14STANDARDMA4KU68TAS17(2552)Leasing Business

Page 1

แนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับกิจการเช่าซื้อรถยนต์ ตามมาตรฐานทางการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเช่า

โดย นางสาวธนัชพร

สุขพัฒน์

นางสาวเกศฎาภรณ์

เชิดฉาย

ปัญหาพิเศษนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิตสาขาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2554


แนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับกิจการเช่าซื้อรถยนต์ ตามมาตรฐานทางการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเช่า Regulation Accounting of Automobile Leasing Business By International Accounting Standard No.17(adjust 2552) “lease”

โดย นางสาวธนัชพร นางสาวเกศฎาภรณ์

สุขพัฒน์ เชิดฉาย

51201101 51205409

ปัญหาพิเศษฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์ พ.ศ. 2554


ปัญหาพิเศษ ของ นางสาวธนัชพร นางสาวเกศฎาภรณ์

สุขพัฒน์ เชิดฉาย

เรื่อง แนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับกิจการเช่าซื้อรถยนต์ ตามมาตรฐานทางการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเช่า

ได้รับการตรวจสอบและอนุมัติ ให้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขา การบัญชีบริหาร เมื่อ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

ประธานกรรมการที่ปรึกษาปัญหาพิเศษ

อาจารย์ผู้ประสานงานสาขาวิชา


(1)

ธนัชพร สุขพัฒน์ และคณะ 2554: แนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับกิจการเช่าซื้อ รถยนต์ตามมาตรฐานทางการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเช่า

ปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชีบริหาร อาจารย์ที่ปรึกษาวิชาปัญหาพิเศษ: อาจารย์นิตยา งามแดน, บธ.บ, บช,ม 86 หน้า

การศึกษาปัญหาพิเศษ เรื่ อง แนวปฏิบัติ ทางการบัญชีเกี่ยวกับกิจ การเช่าซื้อรถยนต์ ต าม มาตรฐานทางการบัญชีฉ บับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเช่า มีวัต ถุประสงค์เพื่อศึก ษา มาตรฐานทางการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเช่า ประเด็นปัญหาในการปฏิบัติ สาหรับธุรกิจที่มีการทาสัญญาเช่าซื้อ เพื่อเป็นแนวปฏิบัติทางการบัญชีของธุรกิจเช่าซื้อรถยนต์ ให้ เป็นไปตามมาตรฐานทางการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เพื่อให้การดาเนินงานของธุรกิจเช่า ซื้อรถยนต์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ลักษณะการดาเนินงานของธุรกิจเช่าซื้อ เมื่อมีการตกลงเช่าซื้อทรัพย์สิน จะมีการเรียกเก็บ เงินจากลูกค้า เรียกว่า เงินดาวน์ และชาระเงินเป็นงวด ๆ ละเดือน โดยการคิดดอกเบี้ยนั้น จะคิดจาก จานวนเงินที่เหลือของราคาสินค้าที่ได้หักเงินดาวน์ออกไปแล้วจากนั้นจะนาไปคิดอัตราดอกเบี้ย ตามที่ตกลงกันไว้โดยมีสูตรการคิดดอกเบี้ย คือ ดอกเบี้ยรับ = เงินต้น อัตราดอกเบี้ย ระยะเวลา โดยอัต ราดอกเบี้ย ที่บ ริ ษัท ให้ เช่า ซื้อ คิด ขึ้ น อยู่กับ จ านวนงวดที่ข อผ่ อน และอัต ราดอกเบี้ ยใน ท้องตลาด การคานวณดอกเบี้ยรับจะใช้ตารางเงิน รายปี (Annuity) ในการคานวณจานวนเงินงวดที่ ต้องชาระในแต่ละงวด และหากชาระค่างวดเลยกาหนด ลูกค้าผู้เช่าซื้อ จะต้องเสียค่าปรับที่ชาระ ล่าช้า การขอปิดบัญชีก่อนกาหนด บริษัทผู้ให้เช่าซื้อจะต้องให้ส่วนลดแก่ผู้เช่าซื้อในอัตราไม่น้อย กว่าร้อยละ 50 ของดอกเบี้ยที่ยังไม่ถึงกาหนดชาระ โดยให้คานวณตามแถลงการณ์มาตรฐานการ บัญชี การโอนสิทธิให้กับบุคคลอื่นโดยปกติบริษัทที่ให้เช่าซื้อจะโอนสิทธิเปลี่ยนชื่อลูกค้าผู้เช่าซื้อ เท่านั้น และต้องทาสัญญาใหม่ ซึ่งจานวนงวดที่เหลือและจานวนเงินค่างวดยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง บริษัทจะคิดค่าธรรมเนียมการโอนสิทธิ ซึ่งยังไม่มีอัตรากาหนดไว้แน่นอน และผู้จ่ายค่าธรรมเนียมก็ แล้วแต่ลูกค้ารายเดิมกับรายใหม่ตกลงกันเอง และบริษัทผู้ให้เช่าซื้อจะทาสัญญาโอนสิทธิสัญญาเช่า ซื้อด้วย กรณียึดรถ ในกรณีที่ลูกค้าผู้เช่าซื้อไม่ชาระค่างวด และผู้ให้เช่าซื้อเรียกทรัพย์สินคืน ผู้ให้เช่า ซื้อจะต้องบันทึกบัญชีโดยโอนยอดคงเหลือสุทธิของบัญชีลูกหนี้เช่าซื้อ โดยหักดอกผลเช่าซื้อรอ การตัดบัญชีสาหรับผู้เช่าซื้อรายนั้นไปแสดงในบัญชีสินทรัพย์รอการขาย กรณีขายรถยึด กรณียึดรถ


(2) และมีลูกค้ารายใหม่สนใจที่จะซื้อ โดยเช่าซื้อ ก็ถือว่าเป็นการทาสัญญาขายใหม่ ส่วนในกรณีบริษัท การเงินเป็นผู้ให้เช่าซื้อ กรณีขายรถยึด กรณีทาการยึดรถ และทาการขายรถที่ยึดมา ผู้ที่ให้เช่าซื้อที่ เป็นบริษัทการเงินต้องเป็นการขายโดยวิธีประมูลขายให้บุคคลภายนอก ธุรกิจเช่าซื้อ มักประสบกับปัญหาดังนี้ คือ 1.ขั้นตอนการจัดทาบัญชีที่ซับซ้อน โดยเฉพาะ ในการคานวณรายได้ดอกเบี้ยรอการรับรู้ การรับรู้ดอกเบี้ยตลอดสัญญา 2. การรับแลกรถยนต์ใช้ แล้ว (รถยนต์เก่า) ถ้ากิจการรับแลกเปลี่ยนรถยนต์ไว้เอง อาจจะก่อให้เกิดปัญหายุ่งยากตามมา เช่น ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซม ค่าบารุงรักษา และเนื่องจากรถยนต์ใช้แล้วไม่เป็นที่ต้องการของตลาดอาจ ก่อให้เกิดปัญหาทาให้มียอดสินค้าคงเหลือสูงไม่มีการหมุนเวียน ดังนั้นแนวทางในการแก้ไขปัญหาเหล่านี้ คือ 1. ควรจะนาระบบสารสนเทศทางการบัญชี มาใช้ เพื่อช่วยในการปฏิบัติงานซึ่งจะทาให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องและป้องกัน ข้อผิดพลาดของข้อมูล ทางการบัญชี 2.หากกิ จ การเช่ า ซื้ อ ไม่ มี บุ ค ลากรที่ มี ค วามชานาญเรื่ อ งรถยนต์ ม ากนั ก ควรจะ ให้พ่อค้ารถมือสองเป็นผู้รับซื้อแทน เพื่ อ ให้ ส ามารถทางานได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ


(3)

กิตติกรรมประกาศ ในการศึกษาปัญหาพิเศษ เรื่อง แนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับกิจการเช่าซื้อรถยนต์ ตาม มาตรฐานทางการบัญชีฉ บั บที่ 17 (ปรับ ปรุง 2552) เรื่ อง สัญ ญาเช่ า ครั้ งนี้ สามารถประสบ ความสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี เนื่องจากได้รับความอนุเคราะห์ ความกรุณา และการสนับสนุนจาก อาจารย์ นิตยา งามแดน ที่มอบความรู้ในการศึกษาปัญหาพิเศษและให้คาแนะนาที่เป็นประโยชน์ใน การศึกษาปัญหาพิเศษฉบับนี้ ตลอดทั้งให้ความเมตตาและเสียสละเวลาแก่คณะผู้จัดทามาโดยตลอด จนทาให้ปัญหาพิเศษฉบับนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี ขอขอบพระคุณสาหรับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ผู้ประกอบการธุรกิจเช่าซื้อ เมืองศรีราชา รวมทั้งแหล่งที่ศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่าง ๆ อาทิเช่น หนังสือ วารสาร บทความ วิทยานิพนธ์ และสื่อ ทางอินเตอร์เน็ต ที่ให้ทางคณะผู้จัดทาได้ใช้เป็นแนวทางในการศึกษาปัญหาพิเศษ ตลอดจนเพื่อน ร่วมกลุ่ม ที่ให้ความร่วมมือ ความช่วยเหลือในทุก ๆ เรื่อง อีกทั้งคอยเป็นกาลังใจให้ทางคณะผู้จัดทา ตลอดมา สุดท้ายนี้ ทางคณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณและระลึก อยู่เสมอว่าจะไม่มีความสาเร็จใด ๆ ในชีวิต ของคณะผู้จัด ทา หากปราศจากความรัก ความเข้าใจ และก าลังใจจากบุคคลที่มีพระคุณ ที่คอยให้การสนับสนุนการศึกษาของคณะผู้จัดทามาโดยตลอด ขอขอบคุณคณาจารย์ทุกท่าน และ สถาบันการศึกษาอันทรงเกียรติที่มอบโอกาสในการศึกษาหาความรู้แก่คณะผู้จัดทา ผู้จัดทาหวังว่าปัญหาพิเศษฉบับนี้ คงมีประโยชน์เป็นอย่างมากสาหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผู้ที่สนใจเกี่ยวกับเรื่อง เรื่อง แนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับกิจการเช่าซื้อรถยนต์ ตาม มาตรฐานทางการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเช่า หากมีข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา กุมภาพันธ์ 2554


(5)

สารบัญ หนา บทคัดยอ

(1)

กิตติกรรมประกาศ

(3)

สารบัญ

(4)

สารบัญตาราง

(5)

บทที่ 1 บทนํา ที่มาและความสําคัญของปญหาในการศึกษา วัตถุประสงคของการศึกษา วิธีการศึกษาและคนควา ขอบเขตของการศึกษา ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ขอจํากัดของการศึกษา นิยามศัพท

1 2 2 3 3 3 4

บทที่ 2 งานวิจยั ที่เกีย่ วของ ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ

5

บทที่ 3 ทฤษฎีและแนวคิดทีเ่ กี่ยวของ มาตรฐานทางการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา กฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับการเชาซื้อรถยนตและจักรยานยนต ภาษีสําหรับการใหเชาทรัพยสิน การใหเชาแบบลีสซิ่ง และการใหเชาซื้อ

13 23 27


(5) สารบัญ (ตอ) หนา บทที่ 4 แนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับกิจการเชาซื้อรถยนตทางดานผูใ หเชาซื้อ ความหมายของสัญญาเชาซื้อ ลักษณะการดําเนินงานของธุรกิจเชาซื้อ ขั้นตอนในการใหเชาซื้อรถยนต

30 31 33

บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา ประเด็นปญหา ขอเสนอแนะ

84 85 85

บรรณานุกรม

86

ภาคผนวก

88


(5)

สารบัญตาราง ตารางที่ 1

หนา แสดงการคํานวณดอกเบีย้ รับและยอดคงเหลือลูกหนี้

41

ตามสัญญาเชาซื้อในแตละงวด 2

แสดงการคํานวณคานายหนาตัดจายตลอดอายุสัญญาเชา

44

3

แสดงการคํานวณดอกเบีย้ รับและยอดคงเหลือลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ

47

4

แสดงปจจัยดอกเบี้ยมูลคาปจจุบันของเงินรายงวด (FVIFA)

48

5

แสดงหลักเกณฑการจัดชั้นลูกหนี้ตามแนวทางของสมาคมธุรกิจเชาซื้อไทย

49

6

แสดงอัตรารอยละการกันเงินสํารองตามลูกหนี้ จัดชั้นตามแนวทางของสมาคมธุรกิจเชาซื้อไทย

50

7

แสดงมูลคาหลักประกันทีจ่ ะนํามาหักออกจากราคาตามบัญชีของลูกหนี้ กอนกันเงินสํารองตามแนวทางของสมาคมธุรกิจเชาซื้อไทย

51

8

แสดงการคํานวณดอกเบีย้ รับและยอดคงเหลือลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ ในแตละงวด ในกรณีการจัดชั้นลูกหนี้ และการตั้งหนี้คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

52

9

แสดงตัวอยางการคํานวณเงินกันสํารองคาเผื่อหนี้สูญ

54

แสดงการคํานวณดอกเบีย้ รับและยอดคงเหลือลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ

56

10


(5)

สารบัญตาราง(ตอ) ตารางที่

หนา

11

แสดงการคํานวณดอกเบีย้ รับและยอดคงเหลือลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อเดิม

60

12

แสดงการคํานวณดอกเบี้ยรับและยอดคงเหลือลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อใหม

61

13

แสดงผังบัญชีที่เกี่ยวของกับการใหเชาซื้อ

68

14

แสดงการรับรูดอกเบี้ยตามผลรวมตัวเลข

82

15

แสดงการตัดบัญชีตามวิธีอัตราดอกเบี้ยทีแ่ ทจริงโดยใชมลู คาตามบัญชีคงเหลือ ณ วันบังคับใชเปนยอดเริ่มตน

83


บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ในป จ จุ บั น นี้ ก ารประกอบธุ ร กิ จ จํ า หน า ยรถยนต มี ทั้ ง การจํ า หน า ยเป น เงิ น สดและการ จําหนายโดยการใหเชาซื้อแกลูกคา ซึ่งการจําหนายโดยการใหเชาซื้อนั้นไดรับความนิยมจากลูกคา เปนอยางมาก การใหเชาซื้อรถยนตดังกลาวมีทั้งกรณีที่เจาของสินคาเปนผูใหเชาซื้อเองโดยตรง และ อีกวิธีหนึ่งคือใหธุรกิจการเงินทั้งที่เปนธนาคารและไมใชธนาคารเปนผูใหเชาซื้อแทน กิจการเชาซื้อรถยนต มีขั้นตอนในการประกอบกิจการคือ เริ่มตั้งแตขั้นตอนการรับเงิน มัดจํา การทําสัญญา การตรวจสอบสินเชื่อ การรับเงินดาวน การสงมอบรถ การรับชําระคางวด ลูกคาบางรายมีการขอปดบัญชีกอนครบกําหนด บางรายมีการขอเปลี่ยนสัญญาในกรณีที่โอนสิทธิ การเชาซื้อตามสัญญาใหบุคคลอื่น มีการยกเลิกสัญญา กิจการมีการยึดคืนสินคา รวมทั้งมีการขายรถ ที่ยึดคืนใหลูกคารายอื่น จากขั้นตอนการประกอบกิจการดังกลาวจะเห็นไดวาการประกอบธุรกิจ เกี่ยวกับกิจการใหเชาซื้อรถยนตนั้น มีปญหาที่ยุงยากและซับซอนเปนอยางมาก อาจนําไปสูการ ปฏิบัติทางการบัญชีที่ไมถูกตอง แตเดิมกอนวันที่ 1 มกราคม 2551 การบัญชีสําหรับกิจการเชาซื้อ ทางดานผูใหเชาซื้อมีแนวปฏิบัติตามมาตรฐานฉบับที่ 7 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับการเชาซื้อ-ทางดาน ผูใหเชาซื้อ สาระสําคัญของมาตรฐานฉบับนี้คือ กําไรที่เกิดจากการขาย ใหรับรูเปนรายไดทั้งจํานวน ในรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการใหเชาซื้อ หรือรับรูรายไดในแตละรอบเวลาบัญชีที่ถึงกําหนดชําระ และการรับรูดอกผลเชาซื้อนั้นสามารถรับรูได 2 วิธีคือ ใชตารางเงินรายป และวิธีผลรวมจํานวน ตัวเลข ถาผูเชาซื้อผิดสัญญาไมชําระเงินคางวด ผูใหเชาซื้อสามารถยึดสินทรัพยคืน โดยบันทึกบัญชี ใหโอนยอดคงเหลือสุทธิของบัญชีลูกหนี้เชาซื้อรอการตัดบัญชีสําหรับผูเชาซื้อรายนั้นไปแสดงใน บัญชีทรัพยสินรอการขาย แตในปจจุบันนี้ ตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชีฉบับที่ 62/2550 ใหยกเลิก มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 7 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับการเชาซื้อ-ทางดานผูใหเชาซื้อ และใหใช มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา แทน และในปจจุบันสภาวิชาชีพ บัญชีไดใชมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) แทน มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 (ปรั บปรุง 2550) ให ถือปฏิ บัติกั บงบการเงิน สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวัน ที่


2

1 มกราคม 2554 ซึ่งผูประกอบการกิจการเชาซื้อรถยนตจึงตองมีการศึกษาอยางละเอียดเกี่ยวกับแนว ปฏิบัติทางการบัญชี ซึ่งจะไดนํามาปฏิบัติอยางถูกตองเพื่อสะทอนถึงภาพผลการประกอบธุรกิจ อยางแทจริง ดังนั้นผูทําการศึกษา จึงไดมีความสนใจที่จะทําการศึกษาแนวทางปฏิบัติทางการบัญชีตาม มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา ซึ่งมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ ไดถูก นํามาใชแทนที่ ฉบับที่ 7 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับกิจการเชาซื้อ – ทางดานผูใหเชาซื้อ และฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง การบัญชีสําหรับสัญญาเชา เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติทางการบัญชี เกี่ยวกับกิจการใหเชาซื้อรถยนตตอไป วัตถุประสงคของการศึกษา การศึกษาปญหาพิเศษเรื่อง แนวปฏิบัติทางการบัญชีเ กี่ยวกับกิจการเชาซื้อรถยนตตาม มาตรฐานทางการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา โดยคณะผูจัดทํามีวัตถุประสงค ดังนี้ 1. เพื่อศึกษามาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา 2. เพื่อศึกษาแนวปฏิบัติทางการบัญชีของธุรกิจเชาซื้อรถยนต 3. เพื่อศึกษาประเด็นปญหาในการปฏิบัติสําหรับธุรกิจที่มีการทําสัญญาเชาซื้อ วิธีการศึกษาและคนควา คณะผูจัดทําไดทําการศึกษาจากแหลงขอมูลทุติยภูมิในการรวบรวมขอมูลเปนหลัก รวมทั้ง เอกสาร หนังสือ บทความที่เกี่ยวของ และงานวิจัยตางๆ ทั้งในรูปแบบของสื่ออิเล็กทรอนิกส และ สื่อสิ่งพิมพ


3

ขอบเขตของการศึกษา การศึกษาแนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับกิจการเชาซื้อรถยนตตามมาตรฐานทางการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา ทางคณะผูจัดทําไดมุงเนนศึกษาดังนี้ 1. มาตรฐานทางการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา เฉพาะในสวนของ สัญญาเชาทางการเงิน 2. แนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับกิจการเชาซื้อรถยนต 3. ปญหาและแนวทางปฏิบัติสําหรับธุรกิจที่มีการทําสัญญาเชาซื้อ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ทําใหทราบถึงแนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับกิจการเชาซื้อรถยนตตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา 1. ทําใหทราบถึ งแนวปฏิบัติทางการบัญชีตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา 2. ทําใหทราบถึงแนวปฏิบัติทางการบัญชีของธุรกิจเชาซื้อรถยนต 3. ทํ า ให ไ ด ท ราบถึ ง ป ญ หาและแนวทางปฏิ บั ติ เ มื่ อ ต อ งเผชิ ญ กั บ ป ญ หาต า ง ๆ ของ ผูประกอบการ ธุรกิจเชาซื้อ ขอจํากัดของการศึกษา ขอจํากัดของการศึกษาที่มีนั้นคือ ขอมูลที่สามารถหาไดนั้นมีคอนขางนอย เนื่องจากมีผูทํา การศึกษาเรื่องเกี่ยวกับแนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับกิจการเชาซื้อรถยนตตามมาตรฐานทางการ บัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา นอย ดวยเหตุผลตาง ๆ นี้ จึงเปนขอจํากัดที่เกิดขึ้น


4

ในการศึกษาแนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับกิจการเชาซื้อรถยนตตามมาตรฐานทางการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา นิยามศัพท ทั้งนี้คณะผูจัดทําไดจัดทํานิยามศัพทขึ้นมา เพื่อใหผูอานและผูที่ตองการนําไปศึกษา เขาใจ ในคําศัพทเฉพาะไปในทิศทางเดียวกัน จึงไดจัดทํานิยามศัพทขึ้นมาดังนี้ “แนวปฏิบัติทางการบัญชี” หมายถึง วิธีการของนักบัญชีหรือผูสอบบัญชีที่ใชในการ ปฏิบัติงาน ที่เกี่ยวกับการรับรูรายไดและคาใชจาย การตีราคาสินคา การจัดทํารายงาน งบการเงิน การเปดเผยขอมูลในงบการเงิน “กิจการเชาซื้อ” หมายถึง ผูใหเชาซื้อที่นําสินทรัพยออกใหเชาซื้อโดยมีเงื่อนไขที่ผูเชาตอง จายชําระเปนงวด ๆ ภายในระยะเวลาที่ไดกําหนดไว และกรรมสิทธิ์ในตัวสินทรัพยจะโอนไปใหผู เชาซื้อก็ตอเมื่อผูเชาซื้อไดจัดสงชําระเงินคางวดจนครบถวน แตถาผูเชาซื้อผิดนัดชําระหนี้ ผูใหเชา ซื้อมีสิทธิที่จะยึดสินคาคืนได “มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา” หมายถึง หลักการบัญชี และวิธีปฏิบัติทางบัญชีที่รับรองทั่วไป ซึ่งสอดคลองกับมาตรฐานทางการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฉบับที่ 17 หรือมาตรฐานการบัญชีที่กําหนดตามกฎหมายวาดวยบัญชีสําหรับสัญญาเชา


บทที่ 2 งานวิจัยที่เกี่ยวของ การศึกษาปญหาพิเศษ เรื่องแนวปฏิบัติทางการบัญชีเ กี่ยวกั บกิจการเชาซื้อรถยนตตาม มาตรฐานทางการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา โดยจะมุงเนนการบัญชีสําหรับ กิ จ การเช า ซื้ อ รถยนต ท างด า นผู ใ ห เ ช า ผู ศึ ก ษาได ศึ ก ษาค น คว า งานวิ จั ย ต า ง ๆ เพื่ อ ที่ จ ะนํ า มา สนับสนุนการศึกษา ดังนี้ เนาวรัตน สังคมกําแหง (2541) ในแงกฎหมายไดมีประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย วาง เป น หลั ก กฎหมายเรื่ อ งเช า ซื้ อ ไว ใ นมาตรา 572 ว า “อั น ว า เช า ซื้ อ นั้ น คื อ สั ญ ญาซึ่ ง เจ า ของเอา ทรัพยสินออกใหเชา และใหคํามั่นวาจะขายทรัพยสินนั้น หรือวาจะใหทรัพยสินนั้นตกเปนสิทธิแก ผูเชา โดยเงื่อนไขที่ผูเชาไดใชเงินเปนจํานวนเทานั้นเทานี้คราว” ฉะนั้น จากหลักกฎหมายที่กลาวขางตน จึงสรุปหลักเกณฑไดวาสัญญาเชาซื้อเปนสัญญา ผสมระหวางสัญญาเชาและสัญญาซื้อขาย โดยมีหลักเกณฑ ดังนี้ 1. ผูใหเชาตองเปนเจาของกรรมสิทธิ์ในสินทรัพยที่ใหเชา 2. ผูใหเชานําทรัพยสินของตนออกใหผูเชานําไปใชประโยชนได 3. ผูใหเชาใหคํามั่นวาจะขายทรัพยสินนั้น หรือยินยอมใหทรัพยสินนัน้ ตกเปนกรรมสิทธิ์ ของผูเชา 4. ผูเชาจะตองชําระเงินตอบแทนใหแกผูใหเชาจนครบถวนตามจํานวนคราวที่ไดตกลง กันไว 5. กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินยังเปนของผูใหเชาจนกวาผูเชาจะชําระเงินใหแกผูใหเชาครบถวน


6

วรลักษณ วรรณโล (2544) ไดศึกษาเรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบมาตรฐานการบัญชีและ กฎหมายภาษีอากรเกี่ยวกับกิจการเชาซื้อรถยนตไดพบวา มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 7 กําหนดให รับรูกําไรที่เกิดจากการขายเปนรายไดทั้งจํานวนในรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการใหเชาซื้อหรืออาจ รับรูกําไรเปนรายไดในแตละรอบระยะเวลาบัญชีตามงวดที่ถึงกําหนดชําระก็ได สวนดอกผลของ เชาซื้อนั้นใหรับรูเปนรายไดตามงวดที่ถึงกําหนดชําระ ในกรณีที่ไมไดรับเงินคางวดตามงวดที่ถึง กําหนดชําระหรือไมไดรับเงินคางวดที่ถึงกําหนด ผูขายสามารถเลื่อนการรับรูรายไดออกไป หากไม มีเหตุผลสนับสนุนไดวาจะสามารถเรียกเก็บเงินได สวนหลักเกณฑการรับรูรายไดตามกฎหมาย การจัดเก็บภาษีเงินไดนิติบุคคลยึดหลักเกณฑ เกี่ยวกับหลักเกณฑทางบัญชี ขอแตกตางที่สําคัญไดแกหลักเกณฑทางดานการจัดเก็บภาษีมูลคาเพิ่ม ในการกําหนดใหผูขายยังตองเสียภาษีมูลคาเพิ่มจากคางวดที่ถึงกําหนดจนกวาจะมีการบอกเลิก สัญญาเชาซื้อตามกฎหมายแทจริง ทั้งนี้กฎหมายจัดเก็บภาษีมูลคาเพิ่ม จึงทําใหผูประกอบการตองมี ความรับผิดชอบในการชําระภาษีมูลคาเพิ่มในขณะที่ยังไมมีการรับชําระเงินคางวดจึงถือเปนภาระ ของผูขาย ฐิติพร ฐิติจําเริญพร (2545) ไดศึกษาเรื่อง แนวปฏิบัติของการบัญชีและการรับรูรายไดของ กิจการลิสซิ่งในเขตอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม พบวา กิจการลิสซิ่งซึ่งไดมีวิธีการบันทึกบัญชี และ การรับรูรายไดในลักษณะของสัญญาเชาดําเนินงานมากกวาสัญญาเชาการเงิน ซึ่งเปนสวนสําคัญ สําหรับกิจการลิสซิ่งที่พึงปฏิบัติ อีกทั้งยังไดนําหลักการของการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการใหเชาซื้อ และการใหกูยืมเงินมาใชในการบันทึกบัญชี และการรับรูรายไดอีกดวย สวนในเรื่องการรับรูรายได ของกิจการลิสซิ่งที่ใชในปจจุบันไดมีการรับรูรายไดดอกเบี้ยเปนไปตามเกณฑเงินคาง กลาวคือ จะ รับรูรายไดที่เกิ ด ขึ้น ในงวดบัญชีนั้น ทันที โดยไมคํานึงว าจะไดรับเงิ นจากการเชานั้น แลว หรือ ไมก็ตาม กิจการลิสซิ่งสวนใหญมักจะมีปญหาเรื่องของเงินมัดจําและราคาซากของสินทรัพยที่เชา เมื่อสิ้นสุดสัญญาเชา เนื่องจากเงินมัดจําที่เก็บจากลูกคานั้น กิจการจะถือเปนหนี้สินของกิจการ เนื่องจากจะตองมีการชําระคืนใหกับลูกคาเมื่อสิ้นสุดสัญญาเชา แตมีการโอนไปเปนสวนหนึ่งของ ราคาสินทรัพย ณ วันสิ้นสุดสัญญาเชาได ถาหากผูเชาเลือกที่จะซื้อสินทรัพยนั้นเปนของตน สวนใน เรื่องราคาซากของสินทรัพย จะเห็นไดวามีราคาคอนขางสูงซึ่งถือไดวาสูงกวาราคาในทองตลาด กิจการลิสซิ่งสวนใหญมักจะมีปญหาในเรื่องของการหาผูซื้อสินทรัพยนั้นเมื่อสิ้นสุดสัญญา ดังนั้น


7

ควรมีการกําหนดอยางแนชัดในสัญญาวา ผูเชาควรจะรับประกันราคาซากของสินทรัพยนั้นเพื่อ ไมใหเกิดปญหานี้ขึ้น วชิราภรณ ขันแกวผาบ (2546) ไดศึกษาเรื่อง ปจจัยที่มีอิทธิพลตอผูประกอบการธุรกิจคา รถยนตมือสองในการเลือกใชบริการสินเชื่อเพื่อการเชาซื้อของบริษัทลิสซิ่ง ในอําเภอเมืองจังหวัด เชียงใหม พบวา ปจจัยที่มีอิทธิพลมากที่สุด 3 อันดับแรก ซึ่งเปนปจจัยภายในองคการ ไดแก อันดับ หนึ่ง คือ กระบวนการใหบริการ ในเรื่องการใหบริการที่รวดเร็ว ทันเวลาและตรงตามความตองการ อันดับสองคือ ดานผลิตภัณฑ ซึ่งเปนเรื่องการอนุมัติวงเงินสินเชื่อหรือยอดจัดไฟแนนซที่เหมาะสม และตรงตามความตองการ และอันดับสาม คือ ดานราคา ซึ่งเกี่ยวกับเรื่องอัตราดอกเบี้ยในการผอน ชําระต่ํา สําหรับปญหาที่ผูประกอบการธุรกิจคารถยนตมือสองพบ 3 อันดับแรก ไดแก อันดับหนึ่ง คือ ปญหาสิ่งแวดลอม เรื่อง อัตราดอกเบี้ยเงินกูยืมจากสถาบันการเงินตาง ๆ ที่สามารถสงผลตอการ ขึ้น-ลงของอัตราดอกเบี้ยเชาซื้อ อันดับสอง คือปญหาภายในองคการดานราคาเรื่องอัตราดอกเบี้ยใน การผอนชําระสูง และอันดับสาม คือ ปญหาภายในองคการผลิตภัณฑ เรื่องการอนุมัติวงเงินสินเชื่อ หรือยอดจัดไฟแนนซที่ไมเหมาะสม และไมตรงตามตองการ สุธาสินี พรหมบุตร (2549) ไดศึกษาเรื่อง ปจจัยที่มีผลตอความเสี่ยงดานสินเชื่อของธุรกิจ เชาซื้อรถยนต พบวา ปจจัยตาง ๆ ที่มีผลกระทบตอความเสี่ยงดานสินเชื่อของธุรกิจเชาซื้อรถยนตที่ สําคัญไดแก ปริมาณเงินใหสินเชื่อเชาซื้อรถยนตของบริษัทเงินทุน (credit loans) และอัตราดอกเบี้ย เงินกู (lending rate) โดยปริมาณเงินใหสินเชื่อเชาซื้อรถยนตมีความสัมพันธในทิศทางเดียวกันกับ ปริมาณหนี้ที่ไมกอใหเกิดรายไดของบริษัทเงินทุน จากปจจัยดังกลาว บริษัทเงินทุนสามารถนําไป เปนแนวทางในการควบคุม และลดความเสี่ยงในการใหสินเชื่อ เพื่อลดปญหาหนี้ดอยคุณภาพของ บริษัทเงินทุนได กฤษณะ แสนวาสน (2551) ไดศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจของผูประกอบการคารถยนตมือ สองตอการใชบริการดานสินเชื่อเชาซื้อรถยนตของธนาคารธนชาต จํากัด (มหาชน) ในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม พบวา ความพึงพอใจตอปจจัยสวนประสมทางการตลาดบริการ ในระดับมากเรียง ตามลําดับคาเฉลี่ยคือ ดานบุคลากร ดานกระบวนการ ดานลักษณะทางกายภาพ ดานราคา ดานการ


8

จั ด จํ า หน า ย ด า นผลิ ต ภั ณ ฑ ห รื อ บริ ก าร และด า นการส ง เสริ ม การตลาด ป จ จั ย ย อ ยที่ ผู ต อบ แบบสอบถามพึงพอใจสูงสุดลําดับแรกของปจจัยหลักแตละดานปรากฏผลดังนี้ ป จ จั ย ด า นผลิ ต ภั ณ ฑ คื อ มี ร ะยะเวลาหรื อ จํ า นวนงวดในการผ อ นชํ า ระตรงตามความ ตองการ ปจจัยดานราคา คือ ธนาคารใหคานําจัดไฟแนนซ (คารีเบท) แกผูประกอบการในอัตราที่สูง เชน 8% ของดอกเบี้ยทั้งหมด ปจจัยดานการจัดจําหนาย คือ มีการใหบริการสินเชื่อและทําสัญญานอกสถานที่ ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด คือ การมีพนักงานของธนาคารไปแนะนําใหบริการถึง สถานประกอบการ ปจจัยดานบุคลากร คือ พนักงานมีมนุษยสัมพันธดี และเปนกันเอง ปจจัยดานกระบวนการ คือ ความสะดวกในการติดตอขอใชบริการดานสินเชื่อ ปจจัยดานลักษณะทางกายภาพ คือ สถานที่สะอาดและเปนระเบียบเรียบรอย สําหรับปญหาที่พบในการเลือกใหบริการดานสินเชื่อเชาซื้อรถยนต ปรากฏผลดังนี้ ดาน การจัดจําหนาย ไดแก การติดตอโทรศัพทกับธนาคารชวงเชาคูสายเต็มไมสามารถติดตอเจาหนาที่ ไดเมื่อมีเรื่องดวน เชน การขอปดบัญชีสินเชื่อเชาซื้อรถยนต สถานที่จอดรถไมเพียงพอสําหรับลูกคา ดานบุคลากร ไดแก เจาหนาที่มาไมตรงเวลานัดและบางครั้งไมสามารถติดตอได ดานกระบวนการ ไดแก ขั้นตอนในการดําเนินการขอคืนคาโอนกรรมสิทธิ์รถมีความลาชา กนกอร วาฤทธิ์ (2551) ไดศึกษาเรื่อง ปจจัยที่กําหนดหนี้ไมกอใหเกิดรายไดของธุรกิจเชา ซื้อรถยนตของธนาคารพาณิชยแหงหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม พบวา ถาลูกหนี้มีรายไดสูง จํานวนงวด ที่ ผ อ นชํ า ระนาน ลู ก หนี้ มี ภ าระหนี้ สิ น คงค า งกั บ ธนาคารน อ ย ลั ก ษณะการใช ร ถตรงตาม


9

วัตถุประสงคที่แจง อัตราเงินดาวนสูง อัตราดอกเบี้ยต่ํา มีผูค้ําประกัน และลูกหนี้เปนผูใชรถ ปจจัย ทั้งหลายเหลานี้จะสงผลใหลูกคามีโอกาสที่จะเปนลูกหนี้ปกติสูง เรือนจิ ตร ทองดี (2551) ไดศึก ษาเรื่อง แนวปฏิบัติทางการบัญชีเ กี่ย วกั บกิจการเชาซื้อ รถยนต ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550) เรื่อง สัญญาเชา พบวา 1. การรับรูรายไดทางการเงิน (ผูใหเชาจะตองปนสวนรายไดและคาใชจาย เปนไปตามที่ มาตรฐานการบัญชีที่กําหนดไว นั่นคือ 1.1 การรับรูรายไดทางการเงิน ผูใหเชาซื้อจะตองปนสวนรายไดทางการเงินตลอดอายุ ของสัญญาเชาดวยเกณฑที่เปนระบบและสมเหตุสมผล การปนสวนรายไดตองขึ้นอยูกับรูปแบบที่ สะทอนใหเห็นถึงผลตอบแทนที่คงที่ในแตละงวดของเงินลงทุนสุทธิของผูใหเชาซึ่งคงเหลือตาม สัญญาเชาการเงิน 1.2 ผูใหเชาที่เปนผูผลิตหรือผูแทนจําหนายทําใหเกิดรายไดสองประเภท คือ กําไรหรือ ขาดทุนที่เกิดจากการขายปกติของสินทรัพยที่ใหเชา และรายไดทางการเงินตลอดอายุของสัญญาเชา ตนทุนทางตรงเริ่มแรกหรือคาใชจายที่เกิดขึ้นในการตอรองและทําสัญญาเชาการเงิน ของผูใหเชาที่ เปนผูผลิตหรือผูแทนจําหนาย ตองรับรูเปนคาใชจาย เมื่อมีการรับรูกําไรจากการขายในวันที่สัญญา มีผลบังคับใช เนื่องจากตนทุนดังกลาวมักจะเกี่ยวของกับกําไรจากการขาย 1.3 ผูใหเชาที่มิใชเปนผูผลิต หรือผูแทนจําหนาย จะเกิดรายไดประเภทเดียว คือ รายได ทางการเงินตลอดอายุของสัญญาเชา ตนทุนทางตรงเริ่มแรก เชน คานายหนาและคาธรรมเนียมตาม กฎหมายแตไมรวมถึงคาใชจายดําเนินงาน เชน คาใชจายในการขาย และคาใชจายการตลาด ตนทุน ทางตรงเริ่มแรกมักเกิดขึ้นในการตอรองหรือการเตรียมสัญญาเชาและจะรับรูเปนสวนหนึ่งของ ลูกหนี้ตามสัญญาเชาการเงินโดยไมตองบันทึกเปนรายการแยกตางหาก 2. การจัดชั้นลูกหนี้และการกันเงินสํารอง ตามมาตรฐานการบัญชีจะกําหนดใหเปดเผย ขอมูลในงบการเงินเกี่ยวกับคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ลูกหนี้ตองจายตามสัญญา เชาที่คาดวาจะเก็บไมได ซึ่งกิจการใหเชาซื้อไดจัดทําตามที่มาตรฐานการบัญชีกําหนด แตการจัดชั้น


10

ลูกหนี้และการกันเงินสํารองตามมาตรฐานการบัญชีมิไดกลาวถึงในทางปฏิบัติแลวกิจการใหเชาซื้อ รถยนตจะมีแนวทางการจัดชั้นลูกหนี้และการกันเงินสํารองแตกตางกันออกไปแลวแตบริษัท 3. การคํานวณดอกเบี้ยที่เกิดจากการเชาซื้อ เปนไปตามมาตรฐานการบัญชีกําหนดนั่นคือ การรับรูรายไดทางการเงินที่สะทอนถึงอัตราผลตอบแทนคงที่ในแตละงวด ซึ่งคํานวณจากเงินลงทุน สุทธิของผูใหเชาที่ยังไม ไดรับตามสัญญาเชา การคํานวณดอกเบี้ยรับจะใชตารางคํานวณรายป (Annuity) ในการคํานวณจํานวนเงินงวดที่ตองชําระในแตละงวด 4. การรับสินคาแลกเปลี่ยนเปนไปตามที่มาตรฐานการบัญชีกําหนด นั่นคือ ตนทุนเริ่มแรก หรือค า ใช จา ยที่เ กิ ด ขึ้น ในการตอรองและการทํ าสัญญาซื้อของผูใ หเ ชาที่เ ป น ผูผลิ ตหรื อผู แ ทน จําหนาย ตองรับรูเปนคาใชจาย ณ วันที่สัญญาเชามีผลบังคับใช เนื่องจากตนทุนดังกลาวมักจะ เกี่ยวของกับกําไรจากการขายของผูใหเชาที่เปนผูผลิตหรือผูแทนจําหนาย การรับสินคาแลกเปลี่ยน จะเกิดเฉพาะกิจการที่ผูใ หเชาซื้อเปนเจาของรถยนตหรือตั วแทนจําหนายเทานั้น ราคาที่คิดให รถยนตใชแลวมักจะสูงกวาราคาที่แทจริงเพื่อจูงใจตัดสินใจเชาซื้อรถยนตใหม ดังนั้นทําใหเกิด สวนเกิน และบันทึกเปนบัญชีคาใชจายหักจากยอดขาย 5. การปดบัญชีกอนครบกําหนดสัญญาตามมาตรฐานการบัญชีไดกําหนดแนวทางการรับรู รายไดทางการเงิน ผูใหเชาตองปนสวนรายไดทางการเงินตลอดอายุของสัญญาเชา และกําหนดใหผู เชาตองรับรูลูกหนี้สัญญาเชาซื้อเปนลูกหนี้ในงบดุล ดังนั้น เมื่อมีการปดบัญชีกอนครบกําหนด สัญญาเชาซื้อ หมายถึง สัญญาเชาซื้อสิ้นสุดลงกอนวันครบกําหนดสัญญา ลูกหนี้ตามสัญญาเชา คงเหลือก็จะหมดไป รายไดทางการเงินคงเหลือจะรับรูเปนรายไดทั้งจํานวน แตในทางปฏิบัติกิจการ ผูใหเชาซื้อจะใหสวนลดแกผูเชาซื้อ ดังนั้น การรับรูรายไดในกรณีที่สัญญาเชาซื้อสิ้นสุดลง จะ เทากับ รายไดทางการเงินคงเหลือ หัก สวนลดใหแกผูเชาซื้อ 6. การโอนสิทธิการเชาซื้อตามสัญญาเชาใหบุคคลอื่น เปนไปตามมาตรฐานการบัญชีที่ กําหนดไว นั่นคือแนวทางการรับรูรายไดทางการเงิน ผูใหเชาตองปนสวนรายไดทางการเงินตลอด อายุของสัญญาเชา และกําหนดใหผูเชาตองรับรูลูกหนี้สัญญาเชาซื้อเปนลูกหนี้ในงบดุล ดังนั้น เมื่อ มีการโอนสิทธิการเชาซื้อตามสัญญาเชาใหบุคคลอื่น ลูกหนี้ตามสัญญาเชาคงเหลือ และรายได ทางการเงินคงเหลือเดิมก็จะหมดไป และจะเริ่มตนการบันทึกการรับรูสัญญาใหมตามแนวปฏิบัติ ของมาตรฐานการบัญชีตอไป


11

7. การผิดสัญญาและการยึดคืนสินคา เปนไปตามมาตรฐานการบัญชี นั่นคือมาตรฐานการ บัญชีที่ไดกําหนดแนวทางการรับรูรายไดทางการเงิน ผูใหเชาตองปนสวนรายไดทางการเงินตลอด อายุของสัญญาเชา และกําหนดใหผูใหเชาตองรับรูลูกหนี้สัญญาเชาซื้อเปนลูกหนี้ในงบดุล ดังนั้น เมื่อมีการผิดสัญญาและการยึดสินคา จะมีการบอกเลิกสัญญา ดังนั้น สัญญาเชาซื้อสิ้นสุดลง จะหยุด รับรูรายไดทางการเงิน ลูกหนี้ตามสัญญาเชาคงเหลือ และรายไดทางการเงินคงเหลือก็จะโอนไปยัง บัญชีทรัพยสินรอการขาย และการขายรถที่ยึดคืน ถาหากราคาขายนั้นตางจากราคาตามบัญชีที่ บันทึกไวในทรัพยสินรอการขาย ก็จะรับรูเปนกําไรหรือขาดทุนในงบกําไรขาดทุน สวนการประมูล ขาย ถาหากราคาประมูลขายนั้นต่ํากวาราคาตามบัญชีที่บันทึกไวในทรัพยสันรอการขาย จะเรียก สวนตางเพิ่มจากผูเชาซื้อ แตถาหากราคาขายนั้นสูงกวาราคาตามบัญชีที่บันทึกไวในสินทรัพยรอการ ขาย จะคืนสวนตางใหผูเชาซื้อ 8. การตีราคาสินคา เปนตามมาตรฐานการบัญชี นั่นคือ สินทรัพยรอการขาย (รถยึด) จะใช ราคาของยอดลูกหนี้คงเหลือสุทธิ หรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับจากการขายสินทรัพย แลวแตอยางใดจะ ต่ํากวา และตองมีการพิจารณาการดอยคาของทรัพยสินรอการขาย เมื่อมีขอบงชี้วา ทรัพยสินรอการ ขายเกิดการดอยคา 9. การแสดงรายการและการเปดเผยขอมูลในงบการเงินเปนไปตามมาตรฐาน นั่นคือ 9.1 การแสดงรายการในงบดุล ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ แสดงดวยยอดสุทธิของยอดลูกหนี้ตามบัญชี หัก ดว ย รายไดดอกเบี้ยรอการรับรู คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และตนทุนเริ่มแรกรอตัดจาย ทรัพยสินรอการขาย (รถยนตที่ยึดคืนจากลูกหนี้เชาซื้อ) แสดงดวยราคาตามบัญชี เปรียบเทียบกับมูลคาที่คาดวาจะไดรับ แลวแตอยางใดจะต่ํากวา 9.2 การแสดงรายการในงบกําไรขาดทุน


12

การขายโดยใหเชาซื้อจะใชวิธีการบัญชีตามเกณฑคงคางซึ่งเปนวิธีการที่ถือวากําไร ขั้น ต นเกิด ขึ้น ในงวดที่มี การขายการวัดผลการดํา เนินงานของกิจการให เช าซื้อจะตองคํ านึ งถึง แนวความคิดในเรื่องการจับคูรายไดและคาใชจาย กลาวคือ คาใชจายที่นํามาเปรียบเทียบกับรายได ในงวดใดๆ ควรจะเปนคาใชจายที่กอใหเกิดรายไดในงวดเดียวกัน 9.3.1 นโยบายบัญชีเกี่ยวกับการรับรูรายไดจากสัญญาเชาซื้อ ตนทุนเริ่มแรกการตี ราคาสินทรัพยรอการขาย และการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 9.3.2 การกระทบยอดระหวางผลรวมของเงินลงทุนขั้นตนตามสัญญาเชากับมูลคา ป จ จุ บั น ของจํ า นวนเงิ น ขั้ น ต่ํ า ที่ ลู ก หนี้ ต อ งจ า ยตามสั ญ ญาเช า สํ า หรั บ ระยะเวลาสามช ว ง คื อ ระยะเวลาที่ไมเกินหนึ่งป ระยะเวลาที่เกินหนึ่งปแตไมเกินหาป และระยะเวลาที่เกินหาป 9.3.3 รายไดทางการเงินรอการรับรู การปฏิบัติชวงเปลี่ยนแปลงมาตรฐานการบัญชี กําหนดใหกิจการรับรูรายได ดอกเบี้ยดวยวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง โดยใชวิธีปรับยอนหลัง สําหรับสัญญาเชาซื้อคงเหลือยกมาที่ เปนสัญญาเชาซื้อที่มีระยะเวลาสั้น (3-4 ป) และใชวิธีผลรวมตัวเลขในการคํานวณจะใชวิธีเดิมใน การคํานวณดอกเบี้ยรับตอไป แตสัญญาเชาซื้อคงเหลือยกมาที่เปนสัญญาเชาซื้อที่มีระยะเวลาเกิน กวา 4 ป จะใชมูลคาตามบัญชีคงเหลือ ณ วันบังคับใชเปนยอดเริ่มตนในการตัดบัญชีตามวิธีอัตรา ดอกเบี้ยที่แทจริง


บทที่ 3 ทฤษฎี และแนวคิดที่เกี่ยวของ การศึกษาปญหาพิเศษ เรื่องแนวปฏิบัติทางการบัญชีเ กี่ยวกั บกิจการเชาซื้อรถยนตตาม มาตรฐานทางการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา โดยจะมุงเนนการบัญชีสําหรับ กิจการเชาซื้อรถยนตทางดานผูใหเชา ผูศึกษาไดศึกษาคนควาตํารา และเอกสารตาง ๆ เพื่อที่จะนํามา สนับสนุนการศึกษา ดังนี้ 1. มาตรฐานทางการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา 2. กฎหมายทีเ่ กี่ยวของกับการเชาซื้อรถยนตและจักรยานยนต 3. ภาษีสําหรับการใหเชาทรัพยสิน การใหเชาแบบลีสซิ่ง และการใหเชาซื้อ ทั้งนี้ในปญหาพิเศษฉบับนี้ ไดมีการนํามาตรฐานบัญชีมาอธิบาย ซึ่งไดอางอิงเลขยอหนา มาตรฐานฉบับที่ 17 คณะผูจัดทําไดมีการอธิบายมาตรฐานบัญชี เพื่อใหผูอานเขาใจไดมากขึ้น แต ทั้งนี้เลขยอหนาไดอางอิงตามมาตรฐานฉบับที่ 17 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้เปนไปตามเกณฑที่กําหนดขึ้นโดยมาตรฐานการบัญชีระหวาง ประเทศ ฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาเชา พ.ศ. 2552 ซึ่งเปนการแกไขของคณะกรรมการมาตรฐานการ บัญชีระหวางประเทศที่สิ้นสุดในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2551 (IAS 17: Leases (Bound volume 2009) โดยมาตรฐานฉบับนี้ใชแทนมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2550) โดยมีเนื้อหา สาระไมแตกตางจาก มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2550) ซึ่งมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) ใชแทนมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 7 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับการเชาซื้อ-ทางดาน ผูให เชาซื้อ และฉบับที่ 29 เรื่อง การบัญชีสําหรับสัญญาเชา มาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุง 2550


14 ใหถือปฏิบัติกับงบการเงินที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2551 เปนตนไป ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลง ที่สําคัญจากการบัญชีฉบับเดิม ดังนี้ 1. สัญญาเชาตามมาตรฐานการบัญชีฉบับเดิม หมายถึง สัญญาหรือขอตกลงที่ผูใหเชาโอน สิ ท ธิ ก ารใช สิ น ทรั พ ย ใ ห แ ก ผู เ ช า โดยได รั บ ค า เช า เป น ผลตอบแทนสํ า หรั บ ช ว งระยะเวลาหนึ่ ง มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ ดัดแปลงคํานิยามโดยใชคําวา “คาตอบแทนซึ่งอาจไดรับชําระในงวด เดียวหรือหลายงวด” แทนคําวา “คาเชา” 2. ในการจําแนกสัญญาเชา มาตรฐานการบัญชีฉบับเดิมไดใหตัวอยางของสถานการณซึ่ง ตามปกติจะทําใหสัญญาเชาตองจัดประเภทเปนสัญญาเชาการเงินไวสี่ขอ มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ ไดเพิ่มสถานการณเพื่อชวยในการจําแนกสัญญาเชาอีกหนึ่งขอ และขอบงชี้อีกสามขอ 3. มาตรฐานการบัญชีฉบับเดิมใชคําวา “อายุการใหประโยชนของสินทรัพย” ในตัวอยาง ของสถานการณที่ระบุ เพื่อนํามาเปรียบเทียบกับอายุของสัญญาเชาในการจําแนกประเภทสัญญาเชา มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ใชคําวา “อายุการใหประโยชนเชิงเศรษฐกิจ” ซึ่งทําใหกิจการตอง พิจารณาวาผูใชสินทรัพยอาจมีมากกวาหนึ่งราย 4. มาตรฐานการบัญชีฉบับเดิมกําหนดใหเปดเผยขอมูลสําหรับคาเชาที่อาจเกิดขึ้น แตไมได ใหขอกําหนดที่ชัดเจนวากิจการตองรวมคาเชาที่อาจเกิดขึ้นในการคํานวณจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตอง จายหรือไมมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กําหนดใหกิจการไมตองนําคาเชาที่อาจเกิดขึ้น มารวมในการ คํานวณจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจาย 5. ตนทุนทางตรงเมื่อเริ่มแรกของผูใหเชาและผูเชา 5.1 มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไดเพิ่มคํานิยามเกี่ยวกับตนทุนทางตรงเมื่อเริ่มแรกให ชัดเจนขึ้น 5.2 มาตรฐานการบัญชีฉบับเดิมไมไดใหขอกําหนดที่ชัดเจนเกี่ยวกับการปฏิบัติทางบัญชี สําหรับตนทุนทางตรงเมื่อเริ่มแรกที่เกิดกับผูเชา มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กําหนดใหรวมตนทุน


15 ทางตรงเมื่อเริ่มแรกที่เกิดขึ้นกับผูเชาเปนสวนหนึ่งของจํานวนที่รับรูเปนสินทรัพยภายใตสัญญาเชา การเงินนั้น 5.3 มาตรฐานการบัญชีฉบับเดิมไดใหขอกําหนดเกี่ยวกับการปฏิบัติทางบัญชีสําหรับ ตนทุนทางตรงเมื่อเริ่มแรกที่เกิดกับผูใหเชาโดยจะบันทึกเปนคาใชจายทันที หรือปนสวนไปหักจาก รายไดทางการเงินนั้นตลอดอายุสัญญาเชาการเงินก็ได แตมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กําหนดใหรวม ตนทุนทางตรงเมื่อเริ่มแรกเปนสวนหนึ่งของลูกหนี้ตามสัญญาเชาการเงินโดยไมตองบันทึกเปน รายการแยกตางหาก 6. มาตรฐานการบัญชีฉบับเดิมอนุญาตใหผูเชาใชวิธีปนสวนรายไดทางการเงิน โดยรับรู รายไดตามอัตราคงที่ในแตละงวดซึ่งคํานวณตามจํานวนในขอใดขอหนึ่งตอไปนี้ 6.1 เงินลงทุนสุทธิของผูใหเชาที่ยังไมไดรับตามสัญญาเชาการเงิน 6.2 เงินสดลงทุนสุทธิของผูใหเชาที่ยังไมไดรับตามสัญญาเชาการเงิน มาตรฐานการบั ญชีฉบับนี้กําหนดใหผูใหเ ชารับรูรายได ทางการเงินที่สะทอนถึงอัตรา ผลตอบแทนคงที่ในแตละงวด ซึ่งคํานวณจากขอ 6.1 เทานั้น 7. มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้อางถึงมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 36 (ปรับปรุง 2552) เรื่องการ ดอยคาของสินทรัพย เพื่อใหแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการประเมินการดอยคาของสินทรัพยเมื่อจําเปน ซึ่งมาตรฐานการบัญชีฉบับเดิมไมไดกลาวถึง 8. มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้เนนขอกําหนดเกี่ยวกับการเปดเผยขอมูลสําหรับสัญญาเชา การเงิน และสัญญาเชาดําเนินงานทั้งทางดานผูเชาและผูใหเชา และกําหนดใหเปดเผยขอมูลเพิ่มเติม ดังตอไปนี้ 8.1 ผูเชาตองเปดเผยการกระทบยอดระหวางจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายทั้งสิ้นกับมูลคา ปจจุบันของหนี้สินตามสัญญาเชาสําหรับระยะเวลาสามชวง คือ ระยะเวลาที่ไมเกินหนึ่งป ระยะเวลา ที่เกินหนึ่งปแตไมเกินหาป และระยะเวลาที่เกินหาป


16

8.2 ผูเชาตองเปดเผยการกระทบยอดระหวางผลรวมของเงินลงทุนขั้นตนตามสัญญาเชา กับมูลคาปจจุบันของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ลูกหนี้ตองจายตามสัญญาเชา สําหรับระยะเวลาสามชวง คือ ระยะเวลาที่ไมเกินหนึ่งป ระยะเวลาที่เกินหนึ่งปแตไมเกินหาป และระยะเวลาที่เกินหาป 8.3 จํานวนเงินขั้นต่ําที่คาดวาจะไดรับในอนาคตจากการเชาชวงที่บอกเลิกไมได ณ วันที่ ในงบดุล 8.4 คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับลูกหนี้จํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายตามสัญญาเชาที่ คาด วาจะเก็บไมได 8.5 ผูใหเชาตองเปดเผยคาเชาที่อาจเกิดขึ้นที่รับรูในงบกําไรขาดทุนสําหรับงวด 9. มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ไดใหรายละเอียดเกี่ยวกับการขายและการเชากลับคืน โดยเฉพาะการเชากลับคืนที่เปนสัญญาเชาดําเนินงานซึ่งประกอบดวยขอกําหนดสําหรับสถานการณ ตาง ๆ โดยใหขึ้นอยูกับราคาขาย มูลคายุติธรรมของสินทรัพย และมูลคาตามบัญชีของสินทรัพย และยังไดใหตัวอยางเพิ่มเติมในภาคผนวกเพื่อชวยในการตีความขอกําหนดที่ระบุไวในมาตรฐาน การบัญชี 10. มาตรฐานการบัญชีฉบับเดิม (ฉบับที่ 7 เรื่อง การบัญชีเกี่ยวกับการเชาซื้อ - ทางดาน ผูใหเชาซื้อ) ไมไดใหขอกําหนดเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติทางบัญชีทางดานผูเชาซื้อ มาตรฐานการบัญชี ฉบั บ นี้ ไ ด กํ า หนดให สั ญ ญาเช า ซื้ อ เป น สั ญ ญาเช า การเงิ น และให แ นวทางปฏิ บั ติ ท างบั ญ ชี ทั้ ง ทางดานผูเชาและผูใหเชา 11. มาตรฐานการบัญชีฉบับเดิมไดกําหนดใหการเชาที่ดิน และอาคารตองจัดประเภทเปน สัญญาเชาดําเนินงานหรือสัญญาเชาการเงินแลวแตกรณีแตไมไดกําหนดการปฏิบัติเกี่ยวกับการแยก องคประกอบของที่ดินและอาคาร รวมถึงการวัดคาขององคประกอบนั้น แตมาตรฐานการบัญชีฉบับ นี้ไดกําหนดรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการแยกองคประกอบของที่ดินและอาคาร รวมทั้งการวัด มูลคาขององคประกอบที่ดินและอาคารใหชัดเจนขึ้นเพื่อวัตถุประสงคในการจัดประเภทสัญญาเชา


17 การจําแนกประเภทของสัญญาเชา 7. มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กําหนดใหกิจการจัดประเภทสัญญาเชาโดยพิจารณาถึง ขอบเขตของความเสี่ยงและผลตอบแทนที่ผูเปนเจาของพึงไดรับจากสินทรัพยที่เชาวาตกอยูกับผูเชา หรือผูใหเชา ความเสี่ยงดังกลาวรวมถึง โอกาสที่จะเกิดความสูญเสียจากกําลังการผลิตที่ไมไดใช หรื อ จากวิ ท ยาการ ที่ ล า สมั ย และจากการผั น ผวนของผลตอบแทนที่ เ กิด จากการเปลี่ ย นแปลง สถานการณทางเศรษฐกิจ ผลตอบแทนดังกลาวอาจรวมถึง การคาดการณวาการดําเนินงานจะมีกําไร ตลอดอายุการใหประโยชนเชิงเศรษฐกิจของสินทรัพย และการคาดการณวาจะมีผลกําไรจากราคาที่ เพิ่มขึ้นหรือจากมูลคาคงเหลือที่จะไดรับ 8. กิจการตองจัดประเภทสัญญาเชาเปนสัญญาเชาการเงินหากสัญญานั้นโอนความเสี่ยงและ ผลตอบแทนทั้งหมดหรือเกือบทั้งหมดที่ผูเปนเจาของพึงไดรับจากสินทรัพยไปใหแกผูเชา และตอง จัดประเภทสัญญาเชาเปนสัญญาเชาดําเนินงานหากสัญญานั้นไมไดโอนความเสี่ยงหรือผลตอบแทน ทั้งหมด หรือเกือบทั้งหมดที่ผูเปนเจาของพึงไดรับจากสินทรัพยไปใหแกผูเชา 9. เนื่องจากรายการบัญชีระหวางผูเชาและผูใหเชาเปนไปตามขอตกลงรวมในสัญญาเชา จึง เปน การเหมาะสมที่ จ ะยึด ถื อคํ านิ ย ามอย า งเดีย วกัน มาใชอ ยางสม่ํ าเสมอ แตใ นบางครั้ งการนํ า คํานิยามตาง ๆ มาใชกับสถานการณของคูสัญญาทั้งสองฝายที่แตกตางกัน อาจทําใหผูเชาและผูให เชาจัดประเภทสัญญาเชาแตกตางกันแมวาจะเปนสัญญาเดียวกัน ตัวอยางเชน กรณีที่ผูใหเชาไดรับ ประโยชนจากมูลคาคงเหลือที่ไดรับการค้ําประกันจากบุคคลที่ไมเกี่ยวของกับผูเชา 10. ในการจัดประเภทสัญญาเชาเปนสัญญาเชาการเงินหรือสัญญาเชาดําเนินงานนั้น กิจการ ตอ งจัด ประเภทสั ญ ญาเช า การเงิ น หากสัญ ญานั้ น ทํ าให เ กิ ด สถานการณ ตอ ไปนี้ อ ย า งน อยหนึ่ ง สถานการณ 10.1 สัญญาเชาโอนความเปนเจาของในสินทรัพยใหแกผูเชาเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาของ สัญญาเชา 10.2 ผูเชามีสิทธิเลือกซื้อสินทรัพยดวยราคาที่ต่ํากวามูลคายุติธรรม ณ วันที่สิทธิเลือก เกิดขึ้น โดยราคาตามสิทธิเลือกนั้นมีจํานวนต่ํากวามูลคายุติธรรมของสินทรัพยมากเพียงพอที่จะทํา


18 ให เ กิ ด ความแน ใ จอย า งสมเหตุ ส มผล ณ วั น เริ่ ม ต น ของสั ญ ญาเช า ว า ผู เ ช า จะใช สิ ท ธิ เ ลื อ กซื้ อ สินทรัพยนั้น 10.3 ระยะเวลาของสัญญาเชาครอบคลุมอายุการใหประโยชนเชิงเศรษฐกิจ สวนใหญ ของสินทรัพย แมวาจะไมมีการโอนกรรมสิทธิ์เกิดขึ้น 10.4 ณ วันเริ่มตนของสัญญาเชา มูลคาปจจุบันของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายมีจํานวน เทากับหรือเกือบเทากับมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่เชา 10.5 สินทรัพยที่เชามีลักษณะเฉพาะจนกระทั่งมีผูเชาเพียงผูเดียวที่สามารถใชสินทรัพย นั้น โดยไมจําเปนตองนําสินทรัพยดังกลาวมาทําการดัดแปลงที่สําคัญ 11. ขอบงชี้ถึงสถานการณใดสถานการณหนึ่งหรือหลายสถานการณรวมกันที่ทําใหจัด สัญญาเชาเปนสัญญาเชาการเงินได มีดังตอไปนี้ 11.1 หากผูเชาสามารถยกเลิกสัญญาเชาได และผูเชาเปนผูรับผิดชอบผลเสียหายที่เกิด กับผูใหเชาเนื่องจากการยกเลิกนั้น 11.2 ผูเชาเปนผูที่ไดรับผลกําไรหรือผลขาดทุนจากการผันผวนของมูลคายุติธรรมของ มูลคาคงเหลือ (ตัวอยางเชน มูลคายุติธรรมของมูลคาคงเหลือที่อยูในรูปของคาเชาที่ผูใหเชาลดใหซึ่ง รวมแลว มีจํ า นวนเท ากั บสว นใหญของจํ า นวนที่ ไ ดรับ จากการขายมู ลคาคงเหลื อ ณ วั น สิ้น สุ ด สัญญาเชา) 11.3 ผูเชาสามารถตอสัญญาเชาครั้งที่สองดวยการจายคาเชาที่มีจํานวนต่ํากวาคาเชาใน ตลาดอยางเปนนัยสําคัญ 12. ตัวอยางและขอบงชี้ดังกลาวไมถือเปนขอยุติในการจัดประเภทของสัญญาเชาใหเปน สัญญาเชาการเงิน ถาเปนที่แนชัดวายังมีลักษณะอื่นที่แสดงใหเห็นวามิไดมีการโอนความเสี่ยงและ ผลตอบแทนที่ผูเปนเจาของพึงไดรับจากสินทรัพยที่เชา สัญญาเชานั้นตองจัดประเภทเปนสัญญาเชา ดําเนินงาน ตัวอยางเชน ณ วันสิ้นสุดสัญญาเชาไดมีการโอนกรรมสิทธิ์ในสินทรัพยที่เชาโดยมีการ


19 จายคาตอบแทนซึ่งมีจํานวนเทากับมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่เชา หรืออีกตัวอยางหนึ่งคือ มีการ จายคาเชาที่ไมกําหนดแนนอน (คาเชาที่อาจเกิดขึ้น) อันเปนผลใหผูเชามิไดรับโอนความเสี่ยงและ ผลตอบแทนที่ผูเปนเจาของพึงไดรับจากสินทรัพยที่เชา 13. การจัดประเภทของสัญญาเชาตองทํา ณ วันเริ่มตนสัญญา หาก ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ผูเชา และผูใหเชา ตกลงที่จะเปลี่ยนเงื่อนไขในสัญญาเชา (ที่ไมใชการตออายุสัญญาเชา) ในลักษณะที่ทํา ใหการจัดประเภทสัญญาเชาแตกตางไปจากเดิมตามเงื่อนไขที่ระบุ และหากเงื่อนไขที่เปลี่ยนแปลง ไปนั้นมีผลกระทบตั้งแตวันเริ่มตนของสัญญาเชา ขอตกลงที่มีการแกไขถือเปนขอตกลงใหมตลอด อายุสัญญาเชา อยางไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี (ตัวอยางเชน การเปลี่ยนแปลง ประมาณการของอายุการใหประโยชนเชิงเศรษฐกิจหรือมูลคาคงเหลือของสินทรัพยที่เชา) หรือการ เปลี่ยนแปลงในสถานการณ (ตัวอยางเชน ผูเชาผิดสัญญา) ไมทําใหตองมีการจัดประเภทสัญญาเชา ใหมตามวัตถุประสงคทางการบัญชี สัญญาเชาในงบการเงินของผูใหเชา สัญญาเชาการเงิน การรับรูเริ่มแรก 36. ผูใหเชาตองรับรูสินทรัพยภายใตสัญญาเชาการเงินเปนลูกหนี้ในงบแสดงฐานะการเงิน ดวยจํานวนที่เทากับเงินลงทุนในสัญญาเชา 37. ภายใตสัญญาเชาการเงิน ผูใหเชาโอนความเสี่ยงและประโยชนของความเปนเจาของ ทั้งหมดหรือเกือบทั้งหมดใหผูเชา ดังนั้น ผูใหเชาจึงถือวา ลูกหนี้สัญญาเชา คือ สินทรัพยที่จะทําให ผูใหเชาไดรับเงินตนพรอมกับรายไดทางการเงิน เพื่อชดเชยและตอบแทนผูใหเชาสําหรับการลงทุน และบริการที่ให 38. ผูใหเชามักมีตนทุนทางตรงเริ่มแรก เชน คานายหนาและคาธรรมเนียมทางกฎหมาย ตนทุนทางตรงสวนเพิ่มจากการตอรองและจัดการตอรองและจัดทําสัญญาเชา ตนทุนดังกลาวไม รวมถึ ง ต น ทุ น ทั่ ว ไป เช น ต น ทุ น ที่เ กิ ด ขึ้ น กั บ ฝา ยขายและการตลาด สํา หรั บ สั ญ ญาเช า การเงิ น


20 นอกเหนือจากสัญญาเชาของผูใหเชาที่เปนผูผลิต หรือผูแทนจําหนาย ตนทุนทางตรงเริ่มแรกจะรวม คํานวณอยูในลูกหนี้ตามสัญญาเชาการเงิน และจะเปนสวนหักจากกําไรในชวงอายุของสัญญาเชา อัตราดอกเบี้ยตามนัยของสัญญาเชาเปนอัตราที่กําหนดขึ้นโดยไดคํานึงถึงตนทุนทางตรงเริ่มแรกซึ่ง รวมอยูในยอดลูกหนี้ตามสัญญาเชา ดังนั้น จึงไมมีความจําเปนตองรวมยอดดังกลาวแยกตางหาก ตนทุนทางตรงเริ่มแรกของผูใหเชา ที่เปนผูผลิตหรือผูแทนจําหนาย ไมรวมอยูในคํานิยามของ มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้และไมรวมเปนสวนหนึ่งของเงินลงทุนสุทธิในสัญญาเชาจึงตองรับรูเปน คาใชจายเมื่อมีการรับรูกําไรจากการขายในวันที่สัญญาเชาเริ่มมีผล การวัดมูลคาภายหลังการรับรูเริ่มแรก 39. การรับรูรายไดทางการเงินตองขึ้นอยูกับรูปแบบที่สะทอนถึงอัตราผลตอบแทนคงที่ใน แตละงวดของเงินลงทุนสุทธิของผูใหเชา ซึ่งคงเหลือตามสัญญาเชาการเงินนั้น 40. ผูใหเชาตองปนสวนรายไดทางการเงินตลอดเงินตลอดอายุสัญญาเชาดวยเกณฑที่เปน ระบบและสมเหตุสมผล การปนสวนรายไดตองขึ้นอยูกับรูปแบบที่สะทอนใหเห็นถึงผลตอบแทนที่ คงที่ในแตละงวดของเงินลงทุนสุทธิของผูใหเชา ซึ่งคงเหลือตามสัญญาเชาการเงิน จํานวนที่จาย ตามสัญญาเชาที่เกี่ยวของกับงวดบัญชี (ซึ่งไมรวมตนทุนในการใหบริการ) ตองนํามาหักกับเงิน ลงทุนขั้นตนทั้งสิ้นในสัญญาเชาการเงิน เพื่อลดเงินตนและรายไดทางการเงินรอการรับรู 41. ผูใหเชาตองทบทวนประมาณการมูลคาคงเหลือที่ไมไดรับการประกันที่ใชในการ คํานวณเงินลงทุนขั้นตนตามสัญญาเชาอยางสม่ําเสมอ หากประมาณการมูลคาคงเหลือที่ไมไดรับ การประกันมีจํานวนลดลง ผูใหเชาตองทบทวนการปนสวนรายไดตลอดอายุสัญญาเชา และตอง รับรูการลดลงของจํานวนที่ตั้งคางรับไวในกําไรหรือขาดทุนทันที สินทรัพยภายใตสัญญาเชาการเงินซึ่งจัดประเภทเปนสินทรัพยรอการขาย (หรือได รวมอยู ใ นกลุ ม ของสิ น ทรั พ ย ที่ เ ลิ ก ใช แ ละจั ด ประเภทเป น รอการขาย) ต อ งบั น ทึ ก บั ญ ชี ต าม ขอกําหนดของมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 5 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สินทรัพยไ ม หมุนเวียนที่ถือไวเพื่อขายและการดําเนินงานที่ยกเลิก เมื่อสินทรัพยนั้นเปนไปตามขอกําหนดของ มาตรฐานการบัญชีดังกลาว


21 42. ผูใหเชาที่เปนผูผลิตหรือผูแทนจําหนายตองรับรูกําไรจากการขายหรือขาดทุนจากการ ขายในงบกําไรขาดทุนสําหรับงวดตามนโยบายการบัญชีที่กิจการใชสําหรับการขายเสร็จเด็ดขาด หากอัตราดอกเบี้ยที่ใชเปนอัตราที่ต่ําเกินจริง กําไรจากการขายตองกําหนดขึ้นโดยสมมติใหใชอัตรา ดอกเบี้ยเชิงพาณิชย ตนทุนทางตรงเริ่มแรกตองรับรูเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุนเมื่อมีการรับรู กําไรจากการขาย 43. ผูผลิตหรือผูแทนจําหนายมักใหทางเลือกแกลูกคาที่จะซื้อหรือเชาสินทรัพย สัญญาเชา การเงินของสิ นทรัพ ยที่ ทําโดยผูให เชาที่เป นผูผลิตหรือผูแ ทนจัด จําหน ายทําใหเกิดรายไดสอง ประเภทดังตอไปนี้ 43.1 กําไรหรือขาดทุนที่เทียบเทากับกําไรหรือขาดทุนที่เกิดจากการขายเสร็จเด็ดขาด ของสินทรัพยที่ใหเชาดวยราคาขายปกติ ทั้งนี้จะตองคํานึงถึงสวนลดปริมาณหรือสวนลดการคาดวย 43.2 รายไดทางการเงินตลออดอายุสัญญาเชา 44. ณ วันที่สัญญาเชาเริ่มมีผล ผูใหเชาที่เปนผูผลิตหรือผูแทนจําหนายจะบันทึกรายไดจาก การขายดวยมูลคายุติธรรมของสินทรัพยหรือมูลคาปจจุบันของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ตองจายใหผูให เชา คิดลดดวยอัตราดอกเบี้ยในทองตลาดแลวแตจํานวนใดจะต่ํากวา และจะบันทึกตนทุนขายดวย ตนทุน ของสินทรัพยที่ให เชาหรือมูลคาตามบัญชี (หากมู ลคาตามบัญชีแตกตางจากตนทุ นของ สินทรัพยที่ใหเชา) หักดวยมูลคาปจจุบันของมูลคาคงเหลือที่ไมไดรับประกัน ผลตางระหวางรายได จากการขายกับตนทุนขายถือเปนกําไรจากการขายซึ่งตองรับรูตามนโยบายการบัญชีที่กิจการใช สําหรับการขายเสร็จเด็ดขาด 45. เพื่อเปนการจูงใจลูกคา ผูใหเชาที่เปนผูผลิตหรือผูแทนจําหนายบางครั้งจะเสนออัตรา ดอกเบี้ยที่ต่ํากวาความเปนจริงมาก ซึ่งทําใหรายไดทั้งสิ้นที่รับรู ณ เวลาที่ขายมีจํานวนสูงเกินไป หากผูใหเชาเสนออัตราดอกเบี้ยที่ต่ําเกินจริง กําไรจากการขายตองเปนจํานวนที่คํานวณขึ้นจากอัตรา ดอกเบี้ยในทองตลาด


22 46. ตนทุนที่เกิดขึ้นในการตอรองและทําสัญญาเชาการเงินของผูใหเชาที่เปนผูผลิตหรือ ผู แ ทนจํ า หน า ยต อ งรั บ รู เ ป น ค า ใช จ า ย ณ วั น ที่ สั ญ ญาเช า เริ่ ม มี ผ ล เนื่ อ งจากต น ทุ น ดั ง กล า วมั ก เกี่ยวของกับกําไรจากการขายของผูใหเชาที่เปนผูผลิตหรือผูแทนจําหนาย การเปดเผยขอมูล 47. นอกจากที่ผูใหเชาตองเปดเผยขอมูลตามขอกําหนดที่ระบุไวในมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที่ 7 เรื่อง การเปดเผยขอมูลสําหรับเครื่องมือทางการเงิน (เมื่อมีการประกาศใช) ผูใหเชาตองเปดเผยขอมูลสําหรับสัญญาเชาการเงินเพิ่มเติมดังตอไปนี้ 47.1 การกระทบยอด ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาการรายงาน ระหวางผลรวมของเงินลงทุน ขั้นตนทั้งสิ้นตามสัญญาเชากับมูลคาปจจุบันของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ลูกหนี้ตองจายตามสัญญาเชา นอกจากนั้น ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาการรายงาน กิจการตองเปดเผยผลรวมของเงินลงทุนขั้นตน ตามสัญ ญาเช า และมู ล ค า ป จ จุ บั น ของจํ า นวนเงิน ขั้ น ต่ํ า ที่ ลูก หนี้ ตอ งจ า ยตามสั ญ ญาเช า สํา หรั บ ระยะเวลาแตละชวงตอไปนี้ 47.1.1 ระยะเวลาที่ไมเกินหนึ่งป 47.1.2 ระยะเวลาที่เกินหนึ่งปแตไมเกินหาป 47.1.3 ระยะเวลาที่เกินกวาหาป 47.2 รายไดทางการเงินรอการรับรู 47.3 มูลคาคงเหลือที่ไมไดรับการประกันซึ่งรวมอยูในผลประโยชนของผูใหเชา 47.4 คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ลูกหนี้ตองจายตามสัญญาเชาที่คาด วาจะเก็บไมได 47.5 คาเชาที่อาจเกิดขึน้ ที่รับรูเปนรายไดในงบกําไรขาดทุนสําหรับงวด


23 47.6 คําอธิบายโดยทัว่ ไปของขอตกลงที่สําคัญตามสัญญาเชาของผูใหเชา 48. การเปดเผยเงินลงทุนขั้นตนหักดวยรายไดทางการเงินรอการรับรูจากสัญญาเชาใหมที่ เพิ่มขึ้นระหวางงวดบัญชี หลังจากหักดวยจํานวนเงินที่เกี่ยวของของสัญญาที่ไดยกเลิก ถือเปน เครื่องบงชี้การเติบโตที่มักเปนประโยชนตอผูใชงบการเงิน กฎหมายที่เกี่ยวของกับการเชาซื้อรถยนตและจักรยานยนต ประกาศคณะกรรมการวาดวยสัญญา เรื่องใหธุรกิจใหเชาซื้อรถยนตและรถจักรยานยนต เปนธุรกิจที่ควบคุมตามสัญญา พ.ศ. 2543 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 35 ทวิ แหงพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ.2522 ซึ่ง แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541 ประกอบกับมาตรา 3 มาตรา 4 และมาตรา 5 แหงพระราชกฤษฎีกากําหนดหลักเกณฑและวิธีการในการกําหนดธุรกิจที่ ควบคุมสัญญาและลักษณะของสัญญา พ.ศ. 2542 คณะกรรมการวาดวยสัญญาออกประกาศไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ใหธุรกิจที่ใหเชาซื้อรถยนตและรถจักรยานยนตเปนธุรกิจที่ควบคุมสัญญา ขอ 2 ในประกาศนี้ “ธุรกิจใหเชาซื้อรถยนตและรถจักรยานยนต” หมายความวา การประกอบกิจการ คาโดยเจาของนําเอารถยนตหรือรถจักรยานยนตของตนออกใหเชา และใหคํามั่นวาจะขายรถยนต หรือรถจัก รยานยนตนั้ นตกเป นสิ ทธิแ กผูเ ชา โดยมี เ งื่อนไขที่ผูเ ชาไดใ ชเ งิ นเปน จํานวนเทานั้น เทานี้คราว “รถยนต” หมายความวา รถนั่งสวนบุคคลไมเกินเจ็ดคน หรือรถนั่งสวนบุคคลเกิน เจ็ดคนแตไมเกินสิบสองคน และรถยนตบรรทุกสวนบุคคลที่มีน้ําหนักรถไมเกินหนึ่งพันหกรอย กิโลกรัม ซึ่งมิไดใชประกอบการขนสงเพื่อสินจางตามกฎหมายวาดวยการขนสงทางบก


24 “รถใชแล ว” หมายความวา รถยนตห รือรถจักรยานยนต ที่จดทะเบียนตาม พระราชบัญญัติรถยนต 2522 แลว ขอ 3 สัญญาที่ผูประกอบธุรกิจทํากับผูบริโภคตองมีขอความเปนภาษาไทยเห็นและอาน ไดชัดเจน มีขนาดของตัวอักษรไมเล็กกวาสองมิลลิเมตรและตองใชขอสัญญาที่มีสาระสําคัญและมี เงื่อนไข ดังตอไปนี้ (1) รายละเอียดเกี่ยวกับยี่หอ รุน หมายเลขเครื่องยนตและหมายเลขตัวถัง สภาพ ของรถยนตหรือรถจักรยานยนตวาเปนรถใหม หรือรถใชแลว และระยะทางที่ไดใชแลว โดยใหมี หน ว ยเป น กิ โ ลเมตร หรื อ ไมล รวมทั้ ง รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ ภาระผู ก พั น ของรถยนต ห รื อ รถจักรยานยนต (ถามี) (2) เมื่อผูเชาซื้อไดชําระคาเชาซื้อครบถวนรวมทั้งเงินจํานวนอื่นใดตามที่กําหนดไว ในสัญญาแลว กรรมสิทธในรถยนตหรือรถจักรยานยนตที่เชาซื้อตกเปนของผูเชาซื้อทันที และผูให เชาซื้อจะดําเนินการจดทะเบียนรถยนตหรือรถจักรยานยนตดังกลาวใหเปนชื่อของผูเชาซื้อภายใน 30 วัน นับแตวันที่ผูใหเชาซื้อไดรับเอกสารที่จําเปนสําหรับการจดทะเบียนจากผูเชาซื้อครบถวน เวนแต เปนกรณีที่มีเหตุขัดของที่ไมสามารถทําการโอนทะเบียนไดโดยมิใชเปนความรับผิดชอบ ของผูใหเชาซื้อ หากผูใหเชาซื้อไมปฏิบัติผูใหเชาซื้อยินยอมเสียเบี้ยปรับโดยคํานวณจากมูลคาเชาซื้อ ในอัตราเทากับอัตราเบี้ยปรับที่ผูใหเชาซื้อกําหนดใหผูเชาซื้อชําระในกรณีผูเชาซื้อผิดนัดชําระคาเชา ซื้อ และถาผูเชาซื้อตองดําเนินคดีทางศาลเพื่อเรียกรองคาเสียหายหรือเบี้ยปรับผูใหเชาซื้อจะรับภาระ คาธรรมเนียมคาทนายตามความเปนจริง หรือคาใชจายอื่นใดที่เกี่ยวของในการดําเนินคดีดังกลาว (3) ในกรณีที่ผูใหเชาไดรับเงินชําระคาธรรมเนียม คาภาษีอากร หรือคาใชจายอื่น ใดที่ผูใหเชาซื้อมีหนาที่ชําระแทนผูเชาซื้อไปแลว ถาผูใหเชาซื้อไมเคยมีหนังสือแจงใหผูเชาซื้อนํา เงินดังกลาวมาชําระภายในเวลาไมนอยกวา 7 วันนับแตวันที่ไดรับแจง และผูใหเชาซื้อประสงคจะ นําเงินคางวดของผูเชาซื้อในงวดตอมา มาหักชําระเงินดังกลาว ผูใหเชาซื้อจะตองมีหนังสือแจงใหผู เชาซื้อทราบเพื่อใหนําเงินจํานวนนั้นมาชําระ ถาผูเชาซื้อชําระเงินดังกลาวภายใน 7 วันนับแตวันที่ ไดรับแจง ผูใหเชาซื้อจะถือวาผูเชาซื้อผิดนัดชําระเงินงวดนั้นไมได


25 (4) ผูใหเชาซื้อมีสิทธิบอกเลิกสัญญาเชาซื้อไดในกรณีที่ผูเชาซื้อผิดนัดชําระคาเชา ซื้อรายงวด 3 งวดติดๆ กัน และผูใหเชาซื้อมีหนังสือบอกกลาวผูเชาซื้อใหใชเงินรายงวดที่คางชําระ นั้นในเวลาอยางนอย 30 วัน นับแตวันที่ผูเชาซื้อไดรับหนังสือและผูเชาซื้อละเลยเสียไมปฏิบัติตาม หนังสือบอกกลาวนั้น (5) เมื่อผูใหเชาซื้อบอกเลิกสัญญาเชาซื้อ และกลับเขารถยนตหรือรถจักรยานยนต ที่ใหเชาซื้อ เพื่อนําออกขายใหแกบุคคลอื่น ก. กอนขายใหแกบุคคลอื่น ผูใหเชาตองแจงลวงหนาใหผูเชาซื้อทราบเปน หนังสือไมนอยกวา 7 วัน เพื่อใหผูเชาซื้อใชสิทธิซื้อไดตามมูลหนี้สวนที่ขาดอยูตามสัญญาเชาซื้อ ข. ในกรณีที่ผูใหเชาซื้อนํารถยนตหรือรถจักรยานยนตออกขาย หากไดราคา เกินกวามูลหนี้ในสวนที่ขาดอยูตามสัญญาเชาซื้อ ผูใหเชาซื้อจะคืนเงินสวนที่เกินนั้นใหแกผูเชาซื้อ แตหากไดราคานอยกวามูลหนี้ในสวนที่ขาดอยูตามสัญญาเชาซื้อ ผูเชาซื้อจะรับผิดในสวนที่ขาดนั้น เฉพาะกรณีการขายโดยวิธีประมูลหรือขายทอดตลาดที่เหมาะสมเทานั้น (6) ผูใหเชาซื้อจัดใหผูเชาซื้อสามารถใชสิทธิในการเรียกรองใหมีการปฏิบัติตาม เงื่อนไขการรับประกันของรถยนตหรือรถจักรยานยนตที่เชาซื้อจากผูขายหรือผูผลิตไดโดยตรง (7) ผูใหเชาซื้อสิทธิไดรับประโยชนตามกรมธรรมประกันภัย ในจํานวนหนี้ที่ยังคง คางชําระตามสัญญาเชาซื้อเทานั้น สวนที่เกินจากมูลหนี้คางชําระใหบริษัทประกันภัยจายใหแก ผูเชาซื้อ (8) ผูเชาซื้อจะตองรับผิดชดใชคาใชจายเกี่ยวกับการทวงถาม การติดตามรถยนต หรือรถจักรยานยนตที่เชาซื้อ คาทนายความและอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องดวยการที่ผูเชาซื้อหรือการกลับเขา ครอบครองรถยนตที่เชาซื้อของผูใหเชาซื้อ เนื่องจากมีการบอกเลิกสัญญา ทั้งนี้เพียงเทาที่ผูใหเชาซื้อ ไดใชจายไปจริงเพื่อการดังกลาวตามความจําเปนและมีเหตุอันสมควร


26 (9) ผูใหเชาซื้อจะสงคําบอกกลาวซึ่งตามกฎหมายหรือตามสัญญากําหนดใหตองทํา เปนหนังสือ โดยการสงทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับใหแกผูเชาซื้อตามที่ระบุที่อยูในสัญญาเชา ซื้อหรือที่อยูที่ผูเชาซื้อแจงการเปลี่ยนแปลงเปนหนังสือครั้งหลังสุด (10) ในกรณีที่ผูเชาซื้อมีความประสงคจะขอชําระคาเชาซื้อทั้งหมดในคราวเดียว โดยไมผอนชําระคาเชาซื้อเปนรายงวดตามสัญญาเชาซื้อ เพื่อปดบัญชีคาเชาซื้อ ผูใหเชาจะตองให สวนลดแกผูเชาซื้อในอัตราไมนอยกวารอยละ 50 ของดอกเบี้ยเชาซื้อที่ยังไมถึงกําหนดชําระ โดยให คิดคํานวณตามแถลงการณมาตรฐานการบัญชี ของสมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแหง ประเทศไทย เรื่องการบัญชีเกี่ยวกับการเชาซื้อ-ทางดานผูใหเชาซื้อ ขอ 4 ขอสัญญาที่ผูประกอบธุรกิจทํากับผูบริโภคตองไมใชคูสัญญาที่มีลักษณะหรือมี ความหมายทํานองเดียวกัน ดังตอไปนี้ (1) ขอสัญญาที่เปนการผลักภาระใหผูเชาซื้อเปนผูชําระคาธรรมเนียม คาภาษีอากร หรือคาใชจายอื่นใด เกี่ยวกับรถยนตหรือรถจักรยานยนตซึ่งเกิดขึ้นกอนที่ผูเชาซื้อจะเขาทําสัญญาเชา ซื้อรถยนตหรือรถจักรยานยนตดังกลาว (2) ในกรณีผูใหเชาซื้อจะกําหนดใหผูเชาซื้อตองชําระเบี้ยปรับกรณีผูเชาซื้อผิดนัด ชําระคาเชาซื้อหรือเงินอื่นใด ผูใหเชาซื้อจะกําหนดเบี้ยปรับเกินอัตราดอกเบี้ยสําหรับลูกคาชั้นดี รายยอย (MINIMUM RETAIL RATE) ของธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) บวกสิบ {MRR.+ 10} ตอปของจํานวนเงินที่ผูเชาซื้อผิดนัดชําระไมได (3) ขอสัญญาที่กําหนดใหผูเชาซื้อเรียกใหผูเชาซื้อเปลี่ยนแปลงผูค้ําประกันเวนแต เป น กรณี ที่ ผู ค้ํ า ประกั น ถึ ง แก ค วามตาย หรื อ ศาลมี คํ า สั่ ง พิ ทั ก ษ ท รั พ ย เ ด็ ด ขาดหรื อ เป น บุ ค คล ลมละลาย หรือเปนคนไรความสามารถ หรือเปนคนเสมือนไรความสามารถ (4) ขอสัญญาที่กําหนดใหผูเชาซื้อตองรับผิดชอบคาเชาซื้อใหครบถวนตามสัญญา ในกรณีรถยนตหรือรถจักรยานยนตที่เชาซื้อสูญหาย ถูกทําลาย ถูกยึด ถูกอายัด หรือถูกริบ โดยมิใช เปนความผิดของผูเชาซื้อ เวนแตคาเสียหายหรือเบี้ยปรับหรือคาใชจายเกี่ยวกับการทวงถาม การ


27 ติดตามรถยนตหรือรถจักรยานยนตที่เชาซื้อ คาทนายความ หรือคาอื่นใด เพียงเทาที่ผูใหเชาซื้อไดใช จายไปจริงตามความจําเปนและมีเหตุผลอันสมควร (5) ขอสัญญาที่กําหนดใหผูเชาซื้อตองรับผิดชําระเงินตามมูลหนี้ในสวนที่ขาดอยู ตามสัญญาเชาซื้อ ในกรณีผูใหเชาซื้อบอกเลิกสัญญาเชาซื้อ และกลับเขาครอบครองรถยนต หรือ รถจักรยานยนตที่เชาซื้อ เวนแตคาเสียหายหรือเบี้ยปรับหรือคาใชจายเกี่ยวกับการทวงถาม การ ติดตามรถยนตหรือจักรยานยนตที่เชาซื้อ คาทนายความ หรือคาอื่นใด เพียงเทาที่ผูใหเชาซื้อไดใช จายไปจริงตามความจําเปนและมีเหตุผลอันสมควร ภาษีสําหรับการใหเชาทรัพยสิน การใหเชาแบบลีสซิ่ง และการใหเชาซื้อ โดยทั่ ว ไปการให เ ช า ถื อ เป น การให บ ริ ก าร ต อ งเสี ย ภาษี มู ล ค า เพิ่ ม แต ก ารให เ ช า อสังหาริมทรัพยไดรับการยกเวนภาษีมูลคาเพิ่ม สําหรับการเชาอสังหาริมทรัพยที่เปนการใหเชา ตามปกติ และการใหเชาแบบลีสซิ่ง ถือวาเปนการใหบริการ ผูประกอบกิจการใหเชาทรัพยสินใน ลักษณะดังกลาว ตองเสียภาษีมูลคาเพิ่มเมื่อไดรับคาเชา ตามเกณฑเงินสดในฐานะผูใหบริการ แต การใหเชาซื้ออสังหาริมทรัพย ถือวาเปน การขาย ที่ผูประกอบการจดทะเบียนตองเสียภาษีมูลคาเพิ่ม ตามงวดที่ถึงกําหนดชําระ ซึ่งตางไปจากการใหเชาซื้ออสังหาริมทรัพย ที่ถูกกําหนดใหเสียภาษี ธุรกิจเฉพาะ การเชาแบบลีสซิ่ง (Leasing) เปนการจัดหาทรัพยสินใหลูกคาไปใชงาน โดยกรรมสิทธิ์ใน ทรัพยสินตามกฏหมายยังคงเปนของผูใหเชา การเชาแบบลีสซิ่งแบงเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1. สัญญาเชาดําเนินงาน (Operating Lease) เปนการเชาทรัพยสินมาเพื่อใชในการ ดําเนินงาน ผูเชามิไดมีความประสงคจะซื้อทรัพยสินนั้นเมื่อสิ้นสุดสัญญาเชา และผูเชาสามารถบอก เลิกสัญญาเชากอนครบกําหนดในสัญญาเชาได 2. สัญญาเชาการเงิน (Financial Lease) มีลักษณะคลายการใหสินเชื่อของสถาบัน การเงิน แตเปนการใหสินเชื่อโดยการจัดหาทรัพยสินตามที่ลูกคาหรือผูเชาตองการ ซึ่งผูเชาจะเปนผู เลือกประเภท คุณลักษณะ รวมทั้งผูจําหนายทรัพยสินนั้นเอง และแจงใหผูใหเชา (Leasor) เปนผู สั่งซื้อสินทรัพยดังกลาวเพื่อนํามาใหลูกคาไปใชงานสัญญาเชาประเภทนี้จะกําหนดเงื่อนไขวา ผูเชา


28 มีสิทธิเลือกที่จะเชาสินทรัพยตอไป หรือจะซื้อสินทรัพยดังกลาวไดเมื่อสัญญาเชาสิ้นสุดลง โดย ราคาที่จะขายนั้นมักเปนราคาตามมูลคาในบัญชี ลักษณะของสัญญาเชาการเงิน จึงมุงที่การโอน กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินที่เชา การใหเชาอสังหาริมทรัพย 3 รูปแบบ มีภาระภาษี ดังนี้ ประเภทภาษี ความรับผิดในการ ภาษีหัก ณ ที่จาย ภาษีเงินได ประเภทการเชา เสียภาษีมูลคาเพิ่ม การใหเชาปกติ เมื่อไดรับชําระคาเชา ผูเชาตองหักภาษี ณ บุคคลธรรมดา – เกณฑเงินสด ตามเกณฑเงินสด ที่จาย 5% ของคา นิติบุคคล – เกณฑสิทธิ เชาที่จาย การใหเชา เมื่อไดรับชําระคาเชา นิตบิ ุคคล – เกณฑสิทธิตาม แบบลีสซิ่ง ตามเกณฑเงินสด * คําสั่งกรมฯ ที่ ทป.4/2528 การใหเชาซื้อ เมื่อถึงกําหนดชําระ นิติบุคคล – เกณฑสิทธิตาม คําสั่งกรมฯ ที่ ทป.4/2528 บุคคลธรรมดา – เกณฑเงินสด * การเชาแบบลีสซิ่ง ตามหลักเกณฑที่กําหนดในคําสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.4/2528 กําหนดใหหักภาษี ณ ที่จาย

ไมถูก

การขายสินคาเงินผอนโดยทั่วไป ถือวาผูขายไดโอนกรรมสิทธิ์ใหผูซื้อแลว แตยังมีความไม แน น อนในขณะที่ ข ายสิ น ค า จึ ง ให ช ะลอการรั บ รู ร ายได จ นกว า จะเก็ บ เงิ น ค า สิ น ค า นั้ น ได ซึ่ ง หลักเกณฑทางบัญชีดังกลาวเรียกวา เกณฑการผอนชําระ การใหเชาซื้อ กิจการที่ขายสินคาตามสัญญาเชาซื้อ ที่กรรมสิทธิ์ในสินคายังไมไดโอนไปยัง ผูซื้อเมื่อไดสงมอบ มีภาระภาษี ดังนี้


29 1. อากรแสตมป 1.1 สัญญาเชาซื้อทรัพยสินทุกจํานวน 1,000 บาท หรือเศษของ 1,000 บาท ตองชําระคา อากรแสตมป 1 บาท 1.2 ใบรับสําหรับการขาย ขายฝาก ใหเชาซื้อ โอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย หรือ โอนกรรมสิทธิ์ยานพาหนะ ถาใบรับมีจํานวนตั้งแต 200 บาทขึ้นไป หรือเศษของ 200 บาท ตอง ชําระอากรแสตมป 1 บาท 2. ภาษีมูลคาเพิ่ม ใหความรับผิดในการเสียภาษีมูลคาเพิ่มเกิดขึ้นเมื่อถึงกําหนดชําระราคา ตาม (เวนแตไดรับชําระราคา หรือมีการออกใบกํากับภาษีกอนถึงงวดที่ครบกําหนดชําระ) 3. ภาษีเงินได ใหนํากําไรที่เกิดจากการขายมารวมเปนรายไดทั้งจํานวนในรอบระยะเวลา บัญชีที่มีการใหเชาซื้อ สําหรับดอกผลเชาซื้อใหนํามารวมคํานวณเปนรายไดแตละงวด ตามวิธีการ บัญชีที่รับรองทั่วไป ตามคําสั่งกรมสรรพากรที่ ทป.1/2528 อนึ่ง การบันทึกบัญชีของกิจการใหเชาซื้อ และ/หรือ กิจการใหเชาแบบลิสซิ่ง ใหปฏิบัติ ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 เรื่องสัญญาเชา ซึ่งถือวาผูใหเชาซื้อไดขายสินคา (สินทรัพย) นั้น แลว ตั้งแตวันสงมอบสินคาใหผูเชาซื้อตามสัญญาเชาซื้อ แมวากรรมสิทธิ์ในสินคาตามกฎหมาย ยังคงเปนของผูใหเชาซื้อ และ/หรือ ผูใหเชาแบบลีสซิ่งก็ตาม โดยถือวากิจการผูใหเชาซื้อดังกลาว ไดใหสินเชื่อแกลูกคาทํานองเดียวกับสถาบันการเงิน จึงใหรับรูผลตางระหวางเงินที่กิจการจะไดรับ ชําระในอนาคตทั้งสิ้นกับราคาเงินสดสุทธิ (ราคาขายเงินสดหักเงินดาวน) เปนดอกเบี้ยตามสัญญา เช า ที่ ยั ง ไม ถื อ เป น รายได ให ท ยอยรั บ รู เ ป น รายได ใ นแต ล ะงวดตลอดอายุ ข องสั ญ ญาเช า ซึ่ ง สอดคลองกับเงื่อนไขการรับรูรายไดทางภาษี ตามคําสั่งกรมสรรพากร ที่ ทป.1/2528 ที่แกไขตาม คําสั่งกรมสรรพากรที่ ทป.155/2549


บทที่ 4 แนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับกิจการเชาซื้อรถยนตทางดานผูใหเชาซื้อ ลักษณะการดําเนินงานของธุรกิจเชาซื้อ 1. ความหมายของสัญญาเชาซื้อ การใหเชาซื้อตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 572 ไดใหคําจํากัดความไว วา “อันวาเชาซื้อนั้น คือสัญญาซึ่งเจาของเอาทรัพยสินออกใหเชา และใหคํามั่นวาจะขายทรัพยสิน นั้นหรือวาจะใหทรัพยสินนั้นตกเปนสิทธิแกผูเชา โดยเงื่อนไขที่ผูเชาไดใชเงิน เปนจํานวนเทานั้น เทานี้คราว” เราจะเห็นวาการเชาซื้อไดกําหนดเงื่อนไขไวก็คือ 1.1 ตองมีคูสัญญา 2 ฝาย คือ ผูใหเชาซื้อ และผูเชาซื้อ 1.2 ผูใหเชาซื้อตองเปนเจาของทรัพยสินที่ใหเชาซื้อ 1.3 เมื่อผูใหเชาซื้อนําทรัพยสินออกใหเชาไดใหคํามั่นสัญญาวาจะขายหรือจะให ทรัพยสินนั้นตกเปนของผูเชา 1.4 การชําระเงินคาเชาซื้อจะชําระเปนงวด ๆ จนกวาจะครบถวน 1.5 กรรมสิทธิ์ในสินคาเปนของผูใหเชาจนกวาจะมีการโอนกรรมสิทธิ์ 1.6 ผูเชาจะมีกรรมสิทธในตัวสินคาตอเมื่อชําระเงินครบถวนแลว 1.7 ผูใหเชามีสิทธิ์ที่จะยึดสินคากลับคืนมาได (มาตรา 574)


31 2. ลักษณะการดําเนินงานของธุรกิจเชาซื้อรถยนต เมื่อมีการตกลงเชาซื้อทรัพยสินกับผูเชา (ลูกคา) จะตองมีการเรียกเก็บเงินจากลูกคา ซึ่งโดยปกติแลวจะมีการเรียกเก็บ เงินมัดจําหรือเงินจอง เงินดาวน และเงินกอนชําระคางวด ๆ ละเดือน การปดบัญชีกอนครบกําหนด บางครั้งจะพบวาผูเชาซื้อมีความประสงคจะชําระเงินคา งวดสวนที่เหลือทั้งจํานวนกอนครบกําหนดระยะเวลาในการเชาซื้อ โดยมากแลวผูใหเชาซื้อจะให สวนลดแกผูเชาหากชําระเงินกอนกําหนด การเปลี่ยนสัญญา การโอนสิทธิในการเชาซื้อใหแกบุคคลอื่น หรือการขายสินทรัพยที่ เช า ซื้ อ ที่ ยั ง ผ อ นชํ า ระเงิ น งวดไม ค รบกํ า หนดตามสั ญ ญา ผู ใ ห เ ช า ซื้ อ จะต อ งพิ จ ารณาถึ ง การ เปลี่ยนแปลงในสาระสําคัญของสัญญา การยึดสินคาคืน ในกรณีที่ลูกคาผิดนัดไมชําระหนี้กฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 574 ไดระบุวา “ในกรณีผิดนัดไมใชเงินสองคราวติด ๆ กัน หรือกระทําผิดสัญญาในขอที่เปนสวนสําคัญ เจาของทรัพยสินจะบอกเลิกสัญญาเสียก็ได ถาเชนนั้นบรรดาเงินที่ไดใชมาแลวแตกอน ใหริบเปน ของเจาของทรัพยสินและเจาของทรัพยสินชอบที่จะกลับเขาครองทรัพยสินนั้นไดดวย อนึ่งในกรณี ทําผิดสัญญาเพราะผิดนัดไมใชเงินซึ่งเปนคราวที่สุดนั้น ทานวาเจาของทรัพยสินชอบที่จะริบบรรดา เงินที่ไ ดใ ชมาแลว แตก อนแลว กลับ เขาครอบครองทรัพ ยสิน ได ต อเมื่อระยะเวลาใช เงินได พน กําหนดไปอีกงวดหนึ่ง” ลักษณะของการเชาซื้อ ถาเราตองการซื้อสินคาดวยวิธีเชาซื้อ จะแบงเงินออกเปน 2 สวน สวนที่ 1 คือ เงินดาวน เปนคนที่หลายคนรูจักดี หมายถึง เงินสวนหนึ่ง (ซึ่งต่ํากวาราคา สินคา) ที่ผูซื้อตองจายใหแกเจาของสินคาหรือผูขายไปกอน มักจะมีประมาณรอยละ 5 ถึงรอยละ 50 ของราคาสินคาและจะไมมีการคิดดอกเบี้ยแตอยางใดสําหรับเงินในสวนนี้ สวนที่ 2 เงินที่เหลือ เงินสวนนี้จะมีหลายชื่อ เชน ยอดจัด เงินกู เงินงวด หรือเงินผอน ซึ่ง โดยรวมแลวจะหมายถึง จํานวนเงินที่เหลือของราคาสินคาที่ไดหักเงินดาวนออกไปแลวจากนั้นจะ นําไปคิดอัตราดอกเบี้ยตามที่ตกลงกันไว


32 สัญญาเชาซื้อทําใหผูเชาซื้อไดรับประโยชน คือ ไดรับสินคาที่เชาซื้อไปใชทันทีโดยที่ เจาของสินคาผูใหเชาซื้อก็ยังมีหลักประกันในการที่จะไดรับชําระราคา เพราะกรรมสิทธิ์ในสินคาที่ ใหเชาซื้อยังไมไดโอนไปยังผูเชาซื้อจนกวาผูใหเชาซื้อจะไดรับชําระจนครบถวนแลว นอกจากนี้ การเชาซื้อยังชวยระบายสินคาใหออกจําหนายไดมากยิ่งขึ้นอีกดวย อยางไรก็ตาม การที่เจาของสินคาหรือตัวแทนจําหนาย จะใหผูเชาซื้อเชาโดยตรงจากตน แลว อาจกอใหเกิดปญหาเขามา แมวาผูใหเชาซื้อยังคงมีกรรมสิทธิ์ในสินคาที่เชาซื้อก็ตาม แตหากผู เชาซื้อผิดนัดไมชําระแลวก็อาจเกิดปญหายุงยากในการติดตามสินคาที่เชาซื้อคืนมา เพราะเจาของ สินคาหรือตัวแทนจําหนายบางรายเปนผูคารายยอยไมมีกําลังพอที่จะติดตามเอาสินคาคืนมาได ดังนั้น เพื่อขจัดปญหาดังกลาว จึงไดมาการจัดหาบุคลากรที่สามเขามาเกี่ยวของซึ่ง ตอไปจะเรียกวา บริษัทการเงิน โดยบริษัทการเงินนี้จะซื้อสินคาจากเจาของหรือผูมาติดตอจากนั้นก็จะนําสินคา ดังกลาวออกใหลูกคาเชาซื้อ โดยเจาของสินคาหรือตัวแทนจําหนายจะไดรับเงินคาสินคาจากบริษัท การเงิน และบริษัทการเงินก็จะไดหลักประกันทางดานสินคาที่แนนอนจากการทําสัญญาเชาซื้อ โดย บริษัทการเงินจะเปนผูรวบรวมคาเชาซื้อจากลูกคาโดยตรง และสัญญาเชาซื้อนี้ก็จะทําขึ้นระหวาง ลูกคา (ผูเชาซื้อ) กับบริษัทการเงิน (ผูใหเชาซื้อ) ตามวิธีดังกลาวนี้จึงมีผูที่เกี่ยวของ 3 ฝาย คือ ลูกคา หรือผูที่จะมาเชาซื้อ เจาของสินคาหรือผูมาติดตอ (ตัวแทนจําหนาย) และ บริษัทการเงิน บริษัทผูใหเชาซื้อมักจะมีพนักงานของบริษัทไวประจําบริษัทของเจาของสินคา เมื่อมี ลูก ค า มาซื้ อ สิน ค า จะทํ า สั ญ ญาเช า ซื้ อได ทั น ที ซึ่ ง สัญ ญานี้ ยั ง ไมไ ด รั บ อนุ มั ติจ นกวา จะผา นการ ตรวจสอบสินเชื่อกอน ในบางกรณีบริษัทผูใหเชาซื้ออาจทําสัญญาอาจใหคานายหนาแกเจาของ สินคาในการที่จะจัดหาสัญญาเชาซื้อใหแกบริษัท โดยปกติแลวผูเชาซื้อจะจายเงินลวงหนา (เงิน ดาวน) ประมาณรอยละ 20-30 สวนที่เหลือพรอมดวยดอกเบี้ยจายชําระเปนงวด ๆ ตามระยะเวลาที่ ตกลงกันไวในสัญญาเมื่อผูเชาซื้อชําระเงินตามคางวดครบทุกงวดตามสัญญาแลว กรรมสิทธิ์ใน สิน คาตามสัญญาเช าซื้อจะโอนเป น คา เชาซื้อทัน ที ในกรณี ที่จะตองมีการโอนกันทางทะเบี ย น จะตองเปนหนาที่ของผูใหเชาซื้อใหเรียบรอย นอกจากนี้แลว บริษัทผูใหเชายังบังคับใหผูเชาซื้อตองทําประกันภัยสําหรับสินคาที่เชา ซื้อ โดยผูไดรับผลประโยชนคือ บริษัทผูใหเชาซื้อ ซึ่งทําการประกันภัยนี้บางบริษัทอาจมีการบังคับ ใหทําประกันภัยผานผูใหเชาซื้อ


33 3. ขั้นตอนในการใหเชาซื้อรถยนต 3.1 กรณีกิจการผูแทนจําหนายเปนผูใหเชาซื้อ มีขั้นตอน ดังนี้ 3.1.1 เมื่อลูกคาหรือผูที่จะขอเชาซื้อ มาขอเชาซื้อรถยนต ตองทําหลักฐานแบบยื่น คําขอเชาซื้อโดยจะมีขอมูลคือ รายละเอียดรถยนตที่ขอเชาซื้อ การชําระคาเชาซื้อ ประวัติของผูขอ เชาซื้อ ลงลายมือชื่อของผูเชาซื้อ ผูค้ําประกันและของคูสมรส (ถามี) จากนั้นเจาหนาที่สินเชื่อของ บริษัทจะทําการตรวจสินเชื่อ โดยดูวาลูกคามีความสามารถในการหารายไดมาจายชําระคางวดตามที่ ระบุไวหรือไม ถาตรวจสอบดูแลวพบวาผูขอเชาซื้อมีความสามารถในการชําระคางวดก็จะอนุมัติ สินเชื่อ 3.1.2 การทําสัญญาเชาซื้อ จะนําขอความตามแบบคําขอมากรอกลงในสัญญาเชา ซื้อแลวใหผูเชาซื้อ และใหผูค้ําประกันลงนาม โดยปกติผูใหเชาซื้อจะไดรับเงินดาวนกอน สวน มูลคาที่เหลือถึงขอเชาซื้อ และผูใหเชาซื้อจะคิดดอกเบี้ยจากมูลคาที่เหลือ 3.1.3 การคิดดอกเบี้ย บริษัทผูใหเชาซื้อจะคิดดอกเบี้ยในอัตราคงที่ โดยมีสูตร สําเร็จในการคํานวณคือ ดอกเบี้ยรับ = เงินตน ൈ อัตราดอกเบี้ย ൈ ระยะเวลา โดยอัตราดอกเบี้ยที่ บริษัทใหเชาซื้อคิดขึ้นอยูกับจํานวนงวดที่ขอผอน และอัตราดอกเบี้ยในทองตลาด 3.1.4 การชําระคางวด กรณีชําระคางวดกอนกําหนดจะไมมีสวนลด สวนกรณีชําระ คางวดเลยกําหนด ลูกคาผูเชาซื้อจะตองเสียคาปรับที่ชําระลาชา ในทางปฏิบัติแลวจะขึ้นอยูกับ นโยบายของแตละบริษัท 3.1.5 การขอปดบัญชีกอนกําหนด กรณีที่ลูกคาผูเชาซื้อขอปดบัญชีกอนครบ กําหนดตามสัญญาเชาซื้อ ตามประกาศคณะกรรมการวาดวยสัญญา เรื่อง ธุรกิจใหเชาซื้อรถยนต และรถจักรยานยนตเปนธุรกิจที่ควบคุมสัญญา พ.ศ. 2543 กําหนดวา บริษัทผูใหเชาซื้อจะตองให สวนลดแกผูเชาซื้อในอัตราไมนอยกวารอยละ 50 ของดอกเบี้ยที่ยังไมถึงกําหนดชําระ โดยให คํานวณตามแถลงการณมาตรฐานการบัญชี


34 3.1.6 การโอนสิทธิใหกับบุคคลอื่น โดยปกติบริษัทที่ใหเชาซื้อจะโอนสิทธิเปลี่ยน ชื่อลูกคาผูเชาซื้อเทานั้น และตองทําสัญญาใหม ซึ่งจํานวนงวดที่เหลือและจํานวนเงินคางวดยังคง เดิมไมเปลี่ยนแปลง (ถึงแมประมวลแพงและพาณิชยใหทําได แตผูใหเชาซื้อจะไมทําบริษัทจะคิด คาธรรมเนียมการโอนสิทธิ ซึ่งยังไมมีอัตรากําหนดไวแนนอน และผูจายคาธรรมเนียมก็แลวแต ลูกคารายเดิมกับรายใหมตกลงกันเอง และบริษัทผูใหเชาซื้อจะทําสัญญาโอนสิทธิสัญญาเชาซื้อดวย 3.1.7 กรณียึดรถ ในกรณีที่ลูกคาผูเชาซื้อไมชําระคางวด และผูใหเชาซื้อเรียก ทรัพยสินคืน ผูใหเชาซื้อจะตองบันทึกบัญชีโดยโอนยอดคงเหลือสุทธิของบัญชีลูกหนี้เชาซื้อ โดย หักดอกผลเชาซื้อรอการตัดบัญชีสําหรับผูเชาซื้อรายนั้น ไปแสดงในบัญชีสินทรัพยรอการขาย 3.1.8 กรณีขายรถยึด กรณียึดรถ และมีลูกคารายใหมสนใจที่จะซื้อ โดยเชาซื้อ ก็ถือ วาเปนการทําสัญญาขายใหม 3.2 กรณีบริษัทการเงินเปนผูใหเชาซื้อ มีขั้นตอนดังนี้ จะมีบุคคลที่เกี่ยวของ 3 ฝาย คือ ลูกคาหรือผูที่จะมาเชาซื้อ เจาของสินคาหรือผูมา ติดตอ (ตัวแทนจําหนาย) และบริษัทการเงิน โดยบริษัทการเงิน จะจายเงินคาสินคาจากเจาของสินคา ตามราคาที่ขอเชาซื้อ เปนราคาของรถยนตหลังจากที่หักเงินดาวนแลว ซึ่งเงินดาวนผูเชาซื้อจะจาย ใหกับเจาของสินคา 3.2.1 เมื่อลูกคาหรือผูที่จะขอเชาซื้อ มาขอเชาซื้อรถยนต ตองทําหลักฐานแบบยื่น คําขอเชาซื้อโดยมีขอมูล คือ รายละเอียดรถยนตที่ขอเชาซื้อ การชําระคาเชาซื้อ ประวัติของผูเชาซื้อ ประวัติของผูขอค้ําประกัน ลงลายมือชื่อของผูเชาซื้อ ผูขอค้ําประกัน และคูสมรส (ถามี) จากนั้น เจาหนาที่สินเชื่อของบริษัทจะทําการตรวจสินเชื่อโดยดูวาลูกคามีความสามารถในการหารายไดมา จายชําระคางวดตามที่ระบุไวหรือไม ถาตรวจสอบดูแลวพบวา ผูขอเชาซื้อมีความสามารถในการ ชําระคางวดจึงอนุมัติ 3.2.2 การทําสัญญาเชาซื้อ จะนําขอความตามแบบคําขอมากรอกลงในสัญญาเชา ซื้อแลวใหผูเชาซื้อ และผูค้ําประกันลงนาม บริษัทผูขายรถจะไดรับเงินดาวนกอนสวนมูลคาที่เหลือ ถึงขอเชาซื้อ และผูใหเชาซื้อคิดดอกเบี้ยจากมูลคาที่เหลือ และบริษัทการเงินจะใหคาธรรมเนียมแก ผูขายรถยนต


35 3.2.3 การคิดดอกเบี้ย บริษัทผูใหเชาซื้อจะคิดดอกเบี้ย ในอัตราคงที่ โดยมีสูตร สําเร็จในการคํานวณคือ ดอกเบี้ยรับ = เงินตน ൈ อัตราดอกเบี้ย ൈ ระยะเวลา โดยอัตราดอกเบี้ยที่ บริษัทใหเชาซื้อคิดขึ้นอยูกับจํานวนงวดที่ขอผอน และอัตราดอกเบี้ยในทองตลาด 3.2.4 การชําระคางวด กรณีชําระคางวดกอนกําหนดจะไมมีสวนลด สวนกรณี ชําระคางวดเลยกําหนด ลูกคาผูเชาซื้อจะตองเสียคาปรับที่ชําระลาชา ในทางปฏิบัติแลวจะขึ้นอยูกับ นโยบายของแตละบริษัท 3.2.5 การขอปดบัญชีกอนกําหนด กรณีที่ลูกคาผูเชาซื้อขอปดบัญชีกอนครบ กําหนดตามสัญญาเชาซื้อ ตามประกาศคณะกรรมการวาดวยสัญญา เรื่อง ธุรกิจใหเชาซื้อรถยนต และรถจักรยานยนตเปนธุรกิจที่ควบคุมสัญญา พ.ศ. 2543 กําหนดวา บริษัทผูใหเชาซื้อจะตองให สวนลดแกผูเชาซื้อในอัตราไมนอยกวารอยละ 50 ของดอกเบี้ยที่ยังไมถึงกําหนดชําระ โดยให คํานวณตามแถลงการณมาตรฐานการบัญชี 3.2.6 การโอนสิทธิใหกับบุคคลอื่น โดยปกติบริษัทที่ใหเชาซื้อจะโอนสิทธิเปลี่ยน ชื่อลูกคาผูเชาซื้อเทานั้น และตองทําสัญญาใหม ซึ่งจํานวนงวดที่เหลือและจํานวนเงินคางวดยังคง เดิมไมเปลี่ยนแปลง (ถึงแมประมวลแพงและพาณิชยใหทําได แตผูใหเชาซื้อจะไมทําบริษัทจะคิด คาธรรมเนียมการโอนสิทธิ ซึ่งยังไมมีอัตรากําหนดไวแนนอน และผูจายคาธรรมเนียมก็แลวแต ลูกคารายเดิมกับรายใหมตกลงกันเอง และบริษัทผูใหเชาซื้อจะทําสัญญาโอนสิทธิสัญญาเชาซื้อดวย 3.2.7 กรณียึดรถ ในกรณีที่ลูกคาผูเชาซื้อไมชําระคางวด และผูใหเชาซื้อเรียก ทรัพยสินคืน ผูใหเชาซื้อจะตองบันทึกบัญชีโดยโอนยอดคงเหลือสุทธิของบัญชีลูกหนี้เชาซื้อ โดย หักดอกผลเชาซื้อรอการตัดบัญชีสําหรับผูเชาซื้อรายนั้น ไปแสดงในบัญชีสินทรัพยรอการขาย 3.2.8 กรณีขายรถยึด กรณีทําการยึดรถ และทําการขายรถที่ยึดมา ผูที่ใหเชาซื้อที่ เปนบริษัทการเงินตองเปนการขายโดยวิธีประมูลขายใหบุคคลภายนอก ซึ่งปกติบริษัทผูใหเชาซื้อจะ ประกาศทางสื่อโฆษณาใหบุคคลภายนอกทราบ และปกติราคาที่ประมูลจะต่ํากวาราคาที่เหลือตาม สัญญา และจะเรียกสวนตางเพิ่มจากลูกคาผูเชาซื้อ (เดิม กอน ตามประกาศคณะกรรมการวาดวย สัญญา เรื่อง ธุรกิจใหเชาซื้อรถยนตและรถจักรยานยนตเปนธุรกิจที่ควบคุมสัญญา พ.ศ. 2543 จะ บังคับใช บริษัทผูใหเชาซื้อจะไมคืนเงินสวนที่สูงกวามูลคาตามสัญญาใหผูเชาซื้อ เพราะถือวาทรัพย


36 สันยังเปนของบริษัทผูใหเชาซื้อ ฉะนั้นยึดคืนแลวขาย กําไรก็เปนของบริษัทผูใหเชาซื้อ บริษัทจะ บันทึกกําไรเปนของบริษัท มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา ถือไดวาเปนมาตรฐานการ บัญชีฉบับใหมที่ใชแทนมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 29 เรื่อง การบัญชีสําหรับสัญญาเชาระยะยาว การจัดทํามาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ขึ้นเพื่อใหเปนไปตามเกณฑที่กําหนดโดยมาตรฐานการบัญชี ระหวางประเทศฉบับที่ 17 เรื่อง สัญญาเชา พ.ศ. 2549 (IAS N0. 17, Leases (2006)) เพื่อกําหนด นโยบายการบัญชีและการเปดเผยขอมูลทั้งทางดานผูเชาและผูใหเชาสําหรับสัญญาเชาการเงินและ สัญญาเชาดําเนินงาน มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้ ไดกําหนดใหสัญญาเชาซื้อเปนสัญญาเชาการเงิน และใหแนวปฏิบัติทางบัญชีทางดานผูใหเชา การศึกษาแนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับกิจการเชาซื้อรถยนตตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา ทางดานผูใหเชาซื้อ จึงศึกษารายละเอียดดังตอไปนี้ 1. การรับรูรายไดและคาใชจา ย 2. การจัดชั้นลูกหนีแ้ ละการกันเงินสํารอง 3. การคํานวณดอกเบี้ยทีเ่ กิดจากการเชาซื้อ 4. การรับแลกเปลี่ยนสินคา 5. การปดบัญชีกอนครบกําหนดสัญญา 6. การโอนสิทธิการเชาซื้อตามสัญญาใหบุคคลอื่น 7. การผิดสัญญาและการยึดคืนสินคา 8. การตีราคาสินคา


37 9. การแสดงรายการและการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การรับรูรายไดและคาใชจาย การขายโดยใหเชาซื้อจะใชวิธีการบัญชีตามเกณฑคงคางซึ่งเปน วิธีที่ถือวากําไรขั้นต น เกิดขึ้นในงวดที่มีการขายการวัดผลการดําเนินงานของกิจการใหเชาซื้อรถยนต จะตองคํานึงถึง แนวความคิดในเรื่องการจับคูของรายไดและคาใชจาย (Matching Concept) กลาวคือ คาใชจายที่ นํามาเปรียบเทียบกับรายไดในงวดใดๆ ควรจะเปนคาใชจายที่กอใหเกิดรายไดในงวดเดียวกัน การรับรูรายได การใหเชาซื้อรถยนตแบงออกเปน 2 กรณี คือ 1. กรณีกิจการผูแทนจําหนายเปนผูใหเชาซื้อจะเกิดรายไดที่เกี่ยวของดังนี้ 1.1

กําไรหรือขาดทุนที่เกิดจากการขายที่เปนราคาขายปกติของรถยนตที่ใหเชา

ณ วันที่สัญญาเชามีผลบังคับใช ผูใหเชาที่เปนผูแทนจําหนายจะตองบันทึกรายได จากการขายดวยราคาขายปกติ(ขายเงินสด) และจะบันทึกตนทุนขายดวยตนทุนของรถยนตที่ใหเชา ซื้อหรือมูลคาตามบัญชี 1.2 รายไดทางการเงินตลอดอายุของสัญญาเชา ผูใหเชาตองปนสวนรายไดทางการเงินตลอดอายุสัญญาเชา ตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่ แทจริง คือ การรับรูรายไดทางการเงินที่สะทอนถึงอัตราผลตอบแทนคงที่ในแตละงวดซึ่งคํานวณ จากเงินลงทุนสุทธิของผูใหเชาที่ยังไมไดรับตามสัญญาเชาซื้อ


38 1.3 รายไดอื่น นอกจากรายไดจากการขายปกติ และรายไดทางการเงินตลอดอายุของสัญญาเชา แลวยังมีรายไดอื่น เชน รายไดคานายหนาและรายไดคาปรับ 1.3.1 รายไดคานายหนา จะเกิดขึ้นจากกรณีที่กิจการผูแทนจําหนายรถยนต ขาย รถยนตที่ลูกคาไดตกลงซื้อดวยการเชาซื้อ ใหบริษัทการเงินโดยใหบริษัทการเงินเปนผูใหเชาซื้อ แทน นอกจากกิจการผูแทนจําหนายจะไดรับเงินคารถยนตจากบริษัทการเงินแลว ยังจะไดรับ คาตอบแทน หรือคานายหนาในการจัดหาสัญญาเชาใหกับบริษัทการเงินดวย กิจการผูแทนจําหนาย รถยนตจะบันทึกรับรูเปนรายไดสําหรับงวดที่มีการขายในงบกําไรขาดทุน 1.3.2 รายไดคาปรับ จะเกิดขึ้นจากกรณีที่ผูเชาซื้อคางชําระคางวดไมชําระคางวด ตามกําหนดชําระ ผูเชาซื้อจะตองเสียคาปรับสําหรับการชําระลาชา โดยคาปรับนี้จะคํานวณโดยใช อัตราดอกเบี้ยที่ตกลงกันไว และรายไดคาปรับนี้ผูใหเชาซื้อจะถือเปนรายไดในงบกําไรขาดทุน 2. กรณีบริษัทที่มิใชผูแทนจําหนายเปนผูใหเชาซื้อ ซึ่งตอไปจะเรียกวาบริษัทการเงิน กรณีบริษัทที่มิใชผูแทนจําหนายเปนผูใหเชาซื้อ ซึ่งตอไปจะเรียกวาบริษัทการเงินหากกิจการให เชาซื้อรถยนตเปนบริษัทการเงิน ซึ่งมิไดประกอบกิจการขายรถยนต มูลคารถยนตที่ใหเชาซื้อ จะ คํานวณจากราคาขายเงินสดที่คงเหลือจากเงินชําระเริ่มแรก (เงินดาวน)ของผูซื้อรถยนตที่ตองการ ซื้อโดยวิธีใหเชาซื้อ บวกดอกเบี้ยที่คํานวณตามวิธีการใหเชาซื้อ ดังนั้นรายไดของบริษัทการเงินที่ เกี่ยวของกับการใหเชาซื้อ มีดังนี้ 2.1 รายไดทางการเงินตลอดอายุของสัญญา ผูใหเชาตองปนสวนรายไดทางการเงินตลอดอายุสัญญาเชา ตามวิธีอัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง คือ การรับรูรายไดทางการเงินที่สะทอนถึง อัตราผลตอบแทนคงที่ในแตละงวดซึ่งคํานวณ จากเงินลงทุนสุทธิของผูใหเชาที่ยังไมไดรับตามสัญญาเชาซื้อ


39 2.2 รายไดอื่น นอกจากรายไดทางการเงินตลอดอายุของสัญญาเชาแลวยังมีรายไดคาปรับ จะ เกิดขึ้นจากกรณีที่ผูเชาซื้อคางชําระคางวดไมชําระคางวดตามกําหนดชําระ ผูเชาซื้อจะตองเสีย คาปรับสําหรับการชําระลาชา โดยคาปรับนี้จะคํานวณโดยใชอัตราดอกเบี้ยที่ตกลงกันไว และรายได คาปรับนี้ผูใหเชาซื้อจะถือเปนรายไดในงบกําไรขาดทุน การรับรูคาใชจาย การรับรูคาใชจายของกิจการใหเชาซื้อรถยนตจะถือแนวความคิดในเรื่องการจับคูของ รายไดและคาใชจาย (Matching Concept) โดยรายจายที่จะรับรูตองเปนรายจายทั้งสิ้นที่เกี่ยวกับ รายไดจากการประกอบกิจการ 1. ตนทุนสินคาทีข่ าย การบันทึกตนทุนสินคาที่ขายสําหรับกิจการใหเชาซื้อรถยนต แมกรรมสิทธิ์ในตัว รถยนตที่ใหเชาจะยังคงเปนของผูประกอบกิจการใหเชาซื้อก็ตาม ใหนํามูลคาตนทุนรถยนตที่ใหเชา ซื้อรับรูเปนรายจาย 1.1 ในกรณีที่กิจการเปนตัวแทนจําหนายรถยนต และใชระบบสินคาคงเหลือ แบบตอเนื่อง (Perpetual Inventory System) ตองมีการบันทึกตนทุนสินคาขายดวยทันที แตถาหาก กิจการใชระบบสินคาคงเหลือเมื่อสิ้นงวด (Periodic Inventory System) จะมีการคํานวณตนทุนขาย เมื่อสิ้นงวด โดยเอามูลคาของสินคาคงเหลือตนงวด บวกมูลคาซื้อสินคาสุทธิระหวางงวด หักดวย มูลคาของสินคาปลายงวด ผลลัพธที่คํานวณไดคือ มูลคาของตนทุนขายที่จะตองปดบัญชีไปยังบัญชี กําไรขาดทุนและเปนมูลคาที่จะตองแสดงในงบกําไรขาดทุน 1.2 สําหรับกิจการที่เปนบริษัทการเงินมิไดประกอบกิจการจําหนายรถยนตแตเปน เพียงผูใหเชาซื้อ ดังนั้นจึงไมมีการบันทึกตนทุนขายของรถยนต


40 2. ตนทุนทางตรงเริ่มแรกที่เกิดขึ้นพรอมกับสัญญาเชาซื้อ เชน คาธรรมเนียม คานายหนา และคาใชจายอื่น 2.1 กิจการที่เปนตัวแทนจําหนายรถยนต ตนทุนทางตรงเริ่มแรกจะรับรูเปนคาใชจาย ในงบกําไรขาดทุนเมื่อมีการรับรูกําไรจากการขาย 2.2 กิจการที่เปนบริษัทการเงิน ตนทุนทางตรงเริ่มแรกที่เกิดกับผูใ หเชาที่ไมใชเปน ผูผลิตหรือผูแทนจําหนาย จะรับรูตนทุนทางตรงเริ่มแรก ดังนี้ 2.2.1 กรณีที่ตนทุนเริ่มแรกที่เกิดขึ้นพรอมกับสัญญาเชาซื้ออันเนื่องมาจากการ ตอรองและการทําใหไดมาซึ่งขอตกลงเกี่ยวกับสัญญา จะบันทึกรับรูคาใชจายโดยการทยอยตัด จําหนายตลอดระยะเวลาของสัญญาเชาซื้อ ตามสัดสวนของการรับรูรายไดดอกเบี้ยในแตละงวดของ สัญญา ในกรณีที่สัญญาเชาซื้อสิ้นสุดลงกอนวันครบกําหนดตามสัญญา จะรับรูเปนรายจายทั้ง จํานวน 2.2.2 กรณีที่ตนทุนเริ่มแรกที่เกิดขึ้นพรอมสัญญาเชาซื้อแตมิไดเกิดขึ้นโดยตรงจาก การตอรองและการทําใหไดมาซึ่งขอตกลงเกี่ยวกับสัญญาเชาซื้อจะบันทึกเปนคาใชจายสําหรับป 3. การตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ผูประกอบกิจการใหเชาซื้อจะตองตั้งคาเผื่อหนี้สูญหรือหนี้สงสัยจะสูญสําหรับลูกหนี้ เปนรายสัญญาโดยใชลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อคงเหลือ หักดวยรายไดดอกเบี้ยรอการรับรูและ หลักประกันเปนฐานในการคํานวณ วิธีการคํานวณจะแตกตางกันออกไปแลวแตนโยบายของ แตละ บริษัท


41 ตัวอยางที่ 1 บริษัท สยามมอเตอร จํากัด เปนตัวแทนจําหนายรถยนต วันที่ 1 มกราคม 25X1 ไดจําหนายรถยนตในราคาเงินสด คันละ 700,000 บาทราคาทุนคันละ 490,000 บาท บริษัท กําหนดใหลูกคาวางเงินเริ่มแรก 100,000 บาท สวนที่เหลือทําสัญญาเชาซื้อ 5 ปอัตราดอกเบี้ยรอยละ 10 ตอปโดยจายชําระทุกสิ้นป (PVIFA 10%, 5 = 3.7908) ในการชําระคางวดเกินกวาวันครบกําหนด 7 วันบริษัทฯ จะคิดคาปรับลาชาในอัตรารอยละ 12 ตอป นับจากวันครบกําหนด ราคาขายรถยนตเงินสด หัก เงินวางเริม่ แรก คงเหลือเชาซื้อ ชําระคางวดๆละ (600,000.00 / 3.7908)

700,000.00 100,000.00 600,000.00 158,278.00

ตารางที่ 1 แสดงการคํานวณดอกเบี้ยรับและยอดคงเหลือลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อในแตละงวด

ชองที่ 1 วันครบกําหนด

(1) 31 ธันวาคม 25X1 31 ธันวาคม 25X2 31 ธันวาคม 25X3 31 ธันวาคม 25X4 31 ธันวาคม 25X5

ชองที่ 2 เงินคางวด

ชองที่ 3 ดอกเบี้ยรับ

(2)

(3)=(5) x10/100

ชองที่ 4 สวนที่นําไปลด ชองที่ 5 ยอดสุทธิของลูกหนี้ ยอดสุทธิของ ลูกหนี้ตามสัญญา ตามสัญญาเชาคงเหลือ (เงินตนคงเหลือ) เชาการเงิน (เงินตนที่ชําระ)

158,278.00 60,000.00 158,278.00 50,172.00 158,278.00 39,362.00 158,278.00 27,470.00 158,278.00 14,386.00* 791,390.00 191,390.00 (* ดอกเบีย้ งวดสุดทายปดจาก 14,389.00 เปน 14,386.00 )

(4) = (2) – (3) 98,278.00 108,106.00 118,916.00 130,808.00 143,892.00 600,000.00

(5) 600,000.00 501,722.00 393,616.00 274,700.00 143,892.00 -


42 การบันทึกบัญชี (เปนลักษณะการขาย) กรณีที่ 1 กิจการผูแทนจําหนายรถยนตเปนผูใหเชาซื้อ ขอมูลเพิ่มเติม : บริษัทฯ มีคาใชจายคือคาประกันภัยทีจ่ า ยใหกับลูกคา จํานวน 10,000 บาท 1. บันทึก ณ.วันทําสัญญาและรับเงินวางเริม่ แรก (เงินดาวน) 791,390.00 1 ม.ค. 25X1 เดบิต ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ เงินสด/ธนาคาร 100,000.00 เครดิต ขายตามสัญญาเชาซื้อ รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู 2. บันทึกตนทุนขาย กรณีที่กจิ การใชระบบสินคาคงเหลือแบบตอเนื่อง (Perpetual inventory system) 1 ม.ค. 25X1 เดบิต ตนทุนขาย 490,000.00 เครดิต สินคา ( รถยนต) 3. บันทึกคาใชจายเมื่อจายคาประกันภัย 1 ม.ค. 25X1 เดบิต คาประกันภัยตามสัญญาใหเชาซื้อ 10,000.00 เครดิต เงินสด / เจาหนี้

700,000.00 191,390.00

490,000.00

10,000.00

4. บันทึกเมื่อรับเงินคางวดแตละงวด และบันทึกตัดรายไดดอกเบี้ยรอการรับรูไปสูบัญชีดอกเบี้ยรับ (ตามตารางที่ 1) 31 ธ.ค.25X1 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 158,278.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาซื้อ 158,278.00 เดบิต รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู 60,000.00 เครดิต ดอกเบี้ยรับ 60,000.00 31 ธ.ค.25X2 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 158,278.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ

158,278.00


43 เดบิต รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู เครดิต ดอกเบี้ยรับ

50,172.00

31ธ.ค.25X3 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 158,278.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ เดบิต รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู 39,362.00 เครดิต ดอกเบี้ยรับ 31ธ.ค.25X4 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 158,278.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ 27,470.00 เดบิต รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู เครดิต ดอกเบี้ยรับ

50,172.00

158,278.00 39,362.00

158,278.00 27,470.00

5. กรณีที่เงินคางวดวันที่ 31 ธันวาคม 25X5 ไดรับชําระในวันที่ 10 มกราคม 25X6 การบันทึกบัญชี ณ วันที่ 31 ธ.ค. 25X5 จะบันทึกตัดรายไดดอกเบี้ยรอการรับรูไปสูบัญชีดอกเบี้ยรับ และในวันที่ 1 ม.ค. 25X6 จะการบันทึกรับชําระคางวดและคาปรับชําระลาชา 31ธ.ค.25X5 เดบิต รายไดดอกเบี้ยรอการรับรู 14,386.00 เครดิต ดอกเบี้ยรับ 14,386.00 10 ม.ค.25X6 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 158,798.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ 158,278.00 รายไดคาปรับ (158,278.00 * 12/100 * 10/365) 520.00


44 กรณีที่ 2 บริษัทการเงินเปนผูใหเชาซื้อ (เปนลักษณะการใหกูยืมทางตรง) ขอมูลเพิ่มเติม : บริษัทฯ มีคาใชจายคือคาประกันภัยทีจ่ า ยใหกับลูกคา จํานวน 10,000 บาท และมี คาใชจายคานายหนาซึ่งเกิดขึน้ โดยตรงจากการตอรองและการทําใหไดมาซึ่งขอตกลงเกี่ยวกับ สัญญาเชาซื้อ จํานวน 60,000 บาท ตารางที่ 2 แสดงการคํานวณคานายหนาตัดจายตลอดอายุสัญญาเชา

ชองที่ 1 วันครบกําหนด

31 ธันวาคม 25X1 31 ธันวาคม 25X2 31 ธันวาคม 25X3 31 ธันวาคม 25X4 31 ธันวาคม 25X5

ชองที่ 2 ชองที่ 3 ดอกเบี้ยรับ สัดสวนการรับรูดอกเบี้ย (รอยละ) [(2) / 191,390.00] x 100 60,000.00 50,172.00 39,362.00 27,470.00 14,386.00 191,390.00

31 26 21 14 8 100

ชองที่ 4 คานายหนา

18,600.00 15,600.00 12,600.00 8,400.00 4,800.00 60,000.00

ชองที่ 5 คานายหนารอ ตัดจาย 60,000.00 41,400.00 25,800.00 13,200.00 4,800.00 -

1. บันทึก ณ วันทําสัญญา ผูเชาซื้อจายเงินดาวนใหกับบริษัทตัวแทนจําหนายรถยนต ดังนั้น บริษัทการเงินจะบันทึกเฉพาะยอดจัดเชาซื้อ 1 ม.ค. 25X1 เดบิต ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ 791,390.00 เครดิต เจาหนีก้ ารคา 600,000.00 รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู 191,390.00 2. บันทึกตนทุนขาย ไมมีการบันทึกบัญชีเนื่องจากไมไดประกอบกิจการขายรถยนต


45 3. บันทึกคาใชจาย 1 ม.ค. 25X1 เดบิต คาประกันภัย เครดิต เงินสด / เจาหนี้

10,000.00

4. บันทึกคานายหนารอตัดจาย 1 ม.ค. 25X1 เดบิต คานายหนารอตัดจาย 60,000.00 เครดิต เงินสด / คานายหนาคางจาย

10,000.00

60,000.00

5. บันทึกเมื่อรับเงินคางวดเชาซื้อแตละงวด และบันทึกตัดรายไดดอกเบี้ยรอการรับรูไปสูบัญชี ดอกเบี้ยรับเมื่อถึงงวดชําระ และบันทึกตัดคานายหนารอตัดจายไปสูบัญชีคานายหนา (ตามตารางที่ 2) 31 ธ.ค.25X1 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 158,278.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ 158,278.00 เดบิต รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู 60,000.00 เครดิต ดอกเบี้ยรับ 60,000.00 เดบิต คานายหนา 18,600.00 เครดิต คานายหนารอตัดจาย 18,600.00 31 ธ.ค.25X2 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 158,278.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ เดบิต รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู 50,172.00 เครดิต ดอกเบี้ยรับ เดบิต คานายหนา 15,600.00 เครดิต คานายหนารอตัดจาย 31ธ.ค.25X3 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 158,278.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ เดบิต รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู 39,362.00 เครดิต ดอกเบีย้ รับ

158,278.00 50,172.00 15,600.00

158,278.00 39,362.00


46 เดบิต คานายหนา เครดิต คานายหนารอตัดจาย

12,600.00

31ธ.ค.25X4 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 158,278.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ เดบิต รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู 27,470.00 เครดิต ดอกเบี้ยรับ เดบิต คานายหนา 8,400.00 เครดิต คานายหนารอตัดจาย

12,600.00

158,278.00 27,470.00 8,400.00

6. กรณีที่เงินคางวดวันที่ 31 ธันวาคม 25X5 ไดรับชําระในวันที่ 10 มกราคม 25X6 การบันทึกบัญชี ณ วันที่ 31 ธ.ค. 25X5 จะบันทึกตัดรายไดดอกเบี้ยรอการรับรูไปสูบัญชีดอกเบี้ยรับ และในวันที่ 1 ม.ค. 25X6 จะการบันทึกรับชําระคางวดและคาปรับชําระลาชา 31ธ.ค.25X5 เดบิต รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู 14,386.00 เครดิต ดอกเบี้ยรับ 14,386.00 เดบิต คานายหนา 4,800.00 เครดิต คานายหนารอตัดจาย 4,800.00 10 ม.ค.25X6 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 158,798.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ 158,278.00 รายไดคาปรับ (158,278.00 * 12% * 10/365) 520.00 การคํานวณดอกเบี้ยที่เกิดจากการใหเชาซื้อ การคํานวณดอกเบี้ยรับจะใชตารางเงินรายป (Annuity) ในการคํานวณจํานวนเงินงวดที่ตอง ชําระในแตละงวด การคํานวณมีหลักเกณฑ ดังนี้ (1) คํานวณหาเงินคางวดในแตละงวด เงินคางวด = เงินตนยอดเชาซื้อ / มูลคาปจจุบันของเงินรายงวด จากตารางเงินรายป (PVIFA)


47 (2) คํานวณดอกเบี้ยรับในแตละงวด ดอกเบี้ยรับ = อัตราดอกเบี้ย X เงินตนคงคาง ณ ตนงวดของแตละงวด (3) คํานวณเงินตนที่ชําระในแตละงวด เงินตนที่ ชําระสําหรับงวด = เงินคางวด – ดอกเบี้ยจายสําหรับงวด (4) คํานวณเงินตนคงเหลือในวันสิ้นงวด เงินตนคงเหลือ = เงินตนคงคาง ณ ตนงวด – เงินตนที่ชําระสําหรับงวด ตัวอยางที่ 2 ใชขอมูลจากตัวอยางที่ 1 บริษัท สยามมอเตอร จํากัด เปนตัวแทนจําหนายรถยนต วันที่ 1 มกราคม 25X1 ไดจําหนายรถยนตในราคาเงินสด คันละ 700,000 บาทราคาทุนคันละ 490,000 บาท บริษัทกําหนดใหลูกคาวางเงินเริ่มแรก 100,000 บาท สวนที่เหลือทําสัญญาเชาซื้อ 5 ป อัตราดอกเบี้ยรอยละ 10 ตอป โดยจายชําระทุกสิ้นป (PVIFA 10%, 5 = 3.7908) ตารางที่ 3 แสดงการคํานวณดอกเบี้ยรับและยอดคงเหลือลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ

ชองที่ 1 วันครบกําหนด

ชองที่ 2 เงินคางวด

ชองที่ 3 ชําระดอกเบีย้

(1)

(2)

(3)=(5) x10/100

31 ธันวาคม 25X1 31 ธันวาคม 25X2 31 ธันวาคม 25X3 31 ธันวาคม 25X4 31 ธันวาคม 25X5

158,278.00 158,278.00 158,278.00 158,278.00 158,278.00 791,390.00

60,000.00 50,172.00 39,362.00 27,470.00 14,386.00 191,390.00

ชองที่ 4 ชองที่ 5 สวนที่นําไปลดยอด ยอดสุทธิของ สุทธิของลูกหนี้ตาม ลูกหนี้ตามสัญญา สัญญาเชาการเงิน เชาคงเหลือ (เงินตนที่ชําระ) (เงินตนคงเหลือ) (4) = (2) – (3) (5) 600,000.00 98,278.00 501,722.00 108,106.00 393,616.00 118,916.00 274,700.00 130,808.00 143,892.00 143,892.00 600,000.00


48 คําอธิบายประกอบตารางที่ 3 ชองที่ 1 กําหนดเวลา ชองที่ 2

เงินคางวดที่ลูกคาตองจายในแตละงวด = 600,000.00 / 3.7908 = 158,278.00 บาท 3.7908 คือคาปจจัยสวนลดที่ตองเปดตารางปจจัยดอกเบี้ยมูลคาปจจุบันของเงินรายงวด (PVIFA) เมื่ออัตราสวนลดเทากับรอยละ 10 จํานวน 5 ป (ตามตารางที่ 9)

ชองที่ 3 คํานวณโดยใชอัตราดอกเบี้ยรอยละ10 คูณกับชองที่ 5 เงินตนคงเหลือ จะไดจํานวนเงิน ดอกเบี้ยจายชําระในแตละงวด ชองที่ 4 เอาจํานวนเงินงวดในชองที่ 2 หักดวย ดอกเบี้ยจายชําระในแตละงวดในชองที่ 3 ผลลัพธ คือ จํานวนเงินชําระเงินตน ชองที่ 5

เอาจํานวนเงินตนคงเหลืองวดกอนหักดวยจํานวนเงินชําระเงินตนชองที่ 4 จะไดยอด เงินตน คงเหลือสวนจํานวนเงินดอกเบี้ยในงวดสุดทายไดจากผลตางระหวางเงินงวดกับ เงินตนคางชําระ

ตารางที่ 4 ตารางปจจัยดอกเบี้ยมูลคาปจจุบันของเงินรายงวด (FVIFA) งวดที่ / รอยละ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

1

0.9901 0.9804 0.9709

0.9615

0.9524 0.9434

0.9346

0.9259

0.9174

0.9091

2 3 4

1.9704 1.9416 1.9135 2.9410 2.8839 2.8286 3.9020 3.8077 3.7171

1.8861 2.7751 3.6299

1.8594 1.8334 2.7232 2.6760 3.5460 3.4651

1.8080 2.6243 3.3872

1.7833 2.5771 3.3121

1.7591 2.5313 3.2397

1.7355 2.4869 3.1699

5 6 7

4.8534 4.7135 4.5797 5.7955 5.6014 5.4172 6.7282 6.4720 6.2303

4.4518 5.2421 6.0021

4.3295 4.2124 5.0737 4.9173 5.7864 5.5824

4.1002 4.7665 5.3893

3.9927 4.6229 5.2064

3.8897 4.4859 5.0330

3.7908 4.3553 4.8684

8 9 10

7.6517 7.3255 7.0197 8.5660 8.1622 7.7861 9.4713 8.9826 8.5302

6.7327 7.4353 8.1109

6.4632 6.2098 7.1078 6.8017 7.7217 7.3601

5.9713 6.5152 7.0236

5.7466 6.5152 7.0236

5.5348 5.9952 6.4177

5.3349 5.7590 6.1446


49 การจัดชั้นลูกหนี้และการกันเงินสํารอง การจัดชั้นลูกหนี้และการกันเงินสํารองตามแนวทางของสมาคมธุรกิจเชาซื้อไทยนั้น ทําเพื่อ สะทอนภาพผลการประกอธุรกิจที่แทจริงผูประกอบกิจการใหเชาซื้อจะตองกันเงินสํารองไวเปน คาเผื่อหนี้สูญหรือหนี้สงสัยจะสูญ สําหรับลูกหนี้จัดชั้นทุกประเภทแยกเปนรายสัญญาโดยใชลูกหนี้ ตามสัญญาเชาซื้อคงเหลือ หักดวยรายไดดอกเบี้ยรอการรับรูและหลักประกันเปนฐานในการ คํานวณเงินสํารอง วิธีการคํานวณจะแตกตางกันออกไปแลวแตนโยบายของแตละบริษัท ตารางที่ 5 แสดงหลักเกณฑการจัดชัน้ ลูกหนี้ตามแนวทางของสมาคมธุรกิจเชาซื้อไทย ลูกหนี้จดั ชั้น ปกติ

กลาวถึงเปนพิเศษ ต่ํากวามาตรฐาน สงสัย สงสัยจะสูญ

หมายถึง ลูกหนี้ที่ไมผิดนัดชําระหนี้ และลูกหนี้คางชําระไมเกิน 1 เดือนที่ไมมี สัญญาณใดๆแสดงวาจะมีการผิดนัดชําระหนี้อันจะเปนเหตุใหบริษัทไดรับ ความเสียหาย ลูกหนี้คางชําระเกินกวา 1 เดือน ลูกหนี้คางชําระเกินกวา 3 เดือน ลูกหนี้คางชําระเกินกวา 6 เดือน ลูกหนี้คางชําระเกินกวา 12 เดือนขึ้นไป

การกันเงินสํารองสําหรับลูกหนี้จัดชั้นทุกประเภท เวนแตลูกหนี้จัดชั้นสงสัยและลูกหนี้จัด ชั้นสงสัยจะสูญ ใหนําหลักประกันมาหักออกจากราคาตามบัญชีของลูกหนี้กอนกันเงินสํารองโดย มูลคาหลักประกันที่จะนํามาหักไดจะตองไมสูงเกินกวายอดเงินตนคงเหลือ (ไมรวมรายไดดอกเบี้ย รอการรับรู) โดยใหบริษัทกันเงินสํารอง ลูกหนี้จัดชั้นในอัตรา ดังตอไปนี้


50 ตารางที่ 6 เชาซื้อไทย

แสดงอัตรารอยละการกันเงินสํารองตามลูกหนี้จัดชั้นตามแนวทางของสมาคมธุรกิจ

ลูกหนี้จดั ชั้น การกันเงินสํารอง (อัตรารอยละ) ปกติ 1 ของยอดลูกหนี้ตามสัญญาคงเหลือ หลังหักมูลคาหลักประกัน กลาวถึงเปนพิเศษ 2 ของยอดลูกหนี้ตามสัญญาคงเหลือ หลังหักมูลคาหลักประกัน ต่ํากวามาตรฐาน 20 ของยอดลูกหนี้ตามสัญญาคงเหลือ หลังหักมูลคาหลักประกัน สงสัย 50 ของยอดลูกหนี้ตามสัญญาคงเหลือ หมายเหตุ : ยอดลูกหนี้ตามสัญญาคงเหลือ = ยอดลูกหนี้คงเหลือตามบัญชี หัก รายไดดอกเบี้ย รอการรับรู สําหรับกลุมลูกหนี้จัดชั้นสงสัยและจัดชั้นสงสัยจะสูญ หากบริษัทใหเชาซื้อสามารถรับหรือ บังคับโอนชําระหนี้ดวยสินทรัพยอื่นจากผูเชาซื้อหรือผูค้ําประกันได ใหบริษัทใหเชาซื้อกันเงิน สํารองจากสวนตางของยอดเงินตนคงเหลือ หลังหักมูลคาสินทรัพยอื่นที่รับหรือบังคับโอนชําระหนี้ นั้นทั้งนี้ ราคาสินทรัพยอื่นที่รับหรือบังคับโอนชําระหนี้ ใหใชมูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่รับโอน มา ซึ่งไดแก ราคาประเมินของเจาพนักงานบังคับคดี หรือราคาประเมินของทางราชการ ในกรณีที่ สินทรัพยนั้นอยูระหวางการประกาศขายทอดตลาด หรือราคาที่ประเมินโดยผูประเมินอิสระ หลักประกันที่จะนํามาหักออกจากราคาตามบัญชีของลูกหนี้กอนกันเงินสํารอง จะตองมี มูลคาไมสูงเกินกวายอดเงินตนคงคางไมรวมดอกเบี้ยรอตัดบัญชี โดยใหใชหลักเกณฑในการ คํานวณดังนี้ 1. หลักประกันที่เปนเงินสด สิทธิในตั๋วสัญญาใชเงิน หรือบัตรเงินฝากเงินสดที่ลูกหนี้ได นํามาวางค้ําประกันสัญญาเชาซื้อ ใหนํามาหักไดรอยละ 100 2. หลักประกันซึ่งเปนรถยนตที่ใหเชาซื้อ ใหใชมูลคาตามราคายุติธรรมของรถยนตดังกลาว ณ วันสิ้นงวดปดงบบัญชีของผูใหเชาซื้อ หรือใชราคาเงินสดของรถยนตที่ใหเชาซื้อ ณ วันที่ทํา สัญญาหักดวยคาเสื่อมราคาของ รถยนตดังกลาว โดยคํานวณตามหลักเกณฑ ดังตอไปนี้


51 ตารางที่ 7 แสดงมูลคาหลักประกันที่จะนํามาหักออกจากราคาตามบัญชีของลูกหนี้กอนกันเงิน สํารองตามแนวทางของสมาคมธุรกิจเชาซื้อไทย ระยะเวลานับจากวันทําสัญญา ไมเกิน 1 ป ไมเกิน 2 ป ไมเกิน 3 ป ไมเกิน 4 ป ระยะเวลานับจากวันทําสัญญา ไมเกิน 5 ป ไมเกิน 6 ป ระยะเวลานับจากวันทําสัญญา เกินกวา 6 ป ขึ้นไป

มูลคาหลักประกันทีจ่ ะนํามาหัก ราคาเงินสดของรถยนต ณ วันที่ทําสัญญาเชาซื้อ หักดวย คาเสื่อมราคาอัตรารอยละ 25 ราคาเงินสดของรถยนต ณ วันที่ทําสัญญาเชาซื้อ หักดวย คาเสื่อมราคาอัตรารอยละ 35 ราคาเงินสดของรถยนต ณ วันที่ทําสัญญาเชาซื้อ หักดวย คาเสื่อมราคาอัตรารอยละ 45 ราคาเงินสดของรถยนต ณ วันที่ทําสัญญาเชาซื้อ หักดวย คาเสื่อมราคาอัตรารอยละ 55 มูลคาหลักประกันทีจ่ ะนํามาหัก ราคาเงินสดของรถยนต ณ วันที่ทําสัญญาเชาซื้อ หักดวย คาเสื่อมราคาอัตรารอยละ 65 ราคาเงินสดของรถยนต ณ วันที่ทําสัญญาเชาซื้อ หักดวย คาเสื่อมราคาอัตรารอยละ 75 มูลคาหลักประกันทีจ่ ะนํามาหัก ราคาเงินสดของรถยนต ณ วันที่ทําสัญญาเชาซื้อ หักดวย คาเสื่อมราคาอัตรารอยละ 85

ตัวอยางที่ 3 บริษัท สยามมอเตอรลิสซิ่ง จํากัด ใหเชาซื้อรถยนต ราคาขายเงินสด 400,000 บาท รถยนตมีราคาทุน 250,000 บาท ผูเชาซื้อวางเงินเริ่มแรกรอยละ 15 ของราคาเงินสด สวนที่เหลือ ผอนชําระ 5 ป จายทุกเดือนจํานวน 20 งวด อัตราดอกเบี้ยรอยละ 12 ตอป โดยหลักประกันเปน รถยนตที่ใหเชาซื้อ โดยเริ่มทําสัญญา ณ วันที่ 1 มกราคม 25X1 และจายคางวด ๆ แรกในวันที่ 31 มกราคม 25X1 อัตราดอกเบี้ย รอยละ 12 ตอป หรือเทากับ รอยละ 1 ตอเดือน (PVIFA 1 %, 20 = 18.0456) ราคาขายรถยนตเงินสด 400,000.00 ชําระครั้งแรก รอยละ 15 60,000.00 คงเหลือเชาซื้อ 340,000.00


52 ชําระคางวดๆละ(340,000.00 / 18.0456) ลูกหนี้ตามสัญญาเชา(18,842.00 x 20) รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู

18,842.00 376,840.00 36,840.00

ตารางที่ 8 แสดงการคํานวณดอกเบี้ยรับและยอดคงเหลือลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อในแตละงวดใน กรณีการจัดชั้นลูกหนี้ และการตั้งหนี้คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ชองที่ 5 ชองที่ 6 ชองที่1 ชองที่ 2 ชองที่ 3 ชองที่ 4 สวนที่นําไปลด ยอดสุทธิของ งวดที่ วันครบ เงินคางวด ชําระดอกเบีย้ ยอดสุทธิของ ลูกหนี้ตาม กําหนด ลูกหนี้ตาม สัญญาเชา สัญญาเชาซื้อ คงเหลือ (เงินตนที่ชําระ) (เงินตน คงเหลือ) (4) = (6) x 1/100 (5) = (3) - (4) (6) (1) (2) (3) 340,000.00 1 31 ม.ค. 25X1 18,842.00 3,400.00 15,422.00 324,558.00 2 28 ก.พ. 25X1 18,842.00 3,246.00 15,596.00 308,962.00 3 31 มี.ค. 25X1 18,842.00 3,090.00 15,752.00 293,209.00 4 30 เม.ย. 25X1 18,842.00 2,932.00 15,910.00 277,299.00 5 31 พ.ค. 25X1 18,842.00 2,773.00 16,069.00 261,230.00 6 30 มิ.ย. 25X1 18,842.00 2,612.00 16,230.00 245,001.00 7 31 ก.ค. 25X1 18,842.00 2,450.00 16,392.00 228,609.00 8 31 ส.ค.25X1 18,842.00 2,286.00 16,556.00 212,053.00 9 30 ก.ย. 25X1 18,842.00 2,121.00 16,721.00 195,331.00 10 31 ต.ค. 25X1 18,842.00 1,953.00 16,889.00 178,443.00 11 30 พ.ย. 25X1 18,842.00 1,784.00 17,058.00 161,385.00 12 31 ธ.ค. 25X1 18,842.00 1,614.00 17,228.00 144,157.00 13 14 -


53 บริษัทฯ มีนโยบายจะหยุดรับรูรายไดดอกเบี้ยจากการเชาซื้อ เมื่อคางชําระเกิน 4 งวด การจัดชั้นลูกหนี้และการตั้งหนี้สงสัยจะสูญในกรณีดังตอไปนี้ กรณีที่ 1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X1 ไดรับชําระคางวดถึงงวดที่ 11 รับรูดอกเบี้ยถึงงวดที่ 12 กรณีที่ 2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X1 ไดรับชําระคางวดถึงงวดที่ 10 รับรูดอกเบี้ยถึงงวดที่ 12 กรณีที่ 3 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X1 ไดรับชําระคางวดถึงงวดที่ 8 รับรูดอกเบี้ยถึงงวดที่ 12 กรณีที่ 4 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X1 ไดรับชําระคางวดถึงงวดที่ 5 รับรูดอกเบี้ยถึงงวดที่ 9 กรณีที่ 5 ตั้งแตวันที่เริ่มทําสัญญา ผูใหเชายังไมไดรับชําระคางวดจากผูเชาซื้อเลย จึงรับรูดอกเบี้ยถึงงวดที่ 4 เทานั้น การตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจะคํานวณไดจาก อัตรารอยละของยอดลูกหนี้ตามสัญญา คงเหลือสุทธิ หลังหักมูลคาหลักประกัน ณ วันสิ้นป ตามการจัดชั้นลูกหนี้ มูลคาหลักประกันระยะเวลานับจากวันทําสัญญา ไมเกิน 1 ป ราคาเงินสดของรถยนต ณ วันที่ทําสัญญาเชาซื้อ หัก ดวยคาเสื่อมราคาอัตรารอยละ 25 มูลคาหลักประกัน

= 400,000.00 – (400,000 x 25/100) = 300,000.00

ลูกหนีต้ ามสัญญาคงเหลือสุทธิ = ยอดลูกหนี้ตามสัญญาคงเหลือ – รายไดดอกเบี้ยรอการรับรู ลูกหนี้ตามสัญญาคงเหลือสุทธิ กรณีที่ 1

= 169,578.00 – 6,579.00 = 162,999.00

กรณีที่ 2

= 188,420.00 – 6,579.00 = 181,841.00


54 กรณีที่ 3

= 226,104.00 – 6,579.00 = 219,525.00

กรณีที่ 4

= 282,630.00 – 11,930.00 = 270,700.00

กรณีที่ 5

= 376,840.00 – 24,172.00 = 352,668.00

ตารางที่ 9 แสดงตัวอยางการคํานวณเงินกันสํารองคาเผื่อหนี้สูญ

กรณี ที่

ชั้นลูกหนี้

1 2 3 4 5

ปกติ กลาวถึงเปนพิเศษ ต่ํากวามาตรฐาน สงสัย สงสัยจะสูญ

เงินตน เงินกัน คงเหลือ อัตรา สํารองคา หลังหัก รอยละ เผื่อหนี้สูญ มูลคา หลักประกัน 300,000.00 -137,001.00 1 ไมมี 300,000.00 -118,159.00 2 ไมมี 300,000.00 -80,475.00 20 ไมมี 270,700.00 50 135,350.00 352,668.00 100 352,668.00

ลูกหนี้ตาม สัญญา มูลคา คงเหลือ หลักประกัน สุทธิ 162,999.00 181,841.00 219,525.00 270,700.00 352,668.00

การบันทึกบัญชี กรณีที่ 1 ถึง กรณีที่ 3 ไมมีการบันทึกบัญชีการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ เนื่องจากมูลคาหลักประกันมีมูลคาสูง กวาเงินตนคงคงเหลือ


55 กรณีที่ 4 บันทึกบัญชี (ตามตารางที่ 9) 31 ธ.ค.25X1 เดบิต หนี้สงสัยจะสูญ 135,350.00 เครดิต คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

135,350.00

กรณีที่ 5 บันทึกบัญชี (ตามตารางที่ 9) 31 ธ.ค.25X1 เดบิต หนี้สงสัยจะสูญ เครดิต คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

352,668.00 352,668.00

การรับแลกเปลี่ยนสินคา การรับแลกเปลี่ยนสินคาเปนวิธีการจูงใจใหลูกคาซื้อสินคาใหมวิธีหนึ่งคือ การยินยอมให ลูกคานําสินคาที่ใชแลวมาแลกเปลี่ยนสินคาใหม ในธุรกิจจําหนายรถยนตก็เชนเดียวกัน การรับ สินคาแลกเปลี่ยนหรือเรียกเปนภาษาในธุรกิจวา “การตีแลก” การตีแลกนั้นลูกคาจะนํารถยนตเกาที่ ใชแลวมาแลกเปลี่ยนกับรถยนตใหม โดยผูขายจะตีราคารถยนตใชแลว และใหถือเปนสวนหนึ่งของ การชําระคารถยนตใหม สวนที่เหลือจะใหลูกคาเลือกที่จะซื้อสด หรือใหเชาซื้อ ซึ่งราคาที่ผูขายคิด ใหสําหรับสินคารถยนตที่ใชแลวมักจะสูงกวามูลคาที่แทจริง จํานวนที่คิดสูงกวาหรือจํานวนที่คิด เกินใหบันทึกไวในบัญชีสวนเกินของราคาสินคารับแลกเปลี่ยน ซึ่งเปนบัญชีหักจากบัญชีขาย ทําให มูลคาขายของรถยนตใหมมีราคาลดลง (เรือนจิตร ทองดี, 2551: 38-39) ในการบันทึกบัญชีรถยนตเกาแลกรถยนตใหมนั้นจะบันทึกในราคาที่แทจริง โดยใชราคา ของรถยนตใชแลวที่คิดใหกับลูกคาหักดวยสวนเพิ่มที่บวกให จะไดราคาทุนของรถยนตเกาที่นําไป บันทึกบัญชี


56 ตัวอยางที่ 4 ใชขอมูลจากตัวอยางที่ 1 บริษัท สยามมอเตอร จํากัด เปนตัวแทนจําหนายรถยนต วันที่ 1 มกราคม 25X1 ไดจําหนายรถยนตในราคาเงินสด คันละ 700,000 บาทราคาทุนคันละ 490,000 บาท บริษัทกําหนดใหลูกคาวางเงินเริ่มแรก 100,000 บาท สวนที่เหลือทําสัญญาเชาซื้อ 5 ป อัตราดอกเบี้ยรอยละ 10 ตอป โดยจายชําระทุกสิ้นป (PVIFA 10%, 5 = 3.7908) บริษัทฯไดรับ แลกเปลี่ยนรถยนตที่ใชแลวในราคา 180,000 บาท ซึ่งราคาที่แทจริงคือ 150,000 บาท มูลคาที่แทจริง = ราคาสินทรัพย – คาเสื่อมราคา-สะสม = 600,000.00 – 450,000.00 = 150,000.00 ผลตางของราคารถยนตเกากับราคาที่แทจริง = 180,000.00 – 150,000.00 = 30,000.00 ราคาจัดเชาซื้อ = 700,000.00 – 180,000.00 = 520,000.00 ตารางที่ 10 แสดงการคํานวณดอกเบี้ยรับและยอดคงเหลือลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ

ชองที่ 1 วันครบกําหนด

ชองที่ 2 เงินคางวด

ชองที่ 3 ชําระ ดอกเบี้ย

(1)

(2)

(3)=(5) x10/100

31 ธันวาคม 25X1 31 ธันวาคม 25X2 31 ธันวาคม 25X3 31 ธันวาคม 25X4 31 ธันวาคม 25X5

137,174.00 52,000.00 137,174.00 43,483.00 137,174.00 34,113.00 137,174.00 23,807.00 137,174.00 12,467.00* 685,870.00 165,870.00 (* ดอกเบีย้ งวดสุดทายปดจาก 12,471 เปน 12,467)

ชองที่ 4 ชองที่ 5 สวนที่นําไปลดยอด ยอดสุทธิของลูกหนี้ สุทธิของลูกหนี้ตาม ตามสัญญาเชา สัญญาเชาการเงิน คงเหลือ (เงินตนที่ชําระ) (เงินตนคงเหลือ) (5) (4) = (2) – (3)

85,174.00 93,691.00 103,061.00 113,367.00 124,707.00 520,000.00

520,000.00 434,826.00 341,135.00 238,074.00 124,707.00 -


57 การบันทึกบัญชี 1. บันทึก ณ.วันทําสัญญาและรับแลกรถยนตใชแลวเปนเงินดาวน 1 ม.ค. 25X1 เดบิต ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ 685,870.00 สินทรัพยรอการขาย 150,000.00 สวนเกินรถยนตรับแลกเปลี่ยน 30,000.00 เครดิต ขายตามสัญญาเชาซื้อ รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู

700,000.00 165,870.00

2. บันทึกตนทุนขาย 1 ม.ค. 25X1 เดบิต ตนทุนขาย เครดิต สินคา ( รถยนต)

490,000.00

490,000.00

3. บันทึกเมื่อรับเงินคางวดเชาซื้อแตละงวด และบันทึกตัดรายไดดอกเบี้ยรอการรับรูไปสูบัญชี ดอกเบี้ยรับ (ตามตารางที่ 10) 31 ธ.ค.25X1 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 137,174.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ 137,174.00 เดบิต รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู 52,000.00 เครดิต ดอกเบี้ยรับ 52,000.00 31 ธ.ค.25X2 เดบิต เงินสด/ธนาคาร เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาซื้อ เดบิต รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู เครดิต ดอกเบี้ยรับ

137,174.00

31ธ.ค.25X3 เดบิต เงินสด/ธนาคาร เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาซื้อ เดบิต รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู เครดิต ดอกเบี้ยรับ

137,174.00

137,174.00 43,483.00 43,483.00

137,174.00 34,113.00 34,113.00


58 31ธ.ค. 25X4 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 137,174.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ เดบิต รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู 23,807.00 เครดิต ดอกเบี้ยรับ 31ธ.ค. 25X5 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 137,174.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ เดบิต รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู 12,467.00 เครดิต ดอกเบี้ยรับ

137,174.00 23,807.00

137,174.00 12,467.00

การปดบัญชีกอ นครบกําหนดสัญญา ในกรณีที่ผูเชาซื้อมาขอชําระคางวดที่เหลือทั้งหมดกอนกําหนดของสัญญาเชา โดยปกติ แลว บริษัทผูใหเชาซื้อจะใหสวนลดเนื่องจากมาชําระกอนกําหนด ความเสี่ยงเนื่องจากการรับชําระ หนี้จะหมดไป ซึ่งวิธีการคํานวณสวนลดก็จะแตกตางกันออกไปแลวแตนโยบายบริษัท โดยจะ คํานวณจากฐานของรายไดดอกเบี้ยรอการรับรูที่คางอยูของงวดถัดไป เชน เมื่อผูเชาซื้อชําระจนถึง งวดที่ 20 แลว และผูเชาซื้อมาขอปดบัญชีกอนกําหนด รายไดดอกเบี้ยรอการรับรูที่คางอยูของงวดที่ 21 จะใชเปนฐานการคํานวณสวนลด ฉะนั้นรายไดที่จะรับรูเมื่อปดบัญชี จะเทากับรายไดดอกเบี้ยรอ การรับรูที่คางอยูหักดวยสวนลด แตอยางไรก็ดี ตามประกาศคณะกรรมการวาดวยสัญญา เรื่อง ธุรกิจใหเชาซื้อรถยนตและ รถจักรยานยนตเปนธุรกิจที่ควบคุมสัญญา พ.ศ. 2543 กําหนดวา บริษัทผูใหเชาซื้อจะตองใหสวนลด แกผูเชาซื้อในอัตราไมนอยกวารอยละ 50 ของดอกเบี้ยที่ยังไมถึงกําหนดชําระ โดยใหคํานวณตาม แถลงการณมาตรฐานการบัญชี ซึ่งใหคํานวณอัตราตลาดดอกเบี้ยตามอัตราในทองตลาด ตัวอยางที่ 5 จากขอมูลตามตัวอยางที่ 2 สมมติ วันที่ 1 ธันวาคม 25X1 ผูเชาซื้อมาขอปดบัญชี กอนสัญญาครบกําหนด ซึ่งผูเชาซื้อไดชําระคางวดมาแลว 11 งวด โดยจะชําระหนี้คงคางเปนเงินสด ตามนโยบายบริษัท จะใหสวนลดรอยละ 20 ของรายไดดอกเบี้ยรอการรับรูที่ยังไมถึงกําหนดชําระ


59 วิธีการคํานวณสวนลดตามนโยบายของบริษัท รายไดดอกเบีย้ รอการรับรูทั้งสัญญา รายไดดอกเบีย้ ที่รับรูแลว 11 งวด รายไดดอกเบีย้ ที่ยังไมถึงกําหนดชําระ สวนลดรอยละ 20

36,840.00 28,647.00 8,193.00 1,639.00

การคํานวณตามประกาศคณะกรรมการวาดวยสัญญา เรื่อง ธุรกิจใหเชาซื้อรถยนต และรถจักรยานยนตเปนธุรกิจที่ควบคุมสัญญา พ.ศ. 2543 รายไดดอกเบีย้ ที่ยังไมถึงกําหนดชําระ 8,193.00 สวนลดรอยละ 50 4,097.00 ดังนั้น สวนลดที่บริษัทใหกบั ผูเชาซื้อตองไมนอยกวา 4,097.00 การบันทึกบัญชี 1 ธ.ค. 25X1 เดบิต เงินสด 161,684.00 รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู 8,193.00 สวนลดจาย 4,097.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ ดอกเบี้ยรับ (8,193.00 – 4.097.00)

169,578.00 4,096.00

การโอนสิทธิการเชาซื้อตามสัญญาใหบุคคลอื่น การโอนสิทธิการเชาซื้อตามสัญญาใหแกบคุ คลอื่นนั้น แบงได 2 กรณี 1. ถาผูเชาซื้อโอนสิทธิการเชาซื้อตามสัญญาใหแกบุคคลอื่นนั้น โดยมิไดเปลี่ยนแปลง สาระสําคั ญ อื่น ๆ ของสัญญานอกจากผู เ ชาซื้อแลว การบัน ทึกบัญชี ก็จ ะเปนเพียงการโอน เปลี่ยนแปลงบัญชีลูกหนี้รายตัวเทานั้น 2. แตถาในการโอนสิทธิการเชาซื้อไดมีการเปลี่ยนแปลงสาระอื่นๆ ของสัญญา นอกเหนือจากการเปลี่ยนผูเชาซื้อ เชน การเปลี่ยนมูลคาของสัญญา จํานวนงวดที่ถึงกําหนดชําระ


60 หรือมูลคาราคาที่ตองชําระในแตละงวด การบันทึกบัญชีจะตองทําการคํานวณผลตางเพื่อปรับ บัญชีลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อและบัญชีรายไดดอกเบี้ยรอการรับรูใหเปนไปตามสัญญาเชาซื้อฉบับ ใหมและทําการโอนเปลี่ยนแปลงบัญชีลูกหนี้รายตัวดวย ตัวอยางที่ 6 ใชขอมูลจากตัวอยางที่ 1 บริษัท สยามมอเตอร จํากัด เปนตัวแทนจําหนายรถยนต วันที่ 1 มกราคม 25X1 ไดจําหนายรถยนตในราคาเงินสด คันละ 700,000 บาทราคาทุนคันละ 490,000 บาท บริษัทกําหนดใหลูกคาวางเงินเริ่มแรก 100,000 บาท สวนที่เหลือทําสัญญาเชาซื้อ 5 ป อัตราดอกเบี้ยรอยละ 10 ตอป โดยจายชําระทุกสิ้นป (PVIFA 10%, 5 = 3.7908) ราคาขายรถยนตเงินสด 700,000.00 หัก เงินวางเริม่ แรก 100,000.00 คงเหลือ เชาซื้อ 600,000.00 ชําระคางวดๆละ (600,000.00 / 3.7908) 158,278.00 ตารางที่ 11 แสดงการคํานวณดอกเบี้ยรับและยอดคงเหลือลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อเดิม

ชองที่ 1 วันครบกําหนด

ชองที่ 2 เงินคางวด

ชองที่ 3 ชําระดอกเบีย้

(1)

(2)

(3)=(5)x10/100

ชองที่ 4 สวนที่นําไปลด ยอดสุทธิของ ลูกหนี้ตามสัญญา เชาการเงิน (เงินตนที่ชําระ) (4) = (2) – (3)

31 ธันวาคม 25X1 31 ธันวาคม 25X2 31 ธันวาคม 25X3 31 ธันวาคม 25X4 31 ธันวาคม 25X5

158,278.00 158,278.00 158,278.00 158,278.00 158,278.00 791,390.00

60,000.00 50,172.00 39,362.00 27,470.00 14,386.00 191,390.00

98,278.00 108,106.00 118,916.00 130,808.00 143,892.00 600,000.00

ชองที่ 5 ยอดสุทธิของ ลูกหนี้ตาม สัญญาเชา คงเหลือ (เงินตนคงเหลือ) (5) 600,000.00 501,722.00 393,616.00 274,700.00 143,892.00 -


61 ขอมูลเพิ่มเติม : ณ วันที่ 1 มกราคม 25X3 ผูเชาซื้อไดขอโอนสิทธิการเชาซื้อตามสัญญาเชาใหแก บุคคลอื่น โดยผูเชาซื้อรายใหมขอชําระตออีก 5 ป โดยใชอัตราดอกเบี้ย รอยละ 10 ตอป เทากับ สัญญาเดิม ณ วันที่มีการโอนสิทธิการเชาซื้อ มีรายละเอียดยอดคงคางตามสัญญาเชาซื้อเดิมดังนี้ ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ (791,390 – (158,278.00 x 2)) รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู (191,390 – (60,000.00 + 50,172.00)) เงินตนคงเหลือ

474,834.00 81,218.00 393,616.00

ณ วันที่มีการโอนสิทธิการเชาซื้อ มีรายละเอียดยอดคงคางตามสัญญาเชาซื้อใหมดังนี้ เงินตนคงเหลือจากสัญญาเชาซื้อเดิม ชําระคางวดๆละ (393,616.00 / 3.7908 )

393,616.00 103,835.00

ตารางที่ 12 แสดงการคํานวณดอกเบีย้ รับและยอดคงเหลือลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อใหม

ชองที่ 1 วันครบกําหนด

ชองที่ 2 เงินคางวด

ชองที่ 3 ชําระดอกเบีย้

(1)

(2)

(3)=(5)x10/100

31 ธันวาคม 25X3 31 ธันวาคม 25X4 31 ธันวาคม 25X5 31 ธันวาคม 25X6 31 ธันวาคม 25X7

103,835.00 103,835.00 103,835.00 103,835.00 103,835.00 519,175.00

39,362.00 32,914.00 25,822.00 18,021.00 9,440.00 125,559.00

ชองที่ 4 สวนที่นําไปลด ยอดสุทธิของ ลูกหนี้ตามสัญญา เชาการเงิน (เงินตนที่ชําระ) (4) = (2) – (3) 64,473.00 70,921.00 78,013.00 85,814.00 94,395.00 393,616.00

ชองที่ 5 ยอดสุทธิของ ลูกหนี้ตาม สัญญาเชา คงเหลือ (เงินตนคงเหลือ) (5) 393,616.00 329,143.00 258,222.00 180,209.00 94,395.00 -


62 การคํานวณผลตางเพื่อปรับบัญชีลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อและบัญชีรายไดดอกเบี้ยรอการ รับรูใหเปนไปตามสัญญาใหม ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อเดิม ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อใหม ยอดปรับลูกหนี้ตามสัญญาเพิ่ม รายไดดอกเบีย้ รอการรับรูเดิม รายไดดอกเบีย้ รอการรับรูใหม ยอดปรับรายไดดอกเบีย้ รอการรับรูเพิ่ม

474,834.00 519,175.00 44,341.00 81,218.00 125,559.00 44,341.00

การบันทึกบัญชีการโอนสิทธิการเชาซื้อตามสัญญาเชาใหแกบุคคลอื่น 1 ม.ค. 25X3 เดบิต ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ 44,341.00 เครดิต รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู

ซึ่งจะไดตวั เลข ผลตางที่เทากัน

44,341.00

บันทึกเมื่อรับเงินคางวดแตละงวด และบันทึกตัดรายไดดอกเบี้ยรอการรับรูไปสูบัญชีดอกเบี้ยรับจะ รับรูตามสัญญาใหมไปจนหมดสัญญา (ตามตารางที่ 12) 31ธ.ค.25X3 เดบิต เงินสด/ธนาคาร 103,835.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ 103,835.00 เดบิต รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู 39,362.00 เครดิต ดอกเบี้ยรับ 39,362.00


63 การผิดสัญญาและการยึดสินคาคืน ในกรณีที่ผูเชาซื้อผิดนัดชําระไมชําระเงินสองงวดติดกันหรือกระทําผิดสัญญาในขอที่เปน สวนสําคัญ ตามกฎหมายระบุใหผูใหเชาซื้อซึ่งเปนเจาของทรัพยสินบอกเลิกสัญญา และมีสิทธิที่จะ ริบเงินที่ผูเชาซื้อชําระมาได ทั้งยังสามารถยึดทรัพยสินตามสัญญาเชาซื้อนั้นได การยกเลิกสัญญาและการยึดคืน ในกรณีที่มีการยกเลิกสัญญาเชาซื้อรถยนต ผูเชาซื้อมีหนาที่จะตองสงมอบรถยนตตาม สัญญาเชาซื้อคืนแกผูใหเชาซื้อ ผูใหเชาซื้อจะหยุดการรับรูรายไดดอกเบี้ยทันทีที่มีการบอกเลิก สัญญา และจะบันทึกบัญชีเปนทรัพยสินรอการขาย ซึ่งตีราคาดวยยอดลูกหนี้คงเหลือสุทธิ หรือ มูลคาสุทธิที่จะไดรับจากการขายสินทรัพย แลวแตอยางไรจะต่ํากวายอดลูกหนี้คงเหลือสุทธิ หมายถึง ยอดคงเหลือของบัญชีลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อหักบัญชีรายไดดอกเบี้ยรอการรับรูคงคาง มูลคาสุทธิที่จะไดรับจากการขายสินทรัพย จะเปนราคาที่เกิดจากการประเมินอาจจะไดมาจากการ ประเมิ น ราคาของคณะจั ด การประเมิ น ราคาทรั พ ย สิ น ของบริ ษั ท เที ย บกั บ ราคารถมื อ สองใน ทองตลาด หรือ อาจไดมาจากสถิติของราคาที่เคยขายในอดีต แลวแตนโยบายบริษัท กรณีไดรับคาสินไหมทดแทนจากการยึดคืน แบงไดดังนี้ 1. หากรถยนตตามสัญญาเชานั้นเกิดเสียหาย และผูใหเชาซื้อไดรับคาสินไหมทดแทนจาก ผูรับประกันภัย ผูเชาซื้อ หรือบุคคลอื่นแลวแตกรณี คาสินไหมประกันภัยทดแทนนี้ไมตองนํามาถือ เปนรายไดในทางบัญชี แตการบันทึกบัญชีจะทําโดยโอนยอดคงเหลือสุทธิของบัญชีลูกหนี้ตาม สัญญาเชาซื้ อหั ก บัญชี รายไดด อกเบี้ยรอการรับรูแ ละค าสิ นไหมทดแทนออกไปแสดงในบัญชี ทรัพยสินรอการขาย 2. หากรถยนตตามสัญญาเชานั้นเกิดเสียหาย และผูใหเชาซื้อไดรับคาสินไหมทดแทนจาก ผูรับประกันภัย ผูเชาซื้อ หรือบุคคลอื่นแลวแตกรณี ถาตองสงมอบเศษซากใหแกผูจายคาเสียหายคา สินไหมประกันภัยทดแทนนี้ไมตองนํามาถือเปนรายไดในทางบัญชี แตการบันทึกบัญชีจะทําโดย โอนยอดคงเหลือสุทธิของบัญชีลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อหักบัญชีรายไดดอกเบี้ยรอการรับรูและคา สินไหมทดแทนออก จะบันทึกเปนกําไรหรือขาดทุน ในงบกําไรขาดทุนทันที


64 การขายรถยึด ในกรณีที่มีการขายรถยึดปกติ (ทรัพยสินรอการขาย) ออกไป ถาหากราคาขายไดมากกวา ราคาตามบัญชีที่บันทึกไวในทรัพยสินรอการขาย ก็จะรับรูกําไรที่เกิดขึ้นจากการขาย แตในทาง ตรงกันขาม ถาราคาขายต่ํากวาราคาตามบัญชีที่บันทึกไวก็จะเกิดขาดทุนขึ้นซึ่งจะถือเปนคาใชจาย ในงบกําไรขาดทุนในกรณีที่มีการประมูลขายรถยึด (ทรัพยสินรอการขาย) ออกไป ถาหากราคา ประมูลขายไดมากกวาราคาตามบัญชีที่บันทึกไวในทรัพยสินรอการขาย จะคืนสวนตางใหกับผูเชา ซื้อ แตในทางตรงกันขาม ถาราคาประมูลขายต่ํากวาราคาตามบัญชีที่บันทึกไวก็จะเรียกเพิ่มจาก ผูเชาซื้อ ตัวอยางที่ 7 ขอมูลจากตัวอยางที่ 2 ของบริษัท สยามมอเตอรลิสซิ่ง จํากัด ผูเชาซื้อไดคางชําระ คาเชาซื้อ 3 งวดติดๆ กัน และบริษัท สยามมอเตอรลิสซิ่ง จํากัดไดมีหนังสือบอกกลาวใหผูเชาซื้อ ชําระเงินรายงวดที่คางชําระนั้นแลวแตไมมีการติดตอใดๆจากผูใหเชาซื้อ ทางบริษัทฯจึงทําการหยุด รับรูรายไดและทําการบอกเลิกสัญญาเชาซื้อ ยึดคืนรถยนตตามสัญญาเชาซื้อ ในวันที่ 1 ส.ค. 25X1 มี รายละเอียดดังนี้ ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อทั้งหมด 376,840.00 คางวดที่ชําระทั้งหมด 3 งวดๆ ละ 18,842.00 บาท 56,526.00 คงเหลือลูกหนี้ตามสัญญาเชา 320,314.00 รายไดดอกเบีย้ รอการรับรูตลอดสัญญา 36,840.00 โอนรับรูไปบัญชีดอกเบี้ยรับแลว 7 งวด 20,503.00 คงเหลือรายไดดอกเบีย้ รอการรับรู 16,337.00 เงินที่จะไดรับจากการขายจากการประเมินราคาของคณะจัดการประเมินราคา ทรัพยสินของบริษัทเทากับ 320,000 บาท กรณีที่ 1 ผูเชาซื้อไดสงมอบรถยนตตามสัญญาเชา และรถยนตอยูในสภาพปกติ ราคาที่จะ ไดรับจากการขายจากการประเมินราคาของคณะจัดการประเมินราคาทรัพยสินของบริษัทเทากับ 320,000 บาท


65 กรณีที่ 2 ผูเชาซื้อไดสงมอบรถยนตตามสัญญาเชา และไดรับคาสินไหมทดแทนจากบริษัท ประกันภัย เนื่องจากรถยนตอยูในสภาพไมปกติ เปนจํานวนเงิน 50,000.00 บาท ราคาที่จะไดรับจาก การขายจากการประเมินราคาของคณะจัดการประเมินราคาทรัพยสินของบริษัทเทากับ320,000 บาท กรณีที่ 3 ผูเชาซื้อไดสงมอบรถยนตตามสัญญาเชา และไดรับคาสินไหมทดแทนจากบริษัท ประกันภัย เนื่องจากรถยนตอยูในสภาพไมปกติ เปนจํานวนเงิน 300,000.00 บาท และตองสงมอบ ซากรถยนตใหกับบริษัทประกันภัย การบันทึกบัญชี กรณีบอกเลิกสัญญาและยึดคืนสินคา กรณีที่ 1 ยอดลูกหนี้คงเหลือสุทธิ ( 320,314.00 – 16,337.00) = 303,977.00 1 ส.ค.25X1 เดบิต รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู 16,337.00 ทรัพยสินรอการขาย 303,977.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ

320,314.00

กรณีที่ 2 ยอดลูกหนี้คงเหลือสุทธิ ( 320,314.00 – 16,337.00 – 50,000.00) = 253,977.00 1 ส.ค.25X1 เดบิต เงินสด / เงินฝากธนาคาร 50,000.00 รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู 16,337.00 ทรัพยสินรอการขาย 253,977.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ 320,314.00 กรณีที่ 3 1 ส.ค.25X1

เดบิต เงินสด / เงินฝากธนาคาร 300,000.00 รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู 16,337.00 ขาดทุนจากการยึดคืนสินคา 3,977.00 เครดิต ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ

320,314.00


66 ตัวอยางที่ 8 ขอมูลจากตัวอยางที่ 7 บริษัท สยามมอเตอรลิสซิ่ง จํากัด วันที่ 31 สิงหาคม บริษัท ไดขายรถยนตที่ยึดมา ไปในราคาเงินสด 350,000.00 บาท การบันทึกบัญชี การขายรถยึด กรณีที่ 1 ตามตัวอยางที่ 7 ซึ่งมีราคาตามบัญชีทรัพยสินรอการขายเทากับ 303,977.00 350,000.00 31 ส.ค.25X1 เดบิต เงินสด / เช็ค เครดิต กําไรจาการขายรถยึด 46,023.00 ทรัพยสินรอการขาย 303,977.00 กรณีที่ 2 ตามตัวอยางที่ 7 ซึ่งมีราคาตามบัญชีทรัพยสินรอการขายเทากับ 253,977.00 บาท 31 ส.ค.25X1 เดบิต เงินสด / เช็ค 350,000.00 เครดิต กําไรจาการขายรถยึด 96,023.00 ทรัพยสินรอการขาย 253,977.00 การบันทึกบัญชี การประมูลขายรถยึด กรณีที่ 1 ตามตัวอยางที่ 7 ซึ่งมีราคาตามบัญชีทรัพยสินรอการขายเทากับ 303,977.00 บาท 31 ส.ค.25X1 เดบิต เงินสด / เช็ค 350,000.00 เครดิต สวนตางจากการประมูลขาย 46,023.00 ทรัพยสินรอการขาย 303,977.00 กรณีที่ 2 ตามตัวอยางที่ 7 ซึ่งมีราคาตามบัญชีทรัพยสินรอการขายเทากับ 253,977.00 บาท 31 ส.ค.25X1 เดบิต เงินสด / เช็ค 350,000.00 เครดิต สวนตางจากการประมูลขาย 96,023.00 ทรัพยสินรอการขาย 253,977.00


67 การตีราคาสินคา สินคาที่ขายตามสัญญาเชาซื้อ โดยวิธีผอนชําระหลายๆ งวด เปนเวลานาน จะมีอัตราเสี่ยง คอนขางสูงตอการเก็บเงินไมได ผูใหเชาซื้อจะยังคงถือกรรมสิทธิ์ในสินคาอยู ตอเมื่อไดรับชําระเงิน ครบถวนตามสัญญาเชาซื้อแลว จึงจะโอนกรรมสิทธิ์ในสินคาไปใหแกผูเชาซื้อ ตามมาตรฐานการ บัญชีถือวาการขายเกิดขึ้นเมื่อทําสัญญาเชาซื้อมิใชเกิดขึ้นเมื่อโอนกรรมสิทธิ์ใหผูเชาซื้อ ดังนั้น ทางดานผูใหเชาซื้อจะตองบันทึกรายการขายทันทีเมื่อทําสัญญาเชาซื้อ และไมนับสินคาที่ใหเชาซื้อ รวมเปนสินคาคงเหลือ ถึงแมวากรรมสิทธิ์ถือครองยังเปนของผูใหเชาซื้อ สินคาคงเหลือของกิจการใหเชาซื้อรถยนต แบงไดดังนี้ 1. รถยนตใหมจะมีเฉพาะกิจการที่ผูใหเชาซื้อเปนผูแทนจําหนายซึ่งประกอบกิจการขาย รถยนตและใหเชาซื้อดวย การตีราคาสินคาคงเหลือจะใชราคาทุนหรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับแลวแต อยางใดจะต่ํากวา 2. ทรัพยสินรอการขาย (รถยึด) การตีราคาสินคาจะใชราคาของยอดลูกหนี้คงเหลือสุทธิ หรือมูลคาสุทธิที่จะไดรับจากการขายสินทรัพย แลวแตอยางใดจะต่ํากวา และตองมีการพิจารณาการ ดอยคาของทรัพยสินรอการขาย เมื่อมีขอบงชี้วา เกิดการดอยคา ยอดลูกหนี้คงเหลือสุทธิ หมายถึง ยอดคงเหลือของบัญชีลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อหักบัญชี รายไดดอกเบี้ยรอการรับรูคงคาง มูลคาสุทธิที่จะไดรับจากการขายสินทรัพย จะไดจากการประเมิน ราคาของคณะจัดการประเมินราคาทรัพยสินของบริษัทเทียบกับราคารถมือสองในทองตลาดและ สถิติของราคาที่เคยขายในอดีต


68 การแสดงรายการและการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน การบันทึกรายการใหเชาซื้อของกิจการเชาซื้อมีชื่อบัญชีที่เกี่ยวของดังแสดงใน ตารางที่13 และสามารถจัดทํางบการเงินซึ่งประกอบดวย งบแสดงฐานะทางการเงิน งบกําไรขาดทุน และหมาย เหตุประกอบงบการเงินดังนี้ 1. ผังบัญชีและรายงานลูกหนี้ 1.1 ผังบัญชีที่เกี่ยวของกับการใหเชาซื้อของกิจการเชาซื้อรถยนต ตารางที่ 13 แสดงผังบัญชีที่เกี่ยวของกับการใหเชาซื้อ รหัสบัญชี 10000 10100 10110 10111 10112 10120 10121 10122 10130 10131 10132 10133 10134 10140 10141 10142

ชื่อบัญชี สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและเงินฝากธนาคาร เงินสด เงินฝากธนาคาร ลูกหนี้การคาและตั๋วเงินรับ ลูกหนี้การคา ตั๋วเงินรับ ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ รายไดดอกเบี้ยรอการรับรู คานายหนารอตัดจาย คาเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ สินคาคงเหลือ รถยนตใหม ทรัพยสินรอการขาย


69 รหัสบัญชี 10143 10150 10151 20000 20100 20110 20111 20112 30000 30100 40000 40100 40101 40102 40103 40200 40201 40300 40301 40302 40303 50000 50100 50200 50210 50211 50212 50213

ชื่อบัญชี รถยนตใชแลว สินทรัพยหมุนเวียนอืน่ สวนตางจากการประมูล หนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน เจาหนีก้ ารคาและตั๋วเงินจาย ตั๋วเงินจาย เจาหนีก้ ารคา สวนของผูถือหุน ทุน รายได รายไดจากการขาย ขายสด ขายตามสัญญาเชาซื้อ สวนเกินรถยนตรับแลกเปลี่ยน รายไดดอกเบีย้ ดอกเบี้ยรับตามสัญญาเชาซื้อ รายไดอื่น รายไดคาปรับ รายไดคานายหนา กําไรจากการขายรถยึด ตนทุนและคาใชจาย ตนทุนขาย คาใชจาย คาใชจายดําเนินงาน คาใชจายขาย คาประกันภัย (ลูกคา) คานายหนา


70 รหัสบัญชี 50214 50215 50216 50220 50221

ชื่อบัญชี สวนลดจาย หนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากการยึดคืนสินคา คาใชจายบริหาร คาใชจายเบ็ดเตล็ด

1.2 รายงานลูกหนี้ เนื่องจากการบันทึกบัญชีในบัญชีแยกประเภทจะเปนยอดที่รวมลูกหนี้หลายสัญญา จะไมสามารถทราบยอดลูกหนี้คงเหลือแตละรายได ดังนั้นจึงควรจะมีรายงานลูกหนี้คงเหลือรายตัว แยกแตละสัญญา และรายงานสรุปเกี่ยวกับการรับรูดอกเบี้ยและยอดคงเหลือตางๆ ตามสัญญาเชา 2. การแสดงรายการในงบดุล ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ แสดงดวยยอดสุทธิของยอดลูกหนี้ตามบัญชี หัก ดวยรายได ดอกเบี้ยรอการรับรู คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และตนทุนเริ่มแรกรอตัดจายทรัพยสินรอการขาย (รถยนตที่ยึดคืนจากลูกหนี้เชาซื้อ) แสดงดวยราคาตามบัญชีเปรียบเทียบกับมูลคาที่คาดวาจะไดรับ 3. การแสดงรายการในงบกําไรขาดทุน การขายโดยใหเชาซื้อจะใชวิธีการบัญชีตามเกณฑคงคางซึ่งเปนวิธีที่ถือวากําไรขึ้นตน เกิดขึ้นในงวดที่มีการขายการวัดผลการดําเนินงานของกิจการใหเชาซื้อรถยนต จะตองคํานึงถึง แนวความคิดในเรื่องการจับคูของรายไดและคาใชจาย กลาวคือ คาใชจายที่นํามาเปรียบเทียบกับ รายไดในงวดใดๆ ควรจะเปนคาใชจายที่กอใหเกิดรายไดในงวดเดียวกัน 4. หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับกิจการใหเชาซื้อรถยนต ผูใหเชาตองเปดเผยขอมูลเพิ่มเติมจากการเปดเผย ขอมูลตามปกติ ดังนี้


71 4.1 นโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการรับรูรายไดจากสัญญาเชาซื้อ ตนทุนเริ่มแรก การตีราคาทรัพยสินรอการขาย และการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 4.2 การกระทบยอดระหวางผลรวมของเงินลงทุนขั้นตนตามสัญญาเชากับมูลคา ปจจุบันของจํานวนเงินขั้นต่ําที่ลูกหนี้ตองจายตามสัญญาเชาสําหรับระยะเวลาสามชวง คือ ระยะเวลาที่ไมเกินหนึ่งป ระยะเวลาที่เกินหนึ่งปแตไมเกินหาป และระยะเวลาที่เกินหาป 4.3 รายไดทางการเงินรอการรับรู


72 ตัวอยางที่ 9 แสดงรายละเอียด รายงานลูกหนี้รายตัว รายงานยอดคงเหลือ รายงานงบทดลอง และการแสดงรายการการเปดเผยขอมูลในงบการเงิน วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ของบริษัท กอกําเนิด จํากัด ดังนี้ รายละเอียดลูกหนี้รายตัว เลขที่สัญญา ยี่หอ เลขตัวรถ แบบ ราคาเงินสด ราคาเชาซื้อ อัตราดอกเบี้ยรอยละ/ป

PAP646461 โตโยตา AM45675795112 Camry 400,000.00 340,000.00 12

ชื่อลูกคา นายใจดี มากมาก ประเภท รถยนตนั่งสวนบุคคล เลขเครื่องยนต 29Z4455123 สี ขาว เงินดาวน 60,000.00 ดอกเบี้ยรอการรับรู 36,800.00 จํานวนงวด (เดือน) 20

รายละเอียดการรับรูดอกเบี้ยและเงินตน งวด

วันครบกําหนด

เงินคางวด

ชําระดอกเบีย้

ชําระเงินตน

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

31 ม.ค. 2551 28 ก.พ. 2551 31 มี.ค. 2551 30 เม.ย. 2551 31 พ.ค. 2551 30 มิ.ย. 2551 31 ก.ค. 2551 31 ส.ค.2551 30 ก.ย. 2551 31 ต.ค. 2551 30 พ.ย. 2551 31 ธ.ค. 2551

18,842.00 18,842.00 18,842.00 18,842.00 18,842.00 18,842.00 18,842.00 18,842.00 18,842.00 18,842.00 18,842.00 18,842.00

3,400.00 3,246.00 3,090.00 2,932.00 2,773.00 2,612.00 2,450.00 2,286.00 2,121.00 1,953.00 1,784.00 1,614.00

15,422.00 15,596.00 15,752.00 15,910.00 16,069.00 16,230.00 16,392.00 16,556.00 16,721.00 16,889.00 17,058.00 17,228.00

เงินตนคงเหลือ 340,000.00 324,558.00 308,962.00 293,209.00 277,299.00 261,230.00 245,001.00 228,609.00 212,053.00 195,331.00 178,443.00 161,385.00 44,157.00


73 งวด 13 14 15 16 17 18 19 20 รวม

วันครบกําหนด 31 ม.ค. 2552 28 ก.พ. 2552 31 มี.ค. 2552 30 เม.ย. 2552 31 พ.ค. 2552 30 มิ.ย. 2552 31 ก.ค. 2552 31 ส.ค. 2552

เงินคางวด 18,842.00 18,842.00 18,842.00 18,842.00 18,842.00 18,842.00 18,842.00 18,842.00 378,840.00

ชําระดอกเบีย้ 1,442.00 1,268.00 1,092.00 914.00 735.00 554.00 371.00 203.00 36,800.00

งวด

วันที่ชําระเงิน จํานวนเงิน

เลขที่ใบเสร็จ

1 2 3 4 5

31 ม.ค. 2551 28 ก.พ. 2551 31 มี.ค. 2551 30 เม.ย. 2551 31 พ.ค. 2551

25510131-001 25510228-500 25510331-100 25510430-055 25510531-020

ชําระเงินตน 17,400.00 17,574.00 17,750.00 17,928.00 18,107.00 18,288.00 18,471.00 18,639.00 340,000.00

เงินตนคงเหลือ 26,757.00 09,183.00 1,433.00 3,505.00 5,398.00 7,110.00 8,639.00 0

รายละเอียดการรับชําระหนี้

หมายเหตุ :

18,842.00 18,842.00 18,842.00 18,842.00 18,842.00

ยอดลูกหนี้ หมายเหตุ คงเหลือทั้งหมด 376,840.00 357,998.00 339,156.00 320,314.00 301,472.00 282,630.00 ชําระถึงงวดที่ 5

1. ลูกคาชําระหนี้ถึงงวดที่ 5 ไดหยุดรับรูดอกเบี้ยรับตั้งแตงวดที่ 10 2. มีการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เทากับ 135,350.00


74 รายละเอียดลูกหนี้รายตัว เลขที่สัญญา ยี่หอ เลขตัวรถ แบบ ราคาเงินสด ราคาเชาซื้อ อัตราดอกเบี้ยรอยละ/ป คานายหนารอตัดจาย

PAP646455 อีซูซุ AM1294532 SLX 700,000.00 600,000.00 10 60,000.00

ชื่อลูกคา นายสมชาติ ตระกูล ประเภท รถยนตบรรทุก เลขเครื่องยนต 29Z4455123 สี แดง เงินดาวน 100,000.00 ดอกเบี้ยรอการรับรู 191,390.00 จํานวนงวด (ป) 5

รายละเอียดการรับรูดอกเบี้ยและเงินตน งวด

วันครบ กําหนด

1 2 3 4 5

31 ธ.ค. 2551 31 ธ.ค. 2552 31 ธ.ค. 2553 31 ธ.ค. 2554 31 ธ.ค. 2555

เงินคางวด ดอกเบี้ยรับ ชําระเงินตน

158,278.00 158,278.00 158,278.00 158,278.00 158,278.00 791,390.00

60,000.00 50,172.00 39,362.00 27,470.00 14,386.00* 191,390.00

98,278.00 108,106.00 118,916.00 130,808.00 143,892.0 600,000.00

เงินตน คงเหลือ 600,000.00 501,722.00 393,616.00 274,700.00 143,892.00 -

คานายหนา ตัดจาย 18,600.00 15,600.00 12,600.00 8,400.00 4,800.00 60,000.00

รายละเอียดการรับชําระหนี้ งวด

วันที่ชําระเงิน

1

31 ม.ค. 2551

จํานวนเงิน

เลขที่ใบเสร็จ

ยอดลูกหนี้ หมายเหตุ คงเหลือทั้งหมด 791,390.00 158,278.00 25510131-009 633.112.00


75 รายงานการรับรูดอกเบี้ยและยอดคงเหลือตามสัญญา ประจําป 2551 ลูกหนี้ ลําดับ เลขที่สัญญา คงเหลือตาม รับรู ดอกเบี้ย คานายหนา คานายหนา สัญญาเชา ดอกเบี้ย รอรับรู ตัดจาย รอตัดจาย 1 PAP646461 282,630.00 24,910.00 11,930.00 2 PAP646455 633,112.00 60,000.00 131,390.00 18,600.00 41,400.00 3 4 5 รวม 915,742.00 84,910.00 143,320.00 18,600.00 41,400.00 บริษัท กอกําเนิด จํากัด งบทดลอง (บางสวน) สําหรับป สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2551 รหัสบัญชี 10111 10112 10121 10122 10131 10132 10133 10134 10141 10142 10143 10151 20111

ชื่อบัญชี เงินสด เงินฝากธนาคาร ลูกหนี้การคา ตั๋วเงินรับ ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ รายไดดอกเบีย้ รอการรับรู คานายหนารอตัดจาย คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ รถยนตใหม ทรัพยสินรอการขาย รถยนตใชแลว สวนตางจากการประมูล ตั๋วเงินจาย

เดบิต 500,000.00 1,000,000.00 700,000.00 600,000.00 915,742.00

เครดิต

143,320.00 41,400.00 135,350.00 1,000,000.00 400,000.00 200,000.00 20,000.00 500,000.00


76 รหัสบัญชี 20112 30100 40101 40102 40103 40201 40100 40301 40302 40303 50100 50221 50212 50213 50214 50215 50216

ชื่อบัญชี เจาหนีก้ ารคา ทุน ขายสด ขายตามสัญญาเชาซื้อ สวนเกินรถยนตรับแลกเปลี่ยน ดอกเบี้ยรับตามสัญญาเชาซื้อ รายไดจากการขาย รายไดคาปรับ รายไดคานายหนา กําไรจากการขายรถยึด ตนทุนขาย คาใชจายเบ็ดเตล็ด คาประกันภัย (ลูกคา) คานายหนา สวนลดจาย หนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากการยึดคืนสินคา รวม

เดบิต

เครดิต 400,000.00 2,000,000.00 1,300,000.00 600,000.00

10,000.00 102,572.00 690,000.00 500.00 7,000.00 10,000.00 490,000.00 50,000.00 40,000.00 18,600.00 500.00 1,000.00 1,500.00 5,988,742.00

5,988,742.00


77 บริษัท กอกําเนิด จํากัด งบแสดงฐานะทางการเงิน (บางสวน) ณ.วันที่ 31 ธันวาคม 2551 และ 2550 สินทรัพย หมายเหตุ สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและเงินฝากธนาคาร ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อที่ครบกําหนดชําระ ในหนึ่งป – สุทธิ 5 ลูกหนี้การคาและตั๋วเงินรับ สินคาคงเหลือ สวนตางจากการประมูล รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อที่ครบกําหนดชําระ เกินกวาหนึ่งป – สุทธิ 5 รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย หนี้สินและสวนของผูถือหุน หนี้สินหมุนเวียน เจาหนีก้ ารคาและตั๋วเงินจาย สวนของผูถือหุน ทุนเรือนหุน ทุนเรือนหุนจดทะเบียน 20,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท 2,000,000.00 บาท ทุนที่ออกและเรียกชําระเต็มมูลคาแลว 20,000 หุน หุนละ 100 บาท กําไร(ขาดทุน)สะสม รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

2551

หนวย : บาท 2550

1,500,000.00

xxx

259,056.00 1,300,000.00 1,600,000.00 20,000.00 4,679,056.00

xxx xxx xxx xxx xxx

419,416.00 419,416.00 5,098,472.00

xxx xxxx xxxx

900,000.00

xxxxx

2,000,000.00 2,198,472.00 5,098,472.00

xxxxx xxxxx xxxxx


78 บริษัท กอกําเนิด จํากัด งบกําไรขาดทุน (บางสวน) สําหรับป สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 25X1 และ 25X0 หมายเหตุ

2551

หนวย : บาท 2550

690,000.00 102,572.00 10,000.00 7,500.00 810,072.00

xxxx xxxx xxxx xxxx xxxx

490,000.00 1,500.00 50,000.00 59,100.00 1,000.00 601,600 xxx xx xxx

xxxx xxxx xxxx xxxx xxxx xxxx xxx xx xxx

รายได รายไดจากการขาย รายไดดอกเบีย้ ตามสัญญาเชาซื้อที่รับรู กําไรจากการยึดคืนสินคา รายไดอื่น รวมรายได คาใชจาย ตนทุนขาย ขาดทุนจากการยึดคืนสินคา คาใชจายดําเนินงาน คาใชจายในการขาย หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ รวมคาใชจาย กําไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินได ภาษีเงินได กําไร(ขาดทุน)

บริษัท กอกําเนิด จํากัด หมายเหตุประกอบงบการเงิน (บางสวน) สําหรับปสิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2551 1. ............... 2. ..............


79 3. การรับรูรายไดและคาใชจา ย 3.1 การรับรูรายไดจากสัญญาเชาซื้อ บริษัทฯ รับรูรายไดจากสัญญาเชาซื้อ เปนรายไดดอกเบี้ยรอการรับรูและรับรูเปนรายได ตามจํานวนงวดการผอนชําระ ตามวิธีตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง ตามระยะเวลาของสัญญาเชาซื้อ แตละสัญญา การบันทึกรายไดจากการใหเชาซื้อจะหยุดรับรูเมื่อผูเชาคางชําระคางวดเกิน 4 งวดขึ้นไป โดยพิจารณาจากขอมูลในอดีต และเปนไปตามแนวทางของสมาคมธุรกิจเชาซื้อไทย 3.2 ตนทุนทางตรงเริ่มแรก บริษัทฯ รับรูคานายหนาซึ่งเปนตนทุนทางตรงเริ่มแรกที่เกิดขึ้นพรอมกับสัญญาเชาซื้อ อัน เนื่องมาจากการตอรองและการทําใหไดมาซึ่งขอตกลงเกี่ยวกับสัญญาเปนคานายหนารอตัดจาย และ ทยอยตัดจําหนายเปนคาใชจายตลอดระยะเวลาของสัญญาเชาซื้อตามสัดสวนการรับรูรายไดดอกเบีย้ รับในแตละงวดของสัญญา ในกรณีที่สัญญาเชาซื้อสิ้นสุดลงกอนวันครบกําหนดตามสัญญา คานายหนารอตัดจายคงเหลือจะถูกตัดเปนคาใชจายทั้งจํานวน สวนคาใชจาย ที่เกิดขึ้นพรอมกับ สัญญาเชาซื้อมิไดเกิดขึ้นโดยตรงจากการตอรองและการทําใหไดมาซึ่งขอตกลงเกี่ยวกับสัญญา บันทึกเปนคาใชจายสําหรับป

3.3 คาเผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ บริษัทฯ ตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญในอัตราในอัตราที่เพิ่มขึ้นตามระยะเวลาคางชําระของ ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อคงเหลือ หักดวยรายไดดอกเบี้ยรอการรับรูและหลักประกัน(รถยนต) หลักประกันจะคํานวณมูลคาจากประมาณรอยละ 25 – 85 ของราคาเงินสดของรถยนต ซึ่งเปนไป ตามแนวปฏิบัติของธุรกิจสมาคมเชาซื้อไทย


80 โดยมีหลักเกณฑอัตราการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญดังนี้

ลูกหนี้ปกติคาชําระไมเกิน 1 เดือน ลูกหนี้คาชําระเกินกวา 1 เดือน ลูกหนี้คางชําระเกินกวา 3 เดือน ลูกหนี้คางชําระเกินกวา 6 เดือน ลูกหนี้คางชําระเกินกวา 12 เดือนขึ้นไป

รอยละ 1 2 20 50 100

4. ............... 5. ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ – สุทธิ ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ – สุทธิ สิ้นสุด วันที่ 31 ธันวาคม 2551 ระยะเวลาที่ถึงกําหนดชําระ ภายใน เกินกวา 1 ป รวมทั้งสิ้น 1 ป ป 1 ถึง เกินกวา รวม 5 ป 5 ป บาท บาท บาท บาท บาท ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ 440,908.00 474,834.00 0.00 474,834.00 915,742.00 หัก รายไดดอกเบี้ยรอการรับรู 62,102.00 81,218.00 0.00 81,218.00 143,320.00 378,806.00 393,616.00 0.00 393,616.00 772,422.00 บวก คานายหนารอตัดจาย 15,600.00 25,800.00 0.00 25,800.00 41,400.00 394,406.00 419,416.00 0.00 419,416.00 813,822.00 135,350.00 0.00 0.00 0.00 135,350.00 หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้ตามสัญญาเชาซื้อ - สุทธิ 259,056.00 419,416.00 0.00 419,416.00 678,472.00


81 รายละเอียดประกอบงบการเงิน สินคาคงเหลือ รถยนตใหม ทรัพยสินรอการขาย รถยนตใชแลว รวม

1,500,000.00 500,000.00 300,000.00 2,300,000.00

รายไดจากการขาย ขายสด ขายตามสัญญาเชาซื้อ หัก สวนเกินรถยนตรับแลกเปลี่ยน รวม

100,000.00 600,000.00 10,000.00 690,000.00

รายไดอื่น รายไดคาปรับ รายไดคานายหนา รวม

500.00 7,000.00 7,500.00

คาประกันภัย (ลูกคา) คานายหนา สวนลดจาย รวม

40,000.00 18,600.00 500.00 59,100.00

คาใชจายในการขาย


82 5. การปฏิบัติในชวงเปลี่ยนแปลง มาตรฐานการบัญชีฉบับนี้กําหนดใหกิจการรับรูรายไดดอกเบี้ยดวยวิธีอัตราดอกเบี้ย ที่แทจริง (ยอดเงินตนคงคางคูณดวยอัตราดอกเบี้ยตามนัยของสัญญาเชา) โดยใชวิธีปรับยอนหลังแต โดยสวนใหญแลวกิจการเชาซื้อรถยนตที่มี สัญญาเชาซื้อคงเหลือยกมาที่เปนสัญญาเชาซื้อที่มี ระยะเวลาสั้น (3-4 ป) และใชวิธีผลรวมตัวเลขในการคํานวณจะใชตัวเลขเดิมในการคํานวณดอกเบี้ย รับตอไป แตถาสัญญาเชาซื้อคงเหลือยกมาที่เปนสัญญาเชาซื้อที่มีระยะเวลาเกินกวา 4 ป จะใชมูลคา ตามบัญชีคงเหลือ ณ วันบังคับใชเปนยอดเริ่มตนในการตัดบัญชีตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง ตัวอยางที่ 10 การใชมูลคาตามบัญชีคงเหลือ ณ วันบังคับใชเปนยอดเริ่มตนในการตัดบัญชีตาม วิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริง ตารางที่ 14 แสดงการรับรูดอกเบี้ยตามผลรวมตัวเลข ชองที่ 1 วันสิ้นงวด

ชองที่ 2 เงินงวด

งวดที่ 3 ชําระดอกเบีย้

ชองที่ 4 ชําระเงินตน

1 มกราคม 2545 31 ธันวาคม 2545 31 ธันวาคม 2546 31 ธันวาคม 2547 31 ธันวาคม 2548 31 ธันวาคม 2549 31 ธันวาคม 2550 31 ธันวาคม 2551 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2554

270,000.00 93,890.00 93,890.00 93,890.00 93,890.00 93,890.00 93,890.00 93,890.00 93,890.00 93,890.00 93,890.00 1,208,900.00

50,400.00 46,921.00 43,163.00 39,105.00 34,722.00 29,989.00 24,877.00 19,356.00 13,393.00 6,974.00 308,900.00

270,000.00 43,490.00 46,969.00 50,727.00 54,785.00 59,168.00 63,901.00 69,013.00 74,534.00 80,467.00 86,916.00 900,000.00

งวดที่ 5 เงินตนที่เหลือ 900,000.00 630,000.00 586,510.00 539,541.00 488,814.00 434,029.00 374,862.00 310,960.00 241,947.00 167,413.00 86,916.00 0


83 ตารางที่ 15 แสดงการตัดบัญชีตามวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริงโดยใชมูลคาตามบัญชีคงเหลือ ณ วันบังคับใชเปนยอดเริ่มตน ชองที่ 1 วันครบกําหนด ยอดยกมา 1 ม.ค.2551 31 ธันวาคม 2551 31 ธันวาคม 2552 31 ธันวาคม 2553 31 ธันวาคม 2554

ชองที่ 2 เงินคางวด

ชองที่ 3 ดอกเบี้ย

ชองที่ 4 ชองที่ 5 ชองที่ 6 ดอกเบี้ยรอรับรู ชําระเงินตน เงินตนคงเหลือ 64,600.00

93,890.00 31,096.00 93,890.00 24,817.00 93,890.00 8,687.00 93,890.00 -

33,504.00 8,687.00 -

310,960.00 62,794.00 69,073.00 85,203.00 93,890.00

248,166.00 179,093.00 93,890.00 -


บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา และขอเสนอแนะ การศึกษาคนควาเรื่อง แนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับกิจการเชาซื้อรถยนต ตามมาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาแนวปฏิบัติทางการ บัญชีเกี่ยวกับกิจการเชาซื้อรถยนตตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญา เชา โดยการศึกษาครั้งนี้ไดทําการศึกษาคนควาแนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับ การรับรูรายได และ คาใชจาย การตีราคาสินคา การจัดทํารายงานงบการเงิน และการเปดเผยขอมูลในงบการเงินจาก มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา สรุปผลการศึกษา การศึกษาคนควาเรื่อง แนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับกิจการเชาซื้อรถยนต ตามมาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง สัญญาเชา สามารถสรุปผลการศึกษา ไดดังนี้ สัญญาเชาซื้อ คือ เจาของเอาทรัพยสินออกใหเชา และใหคํามั่นวาจะขายทรัพยสินนั้นหรือ วาจะใหทรัพยสินนั้นตกเปนสิทธิแกผูเชา โดยเงื่อนไขที่ผูเชาไดใชเงินเปนจํานวนเทานั้นเทานี้คราว ลักษณะการดําเนินงานของธุรกิจเชาซื้อ เมื่อมีการตกลงเชาซื้อทรัพยสิน จะมีการเรียกเก็บ เงินจากลูกคา เรียกวา เงินดาวน และชําระเงินเปนงวด ๆ ละเดือน โดยการคิดดอกเบี้ยนั้น จะคิดจาก จํานวนเงินที่เหลือของราคาสินคาที่ไดหักเงินดาวนออกไปแลวจากนั้นจะนําไปคิดอัตราดอกเบี้ย ตามที่ตกลงกันไว โดยมีสูตรสําเร็จการคิดดอกเบี้ย คือ ดอกเบี้ยรับ = เงินตน ൈ อัตราดอกเบี้ย ൈ ระยะเวลา โดยอัตราดอกเบี้ยที่บริษัทใหเชาซื้อคิดขึ้นอยูกับจํานวนงวดที่ขอผอน และอัตราดอกเบี้ย ในทองตลาด การคํานวณดอกเบี้ยรับจะใชตารางเงินรายป (Annuity) ในการคํานวณจํานวนเงินงวด ที่ตองชําระในแตละงวด และหากชําระคางวดเลยกําหนด ลูกคาผูเชาซื้อจะตองเสียคาปรับที่ชําระ ลาชา การขอปดบัญชีกอนกําหนด บริษัทผูใหเชาซื้อจะตองใหสวนลดแกผูเชาซื้อในอัตราไมนอย กวารอยละ 50 ของดอกเบี้ยที่ยังไมถึงกําหนดชําระ โดยใหคํานวณตามแถลงการณมาตรฐานการ บัญชี การโอนสิทธิใหกับบุคคลอื่นโดยปกติบริษัทที่ใหเชาซื้อจะโอนสิทธิเปลี่ยนชื่อลูกคาผูเชาซื้อ


85

เทานั้น และตองทําสัญญาใหม ซึ่งจํานวนงวดที่เหลือและจํานวนเงินคางวดยังคงเดิมไมเปลี่ยนแปลง บริษัทจะคิดคาธรรมเนียมการโอนสิทธิ ซึ่งยังไมมีอัตรากําหนดไวแนนอน และผูจายคาธรรมเนียมก็ แลวแตลูกคารายเดิมกับรายใหมตกลงกันเอง และบริษัทผูใหเชาซื้อจะทําสัญญาโอนสิทธิสัญญาเชา ซื้อดวย กรณียึดรถ ในกรณีที่ลูกคาผูเชาซื้อไมชําระคางวด และผูใหเชาซื้อเรียกทรัพยสินคืน ผูใหเชา ซื้อจะตองบันทึกบัญชีโดยโอนยอดคงเหลือสุทธิของบัญชีลูกหนี้เชาซื้อ โดยหักดอกผลเชาซื้อรอ การตัดบัญชีสําหรับผูเชาซื้อรายนั้นไปแสดงในบัญชีสินทรัพยรอการขาย กรณีขายรถยึด กรณียึดรถ และมีลูกคารายใหมสนใจที่จะซื้อ โดยเชาซื้อ ก็ถือวาเปนการทําสัญญาขายใหม สวนในกรณีบริษัท การเงินเปนผูใหเชาซื้อ กรณีขายรถยึด กรณีทําการยึดรถ และทําการขายรถที่ยึดมา ผูที่ใหเชาซื้อที่ เปนบริษัทการเงินตองเปนการขายโดยวิธีประมูลขายใหบุคคลภายนอก ประเด็นปญหา 1. การจัดทําบัญชีของธุรกิจเชาซื้อ มีขั้นตอนที่ซับซอน โดยเฉพาะในการคํานวณรายได ดอกเบี้ยรอการรับรู การรับรูดอกเบี้ยตลอดสัญญา 2. การรับตีแลกรถยนตใชแลว (รถยนตเกา) ถากิจการรับแลกเปลี่ยนรถยนตไวเอง อาจจะ กอใหเกิดปญหายุงยากตามมา เชน คาใชจายในการซอมแซม คาบํารุงรักษา และเนื่องจากรถยนตใช แลวไมเปนที่ตองการของตลาดอาจกอใหเกิดปญหาทําใหมียอดสินคาคงเหลือสูงไมมีการหมุนเวียน ขอเสนอแนะ จากการศึกษาครั้งนี้ ผูศึกษาขอเสนอแนะขอคิดเห็นเพิ่มเติมเพื่อใชเปนแนวทางในการ ปฏิบัติทางการบัญชีของกิจการเชาซื้อรถยนต ดังนี้ 1. การจัดทําบัญชีของธุรกิจเชาซื้อ มีขั้นตอนที่ซับซอน โดยเฉพาะในการคํานวณรายได ดอกเบี้ยรอการรับรู การรับรูดอกเบี้ยตลอดสัญญา ดังนั้นควรจะนําระบบสารสนเทศทางการบัญชีมา ใช เพื่อชวยในการปฏิบัติงานซึ่งจะทําใหไดขอมูลที่ถูกตองและปองกันขอผิดพลาดของขอมูล ทางการบัญชี


86

2. การรับตีแลกรถยนตใชแลว (รถยนตเกา) ถากิจการรับแลกเปลี่ยนรถยนตไวเอง อาจจะ กอใหเกิดปญหายุงยากตามมา เชน คาใชจายในการซอมแซม คาบํารุงรักษา และเนื่องจากรถยนตใช แลวไมเปนที่ตองการของตลาดอาจกอใหเกิดปญหาทําใหมียอดสินคาคงเหลือสูงไมมีการหมุนเวียน ดังนั้นเพื่อขจัดปญหาดังกลาว ควรจะใหพอคารถมือสองเปนผูรับซื้อแทน


บรรณานุกรม กนกอร วาฤทธิ์. 2551. ปัจจัยที่กาหนดหนี้ไม่ก่อให้เกิดรายได้ของธุรกิจเช่าซื้อรถยนต์ของธนาคาร พาณิชย์ แห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าอิสระเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. กฤษณะ แสนวาสน์. 2551. ความพึงพอใจของผู้ประกอบการค้ารถยนต์มอื สองต่อการใช้บริการ ด้านสินเชื่อเช่าซื้อรถยนต์ของธนาคารธนชาต จากัด (มหาชน) ในอาเภอเมือง จังหวัด เชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการตลาด, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ขวัญสกุล เต็งอานวย. 2553. การบัญชีขั้นสูง 1. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร: เสมาธรรม. ฐิติพร ฐิติจาเริญพร. 2545. แนวปฏิบัติของการบัญชีและการรับรู้รายได้ของกิจการลิสซิ่งในเขต อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระบัญชีมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เนาวรัตน์ สังคมกาแหง. 2541. เช่าซื้อ. วารสารศูนย์การศึกษาต่อเนื่อง. ปีที่ 6 (ฉบับที่ 1): หน้า 35. ยุพดี ศิริวรรณ. 2553. การบัญชีภาษีอากร (ปรับปรุงใหม่ 2553). นนทบุรี: ห้างหุ้นส่วนจากัด จาปาทอง พริ้นติ้ง. เรือนจิตร ทองดี. 2551. แนวปฏิบัติทางการบัญชีเกี่ยวกับกิจการเช่าซื้อรถยนต์ตามมาตรฐาน การบัญชีฉบับที่ 29 (ปรับปรุง 2550). การค้นคว้าอิสระบัญชีมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วชิราภรณ์ ขันแก้วผาบ. 2546. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผู้ประกอบธุรกิจค้ารถยนต์มือสองในการ เลือกใช้บริการสินเชื่อเพื่อการเช่าซื้อของบริษัทลิสซิ่ง ในอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ . การค้นคว้าแบบอิสระบริหารธุรกิจบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วรลักษณ์ วรรณโล. 2544. การศึกษาเปรียบเทียบมาตรฐานการบัญชีและกฎหมายภาษีอากร เกี่ยวกับกิจการเช่าซื้อรถยนต์. การค้นคว้าแบบอิสระบัญชีมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. 2552. มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 17 (ปรับปรุง 2552) เรื่องสัญญาเช่า. กรุงเทพฯ: บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง จากัด. สมาคมเช่าซื้อรถยนต์ไทย. 2547. การหยุดรับรู้รายได้และการกันเงินสารอง.


87

สุธาสินี พรหมบุตร. 2549. ปัจจัยที่มีผลต่อความเสี่ยงด้านสินเชื่อของธุรกิจเช่าซื้อรถยนต์. สารนิพนธ์เศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยรามคาแหง. สมเดช โรจน์คุรีเสถียร. 2539. การบัญชีธุรกิจลิสซิ่ง เช่าซื้อและผ่อนชาระ. กรุงเทพฯ: บริษัท ดีไลท์ จากัด



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.