การควบคุมภายใน ตามมาตรฐานคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน กรณีศึกษา กองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โดย
นางสาวธนพร นางสาวภัสร์ศศิร์ นางสาวสมฤทัย นางสาวสุพัตรา นางสาวเอริน
อินทร์พรหม สียันต์ ทัศสาราญ จันทน์บุปผา จุล พันธ์
ปัญหาพิเศษนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2554
ปัญหาพิเศษ ของ นางสาวธนพร นางสาวภัสร์ศศิร์ นางสาวสมฤทัย นางสาวสุพัตรา นางสาวเอริน
อินทร์พรหม สียันต์ ทัศสาราญ จันทน์บุปผา จุลพันธ์
เรื่อง การควบคุมภายใน ตามมาตรฐานคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน กรณีศึกษา กองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ได้รับการตรวจสอบและอนุมัติ ให้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลัก สูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชีบริหาร เมื่อ วันที่ 31 มกราคม 2555 อาจารย์ที่ปรึกษาปัญหาพิเศษ (อาจารย์พีรญา พงษ์ปรสุวรรณ์, บธ.ม. ) ผู้ประสานงานสาขาวิชา (ผู้ช่วยศาสตราจารย์พัชนิจ เนาวพันธ์, บธ.ม.)
การควบคุมภายใน ตามมาตรฐานคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน กรณีศึกษา กองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ Internal Control by The Standard of The Committee of The Auditor General of Thailand Case study: Treasury, Land Development Department, Ministry of Agriculture and Cooperatives
โดย นางสาวธนพร นางสาวภัสร์ศศิร์ นางสาวสมฤทัย นางสาวสุพัตรา นางสาวเอริน
อินทร์พรหม สียันต์ ทัศสาราญ จันทน์บุปผา จุลพันธ์
51205656 51205714 51206167 51206217 51206373
ปัญหาพิเศษฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลั กสู ตรบริหารธุ รกิ จบั ณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2554
(1)
บทคัดย่อ ธนพร อินทร์พรหม และคณะ 2554: การควบคุมภายใน ตามมาตรฐานคณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดิน กรณีศึกษา กองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิ ต สาขาวิชาการบัญชีบริหาร อาจารย์ที่ปรึกษาวิชาปัญหาพิเศษ: อาจารย์พีรญา พงษ์ปรสุวรรณ์, บธ.บ, บช.ม 150 หน้า การควบคุมภายใน ช่วยให้การดาเนินงานมี ประสิ ทธิ ภ าพ ประสิ ทธิ ผ ล ช่ วยป้ อ งกั น ความ เสี่ยงจากการผิดพลาดและจากการทุจริต คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน จึ ง ได้ ก าหนดมาตรฐานการ ควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ให้ทุกหน่วยงานของภาครัฐจัดวางระบบการควบคุ มภายใน ตามมาตรฐาน คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน เพื่อให้เกิดความน่าเชื่อถือในรายงานทางการเงิ น และเพื่ อให้ การปฏิ บัติ ของหน่วยงานต่างๆ ให้เป็นไปในทิศทางเดี ยวกันมี ระเบี ยบ ข้อบังคับที่ชัดเจน เป็นลายลักษณ์อั กษร ผลการศึกษาพบว่า กองคลัง มี ก ารควบคุ มภายในตามมาตรฐานคณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่นดิน ทั้ง 5 องค์ประกอบ คือ ด้านสภาพแวดล้อมการควบคุม มีการจั ดโครงสร้ า งและสายงานการ บังคับบัญชาที่ชัดเจนและเหมาะสม มีการจั ดทาเอกสารคาบรรยายลั ก ษณะงาน ด้ า นการประเมิ น ความเสี่ยง ผู้บริหารมีส่วนร่วมในการระบุและประเมิ น ความเสี่ ย ง มี ก ารรายงานผลการปฏิ บัติง าน ความเสี่ยงส่วนใหญ่ คือ ความเสี่ยงด้ า นการเงิ น และบั ญ ชี แต่ ส ามารถจั ดการความเสี่ ย งให้ อ ยู่ ใ น ระดับที่ยอมรับได้ ด้านกิจกรรมการควบคุ ม มี ก ารก าหนดขอบเขตอ านาจหน้ า ที่ แ ละวงเงิ น อนุ มัติ ของผู้บริหารแต่ละระดับไว้อย่างชัดเจนและเป็นลายลักษณ์อักษร ด้านสารสนเทศและการสื่ อ สาร มี การนาระบบ GFMIS มาใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่ อ ให้ เ กิ ดความสะดวก รวดเร็ ว ให้ เ ป็ น มาตรฐาน เดียวกัน และด้านสุดท้ายคือ ด้านการติดตามประเมินผล มีการตั้งคณะกรรมการติดตามงานอยู่เสมอ ผลจากการศึ ก ษาพ บว่ า กองคลั ง กรมพั ฒ นาที่ ดิน กระ ทรวงเกษตรและ สหกรณ์ มี โครงสร้างการควบคุ มภายใน ครบทั้ ง 5 องค์ ประกอบ ซึ่ ง มี ก ารควบคุ มภายในที่ เ พี ย งพอและมี ประสิทธิภาพตามมาตรฐานการควบคุ มภายในของคณะกรรมการการตรวจเงินแผ่นดิน ___________________ ธนพร อินทร์พรหม
_____________________ พีรญา พงษ์ปรสุวรรณ์
___/___/___
(2)
กิตติกรรมประกาศ การศึกษาปัญหาพิเศษ เรื่ อ ง การควบคุ มภายใน ตามมาตรฐานคณะกรรมก ารตรวจเงิ น แผ่นดิน กรณีศึกษา กองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในครั้ ง นี้ ส าเร็ จลงได้ ด้วยความกรุณาและการอนุเคราะห์ช่วยเหลือจากบุ คคลหลายฝ่ า ย ผู้ มีพ ระคุ ณ ท่ า นแรกคื อ อาจารย์ พีรญา พงษ์ปรสุวรรณ์ ที่กรุณาให้คาปรึกษาและชี้แนะแนวทาง รวมไปถึ ง แก้ ไ ขข้ อ บกพร่ อ งปั ญ หา พิเศษฉบับนี้มาโดยตลอด คณะผู้ศึกษาขอกราบขอบพระคุ ณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้ศึกษาขอกราบขอบพระคุณ คณาจารย์ ส าขาการบั ญ ชี บริ ห าร คณะวิ ทยาการจั ดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา ทุกท่านที่ได้ประสิทธิ์ประสาทวิ ช าแขนงต่ า งๆ ให้ คณะ ผู้ศึกษาได้เรียนรู้และประสบความสาเร็จในที่ สุด คณะผู้ศึกษาขอกราบขอบพระคุณ ผู้บริหารและผู้ ปฏิ บัติง านของหน่ วยงานกองคลั ง กรม พัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่ให้ความอนุเคราะห์ และให้ ความร่ วมมื อ เป็ น อย่ า งดี ใ น การให้สัมภาษณ์ ตลอดจนให้การสนับสนุนการศึกษาในครั้งนี้เป็นอย่างดี ยิ่ง คณะผู้ศึกษาขอกราบขอบพระคุณ คุณบิดา คุณมารดา และขอบคุ ณ เพื่ อ นๆทุ ก ท่ า นที่ ใ ห้ ก าร สนับสนุน ช่วยเหลือ และเป็นกาลังใจให้แก่คณะผู้ศึกษามาโดยตลอด คุณประโยชน์อันพึงมีของปัญหาพิเศษฉบับนี้ คณะผู้ศึกษาขอมอบสั ก การะแด่ พ ระคุ ณ ของ คุณบิดา คุณมารดา และญาติพี่น้อง ซึ่งเป็นกาลังใจให้กับคณะผู้ ศึ ก ษาเสมอ พร้ อ มทั้ ง เชิ ดชู พ ระคุ ณ บูรพาจารย์ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ที่ได้ประสิทธิ์ประสาทวิชาแขนงต่างๆ ให้ คณะผู้ ศึ ก ษา จนทาให้ ปัญหาพิเศษครั้งนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ ด้วยดี คณะผู้ศึกษา มกราค ม 2555
(3)
สารบัญ หน้า
บทคัดย่อ
(1)
กิตติกรรมประกาศ
(2)
สารบัญ
(3)
สารบัญตาราง
(5)
สารบัญภาพ
(6)
บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ วัตถุประสงค์ของการศึกษา วิธีการศึกษา ขอบเขตการศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ นิยามศัพท์ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี ผลการศึกษาวิจัย และสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายใน ทฤษฎีการควบคุมภายในตามแนวคิ ด COSO มาตรฐานการควบคุ มภายในที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน กาหนด งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1 1 3 3 4 4 5 7 7 15 28 51
(4)
สารบัญ (ต่อ) เรื่อง
หน้า
บทที่ 3 กรณีศึกษา ประวัติความเป็นมาของกองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โครงสร้างองค์กร ขั้นตอนการปฏิบัติงานของกองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
57 57 59 64
บทที่ 4 ผลการศึกษา การควบคุมภายในของกองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
138 138
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา ข้อเสนอแนะ
144 144 146
บรรณานุกรม
147
ภาคผนวก ภาคผนวก ก ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ภาคผนวก ข รายงานการควบคุมภายในของกองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
(5)
สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 2-1
โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงในระดั บต่างๆ
35
2-2
ผลกระทบของความเสี่ยงต่อองค์กร
35
3-1
การจัดเก็บและการเข้าถึงเอกสาร-กระบวนการเบิ ก-จ่ายเงิน
91
3-2
การจัดเก็บและการเข้าถึงเอกสาร-วิธี จัดซื้อ จัดจ้าง
110
3-3
การจัดเก็บและการเข้าถึงเอกสาร-ยานพาหนะ
121
(6)
สารบัญภาพ หน้า ภาพที่ 2-1
ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบการควบคุ มภายใน
29
2-2
การกาหนดวัตถุประสงค์ขององค์กร
33
2-3
ความสัมพันธ์ระหว่างโอกาสที่จะเกิ ดความเสี่ยง และผลกระทบของความเสี่ ยง
36
3-1
โครงสร้างองค์กร
59
3-2
กระบวนการบริหารทั่วไป
71
3-3
กระบวนการงบประมาณ
73
3-4
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน-กระบวนการงบประมาณ
75
3-5
กระบวนการเบิก – จ่ายเงิน
80
3-6
แผนผังกระบวนการจัดซื้อจั ดจ้าง
93
3-7
กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
94
3-8
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง
107
3-9
กระบวนการยานพาหนะ
114
(7)
สารบัญภาพ (ต่อ) หน้า ภาพที่ 3-10
การดูแลรักษายานพาหนะ
115
3-11
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
123
3-12
แผนผังกระบวนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ฐานข้อมูล)
124
3-13
แผนผังกระบวนการบารุงรักษาระบบคอมพิ วเตอร์และเครื อข่า ยสารสนเทศ
125
3-14
แผนผังกระบวนการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้ านสารสนเทศ
126
3-15
แผนผังกระบวนการรักษาความเสี่ยงด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ
127
3-16
การจัดเก็บเอกสาร-เทคโนโลยี สารสนเทศ
128
3-17
ผังกระบวนการทางานของกฎหมายและระเบี ยบ
131
3-18
การจัดเก็บเอกสาร-กฎหมายและระเบียบ
137
1
บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ หน่วยงานภาครัฐ ถือเป็นองค์กรหลักที่ทาหน้าที่รับผิ ดชอบในการบริ ห าร พั ฒ นาประเทศ อี ก ทั้งดูแลคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชน เป็นองค์กรที่มีผ ลกระทบต่ อ ประช าชนโดยตรง และมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาประเทศไปสู่ความเจริญก้าวหน้า ดังนั้น จึ ง จาเป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ ห น่ วยงาน ของภาครัฐจะต้องมีการบริหารจัดการที่รัดกุม และมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการปฏิ รู ประบบราชการใน ปัจจุบันที่ได้มีการกาหนดระเบียบกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวกับการควบคุ มภายใน ซึ่ ง เป็ น เครื่ อ งมื อ ทางด้ า นการ จัดการเข้ามาช่วยในการบริหารงานและเป็นกลไกพื้นฐานสาคัญของกระบวนการก ากั บดู แ ลการดาเนิ น กิจกรรมต่างๆ ในหน่วยงาน เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการป้องกันและรักษาทรัพย์สินของหน่ วยงาน อี ก ทั้ ง ยังช่วยให้การปฏิบัติงานในขั้นตอนต่างๆ เป็นไปอย่างถูก ต้ อ ง มี ประสิ ทธิ ภ าพและบรรลุ วัตถุ ประสงค์ ที่ตั้งไว้ ถือเป็นเครื่องมือที่มีความสาคัญเป็นอย่างมาก เนื่ อ งจากในปั จจุ บัน หน่ วยงานต่ า งๆ เต็ มไปด้ วย การแข่งขันไม่ว่าจะเป็นของภาครัฐหรือเอกชนก็ตาม หากหน่วยงาน ภาครั ฐ หรื อ เอกชน ไม่ มีร ะบบการ ควบคุมภายในที่เหมาะสม โอกาสเสี่ยงที่อาจเกิดความผิดพลาดในการปฏิบัติง านของหน่ วยงานจะมี มาก ดั ง จะเห็ น ได้ จากสถานการณ์ ต่า งๆ ที่ เ กิ ดขึ้ น มี ห ลายกิ จการไม่ ว่า จะ เป็ น สถาบั น การเ งิ น สถาน ประกอบการ และธุรกิจต่างๆ หรือแม้แต่รัฐวิสาหกิจบางแห่งที่เกิ ดการรั่ วไหล หรื อ เกิ ดวิ ก ฤตการณ์ ทาง การเงิน ซึ่งรวมถึงการล้มละลายของกิ จการ ดั ง นั้ น หน่ วยงานต่ า งๆ ทั้ ง ภาครั ฐ และเอกชนจึ ง นิ ย มน า ระบบการควบคุมภายในเข้ามาใช้บริหารงานภายในหน่ วยงาน แต่ ร ะบบควบคุ มภายในก็ ยั ง มี จุดอ่ อ น และปั ญ หาเกิ ดขึ้ น อยู่ นั่ น ก็ คือ บุ คลากรในหน่ ว ยงานไม่ ถื อปฏิ บัติต ามระเบี ย บอย่ า งจริ ง จั ง และ ดาเนินการไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินจึงได้ กาหนดระเบี ย บคณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ว่ า ด้ วย การกาหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 ให้หน่วยงานภาครัฐทุกส่วนราชการปรั บปรุ ง จั ดวาง ระบบการควบคุ มภายในของหน่ วยงานให ม่ ให้ เ ป็ น ไปตามมาตรฐานการควบคุ มภ ายในตามที่ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินก าหนด ตลอดจนจะต้ อ งดาเนิ น การจั ดทารายงานเสนอผู้ มีอ านาจที่ เกี่ยวข้องด้วย ซึ่งแนวคิดว่าการควบคุมภายในเป็นปัจจัยส าคั ญ ที่ จะช่ วยให้ ก ารดาเนิ น งานตามภารกิ จมี
2 ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และช่วยป้องกันหรือลดความเสี่ยงจากการผิ ดพลาด ความเสี ย หาย ไม่ ว่า จะ ในรูปของความสิ้นเปลือง ความสู ญ เปล่ า ของการใช้ ทรั พ ย์ สิ น หรื อ การกระทาอั น เป็ น การทุ จริ ต แต่ ถึงแม้ว่าระบบการควบคุมภายในจะออกแบบไว้ดีเพียงใดก็ตาม ก็ ยั งไม่ สามารถให้ ความมั่ นใจได้ ว่าจะทาให้ การ ดาเนินงานบรรลุตามวั ตถุ ประสงค์ อย่ างสมบู รณ์ เพราะระบบการควบคุ มภายในยั งมี ข้อจากั ดจากปั จจั ยอื่ นๆ อยู่ ทางคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินจึงได้ ก าหนดมาตรฐานการควบคุ มภายในขึ้ น เพื่ อ ให้ เ กิ ดประสิ ทธิ ผ ล และประสิทธิภาพของการดาเนินงาน ไม่เกิดการรั่ วไหลหรื อเกิ ดการทุ จริ ตในการตรวจ เกิ ดความน่ าเชื่ อถื อ ในรายงานทางการเงินของหน่ วยงานนั้ นๆ ว่ าการจั ดทารายงานเป็ นไปอย่ างถู กต้ อง เชื่ อถื อได้ ทั นเวลา และ เพื่อให้การปฏิบัติของหน่วยงานต่างๆ เป็ นไปในทิ ศทางเดี ยวกั นมี ระเบี ยบ ข้ อบั งคั บที่ ชั ดเจน เป็ นลายลั กษณ์ อักษร ระเบี ย บคณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ว่ า ด้ วยการก าหนดมาตรฐานการควบคุ มภายใ น พ.ศ. 2544 กาหนดให้หน่วยรับตรวจ (หน่วยงานภาครัฐ) นามาตรฐานการควบคุ มภายในที่ ก าหนดโดย คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินไปใช้เป็นแนวทางจัดวางระบบการควบคุ มภายในให้ เ กิ ดประสิ ทธิ ผ ล และประสิทธิภาพให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี และรายงานความคื บหน้ า ทุ ก 2 เดื อ น หลั ง จากนั้ น ให้ ส่ ง รายงานการควบคุมภายในให้ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน และผู้ เ กี่ ย วข้ อ งทุ ก ปี การที่ ห น่ วยงานจะ จัดวางระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐานการควบคุ มภายใน พ.ศ. 2544 ดั ง กล่ า ว ให้ มีประสิ ทธิ ผ ล และประสิทธิภาพ ในเบื้องต้นผู้บริ ห ารต้ อ งจั ดให้ มีส ภาพแวดล้ อ มการควบคุ มที่ ดีใ นองค์ ก ร ซึ่ ง เป็ น สภาพแวดล้อมที่ทาให้บุคลากรในองค์กรมีความรับผิดชอบและเข้าใจขอบเขตอ านาจหน้ า ที่ ของตนเอง และบุคลากรดังกล่าว จะต้องมีความรู้ ความสามารถ และทักษะที่ จาเป็ น ต้ อ งใช้ ใ นการปฏิ บัติง านตามที่ ได้รับมอบหมายอย่างเพียงพอ นอกจากนี้บุคลากรดั ง กล่ า วจะต้ อ งยอมรั บและปฏิ บัติตามนโยบายและ แนวทางการปฏิบัติงาน รวมถึงข้อกาหนดด้านจริยธรรมที่กาหนด โดยเฉพาะในเรื่ อ งความซื่ อ สั ตย์ สุ จริ ต เกี่ยวกับการวางแผน การปฏิ บัติตามแผน การควบคุ มดู แ ล และการติ ดตามผล นั่ น เป็ น องค์ ประกอบ พื้นฐานของการควบคุมภายใน ผู้บริหารอาจปฏิบัติงานเหล่านี้เป็นปกติ ประจาอยู่ แ ล้ วโดยไม่ ไ ด้ คิดว่ า นี่ คือส่วนหนึ่งของสภาพแวดล้อมการควบคุ มซึ่งช่วยให้เกิดความมั่นใจในผลงานที่รั บผิ ดชอบ กองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ก็เ ป็ น อี ก หนึ่ ง หน่ วยงานของภาครั ฐ ที่ จาเป็นต้องทารายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ทางคณะผู้ ศึ ก ษา จึงได้นาตัวอย่างรายงานดังกล่าวมาเป็นกรณีศึกษา เพื่อ จะได้ ทราบการควบคุ มภายใน รวมทั้ ง ทราบถึ ง รูปแบบของรายงานการควบคุมภายใน อีกทั้งทางคณะผู้ ศึ ก ษายั ง ได้ ทาการศึ ก ษาถึ ง การควบคุ มภายใน
3 ตามมาตรฐานคณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ก าหนด เพื่ อ น าไปแก้ ไ ขปรั บปรุ ง ในการดาเนิ น งาน ตลอดจนลดปัญหาในทางปฏิบัติลงได้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพั ฒ นาระบบการควบคุ มภายในของ หน่วยรับตรวจให้สามารถปฏิ บัติงานได้จริง มีความทันสมัยอยู่เสมอ วัตถุประสงค์ของการศึกษา จากความสาคัญของปัญหาข้างต้น ทาให้การศึ ก ษาปั ญ หาพิ เ ศษ เรื่ อ ง การควบคุ มภายใน ตาม มาตรฐานคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน กรณีศึกษา กองคลั ง กรมพั ฒ นาที่ ดิน กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ มีวัตถุประสงค์ของการศึก ษา ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการก าหนดมาตรฐานการควบคุ ม ภายใน พ.ศ. 2544 2. เพื่อศึกษาโครงสร้างการบริหารงานของกองคลั ง กรมพั ฒ นาที่ ดิน กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ 3. เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการดาเนิ น งานการควบคุ มภายใน ตามมาตรฐานการควบคุ ม ภายใน ที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินกาหนด ของกองคลั ง กรมพั ฒ นาที่ ดิน กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ 4. เพื่อศึกษาวิธีแก้ปัญหา การควบคุมภายในของกองคลั ง กรมพั ฒ นาที่ ดิน กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ วิธีการศึกษา การศึกษาค้ น คว้ า ทาปั ญ หาพิ เ ศษนี้ เป็ น การศึ ก ษาค้ น คว้ า ข้ อ มู ล ในระดั บ ปฐมภู มิ (Primary Level) โดยการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ฝ่ายบัญชี และศึก ษาในระดั บทุ ติย ภู มิ (Secondary Level) ซึ่ ง จะศึ ก ษา ค้ น คว้ า ข้ อ มู ล จากทางหนั ง สื อ บทความ ประกาศ งานวิ จัย ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เอกสารทางวิ ช าการ เช่ น
4 พระราชบัญญัติต่างๆ กฎกระทรวง ระเบียบ คาสั่ง และเอกสารทางราชการอื่ น ๆ รวมทั้ ง เอกสารต่ า งๆ ที่ เผยแพร่ผ่านทางอินเตอร์เน็ต ขอบเขตของการศึกษา การศึกษาปัญหาพิเศษ เรื่อง การควบคุมภายใน ตามมาตรฐานคณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น กรณีศึกษา กองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คณะผู้ ศึ ก ษาได้ ศึ ก ษาและค้ น คว้ า โดยขอบเขตของการศึกษาปัญหาพิเศษ คือ ศึกษาถึงการควบคุมภายในตามระเบี ย บคณะกรรมการตรวจ เงินแผ่นดินว่าด้วยการกาหนดมาตรฐานการควบคุ มภายใน พ.ศ. 2544 ในเรื่ อ งมาตรฐานการควบคุ ม ภายในและการจัดวางระบบการควบคุ มภายในตามมาตรฐานการควบคุ มภายใน ของกองคลั ง กรม พัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ การศึกษาปัญหาพิเศษ เรื่อง การควบคุมภายใน ตามมาตรฐานคณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น กรณีศึกษา กองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มี ประโยชน์ ที่คาดว่ า จะได้ รั บ จาก การศึกษา ดังนี้ 1. ทาให้ทราบถึ ง มาตรฐานการควบคุ มภายในที่ คณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ก าหนด เพื่อให้องค์กรบรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ก าหนดไว้ 2. ทาให้ทราบถึงระเบียบคณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ว่ า ด้ วยการก าหนดมาตรฐานการ ควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 3. ทาให้ทราบถึงโครงสร้างการบริหารงานของกองคลั ง กรมพั ฒ นาที่ ดิน กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ 4. ทาให้ทราบถึงปัญหาและข้อเสนอแนะของการควบคุ มภายในของกองคลั ง กรมพั ฒ นา ที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
5 5. สามารถประเมิ น ระบบการควบคุ มภายในว่ า มี ประสิ ทธิ ภ าพตามมาตรฐานการควบคุ ม ภายในหรือไม่ 6. สามารถนาข้อมูลที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้เพื่อเป็นแนวทางในการจั ดวางระบบการ ควบคุมภายในของภาครัฐ เพื่อให้มีความสอดคล้องตามมาตรฐานคณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่นดิน นิยามศัพท์ ในการศึกษาปัญ หาพิ เ ศษ เรื่ อ ง การควบคุ มภายใน ตามมาตรฐานคณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่นดิน กรณีศึกษา กองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่ อ ให้ คณะผู้ ศึ ก ษาและ ผู้อ่านเกิดความเข้าใจตรงกัน จึงได้ให้นิยามศัพท์ไว้ ดังต่อไปนี้ “หน่วยรับตรวจ” หมายถึง องค์กรหรือหน่วยงานที่เป็นหน่วยรับตรวจตามคานิ ย าม ในระเบี ย บ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้ วยการกาหนดมาตรฐานการควบคุ มภายใน พ.ศ. 2544 “การควบคุมภายใน” หมายถึง กระบวนการที่ผู้กากับดู แ ล ฝ่ า ยบริ ห ารและบุ คลากรของหน่ วย รับตรวจ กาหนดให้มีขึ้น เพื่อให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่ า การดาเนิ น งานของหน่ วยรั บตรวจจะ บรรลุวัตถุประสงค์ “ระบบการควบคุมภายใน” หมายถึง การควบคุมที่ออกแบบไว้ให้ มีก ารเชื่ อ มโยงซึ่ ง กั น และกั น ไว้ในกระบวนการของกิจกรรม/การปฏิบัติงานตั้งแต่ ต้นจนจบ “มาตรฐานการควบคุมภายใน” หมายถึง ข้อกาหนดของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ซึ่งผู้ กากับดูแลจะต้องจัดให้มีในการดาเนินงานของหน่วยงาน ประกอบด้วยองค์ประกอบ 5 ด้าน “ผู้กากับดูแล” หมายถึง บุคคลหรือคณะบุคคลผู้ มีหน้า ที่รั บผิ ดชอบในการกากั บดูแล หรือ บังคับบัญชาผู้รับตรวจหรื อหน่วยรับตรวจ
6 “ระบบ GFMIS” หมายถึง ระบบการบริหารการเงิ น การคลั ง ภาครั ฐ ด้ วยระบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (GOVERNMENT FISCAL MANAGEMENT INFORMATION SYSTEM) ซึ่ ง ปฏิ บัติ โ ดยผ่ า นเครื่ อ ง คอมพิวเตอร์โดยตรง หรือผ่านช่องทางอื่นที่กระทรวงการคลังกาหนดก่อนนาเข้าเครื่ องคอมพิ วเตอร์
7
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี ผลการศึกษาวิจัย และสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง การศึกษาปัญหาพิเศษ เรื่ อ ง การควบคุ มภายใน ตามมาตรฐานของคณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่นดิน กรณีศึกษา กองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คณะผู้ ศึ ก ษาได้ เ ก็ บรวบรวม ข้อมูล ศึกษา ค้นคว้า และตรวจสอบเอกสารต่ า งๆ ทั้ ง แนวคิ ด ทฤษฎี และผลงานวิ จัย ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ทั้ ง นี้ เพื่อนามากาหนดเป็นกรอบความคิดการดาเนินงานการศึกษาปัญหาพิเศษครั้งนี้ คือ 1. แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายใน 2. ทฤษฎีการควบคุมภายในตามแนวคิ ด COSO 3. มาตรฐานการควบคุ มภายในที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน กาหนด 4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายใน ความหมายของการควบคุมภายใน คานิยามของการควบคุ มภายใน (Internal Control) มีผู้ให้ไว้หลากหลาย ดังนี้ AICPA (1948) อ้างใน จันทนา สาขากร นิพัน ธ์ เห็ น โชคชั ย ชนะ และศิ ล ปพร ศรี จั่น เพชร (2551: 2-2) ได้ ใ ห้ คาจากั ดความของการควบคุ มภายใน ไว้ ว่า การควบคุ มภายใน คื อ แผนการจั ด หน่วยงาน วิธีปฏิบัติงานที่ประสานสัมพันธ์กันและมาตรการต่ า งๆที่ กิ จการก าหนดขึ้ น และถื อ ปฏิ บัติ ภายในองค์กร เพื่อปกปักรักษาทรัพย์สินของกิ จการ รวมทั้ ง สอบทานความถู ก ต้ อ งและเชื่ อ ถื อ ได้ ของ ข้อมูลทางการบัญชี เพิ่ มพู น ประสิ ทธิ ภ าพในการดาเนิ น งาน และส่ ง เสริ มให้ มีก ารดาเนิ น งานตาม นโยบายที่ฝ่ายบริหารได้กาหนดไว้
8 สุชาย ยังประสิทธิ์กุล (2552: 2-1) ได้ให้ความหมายของระบบการควบคุ มภายใน ไว้ ว่า ระบบ การควบคุมภายใน หมายถึง นโยบายและวิ ธี ก ารปฏิ บัติ (การควบคุ มภายใน) ซึ่ ง ผู้ บริ ห ารของกิ จการ กาหนดขึ้นเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของผู้บริหารที่จะทาให้เกิดความมั่ น ใจเท่ า ที่ ส ามารถทาได้ ว่า การ ดาเนินธุรกิจเป็นไปอย่างมีระเบียบและมีประสิทธิภ าพซึ่ ง รวมถึ ง การปฏิ บัติตามนโยบายของผู้ บริ ห าร การป้องกันทรั พ ย์ สิ น การป้ อ งกั น และการตรวจพบทุ จริ ตและข้ อ ผิ ดพลาด ความถู ก ต้ อ งและความ ครบถ้วนของการบันทึกรายการบัญชีแ ละการจัดทาข้ อ มูล ทางการเงินที่เชื่อถื อได้ อย่างทันเวลา วัชนีพร เศรษฐสักโก (2537: 139-140) ได้ ใ ห้ ความหมายของระบบการควบคุ มภายใน ไว้ ว่า การควบคุมภายใน หมายถึง กระบวนการปฏิบัติงานที่ผู้บริหารทุ ก ระดั บและพนั ก งานทุ ก คนในองค์ ก ร กาหนดขึ้นเพื่อให้องค์กรบรรลุเป้าหมายที่สาคัญ 4 ประการ คือ 1. เพื่อดูแลรักษาทรัพย์สินและข้อมูลให้อยู่ในสถานที่ที่ปลอดภั ย จากการทุ จริ ตของผู้ บริ ห าร พนั ก งาน หรื อ บุ คคลภายนอก การมี ร ะบบควบคุ มภายในที่ ดี จะทาให้ ทราบถึ ง ความ เสียหายที่เกิดขึ้นในองค์กรเร็วที่สุด 2. เพื่อให้มั่นใจว่าการจัดทาสารสนเทศทางการบัญชีมีความถูกต้อง เชื่อถือ ได้ และน าเสนอได้ ทันเวลา การมีระบบควบคุมภายในที่ดี จะทาให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ ถู ก ต้ อ ง และเชื่ อ ถื อ ได้ตรงตามเวลาที่กาหนด 3. เพื่อสนับสนุนให้มีการปฏิบัติงานตามนโยบาย และข้ อ บั ง คั บของกิ จการหรื อ ข้ อ ก าหนด ของกฎหมายอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง การมี ร ะบบการควบคุ มภายในที่ ดีจะป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เ กิ ดผล เสียหายจากการละเว้ น การปฏิ บัติง านตามนโยบาย และ ข้ อ บั ง คั บของกิ จการ หรื อ ตาม ข้อกาหนดของกฎหมาย 4. เพื่อส่งเสริมให้มีการปฏิบัติงานในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพระบบการควบคุ มภายในที่ ดี จะช่วยให้มีการใช้ทรัพยากรขององค์กร อย่างมีประสิทธิภาพ ประหยัด และบรรลุ เ ป้ า หมาย ขององค์กร
9 พลพธู ปียวรรณ และสุ ภ าพร เชิ ง เอี่ ย ม (2550: 79) ได้ ใ ห้ ความหมายของระบบการควบคุ ม ภายใน ไว้ว่า ระบบการควบคุมภายใน (Internal Control System) ประกอบด้วยนโยบาย การปฏิ บัติ และ กระบวนการที่ใช้ในองค์กรเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ต่อไปนี้ 1. เพื่อปกป้องสินทรัพย์ของกิจการ 2. เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่ารายการบัญชีที่บันทึกและข้ อ มู ล ทางการบั ญ ชี มีความถู ก ต้ อ งและ เชื่อถือได้ 3. เพื่อให้การดาเนินงานของกิจการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อให้มีการปฏิบัติตามนโยบายและขั้นตอนการปฏิ บัติง านที่ ผู้ บริ ห ารก าหนดไว้ การขาด ระบบการควบคุมภายในที่ ดี เป็นเหตุให้เกิดความเสี่ยงประเภทต่าง ๆ Henri Fayol อ้างใน ดรรชนี บุญเหมือนใจ (ม.ป.ป.: 37) กล่ า วว่ า การควบคุ มเป็ น หน้ า ที่ ห นึ่ ง ทางการบริหาร (Management Function) โดยที่การควบคุม หมายถึ ง ภาระหน้ า ที่ ใ นการที่ จะต้ อ งก ากั บ ให้สามารถประกันได้ว่า กิจกรรมต่างๆ ที่ทาไปนั้น สามารถเข้ากันได้ กั บแผนที่ ไ ด้ วางไว้ แ ล้ ว ส่ วนคาว่ า การควบคุมภายในนั้นจะเน้นไปในทางที่ทาให้การดาเนินงานมีประสิ ทธิ ภ าพและประสิ ทธิ ผ ล เพื่ อ ให้ รายงานทางการเงินมีความเชื่อถือได้ และมีการปฏิบัติตามกฎหมายและข้ อ บั ง คั บที่ ก าหนดไว้ ในตารา ฝรั่งหลายเล่มมีการใช้คาว่าการควบคุมภายในความหมายหลั ง จึ ง ดู เ หมื อ นว่ า จะมี ความกลมกลื น กั น ทั้ ง การควบคุมและการควบคุมภายในเพราะต่างก็เกี่ยวข้องกับความต้องการบรรลุ เ ป้ า หมายขององค์ ก รที่ ตั้ง ไว้ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่ ง ประเทศไทย ( 2548: 28) ได้ให้ความหมายของการควบคุมภายในไว้ว่า การควบคุ มภายใน หมายถึ ง กระบวนการหรื อ ขั้ น ตอน การทางานที่เป็นผลมาจากการออกแบบโดยคณะกรรมการ ผู้บริหาร หรือ บุ คลากรอื่ น ๆ ขององค์ ก ร เพื่ อ ก่อให้เกิดความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า องค์กรจะสามารถบรรลุ วัตถุ ประสงค์ ดัง ต่ อ ไปนี้ ไ ด้ คือ ความ มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดาเนินงาน ความเชื่ อ ถื อ ได้ ของรายงานทางการเงิ น และการ ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ และนโยบายที่ใช้บังคับองค์กรนั้นๆ
10 COSO (1994) อ้ า งใน อุ ษ ณา ภั ทรมนตรี (2552: 6-2) เกี่ ย วกั บความหมายของการควบคุ ม ภายในไว้ว่า การควบคุมภายใน หมายถึง กระบวนการปฏิ บัติง านที่ มีผ ลต่ อ ทุ ก คนตั้ ง แต่ คณะกรรมการ องค์การฝ่ายบริ ห ารทุ ก ระดั บ และพนั ก งานทุ ก คนในองค์ ก าร สร้ า งขึ้ น เพื่ อ สร้ า งความมั่ น ใจอย่ า ง สมเหตุสมผลเกี่ยวกั บการบรรลุ วัตถุประสงค์ 3 ด้าน คือ 1. ความมีประสิทธิผลประสิ ทธิภาพของการปฏิ บัติงาน (O Objective) 2. ความเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงินการบัญชี (F Objective) 3. การปฏิบัติตามกฎระเบีย บและกฎหมายที่เกี่ ยวข้อง (C Objective) สุรีย์ วงศ์วณิช (ม.ป.ป.: 86) ได้ ใ ห้ ความหมายของการควบคุ มภายในว่ า การควบคุ มภายใน หมายถึง นโยบายและวิธีการปฏิบัติ (การควบคุมภายใน) ซึ่งผู้บริหารของกิ จการก าหนดขึ้ น เพื่ อ ช่ วยให้ บรรลุวัตถุประสงค์ของผู้บริหารที่จะให้เกิดความมั่นใจเท่าที่จะสามารถทาได้ ว่า การดาเนิ น ธุ ร กิ จเป็ น ไป อย่างมีระเบียบและมีประสิทธิภาพ วิไ ล วี ร ะปรี ย จงจิ ตต์ หลี ก ภั ย และประจิ ต หาวั ตร (2549: 9) ได้ ใ ห้ ความหมายของการ ควบคุ มภายในไว้ ส อดคล้ อ งกั บ พยอม สิ ง ห์ เ สน่ ห์ (2548: 6-2) ไว้ ว่า การควบคุ มภายในหมายถึ ง นโยบายและวิธีการที่ผู้บริหารของกิจการได้กาหนดขึ้นเพื่อให้ ความเชื่ อ มั่ น อย่ า งสมเหตุ ส มผลว่ า จะทา ให้กิจการได้บรรลุถึงวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่กาหนดไว้ นนทพล นิ่มสมบุญ (2539: 1-6) ได้ ใ ห้ ความหมายของการควบคุ มภายในไว้ ว่า การควบคุ ม ภายใน หมายถึง กระบวนการ แผนการจัดองค์กร ระบบงาน และ วิธีก ารซึ่ ง มี อ ยู่ ภ ายในองค์ ก าร รวมถึ ง การกระทาใดๆ โดยผู้บริหาร ที่มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้เกิดความมั่ น ใจอย่ า งสมเหตุ ส มผลในเรื่ อ งใด เรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่อง เมธสิ ทธิ์ พู ล ดี (2550: 23) ได้ อ ธิ บ ายความหมายของการควบคุ ม ภายใ นว่ า หมายถึ ง กระบวนการปฏิบัติงานที่ผู้บริหารทุกระดั บและพนั ก งานทุ ก คนในองค์ ก รก าหนดขึ้ น เพื่ อ ให้ อ งค์ ก ร บรรลุเป้าหมายที่สาคัญ
11 เจริญ เจษฎาวัลย์ (2546: 34) ได้ให้ความหมายของการควบคุ มภายในไว้ ว่า การควบคุ มภายใน หมายถึง กระบวนการที่ดาเนินการโดยคณะกรรมการบริ ษั ท หรื อ โดยฝ่ า ยจั ดการ หรื อ โดยบุ คคลผู้ ซึ่ ง มี ฐานะเหมาะสมที่สามารถให้ประกันได้ ว่า สามารถดาเนินการให้บรรลุวัตถุ ประสงค์ ที่กาหนดไว้ ได้ มหาวิทยาลัย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิ ร าช (2543: 245) ได้ มีก ารกล่ า วถึ ง ความหมายของการควบคุ ม ภายในไว้ว่า หมายถึง แผนการจัดแบ่งส่วนงาน วิธีการปฏิบัติงานที่ประสานสอดคล้ อ งกั น และมาตรการ ต่างๆ ที่นามาใช้ในองค์การ เพื่อดูแลรักษาสินทรัพย์ เพื่อตรวจสอบความถูกต้ อ งและความเชื่ อ ถื อ ได้ ของ ข้อมูล เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดาเนินงาน และเพื่อส่งเสริมให้มีการปฏิบัติต ามนโยบายที่ ฝ่ า ยบริ ห ารที่ กาหนดไว้ นิพันธ์ เห็นโชคชัย ชนะ และศิ ล ปพร ศรี จั่น เพชร (2548: 5-12) ได้ ใ ห้ ความหมายของการ ควบคุมภายในไว้ว่า การควบคุ มภายใน หมายถึ ง นโยบายและวิ ธี ก ารปฏิ บัติซึ่ ง ผู้ บริ ห ารของกิ จการ กาหนดขึ้น เพื่อช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์ของผู้บริหารที่จะให้เกิดความมั่ น ใจเท่ า ที่ จะสามารถทาได้ ว่า การดาเนินธุร กิ จเป็ น ไปอย่ า งมี ร ะเบี ย บและมี ประสิ ทธิ ภ าพ ซึ่ ง รวมถึ ง การปฏิ บัติตามนโยบายของ ผู้บริหาร การป้องกันรักษาทรั พ ย์ สิ น การป้ อ งกั น และการตรวจพบการทุ จริ ตและข้ อ ผิ ดพลาด ความ ถูกต้องและความครบถ้วนของการบันทึ ก บัญชี และการจัดทาข้อมูลทางการเงินที่เชื่อถือ ได้ อย่างทันเวลา วิทยากร เชี ย งกุ ล (2546: 215) ได้ ใ ห้ ความหมายของการควบคุ มภายใน ไว้ ว่า การควบคุ ม ภายใน หมายถึง การพยายามเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของลูกจ้าง เพื่ อ ทาให้ ลู ก จ้ า งเต็ มใจที่ จะทางานให้ ได้มาตรฐานที่บริษัทวางไว้ ก่อเกียรติ พานิชกุล (2542: 257) ได้ใ ห้ ความหมายของการควบคุ มภายใน ไว้ ว่า การควบคุ ม ภายใน หมายถึง ระบบการควบคุมของบริษัทที่มีประสิทธิ ภ าพ การบริ ห ารดี การรั ก ษาทรั พ ย์ สิ น ให้ อ ยู่ ในสภาพเดิม การดาเนินกิจการที่มีเสถียรภาพ ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ (2547: 420) ได้ใ ห้ ความหมายของการควบคุ มภายใ น ไว้ ว่า การ ควบคุมภายใน หมายถึง กระบวนการซึ่ ง สมาชิ ก ขององค์ ก ารก าหนดมาตรฐานของการทางานเป็ น แนวทาง ส าหรั บพ ฤติ ก รรมเพื่ อ การตอบสน องความต้ อ งการเพื่ อ ให้ เ กิ ดอิ ทธิ พ ลภายน อกที่ มีต่ อ พฤติกรรม
12 นพฤทธิ์ คงรุ่งโชค (2549: 316) ได้ ใ ห้ ความหมายของการควบคุ มภายใน ไว้ ว่า การควบคุ ม ภายใน หมายถึง กระบวนการที่เป็นผลมาจากการกระทาโดยคณะกรรมการดาเนิ น งาน ฝ่ า ยจั ดการและ บุคลากรอื่น โดยทาการออกแบบกระบวนการเพื่ อ ให้ เ กิ ดความมั่ น ใจอย่ า งสมเหตุ ส มผลว่ า จะทาให้ สามารถบรรลุวัตถุ ประสงค์หรือเป้ าหมายขององค์ กร ดังต่อไปนี้ 1. การดาเนินงานจะต้องมีประสิทธิภาพและประสิทธิ ผล 2. รายงานทางการเงินจะต้องน่าเชื่อถือ 3. ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมายอย่างเคร่งครั ด สุขุม โพธิสวัสดิ์ (2553: 143) ได้ให้ความหมายของการควบคุมภายใน ไว้ ว่า การควบคุ มภายใน หมายถึง เป็นแผนงานขององค์กรในการออกแบบวิธีการปฏิบัติง านและรวบรวมวิ ธี ก ารต่ า งๆ เพื่ อ ที่ จะ ป้องกันและรักษาสินทรัพย์ของกิจการ รวมทั้งการบั น ทึ ก บั ญ ชี ใ นระบบข้ อ มู ล ทางการบั ญ ชี ใ ห้ มีความ ถูกต้องและสามารถแก้ไขข้อผิดพลาดต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้น และเข้ า สู่ ก ารบั น ทึ ก บั ญ ชี ใ นบั ญ ชี ประเภท ต่างๆ ตลอดจนงบการเงินของกิจการด้วย แนวคิดพื้นฐานของระบบการควบคุมภายใน แนวคิดพื้นฐานของการควบคุ มภายใน เกี่ยวข้องกับเรื่องต่อไปนี้ 1. ความรับผิดชอบของผู้บริหาร การจั ดให้ มีร ะบบการควบคุ มภายในเป็ น ความรั บผิ ดชอบ ของผู้บริหาร เพื่อช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่จะทาให้ เ กิ ดความมั่ น ใจเท่ า ที่ จะสามารถทา ได้ว่า การดาเนินธุรกิจเป็นไปอย่างมีระเบีย บและมีประสิทธิภาพ 2. ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผล ในการจัดให้มีระบบการควบคุ มภายในย่ อ มมี ต้น ทุ น เกิ ดขึ้ น ผู้บริหารควรมีความมั่นใจอย่างสมเหตุ ส มผลว่ า ต้ น ทุ น ของการควบคุ มภายในต้ อ งไม่ สู ง กว่าประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รั บจากการจัดให้ มีระบบการควบคุ มภายในนั้น
13 3. ข้อจากัดสืบเนื่องตามลั ก ษณะของการควบคุ มภายใน การควบคุ มภายในถึ ง แม้ จะมี ก าร ออกแบบไว้อย่างดีแล้วก็ตาม แต่ก็ไ ม่ ส ามารถให้ ข้อ สรุ ปแก่ ผู้ บริ ห ารว่ า ระบบการควบคุ ม ภายในได้บรรลุวัตถุประสงค์แล้ว เนื่องจากการควบคุ มภายในมี ข้อ จากั ดสื บเนื่ อ งภายใน ตั วเอง เช่ น โอกาสที่ จะเกิ ดข้ อ ผิ ด พลาดจากบุ คลากร เ นื่ อ งจากความไม่ ร ะมั ดระวั ง พลั้งเผลอ การใช้ดุลยพินิจผิดพลาด หรือไม่เข้าใจคาสั่ง โอกาสที่ จะเกิ ดการควบคุ มภายใน ใช้อานาจนั้นในทางที่ผิด เป็นต้น ประโยชน์ของการควบคุมภายใน ประโยชน์ของการควบคุมภายในอาจพิจารณาได้เป็น 3 แนวทางคือ 1. ประโยชน์สาหรับฝ่ายบริหาร ระบบการควบคุมภายในที่ดีจะเป็นเครื่ อ งมื อ ช่ วยให้ ผู้ บริ ห าร มีความแน่ใจว่า พนักงานและลูกจ้างได้ปฏิบัติง านอย่ า งถู ก ต้ อ ง รายงานต่ า งๆ ที่ จัดทาขึ้ น ถูกต้อง เชื่อถือได้และทันเวลาที่กาหนด ตลอดจนมีการป้อ งกั น การผิ ดพลาดและการทุ จริ ต หรือการสูญหายของทรัพย์สินไว้ อย่างรั ดกุ ม 2. ประโยชน์สาหรับพนักงานและลูกจ้ า ง ระบบการควบคุ มภายในจะเป็ น เครื่ อ งชี้ น าแนว ทางการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง และเป็นไปตามนโยบายที่ผู้ บริ ห ารวางไว้ เป็ น เครื่ อ งช่ วยเพิ่ ม ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน 3. ประโยชน์สาหรับผู้สอบบัญชีและผู้ตรวจสอบภายใน ผู้ ส อบบั ญ ชี แ ละผู้ ตรวจสอบภายใน จะใช้ประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายในเป็นปัจจัยที่ ส าคั ญ ในการก าหนดขอบเขต การปฏิบัติงานตรวจสอบ กิจการที่มีการควบคุมภายในที่ ดีจะช่ วยให้ ก ารทางานของผู้ ส อบ บัญชี และผู้ตรวจสอบภายในรวดเร็วและมี ประสิ ทธิภาพมากขึ้น ลักษณะของระบบการควบคุมภายในที่ดี การควบคุ มภายในของธุ ร กิ จ มั ก จะแตกต่ า ง กั น ไปตามประ เภทของการด าเนิ น ธุ ร กิ จ แต่ โดยทั่วไปแล้ว การควบคุมภายในที่ดีจะมีลั กษณะที่เหมื อนกัน ดังนี้
14 1. มีแผนจัดแบ่งส่วนงาน ซึ่งกาหนดความรับผิดชอบของงานด้านต่ า งๆไว้ อ ย่ า งชั ดเจน โดยมี หลักสาคัญคือ การไม่ให้พนักงานคนใดคนหนึ่งคุมงานหรื อ ปฏิ บัติง านเรื่ อ งใดเรื่ อ งหนึ่ ง เพียงคนเดียว ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้น สุ ด เพราะจะเป็ น การเปิ ดโอกาสให้ มีก ารทุ จริ ตได้ ง่ า ย หรือหากมีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นก็ไม่มีใครทราบหรือแก้ไขได้ ทัน เวลา ดั ง นั้ น ในแผนจั ดแบ่ ง ส่วนงานจึงต้องแยกงานด้านปฏิบัติการการดูแลรักษาทรัพย์สินการบัญ ชี แ ละการตรวจสอบ ภายในให้เป็นอิสระจากกัน เพื่อให้มีการควบคุมสอบทานกันได้ แต่ ใ นขณะเดี ย วกั น ก็ ใ ห้ มี การประสานงานที่ดีด้วย 2. มีระบบการควบคุมทางบัญชีที่ดี คือ มีการอนุมัติร ายการบั ญ ชี คู่ มือ การบั ญ ชี มี ก ารควบคุ ม โดยงบประมาณและระบบต้นทุนที่เหมาะสม เพื่ อ ให้ ก ารรวบรวมข้ อ มู ล ทางบั ญ ชี เ ป็ น ไป อย่างถูกต้องเรีย บร้ อ ยสามารถน าไปใช้ ประโยชน์ ไ ด้ มี ก ารใช้ ง บประมาณเพื่ อ ควบคุ ม ปฏิบัติงาน สาหรับเอกสารประกอบรายการบั ญ ชี แ ละแบบพิ มพ์ ต่า งๆที่ เ กี่ ย วข้ อ งควรมี หมายเลขเรียงลาดับกากับเพื่อให้สามารถควบคุมได้ และใช้เป็น หลั ก ในการประมวลข้ อ มู ล ทางบัญชี 3. มีแนวทางปฏิบัติงานที่ดี โดยกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของพนัก งานแต่ ล ะตาแหน่ ง ไว้ อย่างครบถ้วนเป็นลายลักษณ์อักษร ตลอดจนวิธีการปฏิ บัติง าน การมอบหมายหน้ า ที่ และ การกาหนดนโยบายต่างๆเพื่อป้องกันความเข้า ใจที่ คลาดเคลื่ อ น การโต้ แ ย้ ง หรื อ ปั ดความ รับผิดชอบของพนักงาน 4. ใช้เจ้าหน้าที่ที่มีคุณสมบัติเ หมาะสมกับความรับผิ ดชอบ การใช้ เ จ้ า หน้ า ที่ ที่เ หมาะสมนี้ จะ เริ่มตั้งแต่การรับสมัครบุคคลเข้าทางาน การเลื่อนตาแหน่ง และการฝึ ก อบรม ผู้ ปฏิ บัติง านที่ มีคุณสมบัติและประสบการณ์ที่เหมาะสมเป็นปัจจัยที่มีความส าคั ญ อย่ า งหนึ่ ง ของผลส าเร็ จ ของงาน เพราะกิจการอาจได้รับความเสียหายหากใช้เจ้าหน้ า ที่ ที่มีคุณ สมบั ติไ ม่ ตรงกั บงาน ที่มอบหมาย หรือหากใช้เจ้าหน้าที่ที่มีคุณสมบัติสูงกว่ า งานที่ ทาก็ จะเป็ น การสู ญ เปล่ า และ ไม่ประหยัด
15 ทฤษฎีการควบคุมภายในตามแนวคิด COSO อง ค์ ป ระกอบของการควบคุ ม ภ ายใ น ตามแน วคิ ด COSO ( Committee of Sponsoring Organizations of the Tread way Commission) มี 5 ประการที่สัมพันธ์กัน ดังนี้ 1. สภาพแวดล้อมการควบคุม (Control Environment) สุชาย ยังประสิทธิ์กุล (2552: 2-2) ได้ให้ความหมายของสภาพแวดล้ อ มการควบคุ มไว้ ว่า สภาพแวดล้อมการควบคุม หมายถึง ทัศนคติ โ ดยรวม การตระหนั ก และการปฏิ บัติของกรรมการและ ผู้บริหารเกี่ยวกับระบบการควบคุ มภายและความสาคัญ ของระบบการควบคุ มภายในที่ มีต่อ กิจการ ดรรชนี บุญเหมือนใจ (ม.ป.ป.: 40) ได้ให้ความหมายของสภาพแวดล้ อ มการควบคุ มไว้ ว่า สภาพแวดล้อมการควบคุม หมายถึง ปัจจัยต่างๆ ซึ่งร่วมกั น ส่ ง ผลให้ เ กิ ดการส่ ง เสริ มหรื อ การลดหย่ อ น ในประสิทธิภาพของการควบคุมภายในปั จจั ย ดั ง กล่ า วได้ แ ก่ ปรั ช ญาและวิ ธี ก ารทางานของผู้ บริ ห าร ความซื่อสัตย์ แ ละจริ ย ธรรมของบุ คลากร ความรู้ แ ละความสามารถของบุ คลากร วิ ธี ก ารที่ ผู้ บริ ห าร มอบหมายอ านาจหน้ า ที่ ความรั บ ผิ ดชอบ โครงสร้ า งการจั ดองค์ ก ร คณะกรรมการการตรวจสอบ นโยบายและวิธีการบริหารงานบุคคล ปัจจัยภายนอก เช่ น กฎหมายหรื อ ระเบี ย บของหน่ วยงานก ากั บ ดูแล เป็นต้น จันทนา สาขากร นิ พั น ธ์ เห็ น โชคชั ย ชนะ และศิ ล ปพร ศรี จั่น เพชร (2551: 2-5) ได้ ใ ห้ ความหมายของสภาพแวดล้ อ มการควบคุ ม ไว้ ว่า สภาพแวดล้ อ มของการควบคุ มเป็ น แกนหลั ก ของ องค์ประกอบอื่น เน้ น ที่ จิตส านึ ก และคุ ณ ภาพของคน ซึ่ ง เป็ น หั วใจของแต่ ล ะกิ จกรรม ถ้ า องค์ ก รมี บุคลากรที่ดีย่อมเป็นพื้นฐานและกาลังผลั ก ดั น ให้ เ กิ ดสิ่ ง ดี ๆ ขึ้ น ในองค์ ก รได้ แต่ ถ้ า ระบบทุ ก อย่ า งใน องค์กรดี เพียงแต่มีบุคลากรที่ไม่ดี ไม่เหมาะสม ระบบที่มีอ ยู่ อ าจล้ มเหลวและส่ ง ผลให้ เ กิ ดการล่ มสลาย ขององค์กรได้ในที่สุด ดังนั้น สภาพแวดล้ อ มของการควบคุ มที่ ดีจึง เป็ น เรื่ อ งเกี่ ย วกั บการสร้ า งความ ตระหนักให้บุคคลเกิด จิตสานึกที่ดีในการปฏิบัติตามความรับผิดชอบ และการสร้ า งบรรยากาศของการ ควบคุมโดยผู้บริหารระดั บสูง
16 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่ ง ประเทศไทย ( 2548: 29) ได้ให้ความหมายของสภาพแวดล้อมการควบคุม ไว้ว่า ปัจจั ย ต่ า งๆ ซึ่ ง ร่ วมกั น ส่ ง ผลให้ เ กิ ดที ท่า ของ องค์กรที่มีต่อการควบคุมภายใน หรื อ ทาให้ บุคลากรในองค์ ก รให้ ความส าคั ญ ต่ อ การควบคุ มมากขึ้ น สภาพแวดล้อมการควบคุม เป็นรากฐานที่ มีผ ลต่ อ องค์ ประกอบอื่ น ๆของการควบคุ มภายในให้ อ ยู่ ไ ด้ อย่างมั่นคง ทาให้เกิดระเบียบวินัยซึ่งบุคคลต้องยอมรั บและน าไปปฏิ บัติ รวมทั้ ง ก่ อ ให้ เ กิ ดโครงสร้ า ง ของการควบคุมที่ ตามมา ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อ มการควบคุ ม มี 7 ปัจจัย ดังต่อไปนี้ 1.1 ความซื่อสัตย์และจริยธรรม (Integrity and Ethical Value) ความซื่ อ สั ตย์ แ ละจริ ย ธรรมเป็ น เรื่ อ งของจิ ตส านึ ก และคุ ณ ภาพของคนที่ เ ป็ น นามธรรมมองเห็นได้ยาก แต่ก็สามารถนามาแสดงให้ เ ห็ น โดยผู้ บริ ห ารจะต้ อ งทาตน ให้เป็นตัวอย่างอย่างสม่าเสมอ ทั้งโดยคาพูดและการกระทา มี ก ารก าหนดเป็ น นโยบาย และข้อกาหนดด้านจริยธรรมไว้อย่างชัดเจน รวมถึง มี ข้ อ ห้ า มพนั ก งานมิ ใ ห้ ปฏิ บัติ อั น จะถือว่าอยู่ในสถานะที่ขาดความซื่อสัตย์และจริยธรรม พร้อมทั้ง มี ก ารแจ้ ง ให้ พ นั ก งาน ทุกคนรับทราบและเข้าใจในหลักการที่กาหนดไว้ 1.2 ความรู้ ทักษะและความสามารถ (Commitment and Competent) ความรู้ ทักษะและความสามารถของบุคลากรเป็ น สิ่ ง จาเป็ น ต่ อ ประสิ ทธิ ภ าพ และ ประสิทธิผลขององค์กร มิใช่แต่บุคลากรไม่ มีความรู้ ทั ก ษะและความสามารถจะเป็ น สิ่งอันตราย ถ้าบุคลากรมีความรู้ ทักษะและความสามารถมากเกิ น ไปไม่ เ หมาะสมกั บ หน้าที่ความรับผิดชอบก็อาจมีผลกระทบต่อประสิ ทธิ ภ าพและประสิ ทธิ ผ ลได้ เ ช่ น กั น ดังนั้นองค์กรจึงจาเป็นต้องกาหนดระดั บความรู้ ทั ก ษะที่ จาเป็ น และความสามารถที่ เหมาะสมสาหรับแต่ละงานไว้ อ ย่ า งชั ดเจน เพื่ อ ใช้ เ ป็ น เกณฑ์ ใ นการพิ จารณาบรรจุ แต่งตั้งให้เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิ ดชอบ โดยการจั ดทาคาบรรยายลั ก ษณะงาน หรือข้อกาหนดคุณลักษณะงาน (Job Description) ทุกตาแหน่งไว้อย่างชัดเจน
17 1.3 การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการบริ ห าร และคณะกรรมการตรวจสอบ ( Board of Director and Audit Committee Participation) คณะกรรมการตรวจสอบที่มีประสิ ทธิ ภ าพจะต้ อ งเป็ น อิ ส ระจากผู้ บริ ห าร เป็ น ผู้ ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้บริหาร ซึ่งเป็ น ผู้ มีห น้ า ที่ รั บผิ ดชอบโดยตรงในการจั ด ให้ มีร ะบบการควบคุ มภายใน ที่ ดีใ นอง ค์ ก ร ดั ง นั้ น คณะกรรมการบริ ห ารและ คณะกรรมการตรวจสอบ จึ ง เป็ น ตั วจั ก รส าคั ญ ต่ อ บรรยากาศของการควบคุ ม โดยเฉพาะการส่งเสริมให้การตรวจสอบภายในและการสอบบั ญ ชี เ ป็ น ไปอย่ า งมี อิ ส ระ และปฏิบัติงานได้ตามมาตรฐานของวิชาชีพ 1.4 ปรั ชญา แล ะรู ป แบบการท าง าน ของผู้ บ ริ ห าร ( Management Philosophy and Operation Style) ปรัชญา และรูปแบบการทางานของผู้ บริ ห ารย่ อ มมี ผ ลกระทบที่ ส าคั ญ ต่ อ ระบบ การควบคุมภายในขององค์กร เพราะผู้บริหารมีหน้าที่โดยตรงในการก าหนดนโยบาย จัดให้มีมาตรการและวิธีการควบคุ มความแตกต่ า งในทั ศ นคติ แ ละวิ ธี ก ารทางานของ ผู้บริหาร จะเป็นตัวกาหนดระดับความเสี่ยงที่ยอมรั บได้ ใ นองค์ ก ร อั น น าไปสู่ รู ปแบบ ของการควบคุมภายในที่จัดให้มีขึ้น ผู้บริหารบางคนเป็นพวกอนุ รั ก ษ์ นิ ย ม บางคนกล้ า ได้ กล้าเสีย กล้าเสี่ยง และระดับของความกล้ า ก็ ยั ง แตกต่ า งกั น ไป จึ ง ทาใ ห้ ร ะดั บของ การควบคุมแตกต่างไปด้ว ย 1.5 โครงสร้างการจัดองค์กร (Organization Chart) การจัดโครงสร้างองค์กรที่เหมาะสมกับขนาดและการดาเนิ น งานขององค์ ก รเป็ น พื้นฐานส าคั ญ ที่ เ อื้ อ อ านวยให้ ผู้ บริ ห ารสามารถวางแผน สั่ ง การ และควบคุ มการ ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภ าพและมี ประสิ ทธิ ผ ล การจั ดโครงสร้ า งขององค์ ก ร นอกจากจะเป็นการจัดแบ่งสายงานหน้ า ที่ แ ละความรั บผิ ดชอบของแต่ ล ะหน่ วยงาน แล้ว ยังเป็นตัวกาหนดระดับความรู้และความสามารถของบุคคลในองค์ ก ร เช่ น การจั ด โครงสร้ า งแบบรวมศู น ย์ อ านาจการตั ดสิ น ใจย่ อ มต้ อ งการคุ ณ สมบั ติของตั วบุ คคล
18 มากกว่าโครงสร้างองค์ ก รที่ จัดในรู ปแบบการกระจายศู น ย์ อ านาจการตั ดสิ น ใจ ซึ่ ง ระบบขั้นตอนการทางาน และกระบวนการในการติ ดตามผลจะมี ความส าคั ญ มากกว่ า คุณสมบัติของตัวบุคคล 1.6 การมอบอานาจและความรับผิดชอบ (Assignment of Authority and Responsibility) บุ คลากรทุ ก คนที่ ปฏิ บัติห น้ า ที่ ต่า งๆ จะต้ อ งเข้ า ใจอย่ า งชั ดเ จนถึ ง กรอบและ ขอบเขตของอานาจและความรั บผิ ดชอบของตนเอง ต้ อ งทราบด้ วยว่ า งานของตนมี ส่ วนสั มพั น ธ์ กั บงานของผู้ อื่ น อย่ า งไรเพื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ เ กิ ดความซ้ าซ้ อ นในการ ปฏิบัติงานหรือมีการละเว้นการปฏิบัติงาน งานใดงานหนึ่ง ฝ่ายบริ ห ารอาจใช้ วิธี จัดทา คาบรรยายลักษณะงานของพนักงานแต่ละระดับไว้ อ ย่ า งชั ดเจน เพื่ อ เป็ น แนวทางให้ พนักงานอ้างอิงในการปฏิบัติงาน สาหรับงานที่มีความซ้าซ้อน หรื อ ต้ อ งใช้ เ ทคโนโลยี สู ง หรื อ ลงทุ น ด้ วยเ งิ น จาน วนมาก อาจต้ อ งมี ก ารจั ดท าคู่ มือ ระบบง าน ( System Documentation) ไว้ด้วย ส่วนการมอบอานาจจะต้ อ งให้ เ หมาะสมกั บหน้ า ที่ แ ละความ รับผิดชอบในแต่ละตาแหน่ง 1.7 นโยบายและวิธีบริหารงานด้านทรัพยากรมนุษย์ คนเ ป็ น ปั จ จั ย ส าคั ญ ที่ สุ ดต่ อ การปฏิ บัติ ง านใ นทุ ก ด้ า น ประ สิ ท ธิ ภ าพ และ ประสิทธิผลของการควบคุมภายในจะถูกกระทบอย่างมากด้ วยพฤติ ก รรม และอุ ปนิ สั ย ของบุ คลากรในองค์ ก ร การก าหนดนโยบายและวิ ธี ปฏิ บัติใ นส่ วนที่ เ กี่ ย วกั บการ บริหารงานด้านทรัพยากรมนุษย์ ตั้งแต่การคัดเลือกบุคลากรเข้ า ทางาน การประเมิ น ผล การปฏิบัติงาน การฝึกอบรม การพัฒนาความรู้ ของพนั ก งาน การเลื่ อ นตาแหน่ ง การ กาหนดค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่น เพื่อให้ได้ บุคลากรที่ มีความรู้ ความสามารถ เหมาะสมกับตาแหน่งหน้าที่ และเพื่อให้สามารถรักษาไว้ซึ่งบุคลากรที่ มีคุณภาพ
19 2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ดรรชนี บุญเหมือนใจ (ม.ป.ป. : 40) ได้ ใ ห้ ความหมายของการประเมิ น ความเสี่ ย งไว้ ว่า หมายถึง กระบวนการที่ใช้ในการระบุและวิเคราะห์ความเสี่ยงที่ มีผ ลกระทบต่ อ การบรรลุ วัตถุ ประสงค์ ขององค์กร รวมทั้งการกาหนดแนวทางที่ จาเป็ น ต้ อ งใช้ ใ นการควบคุ มความเสี่ ย ง ทั้ ง นี้ ผู้ บริ ห ารต้ อ ง ประเมินความเสี่ยงทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอก เพื่ อ น ามาตรการควบคุ มที่ เ หมาะสมมาใช้ เ พื่ อ ให้ เกิดความมั่นใจว่าความเสียหายหรือความผิดพลาดจะไม่เกิ ดขึ้ น หรื อ หากเกิ ดขึ้ น ก็ อ ยู่ ใ นระดั บที่ ไ ม่ เ ป็ น อันตราย พลพธู ปียวรรณ และสุภาพร เชิงเอี่ยม (2550: 79) กิจการต้องมีการประเมิ น ความเสี่ ย ง เพื่ อ ระบุ วิเคราะห์ และบริหารจัดการความเสี่ยงที่เ กี่ ย วข้ อ งกั บรายงานทางการเงิ น ความเสี่ ย งอาจเกิ ดขึ้ น หรือเปลี่ยนแปลงไปจากเหตุการณ์ต่างๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดล้ อ ม บุ คลากรใหม่ ที่ยั ง ไม่ เข้าใจในระบบการควบคุมภายใน การนาระบบสารสนเทศใหม่ ที่มีผ ลต่ อ การประมวลผลรายการมาใช้ การนาหลักสูตรใหม่มาใช้ เป็นต้น วัชนีพร เศรษฐสักโก (2551: 144) ผู้บริหารต้องประเมินและวิเคราะห์ ความเสี่ ย งที่ จะทาให้ องค์กรไม่บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ ความเสี่ ย งนี้ อ าจเกิ ดจากปั จจั ย ภายในองค์ ก รและปั จจั ย ภายนอก องค์กร ความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยภายใน ประกอบด้ วย ความไม่ มีประสิ ทธิ ภ าพของคณะอนุ ก รรมการ ตรวจสอบ การเปลี่ยนแปลงในความรับผิดชอบของผู้ บริ ห าร การขาดความซื่ อ สั ตย์ แ ละจริ ย ธรรมของ ผู้บริหารการเปลี่ยนแปลงระบบการประมวลข้อมูล พนักงานไม่ มีคุณ ภาพ การขาดการฝึ ก อบรมรวมทั้ ง การขาดขวัญและก าลั ง ใจในการทางาน ส่ วนความเสี่ ย งที่ เ กิ ดจากปั จจั ย ภายนอกประกอบด้ วยการ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเปลี่ย นแปลงด้ า นเทคโนโลยี การเปลี่ ย นแปลงทางกฎหมายหรื อ การ เปลี่ยนแปลงเนื่องจากภัยธรรมชาติ ปัจจั ย เหล่ า นี้ มีผ ลกระทบต่ อ ระบบการควบคุ มภายในของกิ จการ เพราะระบบการควบคุมภายในจะมีประสิ ทธิ ภ าพภายใต้ เ งื่ อ นไขอย่ า งหนึ่ ง แต่ ถ้ า มี ก ารเปลี่ ย นแปลง เงื่อนไขไปแล้ว ระบบการควบคุมภายในอาจไม่มีประสิทธิภาพก็ได้ ผู้ บริ ห ารของกิ จการต้ อ งรั บผิ ดชอบ ในการประเมินความเสี่ยงและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงในปัจจั ย ภายในและภายนอก รวมทั้งต้องเตรียมหาวิธีการล่ วงหน้ า ที่ จะเผชิ ญ กั บการเปลี่ ย นแปลงและหาทางลดผลเสี ย หายที่ อ าจ เกิดขึ้นด้วย
20 การประเมินความเสี่ยงเป็นการประเมิ น เพื่ อ ให้ ทราบว่ า องค์ ก รมี ความเสี่ ย งอย่ า งไรและ ความเสี่ยงนั้นๆ อยู่ในกิจกรรมหรื อ ขั้ น ตอนใดของงาน มี ผ ลกระทบต่ อ การบรรลุ วัตถุ ประสงค์ ของ องค์กรมากน้อยเพียงใด เพื่อนามาพิจารณากาหนดแนวทางที่จาเป็นต้ อ งใช้ เ พื่ อ ให้ เ กิ ดความมั่ น ใจอย่ า ง สมเหตุสมผลว่าความผิดพลาดหรือความเสียหายจะไม่เกิดขึ้น หรือหากเกิ ดขึ้ น ก็ จะอยู่ ใ นระดั บที่ ไ ม่ เ ป็ น อันตราย หรือไม่เป็นอุปสรรคต่อ ความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ขององค์ก ร องค์กรทุกองค์กรไม่ว่าจะประกอบการในธุ ร กิ จประเภทใด เป็ น ธุ ร กิ จขนาดกลาง ขนาด ย่อม หรือขนาดใหญ่ก็ตาม นอกจากต้องเผชิญกับความเสี่ย งตามรู ปแบบของธุ ร กิ จแล้ วยั ง ต้ อ งเผชิ ญ กั บ ความเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา อาจเป็นความเปลี่ยนแปลงจากฝ่ า ยบริ ห ารองค์ ก รเอง หรื อ จากฝ่ายบริหารประเทศ หรืออาจเป็นความเปลี่ ย นแปลงจากสภาพเศรษฐกิ จ สั ง คม กฎหมาย ระเบี ย บ ข้อบังคับของทางราชการที่เกี่ยวข้อง ผู้บริหาร จึ ง จาเป็ น ที่ จะต้ อ งได้ ข้อ มู ล ความเสี่ ย งที่ ถู ก ต้ อ งตรงกั บ สภาพที่เป็นอยู่จริงในทุกขณะ เพื่อนามาก าหนดมาตรการหรื อ ปรั บเปลี่ ย น เพื่ อ เสริ มสร้ า งระบบการ ควบคุมภายในให้สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ ดั ง นั้ น องค์ ก รจึ ง จาเป็ น ต้ อ งทาการประเมิ น ความเสี่ยงและต้องกระทาอย่างต่อเนื่องและสม่ าเสมอ ปัจจัยสาคัญในการประเมินความเสี่ ย ง คื อ ผู้ ประเมิ น จะต้ อ งเข้ า ใจในวั ตถุ ประสงค์ ของ องค์ ก รโดยถ่ อ งแท้ องค์ ก รต้ อ ง มี ก ารก าหน ดวั ตถุ ประ สง ค์ ไ ว้ อ ย่ า งชั ดเ จน ขึ้ น ก่ อ น โดยทั่ วไป วัตถุประสงค์ขององค์กรแบ่งเป็ น 2 ระดั บ คื อ วั ตถุ ประสงค์ ร ะดั บกิ จการโดยรวม (Entity-Wide Level Objectives) เป็ น วั ตถุ ประสงค์ ของการดาเนิ น งานในภาพรวมขององค์ ก ร และวั ตถุ ประสงค์ ร ะดั บ กิจกรรม (Activity-Level Objectives) เป็นวัตถุ ประสงค์ เ ฉพาะของการดาเนิ น งานทางธุ ร กิ จในแต่ ล ะ กิจกรรมภายในองค์กรซึ่งต้องสอดคล้องและสนับสนุนวัตถุประสงค์ระดั บองค์กรรวม ขั้นตอนในการประเมินความเสี่ยง มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ 2.1 การระบุปัจจัยความเสี่ยง (Risk Identification) การเข้าใจว่าองค์กรมีความเสี่ยงหรือไม่ จะไม่ มีประโยชน์ เ พี ย งพอ ถ้ า ไม่ ส ามารถ ระบุได้ว่าความเสี่ยงนั้นๆ มีสาเหตุจากปัจจัยอะไร เนื่องจากปัจจัย ความเสี่ ย งแต่ ล ะชนิ ด มีผลกระทบไม่เท่าเทียมกัน ปัจจัยความเสี่ยงบางชนิ ดมี ผ ลกระทบต่ อ วั ตถุ ประสงค์ ใ น
21 ระดั บ กิ จการโดยรวม ในขณะที่ บ างชนิ ด มี ผ ลกระทบในระ ดั บกิ จ กรรมเท่ า นั้ น นอกจากนี้ปัจจัยบางชนิดจะมีผลกระทบเพี ย งในระยะสั้ น บางตั วส่ ง ผลในระยะยาว และอาจมีบางตัวส่งผลทั้งในระยะสั้นแล้วต่อเนื่องไปจนถึง ระยะยาว ดั ง นั้ น จึ ง ต้ อ งทา ความเข้าใจและสามารถระบุ ไ ด้ ว่า ความเสี่ ย งนั้ น ๆ มี ส าเหตุ จากปั จจั ย ใด เป็ น ปั จจั ย ภายในองค์กร หรือเป็นปัจจัยภายนอกองค์ก ร 2.2 การวิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk Analysis) เมื่อสามารถระบุปัจจัยความเสี่ยงได้ แ ล้ ว ขั้ น ต่ อ ไปคื อ การน าปั จจั ย ความเสี่ ย งนั้ น มาวิ เ คราะ ห์ ว่ า มี ผ ลกระ ทบต่ อ องค์ ก รแค่ ไ หน เพี ย งใ ด โดยการก าหน ดระดั บ ความสาคัญของความเสียหายที่ จะเกิ ดจากความเสี่ ย งและโอกาสที่ จะเกิ ดความเสี่ ย ง ดังกล่าวว่ามีหรือไม่ ถ้ามี มีมากหรือ น้ อ ยเพี ย งใด เพื่ อ น ามาพิ จารณาหาวิ ธี ที่จะรั บมื อ หรือจั ดการกั บความเสี่ ย งที่ มีส าระส าคั ญ มี โ อกาสที่ จะเกิ ดสู ง โดยเทคนิ คในการ วิเคราะห์ความเสี่ยงมีหลายวิธีจะต้องเลือกใช้ ใ ห้ เ หมาะสม เพราะบางครั้ ง ผลกระทบ ของความเสี่ยงที่มีต่อองค์กร หรือโอกาสที่จะเกิ ดความเสี่ ย งอาจไม่ ส ามารถวั ดได้ เ ป็ น ตัวเลข จึงต้องใช้วิธีวิเคราะห์โดยการประเมิ น เป็ น ระดั บ เช่ น สู ง มาก สู ง ปานกลาง น้อย หรือน้อยมาก 2.3 การบริหารความสี่ยง (Risk Management) การบริหารความเสี่ยงเป็นการกาหนดแนวทางที่จะรับมือหรื อ จั ดการกั บความเสี่ ย ง ที่มีสาระสาคัญ มีโอกาสที่จะเกิดสูงอย่างเหมาะสม โดยทั่ วไปแล้ วถ้ า เป็ น ความเสี่ ย งที่ เกิดจากปัจจัยภายใน จะใช้ วิธี จัดระบบการควบคุ มภายใน กรณี เ ป็ น ควา มเสี่ ย งจาก ปัจจัยภายนอกจะใช้วิธีการบริหารความเสี่ ยง
22 3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) สุ ช าย ยั ง ประสิ ทธ์ กุ ล (2552: 2-3) ได้ ใ ห้ ค วามหมายของกิ จ กรรมการควบคุ ม ไว้ ว่ า กิจกรรมการควบคุม หมายถึง นโยบายหรือวิธี ก ารปฏิ บัติที่ฝ่ า ยบริ ห ารก าหนดขึ้ น และน ามาใช้ เ พื่ อ ให้ บรรลุวัตถุประสงค์ของกิ จการ ทาให้ลดหรือป้องกันความเสี่ ยงหรือข้ อผิ ดพลาดที่ อาจเกิ ดขึ้น ดรรชนี บุ ญ เหมื อ นใจ (ม.ป.ป.: 40) ได้ ใ ห้ ความหมายของกิ จกรรมการควบคุ ม ไว้ ว่า กิจกรรมการควบคุม หมายถึง นโยบายและวิธีการต่ า งๆที่ ฝ่ า ยบริ ห ารก าหนดให้ บุคลากรปฏิ บัติเ พื่ อ ลด หรือควบคุมความเสี่ ย ง กิ จกรรมควบคุ มต้ อ งมี อ ยู่ ใ นทุ ก หน้ า ที่ แ ละทุ ก ระดั บของการดาเนิ น งานใน องค์กร เนื่องจากการดาเนินงานทุกส่วนล้วนมีความสาคัญต่อผลสาเร็ จขององค์ ก รทั้ ง สิ้ น จึ ง จาเป็ น ต้ อ ง จัดให้มีกิจกรรมการควบคุ มอย่างเหมาะสมและเพียงพอกั บระดั บความเสี่ยงที่ อาจเกิดขึ้น พรสิ ริ ปุ ณ เกษมและ คณะ (2550) ได้ ใ ห้ ความหมายของ กิ จกรรมการควบคุ ม ไว้ ว่ า กิจกรรมการควบคุม หมายถึง การกาหนดนโยบายและวิ ธี ปฏิ บัติใ นการควบคุ มภายในและการสื่ อ สาร นโยบายและวิธีปฏิบัติไปยังหน่วยงานและพนักงานในองค์กร เพื่อให้ ผู้ ปฏิ บัติง านใช้ เ ป็ น แนวทางการ ปฏิบัติงานตามนโยบายและวัตถุประสงค์ขององค์ ก รและหน่ วยงาน รวมทั้ ง เป็ น แนวทางส าหรั บฝ่ า ย จัดการในการกากับดูแล ติดตามผลและป้องกันแก้ ไขความเสี่ ยงที่อาจเกิ ดขึ้น กิจกรรมการควบคุ มเป็ น นโยบาย มาตรการและวิ ธี ก ารดาเนิ น งานต่ า งๆ ที่ ฝ่ า ยบริ ห าร นามาใช้ เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่ามาตรการต่างๆ ที่กาหนดขึ้ น สามารถลด หรื อ ควบคุ มความเสี่ ย งและ ได้รับการตอบสนองและปฏิ บัติตาม กิจกรรมการควบคุ มประกอบด้ วย 3.1 การกาหนดนโยบายและแผนงาน (Policies and Plans) ฝ่ายบริหารจะกาหนดนโยบาย จัดทาแผนงาน และการจั ดทางบประมาณ เพื่ อ ใช้ เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน เป็นเครื่ อ งมื อ ในการควบคุ ม ติ ดตามและประเมิ น ผล ทั้งนี้โดยมีการกาหนดผลงานที่คาดหมายไว้อย่างชั ดเจนทั้ ง ในรู ปจานวนผลงาน และ ระยะเวลาปฏิบัติตามแผนงานดังกล่า ว เพื่อให้เกิดความชัดเจน
23 3.2 การสอบทานโดยผู้บริหาร (Information Processing) การสอบทานโดยผู้บริหาร เป็นกิจกรรมการควบคุ มที่ ผู้ บริ ห ารเป็ น ผู้ ก ระทา โดย ผู้บริหารระดับสูงจะใช้ วิธี วิเ คราะห์ เ ปรี ย บเที ย บผลการปฏิ บัติง านจริ ง กั บแผนงาน งบประมาณที่ได้จัดทาไว้ล่วงหน้า เพื่อให้เห็นภาพรวมของการดาเนิ น งานว่ า มี ปัญ หา ใหญ่ๆในด้านใด เพื่อนามาพิจารณาแก้ไขและเตรียมรับสถานการณ์ ใ นอนาคตได้ ส่ วน ผู้บริหารระดับกลางก็ใช้วิธี สอบทานรายงานผลการปฏิ บัติง านของพนั ก งานในสาย บังคับบัญชาของตนว่า การปฏิบัติงานเป็นไปตามนโยบาย แผนงานและงบประมาณ ตลอดจนวิธีปฏิบัติงานจริงเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับที่กาหนด ซึ่ ง การสอบทานของ ผู้บริหารระดับกลางจะกระทาบ่อยครั้งเพียงใด ขึ้ น อยู่ กั บลั ก ษณะของความเสี่ ย ง โดย การประมวลผลข้ อ มู ล ในที่ นี้ ครอบคลุ มทั้ ง ข้ อ มู ล ทางบั ญ ชี ก ารเงิ น และข้ อ มู ล อื่ น ที่ จาเป็นสาหรับประกอบการตัดสินใจทางการบริหาร ซึ่ง ต้ อ งการข้ อ มู ล ที่ มีความถู ก ต้ อ ง สมบูรณ์ กะทัดรัด มีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกั บการตั ดสิ น ใจและต้ อ งได้ ทัน เวลาที่ ต้อ งการ ดังนั้นการควบคุมการประมวลผลข้อ มู ล จึ ง ต้ อ งเริ่ มจากการอนุ มัติร ายการ การบั น ทึ ก รายการ การสอบยันข้อมูลระหว่ า งกั น การเก็ บรั ก ษาและควบคุ มข้ อ มู ล ที่ ส าคั ญ การ ออกแบบและการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยในการประมวลผลข้ อ มูล 3.3 การควบคุมทางกายภาพ (Physical Control) การควบคุมทางกายภาพ คือ การดูแลรักษาและป้องกั น สิ น ทรั พ ย์ ที่มีตัวตนจากการ ทาลายหรื อ สู ญ หายและมี ส ภาพพร้ อ มส าหรั บการใช้ ง าน กิ จกรรมการควบคุ มจึ ง รวมทั้งวิธีที่ใช้เพื่อการป้องกัน ค้นหา แก้ ไ ขและสนั บสนุ น เช่ น การจั ดให้ มีส ถานที่ จั ดเ ก็ บ อย่ า ง ปลอดภั ย เ หมาะ สม การมี เ วรยามรั ก ษาการณ์ การตรวจนั บ การ เปรียบเทียบจานวนจริงกับทะเบียนหรือหลักฐานทางการบัญชี การทาประกันภัย
24 3.4 การแบ่งแยกหน้าที่ (Segregation of Duties) การแบ่งแยกหน้าที่ เป็นการแบ่งแยกหน้าที่ระหว่ า งบุ คคลหรื อ หน่ วยงาน โดยจั ด ให้มีการสอบยันความถูกต้องระหว่างกัน ไม่ให้บุคคลคนเดี ย วปฏิ บัติง านตั้ ง แต่ ต้น จน จบ เพื่อป้องกันความเสี่ยงต่อข้อผิดพลาดและการทุจริต หรื อ การกระทาที่ ไ ม่ เ หมาะสม ควรใช้ในกรณีที่มีงานมีลักษณะเสี่ ย งต่ อ ความผิ ดพลาดหรื อ เสี ย หายได้ ง่ า ย โดยแยก หน้าที่การอนุ มัติ การจดบั น ทึ ก การเก็ บรั ก ษา และการสอบทานออกจากกั น เช่ น พนักงานคนเดียวไม่ควรมีหน้าที่อนุมัติการจ่ายเงิน เก็ บรั ก ษาเงิ น น าเงิ น ฝากธนาคาร บันทึกบัญชีธนาคาร ลูกหนี้ และจัดทางบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร 3.5 ดัชนีวัดผลการดาเนินงาน (Performance Indicators) ดัชนีวัดผลการดาเนินงาน เป็นเครื่องมือที่ใช้บ่งบอกให้ทราบว่าสภาวะขององค์ ก ร เป็นอย่างไร อยู่ในระดับที่น่าพอใจหรือไม่ ควรให้ความสนใจในเรื่องใดเป็ น พิ เ ศษ เพื่ อ นามาพิจารณาสั่งการแก้ไขปัญหาได้ทันกาล ดัชนีวัดผลการดาเนิ น งานที่ นิ ย มใช้ มัก อยู่ ในรู ปของอั ตราส่ วนต่ า งๆที่ แ สดงความสั มพั น ธ์ ของข้ อ มู ล ทางการเงิ น หรื อ การ ดาเนินงานอย่างหนึ่งกับข้อมูลอีกอย่างหนึ่ง 3.6 การจัดทาเอกสารหลักฐาน (Documentation) การจัดทาเอกสารหลักฐาน เป็นการควบคุมโดยกาหนดให้ กิ จกรรมหรื อ ระบบงาน ที่มีความสาคัญ ต้องจัดทาเอกสารไว้ เ ป็ น หลั ก ฐาน เอกสารทาหน้ า ที่ เ ป็ น ตั วส่ ง ผ่ า น ข้อมูลในองค์กรและระหว่างองค์กรเป็ น หลั ก ฐานเพื่ อ ใช้ อ้ า งอิ ง ตรวจสอบหรื อ เป็ น แนวทางให้ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง เช่ น การทาสั ญ ญาซื้ อ - ขาย การจั ดทาเอกสาร ระบบงาน การจั ดทาคู่ มือ ปฏิ บัติง าน การก าหนดแบบฟอร์ มเอกสาร ตลอดจนการ กาหนดเลขที่เอกสารที่เรียงลาดับไว้ ล่วงหน้า
25 3.7 การต รว จ ส อบ การ ปฏิ บั ติ ง าน อย่ า ง เ ป็ น อิ ส ร ะ ( Independent Checks on Performance) การตรวจสอบการปฏิบัติงานอย่ า งเป็ น อิ ส ระหรื อ การตรวจสอบภายใน เป็ น วิ ธี หนึ่ ง ในกิ จกรรมการควบคุ ม โดยผู้ ทาหน้ า ที่ ตรวจสอบจะต้ อ งเป็ น อิ ส ระจากกลุ่ ม ผู้รับผิดชอบงาน หรือผู้ปฏิบัติงานนั้นๆ 4. สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่ ง ประเทศไทย ( 2548: 30-31) ระบบสารสนเทศและการสื่ อ สารมี ความส าคั ญ ต่ อ การปฏิ บัติง านของบุ คลากรไม่ ว่า จะเป็ น ผู้บริหาร หรือผู้ปฏิบัติงานในทุกระดับ ระบบสารสนเทศต่อให้เ กิ ดรายงานที่ ใ ห้ ข้อ มู ล ซึ่ ง เป็ น ไปได้ ทั้ ง ข้อมูลทางการเงิน ข้อมูลการปฏิบัติงานและข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติง านตามกฎระเบี ย บต่ า งๆ ที่ จะ ช่ วย ควบคุมให้ ธุ ร กิ จดาเนิ น ไปได้ การสื่ อ สารที่ มีประสิ ทธิ ผ ลจาเป็ น ต้ อ งกระทาในเชิ ง กว้ า ง บุ คลากร ทั้งหลายควรจะได้รับข้อมูลข่าวสารที่ชัดเจนจากผู้ บริ ห ารระดั บสู ง และต้ อ งเข้ า ใจบทบาทของตนใน ระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งความเกี่ยวเนื่องของกิ จกรรมควบคุ มต่ า งๆนอกจากการสื่ อ สาร ภายใน องค์กรแล้วยังจาเป็นต้องมีการสื่อสารที่มีประสิทธิผลกับบุคคลภายนอก ได้ แ ก่ ลู ก ค้ า ผู้ ขาย เจ้ า หน้ า ที่ รั ฐ ตลอดจนผู้ถือหุ้นด้วย จันทนา สาขากร นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ และ ศิลปพร ศรี จั่น เพชร (2550: 2-11) ผู้ บริ ห าร ควรกาหนดให้มีการบันทึกข้อมูลสารสนเทศที่เ กี่ ย วข้ อ งกั บองค์ ก าร ไม่ ว่า จะมาจากแหล่ ง ภายในหรื อ ภายนอกองค์การ และก าหนดให้ มีก ารสื่ อ สารในรู ปแบบที่ เ หมาะสมและทั น กาล เพื่ อ ให้ บุค ลากร ตอบสนองต่อเหตุการณ์ต่างๆได้อย่างรวดเร็ วและมี ประสิ ทธิภาพ พลพธู ปี ย วรรณ และสุ ภ าพ ร เชิ ง เอี่ ย ม (2550: 80) ระ บบสารสนเทศทางการบั ญ ชี ประกอบด้วย รายการบัญชีและวิธีการที่ใช้ในการบันทึกรายการคุ ณ ภาพของข้ อ มู ล สารสนเทศที่ ไ ด้ จาก ระบบสารสนเทศทางการบัญชีมีผลกระทบต่อการตั ดสิ น ใจของผู้ บริ ห ารในการดาเนิ น งานและความ น่าเชื่อถือของงบการเงิน
26 วั ช นี พ ร เศรษฐสั ก โก (2551: 148) ผู้ บริ ห ารทุ ก ระดั บในองค์ ก รมี ความจาเป็ น ต้ อ งใช้ สารสนเทศ ในการ ตัดสินใจ วางแผน ควบคุ มการปฏิ บัติง าน และสั่ ง การ เพื่ อ ให้ ง านที่ อ ยู่ ใ นความ รับผิดชอบ บรรลุตามเป้าหมายและนโยบายขององค์กร ดังนั้นสารสนเทศที่ดีจะต้ อ งมี คุณ ภาพในแง่ ของ ความถูกต้อง ครบถ้วน และเชื่อถือได้ รวมทั้ ง สามารถสื่ อ สารไปยั ง บุ คคลที่ เ กี่ ย วข้ อ งได้ ทัน เวลาตามที่ ต้องการ สารสนเทศทางการบัญชีนี้เป็นผลลัพธ์ที่ได้ออกมาจากระบบสารสนเทศทางการบั ญ ชี ดั ง นั้ น การจัดให้มีการควบคุ มภายในของระบบสารสนเทศทางการบัญชีจึงเป็น สิ่งสาคัญ ข้อมูลสารสนเทศ เป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการบริหารงานโดยเฉพาะอย่างยิ่ ง ในยุ คปั จจุ บัน ซึ่ ง เป็นยุคที่ผู้ใช้ข้อมูลได้ข้อมู ล ข่ า วสารที่ ร วดเร็ วและถู ก ต้ อ งทาให้ ส ามารถช่ วงชิ ง โอกาสได้ ก่ อ นผู้ อื่ น ข้อมูลสารสนเทศหมายความรวมถึงข้อมูลข่าวสารทางการเงิน และข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วกั บการดาเนิ น งานอื่ น ๆ ที่มาจากทั้งแหล่งข้อมูลภายใน และภายนอกองค์ก ร ข้ อ มู ล สารสนเทศมี ความส าคั ญ ต่ อ การปฏิ บัติง าน ของผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานในทุกระดับ ผู้ บริ ห ารใช้ ข้อ มู ล สารสนเทศในการพิ จารณาสั่ ง การ และ วางแผน ส่วนผู้ปฏิบัติงานใช้เพื่อเป็นเครื่องชี้นาในการปฏิบัติงานตามหน้า ที่และความรั บผิ ดชอบ การมี ส ารสนเทศที่ มีคุณ ภาพเป็ น หั วใจส าคั ญ ของการตั ดสิ น ใจของผู้ บริ ห ารและการ ประเมินความเสี่ยง และหลายกิจการจึงใช้ระบบคอมพิ วเตอร์ ใ นการประมวลผลและสื่ อ สารที่ ทัน สมั ย สารสนเทศที่มีคุณภาพมีลั กษณะดังนี้ 1. เหมาะสมกับการใช้ คือ มีเนื้อหาสาระที่จาเป็นต่อการตัดสินใจ 2. มีความถูกต้อง สมบูรณ์ สะท้อนผลตามความจริง และมีรายละเอียดที่จาเป็นครบถ้วน 3. เป็นปัจจุบัน คือ ให้ข้อมูลล่าสุด หรือใกล้เคียงกับวันที่ตัดสินใจมากที่สุ ด 4. ทันเวลา คือ ได้ข้อมูลที่ต้องการทันเวลาที่ จะใช้ 5. เหมาะสมในการเข้าถึง คือ ควรง่ายสาหรับบุคคลที่มีอานาจเกี่ ย วข้ อ งและสมควรเข้ า ถึ ง แต่มีระบบการควบคุ มป้ องกันสาหรั บผู้ ไ ม่ มีหน้าที่เกี่ย วข้ องไม่ให้เข้าถึงข้ อ มูล ดังกล่า ว
27 การสื่อสาร หมายความรวมทั้ง การสื่อสารกับบุคคลหรือหน่วยงานทั้ ง ภายในและภายนอก องค์กร ข้อมูลสารสนเทศจะมีประโยชน์เมื่อ องค์ ก รมี ร ะบบการสื่ อ สารที่ ส ามารถส่ ง ถึ ง ผู้ ส มควรได้ รั บ และสามารถนาข้อมูลไปใช้เป็นประโยชน์ได้ การสื่อสารที่ ดีต้อ งเป็ น การสื่ อ สารสองทาง คื อ มี ก ารรั บ และส่งข้อมูลแบบตอบโต้กันได้ การติดต่อสื่อสารทั้งภายในและภายนอกองค์ ก รควรมี ก ารประเมิ น เป็ น ระยะๆอย่างสม่าเสมอ เพื่อทราบประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบการสื่ อสารที่ องค์กรใช้อยู่ 5. การติดตามประเมินผล (Monitoring) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่ ง ประเทศไทย ( 2548: 31) การประเมินอย่างต่อเนื่องจะเกิดในช่วงของการปฏิบัติงานซึ่งได้ แ ก่ การควบคุ มการปฏิ บัติง านโดย ผู้บังคับบัญชาและกิจกรรมใดๆ ที่บุคลากรต้ อ งกระทาในขณะปฏิ บัติง าน รวมถึ ง กิ จกรรมในทางการ บริหารและการกากับดูแลโดยผู้บริหารด้วย ส่วนขอบเขตและความถี่ ใ นการประเมิ น แบบแยกประเมิ น นั้น ขึ้นอยู่กับการประเมินความเสี่ยงและประสิทธิ ผ ลของการประเมิ น แบบต่ อ เนื่ อ ง จากการประเมิ น ดังกล่าว ควรจะต้องมีก ารรายงานจุ ดบกพร่ อ งของระบบควบคุ มให้ ผู้ บัง คั บบั ญ ชาทราบและถ้ า เป็ น ประเด็นที่ร้ายแรงก็ต้องรายงานให้ผู้บริหารระดับสูงและคณะกรรมการขององค์ กรทราบโดยด่ วน สุรีย์ วงศ์วณิช (ม.ป.ป. : 96) ได้ให้ความหมายของการติ ดตามและประเมิ น ผล ไว้ ว่า ระบบ การควบคุมภายใน จาเป็นต้องมีก ารติ ดตามและประเมิ น ผล เพื่ อ ให้ ทราบถึ ง ความมี ประสิ ทธิ ผ ลของ มาตรการและระบบการควบคุมภายในที่อาจแปรเปลี่ยนไปได้เสมอๆ ซึ่ ง ทาให้ ผู้ บริ ห ารมี ความมั่ น ใจได้ อย่างสมเหตุสมผล วัชนีพร เศรษฐสักโก (2551: 149) เพื่อให้ทราบถึงประสิทธิภ าพ และประสิ ทธิ ผ ลของการ ควบคุมภายในที่ใช้ในกิ จการว่ า ส าเร็ จตามวั ตถุ ประสงค์ หรื อ ไม่ เพี ย งใด กระบวนการติ ดตามและ ประเมิ น ผลนี้ แบ่ ง เป็ น 2 ประเภท คื อ ประเภทแรกเป็ น การติ ดตามและประเมิ น ผลระหว่ า งการ ปฏิ บัติง าน (Ongoing monitoring activities) ส่ วนประเภทที่ 2 เป็ น การติ ดตามและประเมิ น ผลตาม ช่วงเวลา (Separate evaluation) เพื่อประเมินประสิทธิ ภ าพการควบคุ มภายในของระบบงาน ขอบเขต และความถี่ ของ การติ ดตามและ ประ เมิ น ผลตามช่ วง เวลานี้ ขึ้น อยู่ กั บ ขนาดของ ความเสี่ ย งและ ความสาคัญของการควบคุ มที่ จะถูก ประเมิน
28 ไม่มีการควบคุมภายในขององค์กรใดองค์ ก รหนึ่ ง จะมี ความสมบู ร ณ์ แ ละเหมาะสมตลอด กาลเนื่องจากสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป ทั้งในองค์กรเอง และสภาวะแวดล้ อ มภายนอก แม้ แ ต่ ก ารควบคุ ม ที่เพิ่งกาหนดขึ้นและใช้ถือปฏิบัติตาม จึ ง จาเป็ น ต้ อ งมี ร ะบบการติ ดตามและประเมิ น ผล เพื่ อ ช่ วยให้ ผู้บริหารมีความมั่นใจอย่างสมเหตุส มผลอยู่ ตลอดเวลาว่าการควบคุ มภายในยังมี ประสิ ทธิภาพอยู่ การติดตามจะใช้สาหรับมาตรการหรือระบบที่อยู่ระหว่างการออกแบบหรื อ อยู่ ร ะหว่ า งการ ปฏิบัติงาน (Ongoing Monitoring) การประเมินผล (Evaluation) จะใช้สาหรับมาตรการหรือระบบการควบคุ มที่ ใ ช้ ไ ปแล้ วเป็ น ระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งสมควรที่จะได้รับการประเมินว่า ยังมี ความเหมาะสมหรื อไม่ เพียงใด นอกจากนี้ COSO ได้กาหนดให้ต้องมีการจัดทารายงานการติ ดตามและประเมิ น ผล เสนอ ผู้บริหารที่ รั บผิ ดชอบ โดยชี้ แ จงหรื อ อธิ บายให้ ทราบว่ ามี ความแตกต่ า งระหว่ า งการปฏิ บัติจริ ง กั บ ประมาณการหรือแผนงานอย่างไร มีสาเหตุจากอะไร และใครเป็ น ผู้ รั บผิ ดชอบ เพื่ อ ให้ เ กิ ดการสั่ ง การ แก้ไข ซึ่งถือเป็นหัวใจสาคัญของการควบคุ มด้านการบริหาร มาตรฐานการควบคุมภายในที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินกาหนด มาตรฐานการควบคุ มภายในก าหนดโดยคณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ได้ จัดทาขึ้ น ตาม พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนู ญ ว่ า ด้ วยการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น พ.ศ. 2542 มาตรา 15 (3) (ก) โดยมี วัตถุประสงค์ เพื่อให้หัวหน้ า หน่ วยงานภาครั ฐ น ามาตรฐานการควบคุ มภายในที่ ก าหนดไปใช้ เ ป็ น แนวทางสาหรับการจัดวางระบบการควบคุมภายในให้ มีประสิ ทธิ ผ ลและประสิ ทธิ ภ าพ มาตรฐานการ ควบคุ มภายในที่ คณะกรรมการตรวจเ งิ น แผ่ น ดิ น ก าหนดประกอบด้ วย 5 องค์ ประกอบ ที่ มีความ เชื่อมโยงและเกื้อกูลกัน คือ 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุ ม (Control Environment) 2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
29 3. กิจกรรมการควบคุ ม (Control Activities) 4. สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communications) 5. การติดตามประเมินผล (Monitoring) องค์ประกอบทั้ง 5 ประการ มีความเกี่ยวเนื่องสัมพัน ธ์ กั น โดยมี ส ภาพแวดล้ อ มของการควบคุ ม เป็นรากฐานที่จะทาให้องค์ประกอบอื่น ๆ ดารงอยู่ ไ ด้ อ ย่ า งมั่ น คง สภาพแวดล้ อ มที่ เ อื้ อ ต่ อ การควบคุ ม ภายในเป็นพื้นฐานสาคัญทาให้มีการปฏิบัติตามองค์ ประกอบอื่ น ๆ องค์ ประกอบทั้ ง 5 นี้ จะถื อ ว่ า เป็ น มาตรฐานการควบคุมภายใน เนื่องจากเป็นสิ่งจาเป็นในการดาเนิ น งานตามภารกิ จขององค์ ก รให้ บรรลุ ตามวัตถุประสงค์ แ ละเป้ า หมายที่ ก าหนดและ ยั ง เป็ น องค์ ประกอบขั้ น พื้ น ฐานที่ จาเป็ น ส าหรั บการ ควบคุมภายใน ซึ่งจะเป็นรากฐานไปสู่การบรรลุ วัตถุประสงค์ของหน่วยงาน 3 ประการ คือ 1. เกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดาเนินงาน 2. สร้างความน่าเชื่อถือของรายงานทางการเงิน 3. ทาให้มีการปฏิบัติตามกฎระเบีย บ
ภาพที่ 2-1 ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบการควบคุ มภายใน ที่มา: สานักงานตรวจเงินแผ่นดิน (2544: 13)
30 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม (Control Environment) สภาพแวดล้อมของการควบคุม หมายถึง ปัจจัย ต่ า งๆ ซึ่ ง ร่ วมกั น ส่ ง ผลให้ มีก าร ควบคุ มขึ้ น ในหน่วยรับตรวจ หรือทาให้การควบคุมที่มีอยู่ได้ผลดีขึ้น ในกรณีตรงข้ า มสภาพแวดล้ อ มอาจทาให้ ก าร ควบคุมย่อหย่อนลงได้ ตัวอย่างปัจจัยเกี่ยวกับสภาพแวดล้ อ มของการควบคุ ม เช่ น ปรั ช ญาและรู ปแบบ การทางานของผู้ บริ ห าร ความซื่ อ สั ตย์ แ ละจริ ย ธรรม ความรู้ ทั ก ษะและความสามารถของบุ คลากร โครงสร้ า งการจั ดองค์ ก ร การมอบอ านาจและหน้ า ที่ ความรั บผิ ดชอบ นโยบายและวิ ธี บริ ห ารด้ า น บุคลากร เป็นต้น สภ าพ แวดล้ อ มการควบคุ มเ ป็ น เรื่ อ ง เกี่ ย วกั บ การสร้ า ง ความตระ ห นั ก (Control Consciousness) และบรรยากาศของการควบคุมในหน่วยงาน ให้บุคลากรในหน่ วยงานเกิ ดจิ ตส านึ ก ที่ ดี ในการปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบโดยเน้นการสร้ า งบรรยากาศ โดยผู้ บริ ห ารระดั บสู ง (Tone at the top) การควบคุมด้านนี้แบ่งเป็นการควบคุ มโดยสร้ า งจิ ตส านึ ก และคุ ณ ภาพ (Soft Controls) ที่ มองเห็ น ไม่ไ ด้ เช่ น ความซื่ อ สั ตย์ ความโปร่ ง ใส การมี ผู้ น าดี ความมี จริ ย ธรรม เป็ น ต้ น และการควบคุ มโดย กาหนดโครงสร้าง นโยบายและระเบียบวิธีปฏิบัติ (Hard Controls) ที่เป็นหลักฐานมองเห็นได้ สภาพแวดล้ อ มการควบคุ มที่ ดี คื อ สภาพแวดล้ อ มที่ ท าให้ บุคลากรในองค์ ก รมี ความ รั บผิ ดช อบและ เข้ า ใจขอบเขตอ านาจหน้ า ที่ ของตน เอง และบุ คลากรดั ง กล่ า วจะต้ อ งมี ความรู้ ความสามารถ และทั ก ษะที่ จาเป็ น ต้ อ งใช้ ใ นการปฏิ บัติง านตามที่ ไ ด้ รั บมอบหมายอย่ า งเพี ย งพ อ นอกจากนี้ บุคลากรดังกล่าวจะต้องยอมรับและปฏิบัติตามนโยบายและแนวทางการปฏิ บัติง าน รวมถึ ง ข้อกาหนดด้านจริยธรรมที่กาหนด เนื่องจากสภาพแวดล้ อ มของการควบคุ มเป็ น องค์ ประกอบที่ มี ผลกระทบอย่ า งมากต่ อ กิจกรรมทั้งหมดที่เกิดขึ้นในองค์กรและการตั ดสิ น ใจของฝ่ า ยบริ ห าร ดั ง นั้ น สภาพแวดล้ อ มของการ ควบคุมจึงเป็นรากฐานที่สาคัญขององค์ประกอบอื่น ๆ ของการควบคุ มภายใน สภาพแวดล้ อ มของการ ควบคุมที่ดีจะเป็นการสร้างบรรยากาศให้ บุคลากรทุ ก คนได้ ตระหนั ก ถึ ง ความจาเป็ นและความส าคั ญ ของการควบคุมภายใน ซึ่งจะเอื้ออานวยให้เกิดโครงสร้างของการควบคุ มภายในและวิ นั ย ของบุ คลากร ในการยอมรับการควบคุ มภายในที่องค์กรได้ กาหนดขึ้น
31 ผู้ ก ากั บดู แ ลและ/หรื อ ฝ่ า ยบริ ห ารควรมี บทบาทในการส่ ง เสริ มและสนั บสนุ น ให้ เ กิ ด สภาพแวดล้อมของการควบคุ มที่ ดีโ ดย 1. จัดทาข้อกาหนดด้านจริยธรรม และแจ้งให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ทุก คนทราบว่ า การปฏิ บัติห น้ า ที่ ด้วย ความซื่อสัตย์ และมีจริยธรรมมีความสาคั ญ อย่ า งยิ่ ง รวมทั้ ง ผู้ บริ ห ารควรทาตั วให้ เป็น แบบอย่าง ทั้งโดยคาพูดและการกระทาอย่างสม่าเสมอ 2. กาหนดนโยบาย มาตรฐาน และแนวทางการปฏิบัติงาน แล้วแจ้งให้ทุกคนทราบ 3. กาหนดโครงสร้างการจัดองค์กรให้มีสายการบังคั บบั ญ ชา และความสั มพั น ธ์ ร ะหว่ า ง หน่ วยงาน ภายในองค์ ก รที่ เ หมาะสม ชั ดเจน และสอดคล้ อ งกั บขนาดและการ ดาเนินงาน ขององค์กร 4. กาหนดให้ มีเ อกสารก าหนดคุ ณ ลั ก ษณะเฉพาะตาแหน่ ง (Job Description) ซึ่ ง ระบุ ลักษณะงานของบุคลากรทุกตาแหน่งหน้าที่ และระดับของความรู้ ความสามารถ และ ทักษะที่จาเป็นต้องใช้ในแต่ละงานอย่า งชั ดเจน รวมทั้ ง มอบหมายอ านาจหน้ า ที่ แ ละ ความรับผิดชอบให้แก่บุคลากรในแต่ละตาแหน่งอย่างเหมาะสม 5. กาหนดให้มีนโยบายและแนวทางการปฏิบัติงานเกี่ ย วกั บการบริ ห ารทรั พ ยากรบุ คคล เช่นการสรรหาบุคลากร การฝึกอบรมและการพั ฒ นาบุ คลากร การเลื่ อ นขั้ น เงิ น เดื อ น การเลื่อนตาแหน่ง และการประเมินผลการปฏิ บัติง านของบุ คลากรอย่ า งชั ดเจนและ เป็นธรรม 6. กาหนดบทลงโทษทางวินัยอย่างชัดเจนและเหมาะสม ในกรณี ที่บุคลากรในองค์ ก รได้ กระทาการที่ เ ป็ น การฝ่ า ฝื น นโยบาย กฎหมาย ระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ แนวทางการ ปฏิบัติงาน หรือข้อกาหนดด้านจริยธรรมที่ กาหนดไว้ ผู้กากับดูแลควรรับผิดชอบต่อการพิจารณาอนุ มัติน โยบาย กลยุ ทธ์ และโครงสร้ า งการจั ด องค์กรตามที่ฝ่ายบริหารเสนอ ศึกษาทาความเข้าใจเกี่ ย วกั บความเสี่ ย งที่ มีผ ลกระทบต่ อ การดาเนิ น งาน
32 และกาหนดระดับความเสี่ยงที่สามารถยอมรับได้ กากับดู แ ลให้ มั่น ใจว่ า ฝ่ า ยบริ ห ารได้ ดาเนิ น การอย่ า ง เพียงพอและเหมาะสมในการระบุ วิเคราะห์ ติดตามและควบคุมความเสี่ยง และก ากั บดู แ ลให้ ฝ่ า ยบริ ห าร ติดตามประเมินผลการควบคุ มภายในที่ได้ กาหนดไว้ ฝ่ายบริหารควรรับผิดชอบต่อการบริ ห ารงานให้ เ ป็ น ไปตามนโยบายและกลยุ ทธ์ ตามที่ ผู้ กากับดูแลได้ให้ความเห็นชอบ และกาหนดนโยบายเกี่ยวกับการควบคุ มภายในอย่ า งเหมาะสม รวมทั้ ง ติดตามประเมินผลการควบคุ มภายในที่ได้ กาหนดไว้ ปรั ช ญาและรู ปแบบการทางานของผู้ บริ ห าร มี ผ ลกระทบต่ อ สภาพแวดล้ อ มของการ ควบคุม โดยเป็นตัวกาหนดระดับความเสี่ยงขององค์กรให้อยู่ ใ นระดั บที่ ย อมรั บได้ และมี ผ ลต่ อ ทั ศ นคติ ตลอดจนมีผลต่อระบบสารสนเทศ การบัญชี การบริ ห ารบุ คคล การติ ดตามผล การตรวจสอบและ การ ประเมินผลซึ่งมีผลต่อการควบคุมภายใน ผู้บริหารจึงต้องเลือกปรัชญาและวิ ธี ก ารทางานที่ เ หมาะสมกั บ สถานการณ์และรับผิดชอบต่อ ผลที่เกิดขึ้น 2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ความเสี่ยง หมายถึ ง โอกาสที่ จะเกิ ดความผิ ดพลาด ความเสี ย หาย การรั่ วไหล ความสู ญ เปล่าหรือเหตุการณ์ซึ่งไม่พึงประสงค์ที่ทาให้งานไม่ประสบความสาเร็ จตามวั ตถุ ประสงค์ แ ละเป้ า หมาย ที่กาหนด การประเมินความเสี่ยง หมายถึง กระบวนการที่ใช้ในการระบุและวิเคราะห์ความเสี่ยงที่ มี ผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุ ประสงค์ขององค์ก ร รวมทั้งการกาหนดแนวทางที่ จาเป็น ต้องใช้ในการ ควบคุมความเสี่ยง หรือการบริหารความเสี่ยง การกาหนดวัตถุประสงค์ (Objectives Setting) เป็ น เงื่ อ นไขที่ จาเป็ น ประการแรกส าหรั บ การควบคุมภายใน ถ้าหน่วยรั บตรวจไม่ มีวัตถุ ประสงค์ แ ละเป้ า หมายในการดาเนิ น งาน ก็ ไ ม่ มีความ จาเป็นต้องมีการควบคุมภายใน ในเบื้องต้นทุกองค์กรจะต้อ งก าหนดภารกิ จเพื่ อ ก าหนดทิ ศ ทางในการ ดาเนินงานขององค์ก ร หลั ง จากนั้ น ผู้ บริ ห ารควรก าหนดวั ตถุ ประสงค์ ขององค์ ก รให้ ส อดคล้ อ งกั บ ภารกิจที่ได้กาหนดไว้ โดยทั่วไปวัตถุประสงค์ขององค์ กรอาจแบ่งออกได้เป็น 2 ระดับ คือ
33 1. วั ตถุ ประสงค์ ใ นระดั บองค์ ก ร (Entity – level objectives) เป็ น วั ตถุ ประสงค์ ของการ ดาเนินงานในภาพรวมขององค์กร โดยทั่วไปวัตถุ ประสงค์ ใ นระดั บองค์ ก รจะระบุ ไ ว้ ในแผนกลยุ ทธ์ และแผนการปฏิ บัติง านประจาปี ขององค์ ก รเช่ น เดี ย วกั บ ภารกิ จ (Mission)และกลยุทธ์ในภาพรวมขององค์ กร 2. วัตถุประสงค์ในระดับกิจกรรม (Activity – level objectives) เป็ น วั ตถุ ประสงค์ ของการ ดาเนินงานที่เฉพาะเจาะจงลงไปสาหรับแต่ละกิ จกรรมที่ อ งค์ ก รก าหนดเพื่ อ ให้ บรรลุ วัตถุประสงค์ขององค์กร ซึ่ ง วั ตถุ ประสงค์ ของแต่ ล ะกิ จกรรมจะต้ อ งสนั บสนุ น และ สอดคล้องกับวัตถุ ประสงค์ในระดั บองค์ กร การกาหนดวัตถุประสงค์ขององค์กรควรมีลาดับขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 1) กาหนดภารกิจขององค์กร 2) กาหนดวัตถุประสงค์ในระดับองค์กรให้ส อดคล้ องกับภารกิ จที่ กาหนดไว้ 3) กาหนดกิจกรรมที่ทาให้บรรลุ วัตถุประสงค์ในระดับองค์ กร 4) กาหนดวัตถุประสงค์ในระดับกิจกรรม
ภารกิจ ขององค์กร
วัตถุประสงค์
ภาพที่ 2-2 การกาหนดวัตถุประสงค์ขององค์ก ร ที่มา: สานักงานตรวจเงินแผ่นดิน (2544: 17)
กิจกรรมที่ทาให้
วัตถุประสงค์ใน
บรรลุ
ระดับกิจกรรม
วัตถุประสงค์
34 วั ตถุ ป ระสงค์ ที่ ก าห นดขึ้ น ใน แต่ ล ะระ ดั บ ควรมี ก ารก าหน ดเป้ า หมายและตั วชี้ วั ด ความสาเร็จที่ชัดเจนและสามารถวัดผลได้ ระบบการควบคุมภายในที่ดีจะต้อ งให้ ความมั่ น ใจอย่ า งสมเหตุ ส มผลว่ า สามารถช่ วยให้ องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ด้า นการดาเนิ น งาน การรายงานทางการเงิ น การปฏิ บัติตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ที่ต้องปฏิบัติทั้ง 3 ด้านดังกล่าว เป็นเป้าหมายของการควบคุ มภายใน ดั ง นั้ น วั ตถุ ประสงค์ ของ องค์กรจึงควรระบุไว้ด้วยว่ าแต่ ละวัตถุประสงค์ที่กาหนดเป็นวัตถุประสงค์ก ารควบคุ มภายในด้านใด ตามมาตรฐานคณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ก าหนดให้ ฝ่ า ยบริ ห ารต้ อ งประเมิ น ความ เสี่ยง เพื่อให้ทราบว่าการดาเนินงานขององค์กรมีความเสี่ยงที่สาคัญในเรื่องใดและในขั้นตอนใดของการ ปฏิบัติงานที่มีผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ เป้าหมาย หรือผลสาเร็ จของการปฏิ บัติง าน การทราบจุ ดเสี่ ย ง ที่สาคัญจะเป็นประโยชน์ในการกาหนดแนวทางการควบคุ มเพื่ อ ป้ อ งกั น หรื อ ลดความเสี่ ย งตามระดั บ ของความเสี่ยง เช่น มีความเสี่ยงมากควบคุมมาก ซึ่งจะทาให้เกิดความมั่ น ใจตามสมควรว่ า ความเสี ย หาย หรือความผิดพลาดจะไม่เกิ ดขึ้น หรือหากเกิดขึ้นจะอยู่ในระดับที่สามารถยอมรับได้ ขั้นตอนในการประเมินความเสี่ยงประกอบด้วย 3 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 3.1 การระบุปัจจัยเสี่ยง (Risk Identification) ความเสี่ยงมีสาเหตุจากปัจจัยทั้งภายในและภายนอกปั จจั ย เหล่ า นี้ มีผ ลกระทบต่ อ วัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กรหรือผลการปฏิ บัติง าน ทั้ ง ในระดั บองค์ ก รและ ระดับกิจกรรม ในการระบุปัจจัยเสี่ยงฝ่ายบริหารจาเป็นต้อ งตั้ ง คาถามว่ า มี เ หตุ ก ารณ์ ใ ด หรือกิจกรรมใดของกระบวนการปฏิ บัติง านที่ อ าจเกิ ดความผิ ดพลาด ความเสี ย หาย และการไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ที่ก าหนด รวมทั้ ง มี ทรั พ ย์ สิ น ใดที่ จาเป็ น จะต้ อ งได้ รั บ การดูแลป้องกันรักษา เช่น ความเสี่ยงจากการจัดซื้อจัดจ้างในราคาแพง , ความเสี่ ย งจาก การจัดซื้อพัสดุที่มีคุณภาพต่ากว่าข้อ กาหนด เป็นต้น
35 3.2 การวิเคราะห์ความเสี่ยง (Risk Analysis) หลังจากระบุปัจจัยเสี่ยงแล้ว ขั้นต่อไปคือการวิ เ คราะห์ ความเสี่ ย งหรื อ ผลกระทบ ของความเสี่ยงต่อองค์กร เทคนิคการวิเคราะห์ความเสี่ ย งมี ห ลายวิ ธี เ พราะการวั ดความ เสี่ยงเป็นตัวเลขว่ามีผลกระทบต่ อ องค์ ก รเท่ า ไรนั้ น เป็ น สิ่ ง ที่ ทาได้ ย าก โดยทั่ วไปจะ วิเคราะห์ความเสี่ยงโดยประเมินนัยสาคัญหรือ ผลกระทบของความเสี่ ย ง ( Materiality) และความถี่ที่จะเกิดหรือโอกาสที่จะเกิดความเสี่ ย ง ( Frequency) โดยการใช้ วิธี ก ารให้ คะแนน ดังนี้ ตารางที่ 2-1 โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงในระดับต่างๆ โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ความถี่โดยเฉลี่ย คะแนน สูงมาก 1 เดือนต่อครั้งหรือมากกว่า 5 สูง 1-6เดือนต่อครั้งแต่ไม่เกิน 5 ครั้ง 4 ปานกลาง 1 ปีต่อครั้ง 3 น้อย 2-3 ปีต่อครั้ง 2 น้อยมาก 5 ปีต่อครั้ง 1 หมายเหตุ: มูลค่าความเสียหาย และ ความถี่เป็นเพียงตัวอย่าง การนาไปใช้ควรมีการกาหนดให้ เหมาะสมกับขนาดภารกิจและลั กษณะการดาเนินงานขององค์ก ร ตารางที่ 2-2 ผลกระทบของความเสี่ยงต่ อองค์ กร ผลกระทบ มูล ค่าความเสียหาย คะแนน สูงมาก >10 ล้านบาท 5 สูง >2.5 แสนบาท-10ล้านบาท 4 ปานกลาง >50,000-2.5 แสนบาท 3 น้อย >10,000-50,000 บาท 2 น้อยมาก ไม่เกิน 10,000 บาท 1 หมายเหตุ: มูลค่าความเสียหาย และ ความถี่เป็นเพียงตัวอย่าง การนาไปใช้ควรมีการกาหนดให้ เหมาะสมกับขนาดภารกิจและลั กษณะการดาเนินงานขององค์ก ร
36 ผู้บริหารควรให้ความสาคัญต่อความเสี่ ย งที่ มีร ะดั บสู ง และมี โ อกาสเกิ ดขึ้ น สู ง แต่ อาจลด ความสนใจต่อความเสี่ยงที่มีระดั บต่ าและโอกาสจะเกิ ดความเสี่ ย งมี น้ อ ย การ วิเคราะห์ความเสี่ ย งของสองจุ ดนี้ ต้อ งใช้ วิจารณญาณอย่ า งมากว่ าควรอยู่ ร ะดั บใด เพราะการวั ดผลความเสี่ ย งทาได้ ย าก โดยอาจพิ จารณาจากความสั มพั น ธ์ ร ะหว่ า ง โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง และผลกระทบของความเสี่ ย งต่ อ องค์ ก รว่ า ก่ อ ให้ เ กิ ดระดั บ ของความเสี่ยงในระดับใด ซึ่งอาจแสดงได้ดังนี้
ภาพที่ 2-3 ความสัมพันธ์ระหว่างโอกาสที่ จะเกิดความเสี่ยง และผลกระทบของความเสี่ยง ที่มา: สานักงานตรวจเงินแผ่นดิน (2544: 19) นอกจากการใช้ แ นวทางในการวิ เ คราะห์ ความเสี่ ย งตามแผนภาพข้ า งต้ น แล้ ว ในทางปฏิ บัติฝ่ า ยบริ ห ารควรพิ จารณาถึ ง ปั จจั ย อื่ น ๆประกอบ อาทิ ความเสี่ ย งบาง ประเภทอาจมีโอกาสที่จะเกิดสูงมากถึงแม้ผลเสีย หายที่ เ กิ ดขึ้ น จากความเสี่ ย งดั ง กล่ า ว ในแต่ ล ะครั้ ง มี จานวนเ งิ น น้ อ ย แต่ ใ นภาพรวมอาจก่ อ ใ ห้ เ กิ ดผลเสี ย หายอย่ า ง มี สาระสาคัญต่อองค์กรได้ 3.2 การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) เมื่ อ ทราบความเสี่ ย งที่ มีนั ย ส าคั ญ และโอกาสที่ จะเกิ ดความเสี่ ย งแล้ วควร วิเคราะห์สาเหตุที่ทาให้เกิดความเสี่ ย ง และพิ จารณาว่ า จะยอมรั บความเสี่ ย งนั้ น
37 หรือจะกาหนดกิจกรรมการควบคุมต่างๆ เพื่อป้องกั น หรื อ ลดความเสี่ ย งให้ อ ยู่ ใ น ระดับที่สามารถยอมรั บได้ ร ะดั บดั ง กล่ า วผู้ บริ ห ารมี ห น้ า ที่ แ ละความรั บผิ ดชอบ กาหนดขึ้น แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาถึง ค่ า ใช้ จ่า ยหรื อ ต้ น ทุ น ในการจั ดให้ มีกิ จกรรม การควบคุมกับประโยชน์ที่จะได้ รับจากกิจกรรมควบคุมว่า คุ้ มค่าหรื อไม่ ผู้บริหารที่ให้ความสาคัญกับการประเมิ น ความเสี่ ย งอย่ า งสม่ าเสมอ และปรั บเปลี่ ย นการ ควบคุมภายในให้เหมาะสมกับความเสี่ยงที่เปลี่ยนไปอยู่ เ สมอ ย่ อ มถื อ ได้ ว่า ปฏิ บัติห น้ า ที่ ผู้ บริ ห ารอย่ า ง เหมาะสมและถือเป็นองค์ประกอบสาคัญอย่างหนึ่งของการควบคุ มภายใน การก าหนดวิ ธี ก ารควบคุ ม เพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยง ฝ่ า ยบริ ห ารควรพิ จารณาว่ า ความเสี่ ย งที่ เ กิ ดขึ้ น นั้ น เป็ น ความเสี่ ย ง ใน ลักษณะใด 1. กรณีเป็นความเสี่ยงเกี่ยวกับองค์กรโดยรวม มักเกิดจากปัจจั ย ภายนอกซึ่ ง มิ ไ ด้ อ ยู่ ภ ายใต้ การควบคุมของฝ่ายบริหาร การป้ อ งกั น หรื อ ลดความเสี่ ย งกระทาได้ โ ดยการบริ ห าร ความเสี่ ย งเช่ น ความเสี่ ย งจากการเ ปลี่ ย นแปลงระ บบอั ตราแลกเ ปลี่ ย นเงิ น ตรา ต่างประเทศ อาจบริหารความเสี่ ย งโดยการจั ดทาสั ญ ญาซื้ อ ขายเงิ น ตราต่ า งประเทศ ล่วงหน้า หรือพิจารณาหาแหล่งเงินกู้ภายในประเทศทดแทน เป็นต้น 2. กรณีเป็นความเสี่ยงเกี่ยวกับการควบคุ มภายใน ซึ่ ง เกิ ดจากปั จจั ย ภายในซึ่ ง อยู่ ภ ายใต้ การควบคุ มของฝ่ า ยบริ ห าร การป้ อ งกั น หรื อ ลดความเสี่ ย งกระทาได้ โ ดยจั ดให้ มี กิจกรรมการควบคุมอย่างเพียงพอและเหมาะสม เช่น ความเสี่ ย งจากการจั ดซื้ อ พั ส ดุ ใ น ราคาแพงแต่คุณภาพต่า อาจจัดให้มีกิจกรรมควบคุมเกี่ยวกั บการจั ดซื้ อ ให้ รั ดกุ มมากขึ้ น เช่น การกาหนดนโยบายการคัดเลือกผู้ขายที่ดีที่สุ ดทั้ ง ในเรื่ อ ง คุ ณ ภาพและราคา การ กาหนดวงเงินการอนุมัติจัดซื้อให้ เ หมาะสม การจั ดทาทะเบี ย นประวั ติผู้ ขาย รวมทั้ ง สถิติราคาและปริมาณการจั ดซื้ อ การแบ่ ง แยกหน้ า ที่ ตามหลั ก การควบคุ มภายในที่ ดี การกาหนดให้มีการสับเปลี่ยนหมุนเวียนเจ้าหน้าที่ จัดซื้อ เป็นต้น
38 3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) กิจกรรมการควบคุม หมายถึง นโยบายและวิธีการต่ า ง ๆ ที่ ฝ่ า ยบริ ห ารก าหนดให้ บุคลากร ของหน่วยรับตรวจปฏิบัติเพื่อลดหรือควบคุมความเสี่ย ง และได้ รั บการสนองตอบโดยมี ก ารปฏิ บัติตาม ตัวอย่างกิจกรรมการควบคุม เช่น การสอบทานงาน การดู แ ลป้ อ งกั น ทรั พ ย์ สิ น และการแบ่ ง แยกหน้ า ที่ เป็นต้น การควบคุมสามารถแบ่งเป็น 4 ประเภท คือ 1. การควบคุ มแบบป้ อ งกั น (Preventive Control) เป็ น การควบคุ มเพื่ อ ป้ อ งกั น หรื อ ลด ความเสี่ยงจากความผิ ดพลาด ความเสี ย หาย เช่ น การแบ่ ง แยกหน้ า ที่ ก ารงาน การ ควบคุมการเข้าถึงทรัพย์ สิน 2. การควบคุมแบบค้นพบ (Detective Control) เป็ น การควบคุ มเพื่ อ ค้ น พบความเสี ย หาย หรือความผิดพลาดที่เกิดขึ้นแล้ว เช่น การสอบทานงาน การสอบยั น ยอด การตรวจนั บ พัสดุ เป็นต้น 3. การควบคุมแบบแก้ไข (Corrective Control) เป็นวิธีการควบคุ มที่ ก าหนดขึ้ น เพื่ อ แก้ ไ ข ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นให้ถูกต้อง หรื อ เพื่ อ หาวิ ธี แ ก้ ไ ขไม่ ใ ห้ เ กิ ดข้ อ ผิ ดพลาดซ้ าอี ก ใน อนาคต 4. การควบคุมแบบส่งเสริม (Directive Control) เป็นวิธีการควบคุ มที่ ส่ ง เสริ มหรื อ กระตุ้ น ให้เกิดความสาเร็จตามวั ตถุ ประสงค์ ที่ต้องการ เช่น การให้รางวัลแก่ผู้มีผลงานดี การควบคุมทั้ง 4 แบบมีผลต่อประสิทธิผลของการควบคุ ม ภายใน การควบคุ มแบบป้ อ งกั น นิยมว่าเป็นการควบคุมด้านคุณภาพ และเสียค่า ใช้ จ่า ยน้ อ ยกว่ า การควบคุ มแบบค้ น พบหรื อ แบบแก้ ไ ข ปัญหาที่เกิดขึ้นแล้ว แต่การควบคุมแบบค้ น พบหรื อ แบบแก้ ไ ขยั ง คงความส าคั ญ ในการเป็ น หลั ก ฐาน ยืนยันการทางานของการควบคุมแบบป้องกัน ว่ า ได้ ผ ลจริ ง และป้ อ งกั น ความสู ญหายของทรั พ ย์ สิ น ได้
39 จริง การควบคุมแบบส่งเสริมนิยมว่าเป็นวิธีที่ดีแ ละทั น สมั ย เพราะมี ผ ลด้ า นบวกต่ อ การสร้ า งขวั ญ และ กาลังใจของผู้ปฏิบัติงาน กิจกรรมการควบคุมควรเป็ น ส่ วนหนึ่ ง ของการปฏิ บัติง านโดยแทรกหรื อ แฝงอยู่ กั บการ ปฏิบัติงานปกติ เช่น การวางแผน การปฏิบัติตามแผน การสอบทาน การดูแ ลป้ อ งกั น รั ก ษาทรั พ ย์ สิ น ของ องค์กรกิจกรรมการควบคุมมีอยู่ในทุกระดับของการปฏิ บัติง าน เช่ น การให้ ความเห็ น ชอบ การอนุ มัติ การสอบยันยอดและการกระทบยอด การสอบทานผลการปฏิ บัติง าน การรั ก ษาความปลอดภั ย การจด บันทึกกิจกรรมต่าง ๆ รวมทั้ ง การรวบรวมและจั ดเก็ บเอกสารที่ เ กี่ ย วข้ อ งซึ่ ง เป็ น หลั ก ฐานแสดงการ ปฏิบัติกิจกรรมนั้น ๆกิจกรรมการควบคุมอาจประยุกต์ใช้ในสภาพแวดล้ อ มของระบบงานคอมพิ วเตอร์ หรือในระบบงานที่ ทาด้ วยมื อ และกิ จกรรมควบคุ มอาจแยกตามวั ตถุ ประสงค์ ของการควบคุ ม เช่ น วัตถุประสงค์เพื่อความมั่นใจว่า การประมวลผลข้อ มู ลถูก ต้องสมบูร ณ์ ตามมาตรฐานคณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ก าหนดให้ ฝ่ า ยบริ ห ารจั ดให้ มีกิ จกรรม ควบคุมที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลเพื่อให้ อ งค์ ก รบรรลุ ผ ลส าเร็ จตามวั ตถุ ประสงค์ ของการควบคุ ม ภายใน ฝ่ายบริหารจึงควรจัดให้มีกิ จกรรมควบคุ มในทุ ก หน้ า ที่ และทุ ก ระดั บของการปฏิ บัติง านตาม ความจาเป็นอย่างเหมาะสมรวมเป็นส่วนหนึ่ ง ของการปฏิ บัติง านปกติ และควรหลี ก เลี่ ย งการก าหนด กิจกรรมการควบคุมที่เกินความจาเป็น ซึ่งกิจกรรมการควบคุมจะมี มากหรื อ น้ อ ยเพี ย งใดขึ้ น อยู่ กั บระดั บ ความเสี่ยงที่สามารถยอมรั บได้ และผลของการประเมินความเสี่ ยงและความคุ้ มค่ า กิจกรรมการควบคุมที่ปฏิบัติโดยปกติขององค์กรทั่วไปซึ่ ง จะเป็ น ประโยชน์ กั บฝ่ า ยบริ ห าร มีกิจกรรมการควบคุ ม ดังต่อไปนี้ 3.1 การอนุมัติ ในการดาเนินงานของทุกองค์กรฝ่ายบริ ห ารไม่ ส ามารถดาเนิ น งานให้ บรรลุ ตาม วัตถุประสงค์ขององค์กรที่ได้กาหนดไว้โดยลาพัง จึงจาเป็ น ต้ อ งมอบหมายให้ บุคลากร ระดับรองลงมาปฏิบัติแทนโดยการมอบอ านาจ ในการมอบอ านาจให้ แ ก่ บุคลากรใน ระดับต่าง ๆ นั้น ควรกาหนดขอบเขตระดับของอานาจในการอนุ มัติใ ห้ ชั ดเจนเป็ น ลาย ลักษณ์อักษรและควรสื่อสารให้บุคลากรทราบทั่วกัน ผู้ที่ไ ด้ รั บมอบหมายอ านาจหน้ า ที่
40 ให้เป็ น ผู้ อ นุ มัติควรสอบทานความเพี ย งพอของเอกสารประกอบการขออนุ มัติว่า ถู ก ต้ อ งเหมาะสม และเป็ น ไปตามกฎหมาย ระเ บี ย บ นโยบาย และแนวทางการ ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้ อ ง และมี วงเงิ น ที่ อ นุ มัติอ ยู่ ภ ายใต้ ขอบเขตอ านาจที่ ตนสามารถ อนุมัติได้ รวมทั้งควรสอบถามเกี่ยวกั บรายการที่ ผิ ดปกติ จากผู้ ที่เ กี่ ย วข้ อ งก่ อ นลงนาม อนุมัติให้ดาเนินการ นอกจากนี้ผู้ที่มีอานาจอนุ มัติไ ม่ ควรลงนามอนุ มัติใ นแบบฟอร์ ม เปล่าหรือแบบฟอร์มที่ไ ม่ มีข้อ มูล รายการที่ขออนุ มัติอย่างเพียงพอ 3.2 การสอบทานงาน การสอบทานรายงานและข้อมูลข่ า วสารต่ า ง ๆ โดยฝ่ า ยบริ ห ารเป็ น กิ จกรรมการ ควบคุมที่สาคัญที่ควรกระทาอย่างต่อเนื่ อ งโดยสม่ าเสมอ และควรบั น ทึ ก ผลการสอบ ทานการปฏิบัติง านและสถานการณ์ ที่ฝ่ า ยบริ ห ารจาเป็ น ต้ อ งติ ดตามแก้ ไ ขเป็ น ลาย ลักษณ์อักษร ซึ่งการสอบทานผลการปฏิบัติงานของฝ่ายบริหารในแต่ ร ะดั บอาจมุ่ ง เน้ น ให้ความสนใจในประเด็นที่แตกต่างกัน 3.2.1
การสอบทานโดยผู้บริหารสูงสุด ผู้บริหารสูงสุดควรมุ่ ง เน้ น ให้ ความสนใจกั บ การบรรลุ วัตถุประสงค์ ขององค์ ก รในภาพรวมและวั ตถุ ประสงค์ ที่ส าคั ญ ขององค์กร โดยการ เปรีย บเที ย บข้ อ มู ล ผลการดาเนิ น งานในภาพรวมของ งวดปั จจุ บัน กั บ งบประมาณ เป้ า หมายตามแผนงาน ประมาณการ และ เปรียบเทียบกับผลการดาเนินงานในงวดก่อน หรือการดาเนิ น งานขององค์ ก ร อื่นที่เปรียบเทียบกันได้ หรื อ ตั วชี้ วัดความส าเร็ จอื่ น ๆ เพื่ อ ให้ เ ห็ น ภาพรวม ของการดาเนินงานว่าเป็ น ไปตามวั ตถุ ประสงค์ แ ละเป้ า หมายที่ ก าหนดไว้ หรือไม่ และชี้ ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง สถานการณ์ ที่ผิ ดปกติ ห รื อ ผลการปฏิ บัติง านที่ ไ ม่ เป็นไปตามที่คาดการณ์ไว้ ซึ่ง ผู้ บริ ห ารสู ง สุ ดควรให้ ความสนใจและติ ดตาม แก้ไข
3.2.2
การสอบทานโดยผู้ บริ ห ารระดั บรองลงมา ผู้ บริ ห ารระดั บรองลงมาหรื อ ผู้บริหารระดั บกลางเป็ น ผู้ มีห น้ า ที่ รั บผิ ดชอบเฉพาะงานด้ า นใดด้ า นหนึ่ ง ภายในองค์กรตามที่ได้รั บมอบหมายจากผู้ บริ ห ารสู ง สุ ดจึ ง ควรมุ่ ง เน้ น สอบ
41 ทานผลการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นจริงในหน่วยงานหรือกิจกรรมที่ ตนรั บผิ ดชอบ เปรียบเทียบกับเป้าหมายตามแผนงานที่ได้กาหนดไว้ และวิ เ คราะห์ ห าสาเหตุ ของความแตกต่างที่มีส าระส าคั ญ ที่ เ กิ ดขึ้ น รวมทั้ ง สอบทานการปฏิ บัติง าน จริงกับระเบียบและวิธีการปฏิบัติต่างๆ การสอบทานควรเข้ มงวดหรื อ กระทา บ่อยครั้งมากน้อยเพียงใดขึ้นกับลั กษณะและระดับความเสี่ ยงของงานนั้นๆ 3.3 การดูแลป้องกันทรัพย์สิน การดูแลป้องกันทรัพย์สินเป็นการจากัดการเข้าถึงทรัพย์สินที่มีความเสี่ ย ง เช่ น เงิ น สด ทรัพย์สินที่มีค่า เอกสารหลักฐานและระบบงานที่ ส าคั ญ ข้ อ มู ล สารสนเทศที่ เ ป็ น ความลับขององค์ ก ร เป็ น ต้ น เพื่ อ ป้ อ งกั น การสู ญ หาย การทุ จริ ต และการน าไปใช้ ประโยชน์โดยผู้ที่ไม่มีอานาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้ อ ง ฝ่ า ยบริ ห ารควรจั ดให้ มีก ารดู แ ลรั ก ษา ทรัพย์สินอย่างรัดกุมและเพียงพอ การดูแลป้องกั น รั ก ษาทรั พ ย์ สิ น ที่ ดี คื อ การควบคุ ม การเข้าถึงทรัพย์สินนั้น เช่น การเก็ บเงิ น สดและของมี ค่า ในเซฟที่ ปลอดภั ย การใส่ กุญแจห้ อ งเก็ บพั ส ดุ ห รื อ ตู้ เ ก็ บเอกสารหลั ก ฐานที่ ส าคั ญ การใช้ ร ะบบรั ก ษาความ ปลอดภัยโดยใช้การ์ ดหรื อ แผงสั ญ ญาณการใช้ ร หั ส ผ่ า น การจั ดเวรยามรั ก ษาความ ปลอดภัย เป็นต้น นอกจากนี้ ฝ่ายบริหารควรกาหนดให้ มีก ารจั ดทาทะเบี ย นทรั พ ย์ สิ น และให้มีการตรวจนับทรัพย์สินเป็นระยะ ๆ โดยบุคคลที่ไม่มีอ านาจหน้ า ที่ เ กี่ ย วกั บการ จั ดหาและดู แ ลรั ก ษาทรั พ ย์ สิ น นั้ น และเปรี ย บเที ย บผลที่ ไ ด้ จากการตรวจนั บกั บ ทะเบียนทรัพย์สิน หากมีผลต่างเกิดขึ้นควรติดตามหาสาเหตุแ ล้วดาเนิ น การตามควรแก่ กรณี และปรับปรุงทะเบียนทรัพย์สินให้ถู ก ต้ อ ง รวมทั้ ง ควรวิ เ คราะห์ ว่า กิ จกรรมการ ควบคุมที่มีอยู่เ ป็นไปโดยขาดประสิทธิภาพและประสิ ทธิผ ลหรือ ไม่เพื่อแก้ไ ขปรับปรุง 3.4 การบริหารทรัพยากรบุคคล การบริ ห ารทรั พ ยากรบุ คคลอย่ า งมี ประ สิ ทธิ ผ ล เป็ น สิ่ ง จ าเป็ น ที่ ท าให้ ก าร ดาเนินงานบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์และเป็นส่ วนส าคั ญ ของระบบการควบคุ ม ภายใน เช่น การมี โ ครงสร้ า งการจั ดองค์ ก รมี ก ารก าหนดหน้ า ที่ ความรั บผิ ดชอบที่ ชัดเจน มีผู้ปฏิบัติงานที่มีความรู้ความชานาญและเหมาะสมกั บงาน มี ก ารฝึ ก อบรมเพื่ อ
42 ความมั่นใจว่ามีการพัฒนาบุคลากรให้เกิดความรู้ความชานาญ มี สิ่ ง จู ง ใจในการทางาน มีการประเมินผลการปฏิบัติงานและดาเนิ น การตามผลของการประเมิ น โดยมี ร ะบบ การให้ผลตอบแทนแก่ผู้ที่มีผลงาน ซึ่งจะช่วยให้บุคลากร เข้ า ใจความสั มพั น ธ์ ร ะหว่ า ง ผลงานของตนกับความสาเร็จขององค์ ก รซึ่ ง เป็ น สิ่ ง ส าคั ญ ของ การบริ ห ารทรั พ ยากร มนุษย์ 3.5 การบันทึกรายการ และเหตุการณ์อย่างถูกต้องและทันเวลา รายการทางธุ ร กรรมที่ เ กิ ดขึ้ น ควรมี ก ารจดบั น ทึ ก ทั น ที เ พื่ อ ประโยชน์ ใ นการ ควบคุมการปฏิบัติงานและเพื่อการวินิจฉั ย สั่ ง การของฝ่ า ยบริ ห าร การบั น ทึ ก รายการ ดังกล่าวรวมถึงการจดบันทึกรายการที่มีความสาคัญ การจั ดทาบั ญ ชี ก ารเงิ น กิ จกรรมที่ สาคัญควรได้รับการอนุมัติก่อนดาเนินการและจั ดทาโดยผู้ ที่มีอ านาจและดาเนิ น การ ภายใต้ขอบเขตอานาจที่ได้รั บมอบหมาย 3.6 การกระทบยอด การกระทบยอดเป็ น กิ จกรรมการควบคุ มที่ ช่ วยให้ เ กิ ดความมั่ น ใจว่ า การบั น ทึ ก รายการต่างๆ ที่เกิดขึ้นเป็นไปอย่างถูกต้องและครบถ้ วน ตั วอย่ า งของการกระทบยอด ได้แก่ 3.6.1
การเปรียบเทียบรายการในบั ญ ชี ทรั พ ย์ สิ น ที่ มีอ ยู่ เช่ น การเปรี ย บเที ย บ ปริมาณ สินค้า ที่ตรวจนับได้กับปริ มาณที่ ปรากฏในทะเบียนคุ มสิน ค้า
3.6.2
การเปรียบเทียบรายการในบัญชีกับข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ รั บจากภายนอก เช่ น การ จัดทางบ พิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
3.6.3
การเปรียบเทีย บรายการในบั ญ ชี กั บทะเบี ย นคุ ม เช่ น การเปรี ย บเที ย บ บัญชีลูกหนี้ และเจ้าหนี้รายตัวกับบัญชีคุมลูกหนี้แ ละเจ้าหนี้
43 3.6.4
การเปรียบเทียบยอดรวมของรายการในบัญชีหนึ่งกับยอดรวมของรายการ ในอีกบัญชีหนึ่งที่มีความสัมพันธ์กัน เช่ น การเปรี ย บเที ย บยอดรวมของ เงินสดรั บจากการรั บช าระหนี้ ใ นทะเบี ย นเงิ น สดรั บกั บยอดรวมของ รายการรับชาระหนี้ในบัญชี ลูกหนี้รายตัว
สิ่งสาคัญที่สุดของการกระทบยอด คื อ การดาเนิ น การแก้ ไ ขผลต่ า งที่ เ กิ ดขึ้ น การกระทบยอดจะไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ องค์ ก ร หากมี ก ารค้ น พบผลต่ า งจาก การกระทบยอดแต่ไม่มีการดาเนินการแก้ไขผลต่า งดั ง กล่ า ว ดั ง นั้ น ในการกระทบ ยอดทุกครั้งควรจัดทาเป็นลายลักษณ์อักษร หากพบว่ า มี ผ ลต่ า งเกิ ดขึ้ น ควรติ ดตาม หาสาเหตุและดาเนินการตามควรแก่ก รณีและทาการแก้ไ ขให้ถูก ต้อง 3.7 การควบคุมระบบสารสนเทศ การควบคุมระบบสารสนเทศ อาจจาแนกเป็ น การควบคุ มทั่ วไป และการควบคุ ม เฉพาะระบบงานการควบคุมทั่วไป เป็นการควบคุ มที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บการปฏิ บัติง านของ ศูนย์ข้อมูล การจัดหา และดูแลรักษาซอฟท์แวร์ระบบงาน การรั ก ษาความปลอดภั ย ใน การเข้าถึงข้อมูล และระบบงานต่าง ๆ รวมถึงการพัฒนาและดู แ ลรั ก ษาระบบงานที่ อ ยู่ ในระบบสารสนเทศขององค์กร ส่วนการควบคุ มเฉพาะระบบงาน เป็ น การควบคุ มที่ ออกแบบขึ้นมาเพื่อใช้สาหรับควบคุมการประมวลผลของระบบงาน เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความ มั่นใจว่าข้อมูลที่ผ่านเข้าสู่ระบบงานดังกล่าวได้รับการบันทึก การประมวลผล และการ รายงานอย่างถูกต้องและครบถ้วน การควบคุมระบบสนเทศรวมถึงการแบ่งแยกหน้ า ที่ ใ นหน่ วยงานอย่ า งเหมาะสม โดยไม่ มอบหมายให้บุคคลใดบุคคลหนึ่ ง ปฏิ บัติง านเกี่ ย วกั บการประมวลผลข้ อ มู ล ที่ สาคัญหรือเสี่ยงต่อความเสียหายตั้งแต่ต้นจนจบ เว้ น แต่ ก รณี จาเป็ น ควรมี วิธี ก ารอื่ น ที่ เหมาะสมทดแทน การควบคุ มทั่ วไปและการควบคุ มเฉพ าะระบบงาน จะมี ความเชื่ อ มโยงและ สัมพันธ์กันหากองค์กรไม่กาหนดให้มีการควบคุ มทั่ วไปไว้ อ ย่ า งเพี ย งพอ ย่ อ มมี ผ ลทา
44 ให้การควบคุมเฉพาะระบบงานไม่สามารถดาเนิน ไปอย่ า งมี ประสิ ทธิ ผ ลได้ เนื่ อ งจาก การควบคุมเฉพาะระบบงานจะถู ก ก าหนดขึ้ น มาภายใต้ ส มมติ ฐ านที่ ว่า การควบคุ ม ทั่ วไปมี ก ารดาเนิ น ไปอย่ า งเหมาะสมและสามารถให้ ข้อ มู ล ย้ อ นกลั บได้ ใ นทั น ที เกี่ยวกับความผิดพลาดของข้อมูล รูปแบบของข้ อ มู ล ที่ ไ ม่ ถู ก ต้ อ งและการเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล โดยผู้ ไ ม่ มีอ านาจหน้ า ที่ ที่เ กี่ ย วข้ อ ง ดั ง นั้ น การควบคุ มทั่ วไปจึ ง เป็ น การควบคุ ม ที่ สนับสนุนให้ ก ารควบคุ มเฉพาะระบบงานดาเนิ น ไปอย่ า งมี ประสิ ทธิ ผ ล และการ ควบคุมทั้ง 2 ประเภทนี้ เป็ น สิ่ ง จาเป็ น ที่ จะทาให้ เ กิ ดความมั่ น ใจว่ า การประมวลผล ข้อมูลสารสนเทศเป็นไปอย่างถูกต้อ ง และครบถ้ วน เนื่ อ งจากการประมวลผลข้ อ มู ล สารสนเทศโดยคอมพิวเตอร์เป็นกระบวนการหนึ่งที่มีการเปลี่ ย นแปลงทางเทคโนโลยี อย่ า ง รวดเ ร็ ว ใ นขณะ ที่ อ งค์ ก รต้ อ งพั ฒ น าการควบคุ มระบบสารสน เทศใ ห้ มี ประสิทธิผลอยู่เสมอ ดังนั้น หากมีการเปลี่ ย นแปลงทางเทคโนโลยี จะมี ผ ลทา ให้ เ กิ ด การเปลี่ยนแปลงในกิจกรรมการควบคุมบางอย่ า ง แต่ จะไม่ มีผ ลกระทบต่ อ ข้ อ ก าหนด พื้นฐานของการควบคุม 3.8 การแบ่งแยกหน้าที่งาน หน้าที่ความรับผิดชอบของงานที่เสี่ยงต่อ ความเสี ย หายจาเป็ น ต้ อ งมี ก ารแบ่ ง แยก หน้าที่เพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยงจากข้อผิ ดพลาดหรื อ การทุ จริ ต โดยหลั ก การฝ่ า ย บริหารควรแบ่งแยกหน้าที่ (1) การรออนุ มัติร ายการ หรื อ การให้ ความเห็ น ชอบ (2) การประมวลผล หรือ การบันทึกรายการ (3) การดูแลรักษาทรั พ ย์ สิ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง หน้ า ที่ ทั้ง 3 ไม่ควรให้บุคคลคนเดียวปฏิบัติง านเหล่ า นั้ น ตั้ ง แต่ ต้น จนจบ อย่ า งไรก็ ตามหาก องค์กรมีข้อจากัดด้านบุคลากรทาให้ ไ ม่ ส ามารถแบ่ ง แยกหน้ า ที่ ง านดั ง กล่ า วได้ ควร กาหนดกิจกรรมอื่นทดแทน เช่น กาหนดให้ มีก ารสอบทานรายละเอี ย ดของกิ จกรรม ต่าง ๆ เพิ่มขึ้น หรือกาหนดให้มีการควบคุมดูแลโดยใกล้ชิด นอกจากนี้ อาจก าหนดให้ มีการสับเปลี่ยนหน้าที่งานระหว่ า งบุ คลากรภายในองค์ ก รเป็ น ครั้ ง คราวโดยเฉพาะ หน้าที่งานที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดข้อผิดพลาดหรื อ ความเสี ย หายแก่ อ งค์ ก รเพื่ อ มิ ใ ห้ บุคคลใดบุคคลหนึ่งกระทาการอันไม่เหมาะสมหรือทุจริตโดยอาศั ย ระยะเวลาที่ ทางาน ต่อเนื่องในหน้าที่งานเดิมเป็นเวลานาน
45 ความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกั บผลประโยชน์ ส่ วนรวม (Conflict of Interest) ซึ่งหมายถึง สถานการณ์ที่บุคคลหนึ่งมีบทบาทหน้าที่และ/ หรื อ ความสั มพั น ธ์ อื่นที่มีวัตถุประสงค์หรือผลประโยชน์ ขัดแย้ ง กั บบทบาทหน้ า ที่ ใ นองค์ ก ร ทาให้ ก าร ปฏิบัติงานของบุคคลผู้นั้นขาดความเป็นอิสระและเป็ น กลาง ความขั ดแย้ ง อาจเกิ ดขึ้ น จากผลประโยชน์ส่วนตัวไม่สอดคล้องกับผลประโยชน์ขององค์ ก ร จึ ง ทาให้ บุคคลนั้ น ต้องอยู่ในสภาวการณ์ที่ต้องเลือกทางใดทางหนึ่ง ซึ่งอาจไม่ก่ อ ให้ เ กิ ดประโยชน์ สู ง สุ ด ต่อองค์กร และอาจนาไปสู่การทุจริตและประพฤติมิชอบ เช่ น บุ คลากรขององค์ ก รเข้ า ไปเป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้เสียในสัญญาที่ทากับองค์ ก ร หรื อ เป็ น หุ้ น ส่ วนหรื อ ผู้ ถื อ หุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทที่เข้าเป็นคู่สัญญากับองค์ก ร เป็ น ต้ น ฝ่ า ยบริ ห ารจึ ง ควร กาหนดข้อห้ามเกี่ยวกับการ ขั ดแย้ ง ทางผลประโยชน์ ดัง กล่ า วไว้ ใ นข้ อ ก าหนดด้ า น จริยธรรม และทั้งฝ่ายบริหาร และบุคลากรทุกคนในองค์ ก รต้ อ งหลี ก เลี่ ย งสถาน การณ์ ที่อาจก่อให้เกิดความขั ดแย้งทางผลประโยชน์ด้วย 3.9 การจัดทาเอกสารหลักฐาน (Documentation) การดาเนินงาน หรือระบบงานใดที่มีความส าคั ญ จาเป็ น ต้ อ งจั ดทาหลั ก ฐาน เป็ น เอกสารหรื อ หนั ง สื อ ไว้ เช่ น โครงสร้ า งการควบคุ มภายใน การดาเนิ น งานหรื อ ระบบงานที่ ส าคั ญ คาสั่ ง น โยบาย หรื อ คู่ มือ การปฏิ บั ติง านซึ่ ง ควรมี ความถู ก ต้ อ ง ครบถ้วนและมีไว้พร้อมสาหรับการนาไปใช้ ไ ด้ ตลอดเวลา และจั ดระบบการดู แ ลให้ คู่มือนั้นเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ ตัวอย่างข้างต้นแสดงถึงกิจกรรมการควบคุ มต่ า ง ๆ ซึ่ ง อาจเป็ น ประโยชน์ ต่อ ฝ่ า ยบริ ห าร อย่างไรก็ตามตัวอย่างที่ให้นี้ยังไม่ครอบคลุมกิจกรรมการควบคุ มบางอย่ า งที่ ห น่ วยงาน อาจจาเป็ น ต้ อ ง ใช้ ข้อควรพิจารณาของฝ่ายบริหารในการกาหนดกิจกรรมการควบคุ ม ได้แก่ 1. กิจกรรมการควบคุมควรแฝง หรือ แทรกอยู่ ใ นกระบวนการหรื อ กิ จกรรมการทางาน ตามปกติขององค์กร
46 2. กิจกรรมการควบคุมที่กาหนดขึ้นต้องสามารถป้องกันหรือลดความเสี่ ย งให้ อ ยู่ ใ นระดั บ ที่สามารถยอมรับได้ โดยพิ จารณาจากผลการประเมิ น ความเสี่ ย งก่ อ นมี กิ จกรรมการ ควบคุม 3. ต้นทุนของการกาหนดให้มีกิจกรรมการควบคุ มต้ อ งไม่ สู ง กว่ า ผลเสี ย หายที่ คาดว่ า จะ เกิดขึ้นถ้าไม่มีกิจกรรมการควบคุ มนั้น 4. กิจกรรมการควบคุมเป็นเครื่องมือที่ฝ่ายบริหารใช้เพื่อป้องกันหรื อ ลดความเสี่ ย งต่ อ การ เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่ก ระทบต่ อ การบรรลุ วัตถุ ประสงค์ ขององค์ ก ร จึ ง ควร กาหนดให้มีอย่างเพียงพอและเหมาะสม โดยต้องไม่มากเกินความจาเป็น 5. มี ก ารติ ด ตามประเมิ น ผลเป็ น ระ ยะ ๆ ว่ า กิ จกรรมการควบคุ มด าเ นิ น ไปอย่ า ง มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลหรือไม่ มีการละเว้น ไม่ ปฏิ บัติตามกิ จกรรมการ ควบคุ ม ที่ ก าห นดหรื อ ไม่ โดยฝ่ า ยบริ ห ารอาจมอบหมายให้ ผู้ ตรวจสอบ ภายในติ ดตาม มอบหมายให้ผู้ตรวจสอบ ภายในติดตาม 4. สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communications) สารสนเทศ หมายถึ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสารทางการเงิ น และข้ อ มู ล ข่ า วสารอื่ น ๆ เกี่ ย วกั บการ ดาเนินงานของหน่วยรับตรวจ ไม่ว่าเป็นข้อมูลจากแหล่งภายใน หรือภายนอก ในการดาเนินงานองค์กรจาเป็นต้องมีการสื่อสารข้อมูลเกี่ยวกับเหตุ ก ารณ์ ต่า ง ๆ ทั้ ง ภายใน และภายนอกหน่วยงาน ซึ่งต้องเป็นข้อมูลที่เ กี่ ย วข้ อ ง น่ า เชื่ อ ถื อ ทั น เวลา และเป็ น ข้ อ มู ล ที่ ห น่ วยงาน ต้องการเพื่อช่วยให้สามารถบรรลุ วัตถุ ประสงค์ ที่ก าหนด ผู้ บริ ห ารระดั บต่ า ง ๆ จึ ง จาเป็ นต้ อ งได้ รั บ ข้อมูลทั้งด้านการดาเนินงานและด้านการเงินเพื่อพิจารณาว่าการดาเนิ น งานได้ เ ป็ น ไปตามแผนกลยุ ทธ์ และแผนการปฏิบัติงานประจาปี และบรรลุวัตถุ ประสงค์ ใ นการใช้ ทรั พ ยากรอย่ า งมี ประสิ ทธิ ผ ลและ ประสิทธิภาพหรือไม่ตัวอย่างเช่น ข้อมูลการดาเนินงานซึ่งต้องนามาใช้ จัดทารายงานการเงิ น จะรวมถึ ง ข้อมูลต่างๆ ด้านการจัดซื้อค่าใช้จ่ายต่าง ๆ รายการอื่น ๆ เกี่ยวกับทรั พ ย์ สิ น ถาวร สิ น ค้ า คงคลั ง หรื อ พั ส ดุ คงคลัง และลูกหนี้ นอกจากนี้ยังจาเป็นต้องมีข้อมูลการปฏิบัติงานเพื่อประกอบการพิ จารณาว่ า องค์ ก รได้
47 ปฏิบัติตามระเบียบ กฎหมาย และข้อบังคับต่าง ๆ หรือไม่ ข้ อ มู ล ด้ า นการเงิ น เป็ น ที่ ต้อ งการของผู้ ใ ช้ ทั้ง ภายในและภายนอก ข้อมูลเหล่านี้เป็นสิ่งจาเป็นเพื่อใช้จัดทางบ การเงิ น เพื่ อ รายงานต่ อ บุ คคลภายนอก และเป็นข้อมูลที่จาเป็นต้องใช้จัดทารายงานประจาวันเพื่อใช้ตัดสินใจในการบริ ห ารงาน จึ ง ควรจั ดให้ มี ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้ อ งและแจกจ่ า ยข้ อ มู ล ในรู ปแบบที่ เ หมาะสมและทั น เวลาให้ ฝ่ า ยบริ ห ารและ บุคลากรซึ่งจาเป็นต้องใช้ ข้อ มู ล ข่ า วสารนั้ น เพื่ อ ช่ วยให้ ผู้ รั บสามารถปฏิ บัติห น้ า ที่ ของตนได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ การสื่ อ สารที่ มีประสิ ทธิ ผ ลควรเป็ น ไปอย่ า งกว้ า งขวาง มี ก ารสื่ อ สารข้ อ มู ล ทั้ ง จาก ระดับบน ลงล่างจากระดับล่างขึ้นบน และในระดับเดี ย วกั น ภายในองค์ ก ร นอกเหนื อ จากการสื่ อ สาร ภายในองค์กรแล้วควรมีการสื่อสารที่เพียงพอกับบุคคลอื่นภายนอกองค์ ก รด้ วยเพื่ อ ให้ ส ามารถรั บข้ อ มู ล จากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหรือ มี ส่วนได้ส่ วนเสีย จากภายนอกเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงาน 5. การติดตามประเมินผล (Monitoring) การติดตามประเมินผล หมายถึง กระบวนการประเมินคุณภาพการปฏิ บัติง านและประเมิ น ประสิทธิผลของการควบคุมภายในที่วางไว้อย่างต่อเนื่องและสม่ าเสมอ โดยการติ ดตามผลในระหว่ า ง การปฏิ บัติง าน ( Ongoing Monitoring) หรื อ ใน ระหว่ า งการออกแบบการควบคุ ม ภายใน และการ ประเมินผลเป็นรายครั้ง (Separate Evaluation) ซึ่งแยกเป็นการประเมิ น การควบคุ มด้ วยตนเอง ( Control Self Assessment) และการประเมินการควบคุ มอย่ างเป็นอิสระ (Independent Assessment) 5.1 การติดตามผลในระหว่างการปฏิบัติงาน (Ongoing Monitoring) โดยทั่วไปการควบคุมภายในจะได้รับการออกแบบเพื่ อ ให้ เ กิ ดความมั่ น ใจว่ า มี ก าร ติดตามผลอย่างต่อเนื่อ งรวมเป็ น ส่ วนเดี ย วกั น และอยู่ ใ นการดาเนิ น งานด้ า นต่ า ง ๆ ตามปกติขององค์กร การติดตามผลมักอยู่ในรูปกิจกรรมการบริ ห ารและการก ากั บดู แ ล โดยปกติ เช่น การเปรียบเทียบ การสอบยัน และกิจกรรมอื่ น ซึ่ ง เป็ น การปฏิ บัติง านตาม หน้าที่ประจาของบุคลากรในองค์กร สาหรับการติดตามผลในระหว่ า งการปฏิ บัติง าน มีจุดสาคัญที่ควรติดตามผลทั้งหมด 4 จุดใหญ่ ด้วยกัน ดังต่อไปนี้
48 5.1.1
สภ าพแวดล้ อ มของการควบคุ ม ฝ่ า ยบริ ห ารควรติ ด ตามผลเ กี่ ย วกั บ สภาพแวดล้อมการควบคุ มเพื่ อ ความมั่ น ใจว่ า หั วหน้ า ส่ วนงานทุ ก ระดั บได้ ดารงรักษาไว้ ซึ่งมาตรฐาน จริยธรรม และส่งเสริ มให้ เ จ้ า หน้ า ที่ มีศี ล ธรรมอั น ดี หั วหน้ า ส่ วนงานในอง ค์ ก รทุ ก ระดั บควรติ ดตามผลเพื่ อ ความมั่ น ใจว่ า เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความสามารถ และได้รับการฝึก อบรมที่ เ พี ย งพอ ผู้ บริ ห ารมี สไตล์และปรัชญาการบริหารที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้ อ มและสถานการณ์ ที่ จะส่งเสริมให้ภารกิจขององค์กรบรรลุผ ล
5.1.2
ความเสี่ยงและโอกาสจะเกิดความเสี่ ย ง หั วหน้ า ส่ วนงานต่ า ง ๆ ในองค์ ก ร ควรติดตามผลเกี่ ย วกั บสภาพแวดล้ อ มภายในและภายนอกองค์ ก ร เพื่ อ ให้ สามารถระบุการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงและโอกาสจะเกิ ดความเสี่ ย งใหม่ ๆหากมีการเปลี่ ย นแปลงความเสี่ ย งควรดาเนิ น การตามความเหมาะสมกั บ ความเสี่ยงนั้น ถ้าความเสี่ยงนั้นมีสาระส าคั ญ มากควรรายงานให้ ฝ่ า ยบริ ห าร ทราบและฝ่ายบริ ห ารควรรั บรู้ ว่า การล่ า ช้ า ของการตอบสนองเกี่ ยวกั บการ เปลี่ยนแปลงของความเสี่ยงอาจมี ผลให้เกิดการเสียหายต่ อองค์ กรได้
5.1.3
กิจกรรมการควบคุม ควรจัดกิจกรรมการควบคุ มขึ้ น เพื่ อ เป็ น การป้ อ งกั น หรื อ ลดความเสี่ยงจากเหตุ ก ารณ์ ที่ไ ม่ พึ ง ประสงค์ ที่อ าจจะเกิ ดขึ้ น อย่ า งไรก็ ตาม กิจกรรมการควบคุมอาจจะไร้ ผ ล ถ้ า มี ก าร สมรู้ ร่ วมคิ ดกั น ตั้ ง แต่ 2 คนขึ้ น ไป เพื่อการทุจริ ต ดั ง นั้ น ฝ่ า ยบริ ห ารจึ ง ควรก าหนดวิ ธี ก ารติ ดตามผล ของการ ปฏิ บัติตามกิ จกรรมการควบคุ ม การติ ดตามผลที่ ดีจะทาให้ มีโ อกาสแก้ ไ ข ปัญหาที่เกิดขึ้นของกิจกรรมการควบคุมรวมทั้ ง ทาให้ มีก ารควบคุ มความเสี่ ย ง ก่อนที่เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์นี้เกิ ดขึ้น
5.1.4
สารสนเทศและการสื่อสาร หัวหน้าหน่วยงานต่ า ง ๆ ในองค์ ก รควรติ ดตาม ผลเพื่ อ ความมั่ น ใจว่ า เ จ้ า หน้ า ที่ ใ น ความรั บผิ ด ชอบได้ รั บข่ า วสารข้ อ มู ล เพียงพอ ทันกาลและเหมาะสม
49 5.2 การประเมินรายครั้ง (Separate Evaluations) มีวัตถุประสงค์มุ่งเน้นไปที่ประสิทธิผลของการควบคุ ม ณ ช่ วงเวลาใดเวลาหนึ่ ง ที่ กาหนดโดยขอบเขตและความถี่ ใ นการประเมิ น รายครั้ ง ขึ้ น อยู่ กั บการประเมิ น ความ เสี่ยงและประสิทธิผลของวิธีการติดตามผลอย่างต่อเนื่องเป็นหลัก การประเมิ น รายครั้ ง อาจทาในลักษณะของการประเมินการควบคุ ม ด้ วยตนเอง (Control Self-Assessments) ซึ่งกลุ่มผู้ปฏิ บัติง านในส่ วนงานหรื อ ส่ วนงานเป็ น ผู้ ประเมิ น ประสิ ทธิ ผ ลของการ ควบคุ มภายใน ของส่ วนง านนั้ น ๆ เ อง และ การประเ มิ น การควบคุ ม โดยอิ ส ระ (Independent Control Assessments) ซึ่งประเมิ น โดยผู้ ไ ม่ มีส่ วนเกี่ ย วข้ อ งโดยตรงกั บ การดาเนินงาน เช่น การประเมินผลโดยผู้ตรวจสอบภายในหรือผู้ ตรวจสอบภายนอก 5.2.1
การประเมินการควบคุ มด้ วยตนเอง (Control Self-Assessment) การประเมิ น การควบคุมด้วยตนเอง เป็นกระบวนการประเมิ น ผลโดยการก าหนดให้ ก ลุ่ ม ผู้ปฏิ บัติง านในส่ วนงานนั้ น เข้ า มามี ส่ วนร่ วมในการประเมิ น การควบคุ ม ภายในของส่วนงานนั้น ๆ โดยร่ วมกั น พิ จารณาถึ ง ความมี ประสิ ทธิ ผ ลของ ส่วนงานในด้านการดาเนินงาน การรายงานทางการเงิ น และการปฏิ บัติตาม กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรี และวิ เ คราะห์ ความเสี่ ย งที่ มี ผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ในด้านต่าง ๆ เพื่ อ ปรั บปรุ ง กระบวนการ และกิจกรรมการควบคุมที่มีอยู่ให้มีประสิ ทธิ ภ าพและประสิ ทธิ ผ ลมากยิ่ ง ขึ้ น และ พิ จารณาลดกิ จกรรมการควบคุ ม ที่ ทาให้ ก ารด าเ นิ น ง านล่ า ช้ า ไม่ มี ประสิทธิภาพและไม่ก่ อ ให้ เ กิ ดความเสี่ ย งที่ จะเกิ ดขึ้ น จากการลดภาระการ ควบคุมภายในนั้น การประเมินการควบคุมด้วยตนเองเป็ น เกณฑ์ พื้ น ฐานของ การประเ มิ น ผลเนื่ อ งจากการประเ มิ น การควบคุ มด้ ว ยตนเอง จะช่ วยใ ห้ ผู้บริหารค้นพบปัญหาที่เกิดขึ้นก่อนมีการประเมิน การควบคุ มอย่ า งเป็ น อิ ส ระ ซึ่งจะทาให้สามารถลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากปัญหาดั ง กล่ า วได้ ดั ง นั้ น ฝ่ า ยบริ ห ารจึ ง ควรก าหนดให้ มีก ารประเมิ น การควบคุ มด้ วยตนเองทั่ วทั้ ง องค์กร
50 5.2.2
การประเมิ น การควบคุ มอย่ า งเป็ น อิ ส ระ ( Independent Assessments) การ ประเมินการควบคุมอย่างเป็นอิสระ เป็นการประเมิ น ผลที่ ก ระทาโดยผู้ ที่ ไม่ มี ส่ วนเกี่ ย วข้ อ งโดยตรงกั บ การดาเนิ น ง านเพื่ อ ให้ เ กิ ดความมั่ น ใจว่ า การ ประเมินผลได้ดาเนินไปอย่างเที่ยงธรรม การประเมิ น ผลอย่ า งเป็ น อิ ส ระอาจ กระทาโดยผู้ตรวจสอบภายในและผู้ ตรวจสอบภายนอก และ/หรื อ ที่ ปรึ ก ษา ภายนอก ซึ่งผู้บริหารอาจใช้ประโยชน์จากการประสานงานระหว่างหน่ วยงาน ตรวจสอบภายในขององค์ ก รกั บผู้ ตรวจสอบภายนอกและ/หรื อ ที่ ปรึ ก ษา ภายนอก เพื่อให้การวิเคราะห์การดาเนินงานขององค์ก รเป็ น ไปตามเป้ า หมาย และมีความเที่ยงธรรมมากขึ้น การประเมินการควบคุ มอย่ า งเป็ น อิ ส ระไม่ ควร เป็นกิจกรรมการควบคุมที่ทดแทนการประเมินการควบคุ มด้ วยตนเอง แต่ ควร จะเป็นกิจกรรมที่ช่วยเสริ มและสนั บสนุนการประเมินการควบคุ มด้วยตนเอง
5.3 ความรับผิดชอบของผู้บริหารต่อการติดตามประเมินผล ผู้บริหารต้องจัดให้มีการติดตามผล (หมายถึงการประเมิ น มาตรการ หรื อ งานที่ อ ยู่ ระหว่างการออกแบบ หรืออยู่ระหว่างการดาเนินงาน) และการประเมิ น ผล (หมายถึ ง การประเมินมาตรการ หรืองานที่ได้ ใ ช้ ไ ปแล้ วเป็ น ระยะเวลาหนึ่ ง และสมควรได้ รั บ การประเมินว่ายังมีความเหมาะสมกับสิ่ ง แวดล้ อ มต่ า งๆ ที่ เ ปลี่ ย นไปอี ก หรื อ ไม่ ) โดย กาหนดให้มีการติดตามผลเกี่ ย วกั บความมี ประสิ ทธิ ผ ลของการควบคุ มภายในอย่ า ง ต่อเนื่อง และกาหนดให้ ก ารติ ดตามผลเ ป็ น ส่ วนหนึ่ ง ของการปฏิ บัติง านประจาวั น นอกจากนี้ต้องจัดให้มีการประเมินผลทั้งการประเมิ น การควบคุ มด้ วยตนเอง และการ ประเมินการควบคุมอย่างเป็นอิสระ โดยบุคลากรที่ มีความรู้ ความสามารถ และทั ก ษะ อย่างเพียงพอ และกาหนดให้ ร ายงานเกี่ ย วกั บความไม่ มีประสิ ทธิ ผ ลของระบบการ ควบคุมภายในโดยตรงต่อผู้บริหารและคณะกรรมการตรวจสอบ (ถ้ า มี ) อย่ า งเพี ย งพอ และทันกาล จุดอ่อน ข้อบกพร่ อ ง หรื อ ปั ญ หาที่ พ บในระหว่ า งการติ ดตามผลอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและการ ประเมินรายครั้งจะต้องได้รับการสื่อสารไปยังผู้ที่รั บผิ ดชอบหน้ า ที่ นั้ น ๆ และผู้ บัง คั บบั ญ ชาที่ เ หนื อ ผู้
51 นั้นขึ้นไปอย่างน้อยหนึ่งระดับ ข้อตรวจพบที่สาคัญจะต้องรายงานไปยัง ผู้ บริ ห ารในระดั บที่ มีอ านาจใน การตัดสินใจแก้ไขปัญหานั้นได้ เมื่อผู้บริหารได้รับรายงานการติ ดตามและการประเมินผล ควรดาเนินการดังนี้ 1. ประเมินข้อตรวจพบ ข้อบกพร่ อ งและข้ อ เสนอแนะที่ ไ ด้ จากการตรวจสอบและการ สอบทานอื่น ๆ โดยทันที 2. กาหนดมาตรการที่เหมาะสมสาหรับการดาเนินการตามข้ อ ตรวจพบและข้ อ เสนอแนะ ที่ได้รับจากการตรวจสอบและการสอบทาน 3. ดาเนิ น มาตรการต่ า ง ๆ ที่ ก าหนดขึ้ น เพื่ อ จั ดการหรื อ แก้ ไ ขปั ญ หาที่ ไ ด้ ร ายงานให้ ผู้บริหารระดับเหนือกว่าทราบภายในระยะเวลาที่ ก าหนด กระบวนการแก้ ไ ขปั ญ หา เริ่มต้ น ที่ ก ารรายงานผลการตรวจสอบหรื อ ผลการสอบทานต่ อ ผู้ บริ ห ารในระดั บ เหนือกว่าและเสร็จสิ้นลงเมื่อมาตรการที่ใช้ก่อให้เกิด การแก้ ไ ขข้ อ บกพร่ อ งที่ พ บ การ ปรับเปลี่ยนในทางที่ดีขึ้น หรือ การชี้แจงถึงเหตุผลที่ไม่จาเป็นต้ อ งดาเนิ น การใด ๆ กั บ ข้อตรวจพบ และข้อเสนอแนะ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดีใหม่ อินทรพาณิช ย์ (2551) ได้ ทาการศึ ก ษาเรื่ อ ง สภาพและปั ญ หาการดาเนิ น การควบคุ ม ภายในของโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 2 พบว่า สภาพการดาเนิ น งานการ ควบคุมภายในของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาสกลนคร เขต 2 โดยรวมอยู่ ใ นระดั บ เป็ น ที่ น่ า พอใจ กล่ า วคื อ ใน การบริ ห ารจั ด การที่ มี ความสลั บซั บซ้ อ นและ มี ก ารเ ปลี่ ย นแปลงอยู่ ตลอดเวลา โอกาสที่จะเกิดการทุจริต ผิดพลาดจึงมีได้ง่าย ฝ่ายบริหารจึงต้ อ งมี ก ารควบคุ มการดาเนิ น งาน ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้โดยอาศัยกระบวนการควบคุมภายใน เพราะการควบคุ มภายใน จะช่วยให้ผู้บริหารหรือผู้นาองค์กรได้ทราบความเคลื่อนไหว ผลการดาเนิ น งานและอุ ปสรรคข้ อ ขั ดแย้ ง ต่างๆ ดังนั้นประสิทธิภาพการบริหารจึงผูก พั น กั บระบบการควบคุ มที่ ดี ซึ่ ง การดาเนิ น งานระบบการ ควบคุมภายในของโรงเรียนเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่ า มี ก ารควบคุ มที่ ดีทุก ด้ า นเรี ย งล าดั บจากมาก
52 ไปหาน้อย คือ ด้านสารสนเทศและการสื่อสาร ด้านสภาพแวดล้อมการควบคุ ม ด้ า นกิ จกรรมการควบคุ ม ด้านการประเมินความเสี่ยง และด้านการติดตามและประเมินผล เนื่องจากคณะกรรมการฝ่ า ยบริ ห ารของ โรงเรียนได้มีการกากับดูแล รวมถึงการใช้เทคนิคการควบคุมภายในเพื่ อ ช่ วยให้ ก ารดาเนิ น งาน รวมถึ ง การใช้ทรัพยากรเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล อีกทั้ง หน่ วยงานต้ น สั ง กั ด คื อ ส านั ก งานเขตพื้ น ที่ การศึกษาสกลนคร เขต 2 ได้ มีก ารก ากั บ ติ ดตาม นิ เ ทศให้ ก ารดาเนิ น งานของโรงเรี ย นเป็ น ไปตาม ระเบียบ กฎหมาย นโยบายและแนวปฏิ บัติ โดยการส่ ง เสริ มทั้ ง ด้ า นข้ อ มู ล ข่ า วสารที่ ถู ก ต้ อ งทั น สมั ย รวดเร็ว น่าเชื่อถือ อีกทั้งมีการพัฒนาบุ คลากรในโรงเรี ย นทุ ก ระดั บให้ มีความรู้ ความสามารถในการ ดาเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ของภารกิจ อนุสอน เทพสุวรรณ์ (2551: บทคั ดย่ อ ) ได้ ทาการศึ ก ษาเรื่ อ ง ปั ญ หาของการควบคุ มภายใน ทางการบัญชีของสหกรณ์การเกษตรในจังหวัดพิษณุโลก พบว่า มีปัญหามากในการควบคุ มภายในเรื่ อ ง การขาดความรู้ในการซื้อสินทรัพย์ถาวรประเภทเทคโนโลยี และรองลงมาเป็ น ปั ญ หาการควบคุ มภายใน เรื่องการไม่ทบทวนความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการดาเนิ น งานอย่ า งสม่ าเสมอ การบั น ทึ ก รายงานการ ประชุ มไม่ ส มบู ร ณ์ แ ละไม่ เ ป็ น ปั จจุ บัน ผู้ ตรวจสอบกิ จการปฏิ บัติห น้ า ที่ ตรวจสอบและติ ดตามการ ดาเนินงานของสหกรณ์ได้ไม่ครบถ้วน ในการเก็บรั ก ษาเงิ น สดไม่ มีร ะบบการรั ก ษาความปลอดภั ย ที่ ดี และไม่มีการตรวจนับเงินสดคงเหลื อ ประจาวั น ให้ ตรงกั น กั บรายงานการรั บเงิ น ประจาวั น ไม่ มีก าร ทบทวนหลักทรัพย์ค้าประกันของพนักงานที่ ทาหน้ า ที่ เ กี่ ย วกั บเงิ น สด การจั ดเก็ บเอกสารไม่ ส มบู ร ณ์ หรือไม่ได้จัดทาอย่างครบถ้วน สินค้าเสื่อมคุณภาพ และล้ า สมั ย การละเลยการตรวจสอบสิ น ค้ า คงคลั ง อย่างสม่าเสมอ การสูญหายของสิ น ทรั พ ย์ ถ าวร การละเลยการตรวจสอบลู ก หนี้ เ งิ น ให้ กู้ ยื มและไม่ มี แผนการติดตามแก้ไขลูกหนี้ค้างชาระ ซึ่งระบบการควบคุ มภายในทางการบั ญ ชี เ ป็ น เครื่ อ งมื อ ของฝ่ า ย บริหารที่จะช่วยป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้ น กั บกิ จการได้ เ ป็ น อย่ า งดี แต่ ใ นทางปฏิ บัติแ ล้ วยั ง พบปัญหาในหลายกิจกรรมทางการบัญชี ซึ่ ง เกิ ดจากพนั ก งานไม่ ปฏิ บัติตามระบบการควบคุ มภายใน และกิจการไม่มีบทลงโทษแก่ผู้ที่ไม่ปฏิบัติตามอย่างเข้มงวด ซึ่งปัจจัยเหล่ า นี้ ส่ ง ผลให้ ก ารควบคุ มภายใน ทางการบัญชีไม่มีประสิทธิภาพ พรพรรณ นงนุช (2551) ได้ ทาการศึ ก ษาเรื่ อ ง ปั ญ หาและอุ ปสรรคในการพั ฒ นาระบบการ ควบคุมภายใน พบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการนาระบบการควบคุ มภายในไปปฏิ บัติของหน่ วยงาน ราชการในจังหวัดสมุทรสาคร ด้านสภาพแวดล้อมการควบคุม และด้า นการประเมิ น ความเสี่ ย ง มี ปัญ หา มาก ซึ่งเกิดจากการที่บุคลากรในหน่วยงานที่ ปฏิ บัติง านไม่ ตรงตามตาแหน่ ง งาน มี ก ารจั ดทาคู่ มือ การ
53 ปฏิบัติงานแต่ไ ม่ มีก ารน ามาใช้ ประโยชน์ จริ ง การส่ ง บุ คลากรเข้ า รั บ การฝึ ก อบรมไปแล้ วไม่ น ามา ปฏิบัติงาน หรือผู้เข้ารับการอบรมไม่ตรงกับงานที่ปฏิ บัติ และหลั ง จาก กลั บฝึ ก อบรมมาแล้ วไม่ ก ลั บมา ถ่ายทอดให้ บุคลากรในหน่ วยงานทราบ ด้ วยปั ญ หาทาง ด้ า นสภาพแวดล้ อ มการควบคุ ม ส่ ง ผลให้ ประสบปัญหาทางด้านการประเมินความเสี่ยง ซึ่งประเมินความเสี่ ย งเพี ย งภายในหน่ วยงานอย่ า งเดี ย ว ไม่มองความเสี่ยงจากภายนอกที่ จะส่ ง ผลกระทบ ต่ อ หน่ วยงาน ส่ วนด้ า นกิ จกรรมการควบคุ ม ด้ า น สารสนเทศและการสื่อสาร และ ด้านการติดตามประเมิ น ผล เป็ น ปั ญ หารองลงมา ซึ่ ง เกิ ดจากผู้ บริ ห าร มอบหมายให้ เจ้าหน้าที่คนเดียวดาเนิ น งานหลายด้ า นแต่ ไ ม่ มีก ารก าหนดการควบคุ มอื่ น ที่ เ หมาะสม กิจกรรมการควบคุมที่หน่วยงานมีอยู่ ไ ม่ ส อดคล้ อ งกั บความเสี่ ย งที่ พ บในการประเมิ น ความเสี่ ย ง การ สอบทานงานของผู้บริหารไม่สามารถดาเนินการได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งและสม่ าเสมอ การที่ ห น่ วยงานไม่ มี ช่องทางให้บุคลากรแสดงความคิดเห็นได้ และการไม่ แ จ้ ง ให้ บุคลากรทุ ก คนใน หน่ วยงานทราบและ เข้ า ใจบทบาทหน้ า ที่ ของตนเกี่ ย วกั บระบบการควบคุ มภายใน ซึ่ ง อาจมี ผ ลมาจากปั ญ หาทางด้ า น ประสิทธิภาพของบุคลากรในองค์ ก ร ที่ ยั ง อยู่ ร ะหว่ า งการปรั บตั วให้ เ ข้ า การ บริ ห ารงานสมั ย ใหม่ ที่ นามาใช้กับระบบราชการ วิราภรณ์ พึ่ ง พิ ศ (2550) ได้ ทาการศึ ก ษาเรื่ อ ง ปั ญ หาและอุ ปสรรคในการพั ฒ นาระบบการ ควบคุมภายในของ บริษัท บูรพาอุตสาหกรรม จากั ด พบว่ า ระดั บความคิ ดเห็ น ต่ อ ปั ญ หาและอุ ปสรรค ในการพัฒนาระบบการควบคุมภายใน ของบริษัท บูรพาอุตสาหกรรม จากั ด ของพนั ก งานบริ ษั ท บู ร พา อุตสาหกรรม จากัด โดยภาพรวม อยู่ในระดับไม่แน่ใจ เมื่อพิ จารณารายด้ า นพบว่ า อยู่ ใ นระดั บไม่ แ น่ ใ จ ทุกด้านโดยค่าเฉลี่ยสูงสุดคื อ ด้ า นกิ จกรรมการควบคุ ม รองลงมาคื อ ด้ า นสภาพแวดล้ อ มการควบคุ ม และด้านการประเมินความเสี่ยงต่าสุด ซึ่งไม่สามารถระบุ ไ ด้ อ ย่ า งชั ดเจนว่ า ใช่ ปัญ หาหรื อ ไม่ ใ ช่ ปัญ หา เนื่องมาจากการรับรู้ในเรื่องความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการควบคุ มภายในทาได้ ย ากและพนั ก งาน บริษัท บูรพาอุตสาหกรรม จากัดส่วนมากอยู่ ใ นตาแหน่ ง ระดั บพนั ก งาน ตรงกั บการวิ เ คราะห์ ผ ล การ รับรู้เกี่ยวกับระบบการควบคุ มภายในปรากฏว่าอยู่ในระดับรั บรู้ ได้น้อ ย วีระยุทธ งามล้วน (2550) ได้ทาการศึ ก ษาเรื่ อ ง การศึ ก ษาสภาพและปั ญ หาการจั ดระบบการ ควบคุมภายในตามมาตรฐานคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ของสถานศึกษา สั ง กั ดส านั ก งานเขตพื้ น ที่ การศึกษายโสธร เขต 1 พบว่า ตามทัศ นะของข้ า ราชการครู ใ นสถานศึ ก ษา มี ทัศ นะโดยรวมเป็ น ที่ น่ า พอใจมากทุ ก ด้ า น อาจเป็ น เพราะว่ า ในการจั ดระบบการควบคุ มภายในนั้ น จะต้ อ งมี ก ารจั ดตาม มาตรฐานคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ที่ มีก ฎเกณฑ์ วางไว้ เ ป็ น ระบบ ทาให้ มีก ารปฏิ บั ติตาม ส่ วน
54 ปัญหาการจัดระบบควบคุมภายใน ไม่พบว่ามีปัญหามาก อาจเป็นเพราะว่ า ข้ า ราชการครู ใ นสถานศึ ก ษา ได้ ร่ วมกั น จั ดระบบการควบคุ มภ ายใน ตามมาตรฐานคณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น โดยมี ก าร ปฏิบัติงานในระบบควบคุมภายในตามกฎ ตามเกณฑ์ต่างๆ ที่มีระบบระเบียบต่างๆ พนารัตน์ วสุวัฒนศรี (2551 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาแนวทางการดาเนิ น งานการควบคุ มภายใน ของศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัด โดยศึกษาสภาพและปั ญ หาการดาเนิ น งานการควบคุ มภายใน ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัด ผลการวิจัยพบว่า สภาพการดาเนิ น งานการควบคุ มภายในของศู น ย์ การศึกษาพิเศษประจาจังหวัด โดยรวมเห็ น ว่ า ด้ า นสภาพแวดล้ อ มภายในอยู่ ใ นระดั บการดาเนิ น งาน มากกว่าด้านอื่น เนื่องจากมีการดาเนินงานตามนโยบายและวิธีบริหารด้ า นบุ คลากรที่ เ ป็ น ไปในลั ก ษณะ การพัฒนาความรู้ความสามารถเพื่อประสิทธิผลของการควบคุมภายใน รองลงมาได้ แ ก่ ด้ า นสารสนเทศ และการสื่อสาร เนื่องจากการสื่อสารให้บุคลากรทุกคนทราบและเข้ า ใจบทบาทหน้ า ที่ ของตนเกี่ ย วกั บ การควบคุมภายในเป็นสิ่งสาคัญ รองลงมาเป็นเรื่องของการสอบทานงานโดยผู้ บริ ห ารแต่ ล ะระดั บอย่ า ง ต่อเนื่องเป็นประจา การมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ความเสี่ยงในกิจกรรมที่ รั บผิ ดชอบ และ การรายงาน ผลการปฏิบัติงานให้ผู้บังคับบัญชาทราบทุกขั้นตอน ส่ วนการดาเนิ น งานการควบคุ มภายในของศู น ย์ การศึกษาพิเศษประจาจังหวัด พบว่าปัญหาการดาเนินงานการควบคุมภายใน ในภาพรวมเห็ น ว่ า ด้ า นการ ประเมินความเสี่ยงมีปัญหามากกว่าด้านอื่น โดยเฉพาะในเรื่ อ งการรายงานผลการปฏิ บัติง านในแต่ ล ะ กิจกรรม รองลงมาได้แก่ ด้านกิจกรรมการควบคุมในเรื่องการพิ จารณาก าหนดแนวทางการควบคุ มเพื่ อ ป้องกันความเสี่ยง รองลงมาเป็นด้านอื่นๆเป็นปัญหาเรื่ อ ง การทบทวนปรั บเปลี่ ย นข้ อ มู ล ที่ ร วบรวมได้ ให้ เ ป็ น ปั จจุ บัน อยู่ เ สมอ การน าข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จากการปฏิ บัติง านมาพิ จารณาก าหนดแนวทางในการ ดาเนินการแก้ไข และปัญหาเรื่องสุดท้ายคือ การกาหนดนโยบายและวิธีบริหารด้ า นบุ คลากรที่ เ ป็ น ไปใน ลักษณะการพัฒนาความรู้ความสามารถเพื่อประสิทธิผลของการควบคุ มภายใน ในการบริ ห ารงานของ แนวทางการดาเนินงานการควบคุมภายในของศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจั ง หวั ด ควรดาเนิ น การในรู ป ของคณะกรรมการ และมีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบอย่ า งชั ดเจนเป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรให้ ทุก คนได้ มี ส่ วน ร่วมในการดาเนินงานการควบคุมภายในทุก ขั้นตอนตามมาตรฐานของการควบคุ มภายใน ถิราวุฒิ ทองทรง (2547 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาสภาพและปั ญ หาของระบบการควบคุ มภายใน ศึกษากรณี บริษัท ไปรษณีย์ไทย จากัด โดยผลการศึกษาสภาพและปั ญ หาของระบบการควบคุ มภายใน พบว่าพนักงานบริษัท ไปรษณีย์ไทย จากัด ส่วนใหญ่เ ป็ น ผู้ ปฎิ บัติก ารมากกว่ า ผู้ บริ ห าร และส่ วนใหญ่ สังกัดอยู่ด้านปฏิบัติการ พนักงานบริษัท ไปรษณีย์ไทย จากัด ที่มีส ถานภาพส่ วนบุ คคล ได้ แ ก่ ตาแหน่ ง
55 และด้านหน่วยปฏิบัติงานที่สังกัด ที่ แ ตกต่ า งกั น มี ความคิ ดเห็ น เกี่ ย วกั บสภาพของระบบการควบคุ ม ภายในทั้ง 5 ด้าน สามารถเรียงลาดับสภาพที่ปฏิบัติจากมากไปน้อยตามความคิ ดเห็ น ของพนั ก งานบริ ษั ท ไปรษณีย์ไทย จากัด คือ ด้า นกิ จกรรมควบคุ ม ด้ า นสภาพแวดล้ อ มของการควบคุ ม ด้ า นการประเมิ น ความเสี่ยง ด้านสารสนเทศและการสื่อสาร และด้ า นการติ ดตามประเมิ น ผล เนื่ อ งจากสภาพแวดล้ อ ม ของการควบคุมได้สร้างบรรยากาศของการควบคุ มเพื่ อ ให้ เ กิ ดทั ศ นคติ ที่ดีต่อ การควบคุ มภายใน โดย ส่งเสริมให้พนักงานเกิดจิตสานึกที่ดีในการปฏิบัติงานในความรับผิดชอบและตระหนั ก ถึ ง ความจาเป็ น และความสาคัญของการควบคุมภายใน และได้ มีก ารประเมิ น ความเสี่ ย งจากปั จจั ย ภายนอกและปั จจั ย ภายในที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์จึงได้จัดให้ มีกิ จกรรมการควบคุ มที่ มีประสิ ทธิ ภ าพและ ประสิทธิผลเพื่อป้องกันหรือลดความเสียหายความผิ ดพลาดที่ อ าจเกิ ดขึ้ น ส าหรั บกิ จกรรมการควบคุ ม ในเบื้องต้นจะต้องแบ่งแยกหน้าที่งานภายในองค์ ก รอย่ า งเหมาะสมจึ ง จาเป็ น ต้ อ งมี ส ารสนเทศอย่ า ง เพียงพอและมีการสื่อสารให้พนักงานทราบกันอย่างทั่วถึงและจะต้องมีการติ ดตามและประมวลผล โดย มีการติดตามในระหว่างการปฏิบัติงานซึ่งมีการประเมินผลจากการประเมินตนเอง และการประเมิ น การ ควบคุมอย่างอิสระ ส่วนปัญหาของระบบการควบคุมภายในโดยรวม เมื่ อ พิ จารณาเป็ น รายด้ า นสามารถ เรียงลาดับปัญหาจากมากไปหาน้อยตามความคิดเห็นของพนักงานบริ ษั ท ไปรษณี ย์ ไ ทย จากั ด คื อ ด้ า น สภาพแวดล้อ มของการควบคุ ม ด้ า นสารสนเทศและการสื่ อ สาร ด้ า นการประเมิ น ความเสี่ ย ง ด้ า น กิจกรรมควบคุม และด้านการติดตามประเมิ น ผล เนื่ อ งจากพนั ก งานส่ วนใหญ่ มีความคิ ดเห็ น เกี่ ย วกั บ สภาพของระบบการควบคุ มภายในมากที่สุ ด ชูศักดิ์ หงส์มาลา (2546 : บทคัดย่ อ ) ได้ ศึ ก ษาสภาพการบริ ห ารงานพั ส ดุ ตามมาตรฐานการ ควบคุมภายในของสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินในสถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน จั ง หวั ดร้ อ ยเอ็ ด จากการ ผลการวิจัยพบว่า สภาพการบริหารงานพัสดุตามมาตรฐานการควบคุ มภายในของส านั ก งานการตรวจ เงินแผ่นดิน พ.ศ. 2544 ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด มีการบริ ห ารงานพั ส ดุ น อกจากปฏิ บัติ ตามระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยเคร่งครั ด ผู้ บริ ห ารสถานศึ ก ษาใช้ ทั้ง ศาสตร์ แ ละศิ ล ป์ ใ นการ นิเทศติ ดตามประเมิ น ผลการปฏิ บัติง านของบุ คลากรที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บงานพั ส ดุ ใ นสถานศึ ก ษาอย่ า ง สม่าเสมอให้สอดคล้องกับจุดมุ่ ง หมายของคณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น พ.ศ. 2544 ในการสร้ า ง ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลในการดาเนิ น งานของสถานศึ ก ษาให้ บรรลุ ตามวั ตถุ ประสงค์ ของการ ควบคุมภายใน ด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งรวมถึ ง การดู แ ลรั ก ษาสิ น ทรั พ ย์ การป้ อ งกั น หรื อ ลดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล การสิ้ น เปลื อ ง หรื อ การทุ จริ ตในหน่ วยงาน เมื่ อ พิ จารณา เป็นรายด้านพบว่า สภาพการบริหารงานมีการบริ ห ารงานได้ อ ย่ า งมี ประสิ ทธิ ภ าพ โดยเรี ย งล าดั บจาก
56 มากไปหาน้อย คือ การบริหารจัดการทั่วไป การควบคุมและการเบิ ก จ่ า ยพั ส ดุ การก าหนดความต้ อ งการ พัสดุ การตรวจรับพัสดุและการชาระเงิ น การจั ดหาพั ส ดุ การจาหน่ า ยพั ส ดุ และการบารุ ง รั ก ษาพั ส ดุ จาแนกตามขนาดสถานศึกษาพบว่า สถานศึกษาขนาดใหญ่ มี ส ภาพการบริ ห ารงานอยู่ มีประสิ ทธิ ภ าพ มากกว่า สถานศึกษาขนาดเล็ก และสถานศึกษาขนาดกลาง ตามลาดับ ประดิษฐ์ ศิ ริ คุปต์ ร.น. (2549) ได้ ศึ ก ษาความรู้ ความเข้ า ใจของข้ า ราชการ สรส.ที่ มีต่อ การ ควบคุมภายในตามมาตรฐานที่ คณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ก าหนด ผลการศึ ก ษาแนวทางการ ส่งเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการควบคุมภายใน พบว่า ข้าราชการ สรส. เห็ น ด้ วยกั บแนวทางด้ า น การสร้างสภาพแวดล้อม การควบคุมด้านการพัฒนาบุคลากร และด้ า นการติ ดตามประเมิ น ผลเป็ น ส่ วน ใหญ่ แต่ยังมีบางหัวข้อที่ยังไม่ชัดเจน คือ การปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบีย บ ข้ อ บั ง คั บที่ ก าหนดไว้ อ าจเกิ ด ความเสี่ยงและมีข้อผิดพลาดขึ้นได้ จึงอาจเป็นไปได้ว่า การปฏิ บัติตามกฎหมาย ระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ บาง ฉบับอาจจะล้าสมัยไม่เหมาะสมที่จะใช้ในการปฏิบัติงานในปัจจุบัน รวมทั้ ง อาจมี ข้อ ความคลุ มเครื อ ยาก ต่อการวินิจฉัยตีความ ทาให้เกิดความไม่มั่นใจว่า ปฏิ บัติไ ปแล้ วจะถู ก ต้ อ งหรื อ ไม่ ส าหรั บข้ อ เสนอแนะ จากการศึกษาครั้งนี้ หน่วยงานและผู้บริหารระดับต่างๆ ควรเน้นการพั ฒ นาและฝึ ก อบรมข้ า ราชการใน สั ง กั ดเพื่ อ เพิ่ มพู น ความรู้ ความเข้ า ใ จเกี่ ย วกั บการควบคุ มภายใน รวมทั้ ง พิ จารณาทบทวน แก้ ไ ข กฎระเบียบ กฎหมายหรือข้อบังคับต่างๆที่ใช้ในการปฏิบัติร าชการให้ ส อดคล้ อ งกั บสภาพแวดล้ อ มใน ปัจจุบัน
57
บทที่ 3 กรณีศึกษา การศึกษาการควบคุมภายในของกองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ครั้ ง นี้ เป็นการศึกษาการควบคุมภายในตามมาตรฐานคณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น เพื่ อ ทราบถึ ง สภาพและ ปัญหาของการจัดระบบการควบคุ มภายในตามมาตรฐานคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ประวัติความเป็นมาของกองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เริ่มตั้งแต่ก่อตั้งกรมพัฒนาที่ดิน วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2506 ได้ แ บ่ ง ส่ วนราชการ ให้ มีแ ผนก คลัง อยู่ในสานักงานเลขานุการกรม กรมพัฒนาที่ดิน สังกัดกระทรวงพั ฒ นาการแห่ ง ชาติ ต่ อ มาปี พ.ศ. 2518 มี พ ระราชกฤษฎี ก าแบ่ ง ส่ วนราชการกรมพั ฒ นาที่ ดิน ใหม่ ยกฐานะจากแผนกคลั ง แยกจาก สานักงานเลขานุการกรม ตั้งเป็นกองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สถานที่ตั้ง กองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตั้ ง อยู่ เ ลขที่ 2003/61 ถนนพหลโยธิ น แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 วิสัยทัศน์ เป็นหน่วยงานสนับสนุนและบริหารด้านการเงิน การคลัง การพั ส ดุ ของกรมพั ฒ นาที่ ดิน ให้ มี ประสิทธิภาพ ถูกต้อง รวดเร็ว โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยและมี จิตสานึกในการเป็นผู้ให้บริ การ ภารกิจ 1. จัดการเกี่ยวกับการเงิ น การบั ญ ชี การงบประมาณ การพั ส ดุ ของกรมพั ฒ นาที่ ดิน ให้ มี ประสิทธิภาพ และทันสมัยยิ่งขึ้น
58 2. พัฒนาระบบงานและเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการเงิน การคลัง และการพัสดุ 3. จัดการบริหารสินทรัพย์ของกรมฯ ให้มีการใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่และมีประสิ ทธิภาพ บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ กองคลัง มีหน้าที่รับผิดชอบดาเนินการเกี่ยวกับการเงิ น และบั ญ ชี การบริ ห ารงบประมาณการ พัสดุอาคารสถานที่และยานพาหนะของกรม ปฏิ บัติง านร่ วมกั น หรื อ สนั บสนุ น การปฏิ บัติง านของ หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รั บมอบหมายของกรม รายนามผู้บริหาร 1. นายสมพงษ์
ปองเกษม
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521-2528
2. นายภาณุมาต
อัตถากร
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2528-2538
3. นางสาวทองเจือ อิฐรัตน์
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538-2541
4. นางสาวศิริมา
บัวประเสริฐ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2541-2543
5. นายวิรัช
สมัครมิ่ง
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543-2548
6. นางอัญฑิการ์
ศรีสวัสดิ์
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548-2553
7. นางเพ็ญศรี
หมื่นสังข์
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553-2554
8. นางกัญญาภัค
ทองจันทร์
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554- ปัจจุบัน
59 โครงสร้างองค์กร
นางกัญญาภัค ทองจันทร์ ผู้อานวยการกองคลัง
นางชไมภรณ์ โสภณหิรัญรักษ์
นางสาวปภาดา ฟูรังษีโรจน์
นางแพรวพรรณ เพีย รชอบ
หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป
ผู้อานวยการส่วนพัฒนาระบบงานคลัง
หัวหน้าฝ่ายการเงิน
นางธนภร ฉิมพัด
นายศิริ งามวงศ์ธรรม
ผู้อานวยการส่วนบัญชี
ผู้อานวยการส่วนพัสดุ
ภาพที่ 3-2 โครงสร้างองค์กร
นางเกษร พรพิจิตรทรัพย์ รักษาการในตาแหน่ง ผู้อานวยการฝ่ายงบประมาณ
นางชวลีย ์ เทพเสน นางสุชีรา ทนุวงษ์ ปฏิบัติหน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่ หัวหน้าฝ่ายตรวจสอบใบสาคัญ หัวหน้าฝ่ายบริหารสิทรัพย์
60 คาอธิบายลักษณะงาน ฝ่ายบริหารงานทั่วไป 1. งานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์และงานธุรการกอง 2. ศูนย์รวมกฎ ระเบียบ คาสั่ง ข้อบังคับ เกี่ยวกับงานคลัง 3. ทาการเบิกจ่ายค่าสาธารณู ปโภคของกรมฯ 4. ทาการเบิกจ่ายเงินค่าฌาปนกิ จสงเคราะห์ เงิ น กฐิ น กรมพั ฒ นาที่ ดิน เงิ น สลาก กิ น แบ่ ง รัฐบาล เงินกาชาด 5. ตรวจสอบและกลั่นกรองเรื่องต่าง ๆ ก่อนนาเสนอ 6. อานวยการ ประสานงานหน่วยงานภายในกองและ หน่วยงานภายนอกที่ เกี่ยวข้อง ส่วนพัฒนาระบบงานคลัง 1. ศึกษาวิเคราะห์ เพื่อเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายและระบบบริหารงานคลังและพัสดุ ของกรม 2. ศึกษาวิเคราะห์ เพื่อกาหนดระเบียบ มาตรฐานและหลักเกณฑ์ ก ารบริ ห ารงานการคลั ง และ พัสดุของกรม 3. พั ฒ นาและวางระบบง านเทคโนโลยี ส ารสนเทศด้ า นการเงิ น การคลั ง และพั ส ดุ ใ ห้ สอดคล้องกับโครงการปรับปรุงระบบบริหารงานการคลังภาครัฐ ด้ วยระบบ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (GFMIS)
61 4. ตรวจสอบรายงานทางการเงินในระบบ GFMIS ให้ คาแนะน าและเป็ น ที่ ปรึ ก ษา แก่ ส่ วน ภูมิภาคและแก้ไขข้อมูล GFMIS ในกรณีที่ไม่สามารถดาเนินการเองได้ ส่วนงบประมาณ 1. ตรวจสอบและจั ดทาแผนการใช้ จ่า ยเงิ น งบประมาณประจาปี ของหน่ วยงา นต่ า งๆให้ สอดคล้องกับนโยบายงบประมาณ และเกณฑ์ราคามาตรฐาน 2. โอนเงินประจางวดให้หน่วยงานต่ า งๆ ทั้ ง ส่ วนกลางและส่ วนภู มิภ าคให้ ส อดคล้ อ งกั บ แผนปฏิบัติงานตามวงเงินที่ได้รับอนุ มัติจากสานั กงบประมาณ 3. ตรวจสอบและวิเคราะห์ ข้อ มู ล เพื่ อ จั ดทารายงานผลการใช้ จ่า ยเงิ น งบประมาณรายจ่ า ย ประจาปี 4. ตรวจสอบข้อมูล ของหน่ วยงานต่ า ง ๆ เพื่ อ ขออนุ มัติกั น เงิ น และขยายเวลาเบิ ก จ่ า ยเงิ น งบประมาณ ส่วนบัญชี 1. การเบิ ก เงิ น ของส่ ว นกลาง และการโอน สิ ทธิ์ / ลดวงเงิ น ของ ส่ วนภู มิ ภ าคด้ ว ยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ 2. จัดทาบัญชี ตรวจสอบและปรับปรุงบัญชี 3. จัดทารายงานฐานะทางการเงินของกรมฯ 4. จัดทารายงานการรั บและการใช้ จ่า ยเงิ น ที่ เ ป็ น เงิ น รายได้ โดยไม่ ต้อ งน าส่ ง เป็ น รายได้ แผ่นดิน ตามมาตรา 170
62 5. ประมวลผลค่าเสื่อมราคา/ค่าเสื่อ มราคาสะสมในระบบ GFMIS ของกรมฯ 6. เก็บรักษาเอกสารใบสาคัญคู่จ่า ย ฝ่ายการเงิน 1. อนุมัติใบสาคัญคู่จ่ายวงเงินไม่เกิน 300,000 บาท 2. รับ – จ่ายเงิน และนาเงินส่งคลัง 3. จ่ายเงินยืมราชการ และติดตามการคืนเงินทดรอง 4. จัดทารายละเอียดเงิ น เดื อ นข้ า ราชการ ลู ก จ้ า งประจาพนั ก งานราชการ ลู ก จ้ า งชั่ วคราว รวมทั้งเงินประจาตาแหน่ง เงินตอบแทน เงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราว 5. จัดทาและตรวจสอบเงิน บาเหน็จบานาญ กบข. กสจ. ภาษี ณ ที่ จ่า ยและน าส่ ง สรรพากร กองทุนประกันสังคมและค่าเช่าบ้าน 6. ประสานงานกับหน่วยงานราชการ บริษัท ร้านค้า พร้อมแนะนาวิธีการเบิก-จ่าย ส่วนพัสดุ 1. ดาเนินการจัดซื้อ จัดจ้าง และบริห ารสั ญ ญาตามระเบี ย บส านั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่า ด้ วยการ พัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์ 2. ดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐ (GFMIS)
63 3. บริหารจัดการกรณีการเลิ ก สั ญ ญา การขอหยุ ดงาน การต่ อ อายุ สั ญ ญาให้ เ ป็ น ไปตามกฎ ระเบียบ ควบคุมติดตามหลัก ค้าประกันสัญญา และหลักค้าประกันซองประกวดราคา 4. ให้คาแนะนา เป็นที่ปรึกษาแก้ไขปัญหาการปฏิ บัติงานจั ดซื้ อจั ดจ้ างแก่หน่วยงานของกรมฯ ฝ่ายตรวจสอบใบสาคัญ 1. ตรวจหลักการการขออนุมัติค่าใช้จ่ายก่อนฝ่ายงบประมาณตัดยอดการเบิ ก จ่ า ย เพื่ อ พิ จารณา การเบิกจ่ายให้ถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับหรือไม่ 2. ตรวจสอบใบสาคัญ เอกสาร หลักฐานการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ เงิ น นอกงบประมาณทุ ก หมวดรายจ่าย 3. ตรวจสอบหลักฐานการเบิ กจ่า ยเงินสวัส ดิการ ค่ารักษาพยาบาล ค่าเล่าเรียนบุตร 4. ตรวจสอบหลักฐานการขออนุ มัติหลั กการเบิก จ่ายค่ าเช่าบ้านและค่าเช่าซื้อ บ้าน 5. ให้คาปรึกษา แนะนา ตอบปัญหาเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบและวิธีการเบิกจ่ายที่ถู กต้ อง 6. ประสานงานกับหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้องกั บ กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ ข้อบังคับต่างๆ ฝ่ายบริหารสินทรัพย์ 1. สารวจ รวบรวม และจัดกลุ่มสินทรัพย์ให้เป็นไปตามหลั กการจาแนกประเภทรายจ่า ย 2. บริหารจัดการเกี่ยวกับยานพาหนะ บารุงรักษา ซ่อมแซมยานพาหนะของหน่วยงาน 3. บริหารจัดการและควบคุ มรายได้ จากการจาหน่ายขายทอดตลาดสิน ทรัพย์
64
4. บริหารจัดการสร้างรหัสสินทรัพ ย์ โอนย้ายสินทรัพย์ 5. วางแผน ควบคุมและพัฒนาสินทรัพย์ให้สามารถใช้งานได้เกิ ดประโยชน์สูงสุด 6. วิเคราะห์ความต้องการสินทรัพ ย์ของแต่ละหน่วยงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงานของกองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระบวนการบริหารงานทั่วไป การปฏิบัติงานบริหารทั่วไป เป็นการบริหารงานของกองคลั ง ให้ มีมาตรฐานและถื อ ปฏิ บัติใ น แนวทางเดียวกัน ทั้งกาหนดกฎ ระเบี ย บ คาสั่ ง ข้ อ บั ง คั บ เกี่ ย วกั บ กองคลั ง ตลอดจนงานสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ งานธุรการกอง งานตรวจสอบและกลั่ น กรองเรื่ อ งต่ า ง ๆ ก่ อ นน าเสนอผู้ บริ ห ารเพื่ อ ประสานงานหน่วยงานภายในกองและหน่วยงานภายนอกที่ เกี่ยวข้อง 1. ขอบเขตของงาน ครอบคลุมถึง ขั้ น ตอนการรั บ -ส่ ง หนั ง สื อ การผลิ ตเอกสาร (งานจั ดทาหนั ง สื อ ร่ า ง โต้ตอบ) การเกษียณเรื่องเพื่อนาเสนอผู้บริหารระดั บสู ง /ผู้ อ านวยการส านั ก -กอง การแจ้ ง เวียนหนังสือการออกเลข รวมทั้งการจัดส่งทางไปรษณี ย์ หรือด้วยวิธีการอื่นๆ 2. ความรับผิดชอบ 2.1 อธิบดี/รองอธิบดี มีหน้าที่ อนุมัติ เห็นชอบ สั่งการและลงนามหนังสือ 2.2 เลขานุการกรม/ผู้อานวยการมีหน้าที่
65 2.2.1
พิจารณาสั่งการ โดยบั น ทึ ก สั่ ง การ บั น ทึ ก ติ ดต่ อ ในหนั ง สื อ รั บให้ ฝ่ า ย/งาน รับทราบ/ ประสานงาน/ปฏิบัติงาน
2.2.2
พิจารณาหนังสือส่งออก ให้ความเห็นชอบ และลงนามในหนังสือราชการ
2.3 หัวหน้าฝ่ายสารบรรณ/ฝ่ายบริหารงานทั่วไป มีหน้าที่ 2.3.1
วิเคราะห์หนังสือเพื่อมอบหมายให้ เ จ้ า หน้ า ที่ ดาเนิ น การตามระบบงานสาร บรรณ
2.3.2
การผลิตหนังสือตามกระบวนการงานสารบรรณ
2.3.3
ตรวจสอบการบันทึ กย่อเรื่ อง บันทึกความเห็น ในหนังสือรับ
2.3.4
ตรวจสอบการร่าง และพิมพ์หนังสือส่ง
2.3.5
รับหนังสือ เอกสาร บันทึกข้อความ ที่ผู้บริหารพิจารณาสั่ ง การแล้ วดาเนิ น การ แจ้ง/ปฏิบัติตามสั่ง
2.4 เจ้าหน้าที่ฝ่ายสารบรรณ/ฝ่ายบริหารงานทั่วไป มีหน้าที่ 2.4.1
จัดเตรียมแบบฟอร์ ม เอกสาร สมุด ทะเบียนต่างๆที่ใช้ในงานสารบรรณ
2.4.2
รับหนังสือราชการด้วยระบบสารบรรณอิเล็ กทรอนิก ส์ และรับทางอื่นๆ
2.4.3
ลงทะเบียนรับหนังสือราชการ/บันทึก
2.4.4
นาเสนอผู้ที่ได้รับมอบหมาย บันทึกความเห็ น ในหนั ง สื อ รั บ /เกษี ย นหนั ง สื อ / ร่างโต้ตอบหนังสือ
66 2.4.5
นาเสนอหนังสือ รับ-ส่งผู้บริหาร
2.4.6
จัดทาสาเนาหนังสือ/แจ้งเวียน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2.4.7
ออกเลขที่หนังสือก่อนการจัดส่ง
2.4.8
จัดเก็บสาเนาเรื่อง เพื่อการค้นหาหนังสือราชการต่างๆ ใช้เป็นหลักฐานในการ อ้างอิง
2.4.9
ร่าง-พิมพ์ หนังสือส่ง
2.4.10 ลงทะเบียนหนังสือส่งทางระบบสารบรรณอิเล็ ก ทรอนิ กส์หรื อส่งทางอื่นๆ 2.4.11 ส่งหนังสือราชการด้วยวิธีต่างๆ เช่นทางไปรษณีย์ 2.4.12 ให้บริการแก่หน่วยงาน บุคลากรของกรม และผู้บริ ก ารที่ มาติ ดต่ อ ทั้ ง งานสาร บรรณและงานอื่นๆ 3. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3.1 รับเรื่อง 3.1.1
เจ้ า หน้ า ที่ ง านสารบรรณรั บหนั ง สื อ /เอกสารจากหน่ วยงานภายใน/ส่ ว น ราชการภายนอก/เอกชน และบุคคลทั่วไป
3.1.2
กรณีไม่ถูกต้อง เช่น ไม่มีลายนามผู้ลงนามในหนังสือ ไม่ลงวันที่ ไม่ออกเลขที่ หรือส่งผิดหน่วยงาน ให้ส่งคืน
67 3.2 ตรวจสอบและลงทะเบียน 3.2.1
เจ้ า ห น้ า ที่ ง าน สารบรรณลงทะเ บี ย นรั บห นั ง สื อ ด้ ว ยระบบสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์หรือรับทางอื่นๆ
3.2.2
ตรวจรายการสิ่งที่ส่งมาด้วย(ถ้ามี) ครบถ้ วนให้ ล งประทั บตรา รั บหนั ง สื อ ลง วันที่ เดือน พ.ศ. เวลา แล้วคัดแยกหนังสือส่งออกแต่ละฝ่าย
3.2.3
เจ้าหน้าที่งานสารบรรณ วิเคราะห์เนื้อหาในเบื้ อ งต้ น แล้ ว คั ดแยกหนั ง สื อ ส่ ง ให้ส่วนงานต่างๆ
3.2.4
กรณีไม่ถูกต้องส่งให้เจ้าหน้าที่ดาเนินการถอนเรื่องคืน จากทะเบียนรั บ
3.3 ดาเนินการตามระบบงาน ประกอบด้วยส่วนงานต่างๆ ดังนี้ 3.3.1
ศึกษา วิเคราะห์ ความเห็นสรุป บันทึกย่อ บันทึกความเห็นเสนอผู้บริหาร 1) เจ้ า หน้ า ที่ ง านสารบรรณ บั น ทึ ก ย่ อ โดยจั บประเด็ น ของเรื่ อ งหรื อ หา ข้อมูลประกอบการนาเสนอ 2) เสนอหัวหน้าฝ่าย หรือรองหัวหน้าฝ่ายตรวจสอบความถูก ต้อง
3.3.2
ร่างโต้ตอบ 1) เจ้าหน้าที่งานสารบรรณ พิจารณาเนื้อหา และวั ตถุ ประสงค์ ของเรื่ อ งเพื่ อ จัดทาร่างหนังสือ 2) พิมพ์หนังสือตามรูปแบบของหนังสือราชการประเภทต่างๆ
68 3) เสนอหัวหน้าฝ่าย/รองหัวหน้าฝ่าย ตรวจสอบความถู กต้ อง 3.3.3
งานเวียนหนังสือ 1) เจ้าหน้าที่งานสารบรรณ ได้ รั บเรื่ อ งสั่ ง การให้ แ จ้ ง เวี ย นหน่ วยงานใน สังกัด/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีวิธีการดาเนินการแจ้งเวี ย น 2 วิ ธี โดยวิ ธี ที่ 1 ใช้ระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิก ส์ และวิธีที่ 2 ใช้การทาสาเนาแจ้งเวียน 2) เมื่ อ ดาเนิ น การแล้ วให้ เ สนอหั วหน้ า ฝ่ า ย/รองหั วหน้ า ฝ่ า ย ตรวจสอบ ความถูกต้องก่อนส่งให้กับหน่วยงานเจ้าของเรื่อง
3.3.4
งานออกเลขที่หนังสือ/เลขที่คาสั่ง 1) เจ้าหน้าที่งานสารบรรณออกเลขที่ ห นั ง สื อ โดยลงเลขที่ กษ 0801._ _/_ _ ลงวันที่ ประทับตรายางชื่อผู้ลงนาม 2) จัดทาซองเพื่อส่งไปรษณีย์/เจ้าหน้าที่นาส่ง 3) เสนอหัวหน้าฝ่าย/รองหัวหน้าฝ่าย เพื่อแจ้งส่งคืนเรื่องต่อไป
3.4 ตรวจสอบ/ลงนาม 3.4.1
หัวหน้าฝ่าย ตรวจสอบความถูก ต้ อ งสมบู ร ณ์ ของเนื้ อ หา หรื อ ปรั บปรุ ง แก้ ไ ข หรือ ทาใหม่ เ พื่ อ น าเสนอเลขานุ ก ารกรมลงนาม หรื อ ลงนามในหนั ง สื อ บันทึกย่อ หรือหนังสือส่งกลับหน่วยงานเจ้าของเรื่อง
3.4.2
เสนอเลขานุการกรมกรณีแจ้งกลับให้ดาเนินการในข้ อ 3.8
69 3.5 ลงนามโดยเลขานุการกรม 3.5.1
เลขานุการกรมลงนามหนังสือ บันทึกย่อ งานเกษียณหนังสือ
3.5.2
เจ้าหน้าที่งานสารบรรณจัดแฟ้มกรณีเสนอ อธิ บดี ก รมพั ฒ นาที่ ดิน รองอธิ บดี ด้านบริหาร กรมพัฒ นาที่ ดิน รองอธิ บดี ด้า นวิ ช าการ กรมพั ฒ นาที่ ดิน และ รองอธิ บดี ด้า นปฏิ บัติก าร กรมพั ฒ นาที่ ดิน กรณี แ จ้ ง หน่ วยงานเกี่ ย วข้ อ ง ดาเนินการตามข้อ 3.8
3.6 ลงทะเบียนส่ง/จัดแฟ้ม 3.6.1
เจ้ า ห น้ า ที่ ง าน สารบรรณลงทะเ บี ย นห นั ง สื อ ส่ ง ด้ ว ยระบบสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์หรือโดยวิธีอื่น สาหรั บเสนอผู้ บริ ห าร อธิ บดี ก รมพั ฒ นาที่ ดิน รองอธิบดีด้านบริหาร กรมพั ฒ นาที่ ดิน รองอธิ บดี ด้า นวิ ช าการ กรมพั ฒ นา ที่ดิน หรือ รองอธิบดีด้านปฏิบัติการ กรมพัฒนาที่ดิน
3.6.2
เจ้าหน้าที่งานสารบรรณนาแฟ้มเสนอส านั ก งาน อธิ บดี ก รมพั ฒ นาที่ ดิน รอง อธิบดีด้านบริหาร กรมพัฒนาที่ ดิน รองอธิ บดี ด้า นวิ ช าการ กรมพั ฒ นาที่ ดิน หรือ รองอธิบดีด้านปฏิบัติการ กรมพัฒนาที่ดิน
3.7 พิจารณาลงนาม/สั่งการ 3.7.1
อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน พิจารณาลงนาม/สั่งการหนังสือที่นาเสนอ
3.7.2
รองอธิบดีด้านบริหาร กรมพั ฒ นาที่ ดิน /รองอธิ บดี ด้า นวิ ช าการ กรมพั ฒ นา ที่ดิน /รองอธิ บดี ด้า นปฏิ บัติก าร กรมพั ฒ นาที่ ดิน พิ จารณาลงนาม/สั่ ง การ หนังสือที่นาเสนอตามอานาจหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ให้ ปฏิ บัติร าชการแทน อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน
70 3.8 ลงทะเบียนหนังสือ 3.8.1
เจ้ า ห น้ า ที่ ง าน สารบรรณลง ทะ เบี ย น หนั ง สื อ ส่ ง จากระบบสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ โดยพิมพ์รายงานทะเบียนหนั ง สื อ ส่ ง หรื อ โดยวิ ธี อื่ น -ใช้ ส มุ ด ทะเบียนหนังสือส่ง
3.8.2
เจ้าหน้าที่งานสารบรรณดาเนินการจัดส่งโดยวิธี ต่างๆดังนี้ 1) เจ้าหน้าที่นาส่งภายในหน่วยงานส่วนกลาง 2) ส่งทางไปรษณีย์ 3) ส่งโดยใช้ยานพาหนะระหว่างหน่วยงาน
3.9 จัดเก็บสาเนา 3.9.1
เจ้าหน้าที่ฝ่ายสารบรรณจัดเก็ บสาเนาเรื่องตามระบบ
3.9.2
ตรวจสอบอายุการจัดเก็ บสิ้น ปีพุทธศักราช
3.10 เก็บรวบรวมจัดทาผลงาน 3.9.3
เจ้าหน้าที่งานสารบรรณจัดทาข้อ มูล ผลงานตามความรับผิดชอบ
3.9.4
หัวหน้าฝ่ายจัดทาข้อมูล ผลงานประจาปี
71 4. ผังกระบวนการทางาน
ภาพที่ 3-2 กระบวนการบริหารทั่วไป ที่มา: คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการงานสารบรรณ (2553: 1)
72 กระบวนการงบประมาณ กระบวนการงบประ มาณ จั ดทาเ พื่ อ ให้ ส่ วนราชการมี คู่มือ การปฏิ บัติง าน กระบวนกา ร งบประมาณที่แสดงถึงรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานกระบวนการงบประมาณ ซึ่ ง จะเป็ น มาตรฐาน ในการปฏิบัติงานสาหรับผู้ปฏิบัติงานด้านการจัดทางบประมาณและ เพื่ อ ให้ ผู้ ปฏิ บัติง านด้ า นการจั ดทา งบประมาณได้เข้าใจกระบวนการงบประมาณที่ เป็ น มาตรฐานเดี ย วกั น และสามารถน าไปใช้ ใ นการ ปรับปรุงการปฏิบัติงานเพื่อให้การปฏิ บัติงานด้านการจัดทางบประมาณมี ประสิ ทธิภาพมากขึ้น 1. ขอบเขตของงาน กระบวนการงบประมาณ เป็นการดาเนินงานตามกระบวนการ ขั้ น ตอน และระยะเวลา ที่กาหนดในปฏิทินงบประมาณรายจ่ า ยประจาปี ซึ่ ง ในแต่ ล ะปี ส านั ก งบประมาณจะเป็ น หน่วยงานก าหนดกระบวนการ ขั้ น ตอน และระยะเวลา โดยได้ รั บความเห็ น ชอบจาก คณะรัฐมนตรี มีกระบวนการแบ่ง เป็ น 3 กระบวนการหลั ก คื อ กระบวนการทบทวนและ วางแผน กระบวนการจั ดทางบประมาณ และกระบวนการอนุ มัติง บประมาณ โดยมี ขั้นตอนการดาเนินงานในแต่ละกระบวนการรวม 8 ขั้นตอน โดยเริ่มจากการรายงานผลการ ปฏิบัติงานและผลการใช้ จ่า ยงบประมาณเสนอส านั ก งบประมาณ การรายงานผลการ วิเคราะห์ระดับความสาเร็ จของการดาเนิ น งานจากการใช้ จ่า ยงบประมาณ (PART) การ ทบทวนเป้ า หมาย กลยุ ทธ์ ผลผลิ ต /โครงการ กิ จกรรม และตั วชี้ วัดผลส าเร็ จ การจั ดทา รายจ่ายประจาขั้นต่าที่จาเป็น การจัดทาคาขอตั้งงบประมาณรายจ่ า ยประจาปี และประมาณ การล่วงหน้า 3 ปี การชี้แจงงบประมาณ การจั ดสรรงบประมาณ และการจั ดทาแผนการ ปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ โดยมีกองแผนงานเป็ น ผู้ รั บผิ ดชอบดาเนิ น การ โดยตรง 2. หน้าที่ความรับผิดชอบ ในการดาเนินการตามขั้นตอนของกระบวนการตั้งแต่ ต้นจนถึง สิ้นสุดกระบวนการจะ ปรากฏว่ามีหน่วยงานที่รับผิ ดชอบในการดาเนินการตามขั้น ตอนเพื่อให้เกิดผลสั มฤทธิ์ ดังนี้
73 2.1 ผู้บริหาร 2.2 กอง/สานักส่วนกลาง 2.3 สานักงานพัฒนาที่ดินเขต และสถานีพัฒนาที่ดิน 3. ผังกระบวนการทางาน
ภาพที่ 3-3 กระบวนการงบประมาณ ที่มา: คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการงบประมาณ (2553: 5)
74
ภาพที่ 3-3 กระบวนการงบประมาณ (ต่อ) ที่มา: คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการงบประมาณ (2553: 5)
75
4. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน กระบวนการปฏิบัติงาน
ภาพที่ 3-4 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน-กระบวนการงบประมาณ ที่มา : คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการงบประมาณ (2553: 7)
76
กระบวนการปฏิบัติงาน (ต่อ)
ภาพที่ 3-4 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน-กระบวนการงบประมาณ (ต่อ) ที่มา : คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการงบประมาณ (2553: 7)
77
กระบวนการปฏิบัติงาน (ต่อ)
ภาพที่ 3-4 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน-กระบวนการงบประมาณ (ต่อ) ที่มา : คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการงบประมาณ (2553: 7)
78 5. มาตรฐานงาน มาตรฐานงานของกระบวนการงบประมาณจะเป็นไปตามปฏิ ทินงบประมาณรายจ่าย ประจาปี และคู่มือการปฏิบัติงานประจาปีง บประมาณของสานักงบประมาณ 6. ระบบติดตามประเมินผล เนื่องจากกระบวนการงบประมาณดาเนินการตามปฏิ ทิน งบประมาณรายจ่ า ยประจาปี ดั ง นั้ น ระบบการติ ดตามประเมิ น ผลจะติ ดตามการปฏิ บัติ ง านให้ เ ป็ น ไปตามปฏิ ทิ น งบประมาณรายจ่ายประจาปี 7. แบบฟอร์มที่ใช้ แบบฟอร์มที่ 1 ทบทวนเป้าหมาย ผลผลิต กิจกรรม และตัวชี้วัด แบบฟอร์มที่ 2 จัดทารายจ่ายประจาขั้นต่าที่จาเป็น แบบฟอร์มที่ 3 จัดทาคาขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจาปี แบบฟอร์มที่ 4 แบบคาขอตั้งงบประมาณรายจ่า ยประจาปี ตามระบบ e-Budgeting แบบฟอร์มที่ 5 แผน/ผลการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ กระบวนการเบิก – จ่ายเงิน การปฏิบัติงานกระบวนการเบิก – จ่ายเงิน จัดทาขึ้น มาเพื่ อ ให้ ผู้ ปฏิ บัติไ ด้ ทราบถึ ง ขั้ น ตอนของ การดาเนินงานเกี่ยวกับการเบิก – จ่ายเงินในระบบ GFMIS ให้เป็นไปตามกฎ ระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ และมติ ต่าง ๆ ที่กาหนด และเกิดความสะดวก รวดเร็ว ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน เพื่อให้ เ กิ ดความถู ก ต้ อ งและพึ ง พอใจกับผู้รับบริการ และเป็นแนวทางให้เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานปฏิบัติงาน
79 1. ผังกระบวนการเบิก – จ่ายเงิน กระบวนการเบิก-จ่ายเงิน ระบบ GFMIS มีวิธีการปฏิบัติไ ด้ดังนี้ 1.1 การเบิกจ่าย - เงินในระบบ GFMIS Terminal 1.2 การเบิกจ่าย – เงิน ในระบบ GFMIS Excel Loader หน่วยงานกองคลังจะเป็นผู้ดาเนิ น การเบิ ก จ่ า ยเงิ น ผ่ า นระบบ GFMIS Terminal ส่ วน หน่ วยงานส่ วนภู มิภ าค จะเบิ ก - จ่ า ยระบบ GFMIS Excel Loader เนื่ อ งจากไม่ มีเ ครื่ อ ง Terminal รองรับในการปฏิบัติงาน และจะต้องไปส่งข้อมูลการเบิ ก ที่ คลั ง จั ง หวั ด การเบิ ก – จ่ายเงิน ของกองคลั ง จะปฏิ บัติ ใ นด้ า นการเบิ ก - จ่ า ยสั ญ ญายื มเงิ น และเบิ ก - จ่ า ยตาม ใบส าคั ญ คู่ จ่า ย (เบิ ก ตรง) ซึ่ ง ผ่ า นกระบวนจั ดซื้ อ จั ดจ้ า งจากส่ วนพั ส ดุ กองคลั ง และ หน่วยงานอื่น ๆ ภายในกรมฯ
80
กระบวนการเบิก-จ่ายเงิน
ภาพที่ 3-5 กระบวนการเบิก – จ่ายเงิน ที่มา: คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการเบิกจ่ายเงิน (2553: 5)
81 2. ขอบเขตของงาน การเบิก-จ่ายเงิน ในระบบ GFMIS เป็นการดาเนินงานปรั บปรุ ง ระบบการจั ดการด้ า น การเงินการคลังให้มีความทันสมัย และมีประสิทธิภาพยิ่ง ขึ้ น ตั้ ง แต่ เ ริ่ มต้ น การเบิ ก เงิ น จาก คลังและสิ้นสุดกระบวนการทางานเมื่อมีการเบิกจ่าย / ชดใช้เงิ น ยื ม / ส่ ง คื น คลั ง ครอบคลุ ม ถึง 2.1 บริการด้านการเงินการบัญชี 2.2 เบิกจ่ายเงินงบประมาณตามระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง 2.3 บันทึกบัญชีตามระบบ GFMIS 2.4 ตรวจสอบและรายงานงบทดลองจากระบบ GFMIS 2.5 วิเคราะห์ วางแผน การรับ – จ่ายเงิน 3. ความรับผิดชอบ 3.1 ผู้อานวยการกองคลัง มีหน้าที่ รับผิดชอบดาเนินการเกี่ยวกับการเงิ น และบั ญ ชี การบริ ห ารงบประมาณ การพัสดุอาคารสถานที่ และยานพาหนะของกรมฯ ปฏิ บัติง านร่ วมกั น หรื อ สนั บสนุ น การปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้ องหรือ ที่ไ ด้รั บมอบหมายของกรมฯ
82 3.2 ผู้อานวยการส่วนบัญชี มีหน้าที่ อนุมัติการเบิกเงินและตรวจสอบความถู ก ต้ อ งของเอกสารหลั ก ฐานการ ขออนุมัติเบิกเงินในระบบ GFMIS ตรวจสอบรายงานการเงิ น ลงนามในเอกสารทาง การเงินและบัญชี นาเสนอผู้อานวยการกองคลัง 3.3 หัวหน้าฝ่ายการเงิน มีหน้าที่ อนุมัติการจ่ายเงินและตรวจสอบความถู ก ต้ อ งของเอกสารหลั ก ฐานการ จ่ายเงิน อนุมัติการนาส่งเงินรายได้แผ่นดิน ลงนามในต้ น ขั้ วเช็ คเพื่ อ สั่ ง จ่ า ย น าเสนอ ต่อผู้อานวยการกองคลัง 3.4 หัวหน้างานเบิก – จ่ายเงิน มีหน้าที่ ดาเนิน การสั่ ง การมอบหมายงานต่ อ ไปให้ ลู ก น้ อ งของตนเอง เพื่ อ ให้ ปฏิบัติหน้าที่ของตนเองจนประสบความส าเร็ จ และส่ ง ผลทาให้ ง านของหน่ วยงาน ประสบความสาเร็จไปด้ วย 3.5 เจ้าหน้าที่ มีหน้าที่ปฏิบัติตามคาสั่งที่ ได้รั บมอบหมาย เพื่อให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์ และ เป้าหมายของผู้รับบริการได้ มีการจ่ ายเงินให้แก่ผู้รับหรือเจ้าหนี้ ตามข้อผูกพันโดย ถูกต้องแล้ว 4. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4.1 การเบิก – จ่ายเงิน ตามใบสาคัญคู่จ่าย มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน ดังนี้
83 4.1.1
เจ้าหน้าที่การเงิน/การบัญชี รับใบสาคัญค่าใช้จ่ายจากกอง/สานั กฯ ได้แก่ 1) ค่าใช้จ่ายในการจัดประชุมสัมมนาและฝึก อบรม 2) ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการทั้งในและต่างประเทศ 3) ค่าวัสดุหรือจ้างเหมาบริการ 4) ค่าตอบแทน 5) ค่ารักษาพยาบาล/ค่าเล่าเรียนบุตร 6) ค่าสาธารณูปโภค 7) ใบสาคัญชดใช้ ฯลฯ
4.1.2
เจ้าหน้าที่การเงิน/บัญชี ตรวจสอบหลักฐาน/ จานวนเงินที่ได้รับอนุมัติ
4.1.3
เจ้าหน้าที่การเงิน/บัญชี ตรวจสอบค่าใช้จ่ายถู กต้องตามระเบีย บ
4.2 เจ้ า หน้ า ที่ ก ารเงิ น / บั ญชี ต รวจสอบใบส าคั ญการขอเบิ ก ให้ ถู ก ต้ อ งตามระเบี ย บ กระทรวงการคลัง 4.2.1
ไม่ผ่าน ส่งกลับเจ้าของเรื่องเพื่อแก้ไข
4.2.2
ผ่าน เสนอผู้มอี านาจอนุมัติใบสาคัญ ขอเบิ ก
4.2.3
เจ้าหน้าที่การเงิน/บัญชี จัดส่งใบสาคัญขอเบิกที่ อนุมัติแล้ ว ให้กับเจ้าหน้าที่ผู้ ทาหน้าที่เบิกเงิน
84 4.3 เจ้าหน้าที่การเงิน/บัญชี ตรวจสอบเอกสารเพื่อแยกประเภทการบันทึก รายการขอเบิก ในระบบ GFMIS ได้แก่ ใบสาคัญเบิกจ่ายผ่านส่วนราชการ 1) สัญญายืมเงิน 2) ใบสาคัญเบิกตรง (ใบสาคัญที่จ่ายเงินดาเนินการไปก่อน) 3) ใบสาคัญค่าสาธารณูปโภค ที่มีเงินสมทบ ใบสาคัญเบิกจ่ายตรงโดยกรมบัญชีก ลาง 1) ใบสาคัญที่ผ่านกระบวนการจัดซื้อ จั ดจ้ า ง ที่ มีวงเกิ น ตั้ ง แต่ 5,000 บาทขึ้ น ไปโดยส่วนพัส ดุ กองคลั ง / กอง / ส านั ก ฯ ดาเนิ น การจั ดซื้ อ จั ดจ้ า งเอง โดยทาใบสั่งซื้อสั่งจ้างผ่าน PO ในระบบ GFMIS 2) ใบสาคัญค่าสาธารณูปโภคที่จ่ายให้ กั บหน่ วยงานของรั ฐ บริ ษั ท เช่ น ค่ า ไฟฟ้า ค่าน้าประปา ค่าโทรศัพท์ 4.3.1
เจ้าหน้าที่การเงิน/บัญชี บันทึกรายการขอเบิกในระบบ GFMIS ไม่ผ่าน ตรวจสอบรหัสการเบิก จ่ายในระบบ GFMIS 1) รหัสหน่วยเบิกจ่าย 2) รหัสศูนย์ต้นทุน 3) แหล่งของเงิน
85 4) รหัสงบประมาณ 5) รหัสกิจกรรม 6) วันที่ผ่านรายการ ผ่าน ทาขั้นตอนที่ 4.4 1) ตรวจสอบเลขที่เอกสารที่ ได้ จากการเบิ กในระบบ GFMIS (ก) จ่ายตรงให้กับเจ้าหนี้โดยกรมบัญชีก ลาง 31xxxxxxxx (ข) จ่ายตรงให้กับเจ้าหนี้โดยส่วนราชการ 32xxxxxxxx (ค) จ่ายตรงให้กับเจ้ า หนี้ โ ดยกรมบั ญ ชี ก ลาง 33xxxxxxxx (เงิ น นอกงบประมาณ) (ง) จ่ายตรงให้กับเจ้าหนี้โดยส่วนราชการ 34xxxxxxxx (เงิ น นอก งบประมาณ) (จ) จ่ายผ่านส่วนราชการ 36xxxxxxxx (ฉ) เบิกกรณีลดวงเงิน 38xxxxxxxx 4.3.2
จัดทาหน้างบประกอบรายการขอเบิกเงินแต่ละรายการ
4.4 ประเภทเอกสารที่ใช้ในการเบิก – จ่ายเงิน ระบบ GFMIS Terminal 4.4.1
เบิกเงินงบประมาณจ่ายตรงผู้ขาย ผ่าน PO คาสั่ง ZMIRO_KA
86 4.4.2
เบิกเงินงบประมาณจ่ายตรงผู้ขาย ผ่าน PO - เงินกัน คาสั่ง ZMIRO_KB
4.4.3
เบิกเงินนอกงบประมาณจ่ายตรงผู้ขาย ผ่าน PO คาสั่ง ZMIRO_KG
4.4.4
เบิกเงินลดหนี้ (PO มากกว่าเบิกจริง) คาสั่ง ZMIRO_KX
4.4.5
เบิกเงินงบประมาณจ่ายตรงผู้ขาย ไม่ผ่าน PO คาสั่ง ZFB60_KC
4.4.6
เบิกเงินงบประมาณจ่ายตรงผู้ขาย ไม่ผ่าน PO - เงินกัน คาสั่ง ZFB60_KD
4.4.7
เบิกเงินงบประมาณจ่ายผ่านส่วนราชการ ไม่ผ่าน PO คาสั่ง ZFB60_KE
4.4.8
เบิกเงินงบประมาณจ่ายผ่านส่วนราชการไม่ ผ่าน PO - เงินกัน คาสั่ง ZFB60_KF
4.4.9
เบิกเงินนอกงบประมาณจ่ายตรงผู้ขาย ไม่ผ่าน PO คาสั่ง ZFB60_KH
4.4.10 เบิกเงินนอกงบประมาณจ่ายผ่านส่วนราชการ ไม่ผ่าน PO คาสั่ง ZFB60_KI 4.4.11 เบิกเงินตามใบสาคัญคู่จ่าย เงินงบประมาณ คาสั่ง ZFB60_KL 4.4.12 เบิกเงินตามใบสาคัญคู่จ่าย เงินนอกงบประมาณ - เงินกัน คาสั่ง ZFB60_KM 4.4.13 เบิกเงินตามใบสาคัญคู่จ่าย เงินนอกงบประมาณ คาสั่ง ZFB60_KN 4.4.14 เบิกเงินประกันผลงาน คาสั่ง ZFB60_K3 4.4.15 เบิกเงินจ่าย ณ วันสิ้นเดือน คาสั่ง ZFB60_K0
87 4.4.16 เบิกเงินอุดหนุน คาสั่ง ZFB60_K8 4.4.17 เบิกเงินถอนคืนเงินรายได้แผ่นดิน ถอนคืนภายในปีงบประมาณที่นาส่ง จ่าย คืนเจ้าหนี้ คาสั่ง ZFB60_K6 4.4.18 เบิกเงินถอนคืนเงินรายได้แผ่นดิน ถอนคืนโดยใช้งบรายจ่ายอื่นของ ปีงบประมาณปัจจุบัน คาสั่ง ZFB60_KE 4.4.19 เบิกเงินลูกหนี้เงินยืม คาสั่ง ZFB60_K1 4.4.20 บันทึกการจ่ายเงินในระบบ คาสั่ง ZF_53_PM 4.4.21 บันทึกการล้างลูกหนี้เงินยืม คาสั่ง ZF_02_G1 4.4.22 บันทึกลูกหนี้เงินยืมกรณีมีการคืนเงิน คาสั่ง ZGL_BD4 4.5 แบบฟอร์มที่ใช้ในการเบิก – จ่ายเงิน ระบบ Excel Loader 4.5.1
ขอเบิกเงินงบประมาณ / เงินนอกงบประมาณ เพื่ อ จ่ า ยช าระเงิ น ตรงเข้ า บั ญ ชี เงินฝากธนาคารของผู้ขาย / คู่สัญญาของรัฐ ที่เป็นบุคคลภายนอก โดยจะต้ อ ง อ้างเลขที่ใบสั่งซื้อ /จ้าง / เช่าหรือสัญญาจากระบบ GFMIS ใช้ แ บบฟอร์ ม ขอ เบิก 01 (ขบ.01)
4.5.2
ขอเบิกเงินงบประมาณ เพื่อจ่า ยช าระเงิ น ตรงเข้ า บั ญ ชี เ งิ น ฝากธนาคารของ ผู้ ขาย / คู่ สั ญ ญาหรื อ จ่ า ยของรั ฐ หรื อ จ่ า ยเงิ น ผ่ า นบั ญ ชี เ งิ น ฝากของส่ วน ราชการ โดยไม่อ้างเลขที่ใบสั่ ง ซื้ อ /จ้ า ง / เช่ า หรื อ สั ญ ญาจากระบบ GFMIS ใช้แบบฟอร์ม ขอเบิก 02 (ขบ.02)
88 4.5.3
ขอเบิกเงินนอกงบประมาณทั้งที่ฝากคลังและไม่ฝากคลัง เพื่อจ่ายช าระเงิ น ตรง เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้ ขาย / คู่ สั ญ ญาหรื อ จ่ า ยของรั ฐ หรื อ จ่ า ยเงิ น ผ่านบัญชีเงินฝากของส่วนราชการ โดยไม่อ้างเลขที่ใบสั่ ง ซื้ อ / จ้ า ง / เช่ า หรื อ สัญญาจากระบบ GFMIS ใช้แบบฟอร์มขอเบิก 03 (ขบ.03)
4.5.4
บันทึ ก รายการตั้ ง เบิ ก เพื่ อ ขอเบิ ก เงิ น ในงบประมาณ เพื่ อ ใช้ ใ นกรณี ที่ใ ห้ หน่วยงานอื่นทาการเบิ ก เงิ น แทน โดยไม่ อ้ า งเลขที่ ใ บสั่ ง ซื้ อ /จ้ า ง/เช่ า โดย หลังจากที่กรอกข้อมูล ในแบบฟอร์ มเสร็ จแล้ ว ให้ ห น่ วยงานผู้ เ บิ ก แทนส่ ง แบบฟอร์มไปยังหน่วยงานเจ้ า ของงบประมาณโดยไม่ ต้อ งทากา ร Encrypt แบบฟอร์ ม เ พื่ อ ใ ห้ ห น่ วยงาน เจ้ า ของงบประมาณสามารถตรวจสอบ แบบฟอร์มได้ใช้แบบฟอร์ ม ขอเบิก 04 (ขบ.04)
4.5.5
บันทึกรายการถอนคืนรายได้แผ่นดินที่นาส่งเกิน –ภายในกรมฯ ใช้ แ บบฟอร์ ม ขบ.05
4.5.6
บันทึกรายการถอนคืนรายได้นอกงบประมาณที่ น าส่ ง เกิ น –ภายในกรมฯ ใช้ ขบ. 06
4.6 เจ้าหน้าที่การเงิน/บัญชี จัดทาบันทึกรายการที่เบิกในระบบ GFMIS 4.6.1
เสนอผู้มีอานาจอนุมัติรายการเบิกในเอกสารหลั ก ฐานขอเบิ ก ที่ ไ ด้ จากระบบ GFMIS
4.6.2
ผู้มีอานาจอนุ มัติ /หรื อ ผู้ ที่ไ ด้ รั บมอบหมาย อนุ มัติ P1 P2 จากบั ตร ในระบบ (GFMIS เพื่อข้อมูลจะได้ถูกส่งไปที่ กรมบั ญชีกลาง)
4.6.3
เจ้าหน้าที่การเงิน/บัญชี บันทึกรายการเบิกในทะเบียนคุ มการเบิก-จ่า ยเงิน
4.7 เจ้าหน้าที่การเงิน/บัญชี ตรวจสอบการอนุมัติการโอนเงินจากกรมบัญชีกลาง
89 4.7.1
จากระบบ Terminal 1) กรณีเบิกจ่ายผ่านโดยส่วนราชการ จากคาสั่ง Y_DEV_80000034 2) กรณีเบิกจ่ายตรงผู้ขายโดยกรมบัญชีก ลาง จากคาสั่ง (ก) ZAP_RPT503 หรือ (ข) ZAP_RPT506
4.7.2
จาก Web Operation Report (สาหรับหน่วยงานที่ไม่มีเครื่อง Terminal)
4.7.3
จั ดพิ มพ์ เ อกสารที่ ไ ด้ รั บอนุ มัติก ารเบิ ก เงิ น จากกรมบั ญ ชี ก ลาง ในระบบ GFMIS ส่งเจ้าหน้าที่การเงินเพื่อเขียนเช็คสั่งจ่าย/โอนเงินให้ผู้มีสิทธิ์รับเงิน
4.8 เจ้าหน้าที่การเงิน/บัญชี ตรวจสอบการโอนเงินเข้าบัญชีของหน่วยงาน กรณีจ่ายเข้า บัญชีส่วนราชกร 4.8.1
เขียนเช็คเสนอผู้มีอานาจลงนามสั่งจ่าย
4.8.2
จ่ายเงินให้ผู้มสี ิทธิ์รับเงิน 1) โอนเงินเข้าบัญชีผ่านธนาคาร พร้อมจัดทารายละเอียดการโอนเงิน 2) เขียนเช็คให้กับร้านค้า / บริษัท / ห้างหุ้นส่วน ฯลฯ ตามใบแจ้ ง หนี้ เ งิ น ไม่ เกิน 5,000 บาท พร้อมทั้งลงทะเบียนคุมการจ่าย
90 3) ออกหนังสือรับรองภาษีหัก ณ ที่จ่าย ให้กับเจ้าหนี้ กรณีเบิกจ่ายผ่านส่วน ราชการ และจ่ายตรงเจ้าหนี้โดยกรมบัญชีกลาง 4.8.3 เจ้าหน้าที่การเงิน/บัญชี บันทึกการจ่ายเงิ น เฉพาะกรณี จ่า ยผ่ า นส่ วนราชการใน ระบบ GFMIS (คาสั่ง ZF_53_PM) เสนอหัวหน้าฝ่ายการเงินอนุมัติ 4.8.4 ส่งเอกสารใบสาคัญจ่ายทั้งหมดให้เจ้าหน้าที่ บัญชี บันทึกรายการทางบัญชี 5. กฎหมาย และข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้อง 5.1 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ า ยเงิ น เกี่ ย วกั บค่ า ใช้ จ่า ยในการบริ ห ารงาน ของส่วนราชการ พ.ศ. 2549 5.2 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ า ยเงิ น เกี่ ย วกั บค่ า ใช้ จ่า ยในการบริ ห ารงาน ของส่วนราชการในต่างประเทศ พ.ศ. 2549 5.3 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่า ด้วยการพั สดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไข 5.4 ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนาส่งเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551 5.5 การจาแนกประเภทรายจ่ายตามปีง บประมาณ
91 6. การจัดเก็บและเข้าถึงเอกสาร 6.1 การจัดเก็บ ตารางที่ 3-1 การจัดเก็บและการเข้าถึงเอกสาร-กระบวนการเบิก-จ่ายเงิน ชื่อเอกสาร 1.สัญญาการยืมเงิน 2.ทะเบียนคุมเงินทด รองราชการ 3.ทะเบียนคุมการ จ่ายเงินในระบบ GFMIS 4.ทะเบียนคุมรับจ่ายเงินสด / เช็ค 5.ทะเบียนคุมต้นขั้วเช็ค 6.รายงานการขอเบิก เงินคงคลัง 7.หน้างบประกอบ รายการเบิกเงิน 8.ทะเบียนคุมหลักฐาน ขอเบิกเงินคงคลัง 9.ทะเบียนคุมการเบิก คืนเงินรายได้แผ่นดิน 10.ทะเบียนคุมข้อมูล หลักผู้ขาย
สถานที่ จัดเก็บ ฝ่ายการเงิน ฝ่ายการเงิน
ผู้รับผิดชอบ
การจัดเก็บ
ระยะเวลา
เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่
ฝ่ายการเงิน
เจ้าหน้าที่
ทะเบียนคุมลูกหนี้ ทะเบียนคุม เงินทดรองราชการ รหัส 0303 B01
30 วัน 1 ปี (งบประมาณ) 10 ปี
ฝ่ายการเงิน
เจ้าหน้าที่
รหัส 0303 B01
10 ปี
ฝ่ายการเงิน
เจ้าหน้าที่
10 ปี
ส่วนบัญชี
เจ้าหน้าที่
รหัส 0303 B01 (แยกตามบัญชี) 0305-F4.1(21)
ส่วนบัญชี
เจ้าหน้าที่
0305-F4.1(22)
ส่วนบัญชี
เจ้าหน้าที่
0305-F4.1(23)
ส่วนบัญชี
เจ้าหน้าที่
0305-F4.1(12)
ส่วนบัญชี
เจ้าหน้าที่
0305-F4.1(5)
1 ปี (งบประมาณ) 1 ปี (งบประมาณ) 10 ปี 1 ปี (งบประมาณ) 1 ปี (งบประมาณ)
92 6.2 ผู้มีสิทธิ์เข้าถึง 6.2.1
ผู้อานวยการกองคลัง
6.2.2
ผู้อานวยการส่วนบัญชี
6.2.3
หัวหน้าฝ่ายการเงิน
6.2.4
หัวหน้างานเบิก – จ่ายเงิน
6.2.4
เจ้าหน้าที่ทุกระดับที่ขอเข้าถึง
7. ระบบการติดตามและประเมินผล 7.1 ตัวชี้วัด 7.1.1
ร้อยละของความพึงพอใจของผู้ใช้บริการด้านการเงิน
7.1.2
ร้อยละของความพึงพอใจของผู้รั บบริการด้านให้คาแนะนาด้านการเงิน
7.1.3
ร้อยละของเอกสารตั้งเบิกที่ดาเนินการอนุมัติผ่านระบบ GFMIS ไปยัง กรมบัญชีกลาง ภายใน 3 วัน
7.1.4
ร้อยละของความถูกต้ องของการบัน ทึก รายการจ่ ายเงินในระบบ GFMIS
7.1.5
ร้อยละของจานวนความผิ ดพลาดในการตั้งเบิ ก
7.1.6
ระดับความสาเร็จในการตรวจสอบติดตามความถูกต้ อ งในการเบิ ก จ่ า ยเงิ น ใน ระบบ GFMIS
93 7.2 เกณฑ์การวัดคุณภาพ เบิก – จ่าย ได้รวดเร็ว ทันเวลาตามความต้องการ 7.3 กลวิธีในการเข้าถึง 7.3.1
เจ้าหน้าที่ผู้ปฎิบัติในกระบวนการเบิก- จ่ายเงิน ต้องปฏิบัติตามกฎระเบี ย บของ กระทรวง
7.3.2
เจ้าหน้าที่ผู้ปฎิบัติในกระบวนการเบิก-จ่ายเงิน ต้องศึกษารายละเอียดการเบิกจ่ายเงิน
กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
ภาพที่ 3-6 แผนผังกระบวนการจัดซื้อจั ดจ้าง ที่มา: คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง (2553: 2)
94
ภาพที่ 3-7 กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง ที่มา: คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง (2553: 3)
95 1. ขอบเขตกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง 1.1 การจัดซื้อ จัดจ้างโดยวิธีตกลงราคา เริ่ มตั้ ง แต่ เจ้ า หน้ า ที่ พั ส ดุ ไ ด้ รั บรายง านความต้ อ งการจั ดซื้ อ /จั ดจ้ า ง จากนั้ น ดาเนินการตรวจสอบพั ส ดุ ใ นคลั ง ตรวจสอบราคาซื้ อ /จ้ า งครั้ ง สุ ดท้ า ย สื บราคาจาก ท้องตลาดตรวจสอบงบประมาณ ดาเนิ น การสื บราคาพร้ อ มขอใบเสนอราคา จั ดทา รายงานขออนุมัติ ดาเนินการจัดซื้อ/จัดจ้างพร้ อ มแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการตรวจรั บพั ส ดุ / ตรวจการจ้าง นาเสนอขอความเห็นชอบจากผู้ มีอ านาจ หากเห็ น ชอบดาเนิ น การออก ใบสั่ ง ซื้ อ /สั่ ง จ้ า ง และ หากไม่ เ ห็ น ชอบต้ อ งส่ ง กลั บใ ห้ เ จ้ า หน้ า ที่ พั ส ดุ ป ระสาน ผู้เกี่ยวข้องทบทวน และแจ้งผู้ขาย / ผู้รับจ้าง มารับใบสั่งซื้ อ /สั่ ง จ้ า ง จากนั้ น สร้ า งข้ อ มู ล หลักผู้ขาย/ผู้รับจ้าง ตามระบบ GFMIS โดยใช้ แ บบฟอร์ ม ผข.01 แล้ วน าส่ ง เข้ า ระบบ Internet Download ข้อมูลผู้ขาย/ผู้รับจ้ า ง จากระบบ Internet มาตรวจสอบกั บเอกสาร ข้อมูลผู้ขาย/ผู้รับจ้าง แล้วนาส่งในระบบ GFMIS และส่งเอกสารให้กรมบั ญ ชี ก ลางเพื่ อ อนุ มัติแ ละยื น ยั น บั น ทึ ก ข้ อ มู ล การจั ดซื้ อ /จั ดจ้ า ง (PO) ตามระบบ GFMIS โดยใช้ แบบฟอร์ ม บส.01 แล้ วน าส่ ง เข้ า ระบบ Internet Download ข้ อ มู ล การจั ดซื้ อ /จั ดจ้ า ง (PO) มาตรวจสอบกับเอกสารการจัดซื้ อ /จั ดจ้ า ง แล้ วน าส่ ง ในระบบ GFMIS หลั ง จาก ได้รับอนุมัติและยืนยันข้อมูล หลั ก ผู้ ขายคณะกรรมการตรวจรั บพั ส ดุ ผู้ ตรวจรั บพั ส ดุ ดาเนินการตรวจรับพัสดุ และเสนอผลการตรวจรับของคณะกรรมการตรวจรั บพั ส ดุ ใ ห้ ผู้มีอานาจทราบและอนุมัติจ่ายเงิน และส่งให้ฝ่ายคลั ง เบิ ก เงิ น จนกระทั่ ง เก็ บรวบรวม หลักฐาน (สาเนาใบตรวจรับของคณะกรรมการ และใบส่งของ) เข้าแฟ้ม 1.2 การจัดซื้อ จัดจ้างโดยวิธีสอบราคา เริ่ มตั้ ง แต่ เจ้ า ห น้ า ที่ พั ส ดุ ไ ด้ รั บรายงานความต้ อ งการจั ดซื้ อ /จั ดจ้ า ง จากนั้ น ตรวจสอบเหตุผลความจาเป็ น ตรวจสอบพั ส ดุ ใ นคลั ง ตรวจสอบราคาซื้ อ /จ้ า ง ครั้ ง สุดท้าย ตรวจสอบรายละเอี ย ดคุ ณ ลั ก ษณะเฉพาะ ตรวจสอบงบประมาณ และจั ดทา ประกาศสอบราคาและเอกสารสอบราคาเสนอผู้ มีอ านาจลงนามประกาศสอบราคา ประกาศเชิญชวนตามระเบียบฯที่หน่วยงาน ณ ที่ เ ปิ ดเผย ทางเว็ บไซต์ ของหน่ วยงาน
96 และ ทางเว็บไซต์ของกรมบั ญ ชี ก ลาง คณะกรรมการฯ รั บซองสอบราคา ตรวจสอบ คุณสมบัติของผู้เสนอราคาที่มีสิทธิได้รับการคัดเลื อ กและประกาศรายชื่ อ พร้ อ มแจ้ ง ผู้ เสนอราคาที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บการคั ดเลื อ กดาเนิ น การเปิ ดซองเสนอราคาและตรวจสอบ รายละเอียดอื่น ๆ จากนั้นเสนอผลการพิ จารณาถึ ง ผู้ มีอ านาจสั่ ง ซื้ อ /สั่ ง จ้ า ง ประกาศ รายชื่อผู้ชนะการสอบราคาทางเว็บไซต์ของกรมบั ญ ชี ก ลางในระบบ E-GP จั ดทาร่ า ง สัญญา/ตรวจร่างสัญญา แจ้งผู้ ส อบราคาได้ มาทาสั ญ ญา รั บใบสั่ ง รวมทั้ ง แจ้ ง ผู้ ส อบ ราคาไม่ได้พร้อมสิทธิอุทธรณ์สร้างข้อมู ล หลั ก ผู้ ขาย/ผู้ รั บจ้ า ง ตามระบบ GFMIS โดย ใช้แบบฟอร์ม ผข.01 แล้วนาส่งเข้าระบบ Internet Download ข้ อ มู ล ผู้ ขาย/ผู้ รั บจ้ า งจาก ระบบ Internet มาตรวจสอบกั บเอกสารข้ อ มู ล ผู้ ขาย/ผู้ รั บจ้ า ง แล้ วน าส่ ง ในระบบ GFMIS และส่ ง เอกสารให้ ก รมบั ญ ชี ก ลางเพื่ อ อนุ มัติแ ละยื น ยั น บั น ทึ ก ข้ อ มู ล การ จัดซื้อ/จัดจ้าง (PO) ตามระบบ GFMIS โดยใช้ แ บบฟอร์ ม บส.01 แล้ วน าส่ ง เข้ า ระบบ Internet Download ข้อมูลการจัดซื้อ/จัดจ้ า ง (PO) มาตรวจสอบกั บเอกสารการจั ดซื้ อ / จัดจ้าง แล้วนาส่งในระบบ GFMIS หลังจากได้รับ อนุ มัติแ ละยื น ยั น ข้ อ มู ล หลั ก ผู้ ขาย/ ผู้รับจ้างส่งมอบของ คณะกรรมการตรวจรั บพั ส ดุ ผู้ ตรวจรั บพั ดสุ ดาเนิ น การตรวจรั บ พัสดุ เสนอผลการตรวจรับของคณะกรรมการตรวจรั บพั ส ดุ ใ ห้ ผู้ มีอ านาจทราบและ อนุมัติจ่ายเงิน และส่งเบิกเงิน จนกระทั่งเก็บรวบรวมหลักฐาน (ส าเนาใบตรวจรั บของ คณะกรรมการ และใบส่งของ) เข้าแฟ้ม 1.3 การจัดซื้อ จัดจ้างโดยวิธีพิเศษ เริ่มตั้งแต่ เจ้าหน้าที่พั ส ดุ รั บบั น ทึ ก การจั ดซื้ อ /จั ดจ้ า ง ที่ ไ ด้ รั บอนุ มัติใ นหลั ก การ จากนั้นตรวจสอบรายละเอียดตามระเบียบฯพัสดุและระเบียบอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ตรวจสอบ งบประมาณ รหัสงบประมาณตามแผนงาน/โครงการจั ดทารายงานขอซื้ อ /ขอจ้ า ง โดย วิธีพิเศษ และดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการซื้ อ /จ้ า ง แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการตรวจรั บ พัสดุ จัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ ดาเนิ น การพิ จารณาผลการจั ดซื้ อ /จั ดจ้ า ง โดย วิ ธี พิ เ ศษ เสนอผลการพิ จารณาจั ดซื้ อ /จั ดจ้ า ง ถึ ง ผู้ มีอ านาจสั่ ง ซื้ อ /สั่ ง จ้ า ง หากไม่ เห็นชอบให้ส่งเรื่องให้เจ้าหน้าที่พัสดุแจ้งผู้เกี่ยวข้องทบทวน หากเห็ น ชอบดาเนิ น การ ก่อหนี้ผูกพัน (ทาสัญญาหรือออกใบสั่ ง ) โดยแจ้ ง ผู้ ขาย/ผู้ รั บจ้ า งมาทาสั ญ ญาหรื อ รั บ ใบสั่ง สร้างข้อมูลหลักผู้ขาย/รับจ้า งตามระบบ GFMIS โดยใช้ แ บบฟอร์ ม ผข.01 แล้ ว
97 น าส่ ง เข้ า ระบบ Internet Download ข้ อ มู ล ผู้ ขาย/ผู้ รั บจ้ า งจากระบบ Internet มา ตรวจสอบกับเอกสารข้อมูลผู้ขาย/ผู้รับจ้าง แล้วนาส่ง ในระบบ GFMIS และส่ ง เอกสาร ให้กรมบัญชีกลางเพื่ออนุมัติและยืนยัน บันทึกข้อมูลการจั ดซื้ อ /จั ดจ้ า ง (PO) ตามระบบ GFMIS โดยใช้แบบฟอร์ ม บส.01 แล้ วน าส่ ง เข้ า ระบบ Internet Download ข้ อ มู ล การ จัดซื้อ/จั ดจ้ า ง (PO) มาตรวจสอบกั บเอกสารการจั ดซื้ อ /จั ดจ้ า ง แล้ วน าส่ ง ในระบบ GFMIS หลังจากได้รับอนุมัติและยืนยันข้อมู ล หลั ก ผู้ ขาย ผู้ ขาย/ผู้ รั บจ้ า ง ส่ ง มอบพั ส ดุ และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุดาเนินการตรวจรับพั ส ดุ คณะกรรมการตรวจรั บพั ส ดุ เสนอรายงานผลการตรวจรั บพั ส ดุ ถึ ง ผู้ มีอ านาจทราบและอนุ มัติจ่า ยเงิ น พร้ อ มส่ ง เอกสารการจัดซื้อ/จัดจ้า งให้ ฝ่ า ยคลั ง เบิ ก จ่ า ยและส่ ง เอกสารให้ เ จ้ า หน้ า ที่ พั ส ดุ เก็ บ รวบรวมหลักฐาน (สาเนาใบตรวจรับของคณะกรรมการและใบส่งของ) เข้าแฟ้ม 1.4 การจัดซื้อ จัดจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ เริ่มตั้งแต่ เจ้าหน้าที่ พั ส ดุ รั บบั น ทึ ก การจั ดซื้ อ /จั ดจ้ า งที่ ไ ด้ รั บความเห็ น ชอบจาก อธิบดีหรือผู้รับมอบอ านาจจากนั้ น ตรวจสอบรายละเอี ย ดตามระเบี ย บฯพั ส ดุ ข้อ 27 และระเบียบอื่นที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ตรวจสอบงบประมาณ รหั ส งบประมาณตามแผนงาน/ โครงการเสนออธิบดีหรือผู้มีอานาจพิจารณาการจั ดซื้ อ /จั ดจ้ า ง หากไม่ เ ห็ น ชอบให้ ส่ ง เรื่องให้เจ้าหน้าที่พัสดุแจ้งผู้เกี่ยวข้องทบทวน หากเห็ น ชอบดาเนิ น การก่ อ หนี้ ผู ก พั น (ทาสัญญาหรือออกใบสั่ ง ) โดยแจ้ ง ผู้ ขาย/ผู้ รั บจ้ า งมาทาสั ญ ญาหรื อ รั บใบสั่ ง สร้ า ง ข้อมูลหลักผู้ขาย/ผู้รับจ้างตามระบบ GFMIS โดยใช้ แ บบฟอร์ ม ผข.01 แล้ วน าส่ ง เข้ า ระบบ Internet Download ข้ อ มู ล ผู้ ขาย/ผู้ รั บ จ้ า งจากระบบ Internet มาตรวจสอบกั บ เอกสารข้ อ มู ล ผู้ ข าย/ผู้ รั บจ้ า ง แล้ ว น าส่ ง ใน ระบบ GFMIS และส่ ง เอกสารใ ห้ กรมบัญชีกลางเพื่ออนุมัติและยื น ยั น บั น ทึ ก ข้ อ มู ล การจั ดซื้ อ /จั ดจ้ า ง (PO) ตามระบบ GFMIS โดยใช้แบบฟอร์ ม บส.01 แล้ วน าส่ ง เข้ า ระบบ Internet Download ข้ อ มู ล การ จัดซื้อ/จั ดจ้ า ง (PO) มาตรวจสอบกั บเอกสารการจั ดซื้ อ /จั ดจ้ า ง แล้ วน าส่ ง ในระบบ GFMIS หลังจากได้รับอนุมัติและยืนยัน ข้ อ มู ล หลั ก ผู้ ขาย/ผู้ รั บจ้ า ง ส่ ง มอบพั ส ดุ และ คณะกรรมการตรวจรั บพั ส ดุ ดาเนิ น การตรวจรั บพั ส ดุ คณะกรรมการตรวจรั บพั ส ดุ เสนอรายงานผลการตรวจรั บพั ส ดุ ถึ ง ผู้ มีอ านาจทราบและอนุ มัติจ่า ยเงิ น พร้ อ มส่ ง
98 เอกสารการจัดซื้อ/จัดจ้างให้ฝ่ า ยคลั ง เบิ ก จ่ า ย และส่ ง เอกสารให้ เ จ้ า หน้ า ที่ พั ส ดุ เก็ บ รวบรวมหลักฐาน (สาเนาใบตรวจรับของคณะกรรมการและใบส่งของ) เข้าแฟ้ม 1.5 การจัดซื้อ จัดจ้างโดยวิธีประกวดราคา เริ่มตั้งแต่ เจ้าหน้าที่พัสดุรับบันทึกการจัดซื้อ/จ้างที่ ไ ด้ รั บความเห็ น ชอบจากอธิ บดี หรือผู้รั บมอบอ านาจจากนั้ น ตรวจสอบรายละเอี ย ดตามระเบี ย บฯพั ส ดุ ข้อ 27 และ ระเบียบอื่นที่เกี่ยวข้อง ตรวจสอบงบประมาณ รหัสงบประมาณตามแผนงาน/โครงการ จัดทาประกาศประกวดราคา และเอกสารประกวดราคาเสนออธิ บดี ห รื อ ผู้ มีอ านาจ หาก ไม่เห็นชอบให้ส่งเรื่องให้เจ้าหน้าที่พัสดุแจ้งผู้เกี่ยวข้อ งทบทวน หากเห็ น ชอบลงนาม ในประกาศประกวดราคาดาเนินการปิดประกาศประกวดราคาและเผยแพร่ ทางเว็ บไซต์ และจัดส่งประกาศพร้อมเอกสารประกวดราคาให้ ห น่ วยงานของ รั ฐ ตามระเบี ย บฯว่ า ด้วยการพัสดุ ดาเนินการแจ้งหน่วยงานเพื่อเผยแพร่ประกาศ/เอกสารประกวดราคาและ แจ้งคณะกรรมการฯ ทุกคณะ แจ้งผู้เสนอราคารับประกาศ / เอกสารประกวดราคาจาก หน่ วยงาน ปล่ อ ยระยะช่ ว งเ วลาการค าน วณราคาของ ผู้ เ สน อราคา จากนั้ น คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคาและเอกสารหลักฐานต่ า งๆ คณะกรรมการ พิจารณาผลการประกวดราคาตรวจสอบคุ ณ สมบั ติของผู้ เ สนอราคาที่ มีสิ ทธิ ไ ด้ รั บการ คัดเลื อ กและประกาศรายชื่ อ พร้ อ มแจ้ ง ผู้ เ สนอราคาที่ ไ ม่ ไ ด้ รั บการคั ดเลื อ กทราบ คณะกรรมการรั บ และ เ ปิ ด ซอง ประ กวดราคาเ ปิ ด ซอง เสน อราคาและ ส่ ง ใ ห้ คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาตรวจรายละเอี ย ดอื่ น ๆ คณะกรรมการ พิจารณาผลการประกวดราคา เสนอผลการพิ จารณาถึ ง ผู้ มีอ านาจสั่ ง ซื้ อ / สั่ ง จ้ า งทา หนังสือแจ้งผู้ประกวดราคาได้มาทาสัญญา /แจ้ ง ผู้ ประกวดราคาไม่ ไ ด้ พ ร้ อ มแจ้ ง สิ ทธิ อุทธรณ์ สร้างข้อมูลหลักผู้ขาย/ผู้ รั บจ้ า งตามระบบ GFMIS โดยใช้ แ บบฟอร์ ม ผข.01 แล้ วน าส่ ง เข้ า ระบบ Internet Download ข้ อ มู ล ผู้ ขาย/ผู้ รั บจ้ า งจากระบบ Internet มา ตรวจสอบกับเอกสารข้อมูลผู้ขาย/ผู้รับจ้าง แล้วนาส่ง ในระบบ GFMIS และส่ ง เอกสาร ให้กรมบัญชีกลางเพื่ออนุมัติและยืนยัน บันทึกข้อมูลการจั ดซื้ อ /จั ดจ้ า ง (PO) ตามระบบ GFMIS โดยใช้แบบฟอร์ ม บส.01 แล้ วน าส่ ง เข้ า ระบบ Internet Download ข้ อ มู ล การ จัดซื้อ/จั ดจ้ า ง (PO) มาตรวจสอบกั บเอกสารการจั ดซื้ อ /จั ดจ้ า ง แล้ วน าส่ ง ในระบบ GFMIS หลังจากได้รับอนุมัติและยืนยันข้อมู ล หลั ก ผู้ ขาย ผู้ ขาย/ผู้ รั บจ้ า ง ส่ ง มอบพั ส ดุ
99 และคณะกรรมการตรวจรับพัสดุดาเนินการตรวจรั บพั ส ดุ ค ณะกรรมการตรวจรั บพั ส ดุ เสนอรายงานผลการตรวจรั บพั ส ดุ ถึ ง ผู้ มีอ านาจทราบและอนุ มัติจ่า ยเงิ น พร้ อ มส่ ง เอกสารการจัดซื้อ/จัดจ้า งให้ ฝ่ า ยคลั ง เบิ ก จ่ า ยและส่ ง เอกสารให้ เ จ้ า หน้ า ที่ พั ส ดุ เก็ บ รวบรวมหลักฐาน (สาเนาใบตรวจรับของคณะกรรมการ และใบส่งของ) เข้าแฟ้ม 1.6 การจัดซื้อ จัดจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เริ่มตั้งแต่ เจ้าหน้าที่พัสดุ/ผู้เกี่ยวข้ อ ง วางแผนการจั ดหาพั ส ดุ ของหน่ วยงานโดย ก าหนดแบบฟอร์ ม/จั ดทาแผน/วิ เ คราะห์ ความเหมาะสมของพั ส ดุ ทั้ง ปริ มาณและ ประเภทของพั ส ดุ ก าหนดเวลาที่ จะใช้ พั ส ดุ /เวลาที่ ต้อ งแจ้ ง ความต้ อ งการ จากนั้ น เจ้าหน้าที่พัสดุเสนอขอแต่งตั้งคณะกรรมการร่ า ง TOR และร่ า งเอกสารประกวดราคา จากผู้มีอานาจ หากไม่เห็นชอบให้ ส่ ง เรื่ อ งให้ เ จ้ า หน้ า ที่ พั ส ดุ แ จ้ ง ผู้ เ กี่ ย วข้ อ งทบทวน หากเห็นชอบ แต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการร่ า ง TOR และร่ า งเอกสารประกวดราคา คณะ กรรมการฯจัดทาร่าง TOR และร่างเอกสารประกวดราคา และ ร่ า งประกาศเชิ ญ ชวน ขออนุ มัติหั วหน้ า ส่ วนราชการ ขออนุ มัติร่ า ง TOR และร่ า งเอกสารประกวดราคา ดาเนิ น การ Login เข้ า ระบบ www.gprocurement.go.th และเว็ บไซต์ ของหน่ วยงาน บันทึกสาระสาคัญของ TOR และร่างเอกสารประกวดราคา ประกาศเผยแพร่ ไม่ น้ อ ย กว่า 3 วัน (ครั้งที่ 1) คณะกรรมการฯ รับข้อเสนอแนะ/ข้ อ วิ จารณ์ จากสาธารณชนเป็ น ลายลักษณ์อักษรหรือทางเว็บไซต์ โดยเปิ ดเผยตั ว พิ จารณาหากไม่ มีข้อ เสนอแนะ /ข้ อ วิจารณ์ไม่ต้อ งน าร่ า ง TOR /เอกสารประกวดราคาลงประกาศเว็ บไซต์ หน่ วยงาน/ กรมบัญชีกลาง (ครั้งที่ 2) หากมีข้อเสนอแนะ/ข้ อ วิ จารณ์ คณะกรรมการฯ เห็ น สมควร ปรับปรุง/ไม่ปรับปรุงเสนอหัวหน้าส่วนราชการเห็ น ชอบ ร่ า ง TOR /เอกสารประกวด ราคา / ต้ อ งน าลงประกาศเว็ บไซต์ ห น่ วยงาน /กรมบั ญ ชี ก ลาง ฝ่ า ยพั ส ดุ Login เข้ า เว็บไซต์ ของหน่ วยงาน และกรมบั ญ ชี ก ลาง บั น ทึ ก สาระส าคั ญ ของ TOR และร่ า ง เอกสารประกวดราคาที่ ปรั บปรุ ง แล้ ว ประกาศเผยแพร่ ไม่ น้ อ ยกว่ า 3 วั น (ครั้ ง ที่ 2) เสนออธิบดีขอความเห็นชอบดาเนินการจัดซื้ อ /จั ดจ้ า ง และคั ดเลื อ กผู้ ใ ห้ บริ ก ารตลาด กลางเบื้ อ ง ต้ น และแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ ท าหนั ง สื อ แจ้ ง กรมบั ญ ชี ก ลางแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการฯ ทั้งหมดและคัดเลือกผู้ ใ ห้ บริ ก ารตลาดกลางและให้ ก าหนดวั น เวลา สถานที่ ประกอบด้วย คณะกรรมการ – ประธานจากหน่ วยงาน 1 คน กรรมการ 3-5
100 คน (1 คนต้ อ งมิ ใ ช่ ข้า ราชการ) กรรมการ/เลขา - หั วหน้ า เจ้ า หน้ า ที่ พั ส ดุ 1 คน ผู้ช่วยเลขานุการ 1 คน (ไม่นั บ ) รวม 5-7 คน (ไม่ ต่ากว่ า 5 คน แต่ ไ ม่ เ กิ น 7 คน) อธิ บดี กรมบัญชีกลางแต่งตั้งคณะกรรมการประกวดราคาและคัดเลือ กตลาดกลาง โดยแจ้ ง ชื่ อ ตลาดกลาง วัน เวลา สถานที่ เสนอราคาเจ้ า หน้ า ที่ พั ส ดุ ทารายงานขอซื้ อ /ขอจ้ า ง ขอ ความเห็นชอบแต่งตั้งคณะกรรมการประกวดราคาและคณะกรรมการตรวจรั บพั ส ดุ โดยแนบ TOR ที่ประกาศในเว็ บไซต์ เ สนอกรมฯ ลงนามในประกาศประกวดราคา พร้อมเอกสารประกวดราคา และประกาศในเว็ บไซต์ ห น่ วยงาน /กรมบั ญ ชี ก ลาง ไม่ น้อยกว่า 3 วัน (ครั้งที่ 3) พร้อมแจกจ่า ยหรื อ จาหน่ า ยเอกสารและส่ ง เอกสาร1 ชุ ดให้ สตง. คณะกรรมการประกวดราคาชี้แจงเกี่ยวกับรายละเอียดของพั ส ดุ และเงื่ อ นไขการ ประมูลคณะกรรมการฯ ก าหนดการรั บข้ อ เสนอด้ า นเทคนิ ค และระยะเวลาจั ดทา เอกสารข้อเสนอทางด้ า นเทคนิ คคณะกรรมการประกวดราคาคั ดเลื อ กเบื้ อ งต้ น จาก เอกสาร ส่วนที่ 1 และ 2 (คัดเลือกผู้ค้า) คณะกรรมการฯ แจ้ ง ผู้ เ สนอ/เทคนิ คเหมาะสม คุ ณ สมบั ติครบถ้ วน และไม่ เ ป็ น ผู้ มีผ ลประโยชน์ ร่ วมกั น เฉพาะแต่ ล ะราย โดยไม่ เปิดเผยต่อสาธารณชนพร้ อ มสิ ทธิ อุ ทธรณ์ 3 วั น คณะกรรมการฯ แจ้ ง ผู้ ไ ม่ ผ่ า นการ คัดเลือกเบื้องต้นพร้อมสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการประกวดราคา ภายใน 3 วั น นั บ แต่วันได้รับแจ้ง หัวหน้าส่วนราชการพิ จารณารั บเรื่ อ งอุ ทธรณ์ แ ละวิ นิ จฉั ย ให้ เ สร็ จ ภายใน 7 วัน ทั้งนี้ระหว่างการพิจารณาจะดาเนิ น การขั้ น ตอนต่ อ ไปมิ ไ ด้ (หากมี ) แจ้ ง ผลการพิจารณาให้ผู้คัดค้านแต่ละรายทราบภายใน 7 วั น หากหั วหน้ า ส่ วนราชการไม่ แจ้ ง ผลการพิ จารณาฯ ภายในก าหนด ถื อ ว่ า คาอุ ทธรณ์ ฟั ง ขึ้ น ให้ เ พิ่ มรายชื่ อ เพื่ อ ดาเนินการต่อไป คาวินิจฉัยของหัวหน้าส่วนราชการเป็นอั น ถึ ง ที่ สุ ดในชั้ น ฝ่ า ยบริ ห าร หากปรากฏว่ามีผู้มีสิทธิเสนอราคาเพียงรายเดีย ว ให้ ห น่ วยงานยกเลิ ก การดาเนิ น การ ทั้งหมดแล้วเริ่มดาเนินการใหม่หรือจะขออนุมัติ กวพ.อ. เพื่อดาเนิ น การด้ วยวิ ธี อื่ น ก็ ไ ด้ เมื่อพิจารณาคัดเลือกเบื้องต้น แจ้งวั น เวลา สถานที่ เ สนอราคาให้ ห น่ วยงานแล้ ว ให้ ประธานฯ แจ้งผู้มีสิทธิเสนอราคาทราบทุ ก รายเพื่ อ เข้ า สู่ ก ระบวนการเสนอราคาด้ วย วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ คณะกรรมการฯดาเนิ น การประมู ล ในวั น ราชการ และเริ่ ม กระบวนการเสนอราคาฯ ในเวลาราชการ แต่สิ้นสุดนอกเวลาราชการได้ ใ นเวลา 30-60 นาที คณะกรรมการประกวดราคาประชุ มพิ จารณาทั น ที เพื่ อ มี มติ ว่า สมควรรั บราคา พร้อมแสดงเหตุผลประกอบแล้ วรายงานหั วหน้ า หน่ วยงานภายในวั น ทาการถั ดไป หั วหน้ า ส่ ว นราชการพิ จารณาความเห็ น ของคณะกรรมการประกวดราคา คณะ
101 กรรมการฯ เสนอขอความเห็นชอบ จากผู้ มีอ านาจสั่ ง ซื้ อ /สั่ ง จ้ า ง ตามระเบี ย บฯ พั ส ดุ ข้อ65 (กรณีเห็นชอบมติคณะกรรมการ) ผู้มีอานาจสั่งซื้อ /สั่งจ้ า ง เห็ น ชอบให้ ประธาน คณะกรรมการฯ แจ้งผู้มีสิทธิ เ สนอราคาทุ ก รายทราบ หั วหน้ า ส่ วนราชการพิ จารณา ความเห็นของคณะกรรมการประกวดราคา คณะกรรมการประกวดราคา ชี้ แ จงภายใน 3 วัน (กรณีไม่เห็นชอบมติคณะกรรมการ) หั วหน้ า ส่ วนราชการไม่ เ ห็ น ชอบคาชี้ แ จง ภายใน 3 วัน หัวหน้าส่วนราชการสั่งยกเลิกการประกวดราคา แจ้ ง ผู้ มีสิ ทธิ เ สนอราคา ทุกรายทราบ และรายงานให้ กวพ.อ . ทราบ คณะกรรมการฯ โดยฝ่ า ยพั ส ดุ น าผลการ พิจารณาของผู้มีอ านาจสั่ ง ซื้ อ /สั่ ง จ้ า ง เห็ น ชอบหรื อ สั่ ง ยกเลิ ก ประกาศในเว็ บไซต์ หน่วยงาน และกรมบั ญ ชี ก ลาง ไม่ น้ อ ยกว่ า 3 วั น แจ้ ง ผลการเสนอราคา ตามแบบ บก.010-1 ให้ผู้เสนอราคาทุกรายทราบและมี สิ ทธิ อุ ทธรณ์ ภ ายใน 3 วั น นั บแต่ วัน แจ้ ง ผลการเสนอราคา หากไม่มีการอุทธรณ์ ก็ให้ดาเนินการตามระเบี ย บฯ พั ส ดุ ต่อ ไป กรณี ผู้มีสิทธิเสนอราคาไม่เห็นด้วยกับผลการพิจารณาของหั วหน้ า ส่ วนราชการหรื อ มี เ หตุ อื่นร้องเรียนเพื่อความเป็นธรรมให้ อุ ทธรณ์ ห รื อ ร้ อ งต่ อ กวพ.อ. ภายใน 3 วั น นั บแต่ วันที่ได้รับแจ้ง กวพ.อ. พิจารณาคาอุทธรณ์ ใ ห้ เ สร็ จภายใน 30 วั น โดยแจ้ ง หน่ วยงาน เพื่อระงับการดาเนินการตามขั้นตอนต่อไป ตามแบบ บก.010-4 และแจ้ ง การพิ จารณา อุทธรณ์/ร้องเรียนต่อกรมฯ และผู้ร้อ งเรี ย นตามแบบ บก.010-5 มติ กวพ.อ.ให้ เ ป็ น อั น ถึ ง ที่ สุ ดในชั้ น ของฝ่ า ยบริ ห าร หากเห็ น ว่ า อุ ทธรณ์ ฟั ง ขึ้ น หรื อ คาร้ อ งมี ผ ล ให้ สั่ ง หน่วยงานดาเนินกระบวนการเสนอราคาใหม่ โดยเริ่ มจากขั้ น ตอนใดก็ ไ ด้ ตามแต่ จะมี คาสั่ง หากเห็นว่าอุทธรณ์ฟังไม่ขึ้น หรือคาร้องเรีย นไม่ มีผ ลหรื อ ฟั ง ขึ้ น แต่ ไ ม่ มีผ ลเป็ น การเปลี่ยนแปลงผลการพิจารณาที่ ไ ด้ แ จ้ ง ไปแล้ วก็ ใ ห้ ดาเนิ น การตามระเบี ย บฯพั ส ดุ หรือระเบียบอื่นของหน่วยงานนั้นต่อไป ฝ่ายพัสดุทาหนังสือแจ้งผู้ ประมู ล ได้ ทาสั ญ ญา / รับใบสั่ง กรณี ไ ด้ รั บอนุ มัติสั่ ง ซื้ อ /จ้ า ง และไม่ มีก ารอุ ทธรณ์ (ตามแบบ พอ.30) ทา สั ญ ญาซื้ อ / จ้ า ง (ตามแบบ พอ.12-15) สร้ า งข้ อ มู ล หลั ก ผู้ ขาย/ผู้ รั บจ้ า งตามระบบ GFMIS โดยใช้แบบฟอร์ม ผข.01 แล้วนาส่ง เข้ า ระบบ Internet Download ข้ อ มู ล ผู้ ขาย/ ผู้รับจ้างจากระบบ Internet มาตรวจสอบกับเอกสารข้อมูล ผู้ ขาย/ผู้ รั บจ้ า ง แล้ วน าส่ ง ใน ระบบ GFMIS และส่งเอกสารให้ ก รมบั ญ ชี ก ลางเพื่ อ อนุ มัติแ ละยื น ยั น บั น ทึ ก ข้ อ มู ล การจัดซื้ อ /จั ดจ้ า ง (PO) ตามระบบ GFMIS โดยใช้ แ บบฟอร์ ม บส.01 แล้ วน าส่ ง เข้ า ระบบ Internet Download ข้อมูลการจั ดซ้ อ /จั ดจ้ า ง (PO) มาตรวจสอบกั บเอกสารการ จัดซื้อ/จัดจ้าง แล้วนาส่งในระบบ GFMIS หลังจากได้ รั บอนุ มัติแ ละยื น ยั น ข้ อ มู ล หลั ก
102 ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง ส่งมอบพัสดุ และคณะกรรมการตรวจรั บพั ส ดุ ดาเนิ น การตรวจรั บพั ส ดุ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุเสนอรายงานผลการตรวจรั บพั ส ดุ ถึ ง ผู้ มีอ านาจทราบและ อนุมัติจ่ายเงินพร้อมส่งเอกสารการจัดซื้อ/จัดจ้างให้ฝ่ายการเงินฯ เก็ บรวบรวมหลั ก ฐาน (สาเนาใบตรวจรับของคณะกรรมการ และใบส่ ง ของ) เข้ า แฟ้ ม เจ้ า หน้ า ที่ พั ส ดุ แ จ้ ง หน่วยงานให้ตรวจสอบความชารุ ดบกพร่ องของพัส ดุ (หากมี) 2. ความรับผิดชอบ 2.1 อธิบดี มี บทบาทหน้ า ที่ ใ นการสั่ ง การ ควบคุ ม ก ากั บ ติ ดตาม การปฏิ บัติง านของผู้ ที่ รับผิดชอบและผู้ที่ได้รับมอบอานาจในการดาเนินการเกี่ ย วกั บการพั ส ดุ (การจั ดทาเอง การซื้อ การจ้าง การจ้างที่ปรึ ก ษา การจ้ า งออกแบบและควบคุ มงาน การแลกเปลี่ ย น การเช่ า การควบคุ ม การจาหน่ า ย และการดาเนิ น การอื่ น ๆ) ตามระเบี ย บส านั ก นายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2.2 รองอธิบดี มีบทบาทหน้าที่เกี่ยวกับการดาเนิ น การตามระเบี ย บส านั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่า ด้ วย การพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติ ม ตามที่ ไ ด้ รั บมอบอ านาจจากอธิ บดี ใ ห้ ปฏิ บัติ ราชการแทน 2.3 ผู้อานวยการสานัก ผู้อานวยการกอง ผู้อานวยการศูนย์หรือที่เรียกชื่ อ อย่ า งอื่ น ในระดั บ กอง และหรือหัวหน้าหน่วยงานอื่นที่กาหนดให้มีฐานะเทียบเท่ากอง มีบทบาทหน้าที่เกี่ยวกับการดาเนิ น การตามระเบี ย บส านั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่า ด้ วย การพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติ ม ตามที่ ไ ด้ รั บมอบอ านาจจากอธิ บดี ใ ห้ ปฏิ บัติ ราชการแทน ดังนี้ การแต่งตั้งเจ้าหน้าที่พัสดุ การให้ความเห็นชอบเกี่ยวกั บรายงานและ วิธีการดาเนินการขอซื้อ ขอจ้าง ขอเช่า ของเจ้ า หน้ า ที่ พั ส ดุ การแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการ
103 ต่าง ๆ การประกาศสอบราคาหรือประกาศประกวดราคา การอนุ มัติก ารเช่ า การสั่ ง ซื้ อ การสั่งจ้าง การตกลงและการลงนามในหลักฐานการเช่า การสั่ ง ซื้ อ หรื อ สั่ ง จ้ า ง (ใบสั่ ง หรือสัญญา) การคืนหลักประกันสัญญา (2) การมอบอ านาจตามข้ อ (1) ไม่ ร วมถึ ง การ ซื้อขายพัสดุที่ขายทอดตลาด การซื้อพัสดุเพื่อใช้ ร าชการลั บ การซื้ อ พั ส ดุ ที่ซื้ อ โดยตรง จากต่างประเทศหรือดาเนินการโดยผ่ า นองค์ ก ารระหว่ า งประเทศ การซื้ อ ที่ ดิน และ สิ่งก่อสร้าง การจ้างที่ต้องปกปิ ดเป็ น ความลั บ (3) การอนุ มัติเ บิ ก จ่ า ยเงิ น งบประมาณ และเงินนอกงบประมาณในการดาเนินการจัดซื้อ จัดจ้างและการเช่า ตามข้อ (1) 2.4 หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ มีหน้าที่ในการตรวจสอบ ก ากั บดู แ ลการปฏิ บัติง านของเจ้ า หน้ า ที่ พั ส ดุ ใ นการ ดาเนินการตามระเบียบส านั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่า ด้ วยการพั ส ดุ พ.ศ. 2535 และที่ แ ก้ ไ ข เพิ่มเติม 2.5 เจ้าหน้าที่ซึ่งดารงตาแหน่งที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการพัสดุ หรือเจ้าหน้าที่ผู้ได้รับแต่ ง ตั้ ง จาก หัวหน้าส่วนราชการให้มีหน้าที่หรือปฏิบัติงานเกี่ยวกับการพัสดุ มีหน้าที่ในการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามระเบี ย บส านั ก นายกรั ฐ มนตรี ว่า ด้ วยการ พัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 2.6 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ / ตรวจการจ้าง มีหน้าที่ ตรวจรับพัสดุให้ถูกต้องครบถ้ วนตามหลั ก ฐานที่ ตกลงกั น ไว้ ตรวจสอบ รายงานการปฏิบัติงานของผู้ รั บจ้ า ง และเหตุ ก ารณ์ แ วดล้ อ มที่ ผู้ ควบคุ มงานรายงาน ออกตรวจงานจ้าง ณ สถานที่ที่ กาหนดไว้ในสัญญาโดยมีอานาจสั่ ง เปลี่ ย นแปลงแก้ ไ ข เพิ่มเติมหรือตัดทอนงานจ้ า งได้ ตามที่ เ ห็ น สมควรและตามหลั ก วิ ช าการช่ า ง รวมทั้ ง รับทราบหรือพิจารณาการสั่งหยุดงานหรื อพักงานของผู้ควบคุ มงาน
104 2.7 ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง มีหน้าที่ ตรวจและควบคุมงาน ณ สถานที่ ที่ก าหนดไว้ ใ นสั ญ ญา หรื อ ที่ ตกลงให้ ทางานจ้างนั้น ๆ ทุกวัน ให้เป็นไปตามรูปแบบ รายละเอี ย ดและข้ อ ก าหนดในสั ญ ญา ในกรณีที่รูปแบบ รายละเอียดข้อกาหนดในสัญญามีความขัดกันหากเห็ น ว่ า งานนั้ น เมื่ อ สาเร็จและจะไม่มั่นคงแข็งแรงหรือไม่เป็นไปตามหลักวิชาช่ า งที่ ดีห รื อ ไม่ ปลอดภั ย ให้ มีอานาจสั่งพักงานได้ จดบันทึกสภาพการปฏิบัติของผู้ รั บจ้ า งและเหตุ ก ารณ์ แ วดล้ อ ม เป็ น รายวั น พร้ อ มผลการปฏิ บัติง านหรื อ การหยุ ดง านและสาเ หตุ รายงานใ ห้ คณะกรรมการตรวจการรับทราบทุ กสั ปดาห์ 3. วิธีซื้อ และวิธีจ้าง สามารถกระทาได้ 6 วิธี ประกอบด้วย วิธีตกลงราคา วิ ธี ส อบราคา วิ ธี ประกวดราคา วิ ธี พิ เ ศษ วิ ธี ก รณี พิ เ ศษ และ วิ ธี ประ มู ล ด้ ว ยระ บบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ต ามห ลั ก เกณฑ์ ที่ กระทรวงการคลังกาหนด (การพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็ก ทรอนิ กส์) 3.1 การซื้อหรือการจ้างโดยวิธีตกลงราคา หมายถึ ง การซื้ อ หรื อ การจ้ า ง ครั้ ง หนึ่ ง ซึ่ ง มี ราคาไม่เกิน 100,000 บาท 3.2 การซื้อหรือการจ้างโดยวิธีสอบราคา หมายถึง การซื้อหรือการจ้าง ครั้งหนึ่ง ซึ่งมีราคา เกิน 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 2,000,000 บาท 3.3 การซื้อหรือการจ้างโดยวิธีประกวดราคา หมายถึง การซื้อหรือการจ้าง ครั้งหนึ่ง ซึ่งมี ราคาเกิน 2,000,000 บาท 3.4 การซื้อโดยวิธีพิเศษ หมายถึง การซื้อ ครั้งหนึ่ง ซึ่งมีราคาเกิน 100,000 บาท ให้กระทา ได้เฉพาะกรณีหนึ่งกรณีใด ดังต่อไปนี้
105 3.4.1 เป็นพัสดุที่จะขายทอดตลาดโดยส่ วนราชการ หน่ วยงานตามกฎหมายว่ า ด้ วย ระเบีย บบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น ส่ วนท้ อ งถิ่ น หน่ วยงานอื่ น ซึ่ ง มี ก ฎหมาย บัญญัติหรื อ มี ฐ านะเป็ น ราชการบริ ห ารส่ วนท้ อ งถิ่ น รั ฐ วิ ส าหกิ จ องค์ ก าร ระหว่างประเทศหรือหน่วยงานของต่างประเทศ 3.4.2
เป็นพัสดุที่ต้องซื้อเร่งด่วน หากล่าช้าอาจเสียหายแก่ราชการ
3.4.3
เป็นพัสดุเพื่อใช้ในราชการลับ
3.4.4
เป็นพัสดุที่มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้นในสถานการณ์ ที่จาเป็นหรือเร่งด่ วน เพื่อผลประโยชน์ของส่วนราชการ และจาเป็นต้องซื้อเพิ่ม (Repeat Order)
3.4.5
เป็นพัสดุที่จาเป็นต้องซื้อโดยตรงจากต่างประเทศ หรือดาเนินการโดยการ ผ่านองค์การระหว่างประเทศ
3.4.6
เป็นพัสดุที่โดยลักษณะการใช้งาน หรือมีจากัดทางเทคนิคที่ จาเป็น ต้องระบุ ยี่ห้อเป็นการเฉพาะ ซึ่งหมายความรวมถึง อะไหล่ รถประจาตาแหน่ ง หรื อ ยา รักษาโรคที่ไม่ต้องจัดซื้ อตามชื่ อสามัญในบัญชียาหลักแห่งชาติ
3.4.7
เป็นพัสดุที่เป็นที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ซึ่งจาเป็นต้องซื้อเฉพาะแห่ง
3.4.8
เป็นพัสดุที่ได้ดาเนินการซื้อโดยวิธีอื่นแล้ วไม่ ได้ผ ลดี
3.5 การจ้างโดยวิธีพิเศษ หมายถึง การจ้างครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาเกิน 100,000 บาท ให้กระทา ได้เฉพาะกรณีหนึ่งกรณีใด ดังต่อไปนี้ 3.5.1
เป็นงานที่ต้องจ้างช่างผู้มีฝีมือโดยเฉพาะ หรือผู้มีความชานาญเป็นพิเศษ
3.5.2
เป็นงานจ้างซ่อมพัสดุที่จาเป็นต้องถอดตรวจให้ทราบความชารุ ดเสียหาย
106 เสียก่อน จึงจะประมาณค่าซ่อมได้ เช่ น งานจ้ า งซ่ อ มเครื่ อ งจั ก ร เครื่ อ งมื อ กล เครื่องยนต์ เครื่องไฟฟ้า หรือเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น 3.5.3
เป็นที่ต้องกระทาโดยเร่งด่วน หากล่าช้าอาจจะเสียหายแก่ราชการ
3.5.4
เป็นงานที่ต้องปกปิดเป็นความลั บของทางราชการ
3.5.5
เป็นงานที่จาเป็นต้องจ้างเพิ่มในสถานการณ์ที่จาเป็น หรือเร่งด่วน หรือเพื่อ ประโยชน์ของส่วนราชการ และจาเป็นต้องจ้างเพิ่ม (Repeat Order )
3.5.6
เป็นงานที่ได้ดาเนินการจ้างโดยวิธีอื่นแล้วไม่ได้ ผลดี
3.6 การซื้อหรือการจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ หมายถึง การซื้อหรือการจ้างจากส่วนราชการ หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่นหน่ว ยงานอื่ น ซึ่ ง มี กฎหมายบัญญัติให้มีฐานะเป็นราชการบริหารส่ ว นท้ อ งถิ่ น หรื อ รั ฐ วิ ส าหกิ จ ในกรณี ต่อไปนี้ 3.6.1
เป็นผู้ผลิตพัสดุหรือทางานจ้างนั้นเอง และนายกรัฐมนตรีอนุมัติให้ซื้อหรื อ จ้าง
3.6.2
มีกฎหมายหรือมติคณะรัฐ มนตรี กาหนดให้ซื้ อหรือ จ้าง และกรณีนี้ให้รวมถึง หน่วยงานอื่นที่มีกฎหมายหรือมติ คณะรัฐ มนตรีกาหนดด้ วย
3.7 การพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง การจัดหาพัสดุตามระเบียบสานัก นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัส ดุ พ.ศ. 2535 และฉบั บ ที่ แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม ด้ ว ยวิ ธี ก ารซื้ อ หรือการจ้างแต่ไม่รวมถึงการจ้างที่ปรึกษา การจ้ า งออกแบบและควบคุ ม งาน การซื้ อ หรือการจ้ า งโดยวิ ธี พิเ ศษและวิ ธี ก รณี พิเ ศษที่ ส ามารถทาได้ ต ามระเบี ย บอื่ น โดย กาหนดให้ผู้เสนอรคาคาได้เสนอราคาแข่งขันกันเองด้วยระบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ภ ายใน
107 ระยะเวลา และ ณ สถานที่ที่กาหนดโดยไม่เปิดเผยตั ว เลขที่ มี ก ารเสนอราคา (Scaled Bid Auction) 4. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
ภาพที่ 3-8 ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง ที่มา: คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง (2553: 12)
108
ภาพที่ 3-8 ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง (ต่อ) ที่มา: คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง (2553: 12)
109
ภาพที่ 3-8 ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง (ต่อ) ที่มา: คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการจัดซื้อจั ดจ้าง (2553: 12)
110 5. การจัดเก็บและเข้าถึงเอกสาร 5.1 การจัดเก็บ ตารางที่ 3-2 การจัดเก็บและเข้าถึงเอกสาร-การจั ดซื้อ จั ดจ้าง ชื่อเอกสาร
รหัส สถานที่เก็บ ผู้รับผิดชอบ การจัดเก็บ ระยะเวลา เอกสาร 1.จัดซื้อ/จัดจ้า งโดยวิ ธี ตกลงราคา ส่วนพัสดุ ผู้อานวยการ จัดเรียง 10 ปี ห นั ง สื อ แ จ้ ง ค วาม ต้ อ ง กา ร ส่วนพัสดุ ตามลาดับ เอกสารประกอบการสั่ ง ซื้ อ /จั ด เรื่องและ วัน จ้าง ใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง ฯลฯ เดือน ปี ที่ แล้วเสร็จ 2.จัดซื้ อ /จั ดจ้ า งโดยวิ ธี ส อบราคา ส่วนพัสดุ ผู้อานวยการ จัดเรียง 10 ปี ห นั ง สื อ แ จ้ ง ค วาม ต้ อ ง กา ร ส่วนพัสดุ ตามลาดับ เอกสารประกอบการสั่ ง ซื้ อ /จั ด เรื่องและ วัน จ้าง ใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง ฯลฯ เดือน ปี ที่ แล้วเสร็จ 3.จัดซื้อ/จัดจ้างโดยประกวดราคา ส่วนพัสดุ ผู้อานวยการ จัดเรียง 10 ปี ห นั ง สื อ แ จ้ ง ค วาม ต้ อ ง กา ร ส่วนพัสดุ ตามลาดับ เอกสารประกอบการสั่ ง ซื้ อ /จั ด เรื่องและ วัน จ้าง ใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง ฯลฯ เดือน ปี ที่ แล้วเสร็จ 4.จั ด ซื้ อ/ จั ดจ้ า ง โด ยวิ ธี พิ เ ศ ษ ส่วนพัสดุ ผู้อานวยการ จัดเรียง 10 ปี ห นั ง สื อ แ จ้ ง ค วาม ต้ อ ง กา ร ส่วนพัสดุ ตามลาดับ เอกสารประกอบการสั่ ง ซื้ อ /จั ด เรื่องและ วัน จ้าง ใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง ฯลฯ เดือน ปี ที่ แล้วเสร็จ
111 ตารางที่ 3-2 การจัดเก็บและเข้าถึงเอกสาร-การจั ดซื้อ จั ดจ้าง (ต่อ) ชื่อเอกสาร 5.จัดซื้อ/จัดจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ หนังสือแจ้งความต้องการ เอกสารประกอบการสั่งซื้อ/จั ด จ้าง ใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง ฯลฯ 6.จั ด ซื้ อ /จั ดจ้ า ง ด้ ว ยวิ ธี ก ารทาง อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ห นั ง สื อ แจ้ ง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร เ อ ก ส า ร ประ กอบการสั่ ง ซื้ อ / จั ด จ้ า ง ใบสั่งซื้อ/สั่งจ้าง ฯลฯ 7.ระ เ บี ย บ กฎ ห มาย ประ กาศ พระราชบัญญัติ
8.คู่มือการปฏิบัติงานที่เกี่ ยวข้อง
9.สมุดคุมสัญญา 10.สมุดคุมใบสั่ง
รหัส สถานที่เก็บ ผู้รับผิดชอบ การจัดเก็บ ระยะเวลา เอกสาร ส่วนพัสดุ ผู้อานวยการ จัดเรียง 10 ปี ส่วนพัสดุ ตามลาดับ เรื่องและ วัน เดือน ปี ที่ แล้วเสร็จ ส่วนพัสดุ ผู้อานวยการ จัดเรียง 10 ปี ส่วนพัสดุ ตามลาดับ เรื่องและ วัน เดือน ปี ที่ แล้วเสร็จ ส่วนพัสดุ ผู้อานวยการ จัดเรียง 10 ปี/ ส่วนพัสดุ ตามลาดับ ออกฉบับ เรื่องและ วัน ใหม่ เดือน ปี ที่ แล้วเสร็จ ส่วนพัสดุ ผู้อานวยการ จัดเรียง 1 ปี ส่วนพัสดุ ตามลาดับ เรื่องและ วัน เดือน ปี ที่ แล้วเสร็จ ส่วนพัสดุ เจ้าหน้าที่ เล่ม-เรียง 10 ปี ส่วนพัสดุ ตามเลข ส่วนพัสดุ เจ้าหน้าที่ เล่ม-เรียง 10 ปี ส่วนพัสดุ ตามเลข
112 ตารางที่ 3-2 การจัดเก็บและเข้าถึงเอกสาร-การจั ดซื้อ จั ดจ้าง (ต่อ) ชื่อเอกสาร
รหัส สถานที่เก็บ ผู้รับผิดชอบ การจัดเก็บ ระยะเวลา เอกสาร 11.แฟ้มหลักประกันสัญญา ส่วนพัสดุ เจ้าหน้าที่ เล่ม-เรียง 10 ปี ส่วนพัสดุ ตามเลข 12.แฟ้มหลักประกันสัญญา ส่วนพัสดุ เจ้าหน้าที่ แฟ้ม-เรียง ตามเวลา ส่วนพัสดุ ตามเลข ค้า สัญญา ประกัน 13.รา ย ง าน แ ผ น แ ล ะ ผล ก า ร ส่วนพัสดุ เจ้าหน้าที่ แฟ้ม 10 ปี ปฏิบัติการจัดซื้อจั ดจ้าง ส่วนพัสดุ 14.หนังสือรับรองผลงาน ส่วนพัสดุ เจ้าหน้าที่ แฟ้ม ส่วนพัสดุ 15.ระเบียบต่างๆ ส่วนพัสดุ เจ้าหน้าที่ เล่ม-ตู้เก็บ ส่วนพัสดุ เอกสาร 16.มติ ครม. หนั ง สื อ เวี ย นคาสั่ ง ส่วนพัสดุ เจ้าหน้าที่ แฟ้ม-ตาม 10 ปี เอกสารที่เกี่ยวข้อง ส่วนพัสดุ ชนิดของ แฟ้ม/ หนังสือ-ตู้ เก็บเอกสาร 17.หนังสือแจ้งซ่อมงาน ส่วนพัสดุ เจ้าหน้าที่ แฟ้ม 10 ปี ส่วนพัสดุ 5.2 ผู้มีสิทธิเข้าถึง 5.2.1
ผู้อานวยการสานัก/กอง
5.2.2
ผู้อานวยการส่วนพัสดุ
113 5.2.3
หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ
5.2.4
เจ้าหน้าที่พัสดุ
6. ระบบการติดตามและประเมินผล 6.1 มีการติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นประจาเดื อนโดยสานั ก/กอง 6.2 ร้อยละ 80 ของเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องดาเนินงานตามขั้น ตอนของคู่ มือปฏิ บัติงานการ จัดซื้อ/จัดจ้าง ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ 6.3 ผู้บริหาร/ผู้รับผิดชอบสานัก/กองต้องให้ความสาคั ญ และสร้ า งความเข้ า ใจในการ ดาเนินงานตามขั้นตอนของคู่มือให้ชัดเจน ต้องมี ก ารเผยแพร่ คู่มือ ในหลากหลาย ช่องทาง และให้ทั่วถึง เพื่อให้เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องทุกคนรับทราบและถือ ปฏิบัติ
114 กระบวนการยานพาหนะ 1. ผังกระบวนการทางาน
ภาพที่ 3-9 กระบวนการยานพาหนะ ที่มา: คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการยานพาหนะ (2553: 1)
115 2. การดูแลรักษา
ภาพที่ 3-10 การดูแลรักษายานพาหนะ ที่มา: คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการยานพาหนะ (2553: 2)
116 3. ขอบเขต กระบวนยานพาหนะ ครอบคลุมถึงการให้บริ การทางด้านยานพาหนะ เช่น การขอใช้ รถยนต์การบารุงรักษา การเก็บรักษารถยนต์ ร าชการ แก่ ผู้ บริ ห าร เจ้ า หน้ า ที่ ของกองคลั ง และเจ้าหน้าที่หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 4. ผู้รับผิดชอบ 4.1 ผู้อานวยการกองคลัง 4.2 หัวหน้าฝ่ายบริหารสินทรัพย์ 4.3 หัวหน้างานยานพาหนะ 4.4 พนักงานขับรถ 4.5 เจ้าหน้าที่ธุรการ 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 หัวหน้างานยานพาหนะ ควบคุมดูแลการใช้ การเก็บรักษา การซ่อมบารุงรถส่วนกลาง ให้เป็นไปตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยรถราชการ 5.2 การเตรียมความพร้อมก่อนให้บริการ 5.2.1
พนักงานขับรถยนต์ต้องเตรียมใบขออนุญาตการขั บรถยนต์ ติดตัวไว้ ตลอดเวลาและเตรียมรถให้พร้อ มปฏิ บัติหน้า ที่ ณ จุดที่นัดหมาย
117 5.2.2
กรณีรถยนต์ไม่พร้อม ให้แจ้ ง หั วหน้ า งานยานพาหนะ เพื่ อ พิ จารณาหาทาง แก้ไข
5.2.3
ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับเส้นทางของการเดินทางเพื่อความรวดเร็ วและ ประหยัด
5.2.4
กรณีใช้ทางพิเศษ พนักงานขับรถยนต์ ขอความเห็นชอบในการใช้เส้นทาง พิเศษจากหัวหน้างานยานพาหนะ และนาใบเสร็จรับเงิ น ค่ า ผ่ า นทางพิ เ ศษส่ ง ให้หัวหน้างานยานพาหนะประกอบการเบิกจ่ายต่อไป
5.3 การบริการยานพาหนะภายในเขตกรุงเทพและปริม ณฑล 5.3.1
หัวหน้างานยานพาหนะ รับใบขออนุญาตใช้รถส่วนกลางกรมพัฒนาที่ดิน
5.3.2
หัวหน้างานยานพาหนะ กรอกรายละเอียดการจัดรถแล้วเสนอผู้อานวยการ กองคลังพร้อมจัดพนักงานขับรถยนต์
5.3.3
หัวหน้างานยานพาหนะ ตรวจสอบผลการพิ จารณาของผู้ อานวยการกองคลัง
5.3.4
กรณีที่อนุญาตให้ใช้รถ หัวหน้างานยานพาหนะ แจ้งผู้ขออนุญาตใช้รถทราบ และมอบหมายพนักงานขั บ รถยนต์ ปฏิ บัติห น้ า ที่ ตามวั น เวลา และสถานที่ กาหนด
5.3.5
เมื่อเสร็จสิ้นการให้บริการ พนักงานขับรถยนต์ลงบันทึกในบันทึกการใช้รถ
5.3.6
แจ้งหัวหน้างานยานพาหนะทราบถึง การเสร็จสิ้นการปฏิบัติหน้าที่ ที่ไ ด้รั บ มอบหมาย
118 5.4 การบริการพาหนะในกรณีไปต่างจังหวัด 5.4.1
หัวหน้างานยานพาหนะ รับใบอนุญาตขอใช้รถส่วนกลางกรมพัฒนาที่ดิน
5.4.2
เสนอผู้อานวยการกอง เพื่อพิจารณาอนุมัติ
5.4.3
หัวหน้างานยานพาหนะแจ้งพนักงานขับรถยนต์ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กาหนด
5.4.4
หลังการให้บริการ พนักงานขับรถยนต์ลงบันทึกในบันทึกการใช้รถ และแจ้ง หัวหน้างานยานพาหนะทราบถึงผลการปฏิบัติหน้าที่
5.5 ตรวจสภาพรถหลังการให้บริการ 5.5.1
หลังการให้บริการตามที่ได้ รับมอบหมาย พนักงานขับรถยนต์ จะต้องทา ความสะอาดและตรวจสภาพความเรียบร้อยของรถ
5.5.2
ตรวจดูของเหลวภายในเครื่องยนต์ (น้ามันเครื่อง, น้ากลั่น)
5.6 การขออนุมัติเบิกน้ามันเชื้อเพลิง 5.6.1
พนักงานขับรถยนต์ เขียนบันทึกข้อความเรื่องขออนุ มัติเบิ กน้ามันเชื้อเพลิง (ในกรณีที่หน่วยงานมีสถานีบริการน้ามันเป็น ของตนเอง)
5.6.2
หัวหน้างานยานพาหนะ ตรวจสอบรายละเอียดในการขอเติ มน้ามันเชื้อเพลิง ลงนามกากับ
5.6.3
หัวหน้างานยานพาหนะลงนามความเห็นในบันทึกข้อความเรื่องขออนุ มั ติ เบิกน้ามันเชื้อเพลิง
119 5.6.4
พนักงานขับรถยนต์ดาเนินการตามขั้นตอนการเติ มน้ามันเชื้อเพลิง
5.6.5
กรณีเดินทางไปต่างจังหวัด ผู้ขออนุญาตใช้รถทาเรื่องเบิกจ่ายน้ามันเชื้อเพลิง เอง
5.7 กรณีเกิดอุบัติเหตุ 5.7.1
พนักงานขับรถยนต์แจ้งหัวหน้างานยานพาหนะทราบ เพื่อรายงาน ผู้บังคับบัญชาตามลาดับชั้น
5.7.2
พนักงานขับรถยนต์เขียนรายงานอุบัติเหตุ ในรายงานอุบัติเหตุพร้อมทั้งแผน ที่จุดที่เกิดอุบัติเหตุเสนอต่ อหัวหน้างานยานพาหนะ
5.7.3
หัวหน้างานยานพาหนะ ตรวจสภาพรถตามที่ รายงานที่ ได้รั บ แล้วเสนอ ความเห็นต่อผู้อานวยการกองคลัง
5.7.4
หัวหน้างานยานพาหนะ ทาบันทึกรายงานกรมฯ ผ่านหัวหน้าฝ่ายบริหาร สินทรัพย์
5.7.5
กรมฯ พิจารณาสั่งการให้ฝ่ายนิติกรและกองช่างตรวจสอบความผิ ดและความ เสียหายพร้อมการชดใช้ค่าเสียหายและดาเนินการส่งซ่อ ม
5.7.6
หากเป็นความผิดของคู่กรณี ให้คู่กรณีชดใช้ค่าเสียหาย โดยพนักงานขับ รถยนต์ที่ประสบเหตุ และหัวหน้างานยานพาหนะติดตามการส่งซ่อมและ รายงานผลตามลาดับชั้นต่อไป
5.7.7
หากเป็นความผิดของพนักงานขับรถยนต์พนั กงานขับรถยนต์ต้องชดใช้ ค่าเสียหายเอง
120 5.8 การบารุงรักษารถ 5.8.1
หัวหน้างานยานพาหนะจัดทาแผนการตรวจสภาพและการบารุงรัก ษารถ ส่วนกลางกรมพัฒนาที่ดิน และทะเบียนคุมรถราชการกรมพัฒนาที่ดิน
5.8.2
ผู้รับผิดชอบดาเนินการตามแผนโดยประสานงานกั บฝ่า ย/งานที่เกี่ย วข้ อง
5.8.3
กรณีครบกาหนดซ่อมบารุงตามแผนการตรวจสภาพและการบารุงรัก ษารถ ส่วนกลางกรมพัฒนาที่ดิน ประจาปี พ นั ก งานขั บรถยนต์ ที่รั บผิ ดชอบ ตรวจ สภาพตามรายการที่กาหนด
5.8.4
กรณีซ่อมบารุง พนักงานขับรถยนต์เขียนรายงานลงในบันทึกข้อความเรื่อง การขอแจ้งซ่อมส่งเจ้าหน้าที่พัส ดุที่รั บผิ ดชอบ
5.8.5
นารถไปซ่อมบารุงตามที่ ได้รั บอนุ มัติ และส่งเอกสารการซ่อมบารุงไปยัง เจ้าหน้าที่พัสดุที่รับผิดชอบ
5.9 การให้ข้อมูล บริการการใช้รถ 5.9.1
เมื่อกระทาได้ หัวหน้างานยานพาหนะ จัดให้มีการขอใช้รถยนต์ส่วนกลาง ผ่าน Internet และเผยแพร่ข้อมูลการให้บริการใช้ ร ถให้ ผู้ เ กี่ ย วข้ อ งทราบผ่ า น ระบบเครือข่ายข้อมูล ข่าวสารกรมพัฒนาที่ ดิน
5.9.2
การให้บริการรถราชการส่วนกลางในงานสวัส ดิการสาหรับหน่วยงานที่ ตั้งอยู่ภายในกรมพัฒนาที่ดิน และปฏิบัติตามขั้น ตอนการขอใช้รถราชการ
121 5. การจัดเก็บและเข้าถึงเอกสาร 5.1 การจัดเก็บเอกสาร ตารางที่ 3-3 การจัดเก็บและการเข้าถึงเอกสาร-ยานพาหนะ ชื่อเอกสาร 1.ใ บ ข อ อนุ ญ า ตใ ช้ ร ถ ส่ ว น กลางกรมพั ฒ น า ที่ดิน 2.รายงานตรวจสภาพรถ
3.บันทึกการใช้รถ
4.บั น ทึ ก ข้ อ ความเรื่ อ งขอ ส่งซ่อม 5.บั น ทึ ก ข้ อ ความเรื่ อ งขอ แจ้งซ่อม 6.บั น ทึ ก ข้ อ ความเรื่ อ งขอ อ นุ มั ติ เ บิ ก น้ า มั น เชื้อเพลิง 7.ใบขอใช้รถส่วนกลางใน งาน พระ ราช พิ ธี ต่ า ง ๆ ส า ห รั บห น่ ว ยง าน ที่ ตั้งอยู่ในกรมฯ
สถานที่จัดเก็บ งานยานพาหนะ ตู้เก็บเอกสาร หมายเลข 1 งานยานพาหนะ ตู้เก็บเอกสาร หมายเลข 1 งานยานพาหนะ ตู้เก็บเอกสาร หมายเลข 1 งานยานพาหนะ ตู้เก็บเอกสาร หมายเลข 1 งานยานพาหนะ ตู้เก็บเอกสาร หมายเลข 1 งานยานพาหนะ ตู้เก็บเอกสาร หมายเลข 1 งานยานพาหนะ ตู้เก็บเอกสาร หมายเลข 1
ผู้รับผิดชอบ หัวหน้างาน ยานพาหนะ หัวหน้างาน ยานพาหนะ หัวหน้างาน ยานพาหนะ หัวหน้างาน ยานพาหนะ หัวหน้างาน ยานพาหนะ หัวหน้างาน ยานพาหนะ หัวหน้างาน ยานพาหนะ
การจัดเก็บ แฟ้ม ใบขออนุญาตใช้รถ (เรียงตามวันที่) แฟ้ม การตรวจสภาพรถ (เรียงตามวันที่) แฟ้ม บันทึกการใช้รถ (เรียงตามวันที่) แฟ้ม บันทึกการใช้รถ (เรียงตามวันที่) แฟ้ม บันทึกการใช้รถ (เรียงตามวันที่) แฟ้ม การเบิกน้ามัน และรายงานการใช้ (เรียงตามวันที่) แฟ้ม งานพระราช พิธีและงานพิธีต่างๆ (เรียงตามวันที่)
ระยะเวลา 10 ปี
10 ปี
10 ปี
10 ปี
10 ปี
10 ปี
10 ปี
122
ตารางที่ 3-3 การจัดเก็บเอกสาร-ยานพาหนะ (ต่อ) ชื่อเอกสาร 8.แ ผ น ก า ร ต ร ว จ ส อ บ สภาพและบารุงรัก ษารถ ส่วนกลางกรมฯ 9.ทะเบี ย นคุ มรถราชการ กรมพัฒนาที่ดิน
สถานที่จัดเก็บ งานยานพาหนะ ตู้เก็บเอกสาร หมายเลข 1 งานยานพาหนะ ตู้เก็บเอกสาร หมายเลข 1 และ คอมพิวเตอร์
ผู้รับผิดชอบ หัวหน้างาน ยานพาหนะ หัวหน้างาน ยานพาหนะ
การจัดเก็บ แฟ้ม แผนการตรวจ สภาพ/บารุงรักษา (เรียงตามวันที่) แฟ้มสมุดทะเบียน คุมรถ (เรียงตาม ทะเบียนรถยนต์) และจัดเก็บข้อมูลไว้ ในคอมพิวเตอร์โดย เรียงตามวันที่จด ทะเบียน
ระยะเวลา 10 ปี
ตลอดไป และ 10 ปี ปรับปรุง ใหม่
5.2 ผู้มีสิทธิเข้าถึง 5.2.1
เอกสารลาดับที่ 1-9 ผู้มีสิทธิ์ คือ ผู้อานวยการกองคลังหัวหน้าฝ่ายบริหาร สินทรัพย์หัวหน้างานยานพาหนะผู้ปฏิบัติงาน
6. ระบบติดตามและประเมินผล 6.1 งานยานพาหนะส่งแบบประเมินความพึงพอใจให้เจ้าหน้าที่ผู้รับบริก ารประเมินการ ปฏิบัติงานของพนักงานขับรถ เพื่อรวบรวมและประเมินผล ต่อไป 6.2 หัวหน้างานยานพาหนะกรอกแบบประเมินการดูแลรักษารถยนต์
123 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดทาเพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานปฏิบัติงานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นไปในมาตรฐานเดีย วกัน และเพื่อให้ได้องค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและเครือ ข่ายการสื่อสาร เพื่อความเหมาะสมในการถ่ายทอดสู่ผู้ ปฏิบัติงาน ต่อไป
ภาพที่ 3-11 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มา: คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ (2553: 1) 1.1 ผังกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.1.1
ผังกระบวนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.1.2
ผังกระบวนการบารุงรักษาคอมพิ วเตอร์แ ละเครือ ข่ายสารสนเทศ
1.1.3
ผังกระบวนการรักษาความปลอดภัยด้านสารสนเทศ
1.1.4
ผังกระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
124
ภาพที่ 3-12 แผนผังกระบวนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ฐานข้อมูล) ที่มา: คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ (2553: 2)
125
ภาพที่ 3-13 แผนผังกระบวนการบารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่า ยสารสนเทศ ที่มา: คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ (2553: 3)
126
ภาพที่ 3-14 แผนผังกระบวนการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ด้านสารสนเทศ ที่มา: คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ (2553: 4)
127
ภาพที่ 3-15 แผนผังกระบวนการรักษาความเสี่ยงด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ ที่มา: คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ (2553: 5)
128 2. การจัดเก็บเอกสาร
ภาพที่ 3-19 การจัดเก็บเอกสาร-เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มา: คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ (2553: 31)
129
ภาพที่ 3-19 การจัดเก็บเอกสาร-เทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ) ที่มา: คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ (2553: 31)
130
ภาพที่ 3-19 การจัดเก็บเอกสาร-เทคโนโลยีสารสนเทศ (ต่อ) ที่มา: คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ (2553: 31)
131 กระบวนการกฎหมายและระเบียบ 1. ผังกระบวนการทางานของกฎหมายและระเบียบ
ภาพที่ 3-17 ผังกระบวนการทางานของกฎหมายและระเบียบ ที่มา: คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการกฎหมายและระเบียบ (2553: 1)
132 2. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 2.1 รับเรื่องเข้า 2.1.1
เจ้าหน้าที่ธุรการ/พนักงานประจาสานักงาน รั บเรื่ อ งที่ ส่ ง ผ่ า นทางระบบงาน สารบรรณ สานักงานเลขานุการกรม
2.1.2
ลงทะเบียนรับเรื่องในสมุดทะเบียนรับ
2. 2 สั่งการ/มอบหมายผู้ดาเนินการ 2.2.1
เจ้าหน้ า ที่ ธุ ร การน าเสนอผู้ อ านวยการส่ วนนิ ติก าร เพื่ อ สั่ ง การมอบหมาย ผู้รับผิดชอบดาเนินการ
2.3 ดาเนินการตามขั้นตอนการพิจารณา 2.3.1
งานกฎหมายและระเบียบ 1) การศึกษาและตรวจสอบกฎหมายที่ จะดาเนินการร่าง ปรับปรุง แก้ไข (ก) นิติกรรับเอกสารศึ ก ษาและตรวจสอบรวบรวมข้ อ มู ล กฎหมายและ ระเบียบที่จะดาเนินการร่าง ปรับปรุง แก้ไข (ข) ดาเนินการประสานงานกับหน่วยงานและผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อดาเนิ น การ ร่าง ปรับปรุง แก้ไข กฎหมาย (ค) การจัดทาคาสั่งแต่งตั้งคณะทางาน/คณะกรรมการ 2) การพิจารณาโดยคณะกรรมการ
133 (ก) ดาเนินการประชุมคณะทางาน/คณะกรรมการ (ข) ดาเนินการร่าง ปรับปรุง แก้ไข ตามข้อเสนอที่ประชุม 3) ดาเนินการตามกระบวนการกฎหมาย/ระเบี ยบ (ก) กระบวนการกฎหมายโดยนาร่างกฎหมายเสนอ เลขานุการ คณะกรรมการ พิจารณาร่างกฎหมายของกระทรวงผ่ า นกระบวนการ พิจารณาแล้วนาร่างเสนอคณะรัฐมนตรีมีมติเ ห็ น ชอบ เสนอกฤษฎี ก า พิจารณาผ่านนากราบบัง คมทู ล ลงพระปรมาภิ ไ ธย ประกาศในราช กิจจานุเบกษา (ข) กระบวนการระเบียบของกรมพัฒนาที่ดิน โดยอธิ บดี ก รมพั ฒ นาที่ ดิน เป็นผู้ลงนามประกาศบังคับใช้ 4) ประกาศแจ้งเวียนเพื่อทราบ/ถือปฏิ บัติ (ก) สาเนาประกาศแจ้งหน่วยงานในสังกัดกรมพัฒนาที่ดิน (ข) ประกาศในเว็บไซต์ของกรมพัฒนาที่ดิน (ค) แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรั บทราบเพื่ อ เป็ น ข้ อ มู ล ดาเนิ น การส่ วนที่ เกี่ยวข้องกับกรมพัฒนาที่ดิน 2.3.2
งานนิติกรรมและสัญญา 1) การตรวจสอบความถูก ต้องของร่างสัญญา
134 (ก) นิติกรรับร่างสัญญาและเอกสารที่เกี่ย วข้ องที่ก องคลัง ดาเนินการ จัดทา และส่งเรื่องมา (ข) การตรวจสอบร่างสัญญา และเอกสารที่ เ กี่ ย วข้ อ งเมื่ อ เห็ น ว่ า ถู ก ต้ อ ง นิติกรก็จะลงนามเป็นพยานในสัญญาที่ตรวจสอบถ้ า ไม่ ถู ก ต้ อ ง ก็ ใ ห้ ปรับแก้ไข (ค) ส่งเรื่องคืนกองคลัง เพื่อดาเนินการเสนอ กรม หรื อ ผู้ มี อ านาจลงนาม ในสัญญาหรื อ ปรั บแก้ ใ ห้ ถู ก ต้ อ งก่ อ นเสนอเพื่ อ ลงนามในสั ญ ญา ต่อไป 2) การพิจารณาสัญญา (ก) นิติกรรับเรื่องสัญญา และเอกสารที่ เ กี่ ย วข้ อ งที่ ห น่ วยงานต่ า งๆเช่ น กองคลัง สพด. สพข. ส่งเรื่องมาให้พิจารณา (ข) การพิจารณาประเด็นข้อเท็จจริง ประเด็นข้อกฎหมายตามที่ ปรากฏใน สัญญาและเอกสารที่เกี่ยวข้อง (ค) เสนอความเ ห็ น กรม เพื่ อ สั่ ง การหรื อ ให้ ความเห็ น ชอบโดยผ่ า น เลขานุการกรม 3) การสั่งการหรือให้ความเห็นชอบ (ก) อธิบดี หรือผู้ได้รั บมอบอ านาจ ให้ ความเห็ น ชอบ หรื อ สั่ ง การเป็ น ประการใดให้แจ้งหน่วยงานต่ า งๆที่ เ กี่ ย วข้ อ งทราบเพื่ อ ดาเนิ น การ ต่อไป
135 (ค) การสั่ ง การหรื อ ให้ ค วามเห็ น ช อบของอธิ บดี หรื อ ผู้ ที่ไ ด้ รั บมอบ อานาจ ถ้าหากเป็นเรื่องที่ เ สนอให้ ดาเนิ น การทางคดี ความเกี่ ย วกั บ สัญญาที่พิจารณาให้หน่วยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งประสานกั บส่ วนนิ ติก าร เพื่อดาเนินการต่อไป 4) ส่งคืนต้นเรื่องเพื่อดาเนินการและจัดเก็บ (ก) ส่วนนิติการส่งต้นเรื่องคืนหน่วยงาน เพื่อดาเนินการต่อไป (ข) ธุรการส่วนนิติการสาเนาเรื่องที่พิจารณาเสนอพร้อ มจั ดเก็ บ 2.3.3
งานคดีความ 1) การดาเนินการทางคดีและการสอบสวน (ก) การดาเนินการทางคดี นิ ติก รรั บเรื่ อ งที่ จะต้ อ งดาเนิ น คดี ได้ แ ก่ คดี ปกครองคดีแพ่ง คดีอาญา และอนุญาโตตุลาการ แล้ ว ศึ ก ษา วิ เ คราะห์ กฎหมาย ระเบียบ และแนวทาง พร้อมทั้งคาพิ พ ากษาและข้ อ เท็ จจริ ง เพื่อเสนอความเห็นให้กรมฯพิจารณาดาเนินคดี (ข) การดาเนินการสอบสวน โดยมี ก ารแต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการสอบสวน ข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด แต่งตั้งกรรมการสอบสวน และการ ทารายงานการสอบสวน 2) การพิจารณาเสนอความเห็น (ก) พิจารณาความเห็ น เสนอกรมฯ เพื่ อ ดาเนิ น คดี ใ นฐานะโจทก์ ห รื อ จาเลย (คดีปกครอง-แพ่ง-อาญา-อนุญาโตตุลาการ)
136 (ข) พิจารณากลั่นกรองรายงานการสอบสวนข้ อ เท็ จจริ ง ความรั บผิ ดทาง ละเมิดเสนอกรมฯ 3) การรายงานผลคดีหรือผลการสอบสวนให้กรมฯทราบและสั่งการ (ก) ส่วนนิติการจั ดทารายงานผลคดี ตามที่ ศ าลพิ พ ากษาหรื อ พนั ก งาน อัยการแจ้งมา (ข) กรมรับทราบผลของคดี แ ละสั่ ง การให้ เ ป็ น ไปตามคาพิ พ ากษาหรื อ ตามความเห็นของพนักงานอัยการผู้ รับผิดชอบ 4) ดาเนินการบังคับคดี (ก) ขอให้พนักงานอัยการยื่นคาร้องต่อศาลขอหมายบังคับคดี (ข) เมื่อมีหมายบั ง คั บคดี ใ ห้ รี บเสนอกรมฯแต่ ง ตั้ ง สื บหลั ก ทรั พ ย์ หรื อ ทรัพย์สินของลูกหนี้ เพื่อดาเนิ น การตรวจสอบหลั ก ทรั พ ย์ ประเภท อสังหาริมทรัพย์จากกรมพั ฒ นาที่ ดิน ตรวจสอบทรั พ ย์ สิ น ประเภท อสังหาริมทรัพย์ของลูกหนี้จากส่วนราชการ หรื อ หน่ วยงานที่ จัดทา ทะเบียนสืบหาทรัพย์สิน (ค) ส่วนนิติการติดตามและประสานงานคณะกรรมการสื บหาหลั ก ทรั พ ย์ หรือทรัพย์สินของลูกหนี้ แล้วรายงานผลการดาเนิ น การให้ ก รมและ กรมบัญชีกลางทราบ (ง) ในกรณีการสอบสวนข้อเท็จจริงความรั บผิ ดทางละเมิ ดที่ ก รมสั่ ง การ ให้เจ้าหน้าที่รับผิดชดใช้ค่าเสียหาย ให้ ส่ วนนิ ติก ารเสนอกรมฯออก คาสั่งทางปกครองและดาเนินการให้เป็นไปตามคาสั่ง
137 (จ) เมื่อดาเนินการด้านคดีเสร็จสิ้นเรียบร้ อยแล้ วให้เก็บเรื่อง ตามระบบต่อไป 3. เก็บเอกสาร/สาเนาเรื่องตามระบบ 3.1 ธุรการส่วนนิติการได้ดาเนินการขั้นตอนสุดท้ายของงานต่างๆ เสร็จแล้ว ส่งเรื่องให้กลุ่มงานต่างๆเก็บเข้าแฟ้ม 3.2 การทางทะเบียนลับให้จัดเก็บตามระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของ ทางราชการ 4. การจัดเก็บและการเข้าถึงเอกสาร 4.1 การจัดเก็บ
ภาพที่ 3-18 การจัดเก็บเอกสาร-กฎหมายและระเบีย บ ที่มา: คู่มือการปฏิบัติงาน กระบวนการกฎหมายและระเบียบ (2553: 7)
138
บทที่ 4 ผลการศึกษา การศึกษาปัญหาพิเศษเรื่อง การควบคุมภายใน ตามมาตรฐานคณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น กรณีศึกษา กองคลัง กรมพั ฒ นาที่ ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คณะผู้ ศึ ก ษาได้ ทาการรวบรวม ข้อมูล ประจาปีงบประมาณ 2554 ตั้งแต่วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2553 ถึ ง วั น ที่ 30 เดื อ น กั น ยายน พ.ศ. 2554 มีผลการดาเนินงาน ดังต่อไปนี้ การควบคุมภายในของกองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จากการวิเคราะห์องค์ประกอบการควบคุมภายในตามมาตรฐานคณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ทั้ง 5 องค์ประกอบ คือ 1) สภาพแวดล้อมการควบคุม 2) การประเมิ น ความเสี่ ย ง 3) กิ จกรรมการควบคุ ม 4) สารสนเทศและการสื่อสาร 5) การติดตามประเมิ น ผล ซึ่ ง มี วัตถุ ประสงค์ เ พื่ อ สร้ า งความมั่ น ใจอย่ า ง สมเหตุสมผลว่า การดาเนิ น งานจะบรรลุ วัตถุ ประสงค์ ของการควบคุ มภายในด้ า นประสิ ทธิ ผ ลและ ประสิทธิภาพของการดาเนินงาน และการใช้ทรัพยากร ในการวิเคราะห์องค์ประกอบการควบคุ มภายใน ตามมาตรฐานคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ดังต่ อไปนี้ องค์ประกอบที่ 1 สภาพแวดล้อมการควบคุม กองคลั ง กรมพั ฒ น าที่ ดิ น กระทรวงเ กษตรและสห กรณ์ ได้ ก าหน ดอง ค์ ประกอบด้ า น สภาพแวดล้อมการควบคุม โดยผู้บริหารได้ ส ร้ า งบรรยากาศของการควบคุ มเพื่ อ ให้ เ กิ ดทั ศ นคติ ที่ดีต่อ การควบคุมภายใน โดยให้ ความส าคั ญ กั บความซื่ อ สั ตย์ จริ ย ธรรม และความโปร่ ง ใส ซึ่ ง ผู้ บริ ห ารมี ความมุ่งมั่น การสร้างความโปร่งใสในกองคลัง กรมพั ฒ นาที่ ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เห็ น ได้ จากด้านการบริหาร มีการจัดทานโยบายสร้ า งความโปร่ ง ใสโดยวางนโยบายและแนวทางปฏิ บัติตาม นโยบายสร้างความโปร่งใส ทั้งนี้เพื่อเป็นมาตรฐานและเป็ น แนวทางปฏิ บัติของบุ คลากรของกองคลั ง อันจะทาให้ ก ารปฏิ บัติง านเกิ ดผลประโยชน์ สู ง สุ ด ในด้ า นการจั ดการข้ อ มู ล ผู้ บริ ห ารจั ดให้ มีศู น ย์ ให้บริการข้อมูลข่าวสาร มีระบบการตรวจสอบ ในเรื่ อ งของการเงิ น การบั ญ ชี มี ก ารเผยแพร่ ข้อ มู ล ที่ สาธารณะให้ความสนใจ และมีระบบการสื่อสารเพื่อให้ ประชาชนเข้ า มามี ส่ วนร่ วมในการปฏิ บัติง าน
139 ในด้านการปฏิบัติงาน มีหลักเกณฑ์ชัดเจนตรวจสอบได้ ลดการใช้ ดุล ยพิ นิ จส่ วนตั วและมี ก ารบริ ห าร ความเสี่ยงด้านความโปร่งใส ในด้านการจัดการเรื่องร้องเรียน มีระบบการจัดการเรื่ อ งร้ อ งเรี ย นที่ ส ะดวก รวดเร็ว ตรวจสอบได้ง่ายและปลอดภัย ทางด้านความซื่อสัตย์และจริยธรรม มีการจัดทาหนังสือ เผยแพร่ เ สริ มสร้ า งวิ นั ย คุ ณ ธรรม และ จริยธรรมข้าราชการกองคลัง เพื่อให้ความรู้ทางด้านคุณธรรม จริยธรรมธรรมาภิ บาล และการดาเนิ น การ วินัยกับข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของกองคลัง อีกทั้งมีการจัดฝึกอบรมบุ คลากรในองค์ ก รเพื่ อ เสริ มสร้ า ง วัฒนธรรม ค่ า นิ ย มสร้ า งสรรค์ ใ นการทางาน และจั ดให้ มีก ารอบรมปฏิ บัติธ รรมเ พื่ อ พั ฒ นาจิ ตเพิ่ ม คุณภาพชีวิตและประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรกองคลั ง มี โ ครงการส ารวจความต้ อ งการ เพื่ อ พั ฒ นาความรู้ ความสามารถของ ข้ า ราชการตามสายงานต่ า งๆ โดยจั ดทาโครง การฝึ ก อบรม ข้าราชการ รวมทั้งให้โอกาสข้าราชการทุ กคนได้ มีการพัฒนาตนเองตามสายงานอย่ างเท่าเทีย มกัน ในด้านโครงสร้ า งองค์ ก ร มี ก ารจั ดโครงสร้ า งและสายงาน การบั ง คั บบั ญ ชาที่ ชั ดเจนและ เหมาะสมกับขนาดและลั ก ษณะการดาเนิ น งาน ซึ่ ง ในแต่ ล ะสายงานมี ก ารจั ดทาเอกสารคาบรรยาย ลักษณะงานของแต่ละตาแหน่งและเป็ น ปั จจุ บัน รวมทั้ ง มี ก ารแจ้ ง ให้ พ นั ก งานทราบเกี่ ย วกั บความรู้ ทักษะและความสามารถที่ ต้อ งการส าหรั บการปฏิ บัติง าน ดั ง นั้ น การจั ดสภาพแวดล้ อ มการควบคุ ม โดยรวมของกองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มี ความเหมาะสมเพี ย งพอ มี ก ารจั ด โครงสร้างและสายงานบังคับบัญ ชาที่ ชั ดเจน มี ก ารมอบหมายอ านาจหน้ า ที่ แ ละความรั บผิ ดชอบให้ บุคลากรตรงตามตาแหน่ ง งาน มี ก ารพั ฒ นาความรู้ ความสามารถของบุ คลากรและประเมิ น ผลการ ปฏิบัติงาน โดยพิจารณาถึงความซื่อสัตย์ แ ละจริ ย ธรรม ซึ่ ง มี ความสอดคล้ อ งกั บมาตรฐานการควบคุ ม ภายในของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน องค์ประกอบที่ 2 การประเมินความเสี่ยง กองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ ก าหนดองค์ ประกอบการควบคุ ม ภายใ นด้ า นการประเมิ น ความเ สี่ ย ง ซึ่ ง มี ก ารก าหนดวั ตถุ ประ สงค์ แ ละ เป้ า หมายของกรมและ วัตถุประสงค์ระดั บกิ จกรรมที่ ชั ดเจนสอดคล้ อ งและเชื่ อ มโยงกั น ในการที่ จะทางานให้ ส าเร็ จด้ วย งบประมาณและทรัพยากรที่กาหนดไว้อย่างเหมาะสม ซึ่ ง มี ก ารก าหนดวั ตถุ ประสงค์ ของการประเมิ น ความเสี่ยงและชี้แจงการดาเนิ น งาน เพื่ อ ป้ อ งกั น หรื อ ลดความเสี่ ย ง โดยผู้ บริ ห ารมี ส่ วนร่ วมในการ
140 ดาเนินงาน ผู้บริหารมีการระบุความเสี่ยงทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอกที่ อ าจจะมี ผ ลกระทบต่ อ กา ร บรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ของกรม ซึ่งได้มีคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง เพื่ อ ระบุ ปัจจัยเสี่ยง วิเคราะห์ความเสี่ยง กาหนดวิธีการควบคุมเพื่อป้องกัน หรื อ ลดความเสี่ ย งที่ อ าจเกิ ดขึ้ น มี ก าร วิเคราะห์ความเสี่ยงและจัดการความเสี่ยงที่เหมาะสม แม้ว่ากองคลังจะมีการประเมินความเสี่ยงเพื่อเป็ น การควบคุ มภายในของการปฏิ บัติง าน แต่ ก็ ยังคงมีความเสี่ยงที่ยังคงเหลืออยู่ในเรื่องของการประเมินผลการปฏิบัติงานด้ า นบั ญ ชี ซึ่ ง มี วัตถุ ประสงค์ เพื่อให้หน่วยงานเบิกจ่ายทุกแห่ง ปฏิบัติงานด้านบัญชีได้อย่างถู ก ต้ อ งครบถ้ วน แต่ ก็ ยั ง มี ห น่ วยเบิ ก จ่ า ย บางแห่งยังจัดทาการประเมิ น ผลการปฏิ บัติง าน ด้ า นบั ญ ชี บางหลั ก เกณฑ์ ไ ม่ ถู ก ต้ อ งมี ก ารตั้ ง เบิ ก ผิ ด ประเภท วงเงินตั้งเบิกไม่ตรงกับใบสาคัญจ่าย ไม่มีระบบรักษาความปลอดภั ย ในการขนส่ ง เงิ น ฝากใน ระหว่างเดินทาง ไม่มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบในการน าเงิ น ฝาก และน าส่ งเงิ น โดยตรง มี ก ารชะลอการ จ่ายเงิน ทาให้เป็นภาระในการเก็บรักษาและนาส่งเงิน ไม่มีตู้นิรภัย หรื อ สถานที่ ส าหรั บเก็ บรั ก ษาเงิ น ที่ ปลอดภัย การโอนเงินเข้าบัญชีข้าราชการผิ ดพลาด ไม่ มีก ารบั น ทึ ก รายจ่ า ยในทะเบี ย นคุ ม เงิ น ทดรอง ราชการ เจ้ า หน้ า ที่ ไ ม่ ปฏิ บั ติตามระเบี ย บและ ข้ อ บั ง คั บที่ ก าห นด และไม่ มี ร ะบบการควบคุ มใ ช้ ใบเสร็จรับเงิน และไม่มีการตรวจนับหรือสอบทานตัวเงินจริง ซึ่งกองคลั ง มี ก ารจั ดการโดย ทุ ก สิ้ น เดื อ น ให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบงบทดลองจากระบบ GFMIS ของหน่ วยเบิ ก จ่ า ยทุ ก แห่ ง ให้ มีดุล ปกติ รวมทั้ ง มี การแจ้งให้หน่วยเบิกจ่ายทุกแห่งทราบคะแนนผลการปฏิ บัติด้า นบั ญ ชี ทาง website กองคลั ง เป็ น ราย ไตรมาส นอกจากนี้ยังมีการยืมเงินราชการ บุคลากรบางส่ วนยื มเงิ น เกิ น ความจาเป็ น /ส่ ง ใช้ เ งิ น ยื มเกิ น กาหนดเวลา กองคลังก็จะจัดทาหนังสือแจ้งเวียนซักซ้อมความเข้ า ใจในการปฏิ บัติตามระเบี ย บ คื อ ทุ ก ต้นเดือนจะมีหนังสือแจ้งรายชื่อลูกหนี้เงินยืมราชการไปยังสานัก/กอง ที่มีลูกหนี้เงิน ยื มราชการและโทร ติดตามเร่งรัด การชาระหนี้สาหรับลูกหนี้ที่ใกล้ครบกาหนดและกรมฯได้มีน โยบายก าหนดให้ ต้อ งจั ดทา แผน/โครงการงานแนบกับสัญญาการยืมเงินและการขออนุมัติห ลั ก การยื มเงิ น ได้ ครั้ ง ละไม่ เ กิ น 30,000 บาท ถ้าเกินจานวนดั ง กล่ า วต้ อ งขออนุ มัติก รมฯ มี ก ารเบิ ก จ่ า ยเงิ น ของบางหน่ วยงานที่ ไ ม่ ไ ด้ จัดทา ทะเบียนคุม กองคลังก็จะจัดให้มีการอบรมพนักงาน และความเสี่ยงที่ ส าคั ญ คื อ การรายงานงบการเงิ น หน่วยงานภูมิภาคบางแห่งไม่จัดส่งรายงานทางการเงินให้สานักงานการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ซึ่ ง กองคลั ง ก็ จะมีการกาชับให้เจ้าหน้าที่เร่งตรวจสอบและวิเคราะห์ง บทดลอง พร้ อ มแจ้ ง ข้ อ ผิ ดพลาดให้ ห น่ วยงาน ส่วนภูมิภาคทราบรวมถึงการแก้ไขให้หน่วยงานส่ วนภู มิภ าคตามเวลาที่ ก าหนด นอกจากนี้ ยั ง มี ความ เสี่ยง การจัดซื้อจัดจ้าง ซึ่งมีหน่วยงานบางแห่งไม่ปฏิบัติตามระเบี ย บที่ ก าหนด เนื่ อ งจากขาดบุ คลากรที่ ปฏิบัติงานด้านการพัสดุโดยเฉพาะ จึงทาให้องค์ประกอบการควบคุมภายในด้า นการประเมิ น ความเสี่ ย ง
141 กองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีความเหมาะสมเพี ย งพอ ถึ ง แม้ จะยั ง คงมี ความ เสี่ยงอยู่ แต่ก็อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ และเป็นไปตามมาตรฐานการควบคุ มภายในของคณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดิน องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการควบคุม กองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มี น โยบายและวิ ธี ปฏิ บัติง านที่ ทาให้ มั่นใจว่าเมื่อนาไปปฏิบัติแล้วจะเกิดผลสาเร็จตามที่ฝ่า ยบริ ห ารก าหนดไว้ กิ จกรรมเพื่ อ การควบคุ มจะชี้ ให้ผู้ปฏิบัติงานเห็นความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน เพื่ อ ให้ เ กิ ดความระมั ดระวั ง และสามารถ ปฏิบัติงานให้สาเร็จตามวัตถุประสงค์ โดยกิจกรรมการควบคุ มได้ ก าหนดขึ้ น ตามวั ตถุ ประสงค์ แ ละผล การประเมินความเสี่ยง ซึ่งบุคลากรทุกคนทราบและเข้า ใจวั ตถุ ประสงค์ ของกิ จกรรมการควบคุ ม มี ก าร กาหนดขอบเขตอานาจหน้าที่และวงเงินอนุมัติของผู้ บริ ห ารแต่ ล ะระดั บไว้ อ ย่ า งชั ดเจน และเป็ น ลาย ลักษณ์อักษร มีการจัดทาคู่มือการปฏิบัติงานของแต่ล ะตาแหน่ ง งาน มี มาตรการป้ อ งกั น และดู แ ลรั ก ษา ทรัพย์สินอย่างรัดกุมและเพียงพอ มีการแบ่งแยกหน้าที่การปฏิบัติง านที่ ส าคั ญ หรื อ งานที่ เ สี่ ย งต่ อ ความ เสียหาย ตั้งแต่ต้นจนจบ เช่น การอนุมัติ การบันทึกบัญชี และการดู แ ลรั ก ษาทรั พ ย์ สิ น มี ข้อ ก าหนดเป็ น ลายลักษณ์อักษร และบทลงโทษกรณีฝ่าฝืนในเรื่องการมีผลประโยชน์ ทับซ้ อ น โดยอาศั ย อ านาจหน้ า ที่ มีมาตรการติดตามและตรวจสอบให้การดาเนินงานขององค์กรเป็นไปตามกฎระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ และมติ คณะรัฐมนตรี ซึ่งพนักงานทุกคนจะได้รับรู้ขั้นตอนต่างๆจากคู่มือการปฏิบัติงาน และในการดาเนิ น งาน แต่ละขั้นตอนจะมีการตรวจสอบการดาเนินงาน จึงทาให้องค์ ประกอบการควบคุ มภายในด้ า นกิ จกรรม การควบคุ ม ของกองคลั ง กรมพั ฒ นาที่ ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มี กิ จกรรมการควบคุ มที่ เหมาะสมเพียงพอ โดยมีการกระจายอานาจ มีการจั ดทาคู่ มือ การปฏิ บัติง าน ก าหนดวิ ธี ก ารปฏิ บัติง าน และการควบคุมในแต่ละขั้นตอน สามารถตรวจสอบได้ ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานการควบคุ มภายในของ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน องค์ประกอบที่ 4 สารสนเทศและการสื่อสาร กองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีร ะบบข้ อ มู ล สารสนเทศที่ เ กี่ ย วเนื่ อ ง กับการปฏิ บัติง าน เหมาะสมต่ อ ความต้ อ งการของผู้ ใ ช้ แ ละมี ก ารสื่ อ สารไปยั ง ฝ่ า ยบริ ห ารและผู้ ที่ เกี่ ย วข้ อ งใ นรู ปแบบที่ ช่ วยให้ ผู้ รั บข้ อ มู ล สารสน เทศปฏิ บัติห น้ า ที่ ตามความรั บผิ ดชอบได้ อ ย่ า ง มี
142 ประสิ ทธิ ภ าพประสิ ทธิ ผ ล และบรรลุ วั ตถุ ประสงค์ โดย จั ดให้ มีร ะ บบสารสนเทศครอบคลุ มทุ ก หน่วยงาน คือ จัดให้มีระบบสารสนเทศและสายการรายงานส าหรั บการบริ ห ารและตั ดสิ น ใจของฝ่ า ย บริหาร มีการจัดทาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกั บการดาเนิ น งานการเงิ น และการปฏิ บัติตามกฎ ระเบี ย บ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีไว้อย่างถูกต้อ ง ครบถ้ วนและเป็ น ปั จจุ บัน มี ก ารจั ดเก็ บข้ อ มู ล /เอกสาร ประกอบการจ่ายเงินและการบันทึกบัญชีไว้ครบถ้วนสมบูร ณ์ และเป็ น หมวดหมู่ มี ก ารรายงานข้ อ มู ล ที่ จาเป็นทั้งจากภายในและภายนอกให้ผู้บริหารทุกระดับ มีระบบการติดต่อสื่อสารทั้ ง ภายในและภายนอก อย่างเพียงพอ เชื่อถือได้ และทั น กาล มี ก ารสื่ อ สารอย่ า งชั ดเจนให้ พ นั ก งานทุ ก คนทราบและเข้ า ใจ บทบาทหน้าที่ของตนเกี่ยวกับการควบคุมภายใน ปั ญ หาและจุ ดอ่ อ นของการควบคุ มภายในที่ เ กิ ดขึ้ น และแนวทางแก้ไข รวมทั้งมีกลไกหรือช่องทางให้พนักงานสามารถเสนอข้ อ คิ ดเห็ น หรื อ ข้ อ เสนอแนะ ในการปรับปรุงการดาเนินงานขององค์กร กองคลัง ได้มีการนาระบบ GFMIS ซึ่งเป็นระบบการบริหารการเงิ น การคลั ง ภาครั ฐ ด้ วยระบบ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (GOVERNMENT FISCAL MANAGEMENT INFORMATION SYSTEM) ซึ่ ง ปฏิ บัติ โดยผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์โดยตรง หรือผ่านช่องทางอื่นที่กระทรวงการคลั ง ก าหนดก่ อ นน าเข้ า เครื่ อ ง คอมพิวเตอร์ ระบบ GFMIS เป็นระบบที่นามาใช้ในการปฏิบัติงาน ซึ่ง เป็ น ไปตามกฎ ระเบี ย บข้ อ บั ง คั บ และมติต่าง ๆ ที่กาหนด และเกิดความสะดวก รวดเร็ว ให้เป็นมาตรฐานเดียวกั น เพื่ อ ให้ เ กิ ดความถู ก ต้ อ ง และพึงพอใจกับผู้รับบริการ และเป็นแนวทางให้เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานปฏิบัติงาน ซึ่ ง องค์ ประกอบ การควบคุมภายในด้านสารสนเทศและการสื่อสารในภาพรวม ของกองคลั ง กรมพั ฒ นาที่ ดิน กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ มีระบบสารสนเทศและการติ ดต่ อ สื่ อ สารที่ เ หมาะสมทั น เวลาและสะดวกต่ อ ผู้ ใ ช้ ผ่านระบบเครือข่าย รวมทั้งได้มีการจัดทาสื่อประชาสั มพั น ธ์ ใ นรู ปแบบต่ า งๆ ทั้ ง ภายในและภายนอก องค์กร ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานการควบคุ มภายในของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่ นดิน องค์ประกอบที่ 5 การติดตามประเมินผล กองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มีการติ ดตามประเมิ น ผลการควบคุ ม ภายในและประเมินคุณภาพการปฏิ บัติง าน โดยก าหนดวิ ธี ปฏิ บัติง านเพื่ อ ตรวจสอบการปฏิ บัติตาม ระบบการควบคุมภายในอย่างต่อเนื่อง และเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการปฏิ บัติง านตามปกติ ของฝ่ า ย บริหาร ผู้ควบคุมงานและผู้มีหน้าที่ เ กี่ ย วข้ อ ง นอกจากนี้ มีก ารประเมิ น ผลแบบรายครั้ ง เป็ น ครั้ ง คราว กรณีพบจุดอ่อนหรื อ ข้ อ บกพร่ อ งมี ก ารก าหนดวิ ธี ปฏิ บัติเ พื่ อ ให้ ความมั่ น ใจว่ า ข้ อ ตรวจพบจากการ
143 ตรวจสอบและการสอบทานได้รับการพิจารณา และมีการวินิจฉัยสั่งการให้ ดาเนิ น การแก้ ไ ขข้ อ บกพร่ อ ง ทันที มีการเปรียบเทียบแผนและผลการดาเนิ น งาน และรายงานให้ ผู้ ก ากั บดู แ ลทราบเป็ น ลายลั ก ษณ์ อักษรอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ ในกรณีผลการดาเนินงานไม่เป็ น ไปตามแผน มี ก ารดาเนิ น การแก้ ไ ข อย่างทันกาล มีการกาหนดให้มีการติดตามผลในระหว่างการปฏิ บัติง านอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและสม่ าเสมอ มี การติ ดตามและตรวจสอบการปฏิ บัติตามระบบการควบคุ มภายในที่ ก าหนดไว้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ งและ สม่าเสมอ มีการประเมินผลความพอเพี ย งและประสิ ทธิ ผ ลของการควบคุ มภายใน และประเมิ น การ บรรลุตามวัตถุประสงค์ขององค์กรในลักษณะการประเมินการควบคุมด้วยตนเองและ/หรื อ การประเมิ น การควบคุมอย่างเป็นอิสระ อย่างน้อยปีละครั้ง มีการรายงานผลการประเมิ น และ รายงานการตรวจสอบ ของผู้ตรวจสอบภายในโดยตรงต่อผู้กากับดูแลและ/หรื อ คณะกรรมการตรวจสอบ มี ก ารติ ดตามผลการ แก้ไขข้อบกพร่องที่พบจากการประเมินผลและการตรวจสอบของผู้ ตรวจสอบภายในมี ก ารก าหนดให้ ผู้บริหารต้องรายงานต่อผู้กากับดูแลทันทีในกรณีที่มีการทุจริตหรื อ สงสั ย ว่ า มี ก ารทุ จริ ต มี ก ารไม่ ปฏิ บัติ ตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีและมีการกระทาอื่ น ที่ อ าจมี ผ ลกระทบต่ อ องค์ ก รอย่ า งมี นัยสาคัญ นอกจากนี้ยังได้มีการดาเนินการโดย มีการจัดประชุ มคณะกรรมการติ ดตามผลการปฏิ บัติง าน และผลการใช้จ่ายเงิน มีการจัดประชุมหัวหน้าส่วนราชการ เพื่ อ ติ ดตามงานตามแผนงานและนโยบาย เป็นประจาทุกเดือน ตรวจสอบและประเมินผลการทางานติดตามนิเทศและตรวจราชการเพื่ อ ประเมิ น ผล การดาเนินงาน และผู้ตรวจสอบภายในมีการตรวจประเมินผลและรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต่ อ อธิบดี จึงทาให้องค์ประกอบการควบคุมภายในการติ ดตามประเมิ น ผลในภาพรวม ของกองคลั ง กรม พัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีการติดตามประเมิ น ผล โดยมี ก ารตั้ ง คณะกรรมการติ ดตาม งาน และจัดให้มีการประชุมหัวหน้าส่วนราชการทุกเดื อ น เพื่ อ ติ ดตามการดาเนิ น งานของกรม มี ก าร ประเมินตนเองและประเมินโดยผู้ตรวจสอบภายใน ซึ่ ง เป็ น ไปตามมาตรฐานการควบคุ มภายในของ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
144
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ การศึกษาปัญหาพิเศษ เรื่อง การควบคุมภายใน ตามมาตรฐานคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิ น กรณีศึกษา กองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สามารถสรุปได้ดังนี้ สรุปผลการศึกษา กองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ ปฏิ บัติตามระเบี ย บคณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกาหนดมาตรฐานการควบคุ มภายใน พ.ศ. 2544 ก าหนดให้ ห น่ วยรั บตรวจ จัดวางระบบการควบคุมภายในโดยใช้มาตรฐานการควบคุมภายใน โดยอย่ า งน้ อ ยต้ อ งแสดงข้ อ มู ล ดั ง นี้ สรุ ปภารกิ จและวั ตถุ ประสงค์ ก ารดาเนิ น งานที่ ส าคั ญ มี ข้อ มู ล เกี่ ย วกั บสภาพแวดล้ อ มการควบคุ ม โดยเฉพาะเกี่ยวกับความซื่อสัตย์ และจริยธรรมของผู้บริหารระดับสู ง และบุ คลากร ความเสี่ ย งที่ ส าคั ญ ที่ มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุ ม ภายใน ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บกิ จกรรมการควบคุ มเพื่ อ ป้องกันหรือลดความเสี่ยงที่สาคัญ ผู้ รั บผิ ดชอบประเมิ น ระบบการควบคุ มภายใน และวิ ธี ก ารติ ดตาม ประเมินผลให้หน่วยรับตรวจรายงานความคื บหน้ า ในการจั ดวางระบบการควบคุ มภายในต่ อ ผู้ ก ากั บ ดูแล และคณะกรรมการตรวจสอบของหน่วยรับตรวจ โดยมี ร ายละเอี ย ดดั ง นี้ ทาความเห็ น ว่ า ระบบการ ควบคุมภายในของหน่วยรับตรวจที่ใช้อยู่มีมาตรฐานตามระเบียบนี้หรือไม่ รายงานผลการประเมิ น ความ เพียงพอและประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายในในการบรรลุวัตถุประสงค์ แ ละเป้ า หมายที่ ก าหนด รวมทั้ ง ข้ อ มู ล สรุ ป ผลการประเ มิ น แต่ ล ะอง ค์ ป ระ กอบของ กา รควบคุ มภ ายใ น ประ กอบด้ ว ย 1) สภาพแวดล้อมของการควบคุม 2) การประเมินความเสี่ย ง 3) กิ จกรรมการควบคุ ม 4) สารสนเทศและ การสื่ อ สาร และ 5) การติ ดตามประเมิ น ผล รวมทั้ ง จุ ดอ่ อ นของระ บบการควบคุ มภายในพร้ อ ม ข้อเสนอแนะและแผนการปรับปรุงระบบการควบคุ มภายใน โครงสร้างการบริหารงานของกองคลัง กรมพั ฒ นาที่ ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มี ก าร แบ่งหน้าที่ ดังนี้ ฝ่ายบริหารทั่วไป ส่วนพัฒนาระบบงานคลั ง ฝ่ า ยการเงิ น ฝ่ า ยงบประมาณ ส่ วนบั ญ ชี ส่วนพัสดุ ฝ่ายตรวจสอบใบสาคัญ และฝ่ า ยบริ ห ารสิ น ทรั พ ย์ มี ก ารจั ดโครงสร้ า งองค์ ก รแบบกระจาย อานาจ โดยแต่ละส่ วนงานจะขึ้ น ตรงต่ อ หั วหน้ า ของแต่ ล ะส่ วนงาน โดยมี ก ารแบ่ ง แยกหน้ า ที่ แ ละ
145 ลักษณะการดาเนินงานอย่างชัดเจน มีการจัดทาขั้นตอนการปฏิ บัติง านขึ้ น อย่ า งเป็ น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษร มี การจัดทาเอกสารคาบรรยายลักษณะงาน ซึ่งมีความเหมาะสมต่ อ พนั ก งานที่ ไ ด้ รั บมอบหมาย และมี ก าร แจ้งให้พนักงานทราบถึงหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินงาน สภาพและปัญหาการดาเนินงาน รวมทั้งวิธีการแก้ปัญหาการควบคุ มภายใน ตามมาตรฐานการ ควบคุมภายใน ที่คณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ก าหนด ของกองคลั ง กรมพั ฒ นาที่ ดิน กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ในการดาเนินงานมี ปัญ หาในส่ วนบั ญ ชี คื อ หน่ วยเบิ ก จ่ า ยบางแห่ ง ยั ง จั ดทาการ ประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบัญชีบางหลัก เกณฑ์ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง จะมี วิธี แ ก้ คื อ ทุ ก สิ้ น เดื อ นจะมี ก ารให้ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบงบทดลองจากระบบ GFMIS ของหน่วยเบิกจ่า ยทุ ก แห่ ง ให้ มีดุล ปกติ และมี ก ารแจ้ ง ให้หน่วยเบิกจ่ายทุกแห่งทราบคะแนนผลการปฏิ บัติด้า นบั ญ ชี ทาง Website กองคลั ง เป็ น รายไตรมาส ฝ่ายงบประมาณการเงินและบัญชี คือ การยืมเงินราชการ บุคลากรบางส่วนยืมเงินเกิ น ความจาเป็ น /ส่ ง ใช้ เงินยืมเกินกาหนดเวลา มีวิธีแก้ คือ ทาหนังสือแจ้งเวี ย นซั ก ซ้ อ มความเข้ า ใจในการปฏิ บัติตามระเบี ย บ ซึ่งทุกต้นเดือนจะมีหนังสือแจ้งรายชื่อลูกหนี้ เงินยืมราชการไปยั ง ส านั ก /กอง ที่ มีลู ก หนี้ ยื มเงิ น ราชการ และโทรติดตามเร่งรัด การชาระหนี้สาหรับลูกหนี้ที่ใกล้ครบกาหนด และกรมฯได้ มีน โยบายก าหนดให้ ต้องจัดทาแผน/โครงการงานแนบกับสัญญาการยืมเงิ น และการขออนุ มัติห ลั ก กา รยื มเงิ น ได้ ครั้ ง ละไม่ เกิน 30,000 บาท ถ้าเกินจานวนดังกล่าวต้องขออนุมัติก รมฯ มี ก ารจั ดอบรมเจ้ า หน้ า ที่ ก ารเงิ น การบั ญ ชี ปัญหาการเบิกเงินบางหน่วยงานไม่จัดทาทะเบี ย นคุ ม และมี ปัญ หาการรายงานงบการเงิ น หน่ วยงาน ภูมิภาคบางแห่งไม่จัดส่งรายงานการเงิ น ให้ ส านั ก งานตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น มี ก ารแก้ ปัญ หา คื อ จั ดการ ประชุมเพื่อกาชับให้เจ้าหน้าที่เร่งตรวจสอบและวิเคราะห์งบทดลอง พร้อมแจ้งข้อผิดพลาดให้ ห น่ วยงาน ส่วนภูมิภาคทราบรวมถึงการแก้ไ ขให้หน่วยงานส่วนภู มิภาคตามเวลาที่ กาหนด การควบคุมภายในด้านสภาพแวดล้ อ มการควบคุ มของกองคลั ง กรมพั ฒ นาที่ ดิน กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ มีความเหมาะสมเพียงพอ มีการจัดโครงสร้ า งและสายการบั ง คั บบั ญ ชาที่ ชั ดเจน มี การมอบหมายอานาจหน้ า ที่ แ ละความรั บผิ ดชอบให้ กั บบุ คลากรตรงตามตาแหน่ ง งาน มี ก ารพั ฒ นา ความรู้ความสามารถของบุคลากรและประเมิ น ผลการปฏิ บัติง าน รวมทั้ ง มี ก ารจั ดทาหนั ง สื อ เกี่ ย วกั บ ความซื่อสัตย์และจริยธรรม ด้านการประเมินความเสี่ยง มีการจั ดทาตามแนวทางที่ ก าหนดในมาตรฐาน การควบคุมภายใน โดยผู้บริหารมีส่วนร่วมในการระบุและประเมิ น ความเสี่ ย ง มี คณะกรรมการบริ ห าร ความเสี่ยงกากับดูแล และรายงานผลการปฏิ บัติง าน ด้ า นกิ จกรรมการควบคุ ม มี กิ จกรรมการควบคุ มที่ เหมาะสม โดยมีการกาหนดขอบเขตอานาจหน้ า ที่ แ ละวงเงิ น อนุ มัติของผู้ บริ ห ารแต่ ล ะระดั บไว้ อ ย่ า ง
146 ชัดเจนและเป็นลายลักษณ์อักษร มีมาตรการป้ อ งกั น และดู แ ลรั ก ษาทรั พ ย์ สิ น อย่ า งรั ดกุ มและเพี ย งพอ ด้านสารสนเทศและการสื่อสาร มีระบบสารสนเทศและการสื่ อ สารที่ เ หมาะสมทั น เวลาและสะดวกต่ อ ผู้ใช้ผ่านระบบเครือข่าย รวมทั้งได้จัดทาสื่ อ ประชาสั มพั น ธ์ ใ นรู ปแบบต่ า งๆ ทั้ ง ภายในและภายนอก องค์กร มีระบบ GFMIS ที่นามาใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดความสะดวก รวดเร็ ว ให้ เ ป็ น มาตรฐาน เดียวกัน เพื่อให้เกิดความถูกต้องและพึ ง พอใจกั บผู้ รั บบริ ก าร และด้ า นการติ ดตามประเมิ น ผล มี ก าร ติดตามประเมินผลโดยมีการตั้งคณะกรรมการติดตามงาน และจั ดให้ มีก ารประชุ มหั วหน้ า ส่ วนราชการ ทุกเดือน เพื่อติดตามการดาเนินงานของกอง มีการประเมินตนเองและประเมินโดยผู้ตรวจสอบภายนอก ดังนั้น กองคลัง กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มี โ ครงสร้ า งการควบคุ มภายใน ครบทั้ง 5 องค์ประกอบตามมาตรฐานการควบคุมภายในของคณะกรรมการการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น คื อ 1) สภาพแวดล้อมการควบคุม 2) การประเมิ น ความเสี่ ย ง 3) กิ จกรรมการควบคุ ม 4) สารสนเทศและการ สื่อสาร 5) การติดตามประเมินผล มีการควบคุมที่เพียงพอและมีประสิ ทธิ ภ าพตามสมควร ตามมาตรฐาน คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน แต่ยังต้องมีการรณรงค์ ใ ห้ บุคลากรทุ ก คนได้ ตระหนั ก ถึ ง ความส าคั ญ ของการควบคุมภายใน ว่าเป็นเรื่องที่มีความสาคัญต่อองค์กรไม่ ยิ่ ง หย่ อ นไปกว่ า เรื่ อ งอื่ น ๆ อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น พื้นฐานที่สาคัญของการควบคุม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรทั้งด้านการดาเนิ น งานและการใช้ ทรัพยากรอีกด้วย ข้อเสนอแนะ 1. การควบคุมภายในของกรมพัฒนาที่ดิน มีหน่วยงานสั ง กั ดอยู่ ห ลายกอง ควรจะศึ ก ษากอง อื่นให้ครบถ้วน เพื่อให้เกิดความเข้าใจการควบคุ มภายในทั้งระบบของกรมพัฒนาที่ดิน 2. ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เกี่ ย วกั บการจั ดระบบการควบคุ ม ภายในว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร
147
บรรณานุกรม ก่อเกียรติ พานิชกุล. 2542. ศัพท์ธุรกิจและตลาดหลักทรัพย์. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท บพิธการพิมพ์ จากัด. จันทนา สาขากร. 2551. การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจากัด ทีพีเอ็น เพรส. เจริญ เจษฎาวัลย์. 2546. การบริหารความเสี่ยง. พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท พอดี จากัด. ชูศักดิ์ หงส์มาลา. 2546. สภาพการบริหารงานพัสดุตามมาตรฐานการควบคุมภายในของสานักงาน การตรวจเงินแผ่นดินในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบัณฑิต, คณะกรรมการบัณฑิต มหาวิทยาลัยภัฎสุรินทร์. ดรรชนี บุญเหมือนใจ. 2549. “การควบคุมภายใน:กลไกลดความเสี่ ยง”. วารสารการจัดการ สมัยใหม่ 4 (1): 37-48. ดีใหม่ อินทรพานิชย์. 2551. สภาพและปัญหาการดาเนินงานควบคุมภายในของโรงเรียน สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณ ฑิต , สาขา การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. 2548. แนวทางการตรวจสอบภายใน. พิมพ์ครั้งที่ 1. ปทุมธานี: ดูมายเบส. ถิราวุฒิ ทองทรง. 2547. สภาพและปัญหาของระบบการควบคุมภายใน ศึกษากรณี : บริษัท ไปรษณีย์ไทย จากัด. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบั ณฑิ ต, สาขาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. นพฤทธิ์ คงรุ่งโชค. 2549. ระบบสารสนเทศทางการบัญชี. กรุงเทพมหานคร: ท้อป.
148
นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะ และศิลปพร ศรีจั่นเพชร. 2545. การสอบบัญชี. จานวน 3,000 เล่ม. พิมพ์ ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท. ประดิษฐ์ ศิริคุปต์. 2549. ความรู้ความเข้าใจของข้าราชการ สรส. ที่มีต่อการควบคุ มภายในตาม มาตรฐาน ที่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินกาหนด. ปัญหาพิเศษ ปริญญารัฐ ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิ ต, สาขาวิชาการบริหารทั่วไป วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา. พนารัตน์ วสุวัฒนศรี. 2551. แนวทางการดาเนินงานการควบคุมภายในของศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัด. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิ ต, สาขาการศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัย ราชภัฏพิบูลสงคราม. พรพรรณ นงนุช. 2551. ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาระบบการควบคุมภายใน. การค้นคว้า อิสระหลักสูตรบริหารธุรกิ จมหาบั ณฑิต , คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราช มงคลรัตนโกสินทร์. พรสิริ ปุณเกษม และคณะ. 2550. แนวทางการควบคุมภายใน เพื่อการจัดทารายงานการเงินที่มี คุณภาพ. กรุงเทพมหานคร: พี.เอ.ลีฟวิ่ง. พลพธู ปียวรรณ และสุภาพร เชิงเอี่ยม. 2550. ระบบสารสนเทศทางการบัญชี. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: วิทยพัฒน์. พริ้มเพรา ธงไชย. 2549. ศึกษาสภาพการดาเนินงานการควบคุมภายในด้านการเงินและบัญชีของ สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ประจาปี 2547. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบั ณฑิต , สาขาการบริหารการศึก ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิ ราช. 2536. เอกสารการสอนชุด การบริหารการตลาด. จานวน 3,500 เล่ม. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโ ขทั ยธรรมาธิราช.
149 วัชรีพร เศรษฐสักโก. 2551. ระบบสารสนเทศทางการบัญชี. พิมพ์ครั้งที่ 7. วิทยากร เชียงกุล. 2548. อธิบายศัพท์เศรษฐกิจ ธุรกิจ การเงิน และการธนาคาร. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์สายธาร. วิราภรณ์ พึ่งพิศ. 2550. ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาระบบการควบคุมภายใน ของ บริษัท บูรพาอุตสาหกรรม จากัด. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิ ต, สาขาการจัดการทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. วิไล แจ้งสุทธิวรวัฒน์. 2545. ทัศนคติของผู้ตรวจสอบภายในต่อการควบคุมภายในตามแนว COSO. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณ ฑิต , สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิ ราช. วีระยุทธ งามล้าน. 2550. การศึกษาสภาพและปัญหาการจัดระบบการควบคุมภายในตามมาตรฐาน คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ยโสธร เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบั ณฑิต , สาขาการบริหารการศึก ษา บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. 2547. ศัพท์การบริหารธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสาร. สานักงานตรวจเงินแผ่นดิน. 2544. คาแนะนา: การนามาตรฐานการควบคุมภายในไปใช้ในเชิง ปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. สุขุม โพธิสวัสดิ์. 2553. การวางระบบบัญชี. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เดือน ตุลา. สุชาย ยังประสิทธ์กุล. 2552. การสอบบัญชี. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: ทีพีเอ็น เพรส.
150 อนุสอน เทพสุวรรณ์. 2551. ปัญหาการควบคุมภายในทางการบัญชีของสหกรณ์การเกษตร ใน จังหวัดพิษณุโลก. การค้นคว้าแบบอิสระปริญ ญาบัญชี มหาบัณฑิ ต, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. อุษณา ภัทรมนตรี. ม.ป.ป. การตรวจสอบภายในสมัยใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 3. ม.ป.ท.
ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกาหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ ____________________ โดยที่สมควรกาหนดมาตรฐานการควบคุมภายในเพื่อให้หน่วยรับตรวจมีแนวทางในการจัดระบบ การควบคุมภายในให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อันจะส่งผลให้เกิดประโยชน์ สู ง สุ ดใน การดาเนินงานและแก่การใช้จ่ายเงินและทรัพย์สินของประเทศชาติโดยรวม อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๕ และมาตรา ๑๕ (๓) (ก) (ค) แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๔๒ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินจึง ออกระเบี ย บไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกาหนดมาตรฐานการ ควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔” ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ ๓ ในระเบียบนี้ “หน่วยรับตรวจ” หมายความว่า (๑) กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเป็น กระทรวง ทบวง หรือกรม (๒) หน่วยงานของราชการส่วนภูมิภาค (๓) หน่วยงานของราชการส่วนท้องถิ่น (๔) รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณหรือตามกฎหมายอื่น (๕) หน่วยงานอื่นของรัฐ (๖) หน่วยงานที่ได้รับเงินอุดหนุน หรือกิจการที่ได้รับเงิน หรือทรัพย์สินลงทุนจากหน่วยรับตรวจ ตาม (๑) (๒) (๓)(๔) หรือ (๕)
(๗) หน่วยงานอื่นใดหรือกิจการที่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐที่มีกฎหมายกาหนดให้สานักงาน การ ตรวจเงินแผ่นดินเป็นผู้ตรวจสอบ “หน่วยงานของราชการส่วนท้องถิ่น ” หมายความว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์ ก าร บริหารส่วนตาบลกรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้น “ผู้กากับดูแล” หมายความว่า บุคคลหรือคณะบุคคลผู้ มีห น้ า ที่ รั บผิ ดชอบในการก ากั บดู แ ลหรื อ บังคับบัญชาผู้รับตรวจหรือหน่วยรับตรวจ “ผู้รับตรวจ” หมายความว่ า หั วหน้ า ส่ วนราชการ หั วหน้ า หน่ วยงาน หรื อ ผู้ บริ ห ารระดั บสู ง ผู้รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการหรือการบริหารของหน่วยรับตรวจ “ฝ่ายบริหาร” หมายความว่า ผู้รับตรวจ หรือผู้บริหารทุกระดับของหน่วยรับตรวจ “ผู้ตรวจสอบภายใน” หมายความว่า ผู้ดารงตาแหน่งผู้ตรวจสอบภายในของหน่ วยรั บตรวจ หรื อ ดารงตาแหน่งอื่นที่ทาหน้าที่เช่นเดียวกับผู้ตรวจสอบภายใน “การควบคุมภายใน” หมายความว่ า กระบวนการปฏิ บัติง านที่ ผู้ ก ากั บดู แ ล ฝ่ า ยบริ ห ารและ บุคลากรของหน่วยรับตรวจจัดให้มีขึ้น เพื่อสร้างความมั่ น ใจอย่ า งสมเหตุ ส มผลว่ า การดาเนิ น งานของ หน่วยรับตรวจจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในด้านประสิ ทธิ ผ ลและประสิ ทธิ ภ าพของการ ดาเนินงาน ซึง่ รวมถึงการดูแลรักษาทรัพย์สินการป้องกันหรือลดความผิดพลาด ความเสี ย หาย การรั่ วไหล การสิ้นเปลือง หรือการทุจริตในหน่วยรับตรวจ ด้านความเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงิ น และด้ า นการ ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรี ข้อ ๔ ให้ผู้กากับดูแล และหรือฝ่ายบริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการนามาตรฐาน การควบคุมภายใน ของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินท้ายระเบียบนี้ไปใช้เป็นแนวทางสาหรับการจัดวางระบบการควบคุ ม ภายในของหน่วยรับตรวจให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภ าพ และบรรลุ ตามวั ตถุ ประสงค์ ของการควบคุ ม ภายใน
ข้อ ๕ ให้หน่วยรับตรวจจัดวางระบบการควบคุมภายในโดยใช้มาตรฐานการควบคุ มภายใน ท้ า ย ระเบียบนี้เป็นแนวทางให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่ระเบียบนี้ใช้บังคับ โดยอย่ า งน้ อ ยต้ อ งแสดง ข้อมูล ดังนี้ (๑) สรุปภารกิจและวัตถุประสงค์การดาเนิ น งานที่ ส าคั ญ ในระดั บหน่ วยรั บตรวจ และระดั บ กิจกรรม (๒) ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมการควบคุม โดยเฉพาะเกี่ยวกับความซื่อสัตย์ และจริ ย ธรรมของ ผู้บริหารระดับสูงและบุคลากรในหน่วยรับตรวจ (๓) ความเสี่ยงที่สาคัญที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน (๔) ข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมการควบคุมเพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยงที่สาคัญตาม (๓) (๕) ผู้รับผิดชอบประเมินระบบการควบคุมภายใน และวิ ธี ก ารติ ดตามประเมิ น ผลให้ ห น่ วยรั บ ตรวจรายงานความคืบหน้าในการจัดวางระบบการควบคุ มภายในต่ อ ผู้ ก ากั บดู แ ล และคณะกรรมการ ตรวจสอบของหน่วยรับตรวจ (ถ้ามี) ทุกหกสิบวัน พร้อมทั้งส่งสาเนาให้สานั ก งานการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น ด้วยเว้นแต่สานักงานการตรวจเงินแผ่นดินจะขอให้ดาเนินการเป็นอย่างอื่น ข้อ ๖ ให้ผู้รับตรวจรายงานต่อคณะกรรมการตรวจเงินแผ่ น ดิ น ผู้ ก ากั บดู แ ล และคณะกรรมการ ตรวจสอบ เกี่ยวกับการควบคุมภายในอย่างน้อย ปีละหนึ่งครั้งภายในเก้าสิบวันนับจากวันสิ้นปีงบประมาณ หรือ ปีปฏิทิน แล้วแต่กรณี เว้นแต่การรายงานครั้งแรกให้กระทาภายในสองร้ อ ยสี่ สิ บวั น นั บจากวั น วาง ระบบการควบคุมภายในแล้วเสร็จ โดยมีรายละเอียด ดังนี้ (๑) ทาความเห็นว่าระบบการควบคุมภายในของหน่วยรับตรวจที่ใช้อยู่ มีมาตรฐานตามระเบี ย บนี้ หรือไม่ (๒) รายงานผลการประเมินความเพียงพอและประสิทธิผลของระบบการควบคุ มภายในในการ บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนด รวมทั้งข้อมูลสรุปผลการประเมิน แต่ ล ะองค์ ประกอบของการ ควบคุมภายใน ประกอบด้วย (ก) สภาพแวดล้อมของการควบคุม (ข) การประเมินความเสี่ยง (ค) กิจกรรมการควบคุม (ง) สารสนเทศและการสื่อสาร (จ) การติดตามประเมินผล
(๓) จุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในพร้อมข้อเสนอแนะและแผนการปรับปรุงระบบการ ควบคุมภายใน ข้อ ๗ ในกรณีหน่วยรับตรวจไม่สามารถปฏิบัติตามระเบียบนี้ได้ ให้ ขอทา ความตกลงกั บคณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดิน ข้อ ๘ ในกรณี ห น่ วยรั บตรวจมี เ จตนาหรื อ ปล่ อ ยปละละเลยในการปฏิ บัติตามระเบี ย บนี้ หรื อ ตาม ข้อเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน หรือสานักงานการตรวจเงินแผ่นดินโดยไม่มีเหตุอันควร คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินสามารถเสนอข้อสังเกตและความเห็นพร้อ มทั้ ง พฤติ ก ารณ์ ของหน่ วยรั บ ตรวจนั้น ให้กระทรวงเจ้าสังกัด หรือผู้บังคับบัญชาหรือผู้ควบคุมกากับ หรือรับผิดชอบของหน่ วยรั บตรวจ แล้วแต่กรณี เพื่อกาหนดมาตรการที่จาเป็นเพื่อให้หน่วยรับตรวจไปปฏิบัติในกรณีกระทรวงเจ้ า สั ง กั ดหรื อ ผู้บังคับบัญชา หรือผู้ควบคุมกากับหรือรับผิดชอบของหน่วยรับตรวจไม่ดาเนินการตามวรรคหนึ่ ง ภายใน ระยะเวลาอันสมควร คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินสามารถรายงานต่อ ประธานรั ฐ สภา เพื่ อ แจ้ ง ไปยั ง คณะกรรมาธิ ก ารของรั ฐ สภาที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ พิ จารณาดาเนิ น การตามอ านาจ หน้ า ที่ และแจ้ ง ไปยั ง คณะกรรมาธิ ก ารพิ จารณางบประมาณรายจ่ า ยประจาปี ของรั ฐ สภา เพื่ อ ประกอบการพิ จารณาร่ า ง พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี ข้อ ๙ ให้ประธานกรรมการตรวจเงินแผ่นดินรักษาการตามระเบียบนี้ และให้คณะกรรมการตรวจ เงินแผ่นดินมีอานาจตีความและวินิจฉัยปัญหาที่ เกิดขึ้นจากการบังคับใช้ระเบียบนี้ ในกรณีมีเหตุอันสมควร คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินอาจยกเว้นหรือผ่อนผันการปฏิบัติตามความใน ระเบียบนี้ได้ ประกาศ ณ วันที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ.๒๕๔๔ (นายปัญญา ตันติยวรงค์) ประธานกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม ๑๑๘ ตอนที่ ๙๙ ก วันที่ ๒๖ ตุล าคม ๒๕๔๔
หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุ มภายใน (แบบ ปอ.๑)
แบบ ปอ.๑ หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุ มภายใน เรียน คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน กรมพัฒนาที่ดิน ได้ประเมินผลการควบคุ มภายในส าหรั บปี สิ้ น สุ ดวั น ที่ ๓๐ เดื อ น กั น ยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ ด้ วยวิ ธี ก ารที่ ก รมพั ฒ นาที่ ดิน ก าหนด โดยมี วัตถุ ประสงค์ เ พื่ อ สร้ า งความมั่ น ใจอย่ า ง สมเหตุสมผลว่าการดาเนิ น งานจะบรรลุ วัตถุ ประสงค์ ของการควบคุ มภายในด้ า นประสิ ทธิ ผ ลและ ประสิทธิภาพของการดาเนินงาน และการใช้ทรัพยากร ซึ่งรวมถึ ง การดู แ ลรั ก ษาทรั พ ย์ สิ น การป้ อ งกั น หรือลดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล การสิ้นเปลือง หรื อ การทุ จริ ต ด้ า นความเชื่ อ ถื อ ได้ ของ รายงานทางการเงิ น และการดาเนิ น งานและด้ า นการปฏิ บัติตามกฎหมาย ระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ มติ คณะรัฐมนตรีและนโยบาย ซึ่งรวมถึงระเบียบปฏิบัติของฝ่ายบริหาร จากผลการประเมินดังกล่าวเห็น ว่ า การควบคุ มภายในของ กรมพั ฒ นาที่ ดิน ส าหรั บปี สิ้ น สุ ด วันที่ ๓๐ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ เป็นไปตามระบบการควบคุมภายในที่ ก าหนดไว้ มี ความเพี ย งพอ และบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุ มภายในตามที่ก ล่าวในวรรคแรก
นายธวัชชัย สาโรงวัฒนา ตาแหน่ง อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน วันที่ ๓๐ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๔
รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุ มภายใน (แบบ ปอ.๒)
แบบ ปอ.๒ กรมพัฒนาที่ดิน รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน ณ วันที่ ๓๐ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ๑. ๑. สภาพแวดล้อมการควบคุม ผู้บริหารได้ ส ร้ า งบรรยากาศของการควบคุ ม เพื่อให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อ การควบคุ มภายใน โดย ให้ ความส าคั ญ กั บความซื่ อ สั ตย์ จริ ย ธรรมและ ความโปร่ ง ใสในการด าเนิ น งาน มี ก ารบริ ห าร จั ดการที่ ส อดคล้ อ งกั บห ลั ก ธรรมาภิ บาล มี ก าร กาหนดแนวทางที่ ชั ดเจนต่ อ การปฏิ บัติที่ถู ก ต้ อ ง และที่ไม่ถูกต้อง รวมทั้ ง ปฏิ บัติตนเป็ น แบบอย่ า ง บุ คลากรเ ข้ า ใจขอบเขตอ าน าจหน้ า ที่ รวมทั้ ง มี ความรู้ความสามารถและทั ก ษะในการปฏิ บัติง าน ตามหน้าที่ได้รับมอบหมาย ๒. การประเมินความเสี่ยง มีการกาหนดวัตถุ ประสงค์ แ ละเป้ า หมายของ กรมและวั ตถุ ป ระสง ค์ ร ะ ดั บกิ จกรรมที่ ชั ดเจน สอดคล้องและเชื่อมโยงกัน ในการที่ จะทางานให้ สาเร็จด้วยงบประมาณและทรั พ ยากรที่ ก าหนดไว้ อย่างเหมาะสม ผู้ บริ ห ารมี ก ารระบุ ความเสี่ ย งทั้ ง จาก ปั จ จั ย ภ า ยใ น แล ะ ภ าย น อก ที่ อ าจ จะ มี ผลกระทบต่อการบรรลุผลสาเร็ จตามวั ตถุ ประสงค์ ของกรม มี ก ารวิ เ คราะ ห์ ความเสี่ ย งและจั ดการ ความเสี่ยงที่เหมาะสม นอกจากนี้ ยั ง มี เ ครื่ อ งมื อ ที่ สามารถบ่งชี้ถึงการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ ยง
ผลการประเมิน/ข้อสรุป สภาพแวดล้อมการควบคุ มภายในของกรมพั ฒ นา ที่ดินในภาพรวมมีความเหมาะสมเพี ย งพอ มี ก าร จั ดโครง สร้ า งและสายง านการบั ง คั บบั ญ ชาที่ ชัดเจน มี ก ารมอบหมายอ านาจหน้ า ที่ แ ละความ รับผิดชอบ ให้กับบุคลากรตรงตามตาแหน่ ง งาน มี การพัฒนาความรู้ความสามารถของบุ คลากรและ ประเมิ น ผลการปฏิ บัติง าน โดยพิ จารณารวมถึ ง ความซื่อสัตย์และจริย ธรรม
กรมพั ฒ นาที่ ดิ น มี ก ารประ เมิ น ความเสี่ ย งตาม แนวทางที่กาหนดในมาตรฐานการควบคุ มภายใน โดยผู้บริหารมี ส่ วนร่ วมในการระบุ แ ละประเมิ น ความเสี่ ย ง มี ค ณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย ง กากับดูแล และรายงานผลการปฏิบัติงาน
องค์ประกอบของการควบคุมภายใน ๓. ๓. กิจกรรมการควบคุม มีนโยบายและวิธีปฏิบัติงานที่ ทาให้ มั่น ใจว่ า เมื่ อ นาไปปฏิบัติแ ล้ วจะเกิ ดผลส าเร็ จตามที่ ฝ่ า ยบริ ห าร ก าห น ด ไว้ กิ จกรร มเ พื่ อ การค วบคุ ม จะ ชี้ ใ ห้ ผู้ ปฏิ บั ติง าน เห็ น ความเสี่ ย งที่ อ าจเกิ ดขึ้ น ใ นการ ปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดความระมั ดระวั ง และสามารถ ปฏิบัติงานให้สาเร็จตามวัตถุ ประสงค์ ๔. ๔. สารสนเทศและการสื่อสาร ๕. มี ร ะบบข้ อ มู ล สารสนเ ทศที่ เ กี่ ย วเ นื่ อ งกั บการ ปฏิบัติงาน เหมาะสมต่อความต้องการของผู้ ใ ช้ แ ละมี การสื่ อ สารไปยั ง ฝ่ า ยบริ ห ารและผู้ ที่เ กี่ ย วข้ อ งใ น รูปแบบที่ช่วยให้ผู้รับข้อมูลสารสนเทศปฏิ บัติห น้ า ที่ ตามความรั บ ผิ ด ช อบได้ อ ย่ า ง มี ป ระ สิ ท ธิ ภ าพ ประสิทธิผล และบรรลุวัตถุประสงค์ ๖. ๕. การติดตามประเมินผล ๗. องค์กรมีการติดตามประเมินผลการควบคุ มภายใน และประเมินคุณภาพการปฏิ บัติง าน โดยก าหนดวิ ธี ปฏิ บั ติง านเ พื่ อ ติ ดตามการปฏิ บั ติตามระบบการ ควบคุมภายในอย่างต่อเนื่อง และเป็ น ส่ วนหนึ่ ง ของ กระบวนการปฏิบัติง านตามปกติ ของฝ่ า ยบริ ห าร ผู้ ควบคุมงานและผู้มีหน้าที่เกี่ย วข้ อ ง นอกจากนี้ มีก าร ประเ มิ น ผลแบบรายครั้ ง เป็ น ครั้ ง คราว กรณี พ บ จุ ดอ่ อ นห รื อ ข้ อ บกพร่ อ งมี ก ารก าหนดวิ ธี ป ฏิ บั ติ เพื่อให้ความมั่นใจว่า ข้อตรวจพบจากการตรวจสอบ และการสอบทานได้รับการพิจารณาสนองตอบ และ มีการวินิจฉัยสั่งการให้ดาเนินการแก้ ไ ขข้ อ บกพร่ อ ง ทันที
ผลการประเมิน/ข้อสรุป กรมพั ฒ นาที่ ดิน มี กิ จกรรมการควบคุ ม ที่ เหมาะสมเพียงพอ โดยมีก ารกระจายอ านาจ มี ก ารจั ด ทาคู่ มื อ การปฏิ บั ติง าน ก าห น ด วิธีการปฏิบัติงานและการควบคุ มในแต่ ล ะ ขั้นตอนสามารถตรวจสอบได้
กรมพัฒนาที่ดิน มีระบบสารสนเทศและการ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารที่ เ ห มาะ สมทั น เ วลาและ สะดวกต่อผู้ใช้ ผ่ า นระบบเครื อ ข่ า ย รวมทั้ ง ได้จัดทาสื่อประชาสัมพันธ์ ใ นรู ปแบบต่ า งๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กร
กรมพั ฒ นาที่ ดิน มี ก ารติ ดตามประเมิ น ผล โดยมีการตั้งคณะกรรมการติ ดตามงาน และ จัดให้มีการประชุมหั วหน้ า ส่ วนราชการทุ ก เดือนเพื่อติดตามการดาเนิ น งานของกรม มี การประเ มิ น ตน เอง และ ประ เมิ น โดยผู้ ตรวจสอบภายใน
ผลการประเมินโดยรวม กรมพั ฒ นาที่ ดิน มี โ ครงสร้ า งการควบคุ มภายใน ครบ ๕ องค์ ประกอบตามมาตรฐานการ ควบคุมภายในของคณะกรรมการการตรวจเงินแผ่นดิน มีการควบคุ มที่ เ พี ย งพอและมี ประสิ ทธิ ภ าพตาม สมควร แต่ยังต้องมีการรณรงค์ให้บุคลากรทุก คนได้ตระหนักถึงความสาคัญของการควบคุ มภายใน
นายธวัชชัย สาโรงวัฒนา ตาแหน่ง อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน วันที่ ๓๐ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๔
รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุ มภายใน (แบบ ปอ.๓)
แบบ ปอ.๓ กรมพัฒนาที่ดิน รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ณ วันที่ ๓๐ เดือนกันยายน พ.ศ.๒๕๕๔ กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้าน ของงานที่ประเมินและวัตถุประสงค์ของการ ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่ งวด/เวลาที่ การปรับปรุงการควบคุม กาหนดเสร็จ/ ควบคุมภายใน พบจุดอ่อ น ผูร้ ับผิดชอบ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) ๑.ด้านนโยบายและแผนงาน - กระบวนงานพัฒนาระบบมาตรฐานงาน ขั้นตอน การรวบรวมข้ อมู ลเพื่ อน ามาวิ เ คราะห์ ตามแผนพัฒนาระบบมาตรฐานงาน วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ ถูกต้ องครบถ้ วน -เนื่องจากการจัดทายุ ทธศาสตร์ แ ละ -จัดทาแผนเพื่ อเตรี ย มประชุ ม เพือ่ ชี้แจงรายละเอี ย ดของงาน สามารถน ามาวิ เ คราะห์ เ พื่ อหาแนวทางในการ ถ่ายทอดไปสู่ ระดั บหน่ วยงานและ บุคคลเป็นงานใหม่ที่ทุกหน่ วยงานที่ ๓๐ ก.ย. ๕๔ พร้อมทาเอกสารชี้แจงเพิ่ ม เติ ม ๓๐ ก.ย. ๕๕ พัฒนาระบบมาตรฐานงานได้ เ กี่ ย วข้ อง บาง ครั้ ง ยั ง ไ ม่ เ ข้ าใ จ เพื่ อเป็ นข้ อมู ลประกอบการ ผอ.ทุก วั ตถุ ประสงค์ ของงาน ทาให้ การ ดาเนินงาน หน่วยงาน รายงาน หรือการจัดทาเกิดความล่ าช้ า -มีเ จ้าหน้าที่ใ ห้ คาแนะน าทาง และข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์ โทรศัพท์แก่เ จ้าหน้าที่ที่
หมายเหตุ (๖)
กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้าน ของงานที่ประเมินและวัตถุประสงค์ของการ ควบคุมภายใน (๑)
ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่ (๒)
งวด/เวลาที่ พบจุดอ่อ น (๓)
การปรับปรุงการควบคุม (๔)
กาหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ (๕)
โทรศัพท์มาสอบถามวิธีการ ดาเนินการ ๒. ด้านการบริหารงานบุคคล วัตถุประสงค์ : เพื่อจัดอัตรากาลั ง และวางแผนการ -ก า ร ก า ห น ด อั ต ร า ก า ลั ง ต า ม ๓๐ ก.ย. ๕๔ ใช้กาลังคนให้เ หมาะสมกับโครงสร้างส่ วนราชการ โครงสร้ างอาจไม่ ตอบสนองความ ต้ อ ง การอั ตราก าลั ง ที่ ห น่ ว ย ง าน ที่ปรับปรุงใหม่ ต้องการได้ เนื่องจากกรมฯมี จ านวน ข้าราชการจากัดจากการกาหนดขนาด ก าลั ง คน ภ าค รั ฐ และ มี จ า น ว น พนักงานราชการไม่ เ พี ย งพอในบาง หน่วยงาน -การประเมินผลการพั ฒ นาบุ คลากร ๓๐ ก.ย. ๕๔ -เพื่อการประเมินผลการพัฒนาบุคลากร ในระยะยาวยังไม่มีรูปแบบที่ ชัดเจน ซึ่งส่งผลให้หลั กสู ตรที่ ต้องใช้ ระยะ เวลานาน ขาดการประ เมิ นผลที่ ชัดเจน
-เกลี่ยอัตรากาลังให้ ห น่ วยงาน ๓๐ เม.ย. ๕๕ ที่มีความจาเป็น ผอ. กกจ. -จั ดห าอั ตราก าลั ง ทดแท น ผอ. กผง. ข้ า ราชการ เช่ น พ นั กง าน ผอ. กค. ราชการ หรือ จ้ างเหมาเอกชน ดาเนินการ
-เ พิ่ ม เ ติ ม รา ย ละ เ อี ย ดใ น ๓๐ ก.ย. ๕๕ หลักเกณฑ์การประกัน คุ ณ ภาพ ผอ. กกจ. การฝึกอบรมของกรมฯในด้ าน การติดตามและประเมินผลหลั ง การพัฒนาเป็นระยะ ๓ ระยะ
หมายเหตุ (๖)
กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้าน ของงานที่ประเมินและวัตถุประสงค์ของการ ควบคุมภายใน (๑)
ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่ (๒) -ระบบการประเมินผลการพัฒนา บุคลากรยังไม่ครอบคลุมถึงการ ติดตามผลในการนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์เ พื่อการปฏิบัติงาน
งวด/เวลาที่ พบจุดอ่อ น (๓)
การปรับปรุงการควบคุม (๔)
กาหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ (๕)
๓. ด้านการบริหารงบประมาณการเงิน การคลัง -การประเมินผลการปฏิบัติงานด้านบัญชี วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ ห น่ วยงานเบิ กจ่ ายทุ กแห่ ง -หน่วยเบิกจ่ายบางแห่ ง ยั ง จั ดทาการ ๓๐ ก.ย. ๕๔ -ทุ ก สิ้ น เ ดื อ น ใ ห้ เจ้ าห น้ าที่ ๓๐ ก.ย. ๕๕ ประเมินผลการปฏิ บัติง านด้ านบั ญ ชี ตรวจสอบงบทดลองจากระบบ ปฏิบัติงานด้านบัญชีได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ผอ. กค. บางหลักเกณฑ์ไม่ถูกต้อง GFMIS ของหน่วยเบิ กจ่ ายทุ ก แห่งให้มีดุลปกติ -มีการแจ้งให้หน่วยเบิกจ่ ายทุ ก แห่ ง ทราบค ะ แน น ผลกา ร ปฏิ บัติด้ านบั ญ ชี ทาง website กองคลัง เป็นรายไตรมาส
หมายเหตุ (๖)
กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้าน ของงานที่ประเมินและวัตถุประสงค์ของการ ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่ งวด/เวลาที่ การปรับปรุงการควบคุม ควบคุมภายใน พบจุดอ่อ น (๑) (๒) (๓) (๔) ๔. ด้านการพัส ดุ -การตรวจสอบแบบแปลน วั ตถุ ป ระสง ค์ : ตรวจสอบเพื่ อให้ ก ารก่ อ สร้ า ง -ผู้ รั บจ้ าง บาง รายไ ม่ ทาตามแบบ ๓๐ ก.ย. ๕๔ -ตรวจสอบงานโดยละเอี ย ดให้ ถูกต้องตามแบบแปลน แปลน เป็ น ไปตามแบบแปลน และ -ผู้ควบคุมงานไม่ ทาความเข้ าใจกั น หนังสือตอบรับ แบบแปลนโดยละเอียด -จัดอบรมแนะแนวเพื่อทาความ เข้าใจกับแบบแปลนให้ ไ ปใน ทิศทางเดี ย วกั น และควรเน้ น ม าตรฐาน ข อง แบบแปลน ก่อสร้างให้เ ป็นรูปแบบที่ง่าย -การจัดทาใบสั่งซื้อสั่ ง จ้ าง (PO) และการตรวจรั บ พัสดุในระบบการบริ ห ารการเงิ น การคลั ง ภาครั ฐ แบบอิเ ล็กทรอนิกส์ (GFMIS) วัตถุประสงค์ : เพื่ อให้ การจั ดทาใบสั่ ง ซื้ อสั่ ง จ้ าง -การจั ดทาใบสั่ ง ซื้ อสั่ ง จ้ างบางครั้ ง ๓๐ ก.ย. ๕๔ -กาชับให้เ จ้าหน้ าที่ ปฏิ บัติตาม ล่ า ช้ า เ นื่ อง จ า กไ ด้ รั บเ อก สา ร ระเบียบอย่างเคร่งครัด ถูกต้องตามคู่มือกาหนด หลักฐานไม่ครบถ้วนหรือไม่ ถู กต้ อง -ติ ด ต่ อ ป ร ะ ส า น ง า น กั บ จากผู้ขาย(ข้อมูลผู้ขาย)/ข้อมูลรหัส หน่วยงาน ที่เ กี่ยวข้องทั้ง
กาหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ (๕)
๓๐ ก.ย. ๕๕ ผอ. สวพ. ผอ. สพข. ผอ. สพด. ผอ.ศูนย์ฯ
๓๐ ก.ย. ๕๕ ผอ. ทุก หน่วยงาน
หมายเหตุ (๖)
กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้าน ของงานที่ประเมินและวัตถุประสงค์ของการ ควบคุมภายใน (๑)
ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่ (๒) กิ จ กรรม บั ญ ชี แ ย กประเ ภ ท ไ ม่ ถูกต้อง -บั น ทึ กใ บสั่ งซื้ อสั่ งจ้ าง (PO/Web online)ซ้ากัน
งวด/เวลาที่ พบจุดอ่อ น (๓)
การปรับปรุงการควบคุม (๔) ภายใน และภายนอกคลั ง /กรม พัฒนาที่ดิน เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบสอบทาน รายงานจากระบบ GFMIS กั บ ใบสั่งซื้อสั่งจ้าง
กาหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ (๕)
-การควบคุมพัสดุและการบริหารสินทรัพย์ วั ตถุ ประสงค์ : เพื่ อใ ห้ การปฏิ บัติ งานด้ านการ -การใ ช้ รถราชการ/การควบคุ ม ๓๐ ก.ย. ๕๔ -กาชับให้เ จ้าหน้าที่ ดาเนิ น การ ๓๐ ก.ย. ๕๕ บริหารสินทรัพย์ถูกต้องตามระเบียบ ครุภัณฑ์หน่วยงานบางแห่ง ยั ง ปฏิ บัติ ตามระเบียบ ผอ. ทุก ไม่ถูกต้องตามระเบียบ -จัดทาคู่มือการใช้รถราชการ หน่วยงาน ๕. ด้านเทคโนโลยีส ารสนเทศ -การจัดทาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ วัตถุประสงค์ : เพื่อให้กระบวนการจัดทาโปรแกรม -เนื่ อง จากมี การเปลี่ ย นแปลงการ ๓๐ ก.ย. ๕๔ -มี ก ารบั น ทึ กเงื่ อน ไ ข และ ๓๐ ก.ย. ๕๕ ลั ก ษณะ การท าง าน รวม ถึ ง ผอ. สทก คอมพิวเตอร์มีประสิทธิภาพ ลดปัญหาความเข้ า ใจ ทางานและรู ปแบบการแสดงผลทา ให้ตอ้ งปรับรื้อโปรแกรมใหม่ รูปแบบรายงานอย่ างเป็ น ลาย ไม่ตรงกัน ระหว่างเจ้าของงานแลtผู้ทาโปรแกรม ลักษณ์อักษร -การบริหารการดาเนิ น งานการจั ดเก็ บข้ อมู ลด้ าน แผน/ผล การดาเนินงานและผลการใช้จ่าย
หมายเหตุ (๖)
กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้าน ของงานที่ประเมินและวัตถุประสงค์ของการ ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่ งวด/เวลาที่ การปรับปรุงการควบคุม กาหนดเสร็จ/ ควบคุมภายใน พบจุดอ่อ น ผูร้ ับผิดชอบ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) งบประมาณสารสนเทศและการสื่อสาร วัตถุประสงค์ : เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูล เป็นไปตาม -เ นื่ อง จ ากผู้ ใ ช้ ง าน ต้ อง การใ ห้ ๑ ส.ค. ๕๔ -จัดทาการแก้ ไ ขโปรแกรมให้ ๓๐ มี.ค. ๕๕ มาตรฐานที่กาหนดสามารถค้ น หาข้ อมู ลได้ อย่ าง โปรแกรมสามารถค้นหารายละเอี ย ด ตรงตามความต้องการที่เ พิ่ ม ขึ้ น ผอ. สทก. เป็นระเบียบ ข้อมูลได้มากยิ่งขึ้น ทาให้ต้องปรับแก้ ของผูใ้ ช้ ไขโปรแกรมใหม่ เพื่ อให้ ตรงตาม ความต้องการของผู้ใช้ -ขั้นตอนการสารองข้อมูล วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ การส ารองข้ อมู ลที่ มี อยู่ ใ น -มีการเปลี่ยนแปลง Path หรือ โฟลเดอร์หรือ Path ของเครื่องแม่ข่ายครบถ้วน โฟลเดอร์ในเครื่องแม่ข่าย แต่ไม่ได้ แจ้งมายังเจ้าหน้าที่สารองข้อมูล ทา ให้การสารองข้อมูลไม่ครบถ้วน
๑ เม.ย. ๕๔
-การจัดเก็บข้อมูลงานภาคสนาม วัตถุประสงค์ : เพื่ อจั ดเก็ บข้ อมู ลจากการส ารวจ -ข้อมูลขนาดใหญ่ พื้นที่การจัดเก็บใน ๑ ต.ค. ๕๓ พื้นที่ ข้อมูลภาพถ่าย ภาพวีดีโอ เครือ่ งคอมพิวเตอร์มีจากัด -ข้อมูลอาจสูญหายได้เ นื่องจากความ เสี่ยงจากคอมพิวเตอร์
-มี การทบ ทวน กา รส ารอ ง ๓๐ ก.ย. ๕๕ ข้อมูลเป็นประจาทุกปี โดยการ ผอ. สทก. ประสานงานกับเจ้ าของข้ อมู ล ให้ยืนยันเป็นลายลักษณ์อักษร
-จัดทาการสารองข้อมู ลลงแผ่ น ๓๐ ก.ย. ๕๕ DVD จานวน ๒ ชุด ผอ. สทก. -มีผู้รับผิดชอบการเบิกใช้ข้อมูล -กาหนดรหัสผ่านของเครื่อง
หมายเหตุ (๖)
กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้าน ของงานที่ประเมินและวัตถุประสงค์ของการ ควบคุมภายใน (๑)
ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่ (๒)
งวด/เวลาที่ พบจุดอ่อ น (๓)
๖. ด้านปฏิบัติการ -การจัดทาระบบอนุรักษ์ดินและน้า วัตถุประสงค์ : เพื่อให้การจั ดทาระบบอนุ รักษ์ ดิน -เกษตรกรยังไม่เ ห็นความสาคัญ และ ๓๐ ก.ย. ๕๔ และน้ าเป็ นที่ ย อม รั บ และ เป็ น ประโย ชน์ ต่ อ ขาดความรู้ ความเข้ าใจในเรื่ องการ อนุรักษ์ดินและน้า การปรับปรุ ง บารุ ง เกษตรกรผู้รับบริการ ดินรวมถึงประโยชน์ที่จะได้ รับเมื่ อมี การดาเนินการ ทาให้เ กษตรกรมี ส่ วน ร่ ว มน้ อย และ บางแห่ งข าดความ ต่อเนื่อง
การปรับปรุงการควบคุม (๔) คอม พิ วเ ตอร์ พ ร้ อมกั บการ เปลี่ยนรหัสอย่างน้อยทุกเดือน -ตรวจสอบและ บารุ งรั กษา เครื่องคอมพิวเตอร์สม่าเสมอ
กาหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ (๕)
-มีการรณรงค์ ประชาสั ม พั น ธ์ ๓๐ ก.ย. ๕๕ ผ่านสื่อต่างๆ ผอ. สพข. -มี ก า ร อ บ ร ม ใ ห้ ค ว า ม รู้ ผอ. สพด. เกษตรกรอย่างต่อเนื่อง ผอ.ศูนย์ ฯ -มีการถ่ายทอดเทคโนโลยี ผ่าน เ ค รื อ ข่ า ย ห ม อ ดิ น อ า ส า ตลอดจนนาหมอดินอาสาศึ กษา ดูงาน
๗. ด้านวิชาการ วัตถุประสงค์ : เพื่ อให้ การกาหนดมาตรฐานการ -บุ คลากรที่ มี ความเชี่ ย วชาญ มี ไ ม่ ๓๐ ก.ย. ๕๔ -ติ ด ต า ม พั ฒ น า ป รั บ ป รุ ง ๓๐ ก.ย. ๕๕ สารวจจาแนกดิน การพัฒนาสารสนเทศทรั พ ยากร เพียงพอเนื่องจากเกษียณอายุราชการ มาตรฐานการปฏิ บัติง านใ ห้ ผอ.สสว. ดิน การแปลผลข้อมูลทรัพยากรดิน การค้นคว้าวิจัย และการรับข้าราชการใหม่มีจานวน สามารถใช้ปฏิบัติงานอย่าง ผอ.กผง.
หมายเหตุ (๖)
กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้าน ของงานที่ประเมินและวัตถุประสงค์ของการ ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่ งวด/เวลาที่ การปรับปรุงการควบคุม กาหนดเสร็จ/ ควบคุมภายใน พบจุดอ่อ น ผูร้ ับผิดชอบ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) เพื่อสนับสนุนการประยุ กต์ ใ ช้ ข้ อมู ลดิ น และการ ไม่สมดุล ทาให้ขาดความต่อเนื่ องใน ได้ผล สานัก เผยแพร่ข้อมูลหรือองค์ความรู้ ทางวิ ชาการเป็ น ไป การถ่ายทอดความรู้ทางวิ ชาการ -จั ดท า คู่ มื อม าตรฐ าน กา ร ผู้เ ชี่ยวชาญ อย่างมีประสิทธิภาพ ปฏิบัติงานแจกจ่ายให้พ อเพี ย ง กั บผู้ ปฏิ บัติง านทั้ ง ส่ วนกลาง และส่วนภูมิภาค -จั ดประชุ ม /อบรม/ชี้ แ จงใ ห้ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง าน เข้ าใ จเ กี่ ย วกั บ มาตรฐานที่กาหนด -มี ภ ารกิ จอื่ น (นอกเ หนื อ ไปจาก ภ า ร กิ จ ห ลั ก ) ที่ ก ร ม /ส า นั ก ฯ -พัฒนาปรั บปรุ ง กระบวนการ มอบหมายเพิ่มเติมในการถ่ายทอดให้ ทางานให้ ส ามารถปฏิ บัติง าน ความรู้แก่เ กษตรกรเป็ น การเร่ ง ด่ วน ได้ เ สร็ จ ใน เวลาจ ากั ด โดย มี ปริมาณงานมี ม ากขณะที่ ระยะเวลา มาตรฐานอย่างเหมาะสม ปฏิ บั ติ ง าน ถู กจ ากั ดน้ อยลง เ ป็ น -ปฏิบัติงานนอกเวลา อุ ป สรรคต่ อ การสร้ า ง ผลง าน ที่ มี -จ้างเอกชนช่วยปฏิบัติงาน มาตรฐานและคุณภาพ -ปรับปรุงเครื่องมืออุปกรณ์
หมายเหตุ (๖)
กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้าน ของงานที่ประเมินและวัตถุประสงค์ของการ ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่ งวด/เวลาที่ การปรับปรุงการควบคุม กาหนดเสร็จ/ ควบคุมภายใน พบจุดอ่อ น ผูร้ ับผิดชอบ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) วั ตถุ ประสงค์ : เพื่ อให้ การปฏิ บัติง านโครงการ -การวิ จั ย เ พื่ อส ร้ าง ค วาม รู้ ทา ง ๓๐ ก.ย. ๕๔ -ทบทวนปรับปรุงโครงการวิ จั ย ๓๐ ก.ย. ๕๕ เป็ นไ ปอย่ า งมี ประ สิ ท ธิ ภ าพ และ ส าเร็ จตาม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใหม่ ที่จ ะ ตามความเหมาะสมกับสั ดส่ วน ผอ.สสว. วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ใช้ประโยชน์ได้จริงจังยังมีน้อย ขององค์ ความรู้ บุ คลากรและ ผอ.สวจ. งบประมาณ ผอ.กผง. -กระตุ้ น ส่ ง เสริ ม บุ คลากรใ ห้ สานัก ทางานวิ จั ย ห รื อร่ วมงานกั บ ผู้เ ชี่ยวชาญ ภ า ย น อ ก ห รื อ ส ถ า บั น ต่างประเทศ เพื่ อแลกเปลี่ ย น ข้อมูลถ่ายทอดเทคโนโลยี แ ละ เสริ ม สร้ าง สม รรถภ าพ ทาง วิทยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี ที่ ยังขาดอยู่ -ประชุ ม /อบรม กระ ตุ้ น ใ ห้ บุ ค ลากรท าการวิ จั ย เ ขี ย น โ ค ร ง ก า ร วิ จั ย ท า ง ด้ า น วิ ทยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ใหม่ๆ
หมายเหตุ (๖)
กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้าน ของงานที่ประเมินและวัตถุประสงค์ของการ ควบคุมภายใน (๑)
ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่ (๒) -งบประมาณสนับสนุนงานวิจัยมีน้อย มาก และไม่ เ พี ย งพอต่ อการดาเนิ น งานวิจัยถึงขั้นที่จะใช้ประโยชน์ ทาง ปฏิบัติได้จริงจัง
-ไม่มีอัตรากาลังของพนักงานราชการ ทาหน้ าที่ ผู้ ช่วยนั กวิ จั ย ท าให้ ข าด แคลนผู้ช่วยนักวิจัยที่มีความสามารถ และการปฏิบัติงานล่าช้า ขั้นตอนการดาเนินงานวิจัย วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ขั้นตอนการดาเนิ น งานวิ จั ย เป็นไปตามแผนการปฏิบัติงานและตามระยะเวลาที่ กาหนดภายในกรอบวงเงินงบประมาณ
งวด/เวลาที่ พบจุดอ่อ น (๓)
การปรับปรุงการควบคุม (๔) -สนั บสนุ น ให้ นั ก วิ ช าการมี โอกาสได้ ร่วมทางานวิ จั ย กั บ เครือข่ายต่างประเทศ -ส่ ง นั ก วิ ชา การ ไ ปอ บรม / สัมมนาในสาขาที่เ กี่ยวข้อง เพื่อ จะได้รับความความรู้ เ พิ่ ม เติ ม แ ล ะ น า ม า ป รั บ ป รุ ง ประสิทธิภาพการทางาน
กาหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ (๕)
-ประชุ ม หารื อเพื่ อกาหนดกล ยุทธ์ในการพัฒนาผู้ช่วยนักวิ จั ย ที่มีความสามารถ
ตั้งแต่ไตร -ส่ ง เสริ ม พั ฒนาบุ คลากรใ ห้ ๓๐ ก.ย. ๕๔ มาสที่๔ ของ ความรู้ความชานาญการให้ ทัน ผอ. สวจ. ต่อเทคโนโลยีในปัจจุบัน เช่น ผอ.กผง.
หมายเหตุ (๖)
กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้าน ของงานที่ประเมินและวัตถุประสงค์ของการ ควบคุมภายใน (๑)
ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่ (๒)
งวด/เวลาที่ การปรับปรุงการควบคุม กาหนดเสร็จ/ พบจุดอ่อ น ผูร้ ับผิดชอบ (๓) (๔) (๕) ปีงบประมา ประชุม อบรม และศึ กษาดู ง าน สานัก ณ ๒๕๕๔ ทางวิชาการ ผู้เ ชี่ยวชาญ
-การสร้างมาตรฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ วัตถุประสงค์ : เพื่อให้ข้อมูลสารสนเทศภู มิ ศาสตร์ -ขอบเขตนิยามข้อมูลในชั้นข้อมูลเก่ า ๑ เม.ย. ๕๔ -สอบถามรายละเอีย ดขอบเขต ด้านการใช้ที่ดินเป็นเอกภาพ มักกาหนดแบบหยาบๆข้อมูลชุ ดใหม่ นิยามจากผู้ผลิตข้อมูล ๆ กาหนดละเอียดและชัดเจน -จั ดสั ม มนาหน่ วยงานที่ ผลิ ต ข้อมูลและใช้ข้อมูลเพื่ อให้ เ กิ ด ความเข้าใจที่ตรง ๘. ด้านการช่าง -การอ อกแบ บง าน สถา ปั ตย ก รรม แ ละ ภู มิ สถาปัตยกรรม วัตถุประสงค์ : เพื่ อให้ ส ามารถใช้ ง านอาคารได้ -ได้รับข้อมูลไม่ครบถ้วนในระหว่ าง ๓๐ ก.ย. ๕๔ -ก า ชั บ ใ ห้ เ จ้ า ห น้ า ที่ ประ สาน ง านกั บทุ กส่ วน ที่ อย่างมี ประสิ ทธิ ภ าพตรงตามวั ตถุ ประสงค์ ข อง การออกแบบเ จ้ าข องง าน มี การ เปลี่ยนแปลงประโยชน์ใช้สอยต่างไป เกี่ยวข้องพร้อมทั้งแจ้ ง เจ้ าของ เจ้าของงาน จ า ก ที่ ไ ด้ ออ ก แ บ บ ห รื อ มี ก า ร งาน ให้ ส่ ง ข้ อมู ลที่ ค รบถ้ ว น เปลี่ยนแปลงผู้ใช้งานหรืออุปกรณ์ สาหรับการออกแบบ
หมายเหตุ (๖)
กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/กิจกรรม/ด้าน ของงานที่ประเมินและวัตถุประสงค์ของการ ควบคุมภายใน (๑)
ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่ (๒)
งวด/เวลาที่ พบจุดอ่อ น (๓)
ประกอบอาคาร -จานวนงานมากในช่วงเวลาเดียวกัน
-กระบวนการควบคุมการก่อสร้ าง วัตถุประสงค์ : เพื่อให้งานเป็นไปตามระเบีย บพั ส ดุ -ความ ไ ม่ พ ร้ อ ม ข อง พื้ น ที่ ที่ จ ะ ๓๐ ก.ย. ๕๔ และตรวจสอบพื้นที่เ พื่อทราบลั กษณะภู มิ ประเทศ ก่อสร้าง และสอดคล้องกับแบบแปลน -เอกสิทธ์ถือครองที่ดินเปลี่ยนผู้ถือ ครอง
การปรับปรุงการควบคุม (๔) -ระบุ ระ ยะ เวลาที่ ใช้ ใน การ ออกแบบให้เ จ้าของงานทราบ เพื่อเตรียมแผนงาน
กาหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ (๕)
หมายเหตุ
-คอย ติ ด ตามและ ตรวจ สอบ ๓๐ ก.ย. ๕๕ พื้นที่ ผอ. สวพ. -ประสานงานกั บ อปท. และ ผอ. สพข. เกษตรกรในพื้ น ที่ เพื่ อชี้ แ จง ผอ. สพด. โครงการให้เ ข้าใจ หากไม่ เ ป็ น ผล จ าเ ป็ น ต้ อ ง แก้ ไ ข แบบ แปลน
ผู้รายงาน นายธวัชชัย สาโรงวัฒนา ตาแหน่ง อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน วันที่ ๓๐ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๔
(๖)
รายงานผลการติดตามการปฏิ บัติงานตามแผนการปรั บปรุง การควบคุมภายในของงวดก่ อน-ระดับองค์ก ร (แบบติดตาม ปอ.๓)
แบบติดตามปอ. ๓ กรมพัฒนาที่ดิน รายงานผลการติดตามการปฏิบัติตามแผนการปรับปรุง การควบคุมภายในของงวดก่อน-ระดับองค์กร สาหรับงวดตั้งแต่วันที่ ๑ เดือน ตุล าคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ถึงวันที่ ๓๐ เดือน กันยายน พ.ศ.๒๕๕๔ วัตถุประสงค์ของการควบคุม
จุดอ่อ นของการควบคุม หรือ ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่ (๒)
งวด/เวลาที่ พบจุดอ่อ น (๓)
(๑) ๑. ด้านนโยบายและแผนงาน - เพื่อให้การจัดทานโยบายแผนงาน/ โครงการและงบประมาณสอดคล้ อง -การเปลี่ยนแปลงนโยบาย ๓๐ ก.ย. ๕๓ กั บ น โ ย บ าย แล ะ เ ป็ น ไ ป ตา ม ในระดับสูงทาให้การจั ดทา เป้าหมายที่กาหนดไว้ แผน งาน /โครง การข าด ความต่อเนื่อง -ส พ ข . / ส พ ด . แ ล ะ หน่วยงานที่รับผิ ดชอบบาง หน่วยงานส่ ง รายละเอี ย ด การ จั ดท าแผ น ง า น ไ ม่ สอดคล้องกับนโยบาย
การปรับปรุง (๔)
กาหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ (๕)
- เ ชิ ญ ป ร ะ ชุ ม เ พื่ อ ๓๐ ก.ย. ๕๔ ปรึกษาหารือสร้างความ ผอ. กผง. เ ข้ า ใ จ ใ น ง า น กั บ ผอ. สพข. ห น่ ว ย ง า น ต่ า ง ๆ ที่ ผอ. สพด. เกี่ยวข้อง - ประสานงานเพื่ อทวง ถาม ง า น ใ ห้ ตร ง กั บ ระยะเวลาที่กาหนด
สถานะ การ ดาเนินการ* (๖)
วิธีการติดตามและสรุปผล การประเมิน/ข้อ คิดเห็น (๗)
-มีการประชุม หั วหน้ าส่ วน ราชการเป็นประจาทุกเดื อน เ พื่ อปรึ กษาห ารื อสร้ าง ความ เ ข้ าใ จ ใ น ง าน กั บ หน่วยงานต่างๆ ที่เ กี่ยวข้อง -มีการประสานงานเพื่อทวง ถ า ม ง า น ใ ห้ ต ร ง กั บ ระยะเวลาและดาเนิ น การ ตามมาตรการปรั บปรุ ง การ ควบคุมภายใน
วัตถุประสงค์ของการควบคุม (๑) ๒. ด้านการบริหารงานบุคคล -การจัดอัตรากาลัง
จุดอ่อ นของการควบคุม หรือ ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่ (๒)
งวด/เวลาที่ พบจุดอ่อ น (๓)
-การกาหนดอัตรากาลั ง ตาม ๓๐ ก.ย. ๕๓ โค ร ง ส ร้ า ง อ า จ จ ะ ไ ม่ ตอบสนองความต้ องการ อั ต ราก าลั ง ที่ ห น่ ว ย ง าน ต้องการได้ เนื่องจากกรมฯ มี จ านวนข้ าราชการจ ากั ด จ าก การ ก าห น ดข น า ด กาลังคนภาครัฐ
การปรับปรุง (๔)
กาหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ (๕)
-หาอัตรากาลั ง ทดแทน ๓๐ เม.ย. ๕๔ ข้ า ร า ช ก า ร เ ช่ น ผอ.กกจ. พนั กงานราชการหรื อ ผอ. กผง. จ้ า ง เ ห ม า เ อ ก ช น ผอ. กค. ดาเนินการ
๓. ด้ า น การ บริ ห ารงบปร ะมาณ การเงิน การคลัง -เพื่ อใ ห้ ก ารบริ หารง บประ มาณ -ก า ร ยื ม เ งิ น ร า ช ก า ร ๓๐ ก.ย. ๕๓ -ทาหนั ง สื อแจ้ งเวี ย น ซักซ้อมความเข้ าใจใน การเงินและบัญชีเ ป็นไปตามระเบียบ บุ คลากรบางส่ วน เงิ น ยื ม เกินความจาเป็น/ส่ ง ใช้ เ งิ น การปฏิบัติตามระเบียบ ยืมเกินกาหนดเวลา
๓๑ ม.ค. ๕๔ ผอ. กค.
สถานะ การ ดาเนินการ* (๖)
วิธีการติดตามและสรุปผล การประเมิน/ข้อ คิดเห็น (๗) -ไ ด้ ด าเ นิ น การข อเ พิ่ ม งบประ มาณใ น การจ้ าง พนักงานราชการจากส านั ก งบประมาณเรี ย บร้ อยแล้ ว โดยของบเพื่อสามารถจ้ าง พนักงานราชการได้จ านวน เพิ่มจากเดิมให้ ส ามารถจั ด ให้เ ต็มกรอบ ๑,๔๓๐ อัตรา
-ทุกต้น เดื อนจะมี ห นั ง สื อ แจ้ ง รายชื่ อ ลู กหนี้ เ งิ น ยื ม ราชการไปยังสานั ก/กอง ที่ มีลูกหนี้เ งินยืมราชการและ โทรติดตามเร่ง รั ดการชาระ หนี้ ส าหรั บลู ก หนี้ ที่ ใ กล้ ครบกาหนดและกรมฯได้ มี นโยบายกาหนดให้
วัตถุประสงค์ของการควบคุม (๑)
จุดอ่อ นของการควบคุม หรือ ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่ (๒)
งวด/เวลาที่ พบจุดอ่อ น (๓)
การปรับปรุง (๔)
กาหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ (๕)
-กา ร เ บิ ก จ่ าย เ งิ น บ า ง ๓๐ ก.ย. ๕๓ -จั ดอบรม เ จ้ าห น้ าที่ ๓๐ ก.ย. ๕๔ หน่วยงานไม่จัดทาทะเบียน การเงินการบัญชี ผอ.กค. คุม ๓๐ ก.ย. ๕๔
สถานะ การ ดาเนินการ* (๖)
วิธีการติดตามและสรุปผล การประเมิน/ข้อ คิดเห็น (๗) ต้ องจั ดท าแผน/โครงการ งานแนบกั บสั ญ ญาการยื ม เ งิ น แ ละ ก ารข อ อนุ มั ติ หลักการยื ม เงิ น ได้ ครั้ ง ละ ไม่เ กิน ๓๐,๐๐๐ บาท ถ้ า เกินจานวนดังกล่าวต้ องขอ อนุมัติกรมฯ -ได้มีการจัดอบรมเจ้าหน้าที่ การเงินการบัญชีจานวน ๒ โครงการดังนี้ ๑. โครงการประชุ ม ชี้ แ จง “เกณฑ์การประเมิ น ผลการ ปฏิบัติงานด้านบัญ ชี ” วั น ที่ ๒๔ ธ.ค. ๒๕๕๓ ๒.โครงการประ ชุ มเ ชิ ง ปฏิบัติการเรื่อง “การจั ดทา ต้ น ทุ น ต่ อห น่ วย ผลผลิ ต ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔” วันที่ ๖-๗ ม.ค.
วัตถุประสงค์ของการควบคุม (๑)
๔. ด้านการพัส ดุ -การตรวจรับพัสดุ
จุดอ่อ นของการควบคุม งวด/เวลาที่ การปรับปรุง กาหนดเสร็จ/ หรือ ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่ พบจุดอ่อ น ผูร้ ับผิดชอบ (๒) (๓) (๔) (๕) -การราย งาน งบการเ งิ น ๓๐ ก.ย. ๕๓ -กาชับให้เ จ้ าหน้ าที่ เ ร่ ง ผอ.กค. หน่วยงานภูมิภาคบางแห่ ง ตรวจสอบและวิเ คราะห์ ผอ.สพต. ไม่จัดส่งรายงานการเงิน ให้ งบทดลอง พร้ อมแจ้ ง ผอ.ศูนย์ฯ ส านั ก งานการตรวจ เงิ น ข้ อ ผิ ด พ ล า ด ใ ห้ แผ่นดิน หน่วยงานส่ วนภู มิ ภ าค ทราบรวมถึ ง การแก้ ไ ข ให้ ห น่ ว ยงาน ภู มิ ภ าค ตามเวลาที่กาหนด ๓๐ ก.ย. ๕๓ -กาชับเจ้าหน้าที่ ๓๐ ก.ย. ๕๔ -ผู้รับจ้างส่ ง มอบงานล่ าช้ า คณะกรรมการตรวจการ ผอ.กข. และคณะกรรมการตรวจ จ้างปฏิบัติตาม ผอ.สพข. การจ้างใช้เ วลาตรวจรั บงาน ระเบียบโดยเคร่งครัด ผอ.สพด. นาน
สถานะ การ ดาเนินการ* (๖)
วิธีการติดตามและสรุปผล การประเมิน/ข้อ คิดเห็น (๗) -มีการประชุมปรึ กษาหารื อ เพื่ อก าชั บ เ จ้ า หน้ าที่ เ ร่ ง ตรวจสอบและวิเ คราะห์ ง บ ทดลองส่วนภูมิ ภ าครวมถึ ง การแก้ไขให้หน่วยงานส่วน ภูมิภาคตามเวลาที่กาหนด
วัตถุประสงค์ของการควบคุม
จุดอ่อ นของการควบคุม งวด/เวลาที่ การปรับปรุง กาหนดเสร็จ/ หรือ ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่ พบจุดอ่อ น ผูร้ ับผิดชอบ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) -การควบคุ มพั ส ดุ แ ละ การบริ ห าร -ไม่จัดทาทะเบีย นคุ ม วั ส ดุ / ๓๐ ก.ย. ๕๓ -ก า ชั บ เ จ้ า ห น้ า ที่ ๓๐ ก.ย. ๕๔ สินทรัพย์ ครุ ภั ณ ฑ์ ห รื อมี แต่ ไ ม่ ดาเนิ นการให้ ปฏิ บั ติ ผอ.ทุก บันทึกราคาซื้อ ตามระเบียบ หน่วยงาน -ไ ม่ ร าย ง า น ท รั พ ย์ สิ น เสียหาย/เสื่อมสภาพ -ร ถ ย น ต์ ไ ม่ มี ต ร า เครื่องหมายและอักษรเลือน ราง
๕. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ -เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูล เป็นไปตาม มาตรฐานที่กาหนดสามารถค้นหา -ไม่มีมาตรฐานในการ ๓ ก.ค. ๕๓ -จัดทามาตรฐานในการ ข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ จัดเก็บข้อมูล จึงทาให้การ จัดเก็บข้อมูล โดยการ ค้นหางานไม่เ ป็นระบบและ กาหนดรหัสงานตาม
๓๐ ก.ย. ๕๔ ผอ.สทก.
สถานะ การ ดาเนินการ* (๖)
วิธีการติดตามและสรุปผล การประเมิน/ข้อ คิดเห็น (๗) -กาชับเจ้ าหน้ าที่ ใ ห้ ปฏิ บั ติ ตามระเบียบฯ ดังนี้ จัดทาทะเบียนคุ ม วั ส ดุ / ค รุ ภั ณ ฑ์ และบั น ทึ กราคา ซื้อทุกครั้ง จั ด ท า รา ย ง า น ท รั พ ย์ สิ น เ สี ย ห า ย / เสื่อมสภาพ ด าเ นิ น การพ่ น ตราเครื่ องหมาย แล ะ อั กษ ร บ น รถยนต์ให้ชัดเจน
-กาหนดรหัสงาน ตาม หมวดหมู่และรหัสงานย่อย -แยกประเภทงานให้ตรง
วัตถุประสงค์ของการควบคุม (๑)
จุดอ่อ นของการควบคุม หรือ ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่ (๒) ไม่ทันต่อความต้องการ
-เพื่อให้กรมพัฒนาที่ดิน มี ม าตรการ -ปัจจุบันมีไวรัสที่เ กิดขึ้นมา ในการรั กษาความปลอดภั ย ด้ า น ให ม่ อยู่ ตลอดเ วลาและ ซอฟท์แวร์ ส าหรั บป้ องกั น ระบบเครือข่าย ไ ว รั ส ที่ ใ ช้ ง า น อ ยู่ ไ ม่ สามารถป้ องกั น ไวรั ส บาง ตัวที่เ กิดขึ้นมาใหม่ได้
งวด/เวลาที่ พบจุดอ่อ น (๓)
๒๐ ส.ค. ๕๓
การปรับปรุง
กาหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ (๕)
(๔) หมวดหมู่และรหั ส งาน ย่อยพร้อมควบคุ ม ให้ มี การบันทึกข้อมูลทันที ๓๐ ก.ย. ๕๔ -นาซอฟท์ แ วร์ ป้องกั น ผอ.สทก. ไวรัสversion ใหม่มาใช้
-จัดทาคู่ มื อการ Update ฐานข้อมู ลไวรั ส ให้ กับ ผู้ใช้งาน (User) -ฝึ กอบรมการ Update ฐานข้อมู ลไวรั ส ให้ กับ ผู้ใช้งาน (User)
สถานะ การ ดาเนินการ* (๖)
วิธีการติดตามและสรุปผล การประเมิน/ข้อ คิดเห็น (๗) ตามหมวดหมู่และรหัสงาน ย่อย -จัดทาโปรแกรมเพื่อบั น ทึ ก งานตามหมวดหมู่และรหั ส งานย่อย -บั น ทึ ก ร หั ส ง า น ต า ม หมวดหมู่และรหัสงานย่ อย ลงโปรแกรม -ทาการติดตั้งโปรแกรม ป้องกันไวรัส Nod๓๒ Smart Security หน่วยงาน ส่วนกลางติดตั้ง เสร็จแล้วจานวน ๑๕ หน่วยงาน หน่วยงานส่วน ภูมิภาคติดตั้ง เสร็จแล้วจานวน ๙๔ หน่วยงาน
วัตถุประสงค์ของการควบคุม (๑)
จุดอ่อ นของการควบคุม หรือ ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่ (๒)
งวด/เวลาที่ พบจุดอ่อ น (๓)
การปรับปรุง (๔)
กาหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ (๕)
๖. ด้านการปฏิบัติการ -เพื่ อใ ห้ เข ตการใ ช้ ที่ ดิ นมี ความ -เ ข ตการใ ช้ ที่ ดิ น ระ ดั บ ๓๐ ก.ย. ๕๓ -จั ดหาเอกสาร/คู่ มื อ / ๓๐ ก.ย. ๕๔ แนวทางต่างๆที่ ชัดเจน ผอ.สพข. ถูกต้องและมีความเป็นไปได้ ใ นทาง ตาบลยังมีข้อมูลไม่ละเอี ย ด เพียงพอ ให้เ พียงพอ ปฏิบัติ -เขตการใช้ที่ดิน เสร็ จ ล่ าช้ า ไม่ทันตามกาหนดเวลา
-ฝึกทักษะความชานาญ ให้แก่ผู้ปฏิบัติ
สถานะ การ ดาเนินการ* (๖)
วิธีการติดตามและสรุปผล การประเมิน/ข้อ คิดเห็น (๗) -จัดทาคู่มือการ Update ฐานข้อมูลไวรัสให้กับ ผู้ใช้งาน (User) -จัดฝึกอบรมหลักสูตรการ สร้างความตระหนักเรื่อง การรักษาความมั่นคง ปลอดภัยสารสนเทศวันที่ ๒๔-๒๕ มี.ค. ๕๔ และ ๒๘ มี.ค. ๕๔ ผู้เ ข้ารับการ อบรมจานวน ๑๘๐ คน -มีการตรวจสอบความ ถูกต้องของข้อมูลจาก หน่วยงานต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องเพื่อนามา ประกอบการจัดทาเขตการ ใช้ที่ดิน
วัตถุประสงค์ของการควบคุม (๑)
-เพื่อให้สามารถจัดหาเมล็ดพันธุ์ที่มี คุณสมบัติตรงตามที่ต้องการ และ แจกจ่ายได้ทันตามเวลาที่เ กษตรกร ต้องการ
จุดอ่อ นของการควบคุม หรือ ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่ (๒)
-เกษตรกรได้รับเมล็ดพันธุ์ ล่าช้าไม่ทันกับช่วงเวลาที่ ต้องการทาให้ไม่สามารถ ใช้เ มล็ดพันธุ์ได้ เมื่อเก็บไว้ เพราะคุณภาพการงอกต่า
งวด/เวลาที่ พบจุดอ่อ น (๓)
การปรับปรุง (๔) -จัดทาตารางเวลาและ กาหนดส่งรายงานเขต การใช้ที่ดินที่ชัดเจด
๓๐ ก.ย. ๕๓ -เร่งรัดการจัดซื้อให้ทัน กับช่วงเวลาที่เ กษตรกร ต้องการ
กาหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ (๕)
๓๐ ก.ย. ๕๔ ผอ.สพข. ผอ.สพด.
สถานะ การ ดาเนินการ* (๖)
วิธีการติดตามและสรุปผล การประเมิน/ข้อ คิดเห็น (๗) -มีการประสานงานกับทาง หน่วยงานที่เ กี่ยวข้องเพื่อ ปรึกษาปัญหาในการ ปฏิบัติงาน -ข้อมูลบางอย่างมีการ ตรวจสอบได้ยากลาบาก เช่นเมื่อมีการเทียบเคียง ข้อมูลชนิดเดียวกันจาก แหล่งที่มาต่างกัน ข้อมูลก็ มีความแตกต่างกัน ซึ่งต้อง ใช้เ วลาในการตรวจสอบ -ดาเนินการซื้อและติดตาม เจ้าหน้าที่ในการให้ คาแนะนาเกษตรกรถึง วิธีการเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้ ประโยชน์ที่ถูกต้อง
วัตถุประสงค์ของการควบคุม (๑)
จุดอ่อ นของการควบคุม หรือ ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่ (๒)
งวด/เวลาที่ พบจุดอ่อ น (๓)
การปรับปรุง (๔) -ให้เ จ้าหน้าที่แนะนา การเก็บเมล็ดพันธุ์ที่ ถูกต้องตามหลัก วิชาการเพื่อให้เ มล็ด พันธุ์มีความงอกสูง
กาหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ (๕)
๗. ด้านวิชาการ -เพื่ อใ ห้ สามารถน าง านวิ จั ย ไ ป -ง า น วิ จั ย บา ง เ รื่ อ ง ไ ม่ ๓๐ ก.ย. ๕๓ -จั ด ป ร ะ ชุ ม ร ะ ด ม ๓๐ ก.ย. ๕๔ แน วคิ ดเ พื่ อ ต่ อย อ ด ผอ.กผง. ประ ยุ ก ต์ ใ ช้ ไ ด้ จ ริ ง และสาม ารถ สามารถน ามาขยายผลสู่ เกษตรกรได้โดยตรง งานวิจัย สานัก ถ่ายทอดสู่เ กษตรกรได้อย่างทั่วถึง ผู้เ ชี่ยวชาญ -เพื่อให้การปฏิบัติงานโครงการวิ จั ย ๓๐ ก.ย. ๕๓ -จั ดประ ชุ ม ท าควา ม ๓๐ ก.ย. ๕๔ เป็ น ไปอย่ างมี ป ระสิ ทธิ ภ าพและ -ข้อเสนอโครงการวิ จั ย ขาด ความสมบูรณ์ เ ข้ า ใ จ วิ ธี ก า ร แ ล ะ ผอ.กผง. สาเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ หลั ก เกณฑ์ ก ารเ ขี ย น สานัก โครงการวิจัยให้ ถูกต้ อง ผู้เ ชี่ยวชาญ และสมบูรณ์ -ส่งผู้จัดทา โครงการวิจัยไป
สถานะ การ ดาเนินการ* (๖)
วิธีการติดตามและสรุปผล การประเมิน/ข้อ คิดเห็น (๗)
-สรุปผลการประเมิ น มี การ นาผลงานวิชาการมาใช้ ใ น พื้ น ที่ มากขึ้ น และผลการ ปฏิบัติงานมี ประสิ ทธิ ภ าพ มากขึ้น -จัดอบรมนักวิชาการเกษตร พนั กง านราชการส่ ว น ที่ เ กี่ ย วข้ อง ใ น การเ ขี ย น โครงการ
วัตถุประสงค์ของการควบคุม
จุดอ่อ นของการควบคุม หรือ ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่
(๑)
งวด/เวลาที่ พบจุดอ่อ น (๓)
(๒)
-เพื่อให้ข้อมูลสารสนเทศภูมิ ศาสตร์ ที่ใช้ในการวิเ คราะห์พื้น ที่ ไ ด้ รับการ ตรวจสอบความถู กต้ องและมี ความ ทันสมัย
-ข้ อ มู ล ส า ร ส น เ ท ศ ๓๐ ก.ย. ๕๓ ภูมิศาสตร์ยังขาดความเป็ น มาตรฐานเดีย วกั น และไม่ เป็นปัจจุบัน
การปรับปรุง
กาหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ (๕)
(๔) อบรมสัมมนาในสาขาที่ เกี่ยวข้อง -ให้ความรู้ ความเข้ าใจ ๓๐ ก.ย. ๕๔ กั บ เ จ้ า ห น้ า ที่ ที่ ผอ.สทก. ปฏิ บั ติ ง าน ใ น เ รื่ อ ง ทฤษฎี และวิ ธี ก ารใ น การจัดการข้อมูลให้เ ป็ น มาตรฐานเดียวกัน
สถานะ การ ดาเนินการ*
วิธีการติดตามและสรุปผล การประเมิน/ข้อ คิดเห็น
(๖)
(๗)
-จัดหมวดหมู่ข้อมูลได้แก่ ๑. ประเภทของแผนที่ ๒.มาตราส่วนของแผนที่ ๓.ปีที่ผลิตแผนที่ ๔.โปรเจ็คชั้นแผนที่ ๕.หม ดหลั ก ฐานควบคุ ม ทางราบ ๖.หน่วยงานที่ผลิตแผนที่ -จั ด ท า Data Dictionary ข อง ข้ อมู ล สารสน เ ท ศ ภูมิศาสตร์ -รวบรวมและจั ดทา Meta Data ของข้อมูลสารสนเทศ ภูมิศาสตร์
วัตถุประสงค์ของการควบคุม
จุดอ่อ นของการควบคุม หรือ ความเสี่ยงที่ยังมีอ ยู่
(๑) (๒) ๘. ด้านการช่าง -กระบวนการงานก่อสร้าง
งวด/เวลาที่ พบจุดอ่อ น (๓)
การปรับปรุง
กาหนดเสร็จ/ ผู้รับผิดชอบ (๕)
(๔)
สถานะ การ ดาเนินการ* (๖)
วิธีการติดตามและสรุปผล การประเมิน/ข้อ คิดเห็น (๗)
-แบบที่ มี อยู่ ไ ม่ ส อดคล้ อง ๓๐ ก.ย. ๕๓ -ทาการปรั บปรุ ง แก้ ไ ข ๓๐ ก.ย. ๕๔ กั บ คว าม ต้ อง กา รข อ ง แบบเ ดิ ม ใ ห้ ตรง กั บ ผอ.กข. เกษตรกรบางราย คว า ม ต้ อ ง ก าร ข อ ง เกษตรกร
-ได้ดาเนิ น การแก้ ไ ขแบบ ตรงกั บความต้ องการของ เกษตรกร
ผู้รายงาน นายธวัชชัย สาโรงวัฒนา ตาแหน่ง อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน วันที่ ๓๐ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๔ *สถานะ การดาเนินการ: = ดาเนินการแล้ว เสร็จตามกาหนด = ดาเนินการแล้ว เสร็จล่าช้ากว่ากาหนด = ยังไม่ดาเนินการ = อยู่ระหว่างดาเนินการ
รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุ มภายใน ของผู้ตรวจสอบภายใน (แบบ ปส.)
แบบ ปส. รายงานผลการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน กรณีมีข้อตรวจพบหรือข้อสังเกตที่มีนัยสาคัญ เรียน อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน ข้าพเจ้าได้สอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของกรมพัฒ นาที่ ดิน ส าหรั บปี สิ้ น สุ ด วั น ที่ ๓๐ กั น ยายน ๒๕๕๔ การสอบทานได้ ปฏิ บัติอ ย่ า ง สมเหตุ ส มผล และระมั ดระวั ง อย่ า ง รอบคอบ ผลการสอบทานพบว่ า การประเมิ น ผลการควบคุ มภายในเป็ น ไปตามวิ ธี ก ารที่ ก าหนด ระบบการควบคุมภายในมีความเพี ย งพอและสามารถบรรลุ วัตถุ ประสงค์ ของการควบคุ มภายใน อย่างไรก็ตาม มีข้อสังเกตที่มีนัยสาคัญ ดังนี้ ๑. การประเมินผลการควบคุมภายในของส่วนภูมิภาค ในบางกิ จกรรมย่ อ ย พบว่ า ยังมีจุดอ่อนหรือความเสี่ ย งของการควบคุ ม ไม่ มีก ารระบุ ความเสี่ ย งในจุ ดที่ เป็นนัยสาคัญ เช่น การจั ดซื้ อ จั ดจ้ า ง ซึ่ ง มี ห น่ วยงานบางแห่ ง ไม่ ปฏิ บัติตาม ระเ บี ย บก าหน ด เ นื่ อ งจากขาดบุ คลากรที่ ป ฏิ บัติ ง านทางด้ า นการพั ส ดุ โดยเฉพาะ ๒. การประเมินผลการควบคุมภายในของหน่วยงานบางแห่ ง ในส่ วนกลาง พบว่ า บางกิจกรรมย่อยยังมีการควบคุมภายในที่ไ ม่ เ พี ย งพอ เช่ น การควบคุ มการใช้ รถราชการประเภทรถส่วนกลาง ยังปฏิบัติไม่ถูกต้องตามระเบียบกาหนด ๓. จากการสอบทานการควบคุ มภายในบางหน่ วยงานยั ง ไม่ เ ข้ า ใจวิ ธี ก ารจั ดทา ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่ า ด้ วยการก าหนดมาตรฐานการ ควบคุมภายใน พ.ศ.๒๕๕๔ ดังนี้ -
ผู้จัดทาระบบควบคุ มภายในของหน่ วยงานบางแห่ ง ยั ง ไม่ เข้ า ใจวิ ธี ก ารจั ด ทาตามแบบรายงานของระเบี ย บฯข้ อ ๖ กาหนด
-
การจัดทารายงานการประเมิ น ผลการปรั บปรุ ง การควบคุ ม ภายในของหน่ วยงานบางแห่ ง ไม่ ครอบคลุ มกิ จกรรมที่ มี จุดอ่อน หรือ ความเสี่ยงที่มีนั ย ส าคั ญ เช่ น งานการเงิ น การ บัญชี เป็นต้น
สาเหตุข้างต้นหน่วยงานได้มีการจั ดทาแผนการปรั บปรุ ง ต่ อ ไปในปี ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ และส่วนจุดอ่อนขององค์กรที่พบในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้ ก าหนด แผนการปรับปรุงในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ แล้ว ซึ่งอยู่ช่วงระหว่างดาเนินการ
นางสาวสาเภา จันตะศิลป์ ตาแหน่ง ผู้อานวยการกลุ่มตรวจสอบภายใน วันที่ ๓๐ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๔
รายงานการประเมินผลการควบคุ มภายในด้วยตนเอง ของกรมพัฒนาที่ดิน (แบบฟอร์มที่ ๑)
แบบฟอร์มที่ ๑ แบบฟอร์มรายงานการประเมินผลการควบคุมภายในด้วยตนเอง ของกรมพัฒนาที่ดิน ตามแนวทาง : การจัดวางระบบการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน การประเมินผลการควบคุมภายใน ขั้นตอนที่ ๑ : ขั้นเตรียมการ ผู้ บริ ห ารของหน่ วยรั บ ตรวจ แ ต่ ง ตั้ ง / ม อ บ ห ม า ย ใ ห้ คณะทางาน/เจ้ า หน้ า ที่ ร ะดั บ อาวุโส รับผิดชอบการก าหนด แนวทางการประเมิ น ผลการ ควบคุมภายในในภาพรวมของ หน่วยรับตรวจ
ผลการดาเนินการ
ตัวอย่างเอกสาร/หลักฐาน
มีการดาเนินการ ไม่มีการดาเนินการ
คาสั่ ง แต่ ง ตั้ ง พร้ อ มระ บุ อานาจหน้าที่
คณะทางาน/เจ้ า หน้ า ที่ ร ะดั บ อาวุ โ สมี ก ารสื่ อ สารสร้ า ง ความรู้ ค วามเข้ า ใ จใ นแน ว ทา ง ก าร ปร ะ เ มิ น ผ ลก า ร ควบคุ ม ภายใน ในภ าพ รวม ของหน่ วยรั บตรวจให้ กั บแต่ ละส่วนงานย่ อ ยที่ รั บผิ ดชอบ ได้ รั บ ทรา บแล ะ สา มาร ถ ด า เ นิ น ก าร ป ระ เ มิ น ก า ร ควบคุ ม ด้ ว ยตน เ อง ได้ ต าม แนวทางการประเมิ น ผลการ ควบคุมภายในที่กาหนด
มีการดาเนินการ ไม่มีการดาเนินการ
แนวทางการประเมิ น ผล การควบคุ ม ภ ายใ น ใ น ภาพรวม ช่องทางการสื่ อ สารต่ า งๆ เช่น - การจัดอบรมสั มมนา - ห นั ง สื อ ซ้ อ ม ค ว า ม เข้าใจ - ห นั ง สื อ เ วี ย น หลั ก เกณฑ์ แ นวทางการ ป ฏิ บั ติ ใ น ก า ร ประเ มิ น ผลเกี่ ย วกั บการ ควบคุมภายใน - intranet
การประเมินผลการควบคุมภายใน ผลการดาเนินการ ตัวอย่างเอกสาร/หลักฐาน ขั้นตอนที่ ๒ : กาหนดงานในความรับผิดชอบของส่วนงานย่อยออกเป็นกิจกรรม/งาน มีการดาเนินการ ส่ วน ย่ อ ย(ส านั ก / กอง /ฝ่ า ย มีการกาหนดกิจกรรมและ ไม่มีการดาเนินการ ต า ม โ ค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง รายงานไว้ในแบบ ปย.๖ ก ฎ ก ร ะ ท ร ว ง แ บ่ ง ส่ ว น ราชการ) มี ก ารก าหนดงาน ออกเป็ น กิ จกรรมหลั ก หรื อ กิ จ ก รร มที่ สนั บ สนุ น ใ ห้ สอดคล้ อ งกั บวั ตถุ ประสง ค์ ของหน่วยรับตรวจ มีการดาเนินการ มี ก ารก าหนดวั ตถุ ประสง ค์ มีการกาหนวั ตถุ ประสงค์ ไม่มีการดาเนินการ ข อ ง กิ จ ก ร ร ม ห ลั ก ห รื อ และรายงานไว้ ใ น แบบ กิ จ ก รร มที่ สนั บ สนุ น ใ ห้ ปย.๒ สอดคล้ อ งกั บวั ตถุ ประสง ค์ ของหน่วยรับตรวจ ขั้นตอนที่ ๓ : จัดเตรียมเครื่องมือการประเมินผล มีการดาเนินการ หน่วยรับตรวจ มีก าจั ดเตรี ย ม แบบประเมิน (ตอบได้มากกว่า ๑ ข้อ) เครื่องมือการประเมิ น ผลการ อง ค์ ป ระ ก อบของ กา ร ข้อ ๑) ควบคุ ม ภายใ นไว้ ล่ วงหน้ า ควบคุ มภ ายใน (โปรดดู ข้อ ๒) เช่น ภาคผนวก ก ตามหนั ง สื อ ข้อ ๓) แน วทาง : การจั ด วาง ๑) จั ด ท า แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ไม่มีการดาเนินการ ระบบการควบคุ มภายใน อง ค์ ป ระ กอบของ การ และ กา ประ เ มิ น ผลการ ควบคุมภายใน ค ว บ คุ ม ภ า ย ใ น ข อ ง ๒) จั ดทาแบบสอบถามการ ควบคุมภายใน ส านั ก งานการตรวจเงิ น แผ่นดิน) ๓) อื่นๆ ได้แก่ ตารางแผนการ ดาเนินงาน การประชุมระดมสมอง
การประเมินผลการควบคุมภายใน
ผลการดาเนินการ
ตัวอย่างเอกสาร/หลักฐาน แบบสอบถามการควบคุ ม ภายใน (โปรดดูภาคผนวก ข ตามหนั ง สื อ แนวทาง : กา รจั ดว า ง ร ะ บ บก า ร ควบคุ ม ภายใ นและ การ ประเ มิ น ผลการควบคุ ม ภายในของสานัก งานการ ตรวจเงินแผ่นดิน) ตา รา ง แผ นก า ร ดาเนินงาน การประชุมและระบุ ประเด็นในการระดม สมอง ฯลฯ
ขั้นตอนที่ ๔ : การดาเนินการประเมินผลการควบคุมภายใน การประเมินผลระดับส่วนงานย่อยโดยวิธีการข้อใดข้อหนึ่งดังต่อไปนี้ มีการดาเนินการ ส่ ว น ง า น ย่ อ ย น า แ บ บ แบบประเมิน ไม่มีการดาเนินการ ประเมิ น องค์ ประกอบของ อง ค์ ป ระ ก อบของ กา ร ก า ร ค ว บ คุ ม ภ า ย ใ น ที่ ควบคุ ม ภายใน ของส่ ว น จั ด เ ต รี ย ม ไ ว้ ม า ท า ก า ร งานย่อย ประ เมิ น เกี่ ย วกั บ การมี อ ยู่ รายง านผลการประเมิ น และความเหมาะสมของห้ า อง ค์ ป ระ ก อบของ กา ร อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก า ร ควบคุ ม ภายใน ของส่ ว น ควบคุ มภายใ นแล้ วน าผลที่ งานย่อย (แบบ ปย.๑) ได้ มาจั ด ทาเป็ น รายงานผล รายง านการประ เมิ น ผล การประ เมิ น องค์ ประ กอบ และ ก ารป รั บ ปรุ ง กา ร ของการควบคุ มภายในของ ควบคุมภายใน ส่วนงานย่อย (แบบ ปย.๑)
การประเมินผลการควบคุมภายใน และน าจุ ดอ่ อ น/ความเสี่ ย งที่ เ กิ ด ขึ้นมาจัดทาแผนการปรั บปรุ ง การ ควบคุมภายในซึ่งจะเป็นส่ วนหนึ่ ง ของรายงานการประเมิ น ผลและ การปรั บปรุ ง การควบคุ มภายใ น (แบบ ปย.๒) ส่ ว น ง าน ย่ อ ยท าการประ เ มิ น กิจกรรมต่ า งๆ ด้ วยแบบสอบถาม การควบคุ มภายในที่ จัดเตรี ย มไว้ เพื่ อ ค้ น หาข้ อ บกพร่ อ ง/จุ ดอ่ อ น / ความเสี่ยงของการควบคุ มภายใน ที่เป็นอยู่ แล้ วน าผลที่ ไ ด้ มาจั ดทา เป็ น ส่ ว นห นึ่ ง ของ รายง าน การ ประเมินผล และการปรั บปรุ ง การ ควบคุมภายใน (แบบ ปย.๒) ส่วนงานย่ อ ย ทาการประเมิ น ผล การควบคุมด้วยตนเอง แล้ วน าผล ที่ได้ มาจั ดทาเป็ น รายงานผลการ ประเ มิ น อง ค์ ป ระ กอบของ การ ควบคุมภายใน (แบบ ปย.๑) และ รายงานการประเมิ น ผลและการ ปรับปรุงการควบคุมภายใน (แบบ ปย. ๒) โดยใ ช้ เ ครื่ อ ง มื อ การ ประเมินผลอื่น ๆ ได้แก่
ผลการดาเนินการ
ตัวอย่างเอกสาร/หลักฐาน (แบบ ปย.๒)
มีการดาเนินการ ไม่มีการดาเนินการ
แบบสอบถามการควบคุ ม ภายในของส่วนงานย่อย รายง าน การประเ มิ น ผล แล ะ ก า รป รั บป รุ ง ก า ร ค ว บ คุ ม ภ า ย ใ น (แบบ ปย.๒)
มีการดาเนินการ ไม่มีการดาเนินการ
แบบเครื่องมือการ ประเมินผลการควบคุ ม ภายในต่าง ๆ เช่น -ตารางแผนการดาเนินงาน ของส่วนงานย่อย -การประชุมและระบุ ประเด็นในการระดมสมอง ของส่วนงานย่อย ฯลฯ -
การประเมินผลการควบคุมภายใน ตารางแผนการดาเนินงาน การประชุมระดมสมอง ......................................
ผลการดาเนินการ
ตัวอย่างเอกสาร/หลักฐาน รายง านผลการประเมิ น อง ค์ ป ระ ก อบของ กา ร ควบคุ ม ภายใน ของส่ ว น งานย่อย (แบบ ปย.๑) รายง านการประ เมิ น ผล และ ก ารป รั บ ปรุ ง กา ร ควบคุมภายใน (แบบ ปย. ๒) -
การประเมินผลระดับหน่วยรับตรวจ คณะทางาน/เจ้า หน้ า ที่ ร ะดั บ อาวุ โ สที่ ไ ด้ รั บ มอบห มาย จ า ก ผู้ บ ริ ห า ร มี ก า ร ประมวลผลการประเมิ น ของ ส่ ว น ง าน ย่ อ ย เ พื่ อ ท าการ ปร ะ เ มิ น ผ ลก า รค วบ คุ ม ภายใน ของห น่ วยรั บตรวจ และนาผลที่ ไ ด้ มาจั ดทาเป็ น รายง าน ผล การป ระ เ มิ น อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ก า ร ควบคุมภายใน (แบบ ปอ.๒) และ รา ยง านแ ผน กา ร ปรับปรุง การควบคุ มภายใน (แบบ ปอ.๓)
มีการดาเนินการ ไม่มีการดาเนินการ
รายง านผลการประเมิ น อง ค์ ป ระ ก อบของ กา ร ควบคุมภายใน (แบบ ปอ. ๒) รายงานแผนการปรั บปรุ ง การควบคุ มภายใน (แบบ ปอ.๓)
นายธวัชชัย สาโรงวัฒนา ตาแหน่ง อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน วันที่ ๓๐ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๔
รายงานผลการวิเคราะห์จุดอ่อน/ความเสี่ ยงของระบบการควบคุ มภายใน ของปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๓ ของกรมพัฒนาที่ดิน (แบบฟอร์มที่ ๒)
แบบฟอร์มที่ ๒ รายงานผลการวิเคราะห์จุดอ่อน/ความเสี่ยงของระบบการควบคุมภายใน ของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ ของกรมพัฒนาที่ดิน ๑. ร้อยละของจานวนจุดอ่อน/ความเสี่ยงของระบบการควบคุ มภายในของปี ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ ที่ยังคงปรากฏอยู่ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔ ว่ามีการเปลี่ ย นแปลงอย่ า งไร เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บจ านวนจุ ดอ่ อ น/ความเสี่ ย งของระ บบการควบคุ มภ ายในทั้ ง หมดของ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยใช้สูตรการคานวณ ดังนี้ จานวนจุดอ่อน/ความเสี่ยงของระบบการควบคุมภายในของปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๓และยังคงมีอยู่เมื่อสิ้น ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔ จานวนจุดอ่อน/ความเสี่ยงของระบบการควบคุมภายในทั้งหมดของปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๓
๐ ๒๒
๑๐๐
๑๐๐
๐%
๒. ดาเนินการวิเคราะห์จุดอ่อน/ความเสี่ ย งของการดาเนิ น งานตามกระบวนการปฏิ บัติง าน/ โครงการ/กิจกรรมตามที่ระบุในข้ อ ๑ โดยให้ ร ะบุ ปัญ หาที่ พ บจากการดาเนิ น การที่ ยั ง ไม่ สามารถทาให้ จุดอ่ อ น/ความเสี่ ย ง ดั ง กล่ า วบรรลุ วัตถุ ประสงค์ ของการควบคุ มและให้ เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาเพื่อหัวหน้าส่วนราชการสั่งการในการน าข้ อ เสนอแนะ ดังกล่าวไปปฏิบัติได้ อย่างเป็นรู ปธรรมต่ อไป โดยกรอกข้อมูลลงในตารางข้า งล่างนี้
ตารางแสดงการวิเคราะห์จุดอ่อน/ความเสี่ยง ของระบบการควบคุมภายในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๓ และยังคงมีอยู่เมื่อสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ กระบวนการปฏิบัติงาน/โครงการ/ กิจกรรมที่ประเมิน และวัตถุประสงค์ของ การควบคุม ๑. ๒. ๓. ๔. -
ปัญหาที่พบจากการ ดาเนินการ
แนวทางการแก้ไขปัญหา (การปรับปรุงการควบคุ ม)
หมายเหตุ : กรมพัฒนาที่ดินได้ดาเนินการติดตามและแก้ ไ ขปรั บปรุ ง จุ ดอ่ อ น/ความเสี่ ย งของระบบ การควบคุมภายในของปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๓ ทุ ก กิ จกรรมไม่ มีคงเหลื อ ในสิ้ น ปี ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
นายธวัชชัย สาโรงวัฒนา ตาแหน่ง อธิบดีกรมพัฒนาที่ดิน วันที่ ๓๐ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๔
ภาคผนวก ก แบบประเมินองค์ประกอบของการควบคุ มภายใน
กรมพัฒนาที่ดิน แบบประเมินองค์ประกอบการควบคุมภายใน ณ วันที่ ๓๐ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๔ จุดที่ประเมิน ความเห็น/คาอธิบาย ๑.สภาพแวดล้อมการควบคุม ๑.๑ ปรัชญาและรูปแบบการทางานของผู้ บริหาร มีทัศนคติ ที่ดีแ ละสนั บสนุ น การปฏิ บัติห น้ า ที่ ภ ายใน ผู้ บ ริ ห ารมี ก ารจั ด ประ ชุ ม องค์กรรวมทั้ ง การติ ดตามผล การตรวจสอบและการ หัวหน้ า ส่ วนราชการประจา ทุกเดื อ น เพื่ อ ติ ดตามผลการ ประเ มิ น ผล ทั้ ง จากการตรวจสอบภ ายใ นและการ ดาเนิ น งาน รวมถึ ง ปั ญ ห า ตรวจสอบภายนอก อุปสรรคการดาเนิน งาน และ มี ทั ศ น คติ ที่เ หมาะ สมต่ อ การรายงานทาง การเ งิ น การติ ด ตามผลการใ ช้ จ่ า ย งบประมาณและการดาเนินงาน งบประมาณ มี ทัศ นคติ แ ละการปฏิ บัติที่เ หมาะสมต่ อ การกระจาย มีการมอบอ านาจเพื่ อ ให้ ก าร อานาจ บริหารงานมีประสิทธิภาพ มีทัศนคติที่เหมาะสมในการจั ดการความเสี่ ย งจากการ วิเคราะห์ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องอย่ า งรอบคอบ และการ พิจารณาวิธีการลดหรือป้องกันความเสี่ยง มีความมุ่งมั่นที่จะใช้การบริ ห ารแบบมุ่ ง ผลสั มฤทธิ์ ของ งาน (Performance – Based Management) ๑.๒ ความซื่อสัตย์และจริยธรรม มี ข้อ ก าหนดด้ า นจริ ย ธรรมและบทลงโทษเ ป็ น ลาย จั ด ท า คู่ มื อ ป ฏิ บั ติ ต า ม ข้อบังคับว่า ด้ วยจรรยาบรรณ ลักษณ์อักษรและเวียนให้พนักงานทุ ก คนรั บทราบเป็ น ข้าราชการกรมพัฒนาที่ดิน รายครั้ง พนั ก งานทราบและเข้ า ใ จลั ก ษณะของพฤติ ก รรมที่ ผู้ บ ริ ห า ร ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ สนั บ สนุ น ใ ห้ มี ก ารอบรม ยอมรับ และไม่ยอมรับ และบทลงโทษตามข้ อ ก าหนด ห ลั ก สู ต ร คุ ณ ธ ร ร ม แ ล ะ ด้านจริยธรรมและแนวทางการปฏิบัติที่ถูก ต้อง จริยธรรมในการทางาน ฝ่ายบริหารส่งเสริมและสนับสนุนวัฒนธรรมองค์ กรที่
จุดที่ประเมิน ความเห็น/อธิบาย มุ่งเน้นความสาคัญของความซื่อ สัตย์และจริยธรรม จัดให้ มีศูนย์รั บเรื่องร้ องเรียน ฝ่ายบริหารมีการดาเนิ น การตามควรแก่ ก รณี เมื่ อ ไม่ มี การปฏิบัติตามนโยบาย วิธีปฏิบัติ หรือระเบียบปฏิบัติ ฝ่ายบริหารกาหนดเป้าหมายการดาเนินงานที่ เ ป็ น ไปได้ และ ไม่ ส ร้ า ง ความกดดั น ใ ห้ แ ก่ พ นั ก ง าน ใน การ ปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายที่เป็นไปไม่ไ ด้ ฝ่ า ยบริ ห ารก าหน ดสิ่ ง จู ง ใจที่ ยุ ติ ธ รรมและ จาเป็ น เพื่ อ ให้ มั่ น ใจว่ า พนั ก งาน จะมี ความซื่ อ สั ต ย์ แ ละถื อ ปฏิบัติตามจริยธรรม ฝ่ายบริหารดาเนินการโดยเร่ ง ด่ วนเมื่ อ สั ญ ญาณแจ้ ง ว่ า อาจมี ปั ญ ห าเ รื่ อ งความซื่ อ สั ต ย์ แ ละจริ ย ธรรมของ พนักงานเกิดขึ้น ๑.๓ ความรู้ ทักษะและความสามารถของบุ คลากร มีการกาหนดระดับความรู้ ทักษะและความสามารถ มีการจัดทาเอกสารคาบรรยายคุ ณ ลั ก ษณะงานของแต่ ละตาแหน่งและเป็นปัจจุบัน มีการระบุและแจ้งให้พนักงานทราบเกี่ยวกั บความรู้ ทักษะและความสามารถที่ ต้องการสาหรั บการ ปฏิบัติงาน มีแผนการฝึกอบรมตามความต้ องการของพนักงาน ทั้งหมดอย่างเหมาะสม ๑.๔ โครงสร้างองค์กร มี ก ารจั ดโครงสร้ า งและสายงาน การบั ง คั บบั ญ ชาที่ ชั ด เ จน และเ ห มาะ สมกั บ ขน าดและลั ก ษณะ การ ดาเนินงานของหน่วยรับตรวจ
จุดที่ประเมิน ๑.๕ การมอบอานาจและหน้าที่ความรับผิดชอบ มี ก ารมอบหมายอ านาจและหน้ า ที่ ความรั บผิ ดชอบ ให้กับบุคคลที่เหมาะสมและเป็นไปอย่ า งถู ก ต้ อ ง และมี การแจ้งให้พนักงานทุกคนทราบ ผู้บริหารมีวิธีการที่มีประสิทธิภาพในการติ ดตามผลการ ดาเนินงานที่มอบหมาย ๑.๖ นโยบายวิธีบริหารด้านบุคลากร มีการกาหนดมาตรฐานหรื อ ข้ อ ก าหนดในการว่ า จ้ า ง บุ ค ล า ก ร ที่ เ ห ม า ะ ส ม โ ด ย เ น้ น ถึ ง ก า ร ศึ ก ษ า ประสบการณ์ ความซื่อสัตย์ และมีจริยธรรม มี ก ารจั ดปฐมนิ เ ทศให้ กั บ ข้ า ราชการให ม่ และจั ด ฝึกอบรมข้าราชการทุ กคนอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง การเลื่อนตาแหน่งและอัตราเงินเดือน และการโยกย้ า ย ขึ้นอยู่กับการประเมินผลการปฏิ บัติงาน การประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานได้ พิ จารณา รวมถึงความซื่อสั ตย์แ ละจริย ธรรม มีการลงโทษทางวิ นั ย และแก้ ไ ขปั ญ หา เมื่ อ มี ก ารไม่ ปฏิบัติตามนโยบายหรื อข้อ กาหนดด้านจริยธรรม ๑.๗ กลไกการติดตามการตรวจสอบการปฏิ บัติงาน มี ค ณะ กรรมกา รตรวจสอบห รื อคณะ กรรมกา ร ตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ และมี ก ารก ากั บ ดูแลการปฏิบัติงานภายในองค์ก รให้ เ ป็ น ไปตามระบบ การควบคุ ม ภ ายใ น ที่ ก าห น ดอย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง และ สม่าเสมอ มี ผู้ ต รวจสอบภ ายใ น และ มี ก ารรายง าน ผลการ ตรวจสอบภายในต่อหัวหน้าส่วนราชการ
ความเห็น/อธิบาย
จุดที่ประเมิน สรุป/วิธีการที่ควรปฏิบัติ สภาพแวดล้อมการควบคุมภายในของกรมพั ฒ นาที่ ดิน ใน ภาพรวมมีความเหมาะสมเพียงพอ มีการจั ดโครงสร้ า งและสาย งานการบังคับบัญชาที่ชัดเจน มีการมอบหมายอ านาจหน้ า ที่ แ ละ ความรั บผิ ดชอบให้ กั บบุ คลากรตรงตามตาแหน่ ง งาน มี ก าร พัฒนาความรู้ความสามารถของบุ คลากรและประเมิ น ผลการ ปฏิบัติงาน โดยพิจารณารวมถึงความซื่ อสั ตย์แ ละจริย ธรรม
ความเห็น/คาอธิบาย
จุดที่ประเมิน ๒.การประเมินความเสี่ยง การประเมิ น ความเสี่ ย งกรมพั ฒ นาที่ ดิน ได้ กาหนดวัตถุประสงค์การดาเนินงานทั้ ง ในระดั บ องค์กร และระดับกิจกรรม (เช่ น แผนงาน หรื อ งานที่ได้รับมอบหมาย) เพื่ อ ทราบกระบวนการ ระบุความเสี่ ย ง การวิ เ คราะห์ และการบริ ห าร ความเสี่ยงว่าเหมาะสม เพียงพอ ๒.๑ วัตถุประสงค์ระดับองค์กร มี ก า ร ก าห น ด วั ตถุ ป ร ะ สง ค์ แ ล ะ เป้าหมายการดาเนินงานของหน่ วยงาน อย่างชัดเจนและวัดผลได้ มีการเผยแพร่และชี้ แ จงให้ บุคลากรทุ ก ระดับทราบและเข้าใจตรงกัน ๒.๒ วัตถุประสงค์ระดับกิจกรรม มี ก ารก าหน ดวั ต ถุ ป ระ สงค์ ของการ ดาเ นิ น ง านใ น ระดั บ กิ จกรรม และ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ นี้ ส อ ด ค ล้ อ ง แ ล ะ สนับสนุนวัตถุประสงค์ระดับองค์ กร วั ต ถุ ป ระ สง ค์ ร ะ ดั บ กิ จ กรรมชั ดเ จน ปฏิบัติได้ และวัดผลได้ บุคลากรทุกคนที่เกี่ยวข้องมี ส่ วนร่ วมใน การกาหนดและให้การยอมรับ ๒.๓ การระบุปัจจัยเสี่ยง ผู้ บริ ห ารทุ ก ระดั บมี ส่ วน ร่ ว มใน การ ระบุและประเมิ น ความเสี่ ย งมี ก ารระบุ และประเมิ น ความเสี่ ย ง ที่ อ าจเกิ ดขึ้ น จากปัจจัยภายในและภายนอก เช่ น การ ปรั บ ลดบุ ค ลากร การใ ช้ เ ทคโน โลยี สมัยใหม่การเปลี่ยนแปลงทางการเมื อง
ความเห็น/คาอธิบาย
กรมพัฒนาที่ดิน มีการกาหนดวั ตถุ ประสงค์ ของ การประเมินความเสี่ ย งและชี้ แ จงแนวทางการ ดาเนินงาน เพื่อป้องกั น หรื อ ลดความเสี่ ย ง โดย ผู้บริหารมีส่วนร่วมในการดาเนินการ
กรมพัฒนาที่ดิน ได้มีคาสั่งแต่งตั้ง คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง เพื่อระบุปัจจั ย เสี่ ย ง วิ เ คราะห์ ความเสี่ ย ง ก าหนดวิ ธี ก ารควบคุ มเพื่ อ ป้ อ งกั น หรือลดความเสี่ยงที่อาจเกิ ดขึ้น
จุดที่ประเมิน เศรษฐกิจและสังคม ๒.๔ การวิเคราะห์ความเสี่ยง มี ก ารก าหน ดเกณฑ์ ใ นการพิ จารณา ระดับความสาคัญของความเสี่ยง มี ก ารวิ เ คราะห์ แ ละประ เ มิ น ระ ดั บ ความส าคั ญ หรื อ ผลกระทบของความ เสี่ยงและความถี่ ที่จะเกิ ดหรื อ โอกาสที่ จะเกิดความเสี่ยง ๒.๕ การก าหนดวิ ธี ก ารควบคุ มเพื่ อ ป้ อ งกั น ความเสี่ยง มีการวิเคราะห์ ส าเหตุ ของความเสี่ ย งที่ อาจเกิดขึ้ น และก าหนดวิ ธี ก ารควบคุ ม เพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยง มีการพิจารณาความคุ้ มค่ า และต้ น ทุ น ที่ จะเกิดขึ้นจากการกาหนดวิธี ก ารควบคุ ม เพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยง มี ก ารแจ้ ง ใ ห้ บุ ค ลากรทุ ก คน ทราบ เกี่ยวกับวิธีการควบคุ มเพื่ อ ป้ อ งกั น หรื อ ลดความเสี่ยง สรุป/วิธีการที่ควรปฏิบัติ กรมพั ฒ น าที่ ดิน มี ก ารประเ มิ น ความ เสี่ ย งตามแนวทางที่ ก าหนดในมาตรฐานการ ควบคุมภายใน โดยผู้ บริ ห ารมี ส่ วนร่ วมในการ ระบุ แ ละประเมิ น ความเสี่ ย ง มี คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงกากับดู แล และรายงานผลการ ปฏิบัติงาน
ความเห็น/คาอธิบาย
จุดที่ประเมิน ความเห็น/คาอธิบาย ๓. ๓.กิจกรรมการควบคุม ๔. ๓.๑ กิจกรรมการควบคุ มได้ก าหนดขึ้น ตาม - - ผู้บริหารมีการกระจายอานาจ ๕. วัตถุประสงค์และผลประเมินความเสี่ ยง - - มีการจัดทาคู่มือ การปฏิบัติงาน - - มีการตรวจสอบการดาเนินงานแต่ละ ๖. ๓.๒ บุคลากรทุกคนทราบและเข้าใจ ๗. วัตถุประสงค์ของกิจกรรมการควบคุ ม - ขั้นตอน ๘. ๓.๓ มีการกาหนดขอบเขตอานาจหน้า ที่และ ๙. วงเงินอนุมัติของผู้บริหารแต่ละระดับไว้ ๑๐. อย่างชัดเจน และเป็นลายลักษณ์อักษร ๓.๔ มีมาตรการป้องกันและดูแลรักษา ทรัพย์สินอย่างรัดกุมและเพียงพอ ๓.๕ มีการแบ่งแยกหน้าที่การปฏิบัติงานที่ สาคัญหรืองานที่เสี่ยงต่อความเสียหาย ตั้งแต่ต้นจนจบ เช่น การอนุมัติ การ บันทึกบัญชี และการดูแลรักษา ทรัพย์สิน ๓.๖ มีข้อกาหนดเป็นลายลักษณ์ อัก ษร และ บทลงโทษกรณีฝ่าฝืนในเรื่องการมี ผลประโยชน์ทับซ้อน โดยอาศัยอานาจ หน้าที่ ๓.๗ มีมาตรการติดตามและตรวจสอบให้ การดาเนินงานขององค์กรเป็นไปตาม กฎระเบียบ ข้อบังคับ และมติ คณะรัฐมนตรี สรุป/วิธีการที่ควรปฏิบัติ กรมพัฒนาที่ ดิน มี กิ จกรรมการควบคุ ม ที่เหมาะสมเพียงพอ โดยมีการกระจายอ านาจ มี การจั ดท าคู่ มือ การปฏิ บัติง าน ก าห นดวิ ธี ก าร ปฏิ บัติง านและ การควบคุ มใ นแต่ ล ะ ขั้ น ตอน สามารถตรวจสอบได้
จุดที่ประเมิน ๕. ๔. สารสนเทศและการสื่อสาร ๖. กรมพั ฒ นาที่ ดิ น จั ดให้ มีร ะ บบสารสนเทศ ครอบคลุมทุกหน่วยงาน ดังนี้ ๗. ๔.๑ จัดให้มีระบบสารสนเทศและสายการ ๘. รายงานสาหรับการบริหารและตัดสินใจ ๙. ของฝ่ายบริหาร ๑๐. ๔.๒ มีการจัดทาและรวบรวมข้ อ มูลเกี่ย วกั บ ๑๑. การดาเนินงานการเงินและการปฏิบัติตาม กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และมติ คณะรัฐมนตรีไว้อย่างถูกต้ อง ครบถ้วน และเป็นปัจจุบัน ๔.๓ มีการจัดเก็บข้อ มูล/เอกสารประกอบการ จ่ายเงินและการบันทึกบัญชีไว้ครบถ้วน สมบูรณ์ และเป็นหมวดหมู่ ๔.๔ มีการรายงานข้อมูลที่ จาเป็น ทั้งจาก ภายในและภายนอกให้ผู้บริหารทุก ระดับ ๔.๕ มีระบบการติดต่อสื่ อสารทั้งภายในและ ภายนอกอย่างเพียงพอ เชื่อถือได้ และทัน กาล ๔.๖ มีการสื่อสารอย่างชัดเจนให้พนักงานทุก คนทราบและเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตน เกี่ยวกับการควบคุ มภายใน ปัญหาและ จุดอ่อนของการควบคุ มภายในที่เกิดขึ้น และแนวทางแก้ไข ๔.๗ มีกลไกหรือช่องทางให้พนักงานสามารถ เสนอข้อคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะในการ ปรับปรุงการดาเนินงานขององค์กร
ความเห็น/คาอธิบาย
จุดที่ประเมิน สรุป/วิธีการที่ควรปฏิบัติ กรมพัฒนาที่ ดิน มี ร ะบบสารสนเทศและ การติ ด ต่ อ สื่ อ สารที่ เ หมาะสมทั น เ วลาและ สะดวกต่อผู้ ใ ช้ ผ่ า นระบบเครื อ ข่ า ย รวมทั้ ง ได้ จั ดทาสื่ อ ประชาสั มพั น ธ์ ใ นรู ปแบบต่ า งๆ ทั้ ง ภายในและภายนอกองค์กร
ความเห็น/คาอธิบาย
จุดที่ประเมิน ๔. ๕. การติดตามประเมินผล ๕. ๕.๑ มีการเปรียบเทียบแผนและผลการ ๖. ดาเนินงาน และรายงานให้ผู้กากับดูแล ๗. ทราบเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างต่อเนื่อง ๘. และสม่าเสมอ ๙. ๕.๒ กรณีผลการดาเนินงานไม่เป็นไปตาม ๑๐. แผน มีการดาเนินการแก้ไขอย่างทัน กาล ๑๑. ๕.๓ มีการกาหนดให้มีการติดตามผลใน ระหว่างการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องและ สม่าเสมอ ๕.๔ มีการติดตามและตรวจสอบการปฏิบัติ ตามระบบการควบคุ มภายในที่ กาหนด ไว้อย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ ๕.๕ มีการประเมินผลความพอเพียงและ ประสิทธิผลของการควบคุ มภายใน และ ประเมินการบรรลุตามวัตถุประสงค์ของ องค์กรในลักษณะการประเมินการ ควบคุมด้วยตนเองและ/หรื อการประเมิน การควบคุมอย่างเป็นอิ สระ อย่างน้อยปี ละครั้ง ๕.๖ มีการรายงานผลการประเมินและ รายงานการตรวจสอบของผู้ตรวจสอบ ภายในโดยตรงต่อผู้กากับดูแ ลและ/หรือ คณะกรรมการตรวจสอบ ๕.๗ มีการติดตามผลการแก้ ไขข้อ บกพร่ องที่ พบจากการประเมินผลและการ ตรวจสอบของผู้ตรวจสอบภายใน ๕.๘ มีการกาหนดให้ผู้บริหารต้ อ งรายงานต่ อ ผู้กากับดูแลทันทีในกรณีที่มีก ารทุ จริ ต
ความเห็น/คาอธิบาย กรมพัฒนาที่ดินดาเนินการ - จัดประชุมคณะกรรมการติ ดตามผลการ ปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายเงิน - จัดประชุมหัวหน้าส่วนราชการ เพื่อติดตาม งานตามแผนงานและนโยบายเป็นประจาทุก เดือน - ตรวจสอบและประเมินผลการทางานติ ดตาม นิเทศและตรวจราชการเพื่อประเมินผลการ ดาเนินงาน - ผู้ตรวจสอบภายในมีการตรวจประเมิน ผล และรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงต่ อ อธิบดี
จุดที่ประเมิน หรือสงสัย ว่ า มี ก ารทุ จริ ต มี ก ารไม่ ปฏิ บัติ ตามกฎ ระ เ บี ย บ ข้ อ บั ง คั บ และ มติ คณะรัฐมนตรีและมีการกระทาอื่ น ที่ อ าจ มีผลกระทบต่อองค์ก รอย่างมีนัย สาคัญ สรุป/วิธีการที่ควรปฏิบัติ กรมพัฒนาที่ดิน มี ก ารติ ดตามประเมิ น ผล โดยมีการตั้งคณะกรรมการติ ดตามงาน และจั ด ให้มีการประชุ มหั วหน้ า ส่ วนราชการทุ ก เดื อ น เพื่ อ ติ ด ตามการด าเ นิ น ง านของกรม มี ก าร ประเมิ น ตนเองและประเมิ น โดยผู้ ตรวจสอบ ภายใน
ความเห็น/คาอธิบาย