A Briefer History of Time / เวลามาจากไหน ผู้ที่อยูก่ บั เด็กจากหลากหลายภูมิหลังย่อมทราบดีวา่ เด็กทุกชาติทกุ ภาษามีความอยากรู้ อยากเห็นเช่นเดียวกันหมด เด็กจะถามแทบไม่หยุดปากหากเราเปิ ดโอกาสให้ เขา จากมุมมองนี ้ ปราชญ์และนักวิทยาศาสตร์ จงึ เป็ นเสมือนเด็กที่เลี ้ยงไม่ร้ ูจกั โตเพราะพวกเขามักจะถามแทบไม่หยุด ปากไม่วา่ อายุจะมากขนาดไหนแล้ วก็ตาม คาถามแนวหนึง่ ซึง่ ตังกั ้ นมาเป็ นเวลานานและยังไม่มี คาตอบเป็ นที่พอใจได้ แก่คาถามในแนวที่ว่าเราและโลกรอบตัวเรามาจากไหน เมื่อปี 2531 นักฟิ สิกส์ ชาวอังกฤษชื่อ Stephen Hawking เขียนหนังสือขนาดกะทัดรัดเล่มหนึง่ ขึ ้นมาและตังชื ้ ่อว่า A Brief History of Time เพื่อเล่าถึงความก้ าวหน้ าของการค้ นหาคาตอบให้ แก่คาถามแนวนัน้ หนังสือได้ รับ ความสนใจอย่างกว้ างขวางและหลังจาก 15 ปี ได้ รับการแปลเป็ นหลายสิบภาษาและขายได้ กว่า 10 ล้ านฉบับรวมทังฉบั ้ บที่แปลเป็ นไทยโดย รอฮีม ปรามาท ชื่อ “ประวัตยิ ่อของกาลเวลา” ด้ วย เมื่อปี 2548 Stephen Hawking ร่วมกับเพื่อนนักวิทยาศาสตร์ ชื่อ Leonard Mlofinow ช่วยกันเขียนหนังสือแนวเดียวกันชื่อ A Briefer History of Time เพื่อเพิ่มข้ อมูลใหม่และอธิบาย ประเด็นต่าง ๆ ให้ กระจ่างยิ่งขึ ้น กระนันก็ ้ ตามสาหรับผู้ที่มีความรู้ด้านฟิ สิกส์เพียงเล็กน้ อย คาอธิบายในบางตอนอาจสลับซับซ้ อนจนอ่านไม่คอ่ ยเพลิดเพลินนัก นอกจากนันผู ้ ้ ที่มีศรัทธาใน ศาสนาซึง่ สอนว่าพระเจ้ าเป็ นผู้สร้ างทุกอย่างขึ ้นอาจมองว่าการค้ นหาคาตอบต่อคาถามแนวดังกล่าว ไม่มีความจาเป็ นและอาจเป็ นการลบหลูพ่ ระผู้เป็ นเจ้ าด้ วย อย่างไรก็ตามหนังสือเล่มนี ้มีคาตอบเป็ น นัยว่าการค้ นหาคาตอบตามหลักวิทยาศาสตร์ ไม่ขดั ต่อศรั ทธาของผู้นบั ถือศาสนาเหล่านัน้ ในการอ่านต้ นฉบับของหนังสือเล่มนี ้คนไทยซึง่ อาจมีปัญหาเกี่ยวกับพื ้นฐานทางภาษาอยู่ บ้ างคงมีปัญหาหนักขึ ้นอีกเพราะนอกจากจะพบคาใหม่ ๆ ซึง่ ไม่มีคาแปลแล้ ว บางคาอาจมี ความหมายต่างไปจากที่เราเคยเข้ าใจมาก่อน เช่น คาว่า space ซึง่ เรามักเห็นใช้ ในบริ บทของ “อวกาศ” นันอาจมี ้ ความหมายทัว่ ๆ ไปว่า “ที่วา่ ง” หรื อ “สถานที่” ก็ได้ ฉะนันถ้ ้ าคิดว่ามันต้ อง หมายถึง “อวกาศ” อาจทาให้ เรางงเมื่อเขาใช้ ให้ หมายถึง “สถานที่” ซึง่ รวมทังอวกาศด้ ้ วย สาหรับคา ว่า time เราเข้ าใจกันแล้ วว่าหมายถึง “เวลา” อย่างไรก็ตามเมื่อเขานามาควบรวมกับ space เป็ น space-time อาจทาให้ งงเพราะมันมีความหมายซึง่ เราไม่เคยได้ ยินมาก่อน นอกจากนันการอ่ ้ าน ต้ องใช้ สมาธิและจินตนาการมากสักหน่อยเพราะสิ่งที่เขากล่าวถึงมักมีขนาดเล็กหรื อใหญ่แบบสุดขัว้ หรื อไม่ก็มีลกั ษณะเป็ นนามธรรม ตามที่เราทราบกันดีสงั คมมนุษย์เริ่มมีความก้ าวหน้ ามาราว 10,000 ปี เมื่อคนโบราณค้ นพบ การปลูกพืชและเลี ้ยงสัตว์ ฉะนันค ้ าถามในแนวที่วา่ เราและโลกรอบตัวเรามาจากไหนพร้ อมกับ ความพยายามค้ นหาคาตอบคงเกิดขึ ้นมานานแล้ วเช่นกัน อย่างไรก็ตามผู้เขียนย้ อนไปดูเพียงใน สมัยกรี กโบราณและเมื่อราว 2,350 ปี ที่ผา่ นมาซึง่ เป็ นตอนที่ปราชญ์ชื่อ อริ สโตเติล ประกาศว่าโลกที่
เราอาศัยอยูน่ ี ้มีลกั ษณะกลม ไม่ใช่แบนราบเหมือนดังที่เข้ าใจกันมาแต่ก่อน โลกอยูน่ ิ่ง ๆ และดาว ต่าง ๆ โคจรรอบโลก หลังจากนันการศึ ้ กษาว่าโลกและดวงดาวต่าง ๆ มีลกั ษณะอย่างไรและมี ความสัมพันธ์กนั อย่างไรก้ าวหน้ าไปอย่างเชื่องช้ าโดยปราชญ์ในยุคนันคิ ้ ดกันว่าสิ่งต่าง ๆ ที่รวมกัน เป็ นเอกภพ (universe) นี ้มีขอบเขตแน่นอน เวลาผ่านไปอีกราว 1,850 ปี จึงมีปราชญ์ชื่อ โคเปอร์ นิกสั เสนอว่าโลกไม่ได้ อยู่นิ่ง ๆ หากโคจรไปรอบดวงอาทิตย์ จากวันนันมาการศึ ้ กษาก้ าวหน้ าอย่าง รวดเร็วและเมื่อ ค. ศ. 1687 (พ. ศ. 2230) ซึง่ ตรงกับตอนปลายรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช ปราชญ์ชื่อ ไอแซค นิวตัน ก็พิมพ์ผลการศึกษาออกมาเพื่ออธิบายสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเรา นิวตันสร้ างกฎของ “แรงโน้ มถ่วง” (Gravity) ขึ ้นมาประกอบการอธิบายโดยเสนอว่าสารทุก อย่างมีแรงโน้ มถ่วง โลกและดาวดวงอื่นโคจรไปรอบดวงอาทิตย์เพราะแรงโน้ มถ่วงของดวงอาทิตย์ คาอธิบายนี ้เป็ นทฤษฎีใหม่ซึ่งนิวตันแสดงออกมาเป็ นสมการทางคณิตศาสตร์ ได้ อย่างสมบูรณ์ เป็ น ครัง้ แรก สิ่งที่ควรเน้ นเป็ นอย่างยิ่งก็คือ เฉกเช่นคาอธิบายอื่น ๆ คาอธิบายของนิวตันเป็ นเพียง “ทฤษฎี” ไม่ใช่ “ความจริง” เพราะเราไม่ร้ ูวา่ “ความจริง” ของสิ่งรอบตัวเราซึง่ รวมกันเป็ นเอกภพนัน้ คืออะไรแน่ “ทฤษฎี” เป็ นข้ อเสนอแนวสมมุตฐิ านซึง่ ผู้เสนอต้ องการใช้ อธิบายปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ เท่านัน้ ค่าของทฤษฎีอยูท่ ี่ (1) ความสามารถในการอธิบายเหตุการณ์ที่เรามองเห็น และ (2) ความสามารถในการทานายว่าอะไรจะเกิดขึ ้น ยิ่งอธิบายและทานายเหตุการณ์ได้ มากและตรง เท่าไร ทฤษฎีก็ยิ่งมีคา่ เพราะถือว่าใกล้ “ความจริง” มากขึ ้นเท่านัน้ ทฤษฎีของนิวตันอธิบายและ ทานายเหตุการณ์ได้ ดีจนเป็ นที่ยอมรับอย่างกว้ างขวางและหลังจากเชื่อว่าเอกภพมีขอบเขตจากัดมา เป็ นเวลาราว 1,500 ปี ในยุคนี ้นักวิทยาศาสตร์ เริ่มเชื่อว่าเอกภพปราศจากขอบเขต จริงอยูท่ ฤษฎีของนิวตันอธิบายและทานายอะไรต่อมิอะไรได้ มากขึ ้นพร้ อมกับเป็ นฐานของ วิทยาการสารพัดอย่าง แต่มนั ก็ไม่สามารถทาความกระจ่างให้ แก่ปรากฏการณ์ทกุ ชนิดรอบตัวเราได้ ทังหมดโดยเฉพาะเมื ้ ่อมีความเร็วของแสงเข้ ามาเกี่ยวข้ องเพราะแสงเดินทางด้ วยความเร็วสูงมากจน ยากแก่การจินตนาการ นัน่ คือ 180,000 ไมล์ หรื อ ประมาณ 288,000 กม. ต่อวินาที เมื่อนาความรู้นี ้ ไปใช้ วดั ความห่างระหว่างดวงดาวยิ่งทาให้ เราแทบจินตนาการไม่ออกเลยว่าดาวส่วนใหญ่อยูห่ ่าง จากโลกขนาดไหนเพราะแสงต้ องใช้ เวลาเดินทางเป็ นล้ านปี จึงจะไปถึง แม้ แต่ดาวที่อยู่ใกล้ โลกเรา ที่สดุ ชื่อ Proxima Centauri ก็ต้องใช้ แสงเดินทางนานถึง 4 ปี ก่อนที่จะไปถึงเพราะมันอยูห่ า่ งโลก ออกไป 23 ล้ านล้ านล้ านไมล์ นัน่ หมายความว่าถ้ าเราเดินทางด้ วยยานอวกาศล่าสุดที่มนุษย์คดิ ว่า จะสร้ างได้ ในขณะนี ้ เราต้ องใช้ เวลาเดินทางประมาณ 10,000 ปี จึงจะไปถึง ตามธรรมดาของเด็กที่เลี ้ยงไม่ร้ ูจกั โต นักวิทยาศาสตร์ ย่อมไม่ยอมหยุดตังค ้ าถามและ พยายามค้ นหาคาตอบต่อไปเรื่ อย ๆ ในบรรดานักวิทยาศาสตร์ ที่มีความปราดเปรื่ องทังหลาย ้ คนที่ ชื่อ อัลเบอร์ ต ไอสไตน์ เป็ นผู้สร้ างทฤษฎีใหม่ซงึ่ ได้ รับการยอมรับว่ามีความก้ าวหน้ ามากที่สดุ แห่งยุค ทฤษฎีของไอสไตน์วางอยูบ่ นฐานของการเคลื่อนที่ของสรรพสิ่งในเชิงเปรี ยบเทียบ (relativity) การ
เคลื่อนที่มีความสาคัญเพราะทุกสิ่งทุกอย่างในเอกภพเคลื่อนที่อยูต่ ลอดเวลา เช่น โลกของเราก็ หมุนรอบตัวเองและรอบดวงอาทิตย์ซงึ่ ก็เคลื่อนที่ไปในความเวิ ้งว้ างของอวกาศด้ วย Relativity Theory หรื อ “ทฤษฎีสมั พัทธภาพ” มีอยูด่ ้ วยกัน 2 แขนงคือ Special Relativity และ General Relativity จริงอยูแ่ ขนงแรกสามารถใช้ อธิบายเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ได้ ดี แต่ในกรณีที่ สรรพสิ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงจนใกล้ ความเร็วของแสง ทฤษฎีแขนงนี ้เริ่มมีปัญหา ไอสไตน์จงึ เสนอแขนงที่สองซึง่ วางอยู่บนฐานที่ต้องใช้ จินตนาการมากสักหน่อย นัน่ คือ ความเวิ ้งว้ างที่เรา เรี ยกว่าอวกาศนี ้มีความโค้ งจากแรงโน้ มถ่วงของดวงดาวซึง่ ลอยอยูเ่ ต็มไปหมด ทฤษฎีของไอสไตน์ อธิบายสิ่งต่าง ๆ ในแนวใหม่ซงึ่ เราต้ องใช้ จินตนาการ เช่น เวลา (time) นันแยกกั ้ บสถานที่ (space) ไม่ได้ มันจะต้ องรวมกันเป็ นสิ่งที่เรี ยกว่า “สถานที่-เวลา” (space-time) เพราะไม่มีอะไรอยูน่ ิ่ง กระทัง่ ตัวเราเองขณะที่นงั่ อยู่บนเก้ าอี ้ก็เคลื่อนที่ไปในอวกาศพร้ อมกับโลก การเคลื่อนตัวไปต้ องใช้ เวลาทาให้ ทกุ สิ่งทุกอย่างเป็ น “เหตุการณ์” ซึง่ ประกอบด้ วยสถานที่และเวลาที่เกิด อีกตัวอย่างหนึง่ นาฬิกา 2 เรื อนเดินเร็วไม่เท่ากันหากตัวเรื อนเคลื่อนที่ไปด้ วยความเร็วต่างกัน หรื อ อยู่หา่ งจาก ศูนย์กลางของความโน้ มถ่วงต่างกัน นัน่ หมายความว่าคนที่เดินทางไปอยู่หา่ งจากโลกจะแก่ช้ากว่าผู้ ที่อยู่บนผืนโลก ฉะนันใครไม่ ้ อยากแก่เร็วก็ต้องเดินทางไปให้ ไกลจากโลกใบนี ้มาก ๆ
(2) ความก้ าวหน้ าของเทคโนโลยีและการค้ นคว้ าเพื่อหาคาตอบสาหรับคาถามเกี่ยวกับที่มาของ เราและโลกรอบตัวเรานาไปสูก่ ารเพิ่มพูนความรู้เรื่ องเอกภพอย่างรวดเร็ ว ณ วันนี ้นักวิทยาศาสตร์ สามารถใช้ กล้ องโทรทรรศน์ส่องดูได้ ว่าในเอกภพมี ”หมูด่ าว” (galaxy) กว่าหนึง่ ล้ านล้ านหมู่ แต่ละ หมูม่ ีดาวราวหนึง่ ล้ านล้ านดวง โลกของเราอยูใ่ นหมู่ดาวที่มีชื่อเรี ยกกว่า “ทางช้ างเผือก” (Milky Way) ซึง่ หมุนตัวไปช้ า ๆ และมีความกว้ างขนาดที่แสงต้ องใช้ เวลาเดินทางจากฝั่ งหนึง่ ไปยังอีกฝั่ ง หนึง่ ถึงล้ านล้ านปี เป็ นไปได้ วา่ ต่อไปจะมีการค้ นพบหมู่ดาวเพิ่มขึ ้นอีกและนักวิทยาศาสตร์ ร้ ูวา่ หมู่ ดาวต่าง ๆ กาลังเคลื่อนตัวออกจากกันอย่างรวดเร็วทาให้ เอกภพขยายตัวออกไปด้ วยอัตราเร่งที่ สูงขึ ้นเรื่ อย ๆ นัน่ หมายความว่าเอกภพจะยิ่งกว้ างใหญ่โดยไร้ ขอบเขตและจะขยายตัวต่อไปอย่างไม่ มีที่สิ ้นสุดซึง่ ก็มีคา่ เท่ากับเวลาจะไม่มีจดุ จบ การค้ นพบนี ้นาไปสูค่ าถามในแนวที่ว่า ย้ อนไปในอดีต เอกภพเป็ นอย่างไร มันเริ่มต้ นอย่างไรและอะไรทาให้ มนั ขยายตัวเช่นนัน้ คาอธิบายที่ได้ รับการยอมรับอย่างกว้ างขวางอยูใ่ นขณะนี อ้ าศัยทฤษฎีสมั พัทธภาพของ ไอสไตน์ นัน่ คือ ย้ อนไปประมาณ 13,700 ล้ านปี เอกภพมีขนาดเล็กมากจนวัดไม่ได้ และเกิดการ “ระเบิดครัง้ ใหญ่” ซึง่ นักวิทยาศาสตร์ เรี ยกว่า Big Bang และถือเป็ นจุดเริ่มต้ นของ “เวลา” ที่เรา เข้ าใจกันอยูใ่ นปั จจุบนั การระเบิดนันส่ ้ งสารซึง่ เป็ นอนุภาคขนาดเล็กมากออกไปด้ วยความเร็วและ ความร้ อนสูง เมื่อเวลาผ่านไปความร้ อนค่อย ๆ ลดลงและอนุภาคเริ่มรวมตัวกันเป็ นดาว ในบาง กรณีอนุภาคที่รวมตัวกันมีแรงโน้ มถ่วงสูงและรวมตัวกันจนแน่นมากถึงขนาดที่แสงก็ไม่สามารถเล็ด รอดออกมาได้ สภาพเช่นนันนั ้ กวิทยาศาสตร์ ถือว่าเป็ นจุดล่มสลายของดวงดาวและตังชื ้ ่อว่า “หลุม ดา” (Black Hole) ซึง่ มีอยูท่ วั่ ไปในเอกภพรวมทังในใจกลางของ ้ “ทางช้ างเผือก” ของเราด้ วย เหตุการณ์ที่ทาให้ เกิด “หลุมดา” นันมี ้ การระเบิดเกิดขึ ้นตามขอบ ๆ ของหลุมดาพร้ อมกันไปด้ วย การ ระเบิดเกิดขึ ้นวันละเป็ นล้ านครัง้ ทาให้ อนุภาคจานวนมหาศาลกระจัดกระจายออกไปทุกทิศทุกทาง อนุภาคเหล่านันต่ ้ อมาก็รวมตัวกันขึ ้นเป็ นดาวอีก การรวมตัวของอนุภาคเป็ นไปในหลายลักษณะ ในจานวนนี ้มีลกั ษณะหนึง่ ซึง่ วิวฒ ั น์มาเป็ น โลกของเรา ในกระบวนการรวมตัวกันนันอนุ ้ ภาคบางอย่างรวมตัวกันโดยบังเอิญยังผลให้ เกิด สิ่งมีชีวิตซึง่ สามารถสืบพันธุ์ได้ และในที่สดุ วิวฒ ั น์มาเป็ นมนุษย์ในปั จจุบนั อย่างไรก็ตามทฤษฎีของไอสไตน์ไม่สามารถอธิบายได้ วา่ ก่อนเกิดเหตุการณ์ “ระเบิดครัง้ ใหญ่” เอกภพมีลกั ษณะเป็ นอย่างไรและใครเป็ นผู้ออกแบบของการระเบิดนันพร้ ้ อมกับของ วิวฒ ั นาการในเวลาต่อมา นักวิทยาศาสตร์ บางคนถือว่าในปั จจุบนั คาถามแนวนี ้อยูน่ อกขอบเขตของ การค้ นหาทางวิทยาศาสตร์ และเป็ นไปได้ วา่ พระเจ้ าเท่านันที ้ ่ร้ ูและท่านเป็ นผู้ออกแบบดังกล่าว แต่ การค้ นคว้ าหาคาตอบก็มิได้ ยตุ ลิ งและนาไปสู่การเกิดของทฤษฎีที่เกี่ยวกับปรากฏการณ์ขนาดเล็กชื่อ Quantum Mechanics หรื อ “กลศาสตร์ ขนาดจิ๋ว” ทฤษฎีนี ้สามารถอธิบายและทานายสิ่งต่าง ๆ
รอบตัวเราได้ อีกหลายแง่มมุ และเป็ นฐานของวิทยาการด้ านต่าง ๆ เช่น ทรานซิสเตอร์ วงจรไปไฟฟ้า ขนาดจิ๋วซึง่ เป็ นส่วนประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ และเครื่ องมืออีเล็กทรอนิกส์ วิชาเคมีและชีววิทยา ยุคใหม่ อย่างไรก็ตามมันก็ไม่สามารถอธิบายและทานายเหตุการณ์ได้ ทงหมด ั้ ในยุคนี ้ นักวิทยาศาสตร์ จงึ พยายามค้ นหาทฤษฎีที่อาจอธิบายและทานายสิ่งต่าง ๆ ได้ ทงหมดโดยการน ั้ าเอา ทฤษฎีของไอสไตน์มารวมกับทฤษฎีกลศาสตร์ ขนาดจิ๋ว แต่ก็ยงั ทาไม่สาเร็จ ความก้ าวหน้ าทางวิทยาศาสตร์ ทาให้ ความเข้ าใจในเรื่ องเวลาของเราเปลี่ยนไปในนัยสาคัญ นัน่ คือ เราเคยเชื่อว่าเวลามีลกั ษณะแห่งความสัมบูรณ์ (absolute) ซึง่ หมายความว่าเวลามีความเร็ว เท่ากันหมดไม่วา่ เราจะยืนอยูท่ ี่ไหน แต่ในปั จจุบนั นี ้ทฤษฎีของไอสไตน์ได้ ทาให้ ความเชื่อนัน้ เปลี่ยนเป็ นเวลามีความเร็วไม่เท่ากันและจะเร็วหรื อช้ าขึ ้นอยูก่ บั ตาแหน่งของผู้วดั ความเชื่อนี ้นาไปสู่ คาถามที่วา่ เป็ นไปได้ ไหมที่เราจะเดินทางย้ อนไปในอดีตหรื อเร่งเดินไปให้ ถึงอนาคตเร็ว ๆ ผู้เขียน เสนอว่าตามทฤษฎีแล้ วมันน่าจะทาได้ แต่เราขาดเทคโนโลยี แต่การเดินทางแบบนี ้อาจมีสิ่งเกี่ยวข้ อง หลายอย่าง เช่น เราจะต้ องเดินทางด้ วยความเร็ วสูงกว่าความเร็วของแสง หรื อ เราจะต้ องสามารถ หาทางลัดชนิดที่เขาเรี ยกว่า “รูไส้ เดือน” (wormhole) ระว่างจุดสองจุดในเอกภพได้ ในกระบวนการค้ นหาทฤษฎีใหม่นี ้ทฤษฎีที่ได้ รับความสนใจยิ่งชื่อว่า “ทฤษฎีเส้ นด้ าย” (String Theory) ซึง่ ตังอยู ้ บ่ นฐานที่วา่ อนุภาคมีลกั ษณะเป็ นเส้ นด้ ายแทนที่จะเป็ นเพียงจุดในอวกาศ ตามสมมุตฐิ านของทฤษฎีอื่น จริงอยู่ในขณะนี ้ดูเหมือนว่าทฤษฎีจะสามารถอธิ บายอะไร ๆ ได้ หลาย อย่าง แต่มนั ยังมีปัญหาอีกมาก เช่น มันจะใช้ ได้ ก็ตอ่ เมื่อ “สถานที่-เวลา” (space-time) มี 10 มิติ หรื อ 26 มิตเิ ท่านัน้ แทนที่จะมีเพียง 4 มิตติ ามที่ทฤษฎีอื่นใช้ อยูใ่ นปั จจุบนั ทฤษฎีเส้ นด้ ายจะวิวฒ ั น์ ไปอย่างไรยังไม่มีใครกล้ าฟั นธง เนื่องจากในขณะนี ้นักวิทยาศาสตร์ มีทฤษฎีหลายทฤษฎี แม้ ทฤษฎีเหล่านี ้จะมีประโยชน์แต่ มันก็อธิบายและทานายเหตุการณ์ได้ เป็ นบางส่วนเท่านัน้ พวกเขาต้ องการทฤษฎีที่มีเอกภาพเพียง ทฤษฎีเดียวซึง่ สามารถอธิบายและทานายเหตุการณ์ได้ ทงหมด ั้ แต่ก็ยงั ค้ นหาไม่พบ ในสภาพเช่นนี ้มี ความเป็ นไปว่า (1) เหตุการณ์ทกุ อย่างในเอกภพเกิดขึ ้นตามกฎเกณฑ์ที่แน่นอน ฉะนันถ้ ้ าเราฉลาด เราจะสามารถค้ นพบทฤษฎีดงั กล่าวได้ ในวันข้ างหน้ า (2) เหตุการณ์สว่ นใหญ่เกิดขึ ้นตามกฎเกณฑ์ที่ แน่นนอน แต่มีบางส่วนที่เกิดขึ ้นโดยปราศจากกฎเกณฑ์ ฉะนันเราจะค้ ้ นพบทฤษฎีที่สามารถอธิบาย เหตุการณ์ได้ มากขึ ้น แต่ก็ไม่ทงหมด ั้ และ (3) เหตุการณ์ตา่ ง ๆ เกิดขึ ้นเองโดยปราศจากกฎเกณฑ์ อะไรทังสิ ้ ้น ฉะนันไม่ ้ วา่ เราจะฉลาดสักปานไหนเราก็จะไม่พบทฤษฎีที่เราต้ องการ ผู้เขียนไม่ได้ ฟันธงลงไปว่าเราจะค้ นหาทฤษฎีดงั กล่าวพบหรื อไม่ เขาเพียงบอกว่า ณ วันนี ้ เรามีความรู้มากมายแต่เราก็ยงั ไม่สามารถทานายพฤติกรรมของมนุษย์ได้ ฉะนันแม้ ้ เราจะค้ นพบ ทฤษฎีที่เราต้ องการ แต่มนั ก็จะเป็ นเพียงจุดเริ่มต้ นของการค้ นหาความเข้ าใจในความเป็ นมนุษย์ของ เราเท่านัน้ อย่างไรก็ตามเขาบอกว่าหากนักวิทยาศาสตร์ ค้นพบทฤษฎีนนจริ ั ้ ง ๆ และเราทุกคน
สามารถทาความเข้ าใจมันได้ อย่างถ่องแท้ เราจะสามารถร่วมกันค้ นหาคาตอบว่าเราและสิ่งต่าง ๆ รอบตัวเราซึง่ รวมกันเป็ นเอกภพนันเกิ ้ ดขึ ้นมาเพื่ออะไร ถ้ าเราหาคาตอบได้ เราก็จะเข้ าใจพระจิตของ พระผู้เป็ นเจ้ า แต่ก็อีกนัน่ แหละ นักวิทยาศาสตร์ ก็ยงั อาจถามต่อไปว่าแล้ วใครล่ะเป็ นผู้สร้ างพระผู้ เป็ นเจ้ า ? ข้ อสังเกต – ในคาปรารภของหนังสือเล่มนี ้ ผู้เขียนแสดงความฉงนใจว่าเพราะอะไรหนังสือ เล่มก่อนของเขาที่ชื่อ A Brief History of Time จึงติดอันดับหนังสือขายดีแห่งนครลอนดอนอยู่ถึงสี่ปี ครึ่งเนื่องจากเนื ้อหาของหนังสือเกี่ยวกับประเด็นที่ยากที่สดุ ในวิชาฟิ สิกส์ เขาเดาว่าอาจเป็ นเพราะ ประเด็นเหล่านันแม้ ้ จะยากสักปานไหนก็นา่ สนใจและน่าตื่นเต้ นที่สดุ เนื่องจากมันเป็ นการหาคาตอบ ให้ แก่คาถามอมตะซึง่ มีอยู่คกู่ บั มนุษย์มาตลอด อีกปั จจัยหนึง่ ที่ทาให้ หนังสือขายดีอาจเป็ นเพราะ ผู้เขียนสามารถนาเรื่ องซึง่ ยากแสนยากสาหรับคนทัว่ ไปมาอธิบายได้ อย่างกระชับ นอกจากนันชาว ้ อังกฤษโดยทัว่ ไปเป็ นนักอ่านตัวยง นิสยั อยากรู้อยากเห็นและความพยายามที่จะเรี ยนรู้อยู่ ตลอดเวลาของพวกเขาเป็ นปั จจัยที่ทาให้ องั กฤษเดินเข้ ายุคอุตสาหกรรมก่อนสังคมอื่นและยังเป็ น สังคมชันแนวหน้ ้ ามาจนถึงปั จจุบนั เนื ้อหาของหนังสือคงนาไปใช้ ไม่ได้ ในชีวิตประจาวันโดยทันที แต่มนั ก็ นา่ จะมีประโยชน์ อย่างยิ่งเพราะมันช่วยสร้ างกรอบในการค้ นหาคาตอบให้ แก่ตวั ผู้อา่ นว่า เขาเป็ นใคร มาจากไหนและ เกิดขึ ้นมาเพื่ออะไร นอกจากนันมั ้ นอาจจะทาให้ ผ้ อู า่ นตระหนักว่าตัวเขานันเป็ ้ นเพียงผุยผงอยู่ในเอก ภพอันกว้ างใหญ่ไพศาล ความตระหนักเช่นนันอาจท ้ าให้ เขาลดอัตตาลง การเข้ าใจตัวเองและการ ลดอัตตาจะทาให้ เขามีความสุขมากขึ ้น