322A & DSO-X2 & 33508 & N2771 [เมเชอร์เมนต์ #H]
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.27 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด 5047-08-5603_Agilent 5322A & DSO-X2 & 33508 & N2771 [เมเชอร์เมนต์ #H] ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.28 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.29 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
5072-08-5603_Accessories IRC [ไอ.อาร์.ซี. #L]
5072-08-5603_Accessories IRC [ไอ.อาร์.ซี. #L]
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.30 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด 5072-08-5603_Accessories IRC [ไอ.อาร์.ซี. #L] ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.31 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.32 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
5083-08-5603_TELJET CS II [แอคทีวา สวิส #H]
5083-08-5603_TELJET CS II [แอคทีวา สวิส #H]
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.33 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด 5083-08-5603_TELJET CS II [แอคทีวา สวิส #H] ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.34 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.35สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
5103-02-5604_IMAG 24 inches [เพอร์เฟอรัล #L]
5103-02-5604_IMAG 24 inches [เพอร์เฟอรัล #L]
ทีม่ า : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.36 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด 5103-02-5604_IMAG 24 inches [เพอร์เฟอรัล #L] ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.37 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.38 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
5110-08-5604_Blade Case [กอฤทธิ์ #B]
5110-08-5604_Blade Case [กอฤทธิ์ #B]
ทีม่ า : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.39 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) 5103-02-5604_IMAG 24 inches [เพอร์เฟอรัล #L] ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.40 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.41 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
5085-08-5603_2250L ตัวใหญ่ [เมเชอร์ฯ]
5085-08-5603_2250L ตัวใหญ่ [เมเชอร์ฯ]
ทีม่ า : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.42 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) 5085-08-5603_2250L ตัวใหญ่ [เมเชอร์ฯ] ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.43 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด 5103-02-5604_IMAG 24 inches [เพอร์เฟอรัล #L] ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
ปัญหาที่เกิดขึ้น : -ไม่มีภาพของสินค้า -การจัดวางภาพของสินค้า การแก้ไขปัญหา : -ต้องหาภาพของสินค้ามาใส่แต่ภ้าไม่มจี ริงๆก็ไม่ตอ้ งใส่ -.ปรับการจัดวางของสินค้าใหม่ให้สินค้อยู่ในแนวเดียวกัน ประสบการ์ที่ได้รับ : -ได้รจู้ ักการแก้ไข้ปัญหาที่เกิดขึ้น -ได้เรียนรู้เรื่องการจัดวางได้หามุมมองการจัดวางในแนวของตัวเอง
รปูที่ 3.44 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.45 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
5004-03-5602_SONY HXC-100BT + Lens FUJINON XA20SX8.5BRM [บรอดคาสท์ฯ #L]
5004-03-5602_SONY HXC-100BT + Lens FUJINON XA20SX8.5BRM [บรอดคาสท์ฯ #L]
ทีม่ า : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.46 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด 5004-03-5602_SONY HXC-100BT + Lens FUJINON XA20SX8.5BRM [บรอดคาสท์ฯ #L] ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.47 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.48 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
5007-02-5602_Projector SANYO PLC-XC106 & 116L [ดาต้าโปร #L]
5007-02-5602_Projector SANYO PLC-XC106 & 116L [ดาต้าโปร #L]
ทีม่ า : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.49 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด 5007-02-5602_Projector SANYO PLC-XC106 & 116L [ดาต้าโปร #L] ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.50 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.51 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
5017-03-5602_PANASONIC AK-HC3500ES + Lens FUJINON [นอร์ธสตาร์ #L]
5017-03-5602_PANASONIC AK-HC3500ES + Lens FUJINON [นอร์ธสตาร์ #L]
ทีม่ า : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.52 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด 5017-03-5602_PANASONIC AK-HC3500ES + Lens FUJINON [นอร์ธสตาร์ #L] ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.53 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.54 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
5043-01-5603_DEMO IFS [หจก.ไอฟุส โซลูชั่น]
5043-01-5603_DEMO IFS [หจก.ไอฟุส โซลูชั่น]
ทีม่ า : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.55 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด 5043-01-5603_DEMO IFS [หจก.ไอฟุส โซลูชั่น] ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.56 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.57 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
5057-08-5603_MEGGER MIT1025 [ทองไทย #H]
5057-08-5603_MEGGER MIT1025 [ทองไทย #H]
ทีม่ า : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.58 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด 5057-08-5603_MEGGER MIT1025 [ทองไทย #H] ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.59 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.60 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
5078-03-5603_LCD 24 inches U2410 Dell [ชิพเชพฯ #L]
5078-03-5603_LCD 24 inches U2410 Dell [ชิพเชพฯ #L]
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
รปูที่ 3.61 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด 5078-03-5603_LCD 24 inches U2410 Dell [ชิพเชพฯ #L] ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
ปัญหาที่เกิดขึ้น : -แสงและเงายังดูไม่เหมือนจริง -ความคมชัดของภาพ -ภาพของสินค้าที่หาจากเว็ปไซต์มุมจะไม่ตรงกับสินค้า -การวางมุมของสินค้าของแต่ละภาพวางไปคนละทิศทาง
การแก้ไขปัญหา : -ต้องปรับแสงและเงาให้ไปในทิศทางเดียวกัน -.พยายามปรับภาพให้ชดั ขึ้นเท่าที่จะทาได้ -ต้องปรับมุมของสินค้าให้เข้ากับกระเป๋าให้ได้มากที่สุด -.พยายามวางมุมที่สามารถมองเห็นสินค้าได้มากที่สุด
ประสบการ์ที่ได้รับ : -ได้รู้เรื่องแสงที่สมจริง -ได้การฝึกการทางานให้มีคุณภาพดีขึ้น -ได้ความพยายาม -ได้ความสังเกตในการทางานเพื่มมากขึ้น
3.2 ดราฟโลโก้ - โปรแกรมที่ใช้ในการทางาน คือ โปรแกรม Adobe illustrator cs5 -ดราฟเพื่อจะนาไปสกรีนบนกระเป๋า
รปูที่ 3.2.1 รูปโลโก้ ของลูกค้าที่มาสั่งทากรธเป๋า
รปูที่ 3.2.2 รูปโลโก้ ของลูกค้าที่มาสั่งทากรธเป๋า
ทีม่ า : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)
ทีม่ า : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3..3.3 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
ปัญหาที่เกิดขึ้น : -โลโก้มาขนาดเล็กมากและไม่ชัด การแก้ไขปัญหา : -ดราฟโลโก้ใหม่ ประสบการ์ที่ได้รับ : -ได้ความละเอียด รอบครอบ
3.3 ดราฟนักลบ - โปรแกรมที่ใช้ในการทางาน คือ โปรแกรม Adobe illustrator cs5 - ดราฟเพื่อจะนาไปยิงเลเซอร์
รปูที่ 3.3.1 บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัดกวนอู ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด
ปัญหาที่เกิดขึ้น : -ขนาดของเส้นในบางส่วนมีขนาดเล็กไป การแก้ไขปัญหา : -ปรับขนาดของเส็นให้มีขานดเท่าๆกัน ประสบการ์ที่ได้รับ : -ได้รจู้ ักการปรับลายเส้นให้มีความเหมาะสมกัน
รปูที่ 3.3.2 กวนอู ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
3.4 ทาบล็อกสกริน
รปูที่ 3.4.1 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด บลอ็กสกรีน ที่มา : บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด
ปัญหาที่เกิดขึ้น : -ผ้าที่ใช้ขึงนั้นไม่รีบตึง การแก้ไขปัญหา : -ทาใหม่ตึงผ้าให้ตึง ประสบการ์ที่ได้รับ : -ได้รจู้ ักการสักเกตเวลาการทางาน
3.5 สกรีนซองจดหมาย
รปูที่ 3.5.1 บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด สกรีนซองจดหมาย ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
ปัญหาที่เกิดขึ้น : -เวลาสกรีนบล็อกจะตันบ่อย -วางซองจดหมายไม่ตรง การแก้ไขปัญหา : -ล้างบล็อกใหม่ตลาดเวลา -ทาขอบที่วางซองจดหมาย ประสบการ์ที่ได้รับ : -ได้รจู้ ักการทาบล็อกสกรีน -ได้รจู้ ักการสกรีนซองจดหมาย -ได้รจู้ ักการแก้ไขปัญหา
3.6 ออกแบบสินค้าที่จะใส่ในเว็ปไซต์ - ใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ในการ รีทัชภาพสินค้าของทางบริษัท
รปูที่ 3.6.1 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.6.2 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.6.3 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.6.4 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.6.5 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 3.6.6 สินค้าบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999)จากัด ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
ปัญหาที่เกิดขึ้น : -ทางบริษทยังไม่มีสินค้าจริง การแก้ไขปัญหา : -สร้างตัวอย่างสินค้า ประสบการ์ที่ได้รับ : -ได้รจู้ ักการทางานแบบสร้างขึ้นใหม่
บทที่ 4 ผลที่ได้รับจากการฝึกงาน 1. ประโยชน์จากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สามารถนาความรู้ทักษะที่ได้จากการศึกษามาประยุกต์ใช้กับงานที่ได้รับมอบหมายและเพิ่ม ความชานาญในการใช้งานโปรแกรมเพื่อทางานด้านออกแบบต่างๆได้มีประสิทธิภาพดียิ่งขี้นกว่าเดิม และรับรู้ขั้นตอนในการทางานออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ ต่างๆ เพื่อเป็นทักษะติดตัวไว้ใช้ในการทางาน หลังจากเรียนจบและสามารถเตรียมความพร้อมในอนาคตได้ เมื่อเจอกับปัญหาก็สามารถแก้ไขปัญหา เฉพาะหน้ า ได้ ท างผู้ฝึ ก นั้น จะได้ ประสบการณ์ โ ดยตรงจากการท างานจริ ง ทั้ ง ทางด้ า นเรื่ อ งงาน ออกแบบกราฟฟิหลากหลายประเภท และได้เรียนรู้การทางานใหม่ๆ 2. สิ่งที่ผู้ฝึกได้รับจากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ทาให้สามารถได้ใช้ความรู้ที่เรียนจากห้องเรียนออกมาใช้ในการปฏิบัติงานอย่างแท้จริง ไม่ว่า จะเป็นตาราในห้องเรียน หรือการได้ทดลองฝึกปฏิบัติในขณะที่เรียนอยู่ จึงทาให้สามรถนาความสู้นี้ มาใช้ในการปฏิบัติงานได้ อย่างแท้จริง และอีกอย่างยังเป็นการวัดความรู้ที่เราได้เรียนรู้มาอีกด้วย ซึ่ง ทาให้เราได้ใช้มันในการทางานได้อย่างเต็มที่และยังเป็นการฝึกให้เราได้ใช้ทักษะต่างๆที่จะต้องเรียนรู้ ในการฝึกปฏิบัติงาน ไม่ว่าจะเป็นการสร้างความคุ้นเคย การปรับตัว การสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับ เพื่อนร่ วมงาน ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างมากในอนาคตเมื่ อเราต้องไปทางานจริ งๆ ก็ จะทาให้เรา สามารถปรับตัวเข้ากับที่ทางานได้อย่างง่ าย ในการฝึกปฏิบัติงานบางครั้ งอาจทาให้รู้สึกเบื่อหน่าย เนื่องจาก บางครั้งงานในหน่วยงานที่เราไปฝึกปฏิบัติงานนั้น มีจานวนเยอะเกินความสามารถของเด็ก ฝึกงานที่จะสามารถฝึกปฏิบัติและเรียนรู้จึงอาจทาให้ต้องเพิ่มความรับผิดชอบในหน้าที่มากขึ้น และอีก สิ่งหนึ่งคือฝึกงานในบางครั้งอาจจะมีระยะเวลาที่สนั้ เกินไป ไม่เหมาะสมกับงาน จึงทาให้ประสิทธิภาพ ในการทางานลดน้อยลงตามขอบเขตของเวลา และบางครั้งการมีปัญหาของบุคคลในหน่วยงานที่ บางครั้งก็ส่งผลกระทบมาถึงการฝึกปฏิบัติงานของเรา จึงทาให้เราไม่สามารถที่จะเก็บเกี่ยวความรู้ใน การฝึกปฏิบัติงานได้อย่างเต็มที่และไม่สามารถรู้ใช้ความรู้ที่มีในการฝึกปฏิบัติงานได้อย่างครบถ้วน สมบูรณ์แบบ
3. สิ่งที่สถานประกอบการได้รับ ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ณ บริษัท เมทัลลิค ที .เอฟ (1999) จากัด 66/1 ถนน เทพารักษ์ ตาบลบางพลีใหญ่ อาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ นั้น โดยฝ่ายที่ทาการเข้ารับการ ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ คือ ฝ่ายกราฟฟิค ทางานเกี่ยวกับการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ ทางผู้ฝึกนั้น ได้นาเอาวิชาความรู้ด้านงานออกแบบนิเทศศิลป์ต่างๆ ที่ได้ศึกษาเรียนรู้จากทางมหาลัยนั้นนามาปรับ ใช้ในการทางานเพื่อสร้างชิ้นงานที่สามารถนาไปใช้ได้จริง และสามารถนามาใช้ในการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพตามหน่วยงานที่ได้ไปเข้ารับการฝึก และได้รับมอบหมายงานให้ แต่งานทุกชิ้นต้องผ่านการ ตรวจสอบผ่านแล้ว จึงสามารถนาไปทางานจริงได้อย่างถูกต้อง 4. ผลงานสรุปตัวงานสุดท้าย ผลงานที่ทางผู้ฝึกประสบการณ์วิชาชีพออกแบบให้กับบริษัท เมทัลลิค ที .เอฟ (1999) จากัด คือ สร้างเว็ปไซต์ โดยมีหัวข้อดั้งนี้ - สร้างเว็ปสาเร็จรูป จากเว็ป tarad.com - ต้องการรับสกรีนงานทั่วไป - สีที่ใช้ ขาว,ฟ้า,เท่า - ต้องการส่วนหัวของเว็ปไซต์ที่มีขนาดใหญ่ - สร้างโลโก้ใหม่ - ได้ทาการออกแบบ 2 ส่วน คือ แถบบนส่วนหัวของหน้าเว็บไซต์ และในส่วนโลโก้ - โปรแกรมที่ใช้ในการทางาน คือ โปรแกรม Adobe illustrator - โปรแกรมที่ใช้ในการทางาน คือ โปรแกรม Adobe Photoshop
4.1สเก็ตรูปแบบงานคราวๆก่อน พร้อมโลโก้
รปูที่ 4.1 ภาพรวมคราวๆ
รปูที่ 4.2 โลโก้แบบร่าง
ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
ที่มา: วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 4.3 โลโก้ที่ออกแบบ1 ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
รปูที่ 4.4 โลโก้ที่ออกแบบ2 ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
แนวคิด ได้จากการที่ใช้สีมาสื่อว่าเป็นการรับสกรีนงาน โดยเน้นสีสันเป็นแรงดึงดูด และเน้นฟอนต์ที่ ชัดเจนอ่านงาน โดยเจาะเป็นสีขาวเพื่อจะได้ไม่กลืนกับสีพื้นด้สนหลัง
รปูที่ 4.5 โลโก้ที่ออกแบบ3 ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
แนวคิด ได้จากการได้หัวข้อมาว่า สกรีน เลยออกแบบเป็นแนวทาสีโดยให้สีฟ้าเป็นพื้น ฟอนต์เป็นสี ขาวเพื่องการมองเห็นที่ชัดเจน แล้วได้มีเส้นครึ่งวงกลมสองเส้น เป็นวงกลมแสดงให้เห็นถึงความกลม เกียวของผนักงาน ความเอาใจในการสั่งซื้อของลูกค้า
รปูที่ 4.6 โลโก้ที่ออกแบบ4 ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
แนวคิด ได้จากการนาเอากระเป๋าของทางบริษทมาเป็นตัวเล่าเรื่อง ต่อจากงานที่ทาอยู่ คือนาเอา สินค้าของทางบริษทมาทาสีเพื่องต้องการจะสือถึงว่าทางบริษทนั้น ได้มีการขยายิจการเพื่อขึ้นจากเดิม
รปูที่ 4.7 โลโก้แบบที่เลือก ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
แนวคิด ได้จากการได้หัวข้อมาว่า สกรีน เลยออกแบบเป็นแนวทาสีโดยให้สีฟ้าเป็นพื้น ฟอนต์เป็นสี ขาวเพื่องการมองเห็นที่ชัดเจน แล้วได้มีเส้นครึ่งวงกลมสองเส้น เป็นวงกลมแสดงให้เห็นถึงความกลม เกียวของผนักงาน ความเอาใจในการสั่งซื้อของลูกค้า -นาภาพที่สเก็ตมาดราฟในโปรแกรม Adobe illustrator แล้วลงสีตามที่ได้ออกแบบไว
รปูที่ 4.8 โลโก้ที่แก้ใข่เรียบร้อย ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
แก้ตรงด้ามที่ทาสีเป็ที่สกรีนสีแทน เพื่องแสงออกอย่างชัดเจนว่าเป็นบริษท เกียวกับงานสกรีน
รปูที่ 4.9 พื้นหลัง ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
-สร้างพื้นหลังของส่วนหัวเว็ปไซต์
รปูที่ 4.10 โลโก้และส่วนหัวของเว็ปไซต์ ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
แล้วนามาทาใน โปรแกรม Adobe Photoshop เพื่อว่าการแตกแตงจะมีเทคนิคมากกว่าและได้ใส่คา ในการโปรโมดร้าน ทั้งคุณภาพดี ราคาถูก รับงานทั้งไป และยังใส่ที่อยู่เพื่อง่ายในการติอต่อแล้ว หลังจากนั้นก็สามารถนาไปเป็นส่วนหัวของเว็ปไซต์ได้แล้ว
รปูที่ 4.11 โลโก้และส่วนหัวของเว็ปไซต์ ที่มา : วิภาดา โทนสูงเนิน
บทที่ 5 สรุปผลการฝึกงาน 1. ผลลัพธ์โดยภาพรวมของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ในการศึกษาของนักศึกษาสาขาวิชาศิลปกรรม ออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม นั้น นอกจากนักศึกษาจะได้ศึกษาหาความรู้ในหลักสูตร แล้วการศึกษาประสบการณ์วิชาชีพยังเป็นสิ่งที่สาคัญและจาเป็นที่นักศึกษาต้องทาการปฏิบัติก่อนการ จบหลักสูตรการศึกษาเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในพฤติกรรมทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นในส่วนของ บุคลิกภาพ สติปัญญา เจตคติ การวางตัว ที่ถูกต้องเหมาะสม เพื่อพร้อมที่จะออกไปดาเนินชีวิตและ ประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ การฝึกประสบการณ์วิชาชีพนั้นถือเป็นการฝึกทักษะการทางาน และรู้จักการปรับตัวของการทางานร่วมกับผู้อื่น มีประโยชน์อย่างยิ่งสาหรับแนวทางในการประกอบ อาชีพในอนาคตของนักศึกษา การฝึกประสบการณ์วิชาชีพสาขาสาขาศิลปกรรม ออกแบบนิเทศศิลป์ ณ บริษัท เมทัลลิค ที. เอฟ (1999) จากัด ในครั้งนี้ ทาให้นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพได้เพิ่มพูนความรู้ ความเข้าใจ การ มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อผู้อื่น การวางตั วในสังคมได้ อีกประการหนึ่งที่สาคัญที่สุดสาหรับนักศึกษาที่ ได้รับ คือ การทางานของตนเอง ได้รับความไว้วางใจให้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยตนเองเปรียบเสมือนตนเอง เป็นบุคลากรคนหนึ่งของบริษท โดยมีการควบคุมดูแลแบบเป็นกันเองเสมือนเป็นญาติ ตั่งแต่วันแรก ของการฝึกประสบการณ์จนถึงวันสุดท้ายของการฝึกประสบการณ์ เป็นอย่างดี ทุกคนต่างมีไมตรีจิตที่ ดีต่อนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ อีกทั้งยังให้คาแนะนาและช่วยเหลือในทุกๆเรื่องไม่ว่าจะเป็น เรื่องงานและเรื่องส่วนตัวแก่นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเสมอมา จากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ณ บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด ในครั้งนี้ นักศึกษา ฝึกประสบการณ์วิชาชีพได้ประสบการณ์ในการแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดกับ งานด้านกราฟฟิคดีไซน์ ภายในสานักงานและความรู้ใหม่ในเรื่องต่าง ๆ จากการเรี ยนรู้งานที่ได้รับมอบหมาย ดังนั้น นักศึกษา จึงจาเป็นต้องศึกษาเรียนรู้หลักวิธีการต่าง ๆ ที่พึงกระทาและต้องใช้ทักษะความสามารถของตนเอง
เพื่อให้งานนั้นออกมาอย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ นักศึกษาที่ได้ฝึกประสบการณ์วิชาชีพในครั้งนี้ จึงได้รับทักษะต่าง ๆ จากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
2. สถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด 66/1 ถนนเทพารักษ์ ตาบลบางพลีใหญ่ อาเภอบาง พลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 โทรศัพท์ : 0 2750 5221, โทรสาร : 0 2750 5222 www.metalliccase.com 3. ระยะเวลาในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1 มีนาคม 2556 จนถึงวันที่ 31 พฤษภาคม 2556 4.หน้าที่ที่ได้รับหมอบหมาย 4.1 ได้รับมอบหมายจะอยู่ในส่วนของบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัดฝ่ายกราฟฟิค 4.2 ได้รับงานที่ทาจากทางฝ่ายกราฟฟิค 4.4 ได้รับหน้าที่ในการทาภาพสินค้าของทางบริษท 5. ปัญหาที่ได้จากการศึกษา 5.1 ขาดความรู้ความชานาญในงานการใช้โปรแกรมบางประเภท 5.2 ไม่มีความชานาญในการใช้อุปกรณ์ภายในสานักงาน 6. แนวทางแก้ไขปัญหา 6.1 ศึกษาและขอคาแนะนาจากผู้ที่มีความชานาญงานด้านการใช้โปรแกรม 6.2 ศึกษาและขอคาแนะนาจากผู้ที่มีความชานาญในการใช้อุปกรณ์สานักงาน
7. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ควรเพิ่มระยะเวลาในการฝึกประสบการณ์ที่มากขึ้น จะทาให้ผู้ศึกษามีความรู้ความเข้าใจใน งานที่ทาอยู่ได้อย่างมาก เพื่อนาความรู้ทีได้ไปปรับใช้กับการทางานจริงในอนาคตระหว่างฝึกงานมี กิจกรรมทางมหาลัยซึ่งเป็นเหตุต้องลางานมากเกินไปวันหยุดราชการมากเกินไปทาให้การฝึกงานขาด เป็นช่วงๆและช่วงที่ฝึกงานเป็นช่วงที่มีงานน้อย 8. การตอบรับจากที่ฝึกงาน ได้รับการต้อนรับเป็นอย่างดีตั้งแต่เริ่มฝึกงานวันแรกจนถึงวันสุดท้ายของการฝึกงานทั้งจาก ผู้จัดการฝ่ายกราฟฟิค พี่ๆบุคลากรฝ่ายต่างๆภายในบริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด เวลามี ปัญหาไม่เข้าใจในเรื่องการทางานสามารถสอบถามและขอคาปรึกษาได้ เพื่อจะได้ทางานอย่างถูกต้อง
9. ความรู้สึกที่มีต่อที่ฝึกงาน ที่บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด ได้ให้ความอนุเคราะห์เป็นอย่างดีทาให้บรรยากาศใน การฝึกงานนั้นรู้สึกเป็นกันเองมากและหัวหน้างานและพี่ที่คุมฝึกงานมีน้าใจและแนะนาวิธีทางานต่างๆ เวลาทางาน
บรรณานุกรม เว็บไซต์ บริษัท เมทัลลิค ที.เอฟ (1999) จากัด 66/1 ถนนเทพารักษ์ ตาบลบางพลีใหญ่ อาเภอบาง พลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 โทรศัพท์ : 0 2750 5221, โทรสาร : 0 2750 5222 www.metalliccase.com
ประวัติค วามเป็น มา องค์ การกระจายเสีย งและแพร่ ภ าพสาธารณะแห่ง ประเทศไทย. [ออนไลน์]. www.metalliccase.com1 (วันที่ค้นข้อมูล:1 มิถุนายน 2556)