26COSTMA4KU68Environmental Management Accounting EMA

Page 1

การบริ หารต้นทุนโดยใช้หลักการบัญชีบริ หารสิ่ งแวดล้อม กรณี ศึกษา บริ ษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน)

โดย

นางสาวกรกช นายฉัตรศรณ์ นายณัฐพงษ์ นายธรรมนูญ นางสาวนัยนา

บุญเกิ ด ลิ ขิตพิ พฒ ั นะกุล ธนพรสวัสดิ์ จิ ตรนาทรัพย์ เชียงประทุม

ปัญหาพิ เศษนี้ เป็ นส่วนหนึ่ งของการศึกษาตามหลักสูตร บริ หารธุรกิ จบัณฑิ ต สาขาวิ ชาการบัญชีบริ หาร คณะวิ ทยาการจัดการ มหาวิ ทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2554


ปญั หาพิเศษ ของ นางสาวกรกช นายฉัตรศรณ์ นายณัฐพงษ์ นายธรรมนูญ นางสาวนัยนา

บุญเกิด ลิขติ พิพฒ ั นะกุล ธนพรสวัสดิ ์ จิตรนาทรัพย์ เชียงประทุม

เรือ่ ง การบริหารต้นทุนโดยใช้หลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม กรณีศกึ ษา บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน)

ได้รบั การตรวจสอบและอนุ มตั ิ ให้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริหาร เมือ่ วันที่ 25 มีนาคม 2555

อาจารย์ทป่ี รึกษาปญั หาพิเศษและ

____________________________

ผูป้ ระสานงานสาขาการบัญชีบริหาร

(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์, บธ.ม.)



(1)

กรกช บุ ญ เกิด และคณะ 2554: การบริห ารต้นทุน โดยใช้ห ลักการบัญ ชีบริหาร สิ่ง แวดล้ อ ม กรณี ศึก ษา บริษัท บางจากปิ โ ตรเลีย ม จ ากัด (มหาชน ) ปริญ ญา บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริหาร อาจารย์ทป่ี รึกษาวิชาปญั หาพิเศษ: ผูช้ ่วยศาสตราจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์ , บธ., บธ. 117 หน้า

การศึกษาครัง้ นี้มจี ุดประสงค์เพื่อศึกษาถึงความเป็ นมาและสาเหตุการนาหลักการบัญชี บริหารสิง่ แวดล้อม (Environmental Management Accounting: EMA) มาประยุกต์ใช้ ศึกษา เกี่ยวกับแนวคิดทัง้ ด้านการบริห าร การนามาประยุกต์ใ ช้ คุ ณ ประโยชน์ ท่ีได้รบั ทัง้ ด้า นการ บริหารจัดการองค์การและการบริหารจัดการต้นทุน ศึกษาแนวทางการประยุกต์ใช้ตามหลักการ บัญชีบริหารสิง่ แวดล้อ ม (EMA) ศึก ษาประสิท ธิภ าพจากการนาเอาหลักการบัญชีบริหาร สิง่ แวดล้อมมาใช้ในการดาเนินงาน รวมถึงการนาหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม (EMA) ไปใช้ เพื่อ การพัฒนาไปสู่สภาวะการพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น มุ่งเน้ นการศึกษาในภาคทฤษฎี และ เงือ่ นไขต่างๆ ทีป่ รับใช้ในปจั จุบนั การบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม (EMA) เป็ นแนวคิดในการจาแนกต้นทุนออกเป็ น 2 แบบ คือ ต้นทุนผลิตภัณฑ์ และต้นทุนทางด้านสิง่ แวดล้อม ซึง่ หลังจากทีม่ กี ารจาแนกต้นทุนทางด้าน สิง่ แวดล้อมออกมา จะมีการปนั ส่วนต้นทุนทางด้านสิง่ แวดล้อมที่เกิดขึ้นเข้าสู่ตวั ผลิตภัณฑ์ท่ี ก่อให้เกิดของเสียผ่านทางศูนย์ต้นทุน ดังนัน้ จึงทาให้องค์ก ารทราบถึงต้นทุนที่แท้จริงของตัว ผลิต ภัณ ฑ์ ท าให้ อ งค์ ก ารสามารถบริห ารจัด การวางแผน และควบคุ ม ต้ น ทุ น ได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ โดยข้อมูลที่ได้รบั จากกระบวนการต่างๆ องค์ก ารยังสามารถไปปรับปรุงและ พัฒนาเพื่อให้การวางแผน และควบคุมในอนาคตเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ อีก รวมถึง การรายงานผลการด าเนิ น งานในด้า นต่ า งๆ รวมถึง ทางด้า นสิ่ง แวดล้อ มที่เ กิด ขึ้น เพื่อ ให้ บุคคลภายนอกรับรูไ้ ด้ ดังนัน้ เห็นได้ว่า “การบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม” นัน้ ประกอบไปด้วยการจาแนกต้นทุน สิง่ แวดล้อม การปนั ส่วนต้นทุนทางด้านสิง่ แวดล้อมที่เกิดขึ้นเข้าไปสู่ตวั ผลิตภัณฑ์ท่ที าให้เกิด ต้นทุนทางด้านสิง่ แวดล้อม รวมถึงการรายงานผลต่อสาธารณชนได้รบั ทราบ


(2) กิ ตติ กรรมประกาศ ปญั หาพิเ ศษในครัง้ นี้ ส าเร็จด้ว ยการช่ ว ยเหลือ จากบุ ค คลและหน่ ว ยงานหลายฝ่าย ทาง ผู้จดั ทาขอขอบพระคุ ณ คุ ณ จงโปรด คชภูม ิ ผู้จดั การส่ว นสิง่ แวดล้อมและชุมชนสัมพันธ์ บริษัท บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) และพนัก งานผู้เ กี่ยวข้อ งทุกท่านที่เ สี ยสละเวลาให้โอกาส ผูจ้ ดั ทาได้เข้าสัมภาษณ์ขอ้ มูล ให้ความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับการจัดทาบัญชีสงิ่ แวดล้อม พร้อมทัง้ ให้ ความอนุเคราะห์ขอ้ มูลทีเ่ กีย่ วข้องและเข้าเยีย่ มชมดูงานทางบริษทั ขอบพระคุ ณ คณาจารย์ อ าจารย์ ป ระจ าสาขาการบัญ ชีบ ริห ารและสาขาอื่ น ทุ ก ท่ า น โดยเฉพาะท่านอาจารย์พงษ์ภคั บานชื่น อาจารย์ประจาสาขาโลจิส ติกส์ ผู้ให้ความช่วยเหลือให้ ความเข้าใจข้อมูลต่างๆ ชี้แนะ และผูช้ ่วยศาสตรจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์ อาจารย์ประจาวิชาปญั หา พิเศษ ผู้ให้วชิ าความรู้ ช่วยเหลือ ชี้แนะ ตลอดจนตรวจแก้ไขและให้กาลังใจให้ปญั หาพิเศษครัง้ นี้ เสร็จ จนสมบูรณ์ คณะผู้จดั ทาขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสูงมา ณ โอกาสนี้ รวมทัง้ ขอกราบ ขอบพระคุณอาจารย์ทุกท่านที่ได้ประสิทธิ ์ประสาทวิชาแขนงต่างๆ ให้ผู้จดั ทาได้เรียนรูแ้ ละประสบ ความสาเร็จในทีส่ ุด ขอขอบพระคุณบิดามารดาทีไ่ ด้อุปการะเงินทุนในการทาการศึกษา สนับสนุ นด้านการศึกษา ดูแ ลอ านวยความสะดวกในเรื่อ งต่ างๆ มาโดยตลอด รวมทัง้ ขอขอบคุ ณ เพื่อ นๆ ปญั หาพิเ ศษ เครือข่ายการบริหารต้นทุนและเพื่อนสาขาการบัญชีบริหารและสาขาอื่นทุกท่านทีค่ อยให้กาลังใจ ให้ คาปรึกษา คาแนะนาและช่วยเหลือมาโดยตลอด ท้ายนี้ทางคณะผู้จดั ทาขอกราบขอบพระคุณทุกท่านที่ได้กล่าวนามและไม่ได้กล่าวนามที่ม ี ส่วนร่วมสนับสนุ น ให้กาลังใจคณะผู้จดั ทามาโดยตลอด คณะผู้จดั ทาหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่า ปญั หา พิเศษฉบับนี้จะมีประโยชน์ทางด้านวิชาการ และมีส่วนช่วยในการสร้างนโยบายหรือแนวปฎิบตั ขิ อง แต่ละธุรกิจให้มกี ารใส่ใจในการบริหารต้นทุน ความรับผิดชอบต่อสังคมด้านสิง่ แวดล้อมและด้านอื่น มากยิง่ ขึ้น เพื่อ ให้ธุ รกิจดาเนินธุ รกิจไปสู่ค วามยังยื ่ น หากเล่ มปญั หาพิเ ศษนี้ มขี ้อ ผิดพลาดหรือ ข้อบกพร่องประการใด คณะผูจ้ ดั ทาต้องขออภัยเป็นอย่างสูงมา ณ ทีน่ ้ี คณะผูจ้ ดั ทา มีนาคม 2555


(3)

สารบัญ

สารบัญตาราง สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนา ทีม่ าและความสาคัญ วัตถุประสงค์ ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั ขอบเขตของการศึกษา วิธกี ารศึกษา นิยามศัพท์ บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้อง สภาวะเศรษฐกิจ สังคมและสิง่ แวดล้อมปจั จุบนั ของประเทศ ในภาพรวมทัง้ ประเทศ ภาคเอกชนผูป้ ระกอบการประเภทต่างๆ ปจั จัยทีส่ ่งผลกระทบศักยภาพการดาเนินงานของหน่ วยงานภาครัฐและเอกชน ความตกต่าทางศีลธรรม การเมืองและคอร์รปั ชัน่ ความล่มสลายและล้มเหลวของระบบทุนนิยม ความตกต่าทางการศึกษา การเปิดเสรีประเภทต่างๆ ความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศน์ คุณลักษณะของธุรกิจของประเทศไทยทีไ่ ม่สามารถตอบรับ สภาวการณ์การเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วของโลก การบริหารต้นทุน ความหมายของต้นทุน ความสาคัญของต้นทุนทีจ่ ะบ่งบอกความยังยื ่ นในการประกอบการ การใช้เครือ่ งมือทางการบริหารเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด แนวคิดการพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น การพัฒนาอย่างยังยื ่ น

หน้ า (6) (9) 1 2 2 3 3 4

5 9 13 14 15 18 19 23 30 31 32 33 35


(4)

สารบัญ (ต่อ) หน้ า บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศทีเ่ กี่ยวข้อง (ต่อ) แนวคิดการพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น (ต่อ) การฟื้นฟูค่านิยม/หลักคุณธรรม ให้มาเป็นหลักการสาคัญทีส่ ุด สาหรับทุกเรือ่ ง การสร้างองค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ การออกแบบระบบสื่อสารและสารสนเทศ การออกแบบกระบวนการดาเนินงาน การบริหารต้นทุนด้วยแนวคิดการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง กรอบแนวคิด บทที่ 3 กรณีศกึ ษา ข้อมูลบริษทั วิสยั ทัศน์และวัฒนธรรมองค์กร โครงสร้างองค์กร การเปลีย่ นแปลงและการพัฒนาของกิจการ ผลิตภัณฑ์และบริการของบริษทั กาลังการผลิตและปริมาณการผลิต กระบวนการในการกลันน ่ ้ามัน วัตถุดบิ และผูจ้ าหน่ายวัตถุดบิ บทที่ 4 ผลการศึกษา ความเป็ นมาและสาเหตุการนาหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม มาประยุกต์ใช้ แนวคิดทัง้ ด้านการบริหาร การนามาประยุกต์ใช้ คุณประโยชน์ทไ่ี ด้รบั ทัง้ ด้านการบริหารจัดการองค์การและการบริหารจัดการต้นทุน แนวทางการประยุกต์ใช้ตามหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม (EMA) ประสิทธิภาพจากการนาเอาหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม มาใช้ในการดาเนินงาน การนาหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม (EMA) ไปใช้เพื่อการพัฒนาไปสู่ สภาวการณ์พฒ ั นาธุรกิจอย่างยังยื ่ น

38 42 44 46 58 72 75 77 78 78 79 80 81 82 83 85 86 86 100 114


(5)

สารบัญ (ต่อ) หน้ า บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา ข้อเสนอแนะ ปญั หาในการจัดทาปญั หาพิเศษ บรรณานุกรม ภาคผนวก

116 116 117


(6)

สารบัญภาพ ภาพที่ 2-1 2-2 2-3 2-4 2-5 2-6 2-7 2-8 2-9 2-10 2-11 2-12 2-13 2-14 2-15 2-16 2-17 2-18 2-19 2-20 2-21 2-22 2-23 2-24

ผลสารวจสภาวะการทางานของประชากรไตรมาสสีป่ ี 2554 ดัชนีความสุขมวลรวมของคนไทยตัง้ แต่ มี.ค.2552 –ม.ค.2555 สัดส่วนการคลอดบุตรของมารดาวัยรุ่น พ.ศ. 2553 จาแนกตามอายุ การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน รายได้เกษตรกร จานวนผูว้ ่างงาน ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปี ขึน้ ไปทีใ่ ช้คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต และโทรศัพท์มอื ถือ ร้อยละของผูบ้ ริโภคทีป่ ระสบปญั หาจากการซือ้ หรือใช้บริการในปี 2554 จานวนคดีอาญาในสังคมไทยรายไตรมาสปี 2551-255 กราฟดัชนีชว้ี ดั ภาพลักษณ์คอรัปชัน่ (CPI) ในปี 2545-2552 ตัวอย่างของระบบทุนนิยม ระดับความรูเ้ รือ่ งความสามารถด้านการอ่าน (literacy), ผลการประเมิน PISA ปี 2009 องค์การการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) นโยบายเขตการค้าเสรี (Free Trade Area: FTA) ประชาคมอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) น้าท่วมครัง้ ใหญ่ในประเทศไทย กราฟแสดงคุณภาพอากาศในกรุงเทพมหานครตัง้ แต่ปี 2535-2554 กราฟแสดงคุณภาพน้าผิวดินทัวประเทศ ่ 2552-2554 ปริมาณขยะมูลฝอยจาแนกตามพืน้ ที่ เปรียบเทียบลักษณะธุรกิจของประเทศไทยทีไ่ ม่สามารถตอบรับกับสภาวะการ เปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจโลก สรุปปจั จัยทีส่ ่งผลกระทบต่อศักยภาพการประกอบการและแนวทางในการ บริหารจัดการ เพื่อเพิม่ ศักยภาพทางการแข่งขัน เครือ่ งมือทางการบริหารเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด สรุปองค์ประกอบการพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น หลักการในการบริหารจัดการองค์กร

หน้ า 5 6 7 9 10 11 11 13 13 14 15 18 20 21 22 25 26 27 28 30 31 32 35 38


(7)

สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ 2-25 2-26 2-27 2-28 2-29 2-30 2-31 2-32 2-33 2-34 2-35 2-36 2-37 3-1 4-1 4-2 4-3 4-4 4-5 4-6 4-7

องค์ประกอบทีส่ าคัญ 6 ประการของหลักธรรมาภิบาล สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แสดงปจั จัยทีน่ าไปสู่การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ ของเสียตามมุมมองตามแนวคิดของ ABC, EMA และ LEAN เปรียบเทียบของเสียตามมุมมองตามแนวคิดของ ABC, EMA และ Lean องค์กรแห่งลีน การขจัดความสูญเปล่าทัง้ 7 ประการ ห่วงโซ่อุปทาน Material Flow ในกระบวนการผลิตสีทาบ้าน การปนั ส่วนต้นทุนของเสีย การปนั ส่วนต้นทุนทางด้านสิง่ แวดล้อมอื่น ขัน้ ตอนการปนั ส่วนค่าใช้จ่ายการผลิตแนวคิด ABC กรอบแนวคิด แผนภูมกิ ารถือหุน้ บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) และบริษทั ทีเ่ ข้าไปลงทุน ภาพแสดงรายการค่าใช้จ่ายทางด้านสิง่ แวดล้อมของ บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 งบแสดงฐานะการเงิน บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 งบกาไรขาดทุน บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) สาหรับปีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 งบแสดงฐานะการเงิน บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (ปรับปรุงใหม่) งบกาไรขาดทุน บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) สาหรับปีสน้ิ สุด วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 แสดงปริมาณน้ามันไม่ได้คุณภาพทีเ่ กิดจากการดาเนินงาน ปี 2001-2010 ของบริษทั รอยัล ดัทช์ เชลล์ จากัด

หน้ า 39 41 42 46 49 51 53 55 65 68 69 71 75 78 93 100 101 103 105 107 110


(8)

สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ 4-8

ความเป็ นไปได้ในการนาไปสู่การพัฒนาอย่างยังยื ่ นของบริษทั

หน้ า 114


(9)

สารบัญตาราง ตารางที่ 2-1 4-1 4-2 4-3 4-4 4-5 4-6 4-7 4-8

General input/output chart of accounts ตารางประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (ล้านบาทต่อตันก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า) ตารางแสดงประเภทของเสีย วิธใี นการกาจัด และผลกระทบ แสดงปริมาณน้ามันไม่ได้คุณภาพทีเ่ กิดจากการดาเนินงาน ปี 2001-2010 ของบริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) แสดงปริมาณการปลดปล่อยสารอินทรียร์ ะเหย (Volatile Organic Compound: VOC) ของบริษทั รอยัล ดัทช์ เชลล์ จากัด ตารางแสดงปริมาณของเสียจากกระบวนการผลิตของ บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ตารางแสดงปริมาณของเสียจากกระบวนการผลิตของ บริษทั รอยัล ดัทช์ เชลล์ จากัด ตารางแสดงปริมาณของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ของ บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ตารางแสดงปริมาณของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ของ บริษทั รอยัล ดัทช์ เชลล์ จากัด

หน้ า 66 96 98 110 111 111 112 112 112


บทที่ 1 บทนำ ที่มำและควำมสำคัญ ปจั จุบนั โลกของธุรกิจที่มกี ารแข่งขันที่รุนแรง แต่ ละองค์การมีการนากลยุทธ์ต่างๆ มาปรับใช้ เพื่อ สร้ างความได้ เ ปรียบในการแข่ งขันเพื่อ ขับเคลื่อ นธุ ร กิจ ของตนให้ เ ป็ นผู้ น าตลาดในแต่ ล ะ อุตสาหกรรม ซึ่งปจั จัยทางลบที่ส่ งผลกระทบต่ อธุ รกิจมีมากมาย ไม่ว่าจะเป็ นปญั หาทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิง่ แวดล้อม ส่งผลต่อการบริหารต้นทุนของแต่ละองค์การ ทีผ่ ู้บริหารจะต้องพิจารณาและ ตัดสินใจวางแผนนโยบายต่างๆ เพื่อให้องค์การนัน้ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การนาหลักธรรมภิบาลที่ดี ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม และสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้นัน้ พร้อมกับกลยุทธ์ท่เี น้ น ความเป็นผูน้ าทางด้านต้นทุน จะสามารถผลักดันองค์การนัน้ ก้าวไปสู่การพัฒนาอย่างยังยื ่ นได้ เพื่อให้ธุรกิจสามารถอยู่รอดได้สงิ่ แรกที่ผู้บริหารควรจะพิจารณาเป็ นอันดับแรกนัน้ คือ การ บริหารต้นทุน ซึ่งเครื่องมือหรือเทคนิคสาหรับการบริหารต้นทุนมีหลากหลาย โดยเฉพาะสาหรับธุรกิจ ผลิต การนาระบบบัญชีต้นทุนตามกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) มาใช้เพื่อจาแนกต้นทุนที่ แท้จริงในแต่ละกิจกรรม การจัดการห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management: SCM) เป็ นแนวคิดที่ เชื่อมโยงเครือข่ายทางธุรกิจตัง้ แต่ขนั ้ ตอนการจัดซื้อจนถึงกระบวนการส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้มกี ารลด ต้นทุนในทุกห่วงโซ่อุปทาน การนาหลักการเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) มาปฏิบตั เิ พื่อให้ องค์การสามารถดาเนินอยู่รอดได้ดว้ ยตัวเอง และการจัดการของเสียทีม่ กี ารจาแนกต้นทุนทีเ่ ป็ นของเสีย ทีเ่ ป็ นต้นทุนทางด้านสิง่ แวดล้อม โดยหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม (Environmental Management Accounting: EMA) และปจั จุบนั วิวฒ ั นาการที่สาคัญที่สามารถทาให้การบริหารต้นทุนเกิดประสิทธิภาพ สูงสุด คือ LEAN เป็นการขจัดความสูญเปล่าทีเ่ กิดในกระบวนการผลิตให้เป็ นศูนย์ สาหรับการบริหารต้นทุนตามแนวคิดการบริหารต้นทุนโดยใช้หลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม นัน้ เป็ นแนวคิดทีน่ าหลักการของระบบบัญชีต้นทุนตามกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) มาปนั ส่วนต้นทุนทางด้านสิง่ แวดล้อม ซึ่งจะตระหนักถึงปญั หาสิง่ แวดล้อมที่มผี ลกระทบต่อธุรกิจ โดยระบุ รายได้และค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับสิง่ แวดล้อมจากระบบบัญชีแบบเดิมออกมา ตลอดจนการประเมินผล และรายงานในรูปแบบใหม่ต่อสาธารณชน จึงทาให้เกิดการศึกษาในหัวข้อ การบริหารต้นทุนโดยใช้ หลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม กรณีศกึ ษา บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน)


2 วัตถุประสงค์ของกำรวิ จยั การศึกษาเรือ่ ง การบริหารต้นทุนโดยใช้หลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม กรณีศกึ ษา บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) โดยกาหนดวัตถุประสงค์ทส่ี าคัญดังต่อไปนี้ 1. เพื่อศึกษาถึงความเป็นมาและสาเหตุการนาหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม (EMA) มา ประยุกต์ใช้ กรณีศกึ ษา บริษทั บางจากปิโตเลียม จากัด (มหาชน) 2. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับแนวคิด ทัง้ ด้านการบริหาร การนามาประยุกต์ใช้ คุณประโยชน์ ท่ี ได้รบั ทัง้ ด้านการบริหารจัดการองค์การและการบริหารจัดการต้นทุน 3. เพื่อ ศึก ษาแนวทางการประยุ ก ต์ ใ ช้ต ามหลัก การบัญ ชีบ ริห ารสิ่ง แวดล้อ ม (EMA) กรณีศกึ ษา บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) 4. เพื่อ ศึกษาประสิทธิภาพจากการนาเอาหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อมมาใช้ในการ ดาเนินงาน กรณีศกึ ษา บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) 5. การนาหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม (EMA) ไปใช้เพื่อการพัฒนาไปสู่สภาวะการ พัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น ประโยชน์ที่ได้จำกกำรศึกษำ ประโยชน์ ท่คี าดว่าจะได้รบั จากการศึกษา การบริหารต้นทุนโดยใช้หลักการบัญชีบริหาร สิง่ แวดล้อม กรณีศกึ ษา บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) มีดงั ต่อไปนี้ 1. เพื่อ ทราบถึงความเป็ นมาและสาเหตุ ของการนาหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อมมา ประยุกต์ใช้ของ บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) 2. คาดว่าผลจากการนาแนวคิดทัง้ ด้านการบริหาร การนามาประยุกต์ใช้ คุณประโยชน์ท่ี ได้รบั ทัง้ ด้านการบริหารจัดการองค์การและการบริหารจัดการต้นทุน อาจเป็ นประโยชน์ ต่อผูท้ ส่ี นใจทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร 3. เพื่อ ทราบถึง การน าแนวทางการประยุ กต์ใ ช้ต ามหลัก การบัญ ชีบ ริห ารสิ่ง แวดล้อ ม (EMA) กรณีศกึ ษา บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) 4. เพื่อทราบถึงประสิทธิภาพจากการนาเอาหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อมมาใช้ในการ ดาเนินงาน กรณีศกึ ษา บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) 5. เพื่อทราบถึงการนาหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม (EMA) ไปใช้เพื่อการพัฒนาไปสู่ สภาวะการพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น


3 ขอบเขตกำรศึกษำ ขอบเขตในการศึกษาเกี่ยวกับ การบริหารต้นทุนโดยใช้หลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม กรณีศกึ ษา บริษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) โดยเข้าสอบถามกับทางบริษทั ถึงนโยบาย ในการจัดทาบัญชีท่เี กี่ยวข้องกับรายการทางด้านสิง่ แวดล้อม ตลอดจนแนวคิดในการลดต้นทุนที่ เกีย่ วข้องกับสิง่ แวดล้อม รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะ เนื่องจาก บริษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) เป็ นบริษทั ทีอ่ ยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรม ปิโตรเลียม ซึง่ เป็นอุตสาหกรรมทีส่ ่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมในหลายๆ ด้าน อีกทัง้ ยังเป็ นบริษทั ชัน้ นาของประเทศและเป็ นอุตสาหกรรมที่เป็ นกาลังสาคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ดังนัน้ การแสดง ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม จึงเป็นสิง่ ทีพ่ งึ กระทาต่อดาเนินธุรกิจ วิ ธีกำรศึกษำ การศึกษาเรือ่ ง การบริหารต้นทุนโดยใช้หลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม กรณีศกึ ษา บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) มีวธิ กี ารศึกษาและค้นคว้า โดยทาการศึกษาต่างๆ ดังนี้ 1. ทาการศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากหนังสือและเอกสารของบริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ก่อนเข้าทาการสัมภาษณ์และศึกษาข้อมูลเชิงลึก 2. ศึกษาข้อมูลปฐมภูม ิ โดย 2.1 จากการสอบถามการนาหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อมมาประยุกต์ใช้ 2.2 จากการสอบถามขัน้ ตอนการดาเนินงานของหน่ วยงานแต่ละฝา่ ย 3. ศึกษาขัน้ ทุตยิ ภูม ิ โดย 3.1 ศึกษาแนวคิดการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม 3.2 วิธกี ารดาเนินธุรกิจอย่างยังยื ่ น 3.3 ข้อมูลทัวไปของบริ ่ ษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) 3.4 ข้อมูลทางการเงินของบริษทั ทีไ่ ด้รบั จากองค์กรและตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 4. เก็บรวบรวมข้อมูล 5. นาข้อมูลมาวิเคราะห์ 6. สรุปผลและนาเสนอผลการศึกษา


4 นิ ยำมศัพท์ ของเสีย (waste) สมฤดี คุวสานนท์ (2555) ให้ความหมายของคาว่าของเสียว่า คือสารหรือ สิง่ ใดๆ ทีเ่ ป็นวัสดุหรือสิง่ ทีป่ ล่อยออกมาหรือสารทีไ่ ม่ตอ้ งการทีไ่ ด้จากกระบวนการผลิตทีต่ ้องการจะ กาจัด ต้นทุน (cost) อนุ รกั ษ์ ทองสุโขวงศ์ (2555) นิยามความหมายของต้นทุนไว้ว่า ต้นทุนคือ มูล ค่ าของทรัพ ยากรที่สูญ เสียไปเพื่อ ให้ได้ผ ลิต ภัณฑ์อ อกมา โดยสามารถวัดออกมาเป็ นหน่ ว ย เงินตราได้ ซึง่ ต้นทุนนัน้ จะถือเป็นค่าใช้จ่ายทีเ่ กิดขึน้ ในการผลิต การบัญชีบริหาร (managerial accounting) สาวิตรี แก้วขวัญ (2553) นิยามความหมายของ การบัญชีบริหารไว้ว่า เป็นการนาข้อมูลทางการบัญชีมาเพื่อใช้ประโยชน์ภายในองค์กร เพื่อช่วยเป็ น ข้อมูลในการตัดสินใจ วางแผน การควบคุมและการประเมินผลของฝ่ายบริหารซึ่งจะตอบสนองการ ใช้ง านของฝ่ายบริห ารโดยตรงเป็ นข้อ มูล ลับเฉพาะส าหรับ เฉพาะฝ่ายบริห ารและระดับหัว หน้ า หน่วยงานภายในองค์กร ไม่เปิดเผยแก่บุคคลภายนอกหรือต่อสาธารณะ การบริหารต้นทุน (cost management) ดวงมณี โกมารทัต (2552) กล่าวว่า การบริหาร ต้นทุนไม่ใช่ศาสตร์ในการคิดต้นทุน แต่เป็ นการบริหารต้นทุ นเพื่อสร้างคุณค่าในผลิตภัณฑ์อย่างมี ประสิทธิภาพ ซึง่ จะทาให้กจิ การเกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน การบัญชีสงิ่ แวดล้อม (Environmental Management Accounting: EMA) กิตติมา อัครนุ พงศ์ (2555) นิยามความหมายของการบัญ ชีบริหารสิ่งแวดล้อ มไว้ว่ า การบัญ ชีท่เี กี่ยวกับผลกระทบและการ ตอบสนองขององค์การธุรกิจที่มผี ลกระทบต่อสภาพแวดล้อม และให้ความสาคัญกับการเปิ ดเผย ข้อมูลเกีย่ วกับสภาพแวดล้อม การพัฒนาทีย่ งยื ั ่ น (Sustainable Development: SD) สถาบันนวัตกรรมวชิรจันทร์ (2549) นิ ย ามความหมายของการพัฒ นาอย่ า งยัง่ ยืน ว่ า เป็ น การเติบ โตอย่ า งสมดุ ล ทัง้ ท าให้เ กิด การ เปลีย่ นแปลงให้ดขี น้ึ โดยจะมุง่ ให้เกิดความสมดุลทัง้ ในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม เพื่อให้ เกิดการดาเนินชีวติ ของทุกคนในปจั จุบนั ตลอดจนเป็ นการพัฒนาที่ปกป้องสิง่ แวดล้อมทัง้ ในระบบ ทัง้ ถิน่ และในระดับโลกการเติบโตอย่างสมดุลทัง้ ทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลงให้ดขี น้ึ โดยจะมุ่งให้เกิด ความสมดุลทัง้ ในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม เพื่อให้เกิดการดาเนินชีวติ ของทุกคนใน ปจั จุบนั ตลอดจนเป็ นการพัฒนาทีป่ กป้องสิง่ แวดล้อมทัง้ ในระบบทัง้ ถิน่ และในระดับโลก


บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง สภาวะเศรษฐกิ จ สังคม และสิ่ งแวดล้อมปัจจุบนั ของประเทศไทย 1. ในภาพรวมทัง้ ประเทศ 1.1 สภาวะเศรษฐกิจ ธนาคารแห่งประเทศไทยได้รายงานว่า เมื่อปี 2554 เศรษฐกิจไทยในสาม ไตรมาสแรกมีการขยายตัวเพิม่ ขึ้น แม้จะได้รบั ผลกระทบทัง้ ภัยพิบตั ิในประเทศ ญีป่ นุ่ และการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก พบว่า แนวโน้มปี 2554 มีการขยายตัวของ เศรษฐกิจ ซึ่งขึ้นอยู่กับระยะเวลาที่ใช้ในการฟื้ นตัวเป็ นปกติของภาคการผลิต มาตรการในการบริหารจัดการน้ าของภาครัฐ และภาวะเศรษฐกิจโลก ซึง่ ส่วนหนึ่ง ขึน้ อยู่กบั การแก้ไขปญั หาหนี้สาธารณะของกลุ่มประเทศยูโร ส่วนอัตราเงินเฟ้อมี แนวโน้มชะลอลงตามราคาน้ามันและสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลก แม้จะมีแรงกดดัน บ้างจากการฟื้ นตัวของภาคเอกชนและผลของนโยบายภาครัฐ เช่น การปรับขึ้น ค่าจ้างขัน้ ต่าและโครงการรับจานาข้าว 1.2 สภาวะสังคม 1.2.1 ด้านการจ้างงาน

ภาพที่ 2-1 ผลสารวจสภาวะการทางานของประชากรไตรมาสสีป่ ี 2554 ทีม่ า: สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ. www.service.nso.go.th. (19 มีนาคม 2555)


6 อัตราการว่างงานอยู่ในระดับต่ าร้อยละ 0.6 แต่จานวนชัวโมงการ ่ ทางานลดลง จึงทาให้เกิดการว่างงานแฝง สถานการณ์ด้านการว่างงานที่ เกิดขึน้ นัน้ ไม่สอดคล้องกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ และยังไม่สะท้อนถึงภาวะ น้ าท่วมในช่วงที่ผ่านมา เนื่องจากช่วงทีเ่ กิดมหาอุทกภัยน้ าท่วม ภาคค้าส่ง และค้าปลีกมีการจ้างงานที่เพิ่มมากขึ้นตามความต้องการในการกักเก็บ สินค้าของผู้บริโภค ผู้ประกอบการบางส่วนอยู่ในช่วงที่ขาดฐานข้อมูลการ จ้างงานทีจ่ ะนามาใช้ในการปรับแผนการจ้างงานได้ การลดการจ้างงานส่วน หนึ่งเป็ นการลดจานวนชัวโมงการท ่ างาน นอกจากนี้แรงงานภาคเกษตร จานวนมากเป็ นแรงงานรอฤดูกาล ซึ่งไม่ได้ถูกนับว่าเป็ นผูท้ ว่ี ่างงาน ดังนัน้ ในภาพรวมจึงเห็นได้ว่าการจ้างงานในไตรมาสทีส่ ป่ี ี 2554 ยังคงเพิม่ ขึน้ จาก ปี 2553 ซึง่ ไม่ตรงกับสภาพความเป็นจริงในช่วงทีเ่ กิดสภาวะน้าท่วม 1.2.2 ด้านสุขภาพ

ภาพที่ 2-2 ดัชนีความสุขมวลรวมของคนไทยตัง้ แต่ มี.ค.2552 –ม.ค.2555 ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ อ้างถึง ศูนย์วจิ ยั ความสุขชุมชน มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ. www.nesdb.go.th. (19 มีนาคม 2555) จากแผนภาพแสดงดัชนีความสุขมวลรวมของคนไทยตัง้ แต่ มี.ค. 2552 - ม.ค. 2555 พบว่า ความสุขมวลรวมของคนไทยลดลงในเดือน มกราคม 2555 อยู่ท่ี 6.66 มีผปู้ ่วยด้วยโรคจิตเวชที่มารับบริการเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง ปญั หาสุขภาพและการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อและไม่ตดิ ต่อ เรือ้ รังอยู่ในระดับสูงและมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง ดังนัน้ ภาครัฐจึง ต้องให้ความรูแ้ ก่ประชาชนในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรค


7 1.2.3 ด้านพฤติกรรมและความเป็นอยูข่ องคน

ภาพที่ 2-3 สัดส่วนการคลอดบุตรของมารดาวัยรุน่ พ.ศ. 2553 จาแนก ตามอายุ ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ อ้างถึง ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สือ่ สาร สานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและ ความมันคงของมนุ ่ ษย์. www.nesdb.go.th. (19 มีนาคม 2555) พฤติกรรมเสี่ยงเรื่องการดื่มแอลกอฮอล์ในกลุ่มเด็กและเยาวชน อายุ 15-24 ปี มีมากขึน้ เนื่องจากสภาพแวดล้อมทีส่ ามารถหาซือ้ ได้ง่ายขึน้ และยังพบว่า คนไทยมีอตั ราการดื่มแอลกอฮอล์ทเ่ี พิม่ สูงมากขึน้ ในแต่ละปี ทางด้านการใช้เทคโนโลยีท่ไี ม่เหมาะสมในเด็กวัยรุ่นมีเพิม่ มากขึน้ โดยมี สาเหตุมาจากการขยายตัวของเครือข่ายทางสังคมในโลกออนไลน์มากขึน้ ส่ งผลต่ อความมันคงและความปลอดภั ่ ยต่ อชีว ิตเด็กและเยาวชนอย่าง มากมาย สัดส่วนการคลอดบุตรของมารดาวัยรุน่ มีแนวโน้มทีเ่ พิม่ สูงขึน้ โดย อัตราการคลอดบุตรของหญิงไทยอายุต่ ากว่า 20 ปี เพิม่ สูงกว่าเกณฑ์ของ องค์การอนามัยโลก และมีสถิติสูงสุ ดในเอเชีย ส่ งผลกระทบต่ อปญั หา สุขภาพมารดาและการพัฒนาการของเด็กที่เกิดมา รวมทัง้ ปญั หาสังคมใน เรือ่ งของการทาแท้งและการเลีย้ งดูทไ่ี ม่เหมาะสมเพิม่ ขึน้ 1.2.4 ด้านความมันคงทางสั ่ งคม สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รายงานว่ า ในไตรมาสที่ 4 ปี 2554 ภาวะสังคมไทยเกี่ยวกับคดีอาญา โดยรวมเพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะยาเสพติด กลุ่มวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี มีการเสพยา


8 ทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยเฉพาะยาไอซ์ ภาครัฐและภาคเอกชนต้องให้ความสนใจพร้อม กับออกกฎหมายทีร่ ะบุถงึ ความรับผิดทีช่ ดั เจนขึน้ ด้านอุบตั เิ หตุจราจรทาง บกมีจ านวนลดลง แต่ อ ันตรายถึงขัน้ เสีย ชีว ิตมีเพิ่มมากขึ้น โดยกลุ่ ม เยาวชนและแรงงานทีม่ พี ฤติกรรมขับขีท่ ไ่ี ม่เหมาะสมมีเพิม่ มากขึน้ ภาครัฐ และเอกชนควรสนับสนุนให้สร้างค่านิยมความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน ในสังคม รวมทัง้ ติดตามและผลักดันให้เกิดการบังคับใช้กฎหมายอย่าง เคร่งครัด 1.3 สภาวะสิง่ แวดล้อม สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม (2553) ได้รายงานสถานการณ์คุณภาพสิง่ แวดล้อมว่า สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมของประเทศไทยในช่วงที่ผ่านมามีปญั หาในหลายด้าน ไม่ว่าจะ เป็ นความเสื่อมโทรมของการใช้ทด่ี นิ ผิดประเภท และการขาดการกระจายการถือ ครองที่ดนิ นอกจากนี้การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ซึ่ง ประเทศไทยต้ อ งใช้ ค วามพยายามในการอนุ ร ัก ษ์ ค วาม หลากหลายทางชีวภาพ โดยสนับสนุ นการศึกษาวิจยั และตระหนักให้ประชาชน เห็นความสาคัญของการอนุรกั ษ์ความหลากหลายทางชีวภาพมากขึน้ ประเทศไทยมีสดั ส่ วนของการปล่ อยก๊ าซเรือนกระจกเป็ นจานวนมาก ั หามลพิษ อากาศด้ า นป ญ ั หาการจัด การขยะที่ย ัง ไม่ ส ามารถ ก่ อ ให้ เ กิ ด ป ญ ดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและทัวถึ ่ ง ซึ่งเป็ นปญั หาสาคัญในเมืองใหญ่ และแหล่งชุมชน ด้านปญั หาสิง่ แวดล้อมชุมชนเกิดจากการเพิม่ ขึน้ ของประชากร ไม่ ส อดคล้ อ งกับ ศัก ยภาพของทรัพ ยากรธรรมชาติ แ ละบริก ารขัน้ พื้น ฐาน เนื่องจากเศรษฐกิจขยายตัวประชากรจึงย้ายถิ่นฐานเข้าสู่เมืองเพิม่ ขึ้น ปญั หา ั หามลพิษต่ างๆ ปญั หาชุ มชนแออัด และ สิ่งแวดล้อมชุ มชนที่ส าคัญ เช่น ป ญ ปญั หามลทัศน์ การดาเนินชีวติ ของมนุษย์กบั สิง่ แวดล้อมจึงเป็ นสิง่ ทีต่ ้องดาเนินควบคู่กนั ไปพร้อมกันอย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ ดังนัน้ การวิเคราะห์การเปลีย่ นแปลงของสภาพ สิง่ แวดล้อมจึงต้องพิจารณาในการจัดรูปแบบของสังคมและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพื่อการดารงชีวติ ของประชาชน ด้วยเหตุน้ีการดาเนินมาตรการด้านการอนุ รกั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงต้องเป็ นไปภายใต้เงื่อนไขของการใช้ ประโยชน์อย่างยังยื ่ นมากกว่าการอนุ รกั ษ์เพียงอย่างเดียว


9 2. ภาคเอกชนผูป้ ระกอบการประเภทต่างๆ 2.1 สภาวะเศรษฐกิจ

ภาพที่ 2-4 การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชน ทีม่ า: ธนาคารแห่งประเทศไทย อ้างถึง สานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. www.bot.or.th. (19 มีนาคม 2555) จากผลกระทบของมหาอุทกภัยในปี 2554 ทีเ่ กิดขึน้ ด้านภาคอุตสาหกรรม ได้รบั ผลกระทบอย่างรุนแรง เนื่องจากอุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรมผลิต ชิน้ ส่วนบางพืน้ ทีโ่ ดนน้าท่วม ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมากมายในปี 2554 ไตร มาสที่ 4 ภาคอุตสาหกรรมได้รบั ผลกระทบอย่างหนักจากการที่น้ าท่วมโรงงานใน บางแห่งของไทย ซึง่ เป็นศูนย์กลางการผลิตอุตสาหกรรมสาคัญ และมีเครือข่ายการ ผลิตทีซ่ บั ซ้อน เช่น ยานยนต์ อิเล็กทรอนิกส์ ฮาร์ดไดร์ฟ และเครื่องใช้ไฟฟ้า ส่งผล ให้การผลิตหยุดชะงัก ขาดแคลนชิน้ ส่วน และส่งผลต่อการคมนาคมขนส่ง


10

ภาพที่ 2-5 รายได้เกษตรกร ทีม่ า: ธนาคารแห่งประเทศไทย อ้างถึง สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. www.bot.or.th. (19 มีนาคม 2555) ทางด้านภาคเกษตรกรรม ถึงแม้ว่าผลผลิตในภาคกลางจะได้รบั ผลกระทบ จากมหาอุทกภัยโดยเฉพาะข้าว แต่ผลผลิตเกษตรอื่นๆ ยังคงขยายตัวตามการเพิม่ พื้นที่เพาะปลูก ซึ่งเมื่อประกอบกับราคาสินค้าเกษตรที่ยงั มีขยายตัวดี ส่งผลให้ รายได้เกษตรกรขยายตัวต่อเนื่องจากปีก่อน สาหรับในภาพรวม ปญั หาในภาคการผลิตทาให้สนิ ค้าขาดแคลน ส่งผลให้ การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนทีข่ ยายตัวดีในช่วงสามไตรมาสแรกต้องสะดุด ลง แม้ปจั จัยสนับสนุ นการบริโภคและการลงทุนจะยังคงอยู่ในเกณฑ์ด ี ไม่ว่าจะเป็ น รายได้ทงั ้ ในและนอกภาคเกษตร ความเชื่อมันของทั ่ ง้ ผูบ้ ริโภคและนักธุรกิจ รวมทัง้ ภาวะการเงินมีการคลายตัวลง 2.2 สภาวะสังคม (ดังแสดงในภาพหน้าถัดไป)


11

ภาพที่ 2-6 จานวนผูว้ ่างงาน ทีม่ า: สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ อ้างถึง สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ. http://social.nesdb.go.th. (19 มีนาคม 2555) ปจั จุ บนั ประเทศไทยก าลังพัฒนาเป็ นประเทศของอุ ตสาหกรรม ท าให้ ภาคเอกชนเข้ามามีบทบาทมากขึ้น แต่ปลายปี 2554 ภาคเอกชนได้ประสบกับ วิกฤตอุทกภัย ทาให้การดาเนินงานต้องหยุดชะงักลง และมีผลกระทบในด้านต่างๆ ที่สาคัญคือ คนงาน จากภาพจะเห็นได้ว่าอัตราการว่างงานมีจานวนที่ลดลงอยู่ใน ระดับต่ าร้อยละ 0.6 เพราะภาคเอกชนต้องใช้แรงงานเพื่อเข้ามาฟื้ นฟูกจิ การให้ สามารถกลับมาดาเนินกิจการได้

ภาพที่ 2-7 ร้อยละของประชากรอายุ 6 ปี ขึน้ ไปทีใ่ ช้คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต และโทรศัพท์มอื ถือ ทีม่ า: สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ. www.nso.go.th. (19 มีนาคม 2555)


12 นอกจากนี้สภาพสังคมในปจั จุบนั เป็ นสังคมเมือง มีรปู แบบการใช้ชวี ติ ทีเ่ ร่ง รีบ รักความสะดวกสบายและความรวดเร็วมากขึน้ ทาให้ภาคเอกชนต้องหันมาให้ ความสนใจเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของกลุ่มผูบ้ ริโภคมากขึน้ เป็ นการสร้าง รายได้และขยายฐานลูกค้า อีกทัง้ ในการสื่อสารที่รวดเร็วขึน้ โดยผ่านเทคโนโลยีท่ี สามารถครอบคลุมทุกกลุ่มผูบ้ ริโภค จากภาพ พบว่า มีประชากรเพิม่ ขึน้ ทุกปีในการ ใช้เทคโนโลยีด้านการสื่อสาร ทาให้ภาคเอกชนจาเป็ นต้องให้ความสาคัญเรื่องการ สื่อสารกับผู้บริโภคมากขึ้น นัน่ หมายถึง ภาคเอกชนต้องแบกรับภาระทางด้าน ต้นทุนเพื่อใช้ในการสื่อสาร โฆษณา หรือใช้ในการติดต่อทาให้สนิ ค้าหรือการบริการ ของภาคเอกชนเข้าถึงกลุ่มผูบ้ ริโภคมากขึน้ 2.3 สภาวะสิง่ แวดล้อม สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2555) ได้ รายงานสภาวะสิ่งแวดล้อมของภาคเอกชนในประเทศไทยว่ า สถานการณ์ ด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมของประเทศไทยในปจั จุบนั มีแนวโน้มเสื่อม โทรมรุนแรงขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงทัง้ ในด้านกายภาพ การใช้ประโยชน์ การ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ส่งผลให้สถานการณ์และแนวโน้ มความเสื่อมโทรม ของทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมทวีความรุนแรง โดยเฉพาะการขาดแคลนน้า รูปแบบและพฤติกรรมการบริโภคทีฟ่ ุ่มเฟื อยทัง้ ในภาคประชาชนและภาคการผลิต ทาให้มกี ารใช้ทรัพยากรอย่างสิน้ เปลือง ไม่คุม้ ค่า และมีปริมาณของเสียเพิม่ ขึน้ ปจั จุบนั ภาคธุรกิจเอกชนได้มสี ่วนสาคัญอย่างยิง่ ในการดูแลรักษาและฟื้นฟู สิง่ แวดล้อม ซึง่ ภาคเอกชนเองได้มกี ารจัดโครงการเพื่อรณรงค์เกี่ยวกับสิง่ แวดล้อม มากมาย รวมไปถึงลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อลดภาวะโลกร้อนอย่างยังยื ่ น ดังนัน้ ภาคเอกชนจาเป็นต้องให้ความสาคัญกับสิง่ แวดล้อมในประเทศไทยเป็นอย่าง มาก เพราะหากไม่มที รัพยากรเหลืออยู่ ภาคเอกชนก็จะไม่สามารถดาเนินการผลิต ได้ อีกทัง้ การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมยังเป็ นการสร้างภาพลักษณ์ ท่ดี ีในสายตา ผูบ้ ริโภคอีกด้วย ภาคธุ รกิ จเอกชนจะต้ อ งด าเนิ น การเปลี่ยนแปลงโลกทัศ น์ เ กี่ย วกับ สิง่ แวดล้อมธรรมชาติอย่างเร่งด่วน ภาคธุรกิจเอกชนจะต้องมีแนวทางที่กระตุ้นให้ บริษทั ต่างๆ ดาเนินโครงการจัดระบบการศึกษาสิง่ แวดล้อมให้แก่บุคลากรทุกระดับ ทุกสาขาและทุกฝา่ ย เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันเกีย่ วกับแนวคิด ค่านิยม และแนว ปฏิบตั เิ กีย่ วกับระบบการจัดการทางสิง่ แวดล้อม


13 ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อศักยภาพการดาเนิ นงานของหน่ วยงานภาครัฐและเอกชน 1. ความตกต่าทางศีลธรรม

ภาพที่ 2-8 ร้อยละของผูบ้ ริโภคทีป่ ระสบปญั หาจากการซือ้ หรือใช้บริการในปี 2554 ทีม่ า: ระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวติ . www.nesdb.go.th. (18 มีนาคม 2555)

ภาพที่ 2-9 จานวนคดีอาญาในสังคมไทยรายไตรมาสปี 2551-2554 ทีม่ า: ระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวติ . www.nesdb.go.th. (18 มีนาคม 2555)


14 เกรียงศักดิ ์ เจริญวงศ์ศกั ดิ ์ (2546) กล่าวว่า ในปจั จุบนั สภาพความเสื่อมถอย ด้านคุณธรรมจริยธรรมในสังคมไทยเริม่ เข้าสู่ภาวะวิกฤต สะท้อนได้จากพฤติกรรมของ คนในสังคม วิกฤตด้านคุณธรรมจริยธรรมทีต่ กต่านัน้ สะท้อนในหลายๆ ด้าน เช่น ปญั หา การขาดความรับผิดชอบของภาคธุรกิจ โดยดูได้จากภาพที่ 2-8 แสดงถึงผลกระทบที่ ผูบ้ ริโภคประสบปญั หาจากการบริโภคผลิตภัณฑ์ ซึง่ ประชาชนยังมีความเสีย่ งสูงในการ บริโภคผลิตภัณฑ์ต่างๆ ปญั หาความรุนแรงที่เพิม่ ขึน้ ในสังคม ปญั หาอาชญากรรมยา เสพติด โดยดูได้จากจานวนคดีอาญาทีม่ จี านวนสูงขึน้ ดังแสดงในภาพที่ 2-9 การมีบุตร ก่อนวัยอันควร การค้าประเวณี เหล่านี้ล้วนเกิดจากศีลธรรมของประชาชนในสังคมที่ เสื่อมโทรมลง ปญั หาด้านคุณธรรมจริยธรรมนี้จะส่งผลโดยตรงต่ อการพัฒนาคน และ สังคมไทยในอนาคตอย่างไม่สามารถหลีกเลีย่ งได้ ซึ่งเป็ นปญั หาสาคัญที่ควรได้รบั การ แก้ไขอย่างเร่งด่วน 2. การเมืองและคอร์รปั ชัน่

ภาพที่ 2-10 กราฟดัชนีชว้ี ดั ภาพลักษณ์คอรัปชัน่ (CPI) ในปี 2545-2552 ทีม่ า: สยามอินเทลลิเจนท์ยนู ิต. www.siamintelligence.com. (18 มีนาคม 2555) ดอกไม้ปลายปื น (2553) กล่ าวว่ า การเมืองมีอิทธิพลต่ อ พัฒนาการทาง เศรษฐกิจของไทยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นักลงทุนในต่างประเทศมีนโยบายชะลอการ ลงทุ นในประเทศไทย รวมถึงตัดสินใจย้ายไปลงทุนที่ประเทศเพื่อนบ้าน เนื่ องจาก


15 การเมืองไทยมีความวุ่นวายไม่สงบนิ่ง เกิดเหตุการณ์ต่างๆ ทางด้านการเมือง ได้แก่ การปฏิวตั กิ ารยึดสนามบินนานาชาติ ทาให้ส่งสินค้าออกไม่ได้ การประกาศใช้ พ.ร.ก. ฉุกเฉิน ทาให้บริษทั ไม่สามารถทาการผลิตมากกว่า 8 ชัวโมงได้ ่ จึงส่งผลกระทบต่อการ ดาเนินธุรกิจ เกิดการจลาจลระหว่างกลุ่มคนเสือ้ สีต่างๆ เกิดการชุมนุ มทางการเมืองขึน้ ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมันของนั ่ กลงทุน ทาให้สร้างความเสียหายต่อเศรษฐกิจ ปญั หาการคอรัปชันของไทยยั ่ งคงเป็ นปญั หาสาคัญที่ทวีความรุนแรงมากขึ้น จากการจัดอันดับภาพลักษณ์คอรัปชันโลกขององค์ ่ การเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ ประเทศไทยตกอันดับจากอันดับที่ 78 ในปี 2553 เป็นอันดับที่ 80 ในปี 2554 ซึง่ วัดจาก ดัชนีช้วี ดั ภาพลักษณ์คอรัปชัน่ (CPI) แสดงในภาพที่ 2-10 ปญั หาคอรัปชันเป็ ่ นตัวกัด กร่อนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจโดยรวม 3. ความล่มสลายและล้มเหลวของระบบทุนนิยม

ภาพที่ 2-11 ตัวอย่างของระบบทุนนิยม ทีม่ า: นิฐนิ นั ท์. http://nithinan-note.exteen.com. (21 มีนาคม 2555)


16 มายเฟิรส์ อินโฟ (2552) ได้กล่าวไว้ว่า สังคมของโลกทุนนิยมนัน้ มีหลักการทีใ่ ห้ เสรีภาพ โดยทีก่ ลไกตลาดจะเป็ นตัวกาหนดความเป็ นไปของทุกสิง่ ทุกอย่าง แม้กระทัง่ ความสัมพันธ์ของผู้คนในสังคม ตลอดจนผลิตภัณฑ์ในตลาดจะถูกกาหนดว่าภายใต้ เงื่อนไขและผลิตภัณฑ์ใดจะถูกแลกเปลี่ยน ตลาดแรงงานจะเป็ นตัวกาหนดคุณสมบัติ และค่ าแรงงาน ทัง้ สินค้าแรงงานและทัก ษะของมนุ ษย์ท่เี ป็ นประโยชน์ จะถู ก นามา แลกเปลี่ยนอย่างเสรีภายใต้เงื่อนไขของตลาด ผลิตภัณฑ์ใดก็ตามจะไม่มคี ุณค่าทาง เศรษฐกิจเลยหากไม่มคี วามต้องการผลิตภัณฑ์นัน้ ในตลาด แรงงานและทักษะของ มนุษย์กเ็ ช่นกันจะไม่มคี ุณค่าอันใดเลยหากไม่มคี วามต้องการของแรงงานและทักษะนัน้ ในตลาด เจ้าของทุนสามารถที่จะจ้างแรงงานและสังการให้ ่ ผู้ใช้แรงงานเหล่านัน้ ผลิต เพื่อให้เกิดผลกาไรจากการลงทุน ผู้ใช้แรงงานจะต้องรับจ้างนายทุน มิฉะนัน้ ก็จะไม่ สามารถหาเลี้ยงชีพได้ โครงสร้างทางเศรษฐกิจเช่นนี้เป็ นผลสะท้อนของระดับการให้ ความสาคัญของคุณค่าต่างๆ โดยมีเงินทุนสังการแรงงาน ่ และแรงงานทาการผลิตสิง่ ของ ทีไ่ ม่มชี วี ติ ทีใ่ นบางครัง้ อาจมีค่ามากกว่าแรงงานของตัวผูผ้ ลิตเองทีย่ งั คงมีชวี ติ อยู่ ั หาต่ างๆ ตามมา ซึ่งการเกิดขึ้นของสังคมแบบทุ นนิ ยมย่ อมก่ อให้เกิดป ญ มากมาย เช่น ปญั หาความไม่สมดุลของความเจริญ เนื่องจากการพัฒนาของสังคมแบบ ทุนนิยมส่งผลต่อการพัฒนาด้านอุตสาหกรรมมากกว่าการพัฒนาด้านการเกษตร จึงทา ให้เกษตรกรหันมาทางานทางด้านอุตสาหกรรมมากขึน้ ตลอดจนปญั หาการพัฒนาอย่าง ไม่ทวถึ ั ่ ง จึงทาให้เกิดการย้ายถิน่ ฐานของคนเพื่อแสวงหาแหล่งชุมชมทีม่ คี วามเจริญที่ มากกว่า จึงส่งผลให้เกิดปญั หาการละทิง้ ถิน่ ฐาน ตลอดจนการพัฒนาอุตสาหกรรมทีม่ าก จนเกินไปย่อมทาให้เกิดปญั หาการกดราคาสินค้าทางการเกษตรให้อยู่ในราคาทีต่ ่ า เพื่อ การทากาไรของพวกนายหน้า ตลอดระยะเวลาการพัฒนาทุนนิยมในสังคมไทยจะพบว่า เป็ นความร่วมมือ ระหว่างทุนท้องถิน่ รัฐและต่างชาติในการแสวงหาผลประโยชน์จากสังคมไทย ทุนไม่ได้ สร้ า งความสั ม พั น ธ์ ท่ี ดี แ ละพั ฒ นาชี ว ิ ต ความเป็ นอยู่ ข องชาวบ้ า น อี ก ทั ้ง กระบวนการพัฒนาทุนนิยม ทาให้ชนชัน้ ล่างในสังคมไทยไม่มกี นิ และอดอยาก ทุนนิยม ไม่ได้นาเอาประชาธิปไตยเข้าสู่สงั คมไทยแต่กลับส่งเสริมระบบเผด็จการเสียด้วยซ้า ดังนัน้ กลุ่มคนทีผ่ ลักดันประชาธิปไตยนัน้ กลับเป็ นพวกปญั ญาชนและชนชัน้ ล่าง ผู้ซ่งึ เสียเปรียบจากการพัฒนาเสียมากกว่า ระบบทุนนิยมมีแนวคิดว่ามนุ ษย์ต้องซื้อ ต้อง ร่ารวย ต้องมีเงินในการซือ้ จับจ่ายใช้สอย เน้นทีอ่ านาจเงินเพื่อความอยูร่ อด ประเทศสหรัฐอเมริกาถือเป็นต้นแบบของเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรี และเริม่ แผ่ ขยายอานาจทางเศรษฐกิจออกไปตามประเทศต่างๆ ทัวโลก ่ โดยเฉพาะหลังจากทีร่ ะบบ สังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ของสหภาพโซเวียตได้พ่ายแพ้และล่มสลายลงไป อเมริกาได้ รุกเข้าสู่ประเทศต่างๆ โดยใช้นโยบายเปิ ด การค้าเสรีและมีส ิทธิเท่าเทียมกันในการ


17 ดาเนินการทางธุรกิจในแต่ละประเทศ ประเทศไหนที่ยงั คงปิ ดไม่เปิ ดให้อเมริกาเข้าไป ลงทุนได้กม็ กั จะถูกโจมตีว่าไม่เป็นประชาธิปไตย หรือถ้าเข้าไปสู่ประเทศนัน้ ๆ แล้วไม่ม ี ช่องโอกาสให้รกุ เข้าไปสู่ธุรกิจสาคัญๆ เพื่อหวังทรัพยากรธรรมชาติจากผูอ้ ่นื อเมริกาก็ มักจะใช้วธิ ดี สิ เครดิตความเชื่อมันในการลงทุ ่ นหรือบอยคอตการส่งสินค้าเข้าไปขายใน อเมริกาเอง ยังไม่รวมถึงการพยายามรุกคืบเข้าสู่ประเทศในแถบตะวันออกกลาง เพื่อมุ่ง ผลประโยชน์ดา้ นพลังงานเป็นหลัก อย่ างไรก็ตามหากมองในแง่ ดีแล้วก็ จะเห็นว่ า ทุ นนิ ยมเสรีนั ้ นช่ วยท าให้ เศรษฐกิจทัวโลกเติ ่ บโต และมีการแข่งขันอย่างเสรี สร้างบุคลากรทีม่ คี วามสามารถขึน้ มา ในระบบเศรษฐกิจเป็ นจานวนมาก แต่ระบบทุนนิยมหาได้มขี อ้ ดีเพียงอย่างเดียวไม่ ทุน นิยมนัน้ ๆ มีข้อเสียพอๆ กับข้อดี โดยเฉพาะในประเทศก าลังพัฒนาทัว่ โลกที่ต่ าง พยายามที่จะใช้นโยบายระบอบทุนนิยมเลียนแบบสหรัฐจนต้องพังทลายทางเศรษฐกิจ มาแล้ว รวมถึงประเทศไทยในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจในปี 2540 การพังทลายลงของระบอบทุนนิยมทีเ่ ชื่อกันว่า เสรีทน่ี าโดยสหรัฐฯ ดังกล่าวนี้ สาเหตุเกิดจากการที่บริษัทต่างๆ ไร้ซ่งึ หลักธรรมาภิบาล มุ่งหวังแต่ผลกาไรและการ ขยายตัวทางธุรกิจ โดยเฉพาะสถาบันการเงินทีต่ อ้ งการลงทุนเพื่อเก็งกาไรและขยายการ ลงทุน เฉพาะอย่างยิง่ การปล่อยสินเชื่อด้านอสังหาริมทรัพย์เป็ นจานวนมากให้กบั ลูกค้า ที่ด้อยคุณภาพโดยไม่คดิ ถึงผลกระทบที่จะตามมา และไม่มกี ารควบคุมดูแลของทาง ภาครัฐ ส่งผลให้เศรษฐกิจเป็นแบบฟองสบู่และแตกในเวลาต่อมา ดูได้จากกรณี เลห์แมน บราเธอร์ส ที่ถอื เป็ นการล้มละลายครัง้ รุนแรงทีส่ ุดของสหรัฐอเมริกาด้วยทรัพย์สนิ 691 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยได้ยน่ื ล้มละลายไปเมือ่ วันที่ 15 กันยายน 2551 การล้มละลาย ครัง้ นี้เกิดจากการทีบ่ ริษทั ในเครือทีช่ ่อื ว่า บีเอ็นซี มอร์ทเกจ (BNC Mortgage) ได้ปล่อย กู้ให้ก ับลูกค้าที่ไม่มคี ุ ณภาพในด้านอสังหาริมทรัพย์ ท าให้เกิดหนี้เสียจานวนมาก ตามมา ส่งผลให้ตอ้ งปิดตัวลง จนส่งผลกระทบมาถึงเลห์แมน บราเธอร์ส ทีต่ ้องรับภาระ และประสบปญั หาการขาดทุนอย่างหนัก ส่งผลให้บริษทั ต้องล้มละลายในที่สุด ปญั หา เหล่านี้เกิดจากการเก็งกาไรในตลาดอนุ พนั ธ์และลูกหนี้ไม่สามารถชาระหนี้ได้ จนทาให้ ั หาสภาพคล่ อ งและเงิน หมุ น เวี ย นในระบบ รวมถึ ง การทุ จ ริต คอรัป ชัน่ เกิ ด ป ญ ผลประโยชน์ทบั ซ้อนภายในองค์การทีเ่ ป็นส่วนสาคัญของการพังทลายของธุรกิจ อย่างไรก็ตามในความเป็ นจริงไม่เพียงแต่ในสหรัฐฯ เท่านัน้ ที่ได้รบั ผลกระทบ จากปญั หาในระบอบทุนนิยมดังกล่าวนี้ แต่ ผลกระทบยังกระจายตัวออกเป็ นลูกโซ่ก่อ ปญั หาเศรษฐกิจในระดับโลกตามมา ส่วนหนึ่งเนื่องมาจากเครื่องมือทางการเงินและการ ลงทุนที่ถูกผลิตขึน้ มาอย่างสลับซับซ้อนและมีบทบาทที่สาคัญยิง่ ในระบอบดังกล่าวนี้ ซึ่งได้ดงึ ดูดให้คนจากทัวทุ ่ กมุมโลกเข้ามาเกี่ยวข้องโดยตรงกับทุนนิยม เมื่อธุรกิจทุน นิยมของสหรัฐฯ เหล่านี้ได้แตกลง ทาให้หนีไม่พ้นที่ผลกระทบจะต้องแผ่ออกเป็ นวง


18 กว้างไปทัวโลกและสร้ ่ างปญั หาอย่างหนัก การเติบโตในแนวทางของทุนนิยมที่นับถือ เงินและความมังคั ่ งเป็ ่ นพระเจ้าโดยไม่มขี อบเขตของสหรัฐฯ ดังกล่าวนี้ จึงเป็ นสิง่ ที่ไร้ ความยังยื ่ น อาจไม่เกินเลยไปนักทีจ่ ะกล่าวได้ว่าการล้มละลายลงของธุรกิจขนาดใหญ่ ของสหรัฐฯ เหล่านี้ได้แสดงนัยยะให้เห็นถึงความอ่อนแอและทรุดโทรมลงของสหรัฐฯ ชาติทค่ี รัง้ หนึ่งได้ภาคภูมใิ จในชัยชนะของระบอบทุนนิยมของตนเองที่มตี ่อสังคมนิยม และคอมมิวนิสต์ทส่ี หรัฐฯ ได้เคยประณามว่าเลวร้ายและต่อสูม้ าอย่างเอาเป็นเอาตาย 4. ความตกต่าทางการศึกษา

ภาพที่ 2-12 ระดับความรูเ้ รือ่ งความสามารถด้านการอ่าน (literacy), ผลการประเมิน PISA ปี 2009 ทีม่ า: สฤณี อาชวานันทกุล. www.tcijthai.com. (21 มีนาคม 2555) สฤณี อาชวานันทกุล (2554) กล่าวว่า การศึกษาไทยอยู่ในขัน้ วิกฤติ เด็กไทย โดยเฉลี่ยมีทกั ษะในการคิดวิเคราะห์และแยกแยะข้อมูลต่ ามาก โดยดูจากการสังเกต พฤติกรรมของเด็กแบบสอบทาง การศึกษาแห่งชาติขนั ้ พืน้ ฐาน (O-NET) หรือโครงการ ประเมินผลนักเรียนนานาชาติแสดงให้เห็นถึงศักยภาพด้านการศึกษาของไทยแย่ลงมาก ส่งผลกระทบต่อศักยภาพทีจ่ ะก่อให้เกิดการแข่งขันกับนานาประเทศ ประเด็นสาคัญคือ การศึกษาของไทยทีแ่ ย่ลงเรือ่ ยๆ นโยบายของประเทศไทยจึง มีการกาหนดรากฐานการศึกษาในด้านภาษา เนื่องจากเด็กไทยมีการใช้ภาษาไทยในทาง


19 ทีผ่ ดิ มีการสะกดคาที่ไม่ตรงตามรูปแบบ และเริม่ ไม่ค่อยให้ความสาคัญกับภาษาไทย ประกอบกับเด็กไทยมีความรูค้ วามเข้าใจในภาษาอังกฤษ ซึง่ เป็ นภาษาสากลทีใ่ ช้ในการ สื่อสารกันทัวโลกนั ่ น้ ค่อนข้างต่ า รวมทัง้ ไม่สามารถใช้ในการสื่อสารได้ดเี ท่าที่ควร และ ผูใ้ หญ่สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้เพียงแค่ประโยคสัน้ ๆ นอกจากนี้เด็กไทย ไม่สามารถนาความรูท้ ไ่ี ด้รบั จากการศึกษามาใช้ในการคิดวิเคราะห์เพื่อนาไปใช้ในการ ปฏิบตั งิ านได้จริง เนื่องจากการศึกษาของไทยในปจั จุบนั ไม่ได้ให้ความรูค้ วามเข้าใจใน แต่ละเรือ่ งอย่างลึกซึง้ เช่น การศึกษาของไทยให้นกั เรียนได้เรียนหนังสือในหลายๆ วิชา ในแต่ละวัน รวมถึงจานวนชัวโมงในแต่ ่ ละรายวิชามีเวลาในการเรียนน้อย และไม่ได้ให้ นักเรียนมีการศึกษาหรือสนับสนุนในเรือ่ งทีน่ กั เรียนให้ความสนใจเป็นพิเศษ และในเรื่อง สถานที่ท่สี นับสนุ นการศึกษาของไทยนัน้ ไม่มสี ถานที่เพียงพอต่อการรองรับจานวน บุคลากรที่ให้ความสนใจเข้าใช้บริการ ซึ่งสถานทีท่ ่พี ร้อมต่อการให้บริการสนับสนุ นใน เรือ่ งการศึกษามักจะอยูใ่ นพืน้ ทีก่ รุงเทพมหานครและตามตัวเมืองทีส่ าคัญเป็นส่วนใหญ่ จากทีไ่ ด้กล่าวมาข้างต้น สิง่ นี้จะเป็ นผลกระทบต่อประเทศไทย หน่ วยงานของ ภาครัฐ และหน่ วยธุ รกิจทุ กหน่ วย เพราะเด็กไทยที่ส าเร็จการศึกษาจะกลายเป็ น ทรัพยากรบุคคลทีเ่ ป็ นเสมือนกาลังสาคัญทีจ่ ะสามารถขับเคลื่อนธุรกิจแต่ละองค์การให้ เกิดประสิทธิภาพ แต่ความตกต่ าที่เกิดขึน้ เหล่านี้มพี ้นื ฐานและต้นทุนทางการศึกษาที่ แตกต่างกันนาไปสู่ความเลื่อมล้าของการศึกษาทีส่ าคัญในการพัฒนานัน่ คือ การพัฒนา บุคลากร ซึง่ บุคลากรจะต้องมีความรูค้ วามเชีย่ วชาญ มีการถ่ายทอดประสบการณ์ซง่ึ กัน และกัน และจะต้องมีการดาเนินการอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ และยังสามารถส่งผลต่อ องค์การธุรกิจให้สามารถขับเคลื่อนไปไกลได้อกี ด้วย 5. การเปิดเสรีประเภทต่างๆ การเปิ ดการค้าเสรีเป็ นการรวมตัวกันของประเทศต่างๆ ที่ตกลงกันทาการค้า เสรีโดยในแต่ละประเทศจะเลือกผลิตสินค้าที่ตนมีประสิทธิภาพในการผลิตสูงสุดและ ต้นทุนต่า ซึง่ การทาการค้าเสรีจะช่วยให้ประเทศต่างๆ ได้รบั ผลประโยชน์เป็ นอย่างมาก ทัง้ การลดการกีดกันทางด้านภาษี และการลดข้อกีดกันทางด้านการค้า ทัง้ นี้มอี งค์การ หลักๆ ทีเ่ ปิดการค้าเสรี ดังนี้


20 5.1 องค์การการค้าโลก

ภาพที่ 2-13 องค์การการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) ทีม่ า: Gladstone Thurston. www.thebahamasweekly.com. (23 March 2012) สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2554) รายงานว่า องค์กรการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) เป็ นเวทีในการเจรจาลดอุปสรรคและข้อกีดกันทาง การค้ า มีก ฎระเบียบการค้ าระหว่ างประเทศ และสร้างความเข้มแข็งให้ แ ก่ กระบวนการยุตขิ อ้ พิพาททางการค้าระหว่างประเทศ นอกจากนี้ยงั ถือเป็ นกลไกการ ตรวจสอบและทบทวนนโยบายการค้าของประเทศสมาชิก การที่ประเทศไทยเป็ น สมาชิกองค์กรการค้าโลกจะส่งผลกระทบทัง้ ในเชิงบวกและเชิงลบให้แก่ธุรกิจใน ประเทศ นอกจากนี้ประเทศไทยยังไม่สามารถกาหนดเงื่อนไขในเรื่องการกาหนด อุ ตสาหกรรมที่มสี ทิ ธินาเข้าได้ เมื่อพิจารณาแล้วจะเห็นได้ว่าประเทศไทยอาจมี ต้นทุนทีเ่ พิม่ มากขึน้ จากการเป็ นส่วนหนึ่งขององค์กรการค้าโลก จากการทีป่ ระเทศ ไทยต้องนาเข้าสินค้ามากขึ้น ทาให้ผู้คนภายในประเทศมีทางเลือกที่หลากหลาย ธุรกิจในประเทศไทยต้องมีการปรับปรุงสินค้าของตนเองให้ดกี ว่าต่างประเทศ ทาให้ เสียต้นทุนในการพัฒนาและปรับปรุงสินค้าของตนเองเพิม่ ขึน้ ภาครัฐจึงต้องมีการ เร่งสร้างความนิยมในสินค้าไทยให้มากขึน้


21 5.2 เขตการค้าเสรี

ภาพที่ 2-14 นโยบายเขตการค้าเสรี (Free Trade Area: FTA) ทีม่ า: Docstoc. www.docstoc.com. (19 March 2012) กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ (2552) รายงานว่า เป็ นการรวมกลุ่ มทาง เศรษฐกิจเพื่อลดภาษีศุ ลกากรระหว่างกันภายในกลุ่มให้เหลือน้ อยที่สุ ด การทาเขต การค้าเสรีนนั ้ จะส่งผลกระทบทาให้ประเทศไทยเกิดการเปลีย่ นแปลงโครงสร้างทางด้าน การค้า ทาให้มกี ารขยายการค้าในระหว่างประเทศทีท่ าเขตการค้าเสรีมากยิง่ ขึน้ ซึง่ โดย ส่วนใหญ่แล้วจะทาให้ประเทศไทยส่งออกสินค้าไปยังประเทศมหาอานาจได้มากขึ้น นอกจากนี้การทาเขตการค้าเสรีจะช่วยให้ประเทศไทยสามารถลดอุ ปสรรคทางด้าน การค้าและการลงทุน และยังถือเป็ นการสร้างพันธมิตรทีจ่ ะเกื้อกูลกันทางเศรษฐกิจกับ ประเทศอื่นอีกด้วย แต่ ท ัง้ นี้ประเทศไทยจะต้องเผชิญกับผลกระทบทางด้านลบที่จะ เกิดขึน้ คือ ทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชนจะต้องให้ความสนใจกับผูผ้ ลิตไทยทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ในการแข่งขันกับต่างประเทศในระดับต่ า ซึ่งจาเป็ นจะต้องเร่งปรับปรุงศักยภาพและ มาตรฐานการผลิต


22 5.3 ประชาคมอาเซียน

ภาพที่ 2-15 ประชาคมอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ทีม่ า: สมาพันธ์โลจิสติกส์ไทย. www.thailog.org. (19 มีนาคม 2555) ประชาคมอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) เป็ นการ รวมกลุ่มของความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีแผนจะ พัฒนาในปี 2558 มีกรอบความร่วมมือที่กาหนดไว้ 3 ส่วนหลัก ซึ่งประกอบด้วย ด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมืองความมันคง ่ และด้านสังคมวัฒนธรรม โดยจะมีการ รวมกันเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน สินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมอื รวมถึงปจั จัยการผลิตต่างๆ สามารถเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีภายใต้กรอบกฎเกณฑ์ กติกาทีต่ กลงกัน ซึง่ เป็ นผลดีต่อทุกฝา่ ยไม่ว่าจะเป็ นผูบ้ ริโภค เกษตรกร นักธุรกิจ ผู้ ส่งออก-นาเข้า และนักลงทุน หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ (2554) ได้รายงานข่าวถึงผลการสารวจของ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยเมื่อปี พ.ศ. 2553 พบว่าเกือบ 80% ของผูป้ ระกอบการ ไทยยังไม่รจู้ กั ประชาคมอาเซียน (AEC) แต่ในปจั จุบนั เริม่ มีการรูจ้ กั มากขึน้ การใช้ ประโยชน์ยงั ค่อนข้างน้อยโดยเฉพาะผูป้ ระกอบการทีเ่ ป็ นธุรกิจขนาดย่อม (SMEs) ดังนัน้ กระทรวงพาณิชย์จงึ ได้มกี ารหารือร่วมกับหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ ภาครัฐและ เอกชน เพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับประชาคมอาเซียนอีก 3 ปี ข้างหน้ า ตัง้ แต่การเจรจาจัดทาแผนงานทีอ่ าเซียนจะก้าวไปสู่ประชาคมอาเซียน รวมถึงการ ปฏิบตั ิตามแผนงาน และแนวทางรองรับผลกระทบ แต่ ปจั จุบ ันประเทศไทยยัง ประสบปญั หาหลายด้าน ทัง้ การเมือง ความปรองดองของคนในชาติ อีกทัง้ ยังต้อง


23 เร่งฟื้นฟูประเทศครัง้ ใหญ่หลังน้าลด ซึง่ ต้องใช้งบอีกมหาศาล และภาคเอกชนทีย่ งั มี ความกังวลเรือ่ งแผนธุรกิจเพื่อรับมือกับน้าท่วมทีอ่ าจเกิดขึน้ อีกครัง้ ต้นทุนการผลิต ทีส่ ูงขึน้ จากการปรับขึน้ ค่าแรงของรัฐบาล ปจั จัยต่างๆ เหล่านี้ส่งผลกระทบต่อการ เตรียมพร้อมของภาครัฐและเอกชนพอสมควร ดังนัน้ ภาครัฐและภาคเอกชนจึงควรมี การบริหารจัดการเพื่อรับมือกับผลกระทบต่างๆ ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา 6. ความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศน์ จากการเพิม่ ขึน้ ของประชากรโลก ประกอบกับกระแสโลกาภิวฒ ั น์ทก่ี ่อให้เกิด การเคลื่อนย้ายทุนทีส่ าคัญ ได้แก่ ประชากรในพื้นที่และประชากรแฝง ทุนการเงิน ทุน อ านาจ ซึ่งการเคลื่อนย้ายทุนดังกล่ าวทาให้เศรษฐกิจและสังคมเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว ภาวะการแข่งขันทางการค้ารวดเร็วและรุนแรงมากขึน้ ทัง้ นี้ประเทศไทยจึงได้รบั ผลกระทบจากการกระแสโลกาภิว ั ฒน์ ท ัง้ ในด้านดีและไม่ ดีอย่ า งหลีกเลี่ยงไม่ ได้ โดยเฉพาะทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรมลง เนื่ องจากการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ้นเปลือง และขาดมาตรฐานในการจัดการสิง่ แวดล้อมอย่าง จริงจัง นาไปสู่การขาดสมดุลของระบบนิเวศน์ 6.1 การล้มเหลวของรัฐบาลในการควบคุม สานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2555) กล่าวว่า สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมของประเทศไทย ได้รบั ผลกระทบ จากการเปลีย่ นแปลงในบริบทโลกและปจั จัยภายในประเทศ ทัง้ เรือ่ งการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมอิ ากาศ การเพิม่ ขึน้ ของประชากร การพัฒนาเศรษฐกิจที่มุ่งการเจริญเติบโตและ การแข่งขันทางด้านการค้าและการลงทุน ทาให้มกี ารใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ เกินศักยภาพในการรองรับของระบบนิเวศ ในขณะทีข่ ดี ความสามารถของการบริหาร จัดการและเครื่องมือทางนโยบาย เช่น ฐานข้อมูล กฎระเบียบ การบังคับใช้กฎหมาย เกี่ยวกับสิง่ แวดล้อม และเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ยงั ไม่สามารถนามาใช้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เนื่องจากการบริหารจัดการทรัพยากรและสิง่ แวดล้อมในปจั จุบนั ยังคง ล้มเหลวขาดการบูรณาการร่วมกันระหว่ างหน่ วยงานรับผิดชอบที่เกี่ยวข้อง การ กาหนดเครือ่ งมือและกลไกในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมเป็ นแบบ แยกส่วน ระบบการจัดการข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมยังไม่เป็ น มาตรฐาน ไม่ครอบคลุม และขาดการเชื่อมโยงกับข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคม กฎหมายมีลกั ษณะของการบริหารจัดการทรัพยากรรายสาขา ขาดประสิทธิภาพใน การบังคับใช้ ขาดความเป็ นธรรม และไม่โปร่งใส นอกจากนี้ยงั มีปญั หาการทุจริต คอร์รปั ชัน่ และความไม่เป็ นธรรมในการจัดสรรทรัพยากร เช่น ทีด่ นิ น้ า และป่าไม้


24 เป็นต้น ส่งผลให้เกิดความไม่ไว้วางใจในการบริหารจัดการของภาครัฐ ในขณะทีเ่ กิด ช่องว่างทางนโยบายในการบูรณาการระหว่างการอนุ รกั ษ์สงิ่ แวดล้อมกับการพัฒนา เศรษฐกิจ ประกอบกับความอ่อนแอของกลไกการจัดการสิง่ แวดล้อมและการบังคับ ใช้กฎหมาย และความไม่มปี ระสิทธิภาพของเครื่องมือกากับและควบคุมในการ บรรเทาผลกระทบของโครงการขนาดใหญ่ ส่ งผลให้เกิดผลกระทบมากมายจาก โครงการพัฒนาเศรษฐกิจขนาดใหญ่ของทัง้ ภาครัฐและเอกชน อีกทัง้ รัฐบาลไม่ให้ ความส าคัญกับการจัดการสิ่งแวดล้อมมากเท่ าที่ควร ซึ่งหากเปรียบเทียบกับ ต่างประเทศ เช่น ประเทศอังกฤษ ญี่ป่นุ หรืออเมริกา ทีใ่ ห้ความสาคัญกับการดูแล สิง่ แวดล้อมและการพัฒนาอย่างยังยื ่ น ทัง้ ในภาครัฐและภาคธุรกิจ ดังจะเห็นได้จาก การนาหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม (EMA) เข้ามาใช้เป็นมาตรฐานในภาคธุรกิจ รวมไปถึงการจัดทาบัญชีเพื่อการพัฒนาอย่างยังยื ่ น (accounting for sustainability) เป็ นต้น ซึ่งปญั หาที่เกิดขึน้ เหล่านี้ส่งผลกระทบต่อความเป็ นอยู่ของประชาชนและ คุ ณภาพสิ่งแวดล้อม และน าไปสู่ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม ส่งผลต่อความสมดุลของระบบนิเวศโดยรวมอย่างต่อเนื่อง 6.2 ทรัพยากรธรรมชาติ สานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2554) รายงานว่า ทรัพยากรทางธรรมชาติของประเทศไทยมีความเสื่อมโทรมอย่างต่อเนื่องและเกิด ปญั หาความขัดแย้งของการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติมากขึน้ เห็นได้จาก พืน้ ทีป่ า่ ไม้ยงั คงถูกบุกรุกอย่างต่อเนื่อง จากการเพิม่ ขึน้ ของประชากรซึง่ ต้องการใช้ ประโยชน์จากทีด่ นิ ในการผลิตทางการเกษตร เพื่อการอยูอ่ าศัยและพัฒนาโครงสร้าง พืน้ ฐานภายใต้ทรัพยากรทีด่ นิ มีอยู่อย่างจากัด อีกทัง้ ความเสื่อมโทรมของคุณภาพ ดินที่เกิดจากดินเปรีย้ วและดินเค็ม รวมทัง้ การสูญเสียพืน้ ที่บริเวณชายฝงั ่ ปญั หา เหล่านี้ส่งผลกระทบต่อความสมดุลทางระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งเป็ นแหล่ งพึ่งพิงเพื่อการด ารงชีว ิตของชุ มชน และเป็ นพื้นฐานการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศในอนาคต แต่รฐั บาลก็ไม่สามารถบริหารจัดการที่ดินให้ม ี ประสิทธิภาพได้ ทาให้การใช้ท่ดี นิ ไม่ตรงตามศักยภาพของพื้นที่และพื้นที่ป่าไม้ ลดลงและถูกทาลายเหลือเพียงร้อยละ 33.56 ของพืน้ ทีท่ งั ้ ประเทศ เกิดความขัดแย้ง ในการใช้ประโยชน์ และไม่สามารถแก้ไขปญั หาผู้ไร้ท่ที ากินได้อย่างยังยื ่ น ส่วน ั ่ ดการเสื่อมโทรมลงอย่างต่อเนื่องเช่นกัน เนื่องจาก ทรัพยากรทางทะเลและชายฝงเกิ พืน้ ทีป่ า่ ชายเลนและแนวปะการังลดลงจากการถูกบุกรุกทาลาย มีการเปลีย่ นสภาพ ั ่ ความรุนแรงมากขึน้ ในขณะทีท่ รัพยากร ไปใช้ประโยชน์ อ่นื ๆ การกัดเซาะชายฝงมี ประมงลดลงทัง้ ในเชิงปริมาณ ชนิด และขนาด ส่วนการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าชายฝงั ่ ขยายตัวต่ อเนื่อง แต่ยงั คงสร้างปญั หาคุณภาพสิง่ แวดล้อมด้านทรัพยากรแร่และ


25 พลังงาน เนื่องจากยังคงมีความต้องการใช้เพิม่ ขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทาให้เกิดการ พัฒนาทรัพยากรเพื่อรองรับความต้ องการดังกล่ าว ก่ อให้เกิดผลกระทบต่ อ สิง่ แวดล้อม และทรัพยากรน้ ามีแนวโน้ มขาดแคลนเพิม่ ขึ้น จากการประมาณการ ความต้องการใช้น้ าของประเทศทีเ่ พิม่ ขึน้ เฉลีย่ ปีละ 1,281 ล้าน ลบ.ม. ในระยะ 3 ปี ข้างหน้า และปีละ 2,178 ล้าน ลบ.ม. ในระยะ 5 ปีถดั ไป 6.3 ปญั หาน้ าท่วมใหญ่ของประเทศ

ภาพที่ 2-16 น้าท่วมครัง้ ใหญ่ในประเทศไทย ทีม่ า: กรุงเทพธุรกิจออนไลน์. www.bangkokbiznews.com. (19 มีนาคม 2555) แม้สาเหตุของอุทกภัยครัง้ ใหญ่ท่สี ุดในประวัตศิ าสตร์ของประเทศไทยจะเกิด จากภัยธรรมชาติอย่างพายุโซนร้อน ลมมรสุม และร่องความกดอากาศต่ ากาลัง ทาให้ม ี ฝนตกชุ กจนเกิดน้ าท่ วมต่ อเนื่ อง น าไปสู่ความเดือดร้อนในพื้นที่ภาคเหนื อ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกของประเทศ และได้รบั อิทธิพลจากพายุโซน ร้อนพร้อมกับไต้ฝนุ่ พัดเข้าสู่ประเทศไทยตอนบนจนมีฝนตกหนักถึงหนักมากเป็ นระยะๆ จึงเกิดเหตุการณ์น้ าท่วมอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน แต่ทงั ้ นี้อกี สาเหตุหนึ่งทีส่ าคัญคือ การบริหารจัดการน้ าที่ไร้ประสิทธิภาพ ขาดการกาหนดผังเมืองและการควบคุมการใช้ ประโยชน์ท่ดี นิ ทีด่ ี ทาให้ทว่ี ่างรับน้ าต่างๆ ถูกแทนที่ด้วยการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน และถนนหนทาง ซึ่งเป็ นการตอกย้าความล้มเหลวของรัฐบาลในควบคุมและป้องกัน ปญั หาน้ าท่วมที่เกิดขึน้ จากปญั หาน้ าท่วมประเทศครัง้ ใหญ่ ท่เี กิดขึน้ นัน้ กองติดตาม ประเมินผล (2554) เปิดเผยว่า พืน้ ทีท่ ป่ี ระสบอุทกภัยและพืน้ ทีท่ ม่ี กี ารประกาศเป็ นพืน้ ที่ ประสบภัยพิบตั ิกรณีฉุกเฉินตัง้ แต่ปลายเดือนกรกฎาคม – 7 ธันวาคม ปี 2554 รวม ทัง้ สิ้น 64 จังหวัด มีผู้เสียชีวติ 675 ราย สูญหาย 3 คน ผลกระทบจากอุทกภัยสร้าง


26 ความเสียหายต่อทรัพย์สนิ และรายได้ของประเทศ ประมาณ 1.3 ล้านล้านบาท (ข้อมูล วันที่ 8 ธันวาคม ปี พ.ศ. 2554) ทัง้ ยังส่งผลกระทบไปยังหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะระบบ นิเวศวิทยาทางทะเล เพราะการระบายน้ าเสียลงสู่ทะเลมีผลต่อการดารงชีพและสัตว์น้ า แหล่งพืน้ ทีแ่ ละพืชผลทางเกษตรได้รบั ความเสียหาย สุขภาพอนามัยของประชาชนแย่ลง เกิดโรคระบาด ทรัพยากรธรรมชาติถูกทาลาย เกิดแผ่นดินถล่ม และดินขาดปุ๋ยธรรมชาติ เกิดความเสียหายต่อระบบบาบัดน้าเสียและระบบกาจัดขยะมูลฝอย เป็นต้น 6.4 มลพิษ เขตเมือง/เขตอุตสาหกรรม/สารตกค้างไปทัวประเทศ ่ ไทยพับลิก้า (2554) อ้างถึง กรมควบคุมมลพิษ ซึง่ เปิดเผยถึงสถานการณ์ มลพิษของประเทศไทยปี 2554 โดยมีรายละเอียดสถานการณ์ต่างๆ ดังนี้ 6.4.1 มลพิษทางอากาศและเสียง

ภาพที่ 2-17 กราฟแสดงคุณภาพอากาศในกรุงเทพมหานครตัง้ แต่ปี 2535-2554 ทีม่ า: ไทยพับลิกา้ (2554) อ้างถึง กรมควบคุมมลพิษ. www.thaipublica.org. (19 มีนาคม 2555) ไทยพับลิก้า (2554) อ้างถึง วิจารย์ สิมาฉายา อธิบดีกรมควบคุม มลพิษ ซึ่งได้สรุปสถานการณ์มลพิษของประเทศไทยประจาปี 2554 ว่า สถานการณ์คุณภาพอากาศของประเทศไทยมีแนวโน้มดีขน้ึ เมื่อเทียบกับปี ทีผ่ ่านมา ปญั หาหลักยังคงเป็ นฝุน่ ละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอนหรือฝุ่น ขนาดเล็กในบริเวณริมถนนในกรุงเทพมหานครซึ่งลดลงจากปี ท่แี ล้ว ดัง ภาพที่ 2-17 ปญั หารองลงมาคือ ก๊าซโอโซนและก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์


27 ซึง่ พบเกินมาตรฐานบริเวณริมถนนในบางพืน้ ทีข่ องกรุงเทพมหานคร ส่วน สารมลพิษชนิดอื่น ได้แก่ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และคาร์บอนมอนอกไซด์ ยังอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ด้านคุณภาพอากาศในเขตปริมณฑลพบว่า สมุทรปราการ นนทบุร ี และปทุมธานี ยังคงมีปญั หาฝุ่นขนาดเล็กมีค่าเกิน มาตรฐาน ส่วนต่างจังหวัดปญั หาหลักยังคงเกิดจากฝุ่นขนาดเล็กและก๊าซ โอโซน โดยพืน้ ทีท่ ม่ี ปี ญั หาฝุ่นขนาดเล็กมากทีส่ ุด ได้แก่ สระบุร ี รองลงมา ได้แก่ พะเยา พระนครศรีอยุธยา และเชียงราย สาหรับก๊าซโอโซนพบว่า มี ค่าเกินมาตรฐานในหลายพื้นที่ โดยพื้นที่ท่พี บเกินมาตรฐานมากที่สุดคือ พระนครศรีอยุธยา ส่วนสถานการณ์สารอินทรียร์ ะเหยในพืน้ ที่มาบตาพุด พบว่า มีปญั หาสารอินทรียร์ ะเหย (VOCs) 4 ชนิดมีค่าเกินมาตรฐาน ได้แก่ สารเบนซีน สาร 1,3-บิว ทาไดอีน สาร 1,2- ไดคลอโรอีเทน และสาร คลอโรฟอร์ม ซึง่ เกินมาตรฐานในบางช่วงเวลาและบางสถานี ด้านสถานการณ์ระดับเสียงริมเส้นทางจราจรและพื้นที่ทวไปใน ั่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีแนวโน้มลดลงจากปีท่ผี ่านมา โดยระดับ เสียงเฉลีย่ (Leq) 24 ชัวโมงอยู ่ ใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน 6.4.2 มลพิษทางน้า

ภาพที่ 2-18 กราฟแสดงคุณภาพน้าผิวดินทัวประเทศ ่ 2552-2554 ทีม่ า: ไทยพับลิกา้ (2554) อ้างถึง กรมควบคุมมลพิษ. www.thaipublica.org. (19 มีนาคม 2555)


28 ก่อนเหตุการณ์น้ าท่วมใหญ่ช่วงเดือนกันยายนพบว่า คุณภาพน้ า ผิวดินอยู่ในเกณฑ์ดี ร้อยละ 30 พอใช้ ร้อยละ 42 และเสื่อมโทรม ร้อยละ 28 ตามล าดับ ซึ่งเมื่อ เปรียบเทียบคุ ณภาพน้ า 5 ปี ย้อ นหลัง พบว่ า คุณภาพน้าโดยรวมมีแนวโน้มดีขน้ึ ยกเว้นแหล่งน้ า 3 แหล่ง ได้แก่ ระยอง ตอนบน พังราดตอนบน และปราจีนบุร ี เสื่อมโทรมลง สาเหตุมาจากความ สกปรกในรูปสารอินทรีย์ (BOD) เพิม่ ขึน้ ส่วนแม่น้ าสายหลักทีม่ คี ุณภาพ น้าอยูใ่ นเกณฑ์เสื่อมโทรม ได้แก่ เจ้าพระยาตอนล่าง ท่าจีนตอนกลาง และ ท่าจีนตอนล่าง มีสาเหตุหลักมาจากน้ าเสียชุมชน ทัง้ นี้พบว่า แหล่งน้ าใน ทุกภาคโดยรวมมีคุ ณภาพน้ าดีข้นึ เมื่อเทียบกับปี ท่ผี ่ านมา และตัง้ แต่ ปี 2551-2554 ไม่มแี หล่งน้ าใดอยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรมมาก ด้านคุณภาพน้ า ั่ ชายฝงทะเลส่ วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ดแี ละพอใช้รวมกันกว่าร้อยละ 90 เช่น ั ่ นตก ฝ งอั ั ่ นดามัน ซึ่งเป็ นแหล่ งท่ องเที่ยวส าคัญ ส่ วน อ่ าวไทยฝ งตะวั บริเวณที่ยงั คงมีปญั หาคุณภาพน้ าคือ พื้นที่อ่าวไทยตอนใน บริเวณปาก แม่น้ าสายหลักจากการระบายน้ าที่ท่วมขังลงในแม่น้ าเจ้าพระยา ท่าจีน บางปะกง ลงสู่ทะเลอ่าวไทยตอนใน ทาให้ค่าความเค็มลดต่ าลง ส่งผลต่อ สัตว์น้ าบางชนิดและการเพาะเลีย้ งฝงั ่ 6.4.3 มลพิษกากของเสียและสารอันตราย

ภาพที่ 2-19 ปริมาณขยะมูลฝอยจาแนกตามพืน้ ที่ ทีม่ า: ไทยพับลิกา้ (2554) อ้างถึง กรมควบคุมมลพิษ. www.thaipublica.org. (19 มีนาคม 2555) ปริมาณขยะมู ล ฝอยทัว่ ประเทศเพิ่ม ขึ้นทุ กปี โดยปี 2554 มี ประมาณ 16 ล้านตัน หรือวันละ 43,800 ตัน เพิม่ ขึน้ 0.84 ล้านตัน หรือ


29 ร้อยละ 5.5 ตามการขยายตัวของชุ มชนและประชากรที่เพิ่มขึ้น โดย กรุงเทพมหานครมีขยะมูลฝอยประมาณวันละ 9,500 ตัน คิดเป็ นร้อยละ 22 ของปริมาณขยะทีเ่ กิดขึน้ ในแต่ละวัน ขณะที่เขตเทศบาลและเมืองพัทยามี ขยะมูลฝอยประมาณวันละ 17,488 ตัน คิดเป็ นร้อยละ 40 ของปริมาณขยะ ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน ขณะที่เขตองค์การบริหารส่วนตาบลมีขยะมูลฝอย ประมาณวันละ 16,792 ตัน คิดเป็ นร้อยละ 38 ของปริมาณมูลฝอยทัว่ ประเทศ ของเสียอันตรายเกิดขึ้นประมาณ 3.12 ล้านตัน โดยเกิดจาก อุตสาหกรรมประมาณ 2.4 ล้านตัน และประมาณ 0.73 ล้านตัน เป็นของเสีย อันตรายจากชุมชน แบ่งเป็ นกลุ่มแบตเตอรี่ หลอดไฟ และภาชนะบรรจุ สารเคมีประมาณ 340,000 ตัน กลุ่ มซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้ าและ อิเล็กทรอนิกส์ประมาณ 367,000 ตัน และมูลฝอยติดเชือ้ ประมาณ 41,000 ั หาที่ส่ งผลกระทบต่ อคุ ณภาพชีว ิต ตัน ส่ วนสารอันตรายยังคงเป็ นป ญ ประชาชนเช่ นกัน จากสถิติจ านวนผู้ป่วยของกรมควบคุ มโรคพบว่ า มี ผูป้ ว่ ยได้รบั พิษจากสารเคมีประมาณ 1,934 ราย จาแนกเป็ นผูป้ ่วยทีไ่ ด้รบั พิษจากสารเคมีดา้ นอุตสาหกรรมรวม 210 ราย โดยพืน้ ทีท่ ม่ี ผี ู้ป่วยได้รบั พิ ษ ส า ร อั น ต ร า ย ท า ง ด้ า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ม า ก ที่ สุ ด คื อ ภ า ค ตะวันออกเฉี ยงเหนื อ และมีผู้ ป่ ว ยที่ไ ด้ ร ับพิษ จากสารอันตรายทาง การเกษตร 1,724 ราย โดยพื้นทีท่ ่มี ผี ู้ป่วยได้รบั พิษจากสารอันตรายทาง การเกษตรมากที่สุดคือ ภาคเหนือ ทัง้ ยังเกิดอุบตั ภิ ยั ฉุ กเฉินจากสารเคมี จากการขนส่งสารเคมี เกิดในโรงงานอุตสาหกรรม โกดังเก็บสารเคมี การ ลักลอบทิ้งกากของเสีย เป็ นต้น และในเขตกรุงเทพและปริมณฑลมีการ ร้องเรียนปญั หามลพิษมากที่ได้สุ ด ได้แก่ มลพิษทางด้านอากาศ 68% ปญั หามลพิษทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศเหล่านี้ ส่งผลกระทบต่อความสมดุลของ ระบบนิเวศวิทยาด้วยเช่นกัน


30 7. คุณลักษณะธุรกิจของประเทศไทยทีไ่ ม่สามารถตอบรับกับสภาวะการเปลีย่ นแปลงอย่าง รวดเร็วของเศรษฐกิจโลก

ภาพที่ 2-20 เปรียบเทียบลักษณะธุรกิจของประเทศไทยทีไ่ ม่สามารถตอบรับกับ สภาวะการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจโลก ทีม่ า: จุฑามาศ ปญั ญพรสุข. www.chula-alumni.com. (19 มีนาคม 2555) สรรค์ชยั เตียวประเสริฐกุล (2549) กล่าวว่า ปจั จุบนั ธุรกิจในประเทศไทยต้อง เผชิญหน้ ากับคู่แข่งทางการค้าที่สาคัญคือ จีน และเวียดนาม ที่มคี ่าแรงงานที่ต่ ากว่า ประเทศไทย ทาให้งานหรือธุรกิจที่เคยมีในไทยนัน้ กลายไปเป็ นของคู่แข่ง เนื่องจาก ลักษณะธุรกิจในประเทศไทยส่วนมากจะเป็ นการรับจ้างผลิตสินค้า ทัง้ การรับจ้างให้กบั ผูว้ ่าจ้างภายในประเทศหรือรับจากต่างประเทศ ทาให้การดาเนินงานของธุรกิจขึน้ อยู่กบั ผู้ว่ าจ้าง เพราะผู้ว่าจ้างอาจจะย้ายฐานการผลิตไปในประเทศอื่นที่มตี ้นทุ นต่ ากว่ า ประเทศไทยควรที่จะมีความกระตือรือร้นในการจัดการและพัฒนาองค์ก าร เพื่อที่จะ สามารถแข่งขันกับประเทศคู่แข่งได้ ซึ่งแต่ละธุรกิจนัน้ ควรมีการเตรียมการรับมือกับ สภาวะเศรษฐกิจที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยการวางแผนกลยุทธ์ของธุ รกิจ เพื่อให้ พนักงานรับทราบและใช้เป็นแม่บทในการปฏิบตั งิ าน เพื่อให้สามารถปฏิบตั เิ พื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ของธุรกิจ และสามารถอยูใ่ นตลาดธุรกิจได้อย่างยังยื ่ น


31 การบริ หารต้นทุน ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อศักยภาพ การประกอบการของภาครัฐและเอกชน 1. ความตกต่าทางศีลธรรม 2. การเมืองและคอร์รปั ชัน่ 3. ความตกต่าและความล้มเหลวของ ระบบทุนนิยม 4. ความตกต่าทางการศึกษา 5. การเปิ ดเสรีทางการค้า 6. ความเสือ่ มโทรมของระบบนิเวศน์ 7. ลักษณะธุรกิจทีไ่ ม่สามารถตอบรับกับ การเปลีย่ นแปลงของเศรษฐกิจโลก

แนวทางในการบริหารเพื่อเพิ่มศักยภาพ การแข่งขันไปสู่การแข่งขันอย่างยังยื ่ น 1. 2. 3. 4. 5. 6.

การฟื้นฟูศลี ธรรม หลักธรรมาภิบาล ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม องค์การแห่งการเรียนรู้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาทางด้านสารสนเทศต่างๆ โดยเฉพาะทางการบัญชี 7. การออกแบบระบบบัญชี 8. การบริหารต้นทุนทีด่ อ้ ยประสิทธิภาพ

ภาพที่ 2-21 สรุปปจั จัยทีส่ ่งผลกระทบต่อศักยภาพการประกอบการและแนวทางในการบริหารจัดการ เพื่อเพิม่ ศักยภาพทางการแข่งขัน ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหารต้นทุน) การพัฒนาขีดความสามารถของประเทศไทยเป็ นไปอย่างล่าช้า เนื่องมาจากความตกต่ าทาง ศีลธรรม การเมืองและคอร์รปั ชัน่ ความตกต่ าและความล้มเหลวของระบบทุนนิยม ความตกต่ า ทางการศึกษา การเปิ ดเสรีทางการค้า ความเสื่อมโทรมของทรัพยากร และลักษณะของธุรกิจที่ไม่ สามารถตอบรับการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ได้ ซึง่ ส่งผลต่อการบริหารจัดการองค์กร ในการพัฒนาขีด ความสามารถนัน้ จะต้องอาศัยระยะเวลาในการฟื้นฟูความตกต่าทางด้านศีลธรรม การนาหลักธรรมาภิ บาล ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม องค์การแห่งการเรียนรู้ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาทางด้านสารสนเทศและการออกแบบระบบทางการบัญชี และการบริหารต้นทุ นมา ประยุกต์ใช้ภายในองค์การ เพื่อลดต้นทุนในการดาเนินงาน นาไปสู่การเป็ นผู้นาทางด้านต้นทุน สามารถสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันได้ และจะเป็ นแนวทางในการนาองค์กรไปสู่การพัฒนา อย่างยังยื ่ น 1. ความหมายของต้นทุน ปิยาภรณ์ อาสาทรงธรรม (2552) กล่าวว่า ต้นทุน (cost) หมายถึง มูลค่าของ ทรัพยากรที่กจิ การต้องสูญเสียไป เพื่อให้ได้สนิ ค้าหรือบริการกลับมา โดยมูลค่าของ


32 ทรัพยากรนัน้ จะต้องสามารถวัดได้เป็นหน่วยเงินตรา โดยเป็ นลักษณะของการลดลงของ สินทรัพย์หรือการเพิม่ ขึน้ ของหนี้สนิ ซึง่ เมื่อต้นทุนใดทีเ่ กิดขึน้ และธุรกิจได้ใช้ประโยชน์ ไปทัง้ สิน้ แล้ว ต้นทุนนัน้ จะถือว่าเป็นค่าใช้จา่ ย แต่อย่างไรก็ตามต้นทุนและค่าใช้จ่ายนัน้ มีวตั ถุประสงค์ทแ่ี ตกต่างกันในแง่ของการก่อให้เกิดประโยชน์และการบันทึกบัญชี หาก ธุรกิจใดมีการบริหารต้นทุนที่ดีแล้วก็จะทาให้ธุ รกิจนัน้ ได้เปรียบทางการแข่งขันกับ คู่แข่งได้ 2. ความสาคัญของต้นทุนทีจ่ ะบ่งบอกความยังยื ่ นในการประกอบการ อนุ ธ ิดา ประเสริฐศักดิ ์ (2554) กล่ าวว่า ธุ รกิจที่แตกต่ างกันมีล กั ษณะของ ต้นทุนที่แตกต่างกัน ผู้บริหารจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับต้นทุนของกิจการ ตนเอง เพื่อให้การนาข้อมูลต้นทุนนามาใช้ในการบริหาร การวางแผนและตัดสินใจ การ ควบคุม และการจัดทางบประมาณมีประสิทธิภาพมากทีส่ ุด ต้นทุนเป็ นปจั จัยสาคัญต่ อทุกธุ รกิจ เพราะต้นทุนที่เพิม่ ขึ้นหมายถึงก าไรที่ ลดลง แต่ถ้ากิจการสามารถลดต้นทุนลงได้กจ็ ะทาให้กาไรเพิม่ ขึน้ และกิจการสามารถ สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันได้ หากกิจการเป็ นผู้นาทางด้านต้นทุนในตลาด ผูบ้ ริหารสามารถนากลยุทธ์การลดต้นทุนไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับกิจการ ซึง่ จะมี ผลทาให้เกิดความยังยื ่ นของธุรกิจ 3. การใช้เครือ่ งมือทางการบริหารเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

ภาพที่ 2-22 เครือ่ งมือทางการบริหารเพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหารต้นทุน)


33 ั หาจากภาวะ ปิ ยาภรณ์ อาสาทรงธรรม (2552) กล่ าวว่ า ธุ รกิจประสบป ญ เศรษฐกิจที่มคี วามผันผวน ผู้บริหารจึงต้องพยายามหาวิธกี ารต่างๆ ที่จะทาให้ธุรกิจ สามารถอยูร่ อดได้ ซึง่ สิง่ แรกทีผ่ บู้ ริหารจะคานึงถึงคือ การลดต้นทุนและการจัดทาบัญชี ต้นทุน ซึง่ เป็นข้อมูลทีม่ คี วามสาคัญ เนื่องจากการบัญชีต้นทุนทาให้รถู้ งึ ต้นทุนของการ บริหารกิจกรรมหรือการทางานในฝ่ายต่างๆ ซึง่ การจัดทาบัญชีต้นทุนทีด่ สี ามารถทาให้ ผูบ้ ริหารวางแผน คาดการณ์ และตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง อันจะนาไปสู่การวางแผนใน การลดต้นทุนของธุรกิจทีเ่ กิดขึน้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ องค์การธุรกิจต่างๆ ต้องให้ความสาคัญกับการมุ่งเน้นการพึ่งตนเอง และการ บริหารต้นทุนให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด จึงเกิดวิธกี ารต่างๆ ในการบริหารต้นทุนในระบบ การผลิต ซึง่ ประกอบด้วย 5 วิธ ี 3.1 ระบบการบัญชีตน้ ทุนตามกิจกรรม วรศักดิ ์ ทุมมานนท์ (2544) กล่าวว่า ระบบการบัญชีต้นทุนตามกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) เป็ นแนวคิดของการบริหารต้นทุน ซึง่ ถือว่าเป็ น กิจกรรมที่ทาให้เกิดต้นทุน จึงต้องมีการคิดต้นทุนและปนั ส่วนค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ เกิดขึ้นเข้าสู่กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง หลังจากนัน้ จึงคิดต้ นทุนของกิจกรรมเข้าเป็ น ผลิตภัณฑ์จะทาให้ผบู้ ริหารได้รบั ข้อมูลทีถ่ ูกต้องยิง่ ขึน้ นาตยา ตรีรตั น์ดลิ กกุล (2550) กล่าวว่า ประโยชน์จากการนาระบบต้นทุน ตามกิจกรรมมาใช้มดี งั นี้ 1. ช่วยให้การคานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์มคี วามถูกต้องใกล้เคียงความเป็ น จริง 2. ช่วยในการวัดผลการปฏิบตั งิ านของกิจการ 3. ช่วยในการลดต้นทุนและค่าใช้จา่ ยของกิจการ 4. เชื่อมโยงกลยุทธ์ในการดาเนินงานของกิจการเข้ากับการตัดสินใจ อัน จะเป็ นประโยชน์ต่อผู้บริหารในการพัฒนากิจกรรมทีเ่ ป็ นงานหลักของ องค์การ 5. ใช้เป็นข้อมูลในการต่อยอด เพื่อการจัดทาการบริหารตามฐานกิจกรรม (Activity Based Management: ABM) เพื่อให้เกิดการบริหารองค์การ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพดียงิ่ ขึน้ 3.2 การจัดการห่วงโซ่อุปทาน ธนิต โสรัตน์ (2551) กล่าวว่า ในการบริหารกลยุทธ์ ผูบ้ ริหารควรเลือกใช้ กลยุทธ์ทเ่ี หมาะสมกับสภาพธุรกิจขององค์การ การนาการจัดการห่วงโซ่อุปทาน ซึง่


34 เป็นเครื่องมือการบริหารมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประสิทธิภาพนัน้ ต้องมีการออกแบบ โครงสร้างและกระบวนการต่ างๆ ภายในห่ ว งโซ่ อุ ปทานอย่ างเหมาะสมและ ครอบคลุม เพื่อการกาหนดกระบวนการทีส่ อดคล้องกับกลยุทธ์ แล้วจึงทาการระบุ ประเภทของเทคโนโลยี ส่งเสริมการดาเนินงานในแต่ละกระบวนการ รวมทัง้ การ พิจารณาบุคลากรให้มลี กั ษณะที่สอดคล้องกับงานในแต่ ละกระบวนการ วิธกี าร ดังกล่าวนี้จะช่วยให้ผปู้ ฏิบตั งิ านสามารถมองห่วงโซ่อุปทานได้ทงั ้ ระบบอย่างแท้จริง 3.3 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (sufficiency economy) เป็นอีกเครื่องมือทีน่ ามา ใช้ในการบริหารต้นทุน เพื่อความยังยื ่ นในการประกอบการ และพร้อมรับมือต่อการ เปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวฒ ั น์ จากปญั หาความตกต่ าทางศีลธรรม การเมือง และ คอรัปชัน่ เป็นต้น ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล (2554) กล่าวว่า เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นเศรษฐกิจที่ สามารถอุม้ ชูตวั เองได้ ให้มคี วามพอเพียงกับตัวเอง อยู่ได้โดยไม่เดือดร้อน ซึง่ ต้อง สร้างพืน้ ฐานทางด้านเศรษฐกิจของตนเองให้ดกี ่อนคือ ให้ตนเองสามารถอยู่ได้อย่าง พอกินพอใช้ มิได้มงุ่ หวังทีจ่ ะสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจให้เจริญอย่างรวดเร็วแต่ เพียงอย่างเดียว การประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิ จพอเพียงประกอบด้วย ความ พอประมาณคือ องค์การต้ องรู้จ ักใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมและสอดคล้องกับ สภาพแวดล้อม โดยพัฒนาจากภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ก่อน ไม่คา้ กาไรเกินควร ความมี เหตุผลคือ ตัดกิจกรรมทีไ่ ม่จาเป็นเพื่อลดค่าใช้จา่ ย และการมีภูมคิ ุม้ กันคือ องค์การ ไม่ควรสร้างภาระหนี้สนิ มากจนเกินความสามารถ 3.4 การบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม การบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม (Environmental Management Accounting: EMA) หมายถึง แนวคิดทางการบัญชีทค่ี านึงถึงการจาแนกต้นทุนทีเ่ กี่ยวข้องหรือมี ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมออกจากค่าใช้จ่ายทัง้ หมดที่เกิดขึ้นจากการผลิต โดยมี พื้นฐานในการค านวณที่คล้ายกับการคิดต้นทุนฐานกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) ซึง่ โดยปกติแล้วต้นทุนดังกล่าวจะแฝงตัวอยู่ ทาให้ผปู้ ระกอบการไม่ ทราบถึงจานวนที่แท้จริงของต้นทุนทางด้านสิง่ แวดล้อม ซึ่งแนวคิดดังกล่าวจะ สามารถช่วยให้ทาถึงจุดนี้ได้อย่างชัดเจน สิ่งส าคัญเพื่อที่จะได้ทราบถึงต้นทุ นตามแนวคิดของการบัญชีบริหาร สิง่ แวดล้อมนัน่ ก็คอื ศูนย์ต้นทุน (cost centre) ซึง่ จะทาหน้าทีใ่ นการจาแนกต้นทุน ทางด้านสิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดขึน้ ให้กบั ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ตามทีไ่ ด้ก่อไว้ ตลอดจนการนา ข้อ มู ล ที่ไ ด้ น าไปจัดท าเป็ นรายงาน เพื่อ การบริหารภายในส าหรับปรับปรุ ง กระบวนการผลิต และการจัดทาเป็นรายงาน เพื่อเปิดเผยต่อบุคคลภายนอก


35 การทีอ่ งค์การต่างๆ นาหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อมเข้ามาใช้ นอกจาก จะเป็ นการนาข้อมูลที่ได้มาเพื่อพัฒนากระบวนการผลิตและลดต้นทุนแล้ว ยังถือ เป็นการแสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อมอีกด้วย 3.5 ระบบการผลิตแบบลีนและการบัญชีแบบลีน เกียรติขจร โฆมานะสิน (2550) กล่าวว่า ลีน (Lean) คือ การบูรณาการ แนวคิด กิจกรรม และวิธกี ารทีเ่ ป็นระบบในการระบุและกาจัดความสูญเปล่า หรือสิง่ ทีไ่ ม่เพิม่ คุณค่าภายในกระแสคุณค่าของกระบวนการ ซึ่งความสูญเปล่าคือ ทุกสิง่ ทุกอย่างที่เพิม่ ต้นทุนหรือเวลา โดยปราศจากการเพิม่ คุณค่า ทาให้เกิดสภาพการ ไหลอย่างต่อเนื่อง และทาการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างคุณค่าให้แก่ระบบอยู่ เสมอ รวมทัง้ มุ่งผลิตผลิตภัณฑ์เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าให้ดยี งิ่ ขึ้น โดยใช้ทรัพยากรการผลิตที่น้อยกว่า องค์การสามารถนาวิธ ีการบริหารต้นทุ น ดังกล่าวมาปรับใช้ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการดาเนินงาน และจะทาให้เกิดการ พัฒนาอย่างยังยื ่ นตามมา แนวคิ ดการพัฒนาอย่างยังยื ่ น

ภาพที่ 2-23 สรุปองค์ประกอบการพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหารต้นทุน)


36 1. การพัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ น พิพฒ ั น์ นนทนาธรณ์ (2553) ได้กล่าวถึงแผนแม่บทเพื่อพัฒนาอย่างยังยื ่ นของ โลก เพื่อสร้างความสมดุ ลให้เกิดขึ้น โดยครอบคลุ มการพัฒนาที่สมดุ ลทัง้ 3 ด้าน ประกอบด้วยด้านเศรษฐกิจ สังคม และด้านสิ่งแวดล้อม เรียกว่ า ไตรก าไร (Triple Bottom Line: 3BL) ซึง่ เป็ นการพัฒนาทีต่ ้องคานึงถึงเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม การพัฒนาเศรษฐกิจควบคู่ไปกับสังคมจะทาให้เกิดความเท่าเทียมกันในการแบ่งสรร ทรัพยากรระหว่างสมาชิกในสังคม การพัฒนาสังคมคู่ไปกับสิง่ แวดล้อมจะทาให้เกิดการ พึ่งพาซึ่งกันและกัน ผู้คนช่วยกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมให้ดีก็จะมีความสามารถหา ประโยชน์จากสิง่ แวดล้อมได้นาน การพัฒนาเศรษฐกิจคู่ไปกับสิง่ แวดล้อมจะทาให้เกิด ความสมดุล ถ้าเศรษฐกิจเติบโตบนความเสื่อมของสิง่ แวดล้อมก็จะเกิดความไม่สมดุลขึน้ สุดท้ายเราก็ตอ้ งทุ่มเงินจานวนมากในการรักษาสิง่ แวดล้อม การพัฒนาอย่างยังยื ่ นจะยืน ได้ดว้ ยการพัฒนาทัง้ 3 สาขา คือ เศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม ซึง่ ทัง้ หมดนี้ต้องอยู่ บนพืน้ ฐานของศีลธรรมอันดีงาม จึงจะทาให้เรามีเศรษฐกิจทีเ่ จริญเติบโต มีสงั คมทีเ่ ป็ น สุข และมีสงิ่ แวดล้อมทีด่ ี จนสามารถเกิดความสมดุลและยังยื ่ น 1.1 ความหมายของการพัฒนาอย่างยังยื ่ น The UK government’s Department of Environmental Food and Rural Affairs การพัฒนาอย่างยังยื ่ น (sustainable development) หมายถึง “การตอบสนอง ความต้องการของคนรุน่ ปจั จุบนั โดยไม่มผี ลกระทบในทางลบต่อความต้องการของ คนรุน่ ต่อไปในอนาคต” เนื่องจากทุกครัง้ ทีม่ กี ารตอบสนองความต้องการของคนรุ่นปจั จุบนั ต้องมี การทาลายทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม ซึ่งส่งผลกระทบต่ออนาคตในทาง ลบ การพัฒนาอย่างยังยื ่ นจึงเป็ นแนวคิดในการแก้ ปญั หาเหล่านี้ท่เี กิดขึ้น โดยมี กฎเกณฑ์สาหรับการพัฒนาอย่างยังยื ่ นที่ได้รบั การยอมรับจากการดาเนินงานของ ทัง้ ภาครัฐและเอกชน ตลอดจนการวางแผนการดาเนินงานที่จะส่งผลให้เกิดการ พัฒนาอย่างยังยื ่ นแทนทีจ่ ะเน้นถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยแบ่งออกเป็ น 2 ด้าน คือ ภาครัฐและภาคเอกชน 1. ภาครัฐเพื่อให้การพัฒนาที่ยงยื ั ่ นสามารถแทรกเข้าไปในทุกส่วนของ สังคมโลก องค์การสหประชาชาติจงึ เสนอให้ประเทศกาลังพัฒนาที่ ประสบความล้มเหลวในการพัฒนาตามที่กล่าวมาข้างต้น เร่งปฏิรูป ระบบเศรษฐกิจควบคู่ไปกับการปฏิรปู การเมือง การบริหาร การศึกษา การขจัดและลดความยากจน การส่งเสริมให้มกี ารบูรณาการทางการ ผลิต ทางการเกษตร การสร้างาน การรักษาสิง่ แวดล้อม และการลด


37 อัตราการเพิม่ ขึน้ ของประชากร เป็ นต้น ซึง่ ทางภาครัฐจะมีการกาหนด รูปแบบในการประเมินอย่างยังยื ่ นใน 4 ขัน้ ตอน โดยมีการใช้วธิ กี าร ทางบัญชีต้นทุ นเป็ นพื้นฐานในการประเมินผลกิจกรรมต่ างๆ ที่ม ี ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดล้อมและสังคม ซึ่ง ประกอบด้วย 1.1 ขัน้ ที่ 1 กาหนดวัตถุประสงค์ของต้นทุน กาหนดจุดสาคัญของการ บริหารออกมาเป็ นแนวทางของโครงการต่ างๆ โดยทีมงาน โครงการ 1.2 ขัน้ ที่ 2 ระบุ ขอบเขตของการวิเคราะห์ มีการก าหนดอย่าง แพร่หลาย ซึ่งการติดตามผลกระทบของโครงการนัน้ มีมากกว่า วงจรทีม่ กี ารแพร่ขยายผลกระทบเหล่านัน้ โดยตรง ทาให้สามารถ ควบคุมได้โดยทีมงานโครงการ 1.3 ขัน้ ที่ 3 ระบุผลกระทบของวัตถุประสงค์ต้นทุน ทาการพิจารณา ภายใต้หวั ข้อเศรษฐกิจ ทรัพยากรทีใ่ ช้ สิง่ แวดล้อมและสังคม 1.4 ขัน้ ที่ 4 ผลกระทบจากกาไรเกิดขึน้ ผลกระทบของโครงการจะถูก แปลงเป็นฐานการวัดทัวไปด้ ่ านตัวเงิน ทีม่ คี วามหลากหลายในการ สร้างรูปแบบการวัดทีไ่ ด้ทอ่ี าจนามาใช้เพียงการเปิดเอกสารเท่าที่ จะเป็ นได้เพื่อให้ทราบราคาปจั จุบนั ส าหรับการระบุ กลไกลการ สร้างกาไรที่จะเกิดขึ้น เมื่อทาการสร้างแบบจาลองสาหรับการ สร้างโครงการและระบุการหมุนเวียนทีส่ าคัญทัง้ หมด ซึ่งอาจจะมี การเปลี่ยนเป็ นทางด้านตัวเงิน ซึ่งช่วยให้สามารถสร้างกราฟได้ เป็ นผลให้กราฟที่เป็ นรูปแบบพื้นฐานออกมาเป็ นรูปแบบการ ประเมินการพัฒนาอย่างยังยื ่ น 2. ภาคเอกชน การดาเนินธุรกิจขององค์การจะมีกาหนดแนวทางในการ ปฏิบ ัติให้ก ับตัวขององค์การในการป้ องการเกิดขึ้นของความ ล้มเหลวในการพัฒนาอย่างยืนในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นด้านตัว องค์การ ด้านดาเนินงาน และด้านการเงิน ซึ่งแนวโน้มของทัง้ 3 ด้าน ที่กล่ าวมานัน้ เป็ นตัวที่ใช้การประเมินผลการพัฒนาอย่าง ยังยื ่ นหลักขององค์การ ถึงการประสิทธิภาพในประกอบธุรกิจของ องค์การในภาคเอกชน ซึง่ หลายองค์การสามารถดาเนินการในเรือ่ ง เหล่ านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ ในทางกลับกันก็ยงั มีในบาง องค์การที่ไม่สามารถทาการพัฒนาอย่างยังยื ่ นได้ โดยสามารถ


38 ทราบถึงประสิทธิภาพการปฏิบตั ิขององค์การจากปจั จัยในการ ประเมินผลดังภาพที่ 2-24

ภาพที่ 2-24 หลักการในการบริหารจัดการองค์กร ทีม่ า: Chartered Institute of Management Accountants. www.cgma.org. (21 March 2012) 2. การฟื้นฟูค่านิยม หลักคุณธรรม ให้มาเป็นหลักการสาคัญทีส่ ุดในทุกเรือ่ ง 2.1 หลักธรรมาภิบาล (ดังรูปทีแ่ สดงหน้าถัดไป)


39

ภาพที่ 2-25 องค์ประกอบทีส่ าคัญ 6 ประการของหลักธรรมาภิบาล ทีม่ า: ศักดิ ์ชัย ภู่เจริญ. http://www.kruinter.com. (18 มีนาคม 2555) ศักดิช์ ัย ภู่ เจริญ (2553) กล่ าวว่ า หลักธรรมาภิบาล หมายถึง การ บริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมทีด่ ี เป็นแนวทางสาคัญในการจัดระเบียบให้สงั คม ซึง่ เป็นหลักการเพื่อการอยูร่ ว่ มกันในบ้านเมืองและสังคมอย่างมีความสงบสุข องค์ประกอบของหลักธรรมาภิบาลจากภาพที่ 2-25 มีองค์ประกอบที่ สาคัญ 6 ประการ ดังนี้ 1. หลักนิตธิ รรม คือ การตรากฎหมาย กฎ ข้อบังคับต่างๆ ให้ทนั สมัย และเป็นธรรม เป็นทีย่ อมรับของสังคมและสมาชิก ถือปฏิบตั ริ ่วมกัน อย่างเสมอภาคและเป็นธรรม 2. หลักคุณธรรม คือ การยึดถือและเชื่อมันในความถู ่ กต้อง โดยการ รณรงค์เพื่อสร้างค่ านิ ยมที่ดีงามให้ผู้ปฏิบ ั ติงานในองค์การหรือ สมาชิกของสังคมถือปฏิบตั ิ 3. หลักความโปร่งใส คือ การทาให้สงั คมไทยเป็นสังคมทีเ่ ปิดเผยข้อมูล ข่าวสารอย่างตรงไปตรงมา และสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ ซึ่งจะเป็ นการสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกัน และช่ วยให้การ ทางานของภาครัฐและภาคเอกชนปลอดจากการทุจริตคอรัปชัน่ 4. หลักความมีส่วนร่วม คือ การทาให้สงั คมไทยเป็ นสังคมทีป่ ระชาชน มีส่ วนร่วมรับรู้ และเสนอความเห็นในการตัดสินใจสาคัญๆ ของ สังคม


40 5. หลักความรับผิดชอบ มีความรับผิดชอบต่อความบกพร่องในหน้าที่ การงานที่ต นรับ ผิด ชอบอยู่ และพร้ อ มที่จ ะปรับ ปรุ ง แก้ ไ ขได้ ทันท่วงที 6. หลักความคุม้ ค่า การบริหารจัดการและการใช้ทรัพยากรทีม่ จี ากัดให้ เกิดประโยชน์คุม้ ค่า เพื่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดแก่ส่วนรวม 2.2 จิตสานึกแห่งความรับผิดชอบต่อเศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากร บุณิกา จันทร์เกตุ (2555) กล่าวว่า ในปจั จุบนั ธุรกิจที่ไม่มศี ลี ธรรม โดย ดาเนินธุรกิจมุ่งเน้นแต่ผลกาไรแต่ไม่คานึงถึงผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ กับผู้บริโภคมี มากขึน้ ความเจริญรุ่งเรืองทางด้านวัตถุ เป็ นสาเหตุท่ที าให้สงั คมแสวงหาเงินทอง มากกว่าทีจ่ ะให้ความสาคัญทางด้านจิตใจ สังคมจึงเสื่อมโทรมลงอย่างเห็นได้ชดั เจน ท่ามกลางการแข่งขันทางธุรกิจ ดังนัน้ การปลูกฝ งั ความสานึกให้กบั บุคคลและ องค์การเพื่อให้มคี วามรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมจึงควรที่จะเกิดขึ้นในสังคม ด้วยเหตุน้ใี นปจั จุบนั จึงมีการกล่าวถึงคาว่า “จิตสาธารณะ” เพื่อให้องค์การธุรกิจได้ ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสาธารณะมากกว่าตนเอง โดยในภาพรวมแล้วหาก องค์การมีความรับผิดชอบต่อสังคมจะมีส่วนช่วยเหลือเศรษฐกิจของประเทศให้ม ี ความมันคงเจริ ่ ญรุ่งเรืองได้ เนื่องจากองค์การที่มคี วามรับผิดชอบต่อสังคมย่อมไม่ ทาให้เกิดความเสียหายในเรือ่ งต่างๆ 2.3 แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงมีพระ ราชด ารัสชี้แนะแนวทางการด าเนิ นชีว ิตแก่ พสกนิ กรชาวไทย ตัง้ แต่ ก่ อนเกิด วิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และภายหลังได้ทรงเน้นยา้ แนวทางการแก้ไข เพื่อให้รอด พ้นและสามารถดารงอยู่ได้อย่างมันคงและยั ่ งยื ่ น ภายใต้กระแสโลกาภิว ฒ ั น์ และ ความเปลีย่ นแปลงต่างๆ เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบตั ิตนของ ประชาชนในทุกระดับตัง้ แต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทัง้ ในการ พัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนิ นไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา เศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่ อโลกยุคโลกาภิวฒ ั น์ ความพอเพียง หมายถึง ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็ นทีจ่ ะต้องมีระบบภูมคิ ุม้ กันในตัวทีด่ ี พอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทัง้ ภายนอกและ ภายใน ทัง้ นี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิง่ ใน การน าวิชาการต่ า งๆ มาใช้ ใ นการวางแผนและด าเนิ น การทุ ก ขัน้ ตอน และ ขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพืน้ ฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าทีข่ อง รัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มสี านึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต


41 และให้ความรอบรูท้ เ่ี หมาะสม ดาเนินชีวติ ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญั ญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่ อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วและกว้างขวางทัง้ ด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลก ภายนอกได้เป็นอย่างดี1

ภาพที่ 2-26 สรุปปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทีม่ า: สุดารัตน์ เสาวโค. www.gotoknow.org. (19 มีนาคม 2555) 2.4 การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้านการบริหารจัดการองค์การ ระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวติ (2554) อ้างถึง สุเมธ ตันติเวช กุล (2554) กล่าวว่า หัวใจของเศรษฐกิจพอเพียงมีหลักการเหมือนกับศีล 5 คือ นาไปปฏิบตั ิท่ีไหนก็เหมือนกันจะต่ างกันที่ว ิธ ีการกระทาหรือเส้นทางที่จะเดิน เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นเพียง “เครื่องมือ” ซึง่ สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการบริหาร องค์การได้ทุกองค์การ เป้าหมายก็เพื่อทาให้เกิดความมันคง ่ มีความสุข มีความ ยังยื ่ น โดยอาศัยแนวทางการดาเนินงานทีส่ อดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ดังนี้ 1. ความพอประมาณในทุกด้าน ความพอดีท่ไี ม่น้อยเกินไปและไม่มาก เกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผูอ้ ่นื 1

สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติได้ประมวลและกลันกรองจำกพระรำชด ่ ำรัสของ พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หวั เรือ่ งเศรษฐกิจพอเพียง ซึง่ พระรำชทำนในวโรกำสต่ำงๆ รวมทัง้ พระรำชดำรัสอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง


42 2. ความมีเหตุ มผี ล การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนัน้ จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล 3. การมีภมู คิ ุม้ กันทีด่ ใี นทุกด้าน หมายถึง องค์การเราต้องมีการเตรียมตัว ให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลีย่ นแปลงด้านต่างๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ โดย คานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึน้ ใน อนาคตทัง้ ใกล้และไกล 4. เป็ นองค์การที่ม ีความรู้คู่คุ ณธรรม สมดุ ลและยังยื ่ น การสะสมทุ น มนุ ษย์ ทุ นความรู้ การบริ ห ารจั ด การความรู้ ( Knowledge Management: KM) มีนโยบายโดดเด่นในการพัฒนาพนักงานอย่าง ต่อเนื่อง เน้นให้พนักงานมีคุณธรรมจริยธรรมในการทางานและในการ ดารงชีวติ คุณภาพชีวติ ในการทางานกับดุลยภาพของชีวติ สุขภาพ และความปลอดภัยในชีวติ 3. การสร้างองค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ 3.1 ความหมายขององค์การแห่งการเรียนรู้ แก้ วตา ไทรงาม และคณะ (2548) ได้ให้ความหมายของแนวคิด ซึ่ง สามารถสรุปได้ว่า องค์การทีม่ งุ่ สู่ความเป็นเลิศด้วยการพัฒนาความสามารถของคน ในองค์การ ทัง้ ในด้านความรู้ ทักษะ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์การ โดยส่งเสริม การเรียนรูข้ องสมาชิกทุกๆ คน เน้ นให้บุคลากรเรียนรูด้ ้วยการปฏิบตั จิ ริงให้เกิด ประสบการณ์ และนามาพัฒนาปรับปรุงเปลีย่ นแปลงองค์การอย่างต่อเนื่อง 3.2 ความสาคัญของการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้

ภาพที่ 2-27 แสดงปจั จัยทีน่ าไปสู่การสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ ทีม่ า: เสาวนิต คาจันทา. www.songthai.com. (18 มีนาคม 2555)


43 จากภาพที่ได้แสดงให้เห็นถึงปจั จัยต่ างๆ ที่เกิดขึ้นในปจั จุบนั ซึ่งส่งผล กระทบต่อองค์การอย่างมาก สามารถอธิบายได้ว่า ในปจั จุบนั ธุรกิจแข่งขันกันอย่าง รุนแรงจากกระแสโลกาภิวฒ ั น์และเศรษฐกิจโลก ทาให้ทุกประเทศต้องปรับตัวและ พัฒนาความได้เปรียบ ลดข้อด้อยของตนเอง เพื่อทาให้ศกั ยภาพของการแข่งขัน เพิม่ มากขึ้น การแข่งขันในรูปแบบใหม่น้ีองค์การที่จะอยู่รอดต้องผลิตสินค้าที่ม ี คุ ณภาพดีข้นึ และเน้ นลูกค้าเป็ นส าคัญ นอกจากนี้ ยงั มีปญั หาเศรษฐกิจทัวโลก ่ ซบเซาจากความล้มเหลวของระบบทุนนิยม แรงงานคุณภาพขาดแคลน เนื่องจาก เป็นเพราะระบบการศึกษาและการพัฒนาฝีมอื แรงงานผลิตคนได้ชา้ ไม่ทนั กับความ เปลี่ยนแปลงของสภาพธุ รกิจในปจั จุบนั ดังนัน้ บุ คลากรในองค์การจาเป็ นต้อง ฝึ กฝนตนเองผ่านการเรียนรูด้ ้วยตนเอง เป็ นต้น ทาให้การสร้างองค์การแห่งการ เรียนรูเ้ ข้ามามีบทบาททีส่ าคัญ เพื่อความอยูร่ อดของธุรกิจในปจั จุบนั 3.3 การสร้างองค์การให้เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ปาริฉั ตต์ ศังขะนันทน์ (2548) ได้กล่ าวว่ า การสร้างองค์การให้เป็ น องค์การแห่งการเรียนรู้ อันดับแรกทาการสารวจสภาพปจั จุบนั ขององค์การและทา การประเมินถึงศักยภาพและบุคลากร รวมทัง้ ประเมินการมีส่วนร่วมในกระบวนการ เรียนรูใ้ นปจั จุบนั จากนัน้ นาข้อมูลทีไ่ ด้มากาหนดเป้าหมายกลยุทธ์ หรือแนวทางที่ จะใช้เป็ นรูปแบบและกิจกรรมที่จะทาให้เกิดกระบวนการเรียนรูร้ ่วมกัน และการ ดาเนินงานตามแผนทีต่ งั ้ ไว้ มีการติดตาม และจัดเกณฑ์การพิจารณาประเมินผลใน ขัน้ ท้ายสุดหลังจากทีด่ าเนินการไปแล้วระยะหนึ่ง เพื่อให้ทราบว่าองค์การมีลกั ษณะ เป็นองค์การแห่งการเรียนรูม้ ากน้อยเพียงใด เพื่อทาการปรับปรุงและพัฒนาต่อไป ประกอบกับการนากฎของ Peter Senge มาใช้ในการสร้างองค์การแห่งการ เรียนรูโ้ ดยมีกฎ 5 ประการ ซึง่ เปี่ยมพงศ์ นุ้ยบ้านด่าน (2543) ได้สรุปไว้ว่า 1. การเรียนรู้ของสมาชิกในองค์การ (personal mastery) สมาชิกของ องค์การทีเ่ ป็ นองค์การแห่งการเรียนรู้ จะต้องมีลกั ษณะสนใจเรียนรูส้ งิ่ ใหม่อยูเ่ สมอ เพื่อเพิม่ ศักยภาพของตน 2. แบบอย่างทางความคิด (mental models) มีการศึกษาและรูเ้ ท่าทันการ เปลีย่ นแปลงอยูเ่ สมอ โดยมีทศั นคติทด่ี ี 3. การมีวสิ ยั ทัศน์ร่วมกันของคนในองค์การ (shared vision) สมาชิกทุก คนในองค์การมีการพัฒนาวิสยั ทัศน์ของตนให้สอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ โดยรวม เพื่อไปสู่จดุ มุง่ หมายเดียวกัน 4. การเรียนรูเ้ ป็นทีม (team learning) ส่งผลให้เกิดความคิดทีห่ ลากหลาย รับฟงั ความคิดเห็นของผูอ้ ่นื เรียนรูก้ ารแก้ปญั หาทีซ่ บั ซ้อนร่วมกัน


44 5. ระบบการคิดของคนในองค์การ (system thinking) มีการคิดอย่างเป็ น ระบบ โดยคิดถึงภาพรวม เพื่อเชื่อมโยงสิง่ ต่างๆ และเข้าใจโครงสร้าง อย่างเป็นขัน้ ตอน 4. การออกแบบระบบการสื่อสารและสารสนเทศ ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศมีความสาคัญต่อประสิทธิภาพของ องค์การ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในโลกปจั จุบนั ทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา มีการแข่งขัน ทางธุรกิจสูง องค์การที่มกี ารบริหารงานทีม่ ปี ระสิทธิภาพสามารถเข้าถึงข้อมูลได้อย่าง รวดเร็ว ย่อมทาให้สามารถดาเนินธุรกิจต่อไปได้ ดังนัน้ การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมา ใช้ในองค์การ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ได้นัน้ องค์การจะต้องสร้างความแข็งแกร่งเพื่อ เพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิตผลิตภัณฑ์ ทัง้ นี้เพื่อให้องค์การเกิดความได้เปรียบทางการ แข่งขัน 4.1 ระบบสารสนเทศปจั จัยสาคัญต่อความสาเร็จในการบริหารองค์การ เสกสิทธิ คูณศรี (2555) กล่าวว่า จากการเปลีย่ นแปลงของโลกปจั จุบนั ทีม่ ี การแข่งขันกันอย่างสูงขึน้ การตัดสินใจของผู้บริหารจึงมีระยะเวลาที่จากัดภายใต้ เงื่อนไขต่ างๆ มากมาย ทาให้บทบาทของระบบสารสนเทศในองค์ก ารมีมากขึ้น ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีทใ่ี ช้กนั ในปจั จุบนั ถือว่าเป็นตัวขับเคลื่อนทีส่ าคัญที่ จะช่วยให้ผู้บริหารสามารถเก็ บรวบรวมข้อมูล แก้ไขเปลี่ยนแปลง เรียกดูข้อมูล ประมวลผล รวมถึงการวิเคราะห์ขอ้ มูลสามารถทาได้อย่างง่ายขึน้ และมีค่าใช้จ่ายที่ ลดลง ในขณะเดียวกันระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีกย็ งั สามารถช่วยให้เกิดการ พัฒนาและปรับปรุงกระบวนการในการผลิตและการปฏิบตั งิ านให้มตี น้ ทุนทีต่ ่าลง ใช้ เวลาในการทางานทีล่ ดลงแต่สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ทม่ี คี ุณภาพมากยิง่ ขึน้ ดังนั ้น องค์ ก ารทุ ก ๆ องค์ ก ารจึง ควรมีการน าระบบสารสนเทศและ เทคโนโลยีไปใช้เพื่อช่วยในการพัฒนาและสร้างความสาเร็จให้กบั องค์การ เพื่อสร้าง ความได้เปรียบในการแข่งขันที่มกี ารเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในปจั จุบนั และ ยากต่อการคาดการณ์ อย่างไรก็ตามการนาระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีไปใช้ เพื่อพัฒนาองค์การให้สาเร็จได้นนั ้ ขึน้ อยู่กบั ความพร้อมของปจั จัยภายในองค์การ หลายด้าน ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ ข้อมูลและสารสนเทศ ฐานข้อมูล ระบบ เครือข่ายการสื่อสาร ความซับซ้อนของกระบวนการท างาน บุ คลากรที่ทางาน เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ และที่สาคัญคือ ผู้ใช้งาน โดยต้องอาศัยการบริหารการ เปลี่ยนแปลงที่ดี เพื่อ ให้ ผู้ ใ ช้ งานยอมรับและใช้ งานเทคโนโลยีได้ อ ย่ างเต็ ม ประสิทธิภาพ


45 4.2 การออกแบบและวางระบบสารสนเทศทางการบัญชี อนุ รกั ษ์ ทองสุโขวงศ์ (2548) กล่าวว่า ปจั จุบนั งานของนักบัญชีมกี าร เปลี่ยนแปลงจากเดิมอย่างมาก เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทนั สมัย ทาให้ม ี การพัฒนาชุดคาสังส ่ าเร็จรูปหรือชุดคาสังเฉพาะส ่ าหรับช่วยในการเก็บรวบรวมและ ประมวลผลข้อมูล ซึ่งจะช่วยลดระยะเวลาและเพิม่ ความถูกต้องในการทางานแก่ ผูใ้ ช้งาน ทาให้นกั บัญชีมเี วลาในการปฏิบตั งิ านเชิงบริหารมากขึน้ ระบบบัญชีต้นทุนฐานกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) เป็ น แนวคิดของระบบการบริหารต้นทุนแบบใหม่ ซึง่ มีจุดมุ่งหมายให้ผบู้ ริหารหันมาให้ ความสนใจกับการบริหารกิจกรรมและต้นทุนทีเ่ กี่ยวข้อง ดังนัน้ จึงมีการบริหารโดย แบ่งออกเป็นกิจกรรมต่างๆ และถือว่ากิจกรรมเป็นสิง่ ทีท่ าให้เกิดต้นทุนกิจกรรม คือ การกระทาที่เปลี่ยนทรัพยากรของกิจการออกมาเป็ นผลผลิตได้ ดังนัน้ การบัญชี ต้นทุนกิจกรรมนอกจากเน้นการระบุกจิ กรรมแล้วยังระบุต้นทุนของกิจกรรม เพื่อใช้ ในการคานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ และเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพใน การดาเนินงาน ระบบต้นทุนฐานกิจกรรมเป็ นระบบการใช้ทรัพยากรขององค์ก ารไปใน กิจกรรม โดยจะแบ่งการบริหารออกเป็ นกิจกรรมต่างๆ โดยที่ต้นทุนกิจกรรมจะมี การปนั ส่วนเข้าสู่ผลิตภัณฑ์นัน้ ๆ ตามปริมาณการใช้กจิ กรรมของผลิตภัณฑ์เป็ น สาคัญ นอกจากนี้ยงั ถือว่ากิจกรรมสนับสนุ นต่างๆ เกิดขึน้ เพื่อให้การดาเนินงาน ดาเนินไปตามปกติ การใช้ระบบบัญชีต้นทุนตามกิจกรรมเป็ นพื้นฐานในการนาไปใช้ในระบบ บัญชีอ่นื ๆ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงกว่า เช่น ผลลัพธ์ทไ่ี ด้จากการประเมินว่ากิจกรรมใด เป็นกิจกรรมทีเ่ พิม่ คุณค่าและกิจกรรมไม่เพิม่ คุณค่า สามารถนาข้อมูลทีไ่ ด้ไปใช้ใน การบริหารกิจกรรม (ABM) เป็นต้น นอกจากนี้ การบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม ซึ่งมีหน้าที่ในการจาแนกต้นทุน ทางด้านสิง่ แวดล้อมก็ใช้หลักการระบบต้นทุนตามกิจกรรม (ABC) ในการปนั ส่วน ต้นทุน เนื่องจากมีแนวคิดว่า ผลิตภัณฑ์ใดสร้างกิจกรรมมากผลิตภัณฑ์นัน้ ก็จะ ได้รบั ต้นทุนไปมากเช่นกัน ซึ่งเป็ นหลักการเดียวกันกับแนวคิดการบัญชีบริหาร สิง่ แวดล้อม


46 5. การออกแบบกระบวนการดาเนินงาน 5.1 ความด้อยประสิทธิภาพของต้นทุน การบริหารจัดการต้นทุนในองค์การย่อมมีความด้อยประสิทธิภาพเกิดขึน้ ได้ ซึง่ เป็นสิง่ ทีอ่ งค์การไม่ตอ้ งการให้เกิดขึน้ เนื่องจากจะส่งผลกระทบต่อองค์การใน ระยะยาว ทฤษฎีเกีย่ วกับความด้อยประสิทธิภาพจะแตกต่างกันไปขึน้ อยู่กบั วิธที ใ่ี ช้ ในการบริหารจัดการ ซึง่ ทาให้ช่อื แตกต่างกันไปด้วย บางทฤษฎีเกิดภาวะเหลื่อมล้า กันคือ อาจมีวธิ กี ารจัดการกับความด้อยประสิทธิภาพที่เหมือนกัน หากมองในแง่ ของการบริหารต้นทุนความด้วยประสิทธิภาพก็คอื ของเสีย (waste) นัน่ เอง ซึง่ อาจ แฝงอยู่ในรูปของของดีและของเสีย โดยสามารถแบ่งตามมุมมองของแนวคิดได้ 3 แนวคิด ดังต่อไปนี้

ภาพที่ 2-28 ของเสียตามมุมมองตามแนวคิดของ ABC, EMA และ LEAN ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหาร ต้นทุน)


47 จากภาพข้างต้นสามารถอธิบายแนวคิดทัง้ 3 แนวคิด โดยเริม่ จาก 1. ต้นทุนตามกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) สามารถแบ่ง กิจกรรมได้ทงั ้ หมด 2 กิจกรรม คือ 1.1 กิจกรรมทีเ่ พิม่ มูลค่า (value added) หมายถึง กิจกรรมทีจ่ าเป็ นต่อ การผลิตและเพิ่มมูลค่ าให้แก่ ผลิตภัณฑ์ ของเสียอาจแฝงอยู่ใน กิจกรรมทีเ่ พิม่ มูลค่าได้ 1.2 กิจกรรมทีไ่ ม่เพิม่ มูลค่า (non - value added) หมายถึง กิจกรรมที่ เพิม่ ค่าใช้จ่ายหรือเวลาที่ใช้ในการผลิตแต่ไม่เพิม่ มูลค่ าให้แก่ต ัว ผลิตภัณฑ์ และอาจมีความจาเป็ นในระดับต่างกัน โดยกิจกรรมทีไ่ ม่ เพิม่ มูลค่าจัดว่าอยูใ่ นกลุ่มของเสีย (waste) 2. การบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม (Environmental Management Accounting: EMA) คือ แนวคิดทางการบัญชีท่คี านึงถึงต้นทุนสิง่ แวดล้อม โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อให้องค์การคานึงถึงการกาจัดของเสีย (waste) ในทุก ขัน้ ตอนของกระบวนการผลิตก่อนปล่อยออกสู่สงั คม 3. Lean คือ แนวคิดในการลดความไม่สม่าเสมอ (Mura) การฝืนทา (Muri) และความสูญเปล่า (Muda) ทีเ่ กิดขึน้ ในการทางานขององค์การ โดยความ สูญเปล่า (wastes) ที่เกิดจากแนวคิดแบบลีนเรียกว่า ความสูญเปล่า 7 ประการ (7 waste analysis) สามารถจาแนกของเสียได้ 7 อย่าง ประกอบ ไปด้วย 3.1 ความสูญเปล่าจากการผลิตเกินความจาเป็น หากเราผลิตมากเกินไป จะทาให้มสี นิ ค้าคงคลังเพิม่ มากขึน้ เกิดต้นทุนในการเก็บรักษาและ การขนย้ายสินค้า อีกทัง้ ยังมีความเสี่ยงที่ไม่สามารถขายสินค้าได้ หมด 3.2 ความสูญเปล่าจากการรอคอย เกิดจากการขาดแคลนวัตถุดบิ หรือ ขัน้ ตอนการผลิตใดขัน้ ตอนการผลิตหนึ่งเกิดติดขัด ทาให้ขนั ้ ตอน ต่อไปไม่สามารถผลิตต่อไปได้ ทาให้สายการผลิตต้องหยุดชะงัก 3.3 ความสู ญ เปล่ า จากการเคลื่ อ นย้ า ยและขนย้ า ยที่ ไ ม่ จ าเป็ น (transportation) ล้ วนเป็ นความสู ญเปล่ า ทัง้ สิ้น เพราะเป็ นการ สิน้ เปลืองทัง้ แรงงานและเวลาโดยไม่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิม่ ใดๆ 3.4 ความสูญเปล่าจากการมีสนิ ค้าคงคลังเกินความจาเป็ น เกิดจากการ ที่องค์การมีการผลิตของเสียเป็ นจานวนมาก ท าให้ต้องส ารอง วัตถุดบิ ไว้เพื่อสต็อกสินค้าเปลี่ยนแทนให้กบั ลูกค้า อีกทัง้ องค์การ มักคิดว่าการซือ้ วัตถุดบิ ในปริมาณมากๆ จะทาให้ได้ราคาวัตถุดบิ


48 ในราคาถูก แต่ไม่ได้คานึงถึงต้นทุนในการเก็บรักษาวัตถุดบิ ว่า คุม้ ค่าหรือไม่ 3.5 ความสูญเปล่าที่เกิดจากการเคลื่อนไหวของร่างกายที่ไม่จาเป็ น โดยมุง่ เน้นให้องค์การมีการจัดระเบียบการทางาน ณ จุดทางานให้ เหมาะสม เพื่อทาให้ร่างกายเคลื่อนไหวน้ อยที่สุด เกิดความล้า น้ อยที่สุ ด ซึ่งจะท าให้พนักงานสามารถปฏิบ ัติงานได้อย่ างมี ประสิทธิภาพ 3.6 ความสูญเปล่าที่เกิดจากการมีกระบวนการที่ไม่มปี ระสิทธิภาพ ความสูญเปล่าข้อนี้จะไม่เกิดขึ้น หากองค์การมีการพัฒนาอย่าง ต่ อเนื่ อง ซึ่งสิ่งที่ส าคัญที่สุ ดของระบบการผลิตแบบลีนก็ค ือ องค์การต้องไม่กลัวการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสู่กระบวนการที่ม ี ประสิทธิภาพทีด่ ขี น้ึ อย่างต่อเนื่อง 3.7 ความสูญเปล่าจากการผลิตของเสีย องค์การหลายๆ องค์การนัน้ มุ่งเน้ นแต่การแก้ไขปญั หาเฉพาะหน้ าโดยที่ไม่ได้ให้ความสาคัญ กับการวิเคราะห์ปญั หาเพื่อหาสาเหตุ ดังนัน้ ผู้บริหารจะต้องให้ ความสาคัญกับการวิเคราะห์ปญั หาการผลิตของเสียอย่างเร็วทีส่ ุด เพื่อให้เกิดการผลิตของเสียให้น้อยทีส่ ุด กล่าวโดยสรุปถึงความสัมพันธ์ของความด้อยประสิทธิภาพในเชิงองค์รวม ได้ว่า ของเสียทัง้ 7 ประการสามารถจาแนกออกเป็ น Muri Muda และ Mura สามารถอธิบายความหมายของแต่ละตัวได้ดงั นี้ 1. ความสูญเปล่า (Muda) เกิดได้หลายลักษณะ เช่น ความสูญเปล่าทีเ่ กิด จากการรอคอย การเคลื่อนย้าย การปรับเปลี่ยน การทาใหม่ การ ถกเถียง เป็นต้น ยกตัวอย่างเช่น การประชุมอาจเกิดความสูญเปล่าได้ หากการประชุมนัน้ กลายเป็ นการถกเถียงกัน ทาให้เสียเวลาไปกับการ ประชุมที่ไม่ได้ข้อสรุป หรือในการทากิจ กรรมการขาย ถ้าไม่มกี าร วางแผนในการจัดพื้นที่การไปพบลูกค้า ก็จะเสียเวลาในการเดินทาง และสิน้ เปลืองค่าใช้จา่ ยโดยไม่จาเป็น 2. ความไม่สม่าเสมอ (Mura) งานที่มคี วามไม่สม่าเสมอไม่ว่าจะเป็ นใน เรื่องของปริมาณ วิธกี ารทางาน หรืออารมณ์ในการทางาน ทาให้เกิด ความไม่สม่าเสมอของผลงานตามไปด้วย นัน่ หมายความว่า ผลงานที่ ออกมาไม่เป็นไปตามมาตรฐาน หากทุกคนสามารถรักษามาตรฐานของ งานไว้ได้กจ็ ะทาให้ประสิทธิภาพของงานสูงขึน้ ยกตัวอย่างเช่น ในการ ประชุมไม่เคยมีผู้เข้าร่วมประชุมพร้อมหน้าเลย ครัง้ นี้ขาดคนนัน้ ครัง้


49 นัน้ ขาดคนนี้ และในการทากิจกรรมการขายก็เช่นเดียวกัน พนักงาน อาจมีความตัง้ ใจในการทางานทีไ่ ม่สม่าเสมอ ถ้าไม่ถงึ ปลายเดือนก็จะ ไม่พยายามขาย เป็นต้น 3. การฝื นทา (Muri) การฝื นทาสิ่งใดๆ ก็ตาม มักทาให้เกิดผลกระทบ บางอย่างในระยะยาว ยกตัวอย่างเช่น การทางานล่วงเวลาเป็ นประจา เป็ นการฝื นร่างกาย ซึ่งไม่เป็ นผลดีในระยะยาว อาจท าให้ร่างกาย อ่อนเพลีย ประสิทธิภาพในการทางานลดลง ในการประชุมหากยังไม่ม ี การปรึกษาหารือที่มากเพียงพอแต่กลับเร่งรัดให้มกี ารลงมติก็จะได้ ข้อสรุปที่ผดิ พลาด ส่วนในด้านการขาย การฝื นลดราคาเพื่อให้ได้รบั ออเดอร์หรือการรับงานทีต่ อ้ งส่งมอบเร็วเกินไปก็ไม่ส่งผลดีเช่นกัน 7 Wastes EMA ABC/ABM Lean 1. over production 2. waiting non-value Muri 3. transportation added Mura 4. inventory 5. motion 6. over processing waste Muda 7. defective units ภำพที่ 2-29 เปรียบเทียบของเสียตำมมุมมองตำมแนวคิดของ ABC, EMA และ Lean ทีม่ ำ: จำกกำรวิเครำะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หำพิเศษ (กำรบริหำรต้นทุน) จากทีก่ ล่าวมาข้างต้นถึงของเสียทัง้ 7 ประเภทนัน้ ตามมุมมองของแนวคิด ABC/ABM เรียก ทัง้ หมดว่า กิจกรรมทีไ่ ม่เพิม่ มูลค่า (non-value added) ส่วนในมุมมองของแนวคิด Lean กลุ่มของเสีย ตัง้ แต่ขอ้ ที่ 1-6 เรียกว่า Muri และ Mura คือ การหยุดการผลิตโดยทันที (Jidoka) ซึง่ สามารถกาจัด ออกไปได้เพียงบางส่วนเท่านัน้ และเหลือแต่เพียงของดีเอาไว้ และของเสียข้อที่ 7 จะเรียกว่า Muda คือ ความสูญเปล่าทีต่ อ้ งกาจัดทิง้ ให้เหลือศูนย์ แต่ตามแนวคิดของ EMA เรียกของเสียข้อที่ 7 ว่า ของ เสีย (waste) ซึง่ เนื่องจาก Muda เป็ นของเสียทีต่ ้องกาจัดให้หมดไป แต่ Muri กับ Mura จะแฝงอยู่ใน รูปของของดีเพียงบางส่วน ดังนัน้ สามารถกาจัดได้เพียงบางส่วนเท่านัน้ และเหลือไว้เพียงของดี เอาไว้ ส่วนวิธกี ารจัดการมีหลากหลายรูปแบบคือ ขายหรือรีไซเคิล และบางส่วนทีจ่ ดั การไม่ได้จะต้อง


50 พยายามลดของเสียนัน้ จนกระทังเหลื ่ อศูนย์ และต้องพยายามลดความสูญเปล่ าหรือความด้อย ประสิทธิภาพประเภทต่างๆ ให้ลดลง ดังนั น้ ธุ รกิจจึงมีแนวทางในการลดหรือขจัดความด้ อยประสิทธิภาพ เพื่อก่ อ ให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุดคือ การขจัดความสูญเปล่าทีเ่ กิดขึน้ ในทุกๆ กิจกรรมให้หมดไป โดยพืน้ ฐานการ ควบคุมควรเริม่ จากการสังเกตในเรื่องของสถานทีท่ างานว่าอยู่ในสภาพทีป่ กติหรือไม่ อาจมีการติด ป้ายระบุว่าส่วนใดเป็ นพืน้ ทีท่ างาน ทางเดินหรือที่วางสิง่ ของ เพื่อให้เกิดระบบในการใช้พน้ื ทีภ่ ายใน โรงงานให้เป็นสัดส่วนนันเอง ่ ในส่วนของกระบวนการผลิตควรมีบอร์ดควบคุมการผลิต เพื่อดูว่าผลิต ได้แล้วจ านวนเท่ าไหร่ เกิดความล่ าช้าในการผลิต ที่จะส่ งผลกระทบต่ อปริมาณสินค้าหรือไม่ เครื่องจักรมีการด าเนิ นงานเป็ นอย่ างไร รวมถึงควรเปิ ดเผยข้อมูลทัง้ หมดของหน้ างานผลิต สถานการณ์ดา้ นคุณภาพ เพื่อพนักงานจะได้รว่ มกันทาให้บรรลุเป้าหมาย มีการกาหนดมาตรฐานการ ทางาน เพื่อหาความผิดปกติท่จี ะก่อให้เกิดความด้อยประสิทธิภาพในระบบ เพื่อมุ่งค้นหาถึงสาเหตุ อย่างจริงจัง วางแผนหามาตรฐานการปรับปรุง ดาเนินการปรับปรุง ทบทวนงานตามมาตรฐาน และทา ให้สงิ่ เหล่านี้ดาเนินการได้อย่างยังยื ่ นตลอดไป


51 5.2 ระบบการผลิตแบบลีน

วิธีก ำรผลิต ภัณ ฑ์ใ นด้ำ นกำรเงิน มี ควำมเข้ำ ใจที่ออกแบบมำเพื่อเพิ่ม ผลผลิต และผลก ำไรอย่ำ งต่ อ เนื่ อ ง และผลักดันผลกำรดำเนินงำน

People Development กำรเสริมสร้ำง “ทักษะ ทัศนคติ และ ควำมเชื่อ” ซึ่งช่วยให้กำรพัฒนำของ วัฒนธรรมองค์กรของคุณและในที่สุด ก็กลำยเป็นสภำพแวดล้อมระดับโลก

Implementation of Value Management

The 8 Tools of Total Cost Management

The Road Map to Achieve ‘World Class’ Status

Implementation of Lean Manufacturing

กำรพัฒนำฐำนอุปทำนของคุณ เพื่อ กำรปรับปรุง -คุณภำพ - ต้นทุน - กำรจัดส่ง

Lean Manufacturing

Supply chain management

Supply chain management

The 8 Tools Quality of Total Manageme Cost nt Manageme nt The Foundation for Success People Development “Skin, Attibrutes& Benefit”

กำรส่ง มอบคนและกระบวนกำรใน กำรผลิต ที่มีค วำมเหมำะสม เพื่อ สร้ำงควำมมั ่นใจว่ำจะสำมำรถสร้ำง มู ล ค่ ำ เพิ่ ม และก ำจั ด ของเสี ย ใน รูปแบบ 7+1 ได้

Value Management เพื่อให้แน่ ใจว่ำผลิตภัณฑ์ของคุณส่ง มอบคุ ณ สมบัติก ำรท ำงำน “คุ้ม ค่ ำ เงิน” ที่ดีท่สี ุดเพื่อลูกค้ำของคุณ ใน รำคำทีม่ ปี ระสิทธภำพคุม้ ค่ำทีส่ ุด

Quality Management กำรดำเนินกำรตำมระบบคุณภำพที่มี ประสิท ธิภำพจะช่ วยลดควำมเสี่ย ง ของผลิ ต ภัณ ฑ์ ท่ี บ กพร่ อ งเข้ ำ ถึ ง ลูกค้ำของคุณ

ภาพที่ 2-30 องค์กรแห่งลีน ทีม่ า: XR training & consultancy. http://xrtraining.com/main/showpage. (19 March 2012) องค์กรแบบลีน จะสามารถสาเร็จได้ดว้ ยการปฏิบตั ติ าม 6 ขัน้ ตอน ดังต่อไปนี้ 1. Value Management การส่งมอบผลิตภัณฑ์ให้ลกู ค้าด้วยประสิทธิภาพ สูงสุดและราคาทีค่ ุม้ ค่ามากทีส่ ุด


52 2. Quality Management การดาเนินงานตามระบบทีม่ คี ุณภาพลดข้อบกพร่อง ในสินค้าทีจ่ ะส่งมอบ 3. People Development การสร้างทักษะ ทัศนคติ และความเชื่อ เพื่อช่วย พัฒนาวัฒนธรรมภายในองค์กรจนกลายสภาพแวดล้อมระดับโลก 4. The 8 Tools of Total Cost Management เครื่องมือด้านการเงินที่ ออกแบบมาเพื่อเพิม่ ผลผลิตและผลกาไรอย่างต่อเนื่องให้แก่องค์กร 5. Supply chain management การประสานความร่วมมือขององค์กรต่างๆ ภายในห่วงโซ่อุปทานเพื่อนาไปสู่การดาเนินงานที่มปี ระสิทธิภาพและ ลดต้นทุนในการดาเนินงาน 6. Lean Manufacturing การผลิตทีจ่ ะมุ่งเน้นการขจัดความสูญเปล่าที่เกิดขึน้ ในกระบวนการ และยังสามารถสร้างมูลค่าเพิม่ ให้แก่องค์กร เมื่อนา 6 ขัน้ ตอนข้างต้นมาดาเนินงานร่วมกัน โดยทุกขัน้ ตอนมีความ เชื่อมโยงซึง่ กันและกัน เริม่ จากส่งมอบผลิตภัณฑ์ทค่ี ุม้ ค่าเงินให้แก่ลูกค้า ตลอดจน มีการควบคุ มคุ ณภาพสินค้า เพื่อลดความบกพร่องในผลิตภัณฑ์ นาเครื่องมือ ทางการเงินที่สร้างมาเพื่อวัดผลผลิตและก าไรมาใช้ และยังพัฒนาการสร้าง วัฒนธรรมภายในองค์การที่ดี นอกจากนัน้ มีการจัดการภายในห่วงโซ่อุปทานเพื่อ เพิม่ ประสิทธิภาพในการดาเนินงาน และสุดท้ายองค์การมีการนาวิธกี ารผลิตแบบ ลีนมาปรับปรุงในขัน้ ตอนการผลิตโดยขจัดความสูญเปล่าในองค์การ ซึ่งจะทาให้ องค์การประสบความสาเร็จได้ตามต้องการ


53

ภาพที่ 2-31 การขจัดความสูญเปล่าทัง้ 7 ประการ ทีม่ า: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ นุ่ ). www.tpa.or.th. (23 มีนาคม 2555) ภาณุ บูรณจารุกร (2550) กล่าวว่า ความสูญเสียทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ 7 ประการนี้ เป็นความสูญเสียทีแ่ ฝงอยูใ่ นกระบวนการผลิต ซึง่ ทาให้ตน้ ทุนการผลิตสูงเกินกว่าที่ ควรจะเป็น หากบริษทั ทาการขจัดความสูญเปล่าทัง้ 7 ประการนี้ออกไปได้กจ็ ะทาให้ บริษทั สามารถลดต้นทุนได้ โดยการขจัดความสูญเปล่าทัง้ 7 ประการสามารถทาได้ ดังนี้ 1. ความสูญเปล่าจากการผลิตเกินกว่าความจาเป็ น มีแนวทางการขจัด ความสูญเปล่าดังนี้ 1.1 ก าจัดจุดคอขวด โดยท าการศึกษาเวลาการท างานของแต่ ละ ขัน้ ตอนในการผลิตว่าทางานสมดุลกันหรือไม่ หากพบว่าขัน้ ตอน ใดมีการผลิตต่ากว่ามาตรฐานก็ทาการแก้ไข 1.2 ผลิตสินค้าเฉพาะปริมาณทีล่ กู ค้าต้องการเท่านัน้ 1.3 พนักงานต้องดูแลเครือ่ งจักรให้อยูใ่ นสภาพพร้อมใช้งานเสมอ 2. ความสูญเปล่าจากการรอคอย มีแนวทางการขจัดความสูญเปล่าดังนี้ 2.1 บริษทั ควรมีการวางแผนการผลิต เพื่อให้กระบวนการผลิตสามารถ เป็นไปได้อย่างราบรืน่ 2.2 บริษทั ควรมีการรักษาเครือ่ งจักรให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.3 บริษทั ควรลดเวลาในการตัง้ เครือ่ งจักรให้น้อยลง 2.4 บริษทั ควรมีการจัดสรรพนักงานให้เหมาะสมในแต่ละส่วนงาน


54 3. ความสูญเปล่าจากการเคลื่อนย้ายและขนย้ายที่ไม่จาเป็ น มีแนวทาง การขจัดความสูญเปล่าดังนี้ 3.1 วางผังเครือ่ งจักรให้ใกล้กบั คลังสินค้า เพื่อให้สามารถขนส่งสินค้า ได้งา่ ยและสะดวก 3.2 พยายามลดการขนส่งทีซ่ ้าซ้อนกัน 3.3 ใช้อุปกรณ์ในการขนส่งทีเ่ หมาะสม 4. ความสูญเปล่าจากวิธกี ารผลิต มีแนวทางการขจัดความสูญเปล่าดังนี้ 4.1 บริษัทควรมีมาตรฐานในการผลิต กาหนดไว้ในแผนแม่บทของ บริษทั เพื่อให้ทุกคนปฏิบตั ติ าม 4.2 อบรมพนักงานให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจ และสามารถปฏิบตั งิ านได้ ตรงตามมาตรฐานทีก่ าหนดไว้ 4.3 ดัดแปลงอุปกรณ์ให้สามารถป้องกันความผิดพลาดจากการทางาน ได้ หรือดัดแปลงอุปกรณ์ไม่ให้สามารถทางานได้ หากชิ้นงานนัน้ ไม่สมบูรณ์ 4.4 ตัง้ เป้าหมายให้ผลิตของเสียเป็ นศูนย์ 4.5 ลดเวลาการติดตัง้ เครือ่ งจักรให้ใช้เวลาน้อยทีส่ ุด 5. ความสูญเปล่าที่เกิดจากการเคลื่อนไหวของร่างกายที่ไม่จาเป็ นมีแนว ทางการขจัดความสูญเปล่าดังนี้ 5.1 ศึกษาการเคลื่อนที่ เพื่อพัฒนาการเคลื่อนย้ายให้เกิดต้นทุนน้อย ทีส่ ุด 5.2 จัดการสภาพแวดล้อมในการทางานให้เหมาะสม 5.3 ปรับปรุงเครือ่ งมือและอุปกรณ์ให้มขี นาดเหมาะสมกับผูป้ ฏิบตั งิ าน 5.4 ทาอุปกรณ์ในการจับหยิบชิ้นงาน เพื่อให้สามารถทางานได้อย่าง สะดวกรวดเร็วมากขึน้ 6. ความสูญเปล่าทีเ่ กิดจากการมีกระบวนการที่ไม่มปี ระสิทธิภาพมีแนว ทางการขจัดความสูญเปล่าดังนี้ 6.1 ปรับปรุงการออกแบบผลิตภัณฑ์และเลือกใช้ว ัสดุ ท่ีเหมาะสม เพื่อให้งา่ ยต่อการผลิตและการใช้งาน 6.2 ลดเวลาการติดตัง้ เครือ่ งจักรให้น้อยลง 7. ความสูญเปล่าจากการผลิตของเสีย มีแนวทางการขจัดความสูญเปล่า ดังนี้ 7.1 บริษัทควรมีมาตรฐานในการผลิต กาหนดไว้ในแผนแม่บทของ บริษทั เพื่อให้ทุกคนปฏิบตั ติ าม


55 7.2 อบรมพนักงานให้มคี วามรูค้ วามเข้าใจตามมาตรฐานทีก่ าหนดไว้ 1.3 ระบบห่วงโซ่อุปทาน

ภาพที่ 2-32 ห่วงโซ่อุปทาน ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (การบริหารต้นทุน) คานาย อภิปรัชญาสกุล (2553) กล่าวว่า โซ่อุปทาน คือ เครือข่ายของ องค์การธุรกิจซึง่ ประกอบด้วย ผูข้ ายปจั จัยการผลิต ผูผ้ ลิต/บริการ ผูก้ ระจายสินค้า ผู้ค้าปลีก ที่ร่วมกันวางแผนและดาเนินงานกิจกรรมต่างๆ ตัง้ แต่การจัดซื้อจัดหา วัตถุดบิ การผลิต การบริหารสินค้าคงคลัง การขนส่งและกระจายผลิตภัณฑ์ไปยัง ผู้บริโภคคนสุดท้าย ซึ่งต้องอาศัยการไหลของสารสนเทศ (เกี่ยวกับวัตถุดบิ การ ผลิตและผลิตภัณฑ์) การไหลของเงิน และการไหลของวัตถุ ดิ บและผลิตภัณฑ์ เรียกว่า กระบวนการโลจิสติกส์ ดังภาพที่ 2-32 โดย ณรัฐ หัสชู (2553) อ้างถึง ปวีณา เชาวลิตวงศ์ (2548) ได้แยกกิจกรรมหลักภายในห่วงโซ่อุปทานเป็ น 4 กิจกรรม ได้แก่ 1. การจัดหา (procurement) เป็นการหาวัตถุดบิ หรือวัสดุ เพื่อทาการป้อนเข้า ไปให้แก่ห่วงโซ่อุปทาน กิจกรรมการจัดหาจะส่งผลต่อคุณภาพและ ต้นทุนในการผลิต 2. การขนส่ ง (transportation) เป็ นกิจกรรมที่เพิ่มให้แก่ส ินค้าในแง่ของการ โยกย้ายสถานที่ของสินค้า ซึ่งหากการขนส่งไม่ดี เช่น เสียหายหรือ ล่าช้า ย่อมทาให้ตน้ ทุนในการผลิตเพิม่ ขึน้


56 3. การจัดเก็บ (warehousing) เป็ นกิจกรรมทีม่ ไิ ด้เพิม่ คุณค่าให้แก่ตวั สินค้า แต่เป็ นกิจกรรมที่จาเป็ นสาหรับการรองรับความต้องการของลูกค้าที่ ไม่คงที่ รวมถึงมีประโยชน์ทางด้านในการผลิตครัง้ ละมากๆ เพื่อต้นทุน รวมทีต่ ่าลง 4. การกระจายสินค้า (distribution) เป็ นกิจกรรมที่ช่วยกระจายสินค้าจากจุด จัดเก็บไปยังร้านค้าปลีก หรือศูนย์กระจายสินค้า หรือตัวลูกค้า โซ่อุปทานที่มปี ระสิทธิภาพสูงย่อมสามารถตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าด้วยต้นทุนที่ต่ าสุดและตรงตามเวลาที่ต้องการ ดังนัน้ จึงจาเป็ นที่ต้องมีการ จัดการโซ่อุปทานให้เกิดประสิทธิภาพ เพื่อประสานองค์กร หน่ วยงาน และกิจกรรม ต่างๆ ในห่วงโซ่อุปทานให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด ซึง่ ต้องอาศัยความร่วมมือของทุก ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อผลประโยชน์ร่วมกันทัง้ ทางด้านการผลิตคือ ช่วยลดต้นทุนใน การเก็บรักษาสินค้าคงคลัง และต้นทุนอันเกิดจากการขาดแคลนสินค้าที่จะจัดส่ง ให้กบั ลูกค้า ด้านการตลาดคือ ทราบถึงปริมาณความต้องการของสินค้าที่แท้จริง ของผู้บริโภค ทาให้การวางกลยุทธ์ทางการตลาดมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การจัดการการบริหารห่วงโซ่ อุ ปทานเข้ามาช่ วยในการจัดการตัง้ แต่ การสังซื ่ ้อ วัตถุดบิ การผลิต การเก็บรักษาสินค้า การกระจายสินค้า ตลอดจนการบริการหลัง การขายให้เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และด้านการเงินก่อให้เกิดสภาพคล่องของ เงินหมุนเวียนในโซ่อุปทาน อุปสรรคทางการเงินในการดาเนินธุรกิจจึงไม่เกิดขึน้ 1.4 การจัดการสินค้าคงคลัง คานาย อภิปรัชญาสกุ ล (2549) กล่ าวว่า สินค้าคงคลัง (inventory) คือ สินทรัพย์ชนิดหนึ่งที่กิจการต้องมีไว้เพื่อขายหรือผลิต ซึ่งประกอบด้วย วัตถุดบิ งานระหว่างทา วัสดุซ่อมบารุงสินค้าสาเร็จรูป แรงงาน เงินลงทุน เครื่องมือและ อุปกรณ์ เป็นต้น ระบบการควบคุมสินค้าคงคลัง (inventory control system) มี 3 วิธ ี คือ 1. ระบบสินค้าคงคลังอย่างต่อเนื่อง (continuous inventory system perpetual system) เป็ นระบบทีม่ กี ารลงบัญชีทุกครัง้ ทีม่ กี าร รับและจ่าย ทาให้บญ ั ชีคุมยอดแสดงยอดคงเหลือที่แท้จริง ของสินค้าคงคลังอยู่เสมอ ซึ่งจาเป็ นอย่างยิง่ ในการควบคุม สินค้าคงคลังรายการสาคัญทีป่ ล่อยให้ขาดมือไม่ได้ 2. ระบบสินค้าคงคลังเมื่อสิน้ งวด (periodic inventory system) เป็ นระบบที่ม ีการลงบัญชีเฉพาะในช่ วงเวลาที่ก าหนดไว้ เท่านัน้ เมื่อของถูกเบิกไปก็จะมีการสังซื ่ ้อเข้ามาเติมให้เต็ม


57 ระดับที่ตงั ้ ไว้ ซึ่งระบบนี้จะเหมาะกับสินค้าที่มกี ารสังซื ่ ้อและ เบิกใช้เป็นช่วงเวลาทีแ่ น่นอน 3. ระบบการจาแนกสินค้าคงคลังเป็ นหมวดเอบีซี (ABC) โดย ระบบนี้เป็นวิธกี ารจาแนกสินค้าคงคลังออกเป็ นแต่ละประเภท โดยพิจารณาปริมาณและมูลค่าของสินค้าคงคลังแต่ละรายการ เป็ นเกณฑ์ เพื่อลดภาระในการดูแล ตรวจนับ และควบคุ ม สินค้าคงคลังทีม่ อี ยู่มากมาย เพื่อไม่ให้เสียเวลาและค่าใช้จ่าย มากเกินความจาเป็น ประโยชน์ของสินค้าคงคลัง มีดงั นี้ 1. ทาให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าทีป่ ระมาณ การไว้ในแต่ละช่วงเวลาทัง้ ในและนอกฤดูกาล 2. รักษาการผลิตให้มอี ตั ราคงทีส่ ม่าเสมอ เพือ่ รักษาระดับการ ว่าจ้างแรงงาน การเดินเครือ่ งจักรฯลฯ ให้สม่าเสมอได้ โดยจะ เก็บสินค้าทีข่ ายไม่หมดในช่วงขายไม่ดไี ว้ขายตอนช่วงขายดี ซึง่ ช่วงนัน้ อาจจะผลิตไม่ทนั ขาย 3. ทาให้ธุรกิจได้ส่วนลดปริมาณจากการจัดซือ้ จานวนมากต่อ ครัง้ ป้องกันการเปลีย่ นแปลงราคาและผลกระทบจากเงินเฟ้อ เมือ่ สินค้าในท้องตลาดมีราคาสูงขึน้ 4. ป้องกันของขาดมือด้วยสินค้าเผื่อขาดมือ เมือ่ เวลารอคอย ล่าช้าหรือบังเอิญมีคาสังซื ่ อ้ เพิม่ ขึน้ กะทันหัน 5. ท าให้กระบวนการผลิตสามารถด าเนิ นการต่ อเนื่ องอย่าง ราบรื่น ไม่มกี ารหยุดชะงักเพราะของขาดมือจนเกิดความ เสียหายแก่กระบวนการผลิต 1.5 การจัดการโลจิสติกส์ โกศล ดีศีลธรรม (2547) ได้กล่าวว่า การบริหารโลจิสติกส์ (logistics management) ได้ถูกนิยามโดยสภาการจัดการโลจิสติกส์ (Council of Logistics Management: CLM) ซึง่ เกีย่ วข้องกับกระบวนการวางแผน การดาเนินการ และการ ควบคุ ม เพื่อให้ เกิดการไหลของทรัพยากรอย่ างมีประสิทธิภาพ และรวมถึง ประสิทธิผลต้นทุนการจัดเก็บสินค้าคงคลังและการไหลของสารสนเทศ การบริหาร โลจิสติกส์จะเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการห่วงโซ่อุปทาน (SCM) ธนิต โสรัตน์ (2550) ได้กล่าวไว้ว่า ในประเทศไทยส่วนใหญ่แล้วยังมีความ เข้าใจว่า โลจิสติกส์เป็ นเรื่องที่เกี่ยวข้องเฉพาะกับระบบการขนส่งสินค้าหรือการ เคลื่อนย้ายคนหรือสิง่ ของ ความหมายของโลจิสติกส์ไม่ใช่เรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้องเฉพาะกับ


58 การขนส่งและก็คลังสินค้า โดยกิจกรรมของโลจิสติกส์ครอบคลุมถึงกิจกรรมต่างๆ ในการเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยการลดต้นทุนจากการใช้ประโยชน์ จากอรรถประโยชน์ของเวลา บทบาทและหน้าที่ของกิจกรรมต่างๆ ของโลจิสติกส์ จึงมีพนั ธกิจในการสนับสนุ นและการบูรณาการในการเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารในทุก หน่วยของโซ่อุปทาน โดยมีจดุ ศูนย์กลางในการตอบสนองความพึงพอใจให้กบั ลูกค้า แนวคิ ดและทฤษฎีเกี่ยวกับการบัญชีบริ หารสิ่ งแวดล้อม 1. ควำมหมำยของกำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อม United Nations (2001) ได้กล่ำวว่ำ กำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อม (Environmental Management Accounting: EMA) เป็ นวิธกี ำรทำงบัญชีทน่ี ำข้อมูลจำกฐำนข้อมูลมำ ใช้ส ำหรับ กำรจ ำแนกต้ น ทุ น เพื่อ ให้ท รำบว่ ำ ต้ น ทุ น รำยกำรใดที่เ กี่ย วข้อ งกับ สิง่ แวดล้อมและมีต้นทุนทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมเป็ น จำนวนเท่ำใด ซึง่ สำมำรถแบ่งบัญชี บริหำรสิง่ แวดล้อมได้เป็ น 2 ประเภท คือ กำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อมที่เป็ นตัวเงิน (Monetary Environmental Management Accounting: MEMA) จะเป็ นกำรจัดทำ บัญชีออกมำในรูปของหน่ วยเงิน เพื่อกำรแสดงผลออกมำในรูปของตัวเงิน ให้ง่ำยต่อกำร ตัดสินใจของผู้ บริหำร และกำรบัญชีบริหำรสิ่งแวดล้อมทำงกำยภำพ (Physical Environmental Management Accounting: PEMA) จะเป็ นกำรจัดทำบัญชีออกมำในรูป ของหน่ ว ยทำงกำยภำพ เช่ น มีก ำรน ำเข้ำ วัต ถุ ดิบ กี่ห น่ ว ย และได้อ อกมำเป็ น ผลิตภัณฑ์กห่ี น่วย ของเสียจำนวนกีห่ น่วย 2. ประเภทกำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อม United Nations (2001) กล่ำวว่ำ กำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อมสำมำรถแบ่ง ออกได้เป็น 2 ประเภทหลัก ได้แก่ 2.1 กำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อมทีเ่ ป็นตัวเลข กำรบัญชีบริหำรสิ่งแวดล้อมที่เป็ นตัวเงิน (Monetary Environmental Management Accounting: MEMA) เป็ นระบบบัญชีท่มี กี ำรจัดทำงบ ประมำณด้ำน สิง่ แวดล้อม ตลอดจนเพื่อนำรำยงำนดังกล่ำวไปประเมินกำรลงทุน รวมถึงยัง สำมำรถคำนวณต้นทุน ตลอดจนผลประโยชน์ ท่จี ะเกิด จำกลงทุนในโครงกำร ต่ำงๆ ในระดับองค์กำรจะใช้กำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อมที่เป็ นตัวเงินสำหรับ กำรรำยงำนทำงด้ำนสิง่ แวดล้อม บันทึกบัญชี และกำรบันทึกต้นทุนต่ำงๆ ซึง่ ใน กำรค ำนวณต้นทุนนัน้ จะใช้กำรค ำนวณต้นทุนฐำนกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) เป็นหลักในกำรคำนวณ หลังจำกนัน้ จะนำข้อมูลต่ำงๆ ทีไ่ ด้มำจัดทำ


59 เป็ นรำยงำนเสนอต่ อบุ คคลภำยนอกและใช้ส ำหรับ เป็ น ตัว ชี้ว ัด ทำงสถิติเ พื่อ ประเมินผลกำรดำเนินงำนในรูปแบบของตัวเงิน 2.2 กำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อมทีไ่ ม่เป็ นตัวเลข กำรบัญชีบริหำรสิ่งแวดล้อมที่ไม่ เป็ นตัวเลข (Physical Environmental Management Accounting: PEMA) เป็ นระบบบัญชีทจ่ี ดั ทำออกมำในรวมแบบ ของหน่ ว ยทำงกำยภำพ รวมถึง งบประมำณและสำมำรถประเมินกำรลงทุ น ออกมำในหน่ ว ยกำยภำพ ตลอดจนใช้ส ำหรับ วัด ผลกำรด ำเนิ น งำนในเชิง ปริมำณ และยังนำข้อมูลทีไ่ ด้ไปออกแบบระบบต่ำงๆ เพื่อให้เกิดประสิทธิภำพ ในระดับองค์กรจะใช้กำรบัญชีบริหำรสิ่งแวดล้อมทำงกำยภำพส ำหรับ ประเมินถึงควำมสมดุลของกำรหมุนเวียนของปจั จัยนำเข้ำ รวมถึงควำมสมดุลของ กำรกระบวนกำรผลิต และเมื่อได้ข้อมูลมำก็เพื่อสำหรับรวบรวมและจัดทำเป็ น รำยงำนทำงด้ำนสิง่ แวดล้อม และเพื่อพัฒนำระบบที่เกี่ยวกับสิง่ แวดล้อมภำยใน องค์กร 3. ประเภทค่ำใช้จำ่ ยทำงด้ำนสิง่ แวดล้อม ประเภทค่ำใช้จ่ำยทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมสำมำรถจำแนกออกได้เป็ น 2 ประเภท คือ ต้นทุนของเสีย และค่ำใช้จำ่ ยทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมอื่น 3.1 ต้นทุนของเสีย ต้นทุนของเสียทีเ่ กิดขึน้ จำกกระบวนกำรผลิตโดยตรง ซึง่ มำจำกกำรนำ วัตถุดบิ เข้ำสู่กระบวนกำรผลิตแล้วได้ผลลัพธ์ออกมำจำกกระบวนกำรผลิตเป็ น ผลิตภัณฑ์ (product) และตัวทีไ่ ม่ใช่ผลิตภัณฑ์ (non-product) โดยต้นทุนของเสีย คือ ตัวทีไ่ ม่ใช่ผลิตภัณฑ์ (non-product) ทีอ่ อกมำจำกกระบวนกำรผลิต และในแต่ ละกระบวนกำรผลิตมีต้นทุนของเสียทีเ่ กิดขึน้ แตกต่ำงกัน เนื่องจำกตัวนำเข้ำที่ แตกต่ำงกัน ยกตัวอย่ำงดังต่อไปนี้ 3.1.1 น้ ำเสีย เกิดจำกกำรนำน้ ำเข้ำสู่กระบวนกำรผลิตเพื่อใช้ในกำร หล่ อเย็นเครื่องจักรที่ท ำงำนแล้วเกิดควำมร้อนสู งหรือในตัว ผลิตภัณฑ์ทม่ี กี ำรนำน้ ำเป็ นวัตถุดบิ ประกอบในรำยกำรผลิต 3.1.2 มลพิษทำงอำกำศ เกิดจำกเผำไหม้ของเชือ้ เพลิงทีไ่ ม่มคี ุณภำพและ กระบวนกำรผลิตที่ไม่มปี ระสิทธิภำพทำให้เกิดมลพิษทำงอำกำศ จำกกำรผลิตขึน้ เช่น ควัน ฝุน่ สำรปนเปื้อนในอำกำศ เป็นต้น 3.1.3 ของเสีย เกิดจำกวัตถุ ดิบหลักและวัตถุ ดิบประกอบที่น ำเข้ำสู่ กระบวนกำรผลิต เมื่อได้ผลลัพธ์ออกมำตัววัตถุดบิ ที่ออกมำและ ไม่ได้เป็ นตัวผลิตภัณฑ์ทต่ี ้องกำรหรือพวกเศษซำกวัตถุดบิ ต่ำงๆ


60 ที่เกิดในกระบวนกำรผลิต เช่น น้ ำมันเกิดน้ ำมันเสีย แผ่ นเหล็ก เกิดเศษเหล็ก เป็นต้น 3.1.4 ขยะมูลฝอย เกิดจำกกิจกรรมต่ำงๆ ทีเ่ กิดจำกทีอ่ ยู่อำศัย ในเมือง โรงงำน เป็ นต้น เมื่อมีของใช้ท่หี มดประโยชน์ แล้วแล้วทิ้งก็จะ กลำยเป็ นขยะมูลฝอย เช่น เศษกระดำษ เศษถุงพลำสติก เศษ อำหำร เป็นต้น 3.1.5 สำรเคมีท่ใี ช้แล้ว เกิดจำกกระบวนกำรผลิตที่ต้องใช้สำรเคมีใน กำรผลิตเพื่อเปลี่ยนสถำนะหรือเร่งปฏิกิรยิ ำให้กบั ตัววัตถุดบิ ที่ นำเข้ำ เช่น ตัวทำละลำยเปลีย่ นเป็ นตัวทำละลำยใช้แล้ว เป็นต้น 3.2 ค่ำใช้จำ่ ยทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมอื่น ค่ำใช้จ่ำยทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมอื่นคือ ค่ำใช้จ่ำยต่ำงๆ ทีเ่ กิดขึน้ จำกกำร ดูแล ควบคุมและป้องกันกำรเกิดขึ้นของของเสียในแต่ละด้ำน และรวมไปถึง กระบวนกำรและเทคโนโลยีต่ำงๆ ทีใ่ ช้ในกำรดูแล บำบัดของเสียต่ำงๆ อีกด้วย นอกจำกกระบวนกำรเหล่ำนัน้ แล้ว ยัง รวมถึงค่ำแรงพนักงำนที่เข้ำมำดูแล และ ควบคุมกระบวนกำรผลิต อีกด้วยซึง่ มีรำยละเอียดดังต่อไปนี้ 3.2.1 ต้นทุนกำรบำบัดของเสียและมลภำวะ เป็ นต้นทุนทีเ่ กี่ยวข้องกับ ผลลัพธ์ท่ไี ม่ใช้ต ัว ผลิตภัณฑ์ขององค์กำร ที่ควรประกอบด้วย ข้อมูลสำรสนเทศด้ำนสิง่ แวดล้อมต่ำงๆ กำรจัดเก็บของเสีย กำร น ำกลับ มำใช้ ใ หม่ แ ละกำรวัด ต้ น ทุ น ที่จ ะพบได้ มำกจำกกำร ตรวจสอบ ในส่ วนแรกนี้ จะครอบคลุ มทุ ก ด้ำนของต้นทุ นกำร บำบัดดูแลของผลลัพธ์ทไ่ี ม่ใช่ตวั ผลิตภัณฑ์ ซึง่ ได้แก่ 1) ค่ำเสื่อมรำคำสำหรับอุปกรณ์ทเ่ี กี่ยวข้อง เป็ นค่ำเสื่อมรำคำ ของสินทรัพย์ท่ใี นกำรบำบัดทัง้ ของเสีย อำกำศ และน้ ำเสีย ทัง้ นี้กข็ น้ึ อยูก่ บั ประเภทของแต่ละธุรกิจและระบบกำรจัดกำร สิง่ แวดล้อมที่แต่ละองค์กำรอำจจะมีกำรเตรียมควำมพร้อม ในกำรแยกประเภทของต้นทุน ในส่วนของทีด่ นิ อำจมีรวมถึง พืน้ ทีท่ ก่ี นั ไว้เป็ นแนวป้องกัน กระบวนกำรนำกลับมำใช้ใหม่ และซ่อมแซมในส่วนทีป่ นเปื้อน ซึง่ ผูจ้ ดั กำรด้ำนสิง่ แวดล้อม จะเป็นผูท้ ก่ี ำหนดปริมำณของเสียและมลภำวะทีจ่ ะได้รบั กำร บำบัดจำกทำงบริษทั ในขณะทีน่ ักบัญชีกจ็ ะทำกำรประมำณ มูลค่ำซือ้ และค่ำเสื่อมรำคำประจำปี 2) ต้น ทุ น บ ำรุง รัก ษำ กำรด ำเนิ น งำนด้ำ นวัต ถุ ดิบ และกำร บริกำร เมื่อกำรลงทุนทีเ่ กี่ยวกับสิง่ แวดล้อมและอุปกรณ์ท่ี


61

3)

4)

5)

6)

ได้รบั กำรกำหนดจะมีรำยงำนต้นทุนประจำปี ท่ใี ช้ในกำร ด ำเนิ น งำนด้ ำ นวั ต ถุ ดิ บ อุ ป กรณ์ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง กำร บ ำรุ ง รัก ษำ ตรวจสอบและอื่ น ๆ สำมำรถได้ ร ับ กำร พิจำรณำและนำมำประกอบกับส่วนนี้ บุคลำกรที่เกี่ยวข้อง เวลำที่ใช้ในกำรจัดกำรของเสียและ มลภำวะที่เกี่ยวข้องกับกำรลงทุนจะถู กค ำนวณ เวลำที่ใช้ สำหรับกำรผลิตที่ไม่มปี ระสิทธิภำพ กำรเกิดของเสีย และ เวลำทีใ่ ช้ไปในกิจกรรมกำรจัดกำรด้ำนสิง่ แวดล้อม ในส่วนนี้ ส่ ว นใหญ่ น ำไปใช้กับบุ ค ลำกรของแผนกจัดเก็บของเสีย ผูค้ นทีร่ บั ผิดชอบในกำรบำบัดน้ ำเสียและควบคุมมลพิษทำง อำกำศ ซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับของเสียที่ระบุไว้ ควันจำก กำรปล่อยมลภำวะและอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในกำรบำบัดของเสีย ภำษีและค่ำธรรมเนียม กำรกำจัดของเสียทัง้ หมดเข้ำสู่ท่อ ระบำยน้ ำและค่ำธรรมเนียมเกี่ยวกับน้ ำทิ้ง ยังคงเป็ นต้นทุน ส ำหรับ ใบอนุ ญ ำตที่ เ ฉพำะเจำะจง หรื อภำษี เกี่ ยวกั บ สิง่ แวดล้อม ถ้ำเป็นไปได้ ควรจะมีกำรยกมำใช้ในหลำยประเทศ ตลอดจนภำษีส ิ่งแวดล้อมซึ่งเรีย กเก็บ จำกฐำนพลัง งำน รวมถึงกำรนำเข้ำน้ ำ เช่นเดียวกันกับบรรจุภณ ั ฑ์และใน บำงครัง้ เป็ นสำรเคมีอนั ตรำย ส่วนในด้ำนของกำรส่งออก ภำษีและค่ำธรรมเนียมสำมำรถเรียกเก็บได้จำกปริมำณของ เสีย น้ำเสียและกำรปล่อยมลภำวะทำงอำกำศ ค่ ำปรับและบทลงโทษ ในกรณี ท่ีไม่ ปฏิบ ัติตำมอย่ ำง เคร่งครัด ค่ำปรับและบทลงโทษที่อำจถูก เรียกเก็บเงิน ใน กำรขอแนวทำงกำรรำยงำนต่ำงๆ นัน้ ต้องทำกำรเปิ ดเผยแยก ต่ ำงหำก โดยไม่ ต้ องค ำนึ งถึงจ ำนวนเงิน ในควำมสัม พัน ธ์ เพื่อให้ค่ำใช้จ่ำยที่สำคัญอื่น ๆ ยังคงไม่สำมำรถพบได้ใ น รำยงำน อำจเป็ นเพรำะบริษัทที่อยู่ในระดับแนวหน้ำของ กำรรำยงำนผลกำรดำเนินงำนด้ำนสิง่ แวดล้อมที่จะไม่ได้ ถูกเรียกเก็บเงินค่ำปรับและบทลงโทษ กำรประกันภัยสำหรับควำมรับผิดด้ำนสิง่ แวดล้อม โดยทัวไป ่ มีกำรจัดสรรไปยังส่ ว นต้นทุนอื่นๆ มำกกว่ำที่จะออกมำ เป็ น สื่อ สิ่ง แวดล้ อ มที่ ช ัด เจน สำมำรถหำควำมมัน่ คง ทำงกำรเงินได้เช่น กำรประกัน เป็ นสิง่ สำคัญเพื่อให้แน่ ใจ


62 ว่ำหนี้ส ินที่ม ีประสิทธิภ ำพต่ อ สิ่งแวดล้อ ม ประสิทธิภำพ ของควำมรับ ผิด ชอบต่ อ สัง คมต่ ำ งๆ ตำมกฎหมำย ซึ่ง ต่อไปจะขึน้ อยูก่ บั ควำมสำมำรถของกำรบริหำรจัดกำรและ เจ้ำ หน้ ำที่ท ำงกฎหมำยในกรณีดูแ ลรักษำ เช่นเดีย วกับ ควำมหมำยที่เ หมำะสมของควำมสำมำรถในกำรเข้ำถึง ข้อมูลอย่ำงเป็นธรรมของสำธำรณชน 3.2.2 ค่ำใช้จ่ำยกำรป้องกันและกำรจัดกำรด้ำนสิง่ แวดล้อม จะรวมถึง ข้อตกลงเกี่ยวกับค่ำใช้จ่ำยในกำรป้องกันและค่ำใช้จ่ำยสำหรับ กิจกรรมกำรจัดกำรสิง่ แวดล้อมทัวไป ่ 1) กำรบริกำรภำยนอกสำหรับกำรจัดกำรสิง่ แวดล้อม กำร บริกำรภำยนอกสำหรับกำรปรึกษำด้ำนสิ่งแวดล้อมทัง้ หมดที่ เกี่ยวข้องกับกำรฝึ กอบรม กำรตรวจสอบ กำรสอบและกำร สื่อ สำร จะถู กรวมอยู่ใ นส่ ว นนี้ นอกจำกนี้ยงั มีค่ ำใช้จ่ำ ย ส ำหรับ กำรจัด พิม พ์ ร ำยงำนทำงด้ ำ นสิ่ง แวดล้ อ มและ กิจ กรรมกำรสื่อ สำรที่เ กี่ย วข้อ งอื่น ๆ เช่ น กำรให้ ก ำร สนับสนุ นเชิงนิเวศวิทยำก็ควรจะถูกรวมไว้ในกลุ่มนี้ 2) บุคลำกรสำหรับกิจกรรมกำรจัดกำรด้ำนสิง่ แวดล้อมทัวไป ่ ใน ส่วนนี้ประกอบไปด้วยบุคคลภำยในสำหรับกิจกรรมกำรจัดกำร สิง่ แวดล้อมทัวไปที ่ ไ่ ม่เกีย่ วข้องโดยตรงกับกำรรักษำกำรปล่อย ก๊ำซเรือนกระจกหรือกำรผลิตผลิตภัณฑ์ส่วนเกิน ชัวโมงกำร ่ ทำงำนสำหรับโปรแกรมกำรฝึ กอบรมรวมทัง้ ค่ำใช้จ่ำยในกำร เดินทำง กิจกรรมกำรจัดกำรสิ่งแวดล้อมและโครงกำร กำร ตรวจสอบ กำรปฏิบ ัติและกำรสื่อสำรควรจะประมำณและ ประเมินผลค่ำใช้จำ่ ยด้วยชัวโมงในกำรท ่ ำงำน 3) วิจยั และพัฒนำ เป็ นค่ำใช้จ่ำยของพนักงำนที่มหี น้ำที่ในกำร วิจยั และพัฒนำกำรดำเนินงำน ตลอดจนกำรผลิตเพื่อให้เกิด ประสิทธิภำพในกำรลดกำรปล่อยมลพิษ ตลอดจนกำรลดต้นทุน ที่ไม่จำเป็ นออกจำกบริษทั โดยจะมีกำรคำนวณจำกชัวโมงใน ่ กำรทำงำนของพนักงำนทีป่ ฏิบตั งิ ำน 4) ค่ำใช้จ่ำยเสริมสำหรับเทคโนโลยีท่สี ะอำด กำรลงทุนในกำร ป้องกันมลพิษที่เกี่ยวข้องกับกำรปรับปรุงด้ำนสิง่ แวดล้อม และกำรปรับปรุงกำรผลิต โดยจะนำเทคโนโลยีท่สี ะอำด เข้ำมำใช้ให้เกิดกำรผลิตที่มปี ระสิทธิภำพมำกขึน้ ซึ่งช่วย


63 ลดหรือป้องกันมลพิษที่เกิดขึ้น บ่อยครัง้ ที่เทคโนโลยีใหม่ ใช้พลังงำนน้อยเร็วขึน้ และทำให้กำรผลิตมำกขึน้ โรงงำน ขวดใหม่จะมีเ สียงรบกวนที่น้ อ ยลงใช้น้ ำน้ อ ยกว่ำ และมี แหล่งจ่ำยพลังงำนอัตโนมัติ 5) ค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดกำรด้ำนสิง่ แวดล้อมอื่นๆ ค่ำใช้จ่ำย ต่ ำ งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ กำรปกป้ องสิ่ ง แวดล้ อ ม เช่ น ค่ำใช้จ่ำยเพิม่ เติมสำหรับกำรจัดซื้อระบบนิเวศเมื่อเทียบ กั บ วั ส ดุ เ ดิ ม อำจจะยกมำ กิ จ กรรมกำรจั ด กำรด้ ำ น สิง่ แวดล้อมอื่นๆ เช่นกำรจัดกำรด้ำนสิง่ แวดล้อมเชิงนิเวศ ถู ก พบในส่ ว นนี้ ส่ ว นใหญ่ ค่ ำ ใช้ จ่ ำ ยในส่ ว นนี้ ม ัก จะ เกี่ยวข้องกับกำรสื่อสำรภำยนอกอย่ำง เช่น กำรจัดพิมพ์ รำยงำนเกีย่ วกับสิง่ แวดล้อม 3.2.3 ต้นทุนกำรซือ้ วัตถุดบิ จะประกอบไปด้วย 1) ซือ้ (มูลค่ำในกำรซือ้ วัสดุ) 2) กำรขนส่ งและกำรจัดกำรสินค้ำคงคลัง (ต้นทุนสำหรับกำร ขนส่งและกำรจัดกำรสินค้ำคงคลัง) 3) กำรประมวลผลในขัน้ ตอนกำรผลิตต่ ำงๆ (ค่ ำเสื่อมรำคำ อุปกรณ์เวลำกำรทำงำนวัสดุเสริมและวัสดุดำเนินงำนต้นทุน ทำงกำรเงิน เป็นต้น) 4) กำรจัดกำรเรียงลำดับ กำรขนส่ง กำรดูแล เช่น เก็บเศษเหล็ก ของเสีย เป็นต้น 5) กำรจำหน่ ำยออก เช่น ค่ำธรรมเนียมกำรกำจัด เป็นต้น วัตถุดบิ ที่นำเข้ำด้วยหน่ วยกิโลกรัมและตัวเงินสำมำรถ ประเมินผลโดยกำรวิเครำะห์ข้อมูลที่สมั พันธ์กบั กำรซื้อ ข้อมูลที่ จัดเก็บและกำรผลิตทีเ่ กี่ยวข้องกับวิธกี ำรคำนวณ Material Flow Balance ด้ำนผลลัพธ์ของ Material Flow Balance จะถูกรวมกับ ต้นทุนในกำรซื้อวัตถุดบิ และส่วนแบ่งของกำรส่งออกของที่ไม่ใช่ ผลิตภัณฑ์ทป่ี ระกอบด้วยสื่อด้ำนสิง่ แวดล้อมทีแ่ ตกต่ำงกัน ควำม ผันผวนของรำคำวัตถุดบิ ทีอ่ ำจจะมีกำรจัดกำรโดยใช้รำคำเฉลีย่ ที่ ได้จำกกำรคำนวณภำยในทีม่ ขี อ้ มูลจำกบัญชีตน้ ทุน 3.2.4 ต้นทุนในกระบวนกำรผลิต คือต้นทุนผลิตภัณฑ์ท่ไี ม่ใช่เพียงแต่ ต้นทุนสินค้ำนัน้ หรือมูลค่ ำกำรซื้อวัตถุ ดิบ แต่ ต้องมีมูลค่ ำจำก กระบวนกำรผลิตในองค์กำร ก่ อนที่จะออกเป็ นตัวผลิตภัณฑ์


64 ดังนัน้ จึงควรมีค่ำใช้จ่ำยด้ำนแรงงำนและต้นทุนเงินทุนที่เพิม่ ขึ้น อีกด้วยนอกจำกนี้ เวลำทำงำนที่เสียไปเนื่องจำกกำรผลิตไม่ม ี ประสิทธิภำพและส่วนแบ่งของค่ำเสื่อมรำคำสำหรับเครื่องจักร ต้นทุนอื่นๆ ควรจะเป็ นรำยกำรตำมบัญชีน้ี สำหรับของเสียของ วัตถุดบิ และผลิตภัณฑ์ในขัน้ ตอนต่ำงๆของกำรผลิต (โดยปกติจะ เป็ นของแข็งหรือของเหลว) สัดส่วนต้นทุนกำรผลิตจะถูกคำนวณ เป็ นฐำนร้อยละพิเ ศษของมู ลค่ ำกำรซื้อวัตถุ ดิบ กำรสู ญ เสีย วัตถุดบิ ประกอบและดำเนินงำนเช่นเดียวกับบรรจุภณ ั ฑ์ควรจะถูก ยกมำอยูภ่ ำยใต้กำรส่งออกวัตถุดบิ ทีไ่ ม่ใช่ตวั ผลิตภัณฑ์และไม่ได้ นับรวม ควรจะบวกเพิม่ ผ่ำนทำงต้นทุนกำรผลิต สำหรับพลังงำน และน้ำทีป่ ระมำณกำรไม่ได้จะนำไปรวมอยูใ่ นกำรจัดซือ้ วัตถุดบิ 3.2.5 รำยได้จำกสิง่ แวดล้อม จะรวมถึงกำไรทีเ่ กิดขึน้ จริงจำกกำรนำ วัสดุมำรีไซเคิล เงินอุดหนุ น ทีเ่ กิดขึน้ ได้ทงั ้ หมด เงินฝำกออม ทรัพย์จะได้รบั กำรแยกออกจำกกำรประหยัดด้ำนสิง่ แวดล้อม 1) เงินอุดหนุ นกับรำงวัล ในหลำยประเทศกำรลงทุนสำหรับ กำรคุม้ ครองสิง่ แวดล้อมและโครงกำรเพื่อควำมผ่อนคลำย ที่ เ กี่ ย วกั บ จั ด กำรสิ่ ง แวดล้ อ ม กำร ยกเว้ น ภำษี ห รื อ ผลประโยชน์ อ่นื ๆ โดยเงินอุดหนุ นควรที่จะหมำยถึงพวก รำยได้ท่ีเ กิดขึ้นจริง กำรยกเว้นภำษีและข้อ ได้เ ปรียบที่ ไม่ใ ช่ปีงบประมำณควรจะถูกคำนวณเมื่อมีกำรประมำณ กำรเกีย่ วกับกำรประหยัดต้นทุนทีเ่ กิดขึน้ จำกเงินลงทุน ซึง่ บริษัทและผู้จดั กำรด้ำนสิง่ แวดล้อ มบำงครัง้ ได้ รบั รำงวัล จำกกิจ กรรมภำยนอกเมื่อ ได้ร ับ รำงวัล เป็ น จ ำนวนเงิน รำยได้น้คี วรจะจัดไว้ในหมวดนี้ 2) รำยได้อ่นื ๆ จะรวมถึงกำไรจำกกำรขำยขยะรีไซเคิล กำไรที่ เป็ นไปได้อ่นื ๆ อำจมำจำกกำรแบ่งปนั ควำมจุของระบบบำบัด น้ำเสียหรือกำรจัดส่งพลังงำนทีผ่ ลิตไปยังส่วนภำยนอก 4. แนวคิดหลักในกำรบริหำรจัดกำร กำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อมนัน้ มีแนวคิดหลัก ในกำรบริหำรจัดกำรดังต่อไปนี้ 4.1 Material Flow balance กำรปรับปรุงประสิทธิภำพพืน้ ฐำนด้ำนสิง่ แวดล้อมเป็ นกำรบันทึก Material Flow โดยกำรวิเครำะห์กำรนำเข้ำและผลลัพธ์วตั ถุดบิ (input-output) ขอบเขต ควำมสำมำรถในระดับองค์กร ต้นทุน ระดับกระบวนกำรและผลิตภัณฑ์


65 ต้นทุนที่เ พิ่มขึ้นจำกกำรทำให้ส อดคล้อ งกับสิ่งแวดล้อ ม จึงมีกำรลด ต้นทุนโดยกำรปรับปรุงคุณภำพวัตถุดบิ เพื่อให้สำมำรถแข่งขันในตลำดทีม่ กี ำร แข่งขันสูง ด้วยกำรติดตำม Material Flow ขององค์กำรผ่ำนทำงเครื่องมือที่ สำคัญเพื่อกำรปรับปรุงประสิทธิภำพในกำรป้องกันกำรเกิดของเสียและกำรผลิต ทีส่ ะอำด เช่นเดียวกันกับกำรคำนวณต้นทุนทีเ่ กี่ยวข้องกับสิง่ แวดล้อมและกำร กระจำยไปตำมตัว ต้ น ทุ น ที่ก่ อ ให้เ กิด มลภำวะ กระบวนกำรหรือ ที่ม ำจำก ควำมสำมำรถในกำรทำกำไรของผลิตภัณฑ์ กระบวนกำร และกำรผลิต ที่ได้ คำนวณอย่ำงถูกต้อง Material Flow Balance เป็ นไปตำมสมกำรทีว่ ่ำ “มีปริมำณเข้ำมำเท่ำไรก็ ต้องมีปริมำณออกเท่ำนัน้ ” ในด้ำนของข้อมูล Material Flow Balance ของทัง้ วัตถุดบิ ที่ได้ใช้ไปและจำนวนเงินที่เกิดจำกผลิตภัณฑ์ ของเสีย และมลพิษตำมที่ กำหนด ทุกรำยกำร มีกำรวัดปริมำณด้วยกำรวัดทำงกำยภำพ ในด้ำนของมวลลิตร หรือพลังงำน ในกำรซื้อหน่ วยนำเข้ำต้องทำกำรตรวจสอบกับปริมำณกำรผลิต ยอดขำย รวมไปถึงของเสียและมลพิษที่จะเกิดขึ้น ดังนั น้ เป้ ำในกำรพัฒนำ ประสิทธิภำพของกำรจัดกำรวัตถุดบิ ทัง้ ส่วนของเศรษฐกิจและสิง่ แวดล้อม Material Flow Balance สำมำรถแสดงข้อมูลได้จำกกำรซือ้ วัตถุดบิ จริงใน กำรกระบวนกำรผลิตจนไปถึงกำรขำยผลิตภัณฑ์และวิธกี ำรปล่อยของเสีย น้ ำ เสีย หรือมลพิษ

ภำพที่ 2-33 Material Flow ในกระบวนกำรผลิตสีทำบ้ำน ทีม่ ำ: United Nations. www.un.org/esa/sustdev/proceduresandprinciples.pdf. (19 March 2555) ภำพที่ 2-33 แสดงให้เห็นถึงกระบวนกำร Material Flow Balance ของ ร้ำนขำยสี จำกภำพจะเห็นได้ว่ำมีกำรนำเข้ำวัตถุดบิ ทีซ่ อ้ื เข้ำมำเข้ำกระบวนกำรผลิต 100 กิโลกรัม เมื่อกลำยเป็ นตัวผลลัพธ์จะได้ ตัวผลิตภัณฑ์ 12 กิโลกรัม มลพิษ 29 กิโลกรัม ของเสีย 43 กิโลกรัม และน้ ำเสีย 16 กิโลกรัม ซึง่ มีมลู ค่ำเท่ำกับตอนกำร นำเข้ำวัตถุดบิ ทีน่ ำเข้ำมำ 100 กิโลกรัม ทำให้เข้ำใจได้ว่ำ Material Flow Balance


66 คือ กำรหมุนเวียนของวัตถุเข้ำสู่กระบวนกำรผลิตเท่ำใด มูลค่ำของผลลัพธ์ท่ี ออกมำจะมีมูลค่ำเท่ำกับตอนนำเข้ำ แต่ออกมำในรูปแบบของตัวผลิตภัณฑ์ ของ เสีย มลพิษ และน้ำเสียเท่ำไรทีเ่ กิดจำกกระบวนกำรผลิต ควำมสมดุลของกำรนำเข้ำและผลลัพธ์ในระดับองค์กรจะถูกวำงขึ้นเป็ น โครงสร้ำงต่ อปี หรือต่ อเดือนและมีกำรเชื่อมโยงกับกำรท ำบัญชี บัญชีต้นทุ น คลังสินค้ำและระบบซือ้ Material Flow ทุกอย่ำงควรจะแสดงมูลค่ำและจำนวนเงิน ต่อปี โครงกำร Material Flow ที่ผ่ำนมำจึงควรบันทึกจำนวนเป็ นกิโลกรัม ที่ม ี มูลค่ำและสอดคล้องกับบัญชี นอกจำกนี้ยงั ควรระบุวตั ถุดบิ ทีม่ กี ำรลงทะเบียนตำม หมำยเลขคลังสินค้ำวัตถุ ดิบและกำรจัดกำรสินค้ำคงคลัง ซึ่งควรมีข้อบ่ งชี้ถึง จำนวนสต๊อกทีใ่ ช้เพื่อนำเข้ำตัวต้นทุน ดังขัน้ ตอนแรกในกำรจัดทำรำยงำนวัตถุดบิ เข้ำออกในระดับองค์กำร จำนวนปริมำณข้อมูลที่ได้เก็บรวบรวมจำกระบบบัญชี และกำรจัดเก็บคลังสินค้ำ ระบบบัญชีมขี ้อมูลเกี่ยวกับกำรนำเข้ำสู่บริษัทรวมถึง ผลลัพธ์ท่ีได้ วัตถุ ดิบทุ กอย่ำงที่ซ้ือมำระหว่ ำงปี ต้ องออกจำกบริษัทในรูปของ ผลิตภัณฑ์ ของเสีย มลพิษ หรือยังเก็บไว้ในคลังสินค้ำ ตำรำงที่ 2-1 General input/output chart of accounts การนาเข้า/กิ โล/วัตต์

ผลลัพธ์/กิ โล

วัตถุดบิ วัตถุดบิ ประกอบ บรรจุภณ ั ฑ์ กำรดำเนินงำนMaterial สินค้ำ พลังงำน ก๊ำซ ถ่ำนหิน น้ำมันเตำ

ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์หลัก ผลิตภัณฑ์ ของเสีย ขยะ ของเสียรีไซเคิล ของเสียอันตรำย น้ำเสีย ปริมำณ

ทีม่ ำ: United Nations.www.un.org/esa/sustdev/proceduresandprinciples.pdf. (19 March 2555)


67 ตำรำงที่ 2-1 (ต่อ) General input/output chart of accounts การนาเข้า/กิ โล/วัตต์

ผลลัพธ์/กิ โล

เชือ้ เพลิงอื่น ควำมร้อน พลังงำนทดแทน แสงอำทิตย์ ลม น้ำ กำรผลิตไฟฟ้ำจำกภำยนอก กำรผลิตไฟฟ้ำภำยใน น้ำ Municipal Water Ground water Spring water ฝน/ฝนกรด

โลหะหนัก COD BOD มลภำวะทำงอำกำศ CO2 CO NOx SO2 ฝุน่ FCKWs,NH4,VOCs สำรทำลำยโอโซน

ทีม่ ำ: United Nations.www.un.org/esa/sustdev/proceduresandprinciples.pdf. (19 March 2555) ตำรำงที่ 2-1 แสดงถึงโครงกำรหมุนเวียนสิง่ แวดล้อมจำกรำยงำนกำร นำเข้ำส่งออกวัตถุดบิ มีกำรทำเครือ่ งหมำยบ่งชีว้ ่ำแหล่งทีม่ ำของข้อมูลหรือกำร บันทึกมำจำกแหล่งที่สำมำรถเชื่อถือได้ โดยวัตถุประสงค์ควรมีกำรพัฒนำกำร บันทึกข้อมูลวัตถุดบิ ทีล่ ะขัน้ ตอนกำรผลิต ซึง่ จะทำให้สำเร็จในปีเดียวไม่ได้ต้อง ค่อยๆ ทำเพื่อกำรติดตำมวัตถุดบิ เป็ นไปอย่ำงสมบูรณ์และสม่ำเสมอที่สุด ใน กำรบริหำรกำรจัดเก็บตัวต้นทุนและกำรวำงแผนกำรผลิต 4.2 กำรปนั ส่วนต้นทุนทำงด้ำนสิง่ แวดล้อม จำกทีไ่ ด้กล่ำวไว้แล้วข้ำงต้นว่ำ ค่ำใช้จ่ำยทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมสำมำรถ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทนัน้ ค่ำใช้จ่ำยทัง้ 2 ประเภทนี้จะถูกปนั ส่วนให้กบั ผลิตภัณฑ์ โดยต้นทุนของเสียและค่ำใช้จ่ำยทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมอื่นจะถูกปนั ส่ ว นให้ ก ับ ผลิต ภัณ ฑ์ โดยคิด จำกปริม ำณกำรเกิ ด ขึ้น ของเสีย ของแต่ ล ะ ผลิตภัณฑ์ผ่ำนศูนย์ตน้ ทุน (cost centre) ศูนย์ต้นทุน (cost centre) หมำยถึง หน่ วยงำนหรือศูนย์กลำงที่รวบรวม ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับสิง่ แวดล้อมไว้ และมีหน้ำที่ในกำรจำแนกต้นทุนในหน่ วย ดังกล่ำวให้กบั ผลิตภัณฑ์ทอ่ี อกจำกหน่วยนัน้ โดยใช้หลักกำรคิดต้นทุนตำมฐำน กิจกรรม (Activity Based Costing: ABC) ในกำรปนั ส่วนของต้นทุน


68

ภำพที่ 2-34 กำรปนั ส่วนต้นทุนของเสีย ทีม่ ำ: United Nations. www.un.org/esa/sustdev/proceduresandprinciples.pdf. (19 March 2555) ภำพที่ 2-34 จะแสดงให้เห็นถึงกำรปนั ส่วนของต้นทุนของเสีย จำกภำพจะ พบว่ำ มีกำรนำปจั จัยนำเข้ำไปในกระบวนกำรผลิตจำนวน 1,000 กิโลกรัม ซึ่งได้ ผลิตภัณฑ์ออกมำเป็ นปริมำณ 800 กิโลกรัม และได้ออกมำเป็ นของเสียจำกหน่ วยที่ 1 2 และ 3 ปริมำณ 100 50 และ 50 กิโลกรัม ตำมลำดับ รวมเป็ นปริมำณของเสีย จำนวน 200 กิโลกรัม ซึ่งของเสียดังกล่ำวมีค่ำใช้จ่ำยในกำรกำจัดจำนวน 800 เหรียญ ค่ำใช้จ่ำยทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมที่เกิดขึ้นจำกกำรกำจัดของเสียจำนวน 800 เหรียญดังกล่ำว จะต้องถูกปนั ส่วนให้กบั ศูนย์ต้นทุนทัง้ 3 ซึ่งสำมำรถ คำนวณได้ดงั นี้ ขัน้ ตอนแรก จะต้องคำนวณสัดส่วนของของเสียทีเ่ กิดขึน้ โดย ในหน่ วยแรกจะนำปริมำณของเสียจำนวน 100 กิโลกรัม หำรด้วยปริมำณของ เสียทัง้ หมด 200 กิโลกรัม จะเท่ำกับ 0.5 และนำสัดส่วนดังกล่ำวไปคูณกับ ต้นทุนในกำรกำจัดของเสีย จะได้ผลว่ำ ในศูนย์ต้นทุนที่ 1 2 และ 3 จะมีต้นทุน ของเสียเท่ำกับ 400 200 และ 200 เหรียญตำมลำดับ ซึง่ ต้นทุนดังกล่ำวนี้จะถูก ปนั ต้นทุนให้กบั ผลิตภัณฑ์ A และ B โดยศูนย์ตน้ ทุนในลำดับถัดไป


69

ภำพที่ 2-35 กำรปนั ส่วนต้นทุนทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมอื่น ทีม่ ำ: United Nations. www.un.org/esa/sustdev/proceduresandprinciples.pdf. (19 March 2555) ภำพที่ 2-35 จะแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง กำรป นั ส่ ว นของค่ ำ ใช้ จ่ ำ ยทำงด้ ำ น สิง่ แวดล้อมอื่น ซึ่งจำกภำพจะพบว่ำ มีค่ำใช้จ่ำยทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมอื่นอยู่จำนวน 9,000 เหรียญ ซึ่งค่ำใช้จ่ำยดังกล่ำวจะถูกปนั ส่วนให้กบั ศูนย์ต้นทุนทัง้ 3 โดยขัน้ แรก จะต้องมีกำรคิดสัดส่ วนในกำรปนั ส่วนต้นทุน โดยคำนวณจำก ผลรวมของ หน่ วยกำรผลิตที่เข้ำไปในแต่ละหน่ วย เท่ำกับ 2,750 (1,000+900+850) และเมื่อ นำปริมำณนำเข้ำหำรด้วยปริมำณทัง้ หมด จะเท่ำกับสัดส่วนของค่ำใช้จ่ำยทำงด้ำน สิง่ แวดล้อมอื่น ซึง่ เท่ำกับ 36.36% 32.73% และ 30.91% ตำมลำดับของหน่วย สำหรับขัน้ ถัดไปจะเป็ นกำรหำค่ ำใช้จ่ำยของในแต่ ละหน่ วย โดยกำรนำ สัดส่ ว นของค่ ำใช้ จ่ ำยทำงด้ ำนสิ่งแวดล้ อ มอื่น มำคู ณกับค่ ำใช้ จ่ ำยทำงด้ ำ น สิง่ แวดล้อมอื่นทัง้ หมด ซึง่ จะได้เท่ำกับ 3,273 2,945 และ 2,782 เหรียญตำมลำดับ ของหน่วยต้นทุน เมื่อได้ทรำบถึงค่ำใช้จ่ำยทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมในแต่ละหน่ วยแล้ว จะมีกำร ปนั ส่วนค่ำใช้จ่ำยภำยในหน่ วยนัน้ ๆ ให้กบั ของเสียที่เกิดขึน้ ภำยในระบบ เช่น ใน หน่ วยที่ 1 มีสดั ส่วนของดีต่อของเสียเท่ำกับ 0.1 (100/1,000) และนำสัดส่วนทีไ่ ด้ไปคูณ กับค่ำใช้จ่ำยทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมของหน่ วยที่ 1 จะได้เท่ำกับ 327.2 เหรียญ (0.1 x


70 3,273) และจำกวิธกี ำรคำนวณนี้จะทำให้ทรำบว่ำในหน่ วยที่ 2 และ 3 มีค่ำใช้จ่ำย ทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมอื่นจำนวน 163.6 เหรียญ จำกกำรปนั ส่วนค่ำใช้จ่ำยทำงด้ำนสิง่ แวดล้อม จะพบว่ำ มีต้นทุนที่ถูกปนั ส่วนเข้ำไปในผลิตภัณฑ์รวมทัง้ หมด 654.6 เหรียญ ทำให้เรำทรำบว่ำผลิตภัณฑ์ใด มีต้ นทุ นที่แท้จริงเท่ ำใด และสำมำรถน ำข้อมูลดังกล่ ำวไปใช้ในกำรตัดสินใจ ทำงด้ำนกลยุทธ์ต่อไป 5. กำรนำเอำกำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อมมำใช้ในกระบวนกำรดำเนินงำน กระบวนกำรด ำเนิ น งำนของกำรบัญ ชีบ ริห ำรสิ่ง แวดล้อ ม มีข นั ้ ตอนใน กระบวนกำรดังต่อไปนี้ 5.1 กำรทำควำมเข้ำใจกับตัวต้นทุนทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมขององค์กำรว่ำมีอะไรบ้ำงที่ ออกมำจำกกระบวนกำรผลิต แล้ว กลำยเป็ น ต้น ทุ น ทำงด้ำ นสิ่ง แวดล้อ มซึ่ง ผลลัพธ์ทไ่ี ด้จำกกระบวนกำรนัน้ แบ่งออกมำได้ 2 ประเภท ดังภำพที่ 2-33 5.1.1 ผลิตภัณฑ์ (product) คือ ตัวสินค้ำหรือบริกำรทีอ่ อกมำจำกกระบวนกำรผลิต ซึง่ เมื่อกระบวนกำรผลิตเสร็จสิ้นกระบวนกำรแล้ว เป็ นสิง่ ทีส่ ร้ำงมูลค่ำให้แก่ องค์กำร เช่น เบนซิน 91 95 เป็นต้น 5.1.2 ไม่ใช่ผลิตภัณฑ์ (non-product) คือตัวผลิตภัณฑ์ทอ่ี อกมำจำกกระบวนกำร ผลิต ซึ่งเมื่อกระบวนกำรผลิตเสร็จสิ้นกระบวนกำรแล้ว กลำยเป็ นสิ่งที่ องค์กำรไม่ตอ้ งกำรได้รบั หรือ “ของเสีย” เช่น มลภำวะ ขยะ น้ำทิง้ เป็นต้น 5.2 เมือ่ ทรำบถึงลักษณะของตัวผลิตภัณฑ์กบั ไม่ใช่ผลิตภัณฑ์ องค์กำรก็จะสำมำรถ จำแนกต้นทุนทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมออกมำได้ว่ำต้นทุนทีเ่ กิดขึน้ จำกกระบวนกำร นี้เกิดขึน้ เท่ำไร และเป็ นตัวต้นทุนเท่ำไร และต้นทุนทำงด้ำ นสิง่ แวดล้อมเท่ำไร ซึง่ สำมำรถแบ่งออกมำได้อย่ำงชัดเจน 5.3 เมื่อทรำบต้นทุนและต้นทุนทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมอย่ำงชัดเจน ตัวต้นทุนจะนำเข้ำไป รวมกันเพื่อกลำยเป็ นต้นทุนของผลิตภัณฑ์ท่เี กิดขึน้ แต่ทำงด้ำนต้นทุนทำงด้ำน สิง่ แวดล้อมจะนำตัวต้นทุนทีเ่ กิดขึน้ เข้ำไปยังศูนย์ต้นทุนก่อนทำกำรปนั ส่วนต้นทุน ซึ่งตรงส่วนนี้มกี ำรนำหลักกำรแบบ ABC เข้ำมำใช้ในกำรปนั ส่วนต้นทุนอย่ำงมี ประสิทธิภำพดังภำพที่ 2-35 ซึ่งจะทำให้ทรำบว่ำต้นทุนทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมที่ เกิดขึน้ นัน้ เป็นต้นทุนของผลิตภัณฑ์ตวั ใด ปริมำณเท่ำใดและมูลค่ำเท่ำไร ก่อนทีจ่ ะ ทำกำรกระจำยต้นทุนทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมเข้ำสู่ตวั ผลิตภัณฑ์ทก่ี ่อให้เกิดตัวต้นทุน ทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมขึน้ 6. ประโยชน์ขององค์กำรเมือ่ นำระบบกำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อมมำใช้


71 เมื่อองค์กำรนำกำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อมเข้ำมำใช้ จะได้รบั ผลประโยชน์ ต่ำงๆ ดังต่อไปนี้ 6.1 องค์กำรทรำบถึงต้นทุนทีแ่ ท้จริงในกำรผลิตผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด 6.2 เมือ่ รับรูต้ น้ ทุนจำกกำรปนั ส่วนต้นทุน ทำให้ระบุของดีและของเสียจำกกระบวนกำร ผลิตได้ ซึ่งของดีหรือผลิตภัณฑ์ก็จะสำมำรถสร้ำงมูลค่ำให้กบั องค์กำร ส่วนของ เสียจะเกิดควำมด้อยประสิทธิภำพจะต้องมีกระบวนกำรจัดกำรให้ขนั ้ ต่อไป 6.3 ช่วยให้องค์กำรสำมำรถวำงแผนบริหำรจัดกำรด้ำนต้นทุนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ มำกยิง่ ขึน้ 6.4 ทำให้พนักงำนเข้ำใจถึงตัวต้นทุนทำงด้ำนสิง่ แวดล้อมมำกขึน้ และมีส่วนช่วยในกำร ลดต้นทุนในกระบวนกำรผลิตส่งผลต่อประสิทธิภำพทำงด้ำนต้นทุนมำกยิง่ ขึน้ 6.5 ท ำให้ อ งค์ ก ำรเกิ ด ควำมน่ ำ เชื่ อ ถื อ และสำมำรถน ำเสนอข้ อ มู ล ทำงด้ ำ น สิง่ แวดล้อมในรูปแบบตัวเงินและไม่ใช่ตวั เงินออกสู่สำธำรณชนได้ 7. ระบบบัญชีทจ่ี ะต้องประยุกต์ให้เหมำะกับกำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อม กำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อมสำมำรถนำระบบบัญชีอ่นื ๆ เข้ำมำประยุกต์ใช้ เพื่อสนับสนุนให้กำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อมมีประสิทธิภำพในกำรทำงำนมำกยิง่ ขึน้ โดยระบบบัญ ชีท่ีเ ป็ น ขัน้ พื้นฐำน ที่ส ำมำรถน ำมำประยุกต์ใ ช้ไ ด้ ค ือ ระบบบัญ ชี ต้นทุนตำมกิจกรรม (Activity Based Costing: ABC)

ภำพที่ 2-36 ขัน้ ตอนกำรปนั ส่วนค่ำใช้จำ่ ยกำรผลิตแนวคิด ABC ทีม่ ำ: อนุรกั ษ์ ทองสุโขวงศ์.http://home.kku.ac.th/anuton/cost%20accounting/ cost%20allocation%20and%20ABC.html. (19 มีนำคม 2555) อนุ รกั ษ์ ทองสุโขวงศ์ (2555) กล่ำวไว้ว่ำ ระบบบัญชีต้นทุนฐำนกิจกรรม (Activity Based Costing : ABC) เป็ นระบบทีท่ ำกำรปนั ส่วนต้นทุนตำมมูลค่ำทีเ่ กิดขึน้


72 จริงของแต่ละผลิตภัณฑ์ ซึง่ ในด้ำนของกำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อมก็มกี ำรใช้ระบบบัญชี ต้นทุนฐำนกิจกรรมมำประยุกต์ใช้ในต้นทุนของเสียทีเ่ กิดขึน้ ในแต่ละกระบวนกำรผลิตที่ เข้ำสู่ศูนย์ต้นทุนก่อนจะทำกำรปนั ส่วนต้นทุนของเสียเข้ำสู่แต่ละตัวผลิตภัณฑ์ซ่งึ กำร คำนวณกำรปนั ส่วนต้นทุนนัน้ ทำงกำรบัญชีบริหำรได้มกี ำรเทคนิคกำรคำนวณของระบบ บัญชีตน้ ทุนฐำนกิจกรรมเข้ำมำใช้ในกำรคำนวณ สรุปได้ว่ำ กำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อม เป็ นเครื่องมือทำงกำรบริหำรต้นทุนทีม่ ี ประสิทธิภำพที่สำมำรถนำมำจำแนกต้นทุน เพื่อให้ทรำบว่ำ ต้นทุ นทำงสิ่งแวดล้อม เท่ ำใด และต้ นทุ นทัว่ ไปเท่ ำใด และมีกำรป นั ส่ วนต้ นทุ นทำงสิ่งแวดล้อมเข้ำสู่ ต ัว ผลิตภัณฑ์ท่เี กิดขึน้ โดยนำหลักกำรบัญชีต้นทุนตำมกิจกรรม (ABC) มำใช้ในกำรเป็ น พื้นฐำนในกำรจ ำแนกต้ นทุ น เพื่อ ให้ ได้ ต้ นทุ นที่แท้ จริงของตัว ผลิต ภัณฑ์แต่ ล ะ ผลิตภัณฑ์ ทำให้องค์กำรทรำบถึงผลลัพธ์ท่อี อกมำในรูปของ ผลิตภัณฑ์และของเสีย สำหรับ “ของเสีย” จำกกระบวนกำรผลิตนัน้ แสดงถึงควำมด้อยประสิทธิภำพของกำร บริหำรต้นทุน แต่ในปจั จุบนั นัน้ มีววิ ฒ ั นำกำรกำรบริหำรต้นทุนทีถ่ อื ได้ว่ำมีประสิทธิภำพ สูงสุดทีส่ ำมำรถนำไปต่อยอดโดยกำรใช้เทคนิคกำรผลิตแบบ LEAN ทีจ่ ะสำมำรถทำให้ องค์กำรลดต้นทุนทำงสิง่ แวดล้อมให้หมดไป รวมทัง้ พยำยำมทำกำรลดต้นทุนผลิตภัณฑ์ ให้เป็นศูนย์ ก่อให้เกิดกำรดำเนินธุรกิจทีม่ ปี ระสิทธิภำพมำกทีส่ ุด งานวิ จยั ที่เกี่ยวข้อง จำกกำรศึกษำงำนวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องมีดงั นี้ 1. กำรศึกษำเรื่อง กำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อมและกำรเปิ ดเผยข้อมูล โดย Michael John Jones (2010) พบว่ำ 1.1 มีวตั ถุประสงค์ในกำรวิจยั อยู่ 2 อย่ำงคือ กำรให้เหตุผลในทำงทฤษฎีสำหรับกำร จัดทำบัญชีและกำรรำยงำนด้ำนสิง่ แวดล้อม โดยมีกรอบทฤษฎีท่หี ลำกหลำย เพื่อเกื้อหนุ นในกำรจัด กำรเกี่ยวกับสิง่ แวดล้อมและกำรตรวจสอบควำมหมำย ของรูปแบบทำงทฤษฎีสำหรับองค์กรและนักบัญชีซ่งึ มีผลกระทบ 4 อย่ำงที่ เกิดขึน้ จำกงำนวิจยั ครัง้ นี้ 1.2 วิธกี ำรศึกษำ โดยกำรเข้ำไปศึกษำในบริษัทต่ำงๆเกี่ยวกับเรื่องกำรเปิ ดเผย ข้อมูลบัญชีสงิ่ แวดล้อมของบริษทั โดยจะต้องอยู่ในกรอบกำรวิจยั ทีเ่ กี่ยวกับกำร จัดกำรสิง่ แวดล้อม เช่น ภัยอันตรำยต่อสิง่ แวดล้อม ควำมรับผิดชอบขององค์กร ควำมสัมพันธ์ใหม่ระหว่ำงภำคอุตสำหกรรมและสิง่ แวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อ อุตสำหกรรม กำรวัดผลกระทบของอุต สำหกรรม กำรเปิ ดเผยข้อมูลและกำร รำยงำนผลกระทบ


73 1.3 ข้อจำกัดกำรศึกษำ คือ มีบริษทั บำงบริษทั ที่ใช้กำรจัดกำรสิง่ แวดล้อมเข้ำมำ ประยุกต์ใช้ในองค์กรทำให้ขอ้ มูลที่ได้ออกมำนัน้ เป็ นข้อมูลที่ยงั ไม่เป็ นที่แน่ ชดั ซึ่ง ที่ส ำคัญ ผู้บ ริห ำรและนัก บัญ ชีข องบริษัท หลำยแห่ ง ยัง ไม่ ท รำบเกี่ย วกับ จุดประสงค์ของกำรจัดทำบัญชีสงิ่ แวดล้อมเพื่อเปิดเผยต่อสำธำรณะ 1.4 ผลกำรศึกษำ พบว่ำ จำกกำรศึกษำพบว่ำผูบ้ ริหำรและนักบัญชีจำเป็ นทีจ่ ะต้อง เข้ำใจเกีย่ วกับกำรจัดทำและกำรเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบัญชีสงิ่ แวดล้ อมเพื่อให้ บริษัท มีก ำรรับ ผิด ชอบต่ อ สัง คม (CSR) กัน มำกขึ้น นอกจำกนี้ ย ัง จะต้ อ ง คำนึงถึงกำรจัดมูลค่ำทำงกำรเงินและทีม่ ใิ ช้ทำงกำรเงินรวมไปถึงกิจกรรมต่ำงๆ ที่เป็ นปญั หำต่ อองค์กำรจะต้องรำยงำนผลให้ผู้มสี ่วนได้เสียของบริษทั ภำยใต้ กรอบทีบ่ ริษทั ได้กำหนดไว้ 2. กำรศึกษำเรื่อง ประสิทธิภำพทำงเศรษฐกิจและสิง่ แวดล้อมโดยใช้รปู แบบบัญชีทำง สังคม โดย Carmen Rodríguez Morillaa, Gaspar Llanes Díaz-Salazarb และ M. Alejandro Cardenetec (2007) พบว่ำ 2.1 มีวตั ถุประสงค์เพื่อแสดงสิง่ อำนวยควำมสะดวกทีเ่ รียกว่ำบัญชีสงั คมและบัญชี สิง่ แวดล้อม (SAMEA) สำหรับกำรวิเครำะห์ประสิทธิภำพทำงเศรษฐกิจและ สิ่ง แวดล้ อ ม ได้ น ำไปใช้ ใ นประเทศสเปนในปี 2 000 เป็ น กำรน ำไปใช้ กับ ทรัพยำกรน้ำและก๊ำซเรือนกระจก 2.2 วิธ ีก ำรศึก ษำจะใช้รูป แบบนี้ ใ นกำรเป็ น แกนกลำงของกำรด ำเนิ น งำนด้ำ น สิง่ แวดล้อม ควำมหลำกหลำยทำงด้ำนเศรษฐกิจและกำรคำนวณ โดยจะใช้ช่อื ว่ ำ “ตัว ทวีคู ณ บัญ ชีส ัง คมและสิ่ง แวดล้อ มภำยใน (domestics SAMEA multipliers)” และตรวจสอบถึงผลกระทบจำกกำรสลำยตัว ของทรัพยำกร ทำงตรงและทำงอ้อม นอกจำกนี้ยงั นำของตัวทวีคูณเหล่ำนี้เข้ำมำประยุกต์เพื่อ แสดงให้เห็นถึงควำมไม่สมั พันธ์กนั ระหว่ำงหน่ วยเศรษฐกิจที่เชื่อมโยงกับกำร เสื่อมสภำพของสิง่ แวดล้อม 2.3 ผลกำรศึกษำ พบว่ำ หลังจำกที่ใช้ตวั ทวีคูณในกำรเข้ำวิเครำะห์ทำให้เห็นว่ำ เศรษฐกิจ ของประเทศสเปนไม่ม ีค วำมสัม พัน ธ์ใ นเชิง สำเหตุ ร ะหว่ ำ งหน่ ว ย เศรษฐกิจกับกำรเสื่อมสภำพของสิง่ แวดล้อม ดังนัน้ จึงเป็ นไปได้ท่จี ะออกแบบ นโยบำยด้ำนสิง่ แวดล้อมทีใ่ ห้ควำมสำคัญเกี่ยวกับกำรเสื่อมสภำพทีม่ ผี ลกระทบ น้อยที่สุดในกำรพัฒนำเศรษฐกิจเพื่อให้เกิดกำรพัฒนำที่ยงยื ั ่ นซึ่งได้ขอ้ สรุปว่ำ จำเป็ นจะต้องมีกจิ กรรมที่ก่อให้เกิดประสิทธิภำพในกำรพัฒนำ ได้แก่ กิจกรรม หลักและกำรผลิตพลังงำนไฟฟ้ำ


74 3. กำรศึกษำเรื่อง กำรจัดกำรบัญชีสงิ่ แวดล้อมในลิทวั เนีย : กำรศึกษำกำรปฏิบตั ิใน ปจั จุบนั โอกำสและเจตนำของกลยุทธ์ โดย Jurgis Kazimieras Staniskis และ Zaneta Stasiskiene (2006) พบว่ำ 3.1 มีวตั ถุประสงค์เพื่อ ต้องกำรเปลี่ยนกลยุทธ์เชิงรุกเป็ นกำรพัฒนำอย่ำงยังยื ่ ่น เพื่อให้บริษทั ต่ำงๆในประเทศลิทวั เนียหันมำสนใจและร่วมกันในกำรส่งเสริม มำตรฐำนด้ำนสิง่ แวดล้อม 3.2 วิธ ีก ำรศึก ษำ เข้ำ ไปศึก ษำองค์ก รต่ ำ งๆในประเทศลิท ัว เนี ย โดยใช้ว ิธ ีก ำร สัมภำษณ์ และกำรสังเกตุ กำรณ์ ทงั ้ จำกภำยในองค์กรและนอกองค์กรเพื่อ ให้ ได้ผลออกมำให้มำกทีส่ ุด 3.3 ผลกำรวิจยั พบว่ำ ภำครัฐของประเทศลิทวั เนียมีควำมสนใจเกี่ยวกับกำรจัดกำร ด้ำนสิง่ แวดล้อมทัง้ มีกำรให้องค์กรต่ำงๆจัดทำบัญชีสงิ่ แวดล้อมและกำรจัดกำร ด้ำนสิง่ แวดล้อมเพื่อกำรพัฒนำอย่ำงยัง่ ยืนซึ่งส่ งผลให้มกี ำรดำเนินโครงกำร มำกกว่ำ 200 โครงกำร กำรนำนวัตกรรมกำรผลิตที่สะอำดเข้ำมำใช้กว่ำ 150 บริษทั นอกจำกนี้ภำครัฐบำลยังได้นำระบบพิเศษ (EMS) เข้ำมำใช้เพื่อให้เป็ น ควำมเหมำะสมกับ ทุ ก องค์ก รในกำรบริห ำรจัด กำร เช่ น กำรผลิต และกำร ออกแบบ กระบวนกำรจัดสรรค่ำใช้จ่ำยและกำรควบคุมเงินทุน งบประมำณกำร จัดซื้อ กำรกำหนดรำคำสินค้ำและประสิทธิภำพกำรประเมินผล เป็ นต้น จึงทำ ให้บริษัทที่ใช้EMAเป็ นส่วนหนึ่งของระบบกำรจัดกำรแบบบูรณำกำรที่มใี ห้กบั ข้อมูลทีถ่ ูกต้องและครอบคลุมสำหรับกำรประเมินผลและกำรรำยงำนผลของกำร ดำเนินงำนด้ำนสิง่ แวดล้อม จำกงำนวิจยั ที่เกี่ยวข้องข้ำงต้น พบว่ำในกำรศึกษำกำรนำบัญชีสงิ่ แวดล้อมเข้ำ มำประยุกต์ใช้ในปจั จุบนั ทำให้เห็นว่ำองค์กรต่ำงๆเริม่ สนใจเกี่ยวกับกำรรับผิดชอบต่อ สังคมมำกขึน้ ไม่ว่ำจะเป็นกำรจัดทำข้อมูล กำรเปิดเผยข้อมูลเกีย่ วกับสิง่ แวดล้อม เพื่อให้ ผู้ท่มี สี ่วนได้เสียได้รบั ทรำบเกี่ยวกับข้อมูลแต่ปญั หำในกำรจัดทำนัน้ เกิดขึน้ ทัง้ ภำยใน และภำยนอก เช่น ผูบ้ ริหำรยังไม่มคี วำมกระตือรือร้นในกำรใช้นโยบำยเกี่ยวกำรจัดกำร ด้ ำ นสิ่ง แวดล้ อ ม นั ก บัญ ชีย ัง ขำดควำมเข้ ำ ใจเกี่ย วกับ ตัว บัญ ชีส ิ่ง แวดล้ อ ม และ บุ ค คลภำยนอกยัง ไม่ เ ข้ำ ใจเกี่ย วกับ กำรรำยงำนผล ดัง นั ้น ผู้ ท ำกำรศึก ษำจึง ให้ ควำมสำคัญในกำรทำกำรศึกษำกำรบัญชีสงิ่ แวดล้อมเพื่อนำมำประยุกต์ใช้และก่อให้เกิด กำรกระตุ้นที่องค์กรต่ำงๆควรรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งเป็ นกำรจัดกำรเกี่ยวกับมลพิษที่ องค์กรต่ำงๆ ได้ก่อขึน้ โดยในกำรศึกษำคือกำรเก็บรวบรวมข้อมูลขึน้ ปฐมภูมจิ ำกกำร สัมภำษณ์บุคคลทัง้ ภำยในและภำยนอก กำรสังเกตกำรณ์ และกำรศึกษำข้อมูลทุตยิ ภูม ิ จำกทฤษฎีและงำนวิจยั ต่ำงๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง เพื่อให้ทรำบถึงกำรดำเนินกำรและขัน้ ตอนใน กำรจัดทำรวมไปถึงปญั หำทีเ่ กิดขึน้ นำไปสู่กำรใช้บญ ั ชีสงิ่ แวดล้อม


75 กรอบแนวคิ ดการศึกษา บริ ษทั บางจากปิ โตรเลียม แนวคิ ดเกี่ยวกับความ รับผิดชอบต่อสังคม

1. 2. 3.

แนวคิ ดและทฤษฎีเกี่ยวกับ การบัญชีบริ หารสิ่ งแวดล้อม

4. 5.

จากัด (มหาชน) นโยบำยด้ำนสิง่ แวดล้อม กำรดำเนินงำนทำงด้ำน บัญชีสงิ่ แวดล้อม กำรนำข้อมูลกลับมำพัฒนำ ระบบ กำรเปิดเผยข้อมูลด้ำน สิง่ แวดล้อม ควำมรับผิดชอบต่อสังคม

ภำพที่ 2-37 กรอบแนวคิดในกำรศึกษำ ทีม่ ำ: จำกกำรวิเครำะห์ของกลุ่มปญั หำพิเศษกำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อม กำรบริหำรต้นทุนโดยใช้หลักกำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อม กรณีศกึ ษำ บริษทั บำงจำก ปิโตรเลียม จำกัด (มหำชน) ทำกำรศึกษำดังนี้ 1. หลักแนวคิดและทฤษฎีท่นี ำมำใช้ กำรวัดผลกำรดำเนินงำนทำงด้ำนประสิทธิภำพ เมื่อมีกำรนำหลักกำร กำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อมเข้ำมำใช้เพื่อกำรพัฒนำอย่ำง ยังยื ่ น โดยใช้วธิ กี ำรศึกษำเป็นกำรเปรียบเทียบผลกำรดำเนินทำงด้ำนประสิทธิภำพ จำกกำรนำหลัก กำรดัง กล่ ำ วมำใช้ และท ำกำรเปรีย บเทีย บว่ำ บริษัท บำงจำก ปิโตรเลียม จำกัด (มหำชน) ได้ทำตำมหลักกำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อมอย่ำงไรบ้ำง 2. วิธกี ำรศึกษำ 2.1 กำรวิเครำะห์งบกำรเงิน 2.2 ทำกำรสัมภำษณ์ หวั หน้ ำฝ่ำยงำนด้ำนสิง่ แวดล้อม บริษทั บำงจำกปิ โตรเลียม จำกัด (มหำชน) เกีย่ วกับกำรนำแนวคิดกำรบัญชีบริหำรสิง่ แวดล้อมเข้ำมำใช้ 3. เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในกำรศึกษำ 3.1 กำรวิเครำะห์งบกำรเงินแบบแนวตัง้ 3.1.1 งบแสดงฐำนะกำรเงิน


76 กำหนดให้สนิ ทรัพย์รวม หรือ หนี้สนิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวม เท่ำกับ 100% รำยกำรสินทรัพย์ หรือ รำยกำรหนี้สนิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ สินทรัพย์รวม หรือ หนี้สนิ และส่วนของผูถ้ อิ หุน้ รวม 3.1.2 งบกำไรขำดทุน กำหนดให้รำยได้รวม เท่ำกับ 100% รำยกำรรำยได้หรือค่ำใช้จ่ำย รำยได้รวม 3.2 กำรวิเครำะห์งบกำรเงินแบบแนวนอน งบแสดงฐำนะกำรเงินและงบกำไรขำดทุน กำหนดให้ปี 2553 เป็นปีฐำน รำยกำรปี อัตรำร้อยละ รำยกำรปีฐำน


บทที่ 3 กรณี ศึกษา ข้อมูลบริ ษทั 1 บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ได้จดั ตัง้ ขึน้ ตามมติของคณะรัฐมนตรีเมื่อ วันที่ 19 มิถุนายน 2527 โดยมีอานาจการบริหารงานอย่างอิสระเช่นเดียวกับบริษทั เอกชนทัวไป ่ และได้จด ทะเบียนจัดตัง้ เป็ นบริษทั และดาเนินการเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2527 บริษทั ได้จดทะเบียนแปรสภาพ เป็ นบริษัท มหาชน จากัด เมื่อวันที่23 เมษายน 2536 และได้นาหุ้นสามัญของบริษัทจดทะเบียนเป็ น หลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 2สิงหาคม 2537 ปจั จุบนั มีทุนจดทะเบียน 1,531 ล้านบาท ทุนชาระแล้ว 1,177 ล้านบาท สานักงานใหญ่ตงั ้ อยู่ท่ี เลขที่ 555/1 ศูนย์เอนเนอร์ยค่ี อม เพล็กซ์ อาคาร A ชัน้ 10 ถนนวิภาวดีรงั สิต แขวงจตุจกั ร เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร 10900โทรศัพท์ 0-2140-8999 เว็บไซด์ http://www.bangchak.co.th บริษทั บางจากปิ โตรเลียมจากัด (มหาชน) เป็ นบริษทั น้ ามันไทยชัน้ นาประกอบธุรกิจปิ โตรเลียม ตัง้ แต่การจัดหาน้ ามันดิบจากต่างประเทศทัง้ แหล่งตะวันออกกลางตะวันออกไกลและแหล่งน้ ามันดิบ ภายในประเทศเข้ามากลันเป็ ่ นน้ ามันสาเร็จรูปด้วยกาลังผลิตสูงสุด 120,000บาร์เรลต่อวันโดยโรงกลัน่ ของบริษทั ฯเป็ นแบบ ComplexRefinery ทีส่ ามารถผลิตน้ ามันเบนซินและดีเซลซึง่ เป็ นน้ ามันมูลค่าสูงได้ เป็ นส่วนใหญ่และสามารถรองรับการกลันน ่ ้ ามันดิบในประเทศได้ในสัดส่ วนที่สูงทัง้ นี้เพื่อเป็ นการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อมและเพิม่ เสถียรภาพระบบไฟฟ้านอกจากนี้บริษทั ฯ ยังได้นาก๊าซธรรมชาติมาใช้เป็ นเชือ้ เพลิงในการผลิตแทนการใช้น้ ามันเตากามะถันต่ าเพื่อช่วยลดต้นทุน การผลิตเป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมมากยิง่ ขึ้นซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งในการช่วยลดมลภาวะต่อสิง่ แวดล้อมและ สอดคล้องกับวัฒนธรรมธุ รกิจของบางจากที่ว่าพัฒนาธุ รกิจอย่างยังยื ่ นไปกับสิ่งแวดล้อมและสังคม รวมทัง้ ปฏิบตั ติ ามข้อกาหนดคุณภาพน้ ามันเชือ้ เพลิงใหม่

1

บริษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน).(2553).แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี สน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553.(29 กุมภาพันธ์ 2555).


78

วิ สยั ทัศน์ และวัฒนธรรมองค์กร วิ สยั ทัศน์ :

Greenenergy Excellenceมุ่งสร้างสรรค์ธุ รกิจพลังงานอย่างเป็ นมิต รต่ อ สิง่ แวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยังยื ่ น วัฒนธรรมองค์กร: พัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ นไปกับสิง่ แวดล้อมและสังคม วัฒนธรรมพนักงาน: เป็นคนดีมคี วามรูเ้ ป็นประโยชน์ต่อผูอ้ ่นื ค่านิ ยม : Beyond Expectation มุง่ ความเป็นเลิศ Continuing Development สร้างสรรค์ไม่หยุดนิ่ง Pursuing Sustainability คานึงถึงความยังยื ่ น พันธกิ จองค์กร: ต่อผูถ้ อื หุน้ /คู่คา้ /ลูกค้า/เจ้าหนี้ ดาเนินธุรกิจทีส่ ร้างผลตอบแทนเติบโตต่อเนื่องและเป็ นธรรม ต่อสังคม/ชุมชน/สิง่ แวดล้อม มีวฒ ั นธรรมการดาเนินธุรกิจทีร่ บั ผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม และสังคม ต่อพนักงาน พัฒนาบุคลากรให้เป็นมืออาชีพ

โครงสร้างองค์กร

ภาพที่ 3-1 แผนภูมกิ ารถือหุน้ บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) และบริษทั ทีเ่ ข้าไปลงทุน ทีม่ า: บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน).http://www.bangchak.co.th. (29 กุมภาพันธ์ 2555)


79 บริษทั มีบริษทั ย่อย 2 แห่งได้แก่บริษทั บางจากกรีนเนทจากัดและบริษทั บางจากไบโอฟูเอลจากัด และมีบริษทั อีก 2 แห่งทีเ่ ข้าไปลงทุนคือบริษทั ขนส่งน้ามันทางท่อจากัดและบริษทั เหมืองแร่ โปแตชอาเซียนจากัด (มหาชน) ดังแสดงในแผนภูมกิ ารถือหุน้ และรายละเอียดดังภาพที่ 3-1

การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาของกิ จการ บริษทั ได้รบั รางวัลการบริหารสู่ความเป็ นเลิศ (Thailand Quality Class: TQC) ประจาปี 2553 โดยสานักงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติซ่งึ จัดขึน้ เพื่อประกาศเกียรติคุณองค์กรทีม่ รี ะบบการ บริห ารจัดการองค์ก รอย่า งบูร ณาการตามแนวทางเกณฑ์รางวัล คุ ณภาพแห่ งชาติด้ว ยคุ ณ ภาพ ทัดเทียมระดับมาตรฐานโลก บริษทั ได้รบั รางวัลเกียรติยศแห่งความสาเร็จ (SET Award of Honor) จากงานSET Awards 2010 ซึง่ จัดโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและวารสารการเงินธนาคารโดยบริษทั ฯ ได้รบั จานวน2 รางวัลดังนี้ รางวัลรายงานบรรษัทภิบาลดีเด่น (Top Corporate Governance Report Awards)ในฐานะ บริษัทจดทะเบียนที่มคี วามโดดเด่นด้านรายงานการปฏิบตั ิตามหลักการกากับดู แลกิจการที่ดสี าหรับ บริษทั จดทะเบียนซึ่งบริษทั ฯได้รบั ติดต่อกันเป็ นปี ท่ี 5 และรางวัลบริษทั จดทะเบียนดีเด่นด้าน CSR (Corporate Social Responsibilities Awards)ในฐานะบริษทั จดทะเบียนทีม่ คี วามโดดเด่นในการดาเนิน ธุรกิจอย่างรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อมซึง่ บริษทั ฯได้รบั ติดต่อกันเป็ นปีท่ี 4 บริษทั ได้รบั รางวัลชนะเลิศการประกวดผลงานตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงประเภทธุรกิจ ขนาดใหญ่สาหรับการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการบริหารงานสมัยใหม่ในงาน ประกาศผลการตัดสินการประกวดผลงานตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงครัง้ ที่2 จัดโดยมูลนิธชิ ยั พัฒนาสานักงานกปร.กระทรวงมหาดไทยสานักงบประมาณกองทัพบกไทยและสถาบันวิจยั และ พัฒนาประเทศตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริษทั ได้รบั รางวัลAward of Excellence ด้านCommunity Development Program of the Year ในงานPlatts Global Energy Awards 2010 ซึง่ มอบรางวัลให้แก่องค์กรทีม่ คี วามโดดเด่นใน การดาเนินการด้านต่างๆในภูมภิ าคเอเชียโดยบริษทั ฯเป็นบริษทั ไทยแห่งเดียวทีไ่ ด้รบั รางวัลนี้บริษทั ฯ ได้รบั รางวัล Titanium Award ด้าน Corporate Governance ของ The Asset Corporate Awards 2010โดยให้แก่บริษทั ทีม่ คี วามโดดเด่นในด้านการกากับดูแลกิจการ เปรียบเทียบกับบริษทั จดทะเบียนในระดับภูมภิ าคในด้านต่างๆ ซึง่ จัดโดยนิตยสาร The Asset


80 บริษทั ได้ผลการประเมินจากผลสารวจรายงานการกากับดูแลกิจการที่ดขี องบริษทั จดทะเบียน ประจาปี 2553โดยมีคะแนนในภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ “ดีเลิศ” ซึง่ จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษทั ไทย (IOD) บริษทั ได้รบั รางวัลเชิดชูเกียรติในฐานะหน่ วยงานที่ทาคุณประโยชน์สาขาสิง่ แวดล้อม เนื่องใน วันสิง่ แวดล้อมโลกประจาปี 2553 ซึง่ จัดโดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม บริษทั ได้พฒ ั นาการบันทึกค่าใช้จ่ายด้านสิง่ แวดล้อมให้เข้ากับระบบการบันทึกบัญชีของบริษทั เพื่อให้สามารถรวบรวมข้อมูลได้ถู กต้องและรวดเร็วขึ้น นาไปสู่การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร จัดการด้านสิง่ แวดล้อมทีด่ ขี น้ึ

ผลิ ตภัณฑ์และบริ การของบริ ษทั ลักษณะผลิตภัณฑ์หรือบริการ ผลิตภัณฑ์ของบริษทั ฯ แบ่งเป็น 4 ประเภท ดังนี้ 1. ผลิตภัณฑ์น้ามันเชือ้ เพลิง ได้แก่ 1.1 ก๊าซหุงต้ม 1.2 น้ามันเบนซิน เป็ นน้ ามันเชื้อเพลิงสาหรับเครื่องยนต์เบนซิน ซึ่งเดิมบริษทั ฯ มีการจาหน่ าย น้ ามันเบนซินออกเทน 95 และออกเทน 91 ภายใต้ช่อื การค้าน้ ามันเบนซิน กรี นพลัส ตามล าดับ ต่ อ มาในปี 2554 บริษัทฯได้เริม่ โครงการจาหน่ ายน้ ามันแก๊ ส โซฮอล์ เป็ น การน าน้ า มัน เบนซิน ผสมเอทานอล (เอทิล แอลกอฮอล์) ซึ่ง เป็ น แอลกอฮอล์ บ ริสุ ท ธิ ์ 99.5% ที่ผ ลิต จากพืช ผลทางการเกษตร เช่ น อ้ อ ย มัน ส าปะหลัง เป็ นต้น ในสัดส่ ว นประมาณร้อ ยละ 10 ภายใต้ช่อื การค้าน้ ามันแก๊ ส โซฮอล์ ซูเปอร์ฟาสต์ 95 (ออกเทน 95) และน้ ามันแก๊สโซฮอล์ ซูเปอร์ฟาสต์ 91 (ออกเทน 91) สามารถใช้ไ ด้กับ เครื่อ งยนต์ เ บนซิน และได้ร ับ การยืน ยัน จาก บริษทั ผูผ้ ลิตรถยนต์หลายรายว่ารถยนต์ทใ่ี ช้เครือ่ งยนต์เบนซินสามารถใช้ได้โดยไม่ ต้องปรับแต่งเครือ่ งยนต์แต่อย่างใดทัง้ นี้การใช้แก๊สโซฮอล์จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ ส่วนรวมในด้านต่างๆ เช่น ช่วยลดมลพิษทางอากาศประหยัดเงินตราต่างประเทศใน การนาเข้าสาร MTBE (Methyl Tertiary Butyl Ether)ลดผลกระทบทีเ่ กิดจากราคา น้ ามันแพง ยกระดับราคาพืชผลทางการเกษตร ซึง่ เป็ นการกระจายการลงทุน และการ จ้างงานสู่ชนบท ในเดือนธันวาคม 2550 บริษทั ฯ ได้ยกเลิกการจาหน่ ายน้ ามันเบนซิน กรีนพลัส 95 เพื่อเป็ นการสนับสนุ นนโยบายด้านพลังงานทดแทนของภาครัฐ ที่ ส่งเสริมการใช้เชือ้ เพลิงชีวภาพ และพัฒนาคุณภาพสิง่ แวดล้อมทีด่ ี


81 1.3 น้ามันก๊าด 1.4 น้ามันเชือ้ เพลิงเครือ่ งบินไอพ่น 1.5 น้ามันดีเซลหมุนเร็ว 1.6 น้ามันเตา 2. ผลิตภัณฑ์น้ ามันหล่อลื่น เป็ นผลิตภัณฑ์ทใ่ี ช้เคลือบระหว่างผิวสัมผัสเพื่อลดความเสียด ทาน และการสึกหรอนอกจากนี้ยงั ช่วยระบายความร้อน ถ่ายทอดกาลัง ทาความสะอาด คราบเขม่า และเศษโลหะที่เ กิด จากการสึก หรอโดยน้ า มัน หล่ อ ลื่น แบ่ ง ออกเป็ น 3 ประเภท ได้แก่ 2.1 น้ามันหล่อลื่นยานยนต์ 2.2 น้ามันหล่อลื่นอุตสาหกรรม 2.3 จาระบี 3. ผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็นวัตถุดบิ สาหรับโรงกลันน ่ ้ามันปิโตรเลียมหรือโรงงานปิโตรเคมี ได้แก่ 3.1 น้ ามันเตาประเภท Straight Run (Long Residue) ใช้เป็ นวัตถุดบิ ต่อเนื่อง สาหรับ กระบวนการผลิตของโรงกลันที ่ ม่ หี น่วยแตกตัวโมเลกุลน้ามัน (CrackingUnit) 3.2 น้ ามันองค์ประกอบเรฟฟอร์มเมทใช้เป็ นวัตถุดบิ เพื่อนาเข้าสู่กระบวนการผลิตของ โรงงานปิโตรเคมี เพื่อไปสกัดเป็นสารอะโรมาติกส์ หรือผลิตเป็นน้ามันเบนซิน 3.3 น้ ามันองค์ประกอบไอโซเมอร์เรทใช้เป็ นวัตถุดบิ สาหรับกระบวนการผลิตของโรง กลันน ่ ้ามันปิโตรเลียม เพื่อผลิตเป็นน้ามันเบนซิน 3.4 ผลิต ผลพลอยได้ ได้ แ ก่ สารก ามะถัน ซึ่ง เป็ น ธาตุ ท่ีป นอยู่ ใ นเนื้ อ น้ า มัน ตาม ธรรมชาติ เมือ่ แยกกามะถันออกมาแล้วสามารถนาไปใช้ได้โดยตรงหลายอย่าง เช่น เป็ นส่ ว นผสมในการผลิต กรดก ามะถัน ยางรถยนต์ ยาฆ่ าแมลง สารปุ๋ย ฟอกสี น้าตาลทราย แชมพู และใช้ทาสารประกอบของกามะถัน เป็นต้น

กาลังการผลิ ตและปริ มาณการผลิ ต กาลังผลิต (มีหน่ วยวัดเป็ นบาร์เรลต่อวัน) หมายถึง ระบบการกลัน่ ระบบท่อ ระบบถังที่ สามารถรับน้ ามันดิบมากลัน่ ผ่านระบบเพิม่ คุณภาพ ระบบท่อ กระบวนการผสม กระบวนการเก็บ และการกระจายผลิตภัณฑ์ออกจากโรงกลันได้ ่ สูงสุดประจาวันทาการ อนึ่งทุก 24 เดือน บริษทั ฯ จะ หยุดเครื่องจักรเพื่อทาการซ่อมแซมโดยใช้เวลาประมาณ 30 วันเพื่อรักษาประสิทธิภาพการผลิตให้ อยูใ่ นระดับเดิมหรือดาเนินการปรับปรุงประสิทธิภาพให้ดยี งิ่ ขึน้ การเลือกวันเวลาการหยุดเครื่องจักร ดังกล่าวจะเลือกดาเนินการตามความเหมาะสมของสถานการณ์และผลตอบแทนทางเศรษฐกิจโรง


82 กลันน ่ ้ ามันของบริษทั ฯ (Complex Refinery) ตัง้ อยู่เลขที่ 210 สุขุมวิท 64 พระโขนง กรุงเทพฯ มี กาลังการผลิต 120,000 บาร์เรลต่อวัน โดยดาเนินการผลิตตลอด 24 ชัวโมงบริ ่ ษทั ฯ ได้ดาเนินการ ปรับปรุงประสิทธิภาพโรงกลันรวมถึ ่ งการขยายหน่ วยการผลิต และเพิม่ ระบบถังมาโดยตลอด จนใน ปจั จุบนั โรงกลันสามารถด ่ าเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีขดี ความสามารถของระบบความ ปลอดภัย และระบบบริหารจัดการด้านสิง่ แวดล้อมให้ดกี ว่ามาตรฐาน

กระบวนการในการกลันน ่ ้ามัน การกลันล ่ าดับส่วน (Fractional Distillation)การผลิตน้ ามันเริม่ ต้นจากการแยกน้ ามันดิบ ออกเป็ นส่ ว นต่ า งๆ ภายในหน่ ว ยกลัน่ น้ า มันดิบ ด้ว ยกระบวนการให้ค วามร้อ นน้ า มันดิบ จนถึง อุณหภูมปิ ระมาณ 370 องศาเซลเซียส ประมาณ 60-70% ของน้ ามันดิบจะระเหยกลายเป็ นไอลอย ขึน้ ไปสู่ยอดหอกลัน่ ซึง่ เป็นบริเวณทีม่ อี ุณหภูมติ ่ าทีส่ ุด ไอร้อนทีล่ อยขึน้ ไปเมื่อเย็นลงจะกลันตั ่ วเป็ น ของเหลวบนถาดตามชัน้ ต่างๆ ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั ช่วงจุดเดือดของไฮโดรคาร์บอน ดังนี้ 1. ชัน้ บนสุดของหอกลันซึ ่ ง่ มีอุณหภูมติ ่าทีส่ ุดจะเป็นก๊าซหุงต้ม 2. ชัน้ ทีส่ อง ได้แก่ แนฟธาเบา (Light Virgin Naphtha หรือ LVN) 3. ชัน้ ที่สามได้แก่ แนฟธาหนัก (Heavy Virgin Naphtha หรือ HVN) (ซึ่งแนฟธาเบา และแนฟธาหนัก จะนาไปผ่านหน่วยปรับปรุงคุณภาพ และผสมเป็ นน้ ามันเบนซินต่อไป) 4. ชัน้ ทีส่ ่ี ได้แก่ น้ามันก๊าด น้ามันเครือ่ งบิน 5. ชัน้ ทีห่ า้ ได้แก่ น้ามันดีเซล 6. ส่วนทีเ่ หลือของน้ ามันดิบทีไ่ ม่ระเหยกลายเป็ นไอจะยังคงเป็ นของเหลวอยู่ทก่ี ้นหอกลัน่ ซึง่ เป็นบริเวณทีม่ อี ุณหภูมสิ งู ทีส่ ุดโดยของเหลวส่วนนี้เรียกว่า “Atmospheric Residue” การระเหยและกลันตั ่ วจากถาดหนึ่งไปยังอีกถาดหนึ่งนัน้ เป็ นกระบวนการที่ต่อเนื่องส่วน ต่างๆ จึงแยกตัวออกมาทางท่อข้างหอกลัน่ และส่วนทีแ่ ยกออกมานี้ เรียกว่า “ผลิตภัณฑ์กลันตรง” ่ (Straight Run) ซึ่งมีขอ้ ดีคอื ผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่นน้ ามันดีเซล มีค่าซีเทนสูงมาก จุดติดไฟได้เร็ว เผาไหม้ง่าย รวดเร็วสมบูรณ์ เครื่องยนต์สะอาด ส่วนน้ ามันเตาก็มสี ่วนของเบาปนอยู่มากทาให้เผา ไหม้ง่ายรวดเร็วสมบูรณ์ ปราศจากเขม่าควัน และสามารถปรับแต่งปริมาณอากาศที่เกิน (Excess Air) ให้ต่ าลงได้ง่าย ซึง่ ช่วยให้ประหยัดพลังงานเชือ้ เพลิง ตลอดจนค่าบารุงรักษาอุปกรณ์ต่างๆ ใน ระยะยาว การปรับปรุงคุณภาพ (Treating)เป็ นการปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์โดยการกาจัดสิง่ เจือปน ต่างๆ ทีม่ ากับน้ ามันดิบและติดมากับผลิตภัณฑ์ เช่น กามะถัน เป็ นต้น เพื่อทาให้กลายเป็ นผลิตภัณฑ์


83 ที่มรี ะดับความบริสุทธิ ์ และคุณภาพสูงตามความต้องการ โดยหน่ วยที่ทาหน้ าที่ปรับปรุงคุณภาพ เช่น หน่วยกาจัดกามะถันหน่วยผลิตดีเซลกามะถันต่ า เป็นต้น การเปลีย่ นแปลงโครงสร้างของน้ ามัน (Conversion)เป็ นการเปลีย่ นแปลงโครงสร้างโมเลกุลของ น้ามันเพื่อให้มคี ุณภาพและมูลค่าสูงขึน้ โดยหน่ วยทีท่ าหน้าทีเ่ ปลีย่ นแปลงโครงสร้างของน้ ามัน เช่น หน่วยไอโซเมอไรเซชัน่ หน่วยรีฟอร์มเมอร์ เป็นต้น การผสมผลิตภัณฑ์ (Blending)เป็ นการผสมผลิตภัณฑ์ตงั ้ แต่สองชนิดขึน้ ไป หรือมีการเติม สารปรุงแต่งคุณภาพ (Additive) เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ทม่ี คี ุณภาพสูงขึน้ การปรับปรุงคุณภาพน้ ามัน เนื่องจากความต้องการใช้น้ ามันเตาในปจั จุบนั ลดน้อยลง อีกทัง้ เพื่อให้เป็ นการใช้ทรัพยากรอย่างคุม้ ค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด ได้มกี ารนาน้ ามันเตาซึง่ ได้จากการ แยกโดยการกลันล ่ าดับส่วนมาปรับปรุง โดยแปรแปลี่ยนเป็ นผลิตภัณฑ์ทม่ี มี ลู ค่าสูงขึน้ และมีความ สะอาดมากขึ้น ได้แก่ ก๊าซเชื้อเพลิง ก๊าซหุงต้ม (หรือก๊าซปิ โตรเลียมเหลว) น้ ามันแนฟธาเบา น้ า มันแนฟธาหนัก น้ ามันเครื่องบิน และน้ ามันดีเซลกระบวนการปรับปรุงข้างต้นเริม่ ต้นด้วยการนา น้ ามัน เตาจากหอกลันล ่ าดับส่ ว น ส่ งเข้า หน่ ว ยกลันสู ่ ญ ญากาศเพื่อ กลันแยกน ่ ้ ามันเ ตาชนิ ดเบา (Vacuum Gas Oil) ออกและนาเข้าสู่หน่วยแตกโมเลกุล เพื่อเปลีย่ นเป็ นผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ โดยมี หน่ วยผลิตไฮโดรเจนทาหน้าที่ผลิตไฮโดรเจนส่งเข้ามาในหน่ วยแตกโมเลกุล เพื่อช่วยให้การแตก โมเลกุลเกิดได้อย่างสมบูรณ์ ส่วนทางด้านล่างของหอกลันสู ่ ญญากาศจะเป็ นน้ ามันเตาชนิดหนักทีจ่ ะ ถูกนาไปปรับปรุงคุณภาพ เพื่อจาหน่ายเป็นน้ามันเตาต่อไป สาหรับผลิตภัณฑ์ท่ไี ด้จากการแตกโมเลกุลข้างต้น ซึ่งประกอบด้วย ก๊าซเชือ้ เพลิง ก๊าซหุง ต้ม (หรือก๊าซปิ โตรเลียมเหลว) น้ ามันแนฟธาเบา น้ ามันแนฟธาหนัก น้ ามันเครื่องบิน และน้ ามัน ดีเซล จะถูกลาเลียงเข้าสู่หน่วยกลันแยก ่ เพื่อแยกแต่ละผลิตภัณฑ์ออกจากกัน ก๊าซเชือ้ เพลิงทีแ่ ยกได้จะถูกส่งไปยังหน่ วยปรับปรุงคุณภาพก๊าซเชือ้ เพลิง เพื่อลดกามะถัน ปนเปื้อนและนาไปใช้เป็นเชือ้ เพลิงสะอาดในกระบวนการผลิตต่อไป น้ ามันแนฟธาเบา และน้ ามันแนฟธาหนัก จะถูกส่งไปยังหน่ วยเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของ น้ามันเพื่อเพิม่ ออกเทน และผ่านการผสมผลิตภัณฑ์เป็นน้ามันแก๊สโซฮอล์ชนิดต่างๆ สาหรับก๊าซหุงต้ม น้ามันเครือ่ งบิน และน้ามันดีเซล จะถูกส่งไปถังเก็บเพื่อจาหน่ายต่อไป

วัตถุดิบและผูจ้ าหน่ ายวัตถุดิบ วัต ถุ ดิบส าคัญ ที่ใ ช้ใ นการผลิต ของธุรกิจโรงกลันคื ่ อ "น้ า มันดิบ" ในประเทศไทยมีแหล่ ง น้ ามันดิบหลายแหล่ง อย่างไรก็ตามปริมาณน้ ามันดิบในประเทศไทยที่ขุดพบ และนาขึ้นมายังไม่ เพียงพอต่อความต้องการใช้ของโรงกลันทั ่ ง้ 7 แห่งในประเทศไทย ดังนัน้ น้ ามันดิบส่วนใหญ่ทใ่ี ช้ใน


84 ประเทศไทยจึงต้องนาเข้าจากต่ างประเทศซึง่ แหล่งน้ ามันดิบทีน่ าเข้าส่วนใหญ่ ได้แก่ กลุ่มประเทศ ในตะวันออกกลาง ประเทศในตะวันออกไกล การขนส่งน้ ามันจากตะวันออกกลางใช้เวลาในการ ขนส่งประมาณ 15 – 20วัน และจากตะวันออกไกลใช้เวลาประมาณ 3-7 วัน ทัง้ นี้โดยปกติบริษัท สารองน้ ามันดิบในปริมาณทีเ่ พียงพอต่อการกลันประมาณ ่ 40 วันเพื่อทีจ่ ะบรรลุเป้าหมายด้านเสถียรภาพ ในการจัดหาวัตถุ ดิบ เพื่อ ให้ได้ต้นทุนการจัดหา และราคาวัต ถุดิบที่ต่ าที่สุดโดยได้คุณภาพของ ผลผลิตตามความต้องการ บริษทั ฯ จึงมีการจัดหาน้ามันดิบเพื่อการผลิตทัง้ จากแหล่งภายในประเทศ และแหล่งต่างประเทศในสัดส่ว นที่เหมาะสม โดยคานึงถึงเศรษฐศาสตร์การกลัน่ ทัง้ นี้อกี ส่วนหนึ่ง บริษัท ฯ สังซื ่ ้อ เป็ นน้ ามันส าเร็จ รูป เพื่อ จ าหน่ า ย ซึ่ง เป็ นผลจากการแลกเปลี่ย นน้ ามันส าเร็จ รูป (Physical Swap) กับผูผ้ ลิตรายอื่น


บทที่ 4 ผลการศึกษา จากการศึกษาหลักการบริหารต้นทุนโดยใช้หลักแนวคิดการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อมของ บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) พบว่า 1. ความเป็ นมาและสาเหตุการนาหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม มาประยุกต์ใช้กรณีศกึ ษา บริษทั บางจากปิโตเลียม จากัด (มหาชน) บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ได้ยดึ หลักวัฒนธรรมองค์การ “พัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ นไปกับสิง่ แวดล้อมและสังคม” มาโดยตลอดเวลา 25 ปี นัน่ หมายถึงว่าบริษัทมุ่งพัฒนาธุรกิจให้มคี วามสมดุลระหว่างมูลค่าทางธุรกิจและคุณค่า ทางสิง่ แวดล้อมและสังคม โดยบริษทั เป็ นผูร้ เิ ริม่ นาระบบการจัดทาบัญชีการจัดการด้าน สิง่ แวดล้อมเข้ามาใช้ในส่วนของกระบวนการผลิต และรายงานผลสู่สาธารณะเป็ นราย แรกในประเทศไทยตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2548 อีกทัง้ นาหลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักธรรมาภิบาล และหลักการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม มาประยุกต์ใช้ในการ บริหารจัดการธุรกิจเพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายขององค์การนอกจากการบริหารจัดการ ด้านธุรกิจให้สามารถสร้างมูลค่าได้อย่างมันคงและต่ ่ อเนื่องด้วยหลักการธรรมาภิบาล และการบริหารจัดการความเสี่ยงที่จะเกิดต่ อการด าเนิ นธุ รกิจขององค์การอย่ าง เคร่งครัดแล้ว บริษัทฯ ยังได้นาแนวคิดการบริหารจัดการอย่างยังยื ่ นเข้ามาเป็ น ส่วนประกอบสาคัญตัง้ แต่ระดับการวางแผนเชิงกลยุทธ์ขององค์การ โดยบริษทั ได้บรรจุ ตัวชี้วดั ด้านสังคมและสิง่ แวดล้อมเข้าเป็ นหนึ่งในตัวชีว้ ดั ของเป้าหมายการดาเนินงาน เพิม่ เติมจากตัวชีว้ ดั ด้านอื่นๆ ได้แก่ ด้านการเงิน ด้านลูกค้า ด้านกระบวนการ และ ด้านบุคลากร ทาให้บริษัทจะสามารถถ่ ายทอดเป้าหมายเกี่ยวกับด้านสังคมและ สิง่ แวดล้อมสู่การปฏิบตั กิ ารในส่วนและสายงานต่างๆ ของบริษทั ได้อย่างถูกต้องทาให้ แผนการปฏิบตั ิการต่ างๆ จะต้องมีความเชื่อมโยงหรืออย่างน้ อยจะต้องไม่ขดั ต่ อ เป้าหมายตัวชี้วดั ด้านสังคมและสิง่ แวดล้อมดังกล่าว ในขณะที่ระดับปฏิบตั กิ ารนัน้ นอกจากจะได้รบั การถ่ายทอดเป้าหมายด้านสิง่ แวดล้อมและสังคมมาจากตัวชี้วดั ของ องค์การแล้ว พนักงานทุกคนของบริษทั ฯ ทีไ่ ด้ยดึ ถือวัฒนธรรมพนักงาน “เป็ นคนดี มี ความรู้ เป็ นประโยชน์ต่อผูอ้ ่นื ” และค่านิยมทัง้ 3 ข้อจะเป็ นส่วนขับเคลื่อนแผนปฏิบตั ิ การต่างๆ ทัง้ ทีเ่ กิดประโยชน์ในทางตรงและทางอ้อมให้เกิดผลสาเร็จได้อย่างแท้จริง


86 2. แนวคิดทัง้ ด้านการบริหาร การนามาประยุกต์ใช้ คุ ณประโยชน์ ท่ไี ด้ร บั ทัง้ ด้านการ บริหารจัดการองค์การและการบริหารจัดการต้นทุน 2.1 แนวคิดหลักในการบริหารจัดการ ด้วยแนวคิดการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อมนัน้ มี แนวคิดหลักในการบริหารจัดการดังต่อไปนี้ 2.1.1 Material Flow Balance เป็ นหลักการทีด่ ูความสมดุลระหว่างปจั จัยนาเข้า และป จั จัยส่ งออกที่แสดงให้ เห็นอย่ างชัดเจนเกี่ยวกับมู ลค่ าที่น ากับ ผลลัพธ์ท่อี อกมานัน้ ต้องเท่ากันเสมอ ไม่ว่าจะออกไปรูปของผลิตภัณฑ์ หรือไม่ใช่ผลิตภัณฑ์ 2.1.2 การปนั ส่วนต้นทุน เป็ นการจาแนกต้นทุนต่างๆ ที่เกิดขึน้ ในกระบวนการ ผลิตทีไ่ ด้ผลลัพธ์ออกมาเป็ นตัวผลิตภัณฑ์และทีไ่ ม่ใช่ผลิตภัณฑ์ 2.1.3 ความรับผิดชอบต่อสังคม เป็ นการแสดงถึงแนวคิดของการรับผิดชอบต่อ สังคมในสามารถแสดงออกมาได้ในรูปแบบต่างๆ เช่น การเปิ ดเผยข้อมูล ป้องกันมลพิษ และการรับผิดชอบต่อมลพิษทีก่ ่อขึน้ เป็ นต้น 2.2 การนาระบบบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อมมาประยุกต์ใช้ 2.2.1 นามาใช้เป็ นหลักการในการจาแนกต้นทุนทางด้านสิง่ แวดล้อมของบริษทั 2.2.2 น ามาใช้ เ ป็ นหลักในการป นั ส่ ว นต้ นทุ นทางด้ านสิ่งแวดล้ อ มเข้ าสู่ ต ัว ผลิตภัณฑ์ตรงกับข้อมูลจริงทีเ่ กิดขึน้ 2.2.3 นามาใช้เป็ นหลักในการปฎิบตั งิ านของพนักงานในบริษทั 2.3 คุณประโยชน์ทไ่ี ด้จากการนาระบบบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม 2.3.1 ทาให้องค์การมีประสิทธิภาพในการดาเนินงานเพิม่ มากขึน้ 2.3.2 ท าให้ พ นั ก งานภายในองค์ การเข้ามาร่ ว มมือ กัน เพื่อ ลดต้ น ทุ น ด้ า น สิง่ แวดล้อมมากขึน้ 2.3.3 พนักงานสามารถทางานได้อย่างรวดเร็ว เนื่ องจากมีระบบปฏิบ ัติงานที่ม ี ประสิทธิภาพ 2.3.4 สามารถนาใช้เป็ นพืน้ ฐานเพื่อการพัฒนาสู่ความยังยื ่ น 3. แนวทางการประยุกต์ใช้ตามหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม (EMA) กรณีศึกษา บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) บริษทั ได้นาระบบมาตรฐาน ISO 14001 มาเป็ นเครื่องมือ ในการบริหาร จัดการด้านสิง่ แวดล้อมเป็ นแห่งแรกในเอเชียอาคเนย์ตงั ้ แต่ ปี พ.ศ. 2540 เป็ นต้นมา ก่อให้เกิดการปรับปรุงพัฒนาระบบฯ อย่างต่อเนื่องปจั จุบนั รองกรรมการผู้จดั การ ใหญ่ในสายงานด้านธุรกิจโรงกลัน่ ดารงตาแหน่ งเป็ นประธานคณะบริหารจัดการอา ชีวอนามัย ความปลอดภัยสิง่ แวดล้อม และพลังงาน ซึง่ เป็ นคณะบริหารสูงสุดของ ระบบการจัด การด้า นสิ่ง แวดล้อ มของบริษัท และด้ว ยความร่ ว มมือ อย่ า งดีจ าก


87 พนัก งาน ตลอดจนผู้ร บั เหมาที่ทางานในนามของบริษัท ฯ ที่ร่ว มกันปฏิบตั ิต าม นโยบายอาชีวอนามัยความปลอดภัย สิง่ แวดล้อม และพลังงาน และข้อกาหนดของ ระบบมาตรฐาน ISO 14001 เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ โดยทาการวิเคราะห์ดงั ต่อไปนี้ 3.1 วิเคราะห์ทางด้านจุดแข็งและจุดอ่อนขององค์การ 3.1.1 จุดแข็ง 1) ความได้เปรียบด้านทาเลทีต่ งั ้ ของโรงกลัน่ เนื่องจากโรงกลันน ่ ้ ามัน บางจากมีท่ตี งั ้ อยู่ในเขตกรุงเทพฯ ซึ่งถือเป็ นผู้บริโภคน้ ามันกลุ่ม ใหญ่ทส่ี ุดในประเทศ ประมาณร้อยละ 50 ของปริมาณการใช้น้ ามัน ทัง้ หมด จึง ท าให้ บ ริษั ท ฯ มีข้ อ ได้ เ ปรีย บในการขนส่ ง น้ า มัน ส าเร็ จ รู ป จากโรงกลั น่ ไปยัง ผู้ บ ริ โ ภค เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ผูป้ ระกอบการรายอื่นทีส่ ่วนใหญ่มที ่ตี งั ้ ของโรงกลันอยู ่ ่แถบชายฝงั ่ ทะเลด้ า นตะวัน ออก โดยบริษัท ฯ สามารถประหยัด ค่ า ขนส่ ง ประมาณเกือบครึง่ หนึ่ง 2) เป็ นบริ ษั ท แรกในกลุ่ ม อุ ต สาหกรรมปิ โตรเลี ย มที่ ค านึ ง ถึ ง สิง่ แวดล้อม และมีจดุ ยืนในการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมทีช่ ดั เจน 3.1.2 จุดอ่อน 1) จุดอ่อนทางด้านการส่งออก เนื่องจากบริษทั ฯมีโรงกลันน ่ ้ ามันตัง้ อยู่ใน เขตกรุงเทพฯ จึงทาให้เมื่อจะทาการส่งออกไปยังต่างประเทศ จะทา ให้มตี ้นทุนที่สูงกว่าผู้ประกอบการรายอื่นที่มโี รงกลันน ่ ้ ามันใกล้กับ ทะเลมากกว่า 2) ไม่มรี ะบบที่มคี วามแน่ นอนในการกาจัดของเสีย จึงอาจจะส่งผลให้ใน บางงวดนัน้ ไม่สามารถจัดการต้นทุนของเสียได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.1.3 โอกาส 1) จากภาวะการแข่ ง ขัน ที่รุ น แรงในอุ ต สาหกรรมรถยนต์ ท างด้ า น แคมเปญส่งเสริมการขายโดยเฉพาะเงื่อนไขพิเศษทางด้านสินเชื่อการ เช่าซื้อ อัตราดอกเบี้ย เป็ นปจั จัยในการกระตุ้นการตัดสินใจซื้อของ ผู้บริโภค และส่งผลต่อการเติบโตของปริมาณรถยนต์ประเภทต่างๆ ซึ่งถือเป็ นปจั จัยบวกที่ทาให้ปริมาณความต้องการใช้น้ ามันเบนซิน และดีเซลเพิม่ ขึน้ 2) ภาวะเศรษฐกิจโดยรวมที่มกี ารฟื้นตัวอย่างต่อเนื่อง โดยธนาคารแห่ง ประเทศไทยได้ระบุ ว่าในปี 2555 จะมีอ ัตราการขยายตัวของภาวะ เศรษฐกิ จ ประมาณร้ อ ยละ 4.9 จากปี 2554 ซึ่ ง การฟื้ นตั ว ของ เศรษฐกิจดังกล่าวจะสร้างความเชื่อมันให้ ่ แก่ผู้บริโภคและนักลงทุน


88 โดยทัวไปและท ่ าให้ดชั นีผู้บริโภคสูงขึน้ ในทิศทางเดียวกัน ตลอดจน ปริมาณความต้องการใช้พลังงานภายในประเทศทีค่ าดว่าจะสูงขึน้ ตาม ภาวะเศรษฐกิจ ซึง่ จะส่งผลดีต่อการดาเนินธุรกิจในท้ายสุด 3.1.4 อุปสรรค 1) ภาวะการแข่งขัน ถึงแม้ว่าภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศจะเริม่ ฟื้นตัว ขึ้น แต่ เนื่องจากปริมาณการผลิตยังคง สูงกว่าปริมาณการบริโภค ภายในประเทศ จึงทาให้ภาวะการแข่งขันยังคงสูงอยูท่ งั ้ ตลาดค้าส่งและ ตลาดค้าปลีก โดยในช่ วงที่ผ่ านมาผู้ค้าแต่ ละรายพัฒนาและออก ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ เป็นจานวนมาก ตลอดจนการวางแผนการตลาด เช่น แผนการส่ งเสริมการขาย การก่ อสร้างร้านสะดวกซื้อภายในสถานี บริการน้ ามัน หรือการให้ส่วนลด เป็ นต้น ทัง้ นี้เพื่อเพิม่ ปริมาณการ ขาย อย่างไรก็ตามแผนการตลาดดังกล่ าวจ าเป็ นต้องใช้เงินลงทุ น เพิม่ เติม ซึง่ บริษทั ฯ อาจเสียเปรียบเมือ่ เทียบกับผูป้ ระกอบการรายอื่น 2) กระแสการใช้พลังงานทางเลือกทีเ่ พิม่ สูงขึน้ ซึง่ ในปจั จุบนั มีการตื่นตัว และรณรงค์การใช้พลังงานทางเลือกที่มากขึ้น จึงอาจจะส่ งผลต่ อ ยอดขายในส่วนของน้ามันเบนซินและดีเซล ทาให้มแี นวโน้มทีล่ ดลงได้ 3.2 วิเคราะห์การดาเนินงานขององค์การ 3.2.1 การวางแผน ทางบริษัท ได้ร ิเ ริม่ มีการวางแผนในการนาการบัญ ชีบ ริห าร สิง่ แวดล้อมเข้ามาใช้ ซึง่ ทางบริษทั มีการตัง้ วิสยั ทัศน์เพื่อแสดงถึงจุดยืน ในการลงมือปฏิบตั ใิ นเรือ่ งของการรักษาสิง่ แวดล้อม นอกจากวิสยั ทัศน์ นัน้ ยังมีวฒ ั นธรรมองค์การที่บ่งบอกได้อย่างชัดเจนถึงการสนับสนุ นให้ ธุรกิจพัฒนาอย่างยังยื ่ นไปกับสิง่ แวดล้อมและสังคม โดยทางบริษัทมี นโยบายทีเ่ กีย่ วข้องต่อไปนี้ 1) หลักการที่มนคงของบริ ั่ ษทั ทางบริษทั ได้ยดึ หลักวัฒนธรรมองค์การ “พัฒนาธุรกิจอย่างยังยื ่ นไปกับสิง่ แวดล้อมและสังคม” มายาวนานถึง 25 ปี และยังคงมุ่งหน้าพัฒนาธุรกิจให้มคี วามสมดุลระหว่างมูลค่าทาง ธุรกิจและคุณค่าทางสิง่ แวดล้อมและสังคม นอกจากนี้บริษทั ยังได้นา หลักการปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง หลักธรรมาภิบาล และหลักการ ด้านความรับผิดชอบต่ อสังคม มาเพื่อประยุ กต์ ใช้ในการบริหาร จัดการธุรกิจเพื่อให้บรรลุถงึ เป้าหมายขององค์การอย่างต่อเนื่อง 2) การมุง่ เน้นการพัฒนาภายในองค์การ โดยบริษทั มีการมุง่ เน้นโดยเฉพาะ ด้านบุคลากรให้มคี วามรูค้ วามสามารถรองรับการเปลีย่ นแปลงธุรกิจ ซึง่


89 บริษัทฯมุ่งเน้ นการพัฒนาศักยภาพบุคลากรอย่างต่ อเนื่อง โดยการ ด าเนิ น การพัฒ นาพนั ก งานตามระบบ Competency Based Management ที่ได้ปรับปรุงใหม่ รวมถึงการมุ่งสู่การเป็ นองค์การแห่ง การเรียนรู้ (learning organization:) ด้วยการส่งเสริมและปลูกฝงั ให้ พนักงานรักการเรียนรูเ้ กี่ยวกับธุรกิจโดยเฉพาะธุรกิจใหม่ๆ ผ่านระบบ Interactive Knowledge Management เพื่อรองรับกับการขยายตัวของ องค์การในอนาคต และการจัดตัง้ กลุ่ม (Communities of Practice: COP) เพื่อให้พนักงานมีโอกาสในการเรียนรู้ แบ่ งปนั ความรู้ประสบการณ์ ระหว่างพนักงานด้วยกันเองอีกด้วย 3) การนาแนวคิดการบริหารจัดการอย่างยังยื ่ น ทางบริษทั ได้มกี ารนา แนวคิดการบริหารจัดการอย่ างยัง่ ยืนมาเพิ่มเป็ นการสร้างสมดุ ล ระหว่างมูลค่าและคุณค่า โดยบริษทั ฯ ได้บรรจุตวั ชีว้ ดั ด้านสังคมและ สิง่ แวดล้อมเข้าเป็ นหนึ่งในตัวชี้วดั ของเป้าหมายการดาเนินงานของ องค์การ ทาให้บริษัทฯ จะสามารถถ่ ายทอดเป้าหมายเกี่ยวกับด้าน สังคมและสิง่ แวดล้อมสู่การปฏิบตั ิการในสายงานต่างๆ ของบริษัทฯ ได้อย่างถู กต้องแผนการปฏิบ ัติการต่ างๆ จะต้องมีความเชื่อมโยง หรือไม่ขดั ต่อเป้าหมายตัวชีว้ ดั ด้านสังคมและสิง่ แวดล้อมดังกล่าว 4) การวางแผนเกี่ยวกับการจัดหาวัตถุ ดิบ ทางบริษัทมีการนาเข้า น้ ามันดิบจากทัง้ ภายในประเทศและภายนอกประเทศเนื่องจากแหล่ง วัตถุดบิ ภายในประเทศไม่เพียงพอต่อความต้องการของโรงกลันทั ่ ง้ 7 แห่งดังนัน้ น้ ามันดิบส่วนใหญ่ท่ใี ช้ในประเทศไทยจึงต้องนาเข้าจาก ต่างประเทศซึง่ แหล่งน้ ามันดิบที่นาเข้าส่วนใหญ่ ได้แก่ กลุ่มประเทศ ในตะวันออกกลาง ประเทศในตะวันออกไกล การขนส่ งน้ ามันจาก ตะวันออกกลางใช้เวลาในการขนส่งประมาณ 15 – 20 วัน และจาก ตะวันออกไกลใช้เวลาประมาณ 3-7 วัน ทัง้ นี้โดยปกติบริษทั ฯ สารอง น้ ามันดิบในปริมาณที่เพียงพอต่อการกลันประมาณ ่ 40 วัน เพื่อที่จะ บรรลุเป้าหมายด้านเสถียรภาพในการจัดหาวัตถุดบิ เพื่อให้ได้ต้นทุน การจัดหา และราคาวัตถุดบิ ที่ต่ าทีส่ ุดโดยได้คุณภาพของผลผลิตตาม ความต้องการ บริษัทฯ จึงมีการจัดหาน้ ามันดิบเพื่อการผลิตทัง้ จาก แหล่ งภายในประเทศ และแหล่ งต่ างประเทศในสัดส่ วนที่เหมาะสม โดยคานึงถึงเศรษฐศาสตร์การกลัน่ ทัง้ นี้อีกส่วนหนึ่งบริษัทฯ สังซื ่ ้อ เป็ นน้ ามันสาเร็จรูปเพื่อจาหน่ าย ซึง่ เป็ นผลจากการแลกเปลีย่ นน้ ามัน สาเร็จรูป (Physical Swap) กับผูผ้ ลิตรายอื่น


90 3.2.2 การปฏิบตั งิ าน ในช่วงระยะแรกทีไ่ ด้นาการบัญชีสงิ่ แวดล้อมเข้ามาใช้ เมื่อทาง ฝ่า ยบัญ ชีจดั ทาข้อ มูล เสร็จ จะมีก ารจัด ส่ ง ข้อ มูล ให้ก ับฝ่ ายงานด้า น สิง่ แวดล้อม เพื่อจาแนกรายการทีเ่ กี่ยวข้องกับสิง่ แวดล้อมทีละรายการ แต่ในระยะถัดมา ได้มกี ารนาโปรแกรมประยุกต์ทางบัญชีเข้ามาช่วยใน การจาแนกต้นทุ นทางด้านสิ่งแวดล้อ ม โดยฝ่ายสิง่ แวดล้อมจะเป็ นผู้ บรรทุ ก ในระบบว่ า รายการประเภทใดควรเป็ น ต้ น ทุ น ทางด้ า น สิง่ แวดล้อม ทัง้ นี้จงึ ได้มกี ารนาโปรแกรมประยุกต์ดงั กล่าวเข้าไปใช้ใน ทุกๆ ส่วนงานของบริษทั โดยสามารถอธิบายได้ดงั นี้ 1) ประเภทรายการทางด้านสิง่ แวดล้อม ทางบริษทั ได้มกี ารแบ่งประเภท ของรายการทางด้านสิง่ แวดล้อมออกเป็ น 5 หมวดหลัก ซึง่ ได้แก่ 1.1) ค่าใช้จ่ายวัตถุดบิ ทีต่ ดิ ไปกับผลิตภัณฑ์ ในหมวดนี้จะเป็ น กลุ่ ม ของต้น ทุ น ที่อ ยู่ใ นผลิต ภัณ ฑ์ ณ ตอนสุ ด ท้า ยของ กระบวนการผลิต ซึ่ง ได้แ ก่ น้ า มัน ดิบ เอทานอล ไบโอ ดีเซล น้ามันพืชใช้แล้ว สารเคมี น้ าใช้ในการผลิต พลังงาน ทีใ่ ช้ในการผลิต 1.2) ค่าใช้จ่ายวัตถุดบิ ทีไ่ ม่ตดิ ไปกับผลิตภัณฑ์ ในหมวดนี้จะเป็ น กลุ่มของรายการของเสียทีเ่ กิดขึน้ จากกระบวนการผลิต ซึง่ ได้แก่ น้ ามันไม่ได้คุณภาพ ตะกอนน้ ามันจากถังน้ ามันดิบ น้ ามันเตา น้ าทิง้ สารเคมีทม่ี ากเกินพอจากน้ าบ่อปรับเสถียร กามะถันไม่ได้คุณภาพ 1.3) ค่าใช้จ่ายเพื่ออุปกรณ์ควบคุมมลพิษ ในหมวดนี้จะเป็ นกลุ่ม ของรายการที่เกิดขึน้ เพื่อควบคุมมลพิษให้อยู่ในระดับที่ต่ า ที่สุด ซึ่งได้แก่ ค่าบารุง รักษาอุปกรณ์ด้านสิง่ แวดล้อม ค่า เสื่อมราคาอุปกรณ์ควบคุมมลพิษ ค่าบาบัดน้ าทิ้ง ค่ากาจัด ของเสีย ค่าธรรมเนียมและภาษีดา้ นสิง่ แวดล้อม ค่าปรับ 1.4) ค่าใช้จ่ายในการป้องกันสิง่ แวดล้อม ในหมวดนี้จะเป็ นกลุ่ม ของรายการที่ เ กิ ด ขึ้น เพื่อ ป้ องกัน ไม่ ใ ห้ เ กิ ด มลพิษ ต่ อ สิง่ แวดล้อม ซึง่ ได้แก่ ค่าใช้จ่ายการติดตามและตรวจวัด ค่า เสื่อมราคาพื้นที่เก็บกากของเสีย ค่าใช้จ่ายเพื่อดาเนินการ ระบบการจัดการ ค่าบารุงรักษาอุปกรณ์ดา้ นสิง่ แวดล้อม 1.5) ประโยชน์ ของผลผลิต พลอยได้และการนาของเสียมาใช้ ใหม่ ในหมวดนี้จะเป็ นกลุ่มของรายการทีเ่ กิดจากผลผลิต


91 พลอยได้และของเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการต่างๆ ใน การดาเนินของบริษทั ทีท่ าให้ถูกนามาใช้และเกิดประโยชน์ กับบริษทั ฯ ซึง่ ได้แก่ กามะถันเหลว กลีเซอรีน เศษเหล็ก อลูมเิ นียม กระดาษ ซึ่งสิง่ ต่างๆ เหล่านี้โดยมาจะถูกขาย กลับมาเป็นรายได้ของบริษทั 2) รหัสบัญชี ฝ่ายบัญชีของบริษัทฯ มีการวางรหัสบัญชีท่แี สดง ออกถึงรายการที่เกี่ยวข้องกับสิง่ แวดล้อม โดยมีการจาแนก รหัสเฉพาะออกมา ยกตัวอย่างเช่น 5400200 ค่าซ่อมแซมและบารุงรักษา เป็ นค่าซ่อมแซม ที่เ กี่ย วข้อ งกับ เครื่อ งจัก รหรื อ อุ ป กรณ์ ท่ีใ ช้ เกีย่ วกับการควบคุมมลพิษและลดมลพิษ 5400440 ตัว เร่งปฏิกิรยิ าเคมี เป็ นค่ าใช้จ่ายที่เกิ ดจาก กระบวนการผลิต และค่าใช้จ่า ยตัวนี้จะติดไป กับผลิตภัณฑ์เมือ่ สาเร็จกระบวนการ 5410200 ค่าไฟฟ้าและพลังงาน เป็ นค่าใช้จ่ายของปจั จัย น าเข้ า ในกระบวนการผลิ ต และติ ด ไปกั บ ผลิตภัณฑ์ 5410050 ค่ า น้ าเป็ นค่ า ใช้ จ่ า ยของป จั จั ย น าเข้ า ใน กระบวนการผลิตและติดไปกับผลิตภัณฑ์ 5410550 ค่าการรักษาสภาพแวดล้อม เป็ นค่าใช้จ่ายใน ก า ร ป รั บ ป รุ ง แ ล ะ พั ฒ น า ภู มิ ท ั ศ น์ แ ล ะ สภาพแวดล้อมรอบๆ บริษทั ฯ จะพบว่าเลข 5 ทีอ่ ยู่ในลาดับแรกนัน้ หมายถึง รายการ ทีเ่ ป็ นค่าใช้จ่าย เลข 4 ทีอ่ ยู่ในลาดับถัดมานัน้ หมายถึง รายการ ดังกล่าวเป็ นรายการทีเ่ กี่ยวข้องกับสิง่ แวดล้อม และสาหรับใน 5 หลักท้ายจะเป็นตัวทีแ่ สดงถึงแผนกทีร่ บั ผิดชอบในค่าใช้จ่าย นัน้ และระบุว่ารายการดังกล่าวคือรายการใด 3) การจาแนกต้นทุนทางด้านสิง่ แวดล้อม สาหรับการจาแนก ต้นทุนทางด้านสิง่ แวดล้อมของ บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) จะมีหน่ วยงานที่รบั ผิดชอบอยู่ 3 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายบัญชี ฝ่ายวิศวกรการผลิต และฝ่ายสิง่ แวดล้อม โดยเริม่ จากฝ่ายสิง่ แวดล้อม ซึ่งเป็ นผู้มหี น้ าที่รบั ผิดชอบ


92 เกี่ยวกับการจาแนกว่า รายการใดที่ก่อให้เกิดมลพิษหรือ ผลกระทบกับ สิ่ง แวดล้ อ มเพื่อ ให้ ฝ่ า ยบัญ ชีไ ด้ ท ราบว่ า รายการใดที่ ค วรจะเป็ นต้ น ทุ น ทางด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม หลังจากนัน้ ฝ่ายบัญชีจะทาการติดต่อการฝ่ายวิศวกรการ ผลิต เพื่อให้ทราบถึงกระบวนการผลิต และนาข้อมูลทีไ่ ด้ ไปเป็ นพื้นฐานในการจาแนกต้นทุนของศูนย์ต้นทุนต่างๆ หลัง จากนั ้น ฝ่ า ยบัญ ชีจ ะท าการน าข้อ มู ล ดัง กล่ า วมา สรุปผลเพื่อนาข้อมูลดังกล่าวไปปรับปรุงกระบวนการผลิต และจัดทาเป็ นรายงานทางด้านสิง่ แวดล้อมเพื่อนาเสนอต่อ ผูท้ ม่ี สี ่วนได้เสียและผูท้ ส่ี นใจ โดยบริษทั ได้นาหลักการในการจัดทาบัญชีบริหาร สิง่ แวดล้อมของ United Nations เข้ามาประยุกต์ใช้ให้เข้า กับ กระบวนการต่ า งๆ ของบริษั ท ตัง้ แต่ ก ารวางระบบ ทางด้า นบัญ ชีส ิ่ง แวดล้อ ม ตลอดจนการป นั ส่ ว นต้ น ทุ น ตามหลักการ Material Flow Balance เพื่อให้ได้ทราบว่า ผลิตภัณฑ์ใด ก่อให้เกิดต้นทุนทางด้านสิง่ แวดล้อมจานวน เท่ า ใด ทัง้ นี้ ก ารป นั ส่ ว นต้ น ทุ น ของบางจาก ได้ท าตาม หลักการของ United Nations ในทุกๆ ขัน้ ตอน และเมื่อได้ ทราบถึงต้นทุนต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้


93

.

ภาพที่ 4-1 ภาพแสดงรายการค่าใช้จ่ายทางด้านสิง่ แวดล้อม ของบริษัท บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) ทีม่ า: บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน). http://www.bangchak.co.th. (29 กุมภาพันธ์ 2555)


94 จากภาพที่ 4-1 จะพบว่า ค่าใช้จ่ายด้านสิง่ แวดล้อม ในปี 2553 โดยรวมสูงกว่าปี พ.ศ. 2552 ประมาณ 19,919 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 31 ส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 99 เป็ น ค่าใช้จ่ายวัตถุดบิ ทีต่ ดิ ไปกับผลิตภัณฑ์ (Material Costs of Product Outputs) เนื่องจากราคาน้ ามันดิบสูงขึน้ เฉลีย่ 3.01 บาทต่อลิตร หรือเพิม่ ขึ้นร้อยละ 23.79 เมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2552 ทีร่ าคาเฉลีย่ 12.66 บาทต่อลิตร ขณะทีป่ ริมาณการผลิต เพิม่ ขึน้ เล็กน้อยจากปี พ.ศ. 2552 คือร้อยละ 5.86 ซึง่ กระทบ ต่อยอดค่าใช้จา่ ยของสารเคมี น้าใช้ และพลังงานด้วย ส่วนค่าใช้จ่ายวัตถุดบิ ที่ไม่เป็ นผลิตภัณฑ์ (Material Costs of Non - Product Outputs) อันหมายถึงของเสียที่ เกิดขึน้ จากกระบวนการผลิต พบว่าในปี พ.ศ. 2553 สูงขึน้ จาก ปี พ.ศ. 2552 ประมาณ 36.71 ล้านบาท หรือร้อยละ 38.33 ส่วนใหญ่เป็ นน้ ามันทีไ่ ม่ได้คุณภาพ (Slop oil) เนื่องจากต้นทุน การนาไปผลิตใหม่ (Rerun Cost) สูงขึน้ กว่าร้อยละ 200 และ ปี พ.ศ. 2553 มีค่าใช้จ่ายเพิม่ เติมจากปี พ.ศ. 2552 ในส่วน ของกามะถันที่ไม่ได้คุณภาพเนื่องจากปี พ.ศ. 2553 มีการ หยุดหน่วยผลิตกามะถันเหลวเพื่อซ่อมบารุงและเปลีย่ นตัวเร่ง ปฏิกริ ยิ า สาหรับหมวดค่าใช้จ่ายเพื่ออุปกรณ์ควบคุมมลพิษ (Waste and Emission Control Costs) ซึง่ เป็ นค่าใช้จ่ายใน การบ ารุ งรักษาอุ ปกรณ์ ท่ีเ กี่ยวข้อ งกับการควบคุ มด้ า น สิง่ แวดล้อม และค่ าใช้จ่ายในการจัดการของเสียที่ออกมา จากกระบวนการผลิตพบว่า ปี พ.ศ. 2553 มีค่ าใช้จ่ายสูง กว่าปี พ.ศ. 2552 ประมาณ 136.55 ล้านบาท หรือร้อยละ 158.58 เป็ นผลมาจากหมวดค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์ควบคุ ม มลพิษ เนื่ อ งจากมีห น่ ว ยควบคุ ม มลพิษ มากขึ้น ส าหรับ หมวดค่าใช้จ่ายในการป้องกันสิง่ แวดล้อม (Prevention and Other Environmental Management Costs) เพิม่ ขึน้ 2.73 ล้านบาท หรือร้อยละ 51.90 เนื่องจากบริษทั ฯ ให้ความสาคัญ กับการเฝ้ าระวัง ติดตามและตรวจวัดคุ ณภาพสิ่งแวดล้อม อย่างต่อเนื่องมากขึน้


95 ในหมวดรายได้นั น้ นอกเหนื อ จากการจ าหน่ าย ผลิตภัณฑ์แล้ว บริษัทฯ ยังมีรายได้ท่เี กี่ยวกับสิง่ แวดล้อม เพิม่ ขึน้ ได้แก่ การขายกามะถันเหลว ซึง่ เป็ นผลผลิตพลอย ได้ท่ไี ด้จากการปรับปรุงคุณภาพน้ ามันด้วยการดึงกามะถัน ออกจากผลิตภัณฑ์ รายได้จากการขายกามะถันเหลวในปี พ.ศ. 2553 เพิ่ ม ขึ้ น จากปี พ.ศ. 2552 ค่ อ นข้ า งมาก เนื่องจากมีการนาน้ ามันดิบที่มอี งค์ประกอบของกามะถัน สูงขึ้นเข้ากลัน่ ทาให้ปริมาณก ามะถันที่ผลิตได้สูงขึ้นด้วย และราคาขายกามะถันต่อหน่ วยปรับตัวเพิม่ ขึน้ จากปี พ.ศ. 2552 กว่าร้อยละ 70 เช่นเดียวกับรายได้จากการขายเศษ โลหะที่เพิ่มขึ้น เพราะปริมาณเศษเหล็ก มีราคารับซื้อต่ อ หน่ วยลดลงจากปี พ.ศ. 2551 ประมาณ 5.36 บาท/กิโลกรัม อันเป็ นผลมาจากโรงงานรับซื้อเศษโลหะได้ปิดดาเนินการ หลายแห่ง สาหรับรายได้จากการจาหน่ ายกระดาษสูงขึ้น จากปี พ.ศ. 2552 เนื่องจากมีการทา 5ส อย่างต่อเนื่อง และ มีการจัดกิจกรรมประกวด 5ส ระดับองค์การ 3.2.3 การตรวจสอบ การวัดผลการดาเนินงานจะดูตามแผนทีไ่ ด้วางไว้ ซึ่งจากการนา EMA มาใช้สามารถวัดผลการดาเนินงานในด้านต่างๆ ได้ดงั นี้ 1.) ดัชนีประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ ทางบริษทั ยังได้มกี าร น าดั ช นี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเชิ ง นิ เ วศเศรษฐกิ จ เข้ า มาใช้ ไ ด้ เนื่องจากการพัฒนาทีย่ งยื ั ่ นนัน้ ธุรกิจไม่สามารถพิจารณาได้ แต่เพียงผลตอบแทนทางธุรกิจเท่านัน้ หากยังต้องพิจารณา ผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม บริษทั จึงนาดัชนีชว้ี ดั ทีผ่ สมผสาน ผลการดาเนินการด้านเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อมที่เรียกว่า “ประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (Eco-efficiency)” มาใช้ โดยใช้กาไรก่ อนหักดอกเบี้ยและค่ าเสื่อมราคา ซึ่งไม่รวม กาไร/ขาดทุนจากสต๊ อกน้ ามัน (Adjusted EBITDA) ซึ่ง สะท้อนผลการด าเนินการด้านเศรษฐกิจ และปริมาณก๊ าซ คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าเป็ นผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม หากผลการดาเนินการด้านเศรษฐกิจสูงขึ้น หรือผลกระทบ สิง่ แวดล้อมลดลงจะทาให้ค่าประสิทธิภาพทางนิเวศเศรษฐกิจ สูงขึน้ โดยในปี 2553 บริษทั (เฉพาะโรงกลัน) ่ ปล่อยปริมาณ


96 ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ 735,970 ตันคาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่า (Carbon footprint) ลดลงเทียบกับปี 2552 เนื่องจาก บริษทั ปรับเปลีย่ นประเภทเชือ้ เพลิงจากน้ ามันเตาเป็ นก๊าซ ธรรมชาติท่สี ะอาดกว่า ถึงกระนัน้ ก็ต าม เนื่องจากกาไร ก่อนหักดอกเบีย้ และค่าเสื่อมราคาซึง่ ไม่รวมกาไร/ขาดทุน จากสต๊ อ กน้ ามั น ก็ จ ะลดลงด้ ว ยเช่ น กั น เป็ นผลให้ ประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจลดลง ซึ่งแสดงไว้ดงั ตาราง ต่อไปนี้ ตารางที่ 4-1 ตารางประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจ (ล้านบาทต่อตันก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ เทียบเท่า) 2549 2550 2551 2552 2553 0.008 0.007 0.017 0.012 0.007 ทีม่ า: บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน). http://www.bangchak.co.th. (29 กุมภาพันธ์ 2555) 2) การตรวจสอบผลการปฏิบตั งิ าน จากการทีไ่ ด้มกี ารจัดทา รายงานทางด้านสิง่ แวดล้อม จึงสามารถนาข้อมูลดังกล่าว มาเปรีย บเทีย บถึง ผลการท างานว่ า มีก ารพัฒ นาไปใน ทิศทางใดบ้าง เช่น ปริมาณน้ าทิง้ ในปี 2552 ปริมาณ 10,216 เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2553 ปริมาณ 10,919 จะเห็นได้ถงึ ปริมาณน้ าเสียที่เกิดจากฝ่ายผลิตที่เพิม่ มากขึน้ แต่ทงั ้ นี้ก็ ต้องทาการเปรียบเทียบถึงปริมาณการผลิตด้วยว่า มีผลต่อ น้ า เสีย ที่เ พิ่ม ขึ้น หรือ ไม่ หรือ เกิ ด จากการผลิต ที่ด้ อ ย ประสิทธิภาพลง 3.3.4 การปรับปรุงแก้ไข จากการนาหลักการบัญชีบริหารเข้ามาประยุ กต์ใช้ ทา ให้องค์การได้นาข้อมูลต่างๆ มาพัฒนาองค์การดังนี้ 1) การปรับปรุงด้านวิศวกรรม การซ่อมบารุง 1.1) การนาระบบ Safety Integrity Level (SIL) เข้ามาใช้ งาน เพื่อเพิม่ reliability ของอุปกรณ์ควบคุมวัด 1.2) การนาระบบ Risk Based Inspection (RBI) เข้ามา เพิม่ ประสิทธิภาพในการตรวจสอบอุปกรณ์ 1.3) การใช้งานระบบ Reliability Centered Maintenance (RCM)


97 1.4)

ปรั บ ป รุ ง ม า ต ร ฐ า น ง า น ซ่ อ ม ถั ง ใ ห้ สู ง ก ว่ า มาตรฐานสากล 1.5) การปรับปรุงเพิม่ ขีดความสามารถและ reliability ของ ระบบดับเพลิงโรงกลันฯ ่ 1.6) การปรับปรุ งอุ ปกรณ์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้าน security (ระบบ Access Control, กล้อง CCTV) 2) การปรับปรุงระบบการทางาน 2.1) การปรับปรุงระบบบริหารความปลอดภัย อิเล็คโทรนิค (E-safety) 2.2) การจัดการตรวจสุ ขภาพประจาปี และการตรวจ สุขภาพตามปจั จัยเสีย่ ง 2.3) การปฏิบตั ติ ามโครงการอนุรกั ษ์การได้ยนิ 3) การส่งเสริมจิตสานึกด้านสังคม ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สิง่ แวดล้อมและพลังงาน 3.1) จัดอบรมหลักสูตรต่างๆ ด้านความปลอดภัย เช่น ความ ปลอดภัยในทีอ่ บั อากาศ การปฐมพยาบาล เป็นต้น 3.2) จัดอบรมหลักสูตรความปลอดภัยสาหรับผูร้ บั เหมาที่ เข้ามาทางานในโรงกลัน่ เช่นเนื้อหาเกีย่ วกับนโยบาย ของบริษัทกฎระเบียบด้ านความปลอดภัยอาชีว อนามัยและสิง่ แวดล้อม เป็นต้น 3.3) จัดอบรมหลักสูตร behavior based safety 3.4) การจัดอบรมหลักสู ต รการดับเพลิงขัน้ ต้ นให้ กับ พนั ก งานทัว่ ไป และการดับ เพลิง ขัน้ สู ง ส าหรับ พนักงานสายปฏิบตั กิ าร 4) การกาจัดของเสียและผลกระทบ


98 ตารางที่ 4-2ตารางแสดงประเภทของเสีย วิธใี นการกาจัด และผลกระทบ ประเภทของเสีย วิ ธีการในการกาจัด ก๊าซเรือนกระจกจาก กระบวนการผลิต เช่น ก๊าซ ทาการกลัน่ ไนโตรเจนออกไซด์และซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ เป็ นต้น น้าเสีย

ทาการบาบัด

กาจัดโดยผูข้ นส่งและผูร้ บั กาจัด ของเสียทีไ่ ม่สามารถบาบัดได้ ภายในประเทศทีไ่ ด้รบั อนุญาต จากกระบวนการผลิตทีเ่ ป็ นของ จากกรมโรงงานอุตสาหกรรม ไม่ เสียอันตราย มีการส่งออกไปกาจัดนอก ประเทศ ของเสียทีไ่ ม่สามารถบาบัดได้ ของเสียจะถูกบาบัดและกาจัด จากกระบวนการผลิตทีเ่ ป็ นของ ตามคุณสมบัตขิ องของเสีย เสียทีไ่ ม่ใช่อนั ตราย

ทีม่ า:

ผลกระทบ เกิดต้นทุนให้การติดตัง้ เครื่องกรอง อากาศและค่าใช้จ่ายในการ บารุงรักษา เกิดต้นทุนให้การติดตัง้ เครื่อง บาบัดน้าเสียและค่าใช้จ่ายในการ บารุงรักษา เกิดต้นทุนในการกาจัดของเสีย เช่น ค่าใช้จ่ายในการจ้างองค์การ จากภายนอก เป็ นต้น

เกิดต้นทุนในการกาจัดของเสีย

จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม จากข้อมูลข้างต้นพบว่าบริษทั มีการจากัดของเสีย ด้วยวิธกี ารต่างๆ ซึ่งส่งผลกระทบทัง้ ทางบวกและทางลบ เช่ น มีค่ า ใช้จ่ า ยในการดู แ ลรัก ษาสิน ทรัพ ย์ การติด ตัง้ เครื่อ งจัก รต่ า งๆ ท าให้ เ กิด เป็ น ลู ก หนี้ ต ามสัญ ญาเช่ า ดาเนินงาน ค่าใช้จ่ายในการจัดจ้างองค์การจากภายนอก เข้ามาดูแล รวมทัง้ ของเสียบางตัวมีการนาไปจาหน่ ายและ ทาการรีไซเคิล ก่อ เกิดเป็ นผลพลอยได้ใ ห้กบั องค์การอีก ด้วย ในปี พ.ศ. 2553 บริษทั ได้รายงานผลกระทบทีเ่ กิด จากการปล่ อ ยก๊ า ซเรือ นกระจกจากกระบวนการผลิต โดยตรง 634,579 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า และ ปล่อยโดยอ้อมจากการซื้อไฟฟ้าและไอน้ ามาใช้ 101,391 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า รวมทัง้ สิ้น 735,970 ตัน คาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ซึ่งสูงขึน้ จากปี พ.ศ. 2552 เนื่องจากปี พ.ศ. 2553 มีการเดินหน่ วยกลันที ่ ่ 4 ซึ่งเป็ น


99 หน่ ว ยกลันใหม่ ่ ต ลอดทัง้ ปี ขณะที่ปี พ.ศ. 2552 เริม่ เดิน หน่ วยกลันที ่ ่ 4 เป็ นปี แรกภายหลังก่อ สร้างแล้วเสร็จ จึง เดิน หน่ ว ยกลัน่ เพีย งแค่ บ างช่ ว งของปี และปล่ อ ยก๊ า ซ ไนโตรเจนออกไซด์และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ 643.33 และ 185.06 ตัน ตามลาดับ บริษัท มีก ารระบายน้ า ทิ้ง ออกสู่ ส ภาพแวดล้อ ม ภายนอกทัง้ หมด 3 จุด (เป็ นระบบระบายน้ าฝนหรือน้ าที่ ไม่มกี ารปนเปื้อน 2 จุดเป็ นจุดระบายที่รองรับน้ าทิ้งทีผ่ ่าน การบาบัดแล้วอีก 1 จุด) น้าจากกระบวนการผลิตถูกบาบัด ด้วยระบบบาบัดน้าเสียทางกายภาพ เคมี และชีววิทยา จน มีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานลงคลองบางอ้อซึ่งออกสู่ แม่น้าเจ้าพระยา ในปี พ.ศ. 2553 บริษทั ฯ มีการระบายน้ า จากกระบวนการผลิตออกสู่สงิ่ แวดล้อมภายนอกทัง้ หมด 683,280 ลูกบาศก์เมตร และระเหยสู่บรรยากาศจากระบบ หล่อเย็นและใช้ไปกับปฏิกริ ยิ าในหน่ วยการผลิตไฮโดรเจน 1,191,360 ลูกบาศก์เมตร ของเสียทีไ่ ม่สามารถบาบัดได้เองทัง้ จากกิจกรรมใน กระบวนการผลิตและจากศูนย์จ่ายน้ ามันบางจากทัง้ หมดถูก ส่งไปกาจัดโดยผู้ขนส่งและผู้รบั กาจัดภายในประเทศที่ได้รบั อนุ ญาตจากกรมโรงงานอุ ตสาหกรรม ไม่ม ีการส่ งออกไป ก าจัดนอกประเทศปี พ.ศ. 2553 บริษัทส่ งก าจัดของเสีย ทัง้ หมด 2,706 ตัน แบ่งเป็ นของเสียอันตราย 1,230 ตัน คิด เป็ นร้อ ยละ 45 ของของเสียทัง้ หมด ประกอบด้ ว ย กาก ตะกอนก้นถังน้ ามัน ของเสียจากกระบวนการแยกเกลือออก จากน้ ามันดิบ วัสดุปนเปื้ อนน้ ามัน ก้อนกามะถันปนเปื้ อน กากตะกอนจากระบบบาบัดน้ าเสีย สารเคมีเสื่อมสภาพด่างที่ ใช้งานแล้ว วัสดุดูดซับที่ใช้งานแล้ว ตัวเร่งปฏิกริ ยิ าและวัสดุ ตัวรองทีใ่ ช้งานแล้ว ทรายปนเปื้อนสารอันตราย วัสดุขดั ผิวที่ ใช้งานแล้ว และมีส่ งกาจัดของเสียที่ไม่ใช่ของเสียอันตราย 1,476 ตัน คิดเป็ นร้อยละ 55 ของของเสียทัง้ หมด ประกอบ ด้วย น้ าเสียจากหน่ วยผลิตไบโอดีเซล ฉนวนกันความร้อน ยางมะตอยจากงานซ่อมถนน เศษเหล็ก เศษอลูมเิ นียม และ ท่ อพลาสติก ของเสีย ดัง กล่ า วถู ก บ าบัด และก าจัด ตาม


100 คุณสมบัตขิ องของเสียนัน้ ด้วยวิธที ่ถี ูกต้องตามหลักวิชาการ ร้อยละ 72 ของของเสียทัง้ หมด ถูกทาเป็ นเชื้อเพลิงทดแทน แล้วน าไปเผาในเตาเผาเนื่ องจากมีค่ าความร้อนเพียงพอ ร้อยละ 3 ของของเสียทัง้ หมดถูกนาไปฝงั กลบ เนื่องจากมีค่า ความร้อนไม่เพียงพอและมีคุณสมบัติไม่เหมาะแก่ การเผา ส่วนของเสียทีเ่ หลืออีกร้อยละ 25 ถูกส่งไปคัดแยกเพื่อนาไป รีไซเคิลเพราะสามารถนาไปทาประโยชน์ต่อได้ 4. ประสิทธิภาพจากการนาเอาหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อมมาใช้ในการดาเนินงาน กรณีศกึ ษา บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัวคราว ่ ลูกหนี้การค้า กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน กิจการอื่น สินค้าคงเหลือ ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลรอขอคืน เงินชดเชยกองทุนน้ามันค้างรับ สินทรัพย์หมุนเวียนอืน่ รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียน

ภาพที่ 4-2 ทีม่ า:

ร้อยละ 4,020,710,649 9,823,677

6.53% 0.02%

1,838,987,793 6,233,335,944 16,658,225,735 326,867,644 926,778,096 1,279,729,291 31,294,458,829

2.99% 10.12% 27.04% 0.53% 1.50% 2.08% 50.80%

งบแสดงฐานะการเงิน บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน). http://www.bangchak.co.th. (29 กุมภาพันธ์ 2555)


101 บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษทั ย่อย เงินลงทุนในบริษทั ร่วม เงินลงทุนระยะยาวอื่น ค่าขนส่งจ่ายล่วงหน้า อสังหาริมทรัพย์เพือ่ การลงทุน ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ สิทธิการเช่า สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน เงินลงทุนในสถานีบริการน้ามัน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน่ รวมสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสิ นทรัพย์ หนี้ สินและส่วนของผูถ้ ือหุ้น หนี้ สินหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน กิจการอื่น เจ้าหนี้อ่นื กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ทีถ่ งึ กาหนดชาระ ภายในหนึ่งปี ภาษีสรรพสามิตและเงินนาส่งกองทุน น้ามันเชือ้ เพลิง ค้างจ่าย ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลค้างจ่าย หนี้สนิ จากสัญญาประกันความเสีย่ ง หนี้สนิ หมุนเวียนอื่น รวมหนี้ สินหมุนเวียน

745,479,405 284,645,072 12,004,200 288,062,000 26,959,261,135 937,382,932 101,135,053 180,351,084 179,072,560 621,639,658 30,309,033,099 61,603,491,928

0.00% 1.21% 0.46% 0.02% 0.47% 43.76% 1.52% 0.16% 0.29% 0.29% 1.01% 49.20% 100.00%

2,000,000,000

3.25%

7,881,988,240 876,517,129 427,170,577 551,363,070

12.79% 1.42% 0.69% 0.90%

296,841,676

0.48%

148,141 604,919,384 1,902,504,770 14,541,452,987

0.00% 0.98% 3.09% 23.60%

ภาพที่ 4-3 (ต่อ) งบแสดงฐานะการเงิน บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ทีม่ า: บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน). http://www.bangchak.co.th. (29 กุมภาพันธ์ 2555)


102 บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 หนี้ สินไม่หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุน้ กูแ้ ปลงสภาพ หนี้สนิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สนิ จากสิทธิการเช่าระยะยาว ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี้สนิ ไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้ สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้ สิน ส่วนของผูถ้ ือหุ้น ทุนเรือนหุน้ ทุนจดทะเบียน ทุนทีอ่ อกและชาระเต็มมูลค่าแล้ว ส่วนเกินทุน ส่วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ ส่วนเกินมูลค่าหุน้ ของบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ไปลงทุน ส่วนเกินทุนจากการลดทุนจดทะเบียนและทุนชาระ แล้ว กาไรสะสม จัดสรรแล้ว สารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร รวมส่วนของบริ ษทั ส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี านาจควบคุม รวมส่วนของผูถ้ ือหุ้น รวมหนี้ สินและส่วนของผูถ้ ือหุ้น

16,030,166,740 6,869,877 237,846,592 839,950,328 67,764,855 17,182,598,392 31,724,051,379

26.02% 0.00% 0.01% 0.39% 1.36% 0.11% 27.89% 51.50%

1,531,643,461 1,376,923,157

2.49% 2.24%

11,157,460,051 18,621,225 189,617,759

18.11% 0.03% 0.31%

153,164,346 16,833,294,392 29,729,080,930 150,359,619 29,879,440,549 61,603,491,928

0.25% 27.33% 48.26% 0.24% 48.50% 100.00%

ภาพที่ 4-3 (ต่อ) งบแสดงฐานะการเงิน บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 ทีม่ า: บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน). http://www.bangchak.co.th. (29 กุมภาพันธ์ 2555)


103 บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) งบกาไรขาดทุน สาหรับปี สน้ิ สุดวันที่ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 รายได้ รายได้จากการขายและการให้บริการ ต้นทุนขายและการให้บริการ กาไรขัน้ ต้น รายได้จากการลงทุน รายได้อ่นื ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร กาไร (ขาดทุน) จากสัญญาซื้อขายน้ามันดิบ และ ผลิตภัณฑ์น้ามันล่วงหน้า กาไร (ขาดทุน) จากสัญญาซื้อขายเงินตรา ต่างประเทศล่วงหน้า กาไรจากอัตราแลกเปลีย่ น ยอดสุทธิของกลับรายการค่าเผือ่ ผลขาดทุนจาก การด้อยค่าทรัพย์สนิ ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม กาไรก่อนต้นทุนทางการเงิ น และภาษี เงิ นได้ ต้นทุนทางการเงิน กาไรก่อนภาษี เงิ นได้ ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ กาไรสาหรับปี

ภาพที่ 4-4 ทีม่ า:

158,609,989,454 -147,984,315,203 10,625,674,251 54,552,640 1,487,341,327 -2,436,294,179 -1,404,490,194 -758,853,327

ร้อยละ 99.04% -92.40% 6.63% 0.03% 0.93% -1.52% -0.88% -0.47%

-701,066,248

-0.44%

170,093,035 11,706,758

0.11% 0.01%

-17,750,115 7,030,913,948 -783,178,921 6,247,735,027 -615,291,297 5,632,443,730

-0.01% 4.39% -0.49% 3.90% -0.38% 3.52%

งบกาไรขาดทุน บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) สาหรับปีสน้ิ สุด วันที่ 31 ธันวาคม 2554 บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน). http://www.bangchak.co.th. (29 กุมภาพันธ์ 2555)

4.1 วิเคราะห์งบแนวตัง้ 4.1.1 งบแสดงฐานะการเงิน สิน้ ปี 2554 บริษทั มีสนิ ทรัพย์หมุนเวียนร้อยละ 50.80 ซึง่ ถือว่า มีส ภาพคล่ อ งสูง มากเมื่อ เปรีย บเทีย บกับ หนี้ ส ิน หมุน เวีย น ส าหรับ สินทรัพย์หมุนเวียนส่วนใหญ่เป็ นสินค้าคงเหลือคิดเป็ นร้อยละ 27.04 ซึ่ง เป็ นสิ่งที่บริษัทสามารถใช้ในการทารายได้ให้แก่ บริษัทและในส่ วนของ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนในส่ วนใหญ่ บริษัทจะลงทุนอยู่ในรูปของ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์คดิ เป็นร้อยละ 43.76


104 บริษัทมีหนี้ส ินรวมคิดเป็ นร้อยละ 51.50 ซึ่งแบ่งออกเป็ นหนี้ส ิน หมุนเวียนรวมคิดเป็ นร้อยละ 23.60 และหนี้สนิ ไม่หมุนเวียนรวมคิดเป็ น ร้อยละ 27.89 โดยจะมีรายการที่สาคัญคือ เจ้าหนี้การค้าของบริษทั คิด เป็ นร้อยละ 14.21 ลาดับถัดมาจะเป็ นเงินกู้ยมื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน คิดเป็ นร้อยละ 3.25 และในส่วนของหนี้สนิ ไม่หมุนเวียนมีรายการทีส่ าคัญ อันได้แก่ เงินกู้ย ืมระยะยาวจากสถาบันการเงินคิดเป็ นร้อยละ 28.02 รองลงมาเป็นภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงานคิดเป็ นร้อยละ 1.36 ในส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมคิดเป็ นร้อยละ 48.50 โดยมีกาไรสะสมทีย่ งั ไม่จดั สรรคิดเป็ นร้อยละ 27.33 เป็ นส่วนใหญ่และรองลงมาเป็ นส่วนเกิน หุน้ สามัญคิดเป็นร้อยละ 18.11 เมื่อวิเคราะห์ส่วนนี้แล้วจะเห็นได้ว่าบริษทั มีหนี้สนิ ไม่หมุนเวียน โดยเป็ นรายการที่มาจากเงินกู้ยมื ระยะยาวจากสถาบันการเงินมากที่สุด ซึง่ บริษทั ได้นาเงินตัวนี้มาใช้ในการดาเนินการและลงทุนของบริษทั 4.1.2 งบแสดงกาไรขาดทุน ในปี 2554 บริษทั มีรายได้ทเ่ี กิดจากการขายสินค้าซึง่ คิดเป็ นร้อย ละ 99.04% และมีกาไรจากการลงทุนและรายได้อ่นื คิดเป็ นร้อยละ 0.03 และ 0.93 ตามลาดับ และเมื่อพิจารณาในส่วนของค่าใช้จ่ายของบริษทั จะ เห็นว่า ต้นทุนขายและการให้บริการของบริษทั คิดเป็ นร้อยละ 92.40 ซึ่ง ถือว่าสูงมากเมื่อเทียบกับค่าใช้จ่ายทัง้ หมดทีค่ ดิ เป็ นร้อยละ 94.90 ซึง่ ถ้า บริษัทสามารถควบคุ มต้ นทุ นของสินค้านี้ ล งได้บริษัทจะสามารถท า รายได้ให้มากขึ้นกว่าเดิมได้อย่างมาก ซึ่งจะเห็นได้จากกาไรสุทธิของ บริษทั ทีเ่ ห็นว่าสูงขึน้ ซึง่ คิดเป็ นร้อยละ 3.52


105 บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (ปรับปรุงใหม่) สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัวคราว ่ ลูกหนี้การค้า กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน กิจการอื่น สินค้าคงเหลือ ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลรอขอคืน เงินชดเชยกองทุนน้ ามันค้างรับ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษทั ย่อย เงินลงทุนในบริษทั ร่วม เงินลงทุนระยะยาวอื่น ค่าขนส่งจ่ายล่วงหน้า อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ สิทธิการเช่า สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน เงินลงทุนในสถานีบริการน้ามัน สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสิ นทรัพย์

ภาพที่ 4-5 ทีม่ า:

2554

2553

ร้อยละ

4,020,710,649 9,823,677

9,109,013,095 9,277,752

-55.86% 5.88%

1,838,987,793 6,233,335,944 16,658,225,735 326,867,644 926,778,096 1,279,729,291 31,294,458,829

1,593,110,679 4,132,852,213 15,607,901,880 521,189,086 1,110,697,938 32,084,042,643

15.43% 50.82% 6.73% ** 77.82% 15.22% -2.46%

745,479,405 284,645,072 12,004,200 288,062,000 26,959,261,135 937,382,932 101,135,053 180,351,084 179,072,560 621,639,658 30,309,033,099 61,603,491,928

287,382,207 15,163,200 288,062,000 23,565,916,447 954,016,761 74,729,539 215,644,676 242,544,559 685,019,795 26,328,479,184 58,412,521,827

0.00% ** -0.95% -20.83% 0.00% 14.40% -1.74% 35.33% -16.37% -26.17% -9.25% 15.12% 5.46%

งบแสดงฐานะการเงิน บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (ปรับปรุงใหม่) บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน). http://www.bangchak.co.th. (29 กุมภาพันธ์ 2555)


106 บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (ปรับปรุงใหม่) หนี้ สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้ สินหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้การค้า กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน กิจการอื่น เจ้าหนี้อ่นื กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน ทีถ่ งึ กาหนดชาระภายในหนึ่งปี ภาษีสรรพสามิตและเงินนาส่งกองทุน น้ ามันเชือ้ เพลิงค้างจ่าย ภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลค้างจ่าย หนี้สนิ จากสัญญาประกันความเสีย่ ง หนี้สนิ หมุนเวียนอื่น รวมหนี้ สินหมุนเวียน หนี้ สินไม่หมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุน้ กูแ้ ปลงสภาพ หนี้สนิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สนิ จากสิทธิการเช่าระยะยาว ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน หนี้สนิ ไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้ สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้ สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนจดทะเบียน ทุนทีอ่ อกและชาระเต็มมูลค่าแล้ว ส่วนเกินทุน ส่วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ ส่วนเกินมูลค่าหุน้ ของบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ไปลงทุน ส่วนเกินทุนจากการลดทุนจดทะเบียนและทุนชาระแล้ว

ร้อยละ 2,000,000,000

40,000,000

4900.00%

7,881,988,240 876,517,129 427,170,577 551,363,070 296,841,676 148,141 604,919,384 1,902,504,770 14,541,452,987

9,347,034,229 886,984,345 186,133,768 2,662,116,916 815,229,753 536,208,053 314,669,490 2,792,067,263 17,580,443,817

-15.67% -1.18% 129.50% -79.29% -63.59% -99.97% 92.24% -31.86% -17.29%

16,030,166,740 6,869,877 237,846,592 839,950,328 67,764,855 17,182,598,392 31,724,051,379

14,978,618,763 1,936,570,000 13,085,480 291,391,648 759,495,625 72,667,871 18,051,829,387 35,632,273,204

7.02% ** -47.50% -18.38% 10.59% -6.75% -4.82% -10.97%

1,531,643,461 1,376,923,157

1,531,643,461 1,176,822,958

0.00% 17.00%

11,157,460,051 18,621,225 189,617,759

8,272,622,542 18,621,225 189,617,759

34.87% 0.00% 0.00%

ภาพที่ 4-5 (ต่อ) งบแสดงฐานะการเงิน บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (ปรับปรุงใหม่) ทีม่ า: บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน). http://www.bangchak.co.th. (29 กุมภาพันธ์ 2555)


107 บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) งบแสดงฐานะการเงิน (ต่อ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (ปรับปรุงใหม่) ส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) กาไรสะสม จัดสรรแล้ว สารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้จดั สรร รวมส่วนของบริ ษทั ส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี านาจควบคุม รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้ สินและส่วนของผูถ้ ือหุ้น

153,164,346 16,833,294,392 29,729,080,930 150,359,619 29,879,440,549 61,603,491,928

153,164,346 12,805,338,933 22,616,187,763 164,060,860 22,780,248,623 58,412,521,827

0.00% 31.46% 31.45% -8.35% 31.16% 5.46%

ภาพที่ 4-5 (ต่อ) งบแสดงฐานะการเงิน บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 (ปรับปรุงใหม่) ทีม่ า: บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน). http://www.bangchak.co.th. (29 กุมภาพันธ์ 2555) บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) งบกาไรขาดทุน สาหรับปี สน้ิ สุดวันที่ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 รายได้ รายได้จากการขายและการให้บริการ ต้นทุนขายและการให้บริการ กาไรขัน้ ต้น รายได้จากการลงทุน รายได้อ่นื ค่าใช้จา่ ยในการขาย ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร

ภาพที่ 4-6 ทีม่ า:

2554

2553

158,609,989,454 -147,984,315,203 10,625,674,251 54,552,640 1,487,341,327 -2,436,294,179 -1,404,490,194

136,369,388,669 -130,019,702,976 6,349,685,693 44,869,508 672,060,840 -2,204,887,663 -1,200,997,277

ร้อยละ 16.31% 13.82% 67.34% 21.58% 121.31% 10.50% 16.94%

งบกาไรขาดทุน บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) สาหรับปีสน้ิ สุด วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน). http://www.bangchak.co.th. (29 กุมภาพันธ์ 2555)


108 บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) งบกาไรขาดทุน (ต่อ) สาหรับปี สน้ิ สุดวันที่ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 รายได้ (ต่อ) กาไร (ขาดทุน) จากสัญญาซือ้ ขายน้ ามันดิบ และผลิตภัณฑ์ น้ ามันล่วงหน้า กาไร (ขาดทุน) จากสัญญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า กาไรจากอัตราแลกเปลีย่ น ยอดสุทธิของกลับรายการค่าเผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่า ทรัพย์สนิ ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม กาไรก่อนต้นทุนทางการเงิ น และภาษีเงิ นได้ ต้นทุนทางการเงิน กาไรก่อนภาษี เงิ นได้ ค่าใช้จา่ ยภาษีเงินได้ กาไรสาหรับปี

-758,853,327 -701,066,248 170,093,035 11,706,758

27,633,506 523,543,066 388,045,717 146,244,762

-17,750,115 7,030,913,948 4,746,198,152 -783,178,921 -878,761,612 6,247,735,027 3,867,436,540 -615,291,297 -995,468,477 5,632,443,730 2,871,968,063

-2846.13% -233.91% -56.17% -92.00% ** 48.14% -10.88% 61.55% -38.19% 96.12%

ภาพที่ 4-6 (ต่อ) งบกาไรขาดทุน บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) สาหรับปี สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 และ 2553 ทีม่ า: บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน). http://www.bangchak.co.th. (29 กุมภาพันธ์ 2555) 4.2 วิเคราะห์งบแนวนอน 4.2.1 งบแสดงฐานะการเงิน บริษทั มีสนิ ทรัพย์ในรูปของเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ สิน้ ปี 2554 ลดลงจากปี 2553 ร้อยละ 55.86 แต่ยงั ถือว่าบริษทั มี การบริห ารด้า นการเงิน ที่ดีเ พราะกิจ การไม่จ าเป็ น ต้ อ งมีเ งิน สดมา เกินไป ควรนาไปหาผลประโยชน์ แ ละสามารถลดความเสี่ยงในเรื่อ ง ทุจริตลงได้ ในส่วนของลูกหนี้ของบริษทั จะเห็นได้ว่ามีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ โดยเมือ่ เปรียบเทียบกับลูกหนี้ของปีทผ่ี ่านมามียอดเพิม่ ขึน้ ร้อย ละ 66.25 แต่เมือ่ เปรียบเทียบกับยอดขายจะพบว่ายอดลูกหนี้ทเ่ี พิม่ ขึน้ มีอตั ราส่วนทีน่ ้อยกว่ายอดการขาย ซึ่งกิจการควรพิจารณาว่าลูกหนี้ท่ี เพิม่ ขึน้ เป็นลูกหนี้เก่ายังไม่ชาระหนี้ใช้หรือไม่ สินค้าคงเหลือของบริษทั มีอตั ราเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 6.73 แต่โดยรวมแล้วในเรื่องสินทรัพย์จะเห็นได้ว่า มีอตั ราเพิม่ ขึน้ ไม่มากนักโดยคิดเป็ นร้อยละ 5.46


109 หนี้สนิ และส่วนของผูถ้ อื หุน้ จะเห็นได้ว่าในปี 2554 มียอดเจ้าหนี้ ลดลงจากปี 2553 ร้อยละ 16.85 โดยบริษทั ฯ ควรคานึกถึงผลประโยชน์ ของเจ้าหนี้ เ พราะอาจจะเสียเครดิต ที่เ จ้าหนี้ ม ีใ ห้เ พราะช าระช้ากว่ า ก าหนดได้ แต่ ส ิ่งที่ส าคัญบริษัทมี เ จ้าหนี้ อ่ืนกิจการที่เ กี่ยวข้องกัน ที่ เพิม่ ขึน้ จากปี ท่ผี ่านมาถึงร้อยละ 125.50 ซึ่งเป็ นยอดที่มากโดยบริษัท จะต้องใส่ใจกับยอดทีเ่ พิม่ ขึน้ นี้ ในปี 2554 กาไรสะสมของบริษทั เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 36.46 เนื่องมากจากบริษทั มีกาไรสุทธิท่เี พิม่ ขึน้ จากปีท่ผี ่านมา อย่างมาก คิดเป็ นร้อยละ 96.12% แต่โดยรวมแล้วบริษทั มีภาพรวมที่ยงั มีความเสีย่ งสูงเพราะหนี้สนิ ของบริษทั มีสูงกว่าส่วนของผูถ้ อื หุน้ 4.2.2 งบแสดงกาไรขาดทุน ยอดรายได้จากการขายและการให้บริการของบริษทั ในปี 2554 เพิม่ ขึน้ จากปี 2553 คิดเป็ นร้อยละ 16.31 สาหรับต้นทุนขายของบริษทั มี ความน่ าเป็ นห่วงอย่างมากอันเนื่องมากจากมียอดเพิม่ ขึ้นจากปี ท่ผี ่าน มาถึงร้อยละ 13.82% ซึ่งอาจจะส่งผลมาจากค่าครองชีพที่เพิม่ ขึ้นอย่าง ต่อเนื่องในปจั จุบนั ในส่วนรายได้จากการลงทุนและรายได้อ่ นื จะเห็นได้ ว่าบริษัทมีการลงทุนและการนาของเสียที่ผลิตออกมาไปจาหน่ ายเพื่อ เพิ่มยอดให้กับบริษัทซึ่งเพิ่มขึ้นคิดเป็ นร้อยละ 21.58 และ 121.31 ตามลาดับ แต่จะเห็นได้ว่าบริษทั ได้ขาดทุนจากสัญญาซื้อขายน้ ามันดิบ และผลิตภัณฑ์น้ ามันล่วงหน้ า และ สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศ ล่วงหน้า ลดลงอย่างมากจากปีทผ่ี ่านมา ซึง่ คิดเป็ นร้อยละ 2,846.13 และ 233.91 ตามลาดับ โดยมาจากความผันผวนของเศรษฐกิจโลกที่มกี าร เปลีย่ นแปลงอย่างมากทัง้ ในเรื่องน้ ามันของโลกทีเ่ ปลีย่ นแปลง ความแข็ง อ่อนของเงินตราในตลาดโลก เป็ นต้น โดยในภาพรวมแล้วจะเห็นได้ว่า บริษัทมียอดก าไรสุ ทธิท่เี พิ่มขึ้นจากปี 2553 คิดเป็ นร้อยละ 98.12 เนื่องจากยอดขายและการให้บริการของบริษทั เพิม่ มากขึน้ จากปี 2553 4.3 การเปรียบเทียบถึงประสิทธิภาพจากการนาแนวคิดการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม มาประยุกต์ใช้กบั องค์การ ของบริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) กับ บริษทั รอยัล ดัทช์ เชลล์ จากัด 4.3.1 แสดงเปรียบเทียบปริมาณน้ ามันไม่ได้คุณภาพทีเ่ กิดจากการดาเนินงาน


110

ภาพที่ 4-7 ทีม่ า:

ตารางที่ 4-3

น้ามันไม่ได้คณ ุ ภาพ

ทีม่ า:

แสดงปริมาณน้ ามันไม่ได้คุณภาพที่เกิดจากการดาเนินงานปี 2001-2010 ของบริษทั รอยัล ดัทช์ เชลล์ จากัด บริษทั รอยัล ดัทช์ เชลล์ จากัด. http://www.shell.co.th/ (24 มีนาคม 2555)

แสดงปริมาณน้ ามันไม่ได้คุณภาพทีเ่ กิดจากการดาเนินงานปี 2001-2010 ของบริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) 2548 18,201

2549 6,452

2550 5,946

2551 11,228

หน่วย : พันบาท 2552 2553 83,209 120,270

บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน). http://www.bangchak.co.th. (24 มีนาคม 2555) จากการเปรียบเทียบปริมาณน้ ามันไม่ได้คุ ณภาพของ บริษัท รอยัล ดัทช์ เชลล์ จากัด ดังภาพที่ 4-11 กับมูลค่าของน้ ามันไม่ได้ คุณภาพของ บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ดังตารางที่ 4-2 จะเห็นได้ว่า บริษัท รอยัล ดัทช์ เชลล์ จากัด สามารถลดปริมาณของ น้ ามันที่ไม่ได้คุณภาพได้อย่างต่ อเนื่อง แต่ ในทางกลับกัน บริษัท บาง จากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) กลับมาต้นทุนทางด้านนี้ในอัตราที่เพิม่ สูงขึน้ อย่างมาก


111 4.3.2 การจัดทาบัญชีปริมาณการปลดปล่อยสารอินทรียร์ ะเหย (Volatile Organic Compound: VOC) ตารางที่ 4-4

แสดงปริมาณการปลดปล่ อยสารอินทรีย์ระเหย (Volatile Compound: VOC) ของบริษทั รอยัล ดัทช์ เชลล์ จากัด

Acid gases and VOCs Sulphur dioxide (SO2) (thousand tonnes) Nitrogen oxides (NOX) (thousand tonnes) Volatile organic compounds (VOCs) (thousand tonnes)

ทีม่ า:

Organic

2010 139

2009 141

2008 175

2007 212

2006 233

2005 226

159

142

150

145

154

157

133

126

130

148

185

199

บริษทั รอยัล ดัทช์ เชลล์ จากัด. http://www.shell.co.th/ (24 มีนาคม 2555) บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ได้มกี ารริเริม่ จัดตัง้ คณะท างานจัด ท าบัญ ชีป ริม าณการปลดปล่ อ ยสารอิน ทรีย์ร ะเหย (Volatile Organic Compound: VOC) ในปี พ.ศ. 2553 ซึง่ คาดว่าจะ แล้วเสร็จในปี 2554 แต่ทาง บริษทั รอยัล ดัทช์ เชลล์ จากัด ได้มกี าร จัดทามาเป็นระยะเวลานานแล้ว และได้ทาการเปิดเผยข้อมูล ดังตาราง ที่ 4-4

4.3.3 การจัดทาบัญชีปริมาณของเสียจากกระบวนการผลิต ตารางที่ 4-5 ตารางแสดงปริมาณของเสียจากกระบวนการผลิตของ บริษัท บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) หน่วย : ตัน 2553 2552 2551 2550 1,230 0.58 2,222 50 ของเสียอันตราย ของเสียทีไ่ ม่ใช่ 1,476 0.42 3,379 1,562 ของเสียอันตราย 2,706 1.00 5,601 1,612 ของเสียทัง้ หมด *หมายเหตุ :

ทีม่ า:

เนื่องจากข้อมูลในปี 2552 มีการเปิดเผยเพียงสัดส่วนร้อยละเท่านัน้

บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน). http://www.bangchak.co.th. (24 มีนาคม 2555)


112 ตารางที่ 4-6 ตารางแสดงปริมาณของเสียจากกระบวนการผลิตของ บริษทั รอยัล ดัทช์ เชลล์ จากัด Waste disposal Hazardous (thousand tonnes) Non‑hazardous (thousand tonnes) Total waste (thousand tonnes)

ทีม่ า:

2010 921

2009 962

2008 688

2007 907

2006 716

2005 631

1,079

1,139

996

1,899

1,154

632

2,000

2,101

1,684

2,806

1,870

1,263

บริษทั รอยัล ดัทช์ เชลล์ จากัด. http://www.shell.co.th/ (24 มีนาคม 2555) จากตารางที่ 4-5 จะพบว่ า ปริม าณของเสีย ที่เ กิด จาก กระบวนการผลิต ของ บริษัท บางจากปิ โ ตรเลีย ม จ ากัด (มหาชน) แนวโน้มที่จะสูงขึน้ ซึ่งเป็ นไปในทิศทางเดียวกับปริมาณของเสียจาก กระบวนการผลิตของ บริษทั รอยัล ดัทช์ เชลล์ จากัด ดังตารางที่ 4-6 ทัง้ นี้ อาจเกิดจากปริมาณการผลิตน้ ามันของทัง้ 2 บริษทั ทีเ่ พิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนื่อง 4.3.3 การจัดทาบัญชีปริมาณของเสียจากกระบวนการผลิต ตารางที่ 4-7 ตารางแสดงปริมาณของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ของ บริษทั บางจาก ปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) 2553 2552 2551 2550 160.4 46.2 277.8 384.6 ทีม่ า: บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน). http://www.bangchak.co.th. (24 มีนาคม 2555)

ตารางที่ 4-8 ตารางแสดงปริมาณของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ของ บริษทั รอยัล ดัทช์ เชลล์ จากัด Acid gases and VOCs Sulphur dioxide (SO2) (thousand tonnes)

ทีม่ า:

2010 139

2009 141

2008 175

2007 212

2006 233

2005 226

บริษทั รอยัล ดัทช์ เชลล์ จากัด. http://www.shell.co.th/ (24 มีนาคม 2555) จากตารางที่ 4-7 จะเห็นได้ว่า บริษทั รอยัล ดัทช์ เชลล์ จากัด สามารถลดปริมาณก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ได้อย่างต่ อเนื่อง แต่ใ น ขณะเดียวกัน บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ลดปริมาณ


113 ก๊าซได้ แต่ในปี 2553 ปริมาณก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์เพิม่ ขึ้นเป็ น อย่างมาก ดังตารางที่ 4-8 4.3.4 ผลสรุปการเปรียบเทียบระหว่างบริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) กับ บริษทั รอยัล ดัทช์ เชลล์ จากัด จากข้อมูลทุกด้านทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วนัน้ ทาง บริษทั รอยัล ดัทช์ เชลล์ จ ากัด สามารถน าแนวคิด การบัญ ชีบ ริห ารสิ่ง แวดล้ อ มมา ประยุกต์ใช้กบั องค์การได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะทางบริษทั รอยัล ดัทช์ เชลล์ จากัด สามารถบริหารต้นทุนทางด้านสิง่ แวดในด้านต่างๆ น้อยลงเรื่อยๆ ตัง้ แต่เริม่ มีการนาแนวคิดการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม เข้ า มาใช้ แต่ ใ นทางกลับ กัน บริษั ท บางจากปิ โ ตรเลีย ม จ ากั ด (มหาชน) นาแนวคิดการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อมมาประยุก ต์ใช้กบั องค์การได้ไม่ประสบผลสาเร็จเท่าของ ทาง บริษทั รอยัล ดัทช์ เชลล์ จ ากัด เพราะต้ น ทุ น ทางด้ า นสิ่ง แวดล้ อ มต่ า งๆ บริษั ท บางจาก ปิ โ ตรเลีย ม จ ากัด (มหาชน) ในช่ ว งแรกที่จ ดั ท าต้นทุ น ทางด้า น สิง่ แวดล้อมลดลง แต่ในปีปจั จุบนั ต้นทุนทางด้านสิง่ แวดล้อมของ บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) กลับเพิม่ ขึน้ อาจจะมาจากสาเหตุ ทางการเมือ งของไทย ต้นทุน ทางด้า นอื่นๆ มีมูล ค่ า สูงขึ้น หรือ ทาง บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ไม่สามารถใช้แนวคิดการ บัญ ชีบริหารสิ่ง แวดล้อ มได้อ ย่างเต็ม ประสิท ธิภาพดัง บริษัท รอยัล ดัทช์ เชลล์ จากัด


114 5. การน าหลัก การบัญ ชีบ ริห ารสิ่ง แวดล้อ ม (EMA) สภาวการณ์พฒ ั นาธุรกิจอย่างยังยื ่ น

ไปใช้เ พื่อ การพัฒ นาไปสู่

Sustain Development ข้อกำหนดเกีย่ วกับสภำพ อุตสำหกรรม

Environment Marketing

Corporate

Government & Policy

Economy

นโยบายรัฐ

พระรำชบัญญัติ Operation Human

Information Technology

Financing

ภาพที่ 4-8 ความเป็นไปได้ในการนาไปสู่การพัฒนาอย่างยังยื ่ นของบริษทั ทีม่ า: จากการวิเคราะห์รว่ มกันของกลุ่มปญั หาพิเศษ (กลุ่มการบัญชีบริหารต้นทุน) การที่จะสามารถพัฒนาองค์การสู่ความยังยื ่ นได้นัน้ จาเป็ นที่ต้องเกิดจาก ปจั จัยในหลายๆ ด้าน ซึ่งองค์การทุกๆ องค์การมักจะได้รบั ผลกระทบ และต้อง ปฏิบตั อิ ยูแ่ ล้วเป็นกิจวัตร ดังนี้ 5.1 ด้านการตลาด การทาการตลาดของบริษัทนัน้ ไม่ใ ช่ เ พียงแต่ จะทาการแสวงหาแต่ เพียงผลประกอบการ หรือการเป็ นที่พงึ พอใจของผู้บริโภคเท่านัน้ แต่ยงั ต้อง คานึงถึงการรักษาสิง่ แวดล้อมด้วย เพราะในปจั จุบนั หากบริษทั คานึงถึงแต่เพียง ผลประกอบการที่เป็ นตัวเงิน ก็ส่งผลให้ไม่สามารถดารงอยู่ใ นการแข่งขันได้ อย่างยังยื ่ น เพราะคู่แข่งขันต่างก็สร้างภาพลักษณ์ทด่ี เี พื่อให้ผบู้ ริโภคได้รบั รูก้ นั อย่างต่ อ เนื่อ ง และนอกจากนี้ การใส่ ใ จในเรื่อ งของธรรมชาติยงั ถือ เป็ นการ รักษาสิง่ แวดล้อม และหากสามารถดูแลทรัพยากรสิง่ แวดล้อมไว้ได้ ก็จะส่งผลดี ต่อการดารงชีวติ ของมนุษย์ในระยะยาว 5.2 ด้านการปฏิบตั กิ าร การดาเนินงานของธุรกิจในแต่ละองค์การ ถือเป็ นปจั จัยสาคัญในการ ขับเคลื่อนให้ธุรกิจสามารถเดินหน้ าต่อไปได้ ทัง้ นี้ กิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ้น ก็ ต้องดาเนินงานอย่างระมัดระวัง เพื่อให้ องค์การสามารถพัฒนาได้อย่างยังยื ่ น


115 ทัง้ ทางด้าน บุคลากร เทคโนโลยี การเงิน และข้อมูลต่างๆ ขององค์การ โดย สามารถปลูกจิตสานึก ให้กบั พนักงาน เพื่อเป็ นรากฐานที่ดี จากภายในองค์การ และเป็ น รากฐานในการด าเนิ น กิจ การสู่ ค วามยัง่ ยืน ตลอดจนการพัฒ นา เทคโนโลยีในรักษ์สงิ่ แวดล้อม ลดผลกระทบที่เกิดขึน้ จากการใช้เทคโนโลยีให้ อยู่ในระดับที่ต่ าที่สุด รวมถึงการบริหารจัดการเงินและข้อมูลที่ดี ก็จะสามารถ ทาให้องค์การเห็นภาพรวม และนาข้อมูลต่างๆ มาปรับปรุงการดาเนินงานให้ อยูใ่ นระดับทีเ่ หมาะสมอยูเ่ สมอ 5.3 นโยบายของรัฐบาล นอกจากปจั จัยทีม่ ผี ลกระทบจากภายในองค์การแล้ว ก็ยงั รวมถึงปจั จัย ที่ส่งผลกระทบต่อการดาเนินกิจการอย่างยังยื ่ นจากภายนอก โดยเฉพาะใน เรื่องของนโยบายรัฐบาล และกฎหมายต่างๆ ซึ่งสิง่ เหล่านี้จะเป็ นตัวควบคุม และเป็ น มาตรฐานในการด าเนิ น งานขององค์ก าร และหากมีก ารพัฒ นา นโยบายไปในทางที่ดี ก็จะสามารถทาให้ อ งค์การสามารถดาเนินงานไปได้ อย่างยังยื ่ น จะเห็นว่ามีปจั จัยต่ างๆ มากมายที่ส่งผลกระทบต่อ องค์การ ทัง้ จาก ภายในและภายนอกองค์การ หากบริษทั สามารถจัดการกับปจั จัยต่างๆ ทีเ่ ข้ามามี ผลกระทบได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการดาเนินงานด้วยความรับผิดชอบต่อ สังคม ก็จะส่งผลให้องค์การสามารถดาเนินงานได้อย่างยังยื ่ น


บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ สรุปผลการศึกษา จากการทีไ่ ด้เข้าทาการศึกษาเกีย่ วกับเรือ่ งการบริหารต้นทุนโดยใช้หลักการบัญชีบริหาร สิง่ แวดล้อม กรณีศกึ ษาบริษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) ทาให้ทราบผลการดาเนิน ของบริษทั ที่เริม่ มีผลการดาเนินงานทีด่ ขี น้ึ เรื่อยๆ เมื่อมีการนาหลักการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม เข้ามาใช้ประกอบการดาเนินงานของบริษัท เหตุท่ที างบริษัทมีผลการดาเนินที่ดขี น้ึ เนื่องจาก บริษทั รูถ้ งึ ต้นทุนทีแ่ ฝงอยู่ (ต้นทุนทางด้านสิง่ แวดล้อม) มีมลู ค่าเท่าใด และเกิดจากกระบวนการ ใด ทาให้ทางบริษทั เริม่ การวางมาตรการในการป้องกันเพื่อไม่ให้ต้นทุนทางด้านสิง่ แวดล้อมมี เพิ่ม มากขึ้น นอกจากนี้ ท างบริษัท ยัง เครื่อ งมือ ต่ า งๆ ที่เ ข้า มาช่ ว ยการลดต้ น ทุ น ทางด้า น สิง่ แวดล้อมทีเ่ กิดขึน้ จากกระบวนการผลิตให้น้อยลง เช่น การใช้ คลีนเทคโนโลยีในการผลิตเพื่อ ลดมลภาวะทางอากาศทีเ่ กิดขึน้ จากกระบวนการผลิต เป็นต้น จะเห็นได้เมื่อทางบริษทั ฯได้ทราบ ถึงต้นทุนที่แ ฝงอยู่ (ต้นทุนทางด้านสิ่งแวดล้อ ม) ทางบริษัทก็เ ริม่ มีมาตรการในการป้อ งกัน ควบคุม และบาบัดรักษา เพื่อเป็นการช่วยกันดูแลรักษาธรรมชาติแล้ว ยังเป็ นการช่วยลดต้นทุน ที่มปี ระสิทธิภาพอีกวิธหี นึ่งเลยทีเดียว และนอกจากการนาเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาใช้ในการ บริหารต้นทุนแล้ว ทางบริษทั ยังมีการจัดทารายงานพัฒนาธุรกิจร่วมไปกับสิง่ แวดล้อมและสังคม เพื่อเป็นการนาเสนอข้อมูลของบริษทั ต่อสาธารณะชนเพื่อแสดงผลการดาเนินงานของบริษทั ว่ามี ผลการดาเนินงานเป็ นอย่างไร ตลอดจนเป็ นการแสดงถึงความรับผิดชอบต่อ มลพิษและของเสีย ทีบ่ ริษทั เป็นผูก้ ่อขึน้ อีกด้วย ข้อเสนอแนะ 1. บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) ควรนาระบบการผลิตแบบ LEAN เข้ามาใช้ประกอบ กับการใช้หลักการจัดการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม เนื่องจากปจั จุบนั ทางบริษทั มีการใช้หลักการ บัญชีบริหารสิง่ แวดล้อมเพียงอย่างเดียว ทาให้บริษทั สามารถรับรูไ้ ด้เพียงต้นทุนที่ซ่อนอยู่หรือ ต้นทุนของเสียทีเ่ กีย่ วข้องกับสิง่ แวดล้อมเท่านัน้ แต่ถ้าบริษทั นาระบบการผลิตแบบ LEAN เข้า มาใช้ควบคู่กนั ไปด้วยจะทาให้บริษทั สามารถลดต้นทุนต่างๆ โดยนาข้อมูลทีไ่ ด้มาจากการบัญชี บริหารสิง่ แวดล้อม ซึ่งจะทาให้บริษัทฯ นัน้ สามารถบริหาร ควบคุม และลดต้นทุนได้อย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล และพัฒนาระบบการผลิตที่มอี ยู่เพื่อสามารถทาให้บริษัทเข้าสู่ ภาวะผูน้ าด้านต้นทุนในทีส่ ุด


117 2. บริษทั บางจากปิ โตรเลียม จากัด (มหาชน) ปจั จุบนั มีการคิดศูนย์ต้นทุนทีไ่ ม่ชดั เจน ทาให้ บริษัทยังไม่สามารถจาแนกต้นทุน เข้าสู่หน่ วยงานต่างๆ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพมากนัก ดังนัน้ บริษัทควรมีก ารปรับปรุงศูนย์ต้นทุนให้มคี วามชัดเจน และจัดการต้นทุนเข้าสู่ หน่วยงานต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้ ปัญหาในการจัดทาปัญหาพิ เศษ 1. ผู้จดั ทาปญั หาพิเศษมีความรู้ในเรื่องการบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อมไม่เพียงพอประกอบกับ แหล่งข้อมูลทีค่ น้ คว้ามีน้อย 2. เวลาในการค้นคว้าข้อมูลในการจัดทาปญั หาพิเศษครัง้ นี้มรี ะยะเวลาน้อยเกินไป ทาให้ขอ้ มูล ทีไ่ ด้อาจไม่สมบูรณ์เท่าทีค่ วร และหากมีผสู้ นใจนาไปศึกษาก็สามารถใช้เป็ นข้อมูลส่วนหนึ่ง ประกอบการพิจารณาหรือทาการศึกษาเพิม่ เติมให้ปญั หาพิเศษสมบูรณ์ยงิ่ ขึน้ 3. เนื่องจากข้อมูลที่ผู้จดั ทา ได้ทาการค้นคว้าบางอย่างนามาจากเอกสารที่เป็ น เอกสารและ หนังสือภาษาต่างประเทศ และข้อมูลออนไลน์จากเว็บไซด์ทเ่ี ป็ นภาษาต่างประเทศ ซึง่ ให้ ผู้ว ิจยั ทาการศึก ษาค้นคว้าได้ยากและเกิดความไม่เ ข้าใจในเนื้อ หาจึงทาให้ข้อ มูลอาจไม่ สมบูรณ์เท่าทีค่ วร


บรรณานุกรม กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. 2553. “เขตการค้าเสรี.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.thaifta.com. (19 มีนาคม 2555). กรมโยธาและผังเมือง. ม.ป.ป. “สาระสาคัญเกี่ยวกับธรรมาภิ บาล.” [เข้าถึงได้จาก]. eservices.dpt.go.th/eservice_6/ejournal/28/28-09.pdf?journal...28. (17 มีนาคม 2555). กองบรรณาธิการประชาชาติธุรกิจ. 2550. CSR: พลังบริ หารธุรกิ จยุคใหม่. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์มติชน. กิตติมา อัครนุพงศ์. ม.ป.ป. “การบัญชีสิ่งแวดล้อม.” [เข้าถึงได้จาก]. http://utcc2.utcc.ac.th/vraccountant/index.php?mod=Knowledge&file=saraview&sa raID=8. (19 มีนาคม 2555). เกรียงศักดิ ์ เจริญวงศ์ศกั ดิ ์. 2546. ภาพอนาคตและคุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุน้ ส่วนจากัด วี. ที. ซี. คอมมิวนิเคชัน. ่ เกรียงศักดิ ์ อุดมสินโรจน์. 2549. การจัดการเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. ม.ป.ท. เกษม จันทร์แก้ว. 2545. การจัดการสิ่ งแวดล้อมแบบผสมผสาน. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. เกียรติขจร โฆมานะสิน. 2550. LEAN: วิ ถีแห่งการสร้างคุณค่าสู่องค์กรที่เป็ นเลิ ศ. 2000 เล่ม.กรุงเทพมหานคร: บริษทั อมรินทร์พริน้ ติง้ แอนด์พบั ลิชชิง่ จากัด (มหาชน). แก้วตา ไทรงามและคณะ. 2548. ผู้นาเชิ งกลยุทธ์เพื่อสร้างองค์การแห่ งการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพัฒนาผูบ้ ริหารการศึกษา.


โกศล ดีศลี ธรรม. 2547. เทคนิ คการจัดการโลจิ สติ กส์ และซัพพลายเชนในโลกธุรกิ จยุค ใหม่. กรุงเทพมหานคร: อินฟอร์มเี ดีย บุ๊คส์. โกศล ดีศลี ธรรม. 2554. องค์ทาดีเพื่อสังคม. กรุงเทพมหานคร: นาอักษรการพิมพ์. คานาย อภิปรัชญาสกุล. 2549. โลจิ สติ กส์เพื่อการผลิ ต และการจัดการดาเนิ นงาน. กรุงเทพมหานคร: ซี.วาย.ซิซเทิม พริน้ ติง้ จากัด. ฉัตรแสง ธนารักษ์โชค. ม.ป.ป. “พฤติ กรรมผู้บริ โภคในระบบทุนนิ ยม.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.thaifactory.com/Person/Behavior.htm. (21 มีนาคม 2555). ฐานเศรษฐกิจ. 2554. “ธุรกิ จไทยพร้อมแค่ไหนสู่ประชาคมอาเซียน.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.thanonline.com. (19 มีนาคม 2555). ดวงมณี โกมารทัต. 2552. การบริ หารต้ นทุน. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ดวงมณี โกมารทัต. 2538. “หลักการบัญชีเพื่อสิ่ งแวดล้อม : มิ ติหนึ่ งของระบบบริ หาร สิ่ งแวดล้อม.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.hu.ac.th/academic/article/Ac/Ponapa.htm. (20 มีนาคม 2555). ดอกไม้ปลายปืน. 2553. “ผลกระทบของการเมืองต่ อเศรษฐกิ จไทย.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.manager.co.th. (18 มีนาคม 2555). ดังตฤณ. 2554. “ธรรมะใกล้ตวั .” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.prd.go.th/ewt_news.php?nid =16945. (19 มีนาคม 2555).


ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. 2539. มาตรฐานการบัญชี แนวทางในการปฏิ บตั ิ และ ตัวอย่างการเปิ ดเผยข้อมูล. กรุงเทพมหานคร: บริษทั บุญศิรกิ ารพิมพ์ จากัด. ไทยพลับลิกา้ . 2554. “การควบคุมมลพิ ษเผยสถานการณ์ มลพิ ษปี 2554 ขยะน่ าห่วงทัง้ ปี 16 ล้านตัน.” [เข้าถึงได้จาก]. http://thaipublica.org/2011/12/report-pollution-2554. (19 มีนาคม 2555). ธนาคารแห่งประเทศไทย. 2554. "ภาวะเศรษฐกิ จไทย 2554." [เข้าถึงได้จาก]. http://www.bot.or.th. (19 มีนาคม 2555). ธนาคารแห่งประเทศไทย. 2555. “รายการแนวโน้ มเงิ นเฟ้ อ.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/Inflation/Pages/index.aspx. (20 มีนาคม 2555). ธนิต โสรัตน์. 2550. การประยุกต์ใช้ โลจิ สติ กส์และโซ่ อปุ ทาน. กรุงเทพมหานคร: ประชุม ทอง พริน้ ติง้ กรุป๊ . นพดล อินนา. 2548. ธุรกิ จกับนโยบายสาธารณะในศตวรรษใหม่. กรุงเทพมหานคร: จามจุรโี ปรดักท์. นาตยา ตรีรตั น์ดลิ กกุล. 2550. หลักการบัญชีเพื่อการจัดการ. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. นิฐนิ ันท์. 2553. “พีระมิ ด แห่งระบบ 'ทุนนิ ยม'.” [เข้าถึงได้จาก]. http://nithinannote.exteen.com/20100308/entry-1. (21 มีนาคม 2555). นิพนธ์ บัวแก้ว. 2549. รู้จกั ระบบการผลิ ตแบบลีน. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ ส.ส.ท.


นิรนาม. 2549. “เขตการค้าเสรี.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.okmd.or.th/th/knowledge _detail.asp?id=190 (22 มีนาคม 2555). นิรนาม. 2551. “ต้นทุน.” [เข้าถึงได้จาก]. http://guru.sanook.com/answer/read_question.php?q_id=13966. (19 มีนาคม 2555). นิรนาม. 2552. “GM สัญญาณการล่มสลายของระบบทุนนิ ยมสหรัฐ.” [เข้าถึงได้จาก]. http://blog.nidalp11.com/2009/06/12/gm. (21 มีนาคม 2555). นิรนาม. ม.ป.ป. หนังสืออ่านเพิ่ มเติ ม เรื่อง มลพิ ษสิ่ งแวดล้อม. ม.ป.ท. เนตร์พณ ั ณา ยาวิราช. 2553. การจัดการสมัยใหม่. พิมพ์ครัง้ ที่ 7. กรุงเทพมหานคร: บริษทั ทริปเพิล้ กรุป๊ จากัด. บุณกิ า จันทร์เกตุ. ม.ป.ป. “การสร้างจิ ตสาธารณะในสังคมไทย.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.stou.ac.th/study/sumrit/8-54(500)/page1-8-54(500).html. (17 มีนาคม 2555). บางจากปิโตรเลียม. 2550. “รายงานการพัฒนาธุรกิ จร่วมไปกับสิ่ งแวดล้อมและสังคม ประจาปี 2550.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.bangchak.co.th/th/SustainabilityReport.aspx. (29 ธันวาคม 2555). บางจากปิโตรเลียม. 2551. “รายงานการพัฒนาธุรกิ จร่วมไปกับสิ่ งแวดล้อมและสังคม ประจาปี 2551.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.bangchak.co.th/th/SustainabilityReport.aspx. (29 ธันวาคม 2555).


บางจากปิโตรเลียม. 2552. “รายงานการพัฒนาธุรกิ จร่วมไปกับสิ่ งแวดล้อมและสังคม ประจาปี 2552.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.bangchak.co.th/th/SustainabilityReport.aspx. (29 ธันวาคม 2555). บางจากปิโตรเลียม. 2553. “แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี สิ้ นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.bangchak.co.th/th/Annual-Report.aspx. (29 ธันวาคม 2555). บางจากปิโตรเลียม. 2553. “รายงานการพัฒนาธุรกิ จร่วมไปกับสิ่ งแวดล้อมและสังคม ประจาปี 2553.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.bangchak.co.th/th/SustainabilityReport.aspx. (29 ธันวาคม 2555). ประดิษฐ์ วงศ์มณีรงุ่ และคณะ. 2552. 1-2-3 ก้าวสู่ลีน Lean in Action. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ ส.ส.ท. ปาริฉตั ต์ ศังขะนันทน์. 2548. “องค์กรอัจฉริ ยะ: องค์กรแห่งการเรียนรู้” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.km.kmutt.ac.th. (21 มีนาคม 2555). ปิยาภรณ์ อาสาทรงธรรม. 2552. “การลดต้ นทุนเพื่อความยังยื ่ นของธุรกิ จ.” วารสารนัก บริหาร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ 29 (1). พรรณี บัวเล็ก. ม.ป.ป. “พัฒนาการทุนนิ ยมในประเทศไทย พัฒนาการทุนนิ ยมใน ประเทศไทย.” [เข้าถึงได้จาก]. http://research.krirk.ac.th/pdf. (21 มีนาคม 2555). พิชานัน อินโปธา. 2554. “บุกรุกป่ าวังน้าเขียว “เพิ่ มศักดิ์ ” สะท้อนรัฐทางานล้มเหลว.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.thaireform.in.th/2011-12-30-06-57-30/item/6223-201108-06-05-11-56.html. (19 มีนาคม 2555).


พิชติ เทพวรรณ์. 2548. “องค์การแห่งการเรียนรู้: แนวปฏิ บตั ิ ที่เป็ นเลิ ศสาหรับ นวัตกรรม” วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร [เข้าถึงได้จาก]. http://www.chiangrai.ru.ac.th. (21 มีนาคม 2555). พิพฒ ั น์ นนทนาธรณ์. 2553. การจัดการความรับผิ ดชอบต่อสังคมขององค์กร การสร้าง ข้อได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยังยื ่ น. กรุงเทพมหานคร: บริษทั ธิงค์ บียอนด์ บุ๊คส์ จากัด. พิพฒ ั น์ ยอดพฤติการณ์. 2549. “เศรษฐกิ จพอเพียงในภาคธุรกิ จ.” [เข้าถึงได้จาก]. www.nidambe11.net/ekonomiz/2006q2/2006june12p8.htm. (30 มกราคม 2555). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2536. ระบบบัญชีและการสอบบัญชี. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. ม.ป.ท.: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. มังกร โรจน์ประภากร. 2552. ระบบการผลิ ตแบบโตโยต้า (TOYOTA Production System). พิมพ์ ครัง้ ที่ 4. กรุงเทพมหานคร: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทยญีป่ นุ่ ). แปลจาก Toyota Seisan Houshiki wo Kangaeru Kai. n.d. Tokoton Yasashii Toyota Seisan Houshiki no Hon. Japan: THE NIKKAN KOGYO SHIMBUN LTD. มัทนา โกสุมภ์ และคณะ. 2545. 10 ปี หลังจากริ โอ วิ พากษ์การพัฒนาอย่างยังยื ่ น. ม.ป.ท.: บริษทั โชตนาพริน้ ท์ จากัด. เมธสิทธิ ์ พูลดี. 2550. ระบบบัญชี. กรุงเทพมหานคร: บริษทั ทริปเพิล้ เอ็ดดูเคชัน่ จากัด. ยรรยง ธรรมธัชอารี. 2548. บริ หารธุรกิ จ ด้วยแนวคิ ดบัญชี. กรุงเทพมหานคร: บริษทั ซีเอ็ดยูเคชัน่ จากัด(มหาชน). รมณียฉัตร แก้วกิรยิ า. 2551. บรรษัทบริ บาล (ความรับผิดชอบต่อสังคม). กรุงเทพมหานคร: บริษทั ด่านสุทธาการพิมพ์ จากัด.


รอยัล ดัชท์ เชลล์. 2553. “รายงานผลความยังยื ่ นของเชลล์ ปี 2010.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.shell.co.th/home/content/thath/environment_society/sustainability. (24 มีนาคม 2555). ระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวติ . 2554. “ค่าสถิ ติภาวะสังคม.” [เข้าถึงได้จาก]. http://social.nesdb.go.th/social/. (วันที่ 18 มีนาคม 2555). วรศักดิ ์ ทุมมานนท์. 2544. ระบบการบริ หารต้ นทุนกิ จกรรม. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ไอโอนิค. วิไล วีระปรีย,จงจิตต์ หลีกภัย, และประจิต หาวัตร. 2553. ระบบบัญชี. พิมพ์ครัง้ ที่ 25. กรุงเทพมหานคร: บริษทั ด่านสุทธาการพิมพ์ จากัด. ศักดิ ์ชัย ภู่เจริญ. 2553. “หลักธรรมาภิ บาล.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.ocn.ubu.ac.th. (18 มีนาคม 2555). สถาบันนวัตกรรมวชิรจันทร์. 2549. “การพัฒนาอย่างยังยื ่ น.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.surajet.com/catalog.php?idp=17. (19 มีนาคม 2555). สถาบันสิง่ แวดล้อมไทย. 2549. การประยุกต์ใช้หลักการทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการ มลพิ ษโรงงาน. ม.ป.ท. สมฤดี คุวสานนท์. ม.ป.ป. “การลดของเสีย.” [เข้าถึงได้จาก]. www.ftpi.or.th/LinkClick.aspx?fileticket=CGas97t5e3U%3D&tabid=113&mid =503&language=en-US. (19 มีนาคม 2555). สมาพันธ์โลจิสติกส์ไทย. 2555. “ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซียน (AEC).” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.thailog.org/wikilog/home.html. (19 มีนาคม 2555).


สยามอินเทลลิเจนท์ยนู ิต. 2554. “องค์กรเพื่อความโปร่งใสจัดอันดับไทยโกงกระฉูดจาก 78 สู่ 80ของโลก.” [เข้าถึงได้จาก]. www.siamintelligence.com. (18 มีนาคม 2555). สรรค์ชยั เตียวประเสริฐกุล. 2549. “Contract Manufacturing ความท้าทายใหม่ของการ แข่งขันและความอยู่รอดของธุรกิ จ.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.brandage.com /Modules/DesktopModules/Article/ArticleDetail.aspx? tabID=2&ArticleID =1277&ModuleID=21&GroupID=567. (21 มีนาคม 2555). สฤณี อาชวานันทกุล. 2554. “ความตกตา่ ของการศึกษาไทย: O-NET และ PISA บอก อะไรกับเรา.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.tcijthai.com/column-article/721. (21 มีนาคม 2555). สาวิตรี แก้วขวัญ. 2553. “การบัญชีบริ หาร.” [เข้าถึงได้จาก]. www.bloggang.com/mainblog.php?id=panfah-prajan&month=07-042010&group=3&gblog=1. (19 มีนาคม 2555). สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2544. "แผนพัฒนา เศรษฐกิ จและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11." [เข้าถึงได้จาก]. http://www.nesdb.go.th. (19 มีนาคม 2555). สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2555. “เศรษฐกิ จ พอเพียง.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.fti.or.th. (30 มกราคม 2555). สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2555. “ภาวะสังคมไทยไตร มาสสี่และภาพรวมปี 2555.” [เข้าถึงได้จาก]. http://social.nesdb.go.th. (19 มีนาคม 2555). สานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2554. “รายงานสรุปสภาวะของ ประเทศ.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.nesdb.go.th/Portals/0/home/. (19 มีนาคม 2555).


สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม. 2553. “รายงาน สถานการณ์ คณ ุ ภาพสิ่ งแวดล้อม พ.ศ.2553.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.onep.go.th. (21 มีนาคม 2555). สานักงานเศรษฐกิจเกษตร. 2552. “ตารางแสดงผลการเจรจาเกษตร.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.oae.go.thwww.oae.go.th. (19 มีนาคม 2555). สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ. 2553. "การมีใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน ครัวเรือน." [เข้าถึงได้จาก]. http://www.nso.go.th. (19 มีนาคม 2555). สุขสรรค์ กันตะบุตร. 2549. “ปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียงในองค์กรทางธุรกิ จ.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.ismed.or.th/SME2/src/bin/controller.php?view=generalContents.Gener alContent&form=&rule=generalCo. (17 มีนาคม 2555). สุขมุ โพธิสวัสดิ ์. 2553. การวางระบบบัญชี. พิมพ์ครัง้ ที่ 10. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์สายธาร สุดใจ ทูลพานิชย์กจิ . 2546. หลักการพัฒนาเศรษฐกิ จ. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร: บริษทั ธนาเพรส แอนด์ กราฟฟิค จากัด. สุธลี า ตุลยะเสถียร และคณะ. 2544. มลพิ ษสิ่ งแวดล้อม (ปัญหาสังคมไทย). กรุงเทพมหานคร: บริษทั รวมสาส์น (1977) จากัด. สุภาพร (หะยะมิน) พรนภา. 2540. ระบบบัญชี. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สุมาลี สันติพลวุฒ.ิ 2552. การวางแผนเศรษฐกิ จ: หลักและวิ ธีปฏิ บตั ิ . ม.ป.ท.


สุเมธ ตันติเวชกุล. 2554. “ประสบการณ์ การประยุกต์ใช้ ปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียงด้าน การบริ หารองค์กร.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.social.nesdb.th. (19 มีนาคม 2555). เสกสิทธิ คูณศรี. ม.ป.ป. “ความสาคัญของการพัฒนาองค์กรด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.chanthaburi.go.th/redcross/article/IT.htm. (21 มีนาคม 2555). เสาวนิต คาจันทา. 2549. “องค์การแห่งการเรียนรู้.” [เข้าถึงได้จาก]. http://www.songthai com. (18 มีนาคม 2555). อนามัย เทศกะทึก. 2550. ความเป็ นพิ ษในระบบนิ เวศและสุขภาพมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: โอ.เอส. พริน้ ติง้ เฮ้าส์. อนุธดิ า ประเสริฐศักดิ ์. 2554. “การลดต้นทุนเพื่อความยังยื ่ นของธุรกิ จ.” [เข้าถึงได้จาก]. http://kmctuaccounting.wordpress.com. (18 มีนาคม 2555). อนุ รกั ษ์ ทองสุโขวงศ์. 2548. “การบัญชีต้นทุน.” [เข้าถึงได้จาก]. http://home.kku.ac.th. (19 มีนาคม 2555). Chartered Institute of Management Accountants. 2011. “HOWMANAGEMENT ACCOUNTING DRIVES SUSTAINABLE SUCCESS.” [Available]. http://www.cgma.org/BecomeACGMA/WhyCGMA/Pages/CGMA-aspx. (19 March 2012). Gladstone Thurston. 2010. "Bahamas World Trade Organisation (WTO) accession talks start" [Available]. http://www.thebahamasweekly.com/publish/bis-newsupdates/World_Trade_Organisation_WTO12423.shtml. (23 มีนาคม 2555).


United Nations. 2001. “Environmental Management Accounting Procedures and Principles.” [Available]. www.un.org/esa/sustdev/.../proceduresandprinciples.pdf. (3 March 2012). XR training & consultancy. 2012. “The Lean Enterprise.” [Available]. http://xrtraining.com/main/showpage.php?tier1=lean+enterprise&path=leanenterpr iseoverview&page=gtwp_section_leader.htm. (19 March 2012).


ภาคผนวก


ประวัติ 1. ชื่อ นางจงโปรด คชภูม ิ 2. วัน เดือน ปี เกิ ด 16 เมษายน 2504 3. ตาแหน่ งหน้ าที่ปัจจุบนั ผูจ้ ดั การส่วนสิง่ แวดล้อมและชุมชนสัมพันธ์ 4. สถานที่ทางาน บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) 5. ประวัติการศึกษา วุฒิการศึกษา วิทยาศาสตร์บณ ั ฑิต (สาธารณสุข) บริหารธุรกิจบัณฑิต (บริหาร ทัวไป) ่ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (Environmental Studies) วิทยาศาสตร์บณ ั ฑิต (สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิชาเอกอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย)

ปี ที่จบ การศึกษา 2526-2527 2527-2528 2530-2532 2542-2543

สถาบัน มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยรามคาแหง University of the Philippines at Los Banos มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

6. ประวัติการอบรม/ดูงาน หลักสูตร/เรื่องการอบรม/ ดูงาน Safety and Quantified Risk Analysis in the Petroleum and Chemical Industries Industrial Solid Waste Recycling Technology HAZOP and HAZARD Management Internal Auditing หลักสูตร/เรื่องการอบรม/

สถานที่/หน่ วยงานที่ จดั อบรม สถาบันปิโตรเลียมแห่ง ประเทศไทย

ระหว่างวันที่ พ.ศ. 2533

JICA/ประเทศญีป่ ่นุ

3 มิ.ย.- 2 ส.ค. 34

บริษทั EXXON/สิงคโปร์

11-14 ก.พ. 35

สภาอุตสาหกรรมร่วมกับ CIDA สถานที่/หน่ วยงานที่ จดั

24-28 เม.ย. 38 ระหว่างวันที่


ดูงาน ISO 14001 Implementation และ Auditing การป้องกันและระงับอัคคีภยั ขัน้ ต้น 24 HR EMERGENCY RESPONSE TO HAZARDOUS MATERIAL เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการ ทางาน (ระดับบริหาร) EMS LEAD Assessor มอก.18001 Implementation และ Internal Audit Quantified Risk Assessment Occupational Health & Safety Management System Auditor Training Course Green Productivity and Occupational, Environmental Health and Safety Environmental Management Accounting Corporate Social Responsibility ประเทศญีป่ ่นุ VOC Life cycle assessment

อบรม Aspect International การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแห่ง ประเทศไทย U.S. EPA ร่วมกับสถาบัน สภาวะแวดล้อมจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย สมาคมส่งเสริมความปลอดภัย และอนามัยในการทางาน (ประเทศไทย) AJA (EQS) THAILAND LTO ศูนย์บริการธุรกิจฯ NPC AEA Technology IQCS ร่วมกับ สถาบันรับรอง มาตรฐานไอเอสโอ Asian Productivity Organization Inwent, CSM and ASEP Asian Productivity Organization US.EPA AOTS,Japan

8-10 ก.ค. 39 28 มี.ค. 40 30 มิ.ย.- 3 ก.ค. 40 27-28 ส.ค. 41

28-29 ม.ค. 41 และ 4-10 ก.พ. 41 มิ.ย. 41 1-3 มี.ค. 43 21-23 ก.พ. 44

4-8 ส.ค. 46

2546 11-15 มิ.ย. 50 10-20 ก.ย. 50 7-17 ธ.ค. 54


7. ประสบการณ์ทางาน ตาแหน่ ง นักวิชาการสุขาภิบาล นักวิชาการสิง่ แวดล้อม ฝา่ ย เคหะบริการชุมชนและอื่น ๆ กองวิเคราะห์ผลกระทบ สิง่ แวดล้อม นักวิชาการสิง่ แวดล้อม ฝา่ ย อุตสาหกรรม กองวิเคราะห์ ผลกระทบสิง่ แวดล้อม เจ้าหน้าทีป่ ระสานงานด้าน สิง่ แวดล้อม นักวิชาการสิง่ แวดล้อม สานักงานสิง่ แวดล้อม ตะวันออก เจ้าหน้าทีป่ ระสานงานด้าน สิง่ แวดล้อม หัวหน้าแผนกวิเคราะห์ คุณภาพ ผูจ้ ดั การแผนกวิเคราะห์ คุณภาพและรักษาการ หัวหน้าแผนกสิง่ แวดล้อม ผูจ้ ดั การสิง่ แวดล้อม ตัวแทนฝา่ ยบริหาร ISO 14001 ผูช้ ่วยตัวแทนฝา่ ยบริหาร มอก. 18001 ผูจ้ ดั การส่วนสิง่ แวดล้อมและ ชุมชนสัมพันธ์

หน่ วยงาน โรงพยาบาลมหาราช จ.นครราชสีมา สานักงานคณะกรรมการ สิง่ แวดล้อมแห่งชาติ

ระหว่างวันที่ 2527-2528

สานักงานคณะกรรมการ สิง่ แวดล้อมแห่งชาติ

2534-2535

บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด

2535-2536

สานักงานนโยบายและแผน สิง่ แวดล้อม

2536

บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน)

2536-2539

บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน) บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด (มหาชน)

2544-2553

2528-2533

2540-2542 2543

2539-2553 2541-2553 2554-ปจั จุบนั


8.ประสบการณ์ พิเศษ - ผูช้ านาญการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม กรมโรงงานอุตสาหกรรม - วิทยากรหลักสูตร การบัญชีบริหารสิง่ แวดล้อม - อาจารย์พเิ ศษ เรื่อ ง การดูแลระบบบาบัดน้ าทิ้งแบบเลี้ยงตะกอน คณะสาธารณสุ ข ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - อาจารย์พเิ ศษ เรื่อง การประเมินความเสีย่ ง คณะพลังงานและวัสดุ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุร ี - ผูบ้ รรยายพิเศษ เรือ่ ง สิง่ แวดล้อม การท่าเรือแห่งประเทศไทย - ผูบ้ รรยายพิเศษ เรื่อง การประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อม สถาบันพัฒนาบริหารศาสตร์ (NIDA) - ผูบ้ รรยายพิเศษ หัวข้อ สิง่ แวดล้อม วิทยาลัยพยาบาลตารวจ - ผูบ้ รรยายพิเศษ เรือ่ ง การประเมินความเสีย่ ง สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญีป่ นุ่ ) - ผูบ้ รรยายพิเศษ เรือ่ ง การประเมินความเสีย่ ง สถาบันเกริก - วิทยากรบรรยาย หัวข้อ กฎหมายความปลอดภัย ในหลักสูตรการอบรมเจ้าหน้าทีค่ วาม ปลอดภัยระดับบริหารและหัวหน้างาน บริษทั บางจากปิโตรเลียม จากัด(มหาชน) - วิทยากรบรรยาย หัวข้อ กฎหมายสิง่ แวดล้อม ในหลักสูตร ISO 14001 - ทีป่ รึกษาระบบการจัดการด้านสิง่ แวดล้อม (ISO 14001) โรงเรียนอนุบาลราชบุร ี 9.เอกสารเผยแพร่ - เรือ่ ง “การประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อม (Environmental Impact Assessment)” - เรือ่ ง “ผลกระทบของโรงงานอุตสาหกรรมต่อสิง่ แวดล้อม” วารสารเทคโนโลยี ประมาณ ปี 2534-2535 - เรือ่ ง “ระบบตรวจสอบด้านสิง่ แวดล้อม (Environmental Auditing System)” - เรือ่ ง “การบาบัดน้ าทิง้ อุตสาหกรรม “เอกสารประกอบการสัมมนา เรื่อง การดูแลระบบ บาบัดน้ าเสียจากประสบการณ์ โดย สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) 26 มี.ค. 2540 - การประเมินความเสีย่ งสาหรับโรงงานอุตสาหกรรม การอบรมสัม มนาทางวิชาการ เรื่อง “การวิเ คราะห์ ผ ลกระทบสิ่ง แวดล้ อ มโรงงานอุ ต สาหกรรม” โดยสมาคมส่ ง เสริม เทคโนโลยี (ไทย-ญีป่ นุ่ ) 1-3 ก.ค. 2535


- เรื่อง การประเมินวงจรชีวติ แก๊ ส โซฮอล์ วารสารมหาวิทยาลัยเกริก หัว ข้อ พลังงาน ทดแทน 2550 - หัว ข้อ “ความรับผิดชอบของสถานประกอบกิจการต่ อ สังคม” ฉบับปรับปรุงครัง้ ที่ 1 หน่ ว ยที่ 4 เอกสารการสอนชุ ด วิช า “ประสบการณ์ ว ิช าชีพ อาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2552



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.