รวมเล่มรายงานประจำปี 2561

Page 1


คำ�นำ� โรงพยาบาลน่านเป็นโรงพยาบาลทั่วไป ทุติยภูมิ (S) เป็นโรงพยาบาลประจำ�จังหวัดน่าน มีภารกิจในการให้บริการ ด้านสาธารณสุขแก่ประชาชนทั้งในด้านการรักษา และการป้องกัน ส่งเสิรม รักษา และฟื้นฟูสุขภาพ ตลอดจนให้บรการทาง ด้านการศึกษาวิชาการ งานวิจัยเพื่อพัฒนางานให้เป็นไปอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ เอกสารรายงานประจำ�ปีเล่มนี้ เป็นบทสรุปภาพรวมของโรงพยาบาลน่าน เพื่อให้ท่านได้ทราบว่าในรอบปีงบ ประมาณปีงบประมาณ 2560 โรงพยาบาลน่าน มีการดำ�เนินงานและมีความสำ�เร็จของการดำ�นเนินงานที่สำ�คัญ คณะผู้จัด ทำ�หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานประจำ�ปี 2560 (ตุลาคม 2559 - กันยายน 2560) ฉบับนี้จะสามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้และ พัฒนางานให้เกิดประสิ​ิทธิภาพทั้งยังเป็นประโยชน์ต่อผู้เกี่ยวข้องและผู้ที่สนใจ

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ โรงพยาบาลน่าน


สารบัญ หน้า ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป - ข้อมูลทั่วไปโรงพยาบาลน่าน - คณะผู้บริหารโรงพยาบาลน่าน ประจำ�ปี 2560 - แผนยุทธศาสตร์ โรงพยาบาลน่าน - ข้อมูลบุคลากรปฏิบัติงาน - ข้อมูลแพทย์เฉพาะทาง - ข้อมูลศักยภาพการให้บริการโรงพยาบาลน่าน - จำ�นวนผู้รับบริการ - จำ�นวนผู้ป่วยใน - สถานะทางด้านการเงินการคลัง ส่วนที่ 2 ข้อมูลการให้บริการ - ข้อมูลผู้ป่วยและงานบริการการรักษาพยาบาล ผู้ป่วยนอก - ข้อมูลผู้ป่วยและงานบริการการรักษาพยาบาล ผู้ป่วยใน ส่วนที​ี่ 3 ผลงานเด่นและความภาคภูมิใจ - ผลงานภาคภูมิใจกลุ่มงานเภสัชกรรม - ผลงานภาคภูมิใจกลุ่มงานทันตกรรม - ผลงานภาคภูมิใจกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ - ผลงานภาคภูมิใจกลุ่มการพยาบาล - ผลงานภาคภูมิใจศูนย์บริการลูกค้าสัมพันธ์ ส่วนที​ี่ 4 ผลงานด้านวิจัย - การพัฒนาระบบบริการ หน่วยจ่ายกลางโรงพยาบาลน่าน - โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการคัดกรองวัณโรคแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลน่าน - System alert to active screening for CRE and VRE in Nan Hospital - ผลของการเสริมแรงต่อการปฏิบัติในการป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อดื้อยา หลายขนาน - Hypersensitivity Kit ช่วยชีวิตผู้ป่วยมะเร็ง - การพัฒนาประชาคมสุขภาพในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ใน วัยรุ่น อำ�เภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน

3 5 6 8 8 9 9 10 11 13 22 30 38 41 44 48 53 54 55 56 57 58


หน้า - ปริมาณน้ำ�นมที่ตวงได้จากการใช้เครื่องปั้มนมไฟฟ้าเปรียบเทียบกับการบีบด้วย มือในมารดาที่ทารกไม่ได้ดูดนมจากเต้า โรงพยาบาลน่าน

59

- การเตรียมความพร้อมในผู้ป่วยที่ได้รับการส่องกล้องตรวจทางเดินอาหาร ส่วนต้น - การพัฒนาแนวปฏิบัติการให้อาหาร Step diet ในผู้ป่วยหลังผ่าตัดนิ่วระบบ ทางเดินปัสสาวะที่ได้รับยาดมสลบ เพื่อลดอาการท้องอืด - ผลของการให้ความรู้โดยใช้กระบวนการกลุ่มร่วมกับผลการศึกษาการสวดมนต์ ในการเตรียมผู้ป่วยผ่าตัดต้อกระจก - ผลของการใช้โปรแกรมการป้องกัน ปอดอักเสบติดเชื้อในผู้ป่วยกระดูกสะโพก หักเพื่อลดปอดอักเสพติดเชื้อ - ผลของการใช้แนวทางปฏิบัติการป้ องกันภาวะแทรกซ้อนจากการอดุกั้นทาง เดินหายใจส่วนบนอย่างเฉียบพลันหลงั ถอดท่อช่วยหายใจในผ้ป่วยที่ได้รับยา ระงับความร้สึกทั่วร่างกาย - ผลของการประคบเย็นและใช้แรงกดด้วยถุงทรายต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนใน ผู้ป่วยหลังผ่าตัดไส้เลื่อนหอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย โรงพยาบาลน่าน - การพัฒนาโปรแกรมการวิเคราะห์ปริมาณงานและอัตรากำ�ลังพยาบาลวิชาชีพ (Staffing Productivity Program) - การพัฒนาระบบบริการหัตถการสลายนิ่ว แบบผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลน่าน ส่วนที่ 5 คนดี คนเก่ง โรงพยาบาลน่าน - คนดี คนเก่ง ประจำ�ปีงบประมาณ 2560 โรงพยาบาลน่าน

60 61 62 63 64 65 66 67 69



ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป รายงานประจำ�ปี 2560

2

รายงานประจำ�ปี 2560


ข้อมูลทั่วไป สถานที่ตั้งและขอบเขต ที่ตั้งเลขที่ 1 ถนนวรวิชัย อ.เมือง จ.น่าน 55000 โทร. (054) 719000-099 เว็บ http://www.nanhospital.go.th ขนาด 502 เตียง ตติยภูมิ S เนื้อที่ 48 ไร่ 86 ตารางวา ประวัติโรงพยาบาลน่าน โรงพยาบาลน่านเริ่มก่อสร้าง พ.ศ.2497 บนเนื้อที่ ประมาณ 1 ไร่ซึ่งเป็นพื้นที่ของณฑลทหารบกที่7 (ในขณะ นั้ น )ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุ ข ซึ่ ง ให้ ก รมการ แพทย์ด�ำเนินการจัดตั้งโรงพยาบาลประจ�ำจังหวัดน่านขนาด 25 เตี ย งขึ้ น ด้ ว ยงบประมาณก่ อ สร้ า ง 1,500,000 บาท (หนึ่งล้านห้าแสนบาทถ้วน)โดยคณะรัฐมนตรีได้อนุมัติเงิน การกุศลเพื่อการศึกษาและสาธารณสุข(ก.ศ.ส.)ในจ�ำนวน ดังกล่าวให้และท�ำการก่อสร้างเป็นระยะเวลาประมาณ 1 ปี เศษ จึงแล้วเสร็จท�ำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2499 ประกอบด้วย อาคารท�ำการ 3 หลัง บ้านพัก 4 หลัง ผู้เกี่ยวข้องในการด�ำเนินการก่อตั้งโรงพยาบาลประจ�ำจังหวัด น่านประกอบด้วย พ.ต.นายแพทย์หลวงนิตย์ เวชชวิศิษฐ อธิบดีกรมการแพทย์ ซึ่งได้มอบหมายให้ นายแพทย์หลวง สนั่ น วรเวช รองอธิ บ ดี ก รมการแพทย์ ร ่ ว มจั ด หาสถานที่ ก่อสร้างกับนายแพทย์ศภุ ชัย มโนหรทัต อนามัยจังหวัดน่านใน ขณะนั้นในการด�ำเนินกิจการของโรงพยาบาลได้มีผู้บริหารซึ่ง ด�ำรงต�ำแหน่งผูอ้ ำ� นวยการ จนถึงปัจจุบนั นี้ จ�ำนวน 8 ท่าน ดังนี้ 1. นายแพทย์พัฒนา ตระกูลดิษฐ์ ปฏิบัติงานระหว่าง ปี พ.ศ. 2499-2500 2. นายแพทย์กิจชัย ยิ่งเสรี ปฏิบัติงานระหว่าง ปี พ.ศ. 2500-2507 3. นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ปฏิบัติงานระหว่าง ปี พ.ศ.2507-2537 4. นายแพทย์คณิต ตันติศิริวิทย์ ปฏิบัติงานระหว่าง ปี พ.ศ.2537-2551 5. นายแพทย์นิวัตชัย สุจริตจันทร์ ปฏิบัติงานระหว่าง ปี พ.ศ.2551 - 2555

6. นายแพทย์พิษณุ ขันติพงษ์ ปฏิบัติงานระหว่าง ปี พ.ศ. 2555 - 2557 7. แพทย์หญิงณัฐภร ประกอบ ปฏิบัติงานระหว่าง 2557 - 2559 8. นายแพทย์ภราดร มงคลจาตุรงค์ ปฏิบัติงานระหว่าง 2559 - ปัจจุบัน นั บ ตั้ ง แต่ เ ริ่ ม ก่ อ ตั้ ง โรงพยาบาลน่ า นเป็ น ต้ น มาได้ มีการพัฒนาระบบการให้บริการสาธารณสุขอย่างต่อเนื่องและ เนื่องจากจังหวัดน่านอยู่ในพื้นที่ที่มีการก่อการร้ายของ ผกค. ท� ำ ให้ พ ลเรื อ น ต� ำ รวจ ทหาร ได้ รั บ บาดเจ็ บ จากการสู ้ ร บ เป็นจ�ำนวนมากในแต่ละปี อีกทั้งการคมนาคมยังไม่สะดวกทั้ง ภายในจังหวัด และติดต่อกับต่างจังหวัด ท�ำให้โรงพยาบาล น่ า นต้ อ งพั ฒ นาตนเองอย่ า งมากในทุ ก ๆด้ า นเพื่ อ ให้ ส ามารถ รับกับภาระกิจทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขในพื้นที่ให้ ได้มากที่สุดเท่าที่จะท�ำได้ จนกระทั่งการสู้รบได้สิ้นสุดลงใน ปี 2526 (การสู ้ ร บอยู ่ ในระหว่ า งปี 2511ถึ ง 2526 )ซึ่ ง เป็ น ยุคที่นายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตรเป็นผู้อ�ำนวยการ นับว่า เป็ น ช่ ว งเวลาแห่ ง การพั ฒ นาอย่ า งแท้ จ ริ ง เพราะมี การพั ฒ นาโรงพยาบาลน่ า นจากการเป็ น โรงพยาบาล ขนาด 56 เตียง จนขยายเป็นโรงพยาบาล ทั่วไปขนาดใหญ่ 420 เตี ย ง มี ศั ก ยภาพในการให้ บ ริ ก ารเพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งมาก เป็ น สถานที่ ส ร้ า งสรรค์ นั ก บริ ห ารและนั ก วิ ช าการด้ า น การแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข ที่ มี ค วามสามารถมี คุ ณ ธรรม จ� ำ นวนมากให้ แ ก่ ว งการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข ของ ประเทศไทยในปั จ จุ บั น รวมทั้ ง เป็ น แบบอย่ า งของระบบ สาธารณสุ ข หลายอย่ า งเช่ น การให้ บ ริ ก ารแบบผสมผสาน ซึ่ ง รวมถึ ง การจั ด ตั้ ง กลุ ่ ม งานเวชกรรมสั ง คมงานสาธารณสุ ข มู ล ฐานเขตเมื อ งานโครงการบั ต รสุ ข ภาพ ระบบโรงพยาบาลพี่เลี้ยง และระบบส่งต่อ (Referral System) ซึ่งมีส่วน เป็ น จุ ด ก� ำ เนิ ด ของโครงการพั ฒ นาระบบบริ ก ารสาธารณสุ ข ส่ ว นภู มิ ภ าค (พบส.) ของกระทรวงสาธารณสุ ข ใน ปัจจุบัน นอกจากนี้ยังได้ก่อสร้างอาคารเพิ่มขึ้นอีก 3 หลัง หลัง แรกคืออาคารตึก 40 ปี เป็นอาคารรักษาพยาบาล 4 ชั้น ใต้ถุนสูง รายงานประจำ�ปี 2560

3


ข้อมูลทั่วไป ส�ำหรับผู้ป่วย สูติ - นรีเวชกรรมและกุมารเวชกรรม ท�ำพิธีเปิดตึก เมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2541 อาคารหลังที่ 2 เป็นอาคาร 2 ชั้น เป็น อาคารศูนย์จ่ายกลาง, ซักฟอก, โรงครัว, โรงอาหาร ได้ท�ำพิธีเปิด ตึก เมื่อ 30 กันยายน 2541 อาคารหลังที่ 3 เป็นอาคาร 4 ชั้น ใต้ถุนสูงส�ำหรับผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ และศัลยกรรมได้ท�ำพิธีเปิด ตึกเมื่อ กุมภาพันธ์ 2543 ในเดือนสิงหาคม 2547 โรงพยาบาล น่านได้เปิดตึก 120 เตียง ใหม่ตึกวันน่านสันติสุขซึ่งจะท�ำให้ รองรั บ ผู ้ ป ่ ว ยได้ ม ากขึ้ น และท� ำ ให้ โ รงพยาบาลน่ า นปรั บ เปลีย่ น เป็นโรงพยาบาลขนาด 491 เตียง และเมื่อ พ.ศ.2558 ได้ มีการปรับเตียงเพิ่มจาก 491 เตียงเป็น 502 เตียง

4

รายงานประจำ�ปี 2560

ส�ำหรับการให้บริการในปี 2540 โรงพยาบาลน่าน ได้ มี แ พทย์ หู คอ จมู ก ประจ� ำ คนแรกโดยเริ่ ม ให้ บ ริ การ รักษาเดือนกรกฎาคม 2540 ในปี 2543 ได้มีแพทย์เพิ่มอีก 1 คน และในปี 2542 ได้มีจักษุแพทย์ประจ�ำคนแรกเริ่ม ให้บริการรักษาเมื่อเดือนกรกฎาคม 2542 จนถึงปัจจุบัน ซึ่ ง ก่ อ นหน้ า นี้ ยั ง ไม่ มี จั ก ษุ แ พทย์ โ รงพยาบาลน่ า นได้ รั บ ความอนุ เ คราะห์ จ ากมู ล นิ ธิ พิ ทั ก ษ์ ด วงตาล� ำ ปางและ พยาบาลเคลื่อนที่โรงพยาบาลศูนย์ล�ำปางและโรงพยาบาล เอกชนมาช่วยท�ำการตรวจรักษา และผ่าตัดโรคตาทุกปี ปีละ 2 - 3 ครั้ง ครั้งละ 5 - 7 วัน โรงพยาบาลน่านมีจิตแพทย์มา ให้บริการจิตเวชแก่ประชาชนในปี 2546 นี้ หลังจากขาดช่วง ไปหลายปีจากการที่จิตแพทย์คนแรกโยกย้ายไปโดยช่วงนี้ ขาดแคลนจิตแพทย์ได้มีจิตแพทย์จากโรงพยาบาลสวนปรุง นายแพทย์ปริทรรศน์ ศิลปกิจ มาช่วยให้บริการผูป้ ว่ ย จิตเวช ที่ รพ.น่านทุก3เดือนส�ำหรับ การบริการในระบบเครือข่าย สือเนื่องจากนโยบายรัฐบาลตามโครงการสุขภาพถ้วนหน้า โรงพยาบาลน่ า นเป็ น สถานบริ ก ารด้ า นสุ ข ภาพแม่ ข ่ า ย (CUP ร.พ.น่ า น)ประมาณปี 2544 ประกอบด้ ว ย รพ. น่าน,สถานีอนามัยและ สสช. 31 แห่ง โดยจัดตั้งหน่วย บริการปฐมภูมิ (PCU) 11 PCUด�ำเนินการโดยมีศูนย์ประ สานงาน,คณะท�ำงานโครงการสุขภาพถ้วนหน้า และความ ร่วมมือของเจ้าหน้าที่ทุกกลุ่มงานทุกฝ่ายและทุกงานของ CUP รพ.น่ า นด� ำ เนิ น งานตามแผนอย่ า งสม�่ ำ เสมอ และ ต่อเนื่องจนกระทั่งปัจจุบัน


รายงานประจำ�ปี 2560

5

คณะผู้บริหารโรงพยาบาลน่าน ประจ�ำปี 2560


6

รายงานประจำ�ปี 2560


รายงานประจำ�ปี 2560

7


ข้อมูลทรัพยากร ข้อมูลทรัพยากรปฏิบัติงาน สาขา

ข้าราชการ

ลจ./ประจ�ำ

พรก.

แพทย์ 93 * ทันตแพทย์ 23 เภสัชกร 32 พยาบาลวิชาชีพ 420 สหสาขาวิชาชีพ 39 อื่น 86 106 รวม 693 106 * - แพทย์ประจ�ำ รวมผู้อ�ำนวยการ = 65 - แพทย์เพิ่มพูนทักษะ = 23 - แพทย์ Fix ward ศัลย์ =2 - in service training =3

อายุรแพทย์ ประสาทวิทยา ศัลยแพทย์(Uro 1) สูตินรีแพทย์ กุมารแพทย์ ศัลยแพทย์ออร์โธปิดิกส์ จักษุแพทย์ โสตศอนาสิกแพทย์ วิสัญญีแพทย์ รังสีแพทย์ แพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู จิตแพทย์ (รวมจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น) เวชศาสตร์ป้องกัน (ระบาดวิทยา) รวม 8

รายงานประจำ�ปี 2560

ลจ./ ชั่วคราว

2 50 1 44 50

ข้อมูลแพทย์เฉพาะทาง สาขา

พกส.

จ�ำนวน 11 1 7 7 6 7 2 3 5 3 3 3 1 4 1 64

99 8 334 435

9 175 186

รวม 93 23 34 524 57 745 1,476


ข้อมูลการให้บริการของโรงพยาบาลน่าน ข้อมูลการให้บริการ (ปีงบประมาณ 2558 - 2560) สาขา จำ�นวนเตียงที่จดทะเบียน จำ�นวนเตียงเปิดใช้จริง (ไม่รวม ICU 32 เตียง) จำ�นวนเตียง ICU จำ�นวนห้องผ่าตัด อัตราครองเตียง % Active Bed SUM_AdjRW CMI

2558

2559

2560

430 502 32 12 94.06 472 53,726.42 1.4190

430 502 32 12 89.77 457 52,746.14 1.4038

430 502 32 12 108.11 457 54,702.30 1.4626

จ�ำนวนผู้รับบริการ (ปีงบประมาณ 2557 - 2560) ครั้ง 460000 446,617

450000 440000

455,434

431,276

430000 420000 410000 400000

395,551

390000 380000 370000 360000 2557

2558

2559

2560

ปงบประมาณ

รายงานประจำ�ปี 2560

9


จ�ำนวนผู้ป่วยใน (ปีงบประมาณ 2557 - 2560) ครั้ง 38000

37,867

37800

37,764

37,575

37600 37400 37200 37000 36800

36,690

36600 36400 36200 36000 2557

10 รายงานประจำ�ปี 2560

2558

2559

2560

ปงบประมาณ


สถานะทางด้านการเงินการคลัง ประมาณรายรับ รายจ่าย Planfififfiin (ปีงบประมาณ 2558 - 2560) รหัส P04 P05 P06 P061 P07 P08 P09 P10 P11 P12 P13 รหัส P14 P15 P151 P16 P17 P18 P19 P20 P21 P22 P23 P24 P241 P25

หมวดรายรับ รายได้ UC รายได้จาก EMS รายได้ค่ารักษาเบิกต้นสังกัด รายได้ค่ารักษาเบิกต้นสังกัด รายได้ค่ารักษาเบิกจ่ายตรง กรมบัญชีกลาง รายได้ประกันสังคม รายได้แรงงานต่างด้าว รายได้ค่ารักษาและบริการอื่น ๆ รายได้งบประมาณส่วนบุคลากร รายได้อื่น รายได้งบลงทุน รวมรายรับ หมวดรายจ่าย ต้นทุนยา ต้นทุนเวชภัณฑ์มิใช่ยาและ วัสดุการแพทย์ ต้นทุนวัสดุทันตกรรม ต้นทุนวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ เงินเดือนและค่าจ้างประจำ� ค่าจ้างชั่วคราว ค่าตอบแทน ค่าใช้จ่ายบุคลากรอื่น ค่าใช้สอย ค่าสาธารณูปโภค วัสดุใช้ไป ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย หนี้สูญและสงสัยจะสูญ ค่าใช้จ่ายอื่น รวมรายจ่าย รวมรายรับ - รายจ่าย

2558 341,351,211.58 1,242,660.00 34,227,972.50

2559 265,121,969.47 1,284,000.00 40,864,000.00

2560 215,383,290.68 1,169,280.00 2,277,128.00 24,046,852.13

194,586,608.68

205,500,000.00

188,304,193.62

62,346,742.16 950,383.75 64,687,429.22 290,814,170.89 65,751,081.86

73,429,800.00 37,067,689.86 1,200,000.00 740,226.00 67,671,000.00 78,320,000.00 294,895,683.79 335,153,992.63 47,539,000.00 49,775,049.23 54,500,000.00 142,326,100.00 1,055,958,260.64 1,052,005,453.26 1,074,563,802.15 2558 2559 2560 135,720,911.98 135,720,911.98 140,000,000.00 71,676,600.67 71,676,600.67 99,140,000.00

38,205,885.32 290,814,170.89 68,758,757.84 128,674,684.26 19,987,793.54 37,806,692.16 22,996,623.87 34,185,543.94 57,267,993.23

38,205,885.32 290,814,170.89 68,758,757.84 128,674,684.26 19,987,793.54 37,806,692.16 22,996,623.87 34,185,543.94 57,267,993.23

3,200,000.00 40,000,000.00 340,707,362.63 70,307,000.00 110,416,000.00 22,285,200.00 30,891,350.00 20,603,623.87 43,606,000.00 67,946,501.91 -

72,773,525.91 978,869,183.61 77,089,077.03

72,773,525.91 978,869,183.61 73,136,269.65

4,681,056.86 993,784,095.27 80,779,706.88 รายงานประจำ�ปี 2560

11


12 รายงานประจำ�ปี 2560

335,153,992.63

จาก EMS ประกันสังคม อื่นๆ

UC

คารักษาเบิกจายตรงกรมบัญชีกลาง

งบประมาณสวนบุคลากร

49,775,049.23

142,326,100.00

กราฟแสดงประมาณการรายรับ Planfiffiin (ปีงบประมาณ 2560)

งบลงทุน

แรงงานตางดาว

คารักษาเบิกตนสังกัด

78,320,000.00

37,067,689.86

คารักษาและบริการอื่น ๆ

คารักษา อปท.

740,226.00

215,383,290.68

188,304,193.62

24,046,852.13

2,277,128.00

1,169,280.00


รายงานประจำ�ปี 2560

13

- , 0%

ตนทุนเวชภัณฑมิใชยาและวัสดุการแพทย

คาตอบแทน

คาเสื่อมราคาและคาตัดจําหนาย

คาจางชั่วคราว

วัสดุใชไป

คาใชจายอื่น

คาใชสอย

ตนทุนวัสดุวิทยาศาสตรการแพทย

340,707,362.63 , 34%

140,000,000.00 , 14%

4,681,056.86 , 1%

หนี้สูญและสงสัยจะสูญ

คาใชจายบุคลากรอื่น

ตนทุนวัสดุทันตกรรม

67,946,501.91 , 7%

ตนทุนยา

70,307,000.00 , 7%

110,416,000.00 , 11%

22,285,200.00 , 2%

30,891,350.00 , 3%

20,603,623.87 , 2%

43,606,000.00 , 5%

กราฟแสดงประมาณการรายจ่าย Planfiffiin (ปีงบประมาณ 2560)

คาสาธารณูปโภค

เงินเดือนและคาจางประจํา

40,000,000.00 , 4%

99,140,000.00 , 10% 3,200,000.00 , 0%


สถานะทางด้านการเงินการคลัง การค�ำนวนต้นทุนแบบ Quick Method (ปีงบประมาณ 2558 - 2560) สาขา รายได้ค่ารักษา OPD รายได้ค่ารักษา IPD รวมรายได้ (บาท) LC (ค่าแรง) MC (ค่าวัสดุ) CC (ค่าเสื่อมราคา) รวมต้นทุน (บาท) ค่าใช้จ่ายผู้ป่วยนอก ค่าใช้จ่ายผูป่วยใน รพ.มีการให้บริการ OPD จำ�นวน (ครั้ง) รพ.มีการให้บริการ IPD จำ�นวน SumAdjRW ต้นทุนการให้บริการ OPD ต้นทุนการให้บริการ IPD

14 รายงานประจำ�ปี 2560

2558 336,055,797.97 532,111,022.15 868,166,820.12 478,729,571.87 367,741,526.39 45,666,227.74 892,137,326.00 327,026,439.77 517,813,929.08 340,232.00 53,648.80 961.19 9,651.92

2559 346,824,979.14 573,184,741.77 920,009,720.91 517,727,395.73 356,792,745.94 57,267,993.23 931,788,134.90 342,440,883.62 565,939,310.19 349,831.00 53,726.42 978.88 10,533.72

2560 394,228,968.89 580,164,149.68 974,393,118.57 574,241,140.24 394,283,043.94 72,404,151.11 1,040,928,335.29 421,148,401.49 619,779,933.80 456,198.00 52,482.92 923.17 11,809.17


ส่วนที่ 2 ข้อมูลการให้บริการ รายงานประจำ�ปี 2560

รายงานประจำ�ปี 2560

15


ข้อมูลผู้ป่วยและงานบริการการรักษาพยาบาล ผู้ป่วยนอก (ปีงบประมาณ 2558 - 2560) ลำ�ดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9

10 11

รายการ ผู้รับบริการทุกประเภท (รายใหม่) ผู้รับบริการทุกประเภท (ครั้ง) เฉลี่ยต่อวัน /286 2557 ผู้ป่วยนอก (ใหม่) รง.5 ผู้ป่วยนอกตรวจโรค (ครั้ง) เฉลี่ยต่อวัน คลินิกเฉพาะทางพิเศษผู้ป่วยนอก (ราย) เฉลี่ยต่อวัน ผู้ป่วยอุบัติเหตุทั้งหมด (ราย) เฉลี่ยต่อวัน อุบัติเหตุจราจร (ราย) เฉลี่ยต่อวัน ผู้ป่วยฉุกเฉิน (ราย) เฉลี่ยต่อวัน รับผู้ป่วยรักษาต่อ (ราย) 9.1 จากโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัด 9.2 จาก รพ.สต.ในจังหวัด 9.3 จากโรงพยาบาลอื่น ๆ (รพ.ค่ายฯ รพ.ต่างจังหวัด) อัตราการรับไว้เป็นผู้ป่วยใน ต่อผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยถึงแก่กรรม (ราย) สรุป dead pt opd / ใน ER

หมายเหตุ

2558

2559

2560

93,167 431,274 1,508 93,166 313,436 1,096 150,355 525 11,313 31 2,691 7 45,983 126

99,384 446,617 1,562 99,378 320,968 1,122 159,418 557 11,634 32 2,787 8 47,709 131

99,933 455,499 1,593 100,065 324,817 1,135 162,465 568 12,294 34 2,975 8 51,320 141

17,454 5,770 364 1:10.78 182

17,512 5,977 718 1:8.09 189

18,112 5,343 604 1:8.13

1. ผู้ป่วยอุบัติเหตุจาราจร เป็นส่วนหนึ่งของผู้ป่วยอุบัติเหตุข้อ 6 2. ผู้ป่วยถึงแก่กรรม หมายถึงผู้ป่วยเสียชีวิตที่ตึกอุบัตเหตุ

16 รายงานประจำ�ปี 2560


21 กลุ่มโรค ผู้ป่วยนอก (ปีงบประมาณ 2558 - 2560) ครั้ง สาเหตุ 1. ปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อสถานะสุขภาพและการเข้ารับบริการสุขภาพ (Z00-Z99) 2. โรคระบบไหลเวียนโลหิต (I00-I99) 3. โรคต่อมไร้ท่อ โภชนาการและเมตะบอลิซึม (E00-E90) 4. โรคระบบกล้ามเนื้อร่วมโครงร่างและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (M00-M99) 5. โรคระบบย่อยอาหาร (K00-K99) 6. โรคระบบสืบพันธุ์และปัสสาวะ (N00-N99) 7. โรคระบบหายใจ (J00-J99) 8. อาการ อาการแสดงและสิ่งผิดปกติที่พบจากการตรวจทางคลินิกและ ตรวจทางห้องปฏิบัติการที่มิได้มีรหัสระบุไว้ที่อื่น (R00-R99) 9. โรคทางจิตเวชและความผิดปกติของพฤติกรรม (F00-F99) 10. โรคของตาและส่วนประกอบของตา (H00-H59) 11. กลุ่มโรคติดเชื้อและปรสิตบางชนิด (A00-B99) 12. การบาดเจ็บ การเป็นพิษและผลติดตามจากเหตุภายนอก (S00-T98) 13. โรคทางระบบประสาท (G00-G99) 14. สาเหตุภายนอกของการป่วยและตาย (V01-Y98) 15. โรคเนื้องอก (C00-D48) 16. โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง (L00-L99) 17. โรคของหูและปุ่มกกหู (H60-H95) 18. โรคเลือด อวัยวะที่สร้างเลือดและความผิดปกติที่เกี่ยวกับภูมิคุ้มกันบาง ชนิด (D50-D89) 19. ความผิดปกติ ความพิการแต่กำ�เนิด และโคมโมโซมผิดปกติ (Q00-Q99) 20. การตั้งครรภ์ การคลอดและระยะหลังคลอด (O00-O99) 21.ภาวะบางอย่างที่เกิดในระยะปริกำ�เนิด (P00-P96)

2558

2559

2560

129,150

128,058

129,408

79,097 63,906 51,246 37,159 32,852 27,187 21,596

82,806 64,634 52,466 41,484 36,301 29,048 23,647

86,263 65,600 60,785 46,736 40,802 30,282 30,072

18,704 17,758 13,131 10,747 9,941 9,551 9,328 7,090 6,168 4,407

19,060 17,274 13,282 11,298 10,619 9,809 7,827 7,610 6,182 4,803

18,839 19,612 14,045 15,168 11,589 12,851 13,982 8,103 6,252 8,670

1,377 653 108

1,517 990 100

1,470 1,969 175

รายงานประจำ�ปี 2560

17


กลุ่มสาเหตุการตาย ผู้ป่วยนอก (ปีงบประมาณ 2558 - 2560) ครั้ง สาขาเฉพาะทาง 1. การบาดเจ็บ การเป็นพิษและผลติดตามจากเหตุภายนอก (S00-T98) 2. โรคระบบไหลเวียนโลหิต (I00-I99) 3. อาการ อาการแสดงและสิ่งผิดปกติที่พบจากการตรวจทางคลินิกและ ตรวจทางห้องปฏิบัติการที่มิได้มีรหัสระบุไว้ที่อื่น (R00-R99) 4. โรคเนื้องอก (C00-D48) 5. โรคระบบย่อยอาหาร (K00-K99) 6. กลุ่มโรคติดเชื้อและปรสิตบางชนิด (A00-B99) 7. โรคระบบหายใจ (J00-J99) 8. ปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อสถานะสุขภาพและการเข้ารับบริการสุขภาพ (Z00-Z99) 9. โรคเลือด อวัยวะที่สร้างเลือดและความผิดปกติที่เกี่ยวกับภูมิคุ้มกันบาง ชนิด (D50-D89) 10. โรคระบบสืบพันธุ์และปัสสาวะ (N00-N99)

18 รายงานประจำ�ปี 2560

2558

2559

2560

67 51 24

49 14 5

45 9 25

13 5 3 3 2

11 6 6 4 3

9 6 6 9 1

1

0

1

1

2

2


กลุ่มอันดับโรคที่สำ�คัญ ผู้ป่วยนอก (ปีงบประมาณ 2558 - 2560) ครั้ง ลำ�ดับ 1 2 3

4 5 6 7 8 9 10 11 12 13

รายการ Essential (primary) hypertension I10 มะเร็งทั้งหมด C00 - C97 การบาดเจ็บจากสาเหตุภายนอก และการเป็นพิษจาก ยาและสารที่ไม่ใช่ยา V01-Y09 - อุบัติเหตุอื่น W00-X59 - อุบัติเหตุจราจร V01-V99 - การถูกทำ�ร้าย X85-Y09 - ทำ�ร้ายตนเอง X60 -X84 Disorder of lipoprotein metabolism unspecified E789 ไตวาย N180 - N189 Hyperlipidaemia unspecified E785 โรคเก๊าท์ M000 - M109 Dyspepsia K30 Allergic rhinitis unspecified J304 หัวใจขาดเลือด I200-I259 Calculus of kidney N20 Atrial fibrillation and flutter I48 ผลที่ตามมาของโรคหลอดเลือดสมอง I690-I698

2558

2559

2560

53,590 9,441 10,930

53,426 10,326 11,475

52,863

7,811 2,652 365 48 21,306 13,689 3,831 8,700 6,274 5,183 4,381 6,164 1,517

8,212 2,798 402 39 22,807 15,133 3,129 8,181 8,181 5,192 4,898 6,617 2,341

8,627 2,989 377 58 22,280 16,832 2,388 8,424 7,447 5,071 4,947 5,706 2,326

11,476 12,111

รายงานประจำ�ปี 2560

19


กลุ่มอันดับโรคที่รับ Refer (Refer in) (ปีงบประมาณ 2558 - 2560) ครั้ง สาขาเฉพาะทาง 1. โรคระบบสืบพันธุ์และปัสสาวะ (N00-N99) 2. โรคระบบย่อยอาหาร (K00-K99) 3. โรคของตาและส่วนประกอบของตา (H00-H59) 4. โรคระบบกล้ามเนื้อร่วมโครงร่างและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (M00-M99) 5. การบาดเจ็บ การเป็นพิษและผลติดตามจากเหตุภายนอก (S00-T98) 6. ปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อสถานะสุขภาพและการเข้ารับบริการสุขภาพ (Z00-Z99) 7. อาการ อาการแสดงและสิ่งผิดปกติที่พบจากการตรวจทางคลินิกและตรวจทาง ห้องปฏิบัติการที่มิได้มีรหัสระบุไว้ที่อื่น (R00-R99) 8. โรคระบบไหลเวียนโลหิต (I00-I99) 9. โรคเนื้องอก (C00-D48) 10. โรคของหูและปุ่มกกหู (H60-H95) 11. โรคระบบหายใจ (J00-J99) 12. โรคทางระบบประสาท (G00-G99) 13. โรคต่อมไร้ท่อ โภชนาการและเมตะบอลิซึม (E00-E90) 14. กลุ่มโรคติดเชื้อและปรสิตบางชนิด (A00-B99) 15. โรคทางจิตเวชและความผิดปกติของพฤติกรรม (F00-F99) 16. โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง (L00-L99) 17. การตั้งครรภ์ การคลอดและระยะหลังคลอด (O00-O99) 18. โรคเลือด อวัยวะที่สร้างเลือดและความผิดปกติที่เกี่ยวกับภูมิคุ้มกันบางชนิด (D50-D89) 19. ความผิดปกติ ความพิการแต่กำ�เนิด และโคมโมโซมผิดปกติ (Q00-Q99) 20. สาเหตุภายนอกของการป่วยและตาย (V01-Y98) 21. ภาวะบางอย่างที่เกิดในระยะปริกำ�เนิด (P00-P96)

20 รายงานประจำ�ปี 2560

2558

2559

2560

1,733 1,978 1,470 1,413 1,429 1,144 1,052

1,742 1,762 1,529 1,403 1,337 1,007 1,166

1,701 2,112 1,646 1,673 1,405 938 1,505

954 529 446 456 415 302 270 258 245 184 100

967 574 450 468 504 240 252 310 241 206 105

1,217 581 513 655 496 315 307 399 252 242 163

95 0 12

82 12 15

68 48 17


20 อันดับ Refer Out ไปโรงพยาบาลที่ศักยาภาพสูงกว่า ผู้ป่วยนอก แยกรายโรค (ปีงบประมาณ 2560) ครั้ง ลำ�ดับ

Code_icd10

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

Z028 N185 C509 C73 M329 C539 B182 C220 C119 C20 C221 C56 H353 Z488 E050 G409 H330 M4806 C549 D329

Code_name Other examinations for administrative purposes Chronic kidney disease Breast malignant neoplasm; unspecified Malignant neoplasm of thyroid gland Systemic lupus erythematosus; unspecified Cervix uteri malignant neoplasm; unspecified Chronic viral hepatitis C Liver cell carcinoma Nasopharynx malignant neoplasm; unspecified Malignant neoplasm of rectum Intrahepatic bile duct carcinoma Malignant neoplasm of ovary Degeneration of macula and posterior pole Other specified surgical follow-up care Thyrotoxicosis with diffuse goitre Epilepsy; unspecified Retinal detachment with rerinal break Spinal stenosis Lumbar region Corpus uteri malignant neoplasm; unspecified Meninges benign neoplasm; unspecified

2560 1,441 68 61 59 54 51 49 29 28 28 28 28 24 21 20 20 19 19 18 16

รายงานประจำ�ปี 2560

21


20 อันดับ Refer Out ไปโรงพยาบาลที่ศักยาภาพสูงกว่า ผู้ป่วยนอก แยกรายโรงพยาบาล (ปีงบประมาณ 2560) ครั้ง ลำ�ดับ

รหัสโรงพยาบาล

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

13780 10672 12283 22737 10713 13814 10715 13781 12280 11472 13775 10674 13756 11469 12281 10673 10676 12438 10662 11481

22 รายงานประจำ�ปี 2560

โรงพยาบาล มหาราชนครเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ลำ�ปาง ศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคมะเร็ง ลำ�ปาง รพ. จุฬาภรณ์ นครพิงค์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล แพร่ รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สวนปรุง ราชวิถี สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ เชียงรายประชานุเคราะห์ จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย เลิดสิน ประสาทเชียงใหม่ อุตรดิตถ์ พุทธชินราช สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี ชลบุรี พระมงกุฎเกล้า

2559 2,300 600 255 115 44 43 32 16 12 9 9 8 8 7 7 5 5 4 2 2


ข้อมูลผู้ป่วยและงานบริการการรักษาพยาบาล ผู้ป่วยใน (ปีงบประมาณ 2558 - 2560) ลำ�ดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

รายการ จำ�นวนเตียง (เตียง) ไม่รวมผู้ป่วยหนัก 32 เตียง จำ�นวนผู้ป่วยใน รับไว้รักษา (ราย) จำ�นวนวันนอนผู้ป่วยใน (วัน) อัตราครองเตียงรวม (%) จำ�นวนผู้ป่วยเฉลี่ยต่อวัน (ราย) จำ�นวนวันเฉลี่ยที่อยู่ในโรงพยาบาล (วัน) จำ�นวนผู้ป่วยจำ�หน่าย (ราย) จำ�นวนผู้ป่วยในเสียชีวิต ไม่รวม Stillbirth (ราย) อัตราตายต่อผู้ป่วยจำ�หน่าย ข้อ8x100/ข้อ7 จำ�นวนผู้ป่วยผ่าตัดใหญ่ (ราย) (ไม่รวมทำ�หมัน) เฉลี่ยต่อวัน จำ�นวนผู้รับบริการคลอด (ราย) เฉลี่ยต่อวัน จำ�นวนทารกคลอดทั้งหมด (ราย) จำ�นวนทารกคลอดมีชีพ (ราย) จำ�นวนทารกคลอดไร้ชีพ (ราย) Still Birth Rate จำ�นวนทารกตายอายุ <7 วัน (ราย) Neonatal Death Rate Perinatal Death Rate (ต่อ 1 000 Live Birth) ทารกน้ำ�หนัก <2 500 กรัม (ราย) ร้อยละ ทารกน้ำ�หนัก >3 000 กรัม (ราย) ร้อยละ

2558

2559

2560

502 37,871 170,431 112.93 339.50 4.50 37,871 1,036 3 12,983 45 1,976 5 1,991 1,969 21 10.55 4 2.01 10.67 203 10.31 1,118 56.78

502 37,575 175,689 114.18 349.98 4.68 37,575 1,043 2.78 11,473 40 2,010 6 2,036 2,023 20 6.42 7 3.46 9.88 236 11.67 1,134 56.06

502 37,689 165,730 107.81 330.14 4.43 37,689 981 2.60 104.26 36.45 20.27 6 2,078 2,055 27 11.19 4 1.95 13.14 225 10.95 1,169 56.89

รายงานประจำ�ปี 2560

23


21 กลุ่มโรค ผู้ป่วยใน (ปีงบประมาณ 2558 - 2560) ครั้ง รายการ 1. โรคต่อมไร้ท่อ โภชนาการและเมตะบอลิซึม (E00-E90) 2. โรคระบบไหลเวียนโลหิต (I00-I99) 3. โรคระบบสืบพันธุ์และปัสสาวะ (N00-N99) 4. ปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อสถานะสุขภาพและการเข้ารับบริการสุขภาพ (Z00-Z99) 5. โรคเลือด อวัยวะที่สร้างเลือดและความผิดปกติที่เกี่ยวกับภูมิคุ้มกัน บางชนิด (D50-D89) 6. การบาดเจ็บ การเป็นพิษและผลติดตามจากเหตุภายนอก (S00-T98) 7. โรคระบบกล้ามเนื้อร่วมโครงร่างและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (M00-M99) 8. โรคระบบหายใจ (J00-J99) 9. โรคระบบย่อยอาหาร (K00-K99) 10. สาเหตุภายนอกของการป่วยและตาย (V01-Y98) 11. อาการ อาการแสดงและสิ่งผิดปกติที่พบจากการตรวจทางคลินิก และตรวจทางห้องปฏิบัติการที่มิได้มีรหัสระบุไว้ที่อื่น (R00-R99) 12. การตั้งครรภ์ การคลอดและระยะหลังคลอด (O00-O99) 13. กลุ่มโรคติดเชื้อและปรสิตบางชนิด (A00-B99) 14. โรคเนื้องอก (C00-D48) 15. โรคทางจิตเวชและความผิดปกติของพฤติกรรม (F00-F99) 16. โรคของตาและส่วนประกอบของตา (H00-H59) 17. โรคทางระบบประสาท (G00-G99) 18. โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง (L00-L99) 19. ภาวะบางอย่างที่เกิดในระยะปริกำ�เนิด (P00-P96) 20. ความผิดปกติ ความพิการแต่กำ�เนิด และโคมโมโซมผิดปกติ (Q00-Q99) 21. โรคของหูและปุ่มกกหู (H60-H95)

24 รายงานประจำ�ปี 2560

2558

2559

2560

16,280 14,468 8,284 7,916

16,955 14,830 7,892 8,101

16,187 15,464 7,739 8625

7,995

8,045

7,840

7,455

7,573

8,236

7,300 6,133 6,620 5,918 5,109

7,364 7,112 6,449 6,068 4,831

7,219 6,627 6,409 6,495 6,083

4,996 4,778 4,644 3,019 3,678 2,472 1,382 979 337

5,171 5,100 4,633 3,244 3,045 2,756 1,402 1,193 367

5,249 4,704 5339 3,297 2,638 3,760 1,374 1,316 402

217

230

181


กลุ่มสาเหตุการตาย ผู้ป่วยใน (ปีงบประมาณ 2558 - 2560) ครั้ง รายการ

2558

2559

2560

1. โรคเนื้องอก (C00-D48) 2. โรคระบบหายใจ (J00-J99) 3. โรคระบบไหลเวียนโลหิต (I00-I99) 4. กลุ่มโรคติดเชื้อและปรสิตบางชนิด (A00-B99) 5. การบาดเจ็บ การเป็นพิษและผลติดตามจากเหตุภายนอก (S00-T98) 6. โรคระบบย่อยอาหาร (K00-K99) 7. โรคระบบสืบพันธุ์และปัสสาวะ (N00-N99) 8. อาการ อาการแสดงและสิ่งผิดปกติที่พบจากการตรวจทางคลินิกและตรวจทาง ห้องปฏิบัติการที่มิได้มีรหัสระบุไว้ที่อื่น (R00-R99) 9. โรคระบบกล้ามเนื้อร่วมโครงร่างและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (M00-M99) 10. โรคทางระบบประสาท (G00-G99) 11. โรคของผิวหนังและเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง (L00-L99) 12. ภาวะบางอย่างที่เกิดในระยะปริกำ�เนิด (P00-P96) 13. โรคเลือด อวัยวะที่สร้างเลือดและความผิดปกติที่เกี่ยวกับภูมิคุ้มกันบางชนิด (D50-D89) 14. โรคต่อมไร้ท่อ โภชนาการและเมตะบอลิซึม (E00-E90) 15. โรคทางจิตเวชและความผิดปกติของพฤติกรรม (F00-F99) 16. การตั้งครรภ์ การคลอดและระยะหลังคลอด (O00-O99)

203 174 169 117 105 88 75 30

177 235 147 101 88 85 71 32

177 224 150 109 85 56 55 28

21 15 12 10 8

24 22 0 6 7

23 24 19 16 7

7 1 1

5 2 1

3 3 1

รายงานประจำ�ปี 2560

25


กลุ่มอันดับโรคที่สำ�คัญ ผู้ป่วยใน (ปีงบประมาณ 2558 - 2560) ครั้ง ลำ�ดับ

รายการ

1

การบาดเจ็บจากสาเหตุภายนอก และการเป็นพิษจากยาและสารที่ ไม่ใช่ยา S00-S999,T00-T789 มะเร็งทั้งหมด - มะเร็งเต้านมม C500 - C509 - มะเร็งหลอดลมและปอด C340 - C349 - มะเร็งลำ�ไส้ใหญ่ C180 - C19 - มะเร็งต่อมน้ำ�เหลืองและเม็ดเลือด C810- C959 นิ่วในทางเดินปัสสาวะ N200-N219 ปอดบวม J120 - J189 ช่องไขสันหลังตีบ ทุกตำ�แหน่งที่เป็น (M480) ปอดอุดกั้นเรื้อรัง J440 - J449 ไส้ติ่งอักเสบ K350 -K37 ไตวาย N170 - N189 หลอดเลือดสมอง (Stroke)I600 - I694 Diarrhoea and gastroenteritis of presumed infectious origin A090 - A099 หัวใจขาดเลือด I200-I259 ความผิดปกติของหมอนรองกระดูกสันหลัง M510 - M511 ความดัน I10 - I15 เบาหวาน E100 - E160 (ยกเว้น E15)

2

3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14

26 รายงานประจำ�ปี 2560

2558

2559

2560

3,488

3,512

3,600

2,658 685 298 491 203

2,608 766 249 378 241

2,967 767 405 525 291

1,923 772 1 753 1,027 617 593 531

991 1,052 910 957 641 590 590

885 229 744 854 594 663 469

336 121

591 313

338 246

184 189

185 211

175 195


20 อันดับ Refer Out ไปโรงพยาบาลที่ศักยาภาพสูงกว่า ผู้ป่วยใน แยกรายโรค (ปีงบประมาณ 2560) ครั้ง ลำ�ดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

Code_ icd10 I210 C793 I211 I714 F200 I620 S0650 C349 I330 I442 G060 I500 I713 J181 C920 D329 I214 I495 I743 P071

Code_name

2560

Acute transmural myocardial infarction of anterior wall Secondary malignant neoplasm of brain and cerebral meninges Acute transmural myocardial infarction of inferior wall Abdominal aortic aneurysm; without mention of rupture Paranoid schizophrenia Subdural haemorrhage (acute)(nontraumatic) Traumatic subdural haemorrhage without open intracranial wound Bronchus or lung malignant neoplasm; unspecified Acute and subacute infective endocarditis Atrioventricular block; complete Intracranial abscess and granuloma Congestive heart failure Abdominal aortic aneurysm; ruptured Lobar pneumonia; unspecified Acute myeloid leukaemia Meninges benign neoplasm; unspecified Acute subendocardial myocardial infarction Sick sinus syndrome Embolism and thrombosis of arteries of lower extermities Other low birth weight

16 9 7 7 6 6 6 5 5 5 4 4 4 4 3 3 3 3 3 3

รายงานประจำ�ปี 2560

27


20 อันดับ Refer Out ไปโรงพยาบาลที่ศักยาภาพสูงกว่า ผู้ป่วยใน แยกรายโรงพยาบาล (ปีงบประมาณ 2560) ครั้ง ลำ�ดับ

รหัสโรงพยาบาล

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20

10672 13780 12283 12280 10715 13814 10662 10674 10713 10717 10722 10726 11565 11980 11982 11994 12262 12272 13756 13778

28 รายงานประจำ�ปี 2560

โรงพยาบาล ลำ�ปาง มหาราชนครเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศูนย์ป้องกันและควบคุมโรคมะเร็ง ลำ�ปาง สวนปรุง แพร่ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ชลบุรี เชียงรายประชานุเคราะห์ นครพิงค์ พะเยา สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พิจิตร รามคำ�แหง แมคคอร์มิค เชียงใหม่ ลานนา เชียงใหม่ เทพปัญญา ธัญญารักษ์ จิตเวชขอนแก่น จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย เฉลิมพระเกียรตธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

2559 141 73 22 13 6 2 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1


ส่วนที่ 3 ผลงานเด่นและความภาคภูมิใจ รายงานประจำ�ปี 2560

รายงานประจำ�ปี 2560

29


ผลงานกลุ่มงานเภสัชกรรม

30 รายงานประจำ�ปี 2560


ผลงานกลุ่มงานเภสัชกรรม

รายงานประจำ�ปี 2560

31


32 รายงานประจำ�ปี 2560


รายงานประจำ�ปี 2560

33


34 รายงานประจำ�ปี 2560


รายงานประจำ�ปี 2560

35


36 รายงานประจำ�ปี 2560


รายงานประจำ�ปี 2560

37


ผลงานกลุ่มงานทันตกรรม

38 รายงานประจำ�ปี 2560


ข้อมูลผู้รับบริการทันตกรรม ประจำ�ปีงบประมาณ 2558 - 2560 30000

2,645

25000 3,600

3,912

20000

15000 24,578 10000

21,050

20,819

ป2558

ป2559

5000

0

ขอมูลผูรับบริการทันตกรรมทั้งหมด

ป2560

ขอมูลผูรับบริการทันตกรรมเฉพาะทาง

ผลการดำ�เนินการ ตัวชี้วัดตาม Service Plan ตัวชี้วัด เพิ่มการเข้าถึงบริการของประชาชนทุกกลุ่มวัย (คน) ร้อยละของรพ.สต.ที่จัดบริการสุขภาพช่องปากที่มีคุณภาพ ร้อยละของเด็กอายุ 12 ปีฟันดีไม่มีผุ ( Cavity Free )

เป้าหมาย

ผลงานปี 2560

ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

27.76 61.11 79.39

รายงานประจำ�ปี 2560

39


ผลงานที่ภาคภูมิใจ

ให้บริการผ่าตัดผู้ป่วยปากแหว่ง-เพดานโหว่ จำ�นวน 16 ราย

ผู้ป่วยผ่าตัดกระดูกขากรรไกรร่วมกับการจัดฟัน จำ�นวน 3 ราย

40 รายงานประจำ�ปี 2560


ผลงานศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

รายงานประจำ�ปี 2560

41


ผลงานที่ภาคภูมิใจ การพัฒนาระบบรายงานข้อมูลการส่งต่อผูป้ ว่ ยทางอินเทอร์เน็ต แนวคิด (ที่มา/หลักการและเหตุผล) โรงพยาบาลน่านเป็นโรงพยาบาลทัว่ ไปขนาด 502 เตียง ที่ รับส่งต่อผูป้ ว่ ยจากโรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุข ภาพต�ำบลทั้งในจังหวัดและพื้นที่ใกล้เคียง จากสถิติการรับส่ง ต่อจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลและโรงพยาบาลต่างๆ ปี 2558 – 2560 พบว่าได้มีการรับผู้ป่วยตรวจรักษาต่อ จ�ำนวน 18,444, 19,215, 12,788 (ข้อมูล ณ 15 ส.ค. 2560) รายตาม ล�ำดับ ในอดีตพบว่าระบบข้อมูลตอบกลับ ผู้ป่วยที่ได้รับการส่งต่อ เหล่านีม้ คี วามล่าช้า ยุง่ ยากเนือ่ งจากข้อมูลการรับและส่งต่อผูป้ ว่ ย ไม่สมบูรณ์ เขียนด้วยลายมือที่ไม่ชัดเจน ครบถ้วน อีกทั้งแพทย์ พยาบาล แผนกผู้ป่วยนอก หอผู้ป่วย และ ห้องฉุกเฉินมีภาระงาน มากไม่มีเวลาตอบกลับข้อมูลการรักษาอย่างทันต่อเหตุการณ์ ให้ บริการตรวจรักษาแก่ผู้ป่วยทั้งในเขตรับผิดชอบและรับส่งต่อจาก โรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลทั้งใน จังหวัดและพื้นที่ใกล้เคียง จากข้อมูลปัญหาดังกล่าว ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ โรงพยาบาลน่าน จึงมีแนวคิดน�ำเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ พัฒนาระบบตอบกลับข้อมูลผู้ป่วยที่รับส่งต่อมารักษาจากโรง พยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลเพื่อเพิ่ม ช่องทางการสื่อสารส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต เพื่อความรวดเร็ว ถูกต้อง โดยการเชื่อมโยง ข้อมูลผู้ป่วย ทั้งในส่วนของชื่อที่อยู่ ผู้ป่วย เลข ID (13หลัก) รายการยา หัตถการ ผล LAB ผล เอ๊กเรย์ การวินิจฉัยโรค ICD10 ข้อมูลการนัด และ แพทย์ ผู ้ รั ก ษา ลงในแบบฟอร์ ม รายงานการตอบกลั บ ผู ้ ป ่ ว ย โดย โรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลสามารถ ตรวจสอบข้อมูลการตอบกลับผู้ป่วยได้ทางอินเทอร์เน็ตได้อย่าง สะดวก รวดเร็ว ถูกต้องมากขึ้น กลวิธีด�ำเนินการ 1. ศึกษาปัญหา อุปสรรค ความต้องการ ขั้นตอนการรับ ส่งต่อ ผู้ป่วย และการตอบกลับข้อมูล 2. ประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันออกแบบวิเคราะห์ระบบรายงาน ข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วยทางอินเทอร์เน็ต 3. พัฒนาโปรแกรมเพือ่ รองรับระบบรายงานข้อมูลการส่งต่อผูป้ ว่ ย ทางอินเทอร์เน็ต

42 รายงานประจำ�ปี 2560

4. ทดสอบและอบรมการใช้งานโปรแกรม ให้แก่ผู้ใช้งานทุก ระดับในเขตจังหวัดน่าน 5. ประเมินผลเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ผลการด�ำเนินการ ผลการใช้งานระบบรายงานข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วย ทางอินเทอร์เน็ต โรงพยาบาลน่าน พบว่าผู้ป่วยที่ได้รับการ ส่งตัวเข้ารับการรักษายังโรงพยาบาลน่านได้มีการตอบกลับ รายงานข้อมูลการส่งต่อผู้ป่วยทางอินเทอร์เน็ตร้อยละ 100 ท�ำให้โรงพยาบาลและสถานีอนามัยทุกแห่งในจังหวัดน่านมี ข้อมูลรายงานผลการรักษาตอบกลับทางอินเทอร์เน็ตอย่าง มีประสิทธิภาพ เพื่อประโยชน์ร่วมกันในการดูแลผู้ป่วยอย่าง ต่อเนื่อง


การน�ำระบบ Thai Refer มาใช้ในการด�ำเนินงานช่วยให้ระบบการส่งต่อผู้ป่วยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และ สอดคล้องกับนโยบายกระทรวงสาธารณสุข และสามารถรายงานข้อมูลตามตัวชี้วัดได้ นอกจากนี้ทีมพัฒนาโปรแกรมระบบHIS ยังได้พัฒนาระบบให้หอผู้ป่วยในสามารถลงบันทึก Dx name, ICD10 ได้จากหอผู้ป่วยทันทีที่ถูกจ�ำหน่ายออกจาก โรงพยาบาล ท�ำให้สามารถส่งต่อข้อมูลไปยังระบบ Refer ได้ทันทีเมื่อเทียบกับในอดีตที่ต้องรอการสรุปการรักษาผู้ป่วยในโดยแพทย์ก่อน ซึ่งใช้เวลานานและจะมีเพียง ICD10เท่านั้น ปัจจุบันมีการเก็บบันทึก Dx name ของผู้ป่วยร่วมด้วยจึงท�ำให้สามารถสื่อสาร ส่งต่อข้อมูลเข้ากับระบบ Thai refer ได้อย่างชัดเจนและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น การพัฒนาในอนาคต 1. พัฒนาระบบรายงานข้อมูล Thai refer ให้สอดคล้องตรงกับความต้องการและสามารถน�ำข้อมูลทีม่ อี ยูม่ าใช้ได้ประโยชน์อย่าง มีประสิทธิภาพ 2. พัฒนาโปรแกรมการส่งต่อข้อมูลผูป้ ว่ ยอย่างต่อเนือ่ งจากโรงพยาบาลสูบ่ า้ นและชุมชนครอบคลุมกลุม่ ผูป้ ว่ ยทีต่ อ้ งการการดูแล อย่างต่อเนื่อง เช่น กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้ป่วยหลังจากออกจากโรงพยาบาลเพื่อการติดตามเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยระยะสุดท้ายให้ สามารถเชื่อมโยงระบบข้อมูลกันได้ทั่วทั้งจังหวัด 3. พัฒนาระบบrefer in, refer out ,refer back ให้สามารถส่งต่อข้อมูลเข้าไปยังระบบ cloud ของ Thai refer เพื่อความ สะดวกรวดเร็วและลดความซ�้ำซ้อนของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน

รายงานประจำ�ปี 2560

43


ผลงานกลุ่มการพยาบาล

44 รายงานประจำ�ปี 2560


รายงานประจำ�ปี 2560

45


46 รายงานประจำ�ปี 2560


รายงานประจำ�ปี 2560

47


ผลงานศูนย์บริการลูกค้าสัมพันธ์

48 รายงานประจำ�ปี 2560


ศูนยบริการลูกคาสัมพันธและประชาสัมพันธ โรงพยาบาลนาน ในปจจุบันโรงพยาบาลนานมีการพัฒนาระบบการใหบริการและปรับปรุงสถานที่การใหบริการ ที่สะดวกทันสมัยใหสอดคลองกับผูม ารับบริการในปริมากเพิม่ ขึ้นทุกวันเพื่อใหการบริการที่ครบถวนตรงความ ตองการของผูม ารับบริการ ลดการยอนกลับื และผูม ารับบริการไดรับการดูแลอยางครบทุกกระบวนการ ทันเวลา สรางความพึงพอใจ ลดขอรองเรียน

แนวทางการแนวพัฒนาการปฏิบัติงาน ศูนยบริการลูกคาสัมพันธและประชาสัมพันธโรงพยาบาลนานจากเดิมใหบริการอํานวยความสะดวก ใหผูมารับบริการในเชิงรับ ไดพัฒนาในการบริการเชิงลุกโดยใหเจาหนาที่ประชาสัมพันธ ใหบริการชวยเหลืออํานวยความสะดวกในแตละจุดบริการแตละ จุดบริการ เพื่อลดการยอนกลับและผูมารับบริการไดรับการดูแลครบถวนทุกกระบวนการทันเวลา สรางความพึงพอใจ ลดขอรองเรียน

ผลการพัฒนาการปฏิบัติงานเชิงลุก

- สามารถลดอัตราการยอนกลับไป-มาระหวางจุดบริการ - ผูมารับบริการไดรับบริการทันเวลาครบกระบวนการ ตามความเรงดวน - ผูมารับบริการเกิดความพึงพอใจ - ลดความแออัดของผูรบั บริการในระหวางรอคอยแตละจุดบริการ

รายงานประจำ�ปี 2560

49


ตารางแสดงข้อมูลการรับบริจาคครุภัณฑ์การแพทย์ โรงพยาบาลน่าน ปีงบประมาณ 2558-2560

สรุป : ในปีงบประมาณ 2558 – 2560 ทางโรงพยาบาลน่าน ได้รับบริจาค ครุภัณฑ์การแพทย์ จานวน 48 รายการ คิดเป็นเงิน 5,150,600 บาท (ห้าล้านหนึ่งแสนห้าหมื่นหกร้อยบาทถ้วน)

ศูนย์บริการลูกค้าสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลน่าน 50 รายงานประจำ�ปี 2560


ศูนยรับขอรองเรียนโรงพยาบาลนาน การจัดตั้งศูนยรับขอรองเรียน สืบเนื่องมาจากปญหาความขัดแยง จากการใหบริการสาธารณสุขในปจจุบันมีการรองเรียน ฟองรอง หนวยงานกับบุคลากรทางการแพทยและเจาหนาที่ในโรงยาบาลนานเพิ่มขึ้น ประกอบกับภาระงานของบุคลากร ทางการแพทย และเจาหนาที่ในโรงพยาบาลนานที่ตองรับผิดชอบมากขึ้น ฉะนั้นจึงมีการแตงตั้งศูนยรับขอรองเรียนและคณะกรรมการ รับขอรองเรียน เพื่อใหคําปรึกษาและแกปญหาความตองการ และขอเสนอแนะของผูมารับบริการ เพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตองานบริการ ใหมีประสิทธิภาพและ เกิดความคุมคาในการใหบริการมีการปรับปรุงภารกิจใหทันตอเหตุการณ ทันเวลาตอผูรับบริการใหไดรับการ ความอํานวยความสะดวกและไดรับบริการตามแผนการรักษาและสามารถประเมินผลการพัฒนาระบบบริการใหสอดคลองกับระบบ การบริหารจัดการขอรองเรียนไดอยางตอเนื่อง

วัตถุประสงค

1. เพื่อจัดระบบบริหารจัดการ ขอรองเรียนของศูนยรับขอรองเรียนใหมีขั้นตอน กระบวนการและแนวทางในการปฏิบัติใหชัดเจน 2.เพื่อใหเจาหนาที่สามารถนําระบบการบริหาร จัดการขอรองเรียนไปปฏิบัติจริงไดอยางตอเนื่องและ เปนรูปธรรม

วิธีการดําเนินงาน 1.จัดระบบสํารวจปญหาเชิงรับและเชิงรุก 2.การบันทึกขอรองเรียนตามระบบ 3.การประสานหนวยงานเพื่อแกไขขอรองเรียนและ การแจงกลับผูรองเรียน 4.ติดตามการแกไขขอรองเรียน 5.การรายงานผลการจัดการขอรองเรียนของหนวยงาน

ผลการดําเนินงาน ศูนยรับขอรองเรียนสามารถดําเนินการตามระบบการบริหารจัดการขอรองเรียน ไดอยางรวดเร็วเพื่อตอบสนองความตองการ ขอเสนอแนะและความคาดหวังของผูรับบริการโดยการ มีสวนรวมของหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งในระยะการแกไขปญหาเฉพาะหนาและระยะการพัฒนา ระบบบริการเพื่อแกปญหาเชิงระบบ

สรุปและขอเสนอแนะ

เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงผูปฏิบัติงานบอยและดวยปริมาณงานที่เพิ่มมากขึ้นทําให เกิดความเครียดในการปฏิบัติงานเห็นควรเสนอใหมีการจัดการอบรมหลักสูตรพฤติกรรมบริการเปนเลิศ (Excellent Service Behavior : ESB) เพื่อใหความรูแกเจาหนาที่ใหม และทบทวนและปรับพฤติกรรมใหแกเจาหนาที่เดิมและใหมีการกํากับดูแล เจาหนาที่ของแตละหนวยงานปฏิบัติตามแนวทางอยางเครงครัด รายงานประจำ�ปี 2560

51


ส่วนที่ 4 ผลงานด้านงานวิจัย รายงานประจำ�ปี 2560

52 รายงานประจำ�ปี 2560


งพย โรง

พยา

าบา

บาล

ลน่

าน

Nan

Hos

pit

al น N โรง โ รการพั พยา หน ว ยจ า ยกลางโรงพยาบาลน าน ง พ ย ฒ นาระบบบริaกn าร Hos บ า บ า ณัฐธภา ศิริรัตนพิริยะ (พย.ม.) า p i tายกลาง โรงพยาบาลนาน ลน่ งานจ ลน่ al าน าน Nan Nan โรง Hos โ พ รงพ Hos ยาบ ความสํ า คั ญ :ที ม นํา ด า นการประหยั ด พลั ง งาน ได ท บทวนแนวทางการ pit ย เครื อ ่ งมิ เ ตอร ว ด ั การใช ไ ฟฟ า p าลน า นบกิาโลวัตตเฉลี่ยใน 15 นาทีที่สูงสุดใน i t a al หลีกเลี่ยง ความตองการพลังไฟฟาเป ่าน นงจ่ าายในแตละเดือน พบวาการ l ชวงเวลา On peak ซึ่งสงผลตอคาไฟฟาทีล่ตอ โ Nan โ ใช พลังงานไอน้ําโ Boidler ก็เปนอีกแนวทางหนึ่งที่ชนวยได หนวยจายกลางได ร N ง a างานบางสวน Hos ร ง าพงาน ก็พบวาสามารถปรับกระบวนการทํ พยา วิเคราะหกระบวนการทํ H oดsอบแหง ย บ ําจาก 7.30 น เปน 05.30 นnและเป pit บ า ได ดังนี้คือ ปรับเวลาการใชไาอน้ ลน่ al pit า ล าน สายยางซึ่งใชเวลา 8 ชั่วโมง มาอบแห น ง่ าในชวงเวลาเดียวกันไดอีก 3 ชั่วโมงa l โรง น (คNาไฟฟาตอยูนิต 4.2 บาท) มา Nan ทําใหการใชเครื่องใชไฟฟาในชวง On peak พ a โ ร n Hและสามารถปฏิบัติได Hos ใชในชวง Off โ peak (คาไฟฟาตอยูนิต 2.6 บาท) ง พ ร ยาบ o s p้อ ในช วงเวลา pit เนื่ อ งจากมี อุ ป กรณง เพ ครื่ อ งมื อ ผ า ตั ด ที่ ต อ งทํ า ให ป ราศจากเชื ย a าลน i t ปaราศจาก ดังกลาวไดแกเครื่องมือผาาตับดาที่ใชในเวร บาย เวรดึก ที่ตองทําให l ครุภัณฑที่ใชไฟฟ ่ า นาในหนวยจายกลาง l ล น น-9.00น โรง เชื้ อ แล ว นํ า กลั บ ไปใช ใ นช ว ง 8.30 ที ่ ไ ด ม าตรฐานต อ งรอผลการ ่ า น ้อ ซึ่งใชเวลาอุนเชื้อ 1 ชั่วโมง โ ร Nan พยา ตรวจสอบประสิทธิภาพการทําใหปราศจากเชื ง N โรง พ่องนึ a บ H ย n o เครื อ ่ งอบแห ง สาย(2) เครื ง ่ ไอน้ า ํ (3 ) า พยา spi บาล Hos tal บ่อาลดการใช วัตถุประสงค:เพื าชวง On peak และทํpาให น่า i t ปaราศจาก ล น ่ ไเพีฟฟยงพอ น N เชื้อเครื่องมือผาตัดไดมาตรฐาน พรอมใช l าน โรง an Nan พยา โรง H o บาล s โรง พ H p ย o i าบา รู ป แบบศึพกยษา สถานที่ และผู ป ว ย: เปsนpการศึ ก ษาวิ เ คราะห เ ชิ ง tal i า ลน่ พรรณนา ที่ ห น วบ ยจาา ยกลาง โรงพยาบาลน า โดยเก็tบaข อ มู ล ไปข า งหน า ล น ่ ระหวางพฤศจิกายน 2560ถึงl มกราคม2561 าน โรง (prospective data collection) าน Nan พยา โรง N บาล โรง พยา a H n o ตารางการคํานวนค า พยา s pาไฟฟ น่า บาล Hos ขั้นตอน: ital น บาล น p ่ i า นาไฟฟาชวง off peak และชวง on peak t a อl น ตุลาคม 2560 มี 1. ประชุมเจาหน ราคาค น า่ าที่ศูนยจายกลางนําเสนอแนวคิด ในเดื N a n ใช โรง น N ครใจขึ้นปฏิบัติงานในชวงดังกลาว เจาหนาที่ ที่สะดวกและสมั โ รบขง อมูล เดือน พย60 จํานวน ไฟฟ า รวม คาไฟฟา สวพ นตยาง H 2. จัดทําแบบบันทึกขอมูลaการใช เครื่องนึ่งและเครื่องอบแหงและเก็ n o าบา spi โ ร ง วันที่ 1 พฤศจิกายน 2560 เปนHตนoมา พยา (unit / ลน่ spi t พยา บ รายการใช า ล น ไฟฟา (รอบ) รอบ) unit a l off peak on peak าน 3. วัดบ อัตราการใชไฟฟาดวยมิเตอร tal า N ลน่ า นํา 136 4 โ เครื่องนึ่ง่ ไอน้ 544 1414.4 2284.8 870.4 4. บันทึกรายการเครื ่องมื อหองผาตัด ที่ตองใชดวนกอนผลสปอรเทสยังไม รงพ า N น โ ออก a26n 6.4 166.4 ย า บ266.24 รงพ เครื่องอบแหง 432.64 698.88 Nan Hos าล ย ผล: า บาล Hos 0 1847 2983.7 1136.6 น ่ p i 710.4 าน t น่า a pit l Nan ใชไฟฟาชวง Off peak น าไฟฟ ราคาค al N aาชnวง off peak และชวง on peak ผูปฏิบต ั ม ิ ีความสุข โรง H เดือน ธค 60 จํานวน ใชไฟฟา รวม คาไฟฟา พ ย สวนตาง ผูรับบริการพึงพอใจ โรง H os าบ พยา เครื่องมือผาตัด/ชุดผา OR,LR เพียงพอ i t a/รอบ) unit off peak on peak า ล น บ า ล รายการใชไฟฟา (รอบ) p (unit ขยายบริการ Logistic สงเวชภัณฑมิใชยา พัสดุ ่าน l น ่ าเครื่องนึ่งไอน้ํา 144 4 โ 576 1497.6 2419.2 921.6 Nan เสมียนหอผูป  วยมีเวลาดูแลผูปวยมากขึน ้ น N รงพ H a ย เครื่องอบแห ง 28 6.4 179.2 465.92 752.64 286.72 n H าบา กราฟคาไฟฟา osp ล น ่ า 1208.3 755.2 0 1963.5 3171.8 ital น N an ราคาคาไฟฟาชวง off peak และชวง on peak โรง Hos พ pit ยคาาไฟฟ เดือน มค 61 จํานวน ใชไฟฟา รวม า สวนตาง บาล รายการใชไฟฟา (รอบ) (unit /รอบ) unit off peak onนpeak ่าน เครื่องนึ่งไอน้ํา 145 4 580 1508 2436 N 928 an Hos เครื่องอบแหง 34 6.4 217.6 565.76 913.92 348.16 pit a 797.6 0 2073.8 3349.9 1276.2 น่า

บาท

3500

3000

2500

2000

1500

1000

500

0

off peak on peak สวนตาง

พย 60 ธค60 มค61

off peak 1847.04 1963.52 2073.76

ขอยุตแ ิ ละการนําไปใช: คําสําคัญ:

on peak 2983.68 3171.84 3349.92

สวนตาง 1136.64 1208.32 1276.16

ควรนําไปปรับปรุงกระบวนการทํางานหนวยงานอืน ่ ในโรงพยาบาลที่สามารถเลี่ยงเวลา on peak ได

การพัฒนาระบบ, On peak , Off peak, หนวยจายกลาง

รายงานประจำ�ปี 2560

53


ยาบ โรง

พยา

บาล

าลน

่าน

spi Nan

Hos

pit

tal

โรง

พยา

บาล

น่า น N น N an โ a ร งพย n H Hos โรง osp าบา pit พยา a l าน ล บ า ล โครงการเพิ่มประสิทธิi ภt aาพการคั ด กรองวั ณ โรคแผนกผู ป  ว  ยนอก โรงพยาบาลน น ่าน l น่า โ น N พิโ มรผกา ศรีใจอินทร, สุกัญญา เล็กศิริวิไลN,ศิaริพnร อุปจักร พยาบาลควบคุมการติดเชื้อร( งICN พ ย) า ง โรง a H พ n บาล o ย พยา า บ านจิ ฉัยผูปวยวัณโรคระยะแพรเชื้อลาชา เปs นpสาเหตุ น่า i สรุปผลงานโดยยอ H: วัoณโรคเป ทาํ ใหเกิดการแพรกระจาย s p i นปญหาที่สาํ คัญทางสาธารณสุข การวิ t บาล ล a น N ่ า น ขภาพไมไดระมัดระวังปองกันการติดเชืl ้อขณะใหการพยาบาลจะ น ่ า เชื้อวัณโรคในโรงพยาบาลไปสูผูปวtยอืa ่นl และบุคลากรในโรงพยาบาลได หากบุนคลากรสุ โรง น N Nan พ ณภาพ สามารถติ าน โดยใชเครื่องมือพัฒนาคุ a n ดเชื้อวัณโรคจากผูปวยได ทีมจึงไดพฒั นาระบบการดู โ ร ง แลผูปวยวัณโรคในแผนกผูปวยนอกHโรงพยาบาลน o s p 4.3 เปน 3.8 ชั่วโมง ลดลงอยางมีย า บ า ล โรง พยา H o P-D-C-A ร ว มกั บ research utilization ส ง ผลให ร ะยะเวลารอคอยแผนกผู ป  ว  ยนอก ป 2559 ลดลงจาก sp พยา ital น่า บ ล น N บาล นัยสําคัญทางสถิติ i tpa<l 0.0001 และไมมีอุบัติการณบุคลากรติาดเชื ้อนวัณ่ โรค ป 2559 าน an โ น่า ร งพย Nan น N โรง พ ย าเชื้อไดลา ชา เปนสาเหตุทาํ ใหเกิดการแพรHกระจายเชื ปญaหาและสาเหตุ n H : การวินิจฉัยผูปวยวัณโรคระยะแพร o s p ้อ วัณโรคในโรงพยาบาลไปสูผาูปวบยอืา่นลและน พยา บ า o i ล น ง่ หนวยตางๆในโรงพยาบาล จากขอมูลระยะเวลารอคอยที s p i เนื่องจากผูปวยจะถูกสงผานไปตรวจยั บุคลากรในโรงพยาบาลได ปวยนอกตั้งแตเขา ่ า น บาล า่วนโมงตามลําดับ หากบุคลากรสุขภาพไมt ไaดรlะมัดระวังปอ่แงกัผนกผู tับยากลั Nan น่า a l มารั บ บริ ก ารจนถึ ง ได ร บ บ า นในป 2557-2558 = 8.9, 4.3 ชั น การติ ดเชือ้ ขณะให Nan โรง น N Hos พปยว ยนอกติ a n การพยาบาลจะสามารถติดเชื้อวัณโรคจากผู โ ร ง ปวยได จากรายงานเฝาระวังการติดเชื้อของโรงพยาบาลน านพบวามีบุคลากรแผนกผู ดเชื้อวัณ Hos า บ พ Hโรคo ในป า ลวนแยก ย า ดับงนั้นการดูแลผูปวยวัณโรคที่มีประสิทธิpภาพจํ i t aาเปl นตองมีระบบการคัดกรองที่ดีและรวดเร็ จํานวน 2 ราย คิดเปนรอยละ 0.16 s p 2557 ยาบ ่าน า i t ล a ผูปวยเร็ว วินิจฉัlยถูกตอง รักษาเร็ว และไดรับยาตอเนื่อง น ่ า าลน Nan โ น รงพ ่าน N Hos โ ร พ แลผูปวยวัณโรคโดยการเพิ่มการคัดaกรองวั n Hณโรคในผูปวยนอก ในโรงพยาบาลนาน ย า บ า Nan เปาหมาย : เพื่อเพิ่มประสิทธิงภาพการดู pi ย o s p มารับบริการที่แผนกผูป วยนอก ลน่ เพื่อใหสามารถแยกผูปวยไดาเร็บว าและไดรับการรักษาเร็ว และลดระยะเวลารอคอยผู Hos า i ล น t น่า al pit Nan ลน่ น N al าน โ Hos a ร ง n Nan กิจกรรมการพัฒนา Phase พ ยชาาชีพ โดยใชมาตรการดังนี้ โ ร ง 1 : พัฒนาแนวทางระบบการดูแลผูปวยวัHณoโรคในโรงพยาบาลนานรวมกับทีมสหสาขาวิ pit บาล spi พ ย า control ) al Hos 1. การบริหารจัดการ ( Administrative t น่า บ า ล แลวัณโรค (2) อบรมใหความรูเกี่ยวกัa บl วัณโรคแกบุคลากร p i t (1) จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบการดู น N al น่า นัยเรื่อNง การคัดกรองวัณโรคในผูปวยนอกและผูโ รปวงยใน น่า (3) พั ฒ นาระบบการคั ด กรองโดย ทํ า การศึ ก ษาวิ จ โรงพยาบาลน า น เป น การศึ ก ษาเชิ ง an H พยา น N โรง a osp n บ พ วินิจฉัย ที่รวบรวมขอมูยลไปขางหนา (prospective data collection) ปวยใน (IPD) ยกเวนผูปวย an H oศึsกษาที่แผนกผูปวยนอก (OPD) และแผนกผู า ital ล า บ า ล 2558 ถึงพฤษภาคม 2558 จํานวนผูปpวยทัi t้งหมด 856 ราย ผลการวิจัยพบวาแบบคันด่กรองวั Hos า น ณโรคสามารถ น่า a p i t เด็ก โรงพยาบาลนาน ตั้งแตมกราคม l N a n77.8 % a lจําแนก ตรวจจับวัณโรคอยูในระดับสูง เพียนงพอจะใช คา Sensitivity 87.5% Specificity N a nการใชคัดกรองไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยมี โ ร ง พ ยวัณโรค ดวยโปสเตอรเตือนสุขวิทยาH o s p (4) มุงเนโนการป นหายใจ เชน ไขหวัดใหญ Hos ร ง พองกันการแพรกระจายเชื้อในอากาศ จากโรคระบบทางเดิ ital บ า ล mask ฟรี และ alcohol p i าtนหนาคลินิกทุกแหง พรอมทั้งบริการา surgical ไอ จาม ใหปด maskย และล า บ าางมือ ติดบริเวณที่มีผูมารับบริการและด น a โรง ่าน l นหายใจที่แผนกผูปวยนอก hand rub พรอมใช (5) จัดลหาสถานที น ่ า ่รอตรวจ หองตรวจแยกโรคระบบทางเดิ พย Nan โรง น N พ a nปวยนอก เปนรูปแบบ fast track เนนการคั ย าดบกรองอาการสําคัญ ทีไ่ ดรับจากผลงานวิHจัยoแบบคั Phase 2 : จัดระบบการดูแลผูปวยวัณโรค ที่แผนกผู ด Hos ายาบาลคั ล น ่ ดกรองแจกทิชชู และ mask สงsผูปpวiยt a l กรอง คือ อาการไอเรื้อรัง ไอเปนเลือด และอยูรวมบานกับผูปpวยวั ณ โรค กรณี ท ม ่ ี ค ี ะแนน 2/3 ให พ าน it โรง ไปตรวจที่คลินิกวัณโรค กรณีมาตรวจดวยอาการสงสัยโรคระบบทางเดิaนlหายใจอื่นๆ ใหปอ งกันการแพรกระจายเชื้อดNวยการสวม a n mask และ แยก พยา Hos ตรวจที่หอ งตรวจ 106 ดังแนวทางการคัดกรองวัณโรคแผนกผูปวยนอก รพ.นาน โ ร ง พ p ย า บ า นหายใจที่แผนกผูปวยนอก i t a l 2.การควบคุมสิ่งแวดลอม ( Environment control) : ปรับปรุงคลินิกวัณโรค หองตรวจโรคระบบทางเดิ ล โรง 3.การควบคุมปองกันระดับบุคคล ( Personal protective control): จัดหาอุปกรณปองกันรางกายสวนนบุ่ าคคลให น Nเพียงพอและพรอมใช เชน พยา an surgical mask สําหรับผูปว ยและญาติ, N 95 mask สําหรับบุคลากร บาล Hos pit al แนวทางการคัดกรองวัณโรคแผนกผูปวยนอก รพ.นา Phase 3 : ประเมินประสิทธิภาพการคัดกรอง โดยการดั กโ ....................................................น รงพ จับรายทีห่ ลุดการคัดกรองพบวาป 2557 พบจํานวน 8 ยาบ าลน ราย, ป 2558 จํานวน 3 ราย คิดเปนรอยละ 11.43 และ น่า

al

ผลการดําเนินงาน

การติดตอกับทีมงาน : นางพิมผกา ศรีใจอินทร โรงพยาบาลนาน โทร. 088 – 1417486 Email address : psrijai_in@yahoo.com

54 รายงานประจำ�ปี 2560

4.69 ของจํานวนผูปวยที่คัดกรองทั้งหมดตามลําดับ จึง นํามาพัฒนาเชิงระบบโดยการเพิ่มชองทางการสื่อสาร, มอบหมายใหมีพยาบาลวิชาชีพประจําจุดกรองจํานวน 2 คน และมีการคัดกรองซ้ําในกรณีที่พบอาการเขาไดกับวัณ โรค คือ อาการไอเรื้อรัง ไอเปนเลือด น้าํ หนักลด และ อยูรวมบานกับผูปวยวัณโรค ถาพบสงเขาระบบ fast track สงผลใหป 2559 ไมพบผูปวยที่หลุดการคัดกรอง

บทเรียนที่ไดรับ  การพัฒนางานจากการปฏิบัติที่ปฏิบตั ิสืบตอกันมายาวนานและมีการปฏิบัติที่หลากหลาย ไมเปนไปแนวทางเดียวกัน รวมถึงบุคลากร มีความหลากหลายในวิชาชีพ เขาใจไมตรงกัน ทําใหมีความยุงยากซับซอนในการปฏิบัติงาน ซึ่งตองใชความพยายาม เสียสละ ความมุงมั่น ตั้งใจ และใชเวลาในการพัฒนางานอยางตอเนื่อง  การนําผลงานวิจัยสูการปฏิบัตจิ ะทําใหลดขัน้ ตอน ลดระยะเวลาการใหบริการ และการ ปฏิบัติถูกตอง ไดมาตรฐานและมีความนาเชื่อถือ  การดูแลผูปว ยแบบองครวม และบูรณาการรวมกับสหสาขาวิชาชีพจะทําใหเกิด ความสําเร็จในการดูแลผูป วยที่ตอเนื่องและยั่งยืน


System alert to active screening for CRE and VRE in Nan Hospital

นางสุกัญญา เล็กศิริวิไล , นางพิมผกา ศรีใจอินทร , นางศิริพร อุปจักร โรงพยาบาลนาน จังหวัดนาน pit a lบทนํา : รพ.นาน เริ่มพบการระบาดของเชื้อดื้อยาชนิดควบคุมพิเศษ คือ กลุม Carbapenem Resistance Enterbacteriaceae โ ร ง (CRE) เพิ่มมากขึ้น จาก 2 เปน 11 ครั้งในป 2557 – 2560 โดยพบการติดเชื้อในผูปวยโรคเรื้อรังจากโรงพยาบาลศูนย/ พยา บ Hos โรงพยาบาลมหาวิทยาลัา ยล นผูป่ าวยchronic wound กลุมที่คาหัตถการกลับบานและกลุมทีม่ ีประวัติรับยาปฏิชีวนะ กลุม Carbapenem pit a l ภายใน 3 เดือน การติดเชื้อดื้อนยาชนิ N aดnนีจ้ ะเกิดการปนเปอนในสิ่งแวดลอมไดนาน แพรกระจายไปสูผูปวยรายอื่นไดงายผานการสัมผัส โรง H oearly สงผลใหพเกิดยอัาตบราตายที่สูงถึงรอยละ 70 ระบบ s p i detection ผูปวยกลุมเสี่ยงเพือ่ ทํามาตรการ Isolation Precaution อยางเขมแข็ง tal า spi ล น จึงเปนมาตรการปฏิบัติท่ าี่สํานคัญ ta โ

an

Hos

l

รงพ Nan H เพื่อสรางระบบ Early detection ผูปวยกลุยมเสีา ่ยบงตา อลการติดเชื้อดื้อยาชนิดควบคุมพิเศษ ใหสามารถคัดกรอง o s วัตถุบปาระสงค น่า pit ล น ่ : ผูปวยและทํามาตรการ น Nม a Isolation Precautions ไดอยางครอบคลุ l าน ital an โ รงพ Nan Hos ย โรง าบา pit พ ย วิา ธีดําเนินงาน : ดําHเนิoนsการ ดั ง นี ้ al ลน่ pit บาล าน a โรง l น่า Nan พยา โ บรทีงมสหสาขาวิชาชีพ นเคราะห 1.) การวิ ส ถานการณ ก ารติ ด เชื อ ้ ร ว มกั บาล Hos Nan พยา โรง น่า p บ พยา 2.) สรุปผูปวยกลุมเสีH่ยงสํ า คั ญ ต อ การติ ด เชื อ ้ ดื ้ อ ยาชนิ ด ควบคุ ม พิ เ ศษ i า t osp ลน่ น al บาล า i t a l างและศึกษานวัตกรรมเชิงระบบน(System innovation) โ น ่ า 3.) ทบทวนการดูแลผูปวยในภาพกว ร N งพย a น N าบา 4.) พัฒaนานวั ตกรรมเชิงระบบใหครอบคลุโมรกระบวนการดู แลผูปวย ดังตอไปนีn้ H o s ง n พ ย ลน่ โรง p H า i o s p : flow การคัดกรองผูปวยเชือ้ ดืบ้อยา tal าน พยา - Pre – hospital โดยศู น ย refer า ล ital น่า บาล โ น N Pop up แจงเตือนสถานะร ง พ ย น ่ า - Intra hospital : มีระบบ lab โ ร งalert ผาน application line และระบบ a n น N าบา Hos ย า positive ผูปวaยกลุ มเสี่ยง , case contact และพCRE ลน่ n บ p าลน าน H i ยาบ t o a s p i : สงตอไปยัง รพ.สต./รพช. ผาน่ าline - Post hospital และแนวปฏิบตั ิสําหรับผูปวยที่บlานในบัตรผูปวย าลน น t โรง al Na ่าน พยา โ รนงผลและปรับปรุงอยางตอเนื่อง n H o N a n 5.) ทดลองใช 6.) ติดตามประเมิ บาล s พ p ยาบ Hos ital น่า าลน น pit าบา aนl งาน : พบวา สามารถปฏิบ่ ัตาไิ นดจริงทุกกระบวนการ และมีการพัฒโ รนาต อยอด โดยในป 2560 เพิ่มประเด็น ผลการดํ า เนิ ง ลน่ พยา โ ร ง การคัดกรองในกลุมเสี่ยงที่ NERa n ในกลุมผูปวยทีก่ ลับจาก รพศ./มหาวิ าน บทายาลั พยา Hos Nan ล นย ่ที่มาเองไมผานระบบ บ าน p บi tไดทุกราย าลน referH สoงผลให ผูปวยกลุมเสี่ยงที่สงตัวกลั a s p i ในป 2560 สามารถ early detection l ่ า น น่า (100%) สําหรัtบaผูปl วยใน (IPD case) สามารถประเมินNภาวะเสี a n ่ยงได และจัดแยกอยูในหอง โ ร ง พ ย น N โ H oไดs ครบถวนเพิ่มขึน้ จาก าบา an (Single room) รวมกัร บงใชพมยาตรการ Isolation precaution pit ลน่ H o แยก า บ a าน l ล น2560 รsอpยละ i t a65l ในป 2559 เปนรอยละ 82 าในป โรง ่าน พยา Nan โรง ่าน บาล พ H o CRE Nan System to active screening for and VRE ย า alert น่า s สรุ ป : บ า ล น เปนนวัตกรรมเชิงระบบ ชวยใหpมiีกtารa Early น Hos in Nan Hospital l ่ าน pit โรง al Nan พยา detection ผูโปรว งยกลุมเสี่ยงตอการติดเชื้อดื้อยาชนิ ดHควบคุ ม พิ เ ศษ ให ส ามารถ osp บาล พยา น่า คัดกรองผูปวยและทํามาตรการ ม บ า ล Isolation Precautions ไดiอtยaางครอบคลุ l น น่า โรง น N พ ยาบ an าลน Hos บทเรียนที่ไดรับ : ่าน pit al นวัตกรรมเชิงระบบที่ผานการวิเคราะหสถานการณ/ปญหา ดวยการมีสวโ นร ร งวพมของผูปฏิบตั ิรวมกับการสื่อสารแนวปฏิบตั ิที่รวดเร็ว ทันเวลา ย า บ งกลาวอยางจริงจัง และยั่งยืน ผานการทบทวน (AAR) ทุกครั้ง เมื่อมีการติดเชื้อ จะสงผลใหเกิดการปฏิบัติตามมาตรการดั าลน ่าน โรง

พยา

รายงานประจำ�ปี 2560

55


ยาบ โรง

พยา

บาล

าลน

่าน

spi Nan

Hos

pit

tal

โรง

พยา

บาล

น่า น N น N an โ a ร งพย n H Hos โรง osp าบา pit พยา al ital ลน่ บาล าน น่า โรง Nan น N โรง พยา โรง a H พ n บาล o ย พยา spi าบา Hos น่า tal บาล ลน่ pit น N า น่า a l โ น N นางสุกัญญา เล็กศิรวิ นิไล N, นางพิ ม ผกา ศรี ใ จอิ น ทร , นางศิ ร พ ิ ร อุ ป จั ก ร ร an ง an โรง H o s โรงพยาบาลนาน จังหวัพ ดยนาานบ โรง พ H าลน ยาบ osp pit พยา al ่าน าลน ital บาล Nan ่ การติ ด เชื อ ้ ดื อ ้ ยาหลายขนานในโรงพยาบาล ถื อ เป น ป ญ หาสํ า คั ญ และมี แ นวโน ม เพิ ม ่ มากขึ น ้ ส ง ผลให อ ต ั ราป ว ย า น โ นบทนํ รงพ ่าน า : N โ a ยาบม n บHตั ติ ามแนวทางการปองกัน และควบคุ N a n และอัตราตายของผูป ว ยเพิร่มงมากขึ พ ย า้น บุคลากรตองมีความรู และปฏิ าลน osp พยา บ H า ่าน การแพรกระจายเชื้อoดื้อs ยาหลายขนานจึ ง จะสามารถป อ งกั น การแพร ก ระจายเชื อ ้ และลดการติ ด เชื อ ้ ดื อ ้ ยาในโรงพยาบาลได i ล t บาล น่า al pit Nan น N น่า a l โรง น N an Hos โ ร ง มแรงตอความรูและการปฏิบัติใHนการป เพื่อศึกษาผลของการเสริ องกันและควบคุมการติดเชื้อพดืย้อยาหลายขนาน o า วัตa ถุn ปHระสงค : บ s พ pit าลน ยาบ osp al ยาบ ่าน าลน ital าลน ่าน โ ร วงอยพ าง คือ บุคลากรทางการ N a n ่าน การวิ จ ย ั นี เ ้ ป น การวิ จ ย ั กึ ง ่ ทดลองแบบกลุ ม  เดี ย ว วั ด ผลก อ น-หลั ง กลุ ม  ตั N Hos โ an ยาบ รงพ Nวิaธnีดําเนินการวิจัย : พยาบาล pi H า ย จํ า นวน 90 คน ดํ า เนิ น การวิ จ ย ั ตั ง ้ แต เ ดื อ นพฤษภาคม ตุ ล าคม 2560 เครื อ ่ งมื อ ที ใ ่ ช ใ นการ osp ลน่ าบา Hos า i ล น t น ่ า ความรู การฝกทักษะปฏิบัติ ,การใช a l ระบบพี่เลี้ยงในการกํากับดูแล, การติNด a i t a l มแรงของฮัลล ไดแก การอบรมให ลน่ วิจยั จากแนวคิดpการเสริ น N าน aอnนกลับ และการสนับสนุนอุปกรณโเครื ร ง่อพงมือที่ใชในการรวบรวม n H o s N a n โปสเตอรเตือน, การใช Bundleโ for precaution, การให ข อ  มู ล ย pit Hos ยาบ al Hขอoมูsล ไดแก แบบสอบถามขอมูลรทั่วงไปพ ยแบบวั p า i ล า ด ความรู  แบบสั ง เกตการปฏิ บ ต ั ิ และแบบประเมิ น ความพึ ง พอใจ วิ เ คราะห ข อ  มู ล โดยใช t น่า บาล al pit น N a l Wilcoxon signed-rank test, T-น ่ test า น และไคสแควร สถิติเชิงพรรณนา โรง an น่า Nan พยา น N Hos โรง บ พ an pit Hคลากรมี า ย o ล ภายหลั ง การส ง เสริ ม การปฏิ บ ต ั ิ พบว า บุ ค วามรู เ  พิ ม ่ ขึ น ้ จากร อ ยละ 68.50 เป น ร อ ยละ 92.50 า spi น่า al บาล H oผลการศึ ก ษา : น spi t น ่ า บัติในการปองกันและควบคุมการติa ดl เชื้อดื้อยาหลายขนาน ในภาพรวมทุกNกิจaกรรม (p< 0.01) การปฏิ tal น N n H โรง an osp พ ถูกตองเพิ่มขึน้ จากรอโยละ บ มากที ส ่ ด ุ อั ต ราการ H o sบุคลากรมีความพึงพอใจโดยรวมอยู ย าในระดั ร ง พ63.50 เปนรอยละ 86.50 (p< 0.01) ital p i t 34.50 เปน 23.16 ครั้งตอการติบดาเชืล้อ น100 ครั้ง ซึ่งแตกตาง ย า บ ากอนการสงเสริมการปฏิบัติ จาก ติดเชื้อดื้อยาในโรงพยาบาลลดลงกว a โรง ่าน l าลน พย Nan โรง กันอยางมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ่ า น N พ Hos an ยาบ pit Hos าลน al pit ่ า น N al โรง an พยา โรง H osp พยา ital บาล น่า โรง น N พยา an บาล Hos pit al โรง พยา บาล น น่า

al

ผลของการเสริมแรงตอการปฏิบตั ิในการปองกัน และควบคุมการติดเชื้อดื้อยาหลายขนาน

สรุปและขอเสนอแนะ : การสงเสริมการปฏิบัติโดยใชวธิ ีการหลายๆวิธีดวยแนวคิดการเสริมแรงของฮัลล มีผลตอความรูและการปฏิบัติที่ถกู ตองของบุคลากร ในการปองกันและควบคุมการติดเชื้อดื้อยาหลายขนาน โรงพยาบาลควรนํากลวิธนี ี้ไปประยุกตใชในการลดการติดเชื้อในโรงพยาบาล และสงเสริมใหปฏิบัติอยางตอเนื่องและครอบคลุมตอไป

56 รายงานประจำ�ปี 2560


Hypersensitivity Kit ชวยชีวติ ผูปวยมะเร็ง วิภารัตน ผิวออน, เยาวเรศรัศ เขื่อนจันธนลาภ, ปนัฐดา กันทาเศษ หนวยเคมีบาํ บัด โรงพยาบาลนาน an

Hos

ความสําคัญ

p i t ภาวะภูมิไวเกิน (Hypersensitivity Reactions: HSRs) al โรง เปนภาวะแทรกซ พ ย าอนหนึ่งที่พบไดบอยจากยาเคมีบําบัดกลุม บ า ล compounds โดยอาการแสดงจะ Hos Taxanes, Platinum น่า pit นน แรงของการเกิ a l แตกต า งตามระดั บ ความรุ Nan ด ทั้ ง นี้ ก าร โรง H o sเกิpด HSRs ใน ประเมินพและช ย า บ วยเหลือผูปวยลาชาจะทําให ital าลน spi ระดับที่รุนแรงขึ้นได ซึ่ า่งนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดความรุ นแรงโ tal ร N a โ ร งถึงระดับ 4 เนื่องจากใชเวลาในการรายงานแพทย รอยาที่ ง พ ย า บ n H พยา าลน o ตองเบิบกและหาอุ ่ ่าน ital า ล น ปกรณในการชวยเหลืsอpรวมระยะเวลาที Nan ่ า ital แกไขภาวะดังกลานวมากกว N a nา 30 นาที ทําใหผูปวยไดรับโ รการ ง Hos พ โ ร ง ชวยเหลือลาชา หนวยเคมีบHําบัoดไดนําวิธี Titrate มาเปน ย า บ pit พยา า spi al ล น บ t a l ระดับรุนแรงขึ้น ่าน าลน โรง แนวทางการบริ ห ารยา ยั ง คงเกิ ด HSRs Nan พยา ่าน โรง บาล Hos N a n ดภาวะ HSRs ในผูปวยมะเร็ พ ย งาที่ ป 2558 ไดศึกษาการเกิ โรง น่า p บ พยา H i า t o s p ่มีปริมาตรแตกตางกัน ล น ่ น al บ า ลไดรับยา Paclitaxel ในสารละลายที า ital น N โ น่า ร งพย an พบวานกลุN ม ที่ใ ช สารละลายปริ ม าตร 500 โมิรลลิ ลิตร เกิ ด าบา Hos an ง พ ย ลน่ โรง p H HRSs น อ ยกว า กลุ  ม ที ่ ใ ช ส ารละลายปริ ม าตร 250 มิ ล ลิ ล ิ ต ร า i osp บาล ผลการศึ ก ษา tal าน พยา i t a l ทั้งนี้ผลการศึกษาอาจมี น ่ า บ า ล รอยละ 30 (95%CI 0.3-8.3) โ น หลัNงจากเริ่มใช Hypersensitivity ร ง Kit น่า พ ย ตัา้งแตป 2558 และ an ขอจํนากัดNในผูปวยที่อาจมีภาวะน้ําเกิโ รนง นํพายไปใชกับผูปวย บ าาระวั ปฏิบัติตามแนวทางการบริ หารยาและการเฝ Hos an ล น ง่ การเกิด าบา p i ยาบ บางรายได แตยHังไมo สsามารถแกปญหาการชวยเหลือลผูปนว่ ยที่ t a l วยเหลือผูปวยที่เกิด HSRsา นไดเร็ว HSRs พบวา สามารถช าน pit าลน โ ร งคิ ด เป น อั ต ราร อ ยละ 100 a lลาชาได จึงนํามาสูการจัดทํา N a n ขึ้ น ภายในเวลาไม เ กิ น 5นาที ่ า น เกิดภาวะ HSRs พยา โ H N ร o an ง งพกลย าว บ s Hypersensitivity Kit เพื อ ่ แก ป ญ  หาดั p ระดับความรุ พบระดับ Hos i t aนlแรงที่พบสวนใหญเปนระดัาบล 2น ่ไม าบา าน pit ล าบา น 3-4 ร อ ยละของผู ปโ วรยที al ่าน ง พ่ หยยุ ด ยาและให ย าต อ ได แ สดงดั ง ลน่ N วัตถุโปร ระสงค a าน าบา n Hแผนภูมิตอไปนี้ งพย Nan ล น100 o า spi บ า ล บําบัดไดอยาง ่าน เพื่อชวHยเหลื t 90.9 o s pอผูปวยที่เกิด HSRs จากยาเคมี น่า a 100 l รอยละผูป วย น N ด i t a l 5 นาที ลดความรุนแรงของการเกิ รวดเร็วภายในเวลา โ น่า ร a ที่หยุดการใช ง 80 n น N พยา 57.1 a n HSRs สามารถใหยาตอโ ร(Re-challenge) ได และไมเสีย H o s p 60 งพย บาล ยา Hos i t a l 42.85 าบา น่า รอยละผูป วย น pit โอกาสในการใช ยา ลน่ 40 โรง al าน ที่ใหยาตอได พยา Nan โรง ่าน บ 20 0.11 0 พ ยกษา าลน Hos Nan รูปแบบการศึ า บ าสถานที่และผูปวย ่ า p น Hos ital0 ลน่ า น แบบไปข า งหน า ศึ กpษาโดยการสั ง เกตเชิ ง วิ เ คราะห ital โ รป ง2557 ป 2558 ป 2559 Na พยา (Cohort study) โ ร ง ในผูปวยมะเร็งที่ไดรับยาnPaclitaxel Hos บ พยา pi น่า ขอยุตาิแลละการนํ ทุกรอบของการใหยา ณบหน า ลวนยเคมีบําบัด โรงพยาบาลt a l น าไปใช โ ร ง ชุดHypersensitivity Kit และStanding order การใช นาน แบบไปกลับภายใน 1 วัน ่ า น N a พยา n H ของการแก ไบขภาวะ า ล น HSRs รวมกับแนวทางเฝาระวังผูปวยที่ osp ่ า น สามารถชวยเหลือผูปวยที่ HSRs ital ไดรับยากลุม Taxanes วิธีการวัดผล โ ได ร งอพยางรวดเร็วภายในเวลา 5 นาที ลดความรุนแรงของ หารอยละของผูปวยที่ใหยาตอไดและรอยละของผูปวยที่ ยาบ การเกิ ด HSRs า ลเพิน ่มโอกาสในการใชยาตอ ตลอดจนสามารถ เกิด HSRs ที่ไดรับการชวยเหลือภายใน 5 นาที ่ น นําไปใชกับการบริหาารยาอื ่นที่มีโอกาสเกิด HSRs ได รายงานประจำ�ปี 2560

57


ยาบ โรง

าลน

่าน

spi Nan

tal

โรง

พยา บาล p บ ital า ล นฒนาประชาคมสุขภาพในการป น่ญ การพั อ งกั น และแก ไขป า นหาการตั้งครรภในวัยรุน ่าน Nan โ ร งาน จังหวัดนาน N a n H อํ า เภอเมื อ งน โรง พยา osp Hos พยา บ i t aโรงพยาบาลน p า i ล โดย.. อุลี ศักดิส์ ุวรรณน และคณะ กลุมงานสุขศึกษา าน บาล tal l ่ า น N น่า โ ร งพย น N an โรง โรง a าบา H พ หลั ก การและเหตุ ผ ล n o ย พยา sวัpตถุi ประสงค าบา Hos ลน่ tal บาล ลน่ าน pit านนจะมี น ่ ญา หาสังคม สิ่งแวดลอมตางๆเปลี่ยนแปลงไปป N a l จากสภาพป ญ หาการตั ้ ง ครรภ ใ นวั ย รุ  น นั บ วั โ ร ง15 – 19 ป น N N aเพืn่อลดอัตราการตั้งครรภในวัยรุนอายุ a n เคราะหปญหาสาเหตุหลัก 3 ดานคื โ รอง วัยรุนไมสามารถเขาถึงการ (เปาหมายไม H o s เกิน42ตอพันประชากร) พ ย า บ แนวโนมเพิ่มขึ้น จากการวิ โรง พยา H าลน o pit s p i องกันการตั้งครรภ ครอบครัวแตกแยกความสั พ ย า คุมกําเนิด ขาดความรู และทักษะการป บาล มพันธ al ่าน tal บาล น Nan ในครอบครั ด โ น ่ าวไมดี สิ่งแวดลอมอยูหอพักรวม หรือบานเชา มีพฤติกรรมเสี่ยงดื่มสุรา่ าสิน่งเสพติ รงพ N น N โ a ร ง พ ขภาพโดยสรางกระบวนการแกไขn ยาบ พฤติกรรมเลียนแบบ a n ดังนั้นจึงไดมีการพัฒนาประชาคมสุ Hos ยาบ าลน พยา H pit o s วpนที่เกี่ยวของขับเคลื่อนการทํางานรา วลมกันน โดยใชแนวคิดการ ่าน บ า ล ปญหาแบบบูรณาการทุกภาคส al ่าน ital Nan น ส่ างเสริมสุขภาพแนวใหมหลักการทรงงานของในหลวงรั ช กาลที ่ 9 และการดํ า เนิ น งานในรู ป แบบ Nan โรง น N Hos พยา a ขnภาพ ในการรวมคิด รวมทํา รวมประเมิ โ ร นง ผล จนสามารถลดปญหาไดระดับHหนึo่ง ประชาคมสุ บาล spi พยา Hos น่า วัยรุนมีทักษะชีวิตที่ดี ครอบครั บ า ลมแข็งสามารถปองกันและ t a l p i วรูและเขาใจวัยรุน ชุมชนมีความเข ยาบ น N น่า า ล น แกไขปญหาการตั้งครรภในวัt ยaรุlนได โรง an น N ่าน พ Hos โ a ย ร n า งพย Nan บ pi H า osp ลน่ าบา Hos า i ล น t น่า al pit Nan ลน่ น N al าน โ Hos a ร ง n Nan พ โรง pit H ย osp าบา พยา al Hos i ล t น่า บาล al pit น N al น่า โรง an น N น่า พ น N Hos โรง an ผลการดําเนินงาน ย า บ พ an pit Hos า ย อั ต ราการตั ง ้ ครรภ ใ นหญิ ง อายุ 1 5-19ป ล า น่า al บาล Hos p i t อ.เมืองนาน ป 2558-2560 น น่า a pit l N an น N al โ ร ง ป2558 Hos an พ ป2559 โรง pit H ย o า บาล spi พยา al ป2560 t น่า บาล al โรง น N น่า พย โรง a น N n พ Hos an ยาบ pit Hos าลน al pit ่ า น N al โรง an พยา โรง H osp พยา ital บาล น่า โรง น N พยา an บาล Hos pit al โรง พยา บาล น พยา

Hos

35

32.47

30

25

20

15

10

5

0

58 รายงานประจำ�ปี 2560

22.55

17.01


ปริมาณน้านมที่ตวงได้จากการใช้เครื่องปั้มนมไฟฟ้าเปรียบเทียบกับการบีบด้วยมือ ในมารดาที่ทารกไม่ได้ดูดนมจากเต้า โรงพยาบาลน่าน กาญจนา อมรทิพย์สกุล(พย.บ) ตึกทารกป่วย โรงพยาบาลน่าน

an

Hos

ความสาคัญ:หัวน้​้านม (colostrum) เป็นแหล่งอาหาร

ผลการศึกษา:มารดาทั้งสองกลุ่ม มีอายุ อายุ

ครรภ์ ล้าดับการตั้งครรภ์ วิธีการคลอด ประวัติ การให้ลูกดูดนม ต่างกันเล็กน้อย มารดาที่ใช้ ที่ส้าคัญโมากส้าหรับทารก เปรียบได้กับวัคซีนหยดแรก ร เครื่องปั้มนมไฟฟ้า มีปริมาณน้​้านมใน 3 วันแรก ง ของชีวิตปริมพาณหั ย า บวน้​้านมจะมีใน 2-3 วันแรกประมาณ น้ อยกว่ามารดาที่บีบน้​้านมด้วยมือ (309±260 Hos าลน p i t 10 -40ml. การที่จะท้ า ให้ ม ารดามี น า ้ นมเพี ย งพอและ ่ มิ ล ลิลิตร vs 562±476 มิลลิลิตร)เมื่อปรับความ า น N al a สามารถเลี ย ้ งลู ก ด้ ว ยน้ า ้ นมแม่ ไ ด้ ต้ อ งมี ก ารกระตุ น ้ แตกต่างของอายุ อายุครรภ์ ล้าดับการตั้งครรภ์ n โร พ ยมาีการสร้างน้​้านมภายใน 2-3H oวันs แรกหลั ส่งเสริมง ให้ ง คลอด วิธีการคลอด และประวัติการให้ลูกดูดนมแล้ว pit บาล spi aบlน้​้านมจะ การกระตุ น ้ โดยการนวดประคบเต้ า นมและการบี มารดาที่บีบนมด้วยมือ มีปริมาณน้​้านมใน 3 วัน น tal ่า โ ร ช่วยให้มารดามีน้านมเพีนยงพอและไหลเร็ ว ขึ น ้ ง Nan พ ย า แรกมากกว่า 345 มิลลิลิตร (95%CI=324-365, โรง บp<0.001) H พ ในหน่ าล ย วยงาน เครื่องปั้มนมไฟฟ้oายังมีให้บริการไม่

pit

al

าบา

spi

t a ้มl นมไฟฟ้า ล น า่ หน้าที่เชื่อว่าการใช้เครื่องปั เพียงพอและเจ้ า

น่า

น N an น N โ ปั๊มไฟฟ้า บีบHด้oวย a n มากกว่าการบีบน้​้านมด้วรยมืง อพ ย s โ ร ง จะกระตุ้นให้น้านมสร้างได้ าบา Hos มือ p i t a พยา ล p l น่า ital บาล น โ95%CI ดั ช นี ช ้ ี ว ด ั ร ง พ P-value (n=14) (n=14) ความ น่า Nan : โรง ยาบ น N แตกต่าง Hos โรง วั ต ถุ ป ระสงค์ : เพื่อa เปรี ยบเทียบปริมาณน้​้านมทีพ่ตยวงา าลน n pit บาล พยา Hos ่าน a น บ ได้ เฉลี่ย±S เฉลี่ย±S l ่าน า ลจนากการใช้เครื่องปั้มนมไฟฟ้p าi กัt บa การบีบน้​้านมด้วย โรง l Nan D ่าน D มือในมารดาหลั า พยา โรง N a nงคลอดที่ทารกไม่ได้ดูดนมจากเต้ H บา o พ s ปริ ม าณ ย โรง Hos 310±261p i563±47 345 324-365 ล<0.001 าบา น่า t พยา a น้​้านม (มล) น p l ล i น t 6 บาล al ่าน โ ร งพย Nan โรง ่าน รูปน แบบและวิ าบา พยา Hos N a n ธีวิจัย ลน่ บ p า ล นา 3 วันแรก าน ital ยาบ o s p ่ไม่ได้ให้ทารกดูดนมจากเต้ มารดาหลัH งคลอดที ่าน าลน i t โรง a l ป้ ่วยหลังคลอดและหอทารกป่ ที่หอผู้ป่วยนรีเวชและหอผู N วaยn ่าน พยา โรง าง พฤศจิกายน 2558-พฤษภาคม 2559 จ้านวน 28ราย H o N aระหว่ บาล n H spi พยา น ่ า าไปใช้ t o ข้ อ ยุ ต แ ิ ละประโยชน์ ข องการน บ a s pนi มบุตร มีข้อห้ามในการให้ l าลน น าบา tal โรง ่าน ลน่ พ ย่อาที่ว่าการใช้เครื่องปั้มนม Nan โสมัร งครใจเข้าร่วมศึกษา าน บาล พยา H o s ไฟฟ้:จากความเชื Nan น ้า่ านมที่มากกว่า แต่ า จะท้ า ให้ ไ ด้ ป ริ มาณน้ บ pit าลน น Hos a l ปจากการวิจัยนี้พบว่าใน 3 วันแรกการ ผลสรุ pit สุ่มมารดาหลัง ่ า น โ ร ง าด้วยมือท้าให้ได้ปริมาณ น่า al Nan บีบน้​้านมจากเต้ คลอดเข้ากลุ่ม น N พยา โ H รงพ o an บ าเครื น้ า ้ นมมากกว่ าการใช้ s pit ยาบ ล น่อ่ งปั้มนมไฟฟ้า ซึ่ง Hos a บุ ค ลากรทางการแพทย์ ทีเากีน่ยวข้องกับแม่และ ใช้ ก ารบี บ ด้ ว ยมื อ โดยพยาบาลวิ ช าชี พ l า ใช้เครื่อpงปั ม ้ นมไฟฟ้ า พร้ อ มกั น ทั ง ้ 2 เต้ า ล i t l นาทีโดยการควบคุม ที่ได้นรับ่ าการฝึ เต้าละ 15 นาที เป็นเวลาa15 เด็โกรสามารถน้ า ข้ อ มู ล ดั ง กล่าวไปใช้ในการ นทีก่คNอบรม ง พยา ลิน ิกนมแม่ ของพยาบาลวิชาชีโพรที่คลินิกนมแม่ ่าน a n เลื อ กวิ ธ ก ี ารบี บ เก็ บ น้ า ้ นมให้ แก่มารดาหลัง ง บ พยา าลน Hos Nan บ ่ คลอดได้อย่างเหมาะสมเพื า น ่อให้มารดาสามารถ pit าลน Hos a l บีบน้​้านมให้แก่ทารกโดยเฉพาะทารกที ่ า p น i บันทึกปริtมาณน้ ้งหมดเป็นมิลลิลิตร บันทึกปริมาณน้​้านมทั้งหมดเป็นมิลลิลิตร โ รองจ้ากัดในการดูดนมจากเต้ามารดา ทั้ง่มนี​ี ้ a l ้านมทั N ว่ โมง 3 วัน (รวม 24 ครั้ง) ทุก 3 ชัว่ โมง 3 วัน (รวม 24 ครั้ง) ทุก 3 aชัn ข้ พยา โรง Hos บ า ล รับสารอาหารที่เหมาะสมเป็น พยา เพื อ ่ ให้ ทารกได้ pit น่า a l การวัดผลและวิธีการ: สุบ่มามารดาหลั ง คลอดที ่ ท ารกไม่ ไ ด้ นญเติบโตของทารกและ ประโยชน์ต่อการเจริ ลน่ โ ร ง ส่งเสริมนโยบายการเลี้ยงลูกด้วยน้​้านมแม่ า น า 14 ราย และให้ ดูดนมจากเต้า ให้ใช้เครื่องปั้มนมไฟฟ้ พ N ยาบ บีบน้​้านมด้วยมือ 14 ราย ติดตามตวงปริaมnาณน้ อย่างเดี า ล ยนวอย่างน้อย 6 เดือน H o้านม ่าน (เป็นมิลลิลิตร) ทุก 3 ชั่วโมง 3 วันติดต่อกัน เปรีsยpบเที ย บ ital ปริมาณน้​้านมรวมทั้ง 3 วัน ด้วยสถิติการถดถอยพหุส้าหรั บ โ รงพ ข้อมูลกระจายแบบ Poisson ยาบ าลน ่าน

ital

ขอขอบคุณ ศ.ดร.นพ.ชยันตร์ธร ปทุมานนท์ ภาควิชาระบาดวิทยาคลินิกและสถิติศาสตร์คลินิก , รศ.ชไมพร ทวิชศรี เครือข่ายวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยในงานประจาและเจ้าหน้าที่ตึกทารกป่วยทุกท่าน

รายงานประจำ�ปี 2560

59


ยาบ โรง

พยา

บาล

าลน

่าน

spi Nan

Hos

pit

tal

โรง

พยา

บาล

น่า น N น N an โ a ร งพย n H Hos โรง osp าบา pit พยา al ital ลน่ บาล าน น่า โรง Nan น N โรง พยา โรง a H พ n บาล o ย พยา spi าบา Hos น่า tal บาล ลน่ pit น N า น่า a น N l โ น N ร an งพย an โรง Hos าบา โรง พ H ยาบ osp pit ลน่ พยา al าลน ital าน บาล Nan ่าน โ น่า รงพ Nan น N โรง ยาบ พยา an Hos าลน พยา บาล Hos pit ่าน บาล น่า al pit Nan น N น่า a l โรง น N an Hos พยา an โรง Hos บ พยา Hos pit าลน บาล al pit ยาบ ่าน a น่า l าลน Nan โ น รงพ ่าน N Hos โ an ยาบ รงพ Nan pi H า ย osp ลน่ าบา Hos า i ล น t น่า al pit Nan ลน่ น N al าน โ Hos a ร ง n Nan พ โรง pit H ย osp าบา พยา al Hos i ล t น่า บาล al pit น N al น่า โรง an น N น่า พยา น N Hos โรง an บ พ an pit Hos า ย ล า น่า al บาล Hos pit น น่า a pit l N an น N al โรง Hos an พ โรง pit H ย o า บาล spi พยา al t น่า บาล al โรง น N น่า พย โรง a น N n พ Hos an ยาบ pit Hos าลน al pit ่ า น N al โรง an พยา โรง H osp พยา ital บาล น่า โรง น N พยา an บาล Hos pit al โรง พยา บาล น

60 รายงานประจำ�ปี 2560

น่า

al


การพัฒนาแนวปฏิบัติการให้อาหาร Step diet ในผู้ป่วยหลังผ่าตัดนิว่ ระบบทางเดินปัสสาวะ ที่ได้รับยาดมสลบ เพื่อลดอาการท้องอืด นันทพร ทัศณีวรรณ์ พยาบาลวิชาชีพชานาญการ โรงพยาบาลน่าน

an

ขัน ้ ตอนการศึกษา

ปั ญหาและสาเหตุ

Hos

Hos

pit

pit

al

โรง

กลุม ่ ผู ้ป่ วยผ่าตัดนิว่ ระบบปั สสาวะทีไ่ ด ้รับยาดมสลบ

ท ้องอืดเป็ นภาวะแทรกซ ้อนทีพ ่ บได ้ชัว่ คราวในผู ้ป่ วย ผ่าตัดช่องท ้อง 24 ถึง 72 ชัว่ โมงหลังผ่าตัด ซึง่ เกิดจากการ ได ้รับยาดมสลบและการกลืนอากาศเข ้าไปในระยะพักฟื้ น จากการประเมินอาการท ้องอืดในผู ้ป่ วยนิว่ ระบบปั สสาวะที่ ได ้รับการผ่าตัดดมยาสลบเดือนตุลาคม ปี 2557 พบว่ามี คะแนนอืดท ้องมากร ้อยละ13 ส่งผลให ้เกิดความไม่สข ุ สบาย เป็ นอุปสรรคต่อการ Ambulateและทาให ้ผู ้ป่ วยมีอาการอืด ท ้องมากขึน ้ ต ้องได ้รับยารักษาและบางรายถึงกับต ้องใส่ NG tube ทีผ ่ า่ นมาได ้มีการลดท ้องอืดหลังผ่าตัดโดยการเคีย ้ ว หมากฝรั่ง แต่พบว่าประสิทธิภาพยังไม่ดพ ี อ จากการศึกษา การฟื้ นตัวของการผ่าตัดในช่องท ้องพบว่าปั จจัยส่งเสริมเกิด ั ถามอาการจาก จากพยาบาลมีการประเมินอาการเพียงแค่ซก ผู ้ป่ วยแต่ขาดการประเมินหน ้าทีข ่ องการทางานของลาไส ้ และอาจเกิดจากปั จจัยของอาหารได ้แก่การดืม ่ นม ความสาคัญ การให ้อาหาร step diet ตามคาสัง่ แพทย์โดยมี การประเมินอาการท ้องอืดก่อนเริม ่ อาหาร การลดปั จจัยทีเ่ พิม ่ การท ้องอืดหลังผ่าตัด น่าจะลดอาการอืดท ้องทาให ้ผู ้ป่ วยสุข สบายสามารถ ambulate หลังผ่าตัดได ้ดีขน ึ้

พยา

บาล

จานวน 118 ราย

น่า

ตัดออก

มีข ้อจากัดไม่สามารถ ให ้อาหารได ้ในวันที่ 1 หลังผ่าตัด และมี ข ้อจากัดในการ ambulate 3 ราย

น N an Hos พยา กลุม ่ ควบคุม 54 ราย กลุม ่ ทดลอง 62 ราย pit บ เดือนพ.ย.57-ก.พ.58 เดือนมี.ค.58-พ.ค.58 าลน spi al ดูแลตามปกติ ได ้รับอาหาร step diet แบบใหม่ tal ่าน โ ร ง-ได ้รับอาหาร step diet - จิบน้ าขิงร่วมกับการจิบน้ ามือ ้ N พ a โรง แบบเดิ มไม่เข ้มงวดชนิด เช ้า ย n H า บ พยา อาหารเหลว าการได ้รับ osp ล น ่ ่ง -เท่าใชนัน้ ้น้าข ้าวเป็ นอาหารเหลว น้ าขิง การเคีย ้ วหมากฝรั บาล i า t a และการประเมินอาการ น ่งหลังอาหารถ ้า น่า l N-ไม่aเคีมnขี ย้ ้อจวหมากฝรั ital ท ้องอืด น N ากัด โ ร งพย Ho กาหนดเวลาในการประเมิ น an โรง าบา อาการท ้องอืด sก่อpนให ้อาหารแต่ Hos i t พยา al ล น ่ ้องอืด ละมือ้ pit บาล ประเมินอาการท าน ถ ้าคะแนนอืดท ้องมากจะไม่เริม ่ ให ้ โ a วัตถุประสงค์ l รงพ การ ambulate หลังN น่า อาหารอ่อน a โรง ยาบ n นเพื่อNเปรีย บเทีย บคะแนนประเมิน อาการท ผ่าตัด Hos พ ยด หลั ้องอื ง โรง าลน a n า pit พยา ผ่าตัดผู ้ป่ วยนิHว่ ระบบปั สสาวะทีไ่ ด ้รับยาดมสลบ ระหว่าบง า ่าน o ล a s น บาล กลุม ่ ทีไ่ ด ้รับการดูแลการให l p i t ้อาหาร Step Diet รูปแบบ ่ า ประเมินอาการท ้องอืด น โ น่า กับกลุม ่ ทีไ่ ด ้รับการดูแaลการให l ้อาหาร Step Diet Nan การ ambulate หลังผ่าตัดร ง น N ใหม่ พยา รูปแบบเดิม โ ร H an ง บาล o พ s ย โรง pit H า บ time น่า รูปแบบoเป็s นการศึกษาเชิงทดลอง แบบ Interrupted พยา a า ล น วิเคราะห์ข ้อมูลเปรียบเทียบกลุม่ ด ้วยสถิlต ิ exact probability น p i design t บาล a ่ า น, t-test และ วิเคราะห์ผลของการใช ้โปรแกรม โ ร ึ ษา ตึกศัลlยกรรมระบบปั สสาวะ โรงพยาบาลน่าน test สถานทีศ ่ ก ด ้วย งพย น่า N a n model เพือ่ ควบคุม ปั จจัยตัวแปรที โ ร งงผ่าตัดนิว่ ระบบปั สสาวะที่ ordinal regression ใ่ ช ้ในการศึกษา ผู ้ป่ วยหลั ่ น N ไดผู้รั้ป่บวยที าบา พ H ยาดมสลบที ไ ่ ม่ ม ข ิ ้อห ้ามในการรั บ ประทานอาหารหลั ง ย เกี ย ่ วข ้อง คื อ อายุ เพศ โรคร่ ว ม พฤติ ก รรมการกิ น อาหาร o a nผ่าตัดวันแรกและผู ้ป่ วยทีม่ ขี ้อจากัดในการ าambulate s บ p า ล นจานวน การเคีย้ วหมากฝรั่งระยะเวลาผ่i tาตัaด ระยะเวลาเริม่ อาหาร การ ล น ่ า น Hos ยาบ 118 ราย ตังp ้ แต่เดือน พฤศจิกายน 2557 – พฤษภาคม 2558 ่ า น ambulate หลังผ่าตัด การรักษาทีไ่ ดl ้รับทีเ่ กีย่ วข ้องของแต่ละ าลน ital โรง Nผลลั ่าน a nพธ์ พยา ึ ษา ตัวแปรทีศ ่ ก โรง H Nan o บาล ผล ตัวแปรต ้นได ้แก่ รูปแบบการให ้อาหาร step diet ตาม s พ p ยาบ H o s กาหนด i t a l ควบคุม น่า ทดลอง าลน น pตัวi แปรตามได ผลลัพธ์ าบา n % n % t a l ้แก่ คะแนนประเมินอาการท ้องอื ดหลั่ งาผ่าตัด โ ร งOR 95%CI P-value น ลน่ ้องอืด พ ย 0.23-1.52 0.59 คะแนนการ Ambulate หลังผ่าตัด N อาการท โ ร ง SSE, าน า บ า 0.275 น n้อย H 34 54.9 22 39.2 ตัวแปรกวน ได ้แก่ การ พ ย า ยา morphine, ระยะเวลา a ปานกลาง Nan ลน่ 31 55.4 บ าละมืล อ้ มือ้ , การเคีย้ วหมาก มาก o s p253i t 40.3 าน 4.8 3 5.4 H o s ผ่ฝรัา่งตัด ระยะเวลาเริม่ แต่อาหารแต่ น a การ ambulate l 0.66 0.28-1.58 0.354 ่าน pit 18 29 26 โ46.4 ดี น่า al Na ร 43 69.4 22 39.3ง พ น N การวัดผล บันทึกลักษณะทั่วไปผู ้ป่ วย ติดตาม n H ปานกลาง ยาบ โ ร 1 1.6 8 14.3 น ้อย o an ง s ประเมินอาการท ้องอืดพตามช่ วงเวลาก่อนให ้อาหารแต่ละมือ ้ , า ล น 0.021 ได ้รับp การรั กษา ย 0.29 0.10-0.83 Hos i าลบะชนิา ด, การ ambulate หลัง t a l 50 80.7 32 57.1 ผ ่ ู ้ป่ วยได ้รับอาหารแต่ ่าน ไม่ม ี p i t เวลาที 10 16.1 21 37.5 ยา โ a l ผ่าตัด , การเคีย้ วหมากฝรั่ง,ความเจ็ลบนปวด, ่ า นการรักษาทีไ่ ด ้รับ ไดได ้รั้รับบยาและ ร 2 3.2 ง พ3 5.4 ยา โ ร ง แบบประเมินภาวะท้องอืดหลังผ่าตัดและการให้ Step dietN a n ใส่ NG-tube ่าน พยา H o s ผลการใช ้รูปแบบโปรแกรมใหม่บนที้ าาให Nan ล ่ นแรงของ บาล าน p i t้รับ การรักษาภาวะท ้องอืดลดลง (p =น้ความรุ Hos การได 0.016) และช่วย น่า al pit น ให ้การ ambulateโหลังผ่าตัดดีขน = 0.001) ภายหลังการ al Nan ร น่งๆทีพเ่ กีย่ วขึ้ ้อง(pพบว่ ควบคุมปั จจัยตัวแปรอื าผลการใช ้โปรแกรม ย โรง Hos อาหารแบบใหม่ ช่วยลดความรุานแรงของการได ้รับการรักษา บ พยา า p ลง 0.29 เท่าอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตลิ (ค่ า 95% CI =0.28i น t บาล a 1.58, ่ า น นแรงของ l p = 0.354) และมีผลช่วยลดระดับความรุ น่า อาการทโ้องอื ดลง 0.59 เท่า มีผลทาให ้การ ambulate หลัง ร น N ง พ เท่ ผ่าตัดดีขน ึ้ 0.66 ยบเทียบกับการดูแลแบบเดิม ย าา เมืบอต่ เปรี an แต่ไม่มน ี ั ยสาคัญทางสถิ าิ ล น Hos ่ า นาไปใช ้ pit ข้อยุตแ ิ ละการน al โรง พ ยstep การให ้อาหาร diet ในผู ้ป่ วยหลังการผ่าตัดดมยาสลบ า จบารณาให ทุกประเภท อาจพิ ้รับการประเมินอาการ า ล นละมื้ผู ้ป่อ้ วยได ท ้องอืดก่อนให ้อาหาร แต่ อย่างเข ้มงวด เพือ ่ เพิม ่ การ ่ า น นแรงของการ ambulate ลดการท ้องอืด และลดความรุ al

โรง

วันที่ 1 หลังผ่ าตัด

หัวข้ อการประเมิน

1.รู ้สึกแน่นอึดอัด( 0= ไม่มี ,1=เล็กน้อย,2=พอทนได้,3= แน่นมาก)

วันที่………………… เวลาที่ประเมิน

วันที่ 2 หลังผ่ าตัด วันที่ 3 หลังผ่ าตัด วันที่………………… … วันที่………………… เวลาที่ประเมิน

เวลาที่ประเมิน

11.00 16.00 6.00 11.00 16.00 16.00 6.00 น. 9.00 น. น. น. น. น. น. 6.00 น. 11.00น. น.

2. การเรอ( 0= >3ครั้ง ,1=2 ครั้ง,2=1ครั้ง,3=ไม่เรอ ) 3. การผายลม( 0= >3ครั้ง ,1=2 ครั้ง,2=1ครั้ง,3=ไม่เรอ ) 4. การเคลื่อนไหวลาไส้( 0= >5ครั้ง ,1=3-5ครั้ง,2= < 3, 3=ไม่มี ) รวมคะแนน (0-4=ไม่อืด/เล็กน้อย ,5-8=ปานกลาง ,9= อืดมาก ) เวลาที่ผปู ้ ่ วยได้รับ Step diet

จิบน้ า น้ าขิง น้ าข้าว

อาหารอ่อน

การเคี้ยวหมากฝรั่ง 30นาที/ครั้ง หลังอาหาร pain score การ Ambulate ( ดี , พอใช้ , มีขอ้ จากัด )

ผู้ประเมิน

ยาที่ได้รับ/เวลา

รักษาลง

การขับถ่ายอุจจาระ

รายงานประจำ�ปี 2560

61


ยาบ โรง

พยา

บาล

าลน

่าน

spi Nan

Hos

pit

tal

โรง

พยา

บาล

น่า น N น N ผลของการให ค วามรู โ  ดยใช ก ระบวนการกลุ มรaวnมกัHบ โ a ร งพย n H โรง o s p การสวดมนตในการเตรีายบมผู ปวยผาตัดตอกระจก o s p i t a พยา า i ล บาล tal l น่า น N น่า โรง น N an โรง พยา โรง a H พ นางศิ ร ริ น ทร สิ ร โ ิ รจนานั น ท นางเกสร ฟุ ม  เฟ อ ย พยาบาลวิ ช าชี พ ชํ า นาญการ รพ.น า น n บาล o ย พยา spi าบา Hos น่า tal บาล ลน่ pit น N า น่า a น N โ น N สรุปผลงานโดยยอl ร งพย เปาหมาย a n an โรง Hos าบา โรง พ H o พบอุ pit ลน่ s p iบัติการณงดผาตัดตอกระจกสูงถึยงา บ า พยา al าน ร อ ย ล ะ 3 . 0t 7 บาล a l เ นื่ อ ง จ า ก ผู ป ว ย กั ง ว ล ล นเพื่ า่ อ เพิ่ ม ความร ว มมื อ ในการผ า ตั ด และ Nan น โ น่า บ กระส า ย ไม ใ ห ค วามร ว มมื อ ผู วิ จั ย จึ ง รงพ N ลดอุ บ ต ั ก ิ ารณ ก ารงดผ า ตั ด ต อ กระจกจาก น N กระสั โ a นารูปแบบการใหขอมูลกรอนการผ n ป วย ไ ม พ ร อ มเ ท ากั บ 0 ย า บ ง พ ย าตัดจาก a n พัรูปฒแบบเดิ กา ร เต รี ยม ผู H าลน os าบา พยา H o s มเปนการใหความรูผานกระบวนการ ่าน i t อa นl ตึกตา หู คอ ภายในระยะเวลา 6 p เดื บาล กลุ ม ร วpมกั บ การสวดมนต พ บว า ผู ป ว ยมี กล ารน i l ่มขึ้นรอยละ 86.5 อัตราการ ่ า น จมูก โรงพยาบาลนาน Nan น่า ปฏิบัติตัวถูกtตaองเพิ Nan โรง น N Hos งดผาตัดลดลง เหลือรอยละ 0.49 พยา an โรง Hos บ พยา Hos pit าลน บาล a l ฒนา pit กิจกรรมการพั ยาบ ่าน a l าลน ปญหาและสาเหตุ น ่ า น Nan โ รงพ ่าน N Hos โ a n ศึ ก ษาวิ จั ย แบบกึ่ ง ทดลองย า(quasiรงพ Nan บ pi H า ย osp experimentalresearch) เพื่อเปรียบเทียลบน ่ H o s ตอกระจกพบบอยในผูสาูงบอายุ และเปนปญหา า า i ล น t p สํi tาคัญทางจักษุ ถาทิ้งไวโดยไมไนดร่ าักนษาจะทํา การปฏิบัติตัวกอaนและหลั งผาตัด และความ l Nan ลน่ al าน N ร ว มมื อ ในการผ า ตั ด ต อ กระจก ประชากรที่ โ Hos ให เ กิ ด ภาวะแทรกซ อ นที่ รุ น แรง สู ญ เสี ย การ a ร ง n Nan โ ร ง การรักษาตอกระจกตอง H ศึoกษา คือผูปวยที่ผาตัดลอกตพอยกระจกโดย pit มองเห็นหรือตาบอดได พเทย าานั้ น การผ า ตั ด ลอกต อ ก าs รpใiช ย า ช า เ ฉ พ า ะ ที่ ร ะ ห วาาบง เาดืลอ น al Hos รั ก ษาโดยวิ ธ ี ผ  า ตั ด t น่า บาล al pit a l กระจก เปนการผาตัดเล็ก ใชยาระงั น ่ า บความรูสึก เมษายน 2560 ถึโ งเดือนพฤศจิกายน 2560 น N a น แผนกตา ร ง พจั ย แบ ง เป น 2 กลุ ม น่า n H เฉพาะที่ โดยในป 2558 และ ป 2559 กลุ ม ตั ว อย า งในการวิ Nan น N โจมู ยาบ ร osp ง หู คอ ก พบผู  ป  ว ยงดผ า ตั ด ต อ กระจกร อ ยละ พ an H o กลุ มละ 44 คน กลุมทดลองได แก กลุมที่ า ย ital ล า s pรัiบความรูโดยใชกระบวนการกลุนม่ ารวมกับ บ า ลาดับ เนื่องจากผูปวยขาด ได Hos 3.07 และ 2.97 ตามลํ น t น a pit  ความเข า ใจในการปฏิ l กอนผาตัด กลุมควบคุม ไดแNกa n ่ า น บั ติ ตั ว ก อ นและ การสวดมนต a l ความรู N aค nว าม กั ง ว ล ขณะ ผ า ตั ด เกิ ด ค วาม ไ ม ส งบมี โ ร แง ลตามปกติ โดยใชสถิติ H o กลุมที่ไดรับการดู spi พยา กระสัโ บ า ย กลอกตาไปมา ไม ร ว  มมื อ ในการ H ร กระส o ง tal บ s พ ttest. ในการวิ เ คราะห ข อ  มู ล p า ยาบ ผาตัด ital ล น โรง ่าน าลน พย Nan ่าน โรง Nan พยา Hos บาล pit Hos น่า al pit น N al โรง an พยา โรง H osp พยา ital กระบวนการกลุม การสวดมนตวันกอนผบาตัดและกอนเขาหองผาตัด าลน โรง ่าน พยา Nan บาล Hos pit al โรง ผลการศึกษา พยา บาล น ผลการวิจัยพบวากลุมทดลอง มีการปฏิบัติถูกตองและใหความรวมมือในการผาตัด มากกวา น่า

al

กลุมควบคุมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<.05)

กลุมทดลอง(n=44) กลุมควบคุม(n=44) ตัวชี้วัด งดผาตัดจากความไมรวมมือ การปฏิบัติตัวกอนและหลังผาตัด ถูกตอง

p-value n

%

n

%

1

2.27

3

6.82

86.5 %

63.5 %

0.045 0.024

บทเรียนที่ไดรับ ควรเตรียมพรอมผูปวยกอนผาตัดตอกระจกโดยใชกระบวนการกลุมรวมกับสวดมนตเนื่องจากพบวา ผูปวยมีความสงบ ผอนคลาย ใหความรวมมือกับแพทยในการผาตัด การติดตอ กับทีมงาน :

62 รายงานประจำ�ปี 2560

นางศิรรินทร สิรโิ รจนานันท ตึกตา หู คอ จมูก โรงพยาบาลนาน อ.เมือง จ.นาน Laeaid.kn@hotmail.com087-1742091, 054-719068, 054-719000 ตอ 5307


นางขวัญใจ เหลี่ยมโสภณ พยาบาลวิชาชีพชานาญการ โรงพยาบาลน่าน

an

Hos

ผู้ป่วยกระดูกสะโพกหัก (Closed fracture hip) เป็นกลุ่มผูป้ ่วยที่สาคัญ 1 ใน 5 อันดับโรคแรกของผูป้ ่วย ศัลยกรรมกระดูก หากมีการวางแผนการรักษาไม่ถูกต้องอาจทาให้ผปู้ ่วยเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการจากัดการเคลื่อนไหว โรง พ ย า อยู่บนเตียง ร่วมกับผู้ป่วยบางรายมีโรคเรื้อรังทางอายุรกรรม ซึ่งอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนหลายอย่างที่สาคัญคือ ภาวะ บปอดอั Hos า ล กนเสบติดเชื้อ(Hospital acquired pneumonia :HAP) ผู้ป่วยสูงอายุบางรายขาดความรู้และศักยภาพใน pit ่ า น่ยงที่จะทาให้เกิดปอดอักเสบติดเชื้อและขาดความรู้ในการฝึกบริหารปอด จึงทาให้มกี ารสะสมของ การลดภาวะเสี al Nan โรง แบคที เ รี ย ไวรั ส รวมกลุ ่มอยูH่บนทางเดินหายใจส่วนบน (Upper airway colonization) จากการสาลักเชื้อที่ พยา osp สะสมรวมกั น อยู บ ่ ริ เ วณหลอดคอลงสู ่เนื้อi ปอด บ t a lเช่น น้าลาย อาหาร หรือสารคัดหลั่ง หากผูป้ ่วยระยะนั้นมีร่างกาย าลน spi tal ่ า น หรือมีโรคเรื้อรังทางอายุรกรรมร่วมด้วยก็สามารถส่ อ่อนแอ โ ร งงผลให้เกิดภาวะปอดอักเสบติดเชื้อได้ภายในโรงพยาบาล Nan โรง ส่ ง ผลให้ ผ ป ้ ู ว ่ ยนอนโรงพยาบาลนานขึ น ้ และเสี ย ค่ า ใช้ จ า ่ ยเพิ่มขึพ้น ยจากการทบทวนพบว่ าผลของการหายใจแบบมี าบา Hos พยา ล น่า pit บาล ประสิทธิภาพ ช่วยกระตุ้นการหายใจและการไหลเวี ยนของโลหิต ทาให้มีการระบายอากาศไปได้ น N ทุกส่วนของระบบการ al น ่ า หายใจ มีผลให้ออกซิเจน สามารถผ่ ital านไปยังส่วนต่ างกายโดยเฉพาะหัวใจ ปอด สมองได้ a n ดี ผู้วิจัยจึงมีความ น N โ รางๆของร่ งพย H s ดเชื้อ สนใจศึaกnษาการใช้ โ ปรแกรมการป้ อ งกั น ปอดอั ก เสบโดยการสอนการหายใจที ม ่ ป ี ระสิ ท ธิ ภ าพเพื ่อลดปอดอัoกเสบติ โรง าบา pit Hos พยา al ลน่ p iกt ในโรงพยาบาลน่าน ในผู้ป่วยกระดูกสะโพกหั บ า a

โรง

pit

al

าลน

พยา

่าน

Nan

l

Hos

โรง

พยา

บาล

น N an

Hos

pit

โรง

พยา

บาล

น่า

al น ก่ ษาเชิ เป็นการศึ า น งประสิทธิภาพ รูปแบบ non-randomized โ น่า a l N เพื่อศึกษาผลการใช้โปรแกรมการป้โองกันปอด intervention ที่จัดผูa้ปn่วยเข้ากลุ่มศึกษาตามแต่โอกาสจะอานวยร ง พ ย น N ร าบา H a n อักเสบติดเชื้อต่อการเกิดปอดอักเสบติดงเชืพ้อในย oฉุกsเฉิpน จะไม่ได้รับการสอน คื อ ผู ป ้ ว ่ ยที ร ่ บ ั เข้ า มาท าผ่ า ตั ด กึ ง ่ ลน่ โรง H า i osp บาล tal าน พยา ผู้ป่วยกระดูi tกสะโพกหลั บรินหารปอด ง บาล a l งผ่าตัด ่ า น (กลุ่มควบคุม, n=77) ส่วนผู้ป่วยที่รับเข้โ ารมาและยั งพย น่า ไม่ได้กาหนดผ่Nาตัดaในทั โรง n นHที จะได้รับการสอนบริหารปอดขณะรอ น N าบา พ ย o s ศึpกษาระหว่างเดือนธันวาคม an ลน่ าบา ผ่าตัด (กลุ่มทดลอง, n=77) าน Hos ital ยาบ ล น ่ พ.ศ. 2558 ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2559 าน pit าลน โรง Nan รวบรวมข้อมูลaทั่วlไป ข้อมูลทางคลินิก หลังผ่าตัด ่าน พยา โ H Nan ร osp ง พรับยการประเมิน บาล 1 วัน ผู้ป่วยทั้งสองกลุ่ม จะได้ Hos ital า น่า บ น p i ศัtกยภาพการบริหารปอดและติดตามประเมิา นลภาวะ าบา น ผู้ป่วยทั้ง 2 กลุ โ ร่ม งมีลักษณะทั่วไปและ a ่ า l น ลน่ ปอดอักเสบติดโ เชื้อจนกว่าจะจาหน่ายกลับบ้าน พ ยหลัา งผ่าตัด a n นิกใกล้เคียงกัน ยกเว้นการรักษา ลักNษณะทางคลิ าน รงพ บาล H Nan วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิ ตยิ exact probability o s p หารปอดก่อนผ่าตัด มีศักยภาพการบริ าบา นหาร่ า ผู ป ้ ว ่ ยที ไ ่ ด้ ร บ ั การสอนบริ น H o s test และ ranksum test ล น ital ่า p ปอด ดีกว่าผู้ป่วยที่ได้รับการสอนหลังผ่าตัด (บริหารปอดไม่ได้ น่า

บาล

น N an Hos pit al ่าน Nan Hos pit al

pit

น N a n 0% vs 2.6%) และพบภาวะปอดอัโกรเสบจากการติ ง พ ย ดเชื้อในผู้ป่วย โรง H า o พยา p i าt (0% vs 2.6%) แต่ยังไม่มีนัยสาคับญาทางสถิ ล น ต่ ิ กลุ่มนี้นs้อยกว่ บาล al าน น่า โรง น N พยา โรง an บาล พยา Hos น่า บาล pit น น่า a l น N โรง an พยา โรง Hos บาล พยา pit น่า บาล al น น่า โรง น N พ ยาบ an าลน Hos ่าน pit al โรง พยา บ า ล ผู้ป่วยได้รับการสอนบริหาร ในผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักที่มานอนรักษาในโรงพยาบาล ควรหาโอกาสให้ น ปอดก่อนส่งไปผ่าตัด เนื่องจากพบว่าผู้ป่วยมีศักยภาพในการบริหารปอดดีก่ ว่าา นและมีอัตราการเกิดภาวะ

ital

ปอดอักเสบติดเชื้อน้อยกว่า อย่างไรก็ดี ควรรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อให้ได้ข้อสรุปทางสถิติที่ชัดเจน

รายงานประจำ�ปี 2560

63


ยาบ โรง

โรง

พยา

บาล

าลน

่าน

spi Nan

Hos

pit

tal

โรง

พยา

บา

น่า al ผลของการใช้แนวทางปฏิ บตั ิการป้องกันลภาวะแทรกซ้ อน น N น N a n Hน โ ร ง วนบนอย่างเฉียบพลั an จากการอ ุดกัน้ ทางเดินหายใจส่ โรง พยา osp H o พยา บาล spi ital บ า ล หลังถอดท่อช่วยหายใจในผู tal ป ้ ่ วยที ่ ไ ด้ ร บ ั ยาระงั ความร ส ้ ู ก ึ ทั ว ่ ร่ า งกาย นบ ่ า น น พยา

น่า

่าน

บาล

Na

n ขัHนทะ (พย.บ) N aชยา กริ ุช (พย.บ), ณัฐยาโ อิร นงอืพ่นย(พ.บ, พ.ว.วิสญ ั ญี ), อังคณา n ปราบน osp าบา Hos i t a l าน ม ุ่ งานวิ ส ญ ั ญี ว ิ ท ยา โรงพยาบาลน่ ลกล pi น

โรง

พยา

บาล

น่า

น N โรง น N Nan พยา an H oน้ ของทางเดิ ง พ ย (NPPE) เป็นภาวะ การอ ุดกั Negative Pressure Pulmonaryโ รEdema นหายใจ บาล โรง H s o p าบา spi พยา i น่า t a l ส่วนบนอย่างเฉีt ยaบพลั น พบได้ในผูป้ ่ วยที่ได้ยาระงัลบนความรส้ ู ึกทัว่ ร่างกาย เป็นภาวะแทรกซ้ อน น N บาล l ่ าน an โ น่า ร ที ่ พ บค่ อ นข้ า งยากแต่ เ ป ็ นอั น ตรายมากที ่ ม ี ค วามร ุนแรงท าให้ ผ ป ้ ู ่ วยถึ ง แก่ ช ี ว ิ ต และสามารถ งพย Nan น N โรง าบา a nอธิบายกลไกการเกิดภาวะนี้ได้ใพนปยี ค.ศ.1942 H o s ป้ ่ วยอย่างต่อเนื่องมี มีศึกษาจากการรายงานผู าบา พยา ลน่ Hos p i t aบตlั ิในการด ูแล าน บาล p iุบัtติการณ์รอ้ ยละ 0.05-0.094ล ดันง่ นัา น้ นการปรับและเน้นแนวทางปฏิ รายงานอ Nan น่า a l โ ร้ ไงด้ น N ผูป้ ่ วยเมื่อฟ้ ื นจากยาระงับความรส้ ู ึก จะช่วยป้องกัNนและลดอ a n ุบัติการณ์ภาวะแทรกซ้อนนี Hos พยา an โรง Hos บ พยา Hos pit าลน บาล al pit ยาบ ่าน a น่า l าลน Nan โ น รงพ ่าน วิ ธ ี ด าเนิ น การวิ จ ั ย N Hos โ an ยาบ รงพ Nan pi H า ย osp ลน่ าบา Hos า i ล น t น่า pit Nan ลน่ น N การวิจยั นีเ้ ป็ นการวิจยั เชิงทดลองในผูป้ a่ วยl 2 กลุม่ เปรีโ ยบเทียบก่อนและหลัง al าน Hos a ร ง n การใช้แนวทางปฏิบตั กิ ารถอดท่อช่วยหายใจ ในผูป้ ่ วยที่ได้รบั ยาระงั บความรูส้ ึก Nan พ โ ร งุบัติการณ์ pit H เพื่อศึกษาอ ย ทัว่ ร่างกาย oที่สsามารถถอดท่ อช่วยหายใจได้ทกุ รายมีอายุตงั้ แต่ 10าปี ขึบน้ ไป พยา al Hos p า i ล t การเกิ ด ภาวะ การอ ุดกั น ้ ผ่าตัดท่านอนหงายและท่าตะแคง บาล a l กลุม่ ควบคุม ศึกษาโดยการเก็บข้อมูลย้อนหลัง น ่ า น pit al Nan ทางเดินหายใจส่วนบน น ่ า น จากเวชระเบียนจานวน 1,000 ราย ระหว่าโง ตุรลาคม 2557 ถึง กันยายน 2558 น่า ง พ ย่ยม” ในกลุม่ ศึกษาจานวน และกาหนดวิธีการประเมินผูป้ ่ วยตามเกณฑ์ “สามเหลี N น N Hos โารงเฉี a อย่ ย บพลั น หลั ง ถอด n ราย งพย 1,000 ระหว่าง ตุลาคม 2558 ถึง กันยายน 2559าผูป้ บ่ วยให้ความยินยอม an pit H า o ล า al เข้าร่วมงานวิsจยั pโครงการวิจยั ได้รบั อนุญาตจากคณะกรรมการจริยนธรรมบ า ลป้ ่ วยที่ Hos ท่อช่วยหายใจในผู ่ า i น t น ส่ ้ ู าึก pit การวิจยั โรงพยาบาลน่aานการเก็ บข้อมูลใช้การบันทึกสร้างขึน้ ตามแนวทาง l N ได้ ร บ ั ยาระงั บ ความร an น N al ยาลัยวิสญ ั ญีฯซึ่งประกอบด้วย ข้โอมูลลักษณะทัว่ ไปของผูป้ ่ วยประเภทของ Hos a n ราชวิผูป้ ่ทวยและการผ่ รอช่งวยหายใจ ทั ว ่ ร่ า งกาย เปรี ย บเที ย บ า ตั ด ประเมิ น การถอดท่ การจั ด ท่ า หลั ง ถอดท่ อ พ โรง pit H ย o า บ า นลหายใจส่วนบน al ช่sวยหายใจ p i t ค่า ETCO2 และการเกิด ภาวการณ์อดุ กัน้ ทางเดิ ก่อนพ และหลั ย า บ ง การนา นแก่​่ า อย่าaงเฉีlยบพลัน การวิเคราะห์ขอ้ มูลใช้สถิตเิ ชิงพรรณนา ได้ โรง า ล น แนวทางปฏิบตั นิการ พย ่าน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบีโ่ยรงเบนมาตรฐาน และใช้สถิตทิ ดสอบ Chi-square N a n ง N พ ป้องกันไปใช้ Hos และ Independent an ย Sample า บ า T-test pit Hos ล น่า al pit น N al โรง an พยา โ ร ง ผลการวิจัย H osp พยา ital บาล น โรง ่ า เนคียงกันกลมุ่ ผูป้ ่ วยทัง้ 2 กลมุ่ มีอาย ุเฉลี่ยใกล้ พยา ควบค ุม 47.0±14.7 ปี กลมุ่ ศึกNษาa n บาล H 48.1±15.2 ปี สัดส่วนเพศชาย:หญิง (ร้อย o s p ital ละ) 50.5 : 49.5 และ 45.4 : 53.6 จาแนก โรง ประเภทผูป้ ่ วยตาม ASA ClassI 43.6 : 37.3 พยา ASA ClassII 49.0 : 55.9 ASA Class III บาล 7.5 : 6.5 ASA Class IV 0.0 : 0.3 มีความ น น่า

tal

่าน

แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญ (p= 0.003) ค่า ETCO2 มีค่าเฉลี่ย 33.9±2.6 และ 33.3±3.0 (p< 0.001) อัตราการเกิดภาวะ การอ ุดกัน้ ทางเดินหายใจส่วนบนอย่างเฉียบพลันหลัง ถอดที่ช่วยหายใจมีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติ (p<0.05)

สรุปและข้อเสนอแนะ แนวทางปฏิบตั ิ การป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการอ ุดกัน้ ทางเดินหายใจส่วนบน อย่างเฉียบพลัน หลังถอดท่อช่วยหายใจในผูป้ ่ วยที่ได้ยาระงับความรูส้ ึกทัว่ ร่างกาย (NPPE) มีแนวโน้มจะช่วยลดอ ุบัติการณ์ ลงได้จึงควรแนะนาให้มีการใช้แนวทางปฏิบตั ิน้ ีต่อไป แต่เนื่องจากอ ุบัติการณ์น้ ี เกิดได้นอ้ ย ควรเก็บรวบรวมข้อมูลและนามาวิเคราะห์ เพื่อพัฒนาค ุณภาพงานต่อไป

64 รายงานประจำ�ปี 2560


ผลของการประคบเย็นและใช้แรงกดด้วยถุงทราย ต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยหลังผ่าตัดไส้เลื่อน หอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย โรงพยาบาลน่าน สุดเสน่ห์ อุปธิ พยาบาลวิชาชีพชานาญการ โรงพยาบาลน่าน

an

Hos

Hos

spi

pit

tal

pit

ความสาคัญ

al

al โรง

ไส้เลื่อนที่ขาหนีบเป็นโรคทางศัลยกรรมที่พบได้บ่อยหากปล่อย ทิ้งไว้ อาจทาให้เกิดภาวะลาไส้อุดกั้น ทาให้เกิดอาการปวดท้อง อาเจียนและถ้า โรง พ ย า ปล่อยทิ้งไว้นาน ลาไส้ที่ติดคาจะถูกบีบรัดจนขาดเลือด เกิดลาไส้เน่าให้เป็น บาล สาเหตุ น ่ าที่ ต้ อ งรั บ การผ่ า ตั ด แต่ ห ลั ง ผ่ า ตั ด มี โ อกาสเกิ ด ลิ่ ม เลื อ ดบริ เ วณใต้ แ ผล ผ่าตัด ซึน่งเกิNดaจากเลือดออกจากหลอดเลือดเล็กๆขณะทาการเลาะเนื้อเยื่อ การ โรง ไอบ่อย การเบ่งnปัสHสาวะ พยา o อุจจาระหลังผ่าตัดทาให้เกิดอุบัติการณ์แผลบวม ผู้ป่วย บ า ล ต้องได้รับการผ่าตัดซ้าs pการประคบเย็ ital นและกด pressure ด้วยถุงทราย สามารถ นช่ว่ ายลดโอกาสการเกิด bleeding complication ในผู้ป่วยหลังผ่าตัดไส้เลื่อน น โร

พยา

Nan

Hos

งพย

าบา

ล นวัต ประสงค์ ่ า ถุ น N ital an น N โรง H oงผ่s าตัดไส้เลื่อน a n เพื่อศึกษาการเกิด bleeding พ ย complication ในผู้ป่วยหลั โรง าบา pit Hos พยา al ล ทีข ่ าหนีบ ที่ไpด้รi ับ การประคบเย็ น และ/หรื อ กด pressure ด้ ว ยถุ ง ทราย น บาล tal ่าน โรง น่า Nan พยา โรง น N บาล H พ โรง osp a nรูปแบบศึกษา สถานที่และผู ย า ้ปบ ่วย น่า พยา Hos i า t ลน่ น al บาล pit า น N factorial design นาผู้ป่วยเข้ โ น่า a เป็นการศึ กษาเชิงประสิทธิภาพ รูปแบบ า ร l งพย an น N าHตัoดไส้เลื่อนที่ได้รับยา าบา a n กลุ่มศึกษาเป็นรายเดือโ นร งศึพกยษาในผู้ป่วยที่ ได้รับการผ่ s ลน่ โรง p H า ระงั บ ความรู ส ้ ก ึ ทางไขสั น หลั ง ทุ ก ราย จ านวน 4 กลุ ่ ม กลุ ม ่ ละ 40 คน ที ต ่ ก ึ i osp บาล tal าน พยา i t a l โรงพยาบาลน่าน น ่ า ศัลยกรรมชาย บาล โ น N รงพ น่า โรง a ยาบ n น N พ ย า การวัดผลและวิธีการศึกHษา าลน o an spi บาล ่าน Hos ยาบ เก็ บ ข้ อ มู ล ผู้ ปน่ ว่ ยที l ่ ไ ด้ รั บ ยาระงั บ า น ่ ไ ด้ รั บ การผ่ า ตั ด ไส้ เ ลืt่ อa นที pit าลน โ ร ง อ การ a N a n ย บการประคบเย็ น และ/หรื ่าน ความรู้ สlึ ก ทางไขสั พยา โ ร ง น หลั ง ทุ ก ราย เปรี ย บเที H Nan o บาล s พ pressure ด้ ว ยถุ ง ทราย(กลุ ่ ม ทดลอง 3 กลุ ่ ม ) เปรี ย บเที ย บกั บ กลุ ่ ม ที ่ ไ ม่ประคบ p ยาบ Hos ital น่า าลน น p i t (กลุ่มควบคุม) าบา โรง al ่าน ลน่ พยา Nan โ รกง ษา าน ผลการศึ บาล พยา Hos Nan น่า บ pit น Hos ดัชนีชี้วัด า ล น ระยะเวลาที่เกิด Bleeding การเกิด Bleeding a l ่าน pit (hr) โ น่า al Nan RR ร ง พ95%CI P-value น N ยาบ โ H รงพ o an s าลน Hos ไม่ประคบเย็น/ไม่ย กดด้ 19p i t 1.00 Ref. า บวยถุา งทราย a ่าน l pit โ a l ประคบเย็นอย่างเดียว ล น ่ า น ร ง0.66 30 พ ย า 0.13, 3.30 0.613 Nan โรง ่าน บาล พ า Hos 0 Nan กดด้วยถุยงทรายอย่ างเดียว 0.00 น- ่ า บ pit าลน น Hos al pit ประคบเย็นร่วมกับกดด้่วายถุ 9 นงทราย โ ร ง 0.32 0.04, 2.88 0.313 al Nan พยา โรง Hos บาล พยา pit น่า บาล al น น่า โรง น N พ ยาบ an าลน Hos ่าน pit al โรง พยา สรุปและข้อเสนอแนะ บาล น่า น ง ควรกด pressure ผู้ป่วยหลังผ่าตัดไส้เลื่อนที่ได้รับยาระงับความรู้สึกทางไขสันหลั บาล

น่า

pit

al

ด้วยถุงทราย เนื่องจากการศึกษานี้ไม่เกิดbleeding และ complicationอื่น

รายงานประจำ�ปี 2560

65


ส่วนที่ 5 คนดี คนเก่ง โรงพยาบาลน่าน รายงานประจำ�ปี 2560

66 รายงานประจำ�ปี 2560


บันทึกความดี “คนดี คนเก่ง โรงพยาบาลน่าน” ประจำ�ปีงบประมาณ 2560 1. ดร.รัตนาพร ทองเขียว รางวัลที่ได้รับ รางวัลบุคคลดีเด่น ชมรมโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไปcและมูลนิธินายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ประจำ�ปี 2560 สาขาพยาบาล 2. นางอุลี ศักดิ์สุวรรณ รางวัลที่ได้รับ รางวัลบุคคลดีเด่น ชมรมโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไปcและมูลนิธินายแพทย์บุญยงค์ วงศ์รักมิตร ประจำ�ปี 2560 สาขานักวิชาการ 3. คุณสุภาพ สิริบรรสพ รางวัลที่ได้รับ รางวัล “แทนคุณแผ่นดิน ปี 2560” 78 ต้นแบบคนดีสู่ 65 ล้านคนดีทั่วไทยครั้งที่ 11 4. ทพญ.สุรีรัตน์ สูงสว่าง รางวัลที่ได้รับ รางวัลชนะเลิศ เรื่องเล่ากิจกรรมสร้างสุขในองค์กร “อิ่มบุญ อิ่มใจ ในโรงทานอิ่มบุญ” โครงการพัฒนา และส่งเสิรมความรู้ เพื่อสนับสนุนสุขภาพวะองค์กรคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดย การสนับสนุนของสำ�นักสนับสนุนสุขภาวะองค์กรสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ประจำ�ปี 2560 5. นางศศิญา กุลวรางค์พัฒน์ รางวัลที่ได้รับ รางวัล ผลงาน R2R ดีเด่น ระดับตติยภูมิศูนย์ความเชี่ยวชาญระดับสูง และโรงเรียนแพทย์ การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำ�สู่งานวิจัย Routine to Research (R2R) ครั้งที่ 10 เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2560 6. Service Plan สาขาตา รางวัลที่ได้รับ รางวัลผลงานดีเด่น Best Practice ในการประชุมสัมมนา Service Plan Sharing ครั้งที่ 3 ปี 2559 7. แพทย์หญิงจริยา ปรีศิริ รางวัลที่ได้รับ รางวัลศิษย์เก่าแพทย์ดีเด่น จากศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลลำ�ปาง เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2560 8. นางจรวยพร สุธรรม รางวัลที่ได้รับ รางวัลพยาบาลดีเด่นของชมรมพยาบาลน่าน ประจำ�ปี 2560 9. นางปวีณา ยะใหม่วงศ์ รางวัลที่ได้รับ รางวัลพยาบาลดีเด่นของชมรมพยาบาลน่าน ประจำ�ปี 2560 10. นางศศิญา กุลวรางค์พัฒน์ รางวัลที่ได้รับ รางวัลพยาบาลดีเด่นของชมรมพยาบาลน่าน ประจำ�ปี 2560 11. ภญ. ปณิธาน พิทักษ์​์ รางวัลผลงานวิจัยดีเด่น oral presentation งานประชุมวิชาการกลุ่มเภสัชกรภาคเหนือ เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2559

รายงานประจำ�ปี 2560

67


68 รายงานประจำ�ปี 2560


รายงานประจำ�ปี 2560

69


70 รายงานประจำ�ปี 2560


รายงานประจำ�ปี 2560

71



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.