wiphada

Page 1

โครงการออกแบบพัฒนาสินค้าและบรรจุภัณฑ์ น้าตาลมะพร้าวน้าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี

จัดท้าโดยนางสาววิภาดา โทนสูงเนิน รหัสนักศึกษา 5211311237 สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม


โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )

โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจ เชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัด กาญจนบุรี

1

Individual Final Project

ค้าน้า รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ARTI3314 ซึ่งในโครงการ ออกแบบพัฒนาสินค้าและบรรจุภัณฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้​้าตาลมะพร้าวน้​้าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี จัดท้าขึ้นเพื่อพัฒนาสินค้าทั้งตัวผลิตภัณฑ์และกราฟิกบนบรรจุภณ ั ฑ์ เพื่อเป็นการศึกษาในการเรียนออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ARTI3314 โดยโครงการนี้จะออกแบบผลงานให้สามารถใช้งานได้จริงและตามความต้องการของ ผู้ประกอบการ โดยการศึกษาในครั้งนี้ใช้หลักการด้าเนินงาน 3ส.คือ ส.1 สืบค้นส.2 สมมติฐาน ส.3 สรุปผลการออกแบบจัดท้าขึ้น ส่วนรายงานนี้ ผู้ศึกษาได้ตั้งใจเรียบเรียงข้อมูลที่ได้ศึกษามาอธิบายขั้นตอนการท้าไว้ในเล่มนี้หาก มีข้อผิดพลาดประการได้ ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย


ภาพที่1 : ผลิตภัณฑ์น้าตาลมะพร้าวน้​้าหอมแท้ 100% ไผ่ริมแคว จังหวัดกาญจนบุรี OTOP ที่มาของรูปนางสาวจารุรตั น์ น่าเยี่ยม -จากกากศึกษาผลิตภัณฑ์น้าตาลมะพร้าวไผ่ริมแคว พบว่าภาพลักษณ์ขาดความสวยงาม ซึ่งเป็นตัวดึงดูด ความน่าสนใจของผู้บริโภค เมื่อเทียบกับผลิตภัณฑ์น้าตาลมะพร้าวยี่ห้ออืน่ ๆ อีกทั้งการน้าไปใช้ประโยชน์ ด้วยความที่เป็นน้​้าตาลปึก มีความแข็งของตัวน้​้าตาล จึงยากต่อการใช้สอยและเก็บถนอม ซึ่งเป็นจุดอ่อนที่ ผลิตภัณฑ์น้าตาลมะพร้าวควรจะให้ความส้าคัญในจุดนี้ ประวัติความเป็นมาของกลุ่ม เตาน้​้าตาลไผ่ริมแควเริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่29ธันวาคม2550โดยมีจุดประสงค์ของการก่อตั้งเริ่มจาก “การ พลิกวิกฤตให้ เป็นโอกาส” ของคุณพรเลิศ เลี่ยนเครือ(คุณแดง)ซึ่งขณะนั้นคุณแดงได้ท้าไร่ผลไม้ เช่น ขนุน , ส้มโอ , แก้วมังกร , กระท้อนมะพร้าว และผลไม้อื่นๆอีกมากมาย แต่ขณะนั้นประสบปัญหาเรื่องตลาด ผลไม้ล้นตลาดท้าให้ขายไม่ได้ราคาเท่าที่ควรแต่คณ ุ แดงก็ไม่ได้ละความพยายามเพราะคุณแดงเชื่อเรื่อง ประสบการณ์การท้าไร่ของตัวเองที่ท้ามาเกือบ10ปีคุณแดงคิดอยู่เสมอว่าสักวัน ผลไม้ที่อยู่ในสวนของ ตนเองต้อง

โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )

ส.1สืบค้น บรรจุภัณฑ์โอท๊อป น้​้าตาลมะพร้าวน้​้าหอม 100% ไผ่ริมแคว

2


โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )

3

ขายได้ราคาและขณะที่ปลูกผลไม้ก็พยายามดูแลสวนผลไม้ของตนเอง ด้วยดีมาตลอดแต่ก็ยัง ประสบปัญหาอยู่ตลอดจนกระทั่งวันหนึ่งน้ามะพร้าวที่สวนไปขายกลุ่มลูกค้ากลับกดราคาต่้ามากจึงมี ความคิดว่ามะพร้าวสามารถผลิตน้​้าตาลปี๊บได้เหมือนกับเองต้องขายได้ราคาและขณะที่ปลูกผลไม้ก็ พยายามดูแลสวนผลไม้ของตนเองด้วยดีมาตลอดต้นตาลโตนดประกอบกับขณะนั้นลุงของคุณแดงมีอาชีท้า น้​้าตาลมะพร้าว ร้าวอยู่ทแี่ ม่กลองซึ่งเป็นแหล่งผลิตน้​้าตาลมะพร้าวที่ขึ้นชื่อ ของจังหวัดสมุทรสาครคุณแดง ก็เลยขอค้าปรึกษาจากลุงโดยตรงว่ามะพร้าวที่ปลูกในจังหวัดกาญจนบุรีสามารถท้าน้​้าตาลหรือไม่?ก็เลย เชิญลุงที่มีประสบการณ์ได้มาดูที่สวนของคุณแดงและได้ลองท้าน้​้าตาลดูปรากฎว่าท้าน้​้าตาลปี๊บได้และมี คุณภาพเทียบเท่ากับน้​้าตาลจากแม่กลอง เพราะ 1.น้​้าตาลใสมีกลิ่นหอมของมะพร้าวน้​้าหอม 2.มะพร้าวมีความมันอยู่ในตัวของมะพร้าวเอง 3.มะพร้าวน้​้าหอมมีความหวานเป็นทุนอยู่ในตัวเอง จากนั้นลุงก็แนะน้าให้คุณแดงทดลองน้าน้​้าตาลใสที่ได้จากงวงมะพร้าวมาเคี่ยวดูปรากฏว่าสามารถท้าเป็น น้​้าตาลปี๊บได้จึงเกิดเป็นน้​้าตาลไผ่ริมแควมาจนทุกวันนี้ ซึ่งเป็นเตาน้​้าตาลปี๊บแห่งแรกของจังหวัด กาญจนบุรีต่อมาในปีพ.ศ.2551ส้านักงานเกษตร อ้าเภอท่าม่วงได้เข้ามาแนะน้าให้ จดทะเบียนเป็น วิสาหกิจชุมชนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 โดยใช้ชื่อ ว่า “วิสาหกิจชุมชนกลุ่มน้า้ ตาลมะพร้าว 100% ไผ่ริมแคว” มีสมาชิก 7 คน ปัจจุบันกลุ่มมีสมาชิก25คน ด้าเนินกิจกรรแปรรูปผล ผลิตจากน้​้าตาลมะพร้าวน้​้าหอม ได้แก่ น้​้าตาล มะพร้าวน้​้าหอมบรรจุปบี๊ , น้​้าตาลมะพร้าวน้า้ หอมบรรจุกล่องพลาสติก(น้​้าหนัก 1 กิโลกรัม) , น้​้าตา มะพร้าวน้​้าหอมบรรจุถุงพลาสติก(น้​้าหนัก 1 กิโลกรัม) และน้​้าตาลสด ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มได้รับการ รับรอง มาตรฐานผลิตภัณฑ์โดยได้รับเครื่องหมาย “มผช.” จากกระทรวงอุตสาหกรรมในปี พ.ศ. 2552 และต่อมาได้รับการคัดสรรให้เป็น สินค้า OTOP ระดับ 4 ดาว ในปี พ.ศ. 2553 จากการตัง้ ใจ ด้าเนินงานและมีการพัฒนาสินค้าอยู่ตลอดท้าให้ปัจจุบันมียอดจ้าหน่ายน้​้าตาล เดือนละไม่ต่้ากว่า20ตัน และได้มีการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกต้นมะพร้าวน้​้าหอมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนขณะนี้มีต้นมะพร้าว น้​้าหอมอยู่ ทั้งหมด4,200ต้น และได้ท้าการขยายตลาดโดยการลงโฆษณาทาง หนังสือพิมพ์และTV.ต่างๆอย่างต่อ เนืองมาตลอด เพื่อให้น้าตาลมะพร้าวของอ้าเภอท่าม่วง จังหวัด กาญจนบุรี ให้เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค อย่างมากต่อไปในอนาคต การผลิตกลุ่มจะ เน้นการผลิตสินค้าที่ ปลอดสารพิษต่อไปในอนาคต


การด้าเนินกิจกรรมของกลุ่ม กลุ่มด้าเนินกิจกรรมแปรรูปผลผลิตจากน้​้าตาลมะพร้าน้า้ หอมได้แก่ 1.น้​้าตาลมะพร้าวน้​้าหอมบรรจุปี๊บ 2.น้​้าตาลมะพร้าวน้​้าหอมบรรจุกล่องพาสติก(น้​้าหนัก1กิโลกรัม) 4.น้​้าตาลสด การตลาดแหล่งจ้าหน่าย 1.ร้านขายของฝาก 2.ห้าสรรพสินค้า 3.ร้านค้าทั่วไป หน่วยงานสนับสนุน 1.องค์การบริหารส่วนต้าบลทุ่งทอง 2.ส้านักงานเกษตรอ้าเภอท่าม่วง 3.ส้านักงานพัฒนาชุมชนอ้าเภอท่าม่วง ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.doae.go.th/files/sugarcoconut.pdf

โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )

3.น้​้าตาลมะพร้าวน้​้าหอมบรรจุถุงพาสติก(น้​้าหนัก1กิโลกรัม)

4


โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )

ขันตอนในการท้าน้าตาลมะพร้าวน้าาหอม100%ของเตาน้าตาลไผ่ริมแคว

5

ภาพที่ 2ขั้นตอนวิธีการท้าน้​้าตาลมะพร้าว ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.doae.go. th/files/sugarcoconut.pdf 1.เริ่มจากการเลือกงวงมะพร้าวที่อยู่ต้น มะพร้าวต้องเป็นงวงมะพร้าวที่สมบูรณ์ที่สดุ เพื่อที่จะน้ามาท้าน้​้าตาล

ภาพที่ 3ขั้นตอนวิธีการท้าน้​้าตาลมะพร้าว ใสก่อนอันดับแรก ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.doae.g o.th/files/sugarcoconut.pdf 2.ท้าการปาดปลายของงวงมะพร้าวที่เราเลือก แล้ว

ภาพที่ 4ขัน้ ตอนวิธีการท้าน้​้าตาลมะพร้าว ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.doae.g o.th/files/sugarcoconut.pdf 3.ท้าการโน้มงวงมะพร้าวโดยการใช้เชือกมัด เพื่อที่จะท้าให้งวงมะพร้าวสามารถผลิต น้​้าตาลใสไหลออกตามท่อของงวงที่เราโน้มได้ สะดวก


มีดที่มีความคมและไม่เป็นสนิมเพื่อให้ได้ น้​้าตาลใสขณะที่ทา้ การปาดงวงมะพร้าวถ้า กรณีมีลูกมะพร้าวเล็กๆติดที่งวงก็ต้องท้าลายทิ้งเพือ่ ไม่ให้ดูดน้​้าตาลใสไปเลี้ยงลูกมะพร้าวได้งวมะพร้าวที่ สมบูรณ์และพร้อมที่จะผลิตน้​้าตาลใสได้เต็มที่ ภาพที่ 6ขั้นตอนวิธีการท้าน้​้าตาลมะพร้าว ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.doae. go.th/files/sugarcoconut.pdf 5.ท้าการมัดหรือตกแต่งงวงมะพร้าวที่เรา ปาดในขั้นตอนที่ 4 เพื่อให้ดูเรียบร้อยใน ขณะเดียวกันต้องสังเกตุ ด้วยว่าพอเราปาด งวง ไปแล้ว น้​้าตาลใสหยดจากงวงมะพร้าว หรือไมท้าการตกแต่งงวงมะพร้าวที่เราโน้มและปาดงวงเพื่อในดูสวยงามและให้ดูเรียบร้อย ภาพที่ 7ขั้นตอนวิธีการท้าน้​้าตาลมะพร้าว ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.doae. go.th/files/sugarcoconut.pdf 6.น้ากระบอกที่สะอาดๆ ที่เราเตรียมไว้มา รองรับน้​้าตาลใสที่หยดออกมาจากงวงที่เรา

โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )

ภาพที่ 5ขั้นตอนวิธีการท้าน้​้าตาลมะพร้าว ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.doae. go.th/files/sugarcoconut.pdf 4.จากนั้นก็ทา้ การปาดงวงมะพร้าวโดดใช้

6


โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )

7

ภาพที่ 8ขั้นตอนวิธีการท้าน้​้าตาล มะพร้าว ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.d oae.go.th/files/sugarcoconut.pdf 7.พอได้น้าตาลใสเราก็นา้ น้​้าตาลใสมา กรองเศษขยะออกโดยใช้ผ้าขาวบาง กรองจากนั้นก็น้าน้​้าตาลใสที่เรากรอง แล้วมาเคี่ยวไฟที่มีอุณหภูมิที่ร้อนจัดในขณะก่อนเคี่ยวต้องเติมส่วนผสมน้า้ ตาลทรายลงไปด้วยเคี่ยวที่ อุณหภูมิที่ร้อนจัด ภาพที่ 9ขั้นตอนวิธีการท้าน้​้าตาล มะพร้าว ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.d oae.go.th/files/sugarcoconut.pdf 8.เมื่อเคี่ยวจนได้ที่แล้วจากนั้นก็น้า น้​้าตาลที่ได้จากการเคี่ยวน้ามากรอง เศษผงอีกรอบแล้วน้าเข้าเครื่องปั่นจน กระทั้งเป็นเนี้อเดียวกันแล้ว ภาพที่ 10ขั้นตอนวิธีการท้าน้​้าตาล มะพร้าว ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.d oae.go.th/files/sugarcoconut.pdf 9.ขั้นตอนต่อไปก็น้าน้​้าตาลที่ปั่นแล้วมา หยอดใสภาชนะตามที่เราต้องการเช่น ถ้วยหรือภาชนะ


การศึกษาสินค้าชนิดเดี่ยวกันตามท้องตลาด ภาพที่ 12 ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน การศึกษาสินค้าชนิดเดี่ยวกันตาม ท้องตลาด

4w2h what : น้าตาลที่มาจากมะพร้าวน้าหอม 100% where:เลขที่ 55 หมู่ที่ 3 ถนน ตาบลทุ่งทอง อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี

when : น้​้าตาลปี๊บแห่งแรกของจังหวัดกาญจนบุรีต่อมาในปีพ.ศ.2551ส้านักงานเกษตร อ้าเภอท่าม่วงได้ เข้ามาแนะน้าให้ จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.

โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )

ภาพที่ 11ขั้นตอนวิธีการท้าน้​้าตาลมะพร้าว ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.doae.go .th/files/sugarcoconut.pdf 10.ขั้นตอนสุดท้ายปล่อยให้น้าตาลเย็นแล้วท้า การใส่ถุงหรือบรรจุภัณฑ์ที่สวยงามแล้วน้าออก จ้าหน่วย ข้อมูลรายละเอียดสินค้าของเตาน้​้าตาลมะพร้าวน้า้ หอมไผ่ริมแดง ที่มา :http://thamuang.kanchanaburi.doae.go.th/home.html ดาวน์โหลด:http://thamuang.kanchanaburi.doae.go.th/files/sugarcoconut.pdf

8


โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )

9

2548 โดยใช้ชื่อ ว่า “วิสาหกิจชุมชนกลุ่มน้​้าตาลมะพร้าว 100% ไผ่ริมแคว” who :คุณพรเลิศ เลี่ยนเครือ(คุณแดง) และ เจ๊หนู how muct :น้​้าตาลมะพร้าวน้​้าหอมบรรจุกล่องพลาสติก(น้​้าหนัก 1 กิโลกรัม) , น้​้าตามะพร้าว น้​้าหอมบรรจุถุงพลาสติก(น้ําหนัก 1 กิโลกรัม) และน้​้าตาลสด มีการพัฒนาสินค้าอยู่ตลอดท้าให้ปัจจุบันมี ยอดจ้าหน่าย ําตาล น้ เดือนละไม่ต่้ากว่า20ตันและได้มีการส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกต้นมะพร้าวน้ําหอม เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนขณะนี้มีต้นมะพร้าว น้า้ หอมอยู่ทั้งหมด4,200ต้น

how to:เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29ธันวาคม 2550 โดยมีจุดประสงค์ของการก่อตั้งเริ่มจาก “การพลิก วิกฤตให้ เป็นโอกาส” ของคุณพรเลิศ เลี่ยนเครือ(คุณแดง)ซึ่งขณะนั้นคุณแดงได้ท้าไร่ผลไม้ เช่น ขนุน , ส้มโอ , แก้วมังกร , กระท้อนมะพร้าว และผลไม้อื่นๆอีกมากมาย แต่ขณะนั้นประสบปัญหาเรื่องตลาดผลไม้ล้นตลาดท้าให้ขายไม่ได้ราคาเท่าที่ควรแต่คุณแดงก็ไม่ได้ละ ความพยายามเพราะคุณแดงเชื่อเรื่องประสบการณ์การท้าไร่ของตัวเองทีท่ ้ามาเกือบ10ปี ลุงก็แนะน้าให้ คุณแดงทดลองน้าน้า้ ตาลใสที่ได้จากงวงมะพร้าวมาเคี่ยวดูปรากฏว่าสามารถท้าเป็นน้​้าตาลปี๊บได้ จึงเกิด เป็นน้​้าตาลไผ่ริมแควมาจนทุกวันนี้ ซึ่งเป็นเตาน้​้าตาลปี๊บแห่งแรกของจังหวัดกาญจนบุรีต่อมาในปีพ.ศ. 2551ส้านักงานเกษตร อ้าเภอท่าม่วงได้เข้ามาแนะน้าให้ จดทะเบียนเป็นวิสาหกิจชุมชนตาม พระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ. 2548 โดยใช้ชื่อ ว่า “วิสาหกิจชุมชนกลุ่มน้​้าตาลมะพร้าว 100% ไผ่ริมแคว” มีสมาชิก 7 คน ปัจจุบันกลุ่มมีสมาชิก25คน


ภาพแสดงโครงสร้าง และส่วนประกอบทางกราฟิกของผลิตภัณฑ์สินค้าน้​้าตาลมะพร้าวน้​้าหอม 100% ตราไผ่ริมแคว ที่มา : จารุรตั น์ น่าเยี่ยม ,2555 URL .https://docs.google.com/open?id=0BzCnHDsssG7VZ29PWEczRFVxUG8 เข้าถึงเมื่อ 18 กรกฎาคม 2555 ผลการวิเคราะห์ ก.โครงสร้างของตัวบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ปัจจุบัน หมายเลข 1 คือ กล่องพลาสติก 1.1 กล่องพลาสติก ชนิด P.P. Polypropylene 1.2 ขนาด มิติ ความกว้าง 11 ซม / ยาว 18 ซม / หนา 6 ซม 1.3 รูปแบบกล่องพลาสติกสี่เหลี่ยม มีฝาปิด 1.4 ราคา 35 บาท หมายเลข 2 คือ (ในกล่อง)ตัวผลิตภัณฑ์ น้​้าตาลมะพร้าวน้​้าหอม 100% หมายเลข 3 คือ ฝาปิดของกล่องพลาสติก ข.กราฟิกที่ปรากฏบนตัวบรรจุภัณฑ์ทใี่ ช้ปัจจุบัน หมายเลข 4 คือ ภาพประกอบรูปมะพร้าวน้า้ หอม หมายเลข 5 คือ ชื่อสินค้าน้​้าตาลมะพร้าวน้า้ หอม 100% หมายเลข 6 คือ LOGO บริษัทผู้ผลิต = ไผ่ริมแคว หมายเลข 7 คือ ภาพประกอบรูปต้นมะพร้าว

โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )

การวิเคราะห์ข้อมูลผลิตภัณฑ์ด้วยการมอง (Product Visual analysis) ชื่อผลิตภัณฑ์ น้าตาลมะพร้าวน้าหอม 100% ตราไผ่ริมแคว

10


โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )

หมายเลข 8 คือ ข้อความประกอบและเบอร์โทรติดต่อของผู้ผลิต หมายเลข 9 คือ LOGO ผู้ผลิต หมายเลข 10คือ ภาพประกอบ หมายเลข 11 คือ ข้อมูลผู้ผลิต หมายเลข 12 คือ เครื่องหมาย มอก (มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม)

11

ได้ไปพบผู้ประกอบการท้าให้รู้ความต้องการของผูป้ ระกอบการและยังได้เห็นปัญหาของการขาย ผลิตภัณฑ์


ข้อเสียของบรรจุภัณฑ์เดิมคือ 1.จุดบอดทางการมองเห็น-การสือ่ สาร ได้แก่ 1.1. ตัวฉลากสินค้ามีขนาดเล็ก และไม่ดึงดูดสายตา 1.2. ภาพประกอบบนฉลากสินค้าไม่ชดั เจน ท้าให้เข้าใจได้ยาก 2. ข้อเสียโดยภาพรวมของผลิตภัณฑ์ ได้แก่ 2.1. ผลิตภัณฑ์ขาดความสวยงามซึ่งเป็นตัวดึงดูดความสนใจของผู้บริโภค 2.2. ตัวผลิตภัณฑ์มคี วามยากต่อการน้าไปใช้สอย เพราะมีลกั ษณะเป็นก้อนแข็ง

การออกแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่ 1.

ชื่อผลิตภัณฑ์ เปลี่ยนจากชื่อเดิม คือ ไผ่ริมแคว เป็น ตาลริมแคว โดยมีแนวคิดจากจุดทีว่ ่า ชือ่ ไผ่ริมแคว เป็นชื่อ ร้านอาหารของเพื่อน จึงปรับเปลี่ยนเล็กน้อย ให้ดูมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน โดยเปลี่ยนแค่ค้าว่าไผ่ เป็น ค้าว่าตาล ซึ่งบ่งบอกถึงว่าผลิตภัณฑ์นี้ คือน้​้าตาลนั่นเอง

2.

ตราสัญลักษณ์ มีการดัดแปลงจากรูปแบบเดิม คือจากรูปแบบเดิมมีการใช้รูปภาพต้นมะพร้าวประกอบ ด้านข้าง แต่ปัญหาคือ รูปภาพไม่ชัด ท้าให้เข้าใจยาก จึงได้สร้างเป็น ลายกราฟิก รูปใบ มะพร้าวขึน้ มา เพื่อยังคงความเป็นตัวบ่งบอกว่าสินค้านี้ ผลิตมาจากส่วนหนึ่งของต้นมะ พร้าวเอาไว้ และยังคงข้อความ หลักๆไว้ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นค้าว่า น้​้าตาลมะพร้าวน้​้าหอม 100% ยืนยันถึงคุณภาพ ของสินค้า และเจ้า แรกของจังหวัดกาญจนะบุรี ซึ่งบ่งบอกถึงความ เป็นผู้น้าของผลิตภัณฑ์ชิ้นนี้ ในจังหวัด เพิ่มด้วยสโลแกน

โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )

ส2. สมมติฐาน

12


โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )

13

การทดลองท้าน้าตาลมะพร้าวแปรรูป ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน น้าน้​้าตาลมะพร้าวที่มีอยูต่ ามท้องตลาดมาหั่นให้บาง ลง

ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน หั่นเสร็จแล้วน้าใส่หม้อแล้วตั้งไฟอ่อนๆ

ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน น้​้าตาลเริ่มอ่อนตัวลงเป็นของเหลวบางส่วน


ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน แบบแม่พิมพ์ที่ต้องการน้ามาเปรี่ยน รูปแบบ

ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูง เนิน น้าน้​้าตาลที่เป็นของเหลวแล้วมาใส่ใน แม่แบบที่เราเตรียมไว้

โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )

ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน น้​้าตาลเป็นของเหลว ทั้งหมดแล้วเตรียมใส่แม่พิม

14


โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )

ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน เมื่อน้​้าตาลแข็งตัวก็สามารสน้าออกจาก แม่แบบได้

15

ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน น้าน้​้าตาลมาเทใส่จาน

ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน แล้วน้าแม่พิมพ์ที่เตรียมมากดลงไปที่น้าตาลที่ ยังไม่แข็งตัว ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน


ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูง เนิน รูปแบบกล่อง

โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )

ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน รูปน้​้าที่แปรรูปแล้ว

16


โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )

ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน แบบจ้าลอง

17

ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน แบบจ้าลอง

ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน แบบจ้าลอง

ที่มาของรูป: นางสาววิภาดา โทนสูงเนิน แบบจ้าลอง


โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )

ส.3 สรุป น้​้าตาลทีท่ ้าออกมาสรุปแล้วมี2แบบทีม่ ีการพัฒนา แบบที่1เป็นน้​้าตาลแบบก้อนที่น้ามาขึ้นรูป แล้วน้าไปใส่ไว่ในกล่องทีเ่ ตรียมไว้ ตามแบบในรูป

18


โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )

19

แบบที่2. เป็นน้​้าตาลมะพร้าวที่น้าไปป่นให้ละเอียด แล้น้ามาใส่ซองที่เตรียมไว้ซึ่งในหนึ่งซองมีขนาดเท่า กับสองซอนชา

และนี้คือกล่องที่ใส่ซองน้​้าตาลอีกทีเพื่อเวลาขนส่งจะได้มีการขนส่งได้ในจ้านวนที่มีขึ้น


20

โครงการออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณั ฑ์ตามแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ น้ าตาลมะพร้าวน้ าหอมแท้ 100% โอทอป จังหวัดกาญจนบุรี | สาขาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์ )


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.