วารสารโรงพยาบาลน่าน ปีที่ 7 ฉบับที่ ๘๐ เดือนพฤษภาคม 2558
๒
วารสารโรงพยาบาลน่าน ปีที่ 7 ฉบับที่ ๘๐ เดือนพฤษภาคม 2558
๓
สวัสดีค่ะ วันนี้อยากมาเล่าเรื่องศูนย์ออกกำลังกำยโรงพยำบำลน่ำน หรือเรียกกันทั่วไปว่าศูนย์ฟิตเนสของโรงพยาบาล ถือว่าคุยสู่กัน ฟังก็แล้วกันนะคะ
หากมีใครถามว่าได้มาอย่างไร เงินใครบริจาค บ่ใช่ใครที่ไหนเงินโรงพยาบาลน่านล้วนๆ นะเจ้า
ต้องบอกว่าเริ่มตั้งแต่กลุ่มงานอาชีวเวชกรรมรับผิดชอบดูแลสุขภาพบุค ลากร ทาให้เห็นข้อมูลการภาวะสุขภาพของพวกเราชาว โรงพยาบาลน่านมาโดยตลอด กราฟนี้เอาให้ดูกันเล่น ๆ นะคะเป็นสถิติร้อยละของภาวะสุขภาพของเจ้าหน้าที่รพ.น่าน จะเห็นว่ำประมำณครึ่งหนึ่ง ของพวกเรำสุขภำพดี อีกครึ่งหนึ่ง ไม่ค่อยดีเท่ำไร...555 แม้ว่าเราจะจัดคลินิกพิเศษ สาหรับดูแลสุขภาพบุคลากรกลุ่มเสี่ยง เฉลี่ยปีละประมาณ 300 กว่าคน และ พยายามที่จะช่วยทาให้ 300 กว่าคนนี้ ไม่กลายไปเป็นกลุ่มโรค และจะดีที่สุด คือทาให้บุคคลกลุ่มนี้กลับมาเป็นกลุ่ม สุขภาพดีให้ได้ ในขณะเดียวกั นเราคงต้องคิ ด หาปั จ จั ย สนั บ สนุ น อื่ น ๆ ที่ จ ะเอื้ อ ต่ อ การส่งเสริมสุขภาพและเป็นที่ต้องการ ของบุคลากร ที่หาได้ก็มาจากแบบสอบถามประจาปีที่เราส่งไปให้ทาก่อนตรวจสุขภาพทุกปีๆ นั่นแหละค่ะ คำตอบคืออยำกให้โรงพยำบำลมี สถำนที่และอุปกรณ์สำหรับออกกำลังกำย จึงเป็นที่มาของการจัดทาโครงการฟิตเนสเซ็นเตอร์สาหรับบุคลากรโรงพยาบาลน่านขึ้นมา ดังนั้น สิ่งเหล่านี้ถูกสร้างขึ้นมาจากความต้องการของพวกเรา เพื่อช่วยสนับสนุนให้พวกเรามีสุขภาพที่ดี มีความสุข และสามารถเป็นแบบอย่างที่ดี ด้านสุขภาพแก่ประชาชนได้ด้วย
วารสารโรงพยาบาลน่าน ปีที่ 7 ฉบับที่ ๘๐ เดือนพฤษภาคม 2558
๔
ดังนั้นทางกลุ่มงานอาชีวเวชกรรม จึงคาดหวังว่าพวกเราจะมาใช้บริการกันเยอะๆ โดยเฉพำะพี่ๆ น้องๆ กลุ่มเสี่ยงทั้งหลำย ทั้ง BMI เกิน รอบเอวเกิน ไขมันเกิน ไอ้ที่เกินๆ ทั้งหลำยน่ะค่ะ มาเถอะ มาออกกาลังกายด้วยกันเป็นหมู่คณะ สนุกดี มีพี่ๆ ชมรมแอร์โรบิกมาสร้าง สีสันออกกาลังกายร่วมกันอยู่บริเวณนั้นด้วย ส่วนคนที่สุขภาพดีอยู่แล้วก็มาได้ มาออกกาลังกายให้สุขภาพเรายิ่งดีขึ้นไปอีก 55
ค า ถ า ม ต่ อ ม า ถ า ม ว่ า ใ ห้ ใ ช้ เ ฉ พ า ะ เ จ้ า ห น้ า ที่ โ ร ง พ ย า บ า ล น่ า น เ ท่ า นั้ น ? คนนอกมาใช้บ่ได้กะ ?
ท่าจะแม่นละเจ้า...555 ตอบค่ะตอบ มันมีที่มาที่ไป จะตอบว่า ในระยะ 8 เดือนแรก เราเปิดให้บริการแบบเปิดกว้าง ทั้งบุคลากรและ ประชาชนทั่วไป แต่ก็พบปัญหาหลายอย่างพอสรุปได้สังเขปดังนี้นะคะ อย่างแรกเลยคือการใช้เครื่องออกกาลังกายไม่ถูกวิธี ขาดความร่วมมือ ในการปฏิบัติตามกฎกติกาที่ตั้ง ไว้ และเครื่องออกกาลังกายไม่ได้รับการดูแล ก่อให้เกิดปัญหาเครื่องฯ ได้รับความเสียหาย ช ารุด ต้องปิ ด ปรับปรุงซ่อมแซมเครื่องเป็นระยะเวลานาน ประมำณกำรค่ำเสียหำยรวมต่อเนื่องกว่ำ ๔๒,๐๐๐ บำท แต่เนื่องจากยังอยู่ในช่วงระยะเวลา การดูแลตามสัญญา จึงยังไม่เกิดรายจ่ายในส่วนของค่า บารุงรักษานี้ พบข้อร้องเรียนเรื่องความไม่ปลอดภัยจาก เหตุให้บุคคลภายนอกมาใช้สถานที่ภ ายในอาคารนอก เวลาราชการ โดยเฉพาะยามวิ ก าล มี ก ารเปิ ด ไฟฟ้ า เครื่องปรับอากาศ พัดลม หรือเสียบปลั๊กอุปกรณ์ต่างๆ คาเครื่องฯ ไว้ ก่อให้เกิดการสิ้นเปลืองพลังงานและเสี่ยง ต่ออัคคีภัย สิ่ ง เหล่ ำ นี้ ถ ำมว่ ำ คนข้ ำ งนอกสร้ ำ งปั ญ หำ ทั้งหมดหรือ ไม่ ก็คงไม่ใช่ เจ้ำหน้ำที่เรำก็สร้ำงปัญหำ เช่นกัน ฮิ้ว ววว!!! แต่การว่ากล่าว ตักเตือน ขอความ ร่วมมือ เราทากับ คนของเราได้ดี กว่ า และเมื่อ เรามา ประเมินอัตราการใช้โดยเฉพาะช่วง 16.00 - 20.00 น. จะมี ผู้ ม าใช้ จ านวนมากท าให้ อุ ป กรณ์ ไ ม่ เ พี ย งพอต่ อ ผู้ใช้บริการ ดัง นั้นเมื่อทาการเปิดบริการ ภายหลั ง การปรั บ ปรุ ง เรำจึ ง ของ สงวนสิทธิ์ในกำรใช้สำหรับบุคลำกร โรงพยำบำลน่ ำ นและญำติ ที่ ม ำด้ ว ยกั น เท่ ำ นั้ น ใน อนาคตหากมีอุปกรณ์เพิ่ม เราอาจพิจารณาเปิดบริการ สาหรับประชาชนทั่วไปอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งก็ขอดูๆ ข้อมูลกัน ไปเรื่อยๆ ก่อนนะคะ
วารสารโรงพยาบาลน่าน ปีที่ 7 ฉบับที่ ๘๐ เดือนพฤษภาคม 2558
๕
เปิดครัง้ นีม้ อี ะไรใหม่ไหม ? อิ...อิ
คงต้องบอกว่าอย่างแรก คือ รูปแบบการบริหาร จัดการ ตอนนี้เราใช้รูปแบบของคณะกรรมการเข้ามา ดูแล โดยคณะกรรมการทั้งหลายก็มาจากพวกเราที่มาใช้ บริ ก ารที่ ฟิ ต เนสของโรงพยาบาลประจ าหรื อ บ่ อ ยๆ นั่นแหละมีทุกสาขาอาชีพ จะได้ช่วยๆ กันสอดส่องดูแล ช่วยกันเสนอแนะข้อคิดเห็นในหลากหลายมุมมอง โดยมี เจ้าหน้าที่ของกลุ่มงานอาชีวเวชกรรมทุกคนเป็นผู้ช่วยรับ ข้อเสนอเหล่านั้นแปลงเป็นเอกสารหรือรายงาน เสนอต่อ ผู้บริห ารต่ อไปค่ ะ อี กอย่ างหนึ่ ง คื อ มี น้อ งๆ ของเรำ ผลั ด เปลี่ ย นหมุ น เวี ย นกั น มำช่ ว ยดู แ ลสถำนที่ ดู แ ล เครื่องออกกำลังกำย อำนวยควำมสะดวกเรื่องวิธีกำรใช้เครื่อง รวมถึงควำมปลอดภัยโดยรวม ตั้งแต่เวลำ 16.30 น. - 20.30 น. ของ ทุกวัน ทั้งนี้ พวกเรา ก็ช่วยกันให้ความร่วมมือกับน้องๆ กันด้วยนะคะในเรื่องของการปฏิบัติตามกฎกติกามารยาทร่วมกัน แรกสุดพื้นฐานก็ตามนี้เลยนะคะ น้องเค้าจะได้ไม่ลาบากใจในการไล่ออกจากห้อง เอ๊ย...ไม่ใช่ ไม่ลาบากใจในการเข้าไปบอกกล่าว
สุดท้าย ท้ายสุด ท่านผูอ้ านวยการให้นโยบายไว้วา่ อยากให้โรงพยาบาลน่านเป็นองค์กรแห่งความสุข ! โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) กาหนดตัวชี้วัดความก้าวหน้าของมนุษย์ เรียกว่า ควำมสุข 8 ประกำร ซึ่งมีอยู่ 3 ส่วน ใหญ่ ๆ ความสุขของคน ความสุขของ ครอบครัว ความสุขของสังคม ประกอบด้วย ควำมสุขทำงกำย (happy body) ความสุขจากการมีสุขภาพดี แข็งแรงทั้งกายและ ใจ ซึ่งเกี่ยวข้อง กับการรู้จักใช้ชีวิตเป็นสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เป็นอยู่ น้ำใจงำม (happy heart) ความมีน้าใจเอื้ออาทรต่อกันและกันในองค์กรเป็นสิ่งที่ สาคัญ เชื่อว่าไม่มีใครอยู่ได้ค นเดียวในโลกนี้ เราต้องรู้จักการแบ่ง ปัน และต้องรู้สึกว่าเมื่อ คิดถึงคนอื่นก็มีความสุขใจเกิดขึ้น ทำงสำยกลำง (happy relax) ต้องรู้จักการผ่อนคลาย ไม่ว่าจะเป็นการทางานหรือ การใช้ชีวิต ต้องนาทางสายกลางมาใช้ ต้องรู้จักปล่อยวางบ้าง เพราะจริงจังแต่ไม่ไหวต้องมี คาว่า "หยุด" เพื่อจะมีสติแล้วคิดเดินต่อไป พัฒนำสมอง (happy brain) ความสุขจากการได้เรียนรู้ พัฒนาสมองตัวเองจาก แหล่งต่างๆ นาไปสู่ความเป็นมืออาชีพและความก้าวหน้าในการทางาน ศำสนำและศีลธรรม (happy soul) ความศรัทธาศาสนาและศีล ธรรมในการดาเนินชีวิต ความสุขของคนทางานเกิดได้จากธรรมะ จริยธรรม ความซื่อสัตย์ เป็นสิ่งสาคัญของมนุษย์ทุกคนที่องค์กรต้องสร้าง ปลอดหนี้ (happy money) มีเงินรู้จักเก็บรู้จักใช้ ไม่เป็นหนี้ ถ้าเชื่อว่าหาความสุขด้วยเงินไม่มีวันพอหรอก สร้ำงควำมสุขจำกกำรมีครอบครัวที่ดี (happy family) ครอบครัวที่เข้มแข็งย่อมเป็นครอบครัวที่อบอุ่นและมั่นคง ควำมสุขที่เกิดจำกสังคม (happy society) สังคมดีจะเกิดขึ้นได้เมื่อมีความรักความสามัคคี เอื้อเฟื้อต่อคนในชุมชน คนทางาน ที่พักอาศัย ควำมสุขทั้ง 8 สร้ำ งได้ เพื่อให้เกิดควำมสุขที่ใหญ่ที่สุดคือ กำรสร้ำงควำมสุขในที่ทำงำน (Happy Workplace) เอาละนะคะเราช่วยท่านเริ่ม start ข้อที่ 1 แล้ว ข้อต่อๆ ไปคงต้องไปทาเอง ส่วนที่โรงพยาบาลเดี๋ยวนโยบำยคง ตำมมำ ด้วยความรักและปรารถนาดีจากนางสาวต้อย อิอิ...
วารสารโรงพยาบาลน่าน ปีที่ 7 ฉบับที่ ๘๐ เดือนพฤษภาคม 2558
๖
เนื่องด้วยเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่ผ่านมา เป็นมหามงคลสมัยที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญ พระชนมายุ ๖๐ พรรษา ๒ เมษายน ๒๕๕๘ ด้วยสานึกในพระกรุณาธิคุณของพระองค์ที่ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจนานัปการทั่วทุกพื้นที่ ของประเทศไทย และที่สาคัญในพื้นที่จังหวัดน่านและโรงพยาบาลน่าน ดังนั้น โรงพยาบาลน่านจึงได้จัดกิจกรรมเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติ ฯ เฉลิมฉลองในวโรกาสดังกล่าว โดยมีกิจกรรมที่สาคัญคือการจัด “โรงทำนอิ่มบุญเฉลิมพระเกียรติ” เพื่อจัดเลี้ยงอาหารกลางวันแก่ผู้ป่วย ญาติ ผู้ป่วย ผู้รับบริการโรงพยาบาลน่านและประชาชนทั่วไป เริ่มตั้งแต่วันที่ ๑ เมษำยน ๒๕๕๘ และต่อเนื่องตลอดทั้งเดือนเมษำยน ๒๕๕๘ ในวันรำชกำร ตั้งแต่เวลำ ๑๒.๐๐ น. – ๑๓.๐๐ น. ณ ลำนชั้น ๑ ข้ำงอำคำร ตึกผ่ำตัด รพ.น่ำน ซึ่งดาเนินกิจกรรมเสร็จสิ้นไปแล้วนั้น ในวำรสำรฯ ฉบับนี้ จึง ขอสรุปผลกำรดำเนินกิจ กรรมโรงทำนอิ่มบุญ ฯ ทั้ ง ในส่วนของการบริหารจัดการ, ด้านงบประมาณ ความประทับใจที่นาเสนอผ่านภาพถ่าย และบทความที่มาจากจดหมาย(น้อย) ของผู้บริจาครายหนึ่ง ที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้
๑๘ วันในกำรเปิดโรงทำนอิ่มบุญฯ มีผู้เข้ำมำร่วมรับประทำนอำหำรกลำงวันในโรงทำนฯ กว่ำ ๑๓,๐๐๐ คน มีเจ้ำภำพร่ว ม บริจำคอำหำรคำวหวำน ขนม อำหำรเสริมต่ำง ๆ กว่ำ ๒๕๐ เจ้ำภำพ ยอดรวมเงินบริจำค (ทั้งบริจำคปกติ,ในตู้บริจำคและเงินจัดซื้อ อุปกรณ์) กว่ำ ๓๑๗,๑๘๔ บำท กิจกรรมนี้สาเร็จลุล่วงลงได้ จากความร่วมมือ ร่วมใจของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายอย่างแท้จริง คณะทางานทุกคน ตั้งอกตั้งใจทางานกันมาก ด้วยหวังให้กิจกรรมราบรื่น ท่านที่มาร่วมทานอาหารมีความสุข และถวายเป็นพระราชกุศแด่พระองค์ท่าน จึงขอใช้ พื้นที่ในวำรสำรฯ ฉบับนี้ ขอบคุณทีมงำนทุกคน ชุมชนทุกชุมชนที่ประกอบอำหำรจัดเลี้ยง เจ้ำภำพอำหำรคำวหวำน ขนม เครื่องดื่ม ทุกคณะ ทุกท่ำน นักดนตรีที่มำมอบควำมสุขในทุกวัน (อ.ลักษณาพร ทัศนาวลัย (อ.อ๊อด), ชายชื่อกานต์, คุณพี่ชายเล็ก ไชยช่อฟ้า คุณมนูญ กันฟอง จากคนลายเมือง คุณแอ๊ว ร้านแมกไม้, วงดอกเลา และคณะอาจารย์จากรร.นันทบุรีวิทยา) มีคนถามมากันหลายคนว่า จะมีโครงการโรงทานฯ อย่างนี้อีกไหมในอนาคต ก็คงต้องตอบว่ามีแน่นอนครับ ...ขอเพียงมีเวลา สถานที่ โอกาสและคนทางานพร้อมทุกองค์ประกอบแล้ว เราก็คงได้มาร่วมกิจกรรมดี ๆ และ”อิ่มบุญ” กันอย่างนี้อีกแน่นอนในอนาคต อีกประเด็นหนึ่ง ในส่วนของงบประมาณหลัง จากหักค่าใช้จ่ายแล้ว คณะทางานได้ปรึกษาหารือกันและมีมติว่า ให้จัดซื้อข้าวของ เครื่องใช้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดโรงทาน เช่น ชาม ช้อน ถังพลาสติกที่ใช้เก็บอุปกรณ์ ถังน้าแข็งขนาดเล็ก ฯลฯ รวมทั้งเครื่องมืออุปก รณ์ที่ยัง ขาดแคลนในการจัดกิจกรรม ให้เป็นสมบัติของส่วนรวมและจัดเก็บไว้ที่กลุ่มงานเวชกรรมสังคม และกลุ่มงานสุขศึกษา เพื่อในโอกาสภายหน้า หากมีการจัดกิจกรรมลักษณะอย่างนี้อีก จะได้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่นี้ต่อไปได้ทันที สุดท้ำยนี้ ขอให้บุญกุศลที่ได้ร่วมสร้ำง นำควำมสุขมำยังท่ำนทุกคน..อิ่มบุญ อิ่มใจกันตลอดไป ขอบคุณทุกท่ำนด้วยจิตคำรวะ.
วารสารโรงพยาบาลน่าน ปีที่ 7 ฉบับที่ ๘๐ เดือนพฤษภาคม 2558
ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33
ชื่อ สกุล จำนวนชุด เงิน(บำท) นพ.พงศ์เทพ- พญ.สิริพร วงศ์วัชรไพบูลย์ 30 2,000 นายบรรจง-นางระเบียบ วงศ์วิวัฒน์ธนะ 30 2,000 นายสุรเชษฐ์-นางสุกรรณิการ์ เอกอนันต์กุล 20 1,180 นางบุณยาพร ชูติกุล 10 590 น.ส.เยาวลักษณ์ วงศ์วิวฒ ั น์ธนะ 10 590 นางวันทนา ต๊ะวิชัย 10 590 นายประสงค์ มงคลวิสุทธิ์ 9 531 งานส่งเสิมสุขภาพ วสค. น่าน 17 1,003 นางจันทนา นุเกตุ 10 600 นางปัทมา คุกิติรัตน์ 5 300 นางจรวยพร สุธรรม 5 300 นางวไลลักษณ์ ศรีทุมมา 3 200 นางกัลยา ผลบุญ 3 200 น.ส.ศิรสิ ุข แก้วอ่อง 4 240 นายวิโรจน์ -ละมัย ชูเตชะ 5 300 กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์ 5 295 นางวัลภารัตน์ มีชานาญ 2 120 พญ.สุพรรษา ยาใจ 2 120 นางพิศมัย พิมพ์มาศ 2 120 นายเทอดศักดิ์ ยาใจ 1 60 น.ส.ปิยะวรรณ เถินสุวรรณ 1 60 น.ส.วัลลภา อุตเสน 1 60 นายสมศักดิ์ แสนใส 1 60 นางสุกัญญา สุวรรณเลิศ 2 120 นางปิยะภรณ์ ศรีทุมมา 1 60 นางจันทร์ฉาย คีรีวลั ย์ 1 60 นางลักษิกา เทพจันตา 2 120 นางพิรชา ปันชุน 1 115 น.ส. ภัสส์ศา ปันชุน 2 120 นางสุรีรัตน์ สีโน 2 120 นางวัลย์เนาว์ แก้วอิ่น 1 60 นางเยาวลักษณ์ แก้วอิ่น 1 60 นางพิมผกา ศรีใจอินทร์ 1 60
๗
ที่ ชื่อ สกุล 34 นางสุปราณี ยะวิญชาญ
จำนวนชุด เงิน(บำท) 1 60
35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46
นางช่อวัฒนา พลสันติกุล นางกนิษฐา เสาวลักษณ์ นางเยาวพร จานงค์วิทย์ ทพญ.ดวงนภา คูอาริกุล น.ส.อังคณา ขันทะ นางดวงกมล วงศ์เป็ง นางนฏกร สิรสิทธิกร นางจินตนา ฑีฆาวงศ์ นส.วิภาพรรณ สัตตพิธรัตน์ นส.กาญจเนศ บัวเผื่อน ดช.ภัทร์นรินท์ บัวเผื่อน นางพิมพ์พา ไชยช่อฟ้า
2 2 2 2 2 2 2 2 2 1 1 2
120 120 120 120 120 120 120 120 120 60 60 120
47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61
นาย ณัฐบุตร ขวัญแก้ว นางสมพร รอดจินดา นางนันทพร ทัศนีวรรณ์ นางสุดเสน่ย์ อุปธิ นางกัญญรัตน์ ธนามี นายสุพจน์ งานวิชา นายเกรียงศักดิ์ คิดดี นางธนาวรรณ พุดหอม นางนพพร ธนามี นางสุกัญญา เล็กศิริวิไล นส.มณีรัตน์ จั่นมณี นายสิงห์ราช ราชแสง นส.เรืองศิริ วงศาระ นางอุลี ศักดิ์สุวรรณ นพ.วิญญู - คุณรติมาพร อยู่เวชวัฒนา คุณวันดี เรืองวงศ์ คุณดวงรัตน์ เพ็ชรแสนอนันต์ คุณอุสา บัวผัน คุณเปรมลดา มหายศนันท์ ดร.วรวรรทน์ - พญ.ภัควีร์ นาคะวิโร รวม
1 2 2 2 2 1 1 2 1 1 1 2 2
60 120 120 120 40 120 60 60 120 60 60 60 120 120
8 1 5 3 8 16 284
500 100 300 200 500 1,000 17,634
62 63 64 65 66
วารสารโรงพยาบาลน่าน ปีที่ 7 ฉบับที่ ๘๐ เดือนพฤษภาคม 2558
๘
วัน
วันที่/เดือน/ปี
ชุมชน
พุธ
๑ เมษำยน ๒๕๕๘
เมืองเล็น
พฤหัสบดี
๒ เมษำยน ๒๕๕๘
ภูมินทร์-ท่ำลี่
ศุกร์
๓ เมษำยน ๒๕๕๘
พญำภู
อังคำร
๗ เมษำยน ๒๕๕๘
พวงพยอม
พุธ
๘ เมษำยน ๒๕๕๘
สวนตำล
พฤหัสบดี
๙ เมษำยน ๒๕๕๘
สถำรศ
ศุกร์
๑๐ เมษำยน ๒๕๕๘
มหำโพธิ
พฤหัสบดี
๑๖ เมษำยน ๒๕๕๘
ช้ำงเผือก
ศุกร์
๑๗ เมษำยน ๒๕๕๘
หัวเวียงใต้
จันทร์
๒๐ เมษำยน ๒๕๕๘
พระเนตร
อังคำร
๒๑ เมษำยน ๒๕๕๘
สวนหอม ม.3
พุธ
๒๒ เมษำยน ๒๕๕๘
ท่ำช้ำง
พฤหัสบดี
๒๓ เมษำยน ๒๕๕๘
ดอนศรีเสริม
ศุกร์
๒๔ เมษำยน ๒๕๕๘
หัวข่วง
จันทร์
๒๗ เมษำยน ๒๕๕๘
มงคลนิมิตร
อังคำร
๒๘ เมษำยน ๒๕๕๘
ฟ้ำใหม่
พุธ
๒๙ เมษำยน ๒๕๕๘
อรัญญำวำส
พฤหัสบดี
๓๐ เมษำยน ๒๕๕๘
อภัย
รวม
18 วัน
18 ชุมชน
วารสารโรงพยาบาลน่าน ปีที่ 7 ฉบับที่ ๘๐ เดือนพฤษภาคม 2558
ลำดับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18
วดป. ยอดยกมำ ณ วันที่ 28/4/2558 1 เมย.2558 2 เมย.2558 3 เมย.2558 7 เมย.2558 8 เมย.2558 9 เมย.2558 10 เมย.2558 16 เมย.2558 17 เมย.2558 20 เมย.2558 21 เมย.2558 22 เมย.2558 23 เมย.2558 24 เมย.2558 27 เมย.2558 28 เมย.2558 29 เมย.2558 30 เมย.2558 ของชำร่วย (ผู้บริจำค) รวม
๙
จำนวนเงิน รับ 286,170.00
286,170.00
อำหำร/เสริม
ไอศกรีม
8,000 16,000 7,000 8,000 4,000 10,000 10,500 8,000 9,000 10,500 9,000 4,000 9,000 9,000 14,000 11,000 14,000 33,530
1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 1,200 2,400 2,400 1,200
194,530.00
24,000
ทำโก/โดนัท/ขนมครก
เบ็ดเตล็ด
1,500 1,500 1,500
839 118
1,500 1,600 2,800 1,850 1,490 5,600 4,600 23,940
370 1,766 1,170 1,520 1,800 26,360 33,943
รวม 9,200 17,200 8,200 9,200 6,700 12,700 12,539 10,818 10,200 11,700 11,700 6,800 10,570 14,766 18,220 14,890 23,520 41,130 26,360 276,413
คงเหลือ 286,170.00 276,970 259,770 251,570 242,370 235,670 222,970 210,431 199,613 189,413 177,713 166,013 159,213 148,643 133,877 115,657 100,767 77,247 36,117 9,757 9,757
เรียน คุณหมอฯ (ทพญ.สุรรี ตั น์ สูงสว่าง) ความรู้สึกที่อยู่รพ.น่าน ตั้งแต่วันที่น้องแบงค์เกิดอุบัติเหตุ 3 เม.ย.58 นั้น ตอนที่มาถึงมีความรู้สึกว่าอยากจะย้ายหรือนา น้องแบงค์เข้าไปรักษาที่รพ.จุฬาฯ หรือ กทม. ให้เร็วที่สุด เนื่องจากผมและครอบครัวไม่ใช่คนที่นี่ และไม่รู้จ ะปรึกษาใคร ณ ตอนนั้น แต่ก็ทาไม่ได้เนื่องจากน้องแบงค์หายใจด้วยตนเองไม่ได้ (1) และ (2) อาจารย์คณะ CU-OCARE ได้แนะนาเข้าปรึกษา กับคุณหมอบุญยงค์ วงคศ์รักมิตร ที่เป็นที่ปรึกษารพ.น่าน (อดีตผอ.รพ.น่าน และเป็นผู้หลักผู้ใหญ่ที่คนน่านนับถือ) และเป็นที่ ปรึกษา CU-OCARE ด้วย ท่านแนะนาได้ดีมากโดยให้ทีมแพทย์รพ.น่าน ประเมินอาการและการผ่าตัดโดยทีมแพทย์ คุณหมอ วิภาวรรณ คุณหมออ้อมกร และคุณหมอวิญญู (เจ้าของไข้) รวมทั้งพยาบาลทุกท่านที่ดูแล (อันนี้ต้องขอชมเชยทีมแพทย์และ เจ้าหน้าที่รพ.น่าน) น้องแบงค์เป็นอย่างดี ซึ่งเป็นที่ไปที่มาก่อนที่จะเข้ามาร่วมกิจกรรมทาบุญโรงทานนะครับ หลังจากการตัดสินใจที่จ ะผ่าตัดที่รพ.น่านแล้ว ผมและอาจารย์ ม.จุฬาฯ ก็ไปทาบุญตามวัดต่าง ๆ ในตอนเช้าและ กลับมาเห็นที่รพ.น่านมีกิจกรรมโรงทานฯอิ่มบุญเฉลิมพระเกียรติ ในบรรยากาศที่เห็นมีผู้ป่วยและญาติของผู้ป่วยเข้ามารับ บริการกันมากมาย ก็เลยมีความคิดที่อยากจะเข้าร่วมกิจกรรม และเวลานั้นก็ได้พบกับทพญ.สุรีรัตน์ ที่ได้ประสานงานจนเข้า ร่วมกิจกรรมกับทางรพ.น่าน ตลอดเวลาที่น้องแบงค์เข้ารับการรักษาที่นี่ โดยมีเพื่อนๆ น้อง ๆ ที่ทางานมาเยี่ยมเห็นกิจกรรมนี้ ก็บ อกต่ อ ๆ กั นไป รวมเงิ นกั น มาร่ วมกิ จ กรรมอิ่ ม บุ ญ หลายครั้ ง โดยที่ ทพญ.สุรี รั ตน์ ได้ ส่ งภาพมาให้ เ พื่อ น ๆ น้อ งๆ ดูตลอดเวลาครับ สุดท้าย นายชัยชนะ แผ้วพิมพาและครอบครัว ขอบขอบพระคุณ คุณหมอบุญยงค์ วงศ์รักมิตร ทีมแพทย์จากรพ.น่าน ทุกท่าน และเจ้าหน้าที่ห้อง ICU ตึกศัลยกรรม ที่ดูแลรักษาน้องแบงค์เป็นอย่างดีตลอดเวลา จนน้องแบงค์สามารถที่จะเข้าเรียน และสอบ Final ทัน เพื่อนๆ ในวันที่ 1 พ.ค. 58 ครับ ด้วยความเคารพอย่างสูง ชัยชนะ แผ้วพิมพา (และผมฝากเงินทาบุญจานวน 6,000 บาท)
วารสารโรงพยาบาลน่าน ปีที่ 7 ฉบับที่ ๘๐ เดือนพฤษภาคม 2558
๑๐
วารสารโรงพยาบาลน่าน ปีที่ 7 ฉบับที่ ๘๐ เดือนพฤษภาคม 2558
๑๑
ในโลกยุคกำรสื่อสำรไร้พรมแดนเช่นปัจจุบันนี้ ทำให้คนเรำพูดคุยกันน้อยลง แต่ละคนเอำแต่ก้มหน้ำ ก้มตำพิมพ์ข้อควำมส่งถึงกัน แม้ในบางครั้งอาศัยอยู่บ้านเดียวกันแท้ๆ แต่เวลาจะเรียกมาทานข้าวก็ยังต้องใช้ไลน์ ถึงกันแทน เกิดเป็นสังคมก้มหน้าในทุกๆ ที่ แม้แต่ในร้านอาหารญี่ปุ่นแห่งหนึ่งที่ผมเข้าไปรับประทานอาหาร ได้ พบพ่อแม่ลูกที่เข้ามาทานอาหารในร้าน เมื่อบริกรพามานั่งที่โต๊ะแล้วทั้งสี่คนต่างก็ไม่สนใจอะไร ต่างคนต่างก็นั่งก้ม หน้าอ่าน และพิมพ์ข้อความโดยไม่ส นใจที่จ ะสั่งอาหารทาให้บริกรต้องขอตัวเดินจากไป สักพักใหญ่เมื่อบริกร กลับมารับออเดอร์ ทุกคนก็ยังคงนั่งก้มหน้าเหมือนกับว่าไม่มีอะไรจะสาคัญไปยิ่งกว่าหน้าจอโทรศัพท์มือถือของตนเองในขณะนั้น ผมเชื่อว่ าคง จะเป็นภาพที่พบเห็นได้ทั่วไปในปัจจุบัน การสื่ อ สารที่ ผ่ า นทางอิ น เตอร์ เ น็ ต หรื อ ไลน์ เราได้ เ ห็ น เพี ย ง ตัวหนังสือที่ส่งถึงกันเท่านั้น ถ้าได้โทรศัพท์ถึงกันก็ยังจะได้รับฟังเสียงและ สาเนียงที่ยัง พอจะบอกถึง อารมณ์ของผู้พูดได้บ้าง แต่มีหลายๆ ท่านที่ ยอมรับว่าถ้าสื่อถึงกันทางโทรศัพท์นั้นพูดไม่เก่ง พูดแค่ไม่กี่คาก็ไม่รู้จะพูด อะไรแล้ว ไม่เหมือนเขียนหรือพิมพ์ข้อความถึงกัน บางครั้งโต้ตอบกันเป็น ชั่วโมงๆ จึงทาให้การสื่อสารทางไลน์ได้รับความนิยมอย่างรวดเร็วไปทั่ว โลก ที่สาคัญสามารถสื่อสารถึงกันเป็นกลุ่ม จึงมีการตั้งกลุ่มโดยเลือกเชิญ สมาชิกที่มีความเกี่ยวโยงกันเข้าร่วม ทาให้สามารถสื่อสารถึงกันภายใน กลุ่มได้ทุกคนในคราวเดียว สามารถส่งข้อความ รูปภาพหรือวีดีโอที่มีทั้ง ภาพและเสียง เป็นการสื่อสารถึงกันได้ค่อนข้างจะสมบูรณ์แบบ ตัวผมเอง ก็เป็นสมาชิกอยู่หลายกลุ่ม บางกลุ่มมีสมาชิกที่อยู่ต่างประเทศด้วย ทาให้เพื่อนๆ ที่ไม่มีโอกาสพบกันสามารถส่งข่าวถึงกันได้อย่างเป็ นปัจจุบัน บางกลุ่มมีการสื่อสารกันแทบไม่มีการหยุดพัก โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงวัยที่ว่างเว้นจากงานประจาแล้ว คนสุดท้ายส่งข้อความราตรีสวัสดิ์เ มื่อ ๓ นาฬิกาเศษ อีกคนก็เริ่มส่งอรุณสวัสดิ์ในเวลา ๔ นาฬิกา เเล้วก็เริ่มโต้ตอบกันตลอดทั้งวันทั้งคืนหลายร้อยข้อความต่อวันทีเดียว กำรสื่อสำรทำงไลน์นี้มีประโยชน์มำกในทำงกำรแพทย์ เพรำะมีกำรสร้ำงเครือข่ำยในกลุ่มแพทย์ที่ทำกำรรักษำผู้ป่วย เช่นภายใน จังหวัดเดียวกัน สามารถส่งข้อมูลทางการแพทย์เพื่อขอคาปรึกษาในการรักษาโดยเอาผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง ทาให้หลายครั้งไม่ต้องส่งต่อผู้ป่ วย ไปรักษาไกลบ้าน หรือบ่อยครั้งที่สามารถช่วยชีวิตผู้ป่วยได้อย่างทันท่วงที ทั้งนี้ข้อมูลของผู้ป่วยยังคงเป็นความลับในกลุ่มสมาชิก ซึ่ งล้วนแต่ เป็นแพทย์เท่านั้นเป็นการรักษาสิทธิผู้ป่วยด้วย แต่อย่ำงไรก็ตำมผมมีควำมเชื่ออยู่เสมอว่ำ กำรสัมผัสยังมีควำมจำเป็นในกำรดูแลรักษำผู้ป่วยเสมอ ไม่ว่ำกำรแพทย์จะพัฒนำ ก้ำวหน้ำไปเพียงใด ครั้งหนึ่งเมื่อผมเพิ่งขึ้นมาเป็นผู้บริหารระดับสูงของรพ. มีคุณยายท่านหนึ่งอายุน่าจะใกล้ ๘๐ ปีแล้วมาขอพบ ท่านถาม คาถามผมว่า "ทาไมหมอพยาบาลเดี๋ยวนี้ไม่ได้สัมผัสตัวท่านเลย" วัดความดันก็เอาแขนของท่านใส่เข้าไปในเครื่องวัดอัตโนมัติ ไม่มีการใช้มือ คลาหรือหูฟังช่วยในการวัดเหมือนในอดีต จากนั้นก็ไม่มีการใช้หูฟังตรวจปอดหรือหัวใจแต่อย่างใด ทั้งๆ ที่คุณยายมารพ.ด้วยอาการไอ แต่ ส่งไปตรวจเอ็กซเรย์และคลื่นหัวใจแทน ทาให้ต้องไปนั่งรอคิวนานมาก เมื่อกลับมาพบแพทย์ก็บอกว่าไม่เป็นไร ผลเอ็กซเรย์และคลื่นหัวใจปกติ และไม่ได้บอกว่าเป็นโรคอะไร แต่ให้ยามาทานหลายขนาน คุณยายบอกว่าผิดกับสมัยที่มานอนรพ.เมื่อยี่สิบกว่าปีก่อน ป่วยเป็นโรคเนื้องอกใน มดลูก ผมเป็นแพทย์ผู้รักษาและเป็นผู้ทาผ่าตัดมดลูกและรังไข่คุณยาย ในสมัยนั้นคุณยายจาได้ดีว่าทุกเช้าที่ผมไปตรวจ ผมจะเอามือลูบผม คุณยายและสัมผัส ใบหน้า ใบหูคุณยายพร้อมกับพูดคุย เรื่องทั่วๆ ไปด้วย ทาให้ มีค วามรู้สึกเหมือนกับว่าผมเป็นลูกหลาน คุณยำยเกิ ด ควำมรู้สึกที่ดีมำก ไม่มีควำมวิตกกังวลใดๆ ในเรื่องควำมเจ็บป่วย เพรำะมีควำมมั่นใจว่ำจะได้รับกำรรักษำอย่ำงดีที่สุด
วารสารโรงพยาบาลน่าน ปีที่ 7 ฉบับที่ ๘๐ เดือนพฤษภาคม 2558
๑๒
ทาให้ ผ มหวนระลึ กเมื่ อยั ง ท าการรั ก ษาผู้ป่ ว ย ผมจะสั มผั ส ตัว ผู้ป่ ว ย เสมอๆ บางครั้งก็จับมือ บีบมือเบาๆ หรือลูบผมผู้ป่วยที่มีอายุ ก่อนที่จะเปิด เปลือกตาดูว่าซีดหรือไม่ จับและลูบใบหูพร้อมกับให้อ้าปากเพื่อดูริมฝีปากและ ลิ้น ว่ามีลักษณะของการขาดน้าหรือเปล่า ผู้ป่วยจะไม่รู้สึกว่าเรากาลัง ตรวจ ร่างกาย จนถึงกำรใช้มือคลำหน้ำท้อง โดยเริ่มบริเวณที่ผู้ป่วยไม่ได้บอกว่ำเจ็บ ก่อนเสมอ แล้วจึงไปตรวจบริเวณที่เจ็บเป็นที่สุดท้ำย เพื่อตรวจดูสภำพพยำธิ ในช่องท้อง ถ้ำกดตรวจบริเวณที่เจ็บปวดก่อนจะทำให้ตรวจบริเวณอื่นไม่ได้ เพรำะคนไข้จะเกร็งกล้ำมเนื้อหน้ำท้องตลอดเวลำ สิ่งเหล่านี้เป็นภาพที่ผมเห็น บรรดาอาจารย์และรุ่นพี่ๆ ที่ปฏิบัติติดต่อกันมาตลอดเมื่อเป็นนักศึกษาแพทย์ จึงทาให้สามารถนามาใช้ต่อได้เป็นอย่างดี และพยายามที่จะถ่ายทอดต่อไปถึงแพทย์รุ่นใหม่ๆ เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างผู้ ป่วย ญาติและแพทย์ผู้รักษา โดยยึดเอาผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางเสมอ ผมได้กล่าวขอบคุณคุณยาย และรับว่าจะนาเอาสิ่ง ที่คุณยายบอกนี้ไปสอนแพทย์ และทีมงานรุ่นใหม่ๆ ให้เ ห็นควำมสำคัญของกำร สัมผัส ที่มีพลังอันซ่อนเร้น โดยเฉพำะกำรสัมผัสด้วยควำมจริงใจจะสำมำรถสื่อรู้ถึงกันได้ มีอยู่ครั้งหนึ่งคุณแม่เจ้าหน้าที่สาธารณสุขไม่สบายมานอนที่รพ. ผมจึงเดินไปเยี่ยมที่ห้อง ขณะนั้นลูกสาวที่ทางานสสจ. ไม่อยู่ หลังจาก แนะนาตัวแล้วผมได้พูดคุยพร้อมกับจับมือคุณแม่ ลูบผมคุณแม่ พูดให้กาลังใจและบอกกับคุณแม่ว่าเป็นโอกาสที่ดีแล้ว ให้ลูกๆ ได้ปรนนิบัติ ดูแลแม่บ้าง จะได้สร้างกุศลผลบุญแสดงความกตัญญูกตเวที คุณแม่ยิ้มและให้พรผมมากมาย สักครู่ลูกสาวโทรฯ มาขอบคุณผม และบอกว่า เดิมทีแม่ไม่ยอมมารพ.จะขอตายอยู่ที่บ้าน แต่ตอนนี้เปลี่ยนใจแล้ว จะขอมารพ.น่านมาหาหมอณุ แค่หมอณุมาจับมือถือแขน และพูดคุยแม่ก็ รู้สึกหายดีแล้ว ทุกครั้งที่นึกถึงคาพูดเหล่านี้ทาให้ผมเป็นสุขใจ เพราะเวลาที่ผมสัมผัสท่านผมรู้สึกเหมือนได้สัมผัสแม่ของผมเองซึ่ง เสียชีวิตไป นานแล้วด้วย บ่อยครั้งที่ผมจะแนะนาให้ญาติหรือเพื่อนๆ ผู้ป่วยจับมือผู้ป่วยเพื่อสัมผัสและส่งความระลึกถึง ความปรารถนาดีหรือพูดคุยกับผู้ป่วย เบาๆ ถึง เรื่องเก่าที่ดีง ามที่เคยทาร่วมกัน ในผู้ป่วยที่โคม่าหรือไม่รู้สึกตัว ผมเชื่อว่าในส่วนลึกของสมองอาจมีการรับรู้ได้ บ่อยค รั้ง ที่ผ ม สังเกตเห็นรอยยิ้มบนใบหน้าผู้ป่วยแม้จะเพียงครู่เดียวก็ตาม ผู้ป่วยบางคนสิ้นลมพร้อมใบหน้าที่ยังยิ้มแย้มมีความสุข แสดงถึงความพร้อ มที่จะ จากโลกนี้ ผมเชื่อว่าทุกคนรวมถึงตัวผมเองก็ปรารถนาเช่นนี้เหมือนกัน เป็นการส่งสัญญาณให้ผู้ที่อยู่ด้านหลังไม่ต้องโศกเศร้าเสียใจจนเกินไป และควรดารงชีวิตต่อด้วยการสร้างสรรค์สิ่งที่ดีงามให้ผู้จากไปมีความสุข ผมชอบที่จะแสดงออกด้วยการสัมผัสโดยการกอด เพื่อแสดงความดีใจที่ได้พบกัน แสดงความยินดีหรือแสดงความเห็นใจกับคนรู้จักหรือ เพื่อนร่วมงาน กำรกอดด้วยควำมจริงใจจะเกิดควำมอบอุ่นมีพลัง และกำลังใจอย่ำงประหลำด เมื่อครั้งดารงตาแหน่งผู้อานวยการรพ.น่าน ใหม่ๆ เพื่อนร่วมงานบางคนก็รู้สึกเขินๆ ที่ถูกผอ.กอด แต่พอนานๆ ไปจะเป็นฝ่ายเข้ามากอดผมเอง ทาให้เกิดความรักความผูกพันซึ่งกัน และกัน เมื่อเห็นผมทุ่มเทเสียสละทางานให้กับรพ. ทุกคนจึงพร้อมทุ่มเททางานอย่างไม่รู้สึกเหน็ดเหนื่อย ทาให้รพ.เกิดการพัฒนาอย่างรวดเร็ว
วารสารโรงพยาบาลน่าน ปีที่ 7 ฉบับที่ ๘๐ เดือนพฤษภาคม 2558
๑๓
สวัสดีค่ะท่ำนผู้อ่ำนทุกท่ำน.. ไม่ทราบว่าจะ ทั ก ทายกั น อย่ า งไรดี ก็ ค งบอกว่ า เวลาช่ า งเร็ ว เหลือเกิน อย่าชะลาใจนะคะงานใดที่วางแผนไปแล้ว ก็ ต้ อ ง ท า ใ ห้ ไ ด้ ต า ม แ ผ น ค่ ะ ก็ เ ตื อ น ว่ า ก า ร ผักใบเขียว ผั ด วั น ประกั น พรุ่ ง มั น ไม่ ค่ อ ยดี เ อาเสี ย เลย ปี ที่ ผ่ า นผู้ เ ขี ย นก็ มี ประสบการณ์ส อนหลายเรื่องค่ะ เพรำะฉะนั้นกำรมีแ ผนและกำร วำงแผนที่ดี กำรเรียงลำดับควำมสำคัญของงำน ก็จะช่วยเรำได้ มำกเลยทีเดียวค่ะ ก็บอกเล่าสู่กันฟังค่ะ
ผมยังจาได้แม่นครั้งเมื่อเกษียณ ผมทาถ้วยกาแฟ "ขอบคุณ ที่เ ป็ น คนดี " ตั้ ง ใจที่ จ ะมอบให้ ทุก คนกั บ มื อในทุ ก หน่ วยงาน ให้ โอวาทพร้อมกับมอบถ้วยและกอดกันถ่ายรูปเป็นที่ระลึก วันหนึ่งผม เดินไปมอบให้กับงานภาคสนาม มีค นงานชายคนหนึ่ง เมื่อรับถ้วย แล้วบอกว่าอยากกอดผอ.ครับ...แต่เหงื่อเยอะ ผมบอกว่าไม่เป็นไร ครับ พร้อมดึงตัวเข้ามากอดและบอกว่า “เหงื่อของพวกเรำนี่เเหละ ที่ทำให้รพ.น่ำนสวย สะอำด น่ำอยู่ ต้องขอบคุณพวกเรำทุกคน” จาได้ว่าทุกคนกอดผอ.แน่น พร้อมกับน้าตาคลอเบ้าด้วยความภูมิใจ รวมทั้งตัวของผมเอง ผมจึงอยากขอร้องให้พวกเราทุกคนในฐานะทีมผู้ให้การรักษา กรุณาให้ความใกล้ชิดกับผู้ป่วยบ้าง ถ้ำเป็นไปได้กำรสัมผัสมือหรือ แขนผู้ป่วยพร้อมคำพูดที่แสดงควำมห่วงใยควำมปรำรถนำดีอย่ำง น้อยวันละครั้งก็ยังดี จะทาให้วัฒนธรรมการดูแลผู้ป่วยด้วยหัวใจจะ ยังคงอยู่ตลอดไป เพราะสักวันหนึ่งเราเองก็คงหนีไม่พ้นต้องมาเป็น คนไข้อย่างแน่นอน ไม่ช้าก็เร็ว "อัตตำนัง อุปมังกเร"..."เอำใจเขำมำใส่ใจเรำ".
ฉบับนี้ผู้เขียนขอประชาสัมพันธ์ งำนคลินิกบริบำลบรรเทำ เพราะหลายท่านที่เป็นเจ้าหน้าที่หรือบุคคลากรในโรงพยาบาลน่าน เรายังไม่รู้จัก ก็ขอใช้ช่องทางนี้ประชาสัมพันธ์จะได้ผ ลเพียงไรก็ไม่ แน่ใ จ เพราะบางหน่ วยงานก็ไ ม่เ คยจั บมาอ่ านก็ มี ที่ท ราบเพราะ ผู้เขียนจะต้องทางานประสานกับหลายหน่วยงาน ก็ใช้เวลานิดหนึ่ง สอบถามไปก็จะได้ความว่าไม่มีเวลาอ่าน อย่าว่าเวลาอ่านเลย เวลา เปิดก็ยัง ไม่มี บ้างครั้ง เราก็พูดทีเล่นที่จ ริง ว่ามีเวลาสักนิดหยิบอ่าน หน่อยนะ มีอะไรดีเยอะแยะเลย ก็น่าเห็นใจค่ะ เรามาพูดถึงเรื่องการประชาสัมพันธ์คลินิกบริบาลบรรเทากัน ดีกว่า คลินิกบริบำลบรรเทำก็อำจเรียนง่ำยๆ สั้นๆ คลินิก Palli (พ ำ ลิ ) เ ป็ น คลิ นิ ก ใ ห้ บ ริ ก ำ รดู แ ลผู้ ป่ ว ยระ ยะ ท้ ำ ยแ บ บ ประคับประคองและบรรเทำอำกำรรบกวนสำหรับผู้ป่วยนอก โดยมี เป้าหมายเพื่อให้ผู้ป่วยระยะท้ายและครอบครัวให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี และเสียชีวิตอย่างสมศักดิ์ศรี (Good death) โดยวัตถุประสงค์ 1. บริการตรวจรักษา ผู้ป่วยระยะท้ายทั้ง โรคมะเร็ง (cancer) และไม่ใช่มะเร็ง (Non-cancer) 2.เพื่อประเมิน อาการรบกวน วางแผนการรัก ษาพยาบาลผู้ป่ วยเฉพาะรายกรณี 3. ให้คาปรึกษาผู้ป่วยระยะท้ายและครอบครัว 4. ติดตามเยี่ยมบ้าน ผู้ป่วยระยะท้ายที่ไม่สามารถมาตามนัดโดยการโทรศัพท์ติดตาม และ การเยี่ยมดูแลที่บ้าน 5. ประสานงานการดูแลระยะท้ายอย่างครบ วงจร (ผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอกและเยี่ยมบ้าน)
วารสารโรงพยาบาลน่าน ปีที่ 7 ฉบับที่ ๘๐ เดือนพฤษภาคม 2558
สถำนที่ตั้ง คือ กลุ่มงานเวชกรรมสังคมตึกสิริเวชรักษ์ชั้น 3 เปิดบริการตรวจทุกวันศุกร์เวลา 8.30 น.-12.00น. จานวนผู้มารับ บริการ 15-25 ราย บุคลำกรประจำคลินิก แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว 4 คน คือ พญ.วำลิกำ รัตนจันทร์ พญ.ภัควีร์ สิท ธิว งค์ พญ.สุพ รรษำ ยำใจ พญ.รัชดำพร บุญ ญำภิสมภำร สลับ หมุนเวียนตรวจวันละ 3 คน พยาบาลประจ าคลินิก 2 คน พว. วั ลภำรั ตน์ มีช ำนำญ (พี่หวำน) พว. สรรสนีย์ ยศเสือ (น้องนก) เจ้าหน้าที่ธุรการ 2 คน นำงจันทร์ฉำย คีรีวรรณ (พี่หวัง) นำงสำวปิยวรรณ เถินสุวรรณ (น้องฝ้ำย) ผู้รับบริกำร 1. ผู้ป่วยระยะท้ายส่งต่อแผนกต่างๆ ทั้งผู้ป่วย ในและผู้ป่วยนอก 2. ผู้ป่วยระยะท้ายส่ง ต่อจากชุมชน 3. ผู้ป่วย ระยะท้า ยที่นั ดตรวจหลัง จ าหน่า ยจากโรงพยาบาล 4. ญาติ และ ครอบครัวของผู้ป่วยระยะท้ายที่ต้องการรับการปรึกษา ประเด็นในกำรดูแ ลผู้ป่ว ย มีดัง นี้ Pain and symptoms management, Psychological issues ,Spiritual issues, Discharge planning, Goal setting End-of-life care, Grief and bereavement, Caregiver burden , Home care กำรบริ ห ำรจั ด กำรคลิ นิ ก จั ด อุ ป กรณ์ ที่ จ าเป็ น ในคลิ นิ ก เอกสาร แบบประเมิ น ผู้ ป่ ว ย เอกสารเพื่ อ สื่ อ สารกั บ ที ม รั ก ษา มีเครื่องผลิตออกซิเจน CPR box ขั้นเตรียมกำร ก่อนวันคลินิก 1 วันส่งรายชื่อไปห้องบัตร เพื่ อ ค้ น OPD CARD เช้ า วั น ตรวจน า OPD CARD มาขึ้ น Visit เตรียมไว้ ผู้ป่วยมารอตรวจที่ห้องตรวจ ตามช่วงเวลานัด
๑๔
ขั้นตอนให้บริกำร ผู้ป่วยมาตรวจตามนัดให้ขึ้นมาติดติดต่อที่ คลิ นิก โดยตรงโดยไม่ต้ องผ่า นห้อ งบั ต ร โดยใช้ วิ ธีก ารสื่ อสารกั บ ศูนย์ เปล หรือประชาสั มพั นธ์โ ดยเขีย นที่ บัตรนัด ผู้ป่ วยยื่นบั ตรที่ คลิ นิก ชั่ง น้าหนัก วั ด ส่ว นสูง ประเมิน อาการและอาการรบกวน (ESAS) ซักประวัติ ตรวจวัดสัญญาณชีพ ประเมินการรับประทานยา ในการจัดการอาการต่างๆ ตามแผนการรักษาของแพทย์ ติดตามผล LAB X-RAY และอื่นๆ คัดกรองเข้าห้องตรวจตามแพทย์เจ้าของไข้ เข้าตรวจตามลาดับหรือตามความเร่ง ด่วน ตรวจสอบเอกสารและ ใบสั่งยา เ มื่ อ อ อ ก จ ำ ก ห้อ งตรวจ กรอกใบนั ด ล ง นั ด พ ย า บ า ล ใ ห้ ค า แ น ะ น า แ ล ะ ใ ห้ ค าปรึ ก ษาทุ ก ด้ า นแบบ องค์ ร วม ตร วจ สอบ เบอร์ โ ทรศั พ ท์ เ พื่ อ เป็ น ช่ อ งทางสื่ อ สารกั บ ที ม รั ก ษา พยาบาลเมื่ อ มี ปั ญ หาที่ บ้ า น ก่ อ นน า ใบสั่งยาไปรับยาที่ห้องยา ชั้น 1 ตึกสิริเวชรักษ์ ในรำยที่ต้องทำ หัตถกำร เช่น Abdo minal parecentesis, Pleuracentesis ประสานท าหั ต ถการที่ ห้ อ ง หั ต ถ ก า ร OPD ทั่ว ไป หรือ ห้อ งฉุก เฉิ น แล้วแต่กรณี ในรำยที่ ต้ อ งให้ นอนโรงพยำบำล ประสานหอผู้ป่วยเพื่อขอ เตียงนอน ประสานศูนย์ Admit เพื่อขอเลขภายใน (เลข AN) ประสานศูนย์เปลเพื่อส่งผู้ป่วย ไปหอผู้ป่วย ค่ะก็เป็นรายละเอียดของงานคลินิกบริบาลบรรเทา นอกจากนี้ ยังต้องดาเนินการเรื่องศูนย์อุปกรณ์หมุนเวียนให้ ผู้ป่วยยืมใช้ต่อที่บ้าน ซึ่งอาจจะต้องมีการสื่อสารกันต่อไปค่ะ ก็อยาก สื่อสารให้กับทุกคนรับทราบ และจะได้สื่อสารให้ผู้รับบริการต่อได้ค่ะ ก็คงต้องจบลงเพียงเท่านี้ ...สวัสดีค่ะ.
วารสารโรงพยาบาลน่าน ปีที่ 7 ฉบับที่ ๘๐ เดือนพฤษภาคม 2558
๑๕
กินข้าว…อะไรดีนะ?
โดย......นักโภชนาการ
เมื่อต้นเดือนเมษายน ผู้เขียนได้มีโอกาสการเข้าร่วมการประชุม วิชาการกับสมาคมนัก กาหนดอาหารแห่ งประเทศไทย ประจ าปี 2558 โดยในการประชุมมีหัวข้อเรื่อง ข้าวเพื่อสุขภาพ (Rice for Health) ซึ่ง อาจจะไม่ใช่เรื่องใหม่เลยสาหรับเรื่องนี้ และระหว่างที่ฟังการบรรยายนั้น ผู้ เ ขี ย นได้ มี ค าถามกั บ ตั ว เองว่ า ข้ า วมี กี่ ช นิ ด แตกต่ า งกั น อย่ า งไร และ คุณประโยชน์ของข้าวแต่ละชนิด เป็นอย่างไรกันบ้าง ความรู้เหล่านี้อาจจะไม่ใช่ สิ่ ง ที่ ใหม่ เพราะข้าวถือว่าเป็นอาหารหลักของคนไทย และประเทศไทยสามารถผลิตข้าวได้ เป็ น อั น ดั บ ต้นๆ ของโลกด้วย ในฉบับนี้ ผู้เขียนจึงได้รวบรวมคาถามที่เกิดขึ้นในระหว่างการประชุม และได้นามาแบ่งปันคาตอบสู่ท่านผู้อ่านกันด้วยค่ะ โดย ข้าวสามารถแบ่งออกได้ 3 ชนิดใหญ่ๆ 1. ข้ า วกล้ อ ง ข้ า วเปลื อ กที่ ช าวนาเก็บ เกี่ ยว เมื่ อน าไปโรงสีข้ า ว สี ค รั้ ง แรกก็ จะได้ ข้า วกล้อ ง หรือ เรี ยกอี ก อย่ า งว่ า “ข้าวซ้อมมือ” แต่ไม่ว่าจะเป็นข้าวประเภทไหน เม็ดยาวเม็ดสั้น จะสีขาว แดง หรือน้าตาล ถ้าผ่านการสีเพียงครั้งเดียวจะเรียกว่าข้าว กล้องเหมือนกันหมด ตัวของข้าวกล้องจึง มีประโยชน์มาก เพราะสารอาหาร วิตามินและไฟเบอร์ทั้งหลายยังคงหลงเหลืออยู่ เนื่องจากยังมีราข้าวเหลืออยู่บนเม็ดข้าว สังเกตได้จากปลายข้าวยังเต็มเม็ดไม่มีรอยบุ๋ม 2. ข้าวสาร เป็นข้าวที่ได้จากการนาข้าวกล้องมาสีอีกครั้ง ก็จะได้เป็นข้าวสาร หรือข้าวขาว โดยที่จมูกข้าวจะหลุดเห็นเป็น หลุมตรงปลายเม็ด สารอาหารหลายๆ อย่างได้หลุดออกไปกับราข้าวหมดแล้ว หลงเหลือแต่สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตเป็น ส่วนใหญ่ 3. ข้าวแดง หรือ ข้าวสีนิล เป็นพันธุ์ข้าวพิเศษที่มีเปลือก และตัวเม็ดเป็นสีแดง สีม่วง หรือสีม่วงแดง เนื่องจากมีสารที่ เรียกว่า สารแอนโทไซยานิน (Antocyanin) และจะมีคุณค่าทางอาหารสูงกว่าข้าวชนิดอื่น เช่น กรดอะมิโน และวิตามินต่างๆ แต่ ไม่ว่าจะข้าวอะไรก็ตามถ้าผ่านกระบวนการสีหลายครั้งจนทาให้จมูกข้าวหลุดไปแล้ว ทาให้สูญเสียคุณค่าทางอาหารไปมาก
ตาราง เปรียบเทียบคุณค่าทางสารอาหารของข้าวทัง้ 3 ชนิด สารอาหาร พลังงาน (kcal) โปรตีน (g) ไขมัน (g) คาร์โบไฮเดรต (g) ใยอาหาร (g) วิตามินบี 1 (mg) วิตามินบี 2 (mg) ไนอะซีน (mg)
ข้าวขาว 351 6.7 0.8 79.4 0.7 0.07 0.02 0.19
ข้าวกล้อง 347 7.1 2.0 75.1 2.1 0.26 0.04 5.4
ทีม่ า : ข้าวมากคุณค่า น่าอนุรกั ษ์ จากหนังสือชีวจิต ฉบับ211 (ก.ค. 2550)
ข้าวกล้องสีนลิ /แดง 347 5.8 2.9 72.5 4.0 0.44 0.18 2.14
วารสารโรงพยาบาลน่าน ปีที่ 7 ฉบับที่ ๘๐ เดือนพฤษภาคม 2558
๑๖
ทุกวันนี้เรำคงปฏิเสธโซเซียลมีเดียไม่ได้ ข้อดีของโซเซียลมีเดียก็มีมาก หากเราใช้อย่างถูกต้อง พอดี วันนี้ไปสรรหำ ผลเสียที่เกิดจำกกำรที่เรำใช้โซเซียลมีเดียมำกเกินไปมำฝำก ! เราเป็นอย่างนี้หรือเปล่านะ เช่น ปฏิสัมพันธ์และการสื่อสาร กับคนรอบข้างลดลง กลายเป็นคนชอบเรียกร้องความสนใจจากคนอื่นมากขึ้น ไขว้เขวจากสิ่ง ที่ตั้งใจจะทา ขาดความคิด สร้างสรรค์ หยาบคายและระรานคนอื่นได้ง่า ยขึ้น ซึม เศร้ า เพราะมัวแต่เปรียบเทีย บตัวเองกั บคนอื่นในโลกออนไลน์ นอนหลับไม่เพียงพอ บทสนทนำ : ……………………………...................................................................………………. P : Nurse, my eye feels itchy and a little uncomfortable now. N : Don’t worry. It ‘s normal after the surgery. P: That’s good to hear. Is there anything else I should know? N : Some fluid discharge is also common. And, your eye may be sensitive to light. P: All right. N: From now on, you must be careful not to rub or press your eye. P: I won’t. There are so many things to remember. N: Yes, And please wear the eye shield at all times. P: When you say at all times, do you mean even when I’m sleeping? N: Yes. It will protect your right eye. So, please don’t take it off until the follow-up examination. Here is your eye medication. Use the eye drops three times a day. P: What about this ointment? N: Apply it before bed time. P: Any thing else? N: Try not to lift any heavy objects. P: OK. By the way, when will my blurred vision start to get better? N: It’ll improve over time. We’ll be able to monitor its progress at each follow-up. So, please stick to the visit schedule.