Wvft mag3 2013 thai

Page 1

วารสารศุภนิมิต

ปีที่ 27

3

2556

รวมเยาวชน ร่วมยุติการค้ามนุษย์

วารสารศุ ภ นิ มิ ต

สุธิสา บาริสต้ารุ่นเล็ก

โอกาสของชาวนาในวิกฤตการณ์น�้ำท่วม

1


สารบัญ

3 จากใจผู้อ�ำนวยการ 4 กิจกรรม 9 โครงการปกป้องคุ้มครองเด็กและยุติการค้ามนุษย์ รับรางวัลผู้ปฏิบัติงานป้องกันการค้ามนุษย์ดีเด่น

10 รวมเยาวชน ร่วมยุติการค้ามนุษย์

12 โครงการพลเมืองโลกปี 2

13 เพลิดเพลินไป กับค่ายภาษาอังกฤษ

14 โอกาสของชาวนา ในวิกฤตการณ์น�้ำท่วม

16 จุดประกายความหวังในความมืดมน

18 สุธิสา บาริสต้ารุ่นเล็ก

บรรณาธิการบริหาร: Jessica Mauer | ทีป่ รึกษา: จิตรา ธรรมบริสทุ ธิ,์ บรรจงเศก ทรัพย์โสภา, วิวรรธน์ ศรีธนางกูร, ประสพ ขุนสิทธิ,์ Janice Evidente กองบรรณาธิการ: ดวงพร โชคทิพย์พัฒนา, ไพวรรณ เบญจกุล, สมลักษณ์ ค�ำแสน, ประกฤต ลีลาวิวัฒน์, ฐิติ เลาหภิญโญจันทรา, Jay Mijares ศิลปกรรม: วิทวัส สุทธิพงศ์เกียรติ์ | นักแปล: มลฤดี จันทวิเชียรวัฒน์ วารสารศุภนิมติ มีวตั ถุประสงค์เพือ่ ประชาสัมพันธ์ความก้าวหน้าในการด�ำเนินพันธกิจของมูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ และเสริมสร้างความเข้าใจอันดีแก่ผอู้ ปุ การะ ผูบ้ ริจาค คริสตจักร องค์กรร่วมพันธกิจทัง้ ภาครัฐและเอกชน ทีม่ ภี าระร่วมกันในการช่วยเหลือผูย้ ากไร้ ตลอดจนเป็นสารเชิญชวนผูบ้ ริจาคและผูส้ นับสนุน ให้มีส่วนร่วมในพันธกิจด้านต่างๆ ของมูลนิธิศุภนิมิตฯ วารสารฉบับนี้ห้ามมิให้ท�ำซ�้ำหรือดัดแปลงโดยไม่ได้รับอนุญาต สงวนลิขสิทธิ์ 2013 จัดท�ำโดยมูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย

ภาพ: ปกหน้า ธวัช สุพรม ปกหลัง ประกฤต ลีลาวิวัฒน์ อ่านวารสารฉบับออนไลน์และฉบับภาษาอังกฤษ หรือดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.worldvision.or.th | E-mail: info@worldvision.or.th | Facebook: www.facebook.com/worldvisionthailand

2

วารสารศุ ภ นิ มิ ต


จากใจผู้อ�ำนวยการ

เรียน ท่านผู้อุปการะและผู้ร่วมพันธกิจ พฤศจิกายนเป็นเดือนทีม่ คี วามส�ำคัญในเรือ่ งการพัฒนาสิทธิมนุษยชน วันที่ 6 พฤศจิกายน ของทุกปีเป็นวันสากลแห่งการป้องกันการหาประโยชน์จากภาวะสงครามและการสูร้ บ จาก นั้น วันที่ 10 พฤศจิกายนเราจะได้ร่วมฉลองวันเสรีภาพแห่งโลก ต่อด้วยวันเยาวชนสากล และวันครบรอบ 24 ปีของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กในวันที่ 20 พฤศจิกายน และวันส�ำคัญ สุดท้ายในเดือนนี้คือวันสากลแห่งการยุติความรุนแรงต่อสตรีในวันที่ 25 พฤศจิกายน อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กให้ความส�ำคัญกับประเด็นหลักในการท�ำงานขององค์กร ศุภนิมิตทั่วโลก มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทยมุ่งด�ำเนินงานในด้านสิทธิมนุษยชน การ ปกป้องคุ้มครองเด็ก สุขอนามัย การศึกษา และความสุขของเด็กๆ โครงการของเราไม่ ว่าจะเป็นในด้านการหาเลี้ยงชีพ การรณรงค์ สุขอนามัย การศึกษา หรือการอุปการะเด็ก ล้วนมีจุดหมายเดียวกันคือ ความอยู่ดีมีสุขของเด็กๆ เดือนนี้เป็นเดือนแห่งการฉลองเสรีภาพให้กับเด็กๆ ทั้งเป็นเวลาที่จะได้คิดทบทวนว่า เรามาได้ไกลถึงไหน และยังต้องเดินหน้าต่อไปอีกเพียงใด มูลนิธิศุภนิมิตฯ ยังคงเดินหน้า ท�ำงานเพื่อสร้างความมั่นใจว่าเด็กทุกคนในประเทศไทยจะไม่ตกเป็นเหยื่อของการเอารัด เอาเปรียบและภัยคุกคามต่างๆ รวมทั้งได้รับการดูแลและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะ สมเข้าถึงสิ่งจ�ำเป็นพื้นฐานต่างๆ ที่ช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต มีสุขภาพแข็งแรง ร่าเริง แจ่มใส และได้รับการศึกษา ในวารสารเล่มสุดท้ายของปี 2556 ภูมใิ จเสนอเรือ่ งราวของผูน้ ำ� รุน่ เยาว์ พลเมืองโลก ธุรกิจ และบุคคลต่างๆ ทีร่ ว่ มงานกับมูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ อย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ สร้างสรรค์อนาคต ที่ดีขึ้นส�ำหรับเด็กๆ เมือ่ มองย้อนกลับไปเห็นพันธกิจต่างๆ ทีส่ ำ� เร็จลุลว่ งจากแรงสนับสนุนของท่านผูอ้ ปุ การะ นั่นช่วยสร้างก�ำลังใจให้เราก้าวเดินได้ใหม่เสมอ และรับรู้ถึงการเติบโตร่วมกัน พร้อมเห็น การพัฒนาต่างๆ ที่เกิดขึ้น ทั้งในเรื่องสิทธิและความอยู่ดีมีสุขของเด็กๆ ทั่วประเทศไทย ขอขอบคุณทุกท่านที่สนับสนุนเราด้วยดีเสมอมา จิตรา ธรรมบริสุทธิ์ ผู้อ�ำนวยการ วารสารศุ ภ นิ มิ ต

3


กิจกรรม

สร้างทุนสืบสานความฝันเด็กยากไร้ การมีสว่ นช่วยเหลือสังคมในด้านสุขอนามัย การรักษาพยาบาลเยียวยา ผู้ป่วย หรือการสนับสนุนด้านการศึกษาแก่เด็กยากไร้และครอบครัวที่ ขาดแคลน ดูเป็นการให้ที่สร้างความสุขใจให้ผู้มีจิตกุศลทุกท่าน เป็นเวลาเกือบ 40 ปีแล้ว ทีม่ ลู นิธศิ ภุ นิมติ แห่งประเทศไทย มุง่ มัน่ พัฒนาชีวติ เด็กๆ ครอบครัว และชุมชน ให้มคี วามอยูด่ มี สี ขุ และมีความ บริบูรณ์อย่างยั่งยืน ด้วยเหตุนี้ มูลนิธิศุภนิมิตฯ ได้จัดตั้ง “โครงการ เติมฝัน” ที่เน้นการบริหารจัดการสินทรัพย์แบบยั่งยืน โดยน�ำเงินที่ได้ รับจากการบริจาคเข้าสู่กองทุน และน�ำดอกผลที่ ได้มาช่วยเหลือเด็ก ยากไร้ทวั่ ประเทศผ่านโครงการต่างๆ ของมูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ และเงินต้น จะยังคงอยู่ในกองทุนในจ�ำนวนเท่าเดิม เมื่อเร็วๆ นี้ “โครงการเติมฝัน” ได้รับการอนุเคราะห์เงินเป็น จ�ำนวน 100,000 บาท จากผู้บริจาครายแรกเข้า “โครงการเติมฝัน” ผู้บริจาครายนี้ ให้ความเห็นว่า “ผมอยากให้มูลนิธิศุภนิมิตฯ บริหาร จัดการเงินบริจาคของผม โดยขอให้เกิดประโยชน์ตอ่ การศึกษาของเด็ก นักเรียน เพราะการศึกษาจะช่วยให้เด็กๆ อยูร่ อด มันเป็นทุนในการท�ำ มาหาเลีย้ งชีพ ซึง่ ทุนตรงนี้ ไม่มีใครสามารถขโมยจากเราไปได้ ถ้าเรา มีเงิน แต่ไม่มกี ารศึกษามันก็หมดกัน แต่ถา้ เรามีการศึกษา เราสามารถ ท�ำอะไรก็ได้ ดังนั้นจงเรียนเข้าไปเถอะ” ซึ่ง ”โครงการเติมฝัน” ยังคง ต้องการทุนสนับสนุนจากผู้มีจิตกุศลอีกมาก เพื่อสืบสานความฝันของ น้องๆ ยากไร้ที่รอคอยความอนุเคราะห์จากผู้ใหญ่ใจดีทุกคน สอบถามรายละเอียด “โครงการเติมฝัน” เพิ่มเติมได้ที่ มูลนิธิ ศุภนิมิตแห่งประเทศไทย โทรศัพท์ 0-2381-8863 ถึง 5

คุณอานนท์ สิมะกุลธร ผู้อุปการะเด็กของมูลนิธิศุภนิมิตฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541 ได้บริจาคเงิน 100,000 บาท แก่ “โครงการเติมฝัน”

ค่ายจีทเี อชจัดเต็มเพือ่ มือ้ เช้าของน้อง บริษั ท จีเอ็มเอ็ม ไท หับ จ�ำกัด (GTH) พร้อมนักแสดง หนุ่มไฟแรงในสังกัด พีช พชร จิราธิวัฒน์ มอบเงินบริจาค จ�ำนวน 52,260.75 บาท ที่รวบรวมมาจากโครงการ “GTH 1 Gift 1 Give มื้อเช้าเพื่อน้องท้องอิ่ม” ให้มูลนิธิศุภนิมิตแห่ง ประเทศไทย ณ บริษัท จีทีเอช เมื่อเดือนกันยายนที่ผ่านมา “GTH 1 Gift 1 Give มื้อเช้าเพื่อน้องท้องอิ่ม” น�ำรายได้ ส่วนหนึ่งจากการขายสินค้าที่ระลึกของจีทีเอช ในราคาพิเศษ มาสมทบเป็นค่าอาหารเช้าของเด็กๆ ยากไร้ในพืน้ ทีท่ รุ กันดาร ใน 7 จังหวัดของประเทศไทย ภายใต้โครงการ “มื้อเช้าเพื่อ น้องท้องอิม่ ” ทีด่ ำ� เนินงานโดยมูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ มากว่า 3 ปี เพือ่ ช่วยให้เด็กอายุ 2-6 ปีได้ทานอาหารเช้าทีม่ ปี ระโยชน์เหมาะสม กับวัย ตลอดระยะเวลา 2 ปีที่ผ่านมา ค่ายจีทีเอช ได้ร่วมจัดท�ำ กิจกรรมการกุศลเพือ่ น้องๆ กับมูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ อย่างต่อเนือ่ ง ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้เด็กๆ ได้ชมคอนเสิร์ต เที่ยวสวนสนุก ฯลฯ รวมทั้งจัดสรรรายได้จากภาพยนตร์หรือ กิจกรรมพิเศษอืน่ ๆ เพือ่ ช่วยเหลือเด็กยากไร้ ทีอ่ ยูภ่ ายใต้ความ ดูแลของมูลนิธิศุภนิมิตฯ

4

วารสารศุ ภ นิ มิ ต


กิจกรรม

ส่งต่อโอกาส ให้น้องจบ ป.ตรี นักศึกษาโครงการปริญญาโท ด้านการตลาด หลักสูตร นานาชาติ Master’s Degree Programme in Marketing (MIM) รุน่ 25 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ น�ำโดย คุณปรมินทร์ ตันวัฒนะ, คุณวรุตม์ บ�ำรุงสุนทร, คุ ณ สายฝน หาญชั ย กุ ล และคุ ณ ปิ ย ะพจน์ โรจนโสภณดิษฐ์ มอบเงินจ�ำนวน 100,000 บาทให้กับ มูลนิธศิ ภุ นิมติ แห่งประเทศไทย โดยมี ดร. บรรจงเศก ทรัพย์โสภา ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายการตลาดและระดมทุน

เป็นตัวแทนรับมอบ ภายใต้กิจกรรม ‘Pay it Forward’ ซึ่ง จัดขึ้นโดยนักศึกษา ณ ส�ำนักงานเอกมัย มูลนิธิศุภนิมิตฯ เมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา เงิ น บริ จ าคของนั ก ศึ ก ษา MIM-25 จะน� ำ เข้ า สู ่ ‘โครงการส่งน้องจบ ป.ตรี’ ของมูลนิธิศุภนิมิตฯ ซึ่งเป็น โครงการที่มอบทุนการศึกษาระดับปริญญาตรี ให้นิสิตที่ ได้ รับการคัดเลือก โดยคุณวรุตม์กล่าวว่า “ในวันรับปริญญา มั ก จะมี ค นให้ ด อกไม้ ห รื อ ของขวั ญ แสดงความยิ น ดี กั บ นักศึกษา แนวคิดของกิจกรรม ‘Pay it Forward’ จึงมีอยู่ ว่า อยากให้คนที่มาแสดงความยินดี แทนที่จะเอาเงินมาซื้อ ของ เปลี่ยนมาเป็นเงินบริจาค แล้วส่งต่อให้มูลนิธิใดมูลนิธิ หนึ่ง” “เงินจ�ำนวนนี้เรี่ยรายมาจากเพื่อนๆ และญาติๆ ของ เพื่อนร่วมรุ่นซึ่งมีทั้งหมด 70 คน” คุณสายฝนอธิบายให้ฟัง “เรากระจายข่าวไปว่าปีนเี้ ราไม่รบั ของขวัญ แต่อยากให้คนที่ จะมาแสดงความยินดีชว่ ยกันท�ำบุญแทนค่ะ” กิจกรรม ‘Pay it Forward’ ถูกจัดขึน้ เป็นครัง้ แรกโดยนักเรียน MIM รุน่ ก่อน หน้านี้ ส�ำหรับปีนี้นักศึกษา MIM-25 ได้ตกลงที่จะมอบเงิน บริจาคให้มลู นิธศิ ภุ นิมติ ฯ เพราะเพือ่ นร่วมชัน้ หลายคนเป็นผู้ อุปการะน้องๆ ของมูลนิธิศุภนิมิตฯ อยู่แล้ว แต่ที่ส�ำคัญไป กว่านั้น คือนักศึกษาธรรมศาสตร์กลุ่มนี้ ต้องการช่วยเหลือ นักเรียนกลุม่ อืน่ ให้สำ� เร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีดว้ ย เช่นกัน

เด็นโซ่เน้นสร้าง ความยั่งยืนในชุมชน กลุม่ บริษัท เด็นโซ่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผูผ้ ลิต และผู้จัดจ�ำหน่ายชิ้นส่วนยานยนต์ บริจาคเงิน จ�ำนวน 500,000 บาท ให้มูลนิธิศุภนิมิตแห่ง ประเทศไทย เพือ่ ด�ำเนิน “โครงการแหล่งเรียน รู้เพื่อการพัฒนาอาชีพ” ซึ่งเงินจ�ำนวนนี้ จะ น�ำมาเป็นงบประมาณพัฒนาองค์ความรู้และ จัดซื้ออุปกรณ์ให้กลุ่มอาชีพต่างๆ เช่น กลุ่ม ตัดเย็บเสื้อผ้า กลุ่มเพาะเห็ดฟาง กลุ่มท�ำผ้า บาติ ก และกลุ ่ ม เลี้ ย งหมู ห ลุ ม พร้ อ มกั บ สร้างอาชีพที่ยั่งยืนให้สมาชิกชุมชนกว่า 87 ครอบครั ว ในพื้ น ที่ ด� ำ เนิ น งานของมู ล นิ ธิ ศุภนิมิตฯ ที่อ�ำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี

วารสารศุ ภ นิ มิ ต

5


กิจกรรม

เอสโซ่บริจาคให้มื้อเช้าของน้องๆ คุ ณ มงคลนิ มิ ต ร เอื้ อ เชิ ด กุ ล กรรมการบริ ษั ท เอสโซ่ (ประเทศไทย) จ�ำกัด มหาชน บริจาคเงินจ�ำนวน 100,000 บาทให้ กับ “โครงการมือ้ เช้าเพือ่ น้องท้องอิม่ ” ซึง่ ด�ำเนินการโดยมูลนิธิ ศุภนิมิตแห่งประเทศไทย โดยมี ดร. บรรจงเศก ทรัพย์โสภา ผูอ้ ำ� นวยการฝ่ายการตลาดและระดมทุน เป็นตัวแทนรับมอบ ที่ บริษัท เอสโซ่ เมื่อเดือนกันยายนที่ผ่านมา “โครงการมื้อเช้าเพื่อน้องท้องอิ่ม” เกิดขึ้นเพื่อจัดหา อาหารเช้าที่เปี่ยมคุณค่าให้กับเด็กวัย 2-6 ปี ใน 7 จังหวัดของ ประเทศไทย “มื้อเช้าเป็นมื้อส�ำคัญที่สุดของวัน ผมศึกษามา ว่าการไม่ทานมื้อเช้า จะส่งผลกระทบต่อระบบเผาผลาญของ ร่างกาย” คุณมงคลนิมิตรกล่าว “อาหารเช้าเป็นสิ่งจ�ำเป็น ใน ช่วงแรกน้องๆ อาจจะยังไม่เห็นผลกระทบมากนัก แต่ในระยะ ยาว มื้อเช้าจะช่วยให้น้องๆ มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการ อย่างต่อเนื่อง” “มูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ เป็นองค์กรทีต่ รวจสอบได้ เชือ่ ถือได้และ มีอยูท่ วั่ โลก” เขากล่าว “เรายินดีทจี่ ะมีสว่ นร่วมในโครงการของ มูลนิธิศุภนิมิตฯ เป็นครั้งแรก และหวังว่าเงินบริจาคของเอสโซ่ ในครั้งนี้ จะสร้างประโยชน์ให้กับเด็กและชุมชน”

ปลูกด้วยมือ ท�ำด้วยใจ บริษัท ยูพีเอส พาร์เซล ดีลิเวอร์รี่ เซอร์วิส จ�ำกัด (UPS) บริษัท ขนส่งสินค้าและไปรษณีย์เอกชน ปลูกป่า 1,500 ต้น ผ่านมูลนิธิ ศุภนิมิตแห่งประเทศไทย ในโอกาสที่บริษัท ยูพีเอสฯ ครบรอบ 105 ปี มีพนักงานและผู้บริหารบริษัท ยูพีเอสฯ ประเทศไทย กว่า 50 ชีวิต เดินทางไปปลูกป่ารักษาสิ่งแวดล้อมและส่งเสริม ระบบนิเวศในพื้น ที่บ้านป่าเด็งใต้ ต�ำบลป่าเด็ง อ�ำเภอแก่ง กระจาน จังหวัดเพชรบุรี เมื่อเดือนมิถุนายน ที่ผ่านมา คุณนาถนดา กุศลานันต์ ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล บริษัท ยูพเี อสฯ ประเทศไทย กล่าวว่า “ในโอกาสครบรอบ 105 ปี เรามีโครงการทีจ่ ะปลูกป่าทัว่ โลกให้ได้ 1 ล้านต้น ในประเทศไทย จะปลูก 1,500 ต้น ซึง่ มากทีส่ ดุ ใน ยูพเี อสฯ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เราหวั ง ว่ า จะเป็ น จุ ด เล็ ก ๆ ในสั ง คมที่ เ ริ่ ม ใส่ ใจและรั ก ษา สิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง” คุณอ�ำนาจ จันทร์ประเสริฐ หนึง่ ในพนักงานบริษัท ยูพเี อสฯ

6

ประเทศไทย กล่าวว่า “ในการขนส่งเคลื่อนย้ายสิ่งต่างๆ ของ ยูพีเอสฯ ไม่ว่าจะด้วยรถ เครื่องบิน หรือเรือ สิ่งเหล่านี้ได้ปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา ดังนัน้ พวกเราจึงมาร่วมกันปลูก ป่าเพือ่ สร้างความสมดุลให้กบั สิง่ แวดล้อม สิง่ ทีเ่ ราท�ำวันนีจ้ ะช่วย ส่งเสริมระบบนิเวศในชุมชนให้ดีขึ้น” ในกิจกรรมครัง้ นี้ ยังมีนกั เรียนจากโรงเรียนป่าเด็งวิทยา ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 จ�ำนวน 29 คน อาสามาร่วมปลูกป่าด้วย “กิจกรรม วัน นี้จะช่วยสร้างจิตส�ำนึกที่ดี ให้เยาวชนรักชุมชนของตัวเอง และได้ความรู้ในการปลูกป่า” คุณครูศิรัจจันทร์ เอียดทองโส อาจารย์วิชาชีววิทยา โรงเรียนป่าเด็งวิทยากล่าว น้องผึง้ นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนป่าเด็งวิทยา เล่าว่า “หนูกับเพื่อนๆ มาร่วมปลูกต้นไม้ในวันนี้ โดยใช้เวลาว่าง ในวันหยุดเรียน การมานีก้ เ็ หมือนการดูแลบ้านและชุมชนของเรา และได้ออกก�ำลังกายและได้รับความรู้ในเวลาเดียวกัน” วารสารศุ ภ นิ มิ ต


กิจกรรม

ปันน�้ำ ปันน�้ำใจ เพื่อน้อง กลุ่มอีซูซุ อึ้งง่วนไต๋ น�ำโดยคุณเสาวนิต พิทักษ์สิทธิ์ รอง ประธานกรรมการ, คุณธารทิพย์ ลีวุฒินันท์ ผู้ช่วยกรรมการ ผูจ้ ดั การ และคุณภัทราพร พิทกั ษ์สทิ ธิ์ ผูจ้ ดั การฝ่ายการตลาด และพนักงานอีซูซุ เดิน ทางมาส่งมอบ “โครงการพัฒนา แหล่งน�้ำส�ำหรับอุปโภคบริโภค และใช้ในการเกษตรอาหาร กลางวัน” โรงเรียนบ้านแก้งนาง จังหวัดมุกดาหาร ซึ่งอยู่ใน พื้นที่พัฒนาของมูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย โดยมีคุณ สิรพิ งษ์ ปิยวิบลู ย์กลุ ผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียน และ ดร. บรรจงเศก ทรัพย์โสภา ผู้อ�ำนวยการฝ่ายการตลาดและระดมทุนของ มูลนิธิศุภนิมิตฯ เป็นตัวแทนในการรับมอบ เมื่อเร็วๆ นี้ โครงการนี้จัดตั้งขึ้นเพื่อให้เด็กนักเรียนและชุมชน มี แหล่งน�ำ้ สะอาดไว้ใช้เพือ่ อุปโภค-บริโภคตลอดปี คุณภัทราพร ตัวแทนกลุ่มอีซูซุฯ กล่าวว่า “กลุ่มอีซูซุฯ ได้จัดโครงการปัน วารสารศุ ภ นิ มิ ต

ความสุข เพื่อทุกรอยยิ้มแห่งการเรียนรู้ซึ่งเป็นเจตนารมณ์ ของคุณเมธี พิทักษ์สิทธิ์ ประธานกรรมการที่ถ่ายทอดมาสู่ รุ่นลูกที่จะช่วยเหลือเด็กๆ ที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล ซึ่งเป็นการ ร่วมกายร่วมใจของกลุ่มผู้บริหาร พนักงาน และลูกค้า ผู้มีอุปการะคุณ ที่มีจิตอาสาในการช่วยเหลือน้องๆ จัดท�ำ กิจกรรมนี้อย่างต่อเนื่อง” ภายในงาน กลุ่มอีซูซุฯ ยังได้น�ำอุปกรณ์การเรียน และ อุปกรณ์กีฬามาแจกเด็กๆ ทุกคนในโรงเรียน รวมทั้งเครื่อง เวชภัณฑ์ที่มอบให้โรงเรียนด้วย คุณภัทราพร ได้ฝากข้อคิด ดีๆ ให้กับเด็กๆ ด้วยว่า “ถึงแม้ระยะทางจะไกลแต่ความรู้สึก ของเราใกล้กัน อยากฝากถึงน้องๆ ให้เป็นเด็กดีของคุณพ่อ คุณแม่ เชื่อฟังค�ำสอนของคุณครู เราเป็นคนไทยต้องรักบ้าน เกิดของเรา และที่ส�ำคัญต้องไม่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด”

7


กิจกรรม

เติมเต็มรอยยิ้มให้เด็กๆ กับอะมาดิอุส ผูบ้ ริหารและพนักงาน บริษัท ไทย - อะมาดิอสุ เซาท์อสี ต์ เอเชีย จ�ำกัด ผูน้ ำ� เทคโนโลยีระบบสารสนเทศส�ำหรับการเดินทาง ร่วม ท�ำกิจกรรมกับน้องๆ 50 คน ที่อยู่ในความอุปการะของมูลนิธิ ศุภนิมิตแห่งประเทศไทย จากโครงการพัฒนาชุมชนเป็นพื้นที่ แบบพึ่งตนเองและยั่งยืน อ�ำเภอแก่งกระจานใน “ค่ายเติมเต็ม รอยยิ้ม” เมื่อเดือนสิงหาคม 2556 ที่ผ่านมา เริ่มวันแรกของ “ค่ายเติมเต็มรอยยิ้ม” ด้วยการพา น้องๆ เที่ยวชม สวิส ชีพ ฟาร์ม ที่อ�ำเภอชะอ�ำ จังหวัดเพชรบุรี น้องๆ ได้ท�ำกิจกรรมต่างๆ เช่น ให้อาหารแกะอย่างใกล้ชิด นั่งรถม้าชมวิว จากนั้นก็พาน้องๆ ไปเยี่ยมชมพระรามราช นิเวศน์ หรือพระราชวังวังบ้านปืน ทีส่ ร้างความตืน่ ตาตืน่ ใจจาก สถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลที่ 5 จากนั้นไปต่อที่พระนครคีรี เขา วัง แหล่งเรียนรูท้ างประวัตศิ าสตร์ของไทย และเจ้าหน้าทีม่ ลู นิธิ ศุภนิมิตฯ ได้ท�ำกิจกรรมสันทนาการ เพื่อสร้างความสนิทสนม ระหว่าง พีๆ่ ใจดีอะมาดิอสุ กับน้องๆ ในวันทีส่ องก่อนกลับบ้าน น้องๆ ได้ไปสนุกเต็มที่กับเครื่องเล่นต่างๆ ที่ ซานโตรินี่ พาร์ค นับเป็นประสบการณ์แห่งความสุขของทั้งพี่และน้อง “รูส้ กึ ดีใจมากครับที่ได้มาเทีย่ วเปิดหูเปิดตา เพราะผมไม่

8

ได้เข้าค่ายตัง้ แต่ ป.1 ครับ สองวันนีผ้ มมีความสุขมากครับ แถม ยังตื่นเต้นมากที่ได้คุยกับฝรั่ง (ชาวต่างชาติ) ขอบคุณพี่ๆ มาก เลยครับ” น้องสอง ปัจจุบันเรียนชั้น ป.4 โรงเรียนชลประทาน แก่งกระจาน เปิดใจหลังจบกิจกรรม คุณชวิน นิจพาณิชย์ ตัวแทนบริษัท ไทย - อะมาดิอุสฯ แบ่งปันประสบการณ์ให้ฟังว่า “มีความสุขที่ได้เห็นเด็กๆ ยิ้ม และตื่นเต้นกับกิจกรรมในที่ต่างๆ ผมนึกถึงตัวเองตอนเด็กๆ ว่าไม่ค่อยมีโอกาสได้ไปเที่ยว เด็กๆ คงดี ใจที่ ได้มาเปิดโลก กว้าง และมีคนที่คอยดูแลเอาใจใส่ ผมเองหวังว่ากิจกรรมนี้ จะให้ก�ำลังใจเด็กๆ ทั้งในการเรียนและการใช้ชีวิต” “รู้สึกว่าการให้ ท�ำให้เรามีความสุข พอเห็นเด็กๆ เที่ยว อย่างมีความสุขสนุกสนาน เราก็ดีใจ เด็กๆ ได้รบั ประสบการณ์ ใหม่ ที่จะช่วยให้เด็กกล้าแสดงออกมากขึ้น และมีความมั่นใจ เช่น ได้คยุ และท�ำกิจกรรมร่วมกับชาวต่างชาติกถ็ อื เป็นโอกาสที่ ดีสำ� หรับพวกเขา” คุณสุรสั สา ชนะชัยเฉลิมวงค์ ตัวแทนบริษัท ไทย - อะมาดิอสุ ฯ พูดถึงประสบการณ์อนั แสนประทับใจให้ฟงั นอกจากนี้ น้องๆ ยังได้รับอุปกรณ์การเรียนจากพี่ๆ ใจดี ที่น�ำมามอบให้อีกด้วย วารสารศุ ภ นิ มิ ต


บอกเล่าผ่านเรื่อง

โครงการปกป้องคุ้มครองเด็กและยุติการค้ามนุษย์ รับรางวัลผู้ปฏิบัติงานป้องกันการค้ามนุษย์ดีเด่น โดย Jessica Mauer

นั อบรมเครือข่ายเฝ้าระวัง ปัญหาการท่องเที่ยว ที่แสวงหาผลประโยชน์ ทางเพศจากเด็ก โดย ไพวรรณ เบญจกุล

กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่อง เที่ยว ได้มอบหมายให้มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ด�ำเนินการอบรม “เครือข่าย เฝ้าระวังปัญหาการท่องเทีย่ วทีแ่ สวงหา ผลประโยชน์ ท างเพศจากเด็ ก ” ให้ แก่บุคลากรในอุตสาหกรรมการท่อง เที่ยว ภาครัฐ เอกชน สถาบันการ ศึกษา รวมถึงเครือข่ายภาคประชาชนที่ เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพ ของผู้เข้าร่วมให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนั ก ถึ ง ปั ญ หา และน�ำไปสู ่ ก าร สร้ า งเครื อ ข่ า ยเฝ้ า ระวั ง ป้ อ งกั น ใน พื้นที่ท่องเที่ยวหลักอันได้แก่ เชียงใหม่ กรุงเทพมหานคร พัทยา และภูเก็ต โครงการเพื่อความหวังของเด็กๆ ในภาวะวิกฤต จังหวัดภูเก็ต (Hope for children in crisis) ของมูลนิธิ ศุภนิมิตแห่งประเทศไทย ซึ่งด�ำเนิน พั น ธกิ จ ช่ ว ยเหลื อ เด็ ก ด้ อ ยโอกาสใน พื้นที่ป่าตอง เข้าร่วมการอบรมเครือ ข่ า ยเฝ้ า ระวั ง ปั ญ หาการท่ อ งเที่ ย วที่ แสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็กรุ่น ที่ 4 ซึ่งจัดขึ้นโดยกรมการท่องเที่ยว และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ณ เทศบาล เมืองป่าตอง ในจังหวัดภูเก็ต เมื่อเดือน สิงหาคมที่ผ่านมา วารสารศุ ภ นิ มิ ต

บตัง้ แต่รฐั บาลไทยประกาศให้ปญ ั หา การค้ามนุษ ย์เป็นวาระแห่งชาติในปี 2546 มูลนิธศิ ภุ นิมติ แห่งประเทศไทย ได้ตอบสนองนโยบายด้วยการท�ำงานต่อต้าน การค้ามนุษย์ใน 6 จังหวัด และเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม ทีผ่ า่ นมา กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ ได้มอบรางวัลผู้ ปฏิบัติงานป้องกันการค้ามนุษ ย์ดีเด่นให้แก่ มูลนิธิศุภนิมิตฯ ซึ่งเป็นรางวัลที่แสดงการ ยอมรับความก้าวหน้าในการท�ำงานดังกล่าว คุณจิตรา ธรรมบริสุทธิ์ ผู้อ�ำนวยการ มูลนิธศิ ภุ นิมติ ฯ กล่าวในโอกาสได้รบั รางวัลว่า “มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทยภาคภูมิใจ อย่างยิ่งที่ได้รับรางวัลในครั้งนี้ ผลสัมฤทธิ์ที่ ได้เกิดขึ้นกับเด็กเปราะบาง โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งเด็กที่เสี่ยงต่อการถูกแสวงหาประโยชน์ นี่คือความส�ำเร็จที่แท้จริงของมูลนิธิ” โครงการปกป้องคุ้มครองเด็ก และยุติการค้ามนุษย์ ของมูลนิธิศุภ นิมิตฯ มุ่งท�ำงานกับคนกลุ่มเสี่ยง โดยเฉพาะแรงงานต่ า งถิ่ น โดย ประสบความส�ำเร็จในการพัฒนา หลักสูตรสื่อให้ความรู้ และให้การ ฝึ ก อบรมแก่ แ รงงานต่ า ง ถิ่น รวมทั้งผู้น�ำชุมชน เพื่ อให้ ส ามารถท� ำ หน้ า ที่ เ ป็ น อาสา สมั ค รเฝ้ า ระวั ง ใน ชุ ม ชนของตนเอง อาสาสมั ค รเฝ้ า ระวั งได้ ใ ช้ ค วามรู ้ มาตั้ ง เครื อ ข่ า ยใน ชุมชนเพือ่ ปกป้องคุม้ ครองเด็กๆ ขณะนี้มีผู้ ได้รับเอกสารให้ความ รู ้ เ รื่ อ งการค้ า มนุ ษ ย์ แล้วไม่ต�่ำกว่า 60,000 คน และเครือข่ายอาสา สมั ค รที่ ตั้ ง ขึ้ น ก็ มี ส มาชิ ก ถึง 2,000 คน การสร้ า งศั ก ยภาพ

ใ ห ้ แ ก ่ เ ย า ว ช น ด ้ ว ย ก า ร ใ ห ้ ค ว า ม รู ้ เรื่ อ งปั ญ หาการค้ า มนุ ษ ย์ ช่ ว ยเสริ ม ทั ก ษ ะ ชี วิ ต แ ล ะ ส ร ้ า ง ค ว า ม ตื่ น ตั ว นั บ เป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ ของโครงการปกป้ อ ง คุ ้ ม ครองเด็ ก และยุ ติ ก ารค้ า มนุ ษ ย์ ของ มู ล นิ ธิ ศุ ภ นิ มิ ต ฯ การสร้ า งแรงจู ง ใจแก่ เยาวชนในการเข้าร่วมประชุมเวทีเยาวชน ลุ่มแม่น�้ำโขง (Mekong Youth Forum) และการประชุมเจ้าหน้าที่ระดับสูง (Senior Officials Meeting) ซึ่งเป็นเวทีที่เปิดโอกาส ให้เยาวชนได้แสดงทัศนะเกีย่ วกับการค้ามนุษย์ ให้ผู้น�ำร่วมลงฉัน ทมติ และเจ้าหน้าที่ของ รัฐได้รับทราบ โดยในขณะนี้มีเยาวชนเข้า ร่วมกิจกรรมยุติการค้ามนุษย์แล้วไม่ต�่ำกว่า 5,000 คน “ผมภูมิใจอย่างยิ่งกับทีมท�ำงาน ด้านการป้องกัน รวมถึงเจ้าหน้าที่ภาคสนาม ซึ่ งได้ ท� ำ งานอย่ า งหนั ก และอุ ทิ ศ ตน เสมอมา” จอห์น ลูชี ผู้ประสานงาน ด้ า นการสร้ า งความตระหนั ก เพื่ อ ความยุติธรรมในสังคมของมูลนิธิ ศุ ภ นิ มิ ต ฯ กล่าว

9


บอกเล่าผ่านเรื่อง

รวมเยาวชน ร่วมยุติ การค้ามนุษย์

เยาวชน 6 ประเทศ ร่วมเรียนรู้การท�ำสื​ื่อเพื่อสร้างความตระหนักถึงปัญหา การค้ามนุษย์ในประเทศของตน “เยาวชนคือหัวใจส�ำคัญของการพัฒนาประเทศ” โว บา คอง (Vo Ba Cong) จากประเทศ เวียดนามตอบค�ำถามทีว่ า่ ท�ำไมองค์กรอย่างมูลนิธศิ ภุ นิมติ แห่งประเทศไทย Save the Children และ MTV Exit จึงร่วมกันท�ำงานกับเยาวชนเพือ่ สร้างความตระหนักและช่วยกันยุตกิ ารค้ามนุษย์ ในการประชุมเวทีเยาวชนลุ่มแม่น�้ำโขง ซึ่ง จัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-9 สิงหาคม ที่ผ่านมา เยาวชนจาก 6 ประเทศในภู มิ ภ าคลุ ่ ม น�้ ำ โขงมาพบปะกันเพื่อพูดคุยแลกเปลี่ยนเรื่อง สาเหตุ ผลลัพธ์ และเรื่องราวการค้ามนุษย์ใน ภูมิภาคนี้ การก�ำหนดพื้นที่เสี่ยงบนแผนที่ใน แต่ละประเทศ และการขนส่งระหว่างภูมิภาค ต่างๆ ช่วยให้เห็นถึงสิ่งที่ประเทศในภูมิภาค นี้มีร่วมกัน จอห์น วัน ยูน(JohnWhanYoon) ผูจ้ ดั การ ภาคของโครงการปกป้องคุม้ ครองเด็กและยุติ การค้ามนุษย์ (ETIP) ภายใต้มูลนิธิศุภนิมิตฯ อธิบายให้ผู้ร่วมประชุมฟังว่า “หลายประเทศ ในลุ่มน�้ำโขงเชื่อมต่อกัน ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่ง ที่เรามารวมตัวกันที่นี่ การค้ามนุษ ย์เกิดขึ้น ข้ามพรมแดนประเทศต่างๆ จึงไม่สามารถแก้ ปัญหาจากเพียงประเทศเดียว การค้ามนุษย์ไม่

10

โดย Jessica Mauer

เยาวชนชาวพม่าร่วมวิเคราะห์ถึงปัญหา การค้ามนุษย์ในประเทศของเขา

ได้หมายถึงการข้ามพรมแดนหรือบังคับให้ใคร สักคนอพยพย้ายถิ่นฐาน แต่คือการแสวงหา ผลประโยชน์จากผูอ้ นื่ ต่างหาก ทีท่ ำ� ให้เกิดการ ค้ามนุษย์ขนึ้ การเอารัดเอาเปรียบคือสิง่ ส�ำคัญ ไม่ใช่การอพยพโยกย้ายคน และการค้ามนุษย์ สามารถเกิดได้ทงั้ ต้นทาง ระหว่างการย้ายถิน่ หรือปลายทาง” แม้สถานการณ์ในประเทศต้นทางแต่ละ ประเทศจะแตกต่างกัน แต่ทกุ คนเห็นพ้องต้อง กันว่า สาเหตุหลักของการถูกเอารัดเอาเปรียบ คือ การทีผ่ มู้ ชี วี ติ ยากจนข้นแค้นอยากมีชวี ติ ที่ ดีขนึ้ โดยไม่ตระหนักถึงความเสีย่ งทีจ่ ะถูกเอา รัดเอาเปรียบ รวมทัง้ ไม่รสู้ ทิ ธิของตน และไม่รู้ ว่าจะไปขอความช่วยเหลือจากที่ใด ผูร้ ว่ มประชุมจากประเทศพม่าคนหนึง่ ซึง่ ขอไม่ออกนาม เนื่องจากเกรงจะไม่ปลอดภัย บอกว่ า แม้ ช าวพม่ า จะตกเป็ น เหยื่ อ ของ วารสารศุ ภ นิ มิ ต


บอกเล่าผ่านเรื่อง

ถ้าคนรู้ถึงความเสี่ยงและคิดให้รอบคอบ ก่อนจะอพยพย้ายถิ่น ความเสี่ยงที่จะตก เป็นเหยื่อการเอารัดเอาเปรียบก็จะลดลง บน: สุลิดา จากประเทศลาว เล่าถึงความเสี่ยงต่างๆ ที่เกิดขึ้นในประเทศของเธอ กลางซ้าย: 6 ประเทศ ได้น�ำเสนอสิ่งส�ำคัญที่ทุกคนควรค�ำนึงถึง กลางขวา: หนึ่งในตัวแทนชาวพม่า ใส่เสื้อรณรงค์ “ร่วมยุติการค้าทาส” ล่าง: จอห์น วัน ยูน (John Whan Yoon) ตัวแทนจากมูลนิธิศุภนิมิตฯ แสดงให้เห็นความ เชื่อมโยงของการค้ามนุษย์ในประเทศลุ่มน�้ำโขง

กระบวนการค้ า มนุ ษ ย์ กั น มากจนดู เ ป็ น เรื่ อ ง ธรรมดา แต่ตัวเขาเองไม่เคยรู้ว่าการค้ามนุษ ย์ หมายถึงอะไร และไม่รู้ด้วยซ�้ำว่ามีการค้ามนุษย์ จนได้ชมภาพยนตร์ฮอลลีวู้ดเรื่อง Taken ทั้งนี้ก็ เพราะชุมชนที่เขาอยู่ไม่เคยมีการพูดคุยกันเรื่อง การค้ามนุษย์ คนในชุมชนดูเหมือนจะย้ายไปอยู่ที่ อื่นแล้วหายตัวไป หลังชมภาพยนตร์เรื่องดังกล่าว ไม่นาน เขาก็ไปหาสารคดีเกี่ยวกับการค้ามนุษย์ และการแสวงหาประโยชน์จากผูอ้ นื่ มาดูดว้ ยความ สนใจ ตราบใดทีย่ งั มีความต้องการแรงงานราคาถูก การรับบุตรบุญธรรมแบบไม่ยุ่งยาก บริการทาง เพศ และการแสวงหาก�ำไรอย่างมหาศาล ตราบ นั้นการค้ามนุษ ย์ก็ยังด�ำเนินต่อไปในภูมิภาคนี้ สุลิดา วัย 15 ปี พูดถึงความจ�ำเป็นที่ต้องร่วมมือ กันเพือ่ เพิม่ ความตระหนักในเรือ่ งนี้ “การค้ามนุษย์ เป็นปัญหาทีเ่ กิดขึน้ กับเยาวชนประเทศลาว ถ้าคน รู้ถึงความเสี่ยงและคิดให้รอบคอบก่อนจะอพยพ ย้ายถิ่น จ�ำนวนคนที่เสี่ยงจะตกเป็นเหยื่อการเอา รัดเอาเปรียบก็จะลดลง ตลอดจนเรื่องอื่นๆ เช่น ควรเก็บหนังสือเดินทางไว้ในที่ปลอดภัยเสมอ มี ใบอนุญาตท�ำงานถูกต้องตามกฎหมาย รู้สิทธิ ของตัวเอง พูดคุยกับคนที่ไว้ใจ และต้องมั่นใจว่า รู้สภาพการท�ำงานและสภาพความเป็นอยู่ก่อนจะ ตัดสินใจไปท�ำงาน” ตลอด 4 วันของการประชุม ซึ่งมีกิจกรรม แน่นตลอด 12 ชั่วโมงเกือบทุกวัน เยาวชนจาก ประเทศลุ่มน�้ำโขงได้พัฒนาทักษะที่จะน�ำไปใช้ รณรงค์สร้างความตระหนักในชุมชนของตนเอง รวมทั้งสามารถระบุสารส�ำคัญในการพิทักษ์สิทธิ์ ทีจ่ ะน�ำไปใช้สร้างความตระหนักในชุมชนและบอก เล่าให้เจ้าหน้าที่ของรัฐได้ทราบ สุลิดาสัญญากับ ผู้เข้าร่วมประชุมว่า “ฉันจะใช้ความรู้ที่ได้จากเวที นี้ ไปสร้างศิลปะ ละคร หรือวิดีโอ เพื่อสอนให้ เยาวชนในชุมชนของฉันตระหนักว่า มีความเสี่ยง อะไรบ้างที่พวกเขาเผชิญอยู่”

วารสารศุ ภ นิ มิ ต

11


บอกเล่าผ่านเรื่อง

โครงการพลเมืองโลก ปี 2:

โลกสวยด้วยมือเรา โดย สมลักษณ์ ค�ำแสน

12

น้าที่ของคนทุกคนไม่ว่าเพศไหน หรืออายุเท่าไร สิ่งที่เราควรตระหนักถึงคือการเป็น “พลเมือง” ที่มี คุณภาพทั้งในประเทศของเรา และสังคมโลก สิ่งนี้ไม่เกี่ยวว่า “ยังเด็ก” อยู่ เพราะปัญหาเช่น ขยะล้น เมือง การคอร์รัปชั่น โลกร้อน มลพิษทางอากาศ และปัญหาอีกมากมายที่ทับถมขึ้นทุกวัน เป็นเรื่องที่ เราทุกคนควรต้องร่วมมือกัน ช่วยเหลือและพัฒนาประเทศ ชุมชน และโลกใบนี้ จากการสังเกตการณ์โครงการพลเมืองโลก ปี 2 ในปีนี้ เยาวชนไต้หวันได้รบั เชิญมาร่วมท�ำกิจกรรมพัฒนา กับเยาวชนไทยในพื้นที่โครงการฯ แม่สลอง จังหวัดเชียงราย เมื่อไม่นานมานี้ โดยกิจกรรมจัดเตรียมขึ้นเพื่อเปิด โอกาสให้เหล่าเยาวชนมาเรียนรู้ประสบการณ์ชีวิตจริง ทักษะชีวิต การเป็นผู้น�ำ โดยมีเป้าหมายที่จะให้พวกเขา สามารถกลับไปพัฒนาบ้านเกิดของตัวเองได้ กลุ่มเยาวชนไต้หวัน 17 คน ซึ่งเรียนชั้นมัธยมปลาย และเยาวชน ในอ�ำเภอแม่ฟา้ หลวง ได้รว่ มกันท�ำแปลงผักสวนครัว ท�ำอาหารเลีย้ งหมูและไก่ ทาสีโรงอาหารใหม่ สร้างห้องน�ำ้ และสนามเด็กเล่นภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านมะหินกอง สร้างฝายชะลอน�้ำที่โรงเรียนบ้านดอยแสนใจ เพื่อ ช่วยอนุรักษ์แหล่งที่อยู่ของปูแม่ฟ้าหลวง คุณจิตรา ธรรมบริสทุ ธิ์ ผูอ้ ำ� นวยการมูลนิธศิ ภุ นิมติ แห่งประเทศไทย พูดถึงสิง่ ส�ำคัญของโครงการพลเมือง โลกว่า “นี่เป็นการให้โอกาสพวกเขาได้ร่วมกันคิด เด็กและเยาวชนจะได้ร่วมแลกเปลี่ยนความเห็นถึงประเด็น ปัญหาในสังคมพวกเขา พร้อมเขียนเป็นข้อเสนอโครงการ โดยหลายโครงการท�ำให้ผใู้ หญ่หนั มาฉุกคิดถึงประเด็น ที่เด็กๆ น�ำเสนอ ขณะที่อีกหลายโครงการก็ช่วยคลี่คลายปัญหาของชุมชนที่ก�ำลังประสบอยู่ไปได้มาก”

วารสารศุ ภ นิ มิ ต


บอกเล่าผ่านเรื่อง

เพลิดเพลินไป กับค่ายภาษาอังกฤษ ค่า โดย Sunjuli

ยเสริมทักษะภาษาอังกฤษที่จัดขึ้นให้ เด็กในความอุปการะของมูลนิธศิ ภุ นิมติ แห่งประเทศไทย ที่จังหวัดล�ำปาง หนึ่ง ในเด็กทีเ่ ข้าร่วม เด็กหญิงวราภรณ์ นักเรียนชัน้ ป.6 วัย 12 ปี เล่าถึงสิ่งที่ ได้เรียนรู้จากการเข้าค่าย ว่า “ในโรงเรียนหนูได้เรียนจากการจดตามบน กระดานที่ครูเขียน แต่ที่นี่ต่างกันมาก พวกเรา เรียนผ่านเพลงประกอบท่าทาง และเกมส์ต่างๆ การเรียนที่นี่จึงทั้งสนุกและน่าสนใจค่ะ” ในค่ายสอนภาษาอังกฤษมีกิจกรรมหลาก หลาย เช่น ร้องเพลง เต้นร�ำ เล่นเกมส์ วาดรูป เขียนเรือ่ งสัน้ และน�ำมาผสมเข้ากับการสอนภาษา อังกฤษ เรื่องบุพบท ค�ำศัพท์ กาล การนับ ค�ำที่ ออกเสียงยาก ค�ำทีเ่ ข้าใจยาก การสร้างค�ำ ค�ำตรง ข้าม ค้นหาค�ำศัพท์ ปริศนา ฯลฯ ค่ายภาษาอังกฤษแห่งนี้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 26-28 สิงหาคม ณ ศูนย์ศุภนิมิตเพื่อการพัฒนา ที่จังหวัดเชียงราย โดยมีเด็กๆ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4-6 จากหกโรงเรียนเข้าร่วม จ�ำนวน 105 คน ด.ญ. อัญมณี วัย 12 ปี นักเรียนชั้น ป.6 เล่าว่า “ที่โรงเรียนเราเรียนภาษาอังกฤษสัปดาห์ละ 4 วัน วันละ 1 ชั่วโมง แต่ที่นี่เราเรียนภาษาอังกฤษทั้งวัน ช่วยให้หนูเข้าใจภาษาอังกฤษเพิ่มมากขึ้นค่ะ”

ด.ช.ชิดชนะพงษ์ อายุ 12 ปี อยากเก่งภาษา อังกฤษมากกว่านี้ เพือ่ จะได้สอื่ สารกับชาวต่างชาติ ชิดชนะพงษ์เชือ่ ว่าการรูภ้ าษาอังกฤษมีความส�ำคัญ มาก เพราะภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากล และ อีก 2 ปีประเทศไทยก็จะเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน “ผมโชคดีท่ีได้เรียนอะไรใหม่ๆ ที่ค่ายนี้ เมื่อก่อนผมนับ 1-100 ได้ แต่ไม่เคยรู้ว่าหลักล้าน และล้านล้านเรียกว่าอะไร เพลงประกอบท่าทาง ที่ผมคิดว่าดีที่สุดคือเพลงเกี่ยวกับค�ำบุพบท in, on, by ครับ” ชิดชนะพงษ์ พูดเสริมอย่างมีความ สุขว่า “เราสนุกกันมากครับ ได้เรียนรู้มากขึ้น กิน อาหารอร่อย หลับสบาย แล้วก็มีโอกาสพบเพื่อน ใหม่หลายคน” ครู ฉั น ทณั ฐ ฉุ ย กลั ด ครู โ ครงการภาษา อั ง กฤษของค่ า ยเล่ า ว่ า ภาษาอั ง กฤษของเด็ ก ๆ พัฒนาขึ้นมากตั้งแต่มาเข้าค่าย เพราะเด็กๆ สนใจ และตั้งใจเรียน ซึ่งช่วยให้ซึมซับความรู้ได้มาก “เราใช้เทคนิคการสอนที่เป็นมิตรกับเด็ก เด็กๆ ชอบเรียนผ่านเพลง ไม่ใช่การเรียนแบบเดิมๆ ใน โรงเรียน หลายคนติดต่อมาขอสื่อการเรียนภาษา อังกฤษหลังจบค่าย เด็กๆ เหล่านี้เรียนรู้เร็วและ สนใจที่จะเรียนรู้ ท�ำให้ดิฉันอยากสอนมากขึ้นค่ะ” ครูฉันทณัฐกล่าว

ENGLISH CAMP

วารสารศุ ภ นิ มิ ต

13


โอกาสของชาวนา ในวิกฤตการณ์นํ้าท่วม โดย Jay Mijares


บอกเล่าผ่านเรื่อง ในภาษาจีนค�ำว่า “วิกฤต” มีการน�ำไปใช้หลากหลายวิธี แต่ถ้าใครลองค้นหาในอินเตอร์เน็ต จะพบค�ำอธิบายหนึ่ง ว่า มีการใช้ค�ำวิกฤตอันตรายและโอกาสรวมไว้ด้วยกัน นี่ น่าจะเหมือนเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน้ กับชาวนาผูป้ ระสบอุทกภัย ในจังหวัดสระแก้ว

วลนํา้ ทีเ่ ริม่ ไหลมาตัง้ แต่วนั ที่ 17 กันยายน ทีผ่ า่ นมา ส่งผลกระทบต่อไร่นาจนเสียหายกว่า 1,146,237 ไร่ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และ ภาคกลางของประเทศไทย นับเป็นความเสียหายอย่างมาก ต่อชาวนาในฤดูเก็บเกี่ยวเช่นนี้ แต่ชาวบ้านมากกว่าครึ่งในจังหวัดสระแก้ว มุ่งมั่นที่ จะเอาชนะต่อวิกฤตครั้งนี้ อาวุธข้างกายเพียงอย่างเดียวที่ พวกเขาน�ำมาใช้คอื รถแทรกเตอร์ ซึง่ วิง่ ไปมาระหว่างอ�ำเภอ อรัญประเทศและหมู่บ้านใกล้เคียง เพื่อที่จะหางานอื่นๆ ท�ำ ด้วยเสียงกระหึ่มของเครื่องยนต์และท่อไอเสีย เจ้ารถ เหล็กสีส้มได้น�ำพาชาวบ้านที่ต้องเดินทางเข้าออกเมืองและ ท้องถิน่ “พวกเขาขอเก็บเงินค่าโดยสารประมาณ 20-40 บาท ต่อคน ซึ่งขึ้นอยู่กับระยะทาง” นางสง่า สืบตระกูล หัวหน้า ทีมบรรเทาทุกข์กล่าว ปกติ ชาวบ้านที่ไม่มรี ถแทรกเตอร์ จะ ขอเช่ารถแทรกเตอร์หรือใช้ควายในการท�ำนา นับตัง้ แต่บา้ นโดนนาํ้ ท่วมสูงกว่า 6 ฟุต นายเสงีย่ ม อายุ 55 ปี หนึง่ ในผูป้ ระสบภัยนาํ้ ท่วมและครอบครัว ต้องอาศัยอยู่ บนเรือรวมกับครอบครัวอื่นอีก 2 ครอบครัว ในช่วงกลางวัน เรือจะผูกโยงไว้กบั ต้นไม้ขา้ งถนน และพวกเขาต้องอดทนรอ จนกว่าจะมีถงุ ยังชีพล�ำเลียงมาแจกในแต่ละวัน ในช่วงกลาง คืน พวกเขาจะกลับไปนอนบนชัน้ สองของบ้าน “นาของพวก เราเป็นเรื่องส�ำคัญ ผมไม่มีหวังที่จะกู้เอาข้าวคืนมา เพราะ มันเสียหายไปหมด” เสงีย่ มต้องใช้เงินจ�ำนวน 6 หมืน่ บาทใน การเตรียมที่นากว่า 20 ไร่ไว้เพาะปลูก ซึ่งที่ดินนี้ไม่ใช่ของ เขา แต่ได้เช่ามา จากเหตุการณ์นํ้าท่วมครั้งนี้ ความสูญเสีย คือสิง่ เดียวทีเ่ ขาได้รบั ซํา้ ร้ายไปกว่านัน้ คือ พายุไต้ฝนุ่ “นารี” ทีเ่ ข้ามาสร้างความเสียหายเพิม่ ยิง่ ขึน้ อีกในหลายๆ พืน้ ทีข่ อง ภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในวิกฤตการณ์ทเี่ ลวร้ายนีย้ งั คงมีความหวังเกิดขึน้ ชาว บ้านยากไร้เช่นเสงีย่ มได้รบั ความช่วยเหลือจากองค์กรต่างๆ หนึ่งในนั้นคือ มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย ซึ่งด�ำเนิน การช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ผู้ประสบภัยกว่า 15,485 คน โดยการแจกจ่ายถุงยังชีพกว่า 10,688 ชุด ประกอบด้วย ข้ า วสาร อาหารกระป๋ อ ง บะหมี่ กึ่ ง ส� ำ เร็ จ รู ป และชุ ด สุขอนามัย มูลนิธิศุภนิมิตฯ ยังได้ร่วมมือกับชุมชนตั้งครัว ในหมู่บ้านเพื่อท�ำอาหารแจกชาวบ้านกว่า 4,757 กล่อง นอกจากนี้ ยังได้จัดตั้งศูนย์เพื่อนเด็กเพื่อช่วยดูแลเด็กๆ ใน หมู่บ้าน 40 คนให้ได้รับความปลอดภัยและดูแลด้านจิตใจ ส่วนในเรื่องการฟื้นฟู ทางมูลนิธิศุภนิมิตฯ จะมุ่งเน้นไป ที่เรื่องอาชีพ ซึ่งจะเริ่มท�ำเมื่อการช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ เสร็จสิ้นแล้ว แม้ ว ่ า วิ ก ฤตการณ์ นี้ จ ะน� ำ มาซึ่ ง อั น ตรายต่ อ ชี วิ ต ทรัพย์สิน และการด�ำรงชีวิตของประชาชน แต่ก็ยังมีความ หวังที่จะมองเห็นแนวทางการอยู่รอดอื่นๆ และโอกาสที่จะ น�ำความหวังกลับคืนมาใหม่อีกครั้ง

วารสารศุ ภ นิ มิ ต

ครอบครัวทีม่ รี ถแทรกเตอร์นำ� มารับจ้างพาคนไปส่งในทีต่ า่ งๆ ของเมือง

เสงี่ยม (คนขวา) และครอบครัว ไม่มีรถแทรกเตอร์ใช้เดินทาง พวกเขาจึงต้อง นั่งรอถุงยังชีพในเรือกับครอบครัวอื่นๆ

เจ้าหน้าที่มูลนิธิศุภนิมิตฯ นั่งเรือน�ำถุงยังชีพเข้าไปมอบให้ชาวบ้านประสบภัย น�้ำท่วมที่ติดอยู่ในบ้าน และล�ำบากในการเดินทาง

15


บอกเล่าผ่านเรื่อง

บ้านของเป๊กที่ได้รับความเสียหายจากเหตุน�้ำท่วม

เป็กเล่าว่า “ผมกลัวว่าน�ำ้ จะท่วมอีก” ครูศรีเนียรเล่าถึงสภาพห้องสมุดทีเ่ สียหาย สภาพรั้วโรงเรียนที่ถูกน�้ำซัดท�ำลาย

ครูสมวงศ์เล่าถึงความเสียหายภายใน โรงเรียน

จุดประกายความหวังในความมืดมน “อาจต้องใช้เวลากว่า 2 ปี จึงจะสร้างสิ่งที่เราเสียไปคืนกลับมาใหม่ได้” โดย Jay Mijares ครูสมวงศ์ มูลศาสตร์ ผู้ช่วยครูใหญ่โรงเรียนของเป๊กกล่าว

เป๊

ก เด็กชายวัย 7 ขวบ กับป้าง น้อง ชายวัย 5 ขวบ ซึ่งเป็นเด็กในความ อุปการะของมูลนิธิศุภนิมิตฯ เดินไป โรงเรียนทุกวัน สองพี่น้องอาศัยอยู่กับยาย ที่จังหวัดสุรินทร์ ส่วนแม่ของพวกเขาต้องไป ท�ำงานในโรงงานที่กรุงเทพฯ เพื่อส่งเสียลูก หลังพ่อของเด็กทิง้ ครอบครัวไปเมือ่ ไม่กปี่ กี อ่ น เดือนกันยายนที่ผ่านมาฝนตกหนักมาก หลายวัน จากเหตุที่มี ไต้ฝุ่นสองลูก น�้ำท่วม หมู่บ้านของสองพี่น้อง พวกเขาต้องพบความ หักเหอย่างรุนแรงในชีวิต ชาวบ้านบอกว่าไม่ เคยพบมาก่อนในรอบ 40 ปี ปริ ม าณน�้ ำ มหาศาลซั ด กระหน�่ ำ บ้ า น เรือนอย่างรุนแรง “ดูสิ น�้ำซัดฐานบ้านไปตั้ง เยอะ” ยายของเป๊กบอก น�้ำท่วมครั้งนี้ทิ้งร่อง รอยความโหดร้ายไว้ใกล้บ้านของเด็กทั้งสอง และส่งผลให้มีแอ่งน�้ำขึ้นข้างบ้าน เป๊กบอก ด้วยแววตาว่างเปล่าว่า “ผมกลัวว่าน�้ำจะท่วม อีก” หมู่บ้านของเป๊กมีบ้านเสียหาย 5 หลัง รวมทั้งบ้านของเป๊กด้วย แต่เป๊กยังคงเผชิญ หน้ากับฝันร้ายครั้งนี้เท่าที่เขาท�ำได้ ช่วงนี้เขา กับน้องมีเวลาว่าง เพราะโรงเรียนหยุด 2-3 วัน เนื่องจากน�้ำท่วม โรงเรียนของเป๊กต้องปิดเพราะน�้ำท่วม

16

หนังสือ คอมพิวเตอร์ โต๊ะเรียน ชั้นวางของ เก้าอี้ รวมถึงรั้วและสะพาน ความเสียหาย ประเมินได้กว่า 1.5 ล้านบาท ขยะและซากหัก พังกองกระจัดกระจายทั่วโรงเรียน เด็กกลุ่ม หนึ่งมาช่วยท�ำความสะอาด เด็กชายสองคน ช่วยครูสมวงศ์ น�ำพัดลมและเครื่องใช้ไฟฟ้า อืน่ ๆ ออกมาเช็ดให้แห้งในทีร่ ม่ ครูสมวงศ์คาด ว่า “อาจต้องใช้เวลากว่า 2 ปี จึงจะสร้างสิ่งที่ เราเสียไปคืนกลับมาใหม่ได้” ที่ห้องสมุด ครูศรีเนียร ปัญญาโรจน์ ครู บรรณารักษ์บอกว่าหนังสือถูกน�ำ้ ท่วมเสียหาย กว่า 7,000 เล่ม เธอเอื้อมมือไปดึงหนังสือที่ เปียกชุ่มติดกับชั้นวางจนดึงไม่ออก ครูครวญ อย่างเสียใจว่า “ครูรกั หนังสือพวกนี้ ตอนนี้ไม่รู้ จะท�ำยังไงให้เด็กได้เรียนเหมือนก่อน” เด็กทั้งโรงเรียนกว่า 550 คน ตั้งแต่ชั้น อนุบาลถึง ม.6 ประสบภัยน�้ำท่วมเป็นครั้ง แรก และสูญเสียอุปกรณ์การเรียนไปพร้อม กับสายน�้ำ น�้ำท่วมครั้งนี้ท�ำให้เด็กๆ ตกอยู่ใน สภาพไร้หนังสือและอุปกรณ์การเรียน เป๊ก บอกว่า “ผมไม่อยากไปโรงเรียน” แต่ป้าง อยากให้ทุกอย่างกลับเป็นเหมือนเดิม และรอ เวลาไปเรียนศิลปะ แต่เวลานี้ การเดินทางไป เรียนของทัง้ สองยากล�ำบากขึน้ สะพานทีพ่ วก

เขาเคยเดินข้ามไปโรงเรียนถูกน�้ำพัดหายไป เป๊กกับป้างต้องตืน่ เช้ามากกว่าเดิม ทัง้ ยังต้อง เดินไกลกว่าเดิมประมาณ 4 กิโลเมตรจึงจะไป ถึงโรงเรียนทันเวลา เด็กทั้งสองต้องใช้เวลาที่ จะปรับตัวรับสถานการณ์เลวร้ายนี้ น�้ ำ ท่ ว มครั้ ง นี้ ส ร้ า งความเสี ย หายแก่ โรงเรียน 454 แห่งทั่วประเทศ ใกล้เคียงกับ มหาอุทกภัยปี 2554 โรงเรียนเหล่านีส้ ว่ นใหญ่ อยู่ในชุมชนทางภาคตะวันออก ภาคกลาง และ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ฝนตกหนักเป็น ประจ�ำในเดือนกันยายนและตุลาคมของทุกปี แต่ ท ่ า มกลางความล� ำ บาก ก็ ยั ง มี ประกายความหวังอยู่บ้าง รัฐบาลไทย รวมทั้ง ภาคประชาสังคม และมูลนิธิศุภนิมิตฯ ก�ำลัง เร่งหาวิธีฟื้นฟูบูรณะโรงเรียนที่เสียหาย ในไม่ ช้าเป๊กกับป้าง และนักเรียนคนอืน่ ๆ ในหมูบ่ า้ น ก็จะได้กลับไปเรียนหนังสือเหมือนเดิม มู ล นิ ธิ ศุ ภ นิ มิ ต แห่ ง ประเทศไทย ขอ เชิญชวนทุกท่านร่วมสนับสนุนโครงการฟื้นฟู บูรณะโรงเรียนและบ้านเรือน โดยต้องใช้เงิน ประมาณ 2.75 ล้านบาท ในการสร้างสิง่ ทีเ่ สีย หายขึน้ มาใหม่ ท่านสามารถสอบถามเพิม่ เติม ได้ทหี่ มายเลข 0-2381-8863 ต่อ 141-144

วารสารศุ ภ นิ มิ ต


ข้าพเจ้ายินดีรว่ มแบ่งปันน�ำ้ ใจ...สูเ่ ด็กยากไร้ดอ้ ยโอกาส ชื่อ (นาย/นาง/นางสาว) ..............................................................................

(ขอความกรุณากรอกข้อมูลทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ)

Name (Mr/ Mrs/ Miss).............................................................................. (block Letter)

ที่อยู่ ................................................................................................................. .. ................................ รหัสไปรษณีย์ ................... วันเกิด ......./......./....... โทรศัพท์ ................................................โทรสาร .......................................... มือถือ ................................................ E-mail .............................................. ต้องการอุปการะเด็ก (กรุณาระบุ) ¡1 ¡2 ¡3 ¡.........คน การจ่ายเงินส�ำหรับการอุปการะเด็กของข้าพเจ้า ¡ 600 บาท/คน/ทุกเดือน ¡ 1,800 บาท/คน/ทุก 3 เดือน ¡ 3,600 บาท/คน/ทุก 6 เดือน ¡ 7,200 บาท/คน/ทุกปี กรณีอปุ การะเด็กมากกว่าหนึง่ คน (อัตราค่าอุปการะเด็ก 600 บาทต่อคนต่อเดือน)

คืนรอยยิ้มสดใส ให้แก่เด็กยากไร้

กรุณาระบุ ..........................บาท ต่อ...............คน ทุก................เดือน/ปี 4508 ไม่พร้อมให้การอุปการะเด็ก

แต่ยินดีบริจาคเพื่อช่วยเหลือเด็กยากไร้ .................................. บาท พร้อมกันนี้ได้น�ำส่งเงินบริจาคจ�ำนวนดังกล่าว โดยทาง เรียกเก็บเงินจากบัญชีบัตรเครดิต

“เด็กหญิงชมพู”่ ต้องเห็นแม่ของเธอเสียชีวติ เมือ่ วัยเพียง 5 ขวบ ไม่มีใครรูว้ า่ เด็กหญิงเล็กๆ รูส้ กึ อย่างไร ทุกวันนี้ เธอยังคงแทบ ไม่พดู ไม่ยมิ้ หรือหัวเราะ เช่นเด็กวัยเดียวกัน

¡VISA.................... ¡MASTERCARD.................... ¡AMEX ¡DINERS

หมายเลขบัตร

“นายยาว” พ่อของเธอ ต้องละทิง้ ความโศกเศร้าเพือ่ ดูแลลูกๆ ทัง้ 3 คน เขาท�ำงานเป็นลูกจ้างงานก่อสร้าง ซึง่ แม้จะเป็นงานทีห่ นัก และเหนือ่ ยเพียงใด แต่เขาก็ได้รบั ค่าตอบแทนเพียงน้อยนิดกลับ มาในแต่ละวัน “แต่ละเดือน ผมต้องดิน้ รนหางานท�ำเพือ่ ให้พอกับ ค่าใช้จา่ ย เสร็จงานครัง้ นึง ก็ไม่รจู้ ะไปท�ำอะไรต่อ ทีบ่ า้ นก็พลอย ไม่มอี ะไรจะกินไปด้วย” ยาว พูดอย่างท้อแท้

ในกรณีที่ข้าพเจ้าอุปการะเด็ก ข้าพเจ้ายินดีให้เรียกเก็บเงินจากบัญชีบัตรเครดิต อย่างต่อเนื่องตามที่ระบุไว้ข้างต้น จนกว่าข้าพเจ้าจะแจ้งยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลง

วันหมดอายุบัตร.............................................................................................. ชื่อเจ้าของบัตร................................................................................................ ลายมือชื่อผู้ถือบัตร......................................................................................... เรียกเก็บเงินจากบัญชีเงินฝากธนาคาร (มูลนิธฯิ จะส่งแบบฟอร์มให้ภายหลัง) ¡ธ.กรุงเทพ ¡ธ.กรุงไทย ¡ธ.กสิกรไทย ¡ธ.ไทยพาณิชย์ ¡ธ.กรุงศรีอยุธยา เช็ค สั่งจ่าย มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย ธนาณัติ ในนาม มูลนิธศิ ภุ นิมติ แห่งประเทศไทย สัง่ จ่าย ปท. พระโขนง โอนเงิน เข้าบัญชีออมทรัพย์ มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย

นอกจากปัญหาเรือ่ งการหาเลีย้ งชีพแล้ว เด็กๆ ในครอบครัว ยังมี สุขภาพอ่อนแอและป่วยบ่อยๆ แต่สงิ่ ทีเ่ ป็นเรือ่ งทุกข์ใจส�ำหรับชมพู่ คือ ความกังวลถึงอันตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ จากงานก่อสร้างทีพ่ อ่ ของ เธอท�ำ และนัน่ อาจท�ำให้พอ่ ของเธอไม่ได้กลับมาบ้านอีก

วันนี้

ขอเชิญชวนท่านบอกต่อคนรอบข้าง เพือ่ ช่วยสนับสนุนให้เด็กๆ เช่น ชมพู่ ได้เรียน หนังสือ มีอุปกรณ์การเรียน พร้อมทั้งได้รับ การดูแลปกป้องสิทธิเด็ก สิง่ เล็กน้อยทีท่ า่ นได้ แบ่งปันครัง้ นี้ จะช่วยเปลีย่ นแปลงเด็กยากไร้ คนหนึ่งให้มีชีวิตที่ดีขึ้น

วารสารศุ ภ นิ มิ ต

เมื่อโอนเงินแล้วกรุณาส่งส�ำเนาใบโอนเงิน พร้อมแบบตอบรับบริจาคมายังมูลนิธิฯ ทางไปรษณีย์ หรือโทรสาร 0-2711-4100 ถึง 2 เพื่อมูลนิธิฯ จะจัดส่งใบเสร็จรับเงินให้ท่านต่อไป

ฉีกตามรอยปรุ

โปรดตัดสินใจอุปการะเด็กอย่างต่อเนือ่ ง เพียง 20 บาทต่อวัน หรือ 600 บาทต่อเดือน ท่านก็สามารถคืนรอยยิม้ ให้เด็กๆ เช่น ชมพู่ อีกครัง้

ธนาคาร สาขา เลขที่บัญชี ทองหล่อ 206-0-43600-9 ¡กรุงเทพ เอกมัย 053-1-10632-2 ¡กรุงไทย เอกมัย 059-2-40974-7 ¡กสิกรไทย ไทยพาณิ ช ย์ เอกมั ย 078-2-00965-5 ¡ ¡กรุงศรีอยุธยา สุขุมวิท 63 361-1-02033-3 ทองหล่อ 801-1-07026-4 ¡ยูโอบี เอกมัย 152-2-00300-1 ¡ทหารไทย โอนจากสาขา................................................. วันที่โอน.................................................. ขอขอบคุณ มูลนิธิฯ ไม่สามารถออกใบเสร็จรับเงินให้ท่านได้ หากขาดส�ำเนาใบโอนเงินและแบบตอบรับบริจาค

มูลนิธศิ ภุ นิมติ แห่งประเทศไทย เป็นองค์กรสาธารณกุศลล�ำดับที่ 59 ตามประกาศกระทรวงการคลัง เงินบริจาคสามารถน�ำไปหักลดหย่อนภาษีเงินได้ประจ�ำปี ตามที่กฎหมายก�17 ำหนดไว้


ด.ญ. สุธิสา (คนซ้าย) น.ส.สุวานันท์ พี่สาวของเธอ (คนกลาง) และด.ญ.สายชล (คนขวา) กับร้านกาแฟในโรงเรียนของพวกเธอ

สุธิสา บาริสต้ารุ่นเล็ก สุ ธิสา วัย 13 ปี เธอชงลาเต้ได้แสนอร่อย ด้วยความรูอ้ ย่าง ถ่องแท้ถึงการคั่วเมล็ดกาแฟ การใช้เครื่องชงลาเต้ เท ฟองนมปริมาณที่พอเหมาะ นอกจากนี้ เธอยังสามารถ ชงคาปูชิโน เอสเพรสโซ อเมริกาโน ชาเขียว และนมช็อคโก แลต เธอและเพือ่ นร่วมชัน้ หลายคน เรียนรูศ้ ลิ ปะการชงกาแฟ อย่างดีเยีย่ มผ่านโครงการของมูลนิธศิ ภุ นิมติ แห่งประเทศไทย สุธิสา เป็นนักเรียนชั้นมัธยมปีที่ 1 จากหมู่บ้านห่างไกล ในภาคเหนือของประเทศไทย ที่ซึ่งมีภูเขา แม่น�้ำ และนาข้าว ขนาดเล็กล้อมรอบ ในอดีต เด็กๆ ที่นี่มักไม่ได้เข้าชั้นเรียนใน บางครั้ง เพราะต้องคอยช่วยเหลือพ่อแม่ท�ำนาข้าว ปลูกต้น กล้าข้าว ดึงวัชพืช และในช่วงเก็บเกี่ยว พวกเขาก็มาช่วยตัด

18

และเรียงรวงข้าวขึน้ เป็นกอง หลายครอบครัวต้องเผชิญความ ท้าทายมากขึ้นทุกวัน เพราะพวกเขาไม่ได้มีเงินเพียงพอ และ มักขอร้องลูกๆ ให้อยู่บ้าน เพื่อช่วยท�ำงานในไร่ ทั้งนี้ เพื่อให้ พวกเขามีอาหารเพียงพอที่จะกิน มูลนิธิศุภนิมิตฯ เข้ามาสนับสนุนโรงเรียนในการจัดการ รูปแบบใหม่ของการศึกษา เด็กนักเรียนตัง้ แต่ชนั้ ประถมปีที่ 5 ถึงชั้นมัธยมปีที่ 3 ได้เรียนรู้ทักษะชีวิตพิเศษทุกวันพฤหัสบดี เด็กๆ สามารถสมัครเรียนใน 8 สโมสรอาชีพ เช่น ตัดผม นวด แผนไทย ยุวไกด์ โฮมสเตย์ และบริการโรงแรม ดนตรี จักสาน ไม้ไผ่ ท�ำอิฐบล็อก สุธิสาคือหนึ่งในเด็กที่เลือกเข้าสโมสรการ ท�ำอาหารและกาแฟ วารสารศุ ภ นิ มิ ต


ด้วยความร่วมมือกับโรงเรียน ผู้ปกครอง และผู้น�ำชุมชน ชีวิต ความเป็นอยูข่ องครอบครัวเด็กๆ ได้เปลีย่ นแปลงไป นักเรียนมีรายได้ 3,000-5,000 บาทต่อเดือน จากการขายผลิตภัณฑ์ของพวกเขา และ พวกเขาให้เงินทั้งหมดแก่พ่อแม่ วันนี้ เด็กๆ มีโอกาสเข้าเรียนอย่างต่อเนื่อง และพวกเขาก็ สามารถช่วยแบ่งเบาด้านการเงินของพ่อแม่ได้ นอกจากนี้ ในอนาคต เด็กๆ ยังสามารถน�ำทักษะต่างๆ ไปต่อยอดท�ำธุรกิจเล็กๆ ทีบ่ า้ นของ ตัวเองได้ การศึกษารูปแบบใหม่นี้ได้รบั ความส�ำเร็จ คุณภาพชีวติ ของ เด็กๆ ดีขึ้น มูลนิธิศุภนิมิตฯ มอบความหวังสู่เด็กๆ เพื่อให้ไปถึงการ ศึกษาในวันข้างหน้า

วารสารศุ ภ นิ มิ ต

19


เรามีนิมิตที่จะให้เด็กทุกคนมีชีวิตที่ครบบริบูรณ์ เราอธิษ ฐานทูลขอให้ทุกดวงใจมุ่งมั่นกระท�ำให้นิมิตนี้ส�ำเร็จ our vision for every child, life in all its fullness: our prayer for every heart, the will to make it so.

เราเป็นคริสตชน เรามีภาระต่อผู้ยากไร้ เรายอมรับว่าทุกคนมีคุณค่า เราเป็นผู้รับใช้ เราพร้อมที่จะตอบสนอง เราเป็นเพื่อนร่วมพันธกิจ

มูลนิธิศุภนิมิตแห่งประเทศไทย

582/18-22 ถนนสุขุมวิท 63 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ +66 (0) 2381-8863 ถึง 5 โทรสาร +66 (0) 2711-4100 ถึง 2 info@worldvision.or.th 20

www.worldvision.or.th วารสารศุ ภ นิ มิ ต


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.