วารสารศุภนิมิต
ปีที่ 29
1
2558
โปรยความหวังและความเพิ่มพูน
วารสารศุ ภ นิ มิ ต
แรงบันดาลใจพาสู่ฝัน
ยกระดับโรงเรียน
1
สารบัญ
3 จากใจผู้อ�ำนวยการ 4 กิจกรรม
10 โปรยความหวังและความเพิ่มพูน
12 แรงบันดาลใจพาสู่ฝัน
14 ยกระดับโรงเรียน ให้พร้อมรับมือน�้ำท่วม
16 ชีวิตที่โชติช่วงของสัมฤทธิ์
18 วันที่ฉันได้เป็นชาวนา
19 เสริมทักษะศึกษาชุมชน
บรรณาธิการบริหาร: Janice Evidente | ทีป่ รึกษา: จิตรา ธรรมบริสทุ ธิ,์ บรรจงเศก ทรัพย์โสภา, วิวรรธน์ ศรีธนางกูร, ประสพ ขุนสิทธิ,์ วีวา ชานวิทติ กุล กองบรรณาธิการ: สมลักษณ์ ค�ำแสน, ดวงพร โชคทิพย์พัฒนา, ไพวรรณ เบญจกุล, ประกฤต ลีลาวิวัฒน์, ฐิติ เลาหภิญโญจันทรา, Jay Mark Mijares ศิลปกรรม: วิทวัส สุทธิพงศ์เกียรติ์ | นักแปล: มลฤดี จันทวิเชียรวัฒน์ วารสารศุภนิมติ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ประชาสัมพันธ์ความก้าวหน้าในการด�ำเนินพันธกิจของมูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ และเสริมสร้างความเข้าใจอันดีแก่ผอู้ ปุ การะ ผูบ้ ริจาค คริสตจักร องค์กรร่วมพันธกิจทัง้ ภาครัฐและเอกชน ทีม่ ภี าระร่วมกันในการช่วยเหลือผูย้ ากไร้ ตลอดจนเป็นสารเชิญชวนผูบ้ ริจาคและผูส้ นับสนุน ให้มีส่วนร่วมในพันธกิจด้านต่างๆ ของมูลนิธิศุภนิมิตฯ วารสารฉบับนี้สงวนลิขสิทธิ์ 2558 จัดท�ำโดย มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย ห้ามมิให้ท�ำซ�้ำหรือดัดแปลงโดยไม่ได้รับอนุญาต
ภาพ: ปกหน้า Albert Yu ปกหลัง ประกฤต ลีลาวิวฒ ั น์ อ่านวารสารศุภนิมิต ฉบับออนไลน์และฉบับภาษาอังกฤษ หรือดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.worldvision.or.th
2
วารสารศุ ภ นิ มิ ต
จากใจผู้อ�ำนวยการ
เรียน ผู้อุปการะและผู้ร่วมพันธกิจทุกท่าน หากมองย้อนกลับไปในปี 2557 ซึ่งเป็นปีแห่งความสุขและความส�ำเร็จมากมายของ มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย หนึ่งในนั้นคือมิตรภาพอันยาวนานของทุกท่าน ซึ่งช่วย ให้การท�ำงานช่วยเหลือเด็กยากไร้ และผู้คนมากมายบรรลุผลส�ำเร็จ และท�ำให้เราได้ เฉลิมฉลองปีที่ 40 ร่วมกัน ในปีที่ผ่านมา การด�ำเนินงานของมูลนิธิศุภนิมิตฯ ที่เติบโตขึ้นเพื่อช่วยส่งเสริมการ ช่วยเหลือเด็กๆ โครงการส่งน้องจบปริญญาตรี เรือ่ งราวของสัมฤทธิ์ ในหน้า 16 แสดงให้ เห็นความส�ำเร็จของโครงการส่งน้องจบปริญญาตรีได้อย่างชัดเจน เขาได้ศกึ ษาจนส�ำเร็จ ปริญญาตรีสมความตัง้ ใจ วันนีเ้ ขามีความสุขความส�ำเร็จในชีวติ และการงานเทคนิคการ แพทย์ และอีกหลายคน ได้เป็นคุณครูสอนหนังสือเด็กด้อยโอกาสบนดอย อย่างไรก็ตาม ปี 2557 ยังย�ำ้ เตือนเราถึงเหตุการณ์ภยั พิบตั สิ นึ ามิในทวีปเอเชีย ขณะ ที่เราร่วมร�ำลึกครบรอบ 10 ปี ในวันที่ 26 ธันวาคม ซึ่งประเทศไทยและหลายประเทศ ประสบความสูญเสียอย่างใหญ่หลวงในปี 2547 แต่ในปีทผ่ี า่ นมาได้พสิ จู น์ถงึ พลังแห่งการ พลิกฟื้นทุกอย่างและก้าวไปสู่ความเติบโตก้าวหน้า การตระหนักของชุมชน และความ สามารถในการฟื้นฟูจากภัยพิบัติอันเลวร้ายได้ภายในเวลาอันรวดเร็ว โครงการพัฒนา ที่เกิดขึ้นภายหลังภัยพิบัติสึนามิในพื้นที่ 5 แห่ง ได้แก่ กะเปอร์ ตะกั่วป่า ท้ายเหมือง อ่าวลึก และคุระบุรี มูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ ยังคงด�ำเนินงานสืบเนือ่ งต่อมาเป็นเวลาหนึง่ ทศวรรษ แล้ว ความพยายามของเราปรากฏให้เห็นเหมือนที่ผ่านมาในอดีต เรื่องราวของนาย กมลพรในหน้า 10 แสดงให้เห็นถึงชีวิตที่ฟื้นตัวขึ้นจากโศกนาฏกรรมนี้อย่างไร ดิฉนั ภาวนาให้ตอ่ จากนี้ไปขอให้เรารอดพ้นจากความทุกข์ยากเช่นนี้ มูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ คงไม่อาจด�ำเนินงานให้เติบโตก้าวหน้ามาจนถึงทุกวันนี้ หากไม่ได้รับการสนับสนุนอย่าง ต่อเนื่องจากทุกท่าน ขอพระเจ้าอวยพรหน้าทีก่ ารงานของท่าน และขอให้ประสบความส�ำเร็จในทุกๆ สิง่ จิตรา ธรรมบริสุทธิ์ ผู้อ�ำนวยการ วารสารศุ ภ นิ มิ ต
มูลนิธศิ ภุ นิมติ แห่งประเทศไทย
ประกาศขาย อาคารส�ำนักงาน
• ขายอาคารส�ำนักงาน 5 ชัน้ ครึง่ 5 คูหา ติดถนนเอกมัย • พื้นที่ใช้สอย 1,580 ตารางเมตร • สิ่งอ�ำนวยความสะดวก ครบครัน สนใจติดต่อ โทร. 02-022-9200 ถึง 2 คุณอนุสรณ์ ต่อ112 หรือ คุณวิวรรธน์ ต่อ 455
3
กิจกรรม
3 1
2
4
5
6
1. คุณสุกิตติ กิตติภัสสร ผู้อุปการะพบเด็ก ในความอุปการะ 2. ผู ้ อุ ป การะ แขกรั บ เชิ ญ เด็ ก ๆ และ ผู้บริหารมูลนิธิศุภนิมิตฯ ร่วมถ่ายรูป 3. คุณยงยุทธ ใต้เงาสน (ซ้าย) เด็กใน ความอุ ป การะของอาจารย์ อุ ไ รวรรณ สมจิตต์ (ขวา) 4. คุ ณ เฉลิ ม ศั ก ดิ์ กาญจนวริ น ทร์ อดีต เด็ ก ในความอุ ป การะของมู ล นิ ธิ ศุภนิมิตฯ ผันตัวเป็นผู้อุปการะ ถ่ายรูป พร้อมเด็กในความอุปการะ 5. เคน ภูภมู ิ (สองจากขวา) พบเด็กในความ อุปการะ พร้อมพิธีกร มิค บรมวุฒิ (ซ้าย สุด) และเบนซ์ พรชิตา (ขวาสุด) 6. มาริโอ้ และผู้อุปการะที่ซ้ือตุ๊กตาช้าง เพื่อช่วยสนับสนุนโครงการ “พี่นอนอุ่น น้องท้องอิ่ม” 7. ใหม่ เจริญปุระ และเด็กในความอุปการะ
7
มูลนิธิศุภนิมิตฯ ก้าวสู่ปีที่ 40 แห่งความส�ำเร็จ
เนื่องในวาระครบรอบ 40 ปี มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย ได้จัด กิจกรรมพิเศษภายใต้ชื่อ “Celebrating 40 Years Together, For Children, For Change, For Life” เพื่อเป็นการขอบคุณผู้อุปการะ และผู้บริจาค ที่ให้การสนับสนุนมาอย่างต่อเนื่อง ผู้เข้าร่วมงานเข้าชม นิทรรศการการท�ำงานของมูลนิธิศุภนิมิตฯ พร้อมเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ ชุมชนจากพืน้ ทีโ่ ครงการต่างๆ นอกจากนี้ ผูม้ ชี อื่ เสียงในแวดวงสังคมและ บันเทิงหลายท่าน ได้ให้เกียรติเข้าร่วมงาน อาทิ คิด คณชัย เบญจรงคกุล มาริโอ้ เมาเร่อ และเคน ภูภูมิ พงษ์ภาณุ กิจกรรมพิเศษนี้จัดขึ้นครั้งแรก เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2557 และครั้งที่สอง เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2557 ณ โรงภาพยนตร์สยามภาวลัย ห้างสรรพสินค้าสยามพารากอน คุณจิตรา ธรรมบริสุทธิ์ ผู้อ�ำนวยการมูลนิธิศุภนิมิตฯ กล่าวว่า “มูลนิธิศุภนิมิตฯ เริ่มท�ำงานในประเทศไทยโดยโครงการขนาดเล็ก ปัจจุบัน เราด�ำเนินงานช่วยเหลือเด็กกว่าแสนคนใน 44 จังหวัด ขอ ขอบคุณท่านที่ได้ไว้วางใจมูลนิธิศุภนิมิตฯ ในการเติมเต็มความฝันของ เด็กๆ” ในงานทัง้ สองครัง้ ผูอ้ ปุ การะหลายท่านได้ให้เกียรติขนึ้ เวที และพบ กับเด็กในความอุปการะเป็นครั้งแรก ซึ่งเรียกทั้งเสียงหัวเราะและน�้ำตา จากทั้งสองฝ่าย ก่อนตบท้ายด้วยบทเพลงประสานเสียงอันไพเราะที่ขับ ขานโดยเด็กๆ กว่า 20 คน จากอ�ำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
4
งานวันที่ 7 มิถุนายน กิจกรรมไฮไลท์ คือการแสดงคอนเสิรต์ ของนักร้องสุดสวย คริสตินา่ อากิลา่ ร์ โรส ศิรนิ ทิพย์ และใหม่ เจริญปุระ รวมถึงการแสดงแทงโก้ของผู้ อุปการะ คุณสุขมุ าลย์ บุญชู และคณะแทงโก้บางกอก ซึง่ สร้างสีสนั ให้งาน งานวันที่ 11 ตุลาคม ภายในงานได้รับเกียรติจาก มิค บรมวุฒิ หิรัญยัษฐิติ และเบนซ์ พรชิตา ณ สงขลา รับหน้าที่เป็นพิธีกรด�ำเนินรายการ จากนั้นนักแสดง สุดหล่อ เคน ภูภูมิ พงษ์ภาณุ ได้ขึ้นเวทีเพื่อพบกับเด็กในความอุปการะ ผู้เข้าร่วมงานต่างเพลิดเพลินไปกับมินิคอนเสิร์ตโดย กบ ทรงสิทธิ์ รุ่งนพคุณศรี วงลิปตา และนักร้องเสียงหวาน ปนัดดา เรืองวุฒิ มาริโอ้ เมาเร่อ เป็นหนึง่ ในผูอ้ ปุ การะ ทีม่ าพบเด็กในความอุปการะ ด.ช.คุณากร หรือน้องสันต์ อายุ 9 ปี โดยน้องสันต์เดินทางมาจาก ภูมิล�ำเนาที่อ�ำเภอบ้านแปะ จังหวัดเชียงใหม่ นอกจากจะอวยพรมูลนิธิ ศุภนิมิตฯ ในโอกาสครบรอบ 40 ปีแล้ว มาริโอ้ยังเชิญชวนแฟนคลับ ให้ช่วยกันซื้อตุ๊กตาช้างซึ่งมีผ้าห่มอยู่ข้างในราคา 400 บาท ภายใต้ ‘โครงการ พี่นอนอุ่น น้องท้องอิ่ม’ โดยจะน�ำเงินบริจาคไปสนับสนุน อาหารเช้าที่ครบหลักโภชนาการ 5 หมู่ ให้กับเด็กเล็กอายุ 2-6 ปี กว่า 3,000 คน ใน 7 จังหวัดทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศไทย วารสารศุ ภ นิ มิ ต
กิจกรรม
เคเอฟซี ปันสุข พี่ช่วยน้อง อิ่มท้องมื้อเที่ยง เคเอฟซี ประเทศไทย น�ำโดย คุณอนิต้า โซนี่ ผู้อ�ำนวยการฝ่ายทรัพยากร มนุษย์ บริษัท ยัม เรสเทอรองตส์ อินเตอร์เนชั่นแนล (ประเทศไทย) จ�ำกัด และรองประธานโครงการกิจการเพื่อสังคมเคเอฟซี ประเทศไทย พร้อม อาสาสมัครจากเคเอฟซี และบริษั ท เซ็นทรัล เรสเตอรองส์ กรุ๊ป จ�ำกัด กว่า 40 คน เข้าร่วมกิจกรรม “เคเอฟซี ปันสุข พี่ช่วยน้อง อิ่มท้องมื้อเที่ยง” ผ่านการสนับสนุนของมูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย เพื่อมอบต้นทุนและ ความรู้ด้านการเกษตร รวมถึงบริจาคอุปกรณ์การเรียนและการกีฬา ให้ โรงเรียนบ้านคลองบอน อ�ำเภอโป่งน�้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี โดยมีคุณจิตรา ธรรมบริสุทธิ์ ผู้อ�ำนวยการมูลนิธิศุภนิมิตฯ และคุณอ�ำนาจ ชยางคานนท์ ผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียนบ้านคลองบอน ให้การต้อนรับ เมือ่ วันที่ 24-25 กันยายน ที่ผ่านมา ภายใต้กจิ กรรมเพือ่ สังคม “เคเอฟซี ปันสุข พีช่ ว่ ยน้อง อิม่ ท้องมือ้ เทีย่ ง” บริษัท ยัมฯ และ บริษัท เซ็นทรัล เรสเตอรองส์ กรุป๊ ในฐานะผูบ้ ริหารแบรนด์ เคเอฟซี ประเทศไทย ได้บริจาคเงินจ�ำนวน 2 ล้านบาท จาก “กองทุนเกษตร อาหารกลางวัน เคเอฟซี ปันสุข” ให้โรงเรียนในเครือข่ายของมูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ 4 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนบ้านคลองบอน อ�ำเภอโป่งน�้ำร้อน จังหวัดกาญจนบุรี โรงเรียนบ้านโคกตาล อ�ำเภอภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ โรงเรียนบ้านโพนแดง อ�ำเภอดงหลวง จังหวัดมุกดาหาร และโรงเรียน ตชด. เฉลิมพระเกียรติ 7 รอบฯ (หม่องกั๊วะ) อ�ำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก เพื่อสนับสนุนให้นักเรียนน�ำ ผลผลิตทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นภายในโรงเรียน เช่น ผักสวนครัว เห็ด ไข่ ไก่ และปลา มาปรุงอาหารกลางวันที่ถูกหลักโภชนาการ และส่งเสริมการน�ำ ผลิตภัณฑ์ไปจ�ำหน่ายเพื่อเป็นรายได้หมุนเวียนต่อไป
อีซี่บายน�ำความยั่งยืน สู่พื้นที่ห่างไกล มร.ทาเคฮารุ อุเอมั ทซึ ประธานกรรมการ และประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร บริษั ท อีซี่บาย จ�ำกัด (มหาชน) น�ำทีม พนักงานบริษั ท อีซี่บายฯ กว่า 20 คน ร่วมท�ำกิจกรรม “อีซี่บาย...เพื่อความยั่งยืนสู่ชนบทกับเกษตรผสมผสาน 1 ไร่ เปลี่ยนชีวิต” ภายใต้โครงการ “อีซี่บาย...เพื่อสังคมไทย” โดยร่วมกับมูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย ในการด�ำเนิน โครงการทีห่ มูบ่ า้ นซ�ำน้อย อ�ำเภอผาขาว จังหวัดเลย โรงเรียน บ้านมะกอก อ�ำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว และโรงเรียน บ้านนาดีหัวภู อ�ำเภอบ้านแพง จังหวัดนครพนม โดยมีนาย เรืองฤทธิ์ ด่านประสิทธิ์ ผู้จัดการพันธกิจภาคตะวันออก เฉียงเหนือโซน 1 มูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ ร่วมส่งมอบกิจกรรม ตลอด ทั้งปี พ.ศ.2557 ที่ผ่านมา บริษัท อีซบี่ ายฯ ได้สง่ มอบอุปกรณ์การเกษตร พันธุป์ ลา พันธุห์ มู ไก่ไข่ โรงเพาะเห็ด และเมล็ดพันธุพ์ ชื เศรษฐกิจต่างๆ ให้แก่ชุมชนและโรงเรียนยากไร้ ภายใต้การดูแลของมูลนิธิ ศุภนิมิตฯ เพื่อให้ชุมชนและโรงเรียนดูแลผลผลิตทางการ เกษตร และน�ำมาประกอบอาหารทาน นอกจากนี้ ยังสามารถ จัดจ�ำหน่ายเพื่อสร้างรายได้เสริมอีกด้วย ซึ่งน�ำความยั่งยืน ทางการเกษตรสู่ชุมชนอย่างแท้จริง วารสารศุ ภ นิ มิ ต
5
กิจกรรม
วัน เวิลด์ ฟุตบอล ถึงโรงเรียนที่ขาดแคลน ในชุมชนห่างไกล
1
2 3 1. เด็กๆ ได้รับพลังแห่งการเล่น จาก วัน เวิลด์ ฟุตบอล 2. มร.เพอร์ตี้ (ที่สามจากขวา) นายธรรมนูญ (ที่สองจากซ้าย) และ นางจิตรา (ซ้ายสุด) 3. เรณุกา (ซ้ายสุด) และเพื่อนนักเรียน ดี ใจที่โรงเรียนมีห้องสมุด สวยงาม
มร.มาร์คอส เพอร์ตี้ กรรมการผูจ้ ดั การ เจนเนอรัล มอเตอร์ส ประเทศไทย และเชฟโรเลต เซลส์ ประเทศไทย น�ำคณะสื่อมวลชน ส่งมอบ วัน เวิลด์ ฟุตบอล จ�ำนวน 280 ลูก หนังสือภาษาอังกฤษง่ายนิดเดียว จ�ำนวน 2,000 เล่ม และปรับปรุงห้องสมุด ฐานเสาธง สนามฟุตบอลของโรงเรียน บ้านห้วยคุ อ�ำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่การด�ำเนิน งานของโครงการพญาภิภักดิ์ มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย โดยมีนาง จิตรา ธรรมบริสทุ ธิ์ ผูอ้ ำ� นวยการมูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ และนายธรรมนูญ กิจนุกร ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบ้านห้วยคุ ให้การต้อนรับ เมื่อเร็วๆ นี้ โรงเรียนบ้านห้วยคุ มีนกั เรียน 483 คน เปิดสอนในระดับชัน้ อนุบาล ถึงมัยธมศึกษา นายธรรมนูญ กล่าวว่า “เด็กนักเรียนได้รับประโยชน์ มากมายจากกิจกรรมครั้งนี้ ขอขอบคุณส�ำหรับการสนับสนุน” เรณุกา นักเรียนชั้นมัธยม 3 เล่าว่า “รู้สึกดีใจที่โรงเรียนมีหนังสือ ใหม่จ�ำนวนมาก ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการเรียนรู้” มร.เพอร์ตี้ กล่าวว่า “ผมสนับสนุนให้เด็กออกก�ำลังกายอย่าง สม�่ำเสมอ และได้รับการศึกษา เพราะจะสร้างความเปลี่ยนแปลงในทาง ที่ดีแก่เด็กๆ” คุณจิตรา กล่าวว่า “มูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ ได้สร้างเครือข่ายทีเ่ ข้มแข็งร่วม กับชุมชนและโรงเรียน เพือ่ เข้าถึงเด็กทีต่ อ้ งการความช่วยเหลือมากทีส่ ดุ ขอขอบคุณเชฟโรเลต ประเทศไทย ทีเ่ ติมเต็มความต้องการของพวกเขา”
เทสโก้ โลตัส เยี่ยมชม ‘โครงการมื้อเช้า เพื่อน้องท้องอิ่ม’ ที่จังหวัดเลย คุณศุภชัย กุลโชควณิช ผู้จัดการส่วนภูมิภาคกิจการสาธารณะ เทสโก้ โลตัส น�ำทีมพนักงานเข้าเยีย่ มชมศูนย์พฒ ั นาเด็กเล็ก 3 แห่ง เพือ่ ติดตาม การด�ำเนินงาน ‘โครงการมื้อเช้าเพื่อน้องท้องอิ่ม’ ของมูลนิธิศุภนิมิต แห่งประเทศไทย โดยมีคุณอนุสรณ์ สมศิริ ผู้ช่วยผู้อ�ำนวยการมูลนิธิ ศุภนิมิตฯ และคุณอุทัย หอมอ่อน นายกเทศมนตรีต�ำบลโนนปอแดง ให้การต้อนรับที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดไชยศรียาราม อ�ำเภอผาขาว 1 จังหวัดเลย เมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา เทสโก้ โลตัส ให้การสนับสนุน ‘โครงการมื้อเช้าเพื่อน้องท้องอิ่ม’ อย่างต่อเนื่องเป็นเวลากว่า 2 ปี ซึ่งโครงการมื้อเช้าฯ ด�ำเนินงานใน 8 อ�ำเภอ 7 จังหวัด ทางภาคเหนือและภาคอีสาน ช่วยเหลือเด็กยากไร้ ในวัยก่อนเรียน ให้ได้รับอาหารเช้าที่มีคุณค่า ถูกหลักตามโภชนาการ เพราะเด็กยากไร้จ�ำนวนมาก อยู่ในภาวะขาดสารอาหารจึงมีภูมิคุ้มกัน โรคต�่ำ และตัวเล็กแคระแกร็นกว่าเด็กในวัยเดียวกัน 3 ในโอกาสนี้ คณะเทสโก้ โลตัส ได้เยี่ยมชมความคืบหน้าของ 2 ‘โครงการมือ้ เช้าเพือ่ น้องท้องอิม่ ’ และบริจาคอุปกรณ์เสริมสร้างทักษะ 1. คุณศุภชัย (แถวหลัง กลางขวา) คุณอนุสรณ์ (ที่ห้าจากขวา) คุณอุทัย (ทีส่ ี่จากขวา) การเรียนรู้ให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดไชยศรียาราม ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัดบ้านเพิ่ม และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดอุทัยบรรพต ในอ�ำเภอผาขาว 2. น้องๆ ที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก วัดไชยศรียาราม ทานมื้อเช้าเปี่ยมคุณค่า จากเทสโก้ โลตัส ท่านสามารถดูขอ้ มูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับโครงการ “มือ้ เช้าเพือ่ น้องท้องอิม่ ” 3. พนักงานเทสโก้ โลตัส น�ำอาหารเช้ามาให้น้องๆ ได้ที่ http://www.worldvision.or.th/breakfast4kids.html
6
วารสารศุ ภ นิ มิ ต
กิจกรรม
อีซูซุอึ้งง่วนไต๋ มอบแหล่งน�้ำสู่การพัฒนา กลุม่ อีซซู อุ งึ้ ง่วนไต๋ น�ำโดย คุณเสาวนิต พิทกั ษ์สทิ ธิ์ รองประธานกรรมการ คุณธีรยุทธ พิทกั ษ์สทิ ธิ์ กรรมการผูจ้ ดั การ คุณอุษษา พิทกั ษ์สทิ ธิ์ ผูอ้ ำ� นวย การสายงานการตลาดและบริการหลังการขาย คุณธารทิพย์ ลีวุฒินันท์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ และกลุ่มพนักงาน ได้ส่งมอบ “โครงการพัฒนา แหล่งน�้ำส�ำหรับอุปโภคบริโภค และใช้ในการเกษตรอาหารกลางวัน” ให้ โรงเรียนบ้านหินสูง โดยมีว่าที่ร้อยตรี ดร.ทวีศักดิ์ นามศรี ผู้อ�ำนวยการ ส�ำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 3 คุณยงยุทธ์ มีชัย ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบ้านหินสูง และ ดร. บรรจงเศก ทรัพย์โสภา ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการตลาดและระดมทุน มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย 1 ให้การต้อนรับทีโ่ รงเรียนบ้านหินสูง ต�ำบลช่องเม็ก อ�ำเภอสิรนิ ธร จังหวัด อุบลราชธานี เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2557 โครงการพัฒนาแหล่งน�ำ้ ส�ำหรับอุปโภคบริโภค และใช้ในการเกษตร อาหารกลางวัน ซึ่งด�ำเนินงานโดยมูลนิธิศุภนิมิตฯ มีวัตถุประสงค์พัฒนา แหล่งน�้ำสะอาดส�ำหรับโรงเรียนและชุมชน รวมถึงมอบต้นทุนและองค์ ความรู้ด้านการเกษตรให้โรงเรียนน�ำไปต่อยอด เช่น การจัดตั้งกลุ่ม 2 3 ยุวเกษตร เพื่อดูแลผลผลิต และน�ำไปประกอบอาหารกลางวัน ภายในงาน ผู้บริหารของกลุ่มอีซูซุอึ้งง่วนไต๋ ไม่เพียงแต่ปล่อยพันธุ์ ปลาดุก โรยเมล็ดพันธุ์พืช ขุดเจาะบ่อบาดาล และติดตั้งระบบกรองน�้ำ 1. วา่ ทีร่ อ้ ยตรี ดร.ทวีศกั ดิ์ (คนทีเ่ จ็ดจากขวา) ถ่ายภาพหมูพ่ ร้อมตัวแทน มูลนิธิศุภนิมิตฯ และกลุ่มอีซูซุอึ้งง่วนไต๋ แต่ยงั บริจาคอุปกรณ์การเรียนและกีฬาให้เด็กนักเรียนทุกคนด้วย จากนัน้ ผูบ้ ริหารของกลุม่ อีซซู อุ งึ้ ง่วนไต๋ ได้จดั เลีย้ งอาหารกลางวันให้นอ้ งๆ อย่าง 2. กลุ่มอีซูซุอึ้งง่วนไต๋ เลี้ยงมื้อกลางวันเด็กนักเรียน 3. ผู้บริหารร่วมกันปล่อยปลาดุก เพื่อให้เด็กนักเรียนดูแลต่อไป เอร็ดอร่อย
หนังสือเล่มยักษ์ ผลึกการ “รวมพลัง...เป็นหนึ่ง” 3 วัน 2 คืน ในค่ายพัฒนาทักษะชีวิต “ซาตู...ปาดู (รวมพลัง...เป็นหนึ่ง)” ที่มูลนิธิ ศุภนิมติ แห่งประเทศไทย ภายใต้การสนับสนุนจากมูลนิธไิ ฟเซอร์ประเทศไทย จัด ขึน้ เพือ่ พัฒนาทักษะชีวติ ทีเ่ หมาะสมตามวัยให้นกั เรียน 98 คน ในระดับชัน้ ประถม 3 ถึงประถม 5 ของโรงเรียนบ้านตูแตหร�ำ และโรงเรียนบ้านปีใหญ่ อ�ำเภอละงู จังหวัดสตูล ณ บารารีสอร์ท เมื่อเดือนพฤศจิกายน ที่ผ่านมา กิจกรรมในค่ายช่วยสอนการพัฒนาทักษะชีวิตในด้านการเคารพผู้อื่น การ ปฏิเสธสิง่ ยัว่ ยุ รวมถึงการเรียนรูเ้ กีย่ วกับการท�ำงานเป็นทีม และการพัฒนาความ สัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น ไฮไลท์ของกิจกรรมคือ การท�ำนิทานคุณธรรมเล่มยักษ์ เพื่อมุ่งเน้นพัฒนา ทักษะให้เด็กแต่ละคนด้านการอ่าน และทักษะเชิงกลุ่มเรื่องการท�ำงานเป็นทีม โดยให้เด็กๆ น�ำสิง่ ทีเ่ รียนรูม้ าประยุกต์ใช้ในแต่ละขัน้ ตอน ไม่วา่ จะเป็นการเคารพ ผูอ้ นื่ ในระหว่างการระดมความคิด เพือ่ ให้ได้เรือ่ งราวทีม่ เี นือ้ หาตรงตามแก่นเรือ่ ง การเคารพในความสามารถของผูอ้ นื่ ในขัน้ ของการแบ่งหน้าทีก่ นั ท�ำ ตลอดจนการ มีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันเพื่อให้การท�ำงานเป็นไปอย่างราบรื่น เด็กๆ ทุกกลุ่มท�ำเต็มความสามารถ จนหนังสือเล่มยักษ์เสร็จสมบูรณ์ “สนุกมากค่ะ หนูได้ประสบการณ์และได้เรียนรู้หลายอย่าง และครูสรุปให้ ฟังว่าที่เราท�ำดีหรือไม่ดี” เด็กหญิงวิยุดา ชั้นประถม 5 โรงเรียนบ้านตูแตหร�ำ พูด ส่วนครูระวีวรรณ สงค์เกื้อ ครูประจ�ำชั้นประถม 3 โรงเรียนบ้านปีใหญ่ พูด ชื่นชมว่า “เด็กมาค่ายแล้วเขากล้าขึ้นค่ะ” วารสารศุ ภ นิ มิ ต
7
กิจกรรม
1 2 1. นายสราวุธ ราชศรีเมือง กล่าวถึงความส�ำคัญของโครงการใน การจัดอบรมเพิ่มความรู้และทักษะป้องกันมาลาเรีย 2. บรรยากาศในงานจัดอบรมเพิม่ ความรูแ้ ละทักษะป้องกันมาลาเรีย
กองทุนโลก มอบเงินสู้มาลาเรีย กองทุนโลก (Global Fund) มอบเงินสนับสนุนการท�ำงานยับยั้ง การดื้อยาโรคมาลาเรียระดับภูมิภาค แก่มูลนิธิศุภนิมิตแห่ง ประเทศไทย เพื่อช่วยมุ่งสร้างความตระหนักในการแพร่ระบาด ของมาลาเรีย ลดจ�ำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ และยับยั้งการดื้อยา อาร์ติมิซินิน ในแต่ละปี มีผตู้ ดิ เชือ้ มาลาเรียทัว่ โลกมากกว่า 200 ล้านคน ต่อปี เสียชีวติ มากกว่า 600,000 รายต่อปี ในปี 2556 ประเทศไทย มีรายงานจากส�ำนักโรคติดต่อ กระทรวงสาธารณสุขว่า มีผู้ป่วย มากกว่า 25,000 ราย และมีรายงานการเกิดเชื้อมาลาเรียดื้อยา ในแถบชายแดนไทย-กัมพูชา กองทุนโลก จึงมอบเงินช่วยเหลือ สู้มาลาเรียแก่มูลนิธิศุภนิมิตฯ ในการจัดอบรมเพิม่ ความรูแ้ ละทักษะการป้องกันมาลาเรีย ในชุมชน นายสราวุธ ราชศรีเมือง ผู้อ�ำนวยการฝ่ายปฏิบัติการ มูลนิธิศุภนิมิตฯ พูดถึงความส�ำคัญของโครงการความร่วมมือ ระดับภูมภิ าคซึง่ ประกอบด้วยประเทศไทย พม่า ลาว กัมพูชา และ เวียดนาม ว่า โครงการนีช้ ว่ ยป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย ลด ความเสียหายนับสิบเท่าจากการเกิดดือ้ ยา และช่วยลดอัตราเสีย ชีวิตในผู้ป่วยมาลาเรีย กลุ่มเป้าหมายคือ กลุ่มผู้อพยพ กลุ่มแรงงานข้ามชาติที่ อยู่ในไทยน้อยกว่า 6 เดือน ในพื้นที่ด�ำเนินโครงการของมูลนิธิ ศุภนิมิตฯ คือ อ�ำเภอสบเมย อ�ำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก และ อ�ำเภอเมือง อ�ำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ในโครงการ มีการแจกมุ้งชุบน�้ำยากันยุง ให้ความรู้ด้านสุขภาพ ผลิตสื่อ สุขศึกษาสองภาษาส�ำหรับโรคมาลาเรีย จัดประชุมเครือข่าย และ รณรงค์ความร่วมมือป้องกันและควบคุมโรคมาลาเรีย หากพบ ผูส้ งสัยว่าติดเชือ้ มาลาเรียจะได้รบั การตรวจเลือด คัดกรองผูป้ ว่ ย และติดตามการรักษาที่คลินิกมาลาเรียเคลื่อนที่ “ปัญหาการดือ้ ยาเกิดขึน้ ในภูมภิ าคนีม้ า 4-5 ปีแล้ว ในกลุม่ คนที่อยู่ชายแดนไทย-พม่า โครงการนี้จะมีส่วนช่วยป้องกันมิให้ โรคนีแ้ พร่กระจายไปยังพืน้ ทีอ่ นื่ ควบคุมจ�ำนวนผูต้ ดิ เชือ้ ให้ลดลง คนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะป้องกันตนเอง” นายแพทย์เต็ท (Dr. Thet) ผู้จัดการโครงการยับยั้งการดื้อยา อาร์ติมิซินิน มูลนิธิศุภนิมิตฯ แสดงความเห็น
8
สมาชิกนักปั่นจักรยานเดอะทัวร์ออฟโฮป มอบจักรยานให้เด็กๆ โรงเรียน บ้านแม่ตะมาน
เดอะทัวร์ออฟโฮป นักปั่นจักรยานสัญจร ช่วยการศึกษาเด็กไทย ดร.ฮานส์ บ๊อก ประธานเดอะทัวร์ออฟโฮป น�ำสมาชิกนักปั่นจักรยานทั่วโลก ขี่จักรยานจากจังหวัดอุดรธานีถึงจังหวัดเชียงใหม่ ระยะทาง 800 กิโลเมตร เพื่อส่งมอบห้องสมุดหลังใหม่ จักรยาน 20 คัน และอุปกรณ์ส�ำหรับจักรยาน ให้แก่โรงเรียนบ้านแม่ตะมาน และมอบจักรยาน 75 คัน ให้แก่โรงเรียน บ้านปางไม้แดง อ�ำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งโรงเรียนทั้งสองแห่ง ตั้งอยู่ ในพื้นที่โครงการแม่แตง ภายใต้การด�ำเนินงานของมูลนิธิศุภนิมิต แห่งประเทศไทย โดยมี ดร.บรรจงเศก ทรัพย์โสภา ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการ ตลาดและระดมทุน มูลนิธิศุภนิมิตฯ นายมงคล พุทธัง รองผู้อ�ำนวยการ สพป.เชียงใหม่ เขต 2 คุณณัฐวรรธน์ ดอนดี ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบ้าน แม่ตะมาน และคุณมะลิ พงศ์พันธ์ไพบูลย์ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบ้านปาง ไม้แดง ให้การต้อนรับเมื่อเร็วๆ นี้ โรงเรียนบ้านแม่ตะมาน มีการสอนตั้งแต่ชั้นอนุบาลจนถึงมัธยม มี นักเรียนอายุ 4-15 ปี จ�ำนวน 289 คน โครงการห้องสมุดเพื่อน้องได้รับ การสนับสนุนงบประมาณ 995,000 บาท จากเดอะทัวร์ออฟโฮป จัดสร้าง ห้องสมุด ติดตัง้ ชัน้ หนังสือ จัดหาหนังสือ คอมพิวเตอร์ เฟอร์นเิ จอร์ และอุปกรณ์ อื่นๆ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน คุณณัฐวรรธน์ กล่าวว่า “ขอขอบคุณที่ช่วยสร้างการเปลี่ยนแปลงชีวิต ให้เด็กๆ มีความรู้มากขึ้น และเดินทางมาเรียนทันเพื่อน” ดร.ฮานส์ กล่าวว่า “เราปัน่ จักรยานรับเงินบริจาคจากเพือ่ นๆ และลูกค้า เพื่อช่วยเหลือการศึกษาเด็กไทย และอยากให้เด็กๆ มีความสนุกในการปั่น จักรยาน หวังว่าจะเป็นประโยชน์ต่อนักเรียนที่นี่” ศิวพร นักเรียนชัน้ มัธยม 2 เล่าว่า “เมือ่ ก่อนไม่มชี นั้ วางหนังสือ หนังสือ ก็เก่า และต้องนั่งอ่านกับพื้น รู้สึกดีใจที่มีหนังสือใหม่ๆ ช่วยให้พวกเราได้รับ ความรู้เพิ่มขึ้น” เด็กชายหล่าบิ นักเรียนชั้นประถม 2 เล่าว่า “ไม่เคยมีจักรยานมาก่อน ดีใจมากครับ และจะขี่พาน้องสาวมาโรงเรียนทุกวัน” โครงการจักรยานเพือ่ น้อง มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ช่วยเหลือนักเรียนทีบ่ า้ น ห่างไกล และขาดแคลนพาหนะ โครงการจึงจัดเตรียมจักรยานไว้ส�ำหรับยืม ใช้มาโรงเรียน โดยสามารถยืมจนจบชั้นประถม 6 และส่งมอบให้นักเรียน รุ่นต่อไป นอกจากนี้ ยังจัดสอนการดูแลรักษาจักรยานเบื้องต้นแก่นักเรียน ผู้ยืมใช้ด้วย วารสารศุ ภ นิ มิ ต
กิจกรรม
2
1
3
4 5 6 7 1. คณะกรรมการอ�ำนวยการมูลนิธิศุภนิมิตฯ และแขกผู้มีเกียรติถ่ายรูปร่วมกันในงานถวายอาคารศูนย์ฝึกอบรม 2. ดร.สายสุรี จุติกุล มร.เควิน เจนกินส์ และคุณจิตรา ธรรมบริสุทธิ์ ร่วมตัดริบบิ้นถวายอาคารศูนย์ฝึกอบรม 3. คณะนักร้องร่วมร้องเพลงในงานถวายอาคารศูนย์ฝึกอบรม 4. แขกผู้มีเกียรติร่วมกันขับร้องเพลงนมัสการ 5. ศจ.สยาม ม่วงศักดิ์ ท�ำพิธีเปิดและถวายอาคารศูนย์เชียงราย 6. มร.เควิน เจนกินส์ ไขกุญแจเปิดประตูอาคารศูนย์เชียงราย 7. คณะกรรมการอ�ำนวยการมูลนิธิศุภนิมิตฯ และแขกผู้มีเกียรติถ่ายรูปหน้าศูนย์เชียงราย
มูลนิธิศุภนิมิตฯ จัดพิธีเปิดและมอบถวายอาคารที่เชียงรายและกรุงเทพฯ มร.เควิ น เจนกิ น ส์ ประธานศุ ภ นิ มิ ต สากล ดร.สายสุ รี จุ ติ กุ ล ประธานกรรมการอ� ำ นวยการมู ล นิ ธิ ศุ ภ นิ มิ ต แห่ ง ประเทศไทย และนางจิตรา ธรรมบริสทุ ธิ์ ผูอ้ ำ� นวยการมูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ ร่วมเป็นประธาน ในพิธเี ปิดศูนย์ศภุ นิมติ เพือ่ การพัฒนา จังหวัดเชียงราย และศูนย์ฝกึ อบรม มูลนิธศิ ภุ นิมติ แห่งประเทศไทย ถนนประชาอุทศิ กรุงเทพฯ โดยมีคณะ กรรมการอ�ำนวยการ และคณะกรรมการบริหารมูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ ตัวแทน จากมูลนิธสิ ภาคริสตจักรในประเทศไทย สหกิจคริสเตียนแห่งประเทศไทย มูลนิธคิ ริสตจักรคณะแบ๊บติสท์ และหน่วยงานภาครัฐและเอกชนเข้าร่วม งานอย่างพร้อมเพรียง เมือ่ วันที่ 17–18 พฤศจิกายน ทีผ่ า่ นมา ส�ำหรับพิธเี ปิดและถวายอาคารศูนย์ศภุ นิมติ เพือ่ การพัฒนา จังหวัด เชียงราย เมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2557 ได้รับเกียรติจาก ศจ.สยาม ม่วงศักดิ์ เลขาธิการมูลนิธสิ ภาคริสตจักรในประเทศไทย และ ศจ.เจษฎา ยะรินทร์ ประธานคณะธรรมกิจคริสตจักรภาคที่ 2 เชียงราย เป็น ผู้ประกอบพิธีมอบถวาย และน�ำการทูลขอการทรงน�ำ พิธีการจบลงด้วย การเปิดผ้าแพรคลุมป้ายด้านหน้าของศูนย์ศภุ นิมติ เพือ่ การพัฒนาฯ และ ปลูกต้นไม้ ซึง่ คุณสมศักดิ์ คณาค�ำ นายอ�ำเภอเวียงชัย ได้ให้เกียรติเข้าร่วม ในส่วนของพิธกี ารถวายอาคารศูนย์ฝกึ อบรมมูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ ถนน ประชาอุทิศ กทม. จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2557 ซึ่งพิธีการ วารสารศุ ภ นิ มิ ต
นมัสการและถวายอาคาร น�ำโดย ศจ.วรสิทธิ์ ศรียุทธไกร รองประธาน มูลนิธิคริสตจักรคณะแบ๊บติส กรรมการและเหรัญญิก คณะกรรมการ อ�ำนวยการ มูลนิธิศุภนิมิตฯ ศจ.ดร.รุ่ง เริงสันติ์อาจิณ รองประธานสภา คริสตจักรแห่งประเทศไทย ศจ.ดร.อานุภาพ วิชิตนันทน์ ศิษยาภิบาล คริสตจักรเสรีภาพกรุงเทพ และ ศจ.ดร.มาโนช แจ้งมุข รองประธานสหกิจ คริสเตียนแห่งประเทศไทย ท้ายสุดนี้ มร.เควิน ดร.สายสุรี และนางจิตรา ได้ร่วมกันตัดริบบิ้น เพื่อเปิดอาคารอย่างเป็นทางการ มร.เควิน ได้ร่วมแสดงความยินดีกับงานในครั้งนี้ “ผมรู้สึกเป็น เกียรติอย่างยิ่งที่ ได้มีโอกาสเข้าร่วมในพิธีถวายอาคารทั้งสองแห่งที่ เชียงรายและกรุงเทพฯ” เขากล่าว “อาคารเป็นเพียงแค่สิ่งปลูกสร้าง และจะไม่มีความหมายหากพนักงานไม่ทุ่มเทหรือใส่ใจกับการท�ำงานใน อาคารแห่งนี้ ผมขออธิษฐานให้อาคารแห่งนี้ เป็นอาคารแห่งความหวัง ส�ำหรับเด็ก ครอบครัว และชุมชนที่ยากไร้ในประเทศไทย” ดร.สายสุรี กล่าวว่า “ขอขอบคุณ มร.เควิน ที่เดินทางมาไกล เพื่อ เข้าร่วมพิธีการในวันนี้ ตลอดระยะเวลา 40 ปีที่ผ่านมา เจ้าหน้าที่มูลนิธิ ศุภนิมิตฯ ได้ท�ำงานอย่างเหน็ดเหนื่อย เพื่อบรรลุพันธกิจต่างๆ ดิฉันจึง หวังอย่างยิ่งว่าอาคารนี้ จะถูกใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อพระราชกิจของ พระองค์ และขอให้พนักงานที่นี่ได้รับพระพรจากพระเจ้า”
9
บอกเล่าผ่านเรื่อง
โปรยความหวังและความเพิ่มพูน ก่ เรื่อง Janice Evidente ภาพ Albert Yu
10
อนเกิดเหตุการณ์สึนามิขึ้น นายกมลพร พินนาศักดิ์ อายุ 51 ปี หารายได้จากการท�ำอาชีพสามช่องทาง คือ ปลูกผัก เลี้ยงหอยและปูทะเล และท�ำงานเป็นคนเขียนป้ายอยู่ที่เขาหลัก เขาเป็นคนขยันท�ำงาน ใน วันที่เกิดเหตุสึนามิ เขาอยู่ในอุทยานแห่งชาติเขาล�ำปี-หาดท้ายเหมือง เขาเห็นคลื่นสีด�ำเคลื่อนใกล้เข้า มา และกระแทกแผ่นดินอย่างแรง เมื่อน�้ำไหลกลับสู่ทะเล ทั่วทั้งอุทยานก็เต็มไปด้วยดินโคลน “ผมเห็นคลื่น ระลอกสองที่สูงยิ่งกว่า ผมจึงรีบวิ่งหนีขึ้นที่สูง” เขาจ�ำเหตุการณ์ได้ติดตา ครอบครัวของเขาปลอดภัยอยู่ในหมูบ่ า้ นทีม่ ปี า่ ชายเลนห้อมล้อม ส่วนหอยและปูทะเลทีเ่ ขาเลีย้ งไว้ถกู น�ำ้ ซัดไปหมด ร้านเขียนป้ายต้องปิดตัวลง เหลือเพียงสวนผักของเขาซึง่ เป็นความหวังเดียวที่ได้รบั การปกป้องจาก ปราการธรรมชาติคือป่าชายเลน อย่างไรก็ตาม เขาต้องท�ำงานเพิ่มขึ้น เพราะต้องใช้เวลามากขึ้นในการดูแล สวนผัก “เมื่อมูลนิธิศุภนิมิตฯ กับเกษตรกรจากหมู่บ้านอื่นจัดกิจกรรมเพื่อการศึกษา ผมก็ได้มีโอกาสเข้าร่วมที่ วารสารศุ ภ นิ มิ ต
บอกเล่าผ่านเรื่อง
คุระบุรี พวกเราเห็นการทดน�้ำแบบใหม่เพื่อรดน�้ำพืชผักในสวนอย่างมีประสิทธิภาพ มูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ แนะน�ำให้เราปรับตัวในการด�ำรงชีวติ หลังสึนามิสร้างความเสียหาย แก่ชาวบ้านมากมายจนสิ้นเนื้อประดาตัว” เขากล่าว ก่อนที่พวกเราจะเดินทางกลับ มูลนิธิศุภนิมิตฯ ได้มอบท่อส่งน�้ำและหัวฉีด กระจายน�้ำ เพื่อให้ชุมชนน�ำมาปรับใช้พร้อมเทคนิคใหม่ที่ได้เรียนรู้ “ทุกวันนี้ พวก เรายังคงน�ำวิธีการที่เรียนรู้มาใช้ให้เกิดประโยชน์อยู่เสมอ” เขากล่าว ก่อนทีก่ มลพรจะใช้หวั ฉีดน�ำ้ เขาเคยจ้างคนมารดน�ำ้ แปลงผักให้ทกุ วัน เมือ่ น�ำ ระบบทดน�้ำมาใช้ เขาสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายได้ประมาณ 10,000 บาทต่อเดือน ด้วยระบบทดน�้ำนี้ ช่วยให้เขาดูแลแปลงผักได้มากมาย เขาดัดแปลงวิธีการนี้ไปใช้ รดน�้ำในแปลงถั่วลันเตา มะระ และมะเขือยาว “เราสามารถเก็บเกี่ยวผักต�ำลึงได้ โดยเฉลี่ย 50 กิโลกรัม ในแต่ละวัน” เขาเล่าอย่างมีความสุข “หนูมาช่วยงานในวันหยุดค่ะ และหนูชอบถั่วฝักยาวมาก” ด.ญ.กรกฎ ลูกสาว วัย 11 ขวบของกมลพร กล่าว “พ่อสอนให้หนูรู้วิธีปลูกผักคะ” เธอต้องการส�ำเร็จ การศึกษาศาสนาอิสลามเมื่อเธอโตขึ้น แม้จะผ่านฝนผ่านร้อนมาเป็นเวลาหลายปีแล้ว ท่อส่งน�้ำของระบบทดน�้ำยังคง ใช้งานได้ดี “ท่อเหล่านี้เป็นท่อน�้ำที่มูลนิธิศุภนิมิตฯ มอบให้มาตั้งแต่แรก พวกมัน ทนทาน และใช้งานมาหลายปีแล้ว” รายได้ของครอบครัวพวกเขาค่อยๆ เพิม่ จากพืชผักทีม่ ปี ลูกขึน้ หลากหลาย “ฉัน เลี้ยงไก่ไข่ด้วย” พูนสินี ภรรยาของกมลพรกล่าว “มูลนิธิศุภนิมิตฯ มอบให้เรา” เธอ น�ำไข่ไก่มาขาย และเก็บไว้กนิ เอง ในครอบครัวบ้าง ไม่นานนี้ กมลพรปลูกผักกาด หอมไว้ที่สวนหลังบ้าน “เมื่อผม ไม่ตอ้ งใช้เวลามากมายดูแลแปลง ผัก ผมก็มีเวลาปลูกผักอื่นๆ เพิ่ม เช่น ผักกาดหอมนี้ มันท�ำรายได้ ค่อนข้างดีทีเดียวในการเก็บเกี่ยว รอบปีที่ผ่านมา” เขากล่าว
•
วารสารศุ ภ นิ มิ ต
11
บอกเล่าผ่านเรื่อง
ฟ้าใสก�ำลังสอนเพือ่ นอ่านหนังสือภาษาไทย
12
วารสารศุ ภ นิ มิ ต
บอกเล่าผ่านเรื่อง
ฟ้าใส และเพื่อนๆ ที่เธอสอนภาษาไทย
ฟ้าใสและแม่
แรงบันดาลใจพาสู่ฝัน ฟ้ โดย ไพวรรณ เบญจกุล
าใสมีความสุขอย่างเหลือล้นด้วยรอยยิม้ กว้างทีป่ รากฏบนใบหน้า หลังจากสอนเพื่อนร่วมชั้นให้อ่านค�ำไทยพื้นฐานระดับประถม 1 บนกระดานเสร็จ เธอเดินอย่างภาคภูมิใจคลอเสียงปรบมือของ เพือ่ นๆ ไปยังศรีสดุ า สุวรรณขาว เจ้าหน้าทีโ่ ครงการ Hope for Children in Crisis (HOPE) เพือ่ คืนไม้ชกี้ ระดาน “เก่งมาก” ค�ำชมของศรีสดุ าท�ำให้ ฟ้าใสยิ้มกว้างขึ้นจนแก้มแทบปริ ฟ้าใสได้ทำ� สิง่ ทีเ่ ธอใฝ่ฝนั “หนูอยากเป็นครูสอนภาษาไทยค่ะ” เด็ก หญิงวัย 12 ปีบอก ฟ้าใสเป็นชาวพม่าเชื้อสายมอญที่เกิดในเมืองไทย พ่อแม่ของเธอ อพยพมาอยู่ในประเทศไทยรับจ้างเป็นแรงงานก่อสร้างในจังหวัดภูเก็ต เธอเติบโตและใช้ชีวิตอยู่ ในแคมป์คนงานก่อสร้าง คอยดูแลท�ำความ สะอาดบ้านที่เป็นเรือนแถวสังกะสี มีหนึ่งห้องนอน เธอล้างจาน หุงข้าว รวมถึงท�ำงานบ้านอื่นๆ แทนแม่ซึ่งออกไปท�ำงาน และเมื่อถึงอายุ 15 ปี เธอก็ต้องออกไปท�ำงานเช่นเดียวกัน แต่ด้วยการท�ำงานของโครงการ HOPE ในพื้นที่ป่าตอง จังหวัด ภูเก็ต ที่ไม่เพียงช่วยเหลือและจัดกิจกรรมเสริมทักษะให้เด็กไทยที่ด้อย โอกาส แต่ได้ร่วมกับองค์กรเอกชนอื่นเปิดสอนหนังสือให้เด็กพม่า และ ข่าวนี้ได้แพร่มาถึงหูของแม่ฟ้าใส “แม่มาบอกให้หนูไปโรงเรียน หนูดีใจมาก หนูอยากเรียน” ฟ้าใส พูด ฟ้าใสจึงได้ไปโรงเรียนเป็นครั้งแรกในชีวิต “ฟ้าใสเป็นนักเรียนรุ่นแรก สองปีกว่าที่เราเปิดสอนมาเขาไม่เคย หยุดเรียนเลย เป็นเด็กที่ขยันมาก” ศรีสุดาพูด เมือ่ แรกทีฟ่ า้ ใสมาเรียน เธอพูดได้แต่ภาษามอญ ท�ำให้การสือ่ สาร ทีโ่ รงเรียนต้องอาศัยเพือ่ นร่วมชัน้ ทีพ่ ดู ภาษาไทยได้เป็นล่าม แต่ความคุน้ หูในส�ำเนียงแม้จะพูดไม่ได้ ไม่นานฟ้าใสก็เรียนรู้ภาษาไทยโดยไม่ต้อง พึ่งพาคนอื่น ในทางกลับกันเธอเป็นล่ามให้นักเรียนที่เข้าใหม่และให้แม่ “หนูมีความสุขที่ได้ไปโรงเรียน” ฟ้าใสบอก ดังนั้น ทุกวันอังคารถึงวันศุกร์ จึงเป็นวันแห่งความสุขของฟ้าใส วารสารศุ ภ นิ มิ ต
เธอไม่อิดออดแม้แต่น้อยเมื่อแม่ปลุกเธอตอนเจ็ดโมงเช้าก่อนออกไป ท�ำงาน เธอหยิบชุดนักเรียนเสือ้ สีขาวกระโปรงจีบรอบตัวสีนำ�้ เงินมาสวม จากนัน้ ก็เตรียมปิน่ โตอาหารกลางวัน เธอแง้มฝาชีทคี่ รอบจานกับข้าวไว้ เย้... แม่ท�ำไก่ทอดของโปรด วันนี้ฟ้าใสมีความสุขเป็นสองเท่า เธอเดิน ยิ้มกริ่มออกมาคอยรถรับส่งที่ปากซอย เมือ่ มาถึงโรงเรียน ฟ้าใสหยิบไม้กวาดมากวาดพืน้ ห้องโถงที่ใช้เป็น ห้องเรียนให้สะอาด เพราะต้องนั่งเรียนกับพื้น “ไม่ได้บอกให้เธอท�ำ เธอท�ำเอง อย่างทีบ่ อกเธอเป็นเด็กขยัน ชอบ ช่วยครู” ศรีสุดายืนยัน เก้าโมงเช้าการเรียนเริ่มขึ้น ฟ้าใสเลือกแถวหน้าเพื่อจะได้มอง กระดานอย่างชัดเจน และได้ยินสิ่งที่ครูสอน วิชาแรกเป็นวิชาที่เธอชอบ จนทุ่มเทให้หมดใจ คือวิชาภาษาไทย ในชั่วโมงนี้เธอมักได้รับเลือกให้ อ่านออกเสียงน�ำแล้วให้เพื่อนๆ อ่านตาม แรกๆ เธอหวั่นอยู่เหมือนกัน แต่ก็ได้พลิกความรู้สึกนั้นให้เป็นแรงบันดาลใจส�ำหรับฝึกฝนตัวเอง “หนูชอบอ่านหนังสือภาษาไทยค่ะ บางครัง้ หนูขอยืมครูเอากลับไป อ่านที่บ้านด้วย” ฟ้าใสพูด ถึงแม้วิชาภาษาไทยจะครองใจฟ้าใสเป็นอันดับหนึ่ง อย่างไรก็ตาม เธอชอบเรียนวิชาศิลปะ ภาษาพม่า และภาษาอังกฤษด้วยเช่นกัน บ่ายสามโมงเป็นเวลาเลิกเรียน ฟ้าใสและเพื่อนๆ พากันทยอยขึ้น รถรับส่งกลับบ้าน ช่วงเวลานีฟ้ า้ ใสจะได้ยนิ ครู (เจ้าหน้าทีโ่ ครงการ) บอก ก�ำชับทุกครัง้ เมือ่ กลับถึงบ้าน หากพ่อแม่ไม่อยู่ให้ปดิ ประตูบา้ นลงกลอน เธอท�ำตามเสมอ เพราะรู้ว่าคือความปลอดภัยของตัวเอง ระหว่างรอพ่อ แม่กลับ เธอจะหุงข้าวไว้ เพื่อครอบครัวเธอจะได้ทานอาหารเย็นพร้อม กันตอนหกโมง “บางครั้งตอนทานข้าว แม่จะสอนให้หนูคอยช่วยเหลือผู้อื่น บาง ครั้งแม่บอกอยากให้หนูท�ำงานโรงแรม แต่หนูบอกแม่ว่าอยากเป็นครู หนูอยากสอนเด็กๆ” ฟ้าใสเน้นน�้ำเสียงตอนท้ายแล้วหันไปยิ้มให้แม่ แม่ ยิ้มตอบพร้อมพยักหน้า
•
13
บอกเล่าผ่านเรื่อง
ยกระดับโรงเรียน ให้พร้อมรับมือน�้ำท่วม
14
by Jay Mark Mijares
วารสารศุ ภ นิ มิ ต
บอกเล่าผ่านเรื่อง
ณ
ใจกลางอยุธยา อดีตเมืองหลวงของไทย ที่โรงเรียนวัดหัวเวียง อ�ำเภอ เสนา ซึ่งตั้งอยู่บริเวณนาข้าว มีถนนน�ำทางไปสู่โรงเรียนแห่งนี้ เมื่อปี 2554 โรงเรียนแห่งนี้ต้องประสบเหตุการณ์น�้ำท่วมครั้งใหญ่เช่นเดียวกับ อีกหลายพื้นที่ทั่วประเทศไทย “บริเวณทีเ่ รายืนอยูต่ อนนี้ เป็นเหมือนกับท้องน�ำ้ กว้างใหญ่” คุณกอบชัย ตันไพฑูรย์ดถิ ี เจ้าหน้าที่ของมูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย กล่าว ในเวลานัน้ การเรียนการสอนต้องหยุดลงกลางคัน หนังสือเรียนของเด็กๆ ลอยไป กับน�้ำ สิ่งก่อสร้างต่างๆ เสียหาย โรงเรียนอีกหลายแห่งต้องปิดเป็นเวลาหลายสัปดาห์ เด็กๆ หลายคนสนุกกับการเล่นน�้ำที่ขังอยู่ ซึ่งท�ำให้พวกเขาเสี่ยงอันตราย และอาจติด เชื้อโรคต่างๆ ที่อยู่ในน�้ำ ในปีต่อๆ มา ฝกตกหนักกลายเป็นเรื่องปกติส�ำหรับชุมชนที่อาศัยอยู่ในอ�ำเภอ เสนาไปแล้ว การตระหนักถึงปัญหาเรื่องน�้ำท่วมนี้ ท�ำให้ทุกคนในชุมชนเริ่มหาทางช่วยกันลด ความเสี่ยงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในช่วงฤดูฝน บางครอบครัวซื้อเรือพายเพื่อใช้อพยพไป ในสถานที่ปลอดภัย บางครอบครัวต้องเสริมคอนกรีตที่เสาบ้านซึ่งเป็นไม้เพื่อให้ทนต่อ น�้ำท่วมได้ บางครอบครัวก็จัดวางของในบ้านใหม่ และลดจ�ำนวนเฟอร์นิเจอร์ที่วางอยู่ ชั้นล่าง มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย ร่วมมือกับส่วนราชการและบริษัท ซีเกท มอบ ความช่วยเหลือเพือ่ ช่วยฟืน้ ฟูความเสียหายของโรงเรียน 12 แห่ง และยกระดับโรงเรียน ให้มีสภาพพร้อมรับมือปัญหาน�้ำท่วม การด�ำเนินงานของโครงการเริม่ จากการซ่อมแซมโรงเรียนต่างๆ จากนัน้ จึงมีการ ยกพืน้ อาคารให้สงู ขึน้ เพือ่ ให้เด็กๆ ปลอดภัยขึน้ และพวกเขาจะไม่ตอ้ งหยุดเรียนในช่วง ฤดูฝน นอกจากนี้ ยังได้ท�ำการปรับปรุงสิ่งก่อสร้างอื่นๆ เช่น ยกพื้นสนามเด็กเล่น และ ถังเก็บน�้ำให้สูงขึ้น ซ่อมแซมเสาอาคารเรียนให้แข็งแรงขึ้น รวมถึงการปรับปรุงห้องน�้ำ ระบบระบายน�้ำเสียให้มีความพร้อมรับมือน�้ำท่วม และมีความปลอดภัยเพิ่มขึ้น “ตอนนี้ผมสามารถมาโรงเรียนได้แม้ว่าฝนตก ผมพายเรือมาโรงเรียน ไม่ต้อง ขาดเรียน และได้เจอเพื่อนๆ” เด็กชายบีเอ็ม อายุ 8 ปี กล่าวพร้อมรอยยิ้ม คุณจิตรา ธรรมบริสุทธิ์ ผู้อ�ำนวยการมูลนิธิศุภนิมิตฯ กล่าวว่า “น�้ำท่วมเป็นเรื่อง ที่เกิดขึ้นประจ�ำทุกปีส�ำหรับโรงเรียนหลายแห่ง เราจ�ำเป็นต้องหาทางที่เหมาะสมเพื่อ ปรับให้เข้ากับการเปลีย่ นแปลงดังกล่าว การยกพืน้ อาคารเรียนให้สงู ขึน้ จะช่วยให้เด็กๆ สามารถเรียนหนังสือต่อไปได้โดยไม่ถูกรบกวนแม้มีน�้ำท่วมที่บริเวณชั้นล่าง”
•
วารสารศุ ภ นิ มิ ต
15
บอกเล่าผ่านเรื่อง
ชีวิตที่โชติช่วง ของสัมฤทธิ์ โดย สมลักษณ์ ค�ำแสน
สั
มฤทธิ์ มีชื่อเล่นว่า หนึ่ง เป็นเด็กชายอายุ 9 ปี เขาอาศัยอยู่กับ แม่ ทีห่ มูบ่ า้ นชนบทแห่งหนึง่ ซึง่ มีการท�ำนาข้าวและปลูกยาสูบเป็น จ�ำนวนมาก พ่อและแม่ของหนึ่งหย่าร้าง พ่อไปมีครอบครัวใหม่ ตัง้ แต่เขายังจ�ำความไม่ได้ แม่ของหนึง่ หาเลีย้ งครอบครัวด้วยการรับจ้าง ท�ำนา โดยได้ค่าจ้างเป็นข้าวเปลือก หนึง่ เข้าเรียนประถมทีโ่ รงเรียนใกล้ๆ บ้าน เขาเดินเท้าไปโรงเรียน และกลับบ้านทุกวัน แม่ของเขามักจะเก็บผักกระถินริมทาง บางครัง้ ก็ได้ ผักบุ้งริมคันนา กลับบ้านมาเป็นอาหารในครอบครัว บางวันไม่ได้อะไร เขามีเพียงข้าวเหนียวกับพริกเกลือ วันที่ไม่ได้ไปโรงเรียน หนึง่ จะไปช่วย แม่ด�ำนา บางครั้งช่วยพรวนดิน ในช่วงนัน้ เอง มูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ ได้เข้ามาท�ำงานพัฒนาคุณภาพชีวติ ของเด็ก และครอบครัวในหมูบ่ า้ น ครูได้เสนอชือ่ เขา หนึง่ เดือนต่อมาเขา ได้รับเลือกเข้าโครงการอุปการะเด็ก เขาได้รับสนับสนุนให้เรียนหนังสือ มูลนิธิศุภนิมิตฯ จัดชุดนักเรียน อุปกรณ์การเรียนมอบให้เขา เป็นการ แบ่งเบาภาระแม่ เมื่อเขาเรียนอยู่ชั้นประถม 5 แม่ของหนึ่งล้มป่วยและเสียชีวิต ส�ำหรับเด็กอายุ 11 ปี เขารู้สึกสิ้นหวังและไร้ที่พึ่งที่ปรึกษา หนึ่งได้ย้าย มาอยู่ในความดูแลของป้า ความห่วงใยของผู้อุปการะชาวสหรัฐอเมริกา สร้างความอุ่นใจให้แก่เขา หนึ่งจ�ำได้ว่า ความรู้สึกอ้างว้างโดดเดี่ยวเมื่อ ขาดแม่ ได้รับเติมเต็มด้วยความรักและก�ำลังใจจากเจ้าหน้าที่ศุภนิมิต เพื่อนๆ ที่อยู่ในโครงการอุปการะ เมื่อเขาไปเข้าค่ายเยาวชนฤดูร้อน ความสนุกสนานที่ได้รบั จากทัศนศึกษาและความตืน่ เต้นกับประสบการณ์ ที่ ได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ท�ำให้เขาลืมความเศร้า และมุ่งมั่นในการเรียน หนังสือ เขารื้อฟื้นความหวัง ความฝันที่จะเป็นแพทย์อีกครั้ง “หากไม่ได้รับการอุปการะ ไม่ได้รับความรักความห่วงใยจาก ผู้อุปการะ ชีวิตล�ำบากมาก คงไม่ได้เรียน” หนึ่ง พูดถึงชีวิตในวัยเด็ก โครงการพัฒนาเศรษฐกิจและรายได้ของมูลนิธิศุภนิมิตฯ ยังคง พัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในหมู่บ้าน ให้มีรายได้เพิ่มขึ้นจากอาชีพหลัก และอาชีพเสริมทัง้ การตัดเย็บผ้า เลีย้ งปศุสตั ว์ และการท�ำสวนล�ำไย พวก เขาน�ำรายได้ครอบครัวที่เพิ่มนี้ส่งลูกหลานไปโรงเรียน มูลนิธิศุภนิมิตฯ
16
ยังสนับสนุนด้านสุขภาพให้คนในหมู่บ้านได้รับความรู้เรื่องการป้องกัน การแพร่ระบาดของโรคเอดส์ และวัณโรค จากการจัดอบรมในหมู่บ้าน และในโรงเรียน เพื่อให้เด็กๆ ได้รับความรู้นี้ด้วยเช่นกัน หนึ่งเล่าถึงชีวิตวัยรุ่นของเขาที่ได้รับการเสริมสร้างทักษะผู้น�ำเมื่อ ท�ำกิจกรรมส�ำหรับเยาวชนศุภนิมิตฯ ว่า “ผมชอบกีฬากรีฑา และเล่น ดนตรีพื้นเมืองอย่างขลุ่ย และสะล้อ ช่วยให้เพลิดเพลินและมีเพื่อนมาก ขึ้น” หนึ่งค้นพบความสามารถด้านคณิตศาสตร์ของเขา เขาจึงช่วยติว วิชาคณิตศาสตร์ให้เพื่อนๆ หลังเลิกเรียนเสมอ เมือ่ หนึง่ เรียนจบชัน้ มัธยม สอบเข้ามหาวิทยาลัย เขาสอบเข้าเรียน แพทย์ตามที่ฝันตอนเป็นเด็ก แต่สอบไม่ได้ ในที่สุดตัดสินใจสอบเทคนิค การแพทย์ แม้จะไม่ได้เป็นแพทย์แต่ก็เกี่ยวข้องกับแพทย์ เพราะเขาไม่ อยากทิ้งความฝันในวัยเด็ก ซึ่งในปีนั้นโครงการของมูลนิธิศุภนิมิตฯ ปิด ตัวลง และถอนตัวออกจากชุมชน หนึ่งจึงเขียนจดหมายและเรียงความ ขอความช่วยเหลือด้านทุนการศึกษา โครงการส่งน้องจบปริญญาตรีโดย การระดมทุนของมูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ จึงมอบทุนการศึกษาให้หนึง่ เรียนจนจบ สาขาเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “ถ้าไม่ได้รบั ความช่วยเหลือ ไม่ได้รบั ทุนการศึกษาในระดับปริญญา ตรี คงไม่ได้เรียนมหาวิทยาลัย” หนึ่งพูดถึงประโยชน์ของทุนการศึกษา ว่าท�ำให้เขามีโอกาสเรียนในระดับที่สูงขึ้น หนึง่ ในวัย 23 ปี เรียนจบการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาเทคนิค การแพทย์ จากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมื่อไม่นานมานี้ เขาเริ่มท�ำงาน ในต�ำแหน่งนักเทคนิคการแพทย์ ประจ�ำโรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งใน จังหวัดภูเก็ต เขาท�ำงานในห้องแล็บ ช่วยวิเคราะห์ตัวอย่างที่ส่งตรวจ เพื่อน�ำผลการวิเคราะห์ไปใช้ประโยชน์ในการวินิจฉัยโรค ชีวิตในวันนี้ ของหนึ่งมีความสุข ภาคภูมิใจที่ได้ท�ำงานช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ และยัง เป็นงานทีม่ นั่ คง สิบสีป่ ที ี่ได้รบั ความช่วยเหลือจากมูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ ท�ำให้ เขาเรียนจบระดับปริญญาตรี และมีชีวิตที่มั่นคง ได้ใช้ความรู้ที่เรียนจบ มาท�ำประโยชน์ในการช่วยเหลือผู้ป่วยและผู้อื่น “ขอบคุณ ความช่วยเหลือของท่านท�ำให้ผมมีโอกาสสร้างความ มั่นคงให้ชีวิตได้ง่ายขึ้น” หนึ่ง พูดพร้อมรอยยิ้ม
•
วารสารศุ ภ นิ มิ ต
ข้าพเจ้ายินดีรว่ มแบ่งปันน�ำ้ ใจ...สูเ่ ด็กยากไร้ดอ้ ยโอกาส ชื่อ (นาย/นาง/นางสาว) ..............................................................................
(ขอความกรุณากรอกข้อมูลทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)
Name (Mr/ Mrs/ Miss).............................................................................. (block Letter)
ที่อยู่ ................................................................................................................. .. ................................ รหัสไปรษณีย์ ................... วันเกิด ......./......./....... โทรศัพท์ ................................................โทรสาร .......................................... มือถือ ................................................ E-mail .............................................. ต้องการอุปการะเด็ก (กรุณาระบุ) ¡1 ¡2 ¡3 ¡.........คน การจ่ายเงินส�ำหรับการอุปการะเด็กของข้าพเจ้า ¡ 600 บาท/คน/ทุกเดือน ¡ 1,800 บาท/คน/ทุก 3 เดือน ¡ 3,600 บาท/คน/ทุก 6 เดือน ¡ 7,200 บาท/คน/ทุกปี กรณีอปุ การะเด็กมากกว่าหนึง่ คน (อัตราค่าอุปการะเด็ก 600 บาทต่อคนต่อเดือน)
เติมความฝัน... สู่การเริ่มต้นชีวิตใหม่
กรุณาระบุ ..........................บาท ต่อ...............คน ทุก................เดือน/ปี 4619 ไม่พร้อมให้การอุปการะเด็ก
แต่ยินดีบริจาคเพื่อช่วยเหลือเด็กยากไร้ .................................. บาท พร้อมกันนี้ได้น�ำส่งเงินบริจาคจ�ำนวนดังกล่าว โดยทาง เรียกเก็บเงินจากบัญชีบัตรเครดิต
เชอรี่และองุ่น สองเด็กหญิงฝาแฝดวัย 5 ปี จากอ�ำเภอภูสิงห์ จังหวัดศรีสะเกษ อาศัยอยู่กับย่าสวิดวัยเกือบ 70 ปี เพราะพ่อ และแม่แยกทางกัน แม่ไปอยู่กรุงเทพฯ ส่วนพ่อมีโรคร้ายรุมเร้า จึงตัดสินใจออกบวชตามความเชื่อของชาวบ้านที่จะช่วยให้ดีขึ้น
¡VISA.................... ¡MASTERCARD.................... ¡AMEX ¡DINERS
หมายเลขบัตร ในกรณีที่ข้าพเจ้าอุปการะเด็ก ข้าพเจ้ายินดีให้เรียกเก็บเงินจากบัญชีบัตรเครดิต อย่างต่อเนื่องตามที่ระบุไว้ข้างต้น จนกว่าข้าพเจ้าจะแจ้งยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลง
สามคนย่าหลานอยู่อาศัยกันอย่างอดอยาก ย่ามีรายได้จากเบี้ย ผู้สูงอายุเพียงเดือนละ 600 บาท และการรับจ้างเกี่ยวข้าวเพื่อ แลกข้าวสาร แต่นั่นก็ไม่เพียงพอให้มีกินทุกมื้อ บ่อยครั้งที่หลาน ร้องไห้ขอกินขนม ย่าได้แต่ปลอบว่า... “เราไม่มีเงินลูกเอ๊ย ย่าจะ เอาที่ไหนให้”
วันหมดอายุบัตร.............................................................................................. ชื่อเจ้าของบัตร................................................................................................ ลายมือชื่อผู้ถือบัตร.........................................................................................
ยิ่งไปกว่านั้น ที่อยู่อาศัยของย่าและหลานๆ เป็นเพียงเพิงเล็กๆ ฝาบ้านท�ำด้วยหญ้าแฝกปิดไว้สามด้าน ข้างหน้าเปิดโล่ง หลังคา มุงด้วยหญ้าแฝก แต่มีรอยรั่วหลายแห่ง เวลาฝนตกหนักทุกคน ต้องคอยไปหลบกันตามมุมห้อง นอกจากนี้ เมื่อปีที่แล้ว เกิดเหตุ น�้ำท่วมท�ำให้บ้านเสียหาย ของใช้ในบ้านถูกน�้ำพัดไป หลังน�้ำลด แม้ได้เพื่อนบ้านมาช่วยซ่อมแซม แต่ก็อยู่ในสภาพตามมีตามเกิด
เรียกเก็บเงินจากบัญชีเงินฝากธนาคาร (มูลนิธฯิ จะส่งแบบฟอร์มให้ภายหลัง) ¡ธ.กรุงเทพ ¡ธ.กรุงไทย ¡ธ.กสิกรไทย ¡ธ.ไทยพาณิชย์ ¡ธ.กรุงศรีอยุธยา เช็ค สั่งจ่าย มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย ธนาณัติ ในนาม มูลนิธศิ ภุ นิมติ แห่งประเทศไทย สัง่ จ่าย ปท. พระโขนง โอนเงิน เข้าบัญชีออมทรัพย์ มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย ธนาคาร สาขา เลขที่บัญชี ทองหล่อ 206-0-43600-9 ¡กรุงเทพ เอกมัย 053-1-10632-2 ¡กรุงไทย เอกมัย 059-2-40974-7 ¡กสิกรไทย ไทยพาณิ ช ย์ เอกมั ย 078-2-00965-5 ¡ ¡กรุงศรีอยุธยา สุขุมวิท 63 361-1-02033-3 ทองหล่อ 801-1-07026-4 ¡ยูโอบี เอกมัย 152-2-00300-1 ¡ทหารไทย โอนจากสาขา................................................. วันที่โอน..................................................
คงเหมือนคนแก่ทั่วไปที่อยากเห็นหลานๆ มีความสุข ได้เรียนสูงๆ และมีอนาคตทีด่ ี แต่ความฝันช่างดูหา่ งไกลเหลือเกิน ถ้าปราศจาก ความช่วยเหลือและการสนับสนุนจากท่าน
วันนี้ ขอเชิญชวนท่านบอกต่อคนรอบข้างเพือ่ ช่วยสนับสนุนให้
เด็กๆ เช่น เชอรี่และองุ่น มีอนาคตที่สดใส ได้เรียนหนังสือ ได้ รับอุปกรณ์การเรียน และชีวิตของเด็กยากไร้จะมีโอกาสในการ ด�ำเนินชีวิตอย่างมีความหมายยิ่งขึ้น
วารสารศุ ภ นิ มิ ต
ฉีกตามรอยปรุ
โปรดตัดสินใจอุปการะเด็กอย่างต่อเนื่อง เพียง 20 บาทต่อวัน หรือ 600 บาทต่อเดือน ท่านก็สามารถคืนรอยยิม้ ให้เด็กๆ อีกครัง้
เมื่อโอนเงินแล้วกรุณาส่งส�ำเนาใบโอนเงิน พร้อมแบบตอบรับบริจาคมายังมูลนิธิฯ ทางไปรษณีย์ หรือโทรสาร 0 2022 9203-5 เพื่อมูลนิธิฯ จะจัดส่งใบเสร็จรับเงินให้ท่านต่อไป
ขอขอบคุณ มูลนิธิฯ ไม่สามารถออกใบเสร็จรับเงินให้ท่านได้ หากขาดส�ำเนาใบโอนเงินและแบบตอบรับบริจาค มูลนิธศิ ภุ นิมติ แห่งประเทศไทย เป็นองค์กรสาธารณกุศลล�ำดับที่ 59 ตามประกาศกระทรวงการคลัง เงินบริจาคสามารถน�ำไปหักลดหย่อนภาษีเงินได้ประจ�ำปี ตามที่กฎหมายก�17 ำหนดไว้
บอกเล่าผ่านเรื่อง
วันที่ฉันได้เป็นชาวนา ไ โดย สมลักษณ์ ค�ำแสน
ม่ได้ฝนั ไป ฉันรูว้ า่ การเป็นชาวนาไม่ได้เป็นกันง่ายๆ ถ้า ไม่ได้สืบทอดมาจากพ่อแม่ยิ่งยาก เพราะการไม่มีที่นา ของตัวเองย่อมเป็นอุปสรรคใหญ่ แต่ฉันโชคดีที่ได้มา รู้จักพี่เงาะ ชาวนาในต�ำบลบ่อทอง อ�ำเภอทองแสนขัน ซึ่ง เต็มใจสอนการท�ำนาโยนปลูกข้าวอินทรีย์ให้ แสงแดดอ่อนยามเช้าทอประกายลงมา กระทบผืนน�้ำ ใสที่ไหลเอื่อยไปตามทางน�้ำทอดยาว ขนานไปกับแผ่นดินสี เขียวชอุม่ ถัดออกไปฉันเห็นน�ำ้ ท่วมขังในแปลงนาข้าวยาวสุด สายตา ฉันหย่อนเท้าลงในแปลงนาทีถ่ กู เตรียมไว้สำ� หรับการ เป็นชาวนาวันแรกของฉัน รองเท้าบู๊ตสีน�้ำตาลที่ฉันใส่จมหายไปในโคลนตมนา ทันทีเมือ่ เหยียบลง ต้นกล้าข้าวสีเขียวขนาด 3 นิว้ พุง่ ออกจาก มือฉันลอยละลิว่ ตกลงดิน ฉันฝืนโคลนทีด่ ดู รองเท้าเคลือ่ นที่ ถอยหลังไปเป็นแนวเส้นตรง ฉันเปรยเบาๆ ว่า เหนื่อยยาก ล�ำบากไม่นอ้ ยกว่าจะได้ขา้ วสักจาน พีเ่ งาะหันมายิม้ ขณะยืน่ ต้นกล้าถาดใหม่ให้ “ระวังอย่าให้เป็นกระจุก ต้องโยนให้ได้ ระยะห่างต้นละ 25 เซนติเมตร ต้นข้าวจะขึ้นและเติบโตดี” เธอบอกทันทีที่เห็นผลงานฉัน นาสามแปลง ท�ำงานสองคน เพียงชัว่ โมงเดียวก็เสร็จ เหลือเวลาไปท�ำงานอืน่ ๆ เยอะแยะ ถ้าท�ำนาด�ำอย่างแต่กอ่ น ต้องจ้างแรงงานชาวบ้านมาช่วยปัก ด�ำกล้าเป็นวันๆ ฉันพยักหน้าคล้อยตาม และชวนพี่เงาะล่า ถอยมาคุยกันที่บ้าน พี่เงาะ หรือศรีนวล คณโฑเงิน อายุ 45 ปี เคยท�ำนา แบบดัง้ เดิมมานาน ปัญหาของเธอเหมือนชาวนาคนอืน่ ๆ คือ
ไม่มีเงินทุน ต้องกู้ยืมเงิน ต้นทุนการท�ำนาสูงขึ้นตลอดเวลา ข้าวขายได้ราคาต�่ำ ท�ำให้ไม่พอกินพอใช้ ครอบครัวมีหนี้สิน เธอจึงเสาะแสวงหาแนวทางใหม่เพื่อให้ครอบครัวอยู่รอด เธอไปประชุมกับมูลนิธิศุภนิมิตฯ ในหมู่บ้าน พวก เขาให้การสนับสนุนลูกๆ ของเธอในด้านการเรียน และ อบรมให้ความรู้แก่เธอในการท�ำนา วิธีการใหม่ช่วยลด ต้น ทุนการผลิตลงครึ่งหนึ่ง เพราะสามารถท�ำกันเองใน ครอบครัว ประหยัดค่าจ้างแรงงาน และยังท�ำปุ๋ยหมัก ชีวภาพใช้ ประหยัดเงินไม่ต้องซื้อปุ๋ยเคมี ลดความเสี่ยง อันตรายจากสารเคมี เธอเปลี่ยนมาท�ำนาโยนปลูกข้าว อินทรีย์ได้ 2 ปีแล้ว ข้าวที่ได้มีคุณภาพ และปลอดสารพิษ พวกเขายังน�ำความรู้ไปสอนต่อให้เพื่อนบ้าน “ไม่ได้คิดหวัง ร�่ำรวย ขอให้คนในครอบครัวมีกิน และปลอดภัยจากสาร พิษ แค่นี้ก็พอใจแล้ว” พี่เงาะ กล่าวด้วยสีหน้ามีความสุข วันนี้พี่เงาะ กล่าวความรู้สึกจากใจว่า “ขอขอบคุณ มูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ ทีช่ ว่ ยให้มรี ายได้มนั่ คง มีคา่ ใช้จา่ ยเพียงพอ มีคา่ เล่าเรียนลูกๆ และทีส่ ำ� คัญ ครอบครัวได้อยูร่ ว่ มกันอย่าง มีความสุข” หนึ่งวันที่ฉันเป็นชาวนาสอนให้รู้ว่า การท�ำอาชีพนี้ให้ ประสบผลส�ำเร็จ ต้องมีใจรัก ไม่ยอ่ ท้อต่ออุปสรรค พยายาม แสวงหาวิธกี ารเอาชนะปัญหา และน�ำความรูเ้ ทคโนโลยีสมัย ใหม่มาปรับใช้เพือ่ ให้ได้ผลลัพธ์ทดี่ กี ว่าเดิม พีเ่ งาะโชคดีทพี่ บ ความส�ำเร็จในวันนี้ มูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ น�ำความหวังและอนาคต ที่ดีมาสู่เด็กๆ และชาวบ้านที่นี่
•
ศรีนวลกับผลิตภัณฑ์ข้าวของเธอ
18
วารสารศุ ภ นิ มิ ต
บอกเล่าผ่านเรื่อง
1 1. ดร.สาธนัญ บุญเกียรติ คณบดี วิทยาลัยพระคริสต์ธรรม แมคกิล วารี มหาวิทยาลัยพายัพ ที่ปรึกษาโครงการ 2. นักศึกษาพระคริสต์ธรรมฯ ที่ร่วมโครงการ และคุณวัลยา พาณิช พัฒนา (คนขวา) ผู้จัดการแผนก Christian Commitment
เสริมทักษะศึกษาชุมชน
มู
2 โดย สมลักษณ์ ค�ำแสน
ลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย และวิทยาลัยพระคริสต์ธรรม แมคกิลวารี มหาวิทยาลัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ ร่วมมือกัน จัดตั้งโครงการสร้างนักศึกษาสู่งานรับใช้ชุมชน ในเวลา 3 ปี เพื่อพัฒนาชุมชนให้เกิดความอยู่ดีมีสุข โดยใช้พื้นที่โครงการพัฒนา ชุมชนฯ อมก๋อย ของมูลนิธิศุภนิมิตฯ เป็นที่ฝึกปฏิบัติ การฝึกภาคสนามของนักศึกษาที่ผ่านมา มักอยู่ในกรอบของ คริสตจักร ท�ำให้ไม่ได้ศึกษาและไม่มีทักษะการท�ำงานกับชุมชน จึง ท�ำให้เกิดโครงการนี้ขึ้น ดร.สาธนัญ บุญเกียรติ คณบดี เล่าถึงผล ดีที่นักศึกษาได้รับว่า “การศึกษาชุมชนอย่างเป็นระบบ ช่วยให้พวก เขามีโอกาสฝึกฝนทักษะมากมาย เช่น การเขียนโครงการ การคิด วัตถุประสงค์ การถอดบทเรียน การสะท้อนความคิด การท�ำพันธกิจ คริสตจักรที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับชุมชน”
ศูนย์ศภุ นิมติ เพือ่ การพัฒนา เปิดด�ำเนินการที่เชียงราย
ศูนย์ศุภนิมิตเพื่อการพัฒนา จังหวัดเชียงราย เปิดอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2557 มีวัตถุประสงค์ในการสร้างเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนให้ มีความยั่งยืน และขยายงานบริการของมูลนิธิศุภนิมิตฯ โดยใช้เป็นสถานที่จัด กิจกรรมต่างๆ ได้แก่ การประชุม การฝึกอบรม การจัดค่าย การสัมมนา และ มีห้องพักรับรอง ตลอดจนมีการจัดการผลิตภัณฑ์ต่างๆ ของชุมชนในศูนย์นี้ด้วย ศูนย์ศภุ นิมติ เพือ่ การพัฒนา เชียงราย มีพนื้ ที่ 18,000 ตารางเมตร ตัง้ อยูห่ า่ งจาก เมืองเชียงรายออกไป 9 กิโลเมตร โดยเดินทางด้วยรถยนต์ประมาณ 10 นาที
วารสารศุ ภ นิ มิ ต
นักศึกษาทีร่ ว่ มโครงการปีนที้ งั้ หกคน ได้ฝกึ การท�ำแผนงาน การ ส�ำรวจชุมชน ท�ำแผนทีช่ มุ ชน ศึกษาสถานการณ์เยาวชนในชุมชน โดย เครื่องมือสิบเมล็ด (เครื่องมือในการศึกษาชุมชน) และถอดบทเรียน ซึ่งช่วยให้เข้าใจมากขึ้นก่อนน�ำไปสู่การท�ำกิจกรรมต่างๆ กับชุมชน นายภูมพิ ฒ ั น์ แซ่จาง วัย 24 ปี นักศึกษาชัน้ ปี 4 หนึง่ ในนักศึกษา ที่ร่วมโครงการเล่าว่า “ผมเรียนรู้เยอะมาก ได้รับประสบการณ์ที่ดี และฝึกฝนชีวิตในการเป็นผู้รับใช้อย่างแท้จริง” สองปีที่ผ่านมา โครงการนี้ตอบความคาดหวังของนักศึกษา คณาจารย์ และมูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ อาจารย์ชยั พร ปัญญา คณะกรรมการ โครงการเล่าว่า “กระบวนการฝึกฝนนักศึกษาให้เริ่มคิดเป็นระบบ ท�ำงานมีแบบแผน มีความมั่นใจในการท�ำงานร่วมกับชุมชน ถือว่า โครงการบรรลุผลส�ำเร็จครับ”
•
บริการและที่พัก • ศูนย์ศุภนิมิตฯ เชียงราย สามารถรองรับผู้เข้าพักได้ 300 คน โดยมีหอพักชายและหญิงแยกกัน และมีห้องพัก ส�ำหรับ 2 คน จ�ำนวน 2 ห้อง บ้านพักบังกะโลแบบ 3 เตียง 2 หลัง ซึ่งสามารถใช้ฝึกอบรมหรือเป็นที่พักผ่อน ของครอบครัวในวันหยุด • ห้องอาหารรองรับแขก 350 คน และมีบริการอาหารใน ราคากันเอง • ห้องประชุมใหญ่ รองรับแขก 300 คน ห้องประชุมย่อย 6 ห้อง รองรับแขกห้องละ 40 คน อาคารวิชาชีพเฉพาะทาง ติดตั้งอุปกรณ์ครบครันส�ำหรับการท�ำเวิร์คช้อป การน�ำ เสนองาน และการสาธิตต่างๆ ศูนย์ศุภนิมิตฯ เชียงราย ยินดีให้บริการช่วยเหลือแก่ชุมชน หน่วยงานภาครัฐ เอกชน โบสถ์ นักท่องเทีย่ ว และคนทัว่ ไป นอกจากนี้ ยินดี ให้บริการรับจองจากประเทศเพื่อนบ้าน และองค์กรศุภนิมิตประเทศต่างๆ การเยี่ยมชม 1/1 หมู่ 7 ต�ำบลเวียงเหนือ อ�ำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย การจองและสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อ โทร. 053-768-040 ถึง 3 แฟกซ์ 053-768-040
19
เรามีนิมิตที่จะให้เด็กทุกคนมีชีวิตที่ครบบริบูรณ์ เราอธิษ ฐานทูลขอให้ทุกดวงใจมุ่งมั่นกระท�ำให้นิมิตนี้ส�ำเร็จ our vision for every child, life in all its fullness: our prayer for every heart, the will to make it so.
เราเป็นคริสตชน เรามีภาระต่อผู้ยากไร้ เรายอมรับว่าทุกคนมีคุณค่า เราเป็นผู้รับใช้ เราพร้อมที่จะตอบสนอง เราเป็นเพื่อนร่วมพันธกิจ
มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย
ศูนย์ฝึกอบรม มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย 809 ซอยศุภนิมิต ถนนประชาอุทิศ แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310 โทรศัพท์ +66 2022 9200-2 โทรสาร +66 2022 9203-5 info@worldvision.or.th
www.worldvision.or.th