17TAXMA4KU68Tax Planning

Page 1

การวางแผนภาษี อากร โดย นายคุณากร นางสาวณัฐพร นางสาวดวงกมล นางสาวสุพชิ ญา นางสาวอังศุมาริน

สุสุขคล เจริญเสรีชยั ยุคเจริญทรัพย์ เจริญศุภผล คชลักษณ์

ปัญหาพิ เศษนี เป็ นส่วนหนึ งของการศึกษาตามหลักสูตร บริ หารธุรกิ จบัณฑิ ต สาขาวิ ชาการบัญชีบริ หาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

พ.ศ. 2554


ปญั หาพิเศษ ของ นายคุณากร นางสาวณัฐพร นางสาวดวงกมล นางสาวสุพชิ ญา นางสาวอังศุมาริน

สุสขุ คล เจริญเสรีชยั ยุคเจริญทรัพย์ เจริญศุภผล คชลักษณ์

เรือ่ ง การวางแผนภาษีอากร

ได้รบั การตรวจสอบและอนุมตั ิ ให้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริหาร เมือ่ วันที่ กุมภาพันธ์ 2555 อาจารย์ทป่ี รึกษาปญั หาพิเศษ

อาจารย์ผปู้ ระสานงานรายวิชา

_____ (อาจารย์ประไพพิศ สวัสดิ ์รัมย์, บช.ม.) ___ (ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์, บธ.ม.)


การวางแผนภาษีอากร Tax Planning

โดย นายคุณากร นางสาวณัฐพร นางสาวดวงกมล นางสาวสุพชิ ญา นางสาวอังศุมาริน

สุสขุ คล เจริญเสรีชยั ยุคเจริญทรัพย์ เจริญศุภผล คชลักษณ์

51205441 51205615 51205649 51206225 51206308

ปญั หาพิเศษฉบับนี้เป็ นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2554


[1] คุณากร สุสขุ คล และคณะ 2554: การวางแผนภาษีอากร ปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริหาร อาจารย์ทป่ี รึกษาวิชาปญั หาพิเศษ: อาจารย์ประไพพิศ สวัสดิ ์รัมย์, บธ.บ, บช.ม 161 หน้า

การศึกษาครัง้ นี้มจี ุดประสงค์เพื่อซึ่งมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ผูท้ ่มี หี น้าที่เสียภาษีอากรได้ ทราบถึงการวางแผนภาษีทม่ี ปี ระสิทธิภาพต่อลักษณะของภาษีต่างๆ และวิเคราะห์เงื่อนไขทาง ภาษีทส่ี ามารถนํ ามาใช้ในการวางแผนภาษีได้ โดยในระเบียบวิธวี จิ ยั เชิงการเปรียบเทียบ เพื่อ แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนระหว่างการวางแผนภาษีและการไม่ได้วางแผนภาษี มุง่ เน้นการศึกษา ในภาคทฤษฎี และเงือ่ นไขต่างๆทีป่ รับใช้ในปจั จุบนั สรุปผลอย่างละเอียด การวางแผนภาษีอากรเป็ นการบริหารจัดการภาระภาษีทเ่ี กิดขึน้ เพื่อให้เสียภาษีน้อยลง หรืออาจไม่เสียภาษีเลย รวมถึงการใช้สทิ ธิประโยชน์ของผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษี โดยวิธกี ารทีถ่ ูกต้อง ตามหลักของกฎหมาย ครบถ้วนและประหยัด เพื่อประโยชน์ ต่อตัวของผูม้ หี น้ าที่เสียภาษีเอง โดยทําการศึกษาการวางแผนภาษี ประกอบไปด้วยการวางแผนภาษีบุคคลธรรมดา ภาษีนิติ บุคคล ภาษีธุรกิจเฉพาะ และภาษีมลู ค่าเพิม่ สําหรับการวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา มีวธิ กี ารวางแผน คือ การเลือกคํานวณ ค่าใช้จ่ายแบบเหมา หรือตามความจําเป็ นและตามสมควร การแยกหน่ วยภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดา สิทธิในการยื่นชําระภาษีของสามีภริยา การลดหย่อนภาษี และการเลือกเสียภาษีใน อัตราตํ่า การวางแผนภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล จําแนกตามเงือ่ นไข ได้แก่ รายได้เงินปนั ผล ค่าเสื่อม ราคาจากการเช่าซื้อ ค่าสนับสนุ นการศึก ษา ค่าเบี้ยประกันชีวิต ประกันสุขภาพ รายจ่ายที่ เกี่ยวข้องกับคนพิการ รายจ่ายที่เกี่ยวกับงานแสดงสินค้า รายจ่ายที่เกี่ยวข้องกับการจัดอบรม สัมมนา ขาดทุนสะสมย้อนหลังไม่เกิน 5 ปี การประมาณการรายได้ให้เหมาะสม และพระราช กฤษฎีกา พ.ศ.2554(ฉบับที่ 530) การวางแผนภาษีธุรกิจเฉพาะ จัดทําได้โดย ข้อยกเว้นในการ ขายอสังหาริมทรัพย์ และข้อยกเว้นในการกู้ยมื เงินระหว่างบริษัทในเครือเดียวกัน และการ วางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ คือ การจดทะเบียนภาษี การหลีกเลี่ยงภาษีซ้อื ต้องห้าม และการขาย สินค้าที่มกี ารส่งเสริมการขาย ในการวางแผนภาษีอากรควรใช้วธิ ที ่เี หมาะสมกับการประกอบ ธุรกิจ อาจใช้วธิ เี ดียวหรือหลายวิธผี สมผสานกัน จะทําให้ชว่ ยลดภาระทางภาษีให้กบั ธุรกิจได้


[2] กิ ตติ กรรมประกาศ ป ญั หาพิเศษเล่ มนี้ ได้มาจากการศึกษาข้อมูลและสืบค้นด้วยต้นเอง โดยได้คําแนะนํ าจาก อาจารย์หลายท่าน แต่เนื่องจากข้อมูลในหัวข้อทีศ่ กึ ษาหายาก ในหลายครัง้ อาจจะทําให้เกิดความท้อแท้ เมื่อเกิดอุปสรรค แต่ก็ผ่านสิง่ เหล่านัน้ มาด้วยดี ปญั หาพิเศษนี้ คงไม่อาจสําเร็จได้ หากไม่มผี ู้ท่คี อย ช่วยเหลือ และเป็ นกําลังใจเสมอมา ขอขอบคุณ อาจารย์ประไพพิศ สวัสดิ ์รัมย์ ที่ให้ความรูต้ ่างๆ และแหล่งสืบค้นข้อมูล แก่คณะ ผูจ้ ดั ทํา ทําให้คณะผูจ้ ดั ทําสามารถนําความรูท้ ไ่ี ด้มาวิเคราะห์ และเขียนเป็ นปญั หาพิเศษเล่มนี้ได้ ขอขอบคุณ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์ อาจารย์ประจําสาขาการบัญชีบริหารทีไ่ ด้ ่ ล่วงไปได้ ให้คําปรึกษา ข้อชี้แนะเพิม่ เติม และคอยให้ความช่วยเหลือในหลายสิง่ หลายอย่างจนกระทังลุ ด้วยดี สุดท้ายนี้ ขอขอบคุณเพื่อนๆ สมาชิกในกลุ่มทีช่ ่วยเป็ นทีป่ รึกษา และให้การสนับสนุ นในเรื่อง ต่างๆ และคอยเป็ นกําลังใจให้กนั และกันเสมอมา ซึง่ ทําให้การจัดทําปญั หาพิเศษเล่มนี้สาํ เร็จ คุณค่าและ ประโยชน์ อันพึงมีจากปญั หาพิเศษเล่มนี้ขอมอบแด่ผมู้ พี ระคุณทุกท่าน

คณะผูจ้ ดั ทํา 28 กุมภาพันธ์ 2555


[3]

สารบัญ หน้ า บทคัดย่อ กิ ตติ กรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง บทที่ 1 บทนํา ั ทีม่ าและความสําคัญของปญหา วัตถุประสงค์ของการศึกษา ประโยชน์ทไ่ี ด้จากการศึกษา ขอบเขตการศึกษา นิยามศัพท์ บทที่ 2 แนวคิ ดทฤษฎีและงานวิ จยั ที่เกี่ยวข้อง แนวคิดทฤษฎีเกีย่ วกับภาษีอากร ความหมายของภาษีอากร โครงสร้างของภาษีอากร วัตถุประสงค์ในการจัดเก็บภาษี ประเภทของภาษี ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา การคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การยืน่ แบบแสดงรายการเกีย่ วกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การคํานวณภาษีและอัตราภาษี ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดาหัก ณ ทีจ่ า่ ย หน้าทีข่ องผูห้ กั ภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ า่ ย ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดาหัก ณ ทีจ่ า่ ย

[1] [2] [3] [8] 1 3 3 4 4

6 8 11 12 16 27 29 29 31 32


[4]

สารบัญ (ต่อ) หน้ า แบบแสดงรายการทีใ่ ช้ ความรับผิดของผูม้ หี น้าทีห่ กั ภาษี ณ ทีจ่ า่ ย ภาษีเงินได้นิตบิ คุ คล นิตบิ คุ คลทีม่ หี น้าทีเ่ สียภาษีเงินได้ ฐานภาษีเงินได้นติ บิ ุคคล เกณฑ์การคํานวณกําไรสุทธิเพือ่ เสียภาษีเงินได้นิตบิ คุ คล เงือ่ นไขเกีย่ วกับรายจ่ายในการคํานวณกําไรสุทธิ ภาษีมลู ค่าเพิม่ ความหมายของภาษีมลู ค่าเพิม่ ลักษณะของภาษีมลู ค่าเพิม่ ผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีมลู ค่าเพิม่ กิจการทีใ่ ห้เสียภาษีมลู ค่าเพิม่ ผูท้ ไ่ี ด้รบั ยกเว้นภาษีมลู ค่าเพิม่ หน้าทีข่ องผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีมลู ค่าเพิม่ เอกสารและรายงานทีต่ อ้ งจัดทําในระบบภาษีมลู ค่าเพิม่ ภาษีธุรกิจเฉพาะ ความหมายของภาษีธุรกิจเฉพาะ ลักษณะของภาษีธุรกิจเฉพาะ ผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีธุรกิจเฉพาะ หน้าทีข่ องผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีธุรกิจเฉพาะ กิจกรรมเฉพาะอย่างทีใ่ ห้เสียภาษีมลู ค่าเพิม่ กิจการทีไ่ ด้รบั การยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ ฐานภาษีและอัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ

33 34 36 36 37 38 39 39 40 40 43 47 49 52 52 53 57 58 59 64


[5]

สารบัญ (ต่อ) หน้ า การคํานวณภาษีธุรกิจเฉพาะ แบบยืน่ ทีเ่ กีย่ วกับภาษีธุรกิจเฉพาะ แนวคิดและทฤษฏีเกีย่ วกับการวางแผนภาษีอากร การวางแผนภาษีอากร วัตถุประสงค์ของการวางแผนภาษีอากร การวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การวางแผนกระจายภาษี การวางแผนเกีย่ วกับประโยชน์เพิม่ พิเศษ กลยุทธ์ในการวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การวางแผนภาษีเงินได้นิตบิ คุ คล กลยุทธ์ในการวางแผนภาษีเงินได้นิตบิ คุ คล การวางแผนภาษีมลู ค่าเพิม่ วัตถุประสงค์ในการวางแผนภาษีมลู ค่าเพิม่ ความรูก้ อ่ นการวางแผนภาษีมลู ค่าเพิม่ การวางแผนภาษีมลู ค่าเพิม่ ้ มลู ค่าเพิม่ ลําดับขันตอนในการวางแผนภาษี การวางแผนภาษีหกั ณ ทีจ่ า่ ย ขัน้ ตอนในการวางแผนภาษีหกั ณ ทีจ่ า่ ย บทที่ 3 บทวิ เคราะห์ การวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การเลือกคํานวณค่าใช้จา่ ยแบบเหมา หรือ ตามความจําเป็ นและตามสมควร

66 66 67 70 73 77 78 82 86 98 102 103 105 105 105 109 112 113


[6]

สารบัญ (ต่อ) หน้ า การแยกหน่วยภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา สิทธิในการยืน่ ชําระภาษีของสามีภริยา การลดหย่อนภาษี การเลือกเสียภาษีในอัตราตํ่าสําหรับเงินได้บางประเภท การวางแผนภาษีเงินได้นิตบิ คุ คล ั รายได้เงินปนผล ค่าเสือ่ มราคาจากการเช่าซือ้ ค่าสนับสนุนการศึกษา ค่าเบีย้ ประกันชีวติ ประกันสุขภาพ รายจ่ายทีเ่ กีย่ วข้องกับคนพิการ รายจ่ายทีเ่ กีย่ วกับงานแสดงสินค้า ออกร้าน นิทรรศการ รายจ่ายทีเ่ กีย่ วกับการจัดการอบรมสัมมนาภายในประเทศให้แก่ลกู ค้า ขาดทุนสะสมย้อนหลัง ไม่เกิน 5 ปี การประมาณการรายได้ให้เหมาะสม พระราชกฤษฏีกา พ.ศ. 2554 (ฉบับที่ 530) การวางแผนภาษีธุรกิจเฉพาะ ข้อยกเว้นในการขายอสังหาริมทรัพย์ ข้อยกเว้นในการกูย้ มื เงินระหว่างบริษทั ในเครือเดียวกัน การวางแผนภาษีมลู ค่าเพิม่ การจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ การหลีกเลีย่ งภาษีซอ้ื ต้องห้าม การขายสินค้าทีม่ กี ารส่งเสริมการขาย

115 117 122 128 131 132 136 137 139 140 141 142 143 144 145 147 147 149 152 152 153 155


[7]

สารบัญ (ต่อ) หน้ า บทที่ 4 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม

157 160 161


[8]

สารบัญตาราง ตารางที่

หน้า

2-1

อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

29

2-2

ขัน้ ตอนการคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

30


บทที่ 1 บทนํา

ที่มาและความสําคัญของเนื้ อหา

จากผลการจัดเก็บภาษีของกรมสรรพากร ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2553 สามารถจัดเก็บ ได้ 1,264,845 ล้านบาท ซึ่งสูงกว่าปี ก่อนและประมาณการตามเอกสารงบประมาณ 126,280 และ 166,945 ล้านบาท หรือร้อยละ 11.1 และ 15.2 ตามลําดับ โดยภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สามารถเก็บได้ 208,368 ล้านบาท ซึง่ เป็ นผลมาจาก ภาษีหกั ณ ทีจ่ ่ายจากเงินเดือน (ภ.ง.ด.1) 120,511 ล้านบาท สูงกว่าปี ก่อนเนื่องจากภาวะเศรษฐกิจทีข่ ยายตัวดีอย่างต่อเนื่อง และภาษีหกั ณ ทีจ่ ่ายจากดอกเบีย้ (ภ.ง.ด.2) เก็บได้ 29,257 ล้านบาท ตํ่ากว่าปี ก่อนเนื่องจากปริมาณเงิน ฝากธนาคารพาณิชย์มอี ตั ราขยายตัวชะลอลง ประกอบกับอัตราดอกเบี้ยเงินฝากหดตัวจากปี ก่อน สําหรับภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลนัน้ สามารถเก็บได้ 454,630 ล้านบาท สูงกว่าปี ก่อนเนื่องจาก การขยายตัว ของภาวะเศรษฐกิจ ทัง้ ด้า นการผลิต การลงทุ น และการส่ง ออก จึง ทํา ให้ผ ล ประกอบการของนิตบิ ุคคลมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ อย่างชัดเจน โดยเฉพาะการยื่นชําระภาษีจากกําไร สุทธิ (ภ.ง.ด.50 และภ.ง.ด.51) ซึง่ มีสดั ส่วนคิดเป็ นร้อยละ 65.0 ของผลการจัดเก็บภาษีเงินได้นิติ บุคคล มีอตั ราการขยายตัวดีในกลุ่มธุรกิจสําคัญ ได้แก่ กลุ่มค้าส่ง/ปลีก กลุ่มสถาบันการเงิน/การ ประกันชีวติ ประกันภัย กลุ่มยานยนต์/ชิ้นส่วน กลุ่มโรงกลัน่ แยกก๊าซ กลุ่มเครื่องใช้ไฟฟ้าและ อิเ ล็ก ทรอนิ ก ส์ กลุ่ ม ยาและเคมีภ ัณ ฑ์แ ละกลุ่ ม ผลิต ภัณ ฑ์พ ลาสติก เป็ น ต้น ภาษีมูล ค่า เพิ่ม สามารถจัดเก็บได้ 502,260 ล้านบาท ซึ่งเป็ นผลมาจากภาษีการนํ าเข้า เก็บได้ 216,603 ล้าน บาท ซึ่งมีสดั ส่วนคิดเป็ นร้อยละ 43.1 ของภาษีมูลค่าเพิม่ รวม มีมูลค่าสูงกว่าปี ก่อนเนื่องจาก ในช่วง 11 เดือนของปี งบประมาณ พ.ศ. 2553 (ตุลาคม 2552 – สิงหาคม 2553) มูลค่าของการ นํ าเข้าทัง้ ในรูป เงิน ดอลลาร์ส หรัฐ และเงิน บาท ขยายตัว ร้อยละ 32.0 และ 25.0 ตามลําดับ โดยเฉพาะในหมวดวัต ถุ ดิบและสินค้าขัน้ กลางขยายตัวร้อยละ 36.9 ส่ว นภาษีธุ รกิจเฉพาะ สามารถเก็บได้ 22,989 ล้านบาท เป็ นมูลค่าทีส่ งู กว่าปี ก่อนเป็ นผลมาจากการสิน้ สุดมาตรการลด อัตราภาษีจากร้อยละ 3.0 เหลือ ร้อ ยละ 0.1 ส่งผลให้การจัด เก็บภาษีจากอสังหาริมทรัพ ย์ เพิม่ ขึน้ ในอัตราสูง คิดเป็ นร้อยละ 36.25 จากฐานทีต่ ่ําซึ่งได้รบั การลดอัตราในปี ก่อน ประกอบ กับมีการเร่งทํานิตกิ รรมโอนซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ก่อนทีจ่ ะสิน้ สุดมาตรการทางภาษีในเดือน


2 มีนาคม 2553 จะเห็นได้ว่ารายได้สว่ นใหญ่ของภาครัฐมาจากการจัดเก็บภาษีโดยมีวตั ถุประสงค์ หลักในการเรียกเก็บภาษีของรัฐบาลนัน้ เพือ่ นําไปใช้ประโยชน์แก่สว่ นรวมในการพัฒนาประเทศ ในด้านต่ างๆ เพื่อความเป็ นอยู่ท่ดี ีข้นึ ของประชนชนภายในประเทศ เช่น นํ าไปพัฒนาถนน หนทางให้ประชาชนเดินทางได้สะดวกยิง่ ขึ้น รถโดยสารฟรีเพื่อประชน หรือการไฟฟ้าที่ใ ห้ ประชาชนมีไฟฟ้าใช้อย่างทัวถึ ่ งทุกพื้นที่เพื่อความเป็ นอยู่ท่ดี ขี น้ึ ของประชาชน และอื่นๆ อีก มากมายทีท่ าํ ให้ประชาชนภายในประเทศมีความเป็ นอยูท่ ด่ี ขี น้ึ พร้อมๆกับประเทศ รวมถึงพัฒนา ด้านความปลอดภัยให้แก่ประชาชน แล้วยังนําไปใช้เป็ นเงินเดือนให้แก่ขา้ ราชการตําแหน่ งต่างๆ ทัวประเทศ ่ อย่ า งไรก็ ต ามถึ ง แม้ ภ าครั ฐ จะมี ก ารจั ด เก็ บ ภาษี ท่ี สู ง ขึ้ น กว่ า ปี ก่ อ น ในฐานะ ผูป้ ระกอบการก็มคี วามประสงค์จะเสียภาษีให้น้อยทีส่ ดุ ดังนัน้ การวางแผนภาษีจงึ เป็ นวิธที ท่ี าํ ให้ เสียภาษีจํานวนน้อยทีส่ ุดเป็ นไปตามเงื่อนไขและข้อกําหนดของกฎหมาย โดยการวางแผนภาษี นัน้ จะประกอบไปด้วยบุ คคลหลายสาขาอาชีพ ไม่ว่าจะเป็ นด้านบัญชี ผู้สอบบัญชี หรือด้าน กฎหมายภาษีอากร หรือกฎหมายอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง โดยนําบุคคลต่างๆ มาจัดตัง้ เป็ นรูปแบบของ คณะกรรมการหรือกลุ่มของผูเ้ ชี่ยวชาญเพื่อจะได้มกี ารสร้างแนวความคิดหรือกรอบของการ วางแผนภาษีให้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ ซึง่ การศึกษาข้อเท็จจริง ผูว้ างแผนภาษีจะต้องศึกษา ข้อเท็จจริงที่เกิดขึน้ โดยวิเคราะห์ทางเลือกของข้อมูลที่เกี่ยวข้องทัง้ หมดไม่ว่าจะเป็ นด้านบัญชี และภาษีอากร ว่ามีผลกระทบใดบ้างต่อกิจการ เตรียมข้อมูลทีจ่ ะนํามาใช้ในการวางแผนภาษี มา วิเคราะห์ปญั หาในแต่ละประเด็นแล้วนํ ามาเปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของแต่ละทางเลือก นํ า ปญั หาทีไ่ ด้มาแก้ไขตามกรณี สิง่ สําคัญอย่างหนึ่งก็คอื ผูว้ างแผนภาษีจะต้องทราบก่อนว่าอะไร คือปญั หาทีจ่ ะต้องเข้าไปวางแผนภาษี และจะสามารถแก้ไขปญั หาดังกล่าวได้ในกรณีใดบ้าง มี ผลกระทบทางภาษีประเภทใด ซึ่งจะมีผลต่อการตัดสินใจเลือกวิธกี ารเสียภาษี เมื่อได้ตดั สินใจ ทางเลือกใดได้แล้ว ควรจะนํ าไปตรวจสอบข้อมูลจากบุคคลภายนอกอีกครัง้ เช่น ผูเ้ ชีย่ วชาญ ภาษีอากร หรือสอบถามจากกรมสรรพากร หลังจากผูว้ างแผนภาษีได้กําหนดทางเลือกเพื่อ นํามาปฏิบตั แิ ล้วจะต้องนําออกมาใช้ จะต้องมีการติดตามผลของการนําไปปฏิบตั วิ ่าเป็ นไปตาม แผนทีไ่ ด้วางไว้หรือไม่ หากมีปญั หาจะได้นําไปแก้ไขปรับปรุงได้ทนั ท่วงที เพื่อไม่ให้มผี ลกระทบ ต่อกิจการ จากทีก่ ล่าวมานัน้ การวางแผนภาษีจดั ทําขึน้ เพื่อให้ธุรกิจเสียภาษีน้อยทีส่ ุดอย่างถูกต้อง ทีส่ ดุ โดยต้องมีการศึกษาถึงข้อกําหนดของกฎหมายต่างๆ รวมถึงเข้าใจหลักเกณฑ์การวางแผน ภาษีอย่างถูกต้อง เพื่อป้องกันภาระที่อาจเกิดขึน้ ในอนาคตจากการปฏิบตั ผิ ดิ หลักเกณฑ์ และ ต้องมีการกําหนดคณะผูว้ างแผนภาษีจากตําแหน่ งงานต่างๆ ทัง้ ภายในและภายนอกธุรกิจเพื่อ


3 เป็ นการสร้างแนวทางในการวางแผนภาษี ทําให้บริษทั มีความมันใจว่ ่ าบริษทั สามารถตอบสนอง ต่ อ วัต ถุ ป ระสงค์ข องการวางแผนภาษีนั น้ อย่ า งถู ก ต้ อ งครบถ้ ว นตามกฎหมาย ได้ร ับ สิท ธิ ประโยชน์สงู สุดในการวางแผนภาษี ปลอดภัยจากภาระทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคต ช่วยให้บริษทั ลด ต้นทุนทีไ่ ม่จาํ เป็ นออกไปได้ และยังช่วยในการเพิม่ กําไรสุทธิของบริษทั ได้อกี ด้วย แต่การจัดเก็บ ภาษีของภาครัฐก็ยงั คงเพิม่ มากขึน้ จากปี ก่อนซึ่งอาจกล่าวได้ว่าผูป้ ระกอบธุรกิจหรือผูม้ หี น้าที่ เสียภาษีมจี าํ นวนเพิม่ มากขึน้ หรือไม่มกี ารวางแผนการเสียภาษี ดังนัน้ คณะผูว้ จิ ยั จึงเล็งเห็นถึง ความสําคัญของการวางแผนภาษีอากรเพื่อเป็ นการให้สทิ ธิประโยชน์แก่ตวั ผูป้ ระกอบธุรกิจเอง รวมถึงผูม้ หี น้าที่เสียภาษี โดยจะทําการเปรียบเทียบให้เห็นระหว่างบุคคลหรือบริษทั ที่ทําการ วางแผนภาษีกบั บุคคลหรือบริษทั ทีไ่ ม่ทาํ การวางแผนภาษีอย่างชัดเจน เพื่อให้บริษทั หรือบุคคล ต่างๆ หันมาให้ความสนใจกับการวางแผนภาษีทถ่ี ูกต้องตามหลักเกณฑ์มากยิง่ ขึน้ วัตถุประสงค์ของการวิ จยั 1. เพือ่ ศึกษาหลักเกณฑ์ เงือ่ นไขและสิทธิประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จากการวางแผนภาษีของผู้ มีหน้าทีเ่ สียภาษี 2. เพือ่ ศึกษาหลักเกณฑ์และเงือ่ นไขในการวางแผนภาษีของผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษี 3. เพื่อศึกษาถึงการวางแผนภาษีทม่ี ปี ระสิทธิภาพต่อลักษณะของภาษีต่างๆ ของผูม้ ี หน้าทีเ่ สียภาษี ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รบั ในการศึก ษาเกี่ย วกับ ความรู้ค วามเข้า ใจเกี่ย วกับ การวางแผนภาษี คณะผู้วิจ ัย ได้ ตระหนักถึงความสําคัญการวางแผนภาษี จึงได้ทาํ การวิจยั เพือ่ ประโยชน์ดงั นี้ 1. เพื่อ ให้เ ข้า ใจถึง เงื่อ นไขและรายการที่ส ามารถนํ า ไปใช้ใ นการวางแผนภาษี ที่ เหมาะสมกับ ตัว ผู้มีหน้ าที่เ สีย ภาษี เนื่ อ งจากภาษีแต่ ล ะประเภทมีร ายการที่นํา ไปใช้ใ นการ วางแผนภาษีแตกต่างกันออกไป


4 2. เพือ่ ให้ทราบถึงสิทธิประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จากการวางแผนภาษีทถ่ี ูกต้องเหมาะสมแก่ผมู้ ี หน้ าที่เสียภาษี ซึ่งผู้มหี น้ าที่เสียภาษีบางรายยังไม่ทราบว่าการวางแผนภาษีนัน้ มีประโยชน์ อย่างไร 3. เพื่อให้ทราบถึงการวางแผนภาษีท่ผี ูม้ หี น้าที่เสียภาษีจะได้รบั ประโยชน์สูงสุดจาก ภาษีชนิดต่างๆ เป็ นการพัฒนาความรูค้ วามเข้าใจในการวางแผนภาษีเพิม่ ขึน้ 4. เพื่อให้ทราบเกีย่ วกับความรูค้ วามเข้าใจในการวางแผนภาษีทม่ี ากขึน้ และเหมาะกับ ผูม้ หี น้าที่เสียภาษีแต่ละประเภท ซึ่งลักษณะผูเ้ สียภาษีแต่ละรายมีลกั ษณะการวางแผนภาษีท่ี แตกต่างกันออกไป 5. ใช้เป็ นข้อมูลเบื้องต้นแก่ผทู้ ส่ี นใจศึกษาหรือผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีถงึ การวางแผนภาษี และใช้เป็ นแนวทางสําหรับผูท้ ท่ี าํ การวิจยั ในทํานองเดียวกัน ขอบเขตของการวิ จยั ในการศึกษาครัง้ นี้จะศึกษาถึงการวางแผนภาษีอย่างมีประสิทธิภาพของผูม้ หี น้าทีเ่ สีย ภาษีท่ีมลี กั ษณะภาษีท่ตี ้องชําระที่แตกต่างกันออกไป รวมถึงหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการ วางแผนภาษีเ พื่อให้ได้รบั ประโยชน์ สูงสุดต่ อตัวของผู้มีหน้ าที่เ สียภาษีเอง และยังศึกษาถึง ลักษณะการวางแผนภาษีของภาษีต่างๆ ทีท่ าํ ให้ผมู้ หี น้าทีเ่ สียภาษีได้รบั สิทธิประโยชน์มากทีส่ ุด และศึ ก ษาหลัก เกณฑ์ เงือ นไขในการวางแผนภาษี รวมถึ ง สิท ธิ ป ระโยชน์ ท่ี ไ ด้ ร ับ ให้ มี ประสิทธิภาพเหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร นิ ยามศัพท์ “การวางแผนภาษี ” หมายถึง การตัดสินใจเตรียมการปฏิบตั ใิ นอนาคตเกี่ยวกับภาษี อากรทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะให้การเสียภาษีอากรและการปฏิบตั ิ เกีย่ วกับภาษีอากรขององค์กร และบุคคลทีม่ หี น้าทีเ่ สียภาษีเป็ นไปโดยถูกต้องและครบถ้วนตาม หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กําหนดไว้ในกฎหมายภาษีอากร และต้องเสียภาษีอากรเป็ นจํานวน น้อยทีส่ ดุ หรือประหยัดทีส่ ดุ


5 “ผู้มีหน้ าที่ เสี ยภาษี ” หมายถึง ผูท้ ่มี รี ายได้ทงั ้ ที่เป็ นบุคคลธรรมดา คณะบุคคล และ นิตบิ ุคคลประเภทต่างๆ ซึง่ มีหน้าทีเ่ สียภาษีเงินได้แตกต่างกันไป “สิ ทธิ ของผูเ้ สียภาษี ” หมายถึง สิทธิประโยชน์ต่างๆ ทีผ่ มู้ หี น้าทีเ่ สียภาษีมสี ทิ ธิ ์ได้รบั จากกรมสรรพากรในเรื่องของการผ่อนชําระภาษีเ งินได้บุค คลธรรมดาตามแบบ ภ.ง.ด. 90 และภ.ง.ด. การยื่นอุทธรณ์คดั ค้านการประเมินภาษี กรณีทผ่ี เู้ สียภาษีถูกประเมินภาษีอากร การ ขอทุเลาการชําระภาษีอากรโดยจัดให้มหี ลักประกันการชําระหนี้ภาษีอากรค้าง การของดหรือลด เบีย้ ปรับและเงินเพิม่ ภาษีอากร และการขอคัดเอกสารหรือขอสําเนาเอกสารการเสียภาษี


บทที่ 2 แนวคิ ดทฤษฎีและงานวิ จยั ที่เกี่ยวข้อง การศึกษาการวางแผนภาษี และความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับเงื่อนไขการวางแผนภาษี เพื่อเสียภาษีของผูม้ หี น้าที่เสียภาษีชนิดต่างๆ คณะผูศ้ กึ ษาวิจยั ได้ทําการค้นคว้าและรวบรวม แนวคิดทฤษฎี เพือ่ เป็ นแนวทางในการศึกษาวิจยั ดังนี้ 1. ทฤษฎีเกีย่ วกับภาษีอากร 2. แนวคิดและทฤษฎีเกีย่ วกับการวางแผนภาษีอากร 3. ผลงานวิจยั และเอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง ทฤษฎีเกี่ยวกับภาษี อากร ความหมายของภาษี อากร ราชบัณฑิตยสถาน (2542: 434) ได้ให้ความหมายไว้ดงั นี้ คือ “ภาษี” คือ เงินทีร่ ฐั หรือ ท้องถิน่ เรียกเก็บจากบุคคล เพือ่ ใช้ในการบริหารประเทศหรือท้องถิน่ เช่น ภาษีเงินได้ ภาษีบาํ รุง ท้องที่ ภาษีโรงเรือนและทีด่ นิ ภาษีมลู ค่าเพิม่ และ “อากร” คือค่าธรรมเนียมอย่างหนึ่งทีร่ ฐั บาล เรียกเก็บ Adam Smith (อ้างใน วีรศักดิ ์ เครือเทพ,2548: 9) กล่าวไว้ว่า ประชาชนของรัฐทุกคนมี ส่วนช่วยออกเงินสนับสนุ นรัฐบาลให้ใกล้เคียงกับสัดส่วนความสามารถของแต่ละคนมากที่สุด กล่าวอีกในหนึ่ง คือ ควรมีสว่ นช่วยในการออกเงินสนับสนุนให้แก่รฐั ตามรายได้ทป่ี ระชาชนแต่ละ คนได้รบั ภายใต้การได้รบั ซึง่ สอดคล้องกับธร สุทนรายุทธ (2548: 25) ซึง่ กล่าวว่า ภาษีอากร คือเงินที่รฐั บาลเรีย กเก็บจากบุ ค คลที่มีรายได้แก่รฐั เพื่อบริหารประเทศ โดยที่ผู้เ สียภาษีได้ ประโยชน์ ทางอ้อม รัฐบาลจะนํ าภาษีไปใช้จ่ายเพื่อสาธารณะประโยชน์ แก่บุคคลทัวไปที ่ ่อยู่ใน ประเทศ


7

เช่นเดียวกับสุพาดา สิรกิ ุตตา (2550: 9) และเกริกเกียรติ พิพฒ ั น์เสรีธรรม (2546: 129130) ได้อธิบายความหมายว่า ภาษีอากร หมายถึง เงินได้ หรือค่าธรรมเนียม หรือทรัพยากรที่ รัฐบาลเรียกเก็บจากราษฎร เพื่อนํ าไปใช้ในการพัฒนาประเทศ และเพื่อประโยชน์ ส่ว นรวม และปณั ฑา ลาภชุม่ ศรี (2550: 50) ได้นิยามความหมายของภาษีได้เป็ น 2 แนว คือ ภาษีอากรในแนวของการบังคับจัดเก็บ หมายถึง สิง่ ที่รฐั บาลบังคับจัดเก็บจากราษฎร และนํ ามาใช้เพื่อประโยชน์ของสังคมส่วนรวม โดยมิได้มสี งิ่ ตอบแทนโดยตรงแก่ผเู้ สียภาษี ซึ่ง ภาษีทร่ี ฐั เรียกเก็บจากประชาชนนัน้ มีลกั ษณะของการบังคับ อาจจะเป็ นรายได้หรือสิง่ ของ หรือ ผลประโยชน์หรือบริการจากตัวผูเ้ สียภาษี และภาษีทเ่ี ก็บได้นัน้ ต้องนํ าไปใช้เพื่อสังคมส่วนรวม โดยทีผ่ เู้ สียภาษีจะได้รบั ผลประโยชน์โดยทางอ้อมจากรัฐบาล ภาษีอากรในแนวการเคลื่อนย้ายทรัพยากรระหว่างภาคเอกชนกับภาครัฐบาล หมายถึง เงินได้หรือทรัพยากรทีเ่ คลื่อนย้ายจากเอกชนไปสูภ่ าครัฐบาล และไม่ก่อให้เกิดภาระในการชําระ คืนของรัฐบาล ชัยสิทธิ ์ ตราชูธรรม (อ้างใน อัจฉรา สังข์สุวรรณ และวีระ อรัญมงคล 2537: 15) และ ปิ ยฉัตร จารุธรี ศานต์ (2550: 306) กล่าวในทํานองเดียวกับนักภาษีอากรและนักเศรษฐศาสตร์ หลายท่านว่าภาษีอากร คือ สิง่ ที่รฐั บาลบังคับเก็บจากราษฎรโดยไม่ได้มสี งิ่ ตอบแทนแก่ผูเ้ สีย ภาษีโ ดยตรงหรือ อาจจะหมายถึง รายได้ห รือ ทรัพ ยากรที่เ คลื่อ นย้า ยจากภาคเอกชนไปสู่ ภาครัฐบาล ซึง่ อาจเป็ นการเรียกเก็บจากบุคคลหรือธุรกิจ เพือ่ เป็ นการสนับสนุ นรัฐบาลกลางหรือ รัฐบาลท้องถิน่ อันส่งผลกลับมาเป็ นความสุขสบายแก่ประเทศชาติ นอกจากนี้ปญั จพร ทองเล็ก (อ้างถึง สมคิด บางโม 2550: 2) ได้กล่าวเพิม่ เติมว่า ภาษี อากรคือ การโอนทรัพยากรใดๆ อันมีลกั ษณะบังคับ แต่มไิ ด้เป็ นการลงโทษจากภาคเอกชนไปสู่ ภาครัฐบาล โดยเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ทก่ี าํ หนดไว้ล่วงหน้า และไม่คาํ นึงถึงผลประโยชน์ทไ่ี ด้รบั โดยเฉพาะ ทัง้ นี้เพือ่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ทางเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติบางประการ ประเด็นการพิจารณาความหมายของภาษีอากรมี 3 ประเด็น ดังนี้ 1. สิง่ ที่รฐั บาลบังคับเรียกเก็บจากราษฎร การที่ราษฎรชําระภาษีอากรเป็ นการ ชําระภาษีให้ถูกต้องตามกฎหมายโดยไม่จําเป็ นต้องเรียกเก็บเป็ นเงินสดอย่าง เดียว หากไม่ปฏิบตั หิ รือหลีกเลี่ยงต้องได้รบั โทษตามที่กฎหมายกําหนด การ ชําระภาษีอากรถือเป็ นหน้าทีข่ องราษฎร ฉะนัน้ จึงได้นิยามว่าเป็ นการบังคับ


8

2. ภาษีอากรทีจ่ ดั เก็บมาได้นนั ้ รัฐบาลนําไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนรวมโดยมิได้มสี งิ่ ตอบแทนแก่ผเู้ สียภาษีโดยตรงไม่เกิดภาระชําระคืนของรัฐบาล รัฐบาลนําภาษีท่ี เก็บได้ไปใช้ในการพัฒนาประเทศเพื่อประโยชน์ ส่วนรวม ได้แก่ ความมันคง ่ ความปลอดภัย การคมนาคม การศึกษาพร้อมทัง้ การสาธารณูปโภค 3. เป็ นการเคลื่อนย้ายเงินได้หรือทรัพยากรจากภาคเอกชนไปสู่ภาครัฐบาล การเก็บ ภาษีอากรเปรียบเหมือนลักษณะการเคลื่อนย้ายทรัพย์สนิ จากภาคเอกชนส่วนหนึ่ง ไปสูภ่ าครัฐบาล เมื่อพิจารณาจากความหมายของภาษีทก่ี ล่าวมา สามารถสรุปได้ว่า ภาษีอากร คือ สิง่ ที่ รัฐบาลเรียกเก็บจากประชาชนมีลกั ษณะบังคับเก็บ ผูท้ ่เี ข้าข่ายต้องเสียภาษีอากรไม่สามารถ ปฏิเสธได้เนื่องจากถูกบังคับโดยกฎหมาย ภาษีอากรจึงเป็ นเงินโอนชนิดหนึ่งซึง่ ไม่ได้ก่อให้เกิด รายได้หรือผลผลิตที่เพิม่ ขึน้ ในสังคม ไม่มผี ลตอบแทนโดยตรงต่อผูเ้ สียภาษีแต่ผูเ้ สียภาษีอาจ ได้รบั ประโยชน์ทางอ้อมจากรัฐ เช่น การบริหารงานต่างๆทีร่ ฐั ดําเนินการโดยไม่ก่อให้เกิดภาระ ในการชําระคืนของรัฐบาล และภาษีอากรไม่จาํ เป็ นต้องชําระเป็ นเงินเสมอไป อาจเรียกเก็บในรูป สินค้าหรือบริการก็ได้ โครงสร้างของภาษี อากร ภาษีอากรแต่ละประเภทจะต้องประกอบด้วยโครงสร้างของภาษี (ปญั จพร ทองเล็ก, 2550: 8-10) ดังต่อไปนี้ คือ 1. ผูม้ หี น้าทีช่ าํ ระภาษีอากร ภาษีอากรแต่ละประเภทจะระบุว่าผูใ้ ดอยู่ในข่ายต้องชําระ ภาษีอากร การกําหนดแหล่งเงินได้ทต่ี อ้ งเสียภาษีและกําหนดว่าผูใ้ ดอยูใ่ นข่ายได้รบั การยกเว้นภาษีอากร 2. ฐานภาษีอากร หมายถึง สิง่ ทีเ่ ป็ นมูลเหตุขนั ้ ต้นให้ตอ้ งชําระภาษีอากร การมีรายได้ การมีทรัพย์สนิ เป็ นจํานวนมากเท่าไรจึงจะถึงเกณฑ์ตอ้ งชําระภาษีอากร การใช้จ่าย บริโภคสินค้าชนิดใดที่ต้องชําระภาษีอากร ซึ่งอัจฉรา สังข์สุวรรณ และวีระ อรัญ มงคล (2537: 21) ได้กล่าวในทํานองเดียวกับบุญเสริม อุ่ยตระกูล และวิชาญ โพธิ สิทธิ ์ (2540: 75) ว่าการคํานวณจํานวนเงินทีต่ อ้ งเสียภาษีตามกฎหมายกําหนดนัน้ ่ งได้ดงั นี้ คํานวณโดยเอาฐานภาษีคณ ู กับอัตราภาษี ฐานภาษีโดยทัวไปแบ่


9

2.1 ฐานภาษีทเ่ี ป็ นรายได้ เป็ นฐานภาษีทส่ี ามารถวัดความสามารถในการเสียภาษี ได้ กล่าวคือ ใครมีรายได้มากย่อมมีความสามารถในการเสียภาษีมาก ใครมี รายได้น้อยย่อมมีความสามารถในการเสียภาษีน้อย เป็ นฐานภาษีท่ใี ช้น้อยใน การคํานวณภาษี 2.2 ฐานภาษีทเ่ี ป็ นการบริโภค เนื่องจากการบริโภคเป็ นการใช้ทรัพยากรของสังคม ให้ส้ิน เปลือ งไป ผู้บ ริโ ภคจึง ต้อ งเสีย ภาษีใ ห้ก ับ สัง คมตามลัก ษณะแห่ง การ บริโ ภคของตน และนอกจากนี้ ก ารใช้ก ารบริโ ภคเป็ น ฐานภาษีดีกว่า ใช้ฐ าน รายได้เ ป็ น ฐานภาษีใ นแง่ท่ีว่ า การเก็บ ภาษีจ ากรายได้นัน้ มิไ ด้คํา นึ ง ว่า ผู้มี รายได้ได้นํารายได้นัน้ มาใช้เพื่อการบริโภคทันที หรือไม่หรือว่าเก็บรายได้นัน้ เป็ นเงินออมเพื่อการบริโภคในอนาคต การเก็บภาษีโดยอาศัยการบริโภคเป็ น ฐานภาษีนัน้ ถือหลักว่า ผูใ้ ดได้รบั ความสุขด้วยการบริโภค ซึ่งเป็ นการใช้ ทรัพยากรสิ้นเปลืองไปก็ต้องเสียภาษีให้กบั สังคม ผูใ้ ดบริโภคมากก็เสียภาษี มาก ผูใ้ ดบริโภคน้อยก็เสียภาษีน้อย ภาษีทเ่ี ก็บจากฐานการบริโภค ได้แก่ 2.2.1 ภาษีการใช้จา่ ย เป็ นภาษีทม่ี คี วามยุง่ ยากในการปฏิบตั ิ ปจั จุบนั ไม่นิยม ใช้ 2.2.2 ภาษีการขาย เป็ นภาษีทเ่ี ก็บจากการขายสินค้า และบริการโดยถือเอา ยอดขายหรือยอดรายรับเป็ นฐานภาษี 2.2.3 ภาษีสรรพสามิต คือ ภาษีทเ่ี ก็บจากการขายสินค้าบางอย่าง เช่น สุ ร า ยาสูบ นํ้ามัน ยานัตถ์ 2.2.4 ภาษีมูล ค่ า เพิ่ม เป็ น ภาษีท่ีเ ก็บ โดยอาศัย มูล ค่ า ที่เ พิ่ม ขึ้น ของแต่ ล ะ ขัน้ ตอนการผลิต เป็ นฐาน ภาษีมูล ค่าเพิ่มเป็ นภาษีท่ีมุ่งนํ ามาใช้เ พื่อ แก้ปญั หาการเก็บภาษีซ้าํ ซ้อนของภาษีการขาย 2.2.5 ภาษีสนิ ค้าขาเข้า เป็ นภาษีทเ่ี ก็บโดยอาศัยราคาของสินค้านํ าเข้า ฐาน ภาษี น้ี อ าจใช้ เ ป็ น เครื่อ งมือ ในการจํ า กัด การนํ า เข้า หรือ คุ้ ม ครอง อุตสาหกรรมภายใน หรือเป็ นแหล่งรายได้ของรัฐก็ได้


10

2.2.6 ภาษีสนิ ค้าส่งออก เป็ นภาษีทเ่ี ก็บจากการส่งออก การเก็บภาษีส่งออก จะทํ า ให้ส ิน ค้ า ที่ส่ ง ออกมีร าคาสู ง สิน ค้ า ส่ ง ออกที่มีก ารเก็ บ ภาษี ส่วนมากเป็ นสินค้าเกษตรซึง่ ไม่สามารถผลักภาระภาษีไปข้างหน้า คือ ผลักไปให้ผซู้ อ้ื ได้ ทัง้ นี้เพราะมีผผู้ ลิตจํานวนมากและมีการแข่งขันสูง 2.3 ฐานภาษีเป็ นความมันคง ่ ความมันคง ่ คือ การสะสมของรายได้ท่เี จ้าของได้ สะสมไว้ในรอบระยะเวลาต่างๆ ภาษีทเ่ี ก็บโดยอาศัยความมันคงเป็ ่ นฐาน ได้แก่ ภาษีโรงเรือน ภาษีทด่ี นิ ภาษีมรดก ภาษีรถยนต์ เป็ นต้น 2.4 ฐานอื่นๆ ส่วนมากจะเก็บได้เป็ นจํานวนน้อย โดยมากมุ่งเก็บเพื่อวัตถุประสงค์ เฉพาะบางอย่าง มิใช่เก็บเพือ่ รายได้ของรัฐบาล 3. อัตราภาษี แบ่งได้เป็ น 3 แบบ (สุเทพ พงษพิทกั ษ์, 2541: 32) คือ 3.1 อัต ราคงที่ เป็ น อัต ราที่กํา หนดให้ใ ช้เ พีย งอัต ราเดีย ว ไม่ว่า ฐานภาษีจ ะเป็ น จํานวนเท่าใด เป็ นอัตราทีไ่ ม่เปลี่ยนแปลงไปตามฐานภาษี เช่น อัตราภาษีเงิน ได้นิตบิ ุคคล อัตราภาษีมลู ค่าเพิม่ 3.2 อัต ราก้า วหน้ า เป็ น อัต ราภาษีท่ีเ ปลี่ย นแปลงไปตามขนาดของฐานภาษีใ น ลักษณะก้าวหน้า คือ ถ้าฐานภาษีมขี นาดใหญ่ อัตราภาษียงิ่ สูง แต่ถา้ ฐานภาษี แคบลงอัตราภาษีจะลดน้อยลง เช่น อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 3.3. อัตราถอยหลัง เป็ นอัตราภาษีทเ่ี ปลีย่ นแปลงไปในทางตรงกันข้ามกับฐานภาษี คือ ถ้าฐานภาษียงิ่ ใหญ่อตั รายิง่ ตํ่า แต่ถ้าฐานภาษีเล็กอัตราก็จะยิง่ สูงขึน้ เช่น อัตราภาษีทเ่ี คยใช้จดั เก็บภาษีโรงเรือนและทีด่ นิ 4. การชําระภาษีอากร มีวธิ กี ารชําระ 3 วิธี (ปญั จพร ทองเล็ก, 2550: 8-9) ดังนี้ 4.1 การหักภาษี ณ ทีจ่ า่ ย เมื่อผูจ้ ่ายเงินได้พงึ ประเมินจ่ายเงินได้ให้กบั ผูม้ เี งินได้จะ หักภาษีอากรไว้จํานวนหนึ่งและผู้จ่ายเงินได้จะนํ าภาษีอากรที่หกั ไว้น้ีนําส่ง กรมสรรพากร ภาษีอากรที่ถูกหักไว้น้ี จะเป็ นแบบเครดิต ภาษีของผู้มีเงินได้ สามารถนํามาหักจากภาษีทต่ี อ้ งชําระตอนปลายปี ได้


11

4.2 การประเมินตนเองโดยทีผ่ มู้ หี น้าทีช่ าํ ระภาษีอากร คํานวณภาษีทต่ี อ้ งชําระแล้ว ยื่นแบบแสดงรายการพร้อมกับชําระภาษีอากรภายในเวลาทีก่ ฎหมายกําหนด ด้ ว ยตนเอง เช่ น ภาษี เ งิ น ได้ บุ ค คลธรรมดา ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ ค คล ภาษีมลู ค่าเพิม่ และภาษีธุรกิจเฉพาะ 4.3 การประเมิ น โดยเจ้ า พนั ก งานในกรณี ท่ี ผู้ มี ห น้ า ที่ ชํ า ระภาษี อ ากรจะส่ ง รายละเอียดในการเสียภาษีให้เจ้าพนักงานเป็ นผูป้ ระเมินและคํานวณภาษีหรือผู้ ชําระภาษีไม่ดําเนินการประเมินตนเองหรือประเมินตนเองอย่างไม่ถูกต้อง เจ้า พนักงานมีอาํ นาจประเมินให้ผมู้ หี น้าทีช่ าํ ระภาษีอากรต้องรับผิดชําระภาษีอากร พร้องทัง้ เงินเพิม่ และเบีย้ ปรับด้วย วัตถุประสงค์ในการจัดเก็บภาษี อากร มนตรี จังธนสมบัติ (2547: 34-36) ได้กล่าวถึงวัตถุประสงค์ในการจัดเก็บภาษีอากร สอดคล้องกับปญั จพร ทองเล็ก (2550: 2-3) และสมคิด บางโม (2550: 16) รวมทัง้ อัจฉรา สังข์ สุวรรณ และวีระ อรัญมงคง (2537: 15) ดังนี้ 1. เพื่อหารายได้ให้เพียงพอกับรายจ่ายของรัฐบาล รายจ่ายของรัฐบาล คือ รายจ่าย ต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในส่วนราชการ เป็ นรายจ่ายตามบัญญัตงิ บประมาณประจําปี รัฐบาล ต้องหารายได้มาจ่ายรายจ่ายเหล่านี้เพื่อให้เพียงพอ แหล่งทีม่ าของรายได้ทส่ี ําคัญ ทีส่ ดุ ของรัฐบาลก็จะมาจากภาษีอากร 2. ช่วยในการกระจายรายได้ทเ่ี ป็ นธรรมโดยจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาในอัตรา ภาษีแบบก้าวหน้า คือ การจัดเก็บตามหลักความสามารถ ผูม้ เี งินได้สุทธิสงู เสียภาษี เป็ นจํานวนมาก ผู้มเี งินได้สุทธิต่ําเสียภาษีเป็ นจํานวนน้ อยหรือการจัดเก็บภาษี สินค้าฟุ่มเฟื อยในอัตราที่สูง จัดเก็บภาษีสนิ ค้าที่จําเป็ นต่อการอุปโภค บริโภคใน อัตราทีต่ ่าํ 3. ช่วยส่งเสริมและควบคุมการบริโภคของประชาชนในการทีร่ ฐั บาลต้องการจะส่งเสริม การบริโภคของประชาชนให้สูงขึ้น ให้เกิดการหมุนเวียนเพิ่มขึ้น รัฐบาลจะเพิ่ม อํานาจซื้อให้กบั ประชาชน โดยการลดอัตราภาษีอากรให้ต่ําลง และหากรัฐบาล ต้องการจะควบคุมการบริโภคของประชาชนก็จะลดอํานาจซื้อโดยการเพิม่ อัตรา ภาษีให้สงู ขึน้


12

4. รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจการจัดเก็บ ภาษีอากรช่วยรักษาเสถียรภาพทาง เศรษฐกิจได้โดยควบคุม ปรับความสมดุลทางเศรษฐกิจ ปรับความต้องการซื้อให้ สมดุลกับความต้องการขาย ปรับราคาสินค้าและบริการต่างๆ ให้เหมาะสม โดยใช้ อัตราภาษีอากรเป็ นเครือ่ งมือในการบริหารเศรษฐกิจของรัฐบาล ประเภทของภาษี อากร ในการวางแผนภาษีเป็ นไปด้วยดี ผูป้ ระกอบการและนักวางแผนภาษีอากร ควรทีจ่ ะรูจ้ กั ครอบคลุมประเภทภาษีอากรทีม่ กี ารจัดเก็บในประเทศไทย (สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์, 2541: 26-31; มนตรี จังธนสมบัต:ิ 2547: 36-37 และอัจฉรา สังข์สุวรรณ และวีระ อรัฐมงคล, 2537: 18-19) ได้ แบ่งประเภทภาษีตามหน่ วยงานทีจ่ ดั เก็บ ซึง่ หากเป็ นภาษีทจ่ี ดั เก็บโดยกรมสรรพากร สามารถ แบ่งประเภทได้ดงั นี้ 1. ภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา เป็ น ภาษีท่ีกํ า หนดจัด เก็บ จากบุ ค คลธรรมดาหรือ หน่ ว ยทางภาษีเ งิน ได้บุ ค คล ธรรมดา (ผูถ้ งึ แก่ความตายระหว่างปี ภาษี กองมรดกที่ยงั มิได้แบ่ง และห้างหุน้ ส่วนสามัญหรือ คณะบุ คคลที่มใิ ช่นิติบุคคล) ที่มเี งินได้พงึ ประเมินจากหน้ าที่งานที่ทํา หรือกิจการที่ทํา หรือ เนื่องจากทรัพย์สนิ ทัง้ ทีเ่ กิดจากแหล่งเงินได้ในประเทศและแหล่งเงินได้ในต่างประเทศ (เฉพาะ กรณีท่ผี ูม้ เี งินได้เป็ นผูท้ ่อี ยู่ในปี ภาษีเดียวกับปี ท่เี กิดเงินได้) โดยจัดเก็บเป็ นรายปี ภาษี หรือปี ปฏิทนิ โดยทัวไปภาษี ่ เงินได้บุคคลธรรมดาจัดเก็บจากเงินได้สุทธิตามอัตราก้าวหน้าตัง้ แต่ ร้อยละ 5 ถึงร้อยละ 37 (เงินได้สุทธิคํานวณจากเงินได้พงึ ประเมินหักด้วยค่า ใช้จ่ายและค่า ลดหย่อน) อย่างไรก็ตาม สําหรับเงินได้พงึ ประเมินประเภทนี้มใิ ช้เงินได้จากการจ้างแรงงานและ มีจํานวนรวมกันถึง 60,000 บาท ผูม้ เี งินได้ต้องเสียภาษีเงินได้ท่คี ํานวณได้จากเงินได้สุทธิ ดัง กล่ า ว หรือ จากจํ า นวนเงิน ได้พึง ประเมิน คู ณ ร้อ ยละ 0.5 แล้ว แต่ อ ย่ า งใดจะมากกว่ า นอกจากนี้ในบางกรณีผู้มเี งินได้อาจเลือกเสียภาษีได้เท่าที่ถูกหักไว้ ณ ที่จ่าย เช่น เงินได้ท่ี นายจ้างจ่ายให้ครัง้ เดียวเพราะเหตุออกจากงาน ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคาร ดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบีย้ เงินกูย้ มื เงินปนั ผลหรือเงินส่วนแบ่งของกําไรทีไ่ ด้จากบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล ทีต่ งั ้ ขึน้ ตามกฎหมาย กองทุนรวมหรือบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรรมแห่งประเทศไทย เงินได้จาก การขายอสังหาริมทรัพย์ทไ่ี ด้มามิได้มงุ่ ในทางการค้าหรือหากําไร เป็ นต้น


13

2. ภาษี เงิ นได้นิติบคุ คล โดยทัวไปเป็ ่ นภาษาทีก่ ําหนดจัดเก็บจากกําไรสุทธิทไ่ี ด้จากกิจการ หรือเนื่องจาก กิจการทีก่ ระทําในรอบระยะเวลาบัญชีของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลทีต่ งั ้ ขึน้ ตามกฎหมาย หรือที่ตงั ้ ขึน้ ตามกฎหมายของต่างประเทศ และประกอบกิจการในประเทศไทย โดยจัดเก็บใน อัตราร้อยละ 30 ของกําไรสุทธิท่ไี ด้ปรับปรุงให้เป็ นไปตามเงื่อนไขทางภาษีอากร (สุเทพ พงษ์ พิทกั ษ์, 2541: 27 และ ยุพดี ศิรวิ รรณ, 2550: 7-3 – 7-5) อย่างไรก็ตาม การจัดเก็บภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลจากฐานกําไรสุทธิไม่อํานวยให้เกิด ความเป็ นธรรมในการจัดเก็บภาษีประเภทนี้ได้ จึงมีการกําหนดจัดเก็บภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลจาก ฐานเงินได้อ่นื ได้แก่ 1) ฐานรายได้ก่อนหักรายจ่ายใดๆ สําหรับบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลทีต่ งั ้ ขึน้ ตามกฎหมายของต่ า งประเทศ และประกอบกิจ การประเภทขนส่ง ระหว่า ง ประเทศในที่อ่นื รวมทัง้ ในประเทศไทย โดยเสียภาษีเงินได้ในอัตราร้อยละ 3 ของค่าโดยสารหรือค่าระวางก่อนหักรายจ่ายใดๆ จากการประกอบกิจการขนส่ง ระหว่างประเทศดังกล่าวหรือกรณีมูลนิ ธิ หรือสมาคมที่ประกอบกิจการซึ่งมี รายได้ และมิใช่มลู นิธหิ รือสมาคมทีเ่ ป็ นองค์การสาธารณกุศล ต้องเสียภาษีเงิน ได้ในอัตราร้อยละ 10 ของเงินได้พงึ ประเมินทีม่ ใิ ช่เงินได้ตามาตรา 40(8) แห่ง ประมวลรัษฎากร และร้อยละ 2 ของเงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40(8) แห่ง ประมวลรัษ ฎากร หรือ กรณีท่ีบ ริษัท หรือ ห้า งหุ้น ส่ว นนิ ติบุ ค คลที่ต ัง้ ขึ้น ตาม กฎหมายของต่างประเทศและเข้ามาประกอบกิจการในประเทศไทย ซึง่ ต้องเสีย ภาษีเงินได้จากฐานกําไรสุทธิในกรณีทไ่ี ม่สามารถคํานวณกําไรสุทธิได้อาจเสีย ภาษีเงินได้ในอัตราร้อยละ 5 ของยอดรายได้ก่อนหักรายจ่ายใดๆ ในระยะเวลา บัญชี 2) ฐานเงิน ได้พึง ประเมิน ตามมาตรา 40(2)(3)(4)(5) หรือ (6) แห่ ง ประมวล รัษ ฎากร กรณี บ ริษัท หรือ ห้า งหุ้น ส่ ว นนิ ติบุ ค คลที่ต ัง้ ขึ้น ตามกฎหมายของ ต่ า งประเทศมิไ ด้ป ระกอบกิจ การในประเทศไทยแต่ ได้รบั เงินได้พึงประเมิน ดัง กล่ าวที่จ่ า ยจากหรือในประเทศไทยให้เ สีย ภาษีเ งิน ได้โ ดยผู้จ่ า ยเงิน ได้มี หน้าทีห่ กั ภาษีเงินได้ ณ ทีจ่ า่ ยและนําส่ง


14

3) ฐานการจําหน่ ายเงินกําไรไปต่ างประเทศ สําหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติ บุคคลทีต่ งั ้ ขึน้ ตามกฎหมายของต่างประเทศ ทีไ่ ด้เสียภาษีเงินได้จากฐานกําไร สุทธิแล้วและได้นําเงินกําไรสุทธิหลังจากทีไ่ ด้เสียภาษีเงินได้จากฐานกําไรสุทธิ ดังกล่าว จําหน่ายไปต่างประเทศ 3. ภาษี มลู ค่าเพิ่ ม เป็ นภาษีท่จี ดั เก็บจากมูลค่าของสินค้าหรือบริการที่เพิม่ ในแต่ละขัน้ ตอนของการ ผลิตและการจําหน่ ายสินค้าหรือบริการ โดยมูลค่าที่เพิม่ เป็ นมูลค่าของส่วนที่เพิม่ ขึน้ ในแต่ละ ขัน้ ตอนในการผลิตและการจําหน่ ายสินค้าหรือการให้บริการ ก็คอื ค่าของผลต่างระหว่างราคา ของสินค้าหรือบริการ ผลิต หรือจําหน่ายกับราคาของสินค้าหรือบริการทีซ่ อ้ื มาเพือ่ ใช้ในการผลิต หรือในการจําหน่ายสินค้าหรือบริการ (สมเดช โรจน์คุรเี สถียร, 2545: 219-221) 1) ผู้มีห น้ า ที่จ ดทะเบีย นภาษี มู ล ค่ า เพิ่ม คือ ผู้ป ระกอบการที่ข ายสิน ค้า หรือ ให้บริการหรือวิชาชีพเป็ นปกติธุระไม่วา่ การขายสินค้าหรือให้บริการดังกล่าวนัน้ จะได้ร บั ประโยชน์ ห รือ ผลตอบแทนหรือ ไม่ และไม่ว่า จะประกอบกิจ การใน รูป แบบของบุ ค คลธรรมดา คณะบุ ค คล นิ ติบุ ค คลส่ว นราชการหรือองค์ก าร รัฐ บาล ถ้าการประกอบกิจการมีรายรับ เกินกว่า 1,200,000 บาทต่ อปี ผูป้ ระกอบการกิจการนัน้ มีหน้าที่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ แต่หากการ ประกอบกิจการนัน้ เป็ นกิจการทีไ่ ด้รบั ยกเว้นภาษีมลู ค่าเพิม่ ผูป้ ระกอบการไม่มี หน้าทีต่ อ้ งจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ 2) อัตราภาษีมลู ค่าเพิม่ ปจั จุบนั มี 2 อัตรา คือ อัตราร้อยละ 7 สําหรับการขาย สินค้าหรือบริการทุกประเภทและการนําเข้าทีม่ รี ายรับเกิน 1,200,000 บาทต่อปี อัต ราร้อ ยละ 0 สํา หรับ การขายสิน ค้า ส่ ง ออกและการส่ ง ออกบริก ารไปยัง ต่างประเทศ 4. ภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ ผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีธุรกิจเฉพาะ ได้แก่ บุคคลธรรมดา กองมรดก ห้างหุน้ ส่วนสามัญ คณะบุคคลทีม่ ใิ ช่นิตบิ ุคคล กองทุนหรือมูลนิธทิ ไ่ี ม่ใช่นิตบิ ุคคล บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล สหกรณ์ องค์กรอื่นๆ ที่กฎหมายกําหนดให้เป็ นนิตบิ ุคคล ซึ่งบุคคลดังกล่าวประกอบกิจการที่


15

ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะในราชอาณาจักร (สถาบัน TAX BUSINESS CENTER ม.ป.ป.: 434) ดังต่อไปนี้ 1) ธนาคารพาณิชย์ 2) ธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ 3) ธุรกิจประกันชีวติ หรือประกันวินาศภัยอย่างอื่น 4) ธุรกิจโรงรับจํานํา 5) การประกอบกิจการโดยปกติเยีย่ งธนาคารพาณิชย์ 6) การขายอสังหาริมทรัพย์เป็ นทางการค้าหรือหากําไร ภาษีธุรกิจเฉพาะจัดเก็บในอัตราร้อยละ 2.5-3.0 ของยอดรายรับจากการประกอบ กิจการในแต่ละเดือนภาษี เว้นแต่กรณีทใ่ี นเดือนภาษีใดมีจํานวนภาษีธุรกิจเฉพาะทีต่ อ้ งเสียไม่ ถึง 100 บาทให้ได้รบั ยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ นอกจากนี้ผปู้ ระกอบกิจการยังต้องเสียภาษีส่วน ท้ อ งถิ่ น อี ก ร้ อ ยละ 10 ของภาษี ธุ ร กิ จ เฉพาะอี ก ด้ ว ย การคํ า นวณภาษี ธุ ร กิ จ เฉพาะคื อ ผู้ป ระกอบการจดทะเบีย นภาษีธุ ร กิจ เฉพาะ มีห น้ าที่ต้อ งออกใบรับ หรือ ใบเสร็จรับ เงิน ให้ผู้ จ่ายเงินทันทีทุกครัง้ ทีร่ บั เงิน ไม่วา่ จะมีการเรียกร้องให้ออกใบรับหรือไม่ และให้นําสําเนาเอกสาร ดังกล่าวเป็ นหลักฐานประกอบการบันทึกการรับเงินของกิจการ การคํานวณภาษีธุรกิจเฉพาะ ให้ นํารายได้ทร่ี วบรวมได้ตามเกณฑ์สทิ ธิหรือเกณฑ์เงินสดแล้วแต่กรณีเป็ นฐานในการคํานวณภาษี ธุรกิจเฉพาะ แล้วคูณด้วยอัตราภาษีทก่ี ําหนดสําหรับกิจการประเภทต่างๆ และให้รวมภาษีส่วน ท้องถิน่ อีกร้อยละ 10 ของภาษีธุรกิจเฉพาะทีค่ าํ นวณได้ เพื่อให้ได้จํานวนภาษีธุรกิจเฉพาะและ ภาษีส่วนท้องถิ่นที่ต้องชําระ พร้อมกับการยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะ (ภ.ธ. 40) ประจําเดือนภาษีนนั ้ ภายในวันที่ 15 เดือนถัดไป ยกเว้นการขายอสังหาริมทรัพย์ให้ใช้ราคาขาย หรือ ราคาประเมิน ทุ น ทรัพ ย์ท่ีท างราชการกํ า หนดแล้ว แต่ อย่า งใดจะสูง กว่า เป็ น ฐานในการ คํานวณภาษีธุรกิจเฉพาะซึ่งผูข้ ายต้องยื่นแบบ ภ.ธ.40 และชําระภาษีธุรกิจเฉพาะในวันทีจ่ ด ทะเบียนนิตกิ รรม ณ สํานักงานทีด่ นิ


16

5. อากรแสตมป์ เป็ นภาษีทจ่ี ดั เก็บในลักษณะของค่าธรรมเนียม โดยจัดเก็บจากการกระทําตราสาร ทีก่ าํ หนดตามบัญชีอตั ราอากรแสตมป์ โดยกําหนดให้ปิดแสตมป์บริบูรณ์ลงบนตราสาร (แสตมป์ ปิดทับ หรือเสียเป็ นตัวเงิน) ก่อนหรือในทันทีทก่ี ระทําตราสาร ภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา บทบัญญัติตามประมวลรัษฎากรเกี่ยวกับภาษี อากร (กลุ่มนักวิชาการภาษีอากร : 2546) 1. ผูม้ ีหน้ าที่เสียภาษี บุ ค คลธรรมดา (มาตรา 56) หมายถึง คนที่มีชีวิต อยู่ ไ ม่ ว่ า จะเป็ น เด็ก ผู้ใ หญ่ พระภิกษุสงฆ์ สามเณร นักบวช ไม่จาํ กัดเพศ อายุ เชือ้ ชาติและศาสนา มีหน้าทีต่ อ้ งเสียภาษีเงิน ได้บุคคลธรรมดาทุกคน ถ้ามีเงินได้ตามเกณฑ์ทป่ี ระมวลรัษฎากรกําหนด เว้นแต่ ผูเ้ ยาว์ หรือผู้ ทีศ่ าลสังให้ ่ เป็ นบุคคลไร้ความสามารถ (มาตรา 57 กําหนดให้ผแู้ ทนโดยชอบธรรม ผูอ้ นุ บาล ผู้ พิทกั ษ์ หรือผูจ้ ดั การกิจการอันก่อให้เกิดเงินได้พงึ ประเมินนัน้ เป็ นตัวแทนในการยื่นภาษีแทน) จํานวนเงินได้พงึ ประเมินทีป่ ระมวลรัษฎากรกําหนดให้เสียภาษีมดี งั นี้ 1) ไม่มคี สู่ มรส และมีเงินได้พงึ ประเมินเกิน 30,000 บาท 2) มีคสู่ มรส และมีเงินได้พงึ ประเมินเกิน 60,000 บาท 3) ไม่มคี ู่สมรส และมีเงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40(1) ประเภทเดียวกันเกิน 50,000 บาท 4) มีคู่ ส มรส และมีเ งิน ได้พึง ประเมิน ตามมาตรา 40(1) ประเภทเดีย วกัน เกิน 100,000 บาท


17

2. เงิ นได้พึงประเมิ น (มาตรา 39) หมายถึง เงินได้ทต่ี อ้ งนํามาเสียภาษีซง่ึ รวมถึง 1) เงิน มีความหมายเป็ นได้ทงั ้ เงินไทย หรือเงินตราต่างประเทศ 2) ทรัพย์สนิ ซึ่งอาจคิดคํานวณได้เป็ นเงิน หมายถึงทรัพย์สนิ ที่มรี ูปร่างและไม่มี รูปร่าง ทีไ่ ด้รบั และสามารถคิดคํานวณได้เป็ นเงิน เช่น รถยนต์ บ้าน นาฬิกา สร้อยคอ เป็ นต้น 3) ประโยชน์ซง่ึ อาจคิดคํานวณได้เป็ นเงิน หมายถึงประโยชน์ทไ่ี ด้ รับมาทีไ่ ม่ใช่ตวั เงิน ไม่ใช่ทรัพย์สนิ แต่ประโยชน์ทว่ี า่ นี้สามารถ คิดคํานวณเป็ นเงินได้ เช่น การ ทีน่ ายจ้างให้การอุดหนุนแก่ลกู จ้างในรูปของทีอ่ ยูอ่ าศัย อาหาร รางวัล เป็ นต้น 4) เงินค่าภาษีอากรทีผ่ จู้ า่ ยเงินหรือผูอ้ ่นื ออกแทนให้ คือเงินค่าภาษีทอ่ี อกให้เงินได้ ประเภทใดถือเป็ นเงินได้ประเภทนัน้ เงินค่าภาษีทอ่ี อกให้สาํ หรับเงินได้ของปี ใด ถือเป็ นเงินได้ของปีภาษีนนั ้ 5) เครดิตภาษีตามกฎหมายกําหนด คือเงินปนั ผลนัน้ ครัง้ หนึ่งก็คอื กําไรสุทธิ ซึง่ ได้ เสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลมาแล้ว เมื่อมีการจ่ายเงินปนั ผลมาให้บุคคลธรรมดาอีก ทําให้ตอ้ งเสียภาษีในเงิน ปนั ผลนี้อกี ครัง้ หนึ่ง จะเห็นได้ว่าเป็ นการเก็บภาษี ซํ้าซ้อนในเงินปนั ผลดังกล่าว ดังนัน้ เพื่อเป็ นการบรรเทาภาระภาษีจงึ มีการให้ เครดิตภาษีในเงินปนั ผล ตามทีก่ ฎหมายกําหนดในมาตรา 47 ทวิ (http://www.law4v.com/index.php?mo=14&newsid=80236) 3. ประเภทเงิ นได้พึงประเมิ น (มาตรา 40) เงินได้พงึ ประเมินแบ่งออกเป็ น 8 ประเภท 40(1) เงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน ไม่ว่าจะเป็ นเงินเดือน ค่าจ้าง เบี้ยเลี้ยง โบนัส เบีย้ หวัด บําเหน็จ บํานาญ เงินค่าเช่าบ้าน เงินทีค่ าํ นวณได้จากมูลค่าของการได้อยูบ่ า้ นที่


18

นายจ้างให้อยู่โดยไม่เสียค่าเช่า เงินทีน่ ายจ้างจ่ายชําระหนี้ใดๆ ซึง่ ลูกจ้างมีหน้าทีต่ อ้ งชําระ และ เงิน ทรัพย์สนิ หรือประโยชน์ใดๆ บรรดาทีไ่ ด้เนื่องจากการจ้างแรงงาน เงินได้ประเภทนี้เน้นการใช้แรงงานตามกําหนดเวลาจ้าง แม้ยงั ทํางานไม่เสร็จก็ยงั มี สิทธิได้รบั ค่าจ้างตามกําหนดเวลาจ้าง เป็ นเงินได้ทน่ี ายจ้างจ่ายให้ลูกจ้าง รวมถึงทรัพย์สนิ และ ประโยชน์เพิม่ ต่างๆ ที่นายจ้างให้แก่ลูกจ้าง เนื่องจ้างการจ้างแรงงาน เช่น นายจ้างมีระเบียบ สวัสดิการจ่ายค่าเล่าเรียนให้บุตรของพนักงาน (กค.0802/6547ลว.20 เมษายน 2537) นายจ้าง จ่ายค่าเบีย้ เลีย้ งพิเศษเหมาจ่ายให้ลูกจ้างทุกเดือน (กค.0802/9207 ลว. 14 มิถุนายน 2553) การได้อยู่บ้านนายจ้างโดยไม่เสียค่าเช่า หรือนายจ้างเช่าบ้านให้อยู่ (กค.0802/7448 ลว.4 พฤษภาคม 2536) เป็ นต้น 40(2) เงินได้เนื่องจากหน้าทีห่ รือตําแหน่ งงานทีท่ ํา หรือจากการรับทํางานให้ ไม่ ว่าจะเป็ นค่าธรรมเนียม ค่านายหน้า ค่าส่วนลด เงินอุดหนุ นในงานที่ทํา เบี้ยประชุม บําเหน็จ โบนัส เงินค่าเช่าบ้าน เงินทีค่ ํานวณได้จากมูลค่าของการได้อยู่บา้ นที่ผูจ้ ่ายเงินได้ให้อยู่โดยไม่ เสียค่าเช่า เงินทีผ่ จู้ ่ายเงินได้จ่ายชําระหนี้ซง่ึ ผูม้ เี งินได้มหี น้าทีต่ อ้ งชําระ และเงิน ทรัพย์สนิ หรือ ประโยชน์ใดๆ บรรดาทีไ่ ด้เนื่องจากหน้าทีห่ รือตําแหน่งงานทีท่ าํ หรือจากการรับทํางานให้นนั ้ ไม่ ว่าหน้าทีห่ รือตําแหน่งงานหรืองานทีร่ บั ทําให้นนั ้ จะเป็ นการประจําหรือชัวคราว ่ เงินได้ประเภทนี้จะมุง่ เน้นความสําเร็จของงาน เมื่องานเสร็จจึงจะมีสทิ ธิ ์ได้รบั ค่าจ้าง และผูร้ บั จ้างมีอสิ ระในการปฏิบตั งิ าน เช่น บริษทั ทําสัญญาจ้างสํานักงานทีป่ รึกษาซึ่งมีสถานะ เป็ นบุคคลธรรมดา โดยบริษทั จ่ายค่าตอบแทนเป็ นจํานวนทีแ่ น่ นอนรายเดือน เข้าลักษณะเป็ น เงินได้เนื่องจากการรับทํางานให้ตามมาตรา 40(2) แห่งประมวลรัษฎากร (กค. จ802/6497 ลว. 30 เมษายน 2533) 40(3) ค่ า แห่ ง กู๊ ด วิล ล์ ค่ า แห่ง ลิข สิท ธิ ์ หรือ สิท ธิอ ย่า งอื่น เงิน ปี ห รือ เงิน ที่ไ ด้มี ลักษณะเป็ นเงินรายปีอนั ได้มาจากพินยั กรรม นิตกิ รรมอย่างอื่น หรือคําพิพากษาของศาล เงินได้ประเภทนี้เป็ นเงินได้ท่มี ไิ ด้เกิดจากนํ้ าพักนํ้ าแรง กฎหมายจึงไม่ยอมให้หกั ค่าใช้จ่าย ยกเว้น ค่าแห่งลิขสิทธิ ์ที่ยอมให้หกั ค่าใช้จ่ายได้ ตัวอย่างเช่น เงินได้จากการเขียน บทความเป็ นรายอาทิตย์ ซึง่ ผูเ้ ขียนมิได้เป็ นลูกจ้างหรือพนักงานของบริษทั ลิขสิทธิ ์ในบทความ เป็ นของผูเ้ ขียน ถือเป็ นเงินได้ตามมาตรา 40(3) (กค.0811/พ.08972 ลว.12 มิถุนายน 2541)


19

40(4) เงินได้ทเ่ี ป็ น 1) ดอกเบี้ย พัน ธบัตร ดอกเบี้ย เงินฝาก ดอกเบี้ย เงินกู้ ดอกเบี้ยตั ๋วเงิน ดอกเบีย้ เงินกูย้ มื ไม่ว่าจะมีหลักประกันหรือไม่ ดอกเบีย้ เงินกูย้ มื ทีอ่ ยูใ่ น บัง คับ ต้ อ งถู ก หัก ภาษี ณ ที่จ่ า ยตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยภาษี เ งิน ได้ ปิ โตรเลียมเฉพาะส่วนที่เหลือจากถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายตามกฎหมาย ดังกล่าว หรือผลต่างระหว่างราคาไถ่ถอนกับราคาจําหน่ ายตั ๋วเงิน หรือ ตราสาร แสดงสิท ธิใ์ นหนี้ ท่ีบ ริษัทหรือ ห้างหุ้นส่ว นนิ ติบุ ค คล หรือนิ ติ บุคคลอื่นเป็ นผูอ้ อกและจําหน่ ายครัง้ แรกในราคาตํ่ากว่าราคาไถ่ถอน รวมทัง้ เงินได้ทม่ี ลี กั ษณะทํานองเดียวกันกับดอกเบีย้ ผลประโยชน์หรือ ค่าตอบแทนอื่นๆ ทีไ่ ด้จากการให้กูย้ มื หรือจากสิทธิเรียกร้องในหนี้ทุก ชนิดไม่วา่ จะมีหลักประกันหรือไม่กต็ าม 2) เงิน ป นั ผล เงิน ส่ว นแบ่ ง ของกํา ไร หรือ ผลประโยชน์ อ่ืน ใดที่ไ ด้จ าก บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล หรือกองทุนรวม หรือสถาบันการเงิน ที่มกี ฎหมาย โดยเฉพาะของประเทศไทยจัดตัง้ ขึน้ สําหรับให้กู้ยมื เงิน เพื่อส่งเสริมเกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรืออุตสาหกรรม เงินปนั ผล หรือ เงิน ส่ว นแบ่ ง กํา ไรที่อ ยู่ใ นบังคับ ต้อ งถู ก หัก ภาษี ณ ที่จ่ า ย ตาม กฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียมเฉพาะส่วนที่เหลือจากถูกหัก ภาษี ณ ทีจ่ า่ ยตามกฎหมายดังกล่าว 3) เงิน โบนั ส ที่จ่ า ยแก่ ผู้ถือ หุ้น หรือ ผู้เ ป็ น หุ้น ส่ ว นในบริษัท หรือ ห้า ง หุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล 4) เงินลดทุนบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลเฉพาะส่วนทีจ่ ่ายไม่เกินกว่า กําไรและเงินทีก่ นั ไว้รวมกัน 5) เงินเพิม่ ทุนของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล ซึง่ ตัง้ จากกําไรที่ได้มา หรือเงินทีก่ นั ไว้รวมกันในกรณีทเ่ี ป็ นการเพิม่ ทุน โดยเรียกเก็บเงินจาก ผูถ้ อื หุน้ หรือผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วนจริง ไม่ถอื เป็ นเงินได้พงึ ประเมินของผูถ้ อื หุน้ หรือผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วน


20

6) ผลประโยชน์ทไ่ี ด้จากการทีบ่ ริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลควบเข้ากัน หรือรับช่วงกัน หรือเลิกกัน ซึง่ ตีราคาเป็ นเงินได้เกินกว่าทุน 7) ผลประโยชน์ ท่ีไ ด้จ ากการโอนการเป็ น หุ้น ส่ ว น หรือ โอนหุ้น หุ้น กู้ พันธบัตร หรือตั ๋วเงิน หรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ท่บี ริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิ ติบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นเป็ นผู้ออก ทัง้ นี้ เฉพาะซึ่งตีราคา เป็ นเงินได้เกินกว่าทีล่ งทุน 40(5) เงินได้ทเ่ี ป็ น 1) การให้เช่าทรัพย์สนิ ไม่วา่ จะเป็ นอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์ 2) การผิดสัญญาเช่าซือ้ สินทรัพย์ 3) การผิดสัญญาซื้อขายเงินผ่อนซึ่งผูข้ ายได้รบั คืนทรัพย์สนิ ทีซ่ ้อื ขายนัน้ โดยไม่ตอ้ งคืนเงิน หรือประโยชน์ทไ่ี ด้รบั ไว้แล้ว เงินได้ตามมาตรา 40(5) ไม่รวมถึงเงินกินเปล่า เงินช่วยค่าก่อสร้าง เงินค่า ซ่อมแซม ค่าแห่งอาคาร หรือโรงเรือนทีไ่ ด้รบั กรรมสิทธิ ์ 40(6) เงินได้จากการประกอบวิชาชีพอิสระ คือ วิชาชีพกฎหมาย การประกอบโรค ศิลป์ วิศวกรรม สถาปตั ยกรรม การบัญชี ประณีตศิลปกรรม หรือวิชาชีพอิสระอื่น 40(7) เงินได้จากการรับเหมาที่ผูเ้ หมาต้องลงทุนด้วยการจัดหาสัมภาระในส่วน สําคัญนอกจากเครือ่ งมือ เงินได้ประเภทนี้เป็ นเงินได้จากการรับเหมาต่างๆ เช่นรับเหมาก่อสร้างที่ ผูร้ บั เหมารับจัดหาสัมภาระในการก่อสร้างด้วย หากเป็ นการรับเหมาเฉพาะค่าแรงงานก็ไม่เข้า ลักษณะเป็ นเงินได้ประเภทนี้ 40(8) เงินได้จากธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง หรือ การอื่นนอกจากทีร่ ะบุไว้ใน (1) ถึง (7)


21

4. เงิ นได้พึงประเมิ นตามมาตรา 40(1) ได้แก่ เงินได้เ นื่ องจากการจ้างแรงงาน ไม่ว่าจะเป็ นเงินเดือน ค่าจ้าง เบี้ย เลี้ยง โบนัส เบีย้ หวัด บํานาญ เงินค่าเช่าบ้าน เงินทีค่ ํานวณได้จากมูลค่าของการได้อยู่บา้ นทีน่ ายจ้าง ให้อยู่โดยไม่เสียค่าเช่า เงินที่นายจ้างจ่ายชําระหนี้ใดๆ ซึ่งลูกจ้างมีหน้ าที่ต้องชําระ และเงิน ทรัพย์สนิ หรือประโยชน์ใดๆ บรรดาทีไ่ ด้เนื่องจากการจ้างแรงงาน 5. การยกเว้นภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา ส่วนใหญ่เป็ นการยกเว้นสําหรับเงินได้พงึ ประเมินตามกําหนดไว้โดยมาตรา 42 แห่ง ประมวลรัษฎากร และกฎกระทรวงทีอ่ อกตามมาตรานี้ รวมถึงการยกเว้นตามพระราชกฤษฎีกาฯ และการยกเว้นโดยกฎหมายอื่น 6. การคํานวณเงิ นได้สทุ ธิ 6.1 ฐานภาษี ฐานภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คือ เงินได้สุทธิ (เงินได้พงึ ประเมินเฉพาะทีต่ ้อง เสียภาษีหกั ค่าใช้จ่าย ค่าลดหย่อน และเงินบริจาคที่ต้องนํ ามาคํานวณตามอัตราภาษีเงินได้ บุคคลธรรมดา) 6.2 การหักค่าใช้จา่ ย เงินได้พงึ ประเมินประเภทที่ 1 (มาตรา 40 (1)) ยอมให้หกั ค่าใช้จ่ายได้ ดังนี้ เงินได้พงึ ประเมิน (ไม่รวมเงินได้ทน่ี ายจ้างจ่ายให้ครัง้ เดียวเพราะเหตุออกจากงาน) หักค่าใช้จ่าย เป็ นการเหมาได้รอ้ ยละ 40 แต่รวมกันต้องไม่เกิน 60,000 บาท (มาตรา 42 ทวิ วรรคหนึ่ง) กรณีเงินได้ท่นี ายจ้างจ่ายให้ครัง้ เดียวเพราะเหตุออกจากงานให้หกั ค่าใช้จ่าย ส่วนแรกเท่ากับ 7,000 x จํานวนปีทท่ี าํ งาน ค่าใช้จา่ ยส่วนหลังหักได้อกี 50% (มาตรา 48 (5))


22

6.3 การหักลดหย่อน เพื่อเป็ นการบรรเทาภาระภาษี ผูม้ เี งินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 เมื่อหัก ค่าใช้จ่ายตามมาตรา 42 ทวิ ถึง มาตรา 46 แล้วให้หกั ลดหย่อนได้อกี (มาตรา 47) ซึง่ จัดแบ่งได้ เป็ น 4 กรณีดงั นี้ การหักลดหย่อนกรณีผมู้ เี งินได้ไม่มคี สู่ มรส (ก) ผูม้ เี งินได้ 30,000 บาท (ข) เบี้ยประกันชีวติ ตามจํานวนที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10,000 บาท ส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 90,000 บาท (รวมแล้วหักไม่เกิน 100,000 บาท) ให้ นํ าไปหั ก ออกจากเงิ น ได้ พึ ง ประเมิ น เมื่ อ ได้ ห ั ก ค่ า ใช้ จ่ า ยแล้ ว (กฎกระทรวงฉบับที่ 126 ข้อ 2(61) สําหรับเบี้ยประกันทีจ่ ่ายตัง้ แต่ 1 มกราคม 2551 เป็ นต้นไป (แก้ไขเพิม่ เติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 266 (พ.ศ.2551)) (ค) เงินสะสมทีจ่ า่ ยเข้ากองทุนสํารองเลีย้ งชีพ (ต้องไม่ต่าํ กว่า 3% และไม่ เ กิ น 5% ของค่าจ้างทีไ่ ด้รบั ) หักได้ตามทีจ่ ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10,000 บาท ส่วนที่ เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 490,000 บาท เป็ นเงินได้ทไ่ี ด้รบั ยกเว้น (ตาม กฎกระทรวงฉบับที่ 126 ข้อ ข(35) แก้ไขเพิม่ เติมโดยฉบับที่ 266 (พ.ศ. 2551)) ให้นําจํานวนเงินทีเ่ กินดังกล่าวไปหักจากเงินได้พงึ ประเมินก่อนหัก ค่าใช้จา่ ย (ง) ดอกเบีย้ เงินกูย้ มื เพื่อซือ้ /เช่าซือ้ หรือสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัย (ต้องใช้เป็ นทีอ่ ยูอ่ าศัย จะมีก่แี ห่งก็ได้) ตามที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10,000 บาท ส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 90,000 บาท เป็ นเงินได้ทไ่ี ด้รบั การยกเว้นตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2550 เป็ นต้นไป (กฎกระทรวงฉบับที่ 126 ข้อ 2(52), (53) และ (59) แก้ไขโดยประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีเงินได้ ฉบับที่ 165, 166 และ167)) (จ) เงินสมทบทีผ่ ปู้ ระกันตนจ่ายเข้ากองทุนประกันสังคมตามทีจ่ า่ ยจริง


23

(ฉ) ค่าอุปการะเลี้ยงดูบดิ ามารดาของผูม้ เี งินได้ โดยบิดามารดาดังกล่าวต้องมี อายุ 60 ปี ขน้ึ ไปและต้องไม่มเี งินได้พงึ ประเมินในปี ภาษีทข่ี อหักลดหย่อน เกิน 30,000 บาท (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร ฉบับที่ 136) ต้องมีหนังสือ รับรองการหักลดหย่อน (ล.ย.03) โดยหักได้คนละ 30,000 บาท การหักลดหย่อนกรณีผมู้ เี งินได้มคี สู่ มรส ซึง่ แบ่งเป็ น 2 กรณี ดังนี้ กรณีทค่ี สู่ มรสไม่มเี งินได้ ผูม้ เี งินได้สามารถหักค่าลดหย่อนได้เพิม่ ขึน้ จากกรณีทค่ี ่สู มรสไม่มเี งิน ได้ ดังนี้ (ก) คู่สมรสของผูม้ เี งินได้ 30,000 บาท โดยไม่คาํ นึงว่าความเป็ นสามี ภรรยาจะมีอยูต่ ลอดปีภาษีหรือไม่ (ข) เบีย้ ประกันชีวติ ของคู่สมรส หักได้ตามจํานวนทีจ่ ่ายจริง แต่ไม่เกิน 10,000 บาท แต่ความเป็ นสามีภรรยาต้องมีอยู่ตลอดปี ภาษี (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกีย่ วกับภาษีเงินได้ ฉบับที่ 112) (ค) ค่าอุปการะเลี้ยงดูบดิ ามารดาของคู่สมรสของผู้มเี งินได้ โดยบิดา มารดาดังกล่าวต้องมีอายุ 60 ปี ข้นึ ไปและต้องไม่มเี งินได้พงึ ประเมิน ในปี ภ าษีท่ีข อหัก ลดหย่ อ นเกิน 30,000 บาท(ประกาศ อธิบดีกรมสรรพากร ฉบับที่ 136) ต้องมีหนังสือรับรองการหัก ลดหย่อน (ล.ย.03) โดยหักได้คนละ 30,000 บาท กรณีท่คี ู่สมรสมีเงินได้ และความเป็ นสามีภรรยามีอยู่ตลอดปี ภาษี ซึ่งจะ แยกเป็ น 2 กรณียอ่ ยดังนี้ 1) กรณี ภ รรยายื่น แบบแสดงรายการภาษีร วมกับ สามี สามารถหัก ค่ า ลดหย่อนได้ดงั นี้ (ก) ผูม้ เี งินได้ 30,000 บาท


24

(ข) คูส่ มรสของผูม้ เี งินได้ 30,000 บาท (ค) บุตรคนละ 15,000 บาท สูงสุดไม่เกิน 3 คน (โดยให้นบั บุตรทุกคน ทีม่ ชี วี ติ อยู่เท่านัน้ และได้รบั ยกเว้นภาษีตลอดปี ภาษี ไม่ว่ากรณีท่ี จะได้รบั ยกเว้นภาษีนนั ้ จะมีอยูต่ ลอดปีภาษีหรือไม่) เงือ่ นไขในการหักลดหย่อนบุตร มีดงั นี้ 1. เป็ น ผู้เ ยาว์ (ยัง ไม่บ รรลุ นิ ติภ าวะ) หรือ ศาลสังให้ ่ เ ป็ น คนไร้ ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถ (ไม่จาํ กัดอายุ) หรือ เป็ นบุตรซึง่ มีอายุไม่เกิน 25 ปี และยังศึกษาอยูใ่ นมหาวิทยาลัย หรือชัน้ อุดมศึกษา (ตัง้ แต่ระดับ ปวส.) ไม่ว่าจะศึกษาในหรือ ต่างประเทศ 2. ต้องเป็ นบุตรชอบด้วยกฎหมายหรือบุตรบุญธรรมของผูม้ เี งิน ได้ รวมทัง้ บุตรชอบด้วยกฎหมายของสามีหรือภรรยาของผูม้ ี เงินได้ และต้องอยูใ่ นความอุปการะเลีย้ งดูของผูม้ เี งินได้ 3. ต้ อ งไม่ มีเ งิน ได้ พึ ง ประเมิ น ในปี ภ าษี ท่ีล่ ว งมาแล้ ว ตัง้ แต่ 15,000 บาทขึน้ ไป (ไม่รวมเงินได้ทไ่ี ด้รบั ก า ร ย ก เ ว้ น ต า ม มาตรา 42) (ง) เบีย้ ประกันชีวติ ต่างฝา่ ยต่างหักได้ตามจํานวนทีจ่ ่ายจริงแต่ไม่เกิน คนละ 100,000 บาท (จ) บุตรของผูม้ เี งินได้ซ่งึ มีสทิ ธิหกั ลดหย่อนตาม (ค) และยังศึกษาใน สถานศึกษาในประเทศไทย ให้หกั ลดหย่อนได้เพิม่ อีกคนละ 2,000 บาท (ฉ) เงินสะสมทีจ่ า่ ยเข้ากองทุนสํารองเลีย้ งชีพ ต่างฝา่ ยต่างหักได้ตามที่ จ่าย จริง แต่ไม่เกินคนละ 10,000 บาท ส่วนทีเ่ กิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 490,000 บาท เป็ นเงินที่ได้รบั การยกเว้น (ตาม กฎกระทรวง ฉบับที่ 126 ข้อ ข(35) แก้ไขเพิม่ เติมโดยฉบับที่ 266


25

(พ.ศ.2551)) ให้นําจํานวนที่เกินดังกล่าวไปหักจากเงินได้พงึ ประเมินก่อนหักค่าใช้จา่ ย (ช) ดอกเบี้ย เงิน กู้ย ืม เพื่อ ซื้อ /เช่ า ซื้อ หรือ สร้า งที่อ ยู่อ าศัย ให้ห กั ค่ า ลดหย่อนตามจํานวนทีจ่ า่ ยจริง แต่ไม่เกิน 100,000 บาท (ซ) เงินสมทบที่ผปู้ ระกันตนจ่ายเข้ากองทุนประกันสังคมต่างฝ่ายต่าง หักได้ตามทีจ่ า่ ยจริง (ญ) ค่าอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดาของคู่สมรสของผูม้ เี งินได้ โดยบิดา มารดาดังกล่าวต้องมีอายุ 60 ปี ข้นึ ไปและต้องไม่มเี งินได้พงึ ประเมินในปี ภาษีทข่ี อหักลดหย่อนเกิน 30,000 บาท ต่างฝ่ายต่าง หักได้คนละ 30,000 บาท 2) กรณีภรรยาแยกยืน่ แบบแสดงรายการภาษีต่างหากจากสามีเฉพาะส่วน ทีเ่ ป็ นเงินได้ตามมาตรา 40(1) ให้ต่างฝา่ ยต่างหักค่าลดหย่อนได้ดงั นี้ (ก) ผูม้ เี งินได้ 30,000 บาท (ข) บุตรทีไ่ ม่ศกึ ษาคนละ 7,500 บาท บุตรทีศ่ กึ ษาในสถานศึกษาใน ประเทศไทยคนละ 8,500 บาท (สูงสุดไม่เกิน 3 คน) (ค) เบีย้ ประกันชีวติ ตามจํานวนทีจ่ า่ ยจริง แต่ไม่เกิน 100,000 บาท (ง) เงินสะสมทีจ่ า่ ยเข้ากองทุนสํารองเลีย้ งชีพ ตามทีจ่ า่ ยจริง แต่ไม่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 490,000 บาท เป็ นเงินได้ทไ่ี ด้รบั การ ยกเว้น (จ) ดอกเบี้ ย เงิน กู้ ย ื ม เพื่อ ซื้ อ /เช่ า ซื้ อ หรือ สร้ า งที่ อ ยู่ อ าศัย ให้ ห ัก ลดหย่อนครึง่ หนึ่งของจํานวนที่จ่ายจริง (จํานวนที่จ่ายจริงต้องไม่ เกิน 100,000 บาท) (ฉ) ค่าอุปการะเลีย้ งดูบดิ ามารดา


26

การหักลดหย่อนกรณีผู้มเี งินได้มิได้อยู่ในประเทศไทย (อยู่ในประเทศไทย รวมกันไม่ถงึ 180 วัน) การหักค่าลดหย่อนคู่สมรส บุตร และค่าเลีย้ งดูบดิ ามารดาของผูม้ เี งินได้ จะหักลดหย่อนได้เฉพาะทีอ่ ยูใ่ นประเทศไทย เท่านัน้ การหักลดหย่อนกรณีอ่นื 1) ผูม้ เี งินได้ถงึ แก่ความตายระหว่างปี ภาษี ให้หกั ลดหย่อนได้เสมือนมีชวี ติ อยู่ ตลอดปี ภาษี 2) ผูม้ เี งินได้ทเ่ี ป็ นกองมรดกทีย่ งั ไม่ได้แบ่ง ให้หกั ลดหย่อนได้ 30,000 บาท 3) ผู้มเี งินได้เ ป็ นห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือคณะบุ คคลที่มิใช่นิติบุ คคล ให้หกั ลดหย่อ นผู้มีเ งิน ได้สํา หรับ หุ้น ส่ว นแต่ ล ะคน แต่ ร วมกัน ไม่เ กิน 60,000 บาท 4) เงินสนับสนุ นการศึกษา เมื่อหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนแล้วเหลือเงิน เท่ า ใดให้ห ัก ลดหย่ อ นสํา หรับ เงิน ได้ท่ีจ่ า ยเป็ น ค่ า ใช้จ่ า ยเพื่อ สนั บ สนุ น การศึกษาให้แก่สถานศึกษาของทางราชการ องค์การของรัฐบาล โรงเรียน เอกชน โดยต้องเป็ นโครงการทีก่ ระทรวงศึกษาธิการให้ความเห็นชอบ (พระ ราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 420) เป็ นจํานวนสองเท่าของรายจ่ายทีจ่ า่ ยจริง แต่ไม่ เกินร้อยละ 10 ของเงินได้ทเ่ี หลือ 5) เงินบริจาค เมื่อหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนตามมาตรา 47 (1) (2) (3) (4) (5)หรือ (6) แล้วเงินเหลือเท่าใดให้หกั ลดหย่อนสําหรับการบริจาค (ต้อง บริจาคเป็ นเงินสดเท่านัน้ ) ตามจํานวนทีจ่ ่ายจริง แต่ไม่เกินร้อยละ 10 ของ เงินได้ทเ่ี หลือ ในกรณีทค่ี ่สู มรสไม่มเี งินได้จะนํ าเงินบริจาคส่วนของตนเอง นัน้ มาหักลดหย่อนไม่ได้ และถ้าในใบรับบริจาคระบุช่อื ทัง้ สองคน ให้หกั ลดหย่อนได้เพียงครึง่ เดียว ต้องบริจาคให้แก่ ก) สถานพยาบาลและสถานศึกษาของทางราชการ


27

ข) สถานศึ ก ษาที่ ต ั ง้ ขึ้ น ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโรงเรี ย นเอกชนและ ส ถ า น ศึ ก ษ า ที่ เ ป็ น ส ถ า บั น อุ ดมศึ ก ษ า ต า ม ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย สถาบันอุดมศึกษาเอกชน ค) องค์การ หรือสถานสาธารณกุศลทีร่ ฐั มนตรีว่าการกระทรวงการคลังได้ ประกาศให้เป็ นองค์การสาธารณกุศล การคํานวณภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา 1. การคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากรณีมเี งินได้ 40(1) คํานวณตามมาตรา 48(1) โดยนํ าเงินได้พงึ ประเมินที่ได้รบั ในปี ภาษีนัน้ หัก ค่าใช้จ่ายและหักค่าลดหย่อน คงเหลือเท่าใดเป็ นเงินได้สุทธิท่จี ะต้องนํ าไปคํานวณภาษีตามที่ กําหนด ซึง่ สรุปได้ดงั นี้ เงินได้พงึ ประเมิน ม. 40(1) xxx หัก ค่าใช้จา่ ย 40% ไม่เกิน 60,000 บาท xxx เงินได้หลังหักค่าใช้จา่ ย xxx หัก ค่าลดหย่อน (ม.47) ยกเว้นเงินบริจาค xxx เงินได้คงเหลือ xxx หัก เงินบริจาค (ม.47(7)ไม่เกิน 10% ของ (5) xxx เงินได้สทุ 2.ธิ การคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดากรณีxxx มเี งินได้ประเภทอื่น นําเงินได้สทุ ธิ (7) ไปคํานวณภาษีตามอัตราก้าวหน้า (มาตรา 76 ตรี) จะได้ภาษีทต่ี ต้อ้ องชํ งคําาระนวณภาษี 3 ขัน้ ตอน ดังนี้ xxx

(1) (2) (3)=(1) - (2) (4) (5)=(3) – (4) (6) (7)=(5) –(6) (8)

1) คํานวณตามมาตรา 48(1) โดยนํ าเงินได้พงึ ประเมินทีไ่ ด้รบั ในปี ภาษีนัน้ หัก ค่าใช้จ่าย และหักค่าลดหย่อน คงเหลือเท่าใดเป็ นเงินได้สุทธิท่จี ะต้องนํ าไป คํานวณภาษีตามทีก่ าํ หนด 2) คํานวณตามมาตรา 48(2) สําหรับผูม้ เี งินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40(2) 40(8) ในปี ภาษีตงั ้ แต่ 60,000 บาทขึน้ ไป ให้เสียภาษีไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.5 ของยอดเงินได้พงึ ประเมิน


28

3) เปรียบเทียบภาษีทค่ี าํ นวณได้ ตามข้อ 1) และ 2) ภาษีทต่ี อ้ งชําระคือ จํานวนที่ สูงกว่า ขัน้ ที่ 1 xxx (1) เงินได้พงึ ประเมินทุกประเภท (ม. 40(1)-(8)) หัก ค่าใช้จา่ ย (ม.42 ทวิ – ม.46) xxx (2) เงินได้หลังหักค่าใช้จา่ ย xxx (3)=(1) - (2) หัก ค่าลดหย่อน (ม.47) ยกเว้นเงินบริจาค xxx (4) เงินได้คงเหลือ xxx (5)=(3) – (4) หัก เงินบริจาค (ม.47(7) ไม่เกิน 10% ของ (5) xxx (6) เงินได้สทุ ธิ xxx (7)=(5) –(6) นําเงินได้สทุ ธิ (7) ไปคํานวณภาษีตามอัตราก้าวหน้า (มาตรา 76 ตรี) จะได้ภาษีทต่ี อ้ งชําระตามขัน้ ตอนที่ 1 xxx (8) ขัน้ ที่ 2 สําหรับผูม้ เี งินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40(2) ถึง (8) รวมกันตัง้ แต่ 60,000 บาทขึน้ ไป (มาตรา 48(2)) ภาษีทต่ี อ้ งชําระตามขัน้ ที่ 2 = เงินได้พงึ ประเมินตาม ม.40(2) ถึง (8) x 0.005 กรณีท่ี คํานวณได้ไม่เกิน 5,000 บาท ได้รบั สิทธิในการยกเว้นภาษีดงั กล่าว โดยให้คงมีหน้าทีใ่ นการ คํานวณและเสียภาษีสาํ หรับเงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 48(1) (พระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 480 พ.ศ. 2552) ขัน้ ที่ 3 นําภาษีทค่ี าํ นวณได้ตามขัน้ ที่ 1 ข้อ (8) เปรียบเทียบกับภาษีทค่ี าํ นวณได้ตามขัน้ ที่ 2 ภาษีทต่ี อ้ งชําระคือ จํานวนทีส่ งู กว่า ภาษีทต่ี อ้ งชําระเพิม่ เมือ่ ยืน่ แบบ ภ.ง.ด.90 หรือ ภ.ง.ด.91 จํานวนภาษีทต่ี อ้ งชําระ (จากขัน้ ที่ 3) xxx หัก ภาษีทถ่ี ูกหัก ณ ทีจ่ า่ ย xx ภาษีทช่ี าํ ระครึง่ ปี (ภ.ง.ด.94) xx ภาษีเงินได้ทช่ี าํ ระล่วงหน้า xx เครดิตภาษีเงินปนั ผล xx xxx คงเหลือภาษีทต่ี อ้ งชําระเพิม่ xxx


29

ตารางที่ 2-1 อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

0 ถึง 100,000 บาท (พระราชกฤษฎีกา ฉ. 470) 100,001 ถึง 150,000 บาท (พรก. ฉ.470) 150,001 ถึง 500,000 บาท 500,001 ถึง 1,000,000 บาท 1,000,001 ถึง 4,000,000 บาท 4,000,001 บาทขึน้ ไป

ช่วงเงิ นได้ อัตรา สุทธิ (บาท) ภาษี (%) 100,000 5 50,000 10 350,000 10 500,000 20 3,000,000 30 37

ภาษี เงิ นได้ ภาษี สะสม (บาท) (บาท) ยกเว้น 0 ยกเว้น 0 35,000 35,000 100,000 135,000 900,000 1,035,000

หมายเหตุ การยกเว้นภาษีเงินได้ 0 ถึง 150,000 บาท จะยกเว้นให้สาํ หรับการคํานวณภาษีเงินได้ตาม มาตรา 48(1) เท่านัน้ เริม่ มีผลสําหรับเงินได้ตงั ้ แต่ปี 2551 เป็ นต้นไป

การยื่นแบบแสดงรายการเกี่ยวกับภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา 1. การยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ประจําปี ให้ย่นื แบบแสดงรายการเกีย่ วกับเงิน ได้พงึ ประเมินภายในเดือนมีนาคมของทุกๆ ปี (มาตรา 56) ในกรณีทม่ี เี งินได้ตาม มาตรา 40(1) ประเภทเดียวให้ใช้แบบ ภ.ง.ด.91 สําหรับผูม้ รี ายได้หลายประเภท กองมรดกทีย่ งั ไม่ได้แบ่ง และห้างหุน้ ส่วนสามัญหรือคณะบุคคล ให้ใช้แบบ ภ.ง.ด. 90 (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร ฉบับที่ 28) 2. การยืน่ แบบแสดงรายการภาษีเงินได้ครึง่ ปี ในกรณีทม่ี เี งินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40(5) – (8) ทีไ่ ด้รบั ตัง้ แต่เดือนมกราคม – มิถุนายน ไม่ว่าจะมีเงินได้ประเภทอื่น รวมอยู่ดว้ ยหรือไม่ ให้ย่นื แบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึง่ ปี ภายใน เดือนกันยายนของทุกปี (มาตรา 56 ทวิ) โดยใช้แบบ ภ.ง.ด.94 การคํานวณภาษี และอัตราภาษี ตามมาตรา 48 เงินได้พงึ ประเมินต้องเสียภาษีเงินได้ ดังนี้ 1. เงินได้พงึ ประเมินเมือ่ ได้หกั ค่าใช้จา่ ยและค่าลดหย่อนแล้วเหลือเท่าใด เป็ นเงิน ได้สทุ ธิตอ้ งเสียภาษีในอัตราทีก่ าํ หนดในบัญชีอตั ราภาษีเงินได้ (ตารางที่ 2-1)


30

2. สําหรับผูม้ เี งินได้พงึ ประเมิน (ไม่รวมถึงเงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (1) ตัง้ แต่ 60,000 บาทขึน้ ไป การคํานวณภาษีตาม (1) ให้เสียภาษีไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.5 ของยอดเงินได้พงึ ประเมิน 3. ผูม้ เี งินจะเลือกเสียภาษีโดยไม่ตอ้ งนําไปรวมคํานวณภาษีตาม (1) และ (2) ก็ได้ สําหรับเงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (1) และมาตรา 40 (2) ซึง่ เป็ นเงินที่ นายจ้างจ่ายให้ครัง้ เดียวเพราะเหตุออกจากงาน ซึ่งได้คํานวณจ่ายจากระยะเวลาที่ ทํางานและค่าใช้จา่ ยตามหลักเกณฑ์วธิ กี ารและเงือ่ นไขทีอ่ ธิบดีกาํ หนด ตารางที่ 2-2 ขัน้ ตอนการคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

รายการ เงินได้พงึ ประเมินทุกประเภท (ม.40(1)-(8) หัก เงินสะสมเข้ากองทุนสํารองเลี้ยงชีพ (ตามที่จ่ายจริง แต่ไม่ เกิน 10,000 บาท) หัก ค่าใช้จา่ ย (ม.47 ทวิ- ม.46) เงินได้หลังหักค่าใช้จา่ ย หัก ค่าลดหย่อน (ม.47(1)) (ก) ผูม้ เี งินได้ (ข) คูส่ มรส (ค) บุตร – ไม่ศกึ ษาคนละ (ง) บุตร – ศึกษาคนละ (จ) ประกันชีวติ - ผูม้ เี งินได้ (ตามทีจ่ า่ ยจริง ไม่เกิน) - คูส่ มรส (กรณีไม่มเี งินได้) (ฉ) เงินสะสมเข้ากองทุนสํารองเลีย้ งชีพ (ช) ดอกเบีย้ เงินกูย้ มื เพือ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัย (ตามทีจ่ า่ ยจริง ไม่เกิน) (ซ) เงินสมทบกองทุนประกันสังคม (ตามทีจ่ า่ ยจริง) (ฌ) ค่าอุปการะเลีย้ งดูบดิ ามารดา (ไม่เกิน4คนๆ ละ30,000) (ญ) ค่าเบีย้ ประกันสุขภาพบิดามารดา(ตามทีจ่ า่ ยจริงไม่เกิน) เงินได้หลังหักค่าลดหย่อน (A) หัก เงินบริจาคสนับสนุ นการศึกษา (2 เท่า) ไม่เกิน 10% (A)

คํานวณภาษีสน้ิ ปี ภ.ง.ด.90 หรือ 91 (ม.ค.-ธ.ค.) xxx xxx

คํานวณภาษีครึง่ ปี ภ.ง.ด.94 (ม.ค.-มิ.ย.)

xxx xxx

490,000 xxx xxx

15,000 15,000 7,500 8,500 95,000 95,000 60,000 15,000 xxx xx

30,000 30,000 15,000 17,000 100,000 10,000 10,000 100,000 xxx 120,000 15,000 xxx xx


31

ตารางที่ 2-2 (ต่อ)

รายการ หัก เงินบริจาค (ตามทีจ่ า่ ยจริง ไม่เกิน 10%(A)) เงินได้สทุ ธิ คูณ อัตราภาษี (ตามอัตราก้าวหน้า) ภาษีทค่ี าํ นวณได้ ภาษี ที่ต้องชําระ ภาษีทค่ี าํ นวณได้ หัก ภาษีทถ่ี กู หัก ณ ทีจ่ า่ ย เครดิตภาษีเงินปนั ผล ภาษีเงินได้ทช่ี าํ ระล่วงหน้า (กรณีทเ่ี ป็ นอสังหาริมทรัพย์) ภาษีทช่ี าํ ระตามแบบ ภ.ง.ด.94 ภาษี ที่ต้องชําระ

xx xxx x xx

คํานวณภาษีสน้ิ ปี ภ.ง.ด.90 หรือ 91 (ม.ค.-ธ.ค.) xx xxx x xx

xxx xx xx xxx

xxx xx xx xx xx xxx

คํานวณภาษีครึง่ ปี ภ.ง.ด.94 (ม.ค.-มิ.ย.)

ภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ทีจ่ ่าย เป็ นภาษีเงินได้ท่กี ําหนดให้หกั จากผูร้ บั เงินได้ พึงประเมิน (มาตรา 39) ซึง่ เป็ นบุคคลธรรมดา (มาตรา 56) ทีม่ หี น้าทีต่ อ้ งเสียภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดาตามประมวลรัษฎากร ถือเป็ นการจ่ายภาษีล่ว งหน้ าและสามารถนํ าภาษีท่ถี ูกหักไว้ ล่วงหน้านัน้ นําไปลดยอดภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทีค่ าํ นวณได้ 1. หน้ าที่ของผูห้ กั ภาษี เงิ นได้หกั ณ ที่จ่าย 1.1 ต้องมีเลขประจําตัวผูเ้ สียภาษี เพือ่ ปฏิบตั ติ ามประมวลรัษฎากร 1.2 คํานวณหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย เมื่อมีการจ่ายเงินตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไข วิธกี ารทีก่ าํ หนดไว้ในกฎหมายแล้วหักไว้ 1.3 ออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามแบบอธิบ ดีกําหนดหรือแบบที่ ได้รบั อนุ มตั จิ ากอธิบดีกรมสรรพากรแล้วจํานวน 2 ฉบับมีขอ้ ความตรงกัน และ อย่างน้อยต้องมีขอ้ ความตามแบบท้ายประกาศให้แก่ผถู้ ูกหักภาษี ณ ทีจ่ า่ ย


32

1.4 นําเงินภาษีทต่ี นมีหน้าทีค่ ํานวณและหักไว้นําส่ง ณ สํานักงานสรรพากรอําเภอ ท้องที/่ กิง่ อําเภอท้องที่ (สํานักงานสรรพากรเขตในกรุงเทพมหานคร) ภายใน 7 วันนับแต่ วนั ที่จ่ายเงิน ไม่ว่าจะได้หกั ภาษีไว้หรือไม่ พร้อมทัง้ ยื่นแบบแสดง รายการตามทีส่ รรพากรกําหนด (ภ.ง.ด.3) 1.5 ต้องทําบัญชีพเิ ศษแสดงการหักภาษี ณ ทีจ่ ่าย และนําส่งภาษีตามแบบทีอ่ ธิบดี กรมสรรพากรกําหนด โดยกรอกรายการหักภาษี ณ ที่จ่ายประจําวันและแยก เป็ นรายการหักจากบุคคลธรรมดา หรือบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล และ กรอกรายการนํ าส่งภาษีประจําวัน โดยให้แยกตามใบเสร็จรับชําระภาษีอากร ของกรมสรรพากร เป็ นรายฉบับเรียงลําดับก่อนหลังตามวันทีม่ กี ารหักภาษี ณ ที่จ่ายหรือการนํ าส่งภาษี เมื่อสิ้นวันสุดท้ายของเดือนให้รวมยอดจํานวนเงิน ภาษีหกั ณ ทีจ่ ่ายและจํานวนภาษีทน่ี ํ าส่งแล้วทัง้ สิน้ ของเดือนนัน้ แต่ละรายการ และต้องเก็บรักษาบัญชีพเิ ศษดังกล่าวไว้ไม่น้อยกว่าห้าปี โดยทัว่ ไปการคํ า นวณหัก ภาษีเ งิน ได้ห กั ณ ที่จ่ า ย จะกระทํา เมื่อ มีก ารจ่ า ยเงิน ได้ ประเภททีต่ อ้ งหักภาษีเงินได้ ณ ทีจ่ ่ายให้แก่ผมู้ เี งินได้ ซึง่ ตรงกับวิธกี ารทางบัญชีตามเกณฑ์เงิน สด (Cash basis) ดังนี้ 1) กรณีจ่ายเงินได้เป็ นเงินสด ผู้จ่ายเงินได้มหี น้าที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ทันทีทจ่ี า่ ยเงินสดนัน้ 2) กรณีจ่ายเงินได้เป็ นสิง่ ของ ผูจ้ ่ายเงินได้มหี น้ าที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ทันทีทจ่ี า่ ยเงินได้เป็ นทรัพย์สนิ ดังกล่าว 3) กรณีจา่ ยเงินด้วยเช็ค ให้คาํ นวณหักภาษีเงินได้ ณ ทีจ่ า่ ยตามวันทีล่ งในเช็คนัน้ 2. ภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (1) ต้องหักภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ ่ายตามมาตรา 50 แห่งประมวลรัษฎากร ดังนัน้ กรณีท่กี ฎหมายประมวลรัษฎากรได้กําหนดหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขเกีย่ วกับการหักภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ทีจ่ า่ ยไว้เป็ นการแน่นอนเกีย่ วกับ


33

2.1 กรณีการจ่ายเงินได้พงึ ประเมินประเภทที่ 1 (มาตรา 40 (1)) การคํานวณหัก ภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ให้คูณด้วยเงินได้พงึ ประเมินด้วยจํานวนคราวที่จะต้อง จ่ายเพื่อให้ได้จํานวนเงินเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทัง้ ปี แล้วคํานวณภาษีในทํานอง เดียวกับการคํานวณภาษีส้นิ ปี โดยหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนต่างๆ ออก ก่อน เหลือเงินได้สุทธิเท่าใดจึงนํ าไปคิดภาษีตามบัญชีอตั ราภาษี ได้เงินภาษี จากเงินได้สุทธิทงั ้ สิน้ เท่าใด ให้หารด้วยจํานวนคราวที่จะต้องจ่าย ได้ผลลัพธ์ เป็ นเงินเท่าใดให้หกั ภาษีไว้จาํ นวนเท่านัน้ 2.2 กรณีการจ่ายเงินได้พงึ ประเมินประเภทที่ 1 ซึ่งนายจ้างจ่ายให้ครัง้ เดียวเพราะ เหตุ อ อกจากงาน ตามหลัก เกณฑ์ วีธีก าร และเงื่อ นไขที่อ ธิบ ดีกํ า หนดใน ประกาศอธิบดีฯ (ฉบับที่ 45) ให้คาํ นวณภาษีตามเกณฑ์ในมาตรา 48 (5) เป็ น เงินภาษีทงั ้ สิน้ เท่าใด ให้หกั ภาษี ณ ทีจ่ า่ ยไว้เท่านัน้ 3. แบบแสดงรายการที่ใช้ 3.1 ภ.ง.ด.1 ใช้สําหรับการหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายตามมาตา 50 (1) แห่งประมวล รัษฎากร เนื่องจากการจ่ายเงินได้ตามมาตรา 40 (1) และ (2) แห่งประมวล รัษฎากร โดยต้องยื่นรายการและนําส่งภาษีภายในวันที่ 7 ของเดือนทีจ่ ่ายเงิน ได้ และควรแยกรายการหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายสําหรับพนักงานหรือลูกจ้างทีเ่ ป็ นคน ไทย และพนักงานหรือลูกจ้างทีเ่ ป็ นชาวต่างประเทศต่างหากออกจากกัน 3.2 ภ.ง.ด.1 ก ใช้สรุปรายการจ่ายเงินได้และการหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายสําหรับเงินได้ ตามมาตรา 40 (1) และ (2) แห่งประมวลรัษฎากร ทีผ่ จู้ ่ายเงินได้เป็ นบริษทั หรือ ห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล โดยต้องยื่นรายการดังกล่าวภายในเดือนกุมภาพันธ์ของ ปีถดั จากปีทจ่ี า่ ยเงินได้ กรณีทผ่ี จู้ ่ายเงินได้ตามมาตรา 40(1) แห่งประมวลรัษฎากรเป็ นบริษทั หรือห้าง หุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล ซึง่ ต้องแสดงรายการจ่ายเงินได้เป็ นรายบุคคลนัน้ ให้แสดงรายการจ่ายเงินได้ ทีไ่ ม่ถงึ เกณฑ์หกั ภาษีเงินได้ ณ ทีจ่ ่ายพร้อมกับการยื่น ภ.ง.ด.1 ก หรือแสดงรายการดังกล่าวไว้ ในแบบ ภ.ง.ด.1 ก ก็ได้ (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกีย่ วกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 19)) 3.3 ภ.ง.ด.1 ก พิเศษ ใช้สรุปรายการจ่ายเงินได้และการหักภาษี ณ ที่จ่ายสําหรับ เงินได้ตามมาตรา 40(1) และ (2) แห่งประมวลรัษฎากร ทีผ่ จู้ ่ายเงินได้เป็ น


34

รัฐ บาล หรือ องค์ก รของรัฐ บาล โดยต้อ งยื่น รายการดัง กล่ า วภายในเดือ น กุมภาพันธ์ของปี ถดั จากปี ท่จี ่ายเงินได้ทงั ้ นี้ หน้าที่ดงั กล่าวให้เป็ นของหัวหน้า ส่ว นราชการในกระทรวง ทบวง กรม หัว หน้ า ส่ว นรายการตามท้อ งที่ หรือ องค์กรของรัฐบาล อนึ่ง รายการในแบบแสดงรายการ ภ.ง.ด.1 ก หรือ ภ.ง.ด.1 ก พิเศษ ผูจ้ ่ายเงิน ได้จะแสดงเฉพาะยอดรวมภาษีท่นี ํ าส่งทัง้ สิ้น และแสดงรายละเอียดเป็ นรายบุคคล โดยแนบ สําเนาหนังสือรับรองภาษีหกั ณ ทีจ่ า่ ย ยืน่ ต่อเจ้าพนักงานประเมินพร้อมกับการยืน่ แบบ ภ.ง.ด.1 ก หรือ ภ.ง.ด.1 ก พิเศษ ก็ได้ (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกีย่ วกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 19)) 4. ความรับผิดของผูม้ ีหน้ าที่หกั ภาษี ณ ที่จ่าย 4.1 ความรับผิดทางแพ่ง 4.1.1 ในกรณีไม่ได้หกั ภาษี ณ ทีจ่ ่ายไว้เลย ผูจ้ ่ายและผูม้ เี งินได้จะต้องรับผิด ร่วมกันในจํานวนภาษีทต่ี อ้ งชําระตามจํานวนมิได้หกั และมิได้นําส่ง 4.1.2 ในกรณี ท่ีผู้จ่ า ยภาษีไ ว้แ ล้ว แต่ มิไ ด้นํ า ส่ ง หรือ นํ า ส่ง แล้ว แต่ ไ ม่ ค รบ จํานวนที่ถูกต้องให้ผูม้ เี งินได้ซ่งึ ต้องเสียภาษีพน้ ความรับผิดที่จะต้อง ชําระเท่าจํานวนที่ผูม้ หี น้าที่หกั ภาษี ณ ที่จ่ายได้หกั ไว้แล้ว และให้ผูม้ ี หน้ าที่หกั ภาษี ณ ที่จ่ายรับผิดชําระเงินภาษีจํานวนนัน้ แต่ฝ่ายเดียว 4.1.3 ในกรณีท่ผี ูจ้ ่ายหักภาษี ณ ที่จ่ายไว้ไม่ครบถ้วน จึงนํ าส่งภาษีขาดไป จากจํานวนทีต่ อ้ งเสียให้ผจู้ า่ ยเงินได้และผูม้ เี งินได้รว่ มรับผิดด้วยกัน 4.1.4 ในทางปฏิบตั ิกรณีท่ผี ูห้ กั ภาษี ณ ที่จ่าย ได้ให้ผูม้ เี งินได้แสดงสถานะ เพื่อการหักลดหย่อนโดยผูม้ เี งินได้ลงลายมือชื่อรับรอง หากปรากฏว่า รายการนัน้ ผิดพลาดทําให้การหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายผิดพลาดไปด้วย กรณี นี้ให้ผมู้ เี งินได้รบั ผิดชอบชําระภาษีในส่วนทีน่ ําส่งไม่ครบถ้วนนัน้ ผูห้ กั ภาษี คือ ผูจ้ า่ ยเงินได้ไม่ตอ้ งรับผิด


35

4.1.5 ในการนํ าส่งภาษีหกั ณ ที่จ่ายไม่ครบหรือขาดจํานวน หรือไม่ส่งเลย หรือล่วงเลยเวลากําหนดผูม้ หี น้าทีห่ กั ภาษี ณ ทีจ่ ่ายต้องรับผิดเสียเงิน เพิม่ ตามมาตรา 27 แห่งประมวลรัษฎากรในอัตราร้อยละ 1.5 ต่อเดือน หรือเศษของเดือนของเงินภาษีทไ่ี ม่ครบหรือขาดหรือไม่ส่งหรือล่วงเลย กําหนดเวลาอีกส่วนหนึ่งด้วย 4.1.6 ในกรณีท่ผี ู้จ่ายเงินได้ไม่ได้หกั ภาษี ณ ที่จ่าย แต่ต่อมาผู้เสียภาษีไป ชําระแล้วก็ตาม ผูห้ กั ภาษี ณ ทีจ่ ่ายยังคงต้องรับผิดชําระเงินเพิม่ ตามที่ กล่าวใน (5) อยู่ 4.1.7 ในการสังการเรี ่ ยกเก็บภาษีหกั ณ ที่จ่ายนัน้ เจ้าพนักงานประเมินมี อํานาจเรียกเก็บจากผูม้ หี น้ าที่เสียภาษี ณ ที่จ่าย แต่ผูเ้ ดียวพร้อมกับ เรียกเก็บเงินเพิม่ ตามมาตรา 27 แห่งประมวลรัษฎากรด้วยก็ได้ โดยไม่ จําเป็ นต้องเรียกเก็บจากผูม้ เี งินได้ก่อน 4.2 ความรับผิดทางอาญา ปรับไม่เกิ น 2,000 บาท 4.2.1 ไม่ยน่ื แบบแสดงรายการ

(1) ยืน่ แบบเกินกําหนดไม่เกิน 7 วัน

ปรับกระทงละ 100 บาท

(2) ยืน่ แบบเกินกําหนดเกิน 7 วัน

ปรับกระทงละ 200 บาท

(3) เจ้าหน้าทีท่ ต่ี รวจพบความผิด

ปรับกระทงละ 1,000 บาท

4.2.2 ไม่จดั ทําบัญชีพเิ ศษ

ปรับกระทงละ 1,000 บาท

4.2.3 ไม่ออกหนังสือรับรอง

ปรับกระทงละ 500 บาท


36

ภาษี เงิ นได้นิติบคุ คล เนื่องจากภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล เป็ นประเภทภาษีท่มี คี วามสําคัญในการประกอบธุรกิจ อีกทัง้ ยังมีรายละเอียดจํานวนมาก จึงนํ ามาอธิบายเพิม่ เติมประกอบการศึกษา (ยุพดี ศิรวิ รรณ, 2550: 7-1 - 7-20) ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้ 1. นิ ติบคุ คลที่มีหน้ าที่เสียภาษี เงิ นได้ บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิ ติบุค คล หมายความว่า บริษัทหรือห้างหุ้นส่ว นนิ ติ บุคคลที่ตงั ้ ตามกฎหมายไทย และที่ตงั ้ ขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ และหมายรวมถึง (กลุ่ม นักวิชาการภาษีอากร, 2551: 138) 1) กิจการซึ่งดําเนินการค้าหรือหากําไรโดยรัฐบาลต่างประเทศ หรือองค์การ ของรัฐ บาลต่ า งประเทศหรือ นิ ติ บุ ค คลอื่ น ที่ ต ั ง้ ขึ้น ตามกฎหมายของ ต่างประเทศ 2) กิจการร่วมค้า ซึง่ ได้แก่ กิจการทีด่ าํ เนินการร่วมกันทางการค้าหรือหากําไร ระหว่างบริษทั กับบริษทั บริษทั กับห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ห้างหุน้ ส่วนนิติ บุคคลกับห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล หรือระหว่างบริษทั /ห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล กับบุคคลธรรมดา คณะบุคคลที่ไม่ใช่นิตบิ ุคคล ห้างหุน้ ส่วนสามัญหรือนิติ บุคคลอื่น 3) มูลนิธหิ รือสมาคม ทีป่ ระกอบกิจการซึง่ มีรายได้ แต่ไม่รวมถึงมูลนิธสิ มาคม ทีร่ ฐั มนตรีประกาศกําหนดให้เป็ นองค์การหรือสาธารณกุศล 4) นิตบิ ุคคลทีอ่ ธิบดีกรมสรรพากรประกาศกําหนด อนุมตั โิ ดยรัฐมนตรี 2. ฐานภาษี เงิ นได้นิติบคุ คล 1) ฐานรายได้ก่อนหักรายจ่าย ให้นิตบิ ุคคลต่อไปนี้เสียภาษีเงินได้จากฐานรายได้ ก่อนหักรายจ่าย


37

1.1)

บริษัทต่ างประเทศที่ประกอบกิจการขนส่งระหว่างประเทศที่กระทํา กิจกรรมในทีอ่ ่นื ๆ รวมทัง้ ในประเทศไทย

1.2)

มูลนิธหิ รือสมาคมทีป่ ระกอบกิจการซึง่ มีรายได้ แต่ไม่รวมถึงมูลนิธหิ รือ สมาคมทีร่ ฐั มนตรีประกาศกําหนดให้เป็ นองค์การสาธารณกุศล

2) ฐานเงินได้ทจ่ี ่ายจากหรือในประเทศ บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลที่ตงั ้ ขึน้ ตามกฎหมายต่างประเทศทีม่ ไิ ด้มาประกอบกิจการในประเทศไทย แต่ได้รบั เงิน ได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (2) (3) (4) (5) หรือ (6) ทีจ่ ่ายจากหรือในประเทศ ไทยให้เสียภาษีจากฐานเงินได้ทจ่ี า่ ยจากหรือในประเทศไทย 3) ฐานเงินได้ท่จี ําหน่ ายออกไปจากประเทศ บริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ ตัง้ ขึน้ ตามกฎหมายต่างประเทศทีไ่ ด้รบั โอนเงินกําไรหรือเงินประเภทอื่นทีก่ นั ไว้ จากกําไร หรือทีถ่ อื ไว้เป็ นกําไรจากประเทศไทย 4) ฐานกําไรสุทธิ เป็ นฐานภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลทีใ่ หญ่กว่าฐานภาษีอ่นื 3. เกณฑ์การคํานวณกําไรสุทธิ เพื่อเสียภาษี เงิ นได้นิติบคุ คล กําไรสุทธิทางบัญชี หมายถึง ผลต่างระหว่างรายได้และค่าใช้จ่ายที่เกิดขึน้ ในงวด บัญชีตามเกณฑ์คงค้างทีไ่ ด้นําค่าภาษีเงินได้ของงวดบัญชีทต่ี ้องจ่ายหักออกแล้ว แต่เนื่องจาก เงือ่ นไขการคํานวณกําไรสุทธิ ตามมาตรา 65 ตรี (6) ไม่ให้นําค่าภาษีเงินได้ทก่ี จิ การต้องจ่ายมา หักในการคํานวณกําไรสุทธิเพื่อเสียภาษี ดังนัน้ กําไรสุทธิตามมาตรา 65 ก็คอื กําไรจากการ ประกอบกิจการที่รายได้และค่าใช้จ่ายเป็ นไปตามเงื่อนไขทางภาษีและยังไม่หกั ค่าภาษีเงินได้ นันเอง ่ เกณฑ์สทิ ธิ คือ วิธกี ารคํานวณกําไรตามเกณฑ์คงค้าง ที่รายได้และค่าใช้จ่ายของ งวดบัญชีนนั ้ ต้องเป็ นไปตามเงือ่ นไขการคํานวณกําไรสุทธิเพื่อเสียภาษีทบ่ี ทบัญญัตไิ ว้ในมาตรา 65 ทวิ มาตรา 65 ตรี และเงื่อนไขตามอนุ บญ ั ญัตหิ รือกฎหมายลูกตามประมวลรัษฎากรอีก หลายฉบับทีอ่ อกโดยอาศัยอํานาจตามประมวลรัษฎากร ซึง่ กําไรทางภาษี คือ กําไรทางบัญชีท่ี ปรับด้วยรายได้หรือค่าใช้จา่ ยทีไ่ ม่เป็ นไปตามเงือ่ นไขทางภาษี


38

4. เงื่อนไขเกี่ยวกับรายจ่ายในการคํานวณกําไรสุทธิ 4.1 มาตรา 65 ตรี กําหนดรายการทีไ่ ม่ให้ถอื เป็ นรายจ่ายในการคํานวณกําไรสุทธิ ได้แก่ 1) มาตรา 65 ตรี (3) รายจ่ายอันมีลกั ษณะเป็ นการส่วนตัว การให้โดยเสน่หา หรือการกุศล เว้นแต่รายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะ หรือเพื่อการสาธารณะ ประโยชน์ตามทีอ่ ธิบดีกําหนดโดยอนุ มตั ริ ฐั มนตรี ให้หกั ได้ในส่วนทีไ่ ม่เกิน ร้อยละ 2 ของกําไรสุทธิ และรายจ่ายเพื่อการศึกษาหรือเพื่อการกีฬาตามที่ อธิบดีกาํ หนดโดยอนุ มตั ริ ฐั มนตรี ให้หกั ได้ในอีกส่วนทีไ่ ม่เกินร้อยละ 2 ของ กําไรสุทธิ 2) มาตรา 65 ตรี (4) ค่ารับรองหรือค่าบริการส่วนทีไ่ ม่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ ทีก่ าํ หนดโดยกฎกระทรวง 3) มาตรา 65 ตรี (8) เงินเดือนของผูถ้ อื หุน้ หรือผูเ้ ป็ นหุน้ ส่วนเฉพาะส่วนทีจ่ ่าย เกินสมควร 4) มาตรา 65 ตรี (9) รายจ่ายซึ่งกําหนดขึน้ เองโดยไม่มกี ารจ่ายจริง หรือ รายจ่า ยซึ่ง ควรจะได้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีอ่ืน เว้น แต่ ใ นกรณี ท่ีไ ม่ สามารถจะลงจ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีใดก็อาจลงจ่ายในรอบระยะเวลา บัญชีทถ่ี ดั ไป 5) มาตรา 65 ตรี (11) ดอกเบีย้ ทีค่ ดิ ให้สาํ หรับเงินทุน เงินสํารองต่างๆ หรือ เงินกองทุนของตนเอง 6) มาตรา 65 ตรี (13) รายจ่ายซึง่ มิใช่รายจ่ายเพื่อหากําไรหรือเพื่อกิจการ โดยเฉพาะ 7) มาตรา 65 ตรี (18) รายจ่ายซึง่ ผูจ้ า่ ยพิสจู น์ไม่ได้วา่ ใครเป็ นผูร้ บั 8) มาตรา 65 ตรี (19) รายจ่ายใดๆ ทีก่ ําหนดจ่ายจากผลกําไรทีไ่ ด้เมื่อสิน้ สุด รอบระยะเวลาบัญชีแล้ว


39

4.2 มาตรา 65 ทวิ กําหนดเงือ่ นไขการคํานวณกําไรสุทธิและขาดทุนสุทธิ ได้แก่ 1) มาตรา 65 ทวิ (1) รายการทีร่ ะบุไว้ในมาตรา 65 ตรี ไม่ให้ถอื เป็ นรายจ่าย 2) มาตรา 65 ทวิ (4) ในกรณีโอนทรัพย์สนิ ให้บริการ โดยไม่มคี ่าตอบแทน ค่าบริการ หรือดอกเบีย้ หรือมีค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือดอกเบีย้ ตํ่ากว่า ราคาโดยไม่ มีเ หตุ อ ัน สมควร เจ้ า พนั ก งานประเมิน มีอํ า นาจประเมิน ค่ า ตอบแทน ค่ า บริก าร หรือ ดอกเบี้ย นั น้ ตามราคาตลาดในวัน ที่โ อน ให้บริการหรือให้กยู้ มื เงิน 4.3 การยกเว้นภาษีเงินได้ตามพระราชกฤษฎีกาทีเ่ กีย่ วข้อง ภาษี มลู ค่าเพิ่ ม 1. ความหมายของภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ภาษีมลู ค่าเพิม่ (Value Added Tax : VAT) เป็ นภาษีทางอ้อมประเภทหนึ่งทีจ่ ดั เก็บ จากฐานการบริโภคทัวไป ่ เริม่ บังคับใช้ตงั ้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2535 โดยนํามาใช้แทนภาษี การค้าทีถ่ ูกยกเลิกไป 2. ลักษณะของภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ผู้ประกอบการจดทะเบียนและผู้ท่ปี ระมวลรัษฎากรกําหนดให้เป็ นผู้มหี น้ าที่เสีย ภาษีมูลค่าเพิม่ มีสทิ ธิตามประมวลรัษฎากรในการเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิม่ จากผูซ้ ้อื สินค้าและ ผูร้ บั บริการได้ โดยผูป้ ระกอบการจดทะเบียนต้องจัดเตรียมเอกสารทีจ่ ะออกให้กบั ผูซ้ อ้ื สินค้าและ หรือผูร้ บั บริการ เช่น ใบกํากับภาษี ใบเพิม่ หนี้ ใบลดหนี้ เป็ นต้น ซึง่ ต้องนําสําเนาเอกสารนัน้ มา ใช้ประกอบการบันทึกบัญชี และลงรายงานในรายงานภาษีมลู ค่าเพิม่ กิจการใดทีอ่ ยูใ่ นบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ (Specific Business Tax : SBT) ตามมาตรา 91/2 หรือได้รบั ยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะตามมาตรา 91/3 จะไม่อยูใ่ นข่ายทีต่ อ้ งเสีย ภาษีมลู ค่าเพิม่ (มาตรา 77/3)


40

3. ผูม้ ีหน้ าที่เสียภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีมลู ค่าเพิม่ (Taxable Person) ประกอบด้วยบุคคลดังต่อไปนี้ (มาตรา 82) 1) ผูป้ ระกอบการ (มาตรา 77/1(1)-(5)) ทีข่ ายสินค้าหรือให้บริการในทางวิชาชีพ เป็ นปกติธุระ ไม่วา่ จะได้รบั ประโยชน์หรือค่าตอบแทนหรือไม่ 2) ผูน้ ําเข้า (มาตรา 77/1(11)-(12)) 3) ผูท้ ก่ี ฎหมายกําหนดให้มหี น้าทีเ่ สียภาษีมูลค่าเพิม่ เป็ นกรณีพเิ ศษ (มาตรา 82) เช่ น ในกรณี ท่ีผู้ป ระกอบการอยู่น อกราชอาณาจัก ร และได้ข ายสิน ค้า หรือ ให้บริการในราชอาณาจักรเป็ นปกติธุระโดยมีตวั แทนอยู่ในราชอาณาจักร ผูม้ ี หน้าทีเ่ สียภาษีมลู ค่าเพิม่ คือ ตัวแทนดังกล่าว เป็ นต้น 4. กิ จการที่ให้เสียภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ผู้มีหน้ าที่เ สียภาษีดงั กล่าวที่ก ระทํากิจการดังต่ อไปนี้ ในราชอาณาจักร (มาตรา 77/2) มีหน้าทีเ่ สียภาษีมลู ค่าเพิม่ 1) การขายสินค้า หมายถึง การจําหน่ าย จ่าย โอนสินค้า ไม่ว่าจะมีประโยชน์หรือ ค่าตอบแทนหรือไม่และให้มคี วามหมายรวมถึง (มาตรา 77/1(8))

1.1)

สัญญาให้เช่าซือ้ สินค้า สัญญาซือ้ ขายผ่อนชําระ ทีก่ รรมสิทธิ ์ในสินค้ายัง ไม่โอน ไปยังผูซ้ อ้ื เมื่อได้ส่งมอบสินค้าให้ผซู้ อ้ื แล้ว หรือสัญญาจะขาย สินค้าที่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่อธิบดีกําหนดโดยอนุ มตั ิ รัฐมนตรี

1.2)

ส่งมอบสินค้าให้ตวั แทนเพือ่ ขาย

1.3)

ส่งสินค้าออกนอกราชอาณาจักร


41

1.4)

นํ าสินค้าไปใช้ ไม่ว่าประการใดๆ เว้นแต่ การนํ าสินค้าไปใช้เพื่อการ ประกอบกิจการของตนเองโดยตรง เช่น เบิกวัตถุดบิ ไปใช้ในการผลิต สินค้าเพื่อขาย หรือนํ าอะไหล่ไปใช้ในการซ่อมรถ เป็ นต้น โดยการใช้ ดังกล่าวต้องอยู่ในกิจการทีอ่ ยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิม่ และ สิน ค้า ดัง กล่ า วต้อ งมิใ ช่ ส ิน ค้า หรือ บริก ารที่เ กี่ย วกับ รถยนต์ นั ง่ และ รถยนต์โดยสารที่มที ่นี ัง่ ไม่เกิน 10 คน แต่ไม่รวมถึงรถยนต์นัง่ และ รถยนต์โดยสารทีม่ ที น่ี ัง่ ไม่เกิน 10 คน ไปไว้ในสถานทีแ่ สดงรถยนต์ เพื่อ ขาย (ประกาศอธิ บ ดีก รมสรรพากรเกี่ ย วกับ ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ม ฉบับที่ 1)

1.5)

มีสนิ ค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดบิ เช่น กิจการซือ้ สินค้ามาขาย จํานวน 10 หน่ วย ขายไปจํานวน 6 หน่วย ในรายงานสินค้าแสดงยอด คงเหลือ 4 หน่ วย แต่จากการตรวจนับพบว่ามีสนิ ค้าเพียง 3 หน่ วย ดังนัน้ สินค้าทีข่ าดไปจํานวน 1 หน่วย ต้องนําไปเสียภาษีมลู ค่าเพิม่

1.6)

มีสนิ ค้าคงเหลือและหรือทรัพย์สนิ ทีผ่ ปู้ ระกอบการมีไว้ในการประกอบ กิจการ ณ วันเลิกประกอบกิจการ แต่ไม่รวมถึงสินค้าคงเหลือและหรือ ทรัพย์สนิ ดังกล่าวของผูป้ ระกอบการซึ่งได้ควบกันหรือได้โอนกิจการ ทัง้ หมดให้แก่กนั ทัง้ นี้ ผู้ประกอบการใหม่ต้องอยู่ในบังคับ ที่ต้องเสีย ภาษีมลู ค่าเพิม่

1.7)

กรณีอ่นื ตามทีก่ าํ หนดในกฎกระทรวง เช่น

กฎกระทรวง ฉบับที่ 188 (พ.ศ.2534) ได้กําหนดให้ผปู้ ระกอบกิจการทีไ่ ด้รบั แจ้ง คํ า สัง่ ถอนหรือ เพิก ถอนทะเบีย นภาษีมูล ค่ า เพิ่ม มีส ิน ค้า คงเหลือ และหรือ ทรัพ ย์ส ิน ที่ ผูป้ ระกอบการมีไว้ใช้ในการประกอบกิจการ ณ วันทีไ่ ด้รบั แจ้งให้ถอื เป็ นการขาย 2) การให้บริการ หมายถึง การกระทําใด อันอาจหาประโยชน์ อนั มีมูลค่าซึ่งมิใช่ เป็ นการขายสินค้าและให้หมายความถึงการใช้บริการของตนเอง ไม่ว่าประการ ใดๆ แต่ทงั ้ นี้ไม่รวมถึง (มาตรา 77/1(10)) 2.1)

การใช้บริการเพื่อการประกอบกิจการของตนเอง เช่น กิจการให้บริการ ซ่อม ได้ซ่อมรถยนต์หรือซ่อมแซมอาคารของตนเอง ทัง้ นี้ ต้องเป็ นการ


42

ใช้ในกิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิม่ แต่ต้องมิใช่เพื่อการ รับรอง หรือบริการที่นําไปใช้กบั รถยนต์นัง่ และรถโดยสารทีม่ ที ่นี ัง่ ไม่ เกิน 10 คน (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิม่ (ฉบับที่ 2)) 2.2)

การนํ าเงินไปหาประโยชน์ โดยการฝากธนาคารหรือซื้อพันธบัตรหรือ หลักทรัพย์

2.3)

การกระทําตามทีอ่ ธิบดีกรมสรรพากรกําหนด กรณีของผูป้ ระกอบการ สนามกอล์ ฟ จะต้ อ งนํ า มู ล ค่ า ทัง้ หมดที่ไ ด้ร ับ หรือ พึง ได้ร ับ จากการ ให้บ ริก าร ไม่ ว่ า จะเป็ น ค่ า สมาชิก เงิน ประกัน เงิน มัด จํ า เงิน จ่ า ย ล่วงหน้ า เพื่อเป็ นค่าใช้จ่ายหรือเงินอื่นที่เรียกเก็บในลักษณะทํานอง เดียวกัน มารวมคํานวณเป็ นมูลค่าของฐานภาษีโดยถือว่าความรับผิด เกิดขึ้นเมื่อได้รบั เงิน เมื่อคืนเงินประกันหรือเงินมัดจํา ให้แก่สมาชิก ตามข้อตกลงหรือสัญญาการเป็ นสมาชิก ให้ผปู้ ระกอบการจดทะเบียน ออกใบลดหนี้ให้แก่สมาชิก (คําสังกรมสรรพากร ่ ที่ ป.39/2537 ข้อ 1(1))

การให้บริการในราชอาณาจักร ให้หมายถึง 1. บริการที่ทําในราชอาณาจักร โดยไม่คํานึงว่าการใช้บริการนัน้ จะอยู่ ต่างประเทศหรือในราชอาณาจักร 2. การให้ บ ริก ารที่ ทํ า ในต่ า งประเทศ และได้ มีก ารใช้ บ ริก ารนั ้น ใน ราชอาณาจักร ผูจ้ า่ ยเงินค่าบริการให้กบั ผูป้ ระกอบการในต่างประเทศมี หน้าทีต่ อ้ งยื่นแบบนํ าส่งภาษีมลู ค่าเพิม่ (ภ.พ.36) ณ ทีว่ ่าการอําเภอ ภายใน 7 วันนับแต่วนั สิน้ เดือนของเดือนทีจ่ ่ายเงินให้กบั ผูป้ ระกอบการ ในต่างประเทศ (คําสังกรมสรรพากรที ่ ่ ป.104/2544 ข้อ 3)


43

5. ผูท้ ี่ได้รบั ยกเว้นภาษี มลู ค่าเพิ่ ม การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิม่ สําหรับการประกอบกิจการประเภทต่างๆ (ตามมาตรา 81) และให้โอกาสผูท้ ไ่ี ด้รบั ยกเว้นภาษีมลู ค่าเพิม่ ดังกล่าวมีสทิ ธิขอจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ ได้ (มาตรา 81/3) ซึง่ แบ่งประเภทผูไ้ ด้รบั การยกเว้นออกเป็ น 3 ประเภทดังนี้ 5.1 การขายสิ นค้ า (ที่มใิ ช่การส่งออก) หรือการให้บริการ แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม ดังนี้ (ม.81/(1)) กลุ่มที่ 1 ยกเว้นแบบเด็ดขาด ผู้ประกอบการไม่สามารถที่จะเข้าสู่ระบบ ภาษีมลู ค่าเพิม่ ได้ ประกอบด้วย

1.1)

การให้บริการการศึกษาของสถานศึกษาของทางราชการ สถานศึกษา ตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชนหรือโรงเรียนเอกชนตาม กฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน (ม.81/(1)(ช))

1.2)

การให้บริการที่เป็ นงานทางศิลป์และวัฒนธรรมในสาขา และลักษณะ การประกอบกิ จ การที่ อ ธิ บ ดี ก รมสรรพากรกํ า หนดโดยอนุ มั ติ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง (ม.81/(1)(ซ))

1.3)

การให้บริการการประกอบโรคศิลปะ การสอบบัญชี การว่าความ หรือ การประกอบวิชาชีพอิสระอื่นตามที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนดโดย อนุ มตั ิรฐั มนตรีว่าการกระทรวงการคลังทัง้ นี้ เฉพาะวิชาชีพอิสระที่มี กฎหมายควบคุมการประกอบวิชาชีพ(ม.81/(1) (ฌ))

1.4)

การให้บริการรักษาพยาบาลของสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วย สถานพยาบาล (ม.81/(1)(ญ))

1.5)

การให้บริการวิจยั หรือการให้บริการทางวิชาการ ทัง้ นี้ ในสาขาและ ลักษณะการประกอบกิจการ ดังนี้ สาขาวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ ซึ่งต้องมิใ ช่การให้บ ริการวิจยั หรือการให้บ ริการทางวิชาการในทาง ธุรกิจ และผู้ให้บริการวิจยั หรือให้บริการทางวิชาการต้องเป็ นบุคคล


44

ธรรมดา หรือเป็ นคณะบุคคลทีม่ ใิ ช่นิตบิ ุคคล หรือเป็ นมูลนิธิ (ประกาศ อธิบดีกรมสรรพากรเกีย่ วกับภาษีมลู ค่าเพิม่ (ฉบับที่ 12),(81(1)(ฎ)) 1.6)

การให้บริการห้องสมุด พิพธิ ภัณฑ์ สวนสัตว์ (ม.81/(1)(ฏ))

1.7)

การให้บริการตามสัญญาจ้างแรงงาน (ม.81/(1)(ฐ))

1.8)

การให้บริการจัดแข่งขันกีฬาสมัครเล่น (ม.81/(1)(ฑ))

1.9)

การให้บริการของนักแสดงสาธารณะ ทัง้ นี้ เฉพาะบริการในสาขาและ ลัก ษณะการประกอบกิจ การตามที่อ ธิบ ดีก รมสรรพากรกํา หนดโดย อนุ มตั ริ ฐั มนตรีว่าการกระทรวงการคลัง (ม.81/(1)(ฒ)) หรือนักแสดง สาธารณะ หมายถึง นักแสดงละคร ภาพยนตร์ วิทยุ โทรทัศน์ นักร้อง นักดนตรี นักกีฬาอาชีพ หรือนักแสดงเพื่อความบันเทิงใดๆ ทัง้ นี้ ไม่ว่า จะแสดงเดี่ยวเป็ นหมู่หรือคณะ มูลนิธิ (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกีย่ วกับภาษีมลู ค่าเพิม่ (ฉบับที่ 13))

1.10) การให้บริการขนส่งในราชอาณาจักร (ม.81/(1)(ณ)) ยกเว้น กิจการ ดัง ต่ อ ไปนี้ มีส ิท ธิ แ จ้ ง ต่ อ อธิ บ ดีก รมสรรพากรเพื่อ ขอจดทะเบี ย น ภาษีมลู ค่าเพิม่ ได้ (พระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 241) (1) การให้บริการขนส่งในราชอาณาจักรโดยอากาศยาน (2) การส่ ง ออกของผู้ป ระกอบการในเขตอุ ต สาหกรรมส่ง ออกตาม กฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (3) การให้บริการขนส่งนํ้ามันเชือ้ เพลิงทางท่อในราชอาณาจักร 1.11) การให้บริการขนส่งระหว่างประเทศ ซึ่งมิใช่เป็ นการขนส่งโดยอากาศ ยานหรือเรือเดินทะเล (ม.81/(1)(ด)) 1.12) การให้บริการเช่าอสังหาริมทรัพย์ (ม.81/(1)(ต))


45

1.13) การให้บริการของราชการส่วนท้องถิน่ ทัง้ นี้ไม่รวมถึงบริการทีเ่ ป็ นการ พาณิ ช ย์ ข องราชการส่ ว นท้ อ งถิ่ น หรื อ เป็ นการหารายได้ ห รื อ ผลประโยชน์ไม่ว่าจะเป็ นกิจการสาธารณูปโภคหรือไม่กต็ าม (ม.81/(1) (ถ)) 1.14) การขายสินค้าหรือการให้บริการของกระทรวง ทบวง กรม ซึง่ ส่งรายรับ ทัง้ สิน้ ให้แก่รฐั โดยไม่หกั รายจ่าย (ม.81/(1)(ท)) 1.15) การขายสิน ค้า หรือ การให้บ ริก ารเพื่อ ประโยชน์ แ ก่ ศ าสนา หรือ การ สาธารณสุข ภายในประเทศ ซึ่ง ไม่นํ า ผลกํ า ไรไปจ่ า ยในทางอื่น (ม. 81/(1)(ธ)) 1.16) การขายสินค้าหรือการให้บริการตามที่กําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา (ม.81/(1)(น)) เช่น พระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 239 ได้มกี ารยกเว้น ภาษีมลู ค่าเพิม่ ดังนี้ การขายสินค้า มาตรา 3 รวมทัง้ สิน้ 16 ข้อ เช่น 1) การขายบุหรี่ซิกาแรตที่ผลิตโดยผู้ประกอบการอุตสาหกรรม ยาสูบ ที่เ ป็ น องค์ก ารของรัฐ บาลโดยผู้ข ายที่มิใ ช่ ผู้ป ระกอบ อุตสาหกรรมยาสูบที่ผลิตสินค้าดังกล่าว แต่ไม่รวมถึงผูข้ ายที่ เป็ นคลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทร้านค้าปลอดอากร 2) การขายสลากกินแบ่งรัฐบาล สลากออมสินของรัฐบาล และ สลากบํารุงกาชาดไทย 3) การบริจาคสินค้าให้แก่ สถานพยาบาลและสถานศึกษาของทาง ราชการ องค์การหรือแก่สถานสาธารณกุศล การให้บริการ มาตรา 4 รวมทัง้ สิน้ 12 ข้อ เช่น การให้บริการสีขา้ ว กลุ่มที่ 2 ยกเว้นแบบไม่เด็ดขาด ผูป้ ระกอบการสามารถที่จะขอเข้าสู่ระบบ ภาษีมลู ค่าเพิม่ ได้ ประกอบด้วย


46

1.1)

การขายพืชผลทางการเกษตร ไม่ว่าจะเป็ นลําต้น กิ่ง ใบ เปลือก หน่ อ ราก เหง้า ดอก หัว ฝกั เมล็ด หรือส่วนอื่นๆ ของพืช และ วัตถุพลอยได้จากพืช ทัง้ นี้ ที่อยู่ในสภาพสด หรือรักษาสภาพไว้ เพื่อมิให้เสียเป็ นการชัวคราวในระหว่ ่ างขนส่งด้วยการแช่เย็น เป็ น ต้น ข้าวสาร หรือผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้จากการสีขา้ ว แต่ไม่รวมถึงไม้ซุง ฟื น หรือผลิตภัณฑ์ท่ไี ด้จากการเลื่อยไม้ หรือผลิตภัณฑ์อาหารที่ บรรจุกระป๋อง ภาชนะ หรือหีบห่อที่ทําเป็ นอุตสาหกรรมตาม ลักษณะ และเงือ่ นไขทีอ่ ธิบดีกรมสรรพากรกําหนด (ม.81/(1)(ก))

1.2)

การขายสัตว์ ไม่ว่าจะมีชวี ติ หรือไม่มชี วี ติ ในกรณีสตั ว์ไม่มชี วี ติ ไม่ ว่าจะเป็ นส่วนใดของสัตว์ต้องอยู่ในสภาพสดหรือรักษาสภาพไว้ เพื่อมิให้เสียเป็ นการชัวคราว ่ เช่น มีการแช่แข็ง หรือปรุงแต่งโดย วิธกี ารอื่นหรือรักษาสภาพไว้เพื่อมิให้เสียเพื่อนํ าไปขายปลีก เป็ น ต้น ไม่รวมถึงผลิตภัณฑ์อาหารทีบ่ รรจุกระป๋อง ภาชนะ หรือหีบห่อ ทีท่ าํ เป็ นอุตสาหกรรม (ม.81/(1)(ข))

1.3)

การขายปุ๋ย (ม.81/(1)(ค))

1.4)

การขายปลาปน่ อาหารสัตว์ (ม.81/(1)(ง))

1.5)

การขายยาหรือเคมีภณ ั ฑ์ทใ่ี ช้สาํ หรับพืชหรือสัตว์ เพื่อบํารุง รักษา ป้องกัน ทําลายหรือกําจัดศัตรูหรือโรคของพืชและสัตว์ (ม.81/(1) (จ))

1.6)

การขายหนังสือพิมพ์ นิตยสารหรือตําราเรียน (ม.81/(1)(ฉ))

5.2 การนําเข้าสิ นค้า (ม.81/(1)) 1) สินค้าตาม 1.16 (1) กลุ่มที่ 2 (ม.81/(1)(ก)-(ฉ)) 2) สินค้าจากต่างประเทศทีน่ ําเข้าไปในเขตปลอดอากร ทัง้ นี้ เฉพาะสินค้า ทีไ่ ด้รบั การยกเว้นอากรขาเข้าตามกฎหมายว่าด้วยการนัน้


47

3) สินค้าที่จําแนกประเภทไว้ในภาคว่าด้วยของที่ได้รบั ยกเว้นอากรตาม กฎหมายว่าด้วยพิกดั อัตราศุลกากร 4) สินค้าซึ่งนํ าเข้าและอยู่ในอารักขาของศุลกากร แล้วได้ส่งกลับออกไป ต่างประเทศโดยได้คนื อากรขาเข้าตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร 5.3 ผูป้ ระกอบการขายสิ นค้าหรือบริ การที่มีรายรับไม่เกิ น1,800,0001 บาท/ปี (ม.81/1) ในกรณีท่ผี ูป้ ระกอบกิจการมีรายรับไม่เกินมูลค่าของฐานภาษีของ กิจการขนาดย่อมทีก่ ําหนดโดยพระราชกฤษฎีกาปจั จุบนั คือ 1,800,000 บาท (พระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 432 เริม่ ใช้ตงั ้ แต่ 1 เมษายน 2548) จะได้รบั ยกเว้น ไม่ต้องเสียภาษีมูล ค่าเพิ่ม แต่ ผู้ประกอบการสามารถที่จะยื่นขอจดทะเบียน ภาษีมลู ค่าเพิม่ ได้ (ม.81/3(2)) 6. หน้ าที่ของผูม้ ีหน้ าที่เสียภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีมลู ค่าเพิม่ มีหน้าทีด่ งั นี้ 6.1 การจดทะเบียนภาษี มูล ค่ าเพิ่ ม ตามมาตรา 85 แห่งประมวลรัษ ฎากร ได้ กําหนดหลักเกณฑ์ในการจดทะเบียนของผูม้ หี น้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิม่ ไว้ดงั นี้

6.1.1) ผูป้ ระกอบการซึง่ จะเริม่ ประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการทีม่ ี สิทธิคําขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ (ภ.พ.01) ก่อนวันเริม่ ประกอบกิจการ โดยให้ย่นื ณ ที่ว่าการอําเภอท้องที่ท่สี ํานักงาน ใหญ่ตงั ้ อยู่ (มาตรา 85) 6.1.2) ผูป้ ระกอบการซึ่งประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการ ต้องยื่น คําขอจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ ภายในกําหนดเวลาดังต่อไปนี้ 1) ในกรณีท่ผี ู้ประกอบการมีมูลค่าของฐานภาษีในการประกอบ กิ จ การเกิ น มู ล ค่ า ของฐานภาษี สํ า หรับ กิ จ การขนาดย่ อ ม (ป จั จุ บ ัน คือ 1,800,000 บาท) ต้อ งยื่น ภายใน 30 วัน นั บ แต่


48

วันทีม่ ูลค่าของฐานภาษีดงั กล่าวเกินกว่ามูลค่าของฐานภาษีท่ี กําหนด (มาตรา 85/1(1) (ก)) 2) สํา หรับ ผู้ป ระกอบกิจ การ (ได้ร บั ยกเว้น ภาษีมูล ค่ า เพิ่ม แต่ ประสงค์ทจ่ี ะขอจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ ม.85/1(2)) 6.1.3) กรณีทไ่ี ม่ตอ้ งจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ (มาตรา 85/3) มีดงั นี้ 1) ผู้ป ระกอบการที่อยู่น อกราชอาณาจักร และเข้า มาประกอบ กิจการขายสินค้าหรือบริการในราชอาณาจักรเป็ นครัง้ คราว 2) ผูป้ ระกอบการทีใ่ ห้บริการจากต่างประเทศและได้ใช้บริการนัน้ ในราชอาณาจักร 3) ผูป้ ระกอบการอื่นตามทีอ่ ธิบดีกรมสรรพากรกําหนดเมื่อมีเหตุ อันควร 6.2 แสดงใบทะเบียนภาษี มูลค่าเพิ่ มไว้ ณ ทีเ่ ปิ ดเผยซึ่งเห็นได้ง่ายในสถาน ประกอบการเป็ นรายสถานประกอบการ (มาตรา 85/4) 6.3 ในกรณี ที่ใบทะเบียนภาษี มูลค่าเพิ่ มสูญหาย ถูกทําลาย หรือชํารุดใน สาระสําคัญ ให้ย่นื คําขอรับใบแทนภายใน 15 วันนับแต่วนั ทีท่ ราบถึงการสูญ หาย ถูกทําลายหรือชํารุด (มาตรา 85/5) 6.4 ในกรณี ที่ เ ปลี่ ย นแปลงรายการที่ ไ ด้ จ ดทะเบี ย นภาษี มูล ค่ า เพิ่ ม ใน สาระสําคัญ ซึง่ รวมถึงการเปลีย่ นแปลงชื่อสถานประกอบการ ประเภทกิจการ ประเภทสินค้าหรือบริการ ให้แจ้งการเปลีย่ นแปลงนัน้ ภายใน 15 วันนับแต่วนั ที่ มีการเปลีย่ นแปลงเกิดขึน้ มาตรา 85/6) 6.5

ในกรณี ป ระสงค์จ ะเปิ ดสถานประกอบการเพิ่ ม เติ ม ให้แ จ้ง การ เปลี่ยนแปลงทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ ก่อนวันเปิ ดสถานประกอบการ


49

เพิ่ม เติม ไม่ น้ อ ยกว่ า 15 วัน เพื่อ ขอรับ ใบทะเบีย นภาษี มู ล ค่ า เพิ่ม สําหรับสถานประกอบการนัน้ (มาตรา 85/7) ในการปิ ด สถานประกอบการบางแห่ง ให้แ จ้ง การเปลี่ย นแปลง ทะเบีย นภาษีมูล ค่า เพิ่ม ภายใน 15 วัน นับ จากวันปิ ด สถาน ประกอบการ พร้อมทัง้ คืนใบทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ 6.6

ในกรณี ที่ต้องการย้ายสถานประกอบการ ให้แจ้งการเปลี่ยนแปลง ทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ ก่อนวันย้ายสถานประกอบการไม่น้อยกว่า 15 วัน (มาตรา 85/8)

6.7

จัด ทํา รายงานภาษี มู ล ค่ า เพิ่ ม (มาตรา 87) ให้ทํ า เป็ น รายสถาน ประกอบการ ไม่ว่าจะได้รบั อนุ มตั ิให้ย่นื แบบแสดงรายการและชําระ ภาษีมูล ค่า เพิ่ม รวมกัน หรือ ไม่ก็ต าม (ประกาศอธิบ ดีก รมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิม่ ฉบับที่ 89) และเก็บรักษารายงาน ใบกํากับ ภาษี สําเนาใบกํากับภาษี พร้อมทัง้ เอกสารประกอบการลงรายงานเป็ น เวลาไม่น้ อยกว่า 5 ปี นับ แต่ ว นั ที่ได้ย่นื แบบแสดงรายการ (มาตรา 87/3)

6.8

การจัดทําใบกํากับภาษี และสําเนาใบกํากับภาษี สําหรับการขาย สินค้า หรือการให้บริการทุกครัง้ และต้องจัดทําทันทีท่คี วามรับผิดใน การเสียภาษีมูลค่าเพิม่ เกิดขึน้ พร้อมทัง้ ส่งมอบใบกํากับภาษีนัน้ แก่ผู้ ซือ้ สินค้าหรือผูร้ บั บริการ (มาตรา 86) เว้นแต่ กรณีทข่ี ายสินค้าชนิด และประเภทเดียวกัน ให้ผูซ้ ้อื สินค้ารายหนึ่งรายใดเป็ นจํานวนหลาย ครัง้ ใน 1 วันทําการ ผูป้ ระกอบการสามารถทีจ่ ะจัดทําใบกํากับภาษีรวม เพียงครัง้ เดียวในหนึ่งวันได้ (คําสังกรมสรรพากรที ่ ่ ป.86/2542 ข้อ 1)

7. เอกสารและรายงานที่ต้องจัดทําในระบบภาษี มลู ค่าเพิ่ ม 7.1 ใบกํากับภาษี


50

7.1.1 ใบกํากับภาษี แบบเต็มรูป รายการทีต่ อ้ งมีในใบกํากับภาษีแบบเต็มรูป (มาตรา 86/4) มีดงั นี้ 1) คําว่า “ใบกํากับภาษี” ในทีท่ เ่ี ห็นได้เด่นชัด 2) ชื่อ ที่อยู่ และเลขประจําตัวผูเ้ สียภาษีอากรของผูป้ ระกอบการจด ทะเบีย นที่อ อกใบกํ า กับ ภาษี และในกรณี ท่ีต ัว แทนเป็ น ผู้อ อก ใบกํากับภาษีในนามของผูป้ ระกอบการจดทะเบียน ให้ระบุช่อื ทีอ่ ยู่ และเลขประจําตัวผูเ้ สียภาษีอากรของตัวแทนนัน้ ด้วย 3) ชื่อ ทีอ่ ยูข่ องผูซ้ อ้ื สินค้าหรือผูร้ บั บริการ 4) หมายเลขลําดับของใบกํากับภาษีและหมายเลขลําดับของเล่ม 5) ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณและมูลค่าของสินค้าหรือบริการ 6) จํานวนภาษีมูลค่าเพิม่ ที่คํานวณจากมูลค่าของสินค้าหรือบริการ โดยให้แยกออกจากมูลค่าของสินค้าและหรือบริการให้ชดั แจ้ง 7) วัน เดือน ปี ทีอ่ อกใบกํากับภาษี 8) ข้อความอื่นที่อธิบดีกรมสรรพากรกําหนด เช่น ระบุเลขทะเบียน รถยนต์ในใบกํากับภาษี 7.1.2 ใบกํา กับ ภาษี อ ย่ า งย่ อ รายการที่ต้ อ งมีใ นใบกํ า กับ ภาษีอ ย่ า งย่ อ (มาตรา 86/6) มีดงั นี้ 1) คําว่า “ใบกํากับภาษีอย่างย่อ” ในทีท่ เ่ี ห็นได้เด่นชัด 2) ชื่อ หรือชื่อย่อ และเลขประจําตัวผูเ้ สียภาษีอากรของผูป้ ระกอบกา จดทะเบียนทีอ่ อกใบกํากับภาษี


51

3) หมายเลขลําดับของใบกํากับภาษีและหมายเลขลําดับของเล่มถ้ามี 4) ชื่อ ชนิด ประเภท ปริมาณ และมูลค่าของสินค้าหรือบริการ 5) ราคาสินค้าหรือราคาค่าบริการ โดยต้องมีขอ้ ความระบุชดั เจนว่า ไม่มกี ารรวมภาษีมลู ค่าเพิม่ ไว้แล้ว 6) วัน เดือน ปี ทีอ่ อกใบกํากับภาษี 7) ข้อความอื่นทีอ่ ธิบดีกรมสรรพากรกําหนด ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนที่ประกอบกิจการขายสินค้าในลักษณะขาย ปลีก หรือประกอบกิจการให้บริการในลักษณะบริการรายย่อยแก่บุคคลจํานวน มากเท่านัน้ จึงจะมีสทิ ธิออกใบกํากับภาษีอย่างย่อ 7.1.3 กรณี ที่ ไ ม่ ต้ อ งจัด ทํา ใบกํา กับ ภาษี แม้จ ะมีค วามรับ ผิด ในการเสีย ภาษีมลู ค่าเพิม่ เกิดขึน้ (คําสังกรมสรรพากรที ่ ่ ป.86/2542 ข้อ 2) 1) นํ า สิน ค้า ไปใช้ไ ม่ว่ า ประการใดๆ เว้น แต่ นํ า ไปใช้ใ นกิจ การของ ตนเองโดยตรง ซึง่ เป็ นกิจการทีต่ อ้ งเสียภาษีมลู ค่าเพิม่ 2) มีสนิ ค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดบิ 3) มีสนิ ค้าคงเหลือและหรือทรัพย์สนิ ทีม่ ไี ว้ในการประกอบกิจการ ณ วันเลิกประกอบกิจการ 4) มีสนิ ค้าคงเหลือและหรือทรัพย์สนิ ทีม่ ไี ว้ในการประกอบกิจการ ณ วันทีไ่ ด้รบั แจ้งคําสังถอนทะเบี ่ ยน หรือ ณ วันทีไ่ ด้แจ้งการเพิกถอน ทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ 5) ใช้บริการของตนเองไม่ว่าประการใดๆ เว้นแต่นําไปใช้ในกิจการที่ ต้องเสียภาษีมลู ค่าเพิม่


52

6) จําหน่ าย จ่าย โอนสินค้าโดยไม่มคี ่าตอบแทนและไม่ได้เรียกเก็บ ภาษีมลู ค่าเพิม่ จากผูซ้ อ้ื สินค้า 7) ให้บริการโดยไม่มคี ่าตอบแทนและไม่ได้เรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิม่ จากผูร้ บั บริการ 7.1.4 รายงาน 1) รายงานภาษีขาย 2) รายงานภาษีซอ้ื 3) รายงานสิน ค้า และวัต ถุ ดิบ เฉพาะผู้ป ระกอบการจดทะเบีย นที่ ประกอบกิจการขายสินค้า โดยให้ลงรายการภายใน 3 วันทําการ นับแต่วนั ทีไ่ ด้มา หรือจําหน่ายออกไปซึง่ สินค้า ภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ 1. ความหมายของภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ ภาษีธุรกิจเฉพาะ (Specific Business Tax: SBT) เป็ นภาษีทางอ้อมทีเ่ รียกเก็บจาก ฐานการบริโภคซึง่ เน้นทีก่ ลุ่มประเภทกิจการบางประเภททีม่ ลี กั ษณะเป็ นการเฉพาะ ไม่ อยูใ่ นข่ายต้องเสียภาษีมลู ค่าเพิม่ เช่น ธุรกิจทางการเงิน (Finance) หรือธุรกิจเกีย่ วกับ อสังหาริมทรัพย์ (Real Estate) เป็ นต้น 2. ลักษณะของภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ ภาษีธุรกิจเฉพาะจัดเป็ นรายการประเภทค่าใช้จา่ ยในงบการเงิน โดยให้เสียภาษีจาก รายรับก่อนหักรายจ่ายตามอัตราที่กฎหมายกําหนด และให้ชําระค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ พร้อมกับภาษีท่จี ่ายให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น (ภาษีท้องที่) อีกร้อยละ 10 ของ ภาษีธุรกิจเฉพาะ


53

3. ผูม้ ีหน้ าที่เสียภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ มาตรา 91/2 แห่งประมวลรัษฎากรได้กําหนดกลุ่มกิจการบางประเภทที่ประกอบ กิจการในราชอาณาจักร ให้อยูใ่ นบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ดังนี้ 1) การธนาคาร ตามกฎหมายว่าด้วยการธนาคารพาณิชย์ หรือกฎหมายเฉพาะ 2) การประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และธุรกิจเครดิตฟองซิเอร์ ตาม กฎหมายว่ า ด้ ว ยการประกอบธุ ร กิ จ เงิน ทุ น ธุ ร กิ จ หลัก ทรัพ ย์ และธุ ร กิ จ เครดิตฟองซิเอร์ 3) การรับประกันชีวติ ตามกฎหมายว่าด้วยการประกันชีวติ 4) การรับจํานํา ตามกฎหมายว่าด้วยโรงรับจํานํา 5) การประกอบกิจการปกติเ ยี่ย งธนาคารพาณิช ย์ เช่นการให้กู้ย ืมเงิน การคํ้า ประกัน แลกเปลีย่ นเงินตรา หรือรับส่งเงินไปต่างประเทศด้วยวิธตี ่างๆ เป็ นต้น ยกเว้น ตามคําสังกรมสรรพากร ่ ป.26/2534 ดังนี้ ข้อ 2. กรณีบริษทั ในเครือเดียวกันให้กู้ยมื เงินกันเอง ไม่ว่าจะนํ าเงินของตน หรือนําเงินทีใ่ ห้กูย้ มื จากบุคคลอื่นมาให้กยู้ มื ในระหว่างกัน และไม่ว่าจะ คิดดอกเบี้ยในอัตราเท่าใดก็ตาม ดอกเบี้ยที่เกิดจากการกู้ยมื เงินใน กรณีเ ช่น นี้ ไม่ต้อ งนํ า มารวมคํา นวณเป็ น รายรับ เพื่อ เสีย ภาษีธุ ร กิจ เฉพาะ บริษทั ในเครือเดียวกัน หมายความว่า บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิติ บุคคลตัง้ แต่ 2 นิตบิ ุคคลขึน้ ไป ซึ่งมีความสัมพันธ์กนั โดยบริษทั หรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลใดถือหุ้นหรือเป็ นหุ้นส่วนอยู่ในบริษัทหรือห้าง หุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลอีกแห่งหนึ่งไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของหุน้ ทัง้ หมดทีม่ ี สิทธิออกเสียงในบริษัทหรือนิติบุคคลในห้างหุ้นส่วนนัน้ เป็ นเวลาไม่ น้อยกว่า 6 เดือนก่อนวันทีม่ กี ารกูย้ มื


54

ข้อ 3. กรณีทบ่ี ริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล นําเงินทุน เงินกูย้ มื เงินเพิม่ ทุน หรือเงินอื่นทีเ่ หลืออยู่ไปฝากธนาคารหรือซือ้ ตั ๋วของสถาบันการเงินอื่น โดยได้รบั ดอกเบี้ยในอัตราปกติ กรณีเช่นนี้ ไม่ถือว่าดอกเบี้ยนัน้ เป็ น รายรับทีต่ อ้ งเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ข้อ 4. การยกเว้นตามข้อ2 และข้อ3 ไม่รวมถึงการประกอบกิจการธนาคาร (มาตรา 91/2(1)) กิจการเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ ฯลฯ (มาตรา 91/2(3)) ข้อ 5. กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิ ติบุ คคลมีระเบียบเกี่ยวกับเงินกองทุน สะสมพนักงาน หรือทุนอื่นใดเพื่อพนักงาน และบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วน นิ ติบุ ค คลได้นํา เงินกองทุนนี้ ออกให้พนักงานที่เ ป็ นสมาชิกกู้ย ืมเป็ น สวัสดิการโดยคิดดอกเบี้ยสําหรับเงินที่ให้กู้นัน้ ตามสมควร ไม่ต้องนํ า ดอกเบีย้ นัน้ มารวมคํานวณเป็ นรายรับเพือ่ เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ 6) การขายอสังหาริมทรัพย์เป็ นทางค้าหรือหากําไร ไม่ว่าอสังหาริมทรัพย์จะได้มา ด้วยวิธใี ดก็ตาม เฉพาะที่เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี ารและเงื่อนไขตามพระ ราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 342 มาตรา 4 มีดงั นี้

6.1)

การจัดสรรทีด่ นิ ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการจัดสรรทีด่ นิ

6.2)

การขายห้องชุด

6.3)

สร้า งอาคารเพื่อ ขาย รวมถึง การขายที่ดิน อัน เป็ น ที่ต ัง้ ของอาคาร ดังกล่าว

6.4)

กรณีมคี าํ มันว่ ่ าจะสร้างสาธารณูปโภคให้

6.5)

นิตบิ ุคคลขายอสังหาริมทรัพย์ทใ่ี ช้ในการประกอบกิจการของตนเอง

6.6)

การขายอสังหาริมทรัพย์ทไ่ี ม่เข้าลักษณะตาม 6.1) ถึง 6.5) ทีไ่ ด้กระทํา ภายใน 5 ปี นั บ แต่ ว ัน ที่ไ ด้ม าซึ่ง อสัง หาริม ทรัพ ย์ (นั บ จาก อสังหาริมทรัพย์ทไ่ี ด้มาครัง้ ล่าสุด) ยกเว้น


55

6.6.1) ถูกเวนคืนตามกฎหมายว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ 6.6.2) ได้มาโดยทางมรดก 6.6.3) ทีอ่ ยู่อาศัย ซึ่งต้องมีช่อื อยู่ในทะเบียนบ้านไม่น้อยกว่า 1 ปี นับ แต่วนั ทีไ่ ด้มา 6.6.4) การโอนกรรมสิทธิ ์หรือสิทธิครอบครองโดยไม่มคี ่าตอบแทน ให้แก่บุตรชอบด้วยกฎหมาย แต่ไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม 6.6.5) การโอนกรรมสิทธิ ์หรือสิทธิครอบครองให้แก่ทายาทโดยธรรม หรือผูร้ บั พินยั กรรมซึง่ เป็ นทายาท 6.6.6) การโอนกรรมสิทธิ ์หรือสิทธิครอบครองให้แก่ส่วนราชการ หรือ องค์การของรัฐบาลโดยไม่มคี า่ ตอบแทน 6.6.7) การแลกเปลี่ย นกรรมสิท ธิห์ รือ สิท ธิค รอบครองให้แ ก่ ส่ ว น ราชการ หรือองค์การของรัฐบาล 7) การขายหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยใน ตลาดหลักทรัพย์ (พระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 240 มาตรา 3(1) ให้ยกเว้นภาษี ธุ ร กิจ เฉพาะ) กรณี ข ายหุ้น นอกตลาดหลัก ทรัพ ย์ไ ม่ เ ข้า ข่ า ยเป็ น การขาย หลักทรัพย์ทอ่ี ยู่ในบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะตามมาตรา 91/2(7) จึงไม่ ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ (ก.ค.0802/3619 ลว. 5 มี.ค. 39) 8) การประกอบกิจการอื่นตามที่กําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 350 และ 358 มีดงั นี้ 8.1)

พระราชกฤษฎีกาฉบับที่ 350 มาตรา 3 กําหนดให้กจิ การซื้อหรือขาย คืนหลักทรัพย์ดงั ต่อไปนี้เป็ นกิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจ เฉพาะ


56

8.1.1) กิจการทีไ่ ด้รบั อนุ ญาตจากคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลัก ทรัพย์ต ามกฎหมายว่าด้ว ยหลัก ทรัพย์แ ละตลาด หลักทรัพย์ 8.1.2) กิจ การที่ก ระทํ า ขึ้น ระหว่ า งธนาคารแห่ ง ประเทศไทยและ สถาบันการเงินหรือนิตบิ ุคคลอื่น หรือระหว่างสถาบันการเงิน และนิตบิ ุคคลอื่น หรือระหว่างสถาบันการเงิน หรือระหว่างนิติ บุคคลอื่น กิจการทีซ่ อ้ื หรือขายคืนหลักทรัพย์ หมายความว่า กิจการ ที่ตกลงกันระหว่างผูซ้ ้อื หลักทรัพย์และผูข้ ายหลักทรัพย์ว่า ผู้ ซือ้ หลักทรัพย์ตกลงซือ้ หลักทรัพย์จากผูข้ ายหลักทรัพย์ โดยที่ ผู้ ซ้ื อ หลั ก ทรั พ ย์ จ ะขายคื น หลั ก ทรั พ ย์ ใ นอนาคตตาม กําหนดเวลา และในราคาทีต่ กลงกันไว้ล่วงหน้า หลัก ทรัพ ย์ หมายความว่า หลัก ทรัพย์ต ามกฎหมายว่า ด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ 8.2)

พระราชกฤษฎีกาฉบับที่ 358 มาตรา 4 กําหนดให้ธุรกิจแฟ็ ก ตอริง เป็ นกิจการทีอ่ ยูใ่ นบังคับให้เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ ธุรกิจแฟ็ กตอริง หมายความว่า ธุรกิจทีผ่ ขู้ ายสินค้าหรือผูใ้ ห้บริการ ตกลงจะโอนทรัพย์สนิ ทีไ่ ด้รบั จากการชําระหนี้ เนื่องจากการขายสินค้า หรือการให้บริการระหว่างตนกับลูกหนี้ของตนให้แก่ ผู้ประกอบการ ธุรกิจแฟ็ กตอริงตกลงจะให้สนิ เชื่อซึง่ รวมถึงการให้กยู้ มื และการทดลอง จ่ายแก่ผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการ และรับที่จะดําเนินการอย่างหนึ่ง อย่างใดดังต่อไปนี้ 8.2.1) จัดให้มบี ญ ั ชีทรัพย์สนิ ทีจ่ ะได้รบั จากการชําระหนี้ 8.2.2) เรียกเก็บทรัพย์สนิ ทีจ่ ะได้รบั จากการชําระหนี้ 8.2.3) รับผิดชอบในหนี้ทล่ี กู หนี้ของผูข้ ายสินค้าหรือผูใ้ ห้บริการผิดนัด ชําระหนี้


57

4. หน้ าที่ของผูม้ ีหน้ าที่มีหน้ าที่เสียภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ ผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีธุรกิจเฉพาะมีหน้าทีด่ งั ต่อไปนี้ (ตามมาตรา 91/2) 4.1 จดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ ณ ทีว่ ่าการอําเภอท้องทีส่ ถานประกอบการตัง้ อยู่ โดยให้ย่นื คําขอจดทะเบียนตามแบบ ภ.ธ. 01 ภายใน 30 วันนับตัง้ แต่วนั เริม่ ประกอบกิจการ ถ้ามีสถานประกอบการหลายแห่งให้ย่นื ณ ที่ว่าการอําเภอ ท้องทีท่ ส่ี ถานประกอบการทีเ่ ป็ นสํานักงานใหญ่ตงั ้ อยู่ (มาตรา 91/12) ยกเว้น ผูป้ ระกอบการดังต่อไปนี้ไม่ตอ้ งจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ (มาตรา 91/13) 4.1.1) ผูป้ ระกอบการขายหลักทรัพย์ตามมาตรา 91/2(7) 4.1.2) ผูป้ ระกอบกิจการที่ประกอบกิจการเป็ นการชัวคราว ่ ซึ่งตามประกาศ อธิบดีกรมสรรพากรเกีย่ วกับธุรกิจเฉพาะ เรื่อง การกําหนดกิจการทีไ่ ม่ ต้องจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะได้กาํ หนดไว้ดงั นี้ 1) การขายอสังหาริมทรัพย์ทผ่ี ขู้ ายมีไว้ใช้ในการประกอบกิจการ 2) การขายอสังหาริมทรัพย์ทไ่ี ด้กระทําภายใน 5 ปี 3) การให้กูย้ มื เงินของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลทีม่ ใิ ช่ธนาคาร พ า ณิ ช ย์ บ ริ ษั ท เ งิ น ทุ น บ ริ ษั ท ห ลั ก ท รั พ ย์ ห รื อ บ ริ ษั ท เครดิตฟองซิเ อร์ ซึ่งให้กู้ย ืมเงินเป็ นครัง้ คราว มิใ ช่การประกอบ กิจการเป็ นปกติธุระ 4.2 ยื่นแบบแสดงรายการภาษี โดยใช้แบบ ภ.ธ.40 โดยให้ย่นื เป็ นรายเดือนภาษี พร้อมชําระภาษีถา้ มี (ถ้าในเดือนภาษีทต่ี อ้ งชําระไม่ถงึ 100 บาท ก็ไม่ตอ้ งเสีย สําหรับเดือนภาษีนนั ้ (มาตรา 91/17) ไม่ว่าผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีจะมีรายรับใน เดือนภาษีหรือไม่กต็ าม โดยยื่นภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป โดยให้ย่นื ณ ทีว่ า่ การอําเภอท้องทีท่ ส่ี ถานประกอบการตัง้ อยู่ (มาตร 91/10) ในกรณี ท่ี ส ถานประกอบการหลายแห่ ง ให้ ย่ื น แยกเป็ นรายสถาน ประกอบการ ถ้าต้องการยื่นรวมกันให้ย่นื คําร้องต่ออธิบดีกรมสรรพากรขอยื่น


58

แบบแสดงรายการภาษีรวมกัน ณ ทีว่ ่าการอําเภอท้องทีแ่ ห่งใดแห่งหนึ่ง โดยใช้ แบบ ภ.ธ. 02 เมือ่ ได้รบั อนุ มตั แิ ล้วจึงปฏิบตั ไิ ด้ ในกรณีผูม้ หี น้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะสําหรับกิจการขายอสังหาริมทรัพย์ เป็ นทางค้าหรือหากําไร ให้กรมที่ดินเรียกเก็บภาษีธุ รกิจเฉพาะ ในขณะจด ทะเบียนสิทธิและนิตกิ รรมเกีย่ วกับอสังหาริมทรัพย์ 4.3 ทํารายงานแสดงรายรับก่อนหักรายจ่ายทีต่ อ้ งเสียภาษี และรายรับทีไ่ ม่ตอ้ งรวม คํานวณเพื่อเสียภาษี โดยจัดทําเป็ นรายสถานประกอบการ ภายใน 3 วันทีท่ ํา การนับแต่วนั ทีม่ รี ายรับ 5. กิ จกรรมเฉพาะอย่างที่ให้เสียภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ตามมาตร 91/4 แห่งประมวลรัษฎากรได้กําหนดให้กจิ การเฉพาะอย่างทีเ่ กีย่ วข้อง กับผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีธุรกิจเฉพาะ ให้เสียภาษีมลู ค่าเพิม่ (พระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 246 มาตรา 3) ดังนี้ 1) การให้บริการเช่าสังหาริมทรัพย์ 2) การให้บริการการใช้บตั รเครดิต หรือในลักษณะทํานองเดียวกัน 3) การให้บริการทีป่ รึกษาทางธุรกิจ 4) การให้เช่าซือ้ ทรัพย์สนิ 5) การให้บริการนายหน้าและตัวแทนซือ้ ขายหลักทรัพย์ 6) การให้บริการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ 7) การให้บริการอื่นทีเ่ กีย่ วเนื่องโดยตรงกับกิจการตามมาตรา 9/12 แห่งประมวล รัษฎากร แต่ไม่มฐี านภาษีธุรกิจเฉพาะทีก่ าํ หนดไว้


59

6. กิ จการที่ได้รบั การยกเว้นภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ มาตรา 91/3 แห่งประมวลรัษฎากรยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะสําหรับกิจการดังต่อไปนี้ 1) กิจการของธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ และธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 2) กิจการของบรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 3) กิจการของสหกรณ์ออมทรัพย์ เฉพาะการให้กยู้ มื แก่สมาชิกหรือแก่สหกรณ์ออม ทรัพย์อ่นื 4) กิจการของกองทุนสํารองเลีย้ งชีพตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนสํารองเลีย้ งชีพ 5) กิจการของการเคหะแห่งชาติ เฉพาะการขายหรือให้เช่าซือ้ อสังหาริมทรัพย์ 6) กิจการรับจํานําของกระทรวง ทบวง กรม และราชการส่วนท้องถิน่ 7) กิจการอื่นตามมาตรา 91/2 แห่งประมวลรัษฎากรตามทีก่ ําหนดโดยพระราช กฤษฎีกา ฉบับที่ 240 และ 283 มีดงั นี้ 7.1)

พระราชกฤษฎีกาฉบับที่ 240 มาตรา 3 ได้กําหนดยกเว้นภาษีธุรกิจ เฉพาะสําหรับกิจการดังต่อไปนี้ 7.1.1) กิจการขายหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยในตลาดหลักทรัพย์ 7.1.2) กิจการของบรรษัทเงินอุตสาหกรรม 7.1.3) กิจการของบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม 7.1.4) กิจการของธนาคารเพือ่ การส่งออกและนําเข้าแห่งประเทศไทย


60

7.1.5) กิจการของกองทุนสิง่ แวดล้อมตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ 7.1.6) กิจการขององค์การเพือ่ การปฏิรปู ระบบสถาบันการเงิน 7.1.7) กิจการของบรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน 7.1.8) กิจ การของนิ ติบุ ค คลเฉพาะกิจ ในส่ว นที่เ กี่ย วกับ การแปลง สินทรัพย์เป็ นหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยนิตบิ ุคคลเฉพาะ กิจเพือ่ การแปลงสินทรัพย์เป็ นหลักทรัพย์ดงั ต่อไปนี้ 1) กิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะตามมาตร 9/12 ซึง่ เกิดขึน้ เนื่องจากการรับโอนทรัพย์สนิ จากบริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นหรือการโอน สินทรัพย์ดงั กล่าวกลับคืนให้แก่บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิติ บุ ค คลหรือ นิ ติบุ ค คลอื่น ตามหลัก เกณฑ์ วิธี ก าร และ เงือ่ นไขทีอ่ ธิบดีกรมสรรพากรกําหนด 2) การประกอบกิจการที่ได้รบั โอนจากผู้โอนซึ่งเป็ นกิจการ ได้รบั ยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ 7.1.9) กิจการของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลหรือนิตบิ ุคคลอืน่ ใน ส่วนทีเ่ กีย่ วกับการแปลงสินทรัพย์เป็ นหลักทรัพย์ตามกฎหมาย ว่ า ด้ ว ยนิ ติ บุ ค คลเฉพาะกิ จ เพื่ อ การแปลงสิ น ทรั พ ย์ เ ป็ น หลัก ทรัพ ย์ เ ฉพาะกิจ การที่อ ยู่ ใ นบัง คับ ต้ อ งเสีย ภาษี ธุ ร กิจ เฉพาะตามมาตรา 91/2 ซึง่ เกิดขึน้ เนื่องจากการโอนทรัพย์สนิ ให้แ ก่ นิ ติบุ ค คลเฉพาะกิจ หรือ การรับ โอนทรัพ ย์ส ิน ดัง กล่ า ว กลับคืนมาจากนิตบิ ุคคลเฉพาะกิจ ตามหลักเกณฑ์วธิ กี าร และ เงือ่ นไขตามทีอ่ ธิบดีกรมสรรพากรกําหนด 7.1.10) กิ จ การของกองทุ น รวมอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ กองทุ น รวม อสังหาริมทรัพย์เพื่อแก้ไขปญั หาในระบบสถาบันการเงิน และ กองทุนรวมเพือ่ แก้ไขปญั หาในระบบสถาบันการเงินทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้


61

ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เฉพาะ การประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ และการ ขายอสังหาริมทรัพย์เป็ นทางค้าหรือหากําไร 7.1.11) กิจการของบรรษัทตลาดรองสินเชื่อทีอ่ ยูอ่ าศัย 7.1.12) กิจการของเคหะแห่งชาติ เฉพาะการให้กูย้ มื เงินตามโครงการ พัฒนาคนจนในเมือง 7.1.13) กิจการสหกรณ์ประเภทสหกรณ์บริการซึ่งดําเนินการเกี่ยวกับ ก า ร จั ด ห า ที่ อ ยู่ อ า ศั ย ใ ห้ แ ก่ ส ม า ชิ ก เ ฉ พ า ะ ก า ร ข า ย อสังหาริมทรัพย์เป็ นทางการค้าหรือหากําไร ตามหลักเกณฑ์ และเงือ่ นไขดังต่อไปนี้ 1) ต้องเป็ นสหกรณ์ทเ่ี ป็ นสมาชิกของโครงการพัฒนาคนจนใน เมืองของการเคหะแห่งชาติและได้รบั เงินกู้ตามโครงการ ดังกล่าว 2) ต้องนํ าเงินกู้ท่ไี ด้รบั ไปจัดซื้ออสังหาริมทรัพย์เพื่อขายต่อ ให้แก่สมาชิกของสหกรณ์ 7.1.14) กิจการของสถาบันการเงินตามกฎหมายว่าด้วยบริษทั บริหาร สินทรัพย์ เฉพาะกรณี ดังต่อไปนี้ 1) สถาบันการเงินนัน้ ถือหุน้ ในบริษทั บริหารสินทรัพย์เกินกว่า ร้อยละ 50 ของหุน้ ทัง้ หมดทีม่ สี ทิ ธิออกเสียง หรือในกรณีท่ี สถาบันการเงินนัน้ ถือหุน้ ในบริษทั บริหารสินทรัพย์ไม่เกิน ร้อยละ 50 ของหุน้ ทัง้ หมดที่มสี ทิ ธิออกเสียง จะต้องมีนิติ บุคคลรายหนึ่งถือหุน้ ในบริษทั บริหารสินทรัพย์และสถาบัน การเงินนัน้ เกินกว่าร้อยละ 50 ของหุน้ ทัง้ หมดทีม่ สี ทิ ธิออก เสียง 2) เป็ นรายรับทีไ่ ด้จากบริษทั บริหารสินทรัพย์ เนื่องจาก


62

2.1)

การให้สนิ เชื่อแก่บริษทั บริหารสินทรัพย์เพื่อรับซือ้ หรือ รับ โอนสิน ทรัพ ย์ด้อ ยคุ ณ ภาพของสถาบัน การเงิน นั น้ หรือ สถาบัน การเงิน อื่น ที่มีส ถาบัน การเงินนัน้ ถือหุน้ เกินกว่าร้อยละ 50 ของหุน้ ทัง้ หมดทีม่ สี ทิ ธิออกเสียง หรือ

2.2)

การให้สนิ เชื่อแก่บริษทั บริหารสินทรัพย์เพื่อใช้ใน การบริหารสินทรัพย์ดอ้ ยคุณภาพที่รบั ซื้อหรือรับ โอนจากสถาบันการเงินนัน้ หรือสถาบันการเงิน อื่นทีม่ สี ถาบันการเงินนัน้ ถือหุน้ เกินกว่าร้อยละ 50 ของหุน้ ทัง้ หมดทีม่ สี ทิ ธิออกเสียง

3) สถาบันการเงินและบริษทั บริหารสินทรัพย์ตอ้ งปฏิบตั ติ าม หลัก เกณฑ์ วิธีก ารและเงื่อ นไขที่อ ธิบ ดีก รมสรรพากร กําหนด 7.1.15) กิจการขายอสังหาริมทรัพย์เฉพาะที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษี ธุรกิจเฉพาะ เนื่องจาก 1) การรับไถ่อสังหาริมทรัพย์จากการขายฝากหรือการไถ่ถอน อสังหาริมทรัพย์จากการขายฝาก โดยการวางทรัพย์ต่อ สํานักงานวางทรัพย์ภายในเวลาทีก่ ําหนดไว้ในสัญญาหรือ ภายในเวลาทีก่ ฎหมายกําหนด 2) การขายอสังหาริมทรัพย์ภายหลังทีไ่ ด้ไถ่จากการขายฝาก ซึง่ เมื่อรวมระยะเวลาการได้มาซึง่ อสังหาริมทรัพย์ก่อนการ ขายฝาก ระยะเวลาระหว่างการขายฝาก และระยะเวลา ภายหลังจากการขายฝากแล้วเกิน 5 ปี 7.1.16) กิจการของรัฐวิสาหกิจในส่วนของรายรับที่ได้รบั จากการขาย อสัง หาริม ทรัพ ย์ อัน เนื่ อ งมาจากการนํ า ทุ น บางส่ ว นหรือ ทัง้ หมดมาเปลีย่ นสภาพเป็ นหุน้ ในรูปแบบของบริษทั จํากัดหรือ บริษทั มหาชนจํากัดตามกฎหมายว่าด้วยทุนรัฐวิสาหกิจ


63

7.1.17) กิจ การของสถาบัน พัฒ นาองค์ก รชุ ม ชน (องค์ก ารมหาชน) เฉพาะการประกอบกิจการโดยปกติเยีย่ งธนาคารพาณิชย์ 7.1.18) กิจการของกองทุนเงินให้กู้ยมื เพื่อการศึกษาตามกฎหมายว่า ด้วยกองทุนให้กยู้ มื เพือ่ การศึกษา 7.1.19) กิจการเงินทุนหมุนเวียนเพื่อพัฒนาการศึกษาโรงเรียนเอกชน ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน 7.1.20) กิจการของกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการตามกฎหมายว่า ด้ว ยกองทุ น บํ า เหน็ จ บํ า นาญข้า ราชการ ทัง้ นี้ ตัง้ แต่ ว ัน ที่ กฎหมายว่าด้วยกองทุนบําเหน็จบํานาญข้าราชการมีผลบังคับ ใช้ 7.1.21) กิจการของกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และสิทธิเรียกร้อง ที่ จัดตัง้ ขึน้ ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เฉพาะการประกอบกิจการโดยปกติเยีย่ งธนาคารพาณิชย์ และ การขายอสังหาริมทรัพย์เป็ นการค้าหรือหากําไร 7.1.22) กิจการของสํานักงานการปฏิรูปที่ดนิ เพื่อการเกษตร เฉพาะ การประกอบกิจการโดยปกติเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ และการ ขายอสังหาริมทรัพย์เป็ นการค้าหรือกําไร ทัง้ นี้ตงั ้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2535 เป็ นต้นไป 7.1.23) กิจการของธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย เฉพาะการโอน กรรมสิทธิ ์ในอสังหาริมทรัพย์ให้แก่ผรู้ บั โอนเนื่องจากการให้เช่า ซือ้ อสังหาริมทรัพย์ของธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย 7.1.24) กิจการของธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม แห่งประเทศไทย ตามกฎหมายว่าด้วยธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ทัง้ นี้ ตัง้ แต่วนั ที่ 20 ธันวาคม 2545 เป็ นต้นไป


64

7.2)

พระราชกฤษฎีกาฉบับที่ 283 มาตรา 3 ได้กําหนดให้ยกเว้นภาษีธุรกิจ เฉพาะสํ า หรั บ การโอนอสัง หาริ ม ทรัพ ย์ เ พื่ อ แยกบริ ษั ท ที่ ไ ด้ ร ั บ ใบอนุ ญ าตประกอบธุ รกิจ ประกัน ชีวิต และบริษัท ที่ไ ด้รบั ใบอนุ ญ าต ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยออกจากกัน

7. ฐานภาษี และอัตราภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ 7.1 ฐานภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ มาตรา 91/5 แห่งประมวลรัษฎากรได้กาํ หนดฐานภาษีจากรายรับดังต่อไปนี้ 1) กิจการธนาคาร รายรับจากการประกอบกิจการ คือ 1.1)

ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ หรือกําไรก่อนหัก รายจ่ายใดๆ จากการซื้อหรือขายที่ได้รบั จากตั ๋วเงิน หรือตรา สารแสดงสิทธิในหนี้ใดๆ และ

1.2)

กํา ไรก่ อ นหัก รายจ่ า ยใดๆ จากการแลกเปลี่ย นหรือ ซื้อ ขาย เงินตรา การออกตั ๋วเงิน หรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ใดๆ หรือ การส่งเงินไปต่างประเทศ

2) กิจ การธุ ร กิจ เงิน ทุ น ธุ ร กิจ หลัก ทรัพ ย์ และธุ ร กิจ เครดิต ฟองซิเ อร์ รายรับจากการประกอบกิจการ ประกอบด้วย

2.1)

ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ หรือกําไรก่อนหัก รายจ่ายใดๆ จากการซือ้ หรือขายหรือทีไ่ ด้จากตั ๋ว หรือตราสาร แสดงสิทธิในหนี้ใดๆ และ

2.2)

กําไรก่อนการหักรายจ่ายใดๆ จากการแลกเปลีย่ นหรือซือ้ ขาย เงินตรา การออกตั ๋วเงิน หรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ใดๆ หรือ การส่งเงินไปต่างประเทศ


65

3) กิจการประกันชีวิต รายรับ จากการประกอบกิจการ ได้แก่ ดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียม หรือค่าบริการ 4) กิจการโรงรับจํานํา รายรับจากการประกอบกิจการ คือ 4.1)

ดอกเบีย้ ค่าธรรมเนียม

4.2)

เงิน สินทรัพย์ ค่าตอบแทน หรือประโยชน์ ใดๆ อันมีมูลค่าที่ ได้รบั หรือพึงได้รบั จากการขายของทีจ่ าํ นําหลุดเป็ นสิทธิ

5) กิจการเยีย่ งธนาคารพาณิชย์ รายรับจากการประกอบกิจการ คือ 5.1)

ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม ค่าบริการหรือกําไรก่อนหัก รายจ่ายใดๆ จากการซือ้ หรือขายหรือทีไ่ ด้จากตั ๋วเงิน หรือตรา สารแสดงสิทธิในหนี้ใดๆ และ

5.2)

กําไรก่อนหักรายจ่ายใดๆ หรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ใดๆ หรือการส่งเงินไปต่างประเทศ

6) กิจการขายอสังหาริมทรัพย์เป็ นการค้าหรือหากําไร รายรับจากการ ประกอบกิจการคือ รายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ ทัง้ สิน้ รายรับที่ใช้ใน การคํานวณภาษีธุรกิจเฉพาะให้คาํ นวณจากราคาประเมินหรือราคาซือ้ ขายแล้วแต่ราคาใดจะสูงกว่า (คําสังกรมสรรพากรที ่ ่ ป.82/2542 ข้อ 6.) 7) กิจ การขายหลัก ทรัพ ย์ต ามกฎหมายว่ า ด้ว ยตลาดหลัก ทรัพ ย์แ ห่ ง ประเทศไทยในตลาดหลักทรัพย์ รายรับจากการประกอบกิจการ คือ รายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ ทัง้ สิน้ 8) กิจการอื่นตามมาตรา 91/2(8) ได้แก่ 8.1)

กิจ การซื้อ หรือ ขายคืน หลัก ทรัพ ย์ รายรับ จากการประกอบ กิ จ การ คื อ กํ า ไรก่ อ นหัก รายจ่ า ยใดๆ จากการขายคื น หลักทรัพย์ แต่ไม่รวมถึงดอกเบีย้ เงินปนั ผล หรือผลประโยชน์


66

ใดๆ ที่ได้รบั จากหลักทรัพย์ (พระราชกฤษฎีกา ฉบับที่ 350 มาตรา 4) 8.2)

ธุรกิจแฟ็ กตอริง รายรับจากการประกอบกิจการ คือ ดอกเบี้ย ส่วนลด ค่าธรรมเนียม หรือค่าบริการ (พระราชกฤษฎีกา ฉบับ ที่ 358 มาตรา 4)

7.2 อัตราภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ มาตรา 91/6 แห่งประมวลรัษฎากรอัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ มีดงั ต่อไปนี้ 1) ร้อยละ 0.1 สําหรับรายรับตาม 91/5(7) 2) ร้อยละ 2.5 สําหรับรายรับตาม 91/5(3) และมาตรา 91/5(4) 3) ร้อยละ 3.0 สําหรับรายรับตาม 91/5 นอกจากกรณีตาม 1) และ2) 8. การคํานวณภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ ภาษีธุรกิจเฉพาะคํานวณตามหลักเกณฑ์และการปฏิบตั ทิ างบัญชี เช่น อาจเลือกใช้ เกณฑ์เงินสด หรือเกณฑ์คงค้าง เพื่อรวบรวมรายรับก็ได้ เมื่อได้เลือกปฏิบตั เิ ป็ นอย่างใดแล้ว ให้ ถือ ปฏิบ ัติเ ป็ น อย่ า งเดีย วกัน ตลอดไป เว้น แต่ จ ะได้ร ับ อนุ ม ัติจ ากอธิบ ดีก รมสรรพากรให้ เปลีย่ นแปลงได้ (มาตรา 91/8 วรรคสอง) ยกเว้น กิจการขายอสังหาริมทรัพย์เป็ นการค้าหรือหา กําไรให้เสียภาษีธุรกิจเฉพาะในขณะทีจ่ ดทะเบียนสิทธิและนิตกิ รรมเกีย่ วกับอสังหาริมทรัพย์นนั ้ 9. แบบยื่นที่เกี่ยวกับภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ ภาษีธุรกิจเฉพาะมีแบบยื่นทีเ่ กีย่ วข้องดังนี้ (ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกีย่ วกับ ภาษีเงินได้ (ฉบับที2่ ) 1) แบบ ภ.ธ.01 แบบคําขอจดทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ


67

2) แบบ ภ.ธ.02 แบบคําขอยืน่ แบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะรวมกัน 3) แบบ ภ.ธ.04 แบบคําขอรับใบแทนใบทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ 4) แบบ ภ.ธ.09 แบบแจ้งการเปลีย่ นแปลงทะเบียนภาษีธุรกิจเฉพาะ 5) แบบ ภ.ธ.40 แบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษีธุรกิจเฉพาะเป็ นภาษีอากรประเมินทีก่ าํ หนดให้ธุรกิจเฉพาะเสียภาษีในลักษณะ พิเศษโดยจะคํานวณจากยอดรายรับก่อนหักรายจ่ายใดๆ ซึง่ ภาษีธุรกิจเฉพาะทีก่ จิ การได้จ่ายไป แล้วสามารถนํามาถือเป็ นค่าใช้จ่ายในการคํานวณกําไรสุทธิได้ตามประมวลรัษฎากรมาตรา 65 ทวิ หรือ มาตรา 65 ตรี อย่ า งไรก็ดีเ มื่อ บริษัท หรือ ห้า งหุ้น ส่ ว นนิ ติบุ ค คลจะต้ อ งเสีย ภาษี ธุ ร กิจ เฉพาะ กฎหมายภาษีอ ากรยัง กํ า หนดข้อ ยกเว้น บางกรณี ท่ีไ ม่ต้อ งเสีย ภาษีธุ ร กิจ เฉพาะตามคํา สัง่ กรมสรรพากรที่ ป.26/2534 เรื่อง ดอกเบี้ยสําหรับกิจการเยี่ยงธนาคารพาณิชย์ ตามมาตรา 91/5(5) แห่งประมวลรัษฎากร โดยมีหลักเกณฑ์ทส่ี ําคัญคือ กรณีบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิติ บุคคลมีระเบียบเกี่ยวกับเงินกองทุนสะสมพนักงาน หรือทุนอื่นใดเพื่อพนักงานและบริษทั หรือ ห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลได้นําเงินกองทุนนี้ออกให้พนักงานทีเ่ ป็ นสมาชิกกูย้ มื เป็ นสวัสดิการ โดย คิดดอกเบี้ยสําหรับเงินที่ให้กู้นัน้ ตามสมควร ไม่ต้องนํ าดอกเบี้ยนัน้ มารวมคํานวณเป็ นรายรับ เพือ่ เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ แนวคิ ดและทฤษฎีเกี่ยวกับการวางแผนภาษี อากร การวางแผนภาษี อากร (สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์: 2545) การบริหารธุรกิจ ไม่วา่ จะเป็ นกิจการประเภทใดมีปจั จัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหารธุรกิจที่ ต้องคํานึงถึง คือ 4M’s อันได้แก่ บุคลากร (Man) เงิน (Money) วัสดุอุปกรณ์ (Material) และการ จัดการ (Management) รวมทัง้ ปจั จัยแวดล้อมภายนอก (Environment) ทีจ่ ะกระทบต่อกิจการ อาทิ ลูกค้าหรือตลาด (Market) กฎหมาย สังคม ทัง้ นี้ วัตถุประสงค์สาํ คัญของการบริหารธุรกิจ คือ มุง่ หมายทีจ่ ะให้กจิ การประสบผลสําเร็จโดยได้รบั กําไรสูงสุด และเสียค่าใช้จ่ายน้อยสุด การที่ จะได้ทําให้กิจการบรรลุวตั ถุประสงค์ดงั กล่าว นอกจากปจั จัยทางธุรกิจข้างต้นแล้ว สิง่ หนึ่งที่


68

ผูป้ ระกอบการต้องคํานึงถึงก็คอื ปจั จัยทางภาษีอากร เพราะภาษีอากรเป็ นภาระ หรือค่าใช้จ่าย ของกิจการทีต่ อ้ งปฏิบตั ิ และชําระให้ถูกต้องครบถ้วนภายในกําหนดเวลาทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้ในกฎหมาย ภาษีอากรแต่ละประเภท มิฉะนัน้ อาจต้องเสียเบีย้ ปรับ เงินเพิม่ รวมทัง้ เสียเวลาและโอกาสโดย ไม่จําเป็ นอีกด้วย อย่างไรก็ตามการเสียภาษีอากรโดยถูกต้องครบถ้วนเพียงอย่างเดียวจะยังไม่ เพียงพอสําหรับการบริหารธุรกิจที่ชาญฉลาด หากแต่ต้องเสียภาษีอากรให้น้อยที่สุด โดยตัด ทอนส่วนทีไ่ ม่จําเป็ นต้องเสียออกไปให้มากทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะทําได้ โดยไม่อาศัยการหลีกเลี่ยงภาษี อากร (Tax evasion) หรือโดยเจตนาทุจริตทีจ่ ะไม่เสียภาษี ซึง่ การทีจ่ ะกระทําหรือปฏิบตั ใิ ห้ได้ เช่นนัน้ ผูป้ ระกอบการต้องอาศัยเทคนิคในการดําเนินการทางภาษีอากรทีเ่ รียกว่า การวางแผน ภาษีอากร (Tax planning) เพื่อขจัดปญั หาการเสียภาษีอากรเกินกว่าเหตุ และสามารถขจัดข้อ โต้แย้งทางภาษีอากรกับเจ้าหน้าทีข่ องรัฐในทุกกรณี การวางแผนภาษี (Tax planning) หมายถึง การตัดสินใจเตรียมการเพื่อการปฏิบตั ใิ น อนาคตเกีย่ วกับรายการทางการเงิน (Financial transactions) ทีเ่ กีย่ วข้องกับประเด็นทางภาษี อากรทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะให้การเสียภาษีอากรและการปฏิบตั ิ เกี่ยวกับภาษีอากรขององค์กรเป็ นไปโดยถูกต้อง และครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขที่กําหนดไว้ในกฎหมายภาษีอากร และต้องเสียภาษีอากรเป็ นจํานวนน้ อยที่สุดหรือ ประหยัดทีส่ ดุ โดยไม่อาศัยการทุจริตหลีกเลีย่ งภาษีอากร ชัยสิทธิ ์ ตราชูธรรม (2549: 430) อธิบายความหมายการวางแผนภาษีอากรไว้ว่า หมายถึง การเตรียมการเพื่อเสียภาษีให้ถูกต้องครบถ้วนและประหยัด การไม่ทาํ ให้ตอ้ งเสียภาษี หรือเสียภาษีน้อยทีส่ ดุ โดยวิธกี ารทีไ่ ม่ผดิ กฎหมาย นอกจากนี้ยงั รวมถึงการจัดการธุรกิจหรือการ งานส่วนตัวเพือ่ ช่วยให้เสียภาษีน้อยทีส่ ดุ ด้วย สุพตั รา สืบสมอนันตพงศ์ (2550: 21) อธิบายความหมายการวางแผนภาษีอากรไว้ว่า หมายถึง การวางรูปแบบในการประกอบธุรกิจเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดและชําระภาษีให้กบั รัฐได้อย่างถูกต้องตามบทบัญญัตขิ องกฎหมายหรือทีเ่ รียกว่า วิธกี ารเสียภาษีอย่างประหยัด พนิต ธีรภาพวงศ์ (2550: 74-76) ได้อธิบายความหมายการวางแผนภาษีอากรไว้ว่า หมายถึง วิธกี ารบริหารจัดการภาระภาษีทพ่ี งึ เกิดขึน้ โดยมีวตั ถุประสงค์ทจ่ี ะดําเนินการเพื่อเสีย ภาษีได้ถูกต้องเป็ นสําคัญ หลังจากนัน้ เมื่อได้ประเมินภาพรวมของภาระภาษีอากรของกิจการที่ ถูกต้องได้อย่างชัดเจนแล้ว จึงพิจารณาถึงทางเลือกที่จะดําเนินการประหยัดภาษีภายใต้กรอบ แห่งกฎหมายในแต่ละขัน้ ตอนหรือในแต่ละส่วนของกิจการหรือธุรกรรมนัน้ ๆ ต่อไป


69

สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์ (2541) ได้อธิบายความหมายการวางแผนภาษีอากรไว้ว่า คือ การ ตัดสินใจเตรียมการเพื่อการปฏิบตั ใิ นอนาคตเกีย่ วกับภาษีอากรทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว โดย มีจุดมุ่งหมายทีจ่ ะให้การเสียภาษีอากรและการปฏิบตั เิ กี่ยวกับภาษีอากรขององค์กรเป็ นไปโดย ถูกต้องและครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ วิธกี ารและเงื่อนไขทีก่ ําหนดไว้ในกฎหมายภาษีอากรและ ต้องเสียภาษีอากรเป็ นจํานวนน้อยทีส่ ดุ หรือประหยัดทีส่ ดุ ผู้ประกอบการพึงต้องระลึกอยู่เสมอว่า “ภาษี อากร” เป็ นภาระทางด้านรายจ่าย ที่ เกิด ขึ้น ควบคู่ ก ัน ไปกับ การดํ า เนิ น ธุ ร กิจ เช่ น เดีย วกับ รายจ่ า ย หรือ ต้ น ทุ น ทางธุ ร กิจ อื่น ๆ โดยทัวไปและเป็ ่ นภาระผูกพันทีไ่ ม่อาจเปลีย่ น หรือผัดเวลาออกไปได้ เพราะภาษีอากรเป็ นหนี้ท่ี เกิดขึน้ โดยผลของกฎหมาย ซึง่ ผูเ้ สียภาษีพงึ ต้องชําระตามกําหนดเวลาโดยไม่อาจบิดพลิว้ การ เรียนรู้และทําความเข้าใจเกี่ยวกับภาษีอากรในทุกประเภทที่เกี่ยวข้องกับองค์กร เป็ นหน้ าที่ โดยตรงของผูบ้ ริหารทีต่ อ้ งกระทําเป็ นอันดับแรกๆ เช่นเดียวกับการวางแผนโดยทัวไป ่ เช่น ต้อง รูอ้ งค์ประกอบของกฎหมายแต่ละประเภททีก่ จิ การต้องเสีย นัน้ ๆ ดังนี้ (1) หน่วยงานใดทําหน้าทีจ่ ดั เก็บ (2) กําหนดบุคคลใดเป็ นผูม้ หี น้าทีภ่ าษี (3) กําหนดจัดเก็บจากฐานภาษีใด (4) อัตราเท่าใด (5) มีวธิ กี ารชําระภาษีอย่างไร (6) กําหนดการยกเว้นภาษีอากรไว้อย่างไร (7) กําหนดเวลาในการชําระภาษีไว้อย่างไร (8) มีบทกําหนดโทษอย่างไร และ (9) มีวธิ กี ารขจัดข้อโต้แย้งทางภาษีอากรอย่างไร


70

การวางแผนภาษีอากรที่จะให้ได้ผลต้องกระทําทันทีท่เี ริม่ ต้นประกอบธุรกิจ และต้อง กระทําต่อเนื่องอย่างเป็ นระบบ โดยผูท้ ่มี คี วามรูค้ วามชํานาญทางด้านภาษีอากรประเภทนัน้ ๆ ซึง่ มีความรูค้ วามเข้าใจในกิจการทีจ่ ะวางแผนภาษีอากรด้วย การวางแผนภาษีอากรจึงอาจต้อง อาศัยบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องหลายฝา่ ย อาทิ กรรมการผูจ้ กั การ สมุหบ์ ญ ั ชีนกั กฎหมาย ผูเ้ ชีย่ วชาญ ทางภาษีอากร ร่วมปรึกษาหารือโดยรอบด้านในประเด็นภาษีอากรทีเ่ กิดขึน้ กับธุรกิจทีว่ างแผน ภาษีอากรนัน้ ๆ การวางแผนภาษีอ ากร อาจมีไ ด้ห ลายๆ ระดับ ทัง้ ในระดับ เบื้อ งต้น อัน ได้แ ก่ การ วางแผนเกีย่ วกับกําหนดเวลาในการยืน่ แบบแสดงรายการและการเสียภาษี โดยการจัดทําปฏิทนิ ภาษี การจัดเตรียมแบบแสดงรายการภาษี การวางแผนจัดการเกี่ยวกับเอกสารหลักฐานที่ เกี่ยวข้องกับภาษีอากร เป็ นต้น ซึ่งเป็ นการวางแผน โดยอาศัยความรูค้ วามชํานาญในประเด็น ข้อ กฎหมายที่เ กี่ย วกับ ภาษี อ ากร และกฎหมายอื่น ที่เ กี่ย วข้อ งที่อ าจมีค วามยุ่ ง ยาก หรือ สลับซับซ้อนมากน้ อยแตกต่างกันไปตามสภาพ หรือข้อเท็จจริงทางธุรกิจและบทบัญญัติทาง กฎหมายภาษีอากรตลอดจนแนวทางปฏิบตั ขิ องทางราชการ คําวินิจฉัยและคําพิพากษาของศาล ซึง่ เป็ นการวางแผนภาษีอากรในระดับทีล่ กึ ลงไปอีกระดับหนึ่ง กล่าวได้ว่า การวางแผนภาษีอากร (Tax Planning) หมายถึง การบริหารจัดการภาระ ภาษีทเ่ี กิดขึน้ เพือ่ ให้เสียภาษีน้อยลงหรืออาจไม่เสียภาษีเลย รวมถึงการใช้สทิ ธิประโยชน์ของผูม้ ี หน้าทีเ่ สียภาษี โดยวิธกี ารทีถ่ ูกต้องตามหลักของกฎหมาย ครบถ้วนและประหยัด เพื่อประโยชน์ ต่อตัวของผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีเอง วัตถุประสงค์ของการวางแผนภาษี อากร 1. เพื่อ ให้ก ารเสีย ภาษี อ ากรของกิจ การที่ว างแผนภาษี อ ากรเป็ น ไปโดยถู ก ต้ อ ง ครบถ้วนตามทีก่ ฎหมายกําหนดบัญญัติ โดยเม็ดเงินทีเ่ สียภาษีนนั ้ ต้องเป็ นจํานวนน้อยทีส่ ุด หรือ ประหยัดทีส่ ดุ โดยไม่อาศัยการหลีกเลีย่ งภาษีอากร 2. เพื่อให้ขจัดปญั หาในการเสียภาษีอากรของกิจการที่อาจเกิดขึ้นในทุกกรณี ทัง้ นี้ เพราะภาษีอากรทีธ่ ุรกิจพึงต้องเสียมีหลายประเภท ในแต่ละประเภทมีหลักเกณฑ์ วิธกี าร และ เงื่อนไขทีแ่ ตกต่างกันไป การวางแผนภาษีอากรจึงเป็ นเครื่องชีท้ างปฏิบตั ทิ ถ่ี ูกต้องให้แก่ธุรกิจ นอกเหนือไปจากการเสียภาษีให้ถูกต้องครบถ้วน เพื่อป้องกันและแก้ไขปญั หาภาษีอากรทีอ่ าจ เกิดขึน้ ในอนาคตและยังช่วยให้ธุรกิจมีมาตรฐานในการปฏิบตั งิ านทีด่ ี


71

3. เพื่อประหยัดหรือลดค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึน้ เนื่องจากการเสียภาษีอากรไม่ถูกต้อง ไม่ว่าจะเป็ นภาษีอากรประเภทใด ค่าใช้จ่ายอันเนื่องมาจากการเสียภาษีอากรไว้ไม่ถูกต้อง คือ เบีย้ ปรับ เงินเพิม่ และค่าปรับทางอาญา 4. เพื่อลดต้นทุนการดําเนินกิจการ หรือเพิม่ กําไรสุทธิโดยการใช้สทิ ธิประโยชน์ ทาง ภาษีอากร อาทิ 4.1 การใช้สทิ ธิประโยชน์ทางภาษีอากร กรณีภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เช่น 4.1.1 การเลือ กใช้ห น่ ว ยทางภาษีอ ากรเพื่อ ให้ภ าษีเ งิน ได้บุ ค คลธรรมดา จํานวนน้อยทีส่ ดุ 4.1.2 การใช้สทิ ธิเกีย่ วกับเครดิตภาษี สําหรับเงินปนั ผลหรือเงินส่วนแบ่งของ กําไร ตามมาตรา 47 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร 4.1.3 การใช้สทิ ธิเลือกหักค่าใช้จา่ ย 4.1.4 การใช้สทิ ธิหกั ค่าลดหย่อน 4.1.5 การใช้สทิ ธิเลือกเสียภาษีเงินได้ 4.2 การใช้สทิ ธิประโยชน์ทางภาษีอากร กรณีภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล เช่น 4.2.1 การยกเว้น ภาษีเ งิน ได้นิ ติบุ ค คล สํา หรับ เงิน ได้ข องบริษัท และห้า ง หุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลเป็ นจํานวนร้อยละ 50 ของรายจ่ายทีไ่ ด้จ่ายไปเป็ น ค่าใช้จ่ายในการส่งลูกจ้างของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลนัน้ เข้า รับการศึกษาหรือฝึ กอบรมในสถานศึกษาหรือสถาบันฝึ กอบรมวิชาชีพ ทีท่ างราชการจัดตัง้ ขึน้ หรือทีร่ ฐั มนตรีว่าการกระทรวงการคลังประกาศ กําหนด ตามมาตรา 5 แห่งพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 284) พ.ศ. 2538 (ใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ที่ 11 กรกฎาคม 2538 เป็ นต้นไป) 4.2.2 ยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล สําหรับเงินได้ของบริษทั และห้างหุน้ ส่วน นิตบิ ุคคลเป็ นจํานวนร้อยละ 50 ของรายจ่ายทีไ่ ด้จ่ายไปเป็ นค่าใช้จ่าย ในการฝึ กอบรมให้แก่ลูกจ้างของบริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนัน้


72

ทั ง้ นี้ ตามหลั ก เกณฑ์ วิ ธี ก าร และเงื่ อ นไขตามประกาศอธิ บ ดี กรมสรรพากรเกีย่ วกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 16) ตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 288) พ.ศ. 2538 (ใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ที่ 7 ธันวาคม 2538 เป็ น ต้นไป) 4.2.3

การหัก รายจ่ า ยเพิ่ม ขึ้น เป็ น สองเท่ า สํ า หรับ ค่ า จ้า งคนพิก าร หรือ ค่าใช้จ่ายในการเตรียมอาคารหรือยานพาหนะเพื่ออํานวยความสะดวก แก่คนพิการตามกฎหมายว่าด้วยการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ

4.3 การใช้สทิ ธิประโยชน์ทางภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร กรณีภาษีมูลค่าเพิม่ โดยการจําหน่ าย จ่าย โอนสินค้าของผูป้ ระกอบการจดทะเบียนโดยไม่ต้องเสีย ภาษีมลู ค่าเพิม่ เช่น 4.3.1

การแจกเครื่องแบบหรือเสือ้ นอกให้แก่พนักงานตามมาตรา 77/1 (8) (ง) แห่งประมวลรัษฎากร และประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับ ภาษีมลู ค่าเพิม่ (ฉบับที่ 40)

4.3.2 การแจกเครื่องแบบให้แก่พนักงานในส่วนทีเ่ กิน 2 ชุดต่อปี และเสือ้ นอก ไม่เกิน 1 ตัวต่อปี 4.3.3 การเลีย้ งอาหารแก่พนักงาน 4.4 การใช้ส ิท ธิป ระโยชน์ ท างภาษีอ ากรตามประมวลรัษ ฎากร กรณี ภ าษีธุ ร กิจ เฉพาะโดย 4.4.1

การใช้สทิ ธิยกเว้นภาษีธุรกิจเฉพาะ สําหรับดอกเบีย้ รับจากการให้กยู้ มื เงินแก่บริษทั ในเครือเดียวกัน หรือพนักงาน ลูกจ้างเพื่อเป็ นสวัสดิการ ตามคําสังกรมสรรพากรที ่ ่ ป.26/2534 เป็ นต้น

4.4.2 การเลือกใช้เกณฑ์ในการคํานวณรายรับ เพื่อเสียภาษีธุรกิจเฉพาะตาม เกณฑ์เงินสด ในขณะที่เกณฑ์ในการคํานวณรายได้รายจ่ายเพื่อการ เสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลเป็ นไปตามเกณฑ์สทิ ธิกต็ าม


73

5. เพือ่ ลดขัน้ ตอนในการปฏิบตั งิ านทีไ่ ม่จาํ เป็ น และไม่ได้มาตรฐาน เนื่องจากแผนภาษี อากรเป็ นส่วนหนึ่งของแผนธุรกิจมีความเกี่ยวพันกับการประกอบธุรกิจ ดังนัน้ ใน การวางแผนภาษี อ ากรจึง จํ า เป็ น อย่ า งยิ่ง ที่ต้ อ งทํ า การศึ ก ษาโครงสร้า งและ องค์ประกอบของธุรกิจ วิธกี ารดําเนินงานในทุกขัน้ ตอน เอกสารหลักฐานทางธุรกิจ และภาษีอากร หลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงือ่ นไขทางภาษีอากรทีเ่ กีย่ วข้อง จึงทําให้มี การทบทวนแนวทางการปฏิบตั งิ านที่ทําให้สอดคล้องกัน ทัง้ ในทางธุรกิจและภาษี อากร ก่อให้เกิดการปรับปรุงระบบงาน และแนวทางปฏิบตั ทิ ส่ี มบูรณ์ในอันทีจ่ ะให้ ได้การปฏิบตั งิ านทีด่ ี รวดเร็ว มีประสิทธิภาพสูงสุด 6. การวางแผนภาษีอากรทีด่ ี และการดําเนินงานตามทีไ่ ด้วางแผนภาษีอากรดังกล่าว ย่อมทําให้ผปู้ ระกอบการคลายความกังวลต่อการถูกเรียกตรวจสอบภาษีอากรของ ทางราชการ เพราะมีขอ้ มูลทัง้ ในบัญชีและทางภาษีอากรที่เพียบพร้อม สามารถ ชีแ้ จงหรือแสดงหลักฐานข้อเท็จจริงต่างๆ ทางบัญชีการเงิน และบัญชีภาษีอากรแก่ เจ้าหน้าทีต่ รวจสอบภาษีได้โดยชัดแจ้งอันจะทําให้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายทีไ่ ม่ ควรต้องเสียไป นอกเหนือไปจากการเสียโอกาสและความรูส้ กึ ทีด่ ี 7. เพื่อเสริมสร้างระบบการควบคุมภายในให้มปี ระสิทธิภาพ ในขัน้ ตอนการวางแผน ภาษีอากร ผูว้ างแผนต้องทําการศึกษาแนวทางปฏิบตั ิงานของธุรกิจที่จะวางแผน ภาษีอากร จึงทําให้มองเห็นป ญั หาอื่นในการบริหารงานที่ต้องขจัดเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะปญั หาการควบคุมภายในเพื่อให้ผลการปฏิบตั งิ านมีประสิทธิภาพสูงสุด นอกจากนี้ในการวางแผนภาษีอากรจําเป็ นต้องอาศัยการควบคุมภายในที่ดคี วบคู่ กันไป การวางแผนภาษีอากรและการควบคุมภายในจึงเป็ นปจั จัยที่คู่ขนานและ ส่งเสริมกันในการบริหารงานทุกชนิด การวางแผนภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา 1. กําหนดวัตถุประสงค์การวางแผนภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา ในเบื้องต้นของการวางแผนภาษี ผูม้ หี น้าที่เสียภาษีควรกําหนดวัตถุประสงค์ของ การวางแผนภาษีไว้ชดั แจ้ง ดังนัน้ ในขัน้ ตอนแรกของการวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ผูม้ ี เงินได้จงึ ต้องกําหนดวัตถุประสงค์ของการวางแผนภาษีอากรให้แจ้งชัด เพื่อที่จะนํ าไปใช้เป็ น แนวทางในการปฏิบตั เิ กีย่ วกับการวางแผนภาษีอากรต่อไป อาทิ


74

1.1 เพื่อ ให้ก ารเสีย ภาษีเ งิน ได้บุ ค คลธรรมดา เป็ น ไปโดยถู กต้อ ง และครบถ้ว น ตามทีก่ ฎหมายกําหนดบัญญัตไิ ว้ โดยไม่มกี ารหลีกเลีย่ งภาษีอากร 1.2 เพือ่ ให้ขจัดปญั หาเกีย่ วกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทีอ่ าจเกิดขึน้ ในทุกกรณี 1.3 เพื่อประหยัดหรือลดค่าใช้จ่ายทีอ่ าจเกิดขึน้ เนื่องจากการเสียภาษีเงินได้บุคคล ธรรมดา ไม่ถูกต้องได้แก่ 1.3.1 เบีย้ ปรับ และเงินเพิม่ ภาษี เพราะเหตุชาํ ระภาษีเงินได้ไว้ไม่ถูกต้อง (1) เบีย้ ปรับตามมาตรา 22 แห่งประมวลรัษฎากร เนื่องจากผูม้ เี งินได้ ถู ก เรีย กตรวจสอบภาษี เ งิน ได้ โดยเจ้า พนั ก งานประเมิน ออก หมายเรีย กตรวจสอบภาษี เ งิน ได้ต ามมาตรา19 แห่ ง ประมวล รัษฎากร เพราะเหตุทเ่ี จ้าพนักงานประเมินมีเหตุอนั ควรเชื่อว่า ผูม้ ี เงินได้แสดงรายการตามแบบที่ย่นื ไม่ถู กต้องตามความเป็ นจริง หรือไม่บริบูรณ์ และเจ้าพนักงานประเมินได้ทําการประเมินตาม มาตรา20 หรือมาตรา 21 แห่งประมวลรัษฎากร ให้ผตู้ อ้ งเสียภาษี ต้องรับผิดเสียเบีย้ ปรับหนึ่งเท่าของจํานวนเงินภาษีทต่ี อ้ งชําระ (2) เบีย้ ปรับตามมาตรา 26 แห่งประมวลรัษฎากร เนื่องจากผูม้ เี งินได้ ถูกเรียกตรวจสอบภาษีเ งิน ได้ กรณี ผู้เ งิน ได้มิไ ด้ย่ืน แบบแสดง รายการภาษีเงินได้ตามมาตรา 23 แห่งประมวลรัษฎากร และเจ้า พนักงานประเมินได้ทาํ การประเมินตามมาตรา 24 หรือ มาตรา 25 แห่งประมวลรัษฎากร ให้ผตู้ อ้ งเสียภาษีตอ้ งรับผิดเสียเบีย้ ปรับสอง เท่าของจํานวนเงินภาษีทต่ี อ้ งชําระ (3) เงินเพิม่ ตามมาตรา 27 แห่งประมวลรัษฎากร ดังนี้ “มาตรา 27 บุคคลใดไม่เสียหรือนําส่งภาษีภายในกําหนดเวลา ตามทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้ ในหมวดต่ า งๆ แห่ ง ลัก ษณะนี้ เ กี่ย วกับ ภาษี อ ากร ประเมิน ให้เสียเงินเพิม่ อีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือนหรือเศษของเดือนของ เงินภาษีทต่ี อ้ งเสียหรือนําส่งโดยไม่รวมเบีย้ ปรับในกรณีอธิบดีอนุ มตั ใิ ห้


75

ขยายกําหนดเวลาชําระหรือนําส่งภาษีและได้มกี ารชําระหรือนําส่งภาษี ภายในกํ า หนดที่ข ยายได้นั น้ เงิน เพิ่ม ตามวรรคหนึ่ ง ให้ล ดลงเหลือ ร้อยละ 0.75 ต่อเดือนหรือเศษของเดือนการคํานวณเงินเพิม่ ตามวรรค หนึ่งและวรรคสอง ให้เริม่ นับเมื่อพ้นกําหนดเวลาการยื่นรายการหรือ นํ าส่งภาษีจนถึงวันชําระหรือนํ าส่งภาษี แต่เงินเพิม่ ที่คํานวณได้ มิให้ เกินจํานวนภาษีทต่ี อ้ งเสียหรือนํ าส่ง ไม่ว่าภาษีทต่ี อ้ งเสียหรือนําส่งนัน้ จะเกิด จากการประเมิน หรือ คํา สังของเจ้ ่ า พนัก งาน หรือ คํ า วินิ จ ฉัย อุทธรณ์ หรือคําพิพากษาของศาล” 1.3.2 ค่าปรับทางอาญาเนื่องจากการฝ่าฝื นหรือละเลยไม่ปฏิบตั ิตามหน้ าที่ เกีย่ วกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ตามทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้ในกฎหมาย ได้แก่ (1) กรณี ไ ม่ ย่ืน แบบแสดงรายการภาษีเ งิน ได้บุ ค คลธรรมดาครึ่ง ปี (ภ.ง.ด.94) หรือภาษีเงินได้ประจําปี (ภ.ง.ด.90) ผูม้ เี งินได้หรือผูม้ ี หน้ า ที่ ย่ื น แบบต้ อ งรับ ผิด ระวางโทษปรับ ไม่ เ กิ น 2,000 บาท (มาตรา 35 แห่งประมวลรัษฎากร) (2) กรณีโดยรูอ้ ยู่แล้วหรือจงใจไม่ปฏิบตั ติ ามหมายเรียกหรือคําสังของ ่ อธิบดีหรือผู้ ซึง่ อธิบดีมอบหมายหรือสรรพากรจังหวัด เจ้าพนักงาน ประเมิน ผูว้ ่าราชการจังหวัด หรือกรรมการที่ออกตามมาตรา 12 ตรี มาตรา 19 มาตรา 23 หรือมาตรา 32 หรือไม่ยอมตอบคําถาม เมื่อซักถาม ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกิน 2,000 บาท หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ (มาตรา 36 แห่งประมวลรัษฎากร) (3) ผูใ้ ด (3.1) โดยรูอ้ ยู่แล้วหรือโดยจงใจแจ้งข้อความเท็จ หรือให้ถอ้ ยคํา เท็ จ หรือ ตอบคํ า ถามด้ ว ยถ้ อ ยคํ า อัน เป็ น เท็ จ หรือ นํ า พยานหลัก ฐานเท็จ มาแสดงเพื่อ หลีก เลี่ย งการเสีย ภาษี อากรตามลักษณะ 2 แห่งประมวลรัษฎากร หรือ (3.2) โดยความเท็จ โดยฉ้ อ โกงอุ บ าย หรือ โดยวิธีก ารอื่น ใด ทํ า นองเดีย วกัน หรือ หลีก เลี่ย งการเสีย ภาษี อ ากรตาม ลัก ษณะ 2 แห่ ง ประมวลรัษ ฎากรต้ อ งระวางโทษจํ า คุ ก


76

ตั ้ง แต่ ส ามเดื อ นถึ ง เจ็ ด ปี และปรั บ ตั ้ง แต่ 2,000 ถึ ง 200,000 บาท มาตรา 37 แห่งประมวลรัษฎากร) (3.3) ผูใ้ ดเจตนาละเลยไม่ยน่ื รายการทีต่ อ้ งยื่นเพื่อหลีกเลีย่ งหรือ พยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีอากร ต้องระวางโทษปรับ ไม่เกิน 5,000 บาทหรือจําคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือทัง้ ปรับ ทัง้ จํา (มาตรา 37 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร) 2. กํา หนดคณะบุ ค ลากรที่ เ กี่ ย วข้ อ งกับ การวางแผนภาษี ภาษี เ งิ น ได้ บุ ค คล ธรรมดา การวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา มีทงั ้ กรณีท่ตี ้องอาศัยบุคลากรที่เกี่ยวข้อง หลายๆ ฝ่ายร่วมปรึกษาหารือโดยรอบด้านในประเด็นภาษีท่เี กิดขึ้นกับธุรกิจที่วางแผนภาษี อากร อาทิ ฝา่ ยจัดการ ฝา่ ยบุคลากร ฝา่ ยบัญชีและการเงิน ฝา่ ยกฎหมาย ผูเ้ ชีย่ วชาญทางภาษี อากร หรือทีป่ รึกษาทางภาษีอากร แต่ในบางกรณีผมู้ เี งินได้ทม่ี รี ายการเงินได้ทไ่ี ม่สลับซับซ้อน อาจเพียงแต่โทรศัพท์ถาม หรือปรึกษาผูท้ ่มี คี วามรู้ ซึ่งเป็ นผูท้ ่รี ูจ้ กั คุน้ เคย หรือเจ้าหน้าที่ของ กรมสรรพกรหรือในบางกรณีผูม้ เี งินได้อาจได้แนวทางการวางแผนภาษีจากศึกษาด้วยตนเอง ทัง้ นี้ขน้ึ อยูก่ บั ลักษณะของธุรกิจหรือการมีเงินได้ 3. ศึกษาหลักเกณฑ์ วิ ธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา ศึกษาหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขเกีย่ วกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทุกกรณีท่ี เกี่ยวข้องตลอดจนแนววินิจฉัยข้อกฎหมายหรือคําพิพากษาของศาล แนวคําตอบข้อหารือหรือ แนวทางปฏิบตั เิ กีย่ วกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของกรมสรรพากรทุกประเด็น 4. ศึกษารูปแบบการจัดองค์การ ขัน้ ตอนการดําเนิ นธุรกิ จตลอดจนเอกสารทาง ธุรกิ จ ศึกษารูปแบบการจัดองค์การ ขัน้ ตอนการดําเนินธุรกิจตลอดจนเอกสารทางธุรกิจ นัน้ พิจารณาว่าขัน้ ตอนใด หรือกรณีใดมีประเด็นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเกี่ยวข้องหรือไม่ อย่างไร


77

5. ดําเนิ นการวางแผนภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา 5.1 กําหนดประเด็นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบกิจการ ของผูม้ เี งินได้ทจ่ี ะวางแผนภาษีอากรอย่างเป็ นระบบทุกกรณีและทุกขัน้ ตอนใน บางกรณีการดําเนินธุรกิจขัน้ ตอนหนึ่งๆ อาจมีประเด็นภาษี และวิธกี ารปฏิบตั ิ ทางภาษีแตกต่างกันหลายประเด็น 5.2 เลือกช่องทางปฏิบตั เิ กีย่ วกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ในอันทีจ่ ะทําให้กจิ การ ได้รบั ประโยชน์ทางภาษีอากรสูงสุดไม่เสีย่ งต่อการถูกลงโทษทางภาษีอากร ซึง่ ในบางกรณีอาจจําเป็ นต้องจัดรูปแบบขององค์การ รูปแบบของเอกสารหลักฐาน ตลอดจนปญั หาหรือนิตกิ รรมต่างๆ เพือ่ รองรับการวางแผนภาษีอากร ทัง้ นี้ โดย ให้การปฏิบตั กิ ารทางภาษีอากรสอดคล้องกับการประกอบการอันเป็ นปกติทาง ธุรกิจของกิจการนัน้ ๆ

6. ติ ดตามประเมิ นผลการปฏิ บตั ิ งาน ติดตามประเมินผลการปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา เพื่อนํ ามาประมวลและ ปรับปรุงการวางแผนภาษีอากรต่อไป เป็ นที่เข้าใจโดยทัวไปว่ ่ า การวางแผนภาษีอากรต้องอาศัยความรอบรู้และความ ละเอียดรอบคอบของผูด้ ําเนินการวางแผนภาษีอากรอย่างยิง่ และต้องกระทําอย่างต่อเนื่องจึง บรรลุผลสําเร็จสูงสุด การวางแผนกระจายฐานภาษี ดังได้กล่าวมาแล้วว่า อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป็ นอัตราภาษีแบบก้าวหน้า โดย อัตราภาษีจะเพิม่ สูงขึน้ เมื่อมีเงินได้สุทธิมากขึน้ หรือมีฐานภาษีมากขึน้ ดังนัน้ วิธกี ารวางแผน ภาษีท่นี ิยมกระทําประการหนึ่ง คือการแยกหน่ วยทางภาษีออกไป เพื่อให้ฐานภาษีของหน่ วย ทางภาษีหรือมีเงินได้เดิมลดลงโดยการจัดตัง้ เป็ นห้างหุน้ ส่วนสามัญ หรือคณะบุคคลที่มใิ ช่นิติ บุคคล


78

การวางแผนภาษีเงินบุคคลธรรมดาโดยวิธกี ารกระจายฐานภาษีเป็ นวิธที ไ่ี ด้ผล และมีผู้ นิยมกระทําการอย่างแพร่หลายในทุกกลุ่มวิชาชีพ เช่น คณะแพทย์ในโรงพยาบาลเอกชน การ ประกอบธุรกิจการค้าสถาปนิก วิศวกร แม้กระทังการฝากธนาคาร ่ ผู้ประกอบอาชีพตัวแทน นายหน้าขายสินค้า ขายประกันภัย หรือตัวแทนการขายตรง อย่า งไรก็ต ามการตัง้ คณะบุ ค คลหรือห้า งหุ้นส่ว นสามัญ ที่ไม่จ ดทะเบียนนี้ จะกระทํา ระหว่างสามีและภริยาไม่ได้ ผลพลอยได้อกี ประการหนึ่งด้วยวิธกี ารตัง้ หน่ วยทางภาษีขน้ึ ใหม่ในรูปของห้างหุน้ ส่วน สามัญ หรือ คณะบุ ค คลที่มิใ ช่ นิ ติบุ ค คล โดยเฉพาะผู้ท่ีมีเ งิน ได้ท่ีเ ป็ น คนโสด ซึ่ง เดิม หัก ค่ า ลดหย่อนส่วนบุคคลในฐานะผูม้ เี งินได้เพียงคนเดียวเมื่อตัง้ หน่ วยภาษีขน้ึ ใหม่ นอกจากจะเป็ น การกระจายฐานภาษีดงั กล่าวข้างต้นแล้ว ยังทําให้สามารถลดหย่อนหุน้ ส่วนในห้างหุน้ ส่วนและ บุคคลในฐานะบุคคลทีเ่ ป็ นผูท้ อ่ี ยูใ่ นประเทศไทยได้อกี 2 เท่าของค่าลดหย่อนส่วนบุคคลสําหรับผู้ มีเงินได้ทเ่ี ป็ นคนโสดหรือไม่มคี สู่ มรส การวางแผนเกี่ยวกับประโยชน์ เพิ่ มพิ เศษ ในป จั จุ บ นั กีฬ ากอล์ฟ เป็ นกีฬ าที่ได้รบั ความนิ ย มกัน อย่า งแพร่ห ลายในหมู่ผู้บ ริห าร ระดับสูงของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล รวมทัง้ การสันทนาการในสโมสรต่างๆ เกี่ยวกับ เรื่องนี้กรมสรรพากรได้ออกคําสังที ่ ่ ป.56/2538 เรื่อง การกําหนดรายจ่ายในการคํานวณกําไร สุทธิของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2538 เพื่อให้เจ้าพนักงาน สรรพากรถือเป็ นแนวทางปฏิบตั ใิ นการพิจารณารายการที่ไม่ให้ถอื เป็ นรายจ่ายในการคํานวณ กําไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลตามมาตรา 65 ตรี (4) แห่งประมวลรัษฎากร และได้กล่าวถึงประโยชน์เพิม่ ของผูไ้ ด้รบั สิทธิประโยชน์จากรายจ่าย ดังกล่าวโดยให้มผี ลบังคับใช้ตงั ้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2538 เป็ นต้นมา ดังนี้ ข้อ 1 กรณีบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลได้จา่ ยเงินดังต่อไปนี้ (1) เงินค่าสมัคร เงินประกัน เงินมัดจํา เงินจ่ายล่วงหน้าเพื่อเป็ นค่าใช้จ่าย หรือ เงินอื่นทีจ่ ่ายไปในลักษณะทํานองเดียวกัน เพื่อให้ได้มาเพื่อสิทธิในการเป็ น สมาชิกสนามกอล์ฟ สโมสรกีฬา (Sport Club) หรือสโมสรเพื่อการพักผ่อน หรือการสันทนาการ (Member Club)


79

(2) เงินค่าเล่นกอล์ฟ ค่าเล่นกีฬา ค่าตอบแทนเพือ่ การพักผ่อนหรือสันทาการใน การใช้สทิ ธิตาม (1) หากการใช้สทิ ธิตามวรรคหนึ่งเป็ นการจ่ายตามข้อกําหนดในลักษณะเป็ นการ จํากัดเฉพาะตัวบุคคลบางคนซึง่ เป็ นกรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ทีป่ รึกษา หรือบุคคลอื่น ในตําแหน่งในลักษณะทํานองเดียวกันของบริษทั หรือ ห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล ให้เข้าไปใช้ บริการได้ ไม่ว่าจะมีการนํ าบุคคลอื่นทีไ่ ม่ใช่กรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ทีป่ รึกษา หรือ บุคคลอื่นในตําแหน่ งในลักษณะทํานองเดียวกันของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิติบุคคล เข้าไปใช้บริการด้วยหรือไม่กต็ ามให้ถอื ว่ารายจ่ายดังกล่าวเข้าลักษณะเป็ นรายจ่ายเป็ น การส่วนตัว ไม่ถอื เป็ นรายจ่ายในการคํานวณกําไรสุทธิ ตามมาตรา 65 ตรี (3) แห่ง ประมวลรัษฎากร หากการจ่ายเงินตามวรรคหนึ่ง เป็ นการจ่ายตามข้อกําหนด เพื่อให้การ รับรองลูกค้าหรือบุคคลตามทีก่ ําหนดในกฎกระทรวง ฉบับที่ 143 (พ.ศ.2522) ออกตาม ประมวลรัษฎากรว่าด้วยภาษีเงินได้ตามมาตรา 65 ตรี (4) แห่งประมวลรัษฎากร และใน การรับรองดังกล่าวเปิ ดโอกาสให้กรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ทีป่ รึกษา หรือบุคคลอื่นใน ตําแหน่ งในลักษณะทํานองเดียวกันของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล เข้าใช้บริการ ได้เ ป็ น การทัว่ ไป ให้ถือ ว่ า รายจ่ า ยดัง กล่ า วเข้า ลัก ษณะเป็ น ค่ า รับ รองที่ถือ ว่า เป็ น รายจ่ายในการคํานวณกําไรสุทธิได้ ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 143 (พ.ศ.2522) ออกตาม ความประมวลรัษฎากร ว่าด้วยภาษีเงินได้ ตามมาตรา 65 ตรี (4) แห่งประมวลรัษฎากร ข้อ 2 กรณีบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลจ่ายเงินตามข้อ 1 วรรคสอง ให้ถอื ว่า เงิน ดังกล่าวเป็ นประโยชน์ทก่ี รรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ทีป่ รึกษา หรือบุคคลอื่นใน ตําแหน่ งในลักษณะในทํานองเดียวกันของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิ ติบุค คล ได้รบั เข้าลักษณะเป็ นเงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร โดยถือเป็ นเงินได้ตามมาตรา 40 (1) หรือ (2) แห่งประมวลรัษฎากร ของ กรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ที่ปรึกษา หรือบุ ค คลอื่นในตํ าแหน่ งในลักษณะ ทํานองเดียวกัน นัน้ ข้อ 3 กรณีบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลมอบสิทธิตามข้อ 1 วรรคสาม ให้แก่ กรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ที่ปรึกษา หรือบุ ค คลอื่นในตําแหน่ งในลักษณะ ทํานองเดียวกันโดยเด็ดขาดไม่ว่าในกรณีใด หรือในกรณีการออกจากบริษัท หรือ ห้า งหุ้น ส่ว นนิ ติบุ ค คล ให้ถือ ว่า เงิน ดัง กล่ า วเป็ น ประโยชน์ ท่ีก รรมการ


80

พนักงาน ลูกจ้าง ทีป่ รึกษา หรือบุคคลอื่นในตําแหน่งในลักษณะทํานองเดียวกัน ของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลได้รบั เข้าลักษณะเป็ นเงินได้พงึ ประเมิน ตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร โดยถือเป็ นเงินได้ตามมาตรา 40 (1) หรือ (2) แห่งประมวลรัษฎากร ของกรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ทีป่ รึกษา หรือบุคคล อื่นในตําแหน่งในลักษณะทํานองเดียวกันนัน้ ข้อ 4 คําสังนี ่ ้ให้ใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2538 เป็ นต้นไป จากคําสังกรมสรรพากรดั ่ งกล่าวอาจแยกพิจารณาเกีย่ วกับประโยชน์เพิม่ ซึง่ เข้าลักษณะ เป็ นเงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร โดยถือเป็ นเงินได้ตามมาตรา 40(1) หรือ (2) แห่งประมวลรัษฎากร ดังนี้ 1. เงินทีถ่ อื เป็ นประโยชน์เพิม่ เติม 1.1 เงินทีจ่ ะถือเป็ นประโยชน์เพิม่ เติม ได้แก่ 1.1.1 เงินค่าสมาชิก เงินประกัน เงินมัดจํา เงินจ่ายล่ว งหน้ า เพื่อเป็ น ค่าใช้จา่ ยหรือเงินอื่น ทีจ่ ่ายไปใด้ ลักษณะทํานองเดียวกัน เพื่อการ ได้มาซึง่ สิทธิในการเป็ นสมาชิกสนาม กอล์ ฟ สโมสรกี ฬ า (Sport Club) หรือ สโมสรเพื่อ การพัก ผ่ อ นหรือ สัน ทนาการ (Member Club) 1.1.2 เงินค่าเล่ นกอล์ฟ ค่าเล่นกีฬา ค่าตอบแทนเพื่อการพักผ่อนหรือ สันทนาการในการใช้สทิ ธิตาม 1.1.1 1.2 ลักษณะการจ่าย 1.2.1 เป็ น การจ่า ยตามข้อ กํา หนดในลัก ษณะเป็ น การจํา กัด เฉพาะตัว บุคคลบางคนซึง่ เป็ น กรรมการ พนัก งาน ลูก จ้า ง ที่ป รึก ษา หรือ บุคคลอื่นในตําแหน่ งในลักษณะทํานองเดียวกันของบริษทั หรือห้าง หุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลให้เข้าไปใช้บริการได้ ไม่วา่ จะมีการนําบุคคลอื่นที่ ไม่ ใ ช่ ก รรมการ พนั ก งาน ลู ก จ้า ง ที่ป รึก ษา หรือ บุ ค คลอื่น ใน


81

ตําแหน่ง ใน ลักษณะทํานองเดียวกันของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิติ บุคคล เข้าไปใช้บริการด้วย หรือไม่กต็ าม 1.1.2 เป็ นการจ่ายตามข้อกําหนดเพือ่ ให้การรับรองลูกค้า หรือบุคคลอื่นที่ มิใช่ลูกจ้างของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล และในการรับรอง ดังกล่าวเปิ ดโอกาสให้กรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ที่ปรึกษา หรือ บุคคลอื่นในตําแหน่งในลักษณะทํานองเดียวกันของบริษทั หรือห้าง หุน้ ส่วนนิติบุคคล เข้าใช้บริการได้เป็ นการทัวไป ่ และบริษัทหรือ ห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลได้มอบสิทธิการเป็ นสมาชิกให้แก่กรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ที่ปรึกษา หรือบุคคลอื่นในตําแหน่ งในลักษณะ ทํานองเดียวกันเด็ดขาด ไม่ว่าในกรณีใด หรือในกรณีการออกจาก บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล 1.3 การรับรูป้ ระโยชน์เพิม่ ให้ถอื ว่า การจ่ายเงินตามข้อ 1.2 เข้าลักษณะเป็ นเงินได้พงึ ประเมินตาม มาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร โดยถือเป็ นเงินได้ตามมาตรา 40 (1) หรือ (2) แห่งประมวล รัษฎากรของกรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ทีป่ รึกษา หรือบุคคลอื่นในตําแหน่ งในลักษณะทํานอง เดียวกันนัน้ ในปีทไ่ี ด้รบั สิทธิทงั ้ จํานวน 2. การวางแผนเกีย่ วกับการจ่ายประโยชน์เพิม่ เป็ นค่าสมาชิกสนามกอล์ฟ 2.1

กําหนดเงื่อนไขในการจ่ายค่าสมาชิก เงินประกัน เงินมัดจํา เงินจ่าย ล่วงหน้า เพื่อเป็ นค่าใช้จ่ายหรือเงินอื่นทีจ่ ่ายไปในลักษณะทํานองเดียวกัน เพื่อการได้มาซึ่งสิทธิในการเป็ นสมาชิกสนามกอล์ฟ สโมสรกีฬา (Sport Club) หรือ สโมสร เพื่อการพักผ่อนหรือสันทนาการ (Member Club) เงิน ค่าเล่นกอล์ฟ ค่าเล่นกีฬา ค่าตอบแทนเพื่อการพักผ่อน หรือสันทนาการ ให้ ชัด แจ้ง ว่า จ่ า ยเพื่อ ให้ก ารรับ รองลูก ค้า หรือ บุ ค คลอื่น ที่มิใ ช่ ลูกจ้า งของ บริษัท หรือ ห้า งหุ้น ส่ว นนิ ติบุ ค คล เพื่อ ป้ องกัน มิใ ห้ถือ เป็ น รายจ่ า ยอัน มี ลักษณะเป็ นการส่วนตัวหรือให้โดยเสน่ หา ตามาตรา 65 ตรี (3) แห่ง ประมวลรัษฎากร


82

2.2 ในเงื่อนไขการรับรองดังกล่าว ให้มขี อ้ กําหนดให้เปิ ดโอกาสให้กรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ทีป่ รึกษา หรือ บุคคลอื่นในตําแหน่ งในลักษณะในทํานอง เดีย วกันหรือบริษัทหรือห้างหุ้นส่ว นนิ ติบุ ค คล เข้า ใช้บ ริก ารได้เ ป็ น การ ทัวไป ่ 2.3

บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิติบุคคลไม่พงึ มอบสิทธิการเป็ นสมาชิกให้แก่ กรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง ทีป่ รึกษา หรือบุคคลอื่นในตําแหน่ งในลักษณะ ทํานองเดียวกันโดยเด็ดขาด ไม่ว่าในกรณีใด หรือแม้ในกรณีการออกจาก บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล เพื่อป้องกันมิให้ถอื เป็ นประโยชน์เพิม่ อัน เข้าลักษณะเป็ นเงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร โดยถือเป็ นเงินได้ตามมาตรา 40(1) หรือ (2) แห่งประมวลรัษฎากร

กลยุทธ์ในการวางแผนภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา 1. เลือกมีเงิ นได้ที่ได้รบั ยกเว้นภาษี ภาษีเ งิน ได้บุ ค คลธรรมดาเป็ น ภาษีท่ีมีก ารยกเว้น มากที่สุด กล่ า วได้ว่า ใน ปจั จุบนั มีเงินได้ไม่ต่าํ กว่า 100 รายการทีไ่ ด้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การยกเว้นนัน้ มี ั ญัตไิ ว้ในประมวลรัษฎากร มาตรา 42, กฎกระทรวง ฉบับที่ 126 (พ.ศ.2509), พระราช ทัง้ ทีบ่ ญ กฤษฎีกา และพระราชบัญญัตติ ่างๆ 2. เลือกมีเงิ นได้ที่หกั ค่าใช้จ่ายได้มากกว่า ประมวลรัษฎากร มาตรา 40 แบ่งเงินได้พงึ ประเมินออกเป็ น 8 ประเภท ซึง่ เงิน ได้พงึ ประเมินแต่ละประเภทสามารถหักค่าใช้จ่ายได้ไม่เท่ากัน และบางประเภท ได้แก่ เงินได้ จากค่าสิทธิ (ยกเว้นค่าลิขสิทธิ ์) และเงินได้จากการลงทุนหักค่าใช้จ่ายไม่ได้ ฉะนัน้ หากเลือกเงิน ได้ทห่ี กั ค่าใช้จ่ายได้ยอ่ มจะเสียภาษีน้อยกว่าการมีเงินได้ทห่ี กั ค่าใช้จ่ายไม่ได้ และหากมีเงินได้ท่ี หักค่าใช้จา่ ยได้กค็ วรจะเลือกมีเงินได้ทห่ี กั ค่าใช้จา่ ยได้มากกว่า การหักค่าใช้จ่ายได้มากกว่าย่อมจะทําให้เงินได้สุทธิน้อยลง เพราะเงินได้สุทธิมี ที่มาจาก “เงินได้พงึ ประเมินหักด้วยค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน” เมื่อเงินได้สุทธิน้อยลง ภาษีท่ี จะต้องเสียก็น้อยลงด้วย


83

3. เลือกเงิ นได้ที่หกั ค่าลดหย่อนได้มากกว่า เงินได้พงึ ประเมินเมื่อหักค่าใช้จ่ายแล้ว เพื่อเป็ นการบรรเทาภาระภาษีให้แก่ผมู้ ี เงินได้ ประมวลรัษฎากรจึงกําหนดให้หกั ค่าลดหย่อน (Allowances) ได้อกี ค่าลดหย่อนแตกต่าง กับ ค่ า ใช้จ่ า ยในข้อ ที่ว่ า ค่ าใช้จ่ า ยเป็ น ต้น ทุ น หรือ เงินที่จ่า ยไปเพื่อให้ไ ด้ม าซึ่ง เงิน ได้ แต่ ค่า ลดหย่อนเป็ นตัวบรรเทาภาระภาษีให้แก่ผเู้ สียภาษี ทําให้ประชาชนเสียภาษีน้อยลงหรืออาจจะ ไม่ต้องเสียภาษีกไ็ ด้ ยามใดที่รฐั บาลเห็นว่าประชาชนต้องเผชิญกับปญั หาเศรษฐกิจ รายได้ไม่ พอกับรายจ่ายทีเ่ พิม่ ขึน้ ก็อาจจะมีการออกกฎหมายเพิม่ ค่าลดหย่อนให้มากขึน้ เงินได้สุทธิทจ่ี ะ นําไปคํานวณอัตราภาษีกน็ ้อยลง เมื่อเงินได้สุทธิน้อยลง ภาษีทป่ี ระชาชนจะต้องเสียก็ลดน้อยลง ด้วย หรืออาจจะไม่ตอ้ งเสียภาษีเลยก็ได้ นอกจากนี้รฐั บาลยังใช้คา่ ลดหย่อนเป็ นเครื่องมือในด้าน ต่างๆ เช่น ส่งเสริมความมันคงให้ ่ แก่ชวี ติ และครอบครัว ส่งเสริมการศึกษา การช่วยเหลือเกือ้ กูล กัน เป็ นต้น 4. เลือกนําหรือไม่นําเงิ นได้ที่ถกู หักภาษี ณ ที่จ่ายแล้วมาคํานวณภาษี การเสียภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ ่าย ถือเป็ นการเสียภาษีล่วงหน้า (Advance Tax) จํานวนเงินภาษีท่หี กั และนํ าส่งไว้ ถือเป็ นเครดิตของผูเ้ สียภาษีในการคํานวณภาษี (ประมวล รัษฎากร มาตรา 60) ฉะนัน้ เมื่อถึงกําหนดเวลายื่นรายการ ผูเ้ สียภาษีจงึ ต้องนํ าเงินได้ทถ่ี ูกหัก ภาษี ณ ทีจ่ ่ายไปนัน้ มารวมคํานวณภาษี เป็ นเงินภาษีเท่าใด ให้นําภาษีทถ่ี ูกหัก ณ ทีจ่ ่ายนัน้ มา เครดิต ผลต่างคือ ภาษีทต่ี อ้ งชําระเพิม่ หรือขอคืน แล้วแต่กรณี เงินได้ทผ่ี มู้ เี งินได้มสี ทิ ธิเลือกทีจ่ ะนําเงินได้ทถ่ี ูกหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายไปแล้วมารวม คํานวณภาษีในแบบ ภ.ง.ด. หรือไม่กไ็ ด้ มีดว้ ยกัน 6 ประเภท ได้แก่ (1) ดอกเบี้ย พัน ธบัต ร ดอกเบี้ย เงิน ฝากประจํา ของธนาคารและสหกรณ์ ใ น ราชอาณาจัก ร ดอกเบี้ย หุ้น กู้ ดอกเบี้ย ตัว๋ เงิน ที่ไ ด้จ ากบริษัท หรือ ห้า ง หุ้นส่วนนิติบุคคลหรือนิ ติบุคคลอื่น ดอกเบี้ยที่ได้จากสถาบันการเงินที่มี กฎหมายโดยเฉพาะของประเทศไทยจัด ตัง้ ขึ้น สํา หรับ ให้กู้ย ืม เงิน เพื่อ ส่งเสริมเกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรืออุตสาหกรรม (ถูกหักภาษี ณ ที่ จ่ายร้อยละ 15)


84

(2) ผลต่างระหว่างราคาไถ่ถอนกับราคาจําหน่ ายตั ๋วเงินหรือตราสารแสดงสิทธิ ในหนี้ทบ่ี ริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลหรือนิตบิ ุคคลอื่นเป็ นผูอ้ อก (ถูกหัก ภาษี ณ ทีจ่ า่ ยร้อยละ 15) (3) ผลประโยชน์ทไ่ี ด้จากการโอนพันธบัตร หุน้ กู้ หรือตั ๋วเงินหรือตราสารแสดง สิทธิในหนี้ทบ่ี ริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลหรือนิตบิ ุคคลอื่น เ ป็ น ผู้ อ อ ก ทัง้ นี้เฉพาะทีต่ รี าคาเป็ นเงินได้เกินกว่าทีล่ งทุน (ถูกหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายร้อย ละ 15) (4) เงินป นั ผล หรือเงินส่ว นแบ่งกําไรที่ได้รบั จากบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิ ติ บุคคลทีต่ งั ้ ขึน้ ตามกฎหมายไทย (ถูกหักภาษี ณ ทีจ่ า่ ยร้อยละ 10) (5) เงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ทไ่ี ด้รบั มาโดยทางมรดกหรือการให้ โดย เสน่ ห า หรือ ที่ไ ด้ ม าโดยมิไ ด้ มุ่ ง ในทางการค้า หรือ หากํ า ไร (ประมวล รัษฎากร มาตรา 48 (4) และเงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ภายใน 5 ปี นับแต่วนั ทีไ่ ด้มาตามมาตรา 4 (6) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความ ในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการขายอสังหาริมทรัพย์เป็ นทางการค้าหรือหา กําไร (ฉบับที่ 342) พ.ศ.2541 ซึ่งได้ถูกหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายตามประมวล รัษฎากร มาตรา 50 (5) และได้เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ (พระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการ ยกเว้ น รั ษ ฎากร (ฉบั บ ที่ 376) พ.ศ.2544 มาตรา 3) (6) เงินได้ท่ีนายจ้างจ่า ยให้ค รัง้ เดีย วเพราะเหตุ ออกจากงาน เช่น บําเหน็ จ ค่าชดเชย เงินได้จากดอกเบีย้ ผลต่าง และผลประโยชน์ตามข้อ 1 ถึงข้อ 3 ทีถ่ ูกหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายในอัตราร้อยละ 15 นัน้ หากเลือกนํามารวมคํานวณภาษีในแบบ ภ.ง.ด. แล้วทําให้เสีย ภาษีเพิม่ ขึน้ ก็ไม่ควรนํามารวมคํานวณ แต่ถา้ ทําให้ได้รบั การคืนภาษีกค็ วรนํามารวมคํานวณเงิน ได้จากเงินปนั ผลหรือเงินส่วนแบ่งกําไรตามข้อ 4 ควรจะนํามารวมคํานวณในแบบ ภ.ง.ด. เพราะ จะได้รบั การคืนภาษี เงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ตามข้อ 5 ควรจะนํามารวมคํานวณใน แบบ ภ.ง.ด. หรือไม่ ขึน้ อยูก่ บั ว่าคํานวณแล้วทําให้เสียภาษีเพิม่ ขึน้ หรือไม่ เงินได้ทน่ี ายจ้างจ่าย ให้ครัง้ เดียวเพราะเหตุออกจากงานตามข้อ 6 นัน้ ผูม้ เี งินได้ไม่ต้องนํามารวมคํานวณในแบบ ภ.ง.ด. ช่วยให้ไม่ตอ้ งเสียภาษีเพิม่ ขึน้ และเงินส่วนแบ่งกําไรทีผ่ ลู้ งทุน ซึง่ เป็ นผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษี


85

เงินได้บุคคลธรรมดาได้รบั จากกองทุนรวมทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ตามพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาด หลักทรัพย์ พ.ศ.2535 ผูล้ งทุนมีสทิ ธิเลือกเสียภาษีโดยให้กองทุนรวมหักภาษี ณ ทีจ่ ่าย ในอัตรา ร้อยละ 10 และถือเป็ นภาษีสดุ ท้าย (Final Tax) ได้ 5. เลือกแยกหรือไม่ยื่นแบบ ภ.ง.ด. ระหว่างสามีภริ ยา เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (1) แห่งประมวลรัษฎากร หรือเงินได้ประเภท เงินเดือนค่าจ้างนัน้ สามีภริยามีส ิทธิเลือกแยกหรือไม่แยกยื่นแบบ ภ.ง.ด. ต่ างหากจากกัน ฉะนัน้ หากแยกยืน่ (แยกคํานวณ) แล้วช่วยทําให้เสียภาษีน้อยลงก็ควรจะแยกยืน่ (แยกคํานวณ)

6. เลือกจัดตัง้ ห้างหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบคุ คล กรณีทผ่ี มู้ เี งินได้มากและต้องเสียภาษีในอัตราสูง การจัดตัง้ ห้างหุน้ ส่วนสามัญ หรือคณะบุคคลทีม่ ใิ ช่นิตบิ ุคคลจะช่วยทําให้เสียภาษีน้อยลง 7. เลือกจัดตัง้ และจดทะเบียนบริ ษทั จํากัด ผู้มเี งินได้จากการประกอบธุรกิจ หากประมาณการแล้วมีกําไรสุทธิเกินปี ล ะ 1,500,000 บาท ควรจัดตัง้ และจดทะเบียนบริษทั จํากัดทีม่ ที ุนชําระแล้วในวันสุดท้ายของรอบ ระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5,000,000 บาท เพือ่ เสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลในอัตราร้อยละ 15, 25 และ 30 ของกําไรสุทธิ (กําไรสุทธิไม่เกิน 150,000 บาท ได้รบั การยกเว้นภาษี) 8. เลือกกระจายรายได้ให้บคุ คลอื่น ผูม้ เี งินได้มากและต้องเสียภาษีในอัตราสูง หากกระจายรายได้ให้บุคคลอื่น จะ ช่วยทําให้เสียภาษีน้อยลง เช่น การจดทะเบียนสิทธิเก็บกินในอสังหาริมทรัพย์ให้แก่บุคคลอื่น อาทิ บิดามารดา แล้วให้บุคคลอื่นนัน้ นํ าอสังหาริมทรัพย์นัน้ ไปหาผลประโยชน์ ผลประโยชน์ท่ี ได้รบั ก็ตกเป็ นของบุ คคลนัน้ บุ คคลนัน้ เป็ นผู้ต้องเสียภาษีจากผลประโยชน์ ท่ไี ด้รบั เจ้าของ อสัง หาริม ทรัพ ย์ไ ม่ต้อ งนํ า ผลประโยชน์ นัน้ มารวมคํา นวณภาษี จึง ช่ ว ยให้เ สีย ภาษีน้ อ ยลง อย่างไรก็ดี การจดทะเบียนสิทธิเก็บกินนัน้ จะต้องมีเจตนาให้สทิ ธิเก็บกินจริงๆ มิใช่ทาํ ขึน้ เพื่อหนี ภาษี (Tax Evasion)


86

9. การขอคืนภาษี ต้องตรวจสอบให้ถี่ถ้วน (Tax Audit) ก่อนว่ามีสิทธิ ได้รบั คืนหรือไม่ กรณีผมู้ เี งินได้จะขอคืนภาษี ควรจะตรวจสอบให้ถถ่ี ว้ น (Tax Audit) ก่อนว่ามี สิทธิได้รบั คืนหรือไม่ มิฉะนัน้ แทนทีจ่ ะได้รบั ภาษีคนื กลับจะต้องเสียภาษีเพิม่ ขึน้ ก็ได้ 10. ทําบัญชีและเก็บรักษาบัญชีและเอกสารประกอบการลงบัญชี แม้ผเู้ สียภาษีทเ่ี ป็ นบุคคลธรรมดาหรือห้างหุน้ ส่วนสามัญหรือคณะบุคคลทีม่ ใิ ช่ นิตบิ ุคคลเพียงบางรายเท่านัน้ ทีม่ หี น้าทีต่ ้องทําบัญชี แต่ผเู้ สียภาษีทุกรายก็ควรจะทําให้ผมู้ เี งิน ได้กรอกแบบ ภ.ง.ด. และเสียภาษีถูกต้องครบถ้วน และกรณีท่ถี ูกเจ้าพนักงานประเมินออก หมายเรียกตรวจสอบไต่สวน จะได้มหี ลักฐานทีจ่ ะพิสจู น์ได้ การวางแผนภาษี เงิ นได้นิติบคุ คล 1. กําหนดนโยบายการวางแผนภาษี เงิ นได้นิติบคุ คล การก่ อ ตัว ของนโยบายที่นํ า ไปสู่ ค วามสํ า เร็จ ในการนํ า ไปถื อ ปฏิบ ัติ ท ัง้ หลาย โดยเฉพาะนโยบายทีม่ ผี ลต่อองค์การอย่างยิง่ เช่น นโยบายการวางแผนภาษีอากรส่วนใหญ่จะ กําหนดโดยผูบ้ ริหารระดับสูงทีเ่ ล็งเห็นความสําคัญ หรือประโยชน์ของการวางแผนภาษีอากรใน อันทีจ่ ะป้องกันปญั หาทีอ่ าจเกิดกับองค์การพร้อมๆ กันหลายๆ ทาง นโยบายการวางแผนภาษีเ งิน ได้นิ ติบุ ค คลควรกํ า หนดให้แ จ้ง ชัด โดยคํา นึ ง ถึง ขอบเขตหรือวัตถุประสงค์ของการวางแผนภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล เพื่อทีผ่ นู้ ํานโยบายการวางแผน ภาษีอากรไปถือปฏิบตั จิ ะสามารถปฏิบตั ไิ ด้อย่างเห็นผล อาทิ 1.1 เพื่อให้การเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลของกิจการเป็ นไปโดยถูกต้องและครบถ้วน ตามที่กฎหมายกําหนดบัญญัติไว้ โดยไม่มกี ารหลีกเลี่ยงภาษีอากร เนื่องจาก ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลมีบทบัญญัตทิ เ่ี กี่ยวข้องกับหลักเกณฑ์ในทางการบัญชีอยู่ มาก ซึง่ มีทงั ้ ประเด็นทีส่ อดคล้องกันและขัดแย้งกัน ทีอ่ าจทําให้อาจมีการปฏิบตั ิ ที่ผิดพลาดในการยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเสียภาษีเ งินได้นิติบุ ค คลได้ จึง


87

จําเป็ นต้องกําหนดนโยบายข้อนี้ให้ชดั แจ้ง เพือ่ ให้สามารถนําไปถือเป็ นแนวทาง ปฏิบตั เิ พือ่ การเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลต่อไป 1.2 เพื่อให้ขจัดปญั หาในการเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลของกิจการ ที่อาจเกิดขึน้ ใน ทุกกรณี การวางแผนภาษีอากรเป็ นเครื่องช่วยชีท้ างปฏิบตั ทิ ถ่ี ูกต้องให้แก่ธุรกิจ นอกเหนือไปจากการเสียภาษีอากรให้ถูกต้องครบถ้วน เพื่อป้องกันและแก้ไข ปญั หาภาษีอากรทีอ่ าจมีขน้ึ ในอนาคต 1.3 เพื่อประหยัดหรือลดทอนค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึน้ เนื่องจาก การเสียภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลไม่ถูกต้องครบถ้วน ได้แก่ (1) เบี้ยปรับ เพราะเหตุทผ่ี ปู้ ระกอบการชําระภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลขาดไปหรือ น้อยกว่าจํานวนที่พงึ ต้องเสีย หรือไม่ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขของกฎหมายใน บางกรณี ได้แก่ (ก) เบี้ยปรับตามมาตรา 22 แห่งประมวลรัษฎากร กรณีเจ้าพนักงาน ประเมินได้ออกหมายเรียกตรวจสอบภาษีเงินได้นิติบุคคลของบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามมาตรา 19 แห่งประมวลรัษฎากร เนื่องจากเจ้าพนักงานประเมินเหตุอนั ควรเชื่อว่าบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วน นิ ติบุ ค คลนัน้ ยื่น แบบแสดงรายการไว้ไ ม่ถู ก ต้อ งตามความเป็ น จริง หรือไม่บริบูรณ์ และเจ้าพนักงานประเมินได้ทําการประเมินเรียกเก็บ ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลเพิม่ เติมตามมาตรา 20 หรือมาตรา 21 แห่ง ประมวลรัษฎากร บริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนัน้ ต้องรับผิดเสีย เบีย้ ปรับมาตรา 22 แห่งประมวลรัษฎากร อีกหนึ่งเท่าของจํานวนเงิน ภาษีทต่ี อ้ งชําระ (ข) เบี้ย ปรับ ตามมาตรา 26 แห่ ง ประมวลรัษ ฎากร กรณี เ จ้า พนั ก งาน ประเมินได้ออกหมายเรียกตรวจสอบภาษีเงินได้นิติบุคคลของบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตามมาตรา 23 แห่งประมวลรัษฎากร เนื่องจากบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลนัน้ มิได้ย่นื แบบแสดงรายการ ภาษีเงินได้นิติบุคคล (ภ.ง.ด.50 และ ภ.ง.ด.51) และเจ้าพนักงาน ประเมินได้ทําการประเมินเรียกเก็บภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลเพิม่ เติมตาม


88

มาตรา 24 หรือมาตรา 25 แห่งประมวลรัษฎากร บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วน นิติบุคคลนัน้ ต้องรับผิดเสียเบี้ยปรับตามมาตรา 26 แห่งประมวล รัษฎากร อีกสองเท่าของจํานวนเงินภาษีทต่ี อ้ งชําระ (2) เงิน เพิ่ม ภาษี เพราะเหตุ ท่ีผู้ป ระกอบการชํา ระภาษีอ ากรล่ า ช้า หรือ เกิน ระยะเวลาทีก่ าํ หนดไว้ในกฎหมาย ได้แก่ (ก) เงินเพิม่ ตามมาตรา 27 แห่งประมวลรัษฎากร เนื่องจากยื่นแบบแสดง รายการภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลและชําระหรือนํ าส่งภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล ล่าช้ากว่าทีก่ ฎหมายกําหนดดังนี้ “มาตรา 27 บุคคลใดไม่เสียหรือนํ าส่งภาษีภายในกําหนดเวลาตามที่ บัญญัตไิ ว้ในหมวดต่างๆ แห่งลักษณะนี้เกีย่ วกับภาษีอากรประเมิน (ได้แก่ หมวด 3 ภาษีเงินได้ ในลักษณะ 2 ภาษีอากรฝา่ ยสรรพากร) ให้เสียเงินเพิม่ อีกร้อยละ 1.5 ต่อเดือนหรือเศษของเดือนของเงินภาษีทต่ี อ้ งเสียหรือนําส่ง โดยไม่รวมเบีย้ ปรับ ในกรณีอธิบดีอนุ มตั ใิ ห้ขยายกําหนดเวลาชําระหรือนําส่งภาษี และได้มี การชําระหรือนํ าส่งภาษีภายในกําหนดเวลาที่ขยายได้นัน้ เพิม่ ตามวรรค หนึ่งให้ลดลงเหลือร้อยละ 0.75 ต่อเดือนหรือเศษของเดือน การคํา นวณเงิน เพิ่ม ตามวรรคหนึ่ ง และวรรคสอง ให้เ ริ่ม นับ เมื่อ พ้น กําหนดเวลาการยืน่ รายการหรือนําส่งภาษีจนถึงวันชําระหรือนําส่งภาษี แต่ เงินเพิม่ ทีค่ ํานวณได้มใิ ห้เกินจํานวนภาษีทต่ี อ้ งเสียหรือนําส่วนไม่ว่าภาษีท่ี ต้องเสียหรือนํ าส่งนัน้ จะเกิดจากการประเมินหรือคําสังของเจ้ ่ าพนักงาน หรือคําวินิจฉัยอุทธรณ์ หรือคําพิพากษาของศาล” (ข) เงินเพิม่ ตามมาตรา 67 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร เนื่องจากชําระภาษี เงินได้นิติบุคคลครึ่งปี ล่าช้ากว่าที่กําหนดไว้ในมาตรา 67 ทวิ แห่ง ประมวลรัษฎากร “มาตรา 67 ตรี ในกรณีทบ่ี ริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลไม่ย่นื รายการ และชําระภาษีตามมาตรา 67 ทวิ (1) หรือยื่นรายการชําระภาษีตามมาตรา


89

67 ทวิ (1) โดยแสดงประมาณการกําไรสุทธิขาดเกินไปร้อยละ 25 ของกําไร สุทธิซ่งึ ได้จากกิจการหรือเนื่องจากกิจการที่กระทําในรอบระยะเวลาบัญชี นัน้ โดยไม่มเี หตุอนั สมควร บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลนัน้ ต้องเสียเงิน เพิม่ อีกร้อยละ 25 ของจํานวนเงินภาษีทต่ี อ้ งชําระตามมาตรา 67 ทวิ (1) หรือของกึ่งหนึ่ งของจํานวนเงินภาษีท่ตี ้องเสียในรอบระยะเวลาบัญชีนัน้ หรือของภาษีทช่ี าํ ระขาดแล้วแต่กรณี ในกรณีทบ่ี ริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลไม่ย่นื รายการและชําระภาษี ตามมาตรา 67 ทวิ (2) หรือยื่นรายการและชําระภาษีตามมาตรา 67 ทวิ (2) ไว้ไม่ถูกต้องโดยไม่มเี หตุอนั สมควร ทําให้จํานวนภาษีท่ตี ้องชําระขาดไป บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลนัน้ ต้องเสียเงินเพิม่ อีกร้อยละ 20 ของ จํานวนเงินภาษีทต่ี อ้ งชําระตามมาตรา 67 ทวิ (2) หรือของภาษีทช่ี าํ ระขาด แล้วแต่กรณี เงินเพิม่ ตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้ถอื เป็ นค่าภาษี และอาจลดลงได้ ตามระเบียบทีอ่ ธิบดีกาํ หนดโดยอนุ มตั ริ ฐั มนตรี (ค) เงินเพิม่ ตามมาตรา 71 (2) แห่งประมวลรัษฎากร ดังนี้ “มาตรา 71 ในกรณีท่ี (1) บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลใด มิได้ลงรายการ หรือลงรายการ ไม่ครบถ้วน หรือไม่ตรงตามความจริงในบัญชีตามที่กําหนดไว้ใน มาตรา 17 และมาตรา 68 ทวิ เป็ นเหตุให้ไม่ตอ้ งเสียภาษีหรือเสีย ภาษีน้อยลง เจ้าพนักงานประเมินมีอํานาจประเมินภาษีทข่ี าดตาม ่ ผตู้ อ้ งเสียภาษีเสียเงินเพิม่ ขึน้ อัตราภาษีในมาตรา 67 และอาจสังให้ อีก 2 เท่าของจํานวนภาษีทข่ี าดก็ได้” (ง) เงินเพิม่ ตามมาตรา 72 แห่งประมวลรัษฎากร ดังนี้ “มาตรา 72 ในกรณีทบ่ี ริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลเลิกกัน ให้ผชู้ าํ ระ บัญชีและผูจ้ ดั การมีหน้าทีร่ ่วมกันแจ้งให้เจ้าพนักงานประเมินทราบการเลิก ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่ว นนิ ติบุ คคลนัน้ ภายในสิบ ห้าวันนับ แต่ ว นั ที่เ จ้า


90

พนักงานรับจดทะเบียนเลิก ถ้าบุคคลดังกล่าวไม่ปฏิบตั ติ าม เจ้าพนักงาน ประเมินอาจสังให้ ่ บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลนัน้ เสียเงินภาษีเพิม่ ขึน้ อีก 1 เท่าของจํานวนภาษีทต่ี อ้ งเสีย เงินนี้ถอื เป็ นค่าภาษี” (2) ค่าปรับทางอาญา เนื่องจากการทีผ่ ปู้ ระกอบการ จงใจ ฝา่ ฝื น หรือละเลยไม่ ปฏิบตั ติ ามหน้าทีท่ บ่ี ญ ั ญัตไิ ว้ในกฎหมาย ดังนี้ (ก) กรณี บ ริษัท หรือ ห้า งหุ้น ส่ ว นนิ ติบุ ค คลใดรู้อ ยู่ แ ล้ว ไม่ อํ า นวยความ สะดวกหรือขัดขวางเจ้าพนักงานผูก้ ระทําตามหน้าทีใ่ นการตรวจค้น ยึด อายัด บัญ ชี เอกสาร หรือ หลัก ฐานอื่น ที่เ กี่ย วข้อ งหรือ สัน นิ ษ ฐานว่ า เกี่ยวกับภาษีอากรตามมาตรา 3 เบญจ แห่งประมวลรัษฎากร ต้อง ระวางโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท หรือจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือทัง้ ปรับทัง้ จํา (มาตรา 3 นว แห่งประมวลรัษฎากร) (ข) กรณี บ ริษัท หรือ ห้า งหุ้น ส่ ว นนิ ติบุ ค คลได้จ ัด ทํ า บัญ ชี เอกสาร หรือ หลักฐานซึง่ เกีย่ วกับหรือเจ้าพนักงานสันนิษฐานว่าเกีย่ วกับภาษีอากรที่ ต้อ งเสีย เป็ น ภาษาต่ า งประเทศเจ้า พนั ก งานประเมิน หรือ พนั ก งาน เจ้าหน้าทีม่ อี าํ นาจสังให้ ่ บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลนัน้ จัดการแปล เป็ นภาษาไทยให้เสร็จภายในเวลาอันสมควรก็ได้ ตามมาตรา 3 ฉ แห่ง ประมวลรัษ ฎากร หากบริษัท หรือห้า งหุ้น ส่ว นนิ ติบุ ค คลใดฝ่า ฝื น ไม่ ปฏิบตั ติ ามคําสังของเจ้ ่ าพนักงานหรือพนักงานเจ้าหน้าทีด่ งั กล่าว ต้อง ระวางโทษปรับไม่เกิน 5,000 บาท (มาตรา 3 ทศ แห่งประมวล รัษฎากร) (ค) กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลมิได้ขอมีและใช้เลขประจําตัวผู้ เสียภาษีอากรตามมาตรา 3 เอกาทศ แห่งประมวลรัษฎากร ต้องระวาง โทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท (มาตรา 3 ทวาทศ แห่งประมวลรัษฎากร) (ง) กรณีบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลใด ไม่ย่นื แบบแสดงรายการภาษี เงินได้นิติบุ คคล หรือภาษีเงินได้นิติบุ คคลหัก ณ ที่จ่าย หรือไม่ออก หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย หรือไม่จดั ทําบัญชีพเิ ศษตามที่ อธิบดีกรมสรรพากรกําหนดตามมาตรา 17 แห่งประมวลรัษฎากร ภายในเวลาทีก่ ฎหมายกําหนด ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท


91

ทัง้ นี้เว้นแต่จะแสดงได้ว่ามีเหตุสุดวิสยั (มาตรา 35 รัษฎากร)

แห่งประมวล

(จ) กรณีบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลใดได้รบั คําสังยึ ่ ดหรืออายัดทรัพย์ ของเจ้าพนักงาน เพื่อการเร่งรัดภาษีอากรค้างตามมาตรา 12 แห่ง ประมวลรัษฎากรแล้ว ได้ทาํ ลาย ย้ายไปเสีย ซ่อนเร้น หรือโอนไปให้แก่ บุคคลอื่นซึ่งทรัพย์สนิ ที่ถูกยึดหรืออายัดดังกล่าวต้องระวางโทษจําคุก ไม่เกินสองปีและปรับไม่เกิน 200,000 บาท ในกรณีผู้ก ระทํา ผิด ตามวรรคหนึ่ งเป็ นนิ ติบุ ค คล กรรมการผู้จดั การ ผู้จดั การ หรือผู้แทนของนิติบุคลนัน้ ต้องรับโทษตามที่บญ ั ญัติไว้ในวรรค หนึ่งด้วย เว้นแต่ จะพิสูจน์ ได้ว่าตนมิได้มสี ่วนในการกระทําความผิดของ บุคคลนัน้ (มาตรา 35 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร) (ฉ) บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลใด โดยรูอ้ ยูแ่ ล้วหรือจงใจไม่ปฏิบตั ติ าม หมายเรี ย กหรื อ คํ า สัง่ ของอธิ บ ดี ก รมสรรพากร หรื อ ผู้ ซ่ึ ง อธิ บ ดี กรมสรรพากรมอบหมาย หรือสรรพากรจังหวัด เจ้าพนักงานประเมิน ผูว้ ่าราชการจังหวัด หรือกรรมการทีอ่ อกตามมาตรา 12 ตรี มาตรา 19 มาตรา 23 หรือมาตรา 32 แห่งประมวลรัษฎากร หรือไม่ยอมตอบ คําถามเมื่อซักถามต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่ เกิน 2,000 บาท หรือทัง้ จําทัง้ ปรับ (มาตรา 36 แห่งประมวลรัษฎากร) (ช) บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลใด 1) โดยรู้อยู่แล้ว หรือโดยจงใจ แจ้งข้อความเท็จ หรือให้ถ้อยคําเท็จ หรือตอบคําถามด้วยถ้อยคําอันเป็ นเท็จ หรือนํ าพยานหลักฐานมา แสดงเพือ่ หลีกเลีย่ งการเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล หรือ 2) โดยความเท็จ โดยฉ้อโกงหรืออุบาย หรือโดยวิธกี ารอื่นใดทํานอง เดียวกันหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีเงินได้นิติ บุคคลต้องระวางโทษจําคุกตัง้ แต่สามเดือนถึงเจ็ดปี และปรับตัง้ แต่ 2,000 ถึง 200,000 บาท (มาตรา 37 แห่งประมวลรัษฎากร)


92

(ซ) บริษัท หรือ ห้า งหุ้น ส่ว นนิ ติบุ ค คลใดเจตนาละเลย ไม่ ย่ืน แบบแสดง รายการภาษีเ งิน ได้นิ ติบุ ค คลที่ต้อ งยื่น เพื่อ หลีก เลี่ย งหรือ พยายาม หลีกเลีย่ งภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 5,500 บาท หรือจําคุกไม่เกินหกเดือน หรือทัง้ ปรับทัง้ จํา (มาตรา 37 ทวิ แห่ง ประมวลรัษฎากร) ดังนัน้ การเสีย ภาษีอากรที่ป ระหยัดที่สุด จึง หมายถึง การเสีย ภาษีอ ากรให้ ถูกต้อง ครบถ้วนตามหลักการวางแผนภาษีอากรทีด่ ี และกล่าวโดยเฉพาะสําหรับบริษทั หรือห้าง หุ้นส่ว นนิ ติบุ ค คลนัน้ ในการคํานวณกําไรหรือขาดทุนสุท ธิเ พื่อเสียภาษีเ งินได้นิติบุ ค คลนัน้ รายจ่ายค่าเบี้ยปรับ เงินเพิม่ หรือค่าปรับทางอาญาตามประมวลรัษฎากร อันเกิดจากการเสีย ภาษีไม่ถูกต้องครบถ้วน มาถือเป็ นรายจ่ายทางภาษีอากรไม่ได้ ฉะนัน้ ผู้ประกอบการจึงควร หลีกเลีย่ งรายจ่ายทีเ่ กิดจากการเสียภาษีอากรไม่ถูกต้องทุกกรณี 1.4 เพื่อลดต้นทุนการดําเนินกิจการ หรือเพิม่ กําไรสุทธิ โดยการใช้สทิ ธิประโยชน์ทาง ภาษีอากร อาทิ (1) การขอรับสิทธิประโยชน์ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน โดยการขอ ยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลเป็ นเวลา 3-8 ปี การยกเว้นอากรขาเข้าสําหรับ เครือ่ งจักรและวัตถุดบิ ทีน่ ําเข้าจากต่างประเทศ (2) การประกอบกิจการในเขตอุตสาหกรรมส่งออก (EXPORT PROCESSING ZONE: EPZ) ตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม (3) การประกอบกิจการประกอบสินค้าในเขตคลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทโรงผลิต สินค้าตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร (4) การใช้สทิ ธิประโยชน์ทางภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร เช่น (ก) การเลือกใช้หน่ วยงานทางภาษีอากรเพื่อให้การเสียภาษีเงินได้มจี ํานวน น้อยทีส่ ดุ


93

(ข) การใช้สทิ ธิยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล สําหรับเงินปนั ผล หรือเงินส่วนแบ่ง ของกําไรตามมาตรา 65 ทวิ (10) แห่งประมวลรัษฎากร ให้แก่บริษทั จํากัดที่ ตัง้ ขึน้ ตามกฎหมายไทย (ค) การใช้สทิ ธิยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล สําหรับเงินส่วนแบ่งของกําไรที่ได้ จากกิจการร่วมค้าทีป่ ระกอบกิจการในประเทศไทย ของบริษทั หรือห้างหุ่น ส่ว นนิ ติบุคคลที่ต งั ้ ขึ้นตามกฎหมายไทย และบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิ ติ บุคคลทีต่ งั ้ ขึน้ ตามกฎหมายของต่างประเทศและประกอบกิจการในประเทศ ไทย ตามมาตรา 5 ทวิ แห่งพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 10 ) พ.ศ. 2500 (ง) การใช้สทิ ธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สําหรับเงินได้ของบริษทั และห้าง หุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล เป็ นจํานวนร้อยละ 50 ของรายจ่ายทีไ่ ด้จ่ายไปเป็ นค่าจ้าง เพื่อทําการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยี ให้แก่หน่ วยงานของรัฐหรือเอกชน ระหว่างวันที่ 31 พฤษภาคม 2537 ถึงวันที่ 25 กรกฎาคม 2539 ตามพระ ราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 271) พ.ศ. 2537 และประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อ ง กํ า หนดหน่ ว ยงานของรัฐ หรือ เอกชนที่ร ับ ทํ า การวิจ ัย และพัฒ นา เทคโนโลยีลงวันที่ 29 สิงหาคม 2537 และเพิม่ เป็ นร้อยละ 100 ตามพระราช กฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 297) พ.ศ.2539 ตัง้ แต่วนั ที่ 26 กรกฎาคม 2539 เป็ นต้น ไป (จ) การใช้สทิ ธิยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล สําหรับกําไรสุทธิของบริษทั หรือห้าง หุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล และเงินปนั ผลหรือเงินส่วนแบ่งของกําไรทีไ่ ด้จากบริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิ ติบุคคลที่ประกอบกิจการโรงเรียนเอกชน หรือกิจการ สถาบัน อุ ด มศึก ษาเอกชนตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโรงเรีย นเอกชนหรือ สถาบันอุดมศึกษาเอกชนแต่ไม่รวมถึงรายได้จากการขายของ การรับจ้าง ทําของ หรือการให้บริการอื่นใดทีไ่ ด้รบั จากผูซ้ ่งึ มิใช่นักเรียนหรือนักศึกษา ของโรงเรียนเอกชนหรือสถาบันอุดมศึกษาดังกล่าว ทัง้ นี้ เฉพาะกรณีท่ี บริษั ท หรือ ห้ า งหุ้ น ส่ ว นนิ ติ บุ ค คลดัง กล่ า วมิไ ด้ ป ระกอบกิ จ การอื่ น ใด นอกจากกิจการโรงเรียนเอกชน หรือสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ตามมาตรา 3 แห่งพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 284) พ.ศ.2538 (ใช้บงั คับสําหรับรอบ ระยะเวลาบัญชีทเ่ี ริม่ ในหรือหลังวันที่ 11 กรกฎาคม 2538 เป็ นต้นไป)


94

(ฉ) การใช้สทิ ธิยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล สําหรับกําไรสุทธิของบริษทั หรือห้าง หุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล และเงินปนั ผลหรือเงินส่วนแบ่งของกําไรทีไ่ ด้จากบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการสถาบันฝึ กอบรม เพื่อพัฒนา ฝี มอื แรงงานของลูกจ้างของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลนัน้ หรือของ บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลในเครือเดียวกัน ทัง้ นี้ เฉพาะกรณีทบ่ี ริษทั หรือ ห้า งหุ้น ส่ว นนิ ติบุ ค คลดัง กล่ า วมิไ ด้ป ระกอบกิจ การอื่น ใด นอกจาก กิจการสถาบันฝึ กอบรมเพื่อพัฒนาฝี มอื แรงงาน ตามมาตรา 4 แห่งพระราช กฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 284) พ.ศ.2538 (ใช้บงั คับสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีท่ี เริม่ ในหรือหลังวันที่ 11 กรกฎาคม 2538 เป็ นต้นไป) (ช) การใช้สทิ ธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สําหรับเงินได้ของบริษทั และห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคลเป็ นจํานวนร้อยละ 50 ของรายจ่ายที่ได้จ่ายไปเป็ น ค่าใช้จ่ายในการส่งลูกจ้างของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิติบุคคลนัน้ เข้ารับ การศึกษาหรือฝึ กอบรมในสถานศึกษา หรือสถาบันฝึ กอบรมวิชาชีพทีท่ าง ราชการจัดตัง้ ขึน้ หรือที่รฐั มนตรีว่าการกระทรวงการคลังประกาศกําหนด ตามมาตรา 5 แห่งพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 284) พ.ศ.2538 (ใช้บงั คับ ตัง้ แต่วนั ที่ 11 กรกฎาคม 2538 เป็ นต้นไป) (ซ) การใช้สทิ ธิตรี าคาทรัพย์สนิ อื่นใดทีม่ ใิ ช่สนิ ค้าคงเหลือเพิม่ ขึน้ ตามมาตรา 65 ทวิ (3) แห่งประมวลรัษฎากร โดยไม่ต้องนํ าส่วนทีต่ รี าคาทรัพย์สนิ เพิม่ ขึน้ ดังกล่าวไปรวมคํานวณเป็ นรายได้เพือ่ เสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล (ฌ) การใช้สทิ ธิตีราคาหลักทรัพย์ท่ปี ระสงค์จะมีไว้เพื่อขายตามราคาทุนหรือ ราคาตลาดแล้วแต่อย่างใดจะตํ่ากว่า โดยถือเป็ นสินค้าคงเหลือตามมาตรา 65 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร (ญ) การใช้ส ิท ธินํ า ผลขาดทุ น สุ ท ธิ (ทางภาษีอ ากร) ซึ่ง ยกมาไม่เ กิน 5 รอบ ระยะเวลาบัญชีมาถือเป็ นรายจ่ายในการคํานวณกําไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ ทางภาษีอากรตามมาตรา 65 ตรี (12) แห่งประมวลรัษฎากร (ฎ) การใช้สทิ ธิตรี าคาทรัพย์สนิ ตามราคาตลาดในวันที่บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วน นิตบิ ุคคลควบเข้ากันหรือโอนกิจการ โดยบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลผู้ โอนกิจการต้องจดทะเบียนเลิกและชําระบัญชี ทัง้ นี้ บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วน


95

นิ ติบุ ค คลดัง กล่ า วไม่ ต้ อ งถือ ราคาตลาดของทรัพ ย์ส ิน เป็ น รายได้ห รือ รายจ่ายในการคํานวณกําไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิตามมาตรา 74 (1) แห่ง ประมวลรัษฎากร 1.5 การวางแผนภาษีอากรที่ดแี ละการดําเนินการตามทีไ่ ด้วางแผนภาษีอากรดังกล่าว ย่อ มทํา ให้ผ้ปู ระกอบการคลายความกัง วลต่ อ การถูกเรี ย กตรวจสอบภาษี อากรของทางราชการ เพราะมีข้อ มู ล ทัง้ ในทางบัญ ชีแ ละทางภาษี อ ากรที่ เพียบพร้อม สามารถชี้แจงหรือแสดงหลักฐานข้อเท็จจริงต่างๆ ทางบัญชีการเงิน (FINANCIAL ACCOUNTING) และบัญชีภาษีอากร (TAX ACCOUNTING) แก่ เจ้าหน้าทีผ่ ตู้ รวจสอบภาษีได้โดยชัดแจ้งอันจะทําให้ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายที่ ไม่ควรต้องเสียไป นอกเหนือไปจากการเสียโอกาสและความรูส้ กึ ทีด่ ี นโยบายการวางแผนภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลควรประกาศให้ทราบโดยทัวกั ่ นในหมูผ่ บู้ ริหาร และผูท้ เ่ี กีย่ วข้องทุกฝา่ ยภายในองค์กรในอันทีจ่ ะก่อประโยชน์สงู สุดแก่องค์กรทัง้ ในกระบวนการ ว า ง แ ผ น ภ า ษี อ า ก ร แ ล ะ ก า ร นํ า ก า ร ว า ง แ ผ น ภ า ษี เ งิ น ไ ด้ นิ ติ บุ ค ค ล ไ ป ป ฏิ บั ติ (IMPLEMENTATION) 2. กําหนดบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนภาษี เงิ นได้นิติบคุ คล การวางแผนภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลต้องอาศัยบุคลากรทีเ่ กีย่ วข้องหลายๆ ฝา่ ยร่วมกัน ปรึกษาหารือโดยรอบด้านในประเด็นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล ทีเ่ กิดขึน้ กับธุรกิจทีว่ างแผนภาษีอากร อาทิ 2.1 ฝา่ ยจัดการ 2.2 ฝา่ ยบุคลากร 2.3 ฝา่ ยบัญชีและการเงิน 2.4 ฝา่ ยการตลาด 2.5 ฝา่ ยกฎหมาย


96

2.6 ผูเ้ ชีย่ วชาญทางภาษีอากร หรือทีป่ รึกษาทางภาษีอากร 3. ศึกษาหลักเกณฑ์ วิ ธีการ และเงื่อนไขเกี่ยวกับภาษี เงิ นได้นิติ บุคคลทุกกรณี ที่เกี่ยวข้องกับกิ จการ ตลอดจนแนววิ นิจฉัย ข้อกฎหมาย หรือคําพิ พากษาของศาล แนว คําตอบข้อหารือ หรือแนวทางปฏิ บตั ิ เกี่ยวกับภาษี เงิ นได้นิติ บุคคลของกรมสรรพากรทุก ประเด็น อาทิ 3.1 ผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล 3.2 ฐานภาษีและอัตราภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล 3.3 หลักเกณฑ์ และเงือ่ นไขในการคํานวณกําไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ หรือหลักการ บัญชีภาษีอากรในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล ได้แก่ (1) เงือ่ นไขเกีย่ วกับรายได้ (2) เงือ่ นไขเกีย่ วกับรายจ่าย (3) หลักเกณฑ์ในการตีราคาทรัพย์สนิ และหนี้สนิ 3.4 วิธกี ารเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล ได้แก่ (1) การเสียภาษีเงินได้โดยถูกหักไว้ ณ ทีจ่ า่ ย (2) การเสียภาษีเงินได้โดยการยืน่ รายการประเมินตนเอง (3) การเสียภาษีเงินได้โดยเจ้าพนักงานประเมินเรียกเก็บ


97

4. ศึกษารูปแบบการจัดองค์การ ขัน้ ตอนการดําเนิ นธุรกิ จตลอดจนเอกสารทาง ธุรกิ จของกิ จการนัน้ พิ จารณาว่าขัน้ ตอนใด หรือกรณี ใด มีประเด็นภาษี เงิ น ได้นิติบคุ คลเกี่ยวข้องหรือไม่ อย่างไร 5. ดําเนิ นการวางแผนภาษี เงิ นได้นิติบคุ คลโดย 5.1 กําหนดประเด็นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจทีจ่ ะวางแผนภาษีอากร อย่างเป็ นระบบทุกกรณีและทุกขัน้ ตอนในบางกรณีการดําเนิ นธุรกิจขัน้ ตอน หนึ่งๆ อาจมีประเด็นภาษีและวิธกี าร ปฏิบตั ทิ างภาษีแตกต่างกันหลายประเด็น 5.2 เลือกช่องทางการปฏิบตั ิเ กี่ยวกับภาษีเ งินได้นิติบุ คคล ที่ทําให้กิจการได้รบั ประโยชน์ทางภาษีอากรสูงสุดไม่เสีย่ งต่อการถูกลงโทษทางภาษีอากร ในบาง กรณี อ าจจํ า เป็ น ต้อ งจัด รูป แบบขององค์ก าร รูป แบบของเอกสารหลัก ฐาน ตลอดจนปญั หาหรือนิตกิ รรมต่างๆ เพื่อรองรับการวางแผนภาษีอากร ทัง้ นี้โดย ให้การปฏิบตั ทิ างการภาษีอากรสอดคล้องกับการประกอบการอันเป็ นปกติทาง ธุรกิจของกิจการนัน้ ๆ 6. ติ ดตามประเมิ น ผลการปฏิ บัติ การเกี่ ย วกับ ภาษี เ งิ น ได้ นิ ติ บุ ค คล และ ผลกระทบที่ อาจเกิ ดขึ้นจากการวางแผนภาษี เ งิ นได้ นิติ บุคคล เพื่ อนํ ามา ประมวลผลและปรับปรุงการวางแผนภาษี อากรต่อไป เป็ นทีเ่ ข้าใจโดยทัวไปว่ ่ า การวางแผนภาษีอากรต้องอาศัยความรอบรูแ้ ละความ ละเอียดรอบครอบของผูด้ ําเนินการวางแผนภาษีอากรอย่างยิง่ และต้องกระทําอย่างต่อเนื่องจึง บรรลุผลสําเร็จสูงสุด


98

กลยุทธ์ในการวางแผนภาษี เงิ นได้นิติบคุ คล 1. เลือกองค์กรธุรกิ จ (Business Organization) ที่เหมาะสม หากกิจการที่ทํานัน้ เป็ นกิจการขนาดเล็ก ควรจะประกอบการในรูปของบริษทั จํากัดทีม่ ที ุนชําระแล้วในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้านบาท เพื่อเสียภาษีเงิน ได้นิตบิ ุคคลในอัตราร้อยละ 15, 25 และ 30 ของกําไรสุทธิ (กําไรสุทธิไม่เกิน 150,000 บาท ได้รบั ยกเว้นภาษี) แต่ ถ้าเป็ นกิจการขนาดกลางและขนาดใหญ่ และมีความประสงค์ท่จี ะเป็ น บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเพื่อรับสิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร ก็ ควรจะจดทะเบียนเป็ นบริษทั มหาชนจํากัด เพราะบริษทั มหาชนจํากัดเท่านัน้ ทีข่ อเป็ นบริษทั จด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้ 2. เลือกมีเงิ นได้ที่ได้รบั ยกเว้นภาษี (Tax Exemption) 3. เลือกมีเงิ นได้ที่เสียภาษี ตาํ่ เงินได้ทเ่ี สียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลในอัตราตํ่าส่วนใหญ่จะเป็ นเงินได้ทจ่ี ่ายให้แก่ บริษัท หรือ ห้า งหุ้น ส่ ว นนิ ติ บุ ค คลที่มีถิ่น ที่อ ยู่ ใ นประเทศที่มีอ นุ ส ัญ ญาภาษี ซ้ อ น (Double Taxation Agreement) กับประเทศไทย ฉะนัน้ ควรทําสัญญาหรือธุรกรรมกับบริษทั หรือห้าง หุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิง่ กรณีทผ่ี จู้ ่ายเงินได้มหี น้าทีอ่ อกภาษีแทนผูม้ เี งินได้ เช่น กรณีการจ่ายค่าสิทธิ (Royalty) ให้แก่บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลทีต่ งั ้ ขึน้ ตามกฎหมาย ต่างประเทศมิได้ประกอบกิจการในประเทศไทย ตามปกติจ่ายเงินได้มหี น้าที่ต้องหักภาษีและ นําส่งในอัตราร้อยละ 15 ตามมาตรา 70 แห่งประมวลรัษฎากร และถ้าออกภาษีให้ทุกทอด จะต้องนํ าส่งในอัตราร้อยละ 17.65 แต่ถ้าจ่ายให้แก่ผมู้ เี งินได้ทม่ี ถี นิ่ ทีอ่ ยู่ในประเทศเยอรมนี ฝรัง่ เศส เนเธอร์แ ลนด์ อิต าลี สหราชอาณาจัก รและไอร์แ ลนด์เ หนื อ โปแลนด์ แคนาดา สาธารณรัฐเชค สวิตเซอร์แลนด์ อิสราเอล สหรัฐอเมริกา มอริเชียส สเปน ไซปรัส และบัลกาเรีย จะได้รบั การลดอัตราเหลือร้อยละ 5 และถ้าออกภาษีให้ทุกทอดจะต้องนําส่งในอัตราร้อยละ 5.26 ช่วยทําให้เสียภาษีน้อยลงมาก ฉะนัน้ ผูจ้ ่ายเงินได้จงึ ควรเลือกทําสัญญาหรือธุรกรรมเกีย่ วกับค่า สิทธิกบั ผูม้ ถี นิ่ ทีอ่ ยูใ่ นประเทศดังกล่าว


99

4. เลือกรายจ่ายที่สามารถหักเป็ นรายจ่ายได้ มีรายจ่ายทีป่ ระมวลรัษฎากร มาตรา 65 ตรี บัญญัตหิ า้ มมิให้ถอื เป็ นรายจ่ายใน การคํานวณกําไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลอยูถ่ งึ 21 รายการ บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิติ บุคคลจึงไม่ควรมีรายจ่ายใน 21 รายการดังกล่าว ควรเลือกรายจ่ายทีส่ ามารถหักเป็ นรายจ่ายได้ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ง การจ่ า ยเงิน ทุ ก ครัง้ ควรจะขอหลัก ฐานการจ่ า ยเงิน จากผู้ร ับ เงิน เช่ น ใบเสร็จรับเงิน ใบกํากับภาษี เพือ่ ทีจ่ ะใช้เป็ นหลักฐานในการหักรายจ่ายได้ 5. เลือกรายจ่ายที่หกั ได้เพิ่ มขึน้ มีรายจ่ายหลายประเภททีก่ ฎหมายยอมให้หกั เพิม่ ขึน้ จากจํานวนเงินทีจ่ ่าย ไปจริง เช่น การจ่ายค่าจ้างในการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีให้แก่หน่ วยงานของรัฐหรือเอกชน ตามทีร่ ฐั มนตรีว่าการกระทรวงการคลังกําหนดหักเป็ นรายจ่ายเพิม่ ขึน้ ได้อกี ร้อยละ 100 ตาม พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 297) พ.ศ.2539 มาตรา 4 6. เลือกรายจ่ายที่หกั ค่าเสื่อมราคาได้มากกว่า รายจ่ายอันมีลกั ษณะเป็ นการลงทุน (Capital Expenditure) บางประเภท เช่น ค่าซือ้ รถยนต์นงหรื ั ่ อรถยนต์โดยสารทีม่ ที น่ี งไม่ ั ่ เกิน 10 คน เพื่อใช้ในกิจการ จะหักค่าเสื่อม ราคาในการคํานวณภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลได้ไม่เกินคันละ 1,000,000 บาท (พระราชกฤษฎีกา ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้ว ยการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์ส ิน (ฉบับที่ 145) พ.ศ.2527 มาตรา 5) บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลจึงควรจะซือ้ รถยนต์โดยสาร ทีม่ ที น่ี งไม่ ั ่ เกิน 10 คน เพราะแม้จะมีราคาเกินคันละ 1,000,000 บาท ก็นํามาเป็ นต้นทุนในการ คิดค่าเสือ่ มราคาได้ทงั ้ หมด แต่ถ้ามีความจําเป็ นต้องใช้รถยนต์นัง่ หรือรถยนต์โดยสารที่มที ่นี ัง่ เกิน 10 คน ก็ควรจะเช่าหรือเช่าแบบลิสซิง่ มากกว่าซื้อหรือเช่าซือ้ เพราะค่าเช่าไม่เกินเดือนละ 36,000 บาทหรือไม่เกินวันละ 1,200 บาท หักเป็ นรายจ่ายในการคํานวณกําไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลได้ทงั ้ หมดตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 315) พ.ศ.2540 ตามมาตรา 40


100

7. เลือกหักค่าเสื่อมราคาเร็วขึน้ กว่าปกติ การหักค่า เสื่อ มราคาทรัพ ย์ส ิน เร็ว ขึ้น กว่า ปกติย่อ มทํา ให้กํา ไรสุท ธิข อง กิจ การลดลง ภาษีท่ีจ ะต้อ งเสีย ลดน้ อยลงด้ว ย เช่น การซื้อ เครื่อ งบัน ทึก การเก็บ เงิน ของผู้ ประกอบกิจการค้าปลีกที่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ ผูป้ ระกอบการมีสทิ ธิเลือกหักค่าเสื่อม ราคาร้อยละ 100 ของมูลค่าต้นทุนทัง้ หมด หรือจะเลือกหักค่าเสื่อมราคาเบื้องต้นในวันที่ได้ ทรัพย์สนิ นัน้ มาในอัตราร้อยละ 40 ของมูลค่าต้นทุน และมูลค่าต้นทุนส่วนทีเ่ หลือให้หกั ค่าเสื่อม ราคาตามอัตราปกติกไ็ ด้ (พระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 145) พ.ศ.2527 ตามมาตรา 4 ตรี) หรือ บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลทีม่ สี นิ ทรัพย์ถาวรไม่รวมทีด่ นิ ไม่เกิน 200 ล้านบาท และมีการ จ้างแรงงานไม่เ กิน 200 ล้านบาท จะใช่ส ิท ธิเ ลือกหักค่า เสื่อมราคาทรัพย์ส ิน ประเภท คอมพิวเตอร์ เครือ่ งจักร และอาคารโรงงานได้เร็วขึน้ กว่าปกติ 8. เลือกจัดทําประมาณการกําไรสุทธิ ที่ไม่ต้องเสี่ยงต่ อการเสียเงิ นเพิ่ ม (เบีย้ ปรับ) บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิติบุคคลที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากฐานกําไร สุทธิมหี น้าทีต่ อ้ งเสียภาษีรอบระยะเวลาบัญชีละ 2 ครัง้ ครัง้ ที่ 1 เสียภาษีใน 2 เดือน นับแต่วนั ครบ 6 เดือนแรกของรอบระยะเวลาบัญชี โดยใช้แบบภ.ง.ด.51 ครัง้ ที่ 2 เสียภายใน 150 วันนับ แต่วนั สุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี โดยใช้แบบภ.ง.ด.50 แต่การเสียภาษีครัง้ ที่ 1 จะต้อง จัดทําประมาณการกําไรสุทธิ เว้นแต่จะได้รบั ยกเว้นตามประมวลรัษฎากร มาตรา 67 ทวิ (2) การจัดทําประมาณการกําไรสุทธิดงั กล่าว หากแสดงขาดไปเกินร้อยละ 25 ของกําไรสุทธิทงั ้ รอบ ระยะเวลาบัญชีโดยไม่มเี หตุอนั สมควร ก็ตอ้ งเสียเงินเพิม่ (เบีย้ ปรับ) อีกร้อยละ 20 ของจํานวน เงินภาษีทต่ี อ้ งชําระ 9. เลือกจําหน่ ายหนี้ สญ ู ที่สามารถหักเป็ นรายจ่ายได้ หนี้สูญนัน้ หากจําหน่ ายหรือตัดได้ก็จะทําให้กําไรสุทธิลดน้ อยลง ภาษีท่ี จะต้องเสียก็ลดน้อยลงด้วย การจําหน่ ายจึงควรปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่ กําหนดไว้ในกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 (พ.ศ.2534) ทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติมแล้ว


101

10. การปรับปรุง (Adjust) กําไรสุทธิ หรือขาดทุนสุทธิ ทางบัญชีให้เป็ น กําไรสุทธิ ทางภาษี กําไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิทท่ี าํ ขึน้ ตามมาตรฐานการบัญชีหรือหลักบัญชีซง่ึ เป็ นทีย่ อมรับกันทัวไป ่ ยังใช้เป็ นตัวเลขในการเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลไม่ได้ เพราะตามประมวล รัษฎากรมาตรา 65, มาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี การคํานวณกําไรสุทธิและขาดทุนสุทธิ เพื่อเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลต้องเป็ นไปตามเงื่อนไขที่บทบัญญัตใิ นมาตราดังกล่าวกําหนดไว้ เป็ นกําไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิทางภาษีอากร จึงจะใช้เป็ นตัวเลขในการเสียภาษีได้ ฉะนัน้ จึง ต้องมีการปรับปรุง (Adjust) กําไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิทางบัญชีให้เป็ นกําไรสุทธิหรือขาดทุน สุทธิทางภาษีให้ถูกต้องตามหลักบัญชีภาษีอากร (Tax Accounting) ดังกล่าว 11. การหักภาษี เงิ นได้หกั ณ ที่จ่ายและนําส่งให้ถกู ต้องครบถ้วน ในการประกอบกิจการย่อมจะมีการจ่ายเงินได้ให้แก่บุคคลอื่น การจ่ายเงิน ได้นนั ้ หากมีกฎหมายหรือคําสังของอธิ ่ บดีกรมสรรพากรกําหนดให้หกั ภาษี ณ ทีจ่ ่ายและนําส่งผู้ จ่ายเงินได้ก็ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายและนํ าส่ง มิฉะนัน้ จะต้องรับผิดชอบร่วมกับผู้มเี งินได้ใน จํานวนภาษีท่มี ไิ ด้หกั และนํ าส่ง หรือหักและนํ าส่งไว้ไม่ถูกต้องครบถ้วน ผูจ้ ่ายเงินได้จงึ ควรจะ วางแผนเกีย่ วกับภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ ่าย โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูจ้ ่ายเงินได้ทเ่ี ป็ นบริษทั หรือห้าง หุน้ ส่วนนิติบุคคลจะต้องวางแผนในเรื่องนี้ เพราะกฎหมายและคําสังของอธิ ่ บดีกรมสรรพากร กําหนดให้นิตบิ ุคคลมีหน้าทีห่ กั ภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ า่ ยมากกว่าบุคคลธรรมดา 12. จัดทําบัญชีและเก็บรักษาเอกสารประกอบการลงบัญชี บริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคล ควรจัดทําบัญชีและเอกสารประกอบการ ลงบัญชีตามทีพ่ ระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ.2543 และประมวลรัษฎากรได้กําหนดไว้ และเก็บ รักษาไว้เป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี นับแต่วนั ปิ ดบัญชี เพราะนอกจากจะเป็ นการปฏิบตั ติ าม กฎหมายแล้ว ยัง เป็ น หลัก ฐานสํา คัญ ที่จ ะช่ ว ยทํ า ให้ก ารเสีย ภาษีอ ากรเป็ น ไปโดยถู ก ต้ อ ง ครบถ้วน ไม่ตอ้ งถูกเจ้าพนักงานประเมินของกรมสรรพากรประเมินเรียกเก็บภาษียอ้ นหลังด้วย


102

การวางแผนภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ในการประกอบธุ ร กิจ หากกิจ การขายสิน ค้ า ให้บ ริก ารหรือ นํ า เข้า มีร ายรับ ตัง้ แต่ 1,800,000 บาทต่อปี ขน้ึ ไป (เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 เมษายน 2548) ต้องจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ ซึ่งเมื่อมีระบบภาษีมูลค่าเพิม่ เข้ามาใช้ในกิจการ เนื่องจากเป็ นกฎหมายใหม่ท่เี ริม่ ใช้มาตัง้ แต่ วัน ที่ 1 มกราคม 2535 จนถึง ป จั จุ บ ัน ได้มีก ารแก้ไ ข เปลี่ย นแปลง และยกเลิก กฎหมาย ภาษีมูลค่าเพิม่ ค่อนข้างมาก ทําให้ผูป้ ระกอบการ นักบัญชีและผูท้ ่เี กี่ยวข้องปฏิบตั ิในการเสีย ภาษีมูลค่าเพิม่ ผิดพลาดคลาดเคลื่อนอยู่บ่อยๆ ดังนัน้ ผูป้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ จะต้องศึกษากฎหมายภาษีมลู ค่าเพิม่ ให้ครบถ้วนทัง้ กฎหมายแม่และกฎหมายลูก ตลอดจนต้อง มีการวางแผนภาษีเพื่อวางแผนเหตุการณ์ทอ่ี าจเกิดขึน้ ในอนาคต เป็ นการลดความผิดพลาดที่ อาจจะเกิดขึน้ ในระบบภาษีมูลค่าเพิม่ เมื่อกล่าวถึงการวางแผนภาษีมกั จะมีผปู้ ระกอบการหรือ นักบัญชีเข้าใจผิดคิดว่าเป็ นการหลีกเลี่ยงภาษีหรือหลบหนีภาษีอากร ข้อเท็จจริงการวางแผน ภาษีจะเป็ นการป้องกันไม่ให้เกิดความผิดพลาดทัง้ ในปจั จุบนั และอนาคต ซึ่งผูป้ ระกอบการใน ประเทศไทยมักจะไม่มกี ารวางแผนภาษีก่อนเริม่ หรือในระหว่างดําเนินการ หรือเมื่อได้ดําเนิน กิจการไปแล้ว เนื่องจากผูป้ ระกอบการธุรกิจส่วนใหญ่ไม่ได้ให้ความสําคัญต่อภาษีอากร และรวม ไปถึงการวางระบบบัญชีเพื่อให้การจัดทําบัญชีและภาษีมลู ค่าเพิม่ ให้ถูกต้อง ภาษีมลู ค่าเพิม่ ได้มี การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงค่อนข้างบ่อยและรวดเร็ว ฝ่ายบริหารและฝ่ายบัญชีจะต้องติดตาม ข้อมูลข่าวสารให้ทนั ต่อเหตุการณ์เพื่อให้การเสียภาษีอากรถูกต้องครบถ้วนและประหยัด ดังนัน้ เพื่อหลักเกณฑ์ทช่ี ดั เจนสมเหตุสมผล และได้รบั ประโยชน์ต่อกิจการสูงสุด กิจการจึงต้องมีการ วางแผนภาษีอากรซึ่งผูม้ หี น้าทีใ่ นการเป็ นส่วนร่วมในการวางแผนภาษีอากร เช่น ฝ่ายบริหาร ฝา่ ยบัญชี และฝา่ ยกฎหมาย เป็ นต้น หากกิจการมีความประสงค์ท่จี ะวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ ผูว้ างแผนภาษีอากรจะต้องมี ความรูท้ งั ้ ทางด้านภาษีอากร หลักการบัญชี มาตรฐานการบัญชี และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การวางแผนภาษีมูลค่าเพิ่มกับการจัดทําบัญชีถูกต้องและเป็ นไปตามวัต ถุ ประสงค์ท่ี กิจการได้ตงั ้ เอาไว้ ข้อสังเกตอย่างหนึ่งในการวางแผนภาษีอากรผูว้ างแผนภาษีอากรควรจะมี การศึกษาเพิม่ เติมจากหนังสือตอบข้อหารือของกรมสรรพากร และคําพิพากษาฎีกาเกี่ยวกับ ภาษีมูลค่าเพิม่ เพื่อให้การปฏิบตั งิ านได้อย่างรวมเร็วและถูกต้อง แม่นยํา ลดข้อผิดพลาด และ สามารถประหยัดภาษีของกิจการ


103

วัตถุประสงค์ในการวางแผนภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ในการวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ ของแต่ละกิจการความมีการจัดตัง้ คณะกรรมการหรือ ทีมงานในการวางแผนภาษีมลู ค่าเพิม่ ไม่ใช่ให้ผจู้ ดั การฝา่ ยบัญชีหรือผูอ้ าํ นวยการฝา่ ยบัญชีเป็ น ผู้วางแผนภาษีเพียงผู้เ ดียวผู้มสี ่วนร่วมในการวางแผนภาษีอากรควรจะต้องทําความเข้าใจ เกีย่ วกับการวางแผนภาษีอากร (Tax Planning) ว่าเป็ นการวางแผนการเสียภาษีมลู ค่าเพิม่ ของ ธุ ร กิจ เพื่อ ให้กิจ การได้ร บั ประโยชน์ สูง สุด ลดต้น ทุ น ให้ต่ํ า ลง ภายใต้เ งื่อ นไขที่ถู ก ต้อ งตาม ประมวลรัษฎากร และเป็ นการวางแผนอย่างรัดกุมเพื่อป้องกันภาระทีอ่ าจเกิดขึน้ ในอนาคตของ กิจการ ดังนัน้ การวางแผนภาษี ไม่ใช่เป็ นการหลีกเลีย่ งภาษี (Tax Avoidance) หรือหนีภาษี (Tax Evasion) ก่อนที่จะมีการวางแผนภาษีมูล ค่า เพิ่มนัน้ ต้องมีความรู้ค วามเข้าใจใน วัตถุประสงค์ของการวางแผนภาษีดงั ต่อไปนี้ 1. ถูกต้องครบถ้วนตามกฎหมาย การวางแผนภาษีมูล ค่า เพิ่ม ผู้ว างแผนจะต้อ งมีค วามรู้ค วามเข้า ใจในประมวล รัษฎากรเกีย่ วกับภาษีมลู ค่าเพิม่ และผลกระทบต่อภาษีอากรอื่นอย่างชัดเจนถูกต้อง ไม่หลงลืม ประเด็นหนึ่งประเด็นใดในตัวบทกฎหมาย นอกจากนี้จะต้องศึกษาคําพิพากษาฎีกา และข้อหารือ ของกรมสรรพากรประกอบการวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ และทําให้กจิ การเสียภาษีโดยประหยัด และถูกต้อง สิง่ ที่ผวู้ างแผนภาษีควรคํานึงอย่างหนึ่งก็คอื อย่ามองประเด็นใดประเด็นหนึ่งเพียง ประเด็นเดียว จะต้องมองรายละเอียดในมุมกว้างของภาษีอากรทีเ่ กีย่ วข้องอย่างชัดเจนทัง้ ระบบ 2. ได้รบั สิ ทธิ ประโยชน์ ทางภาษี สงู สุด การวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ จะต้องศึกษาข้อกฎหมายที่จะทําให้กจิ การได้รบั สิทธิ ประโยชน์ทางภาษีสงู สุดโดยการกําหนดทางเลือกในการนําเงือ่ นไขทางกฎหมายมาใช้ในกิจการ ได้ร ับ ประโยชน์ สู ง สุ ด และถู ก กฎหมายอีก ด้ว ย เช่ น กรณี ใ ดบ้า งที่ไ ด้ร ับ ยกเว้น ไม่ ต้อ งเสีย ภาษีมลู ค่าเพิม่ การวางแผนภาษีการส่งเสริมการขาย การวางแผนภาษีการขอภาษีซอ้ื คืน การ เฉลีย่ ภาษีซอ้ื เป็ นต้น


104

3. ปลอดภัยจากภาระที่อาจจะเกิ ดขึน้ ในอนาคต การวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ จะต้องคํานึงถึงปญั หาที่อาจจะเกิดขึน้ ในอนาคต หาก มุมมองของผูว้ างแผนภาษีขาดความรอบคอบในการศึกษาตัวกฎหมายได้อย่างถูกต้องแล้ว อาจ เกิดปญั หาในอนาคตโดยถูกสรรพากรเรียกตรวจและประเมินภาษียอ้ นหลัง มีผลทําให้กจิ การมี รายจ่ายจากการถูกเจ้าพนักงานประเมินเกิดขึน้ อย่างไม่คาดคิด ผูว้ างแผนภาษีจงึ ต้องใช่ความ ระมัดระวังการวางแผนภาษีมลู ค่าเพิม่ เช่น ต้องศึกษาอย่างไรเรียกว่า “ขายสินค้า” “ให้บริการ” ที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิม่ เนื่องจากการขายสินค้าหรือการให้บริการที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิม่ มักจะมีผปู้ ระกอบการเสียภาษีผดิ พลาดเป็ นประจํา 4. หลักเกณฑ์ที่ชดั เจนและสมเหตุผล การวางแผนภาษีมูล ค่ า เพิ่ม ในเรื่อ งหนึ่ ง เรื่อ งใดจะต้อ งมีก ารอ้า งถึง กฎหมายที่ สามารถนํ ามาอ้างอิงให้ชดั เจนน่ าเชื่อถือ สามารถตอบคําถามในปญั หาต่างๆ ได้โดยปราศจาก ข้อโต้แย้งทางภาษีอากร ไม่ว่าจะเป็ นกฎหมายต่างๆ ในประมวลรัษฎากร คําพิพากษาฎีกา ข้อ หารือของกรมสรรพากร หรือกฎหมายอื่นทีเ่ กีย่ วข้องสามารถหาคําตอบได้เป็ นทีย่ อมรับของฝา่ ย จัดการหรือฝ่ายบริหารอย่างไม่มขี อ้ สงสัย และเชื่อถือในข้อมูลทีน่ ํามาอ้างอิงอย่างสมเหตุสมผล ซึ่งอาจจะนํ ากระบวนการดังกล่าวไปปรึกษาผูเ้ ชี่ยวชาญด้านการวางแผนภาษีเพื่อตรวจสอบ ความถูกต้องเป็ นการยืนยันความถูกต้องอีกครัง้ หนึ่ง 5. ช่วยในการลดต้นทุน การวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ จะทําให้กิจการสามารถลดต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายที่ไม่ จําเป็ นออกไป เช่น การขายสินค้าพร้อมกับการขนส่ง ทําอย่างไรจึงจะยกเว้นภาษีมูลค่าเพิม่ การประกอบกิจการในเขตอุตสาหกรรมส่งออกซึง่ เสียภาษีมลู ค่าเพิม่ ในอัตราร้อยละ 0 ทําความ เข้าใจคําว่า “ขาย” และ “บริการ” ในระบบภาษีมูลค่าเพิม่ เป็ นต้น นอกจากจะช่วยในการลด ต้นทุนของกิจการแล้วยังช่วยในการเพิม่ กําไรสุทธิของกิจการให้สงู ขึน้ โดยการอาศัยหลักเกณฑ์ การวางแผนภาษีอากร


105

ความรู้ก่อนการวางแผนภาษี มลู ค่าเพิ่ ม หลักเกณฑ์ท่สี ําคัญที่วางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ ความมีความรู้ ความเข้าใจ ข้อมูลเรื่อง ใดบ้า ง หรือ ศึก ษาข้อ มู ล ใดบ้า งเพื่อ ประโยชน์ ต่ อ การวางแผนภาษี ใ ห้ถู ก ต้ อ งเป็ น ไปตาม วัตถุประสงค์ท่ตี ้องการ ความรูท้ ่จี ําเป็ นก่อนการวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ จะต้องศึกษาข้อมูลที่ จําเป็ นอย่างน้อยดังต่อไปนี้ถูกต้องครบถ้วนตลอดเวลา เช่น รายงานภาษีมูลค่าเพิม่ ใบกํากับ ภาษี ใบเพิม่ หนี้ ใบลดหนี้ งบการเงิน การวางแผนภาษี มลู ค่าเพิ่ ม กิจการที่มคี วามประสงค์ท่จี ะมีการวางแผนภาษีอากร จะต้องมีการศึกษาข้อมูลต่างๆ ก่ อ นการวางแผนภาษีด ัง กล่ า วมาแล้ว นัน้ เมื่อ เริ่ม ต้น จะทํา การวางแผนภาษีอ ากรจะต้อ ง การศึกษาความเป็ นไปได้ของการวางแผนภาษี เพราะกิจการอาจจะมีการเลือกการวางแผนภาษี เฉพาะด้าน เช่น วางแผนภาษีเงินได้นิติบุคคล วางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ วางแผนภาษีธุ รกิจ เฉพาะ ฯลฯ ผูว้ างแผนภาษีอาจจะเลือกวางแผนภาษีบางประเภทก่อน แล้วจึงจะวางแผนภาษี ประเภทอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง อย่างไรก็ดใี นการวางแผนภาษีของกิจการภาษีอากรทีเ่ กิดขึน้ มักจะมีสว่ น ที่เข้ามาเกี่ยวข้องเสมอ ดังนัน้ การวางแผนภาษีท่ดี จี ะต้องคํานึงถึงภาษีทุกตัวที่เกี่ยวข้องกับ กิจการ รวมไปถึงระบบบัญชีเพื่อให้รองรับและสอดคล้องกันได้ สิง่ สําคัญในการวางแผนภาษี จะต้องมีการรวบรวมข้อมูลของกิจการแล้วนํ าไปวิเคราะห์ความต้องการเพื่อประโยชน์ ในการ นําไปใช้ต่อไป ลําดับขัน้ ตอนในการวางแผนภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ในการวางแผนภาษีของกิจการ ผูว้ างแผนภาษีควรจะวางแผนภาษีท่ปี ระกอบไปด้วย บุคคลหลายสาขาอาชีพ ไม่ว่าจะเป็ นด้านบัญชี ผูส้ อบบัญชี หรือด้านกฎหมายภาษีอากร หรือ กฎหมายอื่นๆทีเ่ กี่ยวข้อง โดยนํ าบุคคลต่างๆ มาจัดตัง้ เป็ นรูปแบบของคณะกรรมการหรือกลุ่ม ของผู้เ ชี่ย วชาญเพื่อ จะได้มีก ารสร้า งแนวความคิด หรือ กรอบของการวางแผนภาษี ใ ห้มี ประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ สิง่ สําคัญอย่างหนึ่งในการวางแผนภาษีท่ผี ูว้ างแผนภาษีจะต้องนํ าไป ปฏิบตั มิ ขี นั ้ ตอนดังต่อไปนี้


106

1. จัดตัง้ คณะกรรมการวางแผนภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ในการวางแผนภาษีมูลค่าหรือการวางแผนภาษีอากรประเภทต่างๆ นัน้ ไม่ควรจะ กําหนดให้ใครคนใดคนหนึ่งเป็ นผูว้ างแผนภาษีอากรเพียงผูเ้ ดียว ควรจะมีคณะกรรมการในการ วางแผนภาษีเพื่อเป็ นการระดมสมอง ระดมความคิด เพราะปญั หาภาษีไม่ใช่ของใครคนใดคน หนึ่ง แต่ทุกคนในองค์กรต้องช่วยเหลือกัน รับผิดชอบร่วมกัน ประสานงานปฏิบตั งิ านให้สําเร็จ ลุล่วงไปตามกระบวนการในการวางแผนภาษี คณะกรรมการอาจจะประกอบไปด้วย เช่น ฝ่าย บัญชี ฝา่ ยการเงิน ฝา่ ยขาย ฝา่ ยการตลาด ผูบ้ ริการ ฝา่ ยจัดซือ้ เป็ นต้น 2. กระบวนการวางแผนภาษี มลู ค่าเพิ่ ม จะต้องกําหนดประเด็นในการวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ ขึน้ มาก่อนว่าจะวางแผนภาษี ในเรื่องใด เช่น การส่งเสริมการขาย การเสียภาษีซอ้ื การขอคืนภาษีซอ้ื การเฉลีย่ ภาษีซอ้ื หรือ จะกําหนดกระบวนการวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ ทัง้ ระบบซึ่งเหมาะกับกิจการที่ตงั ้ ขึ้นใหม่ หรือ กิจการทีม่ กั ประสบปญั หาในการเสียภาษีมลู ค่าเพิม่ ในกระบวนการวางแผนภาษีจะวิเคราะห์วา่ 2.1 เป็ นธุ ร กิ จ ขายสิ น ค้ า หรื อ ให้ บ ริ ก ารเนื่ องจากหลั ก เกณฑ์ ใ นการเสี ย ภาษีมลู ค่าเพิม่ แตกต่างกัน 2.2 อัตราภาษีมลู ค่าเพิม่ ร้อยละ 7 หรือร้อยละ 0 2.3 จุดความรับผิดในการเสียภาษีมลู ค่าเพิม่ เกิดขึน้ เมือ่ ใด 2.4 ฐานภาษีมลู ค่าเพิม่ จะคํานวณจากยอดใด 2.5 มีขอ้ ยกเว้นทีไ่ ม่ตอ้ งเสียภาษีมลู ค่าเพิม่ หรือไม่ 2.6 หากต้องเสียภาษีมลู ค่าเพิม่ ใครเป็ นผูเ้ สีย และจะเสียเมือ่ ใด 2.7 หากไม่เสียหรือเสียคลาดเคลื่อนมีเบี้ยปรับและเงินเพิม่ หรือไม่ เป็ นจํานวนเงิน เท่าใด


107

2.8 ต้องออกใบกํากับภาษี ใบเพิม่ หนี้ หรือใบลดหนี้หรือไม่ ออกเมือ่ ใด 2.9 ต้องเสียภาษีอากรอื่นหรือไม่ เช่น ภาษีเงินได้ ภาษีหกั ณ ทีจ่ า่ ย 3. ระบบข้อมูลสนับสนุนการวางแผนภาษี มลู ค่าเพิ่ ม เนื่ องจากภาษีมูลค่าเพิม่ เป็ นภาษีอากรประเมิน เป็ นภาษีทางอ้อมที่ผู้ขายหรือผู้ ให้ บ ริก ารผลัก ภาระไปให้ ก ับ ผู้ ซ้ื อ หรือ ผู้ ร ับ บริก ารเป็ น ผู้ จ่ า ยเงิน กระบวนการวางแผน ภาษีมูลค่าเพิม่ จะต้องศึกษากฎหมายแม่ตงั ้ แต่มาตรา 77-90 และกฎหมายลูก เช่น พระราช กฤษฎี ก า กฎกระทรวง ประกาศอธิบ ดีก รมสรรพากรเกี่ย วกับ ภาษี มู ล ค่ า เพิ่ม และคํ า สัง่ กรมสรรพากร ดังนัน้ กระบวนการวางแผนภาษีมลู ค่าเพิม่ จะต้องศึกษาข้อกฎหมายให้ครบถ้วน 4. กําหนดหน้ าที่ความรับผิดชอบ เมื่อมีคณะกรรมการในการวางแผนภาษี ควรมีการกําหนดหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ ของแต่ละคนในการศึกษาหาข้อมูลเพื่อสนับสนุ นในการวางแผนภาษีมลู ค่าเพิม่ การจัดทําบัญชี การจัดทําเอกสาร และรายงานภาษีมลู ค่าเพิม่ 5. กําหนดเป้ าหมาย และนโยบาย การวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ จะต้องกําหนดเป้าหมายว่าจะวางแผนภาษีในเรื่องใด เช่น สวัสดิการพนักงาน การลดราคา การให้ของแถม การให้รางวัล การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิม่ และจะต้ อ งมีก ารกํ า หนดนโยบายการวางแผนภาษี ใ ห้ ช ัด เจนว่ า จะดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ให้ เ สีย ภาษีมลู ค่าเพิม่ ให้ถูกต้อง ประหยัด และเกิดประโยชน์ต่อกิจการ ไม่มกี ารหลีกเลีย่ งภาษีอากร 6. วิ เคราะห์ปัญหา เมื่อมีการกําหนดเป้าหมายและนโยบายในการเสียภาษีให้ครบถ้วนถูกต้องแล้ว นํ า ปญั หาหรือเป้าหมายในการวางแผนภาษีมาวิเคราะห์ผลกระทบต่อการเสียภาษีมลู ค่าเพิม่ อาจจะ แยกประเด็นปญั หาหลายวิธดี ว้ ยกัน โดยการเปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียของแต่ละวิธี แล้วเลือก วิธที ม่ี ขี อ้ เสียน้อยทีส่ ดุ มาใช้ในการปฏิบตั งิ าน


108

7. กําหนดแผนการปฏิ บตั ิ งาน หลังจากวิเคราะห์ปญั หาในการวางแผนภาษีมูลค่าเพิม่ โดยการกําหนดข้อดีและ ข้อเสียขึน้ มาแล้วและกําหนดทางเลือกหรือวิธที ่จี ะนํ ามาใช้ในการวางแผนภาษี กระบวนการ ต่อมาก็จะนํ าแผนดังกล่าวมาใช้ในการปฏิบตั งิ าน ควรจะมีการประชุมพนักงานที่เกี่ยวข้องกับ การวางแผนภาษีดงั กล่าวโดยให้ความรู้และความเข้าในกระบวนการที่กําหนดไว้ในแผนการ ปฏิบตั ใิ ห้สมบูรณ์ยงิ่ ขึน้ 8. ติ ดตามผลและแก้ไขปัญหา หลังจากนําแผนการปฏิบตั งิ านออกใช้ จะต้องมีการติดตามผลการปฏิบตั งิ านในการ วางแผนภาษีว่าพนักงานในแต่ละส่วนได้มกี ารปฏิบตั ติ ามแผนทีว่ างไว้หรือไม่ หากพบปญั หาใน ขัน้ ตอนหรือกระบวนการใดจะสามารถแก้ไขปญั หาได้ทนั ท่วงที เพื่อลดข้อผิดพลาดในการเสีย ภาษีมลู ค่าเพิม่ การวางแผนภาษี หกั ณ ที่จ่าย ในปจั จุบนั อาจกล่าวได้ว่า การวางแผนภาษีอากร (Tax Planning) เป็ นสิง่ จําเป็ นสําหรับ ผูป้ ระกอบธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูป้ ระกอบธุรกิจที่มุ่งประสงค์ให้การเสียภาษีอากรเป็ นไป อย่างถูกต้องครบถ้วน โดยไม่มปี ญั หาต่างๆ ตามมาในภายหลัง และการเสียภาษีอากรนัน้ ๆ ต้อง มีจาํ นวนน้อยทีส่ ดุ ภาษีหกั ณ ทีจ่ ่าย เป็ นภาระหน้าทีข่ องผูป้ ระกอบธุรกิจทัง้ กรณีทเ่ี ป็ นผูจ้ ่ายเงินได้ทต่ี อ้ ง หักภาษี ณ ทีจ่ ่าย แล้วผูม้ เี งินได้ทต่ี อ้ งหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายทีต่ อ้ งปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องและครบถ้วนอยู่ เสมอ ทัง้ นี้ เพื่อทีจ่ ะป้องกันมิให้เกิดปญั หา และความเสียหายต่อธุรกิจ แต่เนื่องจากภาษีเงินได้ หัก ณ ที่จ่าย มีหลักเกณฑ์ วิธกี าร เงื่อนไข และอัตรา ตลอดจนแนวทางปฏิบตั ิท่คี ่อนข้างจะ ยุง่ ยากสับสนอยู่พอควร ดังนัน้ ในบทนี้จงึ จะได้กล่าวถึงการวางแผนภาษีหกั ณ ทีจ่ ่าย เพื่อเป็ น แนวทางเบื้องต้นแก่ผู้ประกอบธุรกิจและผู้เกี่ยวข้องกับภาษีหกั ณ ที่จ่าย ตลอดจนผู้ท่สี นใจ ต่อไป


109

ขัน้ ตอนในการวางแผนภาษี หกั ณ ที่จ่าย 1. กําหนดนโยบายการวางแผนภาษี หกั ณ ที่จ่าย การก่ อ ตัว ของนโยบายที่นํ า ไปสู่ ค วามสํ า เร็จ ในการนํ า ไปถือ ปฏิบ ัติ ท ัง้ หลาย โดยเฉพาะนโยบายที่มผี ลกระทบต่อองค์กรอย่างยิง่ เช่น นโยบายการวางแผนภาษีอากรส่วน ใหญ่จะกําหนดโดยผูบ้ ริหารระดับสูงทีเ่ ล็งเห็นความสําคัญ หรือประโยชน์ของการวางแผนภาษี อากร ในอันทีจ่ ะป้องกันปญั หาทีอ่ าจเกิดกับองค์การพร้อมๆ กันในหลายๆ ทาง นโยบายการวางแผนภาษีอากรครบกําหนดให้แจ้งชัด โดยคํานึงถึงขอบเขต หรือ วัตถุประสงค์ของการวางแผนภาษีหกั ณ ทีจ่ ่ายเพื่อผูน้ ํ านโยบายการวางแผนภาษีอากรไปถือ ปฏิบตั จิ ะสามารถปฏิบตั ไิ ด้อย่างเห็นผลอาทิ 1.1 เพื่อให้การหักภาษี ณ ที่จ่าย และการนํ าส่งของกิจการถูกต้องและครบถ้วน ตามทีก่ ฎหมายกําหนดบัญญัตไิ ว้ โดยไม่มกี ารหลีกเลีย่ งภาษีอากร 1.2 เพือ่ ให้ขจัดปญั หาในการหักภาษี ณ ทีจ่ า่ ยของกิจการทีอ่ าจเกิดขึน้ ในทุกกรณี 1.3 เพื่อประหยัดหรือลดค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึน้ เนื่องจากการหักภาษี ณ ที่จ่ายไม่ ถูกต้อง ได้แก่ 1.3.1 เงินเพิม่ ภาษี เพราะเหตุทผ่ี ูป้ ระกอบการนํ าส่งภาษีหกั ณ ทีจ่ ่ายล่าช้า หรือเกินเวลาทีก่ าํ หนดไว้ในกฎหมาย 1.3.2 ค่าปรับทางอาญาเนื่องจากการ ฝ่าฝื น หรือละเลยไม่ปฏิบตั ติ ามหน้าที่ เกีย่ วกับภาษีหกั ณ ทีจ่ า่ ยตามทีบ่ ญ ั ญัตไิ ว้ในกฎหมาย ่ นในหมู่ นโยบายการวางแผนภาษีหกั ณ ทีจ่ ่าย ควรประกาศให้ทราบโดยทัวกั ผูบ้ ริหารและผูท้ เ่ี กี่ยวข้องทุกฝ่ายในองค์กรในอันทีจ่ ะก่อประโยชน์สูงสุดแก่องค์กร ทัง้ ในกระบวนการวางแผนภาษีอากรและการนํ าการวางแผนภาษีหกั ณ ทีจ่ ่ายไป ปฏิบตั ิ (Implementation)


110

2. กําหนดคณะบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนภาษี หกั ณ ที่จ่าย การวางแผนภาษีหกั ณ ที่จ่าย ต้องอาศัยบุ คลากรที่เกี่ย วข้องหลายๆ ฝ่ายร่ว ม ปรึกษาหารือโดยรอบด้านในประเด็นภาษีหกั ณ ทีจ่ ่าย ที่เกิดขึน้ กับธุรกิจที่วางแผนภาษีอากร อาทิ 2.1 ฝ่า ยจัด การ ซึ่ง ควบคุ ม นโยบายขององค์ก ารและเข้าถึงกิจ กรรมต่ า งๆ ของ องค์การเป็ นอย่างดี จึงต้องมีส่วนร่วมในการวางแผนภาษีเงินได้หกั ณ ที่จ่าย และการวางแผนภาษี ท ัง้ ระบบขององค์ก าร และทํ า หน้ า ที่ป ระธานในการ วางแผนภาษีอากร 2.2 ฝา่ ยบัญชีและการเงิน ซึง่ เกีย่ วข้องกับการจ่ายเงินให้แก่ผมู้ เี งินได้ทต่ี อ้ งคํานวณ หักภาษีเงินได้ ณ ทีจ่ ่ายให้ถูกต้องครบถ้วน ในทุกครัง้ จึงต้องมีส่วนร่วมในการ วางแผนภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ า่ ยและการวางแผนภาษีประเภทอื่นๆ 2.3 ฝา่ ยบุคลากร โดยเฉพาะในการจ่ายเงินได้ให้แก่พนักงานหรือลูกจ้างขององค์กร 2.4 ฝา่ ยขายหรือฝา่ ยการตลาด โดยเฉพาะในประเด็นการส่งเสริมการขาย และฝา่ ย อื่นทีเ่ กีย่ วข้อง 2.5 ฝา่ ยกฎหมาย ซึง่ เป็ นส่วนงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการทําสัญญาจึงต้องมีความรอบรู้ และเข้าใจในบัญญัตเิ กีย่ วกับการหักภาษีเงินได้ ณ ทีจ่ ่าย และมีสว่ นร่วมในการ วางแผนภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ า่ ยขององค์การ 2.6 ผูเ้ ชีย่ วชาญทางภาษีอากร หรือทีป่ รึกษาทางด้านภาษีอากร เป็ นสิง่ จําเป็ น 3. ศึ กษาหลักเกณฑ์ วิ ธีการ และเงื่อนไขเกี่ ยวกับภาษี หกั ณ ที่ จ่ายทุกกรณี ที่ เกี่ยวข้องกับกิ จการ ตลอดจนแนววิ นิจฉัย ข้อกฎหมาย หรือคําพิ พากษาของ ศาล แนวคําตอบข้อหารือหรือแนวทางปฏิ บตั ิ เกี่ยวกับภาษี หกั ณ ที่จ่ายของ กรมสรรพากรทุกประเด็น


111

4. ศึกษารูปแบบการจัดองค์การ ขัน้ ตอนการดําเนิ นธุรกิ จ ตลอดจนเอกสารทาง ธุรกิ จของกิ จการนัน้ ๆ พิ จารณาว่าขัน้ ตอนใด หรือกรณี ใด มีประเด็นภาษี หกั ณ ที่จ่าย เกี่ยวข้องหรือไม่ อย่างไร 5. ดําเนิ นการวางแผนภาษี หกั ณ ที่จ่าย โดย 5.1 กําหนดประเด็นภาษีหกั ณ ทีจ่ ่าย ทีเ่ กี่ยวข้องกับธุรกิจทีจ่ ะวางแผนภาษีอากร อย่างเป็ นระบบทุกกรณีและทุกขัน้ ตอน ในบางกรณีการดําเนินธุรกิจขัน้ ตอน หนึ่งๆ อาจมีประเด็นภาษี และวิธกี ารปฏิบตั ทิ างภาษีแตกต่างกันหลายประเด็น 5.2 เลือกช่อ งทางการปฏิบ ตั ิเ กี่ย วกับ ภาษีหกั ณ ที่จ่า ย ที่จะทํา ให้กิจ การได้ร บั ประโยชน์ทางภาษีอากรสูงสุดไม่เสีย่ งต่อการถูกลงโทษทางภาษีอากร ในบาง กรณีจําเป็ นต้องจัดรูปแบบขององค์กร รูปแบบของเอกสารหลักฐาน ตลอดจน ปญั หาหรือนิตกิ รรมต่างๆ เพื่อรองรับการวางแผนภาษีอากร ทัง้ นี้ โดยให้การ ปฏิบตั กิ ารทางภาษีอากรสอดคล้องกับการประกอบการอันเป็ นปกติทางธุรกิจ ของกิจการนัน้ ๆ 6. ติ ดตามประเมิ นผลการปฏิ บตั ิ การเกี่ยวกับภาษี หกั ณ ที่จ่าย ผลกระทบที่อาจเกิดขึน้ จากการวางแผนภาษีหกั ณ ที่จ่าย เพื่อนํ ามาประมวลผล และปรับปรุงการวางแผนภาษีอากรต่อไป เป็ นทีเ่ ข้าใจโดยทัวไปว่ ่ า การวางแผนภาษีอากรต้องอาศัยความรอบรูแ้ ละความละเอียด รอบคอบของผูด้ ําเนินการวางแผนภาษีอากรอย่างยิง่ และต้องทําอย่างต่อเนื่องจึงบรรลุผลสําเร็จ สูงสุด


บทที่ 3 การวิ เคราะห์ การวางแผนภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาคือภาษีเงินได้ทจ่ี ดั เก็บจากบุคคลทัวไป ่ หรือจัดเก็บจากหน่วย ภาษีทม่ี ลี กั ษณะพิเศษ ตามทีก่ ฎหมายกําหนดและมีรายได้เกิดขึน้ ตามเกณฑ์ทก่ี ําหนด โดยจะ จัดเก็บเป็ นรายปี ผูม้ รี ายได้มหี น้าทีต่ อ้ งนําไปแสดงรายการตนเองตามแบบแสดงรายการภาษีท่ี กําหนดภายในเดือนมกราคมถึงมีนาคมของปี ถดั ไป อีกทัง้ ผู้ท่มี เี งินได้บางกรณีกฎหมายยัง กําหนดให้ยน่ื แบบฯเสียภาษีตอนครึง่ ปี สําหรับรายได้ทเ่ี กิดขึน้ จริงในช่วงครึง่ ปี แรก เพื่อเป็ นการ บรรเทาภาระภาษีทต่ี อ้ งชําระให้กบั ผูม้ เี งินได้ และเงินได้บางกรณีกฎหมายยังกําหนดให้ผจู้ ่ายทํา หน้าที่หกั ภาษี ณ ทีจ่ ่ายจากเงินได้ท่จี ่ายบางส่วน เพื่อให้มกี ารทยอยชําระภาษีขณะทีม่ เี งินได้ เกิดขึน้ อีกด้วย สํา หรับ ผู้ท่ีมีห น้ า ที่เ สีย ภาษีเ งิน ได้บุ ค คลธรรมดานัน้ สามารถจํา แนกออกได้เ ป็ น 4 ประเภท ดังนี้ 1. บุคคลธรรมดา – บุ คคลที่มชี ีวิตซึ่งตามกฎหมาย สภาพบุคคลเริม่ ตัง้ แต่ เมื่อ คลอดแล้วอยู่รอดเป็ นทารก และสิน้ สุดเมื่อถึงแก่ความตาย ถ้าบุคคลธรรมดามี เงินได้ขนั ้ ตํ่าถึงเกณฑ์ทป่ี ระมวลรัษฎากรกําหนดไว้ ก็มหี น้าทีต่ อ้ งยื่นแบบแสดง รายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โดยไม่จํากัดอายุ ความสามารถ สัญชาติ และอื่นๆของผูม้ เี งินได้ 2. ผู้ถึง แก่ ค วามตาย - ผู้ถึงแก่ ค วามตายในระหว่างปี ภ าษี ที่มีเ งิน ได้ข นั ้ ตํ่าถึง เกณฑ์ท่ปี ระมวลรัษฎากรกําหนดไว้ โดยผูม้ หี น้ าที่ย่นื แบบแสดงรายการเสีย ภาษีคอื ผูจ้ ดั การมรดก หรือทายาท หรือผูค้ รอบครองทรัพย์มรดกของผูถ้ งึ แก่ ความตาย 3. กองมรดกทีย่ งั ไม่ได้แบ่ง - ในปี ภาษีถดั จากปี ทเ่ี จ้ามรดกถึงแก่ความตาย หาก กองมรดกนัน้ ยังไม่ได้แบ่งให้กบั ทายาทคนใดคนหนึ่ง ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดก็ ตาม และกองมรดกมีเ งิน ได้พึง ประเมิน ถึง เกณฑ์ข นั ้ ตํ่ า ที่ป ระมวลรัษ ฎากร


113 กําหนด โดยผูม้ หี น้าที่ย่นื แบบแสดงรายการเสียภาษีคอื ผูจ้ ดั การมรดก หรือ ทายาท หรือผูค้ รอบครองทรัพย์มรดกของผูถ้ งึ แก่ความตาย 4. ห้างหุน้ ส่วนสามัญทีไ่ ม่ใช่นิตบิ ุคคล และคณะบุคคลทีไ่ ม่ใช่นิตบิ ุคคล 4.1 ห้างหุน้ ส่วนสามัญทีไ่ ม่ใช่นิตบิ ุคคล คือการทีบ่ ุคคลธรรมดาตัง้ แต่ 2 คนขึน้ ไปตกลงเข้าทุนกันไม่ว่าจะเป็ นเงิน แรงงาน หรือทรัพย์สนิ เพื่อกระทําการ ร่วมกันโดยมีวตั ถุประสงค์ทจ่ี ะแบ่งปนั ผลกําไรทีจ่ ะพึงได้จากกิจการทีท่ าํ นัน้ 4.2 คณะบุคคลทีไ่ ม่ใช่นิตบิ ุคคล คือการทีบ่ ุคคลธรรมดาตัง้ แต่ 2 คนขึน้ ไปตกลง ร่วมทุนกันไม่ว่าจะเป็ นเงิน แรงงาน หรือทรัพย์สนิ เพื่อกระทําการร่วมกัน โดยไม่จาํ เป็ นต้องมีวตั ถุประสงค์ทจ่ี ะแบ่งปนั ผลกําไรทีจ่ ะพึงได้จากกิจการที่ ทํานัน้ การวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดานัน้ ผูว้ างแผนภาษีจะต้องเข้าใจก่อนว่าตนได้รบั เงินได้ประเภทใดจากทีไ่ หน อีกทัง้ ต้องรูว้ ่าเงินได้แต่ละประเภทนัน้ ต้องเสียภาษี และสามารถหัก ค่าใช้จา่ ยและค่าลดหย่อนในอัตราเท่าใด อย่างไร โดยมีวธิ กี ารวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ดังนี้ 1. การเลื อกคํา นวณค่ าใช้ จ่ ายแบบเหมา หรือตามความจํา เป็ นและตาม สมควร การหักค่าใช้จ่ายของผูม้ เี งินได้พง่ึ ประเมินนัน้ ผูม้ เี งินได้พงึ ประเมินสามารถหัก ค่าใช้จ่ายตามความจําเป็ นและสมควรหรือสามารถหักค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมาได้ โดยผูม้ เี งินได้ พึง ประเมินตามมาตรา 40(1),(2)และ(3) เฉพาะค่าลิข สิท ธิท์ ่ียอมให้หกั แบบเหมา เงินได้พึง ประเมินตามมาตรา 40(5) สําหรับการผิดสัญญาเช่าซือ้ และการผิดสัญญาซือ้ ขายเงินผ่อน และ เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40(8) สําหรับเงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์อนั เปนมรดก และมิได้มงุ่ ในทางการค้าหรือหากําไร สามารถหักค่าใช้จ่ายเป็ นการเหมาได้เพียงอย่างเดียว ผูม้ ี เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40(8) ทีไ่ ม่ได้ถูกกําหนดไว้ในพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 11) และ เงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ทไ่ี ด้มาในทางการค้าหรือหากําไร สามารถหักค่าใช้จ่ายตาม ความจริงและสมควรได้เพียงอย่างเดียว และผูท้ ่มี เี งินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40(5) สําหรับ การเช่าทรัพย์สนิ ต่างๆ เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40(6) สําหรับการประกอบโรคศิลปะ และ


114 วิชาชีพอิสระอื่น เงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40(7) และเงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40(8) เฉพาะที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่11) สามารถเลือกหักค่าใช้จ่ายได้ทงั ้ แบบเหมา หรือหักตามความจําเป็ นและสมควรได้ และสุดท้ายคือผูม้ เี งินได้ทท่ี ําการเก็บหลักฐานเอกสาร ครบถ้วนเท่านัน้ จึงจะมีสทิ ธิเลือกวิธกี ารหักค่าใช้จา่ ยได้ ตัวอย่างที่ 1 นางสาวบี เป็ นคนโสดได้รบั เงินเดือนตลอดปี 2554 จํานวน 600,000 บาท นอกจากนี้นางสาวบีได้เปิดร้านเสริมสวย โดยมีรายละเอียดรายรับ รายจ่ายของ ร้านอาหารดังนี้ บาท รายรับ รายได้จากการตัด ดัด ตกแต่งผม 300,000 รายได้จากการแต่งหน้า 500,000 รายได้จากการทําเล็บ 150,000 รวม 950,000 รายจ่าย ค่าอุปกรณ์ต่างๆ(นํ้ายาทําสีผม ยาทาเล็บ ฯลฯ) 300,000 จ่ายเงินเดือนพนักงาน 250,000 ค่าสาธารณูปโภค 75,000 รวม 625,000 คํานวณภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา เหมา เงินเดือน 40(1) หัก ค่าใช้จา่ ย 40% รวม รายได้เสริมสวย หัก ค่าใช้จา่ ย เหมา 70% ค่าใช้จา่ ยตามจริง รวม เ งิ น ไ ด้ พึ ง ป ร ะ เ มิ น ห ลั ง หั ก

600,000 60,000 540,000 950,000 665,000 285,000 825,000

ตามความจําเป็ น และสมควร 600,000 60,000 540,000 950,000 625,000 325,000 865,000


115 ค่าใช้จา่ ย หัก ค่าลดหย่อน-ผูม้ เี งินได้ เงิ นได้สทุ ธิ จํานวนภาษี ที่ต้องชําระ 150,000 บาทแรกได้รบั ยกเว้น 350,000*10% 295,000*20%,335,000*20% รวมภาษี ที่ต้องจ่าย

30,000 795,000 -

30,000 835,000 -

35,000 59,000 94,000

35,000 67,000 102,000

จากตัวอย่างข้างต้นนัน้ เห็นได้ว่าผู้มเี งินได้ควรเลือกหักค่าใช้จ่ายแบบเหมา เพราะจะช่วยให้ผมู้ เี งินได้ประหยัดภาษีได้จาํ นวน (102,000-94,000) = 8,000 บาท ทัง้ นี้ผเู้ สีย ภาษีไม่จําเป็ นต้องพิสูจน์ว่ามีรายจ่ายจริงเท่ากับอัตราเหมาที่กําหนดตามกฎหมายหรือไม่ แต่ หากผูม้ เี งินได้กฎหมายก็ให้หกั เหมาได้แม้จะมากกว่ารายจ่ายจริงก็ตาม 2. การแยกหน่ วยภาษี เงิ นได้บคุ คลธรรมดา บุคคลธรรมดาที่มเี งินได้หลายประเภทรวมทัง้ รายได้จากการประกอบธุ รกิจ สามารถเลือกวิธกี ารเสียภาษีเงินได้ โดยผูม้ เี งินได้สามารถนําเงินทีไ่ ด้จากการประกอบธุรกิจมา รวมคํานวณกับเงินได้ประเภทอื่น หรือแยกเฉพาะรายได้จากการประกอบธุรกิจมาเสียภาษี ต่างหากก็ได้ โดยการจัดตัง้ เป็ นห้างหุน้ ส่วน หรือคณะบุคคลทีไ่ ม่ใช่นิตบิ ุคคล ตัวอย่างที่ 2 นายเอกเป็ นคนโสด มีเงินเดือนจากบริษทั คอนโท จํากัด เดือนละ 50,000 บาท นอกจากนี้นายเอกยังได้เปิ ดกิจการร้านอาหารและมีน้องสาวเป็ นผูด้ ูแลกิจการ มีรายได้จากการขายอาหารที่ได้จดทะเบียนเป็ นห้างหุน้ ส่วนสามัญ 500,000 บาทต่อปี การคํานวณ กรณี รวมหน่ วยภาษี ระหว่างเงิ นเดือน กับรายได้จากร้านอาหาร 600,000 เงินเดือน 40(1) 60,000 540,000 หัก ค่าใช้จา่ ย 40% 900,000 ขายอาหาร 40(8)


116 630,000 หัก ค่าใช้จา่ ย 70% เงินได้พงึ ประเมินหลังหักค่าใช้จา่ ย หัก ค่าลดหย่อน – ผูม้ เี งินได้ เงินได้สทุ ธิ ภาษี ที่ต้องจ่าย (150,000 แรกได้รบั ยกเว้น+350,000*10%+280,000*20%)

270,000 810,000 30,000 780,000 91,000

กรณี แยกหน่ วยภาษี ระหว่างเงิ นเดือน กับรายได้จากร้านอาหาร ภาษี ของเงิ นเดือน เสียภาษี ในนามนายเอก 600,000 เงินเดือน 40(1) 60,000 หัก ค่าใช้จา่ ย 40% หัก ค่าลดหย่อน-ผูม้ เี งินได้ เงินได้สทุ ธิ ภาษี ที่ต้องจ่าย (150,000 แรกได้รบั ยกเว้น+35,000*10%+10,000*20%) ภาษี ของร้านอาหาร เสียภาษี ในนามของห้างหุ้นส่วนสามัญ 900,000 ขายอาหาร 40(8) 630,000 หัก ค่าใช้จา่ ย 70% หัก ค่าลดหย่อน-ผูม้ เี งินได้ เงินได้สทุ ธิ ภาษี ที่ต้องจ่าย (150,000 แรกได้รบั ยกเว้น+60,000*10%)

540,000 30,000 510,000 37,000

270,000 60,000 210,000 6,000

สรุป นายเอกต้องเสียภาษีทงั ้ สิน้ 37,000 + 6,000 = 43,000 บาท จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นว่าหากนายเอกไม่ทําการแยกหน่ วยภาษีระหว่าง เงินเดือน กับรายได้จากร้านอาหาร จะทําให้นายเอกเสียภาษีถงึ 91,000 บาท ดังนัน้ การแยก หน่ วยภาษีเงินได้จงึ เป็ นการช่วยลดภาระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาลง (91,000-43,000) = 48,000 บาท เนื่องจากอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาเป็ นอัตราก้าวหน้า ซึง่ ถ้าเรานําเงินได้จาก การประกอบกิจการมารวมคํานวณกับเงินได้ประเภทอื่นก็จะยิง่ ทําให้ฐานภาษีของผู้มเี งินได้ กว้างขึน้ ภาษีทต่ี อ้ งเสียก็จะมากขึน้ ตามไปด้วย


117 3. สิ ทธิ ในการยื่นชําระภาษี ของสามีภริ ยา ประมวลรัษฎากรของไทยนัน้ ได้มกี ารกําหนดให้สามีภริยานําเงินได้ไปรวมหรือ แยกคํานวณเพือ่ เสียภาษีสาํ หรับคูส่ มรส หากสามีและภริยาอยูร่ ว่ มกันตลอดปีภาษีคอื ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม เงินได้ของภริยาจะถือเงินได้ของสามี แม้ภริยาจะอยูร่ ว่ มกันตลอดปี ภาษีกบั สามีแต่กรณีทภ่ี ริยามีเงินได้พงึ ประเมินตามมาตรา 40 (1) และมีเงินได้ประเภทอื่นด้วย เช่น มีเงินได้จากการให้บริการ หรือมีเงินได้จากการแสดงภาพยนตร์ เป็ นต้น ภริยามีสทิ ธินําเงิน ได้จากการจ้างแรงงานมาแยกยืน่ คํานวณต่างหากจากสามีได้ แต่เงินได้ประเภทอื่นของภริยานัน้ ต้องนํามารวมเป็ นเงินได้ของสามีดงั เดิม ตัวอย่างที่ 3 นายโทและนางจัตวาเป็ นสามีภริยาชอบด้วยกฎหมายและอยูร่ ว่ มกันตลอดปี ภาษี ทัง้ สองไม่มบี ุตร นายโทมีเงินได้พงึ ประเมินดังต่อไปนี้ 1. เงินเดือนๆละ 40,000 บาท 2. ค่านายหน้าขายทีด่ นิ 100,000 บาท นางจัตวามีเงินได้พงึ ประเมินดังต่อไปนี้ 1. เงินเดือนๆละ 25,000 บาท 2. รายได้จากการตรวจสอบบัญชีเดือนละ 100,000บาท (หักค่าใช้จา่ ย เหมา 30%)


118 การคํานวณ กรณี นางจัตวา แยกคํานวณภาษี กบั นายโท ภาษี ครึ่งปี นางจัตวา การคํานวณตามวิ ธีที่1 รายได้จากการตรวจสอบบัญชี(*) (100,000x6) หัก ค่าใช้จา่ ยแบบเหมา 30% เงินได้หลังหักค่าใช้จา่ ย หัก ค่าลดหย่อน : ผูม้ เี งินได้ คูส่ มรส เงินได้สทุ ธิ ภาษี ที่ต้องจ่าย (150,000x0)+(240,000*10%)

600,000 (180,000) 420,000 15,000 (*)15,000

30,000 390,000 24,000

(*) นางจัตวาต้องทําการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึง่ ปี เนื่องจากมีเงิน ได้พงึ ประเมินประเภทที่ 5 ถึง 8 นัน้ คือรายได้จากการตรวจสอบบัญชี 40(6) อย่างไรก็ตาม กรมสรรพากรกําหนดให้สามีภริยาต่างฝา่ ยต่างยื่นแบบเสียภาษีครึง่ ปี ในนามของตนเองและหัก ลดหย่อนคูส่ มรสได้ ซึง่ ให้ผลดีกว่า การคํานวณตามวิ ธีที่2 รายได้จากการตรวจสอบบัญชี 600,000 3,000 ภาษี ที่ต้องจ่าย (0.005*600,000) ไม่ต้องเสียภาษี วิธีที่2เพราะไม่เกิ น5,000 บาท ต้องเสียภาษี ครึ่งปี วิ ธีที่1 ต้องทําการคํานวณภาษีวธิ ที ่ี 2 กรณีทผ่ี มู้ เี งินได้มเี งินได้พงึ ประเมินทุก ประเภท แต่ไม่รวมเงินได้พงึ ประเมินประเภทที่ 1 ถ้าคํานวณตามวิธที ่ี 2 แล้วมีจาํ นวน ไม่เกิน 5,000 บาท ให้ยกเว้นภาษี


119 ภาษี สิ้นปี นายโท การคํานวณตามวิ ธีที่1 เงินเดือน (40,000x12) ค่านายหน้า รวม หัก ค่าใช้จา่ ย 40%ไม่เกิน60,000 คงเหลือ (1) รายได้จากการตรวจสอบบัญชี** 100,000*12 หัก ค่าใช้จา่ ย 30% คงเหลือ (2) (1)+(2) เงินได้หลังหักค่าใช้จา่ ย หัก ค่าลดหย่อน ผูม้ เี งินได้

480,000 100,000 580,000 (60,000) 520,000 1,200,000 (360,000) 840,000 1,360,000 (30,000)

1,330,000 เงินได้สทุ ธิ 234,000 ภาษี ที่ต้องจ่าย (150,000*0)+(350,000*10%)+(500,000*20%)+(330,000*30%) การคํานวณตามวิ ธีที่2 ค่านายหน้า และค่าตรวจสอบบัญชี ภาษี ที่ต้องจ่าย (0.005*1,300,000) สรุป ภาษีสน้ิ ปีทน่ี ายโทต้องเสีย(วิธที 1่ี )(**) หัก ภาษีสน้ิ ปี ทช่ี าํ ระแล้ว เหลือ ภาษีสน้ิ ปีทต่ี อ้ งชําระ

1,300,000 6,500

234,000 (24,000) 210,000

(**) เมื่อคํานวณภาษีเงินได้ทงั ้ 2 วิธแี ล้ว ให้นําภาษีทไ่ี ด้มาเปรียบเทียบกัน ถ้าเท่ากันให้ถือว่าจํานวนภาษีท่เี ท่ากันนัน้ เป็ นจํานวนที่ต้องเสียภาษี แต่ถ้าไม่เท่ากันจํานวน ภาษีทค่ี าํ นวณได้วธิ ใี ดมีจาํ นวนสูงกว่า ให้ถอื จํานวนภาษีนนั ้ เป็ นจํานวนภาษีทต่ี อ้ งเสีย


120 ภาษี สิ้นปี นางจัตวา เงินเดือน 25,000*12 หัก ค่าใช้จา่ ย 40% ไม่เกิน 60,000 เงินได้หลังหักค่าใช้จา่ ย หัก ค่าลดหย่อน: ผูม้ เี งินได้ เงินได้สทุ ธิ ภาษี ที่ต้องจ่าย (150,000*0)+(60,000x10%)

300,000 (60,000) 240,000 (30,000) 210,000 6,000

สรุป นายโทและนางจัตวาต้องเสียภาษีสน้ิ ปี 210,000 บาท และ 6,000 บาท ตามลําดับ กรณี นางจัตวา รวมคํานวณภาษี กบั นายโท ภาษี ครึ่งปี นางจัตวา การคํานวณตามวิ ธีที่1 รายได้จากการตรวจสอบบัญชี 100,000*6 หัก ค่าใช้จา่ ยแบบเหมา 30% เงินได้หลังหักค่าใช้จา่ ย หัก ค่าลดหย่อน ผูม้ เี งินได้ คูส่ มรส เงินได้สทุ ธิ ภาษี ที่ต้องจ่าย (150,000x0)+(240,000*10%) การคํานวณตามวิ ธีที่2 ค่านายหน้า และค่าตรวจสอบบัญชี ภาษี ที่ต้องจ่าย (0.005*1,300,000)

600,000 (180,000) 420,000 15,000 15,000

(30,000) 390,000 24,000

1,300,000 6,500


121 ภาษี สิ้นปี นายโท การคํานวณตามวิ ธีที่1 เงินเดือนนายโท 40,000*12 ค่านายหน้า หัก ค่าใช้จา่ ย 40%ไม่เกิน60,000 คงเหลือ เงินเดือนนางจัตวา 25,000*12 หัก ค่าใช้จา่ ย 40%ไม่เกิน60,000 คงเหลือ รวม(1) รายได้จากการตรวจสอบบัญชี** 100,000*12 หัก ค่าใช้จา่ ย 30% คงเหลือ (2) (1)+(2) เงินได้หลังหักค่าใช้จา่ ย (30,000) หัก ค่าลดหย่อน ผูม้ เี งินได้ (30,000) คูส่ มรส เงินได้สทุ ธิ ภาษี ที่ต้องจ่าย (150,000*0)+(350,000*10%)+(500,000*20%)+(540,000*30%) การคํานวณตามวิ ธีที่2 ค่านายหน้า และค่าตรวจสอบบัญชี ภาษี ที่ต้องจ่าย (0.005*1,300,000) สรุป ภาษีสน้ิ ปีทน่ี ายโทต้องเสีย(วิธที 1่ี ) หัก ภาษีสน้ิ ปีทช่ี าํ ระแล้ว เหลือ ภาษีสน้ิ ปี ทต่ี อ้ งชําระ

480,000 100,000 (60,000) 520,000 300,000 (60,000) 240,000 760,000 1,200,000 (360,000) 840,000 1,600,000 (60,000) 1,540,000 297,000

6,500 297,000 (24,000) 273,000

จะเห็นได้วา่ การยืน่ เสียภาษีเงินได้จากการเป็ นคูส่ มรส ควรจะแยกยืน่ แบบแสดง ภาษี เพราะจะช่วยให้นายโทประหยัดภาษีลง 273,000 – 210,000 = 63,000 บาท การเอาเงิน ได้ของภริยามารวมเป็ นเงินได้ของสามี ย่อมทําให้เสียภาษีมากกว่า เพราะอัตราภาษีบุคคล ธรรมดาเป็ นแบบก้าวหน้า ฉะนัน้ เงินได้ยงิ่ มากจึงทําให้เสียภาษีในอัตราทีส่ งู ขึน้


122 4. การลดหย่อนภาษี การลดหย่อนภาษีเป็ นอีกตัวช่วยหนึ่งที่จะเป็ นตัวช่วยประหยัดภาษี เนื่องจาก เป็ นการช่วยบรรเทาภาระภาษีให้แก่ผเู้ สียภาษีก่อนนําเงินได้สุทธิไปคํานวณภาษีตามบัญชีอตั รา ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา การลดหย่อนภาษีทส่ี าํ คัญทีเ่ ราควรศึกษาเพื่อใช้ในการวางแผนภาษี ได้แก่ 1. ผูท้ ท่ี ําประกันชีวติ - สามารถใช้สทิ ธิ ์ในการลดหย่อนภาษี เพราะเบี้ย ประกันภัยส่วนที่เ กิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 40,000 บาทที่จ่ายไป เป็ นเงินได้ทไ่ี ด้รบั การยกเว้นภาษี แต่ต้องเป็ นกรมธรรม์ทไ่ี ด้ชําระเบี้ย ไม่ต่ํ า กว่า 10ปี ข้นึ ไป ดังนัน้ ทุกครัง้ ที่ย่นื แบบเพื่อเสีย ภาษีก็อ ย่าลืม ค้นหาใบเสร็จรับเงินแนบไปด้วยทุกครัง้ 2. สมาชิกกองทุนสํารองเลีย้ งชีพ - เงินสะสมทีจ่ ่ายเข้ากองทุนสํารองเลีย้ ง ชีพนัน้ สามารถนํ ามาหักลดหย่อนได้ตามจํานวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 10,000 บาทต่อปี 3. การบริจาคเงิน - หลังบริจาคเงินให้แก่มลู นิธหิ รือสถานทีต่ ่างๆแล้ว ควร ขอหลักฐานจากการทีไ่ ด้บริจาค เพราะเงินทีบ่ ริจาคแก่การกุศล ก็นํามา หักภาษีได้เท่าจํานวนเงินทีจ่ ่ายจริง แต่ได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของรายได้ นั น่ หมายความว่ า การบริจ าคทุ ก ครัง้ ไม่ ว่ า จะเป็ น รายบุ ค คลหรือ องค์กรก็จะได้รบั สิทธิ ์ดังกล่าวเช่นนัน้ 4. สมาชิกกองทุนประกันสังคม – หากเป็ นสมาชิกกองทุนประกันสังคมก็ จะได้รบั สิทธิ ์ในการลดหย่อนภาษี เพราะเงินสมทบที่ผูป้ ระกันตนจ่าย เข้ากองทุนประกันสังคม ตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคม ทัง้ คุณ พ่อและคุณแม่ หรือผูท้ ไ่ี ม่ได้ทาํ งานแต่ยงั รักษาสิทธิ ์การเป็ นสมาชิกของ กองทุ นประกันสัง คมและจ่า ยเงิน สมทบต่ อเนื่ องก็สามารถนํ ามาหัก ลดหย่อนภาษีได้ ตัวอย่างที่ 4 สมหญิง เป็ นผูบ้ ริหารของบริษทั แห่งหนึ่ง มีรายได้จากเงินเดือนและโบนัสปี ละ ประมาณ 1,500,000 บาท ซึ่งสมหญิงจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนสํารองเลี้ยงชีพ 85,000 บาท จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม 9,000 บาท และบริจาค


123 เงินเพื่อการศึกษาอีก 10,000 บาท นอกจากนี้สมหญิง ยังได้รบั มอบหมายจาก พีส่ าวให้ดแู ลแม่ผแู้ ก่ชราอายุกว่า 80 ปี การคํานวณ กรณี ที่1 ไม่มีการวางแผนภาษี เงินได้ (เงินเดือน+โบนัส) หัก เงินสะสมกองทุนสํารองเลีย้ งชีพ (ส่วนทีเ่ กิน 10,000 บาท) คงเหลือ (60,000) หัก ค่าใช้จา่ ยส่วนตัว (40% ไม่เกิน 60,000 บาท) (10,000) เงินสะสมกองทุนสํารองเลีย้ งชีพ (ส่วนทีไ่ ม่เกิน 10,000 บาท) (9,000) เงินสมทบกองทุนประกันสังคม คงเหลือ หัก บริจาคเพือ่ การศึกษาตามเงือ่ นไข 2 เท่า (จ่ายจริง 10,000 บาท) เงินได้สทุ ธิ ภาษี ที่ต้องเสีย (150,000*0%)+(350,000*10%)+(500,000*20%)+(326,000*30%)

1,500,000 (75,000) 1,425,000

(79,000) 1,346,000 (20,000) 1,326,000 232,800

กรณี ที่ 2 มีการวางแผนภาษี เงินได้ (เงินเดือน+โบนัส) หัก เงินสะสมกองทุนสํารองเลีย้ งชีพ (ส่วนทีเ่ กิน 10,000บาท) คงเหลือ (60,000) หัก ค่าใช้จา่ ยส่วนตัว (40% ไม่เกิน 60,000 บาท) (10,000) เงินสะสมกองทุนสํารองเลีย้ งชีพ (ส่วนทีไ่ ม่เกิน 10,000 บาท) (9,000) เงินสมทบกองทุนประกันสังคม

1,500,000 (75,000) 1,425,000


124 ทําประกันชีวติ (ตามทีจ่ า่ ยจริงแต่ไม่เกิน 100,000บาท)

(100,000)

ดอกเบีย้ เงินกูซ้ อ้ื บ้าน (100,000) (ตามทีจ่ า่ ยจริง แต่ไม่เกิน 100,000 บาท) (225,000) ซือ้ กองทุนรวม LTF (15%ของเงินได้ แต่ไม่เกิน 500,000บาท) (140,000) ซือ้ กองทุนรวม RMF (15%ของเงินได้แต่เมือ่ นับรวมกองทุนสํารอง เลีย้ งชีพ แต่ตอ้ งไม่เกิน 500,000บาท) คงเหลือ หัก บริจาคเพือ่ การศึกษาตามเงือ่ นไข 2 เท่า (จ่ายจริง 10,000 บาท) เงินได้สทุ ธิ ภาษี ที่ต้องชําระ (150,000 แรกได้รบั ยกเว้น)+(350,000*10%)+(261,000*20%)

(644,000)

781,000 (20,000) 761,000 87,200

จากการคํานวณพบว่า หากสมหญิงมีการวางแผนภาษี จะทําให้สมหญิงเสีย ภาษีน้อยลงจํานวน 232,800-87,200=145,600 บาท ดังนัน้ สมหญิงจึงควรทําการวางแผนภาษี ตัวอย่างที่ 5 นายลิง มีภรรยาชื่อนางหมู เป็ นภริยาชอบด้วยกฎหมาย และอยูร่ ว่ มกันตลอดปี ภาษี นายลิง ทํางานในบริษัท ไทย จํากัดได้รับเงินเดือนๆ ละ 35,000 บาท ส่วนนางหมู เป็ นแม่บา้ น นายลิงได้ทําประกันชีวติ กับบริษทั อินซู่ จํากัด โดย ต้องเสียค่าเบีย้ ประกันชีวติ ปี ละ 15,000 บาท และคนขายแนะนํ าให้นายลิงทํา ประกันชีวติ ให้กบั ภริยาของตน เนื่องจากในปี น้ีมขี องสมนาคุณมอบให้แก่ผทู้ ท่ี าํ ประกันชีวติ ในปี น้ี โดยต้องเสียค่าเบีย้ ประกันชีวติ ปี ละ 12,000 บาท ดังนัน้ นาย ลิง ควรจะทําประกันชีวติ ให้กบั นางหมู เพื่อรับของสมนาคุณหรือไม่เพราะเหตุ ใด


125 การคํานวณ กรณี ที่ 1 นายลิ ง ไม่ทาํ ประกันชีวิตให้กบั นางหมู เงินเดือนจากบริษทั ไทย (35,000x12) หัก ค่าใช้จา่ ย 40% แต่ไม่เกิน 60,000 บาท เงินได้สทุ ธิหลังหักค่าใช้จา่ ย หัก ค่าลดหย่อน : ส่วนตัว คูส่ มรส เบีย้ ประกันชีวติ เงินได้สทุ ธิทต่ี อ้ งนําไปเสียภาษี ภาษี ที่ต้องชําระ (150,000 บาทแรกได้รบั ยกเว้น)+(135,000*10%)

420,000 (60,000) 360,000 30,000 30,000 15,000

(75,000) 285,000 13,500

กรณี ที่ 2 นายลิ ง ทําประกันชีวิตให้กบั นางหมู ในกรณี น้ี น ายลิง มีส ิท ธิน์ ํ า ค่ า เบี้ย ประกัน ชีวิต ที่จ่ า ยให้ก ับ นางหมูม าหัก เป็ น ค่ า ลดหย่อนได้ เนื่องจากนายลิงและนางหมู ได้เป็ นสามีภรรยากันตลอดปี ภาษี และสามารถหักได้ ตามจํานวนทีจ่ า่ ยจริง แต่ไม่เกิน 10,000 บาท เงินเดือนจากบริษทั ไทย (35,000x12) หัก ค่าใช้จา่ ย 40% แต่ไม่เกิน 60,000 บาท เงินได้สทุ ธิหลังหักค่าใช้จา่ ย หัก ค่าลดหย่อน : ส่วนตัว คูส่ มรส เบีย้ ประกันชีวติ ของตน เบีย้ ประกันชีวติ ของภริยา เงินได้สทุ ธิทต่ี อ้ งนําไปเสียภาษี ภาษี ที่ต้องชําระ (150,000 บาทแรกได้รบั ยกเว้น)+(125,000*10%)

420,000 (60,000) 360,000 30,000 30,000 15,000 10,000

(85,000) 275,000 12,500


126 ดังนัน้ หากนายลิง เลือกไม่ทาํ ประกันชีวติ ให้กบั นางหมู จะต้องเสียภาษีโดย ใช้แบบภ.ง.ด.91 และจะต้องชําระภาษีทงั ้ หมด 12,500 บาท จากการคํานวณพบว่า หากนายลิงทําประกันชีวติ ให้กบั นางหมู จะทําให้นายลิง เสียภาษีน้อยลงจํานวน 1,000 บาท (13,500-12,500) ดังนัน้ นายลิงควรจะทําประกันชีวติ ให้กบั นางหมู ตัวอย่างที่ 6 น.ส.ดี เป็ นคนโสด มีหน้าทีเ่ ลีย้ งดูพอ่ ทีอ่ ายุ 65 ปี และแม่ทอ่ี ายุ 62 ปี ทัง้ คู่ไม่ได้ ทํางานแต่อย่างใด น.ส.ดี ทํางานเป็ นเลขาในบริษทั แห่งหนึ่ง ได้รบั เงินเดือนๆ ละ 45,000 บาท ในปี น้ีน.ส.ดี ได้บริจาคเงินเพื่อสนับสนุ นการศึกษาแก่โรงเรียน รัฐบาลจํานวน 10,000 บาท และบริษทั ได้มนี โยบายจัดตัง้ กองทุนสํารองเลีย้ ง ชีพ โดยคิดอัตรา 3% บริษทั ให้สทิ ธิกบั พนักงานเลือกทีจ่ ะเข้าร่วมหรือไม่กไ็ ด้ นอกจากนี้น.ส.ดียงั ได้ลงทุนในกองทุนรวมหุน้ ระยะยาวมาเป็ นระยะเวลา 7 ปี แล้ว และยังคงลงทุนต่อไป โดยลงทุนคราวละ 15,000 บาท ดังนัน้ น.ส.ดี ควร จะเข้าร่วมกองทุนสํารองเลีย้ งชีพดังกล่าวหรือไม่ กรณี ที่ 1 น.ส.ดี ไม่เข้าร่วมกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ เงินเดือน (45,000x12) หัก ค่าใช้จา่ ย 40% แต่ไม่เกิน 60,000 บาท เงินได้สทุ ธิหลังหักค่าใช้จา่ ย หัก ค่าลดหย่อน : ส่วนตัว บิดามารดา กองทุนรวมหุน้ ระยะยาว เงินได้สทุ ธิหลังหักค่าใช้จา่ ย หัก เงินบริจาค 2 เท่าของ 10,000 บาท (20,000) แต่ไม่เกิน 10% ของ 420,000 (42,000) เงินได้สทุ ธิทต่ี อ้ งนําไปเสียภาษี ภาษี ที่ต้องชําระ (150,000 บาทแรกได้รบั ยกเว้น)+(235,000*10%)

540,000 (60,000) 480,000 30,000 30,000 15,000

(75,000) 405,000 (20,000) 385,000 23,500


127 ดังนัน้ หากน.ส.ดี เลือกไม่เข้าร่วมกองทุนสํารองเลีย้ งชีพ จะต้องเสียภาษี โดยใช้แบบภ.ง.ด.91 และจะต้องชําระภาษีทงั ้ หมด 23,500 บาท กรณี ที่ 2 น.ส.ดี เข้าร่วมกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ในกรณี ท่ีน .ส.ดี เข้า ร่ ว มกองทุ น สํา รองเลี้ย งชีพ สามารถนํ า เงิน ที่ถู ก หัก ไปหัก ลดหย่อนได้ตามทีจ่ ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10,000 บาท ส่วนทีเ่ กิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 490,000 บาท เป็ นเงินได้ทไ่ี ด้รบั ยกเว้น ให้นําจํานวนเงินทีเ่ กินดังกล่าวไปหักจากเงินได้พงึ ประเมินก่อน หักค่าใช้จา่ ย ดังนัน้ เงินสะสมกองทุนสํารองเลีย้ งชีพ = [(45,000x0.3)x12] = 16,200 บาท ทําให้ น.ส.ดี สามารถหักเงินสะสมกองทุนสํารองเลีย้ งชีพได้ 10,000 บาท และได้รบั ยกเว้นอีก 6,200 บาท (16,200-10,000) เงินเดือน (45,000x12) หัก เงินสะสมกองทุนสํารองเลีย้ งชีพทีไ่ ด้รบั ยกเว้น หัก ค่าใช้จา่ ย 40% แต่ไม่เกิน 60,000 บาท เงินได้สทุ ธิหลังหักค่าใช้จา่ ย หัก ค่าลดหย่อน : กองทุนสํารองเลีย้ งชีพ ส่วนตัว บิดามารดา กองทุนรวมหุน้ ระยะยาว เงินได้สทุ ธิหลังหักค่าใช้จา่ ย หัก เงินบริจาค 2 เท่าของ 10,000 บาท (20,000) แต่ไม่เกิน 10% ของ 388,800 (38,880) เงินได้สทุ ธิทต่ี อ้ งนําไปเสียภาษี ภาษี ที่ต้องชําระ (150,000 บาทแรกได้รบั ยกเว้น)+(218,800*10%)

540,000 (6,200) (60,000) 473,800 10,000 30,000 30,000 15,000

(85,000) 388,800 (20,000) 368,800 21,880

ดังนัน้ หากน.ส.ดี เลือกไม่เข้าร่วมกองทุนสํารองเลีย้ งชีพ จะต้องเสียภาษีโดยใช้ แบบภ.ง.ด.91 และจะต้องชําระภาษีทงั ้ หมด 21,880 บาท


128 จากการคํานวณพบว่า น.ส.ดีควรจะเข้าร่วมกองทุนสํารองเลีย้ งชีพ เพราะทําให้ น.ส.ดีได้รบั ประโยชน์หลายๆ อย่างในอนาคต รวมทัง้ ยังทําให้น.ส.ดี เสียภาษีน้อยลงจากเดิม จํานวน 1,620 บาท (23,500-21,880) 5. การเลือกเสียภาษี ในอัตราตํา่ สําหรับเงิ นได้บางประเภท สําหรับเงินได้ทถ่ี ูกหักภาษี ณ ทีจ่ า่ ยไว้แล้ว ไม่จาํ ต้องถูกนําไปรวมกับเงินได้อ่นื ๆ ทําให้ผมู้ เี งินได้ทต่ี อ้ งเสียภาษีในอัตราทีส่ งู สามารถกําหนดประเภทเงินได้ทไ่ี ด้รบั เพื่อให้ผมู้ ี เงินได้เสียภาษีในอัตราทีต่ ่าํ กว่า เช่น เงินปนั ผล ผูม้ เี งินได้มสี ทิ ธิทจ่ี ะเลือกเสียภาษีในอัตรา 10% เท่ากับภาษีทถ่ี ูกหักไว้ ณ ทีจ่ ่าย หรือจะเลือกนําเงินปนั ผลนัน้ ไปขอเครดิตภาษีเงินปนั ผล อีกทัง้ การกําหนดเงินได้ประเภทดอกเบี้ย ทัง้ จากการลงทุนโดยการฝากเงินหรือซื้อหุน้ กู้ หรือการให้ กูย้ มื เงินแก่บริษทั ทีผ่ ูม้ เี งินได้เป็ นผูถ้ อื หุน้ และคิดดอกเบี้ยในอัตราตลาด ผูม้ เี งินได้มสี ทิ ธิเลือก เสียภาษีจากดอกเบี้ยทีไ่ ด้รบั ในอัตรา 15% เท่ากับภาษีทถ่ี ูกหักไว้ ณ ทีจ่ ่าย โดยไม่จําเป็ นต้อง นําเงินได้นนั ้ ไปรวมเพือ่ เสียภาษี ตัวอย่างที่ 7 นางสาวพรหล้ามีเงินเดือน เดือนละ 60,000 บาท ถูกหักภาษี ณ ทีจ่ า่ ยไว้ เดือน ละ 5,000 บาท และได้รบั เงินปนั ผลจากบริษัทที่เสียภาษีในอัตรา 30% ของ กําไรสุทธิ เป็ นเงิน 80,000 บาท ถูกหักภาษี ณ ทีจ่ า่ ยไว้ 8,000 บาท การคํานวณ รายการ เงินเดือนต่อปี หัก ค่าใช้จา่ ย คงเหลือ ( A) เงินปนั ผล บวก เครดิตเงินปนั ผล รวม (B) รวมเงินได้ (A)+(B) หัก ค่าลดหย่อน คงเหลือเงินได้สทุ ธิ ภาษีเงินได้

กรณี เครดิ ตภาษี เงิ นปันผล 720,000 60,000 660,000 80,000 34,000 114,285 774,285 30,000 744,285 83,857

ภาษี ไม่เครดิ ตภาษี เงิ นปันผล 720,000 60,000 660,000 660,000 30,000 630,000 61,000


129 หัก ภาษีหกั ณ ทีจ่ า่ ย หัก เครดิตภาษีเงินปนั ผล ภาษีทจ่ี า่ ยเพิม่ (ได้รบั คืน) ภาษี ทงั ้ หมดที่เสียจริ ง

68,000 34,285 18,428 49,572

60,000 1,000 66,000

จากตัวอย่างข้างต้น หากนางสาวพรหล้าเลือกนํ าเงินปนั ผลไปขอเครดิตภาษี เงินปนั ผลจะได้รบั คืนภาษี 18,428 บาท มีภาระภาษีทต่ี ้องเสียจริง 49,572 บาท เปรียบเทียบ กับกรณีท่เี ลือกเสียภาษีจากในอัตรา 10% โดยไม่ขอเครดิตภาษี มีภาระภาษีท่ตี ้องเสียจริง 66,000 บาท ดังนัน้ บริษทั ธุรกิจครอบครัวอาจวางแผนโดยจ่ายเงินปนั ผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ได้ หรือ บางคนก็กระจายหน่ วยภาษี (ทัง้ บุคคลธรรมดาหรือคณะบุคคล) ในการกระจายสิทธิรบั เงินปนั ผลเพือ่ ใช้สทิ ธิเครดิตเงินปนั ผลก็ยอ่ มทําได้ ตัวอย่างที่ 8 นายโทและนางจัตวาเป็ นสามีภริยาชอบด้วยกฎหมายและอยู่ร่วมกันตลอดปี ภาษี ทัง้ สองมีบุตรด้วยกัน 4 คน อายุ25 ปี 22ปี 20ปี และ 18ปี ตามลําดับ บุตร สองคนแรกกําลังศึกษามหาวิทยาลัยต่างประเทศ ส่วนบุตรสองคนหลังกําลัง ศึกษาอยูใ่ นมหาวิทยาลัยในประเทศ ในปีภาษีน้ี นายโทมีเงินได้พงึ ประเมินดังต่อไปนี้ 1. เงินเดือนๆละ 25,000 บาท)

40,000 บาท (ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย รวมทัง้ ปี

2. ค่ า นายหน้ า ขายที่ดิน 100,000 บาท (ถู ก หัก ภาษี ณ ที่จ่ า ยไว้ 30,000 บาท) 3. ดอกเบี้ย เงิน ฝากประจํา 200,000บาท (ถูก หัก ภาษี ณ ที่จ่า ยไว้ 30,000 บาท)


130 การคํานวณ ภาษี สิ้นปี นายโท การคํานวณตามวิ ธีที่1 เงินเดือน (40,000x12) ค่านายหน้า รวม หัก ค่าใช้จา่ ย 40%ไม่เกิน60,000 คงเหลือ ดอกเบีย้ เงินฝากประจํา* คงเหลือ 30,000 หัก ค่าลดหย่อน: ผูม้ เี งินได้ บุตร 47,000 เงินได้สทุ ธิ ภาษี ที่ต้องจ่าย (150,000x0)+(350,000x10%)+(143,000x20%) การคํานวณตามวิ ธีที่2 ค่านายหน้า ดอกเบีย้ เงินฝากประจํา ภาษี ที่ต้องจ่าย (0.005x300,000) สรุป ภาษีสน้ิ ปี ทน่ี ายโทต้องเสีย(วิธที 1่ี ) หัก ภาษี ณ ทีจ่ า่ ย เหลือ ภาษีสน้ิ ปี ทต่ี อ้ งชําระ

หน่ วย: บาท 480,000 100,000 580,000 (60,000) 520,000 200,000 720,000 (77,000) 643,000 63,600

300,000 1,500 63,600 60,000 3,600

(*) ดอกเบีย้ เงินฝากประจําได้ถูกหักภาษี ณ ทีจ่ า่ ยไว้แล้วในอัตราร้อยละ 15 ผูม้ เี งินได้อาจเลือกเลือกไม่นําเงินได้จาํ นวนนี้มารวมคํานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาก็ได้ ในกรณีน้ี ถ้าเลือกไม่นําดอกเบีย้ เงินฝากประจําไปรวมคํานวณภาษีเงินได้ จะทําให้นายโทเสีย ภาษีได้น้อยลง ดังนี้ การคํานวณตามวิ ธีที่1 เงินเดือน 40,000*12 ค่านายหน้า

480,000 100,000


131 รวม หัก ค่าใช้จา่ ย 40%ไม่เกิน60,000 คงเหลือ หัก ค่าลดหย่อน: ผูม้ เี งินได้ บุตร เงินได้สทุ ธิ ภาษี ที่ต้องจ่าย [(150,000x0)+(293,000*10%)] การคํานวณตามวิ ธีที่2 ค่านายหน้า (100,000*0.005) สรุป ภาษีทน่ี ายโทต้องเสีย (วิธที 1่ี ) หัก ภาษีหกั ณ ทีจ่ า่ ย เหลือ ภาษีสน้ิ ปี ทต่ี อ้ งชําระ(ได้คนื )

580,000 (60,000) 520,000 30,000 47,000

(77,000) 443,000 29,300

500 29,300 (30,000) **700

(**) ตามตัวอย่างนี้หากเลือกไม่นําเงินได้ดอกเบีย้ เงินฝากประจํามารวมคํานวณ ภาษี ผูม้ เี งินได้จะได้รบั เงินภาษีสน้ิ ปีคนื เป็ นเงิน 700 บาท การวางแผนภาษีบุคคลธรรมดาหากศึกษาระเบียบและข้อบังคับในการเสียภาษีเป็ นไป อย่างถูกต้อง และครบถ้วนตามที่กฎหมายภาษีอากรกําหนดไว้ จะทําให้สามารถบริหารภาระ ภาษีได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ใช้ประโยชน์ จากเงื่อนไขภาษีได้เต็มที่ เป็ นการ ประกันว่าการจัดการด้านภาษีเป็ นไปตามกรอบของกฎหมายช่วยให้บุคคลเสียภาษีได้อย่าง ถูกต้อง รวมถึงช่วยในการประหยัดหรือลดค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากการเสียภาษีท่ไี ม่ ถูกต้อง เช่น เบีย้ ปรับ เงินเพิม่ ทางภาษี ค่าปรับทางอาญา เป็ นต้น โดยไม่ใช่การหนีภาษีอากร การวางแผนภาษี เงิ นได้นิติบคุ คล ภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็ นภาษีเงินได้ท่จี ดั เก็บจากบริษทั หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ ตัง้ ขึ้นตามกฎหมายไทย ได้แก่ บริษัทจํากัด บริษัทมหาชนจํากัด ห้างหุ้นส่วนจํากัดและห้าง หุ้นส่ว นสามัญนิ ติบุ ค คล รวมถึงนิ ติบุ ค คลอื่นที่ต งั ้ ขึ้นตามกฎหมายต่ างประเทศ โดยดํา เนิ น กิจการในประเทศไทยถึงแม้จะมีกิจการในที่อ่นื ๆหรือในประเทศไทย และเป็ นการขนส่งผ่าน ประเทศต่างๆ หรือมิได้ประกอบกิจการในประเทศไทยแต่มลี ูกจ้างหรือตัวแทนในการประกอบ


132 กิจการใจประเทศซึง่ เป็ นผลให้ได้รบั เงินได้ในประเทศตามมาตรา 40(2),(3),(4),(5)หรือ (6) ทีใ่ น ประเทศไทย หรืออาจเป็ นกิจการทีด่ าํ เนินเพื่อหาผลกําไรจากรัฐบาลต่างประเทศ กิจการร่วมค้า รวมถึงมูลนิธิ สมาคม นิตบิ ุคคลอื่นที่ประกอบกิจการซึ่งมีรายได้ท่อี ธิบดีกรมสรรพากรกําหนด โดยอนุ มตั จิ ากรัฐมนตรีกระทรวงการคลัง และประกาศในราชกิจจานุเบกษา ภาษี เ งิน ได้ นิ ติบุ ค คลมีมู ล ค่ า ของการจัด เก็บ จากภาครัฐ เป็ น อัน ดับ สอง รองจาก ภาษีมูลค่าเพิม่ โดยมีมูลค่าประจําปี 2553 จํานวน 454,630 ล้านบาท หรือคิดเป็ น 35.4%( กรมสรรพากร, 2553: 100) ของการจัดเก็บภาษีประจําปี 2553 ของรัฐบาล ซึง่ ภาษีเงินได้นิติ บุคคลเกิดจากมีฐานภาษีคูณด้วยอัตราภาษี ฐานภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลจําแนกไว้เป็ น ฐานกําไร สุทธิ ฐานรายได้ก่อนหักรายจ่าย ฐานเงินได้ทจ่ี ่ายจากหรือในประเทศ ฐานการจําหน่ายเงินกําไร ออกไปนอกประเทศ โดยฐานกําไรสุทธิยงั แบ่งเงื่อนไขในการคํานวณภาษีออกเป็ น เงื่อนไขที่ เกี่ยวกับรายได้ เงื่อนไขที่เกี่ยวกับรายจ่าย และหลักเกณฑ์ในการตีราคาทรัพย์สนิ และหนี้สนิ โดยอัตราภาษีฐานกําไรสุทธิ ในกรณีทวไป ั ่ อัตราร้อยละ 30 และในกรณีทเ่ี ป็ นบริษทั วิเทศกิจ และสํานักงานปฏิบตั กิ ารภูมภิ าค เสียในอัตราร้อยละ 10 หรือบริษทั ห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลทีม่ ที ุน จดทะเบียนและชําระแล้วในวันสุดท้ายรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้านบาทและมีกําไรเกิดขึน้ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคา 2551 ให้คาํ นวณโดยใช้อตั ราก้าวหน้า ในการวางแผนภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลนัน้ สามารถวางแผนได้เฉพาะฐานภาษีกําไรสุทธิ เท่านัน้ เนื่องจากฐานภาษีอ่นื ๆ มีขอ้ กําหนดหรือบังคับให้ผมู้ หี น้าทีเ่ สียภาษีตามอัตราทีก่ ําหนด ไว้ โดยฐานกํา ไรสุท ธิ เกณฑ์ใ นการรับ รู้ร ายได้ใ ห้ใ ช้เ กณฑ์ส ิท ธิใ นการรับ รู้ หมายถึง สิท ธิ เรียกร้องให้ชาํ ระหนี้ ซึง่ อาจจะแตกต่างจากการรับรูร้ ายได้ในทางบัญชี สามารถจําแนกประเด็น ทีใ่ ช้ในการวางแผนภาษีออกตามเงื่อนไขในการคํานวณกําไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล ดังนี้ 1. รายได้เงิ นปันผล เป็ นข้อกําหนดทีเ่ กีย่ วกับรายได้เงินปนั ผลของกิจการรวมถึงการคํานวณรายได้ ของกิจการทัง้ ทางด้านบัญชีและด้านภาษีอากรโดยมีประมวลรัษฎากรเป็ นข้อกําหนดเงื่อนไข ต่างๆ ซึง่ รายการทีเ่ กีย่ วข้องกับการวางแผนภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลประกอบไปด้วย การคํานวณเงินปนั ผลเป็ นรายได้ โดยมีเงื่อนไขประกอบดังนี้ ผู้จ่ายเงิน คือ บริษทั ทีต่ งั ้ ขึน้ ตามกฎหมายไทย กองทุนรวม และสถาบันการเงินทีก่ ฎหมายไทยหรือต่างชาติ กําหนดให้ส่งเสริมเกษตรกรรม พาณิชยกรรม หรืออุตสาหกรรม และกิจการร่วมค้า ซึง่ ผูร้ บั คือ


133 บริษัทจํากัดที่ตงั ้ ขึ้นตามกฎหมายไทย จะได้รบั ยกเว้นเงินปนั ผลที่นํามาคํานวณเป็ นรายได้ ครึง่ หนึ่ง หรือผูร้ บั คือ บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ได้รบั ยกเว้นทัง้ จํานวน หรือผูร้ บั เป็ นบริษทั จํากัดและผูจ้ า่ ยเป็ นบริษทั ในเครือ จะได้รบั ยกเว้นทัง้ จํานวน จากเงือ่ นไขข้างต้น ผูร้ บั เงินปนั ผลต้องถือหุน้ อย่างน้อย 3 เดือนก่อนและหลังวันทีไ่ ด้รบั เงินปนั ผล รายได้ ท่ีไ ด้ จ ากเงิน ป นั ผลหรือ ดอกเบี้ ย เงิน ให้กู้ ย ืม จากบริษั ท ที่เ สีย ภาษี ปิ โตรเลียมให้นํามาคํานวณเป็ นรายได้เพียงเท่าทีเ่ หลือหลังจากถูกหักภาษีหกั ณ ทีจ่ ่าย โดยจะ ถูกหักภาษีหกั ณ ทีจ่ า่ ย ร้อยละ 50 ของรายได้นนั ้ ๆ ตัวอย่างที่ 1 บริษทั รุง่ เรือง จํากัด ถือหุน้ บริษทั ทีจ่ า่ ยเงินปนั ผลตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม จนถึง 31 ธันวาคม 2553 ก็ยงั คงถือไว้ โดยวันที่ 1 เมษายน 2553 ได้รบั เงินปนั ผล จากบริษทั ดังนี้ - บริษทั หนึ่ง จํากัด จํานวน 60,000 บาท - บริษทั สอง จํากัด (เป็ นบริษทั ในเครือ) จํานวน 100,000 บาท - บริษทั สาม จํากัด (มหาชน) จํานวน 200,000 บาท การคํานวณ จากรายการข้างต้น รายได้เ งินป นั ผลที่รบั รู้ทางบัญชี เท่ากับ เงินป นั ผลรับ ทัง้ หมด 60,000+100,000+200,000 = 360,000 บาท ซึง่ ในทางภาษีเงินปนั ผลรับทีร่ บั รูเ้ ป็ น รายได้มเี พียง บริษทั หนึ่ง จํากัด จํานวน 30,000 บาท (ยกเว้นครึง่ หนึ่ง เนื่องจากผูร้ บั เป็ น บริษทั จํากัด) บริษทั สอง จํากัด (เป็ นบริษทั ในเครือ) (ยกเว้นทัง้ หมดผูร้ บั เป็ นบริษทั ในเครือ) บริษทั สาม จํากัด (มหาชน) จํานวน 100,000 บาท (ยกเว้นครึง่ หนึ่งเนื่องจาก ผูร้ บั เป็ นบริษทั จํากัด)


134 ซึง่ สามารถประหยัดภาษีได้ จากรายได้ทล่ี ดลงถึง 360,000-130,000 = 230,000 บาท ในกรณีน้ี หากบริษัทมีการวางแผนในการเลือกลงทุนกับบริษัทในเครือ ก็สามารถช่ว ย ประหยัดภาษีได้โดยเงินปนั ผลรับทีไ่ ด้รบั ยกเว้นทัง้ จํานวน ตัวอย่างที่ 2 บริษทั สองสหาย จํากัด (มหาชน) ถือหุน้ บริษทั ต่างๆมาเป็ นเวลา 2 ปี โดยเมื่อ สิน้ ปี 2552 ได้รบั เงินปนั ผลจากบริษทั ต่างๆ ดังนี้ - บริษทั ห้า จํากัด จํานวน 100,000 บาท - บริษทั หก จํากัด จํานวน 200,000 บาท และเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2553 บริษทั สองสหาย จํากัด (มหาชน) ได้ขาย หุน้ ของบริษทั ห้า จํากัด ทัง้ หมด การคํานวณ จากรายการข้างต้นเงินปนั ผลทีบ่ ริษทั สองสหาย จํากัด (มหาชน) นํ ามารวม คํานวณเป็ นรายได้คอื - บริษทั ห้า จํากัด จํานวน 100,000 บาท ไม่ได้รบั ยกเว้นเนื่องจากถือไว้ไม่ ครบ 3 เดือนหลังรับเงินปนั ผล - บริษทั หก จํากัด จํานวน 200,000 บาท (ได้รบั ยกเว้นทัง้ จํานวนเนื่องจาก ผูร้ บั เป็ นบริษทั มหาชน) จะเห็นได้ว่าหากกิจการจดทะเบียนเป็ นบริษทั มหาชนแล้ว สามารถได้รบั ยกเว้นเงิน ปนั ผลรับทัง้ จํานวนในการนํามาคํานวณภาษี


135 ตัวอย่างที่ 3 เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 บริษทั ศรีสมบูรณ์ จํากัด (มหาชน) ให้ บริษทั แหลมทองปิ โตรเลียม จํากัด (มหาชน) กู้เงินจํานวน 10 ล้านบาท อัตรา ดอกเบีย้ 6% ต่อปี จ่ายดอกเบีย้ ทุกๆสิน้ ปี ดอกเบีย้

= 10,000,000 * 6% *6/12 = 300,000 บาท

ภาษีหกั ณ ทีจ่ า่ ย = 300,000 * 50% = 150,000 บาท ดังนัน้ บริษทั ศรีสมบูรณ์ จํากัด (มหาชน) จึงนํ าดอกเบี้ยเงินกูม้ าร่วมคํานวณ เป็ นรายได้ 300,000 – 150,000 = 150,000 บาท สามารถประหยัดภาษีเนื่องจากมีรายได้ลดลง 150,000 บาท ซึง่ เมื่อพิจารณาในเรื่องของเงื่อนไขเกีย่ วกับรายได้ทป่ี ระกอบด้วยเงินปนั ผลรับและ ดอกเบีย้ จากเงินให้กยู้ มื แล้ว จะเห็นได้ว่าหากมีการวางแผนภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลจะสามารถช่วย ลดภาษีทต่ี อ้ งชําระได้ โดยสามารถสรุปได้ดงั นี้ - เลือกลงทุนหรือซื้อหุน้ ในบริษทั ทีม่ กี ารจ่ายเงินปนั ผล โดยซื้อหุน้ ไม่น้อยกว่าร้อย ละ 25 ของหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียง และไม่ให้บริษทั ทีซ่ อ้ื หุน้ ซือ้ หุน้ บริษทั ของเรา เพื่อจะได้รบั การ ยกเว้นในการนําเงินปนั ผลมารวมเป็ นรายได้ทงั ้ จํานวน - จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เพื่อจะได้รบั การยกเว้นในการนําเงินปนั ผลมารวม เป็ นรายได้ทงั ้ จํานวนทัง้ จํานวน - เลือกจัดตัง้ บริษทั ขึน้ ตามกฎหมายไทยเพื่อจะได้รบั การยกเว้นในการนําเงินปนั ผล มารวมเป็ นรายได้ครึง่ หนึ่ง - ให้บริษทั ทีต่ อ้ งเสียภาษีปิโตรเลียมกูย้ มื เงินเพือ่ ทีจ่ ะสามารถนําดอกเบีย้ รับหรือปนั เงินผลรับทีเ่ หลือหลังถูกหักภาษีหกั ณ ทีจ่ ่าย ร้อยละ 50 มาเป็ นรายได้ ทําให้รายได้ลดลงจาก เดิม


136 2. ค่าเสื่อมราคาจากการเช่าซื้อ เป็ นข้อกําหนดที่เ กี่ยวกับการรับรู้ค่าเสื่อมราคาของกิจการจากการเช่าซื้อที่ สามารถนําไปคํานวณเป็ นรายจ่ายทางด้านภาษีได้โดยมีประมวลรัษฎากรเป็ นข้อกําหนดเงือ่ นไข ต่างๆ ซึง่ รายการทีเ่ กีย่ วข้องกับการวางแผนภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลประกอบไปด้วย กรณีท่ที รัพย์สนิ ที่ได้มาจากการเช่าซื้อหรือโดยการซื้อเงินผ่อน ราคาทุนของ ทรัพย์สนิ นัน้ ให้ถือตามราคาที่ต้องชําระทัง้ หมด หรือราคาเงินสดรวมดอกเบี้ย และค่าเสื่อมที่ สามารถถือเป็ นรายจ่ายผ่อนชําระได้ไม่เกินจํานวนเงินทีจ่ า่ ยทัง้ ปี ตัวอย่าง 4 กิจการเช่าซือ้ เครือ่ งจักรขนาดใหญ่ เมือ่ วันที่ 1 มกราคม 2552 โดยเงือ่ นไขการผ่อน ชําระทัง้ หมด 72 งวด งวดละ 20,000 บาท การคํานวณ ราคาทุนของเครือ่ งจักร = 72 * 20,000 = 1,440,000 บาท ค่าเสือ่ มราคาเครือ่ งจักร = 1,440,000 * 20% = 288,000 บาท ค่าเสือ่ มราคาทีถ่ อื เป็ นรายจ่ายได้ทางภาษี = 20,000 * 12 = 240,000 บาทเท่านัน้ ผลต่างจึงต้องบวกกลับจากยอดกําไรสุทธิทางบัญชี = 288,000 – 240,000 = 48,000 บาท หากกิจการมีความสามารถในการผ่อนชําระต่องวดในราคาทีส่ งู ขึน้ จะทําให้ค่าเสื่อม ราคาในรอบระยะบัญชีนนั ้ ถือเป็ นรายจ่ายได้เต็มจํานวน จากตัวอย่างที่ 4 หากกิจการผ่อนชําระ 48 งวด งวดละ 30,000 บาท ราคาทุนของเครือ่ งจักร = 48 * 30,000 = 1,440,000 บาท ค่าเสือ่ มราคาเครือ่ งจักร = 1,440,000 * 20% = 288,000 บาท ค่าเสือ่ มราคาทีถ่ อื เป็ นรายจ่ายได้ทางภาษี = 30,000 * 12 = 360,000 บาท


137 จะเห็นได้วา่ เงินผ่อนชําระในรอบระยะบัญชี 2552 นัน้ สูงกว่าค่าเสื่อมราคาทีค่ าํ นวณ ได้ จึงถือค่าเสื่อมราคาทีค่ ํานวณได้เป็ นรายจ่ายได้ทงั ้ จํานวน ช่วยให้ลดภาษีทต่ี อ้ งชําระในรอบ ระยะบัญชีน้ีได้ 3. ค่าสนับสนุนการศึกษา กรณีรายจ่ายในการสนับสนุ นการศึกษาทีเ่ ป็ นสถานศึกษาทีก่ ระทรวงการศึกษา เห็นชอบสามารถนํ ามาคํานวณเป็ นรายจ่ายได้ 2 เท่าแต่ ไม่เ กิน 10%ของกําไรสุทธิก่ อนหัก รายจ่ายส่วนตัว การให้โดยเสน่ หาหรือการกุศล ยกเว้นรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะ ให้หกั ได้ ไม่เกินร้อยละ 2 ของกําไรสุทธิ และรายจ่ายเพื่อการศึกษากีฬา ให้หกั ได้อกี ไม่เกินร้อยละ 2 ของ กําไรสุทธิ ตัวอย่างที่ 5 บริษทั เจริญสุข จํากัด มีกําไรสุทธิทางบัญชีเมื่อสินปี จาํ นวน 500,000 บาทและ มีค่าใช้จ่ายในการสนับสนุ นการศึกษา 32,500 บาท ค่าใช้จ่ายเพื่อการกุศล สาธารณะ 10,125 บาท และค่าใช้จ่ายเพื่อการศึกษาหรือกีฬาจํานวน 7,000 บาท บริษทั เจริญสุข จํากัด มีทุนจดทะเบียน 6 ล้านบาท

กําไรทางบัญชี บวก ค่าใช้จา่ ยในการสนับสนุนการศึกษา 32,500 ค่าใช้จา่ ยเพือ่ การกุศลสาธารณะ 10,125 ค่าใช้จา่ ยเพือ่ การศึกษาหรือกีฬา 7,000 กําไรทางภาษีก่อนหักรายจ่ายเพือ่ การศึกษาหรือกีฬา 58,500 (1) หัก ค่าใช้จา่ ยในการสนับสนุนการศึกษา ค่าใช้จา่ ยเพือ่ การกุศลสาธารณะ 10,125 (2) ค่าใช้จา่ ยเพือ่ การศึกษาหรือกีฬา 10,125 (3) กําไรสุทธิเพือ่ นําไปคํานวณภาษี อัตราภาษีเงินได้นิจบิ ุคคล ภาษี เงิ นได้นิติบคุ คล

หน่ วย : บาท 535,375

49,625 585,000

78,750 506,250 30% 151,875


138 (1)

ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุ นการศึกษา (32,500*2) = 65,000 แต่ไม่เกิน 58,500 (585,000*10%) ส่วนทีเ่ หลือนําไปรวมกับรายจ่ายเพื่อการศึกษาหรือกีฬาได้ (65,00058,000)/2 = 3,250 (2)

ค่าใช้จ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะสามารถหักได้ไม่เกินรายการละ 2% ของกําไรสุทธิ หรือรายการละไม่เกิน 2/104 ของกําไรสุทธิ ดังนัน้ จํานวนทีส่ ามารถหักได้แต่ละ รายการต้องไม่เกิน (585,000-58,500)*2/104 = 10,125 บาท - ค่าใช้จ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะ จ่ายจริง 10,125 บาท ไม่เกินจํานวนที่ สามารถหักได้ - ค่าใช้จา่ ยเพือ่ การศึกษาหรือกีฬา จ่ายจริง 7,000+3,250 = 10,250 บาท เลือ กรายการที่จ่ า ยน้ อ ยกว่ า ก่ อ น ดัง นั น้ เลือ กค่ า ใช้จ่ า ยเพื่อ การกุ ศ ล สาธารณะ 10,125 บาท (3)

ค่าใช้จ่ายเพื่อการศึกษาหรือกีฬา หักได้ไม่เกินร้อยละ 2 สามารถหัดได้ (585,000-58,500-10,125)*2/102 = 10,125 จะเห็นได้ว่า ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุ นการศึกษา สามารถนํ าไปคํานวณเป็ น รายจ่ายได้มากกว่าทีจ่ ่ายชําระจริงจึงช่วยให้ลดยอดภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลให้น้อยลงได้ แต่จะเห็น ได้ว่าค่าใช้จ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะและค่าใช้จ่ายเพื่อการศึกษาหรือกีฬาจะสามารถนํ าไป คํานวณได้มากน้ อยเพียงใดขึ้นอยู่กบั กําไรทางภาษีก่อนหักรายจ่ายเพื่อการศึกษาหรือกีฬา ดังนัน้ หากมีกาํ ไรทางภาษีก่อนหักรายจ่ายเพือ่ การศึกษาหรือกีฬาน้อยก็นําค่าใช้จ่ายดังกล่าวไป คํานวณเป็ นรายจ่ายได้น้อยกว่าทีจ่ า่ ยจริง ทําให้ยอดรวมกําไรสูงขึน้ กว่าเดิมและเสียภาษีมากขึน้ กว่าเดิม หากกิจการมีการบริจาคสนับ สนุ นการศึกษาอยู่เ ป็ นประจํา ก็จะสามารถนํ า รายการดังกล่าวไปคํานวณเป็ นรายจ่ายได้มากและยังสามารถนํ าส่วนเกินจากการสนับสนุ น การศึกษาไปเพิม่ ให้กบั ค่าใช้จา่ ยเพือ่ การกุศลสาธารณะและการศึกษาหรือกีฬาให้เป็ นรายจ่ายได้ มากกว่ า ที่ชํา ระจริง อีก ด้ว ย แต่ อ ย่ า งไรก็ต าม ค่ า ใช้จ่า ยต่ า งๆที่ส ามารถนํ า ไปคํา นวณเป็ น รายจ่าย ต้องถูกต้องตามข้อกําหนดของประมวลรัษฎากร


139 4. ค่าเบีย้ ประกันชีวิต ประกันสุขภาพ ค่าใช้จ่ายที่เป็ นการชําระเบี้ยประกันชีวิต หรือประกันสุขภาพให้กบั เจ้าของ ธุรกิจกรรมการรวมถึงพนักงานในบริษทั สามารถนําไปคํานวณเป็ นค่าใช้จ่ายของบริษทั ได้ วิธนี ้ี จึงเป็ นอีกวิธหี นึ่งในการวางแผนภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ทําให้บริษทั เสียภาษีลดน้อยลงได้ ดัง ตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 6 บริษทั ก จํากัด และบริษทั ข จํากัด มีทุนจดทะเบียน 10 ล้านบาทและมีกําไร สุทธิทางบัญชี สิน้ ปี 25X2 ทัง้ สองบริษทั จํานวน 5 ล้านบาท โดยทีก่ รรมการ ของบริษทั ข จํากัดได้สมัครประกันชีวติ ไว้โดยมีเบี้ยประกันที่ต้องชําระในปี น้ี จํานวน 1 ล้านบาท ทัง้ สองบริษทั จะต้องเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลทัง้ สิน้ เท่ากับ การคํานวณ บริษทั ก จํากัด กําไรก่อนหักภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล เงินได้สทุ ธิเพือ่ เสียภาษี สรุป ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลทีต่ อ้ งชําระ 5,000,000 * 30% รวมเงินได้สทุ ธิหลังชําระภาษี บริษทั ข จํากัด กําไรก่อนหักภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล หัก ค่าใช้จา่ ยเบีย้ ประกันชีวติ เงินได้สทุ ธิเพือ่ เสียภาษี สรุป ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลทีต่ อ้ งชําระ 4,000,000 * 30% รวมเงินได้สทุ ธิหลังชําระภาษี

5,000,000 บาท 5,000,000 บาท 1,500,000 บาท 3,500,000 บาท

5,000,000 บาท 1,000,000 บาท 4,000,000 บาท 1,200,000 บาท 2,800,000 บาท

จากตัวอย่างข้างต้นนี้จะเห็นได้ว่าภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลทีต่ อ้ งชําระของบริษทั ก จํากัด และบริษทั ข จํากัด ต่างกัน 300,000 บาท (1,500,000 – 1,200,000 บาท) ซึง่ มาจากค่า


140 เบีย้ ประกันของกรรมการบริษทั ข จํากัด ทีส่ ามารถนําไปคํานวณเป็ นรายจ่ายของบริษทั ได้เต็ม จํานวนทีช่ ําระเบี้ยประกันชีวติ จึงช่วยให้บริษทั ข จํากัดมีภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลทีต่ ้องชําระในปี 25X2 น้อยกกว่า บริษทั ก จํากัด และยังเป็ นประโยชน์แก่บริษทั ข จํากัดอีกด้วยทีม่ กี ารประกัน ชีวติ กรรมการบริษทั เพื่อความมันคงของบริ ่ ษทั หากเกิดเหตุทไ่ี ม่คาดคิดกับกรรมการ บริษทั ก็ ยังสามารถดําเนินกิจการได้อย่างต่อเนื่อง 5. รายจ่ายที่เกี่ยวข้องกับคนพิ การ หากกิจการทีม่ ลี ูกจ้างตัง้ แต่ 200 คนขึน้ ไป และรับคนพิการเข้าทํางาน ในทุกๆ 200 คนต่อคนพิการ 1 คน หรือรับผูพ้ กิ ารทีม่ บี ตั รประจําตัวคนพิการตามกฎหมายว่าด้วยการ ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวติ คนพิการเข้าทํางาน รวมถึงรายจ่ายที่จดั อุปกรณ์อํานวยความ สะดวก โดยตรงแก่คนพิการ เช่น ลิฟท์ สุขา ทางเดิน เป็ นต้น หรือให้ผพู้ กิ ารการเข้าถึงและใช้ ประโยชน์ ได้ ในทางภาษีสามารถนํ ารายจ่ายส่วนนี้มาคํานวณเป็ นรายจ่ายได้ 2 เท่า ตาม พระราชบัญญัตกิ ารฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ.2534 และตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 499)ใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ที่ 10 มิถุนายน 2553 เป็ นต้นไป ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 7 วันที่ 1 ธันวาคม 2553 บริษทั ไทยช่วยไทย จํากัด (มหาชน) มีลูกจ้างจํานวน 1,100 คน โดยมีผพู้ กิ ารรวมอยูด่ ว้ ยจํานวน 6 คน (ไม่มบี ตั รประจําตัวคนพิการ) ซึง่ มีเงินเดือน เดือนละ 9,000 บาท เท่ากันทุกคน และบริษทั ได้สร้างห้องสุขาไว้ เฉพาะสําหรับผูพ้ กิ ารจํานวน 2 ห้อง โดยมีคา่ ใช้จา่ ยในการสร้างห้องสุขาห้องละ 20,000 บาท เมื่อสิน้ ปี 2553 บริษทั มีผลกําไรก่อนชําระภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล 1 ล้านบาท ค่าใช้จา่ ยทางภาษีทบ่ี ริษทั สามารถนําไปคํานวณภาษีได้ทงั ้ สิน คํานวณภาษี ที่ต้องชําระ กําไรสุทธิก่อนหักภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล ปรับปรุงค่าใช้จา่ ยทางภาษี หัก เงินเดือน (ผูพ้ กิ ารสามารถหักได้ 2 เท่า= 9,000* 5คน) รายจ่ายอํานวยความสะดวก (หักได้ 2 เท่า= 20,000*2) รวม กําไรสุทธิทต่ี อ้ งเสียภาษี ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลทีต่ อ้ งชําระ (915,000 * 30%)

= 1,000,000 บาท = = = = =

45,000 บาท 40,000 บาท 85,000 บาท 915,000 บาท 274,500 บาท


141 (เงินเดือนผูพ้ กิ ารสามารถนําไปคํานวณเป็ นรายจ่ายได้ 2 เท่า จํานวน 5 คนเนื่องจาก ลูกจ้างทุกๆ 200 คน ผูพ้ กิ าร 1 คน จะสามารถนําค่าจ้างนี้ไปคํานวณเป็ นรายจ่ายทาง ภาษีได้ 2 เท่า) จากตัวอย่างข้างต้นนี้จะเห็นได้ว่าบริษัท สามารถ นํ าค่าใช้จ่ายที่เกิดขึน้ กับผู้ พิการทีต่ รงตามข้อกําหนดพระราชบัญญัตกิ ารฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ.2534 ไปคํานวณ ได้ เพื่อช่วยในการประหยัดภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลทีต่ อ้ งชําระสําหรับปี 2553 ให้ลดลงได้ 25,500 บาท (300,000 – 274,500 บาท) ถ้าหากผูพ้ กิ ารคนใดคนหนึ่งมีบตั รประจําตัวคนพิการ ก็ สามารถนําเงินเดือนของผูพ้ กิ ารทัง้ 6 คนไปคํานวณเป็ นรายจ่ายทางภาษีได้ 2 เท่าทัง้ หมด 6. รายจ่ายที่เกี่ยวกับงานแสดงสิ นค้า ออกร้าน นิ ทรรศการ รายจ่า ยในส่ว นนี้ ร วมถึง รายจ่า ยในการเข้าร่ว มงานด้ว ย ทัง้ ในประเทศและ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ส า ม า ร ถ นํ า ไ ป คํ า น ว ณ เ ป็ น ร า ย จ่ า ย ท า ง ภ า ษี ไ ด้ 2 เ ท่ า ตั ้ ง แ ต่ วันที่ 14 ตุลาคม 2553 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 503) โดย บังคับใช้ตงั ้ แต่วนั ที่ 14 ตุลาคม 2553 เป็ นต้นไป ตัวอย่างที่ 8 เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2553 มีมหกรรมแสดงสินค้านานาชนิดโดยมีบริษทั สุข เสริม จํากัด เข้าร่วมการแสดงสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้า นาโน โดยเสียค่าสมัครใน การเข้าแสดงสินค้าจํานวน 100,000 บาท เมื่อสินปี 2553 บริษทั สุขเสริม จํากัด มีกาํ ไรสุทธิก่อนหักภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลทัง้ สิน้ จํานวน 1.5 ล้านบาท คํานวณภาษี เงิ นได้นิติบคุ คลที่ต้องชําระ กําไรสุทธิก่อนหักภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล หัก ค่าเข้าร่วมการแสดงสินค้า เงินได้สทุ ธิทต่ี อ้ งชําระภาษี ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล (1,400,000 * 30%)

1,500,000 100,000 1,400,000 420,000

บาท บาท บาท บาท

บริษทั สามารถประหยัดภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลได้จาํ นวน 30,000 บาท (450,000 – 420,000 บาท) เนื่องจากสามารถนําค่าสมัครเข้าร่วมการแสดงสินค้านานาชนิด ไปคํานวณ เป็ นรายจ่ายทางภาษีได้ถงึ 2 เท่า บริษทั จึงประหยัดภาษีทต่ี อ้ งชําระให้ลดลงได้ หากบริษทั มี


142 การวางแผนภาษีเ งินได้นิติบุ ค คล โดยไม่ลืมที่จะนํ าสิท ธิป ระโยชน์ ท่ีจะได้รบั จากรายจ่า ยที่ เกีย่ วกับการแสดงสินค้า ออกร้าน หรือนิทรรศการ ทีส่ ามารถนําไปคํานวณเป็ นรายจ่ายทางภาษี ได้ถงึ 2 เท่า บริษทั ก็จะสามารถประหยัดภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลทีต่ อ้ งชําระในรอบระยะเวลาบัญชี 2553 ได้ 7. รายจ่ายที่เกี่ยวกับการจัดอบรมสัมมนาภายในประเทศให้แก่พนักงาน รวมถึงค่าใช้จา่ ค่าห้องสัมมนา ค่าห้องพัก ค่าขนส่งหรือรายจ่ายอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง สามารถนําไปคํานวณเป็ นรายจ่ายทางภาษีได้ 2 เท่า เป็ นเวลา 2 รอบระยะเวลาบัญชี สําหรับ รอบระยะเวลาบัญชีทเ่ี ริม่ ในหรือหลัง วันที่ 1 มกราคม 2553 เป็ นต้นไป ตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 506) พ.ศ.2553 เริม่ บังคับใช้ตงั ้ แต่วนั ที่ 14 ตุลาคม 2553 เป็ นต้นไป ตัวอย่างที่ 9 เมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2553 บริษทั สุขสม จํากัด จัดอบรมสัมมนาระบบ สารสนเทศของกิจ การโดยมีพ นัก งานแต่ ล ะแผนกเข้า ร่ว มการอบรม โดยมี กําหนดการอบรมจํานวน 3 วัน ซึ่งมีค่าใช้จ่ายในการเช่าห้องสัมมนา วันละ 20,000 บาท มีค่าเอกสารในการอบรมจํานวนทัง้ สิน้ 10,000 บาท สิน้ ปี บริษทั มีกาํ ไรสุทธิก่อนหักภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลเท่ากับ 5 แสนบาท บริษทั มีภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลทีต่ อ้ งชําระเท่าไร คํานวณภาษี เงิ นได้นิติบคุ คลที่ต้องชําระ กําไรสุทธิก่อนหักภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล หัก ค่าห้องสัมมนา (20,000 * 3) เอกสารประกอบการอบรม รวมค่าใช้จา่ ย เงินได้สทุ ธิทต่ี อ้ งชําระภาษี ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล (430,000 * 30%)

500,000 60,000 10,000 70,000 430,000 129,000

บาท บาท บาท บาท บาท บาท

บริษทั สามารถประหยัดภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลได้ 21,000 บาท (150,000 – 129,000 บาท) ซึง่ มาจากทีก่ จิ การนํารายจ่ายทีเ่ กีย่ วข้องกับการอบรมสัมมนามาคํานวณเป็ นร่าย จ่ายทางภาษีได้ถงึ 2 เท่า


143 การวางแผนภาษีใ นเรื่อ งร่า ยจ่ า ยที่เ กี่ย วกับ การจัด สัม มนานี้ ค วรศึก ษาถึง รายจ่ายที่เกี่ยวข้องกับการจัดอบรมสัมมนาว่ารายจ่ายดังกล่าวนัน้ สามารถนํ าไปคํานวณเป็ น รายจ่ายทางภาษีได้ 2 เท่าหรือไม่ เพื่อป้องกันการคํานวณภาษีทผ่ี ดิ ทีจ่ ะส่งผลให้บริษทั อาจโดน เบี้ยปรับเงินเพิม่ จากการคํานวณภาษีท่ผี ดิ พลาดนี้ได้จึงควรศึกษารายจ่ายที่เกี่ยวข้องอย่าง ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ 8. ขาดทุนสะสมย้อนหลัง ไม่เกิ น 5 ปี กรณีบริษัทมีผลกําไร(ขาดทุน)ทางภาษีสะสมย้อนหลังไม่เกิน 5 ปี สามารถ นําไปร่วมในการคํานวณเป็ นรายจ่ายทางภาษีได้ดงั ตัวอย่างต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 10 บริษัท แสงทอง จํากัด มีผลกําไรทางบัญชีประจําปี 2553 จํานวน 300,000 บาท จากการตรวจสอบผลกําไร(ขาดทุน)ทางภาษียอ้ นหลัง มียอดดังนี้

ปี พ.ศ. 2547 2548 2549 2550 2551 2552

กําไร(ขาดทุน)ทางภาษี (บาท) (400,000) (250,000) (150,000) 50,000 100,000 150,000

ยอดสะสม เกิน 5 ปีใช้ไม่ได้ เริม่ (250,000) (400,000) (350,000) (250,000) (100,000)

บริษทั สามารถนํ ายอดสะสม ขาดทุนสุทธิทางภาษี 100,000 บาทไปเป็ น รายจ่ายได้ในปี 2553 โดยจะเหลือยอดกําไรสุทธิเพื่อนําไปคํานวณภาษี 300,000 – 100,000 = 200,000 บาท หากกิจการทราบรายละเอียดข้อกําหนดตามประมวลรัษฎากรข้อนี้ก็สามารถ ช่วยลดภาษีทต่ี อ้ งชําระในปี 2553 นี้ได้


144 9. การประมาณการรายได้ให้เหมาะสม ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลต้องคํานวณภาษีครึง่ หนึ่งจากประมาณการนัน้ และนํ าส่ง โดยยื่นแบบ ภ.ง.ด.51 ภายใน 2 เดือนนับจากวันสุดท้ายของรอบระยะเวลา 6 เดือนแรกของ รอบระยะเวลาบัญชี หากยืน่ แบบเกินกําหนดหรือประมาณการกําไรสุทธิขาดเกินร้อยละ 25 ของ กําไรสุทธิทเ่ี กิดขึน้ จริงในรอบระยะเวลาบัญชี จะต้องเสียเงินเพิม่ ร้อยละ 20 ของจํานวนเงินภาษี ทีต่ อ้ งชําระ ตัวอย่างที่ 11 บริษัท หลงลืม จํ า กัด ได้จ ัด ทํา การประมาณการกํ า ไรสุ ท ธิป ระจํ า ปี 2553 จํานวน 1,000,000 บาท และสิน้ ปีมกี าํ ไรสุทธิทเ่ี กิดขึน้ จริง 1,500,000 บาท การคํานวณ ภาษีทค่ี าํ นวณครึง่ ปี (ภ.ง.ด.51) = (1,000,000/2) * 30% = 150,000 บาท สิน้ ปี ภาษีทต่ี อ้ งจ่าย = 1,500,000 * 30% = 450,000 บาท ตรวจสอบความคลาดเคลื่อน = (1,500,000 – 1,000,000)*100 / 1,500,000 = 33.33% (เกิน 25 % เสียเงินเพิม่ ) ภาษีครึง่ ปีทต่ี อ้ งจ่ายจริง = 1,500,000 / 2 * 30 % = 225,000 บาท เงินเพิม่ ทีต่ อ้ งจ่าย = 225,000 – 150,000 * 20% = 15,000 บาท สรุปภาษี เงิ นได้นิติบคุ คลสิ้ นปี (ภ.ง.ด.50) ภาษีทต่ี อ้ งจ่ายทัง้ ปี หัก ภาษีทช่ี าํ ระแล้วครึง่ ปี คงเหลือ บวก เงินเพิม่ รวมภาษี ที่ต้องชําระ

บาท 450,000 150,000 300,000 15,000 315,000

หากกิจการมีการประมาณกําไรสุทธิได้อย่างใกล้เคียงก็ช่วยทําให้ไม่ตอ้ งเสียเงิน เพิม่ และเป็ นการฝึกการพยากรณ์รายได้ ค่าใช้จา่ ยในอนาคตให้แม่นยําขึน้ อีกด้วย


145 10. พระราชกฤษฎีกา พ.ศ. 2554 (ฉบับที่ 530) เงินได้นิติบุคคลสําหรับกําไรสุท ธิของบริษัท หรือห้างหุ้นส่ว นนิ ติบุ คคล เป็ น ระยะเวลา 3 รอบระยะเวลาบัญชี - สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีท่เี ริม่ ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2555 เพียงหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชี จากอัตรา 30% เหลือ 23% และ รอบ ระยะเวลาบัญชีทเ่ี ริม่ ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 เป็ นต้นไปอีก สองรอบระยะเวลาบัญชี เหลือ 20% สําหรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมได้มกี ารปรับปรุงลดอัตราภาษีและ ยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลสําหรับกําไรสุทธิของบริษทั หรือห้างหุน้ ส่วนนิตบิ ุคคลทีต่ งั ้ ขึน้ ตาม กฎหมายไทย ซึง่ มีทุนจดทะเบียนชําระแล้วในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้าน บาท ทีเ่ ดิมได้รบั ยกเว้นภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลสําหรับกําไรสุทธิในส่วนทีไ่ ม่เกิน 150,000 บาทแรก และจัดเก็บภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลในอัตรา 15% ของกําไรสุทธิในส่วนทีเ่ กิน 150,000 บาทแต่ไม่ เกิน 1 ล้านบาท สําหรับกําไรสุทธิในส่วนทีเ่ กิน 1 ล้านบาท แต่ไม่เกิน 3 ล้านบาท ให้เสียภาษี เงินได้นิตบิ ุคคลในอัตรา 25% และสําหรับกําไรสุทธิในส่วนทีเ่ กินกว่า 3 ล้านบาท ให้เสียภาษี เงินได้นิติบุคคลในอัตรา 30% โดยได้มกี ารปรับลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลดังกล่าว ให้ สอดคล้องกับการลดอัตราภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลข้างต้น คือ - สําหรับกําไรสุทธิในส่วนทีไ่ ม่เกิน 1 ล้านบาท ยังคงยกเว้นและลดอัตรา เหมือนเช่นเดิม แต่สาํ หรับกําไรสุทธิในส่วนทีเ่ กินกว่า 1 ล้านบาทนัน้ ลงเหลือ 23% สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีท่เี ริม่ ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2555 เพียงหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชี และลดลงเหลือ 20% สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีท่เี ริม่ ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2556 เป็ นต้นไปอีกสองรอบระยะเวลาบัญชี ตัวอย่างที่ 12 ในปี 2555 บริษทั รูด้ ี จํากัดและบริษทั เหม่อลอย จํากัด มียอดกําไรสุทธิทต่ี อ้ ง เสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลทัง้ 2 บริษทั เท่ากับ 1 ล้านบาท โดยบริษทั รูด้ ี จํากัด ได้ทราบและศึกษาประกาศพระราชกฤษฎีกา ประจําปี 2554 เมือ่ ถึงกําหนดการ ชําระภาษี บริษทั ทัง้ สองต้องชําระภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลทัง้ สิน้ เท่ากับ


146 การคํานวณ บริ ษทั รู้ดี จํากัด ยอดภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลทีต่ อ้ งชําระ

= =

1,000,000 บาท * 23% 230,000 บาท

= =

1,000,000 บาท * 30% 300,000 บาท

บริ ษทั เหมื่อลอย จํากัด ยอดภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลทีต่ อ้ งชําระ

จากพระราชกฤษฎีกา ฉบับประจําปี 2554 นี้หากท่านทราบถึงสิทธิประโยชน์ท่ี ได้รบั ในการนํ าอัตราภาษีไปคํานวณภาษีเงินได้นิติบุคคลอย่างถูกต้อง ครบถ้วนแล้ว จะเป็ น ประโยชน์ แก่บริษัทอย่างมากเนื่องจากจะเห็นได้ชดั ว่าอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลที่มกี ารปรับ ลดลงในระยะเวลา 3 รอบระยะเวลาบัญชีขา้ งต้นนี้ ลดลงอย่างมาก หากบริษทั มีการวางแผนภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลจากประกาศ พระราชกฤษฎีกา ฉบับประจําปี 2554 นี้อย่างถูกต้องตามประมวลรัษฎากรแล้ว บริษทั ก็จะสามารถประหยัดภาษี เงินได้นิติบุคคลนี้ได้รวมถึงได้รบั สิทธิประโยชน์ ในการใช้อตั ราภาษีท่ลี ดลงอย่างถูกต้อง ดัง ตัวอย่างทีแ่ สดงให้เห็นอย่างชัดเจนหากบริษทั ทัง้ สองมีกําไรสุทธิก่อนเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล เท่ากับ แต่ยอดภาษีทต่ี อ้ งชําระของทัง้ สอง ต่างกันถึง 70,000 บาท (300,000 – 230,000 บาท) การวางแผนภาษีเ งินได้นิติบุ ค คล ควรมีก ารเรีย นรู้ข้อกํา หนด กฎเกณฑ์ต่ า งๆของ ประมวลรัษฎากร อย่างถูกต้อง ครบถ้วน เพื่อจะได้เห็นถึงสิทธิหรือประโยชน์ จากข้อกําหนด ต่างๆ ที่สามารถนํ าไปประยุกต์ใช้กบั กิจการหรือบริษทั ของตนเองให้เกิดประโยชน์ยงิ่ ขึน้ หรือ ช่วยลดภาระภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลทีต่ อ้ งชําระ และยังเป็ นการลดข้อผิดพลาดในการคํานวณภาษี รวมถึง ทราบระยะเวลาในการชํา ระภาษี ซึ่ง จะช่ว ยให้กิจ การไม่ต้อ งเสีย เงิน เพิ่ม ที่เ กิด จาก ข้อผิดพลาดดังกล่าวและกิจการยังได้รบั ประโยชน์สงู สุดอีกด้วย


147 การวางแผนภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ ภาษีธุรกิจเฉพาะ (Specific Business TAX : SBT) จัดเป็ นภาษีทางอ้อมทีเ่ รียกเก็บจาก ฐานการบริโภค โดยเน้ นที่กิจการบางประเภทที่มลี กั ษณะเฉพาะ และไม่อยู่ในข่ายที่ต้องเสีย ภาษีมลู ค่าเพิม่ ได้แก่ ธนาคารพาณิชย์ หรือทีม่ กี ฎหมายเฉพาะ การประกอบธุรกิจเงินทุน ธุรกิจ หลัก ทรัพ ย์ และธุ ร กิ จ เครดิต ฟองซิเ อร์ บริษัท ประกัน ชีวิ ต โรงรับ จํ า นํ า ธุ ร กิจ เกี่ย วกับ อสังหาริมทรัพย์ รวมถึงการประกอบกิจการโดยปกติเยีย่ งธนาคารพาณิชย์ เช่น การให้กยู้ มื เงิน การคํ้าประกัน แลกเปลี่ยนเงินตรา เป็ นต้น ซึ่งภาษีธุรกิจเฉพาะ เป็ นภาษีท่รี ฐั บาลสามารถ จัดเก็บได้เป็ นอันดับที่ 4 (กรมสรรพากร, 2553: 100) ของภาษีทร่ี ฐั บาลจัดเก็บทัง้ หมด และถูก จัดเป็ นรายการค่าใช้จ่ายในงบการเงิน โดยคํานวณการเสียภาษีจากฐานรายรับก่อนหักรายจ่าย ตามอัตราทีก่ ฎหมายกําหนด และต้องชําระพร้อมกับภาษีทอ้ งถิน่ อีกร้อยละ 10 ของภาษีธุรกิจ เฉพาะ ผูท้ ม่ี หี น้าทีเ่ สียภาษีธุรกิจเฉพาะ ได้แก่ ผูท้ ป่ี ระกอบกิจการดังทีก่ ล่าวไว้ขา้ งต้น ไม่ว่าผู้ ประกอบกิจการจะประกอบกิจการในรูปแบบของบุคคลธรรมดา คณะบุคคลทีม่ ชิ นิ ิตบิ ุคคล กอง มรดก ห้างหุน้ ส่วนสามัญ กองทุน หน่ วยงานหรือกิจการของเอกชนทีก่ ระทําโดยบุคคลธรรมดา ตัง้ แต่สองคนขึน้ ไปอันมิใช่นิตบิ ุคคล และองค์การของรัฐบาล สหกรณ์ และองค์กรอื่นทีก่ ฎหมาย กําหนดให้เป็ นนิตบิ ุคคล ในการวางแผนภาษีธุรกิจเฉพาะนัน้ ผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีจะต้องพิจารณาก่อนว่า รายได้ ประเภทนัน้ ๆ อยู่ในข่ายที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิม่ หรือภาษีธุรกิจเฉพาะ ถ้าต้องเสียภาษีธุรกิจ เฉพาะ ให้พจิ ารณาฐานภาษี อัตราภาษี วิธกี ารเสียภาษี และหน้าทีอ่ ่นื ทีเ่ กีย่ วข้อง และพิจารณา ช่องโหว่และสิทธิประโยชน์ทางภาษีทเ่ี กีย่ วข้องกับภาษีธุรกิจเฉพาะ โดยการวางแผนภาษีธุรกิจ เฉพาะสามารถแบ่งได้ ดังนี้ 1. ข้อยกเว้นในการขายอสังหาริ มทรัพย์ ในกรณีทผ่ี ขู้ ายเป็ นบุคคลธรรมดา ทําการขายอสังหาริมทรัพย์ประเภททีอ่ ยู่ อาศัย โดยปกติจะต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะในอัตราร้อยละ 3.3 แต่หากผูข้ ายได้ทําการขาย อสังหาริมทรัพย์โดยเป็ นไปตามข้อยกเว้นของกรมสรรพากร ก็จะช่วยให้ผขู้ ายเสียภาษีได้ถูกลง ข้อยกเว้นดังกล่าว ได้แก่ การขายอสังหาริมทรัพย์หลังจากได้ถอื ครองเกิน 5 ปี ไปแล้ว นับตัง้ แต่ วันทีไ่ ด้กรรมสิทธิ ์มา โดยทีผ่ ขู้ ายต้องไม่มชี ่อื อยูใ่ นทะเบียนบ้าน หรือขายอสังหาริมทรัพย์ โดยที่


148 ผูข้ ายต้องมีช่อื อยูใ่ นทะเบียนบ้านมาไม่น้อยกว่า 1 ปี ซึง่ การนับระยะเวลานัน้ ใช้การนับแบบวัน ชนวัน ตัวอย่างที่ 1 นายเอก ซือ้ บ้านพักอาศัยราคา 2,000,000 บาท และได้โอนกรรมสิทธิ ์เป็ นของ ตัวเองเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2545 ต่อมาได้ขายให้นายดี ในราคา 4,000,000 บาท โดยโอนกรรมสิทธิ ์ให้เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2549 ซึง่ ราคาประเมินของกรม ทีด่ นิ ในขณะนัน้ เท่ากับ 3,500,000 บาท ทัง้ นี้ นายเอก มิได้มชี ่อื ในทะเบียน บ้านดังกล่าวแต่อย่างใด การคํานวณ ดั ง นั ้น ในการขายดั ง กล่ า วแสดงให้ เ ห็ น ว่ า นายเอก ได้ ถื อ ครอง อสังหาริมทรัพย์ดงั กล่าวเป็ นระยะเวลาเท่ากับ 4 ปี 6 วัน ซึง่ ถือครองไม่เกิน 5 ปี หากนายเอก ทําการขายอสังหาริมทรัพย์ให้แก่นายดีกจ็ ะต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะจํานวน 132,000 บาท

ราคาขาย คูณ อัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ จํานวนภาษีธุรกิจเฉพาะทีต่ อ้ งเสีย

บาท 4,000,000 3.3% 132,000

แต่ถา้ นายเอกทําการยืดเวลาการขายออกไปอีก 1 ปี จะทําให้นายเอกไม่ ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ เนื่องจากเข้าเงื่อนไขข้อยกเว้นของกรมสรรพากร แต่ตอ้ งเสียภาษี อากรแสตมป์แทนในอัตรา 1 บาทต่อวงเงิน 200 บาท หรือเศษของ 200 บาท หรือในอัตราร้อย ละ 0.50 บาท โดยให้ใช้ราคาประเมินของกรมทีด่ นิ มาคิดคํานวณ จํานวน 17,500 บาท บาท 3,500,000 ราคาประเมินของกรมทีด่ นิ 0.50% หาร อัตราภาษีอากรแสตมป์ 17,500 จํานวนภาษีอากรแสตมป์ทต่ี อ้ งเสีย จากตัวอย่างข้างต้นแสดงให้เห็นว่า การขายอสังหาริมทรัพย์โดยเป็ นไปตาม ข้อยกเว้นของกรมสรรพากรจะช่วยทําให้ผขู้ ายเสียภาษีน้อยลง ซึง่ หมายถึงช่วยให้ประหยัดภาษี ทีต่ อ้ งจ่ายได้จาํ นวน 114,500 บาท


149 จํานวนภาษีธุรกิจเฉพาะ หัก จํานวนภาษีอากรแสตมป์ ประหยัดภาษีได้จาํ นวน

บาท 132,000 (17,500) 114,500

2. ข้อยกเว้นในการกู้ยืมเงิ นระหว่างบริ ษทั ในเครือเดียวกัน โดยปกติการกู้ยมื เงินระหว่างบริษัทในเครือเดียวกัน บริษัทที่ได้รบั ดอกเบี้ย จะต้องนํ าดอกเบี้ยดังกล่าวนัน้ ไปเสียภาษีธุรกิจเฉพาะในอัตราร้อยละ 3.3 แต่ถ้าการกู้ยมื ดังกล่าวมีความสัมพันธ์ในลักษณะทีบ่ ริษทั ใดบริษทั หนึ่งเข้าไปเป็ นหุน้ ส่วนในอีกบริษทั หนึ่งซึ่ง ต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมด โดยต้องมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 6 เดือน ดอกเบีย้ รับทีเ่ กิดขึน้ ไม่ตอ้ งนําเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ แต่ยงั คงต้องนําไปรวมเป็ นรายได้ของ บริษทั เพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลต่อไป ในกรณีน้ีไม่นับรวมบริษทั ที่ประกอบธุรกิจธนาคาร กิจการเงินทุน ธุรกิจหลักทรัพย์ และกิจการรับประกันชีวติ ตัวอย่างที่ 2 บริษทั พายุ จํากัด บริษทั ดิน จํากัด และบริษทั นํ้า จํากัด ทําธุรกิจผลิตรองเท้า นักเรียน รองเท้าแตะ และรองเท้ากีฬา จําหน่ายในประเทศตามลําดับ ซึง่ บริษทั ทัง้ 3 เป็ นบริษทั ในเครือเดียวกัน โดยบริษทั ดิน จํากัด และบริษทั นํ้า จํากัด มี บริษทั พายุ จํากัด เข้าไปถือหุน้ คิดเป็ นร้อยละ 20 และร้อยละ 50 ของจํานวน หุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียง ในปีน้ีเกิดภาวะนํ้าท่วม ทําให้บริษทั ดิน จํากัด และบริษทั นํ้า จํากัด ประสบปญั หาขาดสภาพคล่อง ทัง้ 2 บริษทั จึงต้องการกูย้ มื เงินจาก บริษทั พายุ จํากัด บริษทั ละ 10,000,000 บาท แต่บริษทั พายุ จํากัด มีเงิน เพียงพอทีจ่ ะให้ยมื ได้แค่บริษทั เดียวเท่านัน้ ดังนัน้ บริษทั พายุ จํากัด ควรจะให้ เงินกูย้ มื กับบริษทั ใด โดยคิดอัตราดอกเบีย้ 7% การคํานวณ จากตัวอย่าง หากบริษทั ดิน จํากัด และบริษทั นํ้ า จํากัด กู้ยมื เงิน บริษทั ทัง้ สองจะต้องจ่ายดอกเบีย้ รับให้แก่บริษทั พายุ จํากัด จํานวน 700,000 บาท


150 บาท 10,000,000 7% 700,000

จํานวนเงินกูย้ มื คูณ อัตราดอกเบีย้ เงินกูย้ มื จํานวนดอกเบีย้ รับทีไ่ ด้รบั

ซึ่งหากให้บริษทั ดิน จํากัด กู้ยมื เงิน ดอกเบี้ยรับจํานวน 700,000 บาท ที่ บริษทั พายุ จํากัด ได้รบั นัน้ จะต้องนํ าไปเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ แม้ว่าการกู้ยมื ดังกล่าวจะเป็ น การกู้ยมื ในเครือ แต่การเข้าไปเป็ นหุน้ ส่วนนัน้ ไม่ถงึ ตามที่กรมสรรพากรได้กําหนดไว้ และ นอกจากนี้บริษทั พายุ จํากัด ยังจะต้องนําดอกเบีย้ รับจํานวนนี้ไปรวมเป็ นรายได้ของบริษทั เพื่อ ใช้คํานวณภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลอีกครัง้ ด้วยเช่นกัน ซึง่ จํานวนภาษีธุรกิจเฉพาะทีต่ ้องจ่าย คือ 330,000 บาท

จํานวนดอกเบีย้ รับจากการให้กยู้ มื คูณ อัตราภาษีธุรกิจเฉพาะ จํานวนภาษีธุรกิจเฉพาะทีต่ อ้ งเสีย

บาท 10,000,000 3.3% 330,000

แต่หากให้บริษทั นํ้ า จํากัด กู้ยมื เงิน บริษทั พายุ จํากัด จะได้รบั ดอกเบี้ย จากบริษทั นํ้า จํากัด จํานวน 700,000 บาท บริษทั พายุ จํากัด ไม่ตอ้ งนําดอกเบีย้ ไปเสียภาษี ธุรกิจเฉพาะแต่อย่างใด เพราะเข้าเงื่อนไขข้อยเว้นของกรมสรรพากร เพียงแต่นําไปรวมเป็ น รายได้เพือ่ ใช้คาํ นวณภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลเท่านัน้ สมมติ งบกําไรขาดทุนของบริษทั มีรายละเอียด ดังนี้ ชื่อบริ ษทั ที่ก้ยู ืมเงิ น รายได้ ดอกเบีย้ รับจากการกูย้ มื รวมรายได้ ค่าใช้จา่ ยในการขาย ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร ค่าภาษี ธรุ กิ จเฉพาะ รวมค่าใช้จา่ ย

บริ ษทั ดิ น จํากัด บาท 7,000,000 700,000 7,700,000 1,500,000 2,500,000 330,000 4,330,000

บริ ษทั นํ้า จํากัด บาท 7,000,000 700,000 7,700,000 1,500,000 2,500,000 4,000,000


151 กําไรก่อนภาษีและต้นทุน ทางการเงิน ภาษี เงิ นได้ 30% กําไรสุทธิ

3,370,000

3,700,000

1,011,000 2,359,000

1,110,000 2,590,000

จากตัวอย่างหากให้บริษทั ดิน จํากัดกูยมื เงิน บริษทั พายุ จํากัด จะต้อง เสียภาษีทงั ้ ภาษีธุรกิจเฉพาะและภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลรวมกันเป็ นจํานวน 1,341,000 บาท

จํานวนภาษีธุรกิจเฉพาะ บวก จํานวนภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล รวมจํานวนภาษีทต่ี อ้ งเสียทัง้ สิน้

บาท 330,000 1,011,000 1,341,000

และถ้าให้บริษทั นํ้ า จํากัด กูย้ มื เงิน บริษทั พายุ จํากัด จะเสียภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลอย่างเดียว ซึง่ มีจาํ นวน 1,110,000 บาท แสดงให้เห็นเห็นว่า หากให้บริษทั นํ้า จํากัด กูย้ มื เงิน บริษทั พายุ จํากัด จะประหยัดภาษีได้จาํ นวน 231,000 บาท

จํานวนภาษีทต่ี อ้ งเสียหากให้บ.ดิน กูย้ มื เงิน หัก จํานวนภาษีทต่ี อ้ งเสียหากให้ บ.นํ้า กูย้ มื เงิน ประหยัดภาษีได้จาํ นวน

บาท 1,341,000

(1,110,000) 231,000

จากตัวอย่างแสดงให้เห็นว่า หากบริษทั ให้เงินกู้ยมื แก่บริษทั ทีเ่ ข้าเป็ นหุน้ ส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 จะทําให้บริษทั เสียภาษีเพียงครัง้ เดียว ซึง่ ช่วยให้บริษทั ประหยัดภาษีลง ได้ การวางแผนภาษีธุรกิจเฉพาะ เป็ นการกําหนดแนวทางการปฏิบตั ิ โดยมีจุดมุ่งหมายให้ การเสียภาษีธุรกิจเฉพาะและการปฏิบตั ิการเกี่ยวกับภาษีธุรกิจเฉพาะขององค์กรเป็ นไปโดย ถูกต้อง และครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงื่อนไขที่กฎหมายภาษีธุรกิจเฉพาะกําหนด และเป็ นผลให้จาํ นวนภาษีธุรกิจเฉพาะทีต่ อ้ งเสียเป็ นจํานวนน้อยทีส่ ุดหรือประหยัดทีส่ ุด รวมทัง้


152 ใช้สทิ ธิประโยชน์ ทางภาษีธุรกิจเฉพาะสูงสุด ทัง้ นี้ โดยไม่อาศัยการทุจริตหลีกเลี่ยงภาษีธุรกิจ เฉพาะ การวางแผนภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ผูม้ หี น้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิม่ คือ ผูป้ ระกอบการที่ขายสินค้าหรือให้บริการในทางธุรกิจ หรือวิชาชีพเป็ นปกติธุระ ผูน้ ําเข้า และผูท้ ก่ี ฎหมายกําหนดให้มหี น้าทีเ่ สียภาษีมลู ค่าเพิม่ เป็ น กรณีพเิ ศษ ซึงประเภทของเงินได้ทต่ี อ้ งเสียภาษีมลู ค่าเพิม่ นัน้ คือ มูลค่าทัง้ หมดทีผ่ ปู้ ระกอบการ ได้รบั หรือพึงได้รบั จากการขายสินค้าหรือบริการ รวมทัง้ ภาษีสรรพสามิตถ้ามี ภาษีมลู ค่าเพิม่ ยัง เป็ นภาษีทจ่ี ดั เก็บได้เป็ นอันดับที่ 1 ของกรมสรรพากร ประกอบไปด้วยภาษีการนํ าเข้าและ ภาษีมลู ค่าเพิม่ จากการบริโภค การวางแผนภาษีมลู ค่าเพิม่ เป็ นการวางแผนเพื่อทําให้ได้ขอ้ มูลทีถ่ ูกต้องครบถ้วนในการ ลงบัญชี และหากสามารถปฏิบตั ติ ามกฎหมายได้อย่างถูกต้องจะทําให้ช่วยลดต้นทุนของกิจการ ลงได้ ไม่ตอ้ งเสีย่ งทีจ่ ะต้องเสียเบีย้ ปรับ เงินเพิม่ โดยมีการวางแผนได้ดงั นี้ 1. การจดทะเบียนภาษี มลู ค่าเพิ่ ม ผูป้ ระกอบการทีม่ รี ายได้เกิน 1.8 ล้านบาทจะต้องไปจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ ถ้าหากรายได้ถงึ เกณฑ์แล้วแต่ยงั ไม่ได้จดทะเบียนเข้าสูร่ ะบบ กิจการจะต้องเสียเบีย้ ปรับและเงิน เพิม่ โดยจะผลักภาระนี้ให้กบั บุคคลอื่นไม่ได้ ยิง่ ไปกว่านัน้ ค่าใช้จ่ายเหล่านี้ถอื เป็ นค่าใช้จ่าย ต้องห้ามทางภาษีอากร จึงนําไปใช้ในการคํานวณกําไร/ขาดทุนไม่ได้ ตัวอย่างที่ 1 เมื่อ 1 เมษายน 2554 (เริม่ มีรายได้ตงั ้ แต่ 1 มกราคม 2554) บริษทั ดอกหญ้า จํากัด มีรายได้ 2,300,000 ล้านบาท แต่ยงั ไม่ได้ดาํ เนินการเข้าสูร่ ะบบภายใน 30 วัน ความผิดและภาระทีเ่ กิดขึน้ คือ ต้องนํารายได้สว่ นทีเ่ กิน 1.8 ล้านบาท ตัง้ แต่วนั ที่ 1-30 เมษายน 54 มาคํานวณภาษี เบีย้ ปรับและเงินเพิม่ โดยถ้า รายได้สว่ นเกินคือ 500,000 บาท จะคํานวณภาษีได้ดงั นี้ วิ ธีคาํ นวณ ภาษีทต่ี อ้ งชําระ ภาษีขาย 500,000 x 7% หัก ภาษีซอ้ื 0 x 7%

= ภาษีขาย – ภาษีซอ้ื = 35,000 บาท = 0 บาท


153 ภาษีทต่ี อ้ งชําระ เบีย้ ปรับ 2 เท่า (35,000 x 2) เงินเพิม่ 1.5% ต่อเดือน (35,000 x1.5%) รวม

= = = =

35,000 70,000 525 105,525

บาท บาท บาท บาท

และเมือ่ ปิดบัญชี ค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดขึน้ 105,525 บาท นัน้ ต้องทําการบวกกลับ ซึง่ จะทําให้กาํ ไรเพิม่ ขึน้ ต้องเสียภาษีเพิม่ ขึน้ (105,525 x 30%) = 31,657.50 บาท รวมภาษี ที่ต้องชําระทัง้ สิ้ น (105,525 + 31,657.50) คือ 137,182.50 บาท แต่หากมีการจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ อย่างถูกต้อง และได้จ่ายเงินออกไป เพือ่ เป็ นการผลิตสินค้าจํานวน 900,000 บาท วิ ธีคาํ นวณ ภาษีทต่ี อ้ งชําระ = ภาษีขาย – ภาษีซอ้ื = 161,000 ภาษีขาย 2,300,000 x 7% 900,000 x 7% = 63,000 หัก ภาษีซอ้ื = 98,000 ภาษีทต่ี อ้ งชําระ

บาท บาท บาท

จากตั ว อย่ า งเห็ น ได้ ว่ า หากมี ก ารวางแผนภาษี แ ละทํ า การจดทะเบี ย น ภาษีมลู ค่าเพิม่ แล้วจะทําให้กจิ การมีภาษีทต่ี อ้ งชําระทีล่ ดลง คือ จาก 137,182.50 บาท ลดลง เหลือ 98,000 บาท ซึง่ ลดลงถึง 39,182.50 บาท นอกจากจะเป็ นการประหยัดภาษีแล้ว ยัง สามารถลดภาระค่าใช้จา่ ยของกิจการได้อกี ด้วย 2. การหลีกเลี่ยงภาษี ซื้อต้องห้าม ซึง่ เป็ นภาษีทไ่ี ม่สามารถนํามาเครดิตภาษีขายได้ แต่ให้ถอื เป็ นค่าใช้จ่ายในการ คํานวณกําไรสุทธิได้ ซึง่ ได้แก่ ภาษีซอ้ื ซึง่ ออกโดยผูไ้ ม่มสี ทิ ธิออก ภาษีซอ้ื ค่ารับรอง ภาษีทเ่ี กิด จากการซือ้ เช่า เช่าซือ้ หรือรับโอนรถยนต์นงหรื ั ่ อรถยนต์โดยสารทีม่ ที น่ี งไม่ ั ่ เกิน 10 คน ภาษีซอ้ื ตามใบกํากับภาษีอย่างย่อ ฯลฯ


154 ตัวอย่างที่ 2 บริษัท ดอกไม้ไ ทย จํา กัด จดทะเบีย นภาษีมูล ค่ า เพิ่ม ประกอบธุ ร กิจ ผลิต ดอกไม้ประดิษฐ์จาํ หน่าย ได้ขายดอกไม้ประดิษฐ์ได้จาํ นวน 2,000,000 บาท ซึง่ ในเดือนเดียวกันนี้บริษัทได้จ่ายค่าอุปกรณ์ 500,000 บาท จ่ายค่าวัสดุต่างๆ เช่น กล่องบรรจุ กระดาษพลาสติก ผ้าและริบบิ้น และอุปกรณ์เสริมอื่นๆ รวม เป็ นเงิน 400,000 บาท (เป็ นธุรกิจจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ ) ให้คํานวณว่า บริษทั จะต้องเสียภาษีมลู ค่าเพิม่ เท่าใด วิ ธีคาํ นวณ ภาษีทต่ี อ้ งชําระ ภาษีขาย หัก ภาษีซอ้ื ภาษีทต่ี อ้ งชําระ

2,000,000 x 7% 900,000 x 7%

= = = =

ภาษีขาย – ภาษีซอ้ื 140,000 บาท 63,000 บาท 77,000 บาท

แต่หากมีการทําการซื้อวัสดุและอุปกรณ์กบั ผูป้ ระกอบการที่ไม่มสี ทิ ธิออก ใบกํากับภาษีจะเห็นข้อแตกต่างดังนี้

วิ ธีคาํ นวณ ภาษีทต่ี อ้ งชําระ ภาษีขาย 2,000,000 x 7% หัก ภาษีซอ้ื ภาษีทต่ี อ้ งชําระ

= ภาษีขาย – ภาษีซอ้ื = 140,000 บาท = 0 บาท = 140,000 บาท

จะเห็นความแตกต่างของการทําธุรกิจกับกิจการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ และไม่ได้จดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ นัน่ คือ ทําธุรกิจกับกิจการทีไ่ ม่ได้จดภาษีมลู ค่าเพิม่ มีภาษี ทีต่ อ้ งชําระ 140,000 บาท แต่หากทําธุรกิจกับกิจการทีจ่ ดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ มีภาษีทต่ี อ้ ง ชําระ 77,000 บาท ซึง่ ทําให้ภาษีทต่ี อ้ งชําระลดลง 63,000 บาท ซึง่ เป็ นผลมาจากการวางแผน ภาษีมลู ค่าเพิม่ ทําให้เสียภาษีน้อยลง


155 3. การขายสิ นค้าที่มีการส่งเสริ มการขาย กิจการสามารถนํ าภาษีซอ้ื ของสินค้าทีซ่ อ้ื มาเพื่อแจกหรือแถมมาเครดิตภาษีได้ และไม่ต้องนํ ามารวมเป็ นมูลค่าของฐานภาษี หากมูลค่าของแถม แจก หรือให้เป็ นรางวัลนัน้ มี มูลค่าไม่เกินมูลค่าของสินค้าทีข่ าย ตัวอย่างที่ 2 บริษัท ช่ า งยนต์ จํ า กัด เป็ น กิจ การจํ า หน่ า ยรถจัก รยานยนต์ จดทะเบีย น ภาษีมลู ค่าเพิม่ จําหน่ายสินค้าให้กบั บริษทั จํากัด จํานวน 4 คัน คันละ 45,000 บาท ทางบริษทั ฯ มีของแถมเป็ นหมวกกันน็อค มูลค่าใบละ 250 บาท (ยังไม่ รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ ) จํานวน 4 ใบ ให้กบั ลูกค้า จากตัวอย่างข้างต้น บริษทั ช่างยนต์ จํากัด ซือ้ ของแถม คือ หมวกกันน็อค ซึง่ มีมลู ค่าน้อยกว่าจักรยานยนต์ ดังนัน้ หมวกกันน็อคจึงไม่มภี าษีขายและไม่นํามารวมเป็ นมูลค่า ของฐานภาษี ดังนัน้ กิจการต้องเสียภาษีมลู ค่าเพิม่ เท่ากับ วิ ธีคาํ นวณ ภาษีทต่ี อ้ งชําระ ภาษีขาย 180,000 x 7% 1,000 x 7% หัก ภาษีซอ้ื ภาษีทต่ี อ้ งชําระ

= ภาษีขาย – ภาษีซอ้ื = 12,600 บาท = 70 บาท = 12,530 บาท

แต่ ห ากมูล ค่า ของแจก แถม หรือให้เ ป็ น รางวัล มีร าคามากกว่ าสิน ค้า ที่ จําหน่าย เช่น จับฉลากชิงโชคทองคํามูลค่า 50,000 บาท จะต้องนํามูลค่าของรางวัลทีจ่ ่ายนัน้ ไป รวมเป็ นมูลค่าของฐานภาษีดว้ ย ดังนัน้ กิจการต้องเสียภาษีมลู ค่าเพิม่ เท่ากับ วิ ธีคาํ นวณ ภาษีทต่ี อ้ งชําระ ภาษีขาย 230,000 x 7% หัก ภาษีซอ้ื 50,000 x 7% ภาษีทต่ี อ้ งชําระ

= ภาษีขาย – ภาษีซอ้ื = 16,100 บาท = 3,500 บาท = 12,600 บาท


156 จะเห็นได้ว่า ในการทีจ่ ะเลือกทําการส่งเสริมการขายด้วยวิธกี ารใดๆ ควรมี การคิดทบทวน ไตร่ตรองให้ถ่ีถ้วน ว่าวิธกี ารใดจะช่วยให้กิจการประหยัดภาษีมากที่สุด จาก ตัวอย่างการคํานวณข้างต้น ควรเลือกใช้วธิ กี ารส่งเสริมการขายแบบมูลค่าของแจกหรือแถม ไม่ เกินมูลค่าของสินค้าทีจ่ าํ หน่าย เพราะจะทําให้เสียภาษีมลู ค่าเพิม่ น้อยกว่าวิธกี ารส่งเสริมการขาย แบบมูลค่าของแจกหรือแถมเกินมูลค่าของสินค้าทีจ่ าํ หน่าย ดังนัน้ การวางแผนภาษีมลู ค่าเพิม่ เป็ นการประหยัดภาษีวธิ หี นึ่ง ทีส่ ามารถ ช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายให้กบั กิจการและขจัดปญั หาในการเสียภาษี เช่น เบีย้ ปรับ เงินเพิม่ และ ค่าปรับทางอาญา ส่งผลให้กจิ การมีกาํ ไรมากขึน้ และเป็ นการเสริมสร้างระบบควบคุมภายในให้มี ประสิทธิภาพได้


บทที่ 4 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา การศึก ษาหลัก เกณฑ์ เงื่อ นไขและสิท ธิป ระโยชน์ ท่ีไ ด้ร บั รวมถึง หลัก เกณฑ์ใ นการ วางแผนภาษีของผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีทท่ี าํ ให้เกิดประสิทธิภาพมากทีส่ ุดและเหมาะสมกับลักษณะ ภาษีต่างๆ โดยการศึกษานี้สามารถแบ่งลักษณะการวางแผนภาษีออกเป็ น 4 ลักษณะ ได้แก่ การวางแผนภาษีบุคคลธรรมดา การวางแผนภาษีนิตบิ ุคคล การวางแผนภาษีธุรกิจเฉพาะ และ การวางแผนภาษีมลู ค่าเพิม่ พบว่า การวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ผูม้ เี งินได้ควรเตรียมการเพื่อเสียภาษีให้ถูกต้อง เพื่อจะได้ใช้สทิ ธิประโยชน์ทางภาษีต่างๆ ทีก่ ฎหมายกําหนดไว้ไปใช้ลดหย่อนภาษีเงินได้ และ บรรเทาภาระภาษีให้น้อยลง ซึง่ จากการศึกษาการวางแผนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สามารถทํา ได้หลายวิธี เช่น การเลือกคํานวณค่าใช้จา่ ยแบบเหมา หรือตามความจําเป็ นและตามสมควร นัน้ คือการเลือกว่าจะคํานวณค่าใช้จ่ายในรูปแบบใดระหว่างการหักค่าใช้จ่ายแบบเหมา กับตาม ความจําเป็ นและสมควร ซึ่งการเลือกหักค่าใช้จ่ายในรูปแบบเหมานัน้ จะช่วยประหยัดภาษีได้ มากกว่า เนื่องจากในบางครัง้ ผูเ้ สียภาษีอาจมีค่าใช้จ่ายทีเ่ กิดขึน้ จริงน้อยกว่าถ้าเทียบกับการหัก ค่าใช้จา่ ยแบบเหมา ผูเ้ สียภาษีกส็ ามารถเลือกหักค่าใช้จา่ ยเป็ นแบบเหมาได้ การแยกหน่วยภาษี เงินได้บุคคลธรรมดา จะเห็นได้ว่าผู้มภี าษีเงินได้แต่ละประเภทนัน้ มีความสามารถในการหัก ลดหย่อนทีต่ ่างกัน ถ้าผูม้ เี งินได้แยกหน่ วยภาษีออกเป็ นหลายๆหน่ วย เช่น การจัดตัง้ เป็ นคณะ บุคคลทีม่ ใิ ช่นิตบิ ุคคล ซึง่ มีเกณฑ์การหักลดหย่อนทีม่ ากกว่าการหักลดหย่อนของบุคคลธรรมดา ก็จะทําให้ผเู้ สียภาษีสามารถประหยัดภาษีลงได้ สิทธิในการยื่นชําระภาษีของสามีภริยา การจด ทะเบียนสมรสกันเต็มปี ภาษีนนั ้ กรมสรรพากรจะถือเป็ นหน่ วยภาษีเดียวกัน เงินได้ของภริยาจะ ถือเป็ นเงินได้ของสามี ซึง่ จะเป็ นการเพิม่ ฐานภาษีให้กว้างขึน้ แต่ถา้ สามีภริยาต่างฝา่ ยต่างมีเงิน ได้พงึ ประเมินตามมาตราที่ 40(1) สามีภริยาทีท่ าํ การแยกยืน่ จะได้รบั ประโยชน์ทางภาษีมากกว่า เพราะสามารถหักค่าใช้จา่ ยและค่าลดหย่อนได้มากขึน้ ดังนัน้ หากสามีภริยาต่างฝา่ ยต่างมีเงินได้ หลักเป็ นเงินเดือน การแยกยื่นจะทําให้ได้รบั ประโยชน์ทางภาษีมากกว่า การลดหย่อนภาษี การ


158

หักค่าลดหย่อนภาษีตามกฎหมายนัน้ เป็ นสิง่ ทีผ่ มู้ หี น้าทีเ่ สียภาษีควรมีการวางแผนและนํามาใช้ ประโยชน์ให้สูงสุดได้ เพราะจะเป็ นตัวช่วยสําคัญทีจ่ ะทําให้ผมู้ หี น้าทีเ่ สียภาษีสามารถประหยัด เงินได้เป็ นจํานวนมาก ตัวอย่างเช่น การลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลีย้ งชีพ (RMF) กองทุน หุน้ ระยะยาว (LTF) ทีส่ ามารถนําเงินลงทุนไปหักลดหย่อนภาษีได้สงู ถึงร้อยละ 15 ของเงินได้ อัตราทีต่ ่ําสําหรับเงินได้บางประเภท มีเงินได้หลายประเภททีจ่ ะช่วยให้ผเู้ สียภาษีได้ชาํ ระเงินใน อัตราทีต่ ่าํ ลงได้ เช่น กรณีการเครดิตเงินปนั ผลทีถ่ ูกหักภาษี ณ ทีจ่ ่ายไว้ ผูเ้ สียภาษีกม็ สี ทิ ธิเลือก ทีจ่ ะนําเงินปนั ผลนัน้ มารวมคํานวณเพื่อเสียภาษีสน้ิ ปี หรือไม่กไ็ ด้ ซึง่ หากเลือกทีจ่ ะนําเงินปนั ผล นัน้ มารวมคํานวณเพื่อเสียภาษีเงินได้สน้ิ ปี ก็จะได้รบั เครดิตภาษีเงินปนั ผล ซึง่ ก็จะช่วยประหยัด ภาษีได้มากกว่าการไม่นํามาคํานวณ การวางแผนภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลนัน้ มีรายละเอียดค่อนข้างมากรวมถึง จึงต้องใช้เวลาใน การทํา ความเข้า ใจเกี่ย วกับ หลัก เกณฑ์แ ละเงื่อ นไขต่ า งๆ ที่กิจ การสามารถนํ า ไปใช้ใ ห้เ กิด ประโยชน์ อย่างสูงสุด และสิทธิประโยชน์ท่ไี ด้รบั ยังมีลกั ษณะทีแ่ ตกต่างกันออกไปตามรูปแบบ การดําเนินงานหรือลักษณะธุรกิจอีกด้วย โดยการวางแผนภาษีเงินได้นิติบุคคลนี้มรี ายการที่ สามารถนํ าไปใช้ในการคํานวณภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลของกิจการและก่อให้เกิดการประหยัดภาษี ได้ ดังนี้ รายได้เงินปนั ผล ค่าเสื่อมราคาจากการเช่าซื้อ ค่าสนับสนุ นการศึกษา ค่าเบี้ยประกัน ชีวติ หรือสุขภาพ รายจ่ายทีเ่ กี่ยวข้องกับคนพิการ รายจ่ายทีเ่ กี่ยวกับงานแสดงสินค้า ออกงาน หรือนิทรรศการ รายจ่ายทีเ่ กีย่ วกับการจัดอบรมสัมมนาให้แก่ลูกค้า ยอดขาดทุนสะสมย้อนหลัง การประมาณการรายได้ และประกาศพระราชกฤษฎีกา พ.ศ. 2554 (ฉบับที่ 530) จากประเด็น ต่างๆ ที่สามารถช่วยในการประหยัดภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลให้ภาระภาษีในรอบระยะเวลาบัญชี นัน้ ๆ ลดลงได้แล้วซึง่ สามารถทําความเข้าใจได้จากตัวอย่างประกอบของแต่ละรายการ การวางแผนภาษีธุ รกิจเฉพาะ จะสามารถทําได้ใ นกรณีท่ีบุคคลธรรมดาทําการขาย อสังหาริมทรัพย์ทางการค้าหรือมุ่งกําไร โดยการวางแผนการขายอสังหาริมทรัพย์ก่อนการขาย ให้สอดคล้องกับข้อยกเว้นของกรมสรรพากร คือ การขายภายหลังจากการได้โอนกรรมสิทธิ ์ มาแล้ว 5 ปี ขน้ึ ไป หรือมีช่อื อยูใ่ นทะเบียนบ้านเกิน 1 ปี ซึง่ จะทําให้ไม่ตอ้ งเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ แต่ยงั คงต้องเสียภาษีอากรแสตมป์อยู่ เมื่อเปรียบเทียบจํานวนภาษีทต่ี อ้ งเสียแล้วจะมีจํานวนที่ น้อยกว่า และในอีกกรณี คือ การให้บริษทั ในเครือกู้ยมื เงิน โดยต้องเข้าไปเป็ นหุน้ ส่วนไม่น้อย กว่าร้อยละ 25 ของหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียง ดอกเบีย้ รับทีเ่ กิดจากการให้กูย้ มื เงินจะไม่ตอ้ งนํ าไป เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ แต่ยงั คงต้องนําไปรวมคํานวณเป็ นรายได้เพื่อเสียภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลอยู่


159

ซึ่งจะเป็ นการเสียภาษีเพียงครัง้ เดียว คือ เสียเฉพาะภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลและไม่ต้องเสียภาษี ธุรกิจเฉพาะ ทําให้จาํ นวนภาษีทต่ี อ้ งจ่ายนัน้ น้อยลง สําหรับในกรณีอ่นื นัน้ ไม่สามารถลดการเสีย ภาษีได้ เนื่องจากรายได้ท่กี ําหนดให้นํามาเสียภาษีธุรกิจเฉพาะนัน้ เป็ นรายได้หลักที่เกิดจาก การดําเนินงานตามปกติของกิจการอยูแ่ ล้ว เช่น ดอกเบีย้ รับ ค่าธรรมเนียม เป็ นต้น การวางแผนภาษีมลู ค่าเพิม่ ช่วยทําให้ลดภาระในการเสียภาษีได้ ซึง่ สามารถทําได้โดย การจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิม่ ผูป้ ระกอบการจะต้องทําการประเมินรายได้ของตน ว่าในแต่ละปี กิจการจะมีรายได้เท่าไร และเมื่อประเมินแล้วพบว่ากิจการมีรายได้เกิน 1.8 ล้านบาท จะต้องไป จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ หากรายได้ถงึ เกณฑ์แล้วแต่ยงั ไม่ได้ไปจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ กิจการจะต้องเสียเบี้ยปรับและเงินเพิม่ ซึ่งค่าใช้จ่ายเหล่านี้ถือเป็ นรายจ่ายต้องห้ามทางภาษี อากร จึงนํ าไปคํานวณผลกําไรขาดทุนไม่ได้ นัน่ หมายความว่ากิจการจะมีกําไรเพิม่ ขึน้ เป็ นผล ให้ตอ้ งชําระภาษีเพิม่ มากขึน้ ด้วย การหลีกเลีย่ งภาษีซอ้ื ต้องห้าม ผูป้ ระกอบการอาจต้องพบกับ ค่าใช้จ่ายบางอย่างทีไ่ ม่สามารถนํามาเครดิตภาษีได้ เรียกว่า ภาษีซอ้ื ต้องห้าม ซึง่ เป็ นภาษีทไ่ี ม่ สามารถนํามาเครดิตภาษีขายได้ และไม่สามารถนํามาเป็ นค่าใช้จ่ายในการคํานวณกําไรสุทธิได้ เช่น ภาษีซ้อื ซึ่งออกโดยผูไ้ ม่มสี ทิ ธิออก ก็คอื ผูป้ ระกอบการทีไ่ ม่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ ออกใบกํ า กับ ภาษี ใ ห้ หรือ ใบกํ า กับ ภาษีท่ีมีข้อ ความไม่ ค รบถ้ว นในส่ว นที่เ ป็ น สาระสํา คัญ ค่าใช้จ่ายเหล่านี้จะส่งผลให้กจิ การไม่สามารถนํ าภาษีซ้อื ที่เกิดจากการซื้อสินค้ามาเครดิตภาษี ขายได้ ทํา ให้มีภาษีท่ีต้องชําระมากขึ้น และการขายสินค้าที่มีการส่งเสริมการขาย ในการ จําหน่ ายสินค้าที่มขี องแจก แถม หรือให้รางวัล ธุรกิจที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิม่ สามารถนํ า มูลค่าภาษีซ้อื มาเครดิตภาษีขายได้ โดยไม่ต้องนํ ามูลค่าของแถมนัน้ มารวมเป็ นมูลค่าของฐาน ภาษี หากมูลค่าของแถม แจก หรือให้เป็ นรางวัลนัน้ มีมลู ค่าไม่เกินมูลค่าของสินค้าทีข่ าย แต่หาก มูลค่าของแจก แถม หรือให้เป็ นรางวัล มีราคามากกว่าสินค้าทีจ่ ําหน่าย จะต้องนํามูลค่าของนัน้ มารวมเป็ นมูลค่าของฐานภาษีดว้ ย ซึง่ ถ้าหากกิจการต้องการทีจ่ ะลดภาระภาษีกค็ วรจะเลือกของ แถมทีม่ มี ลู ค่าน้อยกว่าสินค้าทีจ่ าํ หน่ายจะทําให้ประหยัดภาษีได้


160

ข้อเสนอแนะ เหตุผลทีก่ จิ การหรือผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีมกี ารวางแผนภาษีนนั ้ วัตถุประสงค์หลักคือ เพื่อ ต้องการสิทธิประโยชน์ทต่ี นเองจะได้รบั หรือการประหยัดภาระภาษีทต่ี นต้องชําระให้ลดน้อยลง แต่ ส ิ่ง ที่สํ า คัญ อีก ประการหนึ่ ง ที่ค วรคํ า นึ ง คือ ทํ า การศึก ษาและหมัน่ ติ ด ตามการเปลี่ย น หลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขในการคํานวณภาษีของรายการต่างๆที่มผี ลต่อสิทธิประโยชน์ท่ตี นจะ ได้รบั อย่างถูกต้องตามประมวลรัษฎากร เพื่อป้องกันมิให้การวางแผนภาษีโดยมีวตั ถุประสงค์ เพือ่ ศึกษาหลักเกณฑ์และเงือ่ นไขต่างๆ รวมถึงการคํานวณและชําระภาษีอย่างถูกต้อง ครบถ้วน กลายเป็ นกาหนีภาษี ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อตัวของกินการหรือผูม้ หี น้าทีเ่ สียภาษีโดยตรง อาจทํา ให้มคี ่าใช้จ่ายทีเ่ ป็ นภาระในอนาคตหรือเบีย้ ปรับเงินเพิม่ ทีก่ รมสรรพากรเรียกเก็บเนื่องจากการ ชําระภาษีขาดได้


161 บรรณานุกรม สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์. 2541. ภาษี เงิ นได้หกั ณ ที่จ่าย หักอย่างไรให้ถกู ต้องและครบถ้วน. พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สุขมุ และบุตร. สมเดช โรจน์คุรเี สถียร และคณะ. 2548. กลยุทธ์การวางแผนภาษี มลู ค่าเพิ่ มทัง้ ระบบ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมนิติ เพรส. สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์. 2541. การวางแผนภาษี อากร. กรุงเทพมหานคร: สุขมุ และบุตร.6 สุเทพ พงษ์พทิ กั ษ์. 2548. สัมมนาเรื่อง รู้ลึก รู้ทนั สารพันปัญหาภาษี มลู ค่าเพิ่ ม, 4 พฤศจิ กายน 2548. กรุงเทพมหานคร. นิพนั ธ์ เห็นโชคชัยชนะ. 2554. การบัญชีภาษี อากร. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพมหานคร: พีที เอ็น เพรส.



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.