ธุรกรรมนอกงบดุลทีม่ ผี ลกระทบต่ อรายงานทางการเงินของกลุ่มธนาคารพาณิชย์ ทจี่ ด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ โดย นางสาวสุ วชิ า
แก้ วสี ดา
นางสาวอุ่นตา
คุณสนอง
นางสาวกนกพร
ศรีสมศักดิ์
นายอําพล
ปานบุญลือ
ปัญหาพิเศษนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขา การบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2554
ธุรกรรมนอกงบดุลที มีผลกระทบต่อรายงานทางการเงินของกลุ่มธนาคารพาณิ ชย์ ที จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ Off Balance Sheet Transactions Affecting Financial Reports of Commercial Banks Group in the Stock Exchange
โดย นางสาวสุ วชิ า นางสาวอุน่ ตา นางสาวกนกพร นายอําพล
แก้วสี ดา คุณสนอง ศรี สมศักดิL ปานบุญลือ
51234409 51234508 51236388 51239366
ปัญหาพิเศษฉบับนีTเป็ นส่ วนหนึ งของการศึกษาตามหลักสู ตรบริ หารธุรกิจบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2553
ปัญหาพิเศษ ของ นางสาวสุ วชิ า นางสาวอุน่ ตา นางสาวกนกพร นายอําพล
แก้วสี ดา คุณสนอง ศรี สมศักดิ ปานบุญลือ เรื% อง
ธุรกรรมนอกงบดุลที%มีผลกระทบต่อรายงานทางการเงินของกลุ่มธนาคารพาณิ ชย์ที%จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์
ได้รับการตรวจสอบและอนุมตั ิ ให้เป็ นส่ วนหนึ%งของการศึกษาตามหลักสู ตร บริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขา การบัญชีบริ หาร เมื%อ วันที% 6 มีนาคม พ.ศ. 2555
อาจารย์ที%ปรึ กษาปัญหาพิเศษ
ผูป้ ระสานงานวิชาสาขา
(2)
กิตติกรรมประกาศ ในการศึกษาปัญหาพิเศษเรื อง ธุรกรรมนอกงบดุลที มีผลกระทบต่อรายงานทางการเงินของ กลุ่มธนาคารพาณิ ชย์ที จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ครั+งนี+สามารถประสบความสําเร็ จลุล่วงไปได้ ด้วยดี เนื องจากได้รับความอนุ เคราะห์ ความกรุ ณา และการสนับสนุ นจาก ผศ.พัชนิ จ เนาวพันธ์ และอาจารย์ธิญาดา พิชญาศุภกุล ที มอบความรู ้ ในการศึกษาปั ญหาพิเศษและให้คาํ แนะนําที เป็ น ประโยชน์ในการศึกษาปัญหาพิเศษฉบับนี+ ตลอดทั+งให้ความเมตตาและเสี ยสละเวลาแก่คณะผูจ้ ดั ทํา มาโดยตลอด จนทําให้ปัญหาพิเศษฉบับนี+สาํ เร็ จลุล่วงด้วยดี ขอขอบพระคุณสําหรับผูท้ ี มีส่วนเกี ยวข้องทุกท่าน รวมทั+งแหล่งที ศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่างๆ อาทิเช่น หนังสื อ วารสาร บทความ วิทยานิพนธ์ และสื อทางอินเตอร์ เน็ตที ให้ทางคณะผูจ้ ดั ทําได้ใช้ เป็ นแนวทางในการศึกษาปั ญหาพิเศษ ตลอดจนเพื อนร่ วมกลุ่ม เพื อนร่ วมรุ่ น ที ให้ความร่ วมมื อ ความช่วยเหลือในทุกๆ เรื อง อีกทั+งคอยเป็ นกําลังใจให้ทางคณะผูจ้ ดั ทําตลอดมา สุ ดท้ายนี+ ทางคณะผูจ้ ดั ทําขอขอบพระคุ ณและระลึ กอยู่เสมอว่าจะไม่มีความสําเร็ จใด ๆ ในชี วิตของคณะผูจ้ ดั ทํา หากปราศจากความรัก ความเข้าใจ และกําลัง ใจจากบุ คคลที มีพ ระคุ ณ ที คอยให้การสนับสนุนการศึกษาของคณะผูจ้ ดั ทํามาโดยตลอด ขอขอบคุณคณาจารย์ทุกท่าน และ สถาบันการศึกษาอันทรงเกียรติที มอบโอกาสในการศึกษาหาความรู ้แก่คณะผูจ้ ดั ทํา ผูจ้ ดั ทําหวังว่าปัญหาพิเศษฉบับนี+ คงมีประโยชน์เป็ นอย่างมากสําหรับหน่วยงานที เกี ยวข้อง ตลอดจนผูท้ ี สนใจเกี ยวกับเรื อง ธุ รกรรมนอกงบดุลที มีผลกระทบต่อรายงานทางการเงินของกลุ่ม ธนาคารพาณิ ชย์ที จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใด ผูจ้ ดั ทําต้องขออภัย มา ณ ที น+ ีดว้ ย คณะผูจ้ ดั ทํา กุมภาพันธ์ 2555
(1)
บทคัดย่ อ การศึกษาปั ญหาพิเศษ เรื อง ธุ รกรรมนอกงบดุลที มีผลกระทบต่อรายงานทางการเงินของ กลุ่ ม ธนาคารพาณิ ช ย์ที จ ดทะเบี ย นในตลาดหลัก ทรั พ ย์ มี ว ตั ถุ ป ระสงค์เ พื อ ศึ ก ษาการสร้ า ง ภาพลัก ษณ์ ที ดี ใ ห้ อ งค์ ก รของธุ ร กรรม/รายการนอกงบดุ ล โดยวิ ธี ก ารศึ ก ษาใช้ วิ ธี ทุ ติ ย ภู มิ ทํา การศึ ก ษาจากรายงานทางการเงิ นที มี ค วามเกี ย วข้อ งกับ ธุ ร กรรมนอกงบดุ ล ทั4ง หมดโดยได้ ทําการศึกษารายงานทางการเงินของธนาคารพาณิ ชย์ที อยูใ่ นตลาดหลักทรัพย์ ทั4งในประเทศไทย และประเทศสหรัฐอเมริ กา ตั4งแต่ปี 2551-2553 เพื อนํามาเปรี ยบเทียบกันทําให้เห็นภาพชัดเจนยิง ขึ4น ในส่ วนขอบเขตการศึกษาได้ทาํ การรวบรวมประกาศ กฎระเบียบข้อบังคับที เกี ยวข้องกับ ธุ รกรรม นอกงบดุลจากธนาคารแห่งประเทศไทย และสภาวิชาชีพบัญชี รวมทั4งศึกษาจากเอกสาร บทความ ทางวิชาการ หนังสื อ วารสาร วิทยานิ พนธ์ งานวิจยั และข่าวสารที มีความเกี ยวข้องกับมาตรฐาน กฎระเบียบข้อบังคับ ของธนาคารแห่งประเทศไทย และสภาวิชาชีพที เกี ยวข้องกับธุ รกรรมนอกงบ ดุล และศึกษาถึงผลกระทบที เกิดจากการธุรกรรมนอกงบดุลที เกี ยวข้องกับรายงานทางการเงิน จากการศึ ก ษาถึ ง การสร้ า งภาพลัก ษณ์ ที ดีใ ห้ก ับ องค์ก รของธุ รกรรมนอกงบดุ ล พบว่า ธุ รกรรมทางการเงินมีส่วนเกี ยวข้องกับการสร้ างภาพลักษณ์ที ดีให้องค์กร โดยจะทําให้นกั ลงทุน ตระหนักถึงความโปร่ งใสขององค์กรที แสดงรายการธุ รกรรมทางการเงินโดยไม่มีการปกปิ ดโดยจะ ส่ ง ผลต่ อ การตัด สิ น ใจลงทุ น และรายการธุ ร กรรมทางการเงิ น นั4น ยัง มี ส่ ว นเกี ย วข้อ งกับ ผล ประกอบการหากมีการแสดงธุ รกรรมนอกงบดุลแล้วจะทําให้เห็นผลประกอบการที แท้จริ งรวมถึง ยังแสดงเห็นถึงภาระหนี4สินที อาจจะเกิดขึ4นในอนาคต ดัง นั4น ผลการศึ ก ษาพบว่า รายการธุ ร กรรมนอกงบดุ ล มี มี ส่ ว นเกี ย วข้อ งกับ การสร้ า ง ภาพลักษณ์ขององค์กร และมีส่วนเกี ยวข้องต่อกับผลประกอบการของกิจการ รวมถึงการอธิ บายถึง เสถียรภาพของภาระหนี4สินที อาจจะเกิดขึ4นในภายหน้า และการตัดสิ นใจลงทุน
(3)
สารบัญ หน้ า บทคัดย่อ
(1)
กิตติกรรมประกาศ
(2)
สารบัญ
(3)
สารบัญภาพ
(6)
สารบัญตาราง
(7)
สารบัญแผนภูมิ
(8)
บทที% 1 บทนํา ที%มาและความสําคัญของปัญหาในการศึกษา วัตถุประสงค์ของการศึกษา ประโยชน์ที%คาดว่าจะได้รับ วิธีการศึกษา ขอบเขตของการศึกษา นิยามศัพท์
1 4 4 4 5 5
บทที% 2 แนวคิด ทฤษฎีและวรรณกรรมที%เกี%ยวข้อง แนวคิดเกี%ยวกับการการแสดงรายการในงบดุลตามมาตรฐานการบัญชี
7
คํานิยาม การรับรู ้ และการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของงบการเงิน
16
การรับรู ้รายการขององค์ประกอบของงบการเงิน
19
แนวคิดเรื% องทุนและการรักษาระดับทุน
22
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที% 27 2552 งบการเงินรวมและงบการเงิน
23
(4)
สารบัญ (ต่ อ) หน้ า บทที% 2 แนวคิด ทฤษฎีและวรรณกรรมที%เกี%ยวข้อง ธุรกรรมนอกงบดุล(Off-Balance-Sheet Activities)
31
แนวคิดเรื% องการเปลี%ยนแปลงของกําไรจากภาระผูกพันทางการเงิน
43
แนวคิดเกี%ยวกับการลงทุน
45
ผลงานวิจยั ที%เกี%ยวข้องกับการตกแต่งบัญชี
49
ผลงานวิจยั ที%เกี%ยวข้องกับการลงทุน
55
ผลงานวิจยั ที%เกี%ยวข้องกับการสร้างภาพลักษณ์
56
ผลงานวิจยั ที%เกี%ยวข้องกับความพึงพอใจ
63
บทที% 3 ธุรกรรม / รายการนอกงอบดุล กรณี ศึกษา ธนาคารพาณิ ชย์ภาครัฐและเอกชนในประเทศ ธนาคารต่างประเทศ ประวัติและวัฒนาการธนาคารพาณิ ชย์ ความหมายและหน้าที%ของธนาคารพาณิ ชย์
65 67
ความสําคัญของธนาคารพาณิ ชย์
68
กรณี ศึกษา ธนาคารกรุ งไทย จํากัด (มหาชน)
82
กรณี ศึกษา ธนาคารกสิ กรไทย จํากัด (มหาชน)
108
กรณี ศึกษา ธนาคารไทยพาณิ ชย์ จํากัด (มหาชน)
137
กรณี ศึกษา ธนาคารแห่งอเมริ กา
163
กรณี ศึกษา Goldman Sachs Group, Inc
165
กรณี ศึกษา JPMORGAN CHASE & CO.
169
บทที% 4 ผลการศึกษา รายงานทางการเงินของธนาคารพาณิ ชย์ในประเทศ รายงานทางการเงินของธนาคารพาณิ ชย์ตา่ งประเทศ
174 189
(5)
สารบัญ (ต่ อ) หน้ า บทที% 4 ผลการศึกษา เปรี ยบเทียบรายการต่างๆจากธนาคารกรณี ศึกษา : ธนาคารในประเทศ เปรี ยบเทียบรายการต่างๆจากธนาคารกรณี ศึกษา : ธนาคารต่างประเทศ บทวิเคราะห์
204 208 216
บทที% 5 สรุ ปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ สรุ ปผลการศึกษา ข้อเสนอแนะในการศึกษา
218 219
บรรณานุกรม ภาคผนวก
220 222
(6)
สารบัญภาพ หน้ า ภาพที 1
แผนผังโครงสร้างองค์กร บมจ.ธนาคารกรุ งไทย
85
2
เครื อธนาคารกสิ กรไทย
113
3
บุคคลัภย์ ธนาคารไทยพาณิ ชย์
138
4
ตราครุ ฑพ่าห์ ธนาคารไทยพาณิ ชย์
139
5
นายเล้ง ศรี สมวงศ์ เป็ นคนไทยคนแรก ที%ดาํ รงตําแหน่งผูจ้ ดั การใหญ่ของธนาคารไทยพาณิ ชย์
140
6
เครื% องลงบัญชี Post – Tronic
141
7
รับพนักงานสตรี เข้าปฏิบตั ิงาน
141
8
วิวฒั นาการการดําเนินงานของธนาคารไทยพาณิ ชย์
142
9
สัญลักษณ์ของธนาคารไทยพาณิ ชย์
143
โครงสร้างการบริ หารงานธนาคารไทยพาณิ ชย์
146
10
(7) สารบัญตาราง ตารางที
หน้ า
1
ตารางแสดงผลการดําเนินงานของบมจ.ธนาคารกรุ งไทย
174
2
ตารางแสดงผลการดําเนินงานของธนาคารไทยพาณิ ชย์
178
3
ตารางแสดงผลการดําเนินงานของธนาคารกสิ กรไทย
184
4
ตารางแสดงผลการดําเนินงานของธนาคาร - GOLDMAN SACHS GROUP INC
189
5
ตารางแสดงผลการดําเนินงานของธนาคาร - BANK OF AMERICA CORP
194
6
ตารางแสดงผลการดําเนินงานของธนาคาร - JPMORGAN CHASE & CO
199
7
แสดงกําไรต่อหุน้ แต่ละปี ของธนาคารต่างประเทศ
210
8
แสดง ROA แต่ละปี ของธนาคารต่างประเทศ
211
9
แสดง ROE แต่ละปี ของธนาคารต่างประเทศ
212
10
แสดงอัตรากําไรสุ ทธิแต่ละปี ของธนาคารต่างประเทศ
213
11
แสดง P/E แต่ละปี ของธนาคารต่างประเทศ
214
12
มูลค่าหุน้ ทางบัญชีต่อหุ ้นแต่ละปี ของธนาคารต่างประเทศ
215
(8) สารบัญแผนภูมิ แผนภูมทิ ี
หน้ า
1
แสดงรายได้รวมของบมจ.ธนาคารกรุ งไทย
174
2
แสดงกําไรสุ ทธิของบมจ.ธนาคารกรุ งไทย
175
3
แสดงกําไรต่อหุน้ ของบมจ.ธนาคารกรุ งไทย
175
4
แสดง ROA ของบมจ.ธนาคารกรุ งไทย
176
5
5 แสดง ROE ของบมจ.ธนาคารกรุ งไทย
176
6
แสดงอัตรากําไรสุ ทธิของบมจ.ธนาคารกรุ งไทย
177
7
แสดง P/ E ของบมจ.ธนาคารกรุ งไทย
177
8
แสดงมูลค่าทางบัญชีต่อหุน้ ของบมจ.ธนาคารกรุ งไทย
178
9
แสดงรายได้รวมของธนาคารไทยพาณิ ชย์
180
10
แสดงกําไรสุ ทธิของธนาคารไทยพาณิ ชย์
180
11
แสดงกําไรต่อหุน้ ของธนาคารไทยพาณิ ชย์
181
12
แสดง ROA ของธนาคารไทยพาณิ ชย์
181
13
แสดง ROE ของธนาคารไทยพาณิ ชย์
182
(9) สารบัญแผนภูม(ิ ต่ อ) แผนภูมทิ ี
หน้ า
14
แสดงอัตรากําไรสุ ทธิของธนาคารไทยพาณิ ชย์
182
15
แสดง P/E ของธนาคารไทยพาณิ ช
183
16
แสดงมูลค่าทางบัญชีต่อหุน้ ของธนาคารไทยพาณิ ชย์
183
17
แสดงรายได้รวมของธนาคารกสิ กรไทย
185
18
แสดงกําไรสุ ทธิของธนาคารกสิ กรไทย
185
19
แสดงกําไรต่อหุน้ ของธนาคารกสิ กรไทย
186
20
แสดง ROA ของธนาคารกสิ กรไทย
186
21
แสดง ROE ของธนาคารกสิ กรไทย
187
22
แสดงอัตรากําไรสุ ทธิของธนาคารกสิ กรไทย
187
23
แสดง P/E ของธนาคารกสิ กรไทย
188
24
แสดงมูลค่าทางบัญชีต่อหุน้ ของธนาคารกสิ กรไทย
188
25
แสดงรายได้รวมของธนาคาร GOLDMAN SACHS GROUP INC
190
26
แสดงกําไรสุ ทธิของธนาคาร GOLDMAN SACHS GROUP INC
190
(10) สารบัญแผนภูม(ิ ต่ อ) แผนภูมทิ ี
หน้ า
27
แสดงกําไรต่อหุน้ ของธนาคาร GOLDMAN SACHS GROUP INC
191
28
แสดง ROA ของธนาคาร GOLDMAN SACHS GROUP INC
191
29
แสดง ROE ของธนาคาร GOLDMAN SACHS GROUP INC
192
30
แสดงอัตรากําไรสุ ทธิของธนาคาร GOLDMAN SACHS GROUP INC
192
31
แสดง P/E ของธนาคาร GOLDMAN SACHS GROUP INC
193
32
แสดงมูลค่าทางบัญชีต่อหุน้ ของธนาคาร GOLDMAN SACHS GROUP INC 193
33
แสดงรายได้รวมของธนาคาร BANK OF AMERICA CORP
195
34
แสดงกําไรสุ ทธิของธนาคาร BANK OF AMERICA CORP
195
35
แสดงกําไรต่อหุน้ ของธนาคาร BANK OF AMERICA CORP
196
36
แสดง ROA ของธนาคาร BANK OF AMERICA CORP
197
37
แสดง ROE ของธนาคาร BANK OF AMERICA CORP
197
38
แสดงอัตรากําไรสุ ทธิของธนาคาร BANK OF AMERICA CORP
197
39
แสดง P/E ของธนาคาร BANK OF AMERICA CORP
198
(11) สารบัญแผนภูมิ(ต่ อ) แผนภูมทิ ี
หน้ า
40
แสดงมูลค่าทางบัญชีต่อหุน้ ของธนาคาร BANK OF AMERICA CORP
198
41
แสดงรายได้รวมของธนาคาร JPMORGAN CHASE & CO
200
42
แสดงกําไรสุ ทธิของธนาคาร JPMORGAN CHASE & CO
200
43
แสดงกําไรต่อหุน้ ของธนาคาร JPMORGAN CHASE & CO
201
44
แสดง ROA ของธนาคาร JPMORGAN CHASE & CO
201
45
แสดง ROE ของธนาคาร JPMORGAN CHASE & CO
202
46
แสดงอัตรากําไรสุ ทธิของธนาคาร JPMORGAN CHASE & CO
202
47
แสดง P/E ของธนาคาร JPMORGAN CHASE & CO
203
48
แสดงมูลค่าทางบัญชีต่อหุน้ ของธนาคาร JPMORGAN CHASE & CO
203
49
แสดงการเปรี ยบเทียบรายได้รวมของธนาคารภายในประเทศ
204
50
แสดงการเปรี ยบเทียบกําไรสุ ทธิของธนาคารภายในประเทศ
205
51
แสดงการเปรี ยบเทียบกําไรต่อหุน้ ของธนาคารภายในประเทศ
205
52
แสดงการเปรี ยบเทียบ ROA ของธนาคารภายในประเทศ
206
(12) สารบัญแผนภูมิ(ต่ อ) แผนภูมทิ ี
หน้ า
53
แสดงการเปรี ยบเทียบ ROE ของธนาคารภายในประเทศ
206
54
แสดงการเปรี ยบเทียบอัตรากําไรสุ ทธิของธนาคารภายในประเทศ
207
55
แสดงการเปรี ยบเทียบ P/E ของธนาคารภายในประเทศ
207
56
แสดงการเปรี ยบเทียบมูลค่าหุน้ ทางบัญชีตอ่ หุ ้นของธนาคารภายในประเทศ
208
57
แสดงการเปรี ยบเทียบรายได้รวมของธนาคารต่างประเทศ
208
58
แสดงการเปรี ยบเทียบกําไรสุ ทธิของธนาคารต่างประเทศ
209
59
แสดงการเปรี ยบเทียบกําไรต่อหุน้ ของธนาคารต่างประเทศ
210
60
แสดงการเปรี ยบเทียบ ROA ของธนาคารต่างประเทศ
211
61
แสดงการเปรี ยบเทียบ ROE ของธนาคารต่างประเทศ
212
62
แสดงการเปรี ยบเทียบอัตรากําไรสุ ทธิของธนาคารต่างประเทศ
213
63
แสดงการเปรี ยบเทียบ P/E ของธนาคารต่างประเทศ
214
64
แสดงการเปรี ยบเทียบมูลค่าหุน้ ทางบัญชีตอ่ หุ ้นของธนาคารต่างประเทศ
215
บทที 1 บทนํา ทีม าและความสํ าคัญของปัญหา งบการเงิน คือ ผลของการบันทึกรายการธุ รกิจของกิจการ โดยจะสรุ ปออกมาในรู ปแบบที! กําหนดร่ วมกัน โดยรู ปแบบที!วา่ นี&จะทําให้ผอู ้ า่ นงบการเงิน เข้าใจภาพรวมของการดําเนินธุ รกิจของ กิจการในรอบระยะเวลาบัญชีหนึ!งๆ ในปั จจุบนั ผูใ้ ช้งบการเงินมีหลายกลุ่มอันได้แก่ ผูซ้ &ื อขายหุ ้นรายย่อยไปจนถึงผูซ้ &ื อขายหุ ้น รายใหญ่ เจ้าหนี&และแหล่งเงินกูต้ า่ ง ๆ หน่วยงานราชการเช่นกรมสรรพากร คู่แข่งทางการค้า บุคคล เหล่านี&ตา่ งใช้งบการเงินเพื!อการศึกษา การวิเคราะห์ขอ้ มูลและใช้ในการตัดสิ นใจเพื!อการลงทุนทาง ธุ รกิ จ ข้อมูลทางบัญชี จึงเป็ นประโยชน์แก่ผูใ้ ช้งบการเงิ นเพื!อนํา ไปวิเคราะห์ งบการเงิ นที!ดีควร สะท้อนข้อเท็จจริ งเกี!ยวกับสถานภาพทางด้านการเงินและผลการดําเนินงานของกิจการ การนําเสนอข้อมูลทางการบัญชี อย่างถูกต้องจึงมีคุณค่าและมีความสําคัญกว่ารู ปแบบทาง กฎหมาย เพราะข้อมูลที!เปิ ดเผยอย่างโปร่ งใส แสดงฐานะทางการเงิ นอย่างเที!ยงตรง จะช่ วยสร้าง ความเชื!อถือต่อบุคคลทั&งภายในและภายนอกองค์กร สถาบันการเงินกลุ่มเงินทุน เงินทุนหลักทรัพย์ และธนาคารพาณิ ชย์ มีบทบาทมากต่อระบบเศรษฐกิจ ผลประกอบการของสถาบันจึงอยูใ่ นความ สนใจของนักลงทุนทั&งในและต่างประเทศ เจ้าหนี& ลูกหนี& และคณะกรรมการกํากับดูและควบคุ ม ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย แต่จากวิกฤตต่างที!เกิดขึ&น ทําให้สถาบันการเงินได้รับผลกระทบ รุ นแรงในด้านความอยูร่ อดของธุ รกิจ จึงเป็ นเหตุให้เกิดการเปลี!ยนแปลงตัวเลขทางการบัญชี และ ข้อมูลต่างๆ วัตถุประสงค์เพื!อให้ตวั เลขและข้อมูลที!ปรากฏในงบการเงินแสดงฐานะที!มน!ั คงของ องค์กรจูงใจบุคคลภายนอกให้เข้ามาลงทุน ความหายนะจากการล้มละลายของธุ รกิจยักษ์ใหญ่หลายแห่ งที!ปรากฏให้เห็ น รวมไปถึ ง ความไม่โปร่ งใส ในงบการเงินของบริ ษทั ต่าง ๆ เกี!ยวกับการฉ้อฉล ตกแต่งบัญชี เพื!อให้ราคาหุ ้น ของบริ ษทั พุง่ ขึ&นสู ง และสร้างความมัง! คัง! รํ!ารวยให้กบั ฝ่ ายบริ หาร ได้มีหลักฐานที!บ่งชี& อย่างชัดเจน
2 ว่า งบการเงินของบริ ษทั เหล่านี& มีความไม่ชอบมาพากล จากการปกปิ ดซ่ อนเร้นรายการบางอย่าง โดยมิได้เปิ ดเผยไว้อย่าง ครบถ้วน ความจริ งซึ! งเป็ นประเด็นสําคัญที!สุดนัน! ก็คือ การทําธุ รกรรมใน รายการที!เกี!ยวข้องกับการโยกย้ายหนี& สินเป็ นจํานวนมากออกจากบัญชี และงบการเงิ นของบริ ษทั ด้วยสาเหตุดงั กล่าวทําให้นกั ลงทุนยังขาดความเชื!อถือต่องบการเงิน และขาดความเชื! อมัน! ต่อหลัก บรรษัทภิบาลของบริ ษทั จดทะเบียนต่าง ๆ ซึ! งเคยเป็ นสิ! งที! ประเทศสหรัฐอเมริ กาเรี ยกร้องให้ทว!ั โลกโดยเฉพาะประเทศกํา ลัง พัฒนา ให้ยึด แนวปฏิ บ ตั ิ ใ นเรื! องของบรรษัท ภิ บ าลมาโดยตลอด สําหรับเหตุการณ์ที!เกิดขึ&นกับบริ ษทั ต่างชาติหลาย ๆ บริ ษทั ยังคงเป็ นเหตุการณ์ที!อยูใ่ นความทรงจํา ของนักลงทุนมากมาย ซึ!งล้วนแล้วแต่เป็ นเพราะความไม่โปร่ งใสของระบบบัญชี ระบบการควบคุม ภายในและระบบการบริ หารจัดการภายในองค์กรที!ขาดการกํากับดูแลที!ดี จึงก่อให้เกิดความกังขา ขึ&นว่าบริ ษทั ในประเทศสหรัฐอเมริ กาซึ!งเป็ นแม่แบบของการกํากับดูแลกิจการที!ดีหรื อ บรรษัทภิบาล กลับเกิดเหตุการณ์กบั บริ ษทั ยักษ์ใหญ่ต่าง ๆ ในประเทศของตนเอง ซึ! งมีผลกระทบ ต่อบุ ค คลหลายฝ่ ายที! เกี! ย วข้องไม่ว่า จะเป็ นนัก ลงทุ น พนัก งานของบริ ษ ทั และผูส้ อบบัญชี รั บ อนุญาต คําถามที!เกิดขึ&นตามมาก็คือ บริ ษทั เหล่านี&เกิดปั ญหาที!นาํ มาซึ! งความล้มเหลวจากสาเหตุใด และควรมีการแก้ไข ป้ องกันปัญหาเหล่านั&นอย่างไร ผลกระทบที!สําคัญมากอีกประการหนึ! งก็คือ การขาดความเชื! อถือในระบบการจัดทําและ นําเสนอรายงานทางการเงินของ ประเทศสหรัฐอเมริ กา ซึ! งคนส่ วนใหญ่มีภาพลักษณ์ที!ดีและเชื!อว่า เป็ นประเทศที!มีมาตรฐานการบัญชีและระบบการรายงานทางการเงินที!ดีที!สุดในโลก ซึ! งหน่วยงาน ที!เกี!ยวข้องกับการกําหนดมาตรฐานทางบัญชี การกํากับดูแล รวมทั&งตลาดหลักทรัพย์จะต้องร่ วมมือ แก้ไ ขปั ญหาที! เกิ ดขึ& นให้ท นั ต่อเหตุ ก ารณ์ ประเด็นปั ญหาทางบัญชี ที! ป รากฏจากบริ ษ ทั ดัง กล่ า ว ข้างต้นส่ วนใหญ่ คือ “การซ่อนหนี&สิน” ซึ! งบริ ษทั แต่ละแห่งก็มีวิธีการที!แตกต่างกันออกไปไม่วา่ จะ เป็ นการจัดตั&งบริ ษทั ย่อยเพื!อแยกงบการเงินออกจากงบการเงินของบริ ษทั ใหญ่ การใช้หุ้นส่ วนหรื อ นิ ติบุคคลเฉพาะกิ จ การใช้สัญญาเช่ าซื& อระยะยาว รวมไปถึ งสัญญาภาระผูกพันต่างๆ กับคู่คา้ ซึ! ง เกี!ยวกับหนี&สินที!อาจเกิดขึ&นในภายหน้า ความครบถ้ว นสมบู ร ณ์ ข องการนํา เสนอตัวเลขข้อ มู ล ในงบการเงิ น และในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินเป็ นคุณลักษณะเชิงคุณภาพของข้อมูลทางบัญชีที!สําคัญยิง! ซึ! งจะส่ งผลต่อความ โปร่ งใสและความน่าเชื! อถือของรายงานการเงินของกิจการ แต่ปัญหาที!เกิดขึ&นในปั จจุบนั ของการ นําเสนอรายงานการเงินของธุ รกิ จที!มีปัญหา คือ การพยายามตกแต่งตัวเลขในงบการเงินด้วยการ จัดทําธุ รกรรมนอกงบการเงิน (Off-Balance Sheet Transactions) และการปกปิ ดซ่อนเร้นของข้อมูล
3 ที!มีนยั สําคัญ มิได้มีการเปิ ดเผยอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ทําให้ผใู ้ ช้รายงานการเงินเกิดความเข้าใจผิด ส่ งผลต่อการตัดสิ นใจที!ผิดพลาด และเกิดความเสี ยหายตามมาโดยเฉพาะอย่างยิ!งนักลงทุน ดังนั&น เพื!อให้เกิดประโยชน์ต่อผูใ้ ช้รายงานการเงิ นอย่างแท้จริ ง นอกเหนื อไปจากรายการที!แสดงใน งบ การเงินแล้ว บริ ษทั ควรเปิ ดเผยรายละเอียดที!เป็ นสาระสําคัญ อย่างครบถ้วน เช่น โครงสร้างทุนที! ซับซ้อนของกิจการ การลงทุนใน บริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม ภาระผูกพันและหนี&สินที!อาจเกิดขึ&นใน ภายหน้า รวมทั&งข้อมูลที!เกิดขึ&นจาก รายการนอกงบดุล หรื อธุรกรรมนอกงบดุล สถาบันการเงิ นถื อเป็ นกิ จกรรมที! สํา คัญ อย่า งหนึ! ง ในระบบเศรษฐกิ จ โดยเฉพาะกลุ่ ม ธนาคารนับเป็ นแหล่งเงินทุนของกิจกรรมทางเศรษฐกิจที!มีบทบาทมาก ไม่วา่ จะเป็ นการระดมเงิน ออก การปล่อยสิ นเชื! อ รวมไปถึ งการแลกเปลี!ยนเงินตราต่างประเทศ การดําเนิ นงานของสถาบัน การเงิ นแม้จะอยู่ภายใต้กฎเกณฑ์ของธนาคารแห่ งประเทศไทย แต่ก็สามารถบริ หารในส่ วนของ หลัก การและนโยบายได้อย่างอิ สระ จากการที! สถาบันการเงิ นเป็ นบริ ษทั ที! จดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ ผลประกอบการของสถาบันการเงินจึงอยูใ่ นความสนใจของกลุ่มคนมากมาย อาทิ กลุ่มผู ้ ลงทุ นทั&ง ในและต่า งประเทศ ธนาคารแห่ งประเทศไทย คณะกรรมการกํา กับและควบคุ มตลาด หลัก ทรั พ ย์แห่ ง ประเทศไทย เจ้า หนี& และลู ก หนี& ฉะนั&น การที! ส ถาบันการเงิ นจะสามารถดํา รง เสถียรภาพของตนเองให้เป็ นที!น่าเชื!อถือต่อผูเ้ กี!ยวข้องทั&งหลายได้น& นั จําเป็ นต้องมีผลประกอบการ ที! ดี ซึ! งไม่ แ สดงถึ ง ความมัน! คงของตัว องค์ก รเท่ า นั&น แต่ ย งั สะท้อ นให้เ ห็ น ถึ ง ความมัน! คงทาง เศรษฐกิจของประเทศอีกด้วย สถาบันการเงินส่ วนใหญ่มีการนํารายการที!เกี!ยวข้องกับหนี&สินมาแสดงไว้ในรายการนอก งบดุล เพื!อรักษาภาพลักษณ์ขององค์กรให้มีความน่าเชื!อถือมากยิง! ขึ&น โดยสถาบันการเงินแต่ละแห่ง มีการนําเสนอรายการที!อยูน่ อกงบดุลแตกต่างกันออกไป และแต่ละรายการส่ งผลกระทบในด้านเชิง บวกให้กบั องค์กร หากพิจารณารายการนอกงบดุลจะเห็นแล้วจะเห็นได้วา่ รายการประเภทดังกล่าว มีผลทําให้ภาพลักษณ์ขององค์กรดีข& ึนหรื อไม่ มากน้อยเพียงใด
4 วัตถุประสงค์ ของการศึกษา 1. เพื!อศึกษารายการนอกงบดุลว่ามีส่วนเกี!ยวข้องกับการสร้างภาพลักษณ์ที!ดีให้องค์กร 2. เพื!อศึกษาถึงผลกระทบที!เกิดจากรายการนอกงบดุ ลที!เกี!ยวข้องกับรายงานทางการเงิ น ของธนาคารพาณิ ช ย์ กรณี ศึ ก ษา ธนาคารกรุ ง ไทย จํา กัด (มหาชน), ธนาคารกสิ ก รไทย จํา กัด (มหาชน), ธนาคารไทยพาณิ ชย์ จํากัด(มหาชน) และธนาคารต่างประเทศ 3. เพื!อศึกษารายการนอกงบดุลที!เกี!ยวข้องกับรายงานทางการเงินของธนาคารพาณิ ชย์ ประโยชน์ ทคี าดว่าจะได้ รับ 1. ทําให้ทราบถึงข้อเท็จจริ งในการสร้างภาพลักษณ์ที!ดีให้องค์กรโดยใช้รายการนอกงบดุล 2. ทําให้ทราบถึงผลกระทบที!เกิดจากรายการนอกงบดุลที!เกี!ยวข้องกับรายงานทางการเงิน 3. ทําให้ทราบถึงรายการนอกงบดุลที!เกิดขึ&นในรายงานทางการเงินของธนาคารพาณิ ชย์ 4. เพื!อเป็ นแนวทางให้ผใู ้ ช้รายงานทางการเงินสามารถวิเคราะห์รายงานทางการเงินที!มี รายการนอกงบดุลได้อย่างถูกต้อง วิธีการศึกษา ศึกษาค้นคว้าข้อมูลทุติยภูมิจากประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทย ประกาศจากสภาวิชา ชี บญ ั ชี มาตรฐานการบัญชี รายงานของผูส้ อบบัญชี รายงานทางการเงิ นและหมายเหตุประกอบ รายงานทางการเงินในรายงานประจําปี ของกิจการที!ศึกษา รวมทั&งศึกษาจากเอกสาร บทความทาง วิชาการ หนังสื อ วารสาร วิทยานิพนธ์ งานวิจยั และข่าวสารที!มีความเกี!ยวข้องกับการรายการนอก งบดุล เพื!อนําข้อมูลมาวิเคราะห์ถึงวิธีการสร้างภาพลักษณ์ที!ดีให้องค์กรของรายการนอกงบดุล และ ผลกระทบจากรายการนอกงบดุลที!เกิดขึ&นกับรายงานทางการเงิน ตลอดจนรายละเอียดของรายการ ในรายงานนอกงบดุลที!เกิดขึ&นกับธนาคารพาณิ ชย์
5 ขอบเขตการศึกษา ขอบเขตในการศึกษาครั&งนี& คือ การศึกษาธุ รกรรมนอกงบดุลและผลกระทบต่อรายงานทาง การเงินของธนาคารพาณิ ชย์ที!จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื!อศึกษาผลกระทบ ของรายการนอกงบดุลที!มีต่อรายงานทางการเงินและผูใ้ ช้งบการเงิน เพื!อให้ทราบประเภทรายการ นอกงบดุลของธนาคารพาณิ ชย์ที!จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย รวมทั&งสาเหตุ ของการเลื อกแสดงรายการนอกงบดุ ล ทําการศึกษาจากข้อมูลงบการเงิ น หมายเหตุประกอบงบ การเงินของธนาคารพาณิ ชย์ที!จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตั&งแต่ปี พ.ศ. 25502553 นิยามศัพท์ หนี&สิน หมายถึง ภาระผูกพันในปัจจุบนั ของกิจการ ภาระผูกพันดังกล่าวเป็ นผลของรายการ ค้าที!เกิ ดขึ&นแล้วในอดี ต ซึ! งการชําระภาระผูกพันนั&น มีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ ว่า กิ จการ จะ สู ญเสี ยทรัพยากรที!มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต รายการนอกงบดุล หมายถึง รายการที!ทาํ ให้หนี&สินโดยรวมของกิจการเพิ!มขึ&นโดยที!ผลจาก การทําธุ รกรรม ดังกล่าวนั&น ไม่ปรากฏให้เห็นในงบดุ ลของกิ จการ ซึ! งธุ รกรรมที!กระทําขึ&นนั&นมี เจตนาที!จะปกปิ ดภาระหนี& สิน และข้อผูกพันที!มีอยู่ในปั จจุบนั ของกิจการ ภาระหนี& สินอันอาจจะ เกิดขึ&นในอนาคตรวมไปถึงการจัดหาเงินกู้ จากบุคคลภายนอกโดยหลีกเลี!ยงมิให้รายการเหล่านั&น ปรากฏรวมกับยอดหนี&สินในงบดุลของกิจการได้ ธนาคารพาณิ ชย์ หมายถึง การประกอบธุ รกิจประเภทรับฝากเงินที!ตอ้ งจ่ายคืนเมื!อทวงถาม หรื อเมื!อสิ& นระยะเวลาอันได้กาํ หนดไว้ และใช้ประโยชน์จากเงินนั&นในทางหนึ!งหรื อหลายทาง เช่น การให้กู้ยืม ซื& อขายหรื อเก็บ เงิ น ตามตัว^ เงิ น หรื อ ตราสารเปลี! ย นมื ออื! นใด ซื& อ หรื อขายเงิ นตรา ต่างประเทศ ทั&งนี& จะประกอบธุ รกิ จประเภทอื!นๆ อันเป็ นประเพณี ของธนาคารพาณิ ชย์ด้วยก็ไ ด้ สําหรับธนาคารพาณิ ชย์คือธนาคารที!ได้รับอนุญาตให้ประกอบการธนาคารพาณิ ชย์ และหมายความ รวมถึงสาขาของธนาคารต่างประเทศที!ได้รับอนุญาตให้ประกอบการธนาคารพาณิ ชย์ดว้ ย
6 การคํ&าประกันการกูย้ ืม เงิ น หมายถึ ง ภาระผูกพันของธนาคารพาณิ ชย์อนั เกิ ดจากการคํ&า ประกันการกูย้ มื เงินเพื!อลูกค้า ซึ!งรวมถึง Standby Letter of Credit เพื!อการกูย้ มื เงิน การรับอาวัลตัว^ เงิน หมายถึง เป็ นการประกันการใช้เงินตามตัว^ เงิน เมื!อมีการออกตัว^ เงินลง วันที!ล่วงหน้าเพื!อให้นาํ มาแลกเงินสดหรื อเพื!อชําระหนี& เจ้าหนี&อาจจะไม่แน่ใจในเครดิตหรื อความ น่าเชื! อถือของลูกหนี& ผูอ้ อกตัว^ เงินจึงให้ลูกหนี& หรื อผูส้ ั!งจ่ายตามตัว^ เงินหาบุคคลผูม้ ีความน่าเชื!อถือ มาลงลายมือชื!ออาวัลตัว^ เงิน เพื!อเป็ นการคํ&าประกันการใช้เงินตามตัว^ เงินนั&น ภาระตามตัว^ แลกเงินค่าสิ นค้าเข้าที!ยงั ไม่ครบกําหนด หมายถึง ภาระตามตัว^ เงินค่าสิ นค้าเข้า ที!ยงั ไม่ครบกําหนด เล็ตเตอร์ ออฟเครดิต หมายถึง Import Letter of Credit ที!สถาบันการเงินออกเพื!อประโยชน์ ของลูกค้าไม่วา่ จะมีตว^ั เงิ นหรื อเอกสารประกอบแล้วหรื อไม่ก็ตาม และให้รวมภาระจากการออก Domestic Letter of Credit ด้วย ภาระผูก พัน อื! น หมายถึ ง ภาระผูก พัน อื! น ๆ ซึ! งขึ& น อยู่ก ับ ผลการดํา เนิ น งานของลู ก ค้า นอกเหนือจากการคํ&าประกันการปฏิบตั ิตามสัญญา การคํ&าประกันการยื!นซองประกวดราคา การคํ&า ประกันการชําระภาษีนาํ เข้า การคํ&าประกันค่าไฟฟ้ าหรื อมิเตอร์ไฟฟ้ า
บทที 2 แนวคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมที เกีย วข้ อง การศึ ก ษาปั ญหาพิเศษเรื องการศึ กษาธุ รกรรมนอกงบดุ ล ที ธนาคารพาณิ ช ย์ กรณี ศึ ก ษา ธนาคารพาณิ ชย์ของเอกชน และธนาคารพาณิ ชย์ของภาครัฐ ผูศ้ ึกษาได้ศึกษาค้นคว้าเอกสาร ตํารา และงานวิจยั ต่า ง ๆ ที เกี ย วข้องกับ การแสดงรายการในงบการเงิ น และความหมาย หน้า ที ข อง ธนาคารพาณิ ชย์และรายการอื นๆที เกี ยวข้องเพื อที จะนํามาสนับสนุนการศึกษา ได้แก่ 1. แนวคิดเกี ยวกับการการแสดงรายการในงบดุลตามมาตรฐานการบัญชี 2. แนวคิดเกี ยวกับธุรกรรมนอกงบดุล 3. แนวคิดเกี ยวกับการลงทุน
แนวคิดเกีย วกับการการแสดงรายการในงบดุลตามมาตรฐานการบัญชี ความหมายของการบัญชี The Committee on Terminology of the America Institute of Certified Public Accountants (AICPA) (1953: 5 อ้างใน ศศิวิมล มีอาํ พล, 2554: 2-1) ได้ให้ความหมายไว้วา่ “Accounting is a service activity. Its function is to provide quantitative information, primarily financial in nature about economic entities that is intended to be useful in making economic decisions, in making resolved choice among alternative courses of action.” ซึ งสอดคล้องกับ The American Accounting Association (AAA) (1966: 1 อ้างใน ศศิวิมล มีอาํ พล, 2554: 2-2) ให้ความหมายไว้วา่ “The process of identifying, measuring, and communicating economic information to permit informed judgments and decision by users of the information”
8 ความหมายข้างต้นยังมีความคล้ายคลึงกับแนวคิดของ นิตยา งามแดน (2551: 8) การบัญชี เป็ นศิลปะของการจดบันทึก การจําแนก การสรุ ปผลและการรายงานเหตุการณ์เกี ยวกับการเงิน โดย ใช้หน่วยเงินตรา ซึ งรายการหรื อเหตุการณ์ที เกิดขึdนนัdนเป็ นเหตุการณ์ที เกิดขึdนแล้วในอดีต รวมทัdง การแปลความหมายของผลการปฏิบตั ิ มีความสอดคล้องกับ สภาวิชาชี พบัญชี (2552: 7 อ้างใน ศศิวิมล มีอาํ พล, 2554: 2-2) ให้ความหมายของการบัญชี ไว้ดงั นีd การบัญชี คือ ศิลปะของการเก็บ รวบรวม บันทึ กจํา แนก และทําสรุ ป ข้อมูลเกี ย วกับ เหตุ ก ารณ์ ท างเศรษฐกิ จในรู ป ตัวเงิ น ผลขัdน สุ ดท้ายของการบัญชี คือ การให้ขอ้ มูลทางการเงินซึ งเป็ นประโยชน์แก่บุคคลหลายฝ่ ายและผูส้ นใจ ในกิจกรรมประโยชน์แก่บุคคลหลายฝ่ ายและผูส้ นใจในกิจกรรมของกิ จการ แล้วยังคล้ายคลึงกับ แนวคิดใหม่เกี ยวกับการบัญชีเป็ น “ศาสตร์ ทางสังคม” (Social Science) ซึ ง Mautz (อ้างใน ศศิวิมล มีอาํ พล, 2554: 2-2) กล่าวถึงแนวคิดนีdวา่ บัญชีจะเกี ยวข้องกับกลุ่มคนหลากหลายซึ งถือเป็ นกลุ่มทาง สังคม ดังนัdนบัญชี จะเกี ยวข้องกับธุ รกรรมและเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจต่างๆ ซึ งมีผลต่อทางสังคม และมีอิทธิพลต่อความสัมพันธ์ตา่ งๆ ทางสังคม บัญชีจึงมีความหมายและมีประโยชน์และให้ความรู ้ ต่อมนุษย์ผซู ้ ึงทํากิจกรรมต่าง ๆ ร่ วมกันในสังคม โดยความหมายข้างต้นสรุ ปได้วา่ การบัญชี หมายถึง ขัdนตอนของการเลือกและเก็บรวบรวม การจดบันทึก การวัดมูลค่า การจัดหมวดหมู่ การสรุ ปผล การรายงานข้อมูลทางการเงิน วัตถุประสงค์ ของการบัญชี ศศิวมิ ล มีอาํ พล (2554: 1-5) การบัญชีจะให้รายงานทางการเงินที นาํ เสนอผลการดําเนินงาน ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ งและฐานของกิจการ ณ วันใดวันหนึ ง รวมทัdงจะแสดงการเคลื อนไหวของ เงินสดในช่วงเวลาใดเวลาหนึ งจึงเห็นได้วา่ วัตถุประสงค์หลักของการบัญชี คือ การสรุ ปผลข้อมูล ของกิจการในรู ปของตัวเลขเพื อนําเสนอแก่ผสู ้ นใจ ซึ งจะเห็นได้วา่ ผูท้ ี สนใจรายงานทางการเงินจะมี หลายฝ่ ายซึ ง เรี ยกว่า “ผูม้ ีส่ วนได้เสี ย (Stakeholders)” โดยคําว่า ผูม้ ีส่ วนได้เสี ย นัdนจะครอบคุ ล ม บุคคลหลายฝ่ ายมากกว่าคําว่า “ผูถ้ ือหุ ้น (Stockholder)” กล่าวได้วา่ ผูถ้ ือหุ ้นเป็ นส่ วนหนึ งในผูม้ ีส่วน ได้เสี ย ดังนัdน จึงสรุ ปได้วา่ วัตถุประสงค์หลักของการบัญชี คือ การนําเสนอข้อมูลของกิจการในรู ป ของรายงานทางการเงินเพื อให้ผูม้ ีส่วนได้เสี ยนําข้อมูลมาใช้ในการตัดสิ นใจ (Decision Making) การวางแผน (Planning) การควบคุม (Controlling) และการกํากับ (Directing)
9 แม่ บททางการบัญชี นิตยา งามแดน (2551: 10) ได้ให้ความหมายไว้วา่ แม่บทการบัญชีเป็ นแนวคิดพืdนฐานใน การจัดทําและนําเสนองบการเงิน ซึ งสอดคล้องกับ ศศิวมิ ล มีอาํ พล (2554: 1-15) กล่าวว่า แม่บทการ บัญชีเป็ นเกณฑ์ในการจัดทําและนําเสนองบการเงิน สภาวิชาชี พบัญชี ได้พฒั นามาจากมาตรฐานการบัญชี ระหว่างประเทศ โดยในแม่บทการ บัญชีได้กล่าวไว้วา่ ถ้ามาตรฐานการบัญชีเฉพาะเรื องฉบับนัdนมาปฏิบตั ิ ซึ งหน่วยงานที เกี ยวข้องก็จะ พยายามปรั บ ปรุ ง มาตรฐานฉบับ ที ข ัด แย้ง กับ แม่ บ ทการบัญ ชี เ พื อ ไม่ ใ ห้ ม าตรฐานการบัญ ชี ที ประกาศใช้ขดั แย้งกับแม่บทการบัญชี รวมทัdงมาตรฐานการบัญชีฉบับใหม่ๆ ที จะออกมาก็จะไม่ให้ ขัดแย้งกับแม่บทการบัญชี ในแม่บทการบัญชีได้แบ่งไว้เป็ นหัวข้อใหญ่ๆ คือ 1. วัตถุประสงค์ของงบการเงิน 2. ลักษณะเชิงคุณภาพที กาํ หนดว่าข้อมูลในงบการเงินมีประโยชน์ 3. คํานิยาม การรับรู ้ และการวัดมูลค่าขององค์ประกอบขึdนเป็ นงบการเงิน 4. แนวคิดเกี ยวกับทุนและการรักษาระดับทุน วัตถุประสงค์ ของงบการเงิน ย่อหน้าที 12 ของแม่บทการบัญชี ระบุไว้วา่ “งบการเงินจัดทําขึdนโดยวัตถุประสงค์เพื อให้ ข้อมูลเกี ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และการเปลี ยนแปลงฐานะการเงินของกิจการ ข้อมูล ในงบการเงินจะเป็ นประโยชน์ตอ่ ผูใ้ ช้งบการเงินทัdงภายในและภายนอกกิจการเนื องจากจะนําไปใช้ ในการจัดสิ นใจทางเศรษฐกิจ” ซึ งสอดคล้องกับ ธาริ นี พงศ์สุพฒั น์ (2551: 1-3) ได้กล่าวไว้วา่ ผูใ้ ช้ งบยังสามารถวัดและประเมินผลการบริ หารงานของผูบ้ ริ หารจากตัวเลขในงบการเงิน งบการเงินยัง รวมถึงหมายเหตุประกอบงบการเงิน รายละเอียดประกอบข้อมูลเพิ มเติมอื นที เดี ยวข้องกับรายการ
10 ในงบการดุลและงบกําไรขาดทุนที ไม่ปรากฏเป็ นตัวเลขในงบการเงิน เช่น การเปิ ดเผยเกี ยวกับความ เสี ยงและความไม่แน่นอนที จะมีผลกระทบต่อกิจการ เช่นลูกหนีdกาํ ลังถูกศาลพิพากษาให้ลม้ ละลาย ข้อสมมติ (แม่บทการบัญชี, 2552: 10) ระบุไว้วา่ ข้อสมมติทางการบัญชีประกอบด้วย 2 ส่ วน คือ เกณฑ์คงค้างและการดําเนินงานต่อเนื อง 1. เกณฑ์คงค้าง งบการเงินจัดทําขึdนโดยใช้เกณฑ์คงค้างเพื อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ดงั ที กล่าว มาแล้ว ภายใต้เกณฑ์คงค้าง รายการและเหตุการณ์ทางบัญชีจะรับรู ้เมื อเกิดขึdนมิใช่เมื อมีการรับหรื อ จ่ายเงินสดหรื อรายการเทียบเท่าเงินสด โดยรายการต่างๆจะบันทึก และแสดงในงบการเงินตามงวด ที เกี ยวข้อง งบการเงินที จดั ทําขึdนตามเกณฑ์คงค้างนอกจากจะให้ขอ้ มูลแก่ผใู ้ ช้งบการเงินเกี ยวกับ รายการค้าในอดีตที เกี ยวข้องกับการรับและจ่ายเงินสดแล้ว ยังให้ขอ้ มูลเกี ยวกับภาระผูกพันที กิจการ ต้องจ่ายเป็ นเงิ นสดในอนาคตและข้อมูลเกี ยวกับทรั พยากรที จะได้รับ เป็ นเงิ นสดในอนาคตด้วย ดังนัdน งบการเงินจึงสามารถให้ขอ้ มูลรายการ และเหตุการณ์ทางบัญชี ในอดีตซึ งเป็ นประโยชน์แก่ ผูใ้ ช้งบการเงินในการตัดสิ นใจเชิงเศรษฐกิจ การดํา เนิ น งานต่ อ เนื อ งโดยทั ว ไป งบการเงิ น จัด ทํา ขึd นตามข้อ สมมติ ที ว่า กิ จ การจะ ดําเนิ นงานอย่างต่อเนื องและดํารงอยูต่ ่อไปในอนาคต ดังนัdน จึงสมมติว่ากิจการไม่มีเจตนาหรื อมี ความจําเป็ นที จะเลิกกิจการหรื อลดขนาดของการดําเนินงานอย่างมีสาระสําคัญ หากกิจการมีเจตนา หรื อความจําเป็ นดังกล่าว งบการเงินต้องจัดทําขึdนโดยใช้เกณฑ์อื นและต้องเปิ ดเผยเกณฑ์นd นั ในงบ การเงิน
11 ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน ลักษณะเชิ งคุณภาพ (แม่บทการบัญชี, 2552: 10) ระบุไว้วา่ ลักษณะเชิงคุณภาพ หมายถึง คุณสมบัติที ทาํ ให้ขอ้ มูลในงบการเงินมีประโยชน์ตอ่ ผูใ้ ช้งบการเงิน ลักษณะเชิงคุณภาพหลักของงบ การเงินมีสี ประการ ได้แก่ ความเข้าใจได้ ความเกี ยวข้องกับการตัดสิ นใจ ความเชื อถือได้ และการ เปรี ยบเทียบกันได้ ความเข้ าใจได้ (แม่บทการบัญชี, 2552: 10) ระบุไว้วา่ ข้อมูลในงบการเงินต้องสามารถเข้าใจได้ในทันทีที ผูใ้ ช้งบการเงิ นใช้ขอ้ มูลดังกล่าว ซึ งมีขอ้ สมมติว่าผูใ้ ช้งบการเงิ นมีความรู ้ ตามควรเกี ยวกับธุ รกิ จ กิจกรรมเชิงเศรษฐกิจและการบัญชี รวมทัdงมีความตัdงใจตามควรที จะศึกษาข้อมูลดังกล่าว อย่างไรก็ ตาม ข้อมูลแม้วา่ จะมีความซับซ้อนแต่ถา้ เกี ยวข้องกับการตัดสิ นใจเชิงเศรษฐกิจต้องไม่ละเว้นที จะ แสดงในงบการเงินเพียงเหตุผลที วา่ ข้อมูลดังกล่าวยากเกินกว่าที ผใู ้ ช้งบการเงินบางส่ วนจะเข้าใจได้ ความเกีย วข้ องกับการตัดสิ นใจ (แม่บทการบัญชี , 2552: 11) ระบุไว้วา่ ข้อมูลที มีประโยชน์ตอ้ งเกี ยวข้องกับการตัดสิ นใจ ของผูใ้ ช้งบการเงิน ข้อมูลจะเกี ยวข้องกับการตัดสิ นใจเชิงเศรษฐกิจได้ก็ต่อเมื อข้อมูลนัdนช่วยให้ผใู ้ ช้ งบการเงิ น สามารถประเมิ น เหตุ ก ารณ์ ใ นอดี ต ปั จ จุ บ ัน และอนาคต รวมทัdง ช่ ว ยยืน ยัน หรื อ ชีd ข้อผิดพลาดของผลการประเมินที ผา่ นมาของผูใ้ ช้งบการเงินได้ บทบาทของข้อมูลที ช่วยในการคาดคะเนและยืนยันความถูกต้องของการคาดคะเนที ผา่ นมา มีความสัมพันธ์กนั ตัวอย่างเช่น ข้อมูลเกี ยวกับปริ มาณและโครงสร้างของสิ นทรัพย์ที กิจการมีอยูใ่ น ปั จจุบนั มีประโยชน์ต่อผูใ้ ช้งบการเงิน เมื อผูใ้ ช้งบการเงินพยายามคาดคะเนถึงความสามารถของ กิจการในการได้รับประโยชน์จากโอกาสใหม่ๆและความสามารถในการแก้ไขสถานการณ์ขอ้ มูล เดียวกันนีd มีบทบาทในการยืนยันความถูกต้องของการคาดคะเนในอดีตที เกี ยวกับโครงสร้างของ กิจการที คาดว่าจะเป็ นและผลการดําเนินงานตามที วางแผนไว้
12 ข้อ มู ล ฐานะการเงิ น และผลการดํา เนิ น งานในอดี ต ของกิ จ การมัก ใช้เ ป็ นเกณฑ์ใ นการ คาดคะเนฐานะการเงิน ผลการดําเนิ นงานในอนาคต รวมทัdงเรื องอื นๆที ผใู ้ ช้งบการเงินสนใจ เช่น การจ่ายเงินปันผล การจ่ายค่าจ้าง การเคลื อนไหวของราคาหลักทรัพย์ และความสามารถของกิจการ ในการชําระภาระผูกพันเมื อครบกําหนด อย่างไรก็ตาม ข้อมูลจะมีประโยชน์ต่อการคาดคะเนได้โดย ไม่จาํ เป็ นต้องจัดทําในรู ปของประมาณการ ความสามารถในการคาดคะเนจะเพิ มขึdนได้ดว้ ยลักษณะ การแสดงข้อมูลในงบการเงินของรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีที เกิดขึdนในอดีตตัวอย่างเช่น งบ กําไรขาดทุนจะมีประโยชน์ในการคาดคะเนเพิ มขึdนหากรายการเกี ยวกับการดําเนินงานที มีลกั ษณะ ไม่เป็ นปกติ รายการผิดปกติ และรายการที ไม่เกิ ดขึdนบ่อยของรายได้และค่าใช้จ่ายได้แสดงแยก ต่างหากออกจากกัน ความมีสาระสํ าคัญ (แม่บทการบัญชี, 2552: 11-12) ระบุไว้วา่ ความเกี ยวข้องกับการตัดสิ นใจของข้อมูลขึdนอยู่ ลัก ษณะและความมี ส าระสํา คัญของข้อมูลนัdนในบางกรณี ลัก ษณะของข้อมูล เพีย งอย่า งเดี ย วก็ เพียงพอต่อการพิจารณาว่าข้อมูลมีความเกี ยวข้องกับการตัดสิ นใจหรื อไม่ ตัวอย่างเช่น การรายงาน ในส่ วนงานใหม่อาจส่ งผลกระทบต่อการประเมินความเสี ยงและโอกาสของกิจการ แม้วา่ ผลการ ดํา เนิ น งานของส่ ว นงานในงวดนัdน จะไม่ มี ส าระสํ า คัญ ในบางกรณี ทัdง ลัก ษณะและความมี สาระสําคัญของข้อมูลมีส่วนสําคัญต่อการพิจารณาว่าข้อมูลมีความเกี ยวข้องกับการตัดสิ นใจหรื อไม่ ตัวอย่างเช่น มูลค่าของสิ นค้าคงเหลือที แยกตามประเภทหลักที เหมาะสมกับธุรกิจนัdน หากมูลค่าของ สิ นค้าคงเหลือไม่มีสาระสําคัญ ข้อมูลเกี ยวกับสิ นค้าคงเหลือนัdนก็ไม่เกี ยวข้องกับการตัดสิ นใจ ข้อ มู ล จะถื อ ว่า มี ส าระสํา คัญ หากการไม่ แ สดงข้อ มู ล หรื อ การแสดงข้อ มู ล ผิด พลาดมี ผลกระทบต่อการตัดสิ นใจเชิ งเศรษฐกิจของผูใ้ ช้งบการเงิน ความมีสาระสําคัญขึdนอยูก่ บั ขนาดของ รายการหรื อขนาดของความผิดพลาดที เกิดขึdนภายใต้สภาพการณ์เฉพาะ ซึ งต้องพิจารณาเป็ นแต่ละ กรณี ดังนัdน ความมีสาระสําคัญจึงถือเป็ นข้อพิจารณามากกว่าจะเป็ นคุณลักษณะเชิ งคุ ณภาพ ซึ ง ข้อมูลต้องมีหากข้อมูลนัdนจะถือว่ามีประโยชน์
13 ความเชื อถือได้ (แม่บทการบัญชี , 2552: 12) ระบุไว้วา่ ข้อมูลที เป็ นประโยชน์ตอ้ งเชื อถือได้ ข้อมูลจะมี คุณสมบัติของความเชื อถือได้หากปราศจากความผิดพลาดที มีสาระสําคัญและความลําเอียง ซึ งทํา ให้ผใู ้ ช้งบการเงินข้อมูลสามารถเชื อได้วา่ ข้อมูลนัdนเป็ นตัวแทนอันเที ยงธรรมของข้อมูลที ตอ้ งการ ให้แสดงหรื อสามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผลว่าแสดงได้ ข้อมูลอาจมีความเกี ยวข้องกับการตัดสิ นใจแต่การบันทึกข้อมูลดังกล่าวอาจทําให้ผใู ้ ช้งบ การเงินเข้าใจผิด เนื องจากข้อมูลขาดความน่าเชื อถือ ตัวอย่างเช่น ประมาณการค่าเสี ยหายจากการถูก ฟ้ องร้องที อยูร่ ะหว่างการพิจารณาคดีอาจขาดความน่าเชื อถือ เนื องจากจํานวนค่าเสี ยหายและผลการ พิจารณาคดียงั ไม่เป็ นที แน่นอน ดังนัdน อาจเป็ นการไม่เหมาะสมที กิจการจะรับรู ้ค่าเสี ยหายดังกล่าว ในงบดุ ล แต่ กิ จ การต้อ งเปิ ดเผยจํา นวนค่า เสี ย หายที มี ก ารเรี ย กร้ อ งและเหตุ ก ารณ์ เกี ย วกับ การ ฟ้ องร้องดังกล่าว การเป็ นตัวแทนอันเทีย งธรรม (แม่บทการบัญชี, 2552: 12) ระบุไว้วา่ ข้อมูลจะมีความเชื อถือได้เมื อรายการและเหตุการณ์ ทางบัญชี ได้ถู กแสดงไว้อย่า งเที ยงธรรมตามที ต้องการให้แสดงหรื อสามารถคาดการณ์ ได้อย่า ง สมเหตุ ส มผลว่า แสดงได้ ตัว อย่า งเช่ น งบดุ ล ต้อ งเป็ นตัว แทนอัน เที ย งธรรมของรายการและ เหตุการณ์ ทางบัญชี ซ ึ งก่ อให้เกิ ดสิ นทรัพ ย์ หนีd สิ นและส่ วนของเจ้าของของกิ จการเฉพาะส่ วนที เข้าเกณฑ์การรับรู ้รายการ ณ วันที เสนอรายงาน เป็ นต้น ข้อมูลทางการเงิ นส่ วนใหญ่อาจมี ค วามเสี ย งที จะอาจไม่เป็ นตัวแทนอันเที ย งธรรมของ รายการที ตอ้ งการให้แสดงอยูบ่ า้ ง โดยมิได้มีสาเหตุมาจากความลําเอียง แต่เกิดจากความซับซ้อนใน การระบุรายการและเหตุการณ์ ทางบัญชี หรื อเกิ ดจากการนําหลักการวัดมูลค่าและเทคนิ คในการ นําเสนอรายการมาประยุกต์ใช้ ในบางกรณี การวัดมูลค่าผลกระทบทางการเงิ นของรายการบาง รายการอาจมีความไม่แน่ นอนสู งจนกระทัง กิ จการไม่รับรู ้รายการนัdนในงบการเงิ น ตัวอย่างเช่ น กิจการมีค่าความนิ ยมที เกิดขึdนหลังจากได้ดาํ เนิ นงานมาระยะหนึ ง แต่กิจการไม่สามารถบันทึกค่า ความนิยมที เกิดขึdนภายในได้
14 เนือ2 หาสํ าคัญกว่ารูปแบบ (แม่บทการบัญชี, 2552: 12) ระบุไว้วา่ เพื อให้ขอ้ มูลเป็ นตัวแทนอันเที ยงธรรมของรายการ และเหตุ ก ารณ์ ท างบัญชี ข้อมูล ดัง กล่ า วต้องบัน ทึ ก และแสดงตามเนืd อหาและความเป็ นจริ ง เชิ ง เศรษฐกิจมิใช่ตามรู ปแบบทางกฎหมายเพียงอย่างเดียว เนืdอหาของรายการและเหตุการณ์ทางบัญชี อาจไม่ตรงกับรู ปแบบทางกฎหมายหรื อรู ปแบบที ทาํ ขึdน ความเป็ นกลาง (แม่บทการบัญชี, 2552: 13) ระบุไว้วา่ ข้อมูลที แสดงอยูใ่ นงบการเงินมีความน่าเชื อถือเมื อมี ความเป็ นกลางหรื อปราศจากความลําเอียงงบการเงินจะขาดความเป็ นกลางหากการเลือกข้อมูลหรื อ การแสดงข้อมูลในงบการเงินนัdนมีผลทําให้ผใู ้ ช้งบการเงินตัดสิ นใจหรื อใช้ดุลยพินิจเพื อให้ได้ผล ตามเจตนาของกิจการ ความระมัดระวัง (แม่บทการบัญชี, 2552: 13) ระบุไว้วา่ หลักความระมัดระวังนีdคือการใช้ดุลยพินิจที จาํ เป็ น ในการประมาณการภายใต้ความไม่แน่นอนเพื อมิให้สินทรัพย์หรื อรายได้แสดงจํานวนเงินสู งเกินไป และหนีdสินหรื อค่าใช้จา่ ยแสดงจํานวนเงินตํ าเกินไป ความครบถ้ วน (แม่บทการบัญชี , 2552: 13) ระบุไว้วา่ ข้อมูลในงบการเงินที เชื อถือได้ตอ้ งครบถ้วน โดย คํา นึ ง ถึ ง ความมี สาระสํา คัญของข้อมูล และต้นทุนในการจัดทํา รายการ การละเว้นไม่แสดงบาง รายการในงบการเงินจะทําให้ขอ้ มูลผิดพลาดหรื อทําให้ผใู ้ ช้งบการเงินเข้าใจผิด ข้อมูลดังกล่าวจะ ขาดความน่าเชื อถือและมีความเกี ยวข้องกับการตัดสิ นใจน้อยลง
15 การเปรียบเทียบกันได้ (แม่บทการบัญชี , 2552: 13-14) ระบุไว้วา่ ผูใ้ ช้งบการเงินต้องสามารถเปรี ยบเทียบงบ การเงินของกิจการในรอบระยะเวลาต่างกันเพื อคาดคะเนถึงแนวโน้มของฐานะการเงินและผลการ ดําเนินงานของกิจการนัdน นอกจากนีdผใู ้ ช้งบการเงินยังต้องสามารถเปรี ยบเทียบงบการเงินระหว่าง กิจการเพื อประเมินฐานะการเงิน ผลการดําเนินงานและการเปลี ยนแปลงฐานะการเงิน การเปรี ยบเทียบกันได้เป็ นลักษณะเชิงคุณภาพที สําคัญ กล่าวคือ ผูใ้ ช้งบการเงินจําเป็ นต้อง ได้รับข้อมูลเกี ยวกับนโยบายการบัญชีที ใช้ในการจัดทํางบการเงิน รวมทัdงการเปลี ยนแปลงนโยบาย การบัญชีและผลกระทบจากการเปลี ยนแปลง การที ข ้อ มู ล จํา เป็ นต้อ งเปรี ย บเที ย บกัน ได้มิ ไ ด้หมายความว่า ข้อ มูล ต้อ งอยู่ใ นรู ป แบบ เดียวกันตลอดไปและไม่ใช่ ขอ้ อ้างอันสมควรที จะไม่นาํ มาตรฐานการบัญชี ที เหมาะสมกว่ามาถื อ ปฏิบตั ิกิจการต้องไม่ใช้นโยบายการบัญชีตอ่ ไปสําหรับรายการและเหตุการณ์ทางบัญชี เนื องจากผูใ้ ช้ง บการเงิ นต้องการเปรี ย บเที ย บฐานะการเงิ น ผลการดํา เนิ นงานและการ เปลี ยนแปลงฐานะการเงินของกิจการสําหรับรอบระยะเวลาที ต่างกัน ดังนัdน งบการเงินต้องแสดง ข้อมูลของรอบระยะเวลาที ผา่ นมาด้วย
ข้ อจํากัดของข้ อมูลทีม ีความเกีย วข้ องกับการตัดสิ นใจและความเชื อถือได้ ความทันต่ อเวลา (แม่บทการบัญชี, 2552: 14) ระบุไว้วา่ การรายงานข้อมูลล่าช้าอาจทําให้ขอ้ มูลสู ญเสี ยความ เกี ยวข้องกับการตัดสิ นใจ อย่างไรก็ตามฝ่ ายบริ หารต้องพิจารณาเปรี ยบเทียบระหว่างประโยชน์ที จะ ได้รับจากการรายงานที ความทันต่อเวลากับความเชื อถือได้ของรายงานนัdน กิจการอาจจําเป็ นต้อง เสนอรายงานให้ทนั ต่อเวลาก่อนที จะทราบข้อมูลเกี ยวกับรายการและเหตุการณ์ ทางบัญชี ในทุก ลักษณะซึ งมีผลให้ความเชื อถือได้ของข้อมูลลดลง ในการหาความสมดุลระหว่างความเกี ยวข้องกับ
16 การตัดสิ นใจและความเชื อถื อได้ของข้อมูล กิ จการจึงต้องพิจารณาถึ งความต้องการของผูใ้ ช้ง บ การเงินในการตัดสิ นใจเชิงเศรษฐกิจเป็ นหลัก ความสมดุลระหว่างประโยชน์ กบั ต้ นทุน (แม่บทการบัญชี, 2552: 14-15) ระบุไว้วา่ ความสมดุลระหว่างประโยชน์กบั ต้นทุนถือเป็ น ข้อ จํา กัด ที ค รอบคลุ ม ทั ว ไปในงบการเงิ น มากกว่า จะถื อ เป็ นลัก ษณะเชิ ง คุ ณ ภาพ โดยทั ว ไป ประโยชน์ที ได้รับจากข้อมูลต้องมากกว่าต้นทุนในการจัดหาข้อมูลนัdน การประเมินประโยชน์และ ต้น ทุ น จํา เป็ นต้อ งใช้ดุ ล ยพิ นิ จ เป็ นหลัก โดยเฉพาะเมื อ ผูท้ ี ไ ด้รั บ ประโยชน์ จ ากข้อ มู ล ไม่ ต้อ ง รับผิดชอบต่อต้นทุนในการจัดหาข้อมูลนัdน ข้อมูลอาจให้ประโยชน์แก่บุคคลอื นนอกเหนื อจากผูท้ ี กิจการนําเสนอข้อมูลให้ ตัวอย่างเช่น การให้ขอ้ มูลเพิ มเติมแก่ผใู ้ ห้กอู้ าจทําให้ตน้ ทุนการกูย้ ืมของ กิจการลดลง ดังนัdน จึงเป็ นการยากที จะกําหนดสู ตรสําเร็ จในการหาความสมดุลระหว่างประโยชน์ กับต้นทุนเพือ ให้นาํ มาปฏิบตั ิในแต่ละกรณี อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการกําหนดมาตรฐานการบัญชี ตระหนักถึงข้อจํากัดนีd รวมทัdงผูจ้ ดั ทําและผูใ้ ช้งบการเงินต้องตระหนักถึงข้อจํากัดนีdดว้ ยเช่นกัน
คํานิยาม การรับรู้ และการวัดมูลค่ าขององค์ ประกอบของงบการเงิน คํานิยาม ฐานะการเงินองค์ประกอบที เกี ยวข้องโดยตรงกับการวัดฐานะการเงินคือ สิ นทรัพย์ หนีdสิน และส่ วนของเจ้าของ คํานิยามขององค์ประกอบต่างๆ กําหนดไว้ดงั นีd (แม่บทการบัญชี, 2552: 1516) ระบุไว้วา่ สิ นทรัพย์ หมายถึง ทรัพยากรที อยูใ่ นความควบคุมของกิจการ ทรัพยากรดังกล่าวเป็ นผล ของเหตุการณ์ในอดีตซึ งกิจการคาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากทรัพยากรนัdนในอนาคต หนีd สิน หมายถึ ง ภาระผูกพันในปั จจุบนั ของกิจการ ซึ งเป็ นผลของเหตุการณ์ในอดี ตโดย การชําระภาระผูกพันนัdนคาดว่าจะส่ งผลให้กิจการสู ญเสี ยทรัพยากรที มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ
17 ส่ วนของเจ้าของ หมายถึง ส่ วนได้เสี ยคงเหลือในสิ นทรัพย์ของกิจการหลังจากหักหนีd สิน ทัdงสิd นออกแล้ว สิ นทรัพย์ ประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจในอนาคตของสิ นทรัพย์ (แม่บทการบัญชี , 2552: 16) ระบุไว้วา่ หมายถึ ง ศักยภาพของสิ นทรัพ ย์ใ นการก่ อให้เกิ ดกระแสเงิ นสดและรายการเที ยบเท่า เงิ นสดแก่ กิจการทัdงทางตรงและทางอ้อม หนีส2 ิ น ลักษณะสําคัญของหนีdสิน (แม่บทการบัญชี, 2552: 18) ระบุไว้วา่ คือ ต้องเป็ นภาระผูกพัน ในปั จจุบนั ของกิจการ ภาระผูกพัน หมายถึงหน้าที หรื อความรับผิดชอบที ตอ้ งปฏิบตั ิดว้ ยวิธีใดวิธี หนึ ง กิจการต้องแยกภาระผูกพันในปั จจุบนั ออกจากภาระผูกพันในอนาคตอย่างชัดเจน การชําระ ภาระผูกพันในปัจจุบนั อาจเกิดได้หลายลักษณะ เช่น การจ่ายเงินสด การโอนสิ นทรัพย์อื นๆ การให้บริ การ การเปลี ยนภาระผูกพันเดิมเป็ นภาระผูกพันใหม่ การแปลงหนีdให้เป็ นทุน ส่ วนของเจ้ าของ (แม่บทการบัญชี, 2552: 19) ระบุไว้วา่ ส่ วนของเจ้าของถือเป็ นส่ วนได้เสี ยคงเหลือ บางครัdง กิ จการต้องกันเงิ นสํา รองตามข้อ บัง คับ หรื อตามกฎหมายซึ ง เป็ นมาตรการเพิ ม เติ ม เพื อป้ องกัน
18 ผลกระทบจากการขาดทุนที มีต่อกิ จการและเจ้าหนีd การตัdงสํารองอื นๆ อาจเกิ ดขึdนจากการได้รับ ยกเว้นภาษีหรื อการลดภาระหนีdสินทางภาษีหากมีการโอนกําไรสะสมไปเป็ นสํารองการกันสํารอง ทัdงที เป็ นไปตามข้อบังคับหรื อตามกฎหมายและจํานวนที กนั ไว้ลว้ นเป็ นข้อมูลที เกี ยวข้องกับการ ตัดสิ นใจของผูใ้ ช้งบการเงิ น การกันสํารองดังกล่าวถื อเป็ นการจัดสรรกําไรสะสมและไม่ถือเป็ น ค่าใช้จา่ ย ผลการดําเนินงาน (แม่บทการบัญชี, 2552: 19) ระบุไว้วา่ กําไรเป็ นเกณฑ์ทว ั ไปที ใช้วดั ผลการดําเนินงานหรื อ มัก ใช้เป็ นฐานการวัดผลอื นๆ เช่ นผลตอบแทนจากการลงทุ น หรื อกํา ไรต่อหุ ้น องค์ป ระกอบที เกี ยวข้องโดยตรงกับการวัดกําไร คือ รายได้และค่าใช้จ่าย การรับรู ้และการวัดมูลค่าของรายได้และ ค่าใช้จ่า ยส่ วนหนึ งขึdนอยู่กบั แนวคิดเรื องทุนและการรัก ษาระดับทุนที กิ จการใช้ในการจัดทํางบ การเงิน รายได้ (แม่บทการบัญชี, 2552: 20) ระบุไว้วา่ รายได้ ตามคํานิยามรวมถึงผลกําไรและรายได้ที เกิด จากการดํา เนิ นกิ จ กรรมตามปกติ ข องกิ จ การรายได้ดัง กล่ า ว รวมถึ ง รายได้จากการขาย รายได้ ค่าธรรมเนียม ดอกเบีdยรับ รายได้เงินปันผล รายได้คา่ สิ ทธิและรายได้คา่ เช่า เป็ นต้น ผลกํา ไร หมายถึ ง รายการที เ ป็ นไปตามคํา นิ ย ามของรายได้แ ละอาจเกิ ดจากกิ จ กรรม ตามปกติ ข องกิ จการหรื อไม่ก็ไ ด้ ผลกํา ไรแสดงถึ ง การเพิ มขึd นของประโยชน์เชิ ง เศรษฐกิ จ จึ ง มี ลักษณะไม่แตกต่างไปจากรายได้ ดังนัdน แม่บทการบัญชี นd ีไม่ถือว่าผลกําไรเป็ นองค์ประกอบแยก ต่างหาก ผลกําไรอาจเกิดจากการขายสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน คํานิยามของรายได้รวมถึงผลกําไรที ยงั ไม่เกิดขึdน เช่น ผลกําไรจากการตีราคาหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด
19 ค่ าใช้ จ่าย (แม่บทการบัญชี , 2552: 21) ระบุไว้วา่ ค่าใช้จ่าย ตามคํานิ ยามรวมถึ ง ผลขาดทุน และ ค่าใช้จ่ายที เกิดจากการดําเนิ นกิจกรรมตามปกติของ กิจการตัวอย่างของ ค่าใช้จ่ายดังกล่าว รวมถึง ต้นทุนขาย ค่าจ้างและค่าเสื อมราคา ค่าใช้จา่ ยมักอยูใ่ นรู ปกระแสออกหรื อการเสื อมค่าของสิ นทรัพย์ เช่น เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด สิ นค้าคงเหลือ ที ดิน อาคารและอุปกรณ์ ผลขาดทุน หมายถึง รายการที เป็ นไปตามคํานิ ยามของค่าใช้จ่ายและอาจเกิดจากกิจกรรม ตามปกติของกิ จการหรื อไม่ก็ได้ ผลขาดทุนแสดงถึ งการลดลงของประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จ จึง มี ลักษณะไม่แตกต่างไปจากค่าใช้จา่ ย
การรับรู้ รายการขององค์ ประกอบของงบการเงิน การรับรู ้รายการ (แม่บทการบัญชี, 2552: 21-22) ระบุไว้วา่ หมายถึง การรวมรายการเข้าเป็ น ส่ วนหนึ งของงบดุลหรื องบกําไรขาดทุนหากรายการนัdนเป็ นไปตามคํานิยามขององค์ประกอบและ เข้าเกณฑ์การรับรู ้รายการ การรับรู ้ คือ การแสดงรายการในงบดุลหรื องบกําไรขาดทุนด้วยข้อความ และจํานวนเงิ น พร้ อมกับรวมจํานวนเงินนัdนในยอดรวมของงบดุ ลหรื องบกําไรขาดทุนดังกล่าว กิจการต้องรับรู ้รายการที เข้าเกณฑ์การรับรู ้รายการไว้ในงบดุลและงบกําไรขาดทุน การที กิจการมิได้ รับรู ้รายการในงบดุลหรื องบกําไรขาดทุนทัdงที เข้าเกณฑ์การรับรู ้รายการถือเป็ นข้อผิดพลาดที ไม่อาจ แก้ไขได้ดว้ ยการเปิ ดเผยนโยบายการบัญชีที ใช้หรื อการเปิ ดเผยข้อมูลในหมาย เหตุประกอบงบการเงินหรือคําอธิบายเพิม เติม ความน่าจะเป็ นของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต (แม่บทการบัญชี, 2552: 22) ระบุไว้ ว่า เงื อนไขข้อแรกของเกณฑ์การรับรู ้รายการใช้แนวคิดของความน่าจะเป็ นเพื ออ้างอิงถึงระดับความ แน่นอนที กิจการจะได้รับหรื อสู ญเสี ยประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตของรายการ แนวคิดนีdเหมาะ ที จะใช้ประเมินความไม่แน่นอนของสภาพแวดล้อมที กิจการดําเนินงานอยู่ การประเมินระดับความ ไม่แน่นอนของประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจในอนาคตทําได้โดยอาศัยหลักฐานที มีอยูใ่ นขณะจัดทํางบ การเงิน
20
การรับรู้ การรับรู้รายการของสิ นทรัพย์ (แม่บทการบัญชี, 2552: 23) ระบุไว้วา่ กิจการต้องรับรู ้สินทรัพย์ในงบดุลเมื อมีความเป็ นไป ได้ค่อนข้างแน่ที กิจการจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตและสิ นทรัพย์นd นั มีราคาทุนหรื อ มูลค่าที สามารถวัดได้อย่างน่าเชื อถือ การรับรู้รายการของหนีส2 ิ น (แม่บทการบัญชี, 2552: 23) ระบุไว้วา่ กิจการต้องรับรู ้หนีdสินในงบดุลเมื อมีความเป็ นไปได้ ค่อนข้างแน่ ที กิ จการต้องสู ญเสี ย ประโยชน์เชิ งเศรษฐกิ จของทรั พยากรเพื อชําระภาระผูก พันใน ปั จจุบนั และเมื อมูลค่าของภาระผูกพันที ตอ้ งชําระนัdนสามารถวัดได้อย่างน่าเชื อถือ กิจการไม่ตอ้ ง รับรู ้ภาระผูกพันภายใต้สัญญาเป็ นหนีd สินในงบดุ ลหากคู่สัญญายังมิได้ปฏิบตั ิตามภาระผูกพันใน สัญญา การรับรู้รายการของรายได้ (แม่บทการบัญชี , 2552: 23) ระบุไว้ว่า กิ จการต้องรับรู ้ รายได้ในงบกําไรขาดทุนเมื อ ประโยชน์เชิ ง เศรษฐกิ จในอนาคตเพิ มขึd นเนื องจากการเพิ มขึdนของสิ นทรัพย์หรื อการลดลงของ หนีdสิน และเมื อกิจการสามารถวัดค่าของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตได้อย่างน่าเชื อถือ อีกนัย หนึ ง การรับรู ้รายได้จะเกิดขึdนพร้อมกับการรับรู ้การเพิม ขึdนของสิ นทรัพย์หรื อการลดลงของหนีdสิน การรับรู้รายการของค่ าใช้ จ่าย (แม่บทการบัญชี , 2552: 24) ระบุไว้วา่ กิ จการต้องรับรู ้ค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนเมื อ ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตลดลงเนื องจากการลดลงของสิ นทรัพย์หรื อการเพิ มขึdนของหนีdสิน และเมื อกิจการสามารถวัดค่าของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตได้อย่างน่าเชื อถือ อีกนัยหนึ งการ รั บ รู ้ ค่ า ใช้จ่ า ยจะเกิ ดขึd นพร้ อมกับ การรั บ รู ้ ก ารเพิ ม ขึd นของหนีd สิ น หรื อ การลดลงของสิ น ทรั พ ย์ ตัวอย่างเช่น การตัdงค่าแรงค้างจ่ายหรื อการตัดค่าเสื อมราคาของอุปกรณ์
21
กิจการต้องรับรู ้ค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุนทันทีที รายจ่ายนัdนไม่ก่อให้เกิดประโยชน์เชิ ง เศรษฐกิจในอนาคตหรื อเมื อประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจในอนาคตของสิ นทรัพย์นd นั ไม่เข้าเกณฑ์การ รับรู ้หรื อสิd นสุ ดเกณฑ์การรับรู ้เป็ นสิ นทรัพย์ในงบดุล
การวัดมูลค่ าองค์ ประกอบของงบการเงิน การวัดมูลค่ า (แม่บทการบัญชี, 2552: 24-25) ระบุไว้วา่ คือ กระบวนการกําหนดจํานวนที เป็ นตัวเงินเพื อ รับรู ้ องค์ประกอบของงบการเงิ นในงบดุ ลและงบกําไรขาดทุน การวัดมูลค่าจะเกี ยวข้องกับการ เลือกใช้เกณฑ์การวัดมูลค่างบการเงินใช้เกณฑ์ในการวัดมูลค่าต่างๆ โดยใช้ประกอบกันในสัดส่ วน ที แตกต่างกัน ได้แก่ ราคาทุนเดิม หมายถึง การบันทึกสิ นทรัพย์ดว้ ยจํานวนเงินสดหรื อรายการเทียบเท่าเงินสดที จ่ายหรื อด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ งที นาํ ไปแลกสิ นทรัพย์ ณ เวลาที ได้มาซึ งสิ นทรัพย์นd นั และการ บันทึกหนีd สินด้วยจํานวนเงิ นที ได้รับจากการก่อภาระผูกพันหรื อด้วยจํานวนเงิ นสดหรื อรายการ เทียบเท่าเงินสดที คาดว่าจะต้องจ่ายเพื อชําระหนีd สินที เกิดจากการดําเนิ นงานตามปกติของกิ จการ เช่น ภาษีเงินได้ ราคาทุนปั จจุบนั หมายถึง การแสดงสิ นทรัพย์ดว้ ยจํานวนเงินสดหรื อรายการเทียบเท่าเงิน สดที ตอ้ งจ่ายในขณะนัdนเพื อให้ได้มาซึ งสิ นทรัพย์ชนิดเดียวกันหรื อสิ นทรัพย์ที เท่าเทียมกัน และการ แสดงหนีd สินด้วยจํานวนเงินสดหรื อรายการเทียบเท่าเงินสดที ตอ้ งใช้ชาํ ระภาระผูกพันในขณะนัdน โดยไม่ตอ้ งคิดลด มูลค่าที จะได้รับ (จ่าย) หมายถึง การแสดงสิ นทรัพย์ดว้ ยจํานวนเงินสดหรื อรายการเทียบเท่า เงินสดที จะได้มาในขณะนัdนหากกิจการขายสิ นทรัพย์โดยเป็ นไปตามขัdนตอนปกติในการจําหน่าย สิ นทรั พ ย์ และการแสดงหนีd สิ นด้วยมูล ค่า ที จะต้องจ่า ยคื นหรื อด้วยจํา นวนเงิ นสดหรื อรายการ เทียบเท่าเงินสดที คาดว่าจะต้องจ่ายเพื อชําระหนีdสินที เกิดจากการดําเนินงานตามปกติโดยไม่ตอ้ งคิด ลด
22
มูลค่าปัจจุบนั หมายถึง การแสดงสิ นทรัพย์ดว้ ยมูลค่าปั จจุบนั ของกระแสเงินสดรับสุ ทธิ ใน อนาคตซึ งคาดว่าจะได้รับจากสิ นทรัพย์นd นั ในการดําเนิ นงานตามปกติของกิ จการและการแสดง หนีd สิ น ด้วยมู ล ค่ า ปั จ จุ บ นั ของกระแสเงิ นสดจ่า ยสุ ท ธิ ซ ึ ง คาดว่า จะต้อ งจ่า ยชํา ระหนีd สิ น ในการ ดําเนินงานตามปกติของกิจการ ความเชื อถือได้ของการวัดมูลค่า(แม่บทการบัญชี, 2552: 22-23) ระบุไว้วา่ เงื อนไขข้อที สอง ของเกณฑ์การรับรู ้รายการคือ รายการนัdนต้องมีราคาทุนหรื อมูลค่าที สามารถวัดได้อย่างน่าเชื อถือ ตามที ก ล่ า วไว้ ในบางกรณี ราคาทุ น หรื อมู ล ค่ า นัdน ได้ม าจากการประมาณ การประมาณที สมเหตุสมผลเป็ นส่ วนสําคัญในการจัดทํางบการเงินและไม่ทาํ ให้งบการเงินขาดความน่าเชื อถื อ อย่า งไรก็ตาม กิ จการต้องไม่รับ รู ้ ร ายการในงบดุ ล หรื องบกํา ไรขาดทุ น หากกิ จ การไม่ ส ามารถ ประมาณมูลค่าของรายการนัdนได้อย่างสมเหตุสมผล ตัวอย่างเช่น ค่าเสี ยหายที คาดว่าจะได้รับจาก การฟ้ องร้องอาจเป็ นไปตามคํานิ ยามของสิ นทรัพย์และรายได้ พร้อมทัdงเข้าเงื อนไขของเกณฑ์การ รับรู ้รายการในเรื องความน่าจะเป็ น แต่ถา้ หากเป็ นไปไม่ได้ที กิจการจะประมาณค่าเสี ยหายจากการ ฟ้ องร้องได้อย่างน่าเชื อถือ กิจการต้องไม่รับรู ้รายการนัdนเป็ นสิ นทรัพย์หรื อรายได้ แต่ตอ้ งเปิ ดเผย กรณี ฟ้องร้องที เกิดขึdนในหมายเหตุประกอบงบการเงินหรื อคําอธิบายเพิม เติม
แนวคิดเรื องทุนและการรักษาระดับทุน แนวคิดเรื องทุน (แม่บทการบัญชี, 2552: 25-26) กิจการส่ วนใหญ่นาํ แนวคิดเรื องทุนทางการเงินมาใช้ในการ จัดทํางบการเงิน ซึ งตามแนวคิดเรื องทุนทางการเงิน (เช่น เงินที ลงทุน หรื ออํานาจซืd อที ลงทุน) ทุนมี ความหมายเดี ย วกับ สิ นทรั พ ย์สุ ท ธิ หรื อส่ วนของเจ้า ของ อี ก แนวคิ ดหนึ ง ซึ ง ใช้ใ นการจัดทํา งบ การเงิ นคือทุนทางกายภาพ เช่ น ระดับความสามารถในการดําเนิ นงาน ตามแนวคิดเรื องทุนทาง กายภาพ ทุนหมายถึง กําลังการผลิตที กิจการมี และสามารถผลิตได้จริ ง เช่น ผลผลิตต่อวัน กิจการต้องนําแนวคิดเรื องทุนที เหมาะสมมาใช้ในการจัดทํางบการเงิน โดยคํานึงถึงความ ต้องการของผูใ้ ช้งบการเงินเป็ นหลัก ดังนัdน หากผูใ้ ช้งบการเงินให้ความสนใจในการรักษาระดับ ของทุนที ลงไปในรู ปของตัวเงินหรื อในรู ปของอํานาจซืd อ กิจการต้องนําแนวคิดเรื องทุนทางการเงิน มาใช้แต่ถา้ ผูใ้ ช้งบการเงินให้ความสนใจกับระดับความสามารถในการดําเนิ นงาน กิ จการต้องนํา
23 แนวคิดเรื องทุนทางกายภาพมาใช้ การเลื อกใช้แนวคิดใดในการจัดทํางบการเงิ นชีd ให้เห็ นความ ต้องการที จะบรรลุเป้ าหมายที ใช้ในการวัดกําไรของกิจการ แม้วา่ ในทางปฏิบตั ิการนําแนวคิดนัdนมา ใช้อาจมีความยากในการวัดมูลค่าก็ตาม
มาตรฐานการบัญชี ฉบับที 27 2552 งบการเงินรวมและงบการเงิน การนําเสนองบการเงินรวม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที 27 (2552: 6) บริ ษทั ใหญ่ตอ้ งนําเสนองบการเงินรวมซึ งรวมเงิน ลงทุนในบริ ษทั ย่อยทัdงหมดตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับนีd เว้นแต่บริ ษทั ใหญ่จะมีลกั ษณะตาม ข้อกําหนดที ระบุไว้ในย่อหน้าที 10 บริ ษทั ใหญ่ไม่จาํ เป็ นต้องนําเสนองบการเงินรวม หากเป็ นไปตามลักษณะที กาํ หนดทุกข้อ ดังนีd บริ ษทั ใหญ่มีฐานะเป็ นบริ ษทั ย่อยซึ งถูกกิจการอื นควบคุมอยูท่ d งั หมด หรื อบางส่ วนโดยที ผู ้ ถือหุน้ อื นของกิจการ รวมทัdงผูถ้ ือหุน้ ที ไม่มีสิทธิออกเสี ยงได้รับทราบและไม่คดั ค้านในการที บริ ษทั ใหญ่จะไม่นาํ เสนองบการเงินรวม ตราสารทุนหรื อตราสารหนีd ของบริ ษทั ใหญ่ไม่มีการซืd อขายในตลาดสาธารณะ (ไม่วา่ จะ เป็ นตลาดหลักทรัพย์ในประเทศหรื อต่างประเทศหรื อการซืdอขายนอกตลาดหลักทรัพย์ รวมทัdงตลาด ในท้องถิ นและในภูมิภาค) บริ ษทั ใหญ่ไม่ได้นาํ ส่ งหรื ออยู่ในกระบวนการของการนําส่ งงบการเงิ นของบริ ษทั ให้แก่ สํานักงานคณะกรรมการกํา กับหลักทรัพย์หรื อหน่วยงานกํา กับดูแลอื นเพื อวัตถุประสงค์ในการ ออกขายหลักทรัพย์ใดๆในตลาดสาธารณะ
24 บริ ษทั ใหญ่ในลําดับสู งสุ ดหรื อบริ ษทั ใหญ่ในระหว่างกลางได้จดั ทํางบการเงินรวมเผยแพร่ เพื อประโยชน์ของสาธารณชนซึ งเป็ นไปตามมาตรฐานการบัญชีที รับรองทัว ไปแล้วบริ ษทั ใหญ่ที มี ลักษณะตามที ระบุไว้ในย่อหน้าที 10 และเลือกที จะไม่นาํ เสนองบการเงินรวม โดยนําเสนอเฉพาะงบการเงินเฉพาะกิจการ ต้องปฏิบตั ิตามที กาํ หนดในย่อหน้าที 38 ถึง 43
ขอบเขตของงบการเงินรวม มาตรฐานการบัญชี ฉบับที 27 (2552: 7-8) กล่าวไว้วา่ ในการนําเสนองบการเงินรวม บริ ษทั ใหญ่ตอ้ งรวมงบการเงินของบริ ษทั ย่อยทัdงหมดไว้ในงบการเงินรวม บริ ษทั ใหญ่ถือว่ามีอาํ นาจในการควบคุมเมื อบริ ษทั ใหญ่มีอาํ นาจในการออกเสี ยงไม่วา่ จะ เป็ นทางตรงหรื อทางอ้อมโดยผ่านบริ ษทั ย่อยอื นเกินกว่ากึ งหนึ งในกิจการอื น ยกเว้นในกรณี ที บริ ษทั ใหญ่มี หลัก ฐานที แสดงให้เ ห็ นอย่า งชัด เจนว่า อํา นาจในการออกเสี ย งนัdน ไม่ ท าํ ให้บ ริ ษ ัท ใหญ่ สามารถควบคุมกิจการดังกล่าวได้ กรณี ตามข้อใดข้อหนึ งต่อไปนีdถือว่าบริ ษทั ใหญ่มีอาํ นาจควบคุม กิจการอื นแม้วา่ จะมีอาํ นาจในการออกเสี ยงกึ งหนึ งหรื อน้อยกว่า 2 บริ ษทั ใหญ่มีอาํ นาจในการออกเสี ยงมากกว่ากึ งหนึ งเนื องจากข้อตกลงที มีกบั ผูถ้ ือหุ ้นราย อื น บริ ษทั ใหญ่มีอาํ นาจตามกฎหมายหรื อตามข้อตกลงในการกําหนดนโยบายทางการเงินและ การดําเนินงานของกิจการอื น บริ ษทั ใหญ่มีอาํ นาจในการแต่งตัdงหรื อถอดถอนบุคคลส่ วนใหญ่ในคณะกรรมการบริ ษทั หรื อคณะผูบ้ ริ หารอื นที มีอาํ นาจเทียบเท่าคณะกรรมการบริ ษทั โดยที คณะกรรมการบริ ษทั หรื อคณะ ผูบ้ ริ หารอื นนัdนมีอาํ นาจในการควบคุมกิจการ บริ ษ ัท ใหญ่ มี อ ํา นาจในการกํา หนดทิ ศ ทางในการออกเสี ย งส่ ว นใหญ่ ใ นการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษัท หรื อ คณะผู ้บ ริ หารอื น ที มี อ ํา นาจเที ย บเท่ า คณะกรรมการบริ ษ ัท โดยที คณะกรรมการบริ ษทั และคณะผูบ้ ริ หารอื นนัdนมีอาํ นาจในการควบคุมกิจการ
25 กิจการอาจเป็ นเจ้าของใบสําคัญแสดงสิ ทธิ ที จะซืd อหุ ้น (share warrants) สิ ทธิ การซืd อหุ ้น (share call options) ตราสารหนีd หรื อตราสารทุน (debt or equity instruments) ซึ งมีความเป็ นไปได้ ในการแปลงสภาพเป็ นหุน้ สามัญ หรื อตราสารอื นที มีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน หากกิจการเลือกใช้สิทธิ หรื อแปลงสภาพตราสารดังกล่าวแล้ว กิจการจะมีอาํ นาจในการออกเสี ยงต่อนโยบายทางการเงินและ การดําเนิ นงานของกิจการอื นมากขึdน หรื อในทํานองเดียวกันเป็ นการลดอํานาจในการออกเสี ยง ดังกล่าวของบุคคลอื น (สิ ทธิ ในการออกเสี ยงที เป็ นไปได้) ในการประเมินว่ากิจการมีอาํ นาจในการ กําหนดนโยบายทางการเงินและการดําเนินงานของกิจการอื นหรื อไม่ กิจการต้องพิจารณาถึงการมี อยูแ่ ละผลกระทบจากสิ ทธิ ในการออกเสี ยงที เป็ นไปได้ที กิจการสามารถใช้สิทธิ หรื อแปลงสภาพ ตราสารนัdนในปัจจุบนั รวมถึงสิ ทธิในการออกเสี ยงที เป็ นไปได้ซ ึงกิจการอื นถืออยูด่ ว้ ย ตัวอย่างสิ ทธิ ในการออกเสี ยงที เป็ นไปได้ที ไม่สามารถใช้สิทธิ หรื อแปลงสภาพตราสารได้ในปั จจุบนั ได้แก่ใน กรณี ที ตราสารนัdนยังไม่สามารถใช้สิทธิ หรื อแปลงสภาพได้จนกว่าจะถึงวันที ที กาํ หนดในอนาคต หรื อจนกว่าจะเกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ งตามที กาํ หนดไว้ในอนาคต ในการประเมินว่าสิ ทธิในการออกเสี ยงที เป็ นไปได้นาํ ไปสู่ อาํ นาจในการควบคุมของกิจการ หรื อไม่นd นั กิจการต้องพิจารณาข้อเท็จจริ งและกรณี แวดล้อมที มีอยูท่ d งั หมด (รวมถึงเงื อนไขของการ ใช้สิทธิ ในการออกเสี ยงที เป็ นไปได้และข้อกําหนดอื นตามสัญญาไม่วา่ เป็ นการพิจารณารายสัญญา หรื อทุกสัญญารวมกัน) ซึ งมีผลกระทบต่อสิ ทธิ ในการออกเสี ยงที เป็ นไปได้ ทัdงนีdยกเว้นข้อพิจารณา ในเรื องความตัdงใจของผูบ้ ริ หารและความสามารถทางการเงินของกิ จการในการใช้สิทธิ หรื อการ แปลงสภาพตราสาร กิจการต้องไม่อาศัยข้ออ้างว่า เป็ นกิจการร่ วมลงทุน (a venture capital organization) กองทุนรวม(mutual fund) หน่วยลงทุน (unit trust) หรื อกิจการอื นที มีลกั ษณะคล้ายคลึงกันในการ ไม่นาํ งบการเงินของบริ ษทั ย่อยมาจัดทํางบการเงินรวม กิจการต้องไม่อาศัยข้ออ้างว่า การดําเนินธุ รกิจของบริ ษทั ย่อยไม่คล้ายคลึงกับการดําเนิ น ธุรกิจของกิจการอื นที อยูใ่ นกลุ่มกิจการ ทําให้ไม่ตอ้ งนํางบการเงินของบริ ษทั ย่อยมาจัดทํางบการเงิน รวมเนื องจากข้อมูลที แสดงในงบการเงิ นรวมที รวมบริ ษทั ย่อยและข้อมูลเพิ มเติมที เปิ ดเผยในงบ การเงินรวมเกี ยวกับความแตกต่างในการดําเนินธุ รกิจเป็ นข้อมูลที มีความเกี ยวข้องกับการตัดสิ นใจ ต่อการใช้ประโยชน์ของผูใ้ ช้งบการเงิน ตัวอย่างเช่น การเปิ ดเผยตามที กาํ หนดโดยมาตรฐานการ
26 รายงานทางการเงิน ฉบับที 8 เรื อง ส่ วนงานดําเนิ นงาน (เมื อมีการประกาศใช้) ทําให้เห็นถึงข้อ แตกต่างที สาํ คัญของการดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจภายในกลุ่มกิจการ
ขั2นตอนในการจัดทํางบการเงินรวม ในการจัดทํางบการเงินรวมตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที 27 (2552: 8-10) กิจการต้องนํา งบการเงินของบริ ษทั ใหญ่และงบการเงินของบริ ษทั ย่อยทัdงหมดมารวมกันเป็ นรายบรรทัดโดยการ นํารายการที เหมือนกันมารวมกัน เช่น สิ นทรัพย์ หนีdสินส่ วนของเจ้าของ รายได้ และค่าใช้จ่าย เพื อให้งบการเงินรวมแสดงให้เห็นถึงข้อมูลทางการเงินของกลุ่มกิจการเสมือนว่าเป็ นหน่วยงานทาง เศรษฐกิจหน่วยงานเดียวนัdน กิจการต้องปฏิบตั ิตามขัdนตอนทุกข้อดังต่อไปนีd ตัดมูลค่าตามบัญชี ของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อยแต่ละแห่ งที บริ ษทั ใหญ่ถืออยูพ่ ร้อมกับตัด ส่ วนได้เสี ยในส่ วนของเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ที มีอยูใ่ นบริ ษทั ย่อยนัdนๆ (ดูมาตรฐานการรายงาน ทางการเงิน ฉบับที 3 (ปรับปรุ ง 2552) เรื อง การรวมธุ รกิจ (เมื อมีการประกาศใช้) สําหรับแนว ปฏิบตั ิเกี ยวกับค่าความนิยมที อาจเป็ นผลตามมา) ระบุกาํ ไรหรื อขาดทุนในงบการเงินรวมที เป็ นของส่ วนได้เสี ยที ไม่มีอาํ นาจควบคุมในรอบ ระยะเวลารายงานนัdน ระบุสินทรัพย์สุทธิ ของบริ ษทั ย่อยในงบการเงินรวมที เป็ นส่ วนได้เสี ยที ไม่มีอาํ นาจควบคุม เป็ นรายการแยกต่างหากจากส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นบริ ษทั ใหญ่ในงบการเงินรวมโดยส่ วนได้เสี ยที ไม่มี อํานาจควบคุมในสิ นทรัพย์สุทธิประกอบด้วยรายการต่อไปนีd จํานวนที เป็ นของส่ วนได้เสี ยที ไม่มีอาํ นาจควบคุม ณ วันที มีการรวมธุ รกิจซึ งคํานวณตาม ข้อกําหนดที ระบุไว้ในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที 3 (ปรับปรุ ง 2552) เรื อง การรวม ธุรกิจ (เมื อมีการประกาศใช้) และ ส่ วนแบ่งของส่ วนได้เสี ยที ไม่มีอาํ นาจควบคุม ในการเปลี ยนแปลงของส่ วนของเจ้าของ นับตัdงแต่วนั ที มีการรวมธุรกิจ
27 ในกรณี ที กิจการมีสิทธิ ในการออกเสี ยงที เป็ นไปได้ กิจการต้องปั นส่ วนรายการกําไรหรื อ ขาดทุนและการเปลี ย นแปลงในส่ วนของเจ้าของไปยังบริ ษทั ใหญ่และส่ วนได้เสี ยที ไม่มี อาํ นาจ ควบคุ ม ตามเกณฑ์ข องส่ วนได้เสี ย ในความเป็ นเจ้า ของที มีอยู่ใ นปั จจุ บนั โดยไม่ต้องสะท้อน ผลกระทบจากความเป็ นไปได้ในการใช้สิทธิหรื อแปลงสภาพสิ ทธิในการออกเสี ยงที เป็ นไปได้ กิจการต้องตัดยอดคงเหลือ รายการบัญชี รวมถึงรายได้และค่าใช้จา่ ยระหว่างกันของกิจการ ที อยูใ่ นกลุ่มทัdงจํานวน ยอดคงเหลือและรายการบัญชีระหว่างกิจการในกลุ่ม รวมทัdงรายได้ ค่าใช้จา่ ยและเงินปั นผล ต้องมีการตัดรายการระหว่างกันเต็มจํานวน นอกจากนีd กําไรและขาดทุนซึ งเป็ นผลมาจากรายการ ระหว่างกิ จการในกลุ่มที รับรู ้ในสิ นทรัพย์ เช่ น สิ นค้าคงเหลือและสิ นทรัพย์ถาวรต้องมีการตัด รายการระหว่างกันเต็มจํานวนเช่นกัน ผลขาดทุนระหว่างกิจการในกลุ่มอาจชีdให้เห็นถึงการด้อยค่า ซึ งต้องรับรู ้ในงบการเงินรวม กิจการต้องนํา มาตรฐานการบัญชี ฉบับที 12 เรื อง ภาษีเงินได้ มาใช้ กับผลแตกต่างชัว คราว ซึ งเป็ นผลมาจากการตัดรายการกําไรและขาดทุนจากรายการระหว่างกิจการ ในกลุ่ม งบการเงินของบริ ษทั ใหญ่และบริ ษทั ย่อยที นาํ มาจัดทํา งบการเงินรวมนัdนต้องมีวนั ที ในงบ การเงินวันเดียวกัน หากวันสิd นรอบระยะเวลารายงานของบริ ษทั ใหญ่และบริ ษทั ย่อยแตกต่างกัน บริ ษทั ย่อยจะต้องจัดทํางบการเงิ นเพิ มเติมเพื อให้งบการเงินนัdนมีวนั ที เดี ยวกันกับงบการเงินของ บริ ษทั ใหญ่เพื อประโยชน์ในการจัดทํางบการเงินรวม เว้นแต่จะไม่สามารถกระทําได้ในทางปฏิบตั ิ เพื อให้เป็ นไปตามข้อกําหนดในย่อหน้าที 22 หากงบการเงินของบริ ษทั ย่อยที นาํ มาจัดทํางบ การเงินรวมมีวนั ที ในงบการเงินแตกต่างจากวันที ในงบการเงินของบริ ษทั ใหญ่ กิจการต้องปรับปรุ ง ผลกระทบของรายการบัญชี หรื อเหตุ การณ์ ที มี นัย สํา คัญที เกิ ดขึd นระหว่า งวันสิd นรอบระยะเวลา รายงานของบริ ษทั ย่อยกับของบริ ษทั ใหญ่ อย่างไรก็ตาม งบการเงินของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ใหญ่ที นํามาจัดทํางบการเงินรวมอาจมีวนั สิd นรอบระยะเวลารายงานแตกต่างกันได้ไม่เกินกว่า 3 เดือน ทัdงนีd ช่ วงระยะเวลาของงวดการรายงานและความแตกต่างของวันสิd นรอบระยะเวลารายงานจะต้อง เหมือนกันในทุก ๆ งวดบัญชี
28 งบการเงินรวมต้องจัดทําโดยใช้นโยบายการบัญชีเดียวกันสําหรับรายการบัญชีที เหมือนกัน และเหตุการณ์อื นในสถานการณ์ที คล้ายคลึงกัน หากกิจการใดกิ จการหนึ งในกลุ่มกิจการใช้นโยบายการบัญชี ที แตกต่างจากนโยบายการ บัญ ชี ที ใ ช้ใ นการจัด ทํา งบการเงิ น รวมสํ า หรั บ รายการบัญ ชี ที เ หมื อ นกัน และเหตุ ก ารณ์ อื น ใน สถานการณ์ที คล้ายคลึงกัน กิจการที อยูใ่ นกลุ่มนัdนต้องปรับปรุ งงบการเงินของตนโดยใช้นโยบาย การบัญชีเดียวกับบริ ษทั ใหญ่เพื อการจัดทํางบการเงินรวม บริ ษทั ใหญ่ตอ้ งรวมรายได้และค่าใช้จ่ายของบริ ษทั ย่อยในงบการเงิ นรวมนับตัdงแต่วนั ที บริ ษทั ใหญ่ได้มาซึ งบริ ษทั ย่อยตามคํานิยามในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที 3 (ปรับปรุ ง 2552) เรื อง การรวมธุรกิจ (เมื อมีการประกาศใช้) รายได้และค่าใช้จ่ายของบริ ษทั ย่อยนัdนต้องมาจาก มูล ค่า ของสิ นทรั พ ย์และหนีd สิ นที บ ริ ษ ทั ใหญ่รั บ รู ้ ใ นงบการเงิ นรวม ณ วันที ซdื อบริ ษ ทั ย่อ ย ตัวอย่างเช่น ค่าเสื อมราคาที รับรู ้ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จรวมภายหลังจากวันที ได้บริ ษทั ย่อยมา นัdนต้องคํานวณขึdนจากมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที เกี ยวข้องที ตอ้ งมีการตัดค่าเสื อมราคาซึ งถูก รับรู ้ในงบการเงินรวม ณ วันที ซdื อ เป็ นต้น รายได้และค่าใช้จ่ายของบริ ษทั ย่อยจะถูกรวมในงบ การเงินรวมจนถึงวันที บริ ษทั ใหญ่สิdนสุ ดการควบคุมบริ ษทั ย่อยนัdน กิจการต้องแสดงส่ วนได้เสี ยที ไม่มีอาํ นาจควบคุมในงบแสดงฐานะการเงินรวมภายใต้ส่วน ของเจ้าของ โดยแสดงเป็ นรายการแยกต่างหากจากส่ วนที เป็ นเจ้าของของบริ ษทั ใหญ่ กิจการต้องปั นส่ วนกําไรหรื อขาดทุน และแต่ละส่ วนประกอบในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จอื น ไปยังส่ วนที เป็ นของผูถ้ ือหุน้ บริ ษทั ใหญ่และส่ วนได้เสี ยที ไม่มีอาํ นาจควบคุม กําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ รวมต้องถูกปั นส่ วนไปยังส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นบริ ษทั ใหญ่และส่ วนได้เสี ยที ไม่มีอาํ นาจควบคุมแม้ว่า การปันส่ วนจะทําให้ส่วนได้เสี ยที ไม่มีอาํ นาจควบคุมมียอดคงเหลือติดลบก็ตาม หากบริ ษทั ย่อยมีหุน้ บุริมสิ ทธิชนิดสะสมที เป็ นของส่ วนได้เสี ยที ไม่มีอาํ นาจควบคุมและจัด ประเภทรายการหุ ้นบุริมสิ ทธิ เป็ นส่ วนของเจ้าของ บริ ษทั ใหญ่ตอ้ งคํานวณส่ วนแบ่งในกําไรหรื อ ขาดทุนของบริ ษ ทั ย่อยหลังจากหักเงิ นปั นผลของหุ ้นดังกล่าวแล้ว ทัdงนีd ไม่ว่าจะมีการประกาศ จ่ายเงินปันผลนัdนหรื อไม่
29 การเปลี ยนแปลงส่ วนได้เสี ยของผูถ้ ือหุ ้นบริ ษทั ใหญ่ในบริ ษทั ย่อยโดยที ไม่ได้ทาํ ให้บริ ษทั ใหญ่สูญเสี ยอํานาจในการควบคุม บริ ษทั ใหญ่ตอ้ งบันทึกรายการดังกล่าวเป็ นรายการในส่ วนของ เจ้าของ (คือ รายการกับเจ้าของในฐานะผูเ้ ป็ นเจ้าของ) ในกรณี ดงั กล่าว กิจการต้องปรับปรุ งมูลค่าตามบัญชีของส่ วนได้เสี ยที มีอาํ นาจควบคุมและ ส่ วนได้เสี ยที ไม่มีอาํ นาจควบคุมให้สะท้อนการเปลี ยนแปลงในส่ วนได้เสี ยในบริ ษทั ย่อย กิจการต้อง รับรู ้ผลแตกต่างที เกิดขึdนระหว่างมูลค่าตามบัญชีของส่ วนได้เสี ยที ไม่มีอาํ นาจควบคุมที ถูกปรับปรุ ง และมูลค่ายุติธรรมของสิ งตอบแทนที จา่ ยหรื อได้รับโดยตรงในส่ วนของเจ้าของโดยถือเป็ นส่ วนของ เจ้าของของบริ ษทั ใหญ่
การเปิ ดเผยข้ อมูล มาตรฐานการบัญชี ฉบับที 27 (2552: 14-15) กิจการต้องเปิ ดเผยข้อมูลทุกข้อต่อไปนีdในงบ การเงินรวม ลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างบริ ษทั ใหญ่และบริ ษทั ย่อยในกรณี ที บริ ษทั ใหญ่ไม่มี อํานาจในการออกเสี ยงในบริ ษทั ย่อยนัdนเกินกว่ากึ งหนึ งไม่วา่ จะเป็ นทางตรงหรื อทางอ้อมโดยผ่าน กิจการหรื อบริ ษทั ย่อยอื น เหตุผลที กิจการไม่มีอาํ นาจในการควบคุมกิจการอื นทัdงที กิจการมีอาํ นาจในการออกเสี ยง หรื ออํานาจในการออกเสี ยงที อาจเกิดขึdนในกิจการนัdนไม่วา่ จะเป็ นทางตรงหรื อทางอ้อมโดยผ่าน กิจการหรื อบริ ษทั ย่อยอื นเกินกว่ากึ งหนึ ง วันสิd นรอบระยะเวลารายงานของงบการเงินของบริ ษทั ย่อย เมื องบการเงินของบริ ษทั ย่อย ซึ งรวมอยู่ในงบการเงิ นรวมมีวนั ที ในงบการเงิ นแตกต่า งจากวันที ในงบการเงิ นของบริ ษทั ใหญ่ รวมทัdงเหตุผลในการใช้วนั ที ในงบการเงินหรื องวดบัญชีที แตกต่างกัน ลักษณะและขอบเขตของข้อจํากัดใด ๆ ที มีนยั สําคัญ (เช่น ผลจากข้อตกลงการกูย้ ืมหรื อ เงื อนไขทางกฎหมาย) ต่อความสามารถของบริ ษทั ย่อยในการโอนเงินทุนให้แก่บริ ษทั ใหญ่ ไม่วา่ จะ เป็ นในรู ปของเงินปันผลหรื อการจ่ายคืนเงินกูย้ มื หรื อเงินทดรองจ่ายล่วงหน้า
30 ตารางแสดงผลกระทบของการเปลี ยนแปลงในความเป็ นเจ้าของในบริ ษทั ย่อยของบริ ษทั ใหญ่ที ไม่ได้ส่งผลให้บริ ษทั ใหญ่สูญเสี ยอํานาจควบคุมที มีต่อส่ วนได้เสี ยที เป็ นของเจ้าของบริ ษทั ใหญ่ ถ้าบริ ษทั ใหญ่สูญเสี ยอํานาจการควบคุมในบริ ษทั ย่อย บริ ษทั ใหญ่ตอ้ งเปิ ดเผยผลกําไรหรื อ ผลขาดทุนที รับรู ้ตามย่อหน้า 34 (ถ้ามี) และ ผลกําไรหรื อขาดทุนส่ วนที เกิดจากการรับรู ้มูลค่าเงินลงทุนที ยงั เหลืออยูใ่ นบริ ษทั ย่อยเดิม ด้วยมูลค่ายุติธรรม ณ วันที สูญเสี ยอํานาจในการควบคุม และ เปิ ดเผยว่าผลกําไรหรื อผลขาดทุนนัdนถูกรับรู ้อยูใ่ นบรรทัดใดในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ (ถ้าไม่ได้มีการแยกแสดงต่างหากในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จ) หากบริ ษทั ใหญ่เลือกที จะไม่นาํ เสนองบการเงินรวมตามเงื อนไขที กาํ หนดในย่อหน้าที 10 บริ ษทั ใหญ่ตอ้ งเปิ ดเผยข้อมูลทุกข้อดังต่อไปนีdในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริ ษทั ใหญ่ ข้อเท็จจริ งที บริ ษทั ใหญ่นาํ เสนองบการเงินเฉพาะกิจการ ข้อเท็จจริ งที บริ ษทั ใหญ่เลือกที จะ ไม่จดั ทํางบการเงินรวมเนื องจากเข้าเงื อนไขข้อยกเว้นที กาํ หนด ชื อบริ ษทั และประเทศที จดทะเบียน จัดตัdงบริ ษทั หรื อสถานประกอบการของบริ ษทั ที มีการจัดทํางบการเงินรวมตามมาตรฐานการบัญชีที รับรองทัว ไปเพื อประโยชน์ต่อสาธารณะรวมทัdงที อยูท่ ี บุคคลภายนอกสามารถติดต่อของบการเงิน รวมดังกล่าวได้ รายละเอียดของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินลงทุนในกิจการที ควบคุมร่ วมกัน และเงิ น ลงทุนในบริ ษทั ร่ วมที สําคัญ รวมทัdงรายชื อของกิจการที ถูกลงทุนดังกล่าว ประเทศที จดทะเบียน จัดตัdงบริ ษทั หรื อสถานที ประกอบการ สัดส่ วนของความเป็ นเจ้าของ และสัดส่ วนของอํานาจในการ ออกเสี ยงในกรณี ที ตา่ งจากสัดส่ วนของความเป็ นเจ้าของ คํา อธิ บายวิธีก ารทางบัญชี ที ใ ช้ใ นการบันทึ กบัญชี เงิ นลงทุ นที แสดงรายละเอีย ดตามย่อ หน้าที 42.2
31 หากบริ ษทั ใหญ่ (นอกเหนือจากบริ ษทั ใหญ่ตามย่อหน้าที 42) ผูร้ ่ วมค้าที มีส่วนได้เสี ยใน กิจการที ควบคุมร่ วมกัน หรื อผูล้ งทุนในบริ ษทั ร่ วม ได้จดั ทํางบการเงินเฉพาะกิจการงบการเงิน เฉพาะกิจการดังกล่าวต้องเปิ ดเผยข้อมูลทุกข้อต่อไปนีd ข้อเท็จจริ งที งบการเงินที นาํ เสนอนัdนเป็ นงบการเงินเฉพาะกิจการ รวมทัdงเหตุผลในการ จัดทํางบการเงินเฉพาะกิจการดังกล่าวหากกฎหมายไม่บงั คับ รายละเอียดของเงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เงินลงทุนในกิจการที ควบคุมร่ วมกัน และเงิ น ลงทุนในบริ ษทั ร่ วมที สําคัญ รวมทัdงรายชื อของกิจการที ถูกลงทุนและประเทศที จดทะเบียนจัดตัdง บริ ษทั หรื อสถานที ประกอบการ สัดส่ วนของความเป็ นเจ้าของและสัดส่ วนของอํานาจในการออก เสี ยงในกรณี ที ตา่ งจากสัดส่ วนของความเป็ นเจ้าของ คํา อธิ บายวิธีก ารทางบัญชี ที ใ ช้ใ นการบันทึ กบัญชี เงิ นลงทุ นที แสดงรายละเอีย ดตามย่อ หน้าที 43.2 นอกจากนีd กิจการต้องระบุวา่ งบการเงินได้จดั ทํา ตามที กาํ หนดในย่อหน้าที 9 ของ มาตรฐานการบัญชีฉบับนีd หรื อจัดทําตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที 28 (ปรับปรุ ง (2552) เรื อง เงิน ลงทุนในบริ ษทั ร่ วม และ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที 31 (ปรับปรุ ง 2552) เรื อง ส่ วนได้เสี ยในการ ร่ วมค้าที เกี ยวข้อง
ธุรกรรมนอกงบดุล(Off-Balance-Sheet Activities) ดร.สิ ปปภาส พรสุ ขสว่าง (2553: 163-165) ตลอดระยะเวลาที ผา่ นมา แม้วา่ ธนาคารจะให้ ความสนใจเป็ นอย่างมากในการบริ หารสิ นทรัพย์และหนีdสิน แต่จากสภาพแวดล้อมของการแข่งขัน ที สูงขึdนในปั จจุบนั ธนาคารพยายามอย่างยิ งในการทํากําไรโดยการทําธุ รกรรมนอกงบดุล (OffBalance-Sheet Activities) ซึ งเกี ยวข้องกับการซืd อ-ขายตราสารการเงิน และการสร้างรายได้จาก ค่าธรรมเนียมและจากการขายสิ นเชื อ ธุรกรรมนอกงบดุลนีdส่งผลกระทบต่อกําไรของธนาคาร แต่จะ ไม่ปรากฏในงบดุลของธนาคาร ในปัจจุบนั ธุรกรรมนอกงบดุลมีความสําคัญต่อธนาคารอย่างมาก การขายสิ นเชื อ
32 การขายสิ นเชื อเกี ยวข้องกับสัญญาในการขายทัdงหมดหรื อบางส่ วนของกระแสเงินสดที มา จากสิ นเชื อเฉพาะประเภท ดังนัdนจึงเป็ นการนําสิ นเชื อออกจากงบดุลของธนาคาร โดยธนาคารได้รับ กําไรจากการขายสิ นเชื อในจํานวนที มากกว่าเพียงเล็กน้อยของจํานวนสิ นเชื อเดิมแรกเริ ม เนื องจาก อัตราดอกเบีdยที สูงของสิ นเชื อ ทําให้สถาบันการเงินมีความสนใจและซืdอสิ นเชื อเหล่านีd
การสร้ างรายได้ จากค่ าธรรมเนียม การสร้างรายได้จากค่าธรรมเนียมเป็ นธุ รกรรมนอกงบดุลอีกประเภทหนึ ง ที ธนาคารได้รับ จากการให้บริ การพิเศษแก่ลูกค้า เช่น ธนาคารทําการแทนลูกค้า ในการซืd อ-ขายปริ วรรตเงินตรา การ ให้การคํdาประกันในตราสารหนีd และการให้การสนับสนุนด้านสิ นเชื อ (Backup Credit Lines) เป็ น ต้น การให้การสนับสนุนด้านสิ นเชื อนัdนมีหลายประเภท และที สําคัญที สุด คือ พันธะสิ นเชื อ (Loan Commitment) ซึ งเป็ นข้อตกลงที ธนาคารจะให้สินเชื อแก่ลูกค้าเมื อลูกค้าร้ องขอ (ภายในวงเงิ น สิ นเชื อที ได้กาํ หนดไว้และภายในช่วงระยะเวลาหนึ งๆ) ธนาคารจะได้รับค่าธรรมเนี ยมจากพันธะ สิ นเชื อนีd นอกจากนีdในปัจจุบนั ผูฝ้ ากเงินสามารถได้รับการสนับสนุนด้านสิ นเชื อจากธนาคารในรู ป ของ”สิ ทธิ พิเศษในการเบิกเงินเกินบัญชี(Overdraft Privileges)”ซึ งลูกค้าของธนาคารสามารถเขียน เช็คสัง จ่ายในจํานวนเงินที เกินกว่าจํานวนเงินของตนเองที มีอยูใ่ นบัญชีเงินฝาก ธุ รกรรมนอกงบดุลที เกี ยวข้องกับการคํdาประกันของหลักทรัพย์ และการให้การสนับสนุ น ด้า นสิ นเชื อนัdน ทํา ให้ธ นาคารรั บ ภาระความเสี ย งสู ง ขึdน ถึ งแม้ว่า หลัก ทรัพ ย์ที คd าํ ประกันไม่ไ ด้ ปรากฏอยูใ่ นงบดุลของธนาคาร แต่หลักทรัพย์ที คd าํ ประกันนัdนทําให้ธนาคารมีความเสี ยงจากการผิด นัดการชําระหนีd (Default Risk) ถ้าหากผูท้ ี ออกหลักทรัพย์ผิดนัดการชําระหนีd ธนาคารจะต้องแบก รับภาระแทนในการชําระหนีdคืนให้กบั เจ้าของหลักทรัพย์ การสนับสนุนด้านสิ นเชื อทําให้ธนาคาร เกิดความเสี ยงด้วยเช่นกันเพราะว่า ธนาคารอาจถูกบังคับให้ปล่อยสิ นเชื อ เมื อธนาคารไม่มีสภาพ คล่องเพียงพอ หรื อเมื อผูก้ ยู้ มื มีความเสี ยงของเครดิตที เลวร้ายมาก
ธุรกรรมการค้ าและวิธีบริหารความเสี ยง ความพยายามของธนาคารในการบริ หารความเสี ย งอัตราดอกเบีdย ทําให้ธ นาคารเข้า สู่ ธุ รกรรม การซืd อ-ขายในฟิ วเจอร์ ส (Futures) และออพชัน (Option) ของตราสารหนีd รวมทัdงสวอพ
33 (Swap) ของอัตราดอกเบีdย นอกจากนีd ธนาคารที เข้าทําธุ รกรรมระหว่างประเทศ ยังมีการซืd อ – ขาย ในตลาดปริ วรรตเงินตราประเทศการ ซืdอ – ขายทัdงหมดในตลาดเหล่านีdลว้ นเป็ นธุ รกรรมนอกงบดุล (Off Balance – Sheet Activities) เพราะว่า การซืd อ – ขายเหล่านีdไม่มีผลกระทบต่องบดุลของ ธนาคารถึงแม้วา่ บ่อยครัdงที ธนาคารทําการซืd อ - ขายในตลาดเหล่านีd เพื อลดความเสี ยง หรื อธุ รกิจ ของธนาคารอื น แต่ธนาคารอาจพยายามเอาชนะตลาดโดยการเดาตลาด และเข้าสู่ การเก็งกําไรใน ตลาด การเก็งกําไรเป็ นธุ รกิจที มีความเสี ยงสู งมาก และสามารถทําให้ธนาคารล้มละลายได้ กรณี ที โด่งดังที สุดของการล้มละลายนีd คือ กรณี ของธนาคาร Bearingsในปี พ.ศ. 2538 ถึงแม้วา่ ธุ รกรรมการค้ามักให้กาํ ไรที สูง แต่เป็ นธุ รกรรมที อนั ตราย เพราะการทําธุ รกรรม เหล่านีd จะเป็ นการง่ายที สถาบันการเงิน และพนักงานเจ้าหน้าที สามารถที จะเล่นพนันจํานวนมากได้ อย่า งรวดเร็ ว ปั ญหาเฉพาะของการบริ หารกิ จกรรมการค้า นีd คื อ ปั ญหา เจ้าของ– ตัวแทน (The Principal – Agent Problem) ที มีความรุ นแรง (ดังกล่าวมาแล้วในบทที 7 ) เมื อมีความสามารถในการ วางเงินพนันจํานวนมาก ผูค้ า้ (ตัวแทน-Agent) จะมีแรงจูงใจที รับความเสี ยงที สูงมากเกินไป ไม่วา่ ผูค้ า้ นัdนจะทําการค้าในตลาดหุ ้นกู้ ในตลาดปริ วรรตเงิ นตราต่างประเทศ หรื อในตราสารอนุ พนั ธ์ การเงิน ถ้ากลยุทธ์ของผูค้ า้ (ตัวแทน) ประสบความสําเร็ จ และได้รับกําไรเป็ นจํานวนมาก ผูค้ า้ นัdน จะได้รับเงินเดือนที สูง และโบนัสอย่างงาม แต่ถา้ ผูค้ า้ (ตัวแทน) ประสบความล้มเหลว และเกิดการ ขาดทุนเป็ นจํานวนมาก สถาบันการเงิน (เจ้าของ – Principal ) จะต้องรับภาระการขาดทุนนีd เพื อลดปั ญหา เจ้าของ– ตัวแทน (The Principal – Agent Problem) ผูบ้ ริ หารสถาบัน การเงิ นต้องเตรี ยมการควบคุ มภายในเพื อป้ องกันหายนะที จะเกิ ดขึdนจากปั ญหานีd การควบคุ ม นีd ครอบคลุ ม ถึ ง การแบ่ ง แยกกัน อย่า งเด็ ดขาดระหว่า งผูท้ ี รั บ ผิด ชอบในธุ ร กรรมการค้า และผูท้ ี รับผิดชอบในการทําบัญชีของธุ รกรรมการค้า ยิง ไปกว่านัdน ผูห้ ริ การต้องจํากัดจํานวนการซืd อ–ขาย ทัdงหมดของผูค้ า้ และจํากัดความเสี ยงที เกิดขึdนกับสถาบันการเงินของตน ผูบ้ ริ หารสถาบันการเงิน ต้องพิจารณากระบวนการการประเมินความเสี ยง ซึ งวิธีการหนึ งคือ วิธีการมูลค่าความเสี ยง (Value – at – Risk Approach) ในวิธีการนีd สถาบันการเงินจะพัฒนาแบบจําลองทางสถิติ ซึ งสามารถ คํานวณหาความสู ญเสี ยสู งสุ ดของกลุ่มหลักทรัพย์ของสถาบันการเงินนัdน ที เป็ นไปได้วา่ จะยังคงอยู่ ตลอดช่วงเวลาหนึ งที กาํ หนดให้ ความสู ญเสี ยสู งสุ ดนีd คือมูลค่าความเสี ยง(Value – at – Risk หรื อ VAR) ตัวอย่างเช่น ธนาคารอาจจะประมาณการว่า ความสู ญเสี ยสู งสุ ดที จะยังคงอยูต่ ลอดเวลา 1 วัน ด้วยความเป็ นไปได้ 1 ใน 100 นัdน เท่ากับ 10 ล้านบาท ตัวเลข 10 ล้านบาทนีd คือ มูลค่าความเสี ยง ของธนาคาร อีกวิธีการหนึ ง เรี ยกว่า การทดสอบภาวะวิกฤติ (Stress Testing) ในวิธีการนีd ผูบ้ ริ หาร
34 จะหาว่าอะไรจะเกิดขึdน ถ้าหากเกิดเหตุการณ์ที เลวร้ายเกิดขึdนนัน คือ ผูบ้ ริ หารจะดูที ความสู ญเสี ยที จะยังคงอยูก่ บั สถาบันการเงินของตนเอง ถ้าหากเกิดสถานการณ์เลวร้ายผิดปกติ ด้วยวิธีการมูลค่า ความเสี ยง และการทดสอบภาวะวิกฤติ สถาบันการเงินสามารถประเมินความเสี ยงของตนเอง และ ดําเนินการในการลดความเสี ยง ประมาณการหนีส2 ิ น มาตรฐานการบัญชี ฉบับที 37 (2552: 4) ได้ให้คาํ นิยามว่าประมาณการหนีdสินว่าเป็ นหนีdสินที มีความ ไม่แน่นอนเกี ยวกับจังหวะเวลาหรื อจํานวนที ตอ้ งจ่ายชําระ และกําหนดให้รับรู ้ประมาณการหนีdสิน ก็ตอ่ เมื อเป็ นไปตามเงื อนไขทุกข้อต่อไปนีd กิจการมีภาระผูกพันในปั จจุบนั ซึ งเป็ นผลจากเหตุการณ์ในอดีต ไม่วา่ ภาระผูกพันนัdนจะ เป็ นภาระผูกพันตามกฎหมายหรื อภาระผูกพันจากการอนุมาน มีความเป็ นไปได้คอ่ นข้างแน่ (ได้แก่ กรณี ที น่าจะเกิดขึdนมากกว่าไม่น่าเกิดขึdน) ที กิจการจะ สู ญเสี ยทรัพยากรที มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจต่อกิจการเพื อจ่ายชําระภาระผูกพันดังกล่าว และ สามารถจัดทําประมาณการของจํานวนภาระผูกพันได้อย่างน่าเชื อถือ มาตรฐานการบัญชี ฉบับนีdกาํ หนดว่าจะเป็ นกรณี ที ยากยิง ที จะเกิดขึdนเท่านัdนที กิจการจะไม่สามารถประมาณมูลค่าภาระ ผูกพันได้อย่างน่าเชื อถือ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที 37(2552: 14) ประมาณการหนีd สินสามารถแยกจากหนีd สิน ประเภทอื น เช่น เจ้าหนีdการค้าและรายการค้างจ่าย เนื องจากความไม่แน่นอนเกี ยวกับจังหวะเวลาและจํานวนของรายจ่ายในอนาคตที ตอ้ งจ่าย ชําระในทางตรงกันข้าม เจ้าหนีd การค้าเป็ นหนีd สินที กิจการต้องจ่ายสําหรับสิ นค้าหรื อบริ การที ได้รับหรื อบริ โภคที กิจการ ยังไม่ได้จ่ายชําระ ยังไม่ได้รับใบเรี ยกเก็บเงิน หรื อยังไม่ได้ตกลงอย่างเป็ นทางการกับผูข้ าย สิ นค้าหรื อผูใ้ ห้บริ การ และ
35 รายการค้างจ่ายเป็ นหนีdสินที กิจการต้องจ่ายสําหรับสิ นค้าหรื อบริ การที ได้รับหรื อบริ โภคที กิจการยังไม่ได้จ่ายชําระ ยังไม่ได้รับใบเรี ยกเก็บเงิน หรื อยังไม่ได้ตกลงอย่างเป็ นทางการกับผูข้ าย สิ นค้าหรื อผูใ้ ห้บริ การ รวมถึงจํานวนที คา้ งชําระกับพนักงาน เช่น ค่าพักร้อนค้างจ่าย แม้วา่ ใน บางครัdงกิจการจําเป็ นต้องประมาณจํานวนหรื อจังหวะเวลาของรายการค้างจ่าย แต่ตามปกติการ ประมาณดังกล่าวจะมีความไม่แน่นอนน้อยกว่าการประมาณจํานวนหรื อจังหวะเวลาของ
ประมาณการหนีส2 ิ น ตามปกติกิจการจะแสดงรายการค้า งจ่า ยเป็ นส่ วนหนึ ง ของเจ้าหนีd การค้าหรื อเจ้าหนีd อื น ในขณะที แสดงประมาณการหนีdสินเป็ นรายการแยกต่างหาก
ความสั มพันธ์ ระหว่ างประมาณการหนีส2 ิ นกับหนีส2 ิ นทีอ าจเกิดขึน2 มาตรฐานการบัญชี ฉบับที 37(2552: 14-15) กล่าวว่าตามความหมายโดยทัว ไป ประมาณ การหนีd สิน คือ หนีdสินที อาจจะเกิดขึdนเนื องจากมีจาํ นวนหรื อจังหวะเวลาของการจ่ายชําระที ไม่ แน่นอน อย่างไรก็ตาม มาตรฐานการบัญชี ฉบับนีd กาํ หนดให้ใช้คาํ ว่า“หนีd สินที อาจเกิดขึdนและ สิ นทรัพย์ที อาจเกิดขึdน” เฉพาะกับหนีdสินและสิ นทรัพย์ที ไม่สามารถรับรู ้ได้เนื องจากการที จะทราบ ว่าหนีd สินหรื อสิ นทรัพย์ดงั กล่าวมีอยูห่ รื อไม่นd นั ต้องได้รับการยืนยันจากเหตุการณ์อย่างน้อยหนึ ง เหตุการณ์ในอนาคตซึ งยังมีความไม่แน่นอนว่าจะเกิดขึdนหรื อไม่เกิดขึdนโดยเหตุการณ์ดงั กล่าวต้อง ไม่อยูใ่ นความควบคุมทัdงหมดของกิจการ นอกจากนัdน มาตรฐานการบัญชีฉบับนีdยงั กําหนดให้ใช้คาํ ว่า “หนีd สินที อาจเกิดขึdน” กับหนีdสินที ยงั ไม่เป็ นไปตามเกณฑ์การรับรู ้รายการมาตรฐานการบัญชี ฉบับนีdกาํ หนดข้อแตกต่างระหว่างประมาณการหนีdสินกับหนีdสินที อาจเกิดขึdน ดังนีd ประมาณการหนีd สิ นเป็ นประมาณการที กิจการต้องรั บ รู ้ เป็ นหนีd สิ นหากกิ จการสามารถ ประมาณมูลค่าได้อย่างน่าเชื อถือ เนื องจากประมาณการหนีdสินเป็ นภาระผูกพันในปัจจุบนั ซึ งมีความ เป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ที กิจการจะสู ญเสี ยทรัพยากรที มีประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจเพื อจ่ายชําระภาระ ผูกพันนัdน และ
36 หนีdสินที อาจเกิดขึdน คือ หนีdสินที กิจการยังไม่สามารถรับรู ้เป็ นหนีdสินได้เนื องจากเหตุผลข้อ ใดข้อหนึ งต่อไปนีd หนีdสินที อาจเกิดขึdนนัdนเป็ นภาระผูกพันที อาจมีอยูแ่ ต่ยงั ไม่ได้รับการยืนยันว่ากิจการมีภาระ ผูกพันในปัจจุบนั ที จะนําไปสู่ การสู ญเสี ยทรัพยากรที มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ หรื อ หนีd สินที อาจเกิดขึdนนัdนไม่เป็ นไปตามเกณฑ์การรับรู ้รายการที กาํ หนดไว้ในมาตรฐานการ บัญชี ฉบับนีd (ไม่วา่ จะเป็ นการที ภาระผูกพันดังกล่าวไม่มีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ที กิจการจะ สู ญเสี ยทรัพยากรที มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจเพื อจ่ายชําระภาระผูกพัน หรื อการที กิจการไม่สามารถ ประมาณจํานวนของภาระผูกพันนัdนได้อย่างน่าเชื อถือเพียงพอ)
การรับรู้ รายการ ประมาณการหนีdสิน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที 37(2552: 15-19) ประมาณการหนีdสินจะต้องรับรู ้กต็ อ่ เมื อเป็ นไปตามเงื อนไขทุกข้อต่อไปนีd กิจการมีภาระผูกพันในปั จจุบนั ซึ งเป็ นผลจากเหตุการณ์ในอดีต ไม่วา่ ภาระผูกพันนัdนจะ เป็ นภาระผูกพันตามกฎหมายหรื อภาระผูกพันจากการอนุมาน มีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ที กิจการจะสู ญเสี ยทรัพยากรที มีประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจต่อ กิจการเพื อจ่ายชําระภาระผูกพันดังกล่าว และ สามารถประมาณจํานวนของภาระผูกพันได้อย่างน่าเชื อถือภาระผูกพันในปัจจุบนั ในกรณี ที ยากยิง ที จะเกิด เมื อมีความไม่ชดั เจนว่ากิจการมีภาระผูกพันในปั จจุบนั ณ วันสิd น รอบระยะเวลารายงานหรื อไม่ ให้กิจการพิจารณาจากหลักฐานทัdงหมดที มีอยู่ หากหลักฐานดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าเหตุการณ์ในอดีตน่าจะมีผลทําให้กิจการมีภาระผูกพันในปั จจุบนั อยู่ ณ วันสิd นรอบ ระยะเวลารายงานมากกว่าที ไม่น่าจะมีอยู่
37 ในกรณี ทว ั ไป จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าเหตุการณ์ในอดีตก่อให้เกิดภาระผูกพันในปั จจุบนั หรื อไม่ แต่ในกรณี ที ยากยิง ที จะเกิด ตัวอย่างเช่น การฟ้ องร้องตามกฎหมาย อาจมีการโต้แย้งกันว่า เหตุการณ์บางเหตุการณ์ได้เกิดขึdนแล้วหรื อ ยังไม่เกิด หรื อเหตุการณ์ที เกิดขึdนทําให้กิจการมีภาระ ผูกพันในปั จจุบนั หรื อไม่ ในกรณี ดงั กล่าว กิจการต้องพิจารณาหลักฐานทัdงหมดที มีอยู่ (ซึ งรวมถึง ความเห็นของผูเ้ ชี ยวชาญและหลักฐานเพิ มเติมที ได้จากเหตุการณ์ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน) เพื อกําหนดว่ากิจการมีภาระผูกพันในปั จจุบนั ณ วันสิd นรอบระยะเวลารายงานหรื อไม่ โดยเมื อ พิจารณาจากหลักฐานดังกล่าวกิจการต้องปฏิบตั ิตามข้อกําหนดทุกข้อต่อไปนีd กิจการต้องรับรู ้ประมาณการหนีdสินสําหรับภาระผูกพันในปั จจุบนั ที พิจารณาว่าเป็ นไปตาม เกณฑ์การรับรู ้แล้วเห็นว่าน่าจะมีอยูม่ ากกว่าไม่น่าจะมีอยู่ ณ วันสิd นรอบระยะเวลารายงานหากภาระ ผูกพันดังกล่าวเป็ นไปตามเกณฑ์การรับรู ้รายการ และ กิจการต้องเปิ ดเผยข้อมูลเกี ยวกับหนีdสินที อาจเกิดขึdนสําหรับภาระผูกพันที พิจารณาแล้วเห็น ว่าไม่น่าจะมีอยูม่ ากกว่าน่าจะมีอยู่ ณ วันสิd นรอบระยะเวลารายงาน เว้นแต่กรณี ที พิจารณาแล้วเห็นว่า ความน่าจะเป็ นที กิจการจะสู ญเสี ยทรัพยากรที มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจเพื อจ่ายชําระภาระผูกพันนัdน อยูใ่ นระดับที ไม่น่าจะเป็ นไปได้(ดูยอ่ หน้าที 86)
เหตุการณ์ ในอดีต เหตุการณ์ในอดีตที มีผลทําให้ภาระผูกพันในปั จจุบนั เกิดขึdน เรี ยกว่าเหตุการณ์ที ก่อให้เกิด ภาระผูกพันเหตุการณ์ในอดีตจะถือเป็ นเหตุการณ์ที ก่อให้เกิดภาระผูกพันได้ก็ต่อเมื อเหตุการณ์นd นั เป็ นเหตุให้กิจการต้องจ่ายชําระภาระผูกพันโดยไม่มีทางเลือกอื นที เป็ นไปได้ เหตุการณ์ดงั กล่าวต้อง เป็ นไปตามข้อกําหนดข้อใดข้อหนึ งต่อไปนีd เมื อการจ่ายชําระภาระผูกพันสามารถมีผลบังคับตามกฎหมาย หรื อ เป็ นภาระผูกพันจากการอนุ มาน เมื อเหตุการณ์ซ ึ งอาจเป็ นการกระทําของกิจการได้สร้าง ความคาดหมายอย่างมีมูลความจริ งกับฝ่ ายอื นๆ ว่ากิจการจะรับผิดชอบต่อภาระผูกพันที เกิดขึdน
38 งบการเงิ นมีวตั ถุประสงค์ที จะแสดงฐานะการเงินของกิ จการ ณ วันสิd นรอบระยะเวลา รายงานไม่ใช่ฐานะการเงินที อาจเป็ นไปได้ในอนาคต ดังนัdน กิจการต้องไม่รับรู ้ประมาณการหนีdสิน สําหรับต้นทุนที จาํ เป็ นจะต้องเกิดขึdนเพื อการดําเนินงานในอนาคต หนีdสินที กิจการรับรู ้ในงบแสดง ฐานะการเงินต้องเป็ นหนีdสินที กิจการมีอยู่ ณ วันสิd นรอบระยะเวลารายงานเท่านัdน ประมาณการหนีd สินที กิจการรับรู ้ ตอ้ งเป็ นภาระผูกพันที เกิดจากเหตุการณ์ในอดีตและไม่ ขึdนกับการกระทําในอนาคตของกิจการ เช่น การที กิจการต้องจ่ายค่าปรับหรื อค่าใช้จ่ายในการกําจัด มลพิษเนื องจากกระทําผิดกฎหมายสิ งแวดล้อม การจ่ายค่าปรับหรื อค่าใช้จา่ ยดังกล่าวจะทําให้กิจการ ต้องสู ญเสี ยทรัพยากรที มีประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจเพื อชําระภาระผูกพันที เกิดขึdนไม่วา่ การกระทําใน อนาคตของกิจการจะเป็ นเช่นไร ในทํานองเดียวกัน กิจการต้องรับรู ้ประมาณการหนีdสินสําหรับ ต้นทุ นในการรืd อถอนแท่นขุดเจาะนํdา มันหรื อโรงงานไฟฟ้ าปรมาณู เท่า กับจํา นวนที กิ จการต้อง รับผิดชอบเพื อแก้ไขความเสี ยหายที ได้เกิ ดขึdน ในทางกลับกัน กิ จการอาจได้รับแรงกดดันเชิ ง พาณิ ชย์หรื อข้อกําหนดตามกฎหมายที ทาํ ให้กิจการมีความตัdงใจหรื อจําเป็ นที จะยุติรายจ่ายในการ ดําเนินงานในลักษณะใดลักษณะหนึ งในอนาคต เช่น การติดตัdงเครื องกรองควันสําหรับโรงงานบาง ประเภท ในกรณี นd ี กิจการต้องไม่รับรู ้ประมาณการหนีdสินเนื องจากภาระผูกพันในปั จจุบนั สําหรับ รายจ่ายในอนาคตถือว่ายังไม่เกิดขึdน เพราะ กิจการสามารถหลีกเลี ยงรายจ่ายที จะเกิดขึdนในอนาคต ได้ดว้ ยการกระทําในอนาคตของกิจการเอง เช่นการเปลี ยนวิธีปฏิบตั ิงาน แม้วา่ ภาระผูกพันมักจะเกี ยวข้องกับอีกฝ่ ายหนึ งซึ งเป็ นผูท้ ี จะได้รับชําระภาระผูกพัน แต่ กิจการไม่จาํ เป็ นต้องทราบว่าผูท้ ี จะได้รับชําระภาระผูกพันนัdนเป็ นใคร ซึ งตามความเป็ นจริ งผูท้ ี จะ ได้รับชําระภาระผูกพันอาจเป็ นสาธารณชนทัว ไป ดังนัdน เนื องจากภาระผูกพันมักจะเกี ยวข้องกับ การให้คาํ มัน สัญญากับอีกฝ่ ายหนึ ง การตัดสิ นใจของฝ่ ายบริ หารหรื อคณะกรรมการจะไม่ก่อให้เกิด ภาระผูกพันจากการอนุมาน ณ วันสิd นรอบระยะเวลารายงาน ถ้าการตัดสิ นใจดังกล่าวไม่ได้ถูก สื อสารก่อนวันสิd นรอบระยะเวลารายงานไปยังผูท้ ี ได้รับผลกระทบในลักษณะที เฉพาะเพียงพอที จะ ทําให้ผทู ้ ี ได้รับผลกระทบเกิดความคาดหมายอย่างมีมูลความจริ งว่ากิจการจะรับผิดชอบต่อภาระ ผูกพันที เกิดขึdน เหตุการณ์ที ไม่ก่อให้เกิดภาระผูกพันในทันทีอาจก่อให้เกิดภาระผูกพันในภายหลังเนื องจาก กฎหมายเปลี ยนแปลงไป หรื อการกระทําบางอย่างของกิจการที ทาํ ให้ภาระผูกพันจากการอนุ มาน เกิ ดขึdน (เช่น การแถลงต่อสาธารณชนในลักษณะที เฉพาะเพียงพอ) ตัวอย่างเช่ น เมื อกิจการ
39 ก่อให้เกิดความเสี ยหายต่อสิ งแวดล้อม กิจการอาจไม่มีภาระผูกพันที จะต้องฟืd นฟูความเสี ยหายที เกิด จากการกระทําของกิจการ อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์ ที เป็ นเหตุให้เกิดความเสี ยหายจะกลายเป็ น เหตุก ารณ์ ที ก่อให้เกิ ดภาระผูก พันเมื อกฎหมายที ป ระกาศใหม่มีผ ลทําให้กิจการต้องแก้ไขความ เสี ยหายที มีอยู่ หรื อเมื อกิจการยอมรับต่อสาธารณชนว่าจะรับผิดชอบในการแก้ไขความเสี ยหาย ดังกล่าวในลักษณะที ทาํ ให้เกิดภาระผูกพันจากการอนุมาน เมื อรายละเอียดในร่ างกฎหมายใหม่ยงั ไม่ผา่ นการพิจารณาขัdนสุ ดท้าย ภาระผูกพันจะเกิดขึdน เมื อ เป็ นที ค าดได้ว่า กฎหมายใหม่จะได้รับ การบัญญัติ ขd ึ น ตามข้อกํา หนดที ร่า งไว้อย่า งแน่ นอน มาตรฐานการบัญชี ฉบับนีdกาํ หนดให้ภาระผูกพันที เป็ นผลจากร่ างกฎหมายดังกล่าวถือว่าเป็ นภาระ ผูกพันตามกฎหมายอย่างไรก็ตาม สถานการณ์ที แตกต่างกันที เกี ยวกับการบัญญัติกฎหมายอาจทําให้ กิจการไม่สามารถระบุลงไปได้วา่ เหตุการณ์ใดจะทําให้การบัญญัติกฎหมายเกิดขึdนแน่นอน ในหลาย กรณี กิ จการอาจไม่มี ทางทราบว่า ร่ างกฎหมายใหม่จะได้รับการบัญญัติเป็ นกฎหมายหรื อไม่ จนกระทัง กฎหมายนัdนได้รับการบัญญัติขd ึนจริ ง
ความเป็ นไปได้ ค่อนข้ างแน่ ทจี ะสู ญเสี ยทรัพยากรทีม ปี ระโยชน์ เชิงเศรษฐกิจ หนีdสินที กิจการสามารถรับรู ้ได้ตอ้ งไม่เป็ นแต่เพียงภาระผูกพันในปั จจุบนั เท่านัdน แต่ตอ้ งมี ความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ที กิจการจะสู ญเสี ยทรัพยากรที มีประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจเพื อจ่ายชําระ ภาระผูกพันดังกล่าว ตามวัตถุประสงค์ของมาตรฐานการบัญชีฉบับนีd ความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ หมายถึง การสู ญเสี ยทรัพยากรหรื อเหตุการณ์อนั จะมีความเป็ นไปได้ก็ต่อเมื อเหตุการณ์นd นั มีความ เป็ นไปได้ที จะเกิดขึdนมากกว่าไม่น่าจะเกิดขึdน เมื อไม่มีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ที ภาระผูกพันใน ปั จจุบนั จะมีอยูก่ ิจการต้องเปิ ดเผยหนีdสินที อาจจะเกิดขึdน ยกเว้นความน่าจะเป็ นที กิจการจะสู ญเสี ย ทรัพยากรที มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจเพื อจ่ายชําระภาระผูกพันนัdนจะอยูใ่ นระดับไม่น่าเป็ นได้ หากกิจการมีภาระผูกพันที คล้ายคลึงกันหลายรายการ เช่น การรับประกันสิ นค้าหรื อสัญญา ที คล้ายคลึงกัน กิจการต้องกําหนดความน่าจะเป็ นที กิจการจะสู ญเสี ยทรัพยากรเพื อจ่ายชําระภาระ ผูกพันเหล่านัdนโดยพิจารณาจากความน่าจะเป็ นโดยรวมของภาระผูกพันทัdงประเภท แม้วา่ ความ เป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ที กิจการจะสู ญเสี ยทรัพยากรเพื อจ่ายชําระภาระผูกพันบางรายการที จดั อยูใ่ น ประเภทเดียวกันจะมีระดับตํ า แต่อาจมีความเป็ นไปได้ที กิจการจะสู ญเสี ยทรัพยากรจํานวนหนึ งไป
40 เพื อจ่ายชําระภาระผูกพันโดยรวมทัdงประเภท ในกรณี ดงั กล่าว กิจการต้องรับรู ้ประมาณการหนีdสิน หากประมาณการหนีdสินนัdนเป็ นไปตามเกณฑ์การรับรู ้รายการ
การประมาณการภาระผูกพันทีน ่ าเชื อถือ การใช้ประมาณการถือเป็ นปั จจัยสําคัญในการจัดทํางบการเงินและไม่ได้ทาํ ให้งบการเงิน ขาดความน่าเชื อถือ โดยเฉพาะอย่างยิ งประมาณการหนีdสิน ซึ งโดยลักษณะแล้ว เป็ นรายการที มี ความไม่แน่นอนสู งกว่ารายการอื นที บนั ทึกอยูใ่ นงบแสดงฐานะการเงิน ยกเว้นในกรณี ที ยากยิง ที จะ เกิด กิจการจะสามารถกําหนดช่วงของจํานวนรายจ่ายที น่าจะเกิดขึdน และสามารถประมาณการภาระ ผูกพันที เชื อถือได้อย่างเพียงพอที จะใช้รับรู ้เป็ นประมาณการหนีdสิน ในกรณี ที ยากยิง ที จะเกิด กิจการอาจไม่สามารถจัดทําประมาณการได้อย่างน่าเชื อถือ ทําให้ กิจการไม่สามารถรับรู ้หนีdสินนัdนได้ ดังนัdน กิจการต้องเปิ ดเผยข้อมูลเกี ยวกับหนีdสินนัdนเป็ นหนีdสินที อาจเกิดขึdน
หนีส2 ิ นทีอ าจเกิดขึน2 กิจการต้องไม่รับรู ้หนีdสินที อาจเกิดขึdน กิจการต้องเปิ ดเผยข้อมูลเกี ยวกับหนีdสินที อาจเกิดขึdนตามที กาํ หนดไว้ในย่อหน้าที 86 เว้น แต่ค วามน่ า จะเป็ นที กิ จการจะสู ญเสี ย ทรั พ ยากรที มีป ระโยชน์เชิ ง เศรษฐกิ จอยู่ใ นระดับ ที ไ ม่น่า เป็ นไปได้ ในกรณี ที กิจการต้องรับผิดชอบภาระผูกพันร่ วมกับผูอ้ ื น กิจการต้องถือว่าภาระผูกพันส่ วน ที ผอู ้ ื นต้องรับผิดชอบเป็ นหนีdสินที อาจเกิดขึdนของกิจการ และรับรู ้ภาระผูกพันส่ วนที มีความเป็ นไป ได้คอ่ นข้างแน่วา่ กิจการจะสู ญเสี ยทรัพยากรที มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจเป็ นประมาณการหนีdสิน เว้น แต่ในกรณี ที ยากยิง ที จะเกิดที กิจการไม่สามารถประมาณมูลค่าของหนีdสินนัdนได้อย่างน่าเชื อถือ
41 หนีdสินที อาจเกิดขึdนอาจเปลี ยนแปลงไปจากลักษณะที คาดไว้แต่เริ มแรก ดังนัdน กิจการต้อง ประเมินสถานการณ์ อย่างต่อเนื องเพื อกําหนดว่าความเป็ นไปได้ที กิจการจะสู ญเสี ยทรัพยากรที มี ประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจเกิดขึdนแล้วหรื อไม่ หากมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ที กิจการจะสู ญเสี ย ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตสําหรับรายการที เคยถือเป็ นหนีdสินที อาจเกิดขึdน กิจการต้องรับรู ้ ประมาณการหนีd สิ นในงบการเงิ นในงวดที ค วามเป็ นไปได้นd ันได้เปลี ย นแปลงไป (เว้นแต่ใ น สถานการณ์ที ยากยิง ที จะเกิดที กิจการไม่สามารถจัดทําประมาณการได้อย่างน่าเชื อถือ)
การเปิ ดเผยข้ อมูล การเปิ ดเผยข้อมูลการประมาณการหนีd สินมาตรฐานการบัญชี ฉบับที 37(2552: 28-29) กิจการต้องเปิ ดเผยข้อมูลต่อไปนีdสาํ หรับประมาณการหนีdสินแต่ละประเภท จํานวนประมาณการหนีdสิน ณ วันต้นงวดและวันสิd นงวดรายงาน จํานวนประมาณการหนีdสินที รับรู ้เพิ มเติมในระหว่างงวด ซึ งรวมถึงจํานวนที เพิ มขึdนของ ประมาณการหนีdสินที มีอยู่ จํานวนที ตดั ออกจากบัญชีประมาณการหนีdสินในระหว่างงวด (เช่น รายจ่ายที เกิดขึdนและ นําไปลดประมาณการหนีdสิน) จํานวนประมาณการหนีdสินที ไม่ได้ใช้ที ตอ้ งกลับบัญชีในระหว่างงวด จํานวนคิดลดที เพิ มขึdนในระหว่างงวดของประมาณการหนีdสินเนื องจากเวลาที ผา่ นไปและ จากผลของอัตราคิดลดที เปลี ยนแปลง กิจการไม่จาํ เป็ นต้องแสดงข้อมูลเปรี ยบเทียบ กิจการต้องเปิ ดเผยข้อมูลต่อไปนีdสาํ หรับประมาณการหนีdสินแต่ละประเภท คําอธิ บายโดยสังเขปเกี ยวกับลักษณะของภาระผูกพันและจังหวะเวลาที กิจการคาดว่าจะ สู ญเสี ยประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ
42 สิ งที ชd ีบอกความไม่แน่นอนเกี ยวกับจํานวนหรื อจังหวะเวลาของการสู ญเสี ยประโยชน์เชิ ง เศรษฐกิจ กิจการต้องเปิ ดเผยข้อสมมติที สําคัญที ใช้เกี ยวกับเหตุการณ์ในอนาคต(ตามที ระบุ ในย่อ หน้าที 48) เมื อกิจการจําเป็ นต้องเปิ ดเผยข้อมูลให้เพียงพอ และ จํานวนรายจ่ายที คาดว่าจะได้รับชดเชย โดยระบุจาํ นวนสิ นทรัพย์ที กิจการรับรู ้ สําหรับ รายจ่ายที คาดว่าจะได้รับชดเชยนัdน กิจการต้องให้คาํ อธิ บายโดยสังเขปเกี ยวกับลักษณะของหนีd สินที อาจเกิดขึdนแต่ละประเภท ณ วันสิd นรอบระยะเวลารายงาน และเปิ ดเผยข้อมูลต่อไปนีdหากทําได้ในทางปฏิบตั ิ เว้นแต่ความ น่าจะเป็ นที กิจการจะสู ญเสี ยทรัพยากรเพื อจ่ายชําระหนีdสินนัdนอยูใ่ นระดับไม่น่าเป็ นไปได้ ประมาณการผลกระทบทางการเงิน ซึ งวัดมูลค่าตามข้อกําหนดที ระบุไว้ในย่อหน้าที 36 ถึง 52 สิ งที ชd ีบอกความไม่แน่นอนเกี ยวกับจํานวนหรื อจังหวะเวลาของการสู ญเสี ยประโยชน์เชิ ง เศรษฐกิจ และความน่าจะเป็ นที จะได้รับชดเชย ในการกําหนดว่าประมาณการหนีdสินหรื อหนีd สินที อาจเกิดขึdนรายการใดอาจนํามารวมไว้ เป็ นประเภทเดียวกัน กิจการต้องพิจารณาว่ารายการต่างๆ มีลกั ษณะคล้ายคลึงกันอย่างเพียงพอจนทํา ให้กิจการสามารถใช้ขอ้ ความเดียวกันในการอธิบายถึงรายการเหล่านัdน และสามารถบรรลุเงื อนไขที กําหนดไว้ในย่อหน้าที 85.1 85.2 86.1 และ 86.2 ได้ ดังนัdน การจะรวมจํานวนที เกี ยวข้องกับการ ประกันสิ นค้าต่างชนิดไว้เป็ นประมาณการหนีdสินประเภทเดียวกันจึงอาจถือเป็ นการเหมาะสม แต่ การนําจํานวนที เกี ยวข้องกับการรับประกันสิ นค้าปกติและจํานวนที จะเกิ ดจากการฟ้ องร้ องตาม กฎหมายมารวมไว้เป็ นประมาณการหนีdสินประเภทเดียวกันจึงอาจถือเป็ นการไม่เหมาะสม หากประมาณการหนีdสินและหนีdสินที อาจเกิดขึdนเกิดจากสถานการณ์ชุดเดียวกัน กิจการ ต้องเปิ ดเผยข้อมูลตามที กาํ หนดไว้ในย่อหน้าที 84 ถึง 86 ในลักษณะที แสดงให้เห็นถึงความเกี ยวพัน ระหว่างประมาณการหนีdสินและหนีdสินที อาจเกิดขึdนนัdน
43 เมื อกิจการมีความเป็ นไปได้ค่อนข้างแน่ที จะได้รับประโยชน์เชิ งเศรษฐกิจ กิจการต้อง เปิ ดเผยคําอธิ บายโดยสังเขปเกี ยวกับลักษณะของสิ นทรัพย์ที อาจเกิดขึdน ณ วันสิd นรอบระยะเวลา รายงานกิจการต้องเปิ ดเผยประมาณการผลกระทบทางการเงิน ซึ งวัดมูลค่าตามข้อกําหนดที ระบุไว้ ในย่อหน้าที 36 ถึง 52 หากสามารถทําได้ในทางปฏิบตั ิ เมื อกิจการเปิ ดเผยข้อมูลเกี ยวกับสิ นทรัพย์ที อาจเกิดขึdน กิจการต้องหลีกเลี ยงการชีd แนะที อาจทําให้เข้าใจผิดเกี ยวกับระดับความน่าจะเป็ นที รายได้จะเกิดขึdน หากกิจการไม่เปิ ดเผยข้อมูลตามที กาํ หนดไว้ในย่อหน้าที 86 และ 89 เนื องจากไม่สามารถ ทําได้ในทางปฏิบตั ิ กิจการต้องเปิ ดเผยข้อเท็จจริ งดังกล่าว ในกรณี ที ยากยิง ที จะเกิดที กิจการจะสามารถคาดการณ์ได้วา่ การเปิ ดเผยข้อมูลทัdงหมดหรื อ บางส่ วนตามที กาํ หนดไว้ในย่อหน้าที 84 ถึง 89 จะทําให้สถานะของกิจการเกี ยวกับข้อพิพาทกับฝ่ าย อื นๆในเรื องเกี ยวกับประมาณการหนีdสิน หนีdสินที อาจเกิดขึdน หรื อสิ นทรัพย์ที อาจเกิดขึdน เกิดความ โอนเอียงอย่างรุ นแรง ในกรณี นd ี กิจการไม่จาํ เป็ นต้องเปิ ดเผยข้อมูลดังกล่าว แต่ตอ้ งเปิ ดเผยถึง ลักษณะทัว ไปของข้อพิพาทพร้อมกับข้อเท็จจริ งและเหตุผลของการไม่เปิ ดเผยข้อมูลนัdน
การเปลีย นแปลงของกําไรจากภาระผูกพันทางการเงิน (Financing Leverage) ผศ.ดร.อภิชาติ พงศ์สุพ ฒ ั น์ (2551: 349-354) ภาระผูก พันทางการเงิ น เป็ นการแสดง ขอบเขตของหนีd สินซึ งกิ จการใช้ในโครงสร้ างเงินทุนนัdน จะส่ งผลให้การเปลี ยนแปลงของกําไร ก่อนดอกเบีdยและภาษี (EBIT) มีผลกระทบต่อระดับกําไรต่อหุน้ (EPS) มากน้อยแค่ไหน เช่ น เดี ย วกับ DOL สามารถประมาณการเปลี ย นแปลงของ EPS โดยใช้ร ะดับ การ เปลี ยนแปลงของกําไรจากภาระผูกพันทางการเงิน (Degree of financial leverage: DFL) เป็ นตัววัด ค่าเปอร์ เซ็ นต์การเปลี ยนแปลงของ EPS ต่อเปอร์ เซ็ นต์การเปลี ยนแปลงของ EBIT ดัง สมการ ต่อไปนีd DFL =
% การเปลี ยนแปลงของ EPS % การเปลี ยนแปลงของ EBIT
15 -18
44
สามารถใช้สมการที ง่ายกว่า ดังนีd DFL =
Q (p – v) - F
15 - 19
Q (p - v) - F- I
กําหนดให้ I = ดอกเบีdยจากหนีdสินทัdงหมดของบริ ษทั จากสมการที 15 – 19 สามารถเขียนในรู ป EBIT ได้ดงั นีd DFL =
EBIT EBIT – I
15 - 20
การหาการเปลี ยนแปลงของ EPS สามารถหาได้จากการเปลี ยนแปลงของ EBIT คูณด้วยค่า DFL ถ้า EBIT ของทัdงสองบริ ษทั มีคา่ เท่ากัน สามารถนํา DFL มาเปรี ยบเทียบกันได้ การอ่านค่าความหมายของผลลัพธ์ที คาํ นวณได้ สําหรับ DFL 1. ถ้าผลลัพธ์มีคา่ เป็ นบวก แสดงว่า ณ ปริ มาณขายนัdนๆ ธุรกิจมีกาํ ไร โดย DFL เป็ นบวก ธุรกิจมีกาํ ไรต่อหุน้ (EPS)
45 2. ถ้าผลลัพธ์มีคา่ ลบ แสดงว่า ณ ปริ มาณขายนัdนๆ ธุ รกิจขาดทุน โดย DFL เป็ นลบ ธุ รกิจ เกิดขาดทุนต่อหุน้ หรื อ EPS ติดลบ 3. ตัวเลขจะบอกระดับการเปลี ยนแปลงเป็ นจํานวนเท่า ไม่ตอ้ งพิจารณาเครื องหมาย บวก หรื อลบเนื องจากเครื องหมายจะบอกค่า ตามข้อ 1 และ 2 DFL มีความหมายว่า กําไร จากการดําเนินงาน หรื อ EBIT เปลี ยนแปลงเพิ มขึdน (ลดลง) 1% กําไรต่อหุ ้น หรื อ EPS จะเปลี ยนแปลงเพิม ขึdน (ลดลง) กี % 4. ตัว เลขที ค ํา นวณได้มี ค่ า มาก แสดงถึ ง โอกาสที จ ะเกิ ด ผลตรงข้า มกับ ที เ ป็ นอยู่สู ง เนื องจากค่ามากแสดงว่าเข้าใกล้จุดคุน้ ทุน
แนวคิดเกีย วกับการลงทุน ความหมายของการลงทุน เพชรี ขุมทรัพย์ (2540: 1-2) คําว่า “การลงทุน” (Investment) อาจหมายถึ งการซืd อขาย อสังหาริ มทรัพย์หรื อหลักทรัพย์ของบุคคลหรื อสถาบันซึ งให้ผลตอบแทนเป็ นสัดส่ วนกับความเสี ยง ตลอดเวลาอันยาวนานประมาณ 10 ปี แต่อย่างตํ าไม่ต าํ กว่า 3 ปี การลงทุนแบ่งเป็ นประเภทใหญ่ๆ ได้ 3 ประเภท คือ 1. การลงทุนเพือ การบริโภค (Consumer investment) การลงทุนของผูบ้ ริ โภคเป็ นเรื องเกี ยวกับ การซืd อสิ นค้าประเภทคงทนถาวร (Durable goods) เช่น รถยนต์ เครื องดูดฝุ่ น เครื องซักผ้า ตูเ้ ย็น โทรทัศน์ ฯลฯ การลงทุนในลักษณะนีdไม่ได้หวังในรู ปของตัวเงิน แต่ผลู ้ งทุนหวังความพอใจในการ ใช้ทรัพย์สินเหล่านัdนมากกว่า การซืd อบ้านเป็ นที อยู่อาศัยถื อได้ว่าเป็ นการลงทุ นอย่างหนึ งของผูบ้ ริ โภค หรื อที เรี ยกว่า ลงทุนในอสังหาริ มทรั พย์ (Real estate investment) เงินที จ่ายซืd อที ได้จากการออม การซืd อบ้านเป็ นที
46 อยูอ่ าศัยนอกจากจะให้ความพอใจแก่เจ้าของแล้ว ในกรณี อุปสงค์ (Demand) ในที อยูอ่ าศัยเพิ มขึdน มากกว่าอุปทาน (Supply) มูลค่าของบ้านที ซdือไว้อาจสู งขึdน หากขายจะได้กาํ ไรซึ งถือได้วา่ เป็ นเพียง ผลพลอยได้ 2. การลงทุนในธุรกิจ (Business or economic investment) การลงทุนในความหมายเชิงธุ รกิจ หมายถึงการซืd อทรัพย์สินเพื อประกอบธุ รกิจหารายได้ โดยหวังว่าอย่างน้อยที สุดรายได้ที ได้นd ีเพียง พอที จะชดเชยกับความเสี ยงในการลงทุน มีขอ้ สังเกตว่าเป้ าหมายในการลงทุนของธุ รกิจคือกําไร กําไรจะเป็ นตัวดึงดูดให้ผลู ้ งทุนนําเงินมาลงทุน การลงทุนตามความหมายนีdกล่าวโดยสรุ ปว่า เป็ น การนําเงินออม(Saving) เงินที สะสมไว้(Accumulated fund) และ/หรื อเงินกูย้ ืมจากธนาคาร(Bank credit) มาลงทุนเพื อจัดสร้างหรื อจัดหาสิ นค้าประเภททุน ซึ งปะกอบด้วยเครื องจักร อุปกรณ์ และ สิ นทรัพย์ประเภทอสังหาริ มทรัพย์ ได้แก่ ลงทุนในที ดิน โรงงาน อาคารสิ งปลูกสร้าง เพื อนํามาใช้ ประโยชน์ผลิตสิ นค้าและบริ การเพื อสนองความต้องการของผูบ้ ริ โภค ธุ รกิจที ลงทุนในสิ นทรัพย์ เหล่านีdมุง่ หวังกําไรจากการลงทุนเป็ นผลตอบแทน 3. การลงทุนในหลักทรั พย์ (Financial or securities investment) การลงทุนตามความหมาย ทางการเงิ น หรื อ การลงทุ น ในหลัก ทรั พ ย์เ ป็ นการซืd อ สิ น ทรั พ ย์( Asset) ในรู ป ของหลัก ทรั พ ย์ (securities) เช่น พันธบัตร(Bond) หุ ้นกู้ หรื อหุ ้นทุน(Stock) การลงทุนในลักษณะนีdเป็ นการลงทุน ทางอ้อมซึ งแตกต่างจากการลงทุนของธุรกิจ ผูม้ ีเงินออมเมื อไม่ตอ้ งการที จะเป็ นผูป้ ระกอบธุ รกิจเอง เนื องจากความเสี ยงหรื อผูอ้ อมเองยังไม่มีเงินมากพอ ผูล้ งทุนอาจนําเงินที ออมได้จะมากหรื อน้อยก็ ตามไปซืd อหลักทรัพย์ที เขาพอใจที จะลงทุน โดยได้ผลตอบแทนในรู ปของดอกเบีdยหรื อเงินปั นผล แล้วแต่ประเภทหลักทรัพย์ที ลงทุนอาจได้รับ ผลตอบแทนอีกลักษณะหนึ งคื อ กําไรจากการขาย หลักทรัพย์ (Capital gain) หรื อขาดทุนจากการขายหลักทรัพย์(Capital loss) อัตราผลตอบแทนที ผ้ ู ลงทุนได้ จากการลงทุนเรี ยกว่ า Yield ซึ งไม่ได้หมายถึงอัตราดอกเบีdย หรื อเงินปั นผลที ได้รับเพียง อย่างเดียว แต่ได้คาํ นึ งถึงกําไรจากการขายหลักทรัพย์หรื อขาดทุนจากการขายหลักทรัพย์ที เกิดขึdน หรื อคาดว่าจะเกิดขึdน Yield ที ผลู ้ งทุนได้รับจากการลงทุนจะมากหรื อน้อยย่อมขึdนอยูก่ บั ความเสี ยง (Risk) ของหลักทรัพย์ลงทุนนัdนๆ โดยปกติแล้วผูล้ งทุนพยายามเลื อกลงทุนในหลักทรัพย์ที ให้ ผลตอบแทนสู งสุ ด ณ ระดับความเสี ยงหนึ ง
47 จุดมุ่งหมายในการลงทุน เพชรี ขุมทรัพย์ (2540: 4-6) จุดมุ่งหมายในการลงทุนของผูถ้ ือหุ ้นแตกต่างกันไประหว่างผู ้ ลงทุนแต่ละท่าน ผูล้ งทุนบางท่านลงทุนเพื อหวังรายได้ บางท่านหวังได้กาํ ไรจากการขายหลักทรัพย์ และบางท่านอาจต้องการได้ทdงั สองอย่าง ดังนัdน ผูล้ งทุนแต่ละท่านต่างก็มีวตั ถุประสงค์ในการลงทุน ของตัวเอง ผูล้ งทุนต่างๆก็มีจุดมุง่ หมายการลงทุนของตนเองตามความต้องการและภาวะแวดล้อมของ ผูล้ งทุนซึ งพอจะแบ่งจุดมุง่ หมายดังกล่าวในลักษณะต่าง ๆ ได้ดงั นีd 1. ความปลอดภัยของเงินลงทุน (Securities of principal) ความปลอดภัยของเงินลงทุนนอกจะ หมายความถึ งการรักษาเงินลงทุนเริ มแรกให้คงไว้แล้ว ถ้ามองให้ไกลอีกนิ ด ยังหมายรวมถึงการ ป้ องกันความเสี ย งซึ งเกิ ดจากอํา นาจซืd อลดลงเป็ นผลจากภาวะเงิ น เฟ้ ออี ก ด้วย จากความหมาย ดัง กล่า วการลงทุนในหลัก ทรัพ ย์ที มีเวลากํา หนดคื อเงิ นต้นจํา นวนแน่ นอน ซึ ง ได้แก่ พันธบัตร รัฐบาล หุ ้นกู้ และหุ ้นบุ ริมสิ ท ธิ ที มี ก าํ หนดเวลาไถ่ ถอนของบริ ษ ทั ที ม น ั คงก็อยู่ใ นความหมายนีd นอกจากนีdการลงทุนในหุ ้นสามัญของบริ ษทั ที มีฐานะมัน คงและกําลังขยายตัวก็อยูใ่ นความหมายนีd เช่นกัน 2. เสถียรภาพของรายได้ (Stability of income) ผูล้ งทุนมักจะลงทุนในหลักทรัพย์ที ให้รายได้ สมํ า เสมอ ทัdง นีd เนื องจากรายได้ที ส มํ า เสมอ เช่ น ดอกเบีd ย หรื อเงิ นปั นผลหุ ้นบุ ริม สิ ท ธิ ผูล้ งทุ น สามารถทําแผนการใช้เงินทุนได้วา่ เข้าจะนํารายได้ที ได้นd ีไปใช้เพื อการบริ โภคหรื อเพื อลงทุนใหม่ ต่อไป นอกจากนีdดอกเบีdยหรื อเงินปันผลที ได้รับเป็ นประจําย่อมมีค่ามากกว่าดอกเบีdยหรื อเงินปั นผล ที เขาสัญญาว่าจะให้ในอนาคตซึ งยังไม่แน่วา่ จะได้ตามที เขาสัญญาหรื อไม่ 3. ความงอกเงยของเงินลงทุน (Capital growth) ตามกฎทัว ๆ ไปแล้ว ผูล้ งทุนมักจะตัdง จุดมุ่งหมายว่า พยายามจัดการให้เงินทุนของเขาเพิ มพูนขึdน ทัdงนีd ไม่ได้หมายความว่า ความงอกเงย ของเงินทุนจะเกิดขึdนได้จากการลงทุนในหุ ้นของบริ ษทั ที กาํ ลังขยายตัว (Growth stock) เท่านัdน การ
48 นํารายได้ที ได้รับไปลงทุนใหม่ ก็จะก่อให้เกิ ดการงอกเงยของเงิ นทุนได้ดีพอๆ กับการลงทุนใน ตลาดหุ ้นของบริ ษทั ที กาํ ลังขยายตัว ผูล้ งทุนส่ วนมากเพิ มพูนมูลค่าของเงินทุนของเขาโดยการนํา ดอกเบีdยและเงินปั นผลที ได้รับไปลงทุนใหม่ ความงอกเงยของเงินทุนนีdให้ประโยชน์แก่ผลู ้ งทุนใน แง่ที วา่ 3.1 เพื อปรับฐานะของผูล้ งทุนในระยะยาวให้ดีขd ึน 3.2 เพื อรักษาอํานาจซืdอให้คงไว้ 3.3 เพื อให้การจัดการคล่องตัวขึdน 4. ความคล่ องตัวในการซื2อขาย (Marketability) หมายถึงหลักทรัพย์ที สามารถซืd อหรื อขายได้ ง่ายและรวดเร็ ว ทัdงนีd ขd ึนอยู่ก บั ราคา ขนาดของตลาดหลักทรัพย์ที หุ้นนัdนจดทะเบียน ขนาดของ บริ ษทั ผูอ้ อกหลักทรัพย์ จํานวนผูถ้ ือหุน้ และความสนใจที ประชาชนทัว ๆ ไปมีต่อหุ ้นนีd หุ ้นที มีราคา สู งมักจะขายได้ยากกว่าหุ ้นที มีราคาตํ ากว่า ยกตัวอย่างง่ายๆ หุ ้นราคา 500 บาท ย่อมขายได้ยากกว่า หุน้ ราคา 50 บาท เป็ นต้น 5. ความสามารถในการเปลี ยนเป็ นเงินสดได้ ทันที (Liquidity) เมื อหลัก ทรั พ ย์ที ล งทุ นมี Liquidity สู ง ความสามารถในการหากําไร (Profitability) ย่อมลดลง ผูล้ งทุนต้องการลงทุนใน หลักทรัพย์ที มี Liquidity หรื อหลักทรัพย์ที ใกล้เคียงกับเงินสด ก็เพราะหวังไว้วา่ หากโอกาสลงทุนที น่าดึงดูดใจมาถึงเข้าจะได้มีเงินพร้อมที จะลงทุนได้ทนั ที การจัดการสําหรับเงินทุนส่ วนนีd ผูล้ งทุน อาจแบ่งสันปันส่ วนจากเงินลงทุนเพื อการนีdโดยเฉพาะ หรื ออาจใช้เงินปันผลหรื อดอกเบีdยที ได้รับมา เพื อซืdอหุน้ ใหม่ดงั กล่าวก็ได้ 6. การกระจายเงินลงทุน (Diversification) วัตถุประสงค์ก็คือต้องการกระจายความเสี ยงและ การกระจายความเสี ยงลงทุนในหลักทรัพย์กระทําได้ 4 วิธี คือ
49 6.1 ลงทุนผสมระหว่างหลักทรัพย์ที มีหลักประกันในเงินลงทุน และมีรายได้จากการลงทุน แน่นอนกับหลักทรัพย์ที มีรายได้และราคาที เปลี ยนแปลงขึdนลงตามภาวะธุรกิจ 6.2 ลงทุนในหลักทรัพย์หลายๆ อย่างปนกันไป 6.3 ลงทุนในหลักทรัพย์ของธุ รกิจที มีความแตกต่างทางภูมิศาสตร์ เพื อลดความเสี ยงเรื อง นํdาท่วมหรื อภัยธรรมชาติ เป็ นต้น 6.4 ลงทุ นในหลัก ทรั พ ย์ข องธุ ร กิ จ ที มี ล ัก ษณะการผลิ ต ที ต่ า งกัน แบบ Vertical หรื อ Horizontal ถ้าเป็ นแบบ Vertical หมายถึงการลงทุนในธุ รกิจต่างๆ ตัdงแต่วตั ถุดิบไปจน สิ นค้าสําเร็ จรู ป ถ้าเป็ นแบบ Horizontal เป็ นการลงทุนในกิจการที ประกอบธุ รกิจใน ลักษณะเดียวกัน 7. ความพอใจในด้ านภาษี (Favorable tax status) ฐานะการจ่ายภาษีของผูล้ งทุนเป็ นปั จจัย สําคัญอย่างหนึ งที ผูบ้ ริ หารเงินลงทุนต้องให้ความสนใจ ปั ญหาก็คือว่า จะทําอย่างไรจึงจะรักษา รายได้และกําไรจากการขายหลักทรัพย์ (Capital gain) ให้ได้มากที สุดที จะมากได้ การจ่ายภาษีใน อัตราก้าวหน้าจากเงินได้พึงประเมินทําให้ยากแก่การรักษาจํานวนรายได้นd นั ไว้ ผูล้ งทุนอาจเลี ยงการ เสี ยภาษีเงินได้จากเงินได้พึงประเมินดังกล่าว โดยลงทุนในพันธบัตรที ได้รับการยกเว้นภาษี หรื อซืd อ หลักทรัพย์ที ไม่มีการจ่ายเงินปั นผลใยเวลานีd แต่จะได้ในรู ปกําไรจากการขายหลักทรัพย์ในอนาคต สําหรับในต่างประเทศ อัตราภาษีที เก็บจากกําไรจากการขายหลักทรัพย์นd นั ต่างกัน กําไรจาการขาย หลักทรัพย์ที ได้จากการขายสิ นทรัพย์ประเภททุน (Capital asset) ผูท้ ี ลงทุนครอบครองไว้เป็ นเวลา 6 เดือนหรื อนานกว่านีd จะเสี ยภาษีในอัตราสู งสุ ด 25% ในการบริ หารเงินลงทุน ผูจ้ ดั การเงินลงทุนต้อง ดูวา่ ผูล้ งทุนท่านนีdตอ้ งเสี ยภาษีเงินได้ในอัตราสู งสุ ดเท่าไร ถ้าเขาเสี ยภาษีในอัตรา 50% หรื อสู งกว่า 50% แล้ว เขาควรลงทุนในหลักทรัพย์ที ให้กาํ ไรจากการขายหลักทรัพย์หรื อพันธบัตรที ได้รับยกเว้น ภาษี
50
งานวิจัยทีเ กีย วข้ อง ผลงานวิจัยที เกีย วข้ องกับการตกแต่ งบัญชี ชนิ กา อรุ ณวัฒนา (2547) เรื องการศึกษาความคิดเห็ นของผูส้ อบบัญชี และผูช้ ่วยผูส้ อบ บัญชี เกี ยวกับรู ปแบบและมูลเหตุจูงใจของการตกแต่งบัญชี ในประเทศไทย พบว่า รู ปแบบ และ มูลเหตุจูงใจในการตกแต่งบัญชีของบริ ษทั ในและนอกตลาดหลักทรัพย์ฯแตกต่างกัน โดยบริ ษทั ที อยูใ่ นตลาดหลักทรัพย์ฯจะมีรูปบแบบในการตกแต่งบัญชีเกี ยวกับการเร่ งบันทึกบัญชีรายได้ให้เร็ ว กว่าความเป็ นจริ งมากที สุด ในขณะที บริ ษทั ที อยูน่ อกตลาดหลักทรัพย์ฯจะตกแต่งบัญชีเกี ยวกับการ ทํา บัญชี 2 ชุ ด มากที สุ ด สํา หรั บ มูล เหตุ จูง ใจในการตกแต่ง บัญชี พบว่า บริ ษ ทั ที อยู่ใ นตลาด หลักทรัพย์ฯจะตกแต่งบัญชี เพื อต้องการดึ งดูด ผูล้ งทุ นที เป็ นสถาบันรายใหญ่ในตลาดมากที สุ ด ในขณะที บริ ษทั ที อยูน่ อกตลาดหลักทรัพย์ฯจะตกแต่งบัญชีเพื อประโยชน์ในการเสี ยภาษีมากที สุด อย่างไรก็ตามความคิดเห็นเกี ยวกับแนวทางในการลดการตกแต่งบัญชีมีความสอดคล้องกันในด้าน การพัฒนาบุคลากรด้านบัญชีให้มีจริ ยธรรม อรจิรา ปัญจะเทวคุปต์ (2549) เรื องการตกแต่งบัญชีเพื อประโยชน์ทางภาษีเงินได้นิติบุคคล ผ่านบัญชีรายจ่าย พบว่า กิจการที มีผลแระกอบการเป็ นขาดทุนจะมีอตั รารายจ่ายต่อยอดขายสู งกว่า กิจการที มีผลประกอบการเป็ นกําไร ทัdง 5 ประเภทรายจ่าย แต่มีเพียงรายจ่ายประเภทเงินเดือนและ ค่า แรง และค่ า เช่ า เท่ า นัdน ที กิ จการที มี ผ ลประกอบการเป็ นกํา ไรมี ค่ า เฉลี ย ตํ า กว่า กิ จ การที มี ผ ล ประกอบการเป็ นขาดทุนอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ ส่ วนรายจ่ายประเภทค่าตอบแทนกรรมการ ค่า ขนส่ ง และค่ า นายหน้ า ของทัdง กลุ่ ม กิ จ การที มี ผ ลประกบการเป็ นกํา ไรและกิ จ การที มี ผ ล ประกอบการเป็ นขาดทุ น มี อตั รารายจ่า ยต่อยอดขายไม่แตกต่า งกัน นอกจากนีd กิ จการในกลุ่ ม ขาดทุน มีอตั รารายจ่ายต่อยอดขายไม่แตกต่างกัน นอกจากนีdกิจการในกลุ่มขาดทุนที ระดับขาดทุน ต่างกัน เมื อนํารายจ่ายมาทดสอบทางสถิ ติแล้วพบว่ากิจการในกลุ่มขาดทุนที ระดับติดต่อกันจะมี อัตรารายจ่ายต่อยอดขายไม่แตกต่างกัน ส่ วนกิจการในกลุ่มกําไร โดยเฉพาะกลุ่มกําไรระหว่าง 1 ถึง 3 ล้านบาท ส่ วนใหญ่จะมีอตั รารายจ่ายต่อยอดขายตํ ากว่ากลุ่มกําไรน้อยกว่า 1 ล้านบาท อย่างมี นัยสําคัญทางสถิติ ส่ วนกลุ่มกําไรมากกว่า 3 ล้าน และกลุ่มกําไรระหว่าง 1 ถึง 3 ล้านบาท มีอตั รา รายจ่ายต่อยอดขายเฉลี ยไม่แตกต่างกัน ทัdงนีdอาจเนื องจากอัตราภาษีเงินได้ของกลุ่มกําไรน้อยกว่า 1 ล้านบาทมีอตั ราเพียงร้อยละ 15 แต่หากกิจการมีกาํ ไรสุ ทธิเกิน 1 ล้านบาท ต้องเสี ยภาษีในกําไรส่ วน ที เกิน 1 ล้านบาทในอัตราถึงร้อยละ 25 จึงเป็ นสาเหตุให้กิจการะยายามสร้างรายจ่ายเพื อลดทอน
51 กําไรสุ ทธิให้ต าํ กว่า 1 ล้านบาท ส่ วนกลุ่มกําไร 1 ถึง 3 ล้านบาท อาจมีการสร้างรายจ่ายเพื อลดทอน กําไรสุ ทธิ ให้ต าํ กว่า 3 ล้านบาทเช่นกัน และหากกิจการมีการวางแผนในการตกแต่งบัญชี รายจ่าย ล่วงหน้า และนําส่ งภาษีหกั ณ ที จา่ ยเป็ นรายเดือนไว้แล้วจะไม่ปรากฏข้อมูลการยื นแบบเพิ มเติมเสี ย การเสี ยภาษี ภคินี อริ ยะ(2547) เรื องการศึกษาการตกแต่งงบการเงิ นที มีผลกระทบต่อคุณภาพกําไร : กรณี ศึกษากลุ่มสถาบันการเงินที จดทะเบียนในตลาดหลัดทรัพย์แห่งประเทศไทย พบว่า หลักเกณฑ์ ที ใช้ในการประเมินการตกแต่งงบการเงินที มีผลต่อคุณภาพกําไร คือ พิจารณาความถูกต้องของการ แสดงมูลค่าจากงบการเงินในส่ วนของรายงานของผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต งบดุล งบกําไรขาดทุน งบ แสดงการเปลี ยนแปลงในส่ วนของผูถ้ ือหุ ้น งบกระแสเงิ นสด และหมายเหตุประกอบงบการเงิ น และประเมินผลกระทบของนโยบายการบัญชีที กิจการใช้อยู่ รู ปแบบในการตกแต่งงบการเงิน ที สถาบันการเงินนํามาใช้ ได้แก่ การไม่บนั ทึกหรื เปิ ดเผย ข้อมูลอย่าครบถ้วน โดยในเรื องการตัdงค่าเผื อหนีd สงสัยจะสู ญ มีการตัdงตามเกณฑ์ที ธนาคารแห่ ง ประเทศไทยกําหนด แต่ไม่ได้ตd งั อย่างเพียงพอตามหลักการบัญชี ที รับรองทัว ไป หรื อตัdงไว้จาํ นวน มากเกิ นไปเนื องจากการมีหนีd ที ไม่ก่อให้เกิ ดรายได้จาํ นวนมาก และพบว่างบการเงิ นของบริ ษ ทั เงินทุนไม่ได้รวมงบการเงินของบริ ษทั ย่อยและบริ ษทั ร่ วม การตกแต่งบัญชี ของกลุ่มสถาบันการเงินที เป็ นกลุ่มตัวอย่างมีผลกระทบต่อคุณภาพกําไร โดยทําให้กาํ ไรที นาํ เสนอผ่านงบการเงินเป็ นกําไรที ไม่สามารถแสดงฐานะที แท้จริ งทางเศรษฐกิจ และไม่เพียงพอต่อการนํามาเป็ นข้อมูลเพื อการตัดสิ นใจในการลงทุน และไม่สามารถเปลี ยนเป็ นเงิน สดได้ง่ายเพื อการนําไปชําระหนีdหรื อนําไปลงทุนต่อได้ เนื องจากกิจการขาดสภาพคล่องทางการเงิน แนวคิดและทฤษฏี วรศักดิ ทุมมานนท์(2543: 3-14) การตกแต่งบัญชี (Creative Accounting) หมายถึงการ ปรั บ แต่ ง ตัว เลขทางบัญ ชี โดยอาศัย ความได้เ ปรี ย บหรื อ ช่ อ งโหว่ข องกฎเกณฑ์ท างบัญ ชี แ ละ ทางเลือกต่างๆในการวัดมูลค่า หรื อในการเปิ ดเผยข้อมูลทางการบัญชีเพื อแปลงโฉมงบการเงินจาก สิ งที ควรจะเป็ นให้ไปสู่ ส ิ งที ผบู ้ ริ หารปรารถนาที จะให้ปรากฏในรายงานทางการเงิน ก่อนที จะกลายมาเป็ นคําว่า การตกแต่งบัญชี ณ ปัจจุบนั ก่อนหน้านีdได้มีสมมติฐานที เรี ยกว่าการเกลี ย กําไร (Income Smoothing) คือ การปรับแต่งความผันผวนของกําไรของกิจการอย่างจงใจของฝ่ าย
52 จัดการของกิ จการ เพื อให้ไปสู่ ระดับกําไรที ฝ่ายจัดการพิจารณาเห็นแล้วว่าเป็ นระดับกําไรที ปกติ สําหรับกิจการในขณะนัdน โดยมีรูปแบบการเกลี ยกําไร ประกอบด้วย 1. การเกลี ยกําไรโดยอาศัยช่องโหว่ทางบัญชี (Intertemporal Smoothing ) แบ่งได้ เป็ น 2 ประเภทดังนีd 1.1
การปรับแต่งกําไร (Real Smoothing) คือการปรับแต่งกําไรของกิจการโดยการ
ก่อให้เกิดรายการ หรื อ ชะลอไม่ให้เกิดรายการนัdนๆขึdนโดยที ฝ่ายจัดการได้มีการพิจารณามาก่อน หน้านีdถึงผลกระทบของรายการนัdนๆที มีตอ่ ผลการดําเนินงานของกิจการ 1.2
การเกลี ยกําไรโดยวิธีปฏิบตั ิทางบัญชี (Artificial Smoothing) คือ การปรับกําไร
โดยการรับเอาวิธีปฏิบตั ิทางบัญชีที จะช่วยให้กิจการชะลอการรับรู ้รายจ่ายและหรื อรายได้จากงวด บัญชีหนึ งไปสู่ อีกบัญชีหนึ ง 2. การเกลี ยรายการบางรายการ (Classificatory Smoothing) เป็ นเรื องของการปรับ รายการบางรายการในงบกําไรขาดทุนของฝ่ ายจัดการ โดยตัดสิ นใจว่าจะจัดจําแนกรายการนัdนๆเข้า เป็ นส่ วนหนึ งของการคํานวณกําไรจากการดําเนินงานต่อเนื องหรื อจะจัดจําแนกรายการนัdนๆเป็ น ส่ วนหนึ งของรายการพิเศษ จากการเกลี ยกําไร ได้พฒั นาไปสู่ การจัดการตกแต่งกําไร (Earnings Management) คือการ ปรั บ แต่ง ผลการดํา เนิ นงานเพื อที จะสร้ า งภาพลัก ษณ์ ข องผลดํา เนิ นงานให้เ ป็ นตามที ผูบ้ ริ ห าร ต้องการโดยมีรูปแบบของการตกแต่งผลการดําเนินงาน ดังต่อไปนีd 1.
การเพิ มและลดกําไรของงวดปั จจุบนั (Boosting and Reducing Current Year
Performance) 1.1
การขยับรายได้ของงวดบัญชีถดั ไปเข้ามาเป็ นรายได้ของงวดบัญชีปัจจุบนั
1.2
การบันทึกค่าใช้จา่ ยตํ ากว่าความเป็ นจริ งโดยการบันทึกเป็ นต้นทุนสิ นทรัพย์
53 1.3
การกําหนดระยะเวลาตัดจําหน่ายค่าใช้จา่ ยรอตัดบัญชี ยาวนานกว่าความเป็ นจริ ง
1.4
การไม่บนั ทึกค่าใช้จา่ ยค้างจ่ายหรื อบันทึกไม่ครบถ้วน
2.
การเปลี ยนแปลงทางการบัญชีที ขd ึนอยูก่ บั ดุลยพินิจของฝ่ ายบริ หาร (Discretionary
Accounting Change) เช่น การเปลี ยนแปลงหลักการบัญชี หรื อประมาณการทางบัญชีตามดุลยพินิจ ของฝ่ ายบริ หาร เพื อเพิม กําไรของงวดปั จจุบนั เป็ นสําคัญ มิใช่การเปลี ยนแปลงเพื อให้สอดคล้องกับ ข้อกําหนดใหม่ ๆ ของมาตรฐานการบัญชี 3.
การกํ า หนดช่ ว งเวลาที ท ํ า การตั ด สิ นใจเกี ย วกั บ การดํ า เนิ น งาน (Times
Management Actions) เช่นการตัดสิ นใจขายสิ นทรัพย์ที ได้มาในราคาตํ าในช่วงเวลาที ราคาสิ นทรัพย์ นัdนปรับตัวสู งขึdน เพื อให้กาํ ไรจากการขายสิ นทรัพย์ชดเชยกับผลดําเนินงานที ตกตํ าลงรวมทัdงการ ตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารเกี ยวกับงวดบัญชีที กิจการจะเริ มนํามาตรฐานการบัญชีที ประกาศใช้มาปฏิบตั ิ อย่า งเป็ นทางการ (Transaction Period) จึ ง เปิ ดโอกาสให้ผูบ้ ริ หารตัดสิ น ใจว่า จะเลื อกรั บ เอา มาตรฐานการบัญชีมาใช้ในงวดบัญชีใด จึงจะเกิดผลดีกบั กิจการมากที สุด 4.
การลดกําไรของงวดปั จจุบนั ลง (Reducing Current Year Performance) เช่น การ
ลดอายุใช้งานของสิ นทรัพย์ถาวรลง การพิจารณาสิ นทรัพย์บางรายการเป็ นรายการที มีความเสื อมใน มูลค่าลงเพื อเร่ งการตัดจําหน่ายเป็ นค่าใช้จา่ ยในงบกําไรขาดทุน 5.
การล้างบาง (Big Bath) คือการที กิจการรับรู ้ผลขาดทุนเพิ มเติม (Additional Loss)
ในปี ที การดําเนินงานประสบความล้มเหลว และเป็ นการล้างบางตัวเลขผลการดําเนินงานที ลม้ เหลว ให้หมดสิd น เพื อให้ผลการดําเนินงานในงวดต่อไปปรับตัวสู งขึdนได้ สรุ ปจากแนวคิดทฤษฎี ที ได้อธิ บายข้างต้น การตกแต่งบัญชี ในระยะเริ มต้นจะทํากันใน รู ปแบบของการเกลี ยกําไร และหลังจากนัdนก็ได้มีการพัฒนาไปสู่ พฤติกรรม การตกแต่งกําไร แต่ การตกแต่ง บัญชี จะให้ค วามหมายของการปรั บแต่ง ตัวเลขที ก ว้า งที สุดโดยรวมไปถึ งการสร้ า ง
54 รายการ หรื อการซ่ อนเร้นรายการที ไม่ตอ้ งการแสดง ในขณะที การตกแต่งกําไรเป็ นส่ วนย่อยของ การตกแต่ง บัญชี โดยจะมี ค วามหมายที แคบกว่า คื อการตกแต่ง ตัวเลขจะเป็ นไปตามกฎเกณฑ์ ทางการบัญชีที กาํ หนดไว้ แต่ให้ผลที ออกมาเป็ นไปตามความต้องการ ในขณะที การเกลี ยกําไร จะ เป็ นส่ วนย่อยของการตกแต่งกําไร โดยที การเกลี ยกําไร มุ่งหมายเพียงการปรับแต่งตัวเลขที ลดความ ผันผวนของตัวเลขกําไรเท่านัdน ในปั จจุบนั หลายกิจการมีการแยกความเป็ นเจ้าของและฝ่ ายจัดการ ออกจากกัน ณ จุดนีd เองที สร้างความกดดันให้แก่ฝ่ายจัดการในอันที จะต้องในอันที ตอ้ งรายงานผล ดําเนินงานที ดูดีในสายตาของผูท้ ี สนใจจะลงทุนในธุรกิจ นอกจากนีd การตกแต่งบัญชี ยังเป็ นผลจาก การปราศจากมาตรฐานการบัญชีที จะรองรับเหตุการณ์ หรื อรายการทางธุ รกิจใหม่ ๆ ตลอดจนความ คลุมเครื อ และความยืดหยุน่ ของกฎเกณฑ์ทางการบัญชีที เกี ยวข้องกับการวัดมูลค่าของรายการ หรื อ เหตุการณ์ทางการเงินและการเปิ ดเผยข้อมูลทางการเงินที มีค่อนข้างสู ง รวมทัdงความไม่สอดคล้อง กันระหว่างแนวทางการปฏิบตั ิทางบัญชีที กาํ หนดขึdนโดยหน่วยงานต่าง ๆ ที มีอาํ นาจจึงเปิ ดโอกาส ให้ฝ่ายจัดการปรับแต่งผลการดําเนินงาน และฐานะการเงินของกิจการได้ตามที ปรารถนา Levitt (1998) อดีตประธานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์แห่งประเทศสหรัฐอเมริ กา ได้ กล่าวถึ งการตกแต่งกําไรของบริ ษทั จดทะเบียนในอเมริ กาว่าได้แพร่ ขยายตัวอย่างรวดเร็ ว และมี วิวฒั นาการมาหลายปี จนขนานนามได้วา่ เป็ น “Number Game” ซึ งการเพิ มขึdนอย่างรวดเร็ วนีdผทู ้ ี มี ส่ วนเกี ยวข้องมีดว้ ยกันหลายฝ่ าย เช่น ผูบ้ ริ หารกิจการที ตอ้ งทําผลกําไรให้ได้ตามต้องการหรื อ การ คาดหวัง ในผลประกอบการของนักวิเคราะห์หุ้น ผูส้ อบบัญชี กบั ความอิสระและการขัดแย้งทาง ผลประโยชน์จากบริ การอื น (Non Audit Service) ภาวการณ์แข่งขันกับคู่แข่งในอุตสาหกรรม และที สําคัญก็คือ มาตรฐานการบัญชีที มีการเปิ ดทางเลือกไว้ และในบางกรณี ฝ่ายบริ หารอาจใช้ประมาณ การรายการบัญชี บ างรายการ ซึ ง ผลกระทบต่อ จํา นวนเงิ น ที แสดงในงบการเงิ นและหมายเหตุ ประกอบงบการเงิ น ทํา ให้บ ริ ษทั สามารถใช้ค วามยืดหยุ่นดัง กล่ า วนัdน บริ หารผลกไรได้ตามที ผูบ้ ริ หารต้องการ Levitt ได้กล่าวถึงวิธีการที เป็ นที นิยมใช้ในการตกแต่งกําไร 5 วีที สาํ คัญ ดังนีd 1.
การล้างบาง (Big Bath Charge) การล้างบางหรื อชําระล้างรายการค่าใช้จ่ายรอตัด
บัญชี หรื อผลขาดทุนก้อนใหญ่ที มีอยู่เพียงครัdงเดียวให้หมดสิd น ซึ งจะช่วยให้กาํ ไรที จะรายงานใน งวดต่อๆไปปรับตัวสู งขึdน
55 2.
การตกแต่งบัญชี โดยการควบรวมกิจการ (Creative Acquistion Accounting) กล
ยุทธ์ควบรวมกิจการ (Merger and Acquistion : M&A) ทําให้กิจการพยายามที จะหาวิธีให้กิจการที ทํา M&A มีผลกําไรในอนาคตที ดูดีขd ึนก่อนควบรวมกิจการ โดยตัdงเป็ นค่าความนิ ยม หรื อตัdงเงิน ลงทุนไว้เป็ นสิ นทรัพย์อื นภายใต้การวิจยั และพัฒนาแล้วตัดจ่ายครัdงเดียว (One-time Charge) 3.
การตัdงสํารองต่างๆ (Miscellaneous) “Cookie Jar Reserve” บางกิจการมีการตัdง
สํารองต่าง ๆ ไว้ในจํานวนที สูงกว่าความเป็ นจริ งในปี ที ผลประกอบการดี 4.
นัยสําคัญ (Materiality) การประเมินว่าเรื องใดมีสาระสําคัญ เป็ นเรื องของการใช้
ดุลยพินิจ ดังนัdนผูบ้ ริ หารจึงอาศัยเรื องของดุลยพินิจนีd เป็ นช่องทางในการบริ หารกําไร โดยตัdงใจ บันทึกข้อผิดพลาดเป็ นค่าใช้จ่ายโดยให้เหตุผลว่าเมื อคิ ดเป็ นอัตราร้ อยละต่อกําไรสุ ทธิ แล้วไม่มี นัยสําคัญ 5.
การรับรู ้รายได้ (Revenue Recognition) วิธีการรับรู ้รายได้ ที ผบู ้ ริ หารนํามาใช้ทาํ
การตกแต่งกําไร (Earning Management) คือ การรับร้ายได้เร็ วเกินไปก่อนที กระบวนการซืd อขายจะ เสร็ จสิd น หรื อการรับรู ้รายได้ที ยงั มีความไม่แน่นอนหรื อการรับรู ้รายได้ลวงตา ผลงานวิจัยทีเ กีย วข้ องกับการลงทุน อเนก เลิศรมยานันท์ (2536) เรื องวิเคราะห์การลงทุนในหุ ้นกลุ่มเงินทุนหลักทรัพย์ พบว่า ปัจจัยที มีผลต่อราคาหุน้ อย่างมีนยั สําคัญมีเพียง 2 ตัวแปร คือ ขนาดของทุนจดทะเบียน และกําไรต่อ หุ ้ น โดยที ข นาดของทุ น จดทะเบี ย น จะมี ค วามสั ม พัน ธ์ ใ นทางลบ ขณะที ก ํา ไรต่ อ หุ ้ น จะมี ความสัมพันธ์ในทางบอกกับราคาหุน้ และสาเหตุที ทาํ ให้หลักทรัพย์ในกลุ่มเงินทุนหลักทรัพย์เป็ นที นิยมในหมู่ของนักลงทุนก็เพราะว่าเศรษฐกิจของประเทศไทยอยูภ่ าวะที ดีมาก เมื อเปรี ยบเทียบกับ เศรษฐกิจโลก อัตราการเติบโตของกําไรของบริ ษทั จึงสู งตาม ทําให้มีการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ มากขึdนทัdงใน และต่างประเทศ ซึ งเป็ นผลทําให้มูลค่าการซืdอขายมีสูง และมีแนวโน้มสู งขึdนอีกต่อไป
56 ธุรกิจนีdจึงมีรายได้จากค่าธรรมเนียมในการซืd อขายหุ ้นสู งตามไปด้วย จึงทําให้เป็ นที คาดหมายกันว่า กําไรต่อหุ ้นจะสู งขึdน ซึ งจะทําให้ราคาหุ ้นสู งขึdนในที สุด นักลงทุนจึงนิยมซืd อขายหุ ้นในกลุ่มนีd มาก ส่ วนหุน้ ที เหมาะแก่กบั การลงทุน มักจะเป็ นหุน้ ที มีปัจจัยพืdนฐานดีมีอตั ราการเติบโตของกําไรต่อหุ ้น ดี และมีธนาคารพาณิ ชย์ถือหุน้ อยูด่ ว้ ย เชิดชัย วงษ์เมตตา (2540) เรื องอัตราผลตอบแทนของการลงทุนในหุ ้นสามัญกลุ่มธนาคาร พาณิ ชย์ พบว่า ธนาคารที ให้อตั ราผลตอบแทนของการลงทุนสู งสุ ด คือ ธนาคารแหลมทอง จํากัด (มหาชน) ให้ผลกําไรเฉลี ยร้ อยละ 54.62 ต่อปี ในขณะที ธนาคารให้อตั ราผลตอบแทนตํ าสุ ด คือ ธนาคารกรุ งเทพฯพาณิ ชย์การ จํากัด (มหาชน) ให้ผลขาดทุนเฉลี ยร้อยละ 8.6 ต่อปี ในการวิเคราะห์ ความเสี ยงจากการลงทุนสู งสุ ด คือ ธนาคารแหลมทอง จํากัด (มหาชน) โดยมีค่าเบี ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 49.36789 และธนาคารที มีความเสี ยงจากการลงทุนตํ าสุ ด คือ ธนาคารกรุ งศรี อยุธยา จํากัด (มหาชน) โดยมีค่าเบี ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.8398 สรุ ปได้วา่ หากลงทุนในหน่วยลงทุนที มีความ เสี ยงสู งจะให้ผลตอบแทนสู งตามไปด้วย เป็ นการแปรผันตรงกัน ชุมพล ชีววิริยะกุล (2543) เรื องการตัดสิ นใจลงทุนในหลักทรัพย์กลุ่มธนาคารพาณิ ชย์ของ นัก ลงทุ น รายย่อ ยในจัง หวัด เชี ย งใหม่ พบว่า นัก ลงทุ น รายย่อ ยจะใช้ข ้อ มู ล จากการวิเ คราะห์ ปั จ จัย พืd น ฐานและการวิ เ คราะห์ ท างเทคนิ ค ประกอบกัน โดยจะเริ ม ศึ ก ษาจากการวิ เ คราะห์ ปั จ จัย พืd น ฐานก่ อ น ซึ งพบว่า นัก ลงทุ น รายย่อ ยในหลัก ทรั พ ย์ก ลุ่ ม ธนาคารพาณิ ช ย์ใ นจัง หวัด เชี ยงใหม่ให้ความสําคัญกับการวิเคราะห์บริ ษทั มากที สุด รองลงมาคือการวิเคราะห์เศรษฐกิจและ ตลาดหลักทรัพย์ นอกจากการวิเคราะห์ปัจจัยพืdนฐานและการวิเคราะห์ทางเทคนิคที กล่าวมาแล้ว ยัง มีขอ้ มูลอื น ๆ ที นกั ลงทุนนํามาประกอบการพิจารณาคือ เอกสารคําแนะนําตามสํานักงานตัวแทน นายหน้าซืdอขายหลักทรัพย์ ข้อมูลจากสื อต่าง ๆ มีคนแนะนําให้ลงทุน และข่าวลือ ผลงานวิจัยทีเ กีย วข้ องกับการสร้ างภาพลักษณ์ อรรถพล ยูนิพ นั ธุ์ (2550) เรื องการสร้ างภาพลัก ษณ์ ข อง บริ ษทั วอลโว่ทรั คแอนด์บ สั (ประเทศไทย) จํากัด พบว่า ภาพลักษณ์ในการก่อตัdงบริ ษทั ฯเป็ นภาพลักษณ์ของสิ นค้าคุณภาพตํ า ราคาถูก บริ ษทั ฯจึงได้ใช้กลยุทธ์ในด้านคุณภาพความทนทานคุม้ ค่าในระยะยาวและกลยุทธ์ในการ ขยายสาขาเพื อเป็ นที รู้จกั พร้อมให้บริ การหลังการขายโดยเฉพาะในช่วงการแข่งขันกับสิ นค้าญี ปุ่น บริ ษทั ฯได้เริ มให้ความสนใจในการสร้างภาพลักษณ์องค์กรภายในให้ทนั สมัยสู่ ภายนอก โดยให้การ
57 สนับสนุ นในการศึกษาเพิ มเติม การดูงานต่างประเทศการมีส่วนร่ วมของพนักงานในการพัฒนา ร่ ว มกัน ทัdง องค์ก ร ตลอดจนการจัด กิ จ กรรมทางสั ง คมต่ า งๆ เช่ น การบริ จ าคเงิ น และอุ ป กรณ์ ช่ ว ยเหลื อ ผูป้ ระสบภัย การสนับ สนุ น ทุ น การศึ ก ษาตามโรงเรี ย นต่ า งๆ การสนับ สนุ น สมาคม ผูป้ ระกอบการขนส่ ง การสนับสนุนในการรักษาสิ งแวดล้อมนอกจากนีdยงั พบว่าจุดเปลี ยนสําคัญใน พ.ศ.2549 คือ บริ ษทั ฯจําเป็ นต้องศึกษาพฤติกรรมผูบ้ ริ โภคที เปลี ยนแปลง ไปตามเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรมเพื อปรับภาพลักษณ์ และยุทธ์ให้สอดคล้องกับความนิยมของสังคมที เปลี ยนแปลงไป โดยใช้การสื อสารการตลาด แบบครบเครื อง เช่น วอลโว่ไฟแนนท์ให้ให้การสนับสนุนด้านการเงิน วอลโว่แอคชั น เซอร์ วิส ให้บ ริ ก าร 24 ช.ม. กรณี ร ถเสี ย บนท้องถนนทัว ประเทศ สัญญาการ บํารุ งรักษาของวอลโว่ โดยที ลูกค้าไม่ตอ้ งคอยดูแลรถทางวอลโว่จะดูแลให้ตลอดการใช้งานจนครบ สัญญา การประชุ มและการสัมมนาแลกเปลี ยนข่าวสารและการจัดเลีdยงขอบคุณลูกค้าทุกปี เพื อให้ เกิดความสัมพันธ์ตอ่ กันอย่างยัง ยืน เกียรติญา สายสนัน (2552) เรื องการสร้างภาพลักษณ์ของนักแสดงไทย พบว่า ภาพลักษณ์ ของนักแสดง มีผลต่อความสําเร็ จในอาชี พเป็ นอย่างมาก เกิ ดขึdนตัdงแต่การเข้ามาในวงการบันเทิง องค์ประกอบต่างๆในเส้นทางชีวิตของนักแสดงจึงมีความสําคัญอย่างมากข้ามไม่ได้ ทัdงจุดเริ มต้น อาชี พ พัฒนาการของการทํางานผลงานชิdนแรก ผลงานที สร้างชื อ จุดยืนและจุดขายของนักแสดง ทัdงหมดจึงส่ งผลต่อภาพลักษณ์ของนักแสดงทัdงสิd น เป็ นสิ งที ยากต่อการเปลี ยนแปลง จึงควรวางแผน สร้างภาพลักษณ์ที ดีเพื อเอืdอประโยชน์ต่ออาชีพการงานก่อให้เกิดโอกาสที ดีในการับงานรวมถึงการ เปิ ดใจรับของประชาชนที มีตอ่ ผลงานของนักแสดงนัdนๆ ดวงพร กิ จ ก้อ งขจร (2550) เรื อ งการวิ เ คราะห์ แ ผนการประชาสั ม พัน ธ์ เ พื อ ส่ ง เสริ ม ภาพลักษณ์ที ดีของกองทัพอากาศ พบว่า 1. แผนการประชาสัมพันธ์เพื อส่ งเสริ มภาพลักษณ์ที ดีของกองทัพอากาศนัdนเป็ นความพยายาม ในการสร้างความเข้าใจอันดีให้เกิดขึdนกับประชาชนในพืdนที ถือเป็ นหลักใหญ่และทุกหน่วยงานได้ ลงพืdนที ป ฏิ บตั ิ ง านกันอย่า งเข้ม แข็ง โดยหวัง ว่า จะเป็ นส่ วนช่ วยให้นําความสันติ สุข กลับคื นมา โดยเร็ ววัน ซึ งงานด้านกิ จการพลเรื อนซึ งเป็ นส่ วนหนึ งของแผนการประชาสัมพันธ์เพื อส่ งเสริ ม ภาพลัก ษณ์ ที ดีข องกองทัพ อากาศฉบับ ปั จจุ บ ัน และเป็ นภารกิ จ รองที จ ะทํา ให้ป ระชาชนมอง ภาพลักษณ์ของกองทัพอากาศเป็ นกองทัพเพื อประชาชนได้ถูกนํามาเป็ นแนวทางหนึ งที จะช่วยสร้าง
58 ความมัน ใจ ความมัน ใจของเจ้าหน้าที รัฐด้วยการช่วยเหลือประชาชนในทุกๆ ด้านไม่วา่ จะเรื องการ ให้บริ การรักษาพยาบาล ตรวจรักษา แจกจ่ายยารักษาโรค การมอบอุปกรณ์การศึกษา อุปกรณ์กีฬา ตลอดจนทุ น การศึ ก ษา การสนับ สนุ น โครงการอาหารกลางวัน รวมไปถึ ง การพัฒ นาสถานที สาธารณะ ได้แก่ โรงเรี ยน วัด ถนน ฯลฯ เพื อให้ประชาชนได้เกิดความสะดวกสบาย สิ งเหล่านีd ดู เหมือนเป็ นเรื องเล็กน้อยแต่กลับ เป็ นปั จจัยที ช่ วยส่ ง เสริ มภาพลัก ษณ์ ที ดีของกองทัพอากาศและ ส่ งเสริ มทัศนคติที ดีของคนในพืdนที กบั ผูป้ ฏิบตั ิงานได้เป็ นอย่างดี 2. ปั ญหาและอุปสรรคในการดําเนิ นตามแผนงานประชาสัมพันธ์เพื อส่ งเสริ มภาพลักษณ์ที ดี ของกองทัพอากาศที พบอยูม่ ี 4 ปั ญหาหลัก ได้แก่ ด้านองค์กร ด้านบุคคลกร ด้านเทคโนโลยี ด้าน งบประมาณซึ งปั ญหาเหล่านีdเป็ นอุปสรรคกับภาพลักษณ์และชื อเสี ยง ความเชื อถือของบุคคลกรใน กองทัพอากาศและประชาชนภายนอกรวมทัdงชุมชนและสังคมทัdงยังทําให้การทําประชาสัมพันธ์ไม่ ประสบความสําเร็ จตามวัตถุประสงค์และเป้ าหมายของกองทัพอากาศ
ความหมายของคําว่าภาพลักษณ์ คําว่า ภาพลักษณ์ มาจากคําภาษาอังกฤษว่า Image ซึ งแต่เดิมให้คาํ ว่า ภาพพจน์เป็ นคําที ใช้ เพีdยนไปจากความหมายที แท้จริ ง เพราะพจน์มีความหมายว่า ที ทาํ ให้เกิ ดภาพ ฉะนัdนจึงหมายถึ ง ถ้อยคําที ให้เกิดภาพในใจ ซึ งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Figure of speech เมื อกล่าวถึงภาพพจน์แล้วจึง เป็ นเรื องของภาษา การใช้คาํ พูดที เป็ นสํานวนโวหารทําให้นึกเห็นเป็ นภาพ พลตรี พระวรวงศ์เธอ กรมหมื นนราธิพงศ์ประพันธ์ ที ปรึ กษาคณะกรรมการบัญญัติศพั ท์ได้ ทรงวินิจฉัยเพื อความเข้าใจที ถูกต้องว่า คําว่า Image เดิมนัdนราชบัณฑิตยสถานได้บญั ญัติวา่ ภาพ ซึ ง เป็ นความหมายกว้างไป จินตภาพ น่าจะตรงกับคําว่า Imaginary มากกว่าและทรงเห็นว่าน่ าจะ อนุ โลมให้ใช้คาํ ว่า ภาพพจน์ แทนความหมายถึง Image ได้เพราะเป็ นคําเพีdยนที ใช้กนั แพร่ หลาย ปั จจุบนั พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ฉบับพิมพ์ครัdงที 5 (พ.ศ.2538) ได้เก็บคําว่า ภาพลักษณ์ลงในหน้าที 620 โดยให้ความหมายภาพลักษณ์ ภาพที เกิดจากความนึกคิดหรื อคิดว่าควร จะเป็ นเช่นนัdน
59
ในด้านการประชาสัมพันธ์ ภาพลักษณ์หมายถึง ภาพที เกิดขึdนในใจ (Mental Picture) ของ บุคคลที มีต่อสิ งใดสิ งหนึ งอาจจะเป็ นบุคคลหรื อองค์กรก็ได้ โดยเกิดจากการรับรู ้ที ประทับใจ ซึ ง อาจจะได้มาจากประสบการณ์ทางตรง (Direct Experience) ซึ งตัวเองได้ไปพบสัมผัสมาเองเช่นการ ไปใช้บริ การหรื อติดต่อด้วยและอาจจะได้มาจากประสบการณ์ทางอ้อม (Indirect Experience) เป็ น การได้รับฟังคําบอกเล่าของบุคคล การเผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสารของสื อมวลชนหรื อสื อขององค์การ เองไม่วา่ จะเป็ นข่าว บทความ สารคดี รายการโทรทัศน์หรื อการจัดกิจกรรมต่างๆเป็ นต้น ฟิ ลิป คอทเลอร์ (Philip Kotler) มองว่าภาพลักษณ์คือ การที สาธารณชนรับรู ้เกี ยวกับองค์กร โดยที องค์กรจะออกแบบให้มีลกั ษณะเฉพาะตัวเพื อให้สาธารณชนเกิดภาพลักษณ์นd นั ๆ อันเป็ นผล มาจากกระบวนการทางจิตใจที พยายามเรี ยงร้อยข้อมูลข่าวสารอันมหาศาลให้เชื อมต่อสัมพันธ์กนั แล้วสรุ ปเป็ นความเชื อ ความคิดและความประทับใจที คนเรามี เสรี วงษ์มณฑา ให้คาํ นิ ยามภาพลักษณ์ว่าคือ ข้อเท็จจริ ง (Objective Fact)บวกกับการ ประเมินส่ วนตัว (Personal Judgment) แล้วกลายเป็ นภาพที ฝังใจอยูบ่ นความรู ้สึกนึกคิดของบุคคล อยูน่ านแสนนานยากที จะเปลี ยนแปลง ซึ งอาจจะแตกต่างไปจากสภาพความเป็ นจริ งก็ได้เพราะว่า ภาพลักษณ์ไม่ใช่เรื องของข้อเท็จจริ งแต่เพียงอย่างเดียว แต่เป็ นเรื องของการรับรู ้ (Perception) ที มนุ ษย์เอาความรู ้สึกส่ วนตัวเข้าไปปะปนอยูใ่ นข้อเท็จจริ งด้วย ภาพลักษณ์จึงเป็ นเรื องของการรับรู ้ หรื อการคิดคํานึงมากกว่าข้อเท็จจริ ง ภาพลักษณ์จึงเป็ นเรื องเกี ยวกับกระบวนการอันซับซ้อนของความรู ้สึกนึกคิดภายในจิตใจที เกิดจากประสบการณ์ทางตรงและประสบการณ์ ทางอ้อมอันมีมากมายมหาศาล ซึ งประสบการณ์ ต่ า งๆที ไ ด้รั บ นัdน ต้อ งอาศัย การตี ค วามหมายและให้ ค วามหมายต่ อ สิ ง ต่ า งๆรอบตัว อยู่เ สมอ ภาพลัก ษณ์ จึ ง เป็ นการแทนความหมายเชิ ง อัต วิ สั ย ของสิ ง ที เ ราได้รั บ รู ้ ม า เป็ นความรู ้ สึ ก เชิ ง ตีความหมาย (Interpreted Sensation) หรื อความประทับใจ ภาพปรากฏ (Appearance) ความ คล้ายคลึงหรื อเป็ นการแทนความหมายของการรับรู ้ (Perception) กระบวนการรับรู ้อย่างเลือกสรร และการให้ความหมายต่อสิ งต่างๆนีdคือ กระบวนการเกิดภาพลักษณ์ (Process of Imagery) ซึ งมักจะ มีความหมายอย่างยิง ต่อการรับรู ้ในสิ งที ไม่มีความหมายแน่นอนในตัวเอง
60 ความสํ าคัญของภาพลักษณ์ ดวงพร คํานูณวัฒน์ ให้ความสําคัญของภาพลักษณ์ไว้ดงั นีd 1.
ความเจริ ญของเทคโนโลยีการสื อสาร ทําให้คนในสังคมรับข่าวสารและเหตุการณ์
ที เกิดขึdนทัว โลกได้อย่างกว้างขวางในชัว พริ บตาเดียว ซึ งมีผลต่อการเกิดภาพลักษณ์อย่างมาก เช่น ภาพลักษณ์ของประเทศไทยเสี ยหายย่อยยับในเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ เพราะรายงานข่าวจากสํานัก ข่าวต่างๆผ่านการสื อสารทุกรู ปแบบ เผยแพร่ ข่าวทหารปราบปรามประชาชนที ไร้อาวุธ ทําให้เกิด ภาพลักษณ์ในเชิงลบว่าประเทศไทยเป็ นประเทศป่ าเถื อน ไม่มีความมัน คง ปลอดภัย มีผลเสี ยหายต่อ ชื อเสี ยงและเศรษฐกิจของไทย 2.
องค์กรต่างๆได้รับความสนใจจากสาธารณชนและสื อมวลชนมากขึdน องค์กรใดก็
ตามหากมี ภาพลัก ษณ์ ที เป็ นไปในทางที เสื อมแล้ว องค์ก รนัdน ก็ย่อมไม่ไ ด้รั บ ความเชื อ ถื อ หรื อ ไว้วางใจจากประชาชน ประชาชนอาจมีความระแวงสงสัยหรื อเกลียดชังต่อองค์กรรวมทัdงอาจไม่ให้ ความร่ วมมื อสนับ สนุ น ในทางตรงข้า มถ้า องค์ก รมี ภ าพลัก ษณ์ ที ดี ภาพที เ กิ ด ขึd นในจิ ต ใจของ ประชาชนที มี ต่อองค์ก รนัdนก็เป็ นภาพที สวยสดงดงาม มีค วามน่ าเชื อถื อ ศรั ท ธาสมควรแก่ ก าร ไว้วางใจ
3.
ภาพลักษณ์ เป็ นรากฐานแห่ งความมัน คงขององค์กร ถ้ามีภาพลักษณ์ที ดี นับเป็ น
การเตรี ย มพร้ อมขององค์ก ร แม้มี วิก ฤตการณ์ เกิ ดขึd นก็ส ามารถแก้ไ ขได้ท นั ท่วงที เสมื อนหนึ ง ร่ างกายของคนที แข็งแรงมีภูมิคุ ้มกันโรค ถึ ง ได้รับเชืd อโรคหรื อมีเหตุที ตอ้ งเจ็บ ป่ วย อาการก็ไ ม่ ร้ายแรงและหายเร็ วกว่าปกติ
61 ประเภทของภาพลักษณ์ วิรัช ลภิรัตนกุล แบ่งภาพลักษณ์ออกเป็ น 4 ประการคือ 1.
ภาพลักษณ์ของบริ ษทั (Corporate Image) คือภาพที เกิดขึdนในจิตใจของประชาชน
ที เกี ยวข้องกับบริ ษทั หรื อหน่วยงานธุ รกิจแห่งใดแห่ งหนึ ง ภาพพจน์ดงั กล่าวนีdอาจจะหมายรวมไป ถึ ง ด้า นการบริ หารหรื อการจัดการ (Management) ของบริ ษ ทั แห่ ง นัdนด้วยและรวมถึ ง สิ นค้า ผลิ ตภัณฑ์และบริ การที บริ ษทั นัdนจําหน่ าย ดังนัdนคําว่า ภาพพจน์ บริ ษทั จึงมีความหมายค่อนข้าง กว้างและยังมีความหมายรวมไปถึงตัวหน่วยงานธุ รกิจ ฝ่ ายจัดการ และสิ นค้าหรื อบริ การของบริ ษทั เหล่านัdนด้วย 2. ภาพลักษณ์ของสถาบันหรื อองค์กร (Institutional Image) คือภาพที เกิดขึdนในใจ ของประชาชนที มี ต่ อสถาบัน หรื อ องค์ก ร ซึ ง โดยมากมัก จะเป็ นไปในทางด้า นตัวสถาบันหรื อ องค์การเพียงอย่างเดียวไม่รวมถึงสิ นค้าหรื อบริ การที จาํ หน่าย ดังนัdน Institutional Image จึงแคบกว่า Corporate Image เพราะหมายถึงสถาบันและองค์การเพียงอย่างเดียว 4.
ภาพลักษณ์ของสิ นค้าหรื อบริ การ (Product/Service Image) คือภาพที เกิดขึdนในใจ
ของประชาชนที มีตอ่ สิ นค้าหรื อบริ การของบริ ษทั เพียงอย่างเดียวไม่รวมถึงตัวองค์การหรื อบริ ษทั 5.
ภาพลักษณ์ที มีต่อสิ นค้ายี ห้อใดยี ห้อหนึ ง (Brand Image) คือภาพที เกิดในใจของ
ประชาชนต่ อสิ นค้า ยี ห้อ ใดหรื อ เครื อ งหมายการค้า ใด ส่ วนมากมัก จะใช้ด้า นการโฆษณาและ ส่ งเสริ มการจําหน่าย การสร้ างภาพลักษณ์ขององค์ กร ภาพลัก ษณ์ ข ององค์ก รจะเป็ นอย่า งไร ขึd นอยู่ก ับ ประสบการณ์ ก ารได้รับ ข่ า วสารของ ประชาชนข้อมูลข่าวสารเหล่านีd จะสร้างความประทับใจ ดึงดูดให้อยูใ่ นจิตใจของประชาชนขึdนอยู่
62 กับพฤติกรรมและการดําเนิ นการงานด้านประชาสัมพันธ์ของตัวองค์กรเอง ว่าสามารถทําให้ของ ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารอย่างถูกต้องต่อเนื องหรื อไม่เพียงใด การกําหนดภาพลักษณ์ที พึงประสงค์ขององค์กร ได้กาํ หนดเนืdอหาไว้ดงั นีd 1.
การสร้างสัมพันธ์กบั กลุ่มเป้ าหมาย (Related with Target Public) กล่าวคือ องค์กร
จะต้องมีภาพพจน์วา่ เป็ นเพื อนที ดี เน้นด้านความจริ งใจ สุ จริ ต การให้ความร่ วมมือและการมีส่วน ร่ วม 2.
สิ นค้าหรื อตราสิ นค้า (Product or brand) นอกจากการสร้างภาพลักษณ์ที ดีให้กบั
องค์กรแล้ว ตัวสิ นค้าหรื อตราสิ นค้าก็มีส่วนทําให้เกิดภาพลักษณ์ที ดีภายในจิตใจของกลุ่มเป้ าหมาย ได้ เช่ น เดี ย วกับ บุ ค ลากรที มี ค วามสามารถทํา ชื อเสี ย งให้ก ับ กองทัพ อากาศ ก็ส ามารถส่ ง เสริ ม ภาพลักษณ์ที ดีของกองทัพอากาศได้ 3.
ความปลอดภัย มลภาวะ เทคโนโลยี (Safety Pollution and Technology) ทัdงนีdเป็ น
เรื อ งขององค์ก รในปั จ จุ บ ัน ต้อ งคํา นึ ง ถึ ง เพราะว่า เป็ นความตื น ตัว และอยู่ใ นความสนใจของ ประชาชนทัว ไป ถ้าองค์กรมีเทคโนโลยีที ทนั สมัย เพื อเป็ นการควบคุมมลภาวะ และความปลอดภัย ย่อมทําให้เกิดภาพลักษณ์ที ดีขององค์กรได้ 4.
การมี ส่ วนสร้ า งเศรษฐกิ จและสัง คม (Socio-Economic Contribution) ดัง ที
กองทัพ อากาศได้มี ส่ ว นร่ ว มในกิ จ กรรมที เ ป็ นส่ ว นหนึ ง ของสั ง คม ดัง นัdน การส่ ง เสริ ม พัฒ นา สิ งแวดล้อม และการมีส่วนร่ วมในการสร้างความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและสังคม ย่อมทําให้เกิด ภาพลักษณ์ที ดีตอ่ องค์กร
63 5.
พนักงาน (Employee) พนักงานเป็ นสิ งที สําคัญมากสําหรับองค์กร ถ้าปราศจาก
พนักงานหรื อบุคลากรที ดาํ เนินงานในองค์กรแล้ว องค์กรก็ไม่สามารถดําเนินการต่อไปได้ การสร้าง ภาพลักษณ์ ที ดีขององค์กรนัdนโดยมากจะนิ ยมในเรื อง ค่าตอบแทนที ยุติธรรม สวัสดิ การที ดีและ เครื องแต่งกาย เป็ นต้น 6.
ความรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility) เป็ นการสร้างภาพลักษณ์ที ดี
ให้แก่องค์กรอย่างหนึ ง ที แสดงตนว่าเป็ นคนที ห่วงใยต่อสังคม เช่น การมอบทุนการศึกษาแก่เด็ก ยากจนการดูแลหรื อให้ความช่ วยเหลื อแก่ ผูด้ ้อยโอกาสทางสัง คม อย่างที ก องทัพ อากาศให้ก าร ช่วยเหลือประชาชนยามเกิดสาธารณภัยต่างๆ 7.
การจัดการ (Management) คือองค์กรต้องมีระบบในการจัดการที ดี เพื อให้มีการ
ผลิตสิ นค้าที มีประสิ ทธิ ภาพและคุณภาพที ดี องค์กรใดมีการบริ หารอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ภาพพจน์ ขององค์ ก รก็ ดี ต ามไปด้ว ย ดัง เช่ น ในกองทัพ อากาศที มี ก ารจัด โครงสร้ า งบริ หารที ดี แ ละมี ประสิ ทธิภาพและวินยั ของบุคลากรภายในกองทัพอยูใ่ นเกณฑ์ดี 8.
กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ (Law and Regulation) องค์กรจะเป็ นที ยอมรับจาก
สังคมต้องอยูใ่ นกรอบและระเบียบของสังคมด้วย ดังที กล่าวไว้แล้วว่า ภาพลักษณ์นd นั เกิดขึdนได้ทd งั สองทาง คือ เกิดโดยธรรมชาติและเกิดจาก การปรุ งแต่ง แต่ไม่วา่ ภาพลักษณ์จะเกิดขึdนในกรณี ใดก็ตาม ย่อมเกี ยวข้องกับ 2 ส่ วนคือ ส่ วนที เป็ นกิจกรรม คือส่ วนที ทาํ ให้องค์กรมีชีวิตจิตใจ หมายถึงบุคคลต่างๆที ทาํ ให้องค์กร สามารถดําเนิ นไปด้วยดี ในองค์กรขนาดใหญ่ ลักษณะบุคลิกภาพของผูบ้ ริ หารระดับสู งมักถูกมอง ว่าเป็ นบุคลิกหรื อภาพลักษณ์ขององค์การด้วย เพราะสังคมให้ความสนใจกับบทบาทของผูบ้ ริ หาร ระดับสู งในฐานะผูช้ d ีนาํ ขององค์กรมากเป็ นพิเศษ
64 ผลงานวิจัยทีเ กีย วข้ องกับความพึงพอใจ จริ ยา กงจักร (2548) เรื องการศึกษาปั ญหาและความต้องการของผูใ้ ช้บริ การด้านสิ นเชื อ ธนาคารออมสิ น สาชาเชียงคํา อําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามส่ วนใหญ่ให้ ความสําคัญต่อความต้องการด้านบุคลากรมากที สุด รองลงมาคือด้านกระบวนการให้บริ การ และ ตํ าสุ ดได้แก่ ด้านการส่ งเสริ มการตลาด ธนวัฒน์ ประกอบศรี (2548) เรื องความพึงพอใจของลูกค้าต่อการบริ การของสํานักงาน ธนาคารเพื อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) จังหวัดเชียงราย พบว่า ด้านเกษตรกรลูกค้า เงินกูแ้ ละลูกค้าเงินกูแ้ ละลูกค้าเงินฝาก พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการบริ การทํา คําขอกูเ้ งินขิงสํานักงานธนาคารเพื อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จังหวัดเชียงราย อยูใ่ นระดับ มาก และมี ค วามพึงพอใจต่อการบริ ก ารด้า นสถานที ข องสํา นัก งานธนาคารเพื อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร จังหวัดเชียงราย อยูใ่ นระดับมาเช่นเดียวกัน ด้านสหกรณ์การเกษตร พบว่า ผูต้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการบริ การเงินกูข้ อง สํานักงานธนาคารเพื อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จังหวัดเชี ยงราย อยูใ่ นระดับมาก และมี ความพึงพอใจกับระเบียบในการกําหนดสัดส่ วนเงินกูท้ ี ธ.ก.ส. ให้สหกรณ์ชาํ ระคืนอยูใ่ นระดับมาก เช่นเดียวกัน วิมล เจียมถ้อย (25) เรื อง พบว่า ลูกค้าที ใช้บริ การมีระดับความพึงพอใจต่อการให้บริ การ ของธนาคารกรุ งศรี อยุธยา จํากัด (มหาชน) สาขาบางปะอิน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านพนักงานผูใ้ ห้บริ การ ด้านกระบวนการให้บริ การ ด้านเครื องมือ/เครื องใช้ และด้านอาคารสถานที โดยรวมอยูใ่ นระดับ มากและลูกค้าที มีเพศ รายได้ และสถานภาพ แตกต่างกันมีระดับความพึงพอใจต่อกาให้บริ การของ ธนาคารกรุ งศรี อยุธยา จํากัด (มหาชน) สาขาลางปะอิน ไม่แตกต่างกัน ส่ วนลูกค้าที มี อายุ ระดับ การศึกษา และอาชีพที แตกต่างกันมีระดับความพึงพอใจต่อการให้บริ การของธนาคารกรุ งศรี อยุธยา จํากัด (มหาชน) สาขาบางปะอิน แตกต่างกัน
บทที 3 ธุรกรรมนอกงบดุล กรณีศึกษา ธนาคารพาณิชย์ ภาครัฐและเอกชนในประเทศไทย ประวัติและวิวฒ ั นาการของธนาคารพาณิชย์ สุ รักษ์ บุนนาค และวณี ฉ่ อยเกียรติกุล (2538: 110-111) เท่าที%ปรากฏในบันทึก การธนาคาร พาณิ ชย์มีมาตั.งแต่สมัยอาณาจักรบาบิโลน อัสซีเรี ย และเรื% อยมาจนถึงสมัยอาณาจักรกรี กและโรมัน แต่ก็ สลายตัวไปพร้อมกับความพินาศของอาณาจักรโรมันและไม่ได้ฟ.ื นคืนชีพอีกเลยจนถึงกระทัง% ยุโรปผ่าน ยุคมืด (dark ages) เข้าสู่ ยุคฟื. นฟู (renaissance) การธนาคารพาณิ ชย์ในสมัยแรกเริ% มด้วยการรับแลกเงิน และขยายกิจการออกไปเป็ นรับฝากเงิน ให้กยู้ มื และรับซื.อตัวJ แลกเงินเป็ นลําดับ สาเหตุที%ธนาคารพาณิ ชย์ไม่สามารถฟื. นคืนชีพตลอดยุคมืดในยุโรปมีเหตุผลคือ (1) สังคมยุโรปในยุคมืดเป็ นสังคมชนบท ขาดการคมนาคมติดต่อกัน การค้าจึงจํากัดอยูเ่ ฉพาะใน ท้องถิ%นและมีเพียงสิ นค้าจําเป็ นไม่กี%ชนิดที%ซ.ือขายกัน (2) พัฒนาการทางการค้าและการเงินยากที%จะเกิดขึ.นได้เพราะประชาชนไร้การศึกษา (3) การเรี ย กดอกเบี. ย เป็ นสิ% ง ต้อ งห้า มทางศาสนา ซึ% งไม่ มี ผูใ้ ดอยากขัด ขื น เพราะจะถู ก สั ง คม ประณามว่าเป็ นคนนอกศาสนา ไม่มีผใู ้ ดอยากคบหาสมาคม ที%เป็ นเช่นนี. เหตุเพราะว่า คนยุโรปยุคมืด ยอมให้ศาสนาครอบงําชีวติ โดยสิ. นเชิง สาเหตุท. งั 3 ประการนี. ไม่เพียงแต่ไม่ส่งเสริ มการธนาคารพาณิ ชย์เท่านั.น แต่ยงั ขัดขวางมิให้มี การธนาคารพาณิ ชย์อีกด้วย ทั.งนี. เพราะหน้าที%สําคัญของธนาคารพาณิ ชย์ คือ การจัดหาเครดิ ตให้แก่
66 ธุ รกิจการค้าละการลงทุน ซึ% งไม่เป็ นที%ตอ้ งการในสังคมยุคมืด เพราะขาดพัฒนาการทางการค้าและการ ลงทุน อีกประการหนึ%ง ธนาคารพาณิ ชย์จะดํารงอยูไ่ ม่ได้ถา้ ขาดรายได้จากดอกเบี.ย ซึ% งเป็ นสิ% งต้องห้าม ในยุคนี. การธนาคารพาณิ ช ย์ได้ฟ.ื นคื นชี พ ขึ.นใหม่เมื%อยุโรปเข้า สู่ ยุค ฟื. นฟู ทั.ง นี. เพราะการตื%นตัวของ สังคมยุโรปทําให้กิจการด้านต่างๆ เจริ ญเติบโตอย่างรวดเร็ วทั.งการค้าและการพาณิ ชย์ ศูนย์กลางการค้า เกิดขึ.นหลายแห่ งในยุโรป เช่น เจนัว อัมสเตอร์ ดมั ฮัมบูร์ก เป็ นต้น ความเจริ ญรุ่ งเรื องทางการค้าและ พาณิ ชย์ก่อให้เกิดความจําเป็ นที%จะต้องมีธนาคารพาณิ ชย์ เพื%ออํานวยความสะดวกและส่ งเสริ มการค้า การลงทุน ธนาคารพาณิ ชย์จึงถูกตั.งขึ.นตามเมืองต่างๆ ที%เป็ นศูนย์กลางการค้า ซึ% งมีท. งั ธนาคารที%เป็ น เอกชนแบะธนาคารที%เป็ นของรัฐ กิ จการของธนาคารเอกชน ได้แก่ การแลกเปลี% ย นซื. อขายเงิ นตรา ต่างประเทศ การให้กูย้ ืม จัดหาเงินกูใ้ ห้แก่รัฐ เป็ นต้น ธนาคารของรัฐมีหน้าที%ช่วยเหลือการค้าและรับ ฝากเงินประเภทจ่ายโดนโดยเช็ค การธนาคารพาณิ ชย์สมัยใหม่เริ% มขึ.นเป็ นแห่ งแรกในประเทศอังกฤษ โดยมีช่างทองเป็ นนาย ธนาคารพาณิ ชย์รุ่นแรก การที%ช่างทองกลายเป็ นนายธนาคารพาณิ ชย์มีเหตุผล คือ ช่างทองในสมัยนั.น เป็ นผูม้ ีเกียรติเชื%อถือได้ บุคคลทัว% ไปจึงนิยมฝากโลหะมีคา่ คือเงินและทองไว้กบั ช่างทอง โดยแลกกับใบ รับฝากโลหะที%ช่างทองออกให้ (goldsmith’s notes) ผูถ้ ือใบรับฝากโลหะสามารถนํามาขึ.นโลหะคืนได้ เมื%อต้องการ ใบรับฝากโลหะนี.สามารถโอนให้ผอู ้ ื%นได้โดยการสลักหลัง ซึ% งวิวฒั นาการต่อมาเป็ นบัตร ธนาคาร (bank notes) ที%ใช้ชาํ ระหนี.ได้ ในตอนแรกช่างทองจะออกใบรับโลหะเฉพาะเมื%อมีผนู ้ าํ โลหะมา ฝากเท่านั.น แต่จากประสบการณ์พบว่า ผูฝ้ ากจะไม่ขอถอนโลหะคืนหมดทั.งจํานวนในคราวเดียวกัน และการถอนคืนโลหะของผูฝ้ ากแต่ละคนก็ต่างเวลากัน ดังนั.นในระยะต่อมา ช่างทองจึงถือโอกาสออก ใบรับฝากโลหะ โดยไม่มีโลหะหนุนหลังแก่ผตู ้ อ้ งการใช้เงิน โดยเก็บค่าธรรมเนียมการออกบ้างเล็กน้อย การกระทําเช่นนี.ของช่างทองก็คือการสร้างเงินนัน% เอง ซึ% งก็ได้กลายมาเป็ นหน้าที%สําคัญยิง% ของธนาคาร พาณิ ชย์ในปั จจุบนั วิวฒั นาการของการธนาคารพาณิ ชย์มีผลให้การชําระหนี.ค่าสิ นค้าบริ การและอื%นๆ วิวฒั นาการตามไปด้วย พ่อค้าเริ% มใช้วิธีการชําระหนี. แบบใหม่ คือ เขียนคําสั%งให้ช่างทองคําแก่บุคคลที% ระบุชื%อไว้ คําสัง% นี.กค็ ือเช็คนัน% เอง การชําระหนี.วธิ ีใหม่น. ีทาํ ให้พอ่ ค้าไม่ตอ้ งเสี ยเวลาไปเบิกโลหะคืนจาก ช่างทองเพื%อนํามาชําระหนี. ซึ% งเป็ นวิธีการแบบเดิ ม กิจการธนาคารพาณิ ชย์ของช่ างทองเจริ ญรุ ดหน้า เรื% อยมา จนในที%สุดช่างทองจํานวนมากได้ละทิ.งอาชีพเดิม และหันมาประกอบอาชี พเป็ นนายธนาคาร
67 พาณิ ชย์แต่อย่างเดียว โดยที%ช่างทองอังกฤษประกอบธุ รกิจอยูบ่ นถนนสายเดียวกันในกรุ งลอนดอนชื% อ Lombard Street ดังนั.น เมื%อร้านทองเปลี%ยนมาเป็ นธนาคารพาณิ ชย์ถนนสายนี. จึงกลายเป็ นศูนย์กลาง การเงินและการธนาคารของอังกฤษมาจนทุกวันนี. ธนาคารพาณิ ชย์แห่งแรกในประเทศไทยเป็ นธนาคารต่างประเทศ ชื%อธนาคารฮ่องกงและเซี% ยง ไฮ้ จัดตั.งขึ.นเมื%อวันที% 2 ธันวาคม พ.ศ. 2431 ธนาคารพาณิ ชย์ที%ต. งั ขึ.นในประเทศไทยในระยะแรกล้วน เป็ นธนาคารพาณิ ชย์ต่างประเทศทั.งสิ. น ธนาคารเหล่านี. จดั ตั.งขึ.นเพื%ออํานวยความสะดวกและส่ งเสริ ม การค้า ต่า งประเทศโดยเฉพาะ วัตถุ ป ระสงค์น. ี ไ ด้ก ลายเป็ นมาตรฐานการธนาคารพาณิ ช ย์ข องไทย ปัจจุบนั ดังจะเห็นได้จากธนาคารพาณิ ชย์ของไทยมุง่ เน้นให้สินเชื%อแก่การค้าระหว่างประเทศเป็ นสําคัญ ซึ% งเป็ นเหตุ สํา คัญ ที% ท าํ ให้ ธ นาคารพาณิ ช ย์มี บ ทบาทไม่ ไ ด้ม ากเท่ า ที% ค วรในการส่ ง เสริ ม กิ จ กรรม ภายในประเทศ ธนาคารพาณิ ชย์ที%เป็ นของคนไทยตั.งขึ.นเป็ นครั.งแรก เมื%อวันที% 1 เมษายน พ.ศ. 2449 ชื%อ แบงค์สยามกัมมาจลทุน จํากัด ซึ% งเปลี%ยนชื%อเป็ นธนาคารไทยพาณิ ชย์ จํากัด เมื%อวันที% 27 มกราคม พ.ศ. 2482 ความหมายและหน้ าทีข องธนาคารพาณิชย์ สุ รักษ์ บุนนาค และวณี ฉ่อยเกียรติกุล (2538: 112) ธนาคารพาณิ ชย์ตามความหมายที%นิยามไว้ ในพระราชบัญญัติธนาคารพาณิ ชย์ พ.ศ. 2522 มาตรา 4 คือ การประกอบธุ รกิจประเภทรับฝากที%ตอ้ งจ่าย คืนเมื%อทวงถาม หรื อเมื%อสิ. นระยะเวลากําหนดไว้ และใช้ประโยชน์เงินนั.นในทางหนึ% งหรื อหลายทาง เช่น (1) ให้กยู้ ืม (2) ซื. อขายหรื อเก็บเงินตามตัวJ แลกเงินหรื อตราสารเปลี%ยนมืออื%นใด (3) ซื. อหรื อขาย เงินตราต่างประเทศ สิ ตาภา บัวเกษ (2538: 112) ตามพระราชบัญญัติธุ รกิ จสถาบันการเงิ น พ.ศ. 2551 ได้ใ ห้ ความหมายเกี%ยวกับธนาคารพาณิ ชย์ไว้ดงั นี. ธุรกิจการพาณิ ชย์ หมายความถึง การประกอบธุ รกิจรับฝากเงินหรื อรับเงินจากประชาชนที%ตอ้ ง จ่ายคืนเมื%อทวงถาม หรื อเมื%อสิ. นระยะเวลาอันกําหนดไว้ และใช้ประโยชน์จากเงินนั.นโดยวิธีหนึ%งวิธีใด เช่น ให้สินเชื%อ ซื.อตัวJ แลกเงินหรื อตราสารเปลี%ยนมืออื%นใด ซื.อขายปริ วรรตต่างประเทศ
68 ธนาคารพาณิ ชย์ หมายความถึง บริ ษทั มหาชนจํากัดที%ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุ รกิจธนาคาร พาณิ ชย์ และให้ความหมายรวมถึงธนาคารพาณิ ชย์เพื%อรายย่อย ธนาคารพาณิ ชย์ที%เป็ นบริ ษทั ลูกของ ธนาคารพาณิ ชย์ต่างประเทศ และสาขาของธนาคารพาณิ ชย์ต่างประเทศที%ไดรับอนุ ญาตให้ประกอบ ธุรกิจธนาคารพาณิ ชย์ ธนาคารพาณิ ชย์เพื%อรายย่อย หมายความถึ ง บริ ษทั มหาชนจํากัดที%ได้รับอนุ ญาตให้ประกอบ ธุรกิจธนาคารพาณิ ชย์ซ% ึ งมีวตั ถุประสงค์หลักในการให้บริ การแก่ประชาชนรายย่อย และวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม โดยมีขอ้ จํากัดการประกอบธุ รกิจเกี%ยวกับการเงินตราต่างประเทศ ตราสารอนุพนั ธ์ และธุรกรรมอื%นที%มีความเสี% ยงสู ง ธนาคารพาณิ ชย์ที%เป็ นบริ ษทั ลูกของธนาคารพาณิ ชย์ต่างประเทศ หมายความถึง บริ ษทั มหาชน จํากัดที%ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิ ชย์ ซึ%งมีธนาคารพาณิ ชย์แห่งใดแห่งหนึ%งถือหุ ้นโดย ทางตรงหรื อทางอ้อมไม่ต%าํ กว่าร้อยละเก้าสิ บห้าของหุน้ ที%จาํ หน่ายได้แล้วทั.งหมดของบริ ษทั นั.น สาขาของธนาคารพาณิ ชย์ต่างประเทศ หมายความถึง สาขาของธนาคารพาณิ ชย์ต่างประเทศที% ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจธนาคารพาณิ ชย์ในประเทศไทย ความสํ าคัญของธนาคารพาณิชย์ สุ รักษ์ บุนนาค และวณี ฉ่อยเกียรติกุล (2538: 135) ธนาคารพาณิ ชย์เป็ นหน่วยผลิตประเภท หนึ%งซึ%งทําหน้าที%เป็ นสื% อกลางทางการเงิน ระหว่างผูม้ ีเงินเหลือใช้กบั ผูต้ อ้ งการใช้เงิน ดังนั.น เงินฝากจึง เป็ นวัตถุดิบ (input) ของธนาคาร และเครดิต คือผลผลิต (output) ของธนาคาร ผลผลิตของธนาคารจะ อํานวยประโยชน์ให้แก่เศรษฐกิจได้เพียงไรขึ.นอยูก่ บั การจัดการเครดิตของธนาคารให้แก่ภาคเศรษฐกิจ ต่างๆ และความสามารถในอันที%จะควบคุมได้มีการใช้เครดิตตรงตามวัตถุประสงค์ของการกูย้ ืม ธนาคาร พาณิ ชย์เป็ นแหล่งเงิ นกูร้ ายใหญ่ของประเทศการจัดสรรเครดิตของธนาคารจึงมีผลกระทบเศรษฐกิ จ ส่ วนรวมอย่า งมาก นอกจากนี. เงิ นทุ นที% ธ นาคารพาณิ ช ย์นํา มาให้กู้หรื อลงทุน ก็ม าจากเงิ นฝากของ ประเทศส่ วนใหญ่ ดังนั.นธนาคารพาณิ ชย์จึงต้องมีความรับผิดชอบต่อประโยชน์ของสวนรวมมากกว่า หน่ ว ยผลิ ต ประเภทอื% น กล่ า วคื อ ธนาคารพาณิ ช ย์จ ะต้อ งจัด สรรเครดิ ต ในลัก ษณะที% จ ะสร้ า งความ ปลอดภัยให้แก่เงินของผูฝ้ าก และอํานวยประโยชน์แก่เศรษฐกิจส่ วนรวมให้มากที%สุด โดยมิได้มุ่งหวัง
69 แต่ประโยชน์ของธนาคารฝ่ ายเดียว การขาดความรับปิ ดชอบต่อสังคมส่ วนรวมของธนาคารพาณิ ชย์ยอ่ ม นําความเสี ยหายมาสู ้เศรษฐกิจ ตัวอย่างเช่น ธนาคารพาณิ ชย์ให้เงินกูย้ ืมเพื%อกักตุนสิ นค้า เป็ นต้น ซึ% งจะ ก่อให้เกิดความเดือดร้อนขึ.นทัว% ไปในเศรษฐกิจ เพราะระดับราคาสิ นค้าสู งขึ.น ธนาคารพาณิ ชย์ควรจะ ส่ งเสริ มการกูย้ ืมที%จะมีผลเพิ%มผลผลิตการจ้างงานและระดับรายได้ เพ่อช่วยให้เศรษฐกิจเจริ ญเติบโต ก้าวหน้ามีเสถียรภาพ สิ ตาภา บัวเกษ (2538: 112)ธนาคารพาณิ ชย์เป็ นสถาบันการเงินที%มีความสําคัญอย่างมากต่อ ระบบเศรษฐกิ จ เนื% อ งจากเป็ นแหล่ ง ระดมเงิ น ทุ น และเป็ นแหล่ ง เงิ น ทุ น ที% ใ หญ่ ที% สุ ด ในประเทศ นอกจากนี. ธ นาคารพาณิ ชย์ย งั มี บทบาทสํา คัญต่อการกําหนดระบบการใช้จ่า ยเงิ น การเพิ%มและลด ปริ มาณเงินในระบบเศรษฐกิจ และการเป็ นเครื% องมือในการดําเนิ นนโยบายการเงินของรัฐบาล โดยมี รายละเอียดความสําคัญของธนาคารพาณิ ชย์ ดังนี. 1. ธนาคารพาณิ ชย์เป็ นแหล่งระดมเงินทุนแหล่งใหญ่ของประเทศ ธนาคารพาณิ ชย์เป็ นสถาบันการเงินที%เก่าแก่ มีความน่าเชื%อถือสู ง และจากการที%มีสาขากระจาย ไปตามท้องที%ต่าง ๆ เป็ นจํานวนมาก ทําให้เกิดความสะดวกในการให้บริ การรับฝากเงิน ประชาชนจึง นิยมนําเงินออมที%มีอยูม่ าฝากไว้กบั ธนาคารพาณิ ชย์ จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศไทย ณ วันที% 30 กันยายน 2550 ธนาคารพาณิ ช ย์รับฝากเงิ นเป็ นจํานวน 6,754,657 ล้านบาท จากเงิ นฝากทั.งหมดใน สถาบันการเงิน 8,966,270 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ 75.33 ของปริ มาณเงินฝากทั.งหมดในสถาบัน การเงิน
2. ธนาคารพาณิ ชย์เป็ นแหล่งเงินทุนแหล่งใหญ่ของประเทศ เนื% องจากธนาคารพาณิ ชย์เป็ นแหล่ ง ระดมเงิ นทุ นแหล่ ง ใหญ่ ธนาคารพาณิ ช ย์จึง เป็ นแหล่ ง เงินทุนแหล่งใหญ่ที%ประชาชนที%ประชาชนและธุ รกิจสามารถกูย้ ืมเงินเพื%อนําไปใช้จ่ายได้ ซึ% งจากข้อมูล
70 จากธนาคารแห่ ง ประเทศไทย ณ วันที% 30กันยายน 2550 ธนาคารพาณิ ชย์ใ ห้เงิ นสิ นเชื% อเป็ นจํา นวน 5,857,703 ล้านบาท จากเงินให้สินเชื%อทั.งหมดของสถาบันการเงิน 7,615,714 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้อย ละ 76.95 ของปริ มาณเงินให้สินเชื%อทั.งหมดของสถาบันการเงิน 3. ธนาคารพาณิ ชย์มีบทบาทในการกําหนดระบบการใช้จา่ ยเงิน จากในอดี ตการซื. อขายสิ นค้าเกิ ดขึ.นโดยมีเงิ นสดเป็ นสื% อกลางในกลางการชําระราคา แต่ใน ปั จจุบนั ธนาคารพาณิ ชย์ได้มีเครื% องมือเครดิตเพื%อเป็ นสื% อกลางในการชําระราคาสิ นค้าและบริ การ เช่น เช็ค บัตรเอทีเอ็ม บัตรเครดิต บัตรเดบิต รวมถึงบริ การโอนเงินผ่านเครื% องมืออิเล็กทรอนิ กส์ ต่าง ๆ ซึ% ง เครื% องมือเหล่านี.ช่วยอํานวยความสะดวกเป็ นอย่างมากในการซื.อขายสิ นค้าและบริ การ 4. ธนาคารพาณิ ชย์มีบทบาทในการเพิม% และลดปริ มาณเงินในระบบเศรษฐกิจ ธนาคารพาณิ ชย์เป็ นสถาบันการเงินที%สามารถเพิ%มหรื อลดปริ มาณเงินในระบบเศรษฐกิจได้การ เพิม% หรื อลดปริ มาณเงินนี.เกิดจากการที%ธนาคารพาณิ ชย์รับฝากเงินฝากประเภทกระแสรายวันซึ% งทําให้ผู ้ ฝากเงิ นสามารถเขียนเช็คสั%งจ่ายเงิ นจากบัญชี ได้ หากปริ มาณการใช้เช็คในระบบเศรษฐกิจมีมากขึ.น ปริ มาณเงินในระบบเศรษฐกิจก็จะเพิม% ขึ.น แต่หากการใช้เช็คมีนอ้ ยลงปริ มาณเงินในระบบเศรษฐกิจก็จะ ลดลง 5. ธนาคารพาณิ ชย์เป็ นเครื% องมือในการดําเนินนโยบายการเงินของรัฐบาล รัฐบาลจะดําเนินนโยบายการเงินสดสํารองตามกฎหมาย การเพิ%มหรื อลดอัตราดอกเบี.ยรับช่วง ซื. อตัวJ เงิ น การซื. อขายหลักทรัพย์ในท้องตลาด วิธีการดําเนิ นนโยบายการเงินเหล่านี. รัฐบาลจะกระทํา ผ่านระบบของธนาคารพาณิ ชย์
71 หน้ าทีข องธนาคารพาณิชย์ หน้าที%ที%สําคัญของธนาคารพาณิ ชย์ ได้แก่ การรับฝากเงิน การให้สินเชื% อ และการให้บริ การ ทางการเงินอื%น ๆ การรับฝากเงิน ประเภทเงินฝากของธนาคารพาณิ ชย์ มีดงั นี. 1. เงินฝากกระแสรายวัน (Demand Deposit) เป็ นบัญชีเงินฝากที%ผฝู ้ ากเงินสามารถเขียนเช็คสั%งจ่ายจากบัญชี ได้ โดยทัว% ไปธนาคารจะไม่ให้ ดอกเบี. ย เงิ นฝากสํา หรั บ บัญชี ป ระเภทนี. แต่หากยอดเงิ น ในบัญชี มี เ ป็ นจํา นวนมากธนาคารอาจให้ ดอกเบี.ยเงินฝากได้ บัญชีเงินฝากประเภทนี.ส่วนใหญ่ผฝู ้ ากเงินเป็ นธุ รกิจหรื อองค์กรต่างๆซึ% งเปิ ดบัญชี โดยมีวตั ถุประสงค์เพื%อใช้ในการชําระค่าสิ นค้าและบริ การ 2. เงินฝากออมทรัพย์ (Saving Deposit) เป็ นบัญชีเงินฝากที%ผฝู ้ ากสามารถฝากเงินเป็ นจํานวนเล็กน้อยได้และสามารถถอนเงินได้ทนั ที ตามความต้องการของผูฝ้ ากเงินโดยใช้สมุดบัญชี บัตรเอทีเอ็ม หรื อบัตรเดบิต อัตราดอกเบี.ยของบัญชี เงินฝากประเภทนี.จะตํ%า โดยธนาคารจะคิดอัตราดอกเบี.ยทบต้นให้แก่ผฝู ้ ากเงินทุกครึ% งปี 3. เงินฝากประจํา (Time Deposit) เป็ นบัญชี เงิ นฝากที%มีการกําหนดระยะเวลาในการฝากเงินไว้แน่ นอน เช่ น เงินฝากประจํา 3 เดือน เงินฝากประจํา 6 เดือน ไปจนถึงระยะเวลาสู งสุ ด 60 เดือน อัตราดอกเบี.ยเงินฝากประเภทนี.จะสู ง
72 กว่าอัตราดอกเบี.ยเงินฝากออมทรัพย์ โดยเงินฝากที%มีอายุครบกําหนดระยะยาวจะให้อตั ราดอกเบี.ยสู ง กว่าเงินฝากที%มีอายุครบกําหนดระยะสั.น สําหรับการถอนเงินจากบัญชีเงินฝากประจําก่อนครบกําหนด สามารถทําได้แต่ผฝู ้ ากเงินจะไม่ได้รับดอกเบี.ยหรื อได้รับในอัตราที%ต%าํ กว่าอัตราดอกเบี.ยเงินฝากประจําที% ธนาคารประกาศไว้ 4. บัตรเงินฝาก (Certificated Deposit) เป็ นเงินฝากที%มีลกั ษณะกึ%งเงินฝากประจํากึ%งหลักทรัพย์ เนื%องจากบัตรเงินฝากจะมีการกําหนด ระยะเวลาในการฝากเงินไว้แน่นอนเหมือนเงินฝากประจํา แต่ผซู ้ .ื อบัตรเงินฝากจะไม่สามารถไถถอน บัตรเงินฝากได้ก่อนครบกําหนด หากผูซ้ .ื อบัตรเงินฝากต้องการเงินก่อนครบกําหนดจะต้องขายบัตรเงิน ฝากให้ก บั บุ ค คลอื% นแทน บัตรเงิ นฝากนี. ธ นาคารจะออกจํา หน่ า ยเป็ นครั. งคราวเมื% อธนาคารมี ค วาม ต้องการเงินทุน นอกจากบัญชี เงิ นฝากที%กล่าวมาแล้วในปั จจุบนั ธนาคารยังมีเงิ นฝากประเภทอื%น ๆ อีกเป็ น จํานวนมากเพื%อตอบสนองความต้องการของประชาชน เช่น เงินฝากเงินตราต่างประเทศ เงินฝากประกัน ชีวติ เงินฝากปลอดภาษี เป็ นต้น การให้ สินเชื อ สิ นเชื%อของธนาคารพาณิ ชย์แบ่งเป็ นประเภทได้หลายแบบ ดังนี. 1. การให้ เงินเบิกเกินบัญชี (Overdraft)
73 เป็ นการให้สินเชื% อแก่ผมู ้ ีเงินฝากประเภทเงินฝากกระแสรายวัน โดยธนาคารโดยจะให้ผฝู ้ าก เงินสามารถเขียนเช็คสั%งจ่ายจากบัญชีได้เกินกว่ายอดเงินคงเหลือที%มีอยูใ่ นบัญชี โดยธนาคารกับผู ้ ฝากเงินจะตกลงกันถึงยอดเงินที%สามารถเบิกเกินบัญชี 2. การให้ สินเชื อแบบทัว ไป ( Loan) เป็ นสิ นเชื% อที%ธนาคารให้แก่ผกู ้ ูโ้ ดยมีการกําหนดระยะเวลาในการชําระหนี. ที%แน่นอนตามการ ตกลงกันระหว่างธนาคารและผูก้ ู้ การชําระหนี.อาจะชําระครั.งเดียวทั.งหมดหรื อชําระเป็ นรายงวดก็ ได้ 3. การซืMอลดตัNวเงิน (Discounting Bills) เป็ นการให้สินเชื%อโดยการที%ธนาคารจะรับซื. อตัวJ เงินชนิดต่าง ๆ ที%ผกู ้ ูน้ าํ มาขายให้แก่ธนาคาร โดยธนาคารจะรับซื. อในราคาตํ%ากว่าราคาหน้าตัวJ หรื อซื. อในราคาคิดลด ตัวJ เงินที%ผกู ้ นู้ าํ มาขายให้แก่ ธนาคารนี. จะยังไม่ครบกําหนดชําระเงินแต่ผกู ้ อู้ าจมีความต้องการใช้เงินก่อนจึงนํามาขายลดให้แก่ ธนาคาร การให้สินเชื% อประเภทนี. ธนาคารจะไม่ได้รบผลตอบแทนในรู ปดอกเบี.ยเหมือนสิ นเชื% อ ประเภทอื%น แต่ธนาคารจะได้รับผลตอบแทนในรู ปส่ วนต่างระหว่างราคารับซื. อกับราคาหน้าตัวJ ของ ตัวJ เงิน ประเภทสิ นเชื อตามระยะเวลาครบกําหนด 1. สิ นเชื อระยะสัM น (Short Term Loan) เป็ นสิ นเชื% อที%ธนาคารให้แก่ผกู ้ โู้ ดยมีระยะเวลาครบกําหนดระยะเวลาสั.นคือไม่เกิน 1 ปี ส่ วน ใหญ่เป็ นเงิ นกูท้ ี%ให้แก่ธุรกิ จที%ตอ้ งการนําเงินไปลงทุนในเงิ นทุนหมุนเวียน เช่ น ลงทุนในลูกหนี. สิ นค้าคงเหลือ เป็ นต้น 2. สิ นเชื อระยะปานกลาง (Intermediate Loan)
74 เป็ นสิ นเชื% อที%ธนาคารให้แก่ผกู ้ ูโ้ ดยมีระยะเวลาครบกําหนดระหว่าง 1 – 5 ปี เงิ นให้สินเชื% อ ประเภทนี.อาจเป็ นเงินให้สินเชื%อเพื%อการลงทุนในเครื% องจักร อุปกรณ์ตา่ ง ๆ 3. สิ นเชื อระยะยาว (Long Term Loan) เป็ นสิ นเชื%อที%มีระยะเวลาครบกําหนดตั.งแต่ 5 ปี ขึ.นไป สิ นเชื%อประเภทนี.ส่วนใหญ่ผกู ้ จู้ ะกูเ้ ป็ น วงเงินสู งจึงไม่สามารถชําระหนี. ได้เป็ นระยะเวลาอันสั.น และการนําเงิ นไปใช้ก็เพื%อการลงทุนใน สิ นทรัพย์ระยะยาว เชื%อ เพื%อซื.อที%ดิน ก่อสร้างอาคารโรงงาน เป็ นต้น ประเภทสิ นเชื อตามวัตถุประสงค์ 1. สิ นเชื อเพือ การเกษตร (Agriculture Loan) เป็ นสิ นเชื%อที%ผกู ้ มู้ ีวตั ถุประสงค์ในการนําเงินไปใช้เพื%อการเกษตร เช่น ซื. อเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ ย ยาฆ่า แมลง หรื อเครื% องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ตลอดจนถึงที%ดินเพื%อทําการเกษตร สิ นเชื%อประเภทนี. ส่วนใหญ่ เป็ นสิ น เชื% อระยะสั. นและระยะปานกลาง ส่ วนระยะยาวธนาคารจะไม่ ค่อยให้เนื% อ งจากการทํา การเกษตรมีความไม่แน่นอนสู ง 2. สิ นเชื อเพือ การพาณิชย์ (Commercial Loan) เป็ นสิ นเชื%อระยะสั.น ซึ%งผูก้ มู้ ีวตั ถุประสงค์ในการนําเงินไปใช้เพื%อเป็ นเงินทุนหมุนเวียนในการ ดําเนินการค้า เช่น การลงทุนในลูกหนี. สิ นค้าคงเหลือ เป็ นต้น 3. สิ นเชื อเพือ อุตสาหกรรม (Industrial Loan) เป็ นสิ นเชื% อที%ธนาคารให้แก่ธุรกิจการผลิตหรื อแปรรู ปสิ นค้า โดยมีวตั ถุประสงค์ในการกูค้ ือ เพื%อนําไปใช้ในการดําเนินการผลิตหรื อแปรรู ปสิ นค้า สิ นเชื%อประเภทนี.อาจเป็ นสิ นเชื%อระยะสั.นเพื%อ การจัดหาวัตถุดิบ จ่ายค่าแรงงาน หรื อเป็ นสิ นเชื%อระยะปานกลางเพื%อการซื. อเครื% องจักรและอุปกรณ์ หรื อเป็ นสิ นเชื%อระยะยาวเพื%อการก่อสร้างอาคารโรงงานก็ได
75 4. สิ นเชื อเพือ อสั งหาริมทรัพย์ (Real Estate Loan) เป็ นสิ นเชื% อที%ให้ผกู ้ ูท้ ี%มีวตั ถุประสงค์ในการนําเงินไปใช้เพื%อซื. อหรื อปรับปรุ งที%ดิน ตลอดจน การก่อสร้างอาคารที%อยูอ่ าศัยต่าง ๆ โดยมีการจํานองอสังหาริ มทรัพย์เป็ นหลักประกันการกูย้ ืม สน เชื%อประเภทนี.ส่วนใหญ่เป็ นสิ นเชื%อระยะยาวเนื%องจากวงเงินในการกูค้ ่อนข้างสู ง 5. สิ นเชื อเพือ การบริโภค (Consumer Loan) เป็ นสิ น เชื% อ ที% ธ นาคารให้แ ก่ บุ ค คลทัว% ไปเพื% อ ใช้ก ารซื. อสิ น ค้า และบริ ก ารต่ า ง ๆ ที% มี ร าคา ค่อนข้างสู ง เช่น รถยนต์ ตูเ้ ย็น เครื% องซักผ้า เป็ นต้น นอกจากนี. ยงั รวมถึงสิ นเชื% อที%ธนาคารให้แก่ ผูป้ ระกอบการธุรกิจการขายสิ นค้าและบริ การ เพื%อให้ธุรกิจเหล่านี.นาํ เงินไปให้สินเชื%อแก่ผซู ้ .ื อสิ นค้า และบริ การอีกต่อหนึ%ง ประเภทสิ นเชื อตามหลักประกัน 1. สิ นเชื อทีม ีหลักประกัน (Secures Loan) เป็ นสิ น เชื% อ ที% ผูก้ ู้ต้อ งนํา สิ น ทรั พ ย์ม าเป็ นหลัก ประกัน ในการชํา ระเงิ น ซึ% งโดยส่ ว นใหญ่ สิ นทรัพย์ที%นาํ มาเป็ นหลักประกันได้แก่ ลูกหนี. สิ นค้าคงเหลือ หรื อหลักทรัพย์ในความต้องการของ ตลาด ตลอดจนอสังหาริ มทรัพย์ตา่ งๆ เช่น ที%ดินและสิ% งปลูกสร้าง 2. สิ นเชื อทีไ ม่ มีหลักประกัน (Unsecured Loan) เป็ นสิ นเชื% อที%ธ นาคารให้แก่ ผูก้ ูโ้ ดยไม่ตอ้ งนําสิ นทรั พย์ม าเป็ นหลัก ประกันในการกูย้ ืม แต่ ธนาคารจะต้องพิจารณาอย่างละเอียดถึงฐานะทางการเงินและความสามารถในการชําระหนี.ของผูก้ ู้
76 ประเภทสิ นเชื อตามลักษณะการชําระเงิน 1. สิ นเชื อทีก ารชําระคืนครัMงเดียว (Single – Payment Loan) เป็ นสิ นเชื% อที%ผูก้ ูจ้ ่ายชําระคืนให้แก่ธนาคารครั.งเดี ยวเมื%อถึงเวลาครบกําหนด โดยจ่ายชําระ พร้อมกันทั.งเงินต้นและดอกเบี.ยเงินกู้ สิ นเชื%อประเภทนี.ส่วนใหญ่เป็ นสิ นเชื%อระยะสั.น 2. สิ นเชื อทีม ีการชําระคืนเป็ นรายงวด (Installment Payment Loan) เป็ นสิ น เชื% อที% มี ก ารกํา หนดให้ผูก้ ู้ต้องชํา ระเงิ น สิ น เชื% อ เป็ นรายงวดจนกว่า จะถึ ง เวลาครบ กําหนด สิ นเชื%อประเภทนี.อาจเป็ นสิ นเชื%อระยะสั.น ระยะปานกลาง หรื อระยะยาวก็ได้ บริ การทางการเงินอื%น ๆ นอกจากการรับฝากเงินและให้สินเชื% อแล้วธนาคารยังให้บริ การทางการเงินอื%น ๆ ที%เป็ นการ ดําเนิ นงานของธนาคารโดยทัว% ไป และที%ธนาคารได้รับอนุ ญาตตามพระราชบัญญัติการธนาคาร พาณิ ชย์หรื อประกาศที%เกี%ยวข้อง เช่น บริ การโอนเงิน บริ การซื. อขายเงินตราต่างประเทศ บริ การด้าน การประกันชีวติ และวินาศภัย บริ การด้านธุรกิจหลักทรัพย์ เป็ นต้น ระบบธนาคารพาณิชย์ รู ปแบบการดําเนินงานของธนาคารพาณิ ชย์แบ่งได้เป็ นระบบ 4 ระบบ ได้แก่ 1. ระบบธนาคารเดี%ยวหรื อธนาคารอิสระ (Unit หรื อ Independent Banking System) 2. ระบบธนาคารสาขา (Branch Banking System) 3. ระบบธนาคารกลุ่ม (Group Banking System) 4. ระบบธนาคารลูกโซ่ (Chain Banking System)
77 ระบบธนาคารเดี ยวหรือธนาคารอิสระ ระบบธนาคารเดี%ยว (Unit หรื อ Independent Banking System) เป็ นระบบธนาคารที%ธนาคาร พาณิ ชย์แต่ละแห่ งจะดําเนินงานโดยเอกเทศ มีสํานักงานเพียงแห่งเดียว และไม่อยูใ่ นความควบคุมของ ธนาคารพาณิ ชย์อื%น รวมถึงไม่มีธนาคารพาณิ ชย์อื%นอยูใ่ นความควบคุมด้วย ระบบธนาคารแบบนี.จึงมีอยู่ แพร่ หลายในประเทศสหรัฐอเมริ กา โดยจะเป็ นธนาคารท้องถิ%นที%อยูใ่ นรัฐต่าง ๆ ข้ อดีของระบบธนาคารเดี ยว 1. พนักงานของธนาคารระบบธนาคารเดี% ยวจะเป็ นประชาชนในท้องถิ%น ทําให้ทราบถึ งความ ต้องการทางการเงินของคนในท้องถิ%นได้เป็ นอย่างดี 2. เงินทุนภายในท้องถิ%นไม่ถูกกระจายไปยังท้องถิ%นอื%น ๆ แต่จะถูกนํามาใช้เพื%อการพัฒนาภายใน ท้องถิ%น 3. ระบบธนาคารอิ สระจะทํา ให้มี ธนาคารเป็ นจํานวนมาก จึ งมาทํา ให้เกิ ดการผูกขาดอํานาจ ทางการเงินไว้ที%ธนาคารใดธนาคารหนึ%ง ข้ อเสี ยของระบบธนาคารเดี ยว 1. ธนาคารไม่มน%ั คง ล้มละลายได้ง่าย เนื%องจากการดําเนินงานของธนาคารเกิดขึ.นภายในท้องถิ%น เท่านั.นจึงไม่มีการกระจายความเสี% ยง ดังนั.นหากเศรษฐกิจภายในท้องถิ%นตกตํ%าก็จะส่ งผลกระทบถึงผล การดําเนินงานของธนาคารด้วย 2. เงินทุนน้อย เนื%องจากธนาคารสามารถระดมเงินทุนได้จากประชาชนในท้องถิ%นเท่านั.น ซึ% งอาจ ทําให้มีเงินทุนไม่เพียงพอต่อความต้องการทางเศรษฐกิจของท้องถิ%น
78 3. การให้บริ การต่าง ๆ มีขอ้ จํากัด และไม่สะดวก เนื%องจากไม่มีสาชาของธนาคารในการอํานวย ความสะดวกในการบริ การทางการเงินอื%น ๆ เช่น การโอนเงินระหว่างท้องถิ%น 4. ค่าใช้จ่ายในการดําเนิ นงานค่อนข้างสู ง เนื% องจากเป็ นธนาคารขนาดเล็กและมีสํานักงานเพียง แห่งเดียว ทําให้ค่าใช้จ่ายบางรายการไม่สามารถเฉลี%ยไปยังสาขาอื%น ๆ ได้ หรื อไม่เกิดการประหยัดจาก ขนาด ระบบธนาคารสาขา ระบบธนาคารสาขา (Branch Banking System) เป็ นระบบธนาคารที%ธนาคารพาณิ ชย์จะมีสาขา กระจายอยูใ่ นท้องที%ต่าง ๆ เป็ นจํานวนมาก รวมถึงสาขาในต่างประเทศ และจะมีสํานักงานใหญ่เป็ น ศูนย์กลางในการบริ หาร โดยสํานักงานจะเป็ นผูก้ าํ หนดนโยบายในการดําเนิ นงานให้แก่สาขาต่าง ๆ เพื%อให้เป็ นไปในแนวทางเดี ย วกัน ต้นแบบของระบบธนาคารแบบนี. อยู่ที% ป ระเทศอัง กฤษ สํา หรั บ ธนาคารพาณิ ชย์ในประเทศไทยก็มีรูปแบบการดําเนินงานเป็ นแบบระบบธนาคารสาขาเช่นกัน ข้ อดีของระบบธนาคารสาขา 1.
ธนาคารมีความมัน% คง ไม่ลม้ ละลายได้ง่าย เนื%องจากมีสาขาเป้ ฯจํานวนมากมากระจาย
ความเสี% ยง หากสาขาใดเกิดปัญหาในการดําเนินงานสามารถนําเงินทุนจากสาขาอื%นมาช่วยได้ 2.
ระดมเงินทุนได้มากและสามารถใช้เงินทุนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เนื% องจากมีสาขา
ธนาคารตั.งอยูใ่ นท้องถิ%นต่าง ๆ ทําให้สามารถนําระดมเงินทุนได้เป็ นจํานวนมากจากท้องถิ%นต่าง ๆ และ สามารถนําเงินทุนจากท้องถิ%นที%มีเงินทุนมากไปช่วยเหลือท้องถิ%นที%ขาดแคลนเงินทุนได้
79 3.
ค่าใช้จ่ายในการดําเนิ นงานตํ%า เพราะเกิ ดการประหยัดจากขนาด สามารถลงทุนใน
อุปกรณ์เครื% องใช้หรื อระบบคอมพิวเตอร์ ที%มีตน้ ทุนสู ง รวมถึงจ้างผูบ้ ริ หารที%มีความชํานาญโดยให้อตั รา เงินเดือนในระดับสู งได้ เนื%องจากค่าใช้จา่ ยเหล่านี.สามารถนํามาเฉลี%ยต่อสาขาที%มีเป็ นจํานวนมากได้ 4.
การให้บ ริ ก ารมี ค วามสะดวกรวดเร็ ว เนื% อ งจากเป็ นธนาคารขนาดใหญ่ มี อุป กรณ์
เครื% องใช้ที%ทนั สมัย มีสาขาเป็ นจํานวนมาก การให้บริ การทางการเงินต่าง ๆ เช่น การโอนเงิน การฝาก ถอนเงิน หรื อการติดต่อกับธนาคารจึงมีความสะดวกเป็ นอย่างมาก ข้ อเสี ยของระบบธนาคารสาขา 1.
พนักงานของธนาคารสาขาอาจไม่ได้เป็ นคนในท้องถิ% นที%ธนาคารสาขาตั.งอยู่ ทําให้
ธนาคารไม่เข้าใจถึงความต้องการของท้องถิ%นอย่างแท้จริ ง 2.
การควบคุมการดําเนิ นงานธนาคารในแต่ละสาขาอาจไม่ทว%ั ถึง เนื% องจากมีสาขาเป็ น
จํานวนมาก อาจทําให้เกิ ดการทุจริ ตได้ นอกจากนี. อาจมีความยุ่งยากในการปฏิ บตั ิงานเนื% องจากเป็ น ธนาคารขนาดใหญ่ทาํ ให้มีโครงสร้างองค์กรซับซ้อน 3.
ระบบธนาคารสาขาจะทําให้มีธนาคารขนาดใหญ่เพียงไม่กี%ธนาคาร ทําให้เกิดการผู ้
ขาดอํานาจทางการเงินกับธนาคารเพียงไม่กี%แห่งได้ 4.
เกิดการโยกย้ายเงินทุน โดยเงินทุนในท้องถิ%นใดท้องถิ%นหนึ%งอาจถูกโยกย้ายเพื%อนําไป
พัฒนาเศรษฐกิจในท้องถิ%นอื%น ๆ ที%สร้างผลกําไรให้แก่ธนาคารได้ดีกว่าได้ ทําให้เงินทุนภายในท้องถิ%น ไม่ถูกนํามาใช้เพื%อการพัฒนาในท้องถิ%นเอง ระบบธนาคารกลุ่ม
80 ระบบธนาคารกลุ่ม (Group Banking System) เป็ นระบบธนาคารที%มีธนาคารหลายธนาคาร รวมกลุ่ม กัน โดยมี บ ริ ษ ทั ผูถ้ ื อหุ ้นซึ% ง เป็ นบริ ษทั ขนาดใหญ่หรื อองค์กรที% จดั ตั.ง ขึ. นเป็ นผูค้ วบคุ ม แต่ คณะกรรมการบริ หารของแต่ละธนาคารในธนาคารกลุ่มจะแยกกันต่างหากกับคณะกรรมการบริ หาร ของผูถ้ ือหุน้ การกําหนดนโยบายบริ หารของแต่ละธนาคารจึงแยกจากกัน ข้ อดีของระบบธนาคารกลุ่ม 1.
ผูถ้ ือหุน้ มักเป็ นบริ ษทั ขนาดใหญ่จึงมีความสามารถในการจัดหาเงินทุนเป็ นจํานวนมาก
ให้แก่ธนาคาร 2.
ธนาคารแต่ละธนาคารในธนาคารกลุ่มได้รับประโยชน์ร่วมกันได้ขากการมีบริ ษทั ผูถ้ ือ
หุ ้นร่ วมกัน เช่น การประหยัดจากขนาดในการจัดหาเครื% องใช้อุปกรณ์ การวางระบบคอมพิวเตอร์ การ วางรู ปแบบการบริ หาร 3.
ธนาคารสามารถให้บริ การได้อย่างกว้างขวางมากขึ.น เพราะมีธนาคารหลายธนาคารอยู่
ในกลุ่มเดียวกัน ทําให้สามารถบริ การลูกค้าได้อย่างมีประสิ ทธิภาพมากขึ.น ข้ อเสี ยของระบบธนาคารกลุ่ม 1.
หากธนาคารหนึ%งประสบปัญหาในการดําเนินงานอาจส่ งผลกระทบต่อธนาคารอื%นที%อยู่
ในระบบเดียวกัน 2.
การควบคุมการดําเนิ นงานของธนาคารแต่ละแห่งเป็ นไปได้ยาก เพราะแต่ละธนาคาร
จะมีกรรมการบริ หารเป็ นของตัวเอง ไม่สามารถควบคุ มได้โดยตรงเหมือนกับการควบคุ มสาขาของ ธนาคารของระบบธนาคารสาขา
81 3.
ก่อให้เกิดการผูกขาดได้เนื%องจากบริ ษทั ผูถ้ ือหุ ้นขนาดใหญ่สามารถเข้าไปซื. อหุ ้นของ
ธนาคารพาณิ ชย์หลาย ๆ แห่งได้
ระบบธนาคารลูกโซ่ ระบบธนาคารลูกโซ่ (Chain Banking System) เป็ นระบบธนาคารที%มีหลายธนาคารรวมเป็ น กลุ่มเช่นเดี ยวกันธนาคารกลุ่ม แต่จะอยู่ภายใต้การบริ หารของเอกชนซึ% งอาจอยู่ในรู )ของตระกูลหรื อ สมาคม เพื%อให้การดําเนินงานเป็ นไปในแนวทางเดียวกันทุกธนาคาร ข้ อดีของระบบธนาคารลูกโซ่ 1.
ธนาคารที%อยูใ่ นเครื อสามารถให้ความช่ วยเหลื อซึ% งกันและกันได้ เช่ น การให้ความ
ช่วยเหลือทางด้านเงินทุน นอกจากนี.ยงั สามารถประสานงานกันทางด้านนโยบายได้ 2.
เกิดการประหยัดจากขนาด เนื%องจากธนาคารที%อยูใ่ นกลุ่มเดียวกันจะมีการดําเนินงาน
ร่ วมกัน มีการบริ หารงานแบบเดียวกัน ค่าใช้จ่ายที%เกิดขึ.นจริ งจึงสามารถเฉลี%ยไปยังธนาคารต่าง ๆ ได้ นอกจากนี.ยงั สามารถจัดซื.อเครื% องใช้อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ร่ วมกันได้ ทําให้จดั ซื.อได้ในราคาถูก ข้ อเสี ยของระบบธนาคารลูกโซ่ 1.
ธนาคารลูกโซ่ส่วนใหญ่จะเป็ นธนาคารเล็ก ๆ หลายธนาคาร ซึ% งให้บริ การในท้องถิ%นที%
มีสภาพแวดล้อมคล้ายคลึงกัน เงินกูย้ ืมของธนาคารจึงไปกระจุกตัวอยูท่ ี%ธุรกิจประเภทใดประเภทหนึ% ง เท่านั.น ธนาคารจึงมีโอกาสที%จะเกิดปัญหาได้หากธุรกิจประเภทที%ธนาคารให้สินเชื%อไปเกิดปัญหา
82 2.
ผูบ้ ริ หารธนาคารส่ วนใหญ่จะเป็ นผูก้ ่อตั.งธนาคารซึ% งไม่ได้เป็ นผูม้ ีความรู ้ความชํานาญ
ในการบริ หารธนาคาร
กรณีศึกษา ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) ข้ อมูลทัว ไป ชื%อบริ ษทั
: บมจ. ธนาคารกรุ งไทย
เลขทะเบียนบริ ษทั : 0107537000882 (เดิมเลขที% บมจ. 335) ประเภทธุรกิจ
: ธนาคารพาณิ ชย์
สํานักงานใหญ่
: 35 ถนนสุ ขมุ วิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุ งเทพฯ 10110
โทรศัพท์
: 0-2255-2222
ศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์ : 1551 โทรสาร
: 0-2255-9391-3
เว็บไซต์
: www.ktb.co.th
83 ลักษณะการประกอบธุรกิจ บมจ. ธนาคารกรุ งไทยประกอบธุ รกิจธนาคารพาณิ ชย์ตามใบอนุ ญาตของกระทรวงการคลัง และหน่วยงานที%เกี%ยวข้อง โดยดําเนินธุ รกิจประเภทต่าง ๆตามพระราชบัญญัติการธนาคารพาณิ ชย์ และ ประกาศที%เกี%ยวข้องซึ%งออกโดยธนาคารแห่งประเทศไทยกระทรวงการคลัง และหน่วยงานที%เกี%ยวข้อง ประวัติความเป็ นมา ธนาคารก่อตั.งขึ.นเมื%อวันที% 14 มีนาคม 2509 จากการควบรวมกิจการระหว่างธนาคารมณฑล จํากัดกับธนาคารเกษตรจํากัด โดยมีกระทรวงการคลังเป็ นผูถ้ ือหุ ้นใหญ่ ทําให้ธนาคารมีฐานะเป็ น ธนาคารขนาดใหญ่ที%มีฐานะทางการเงินมัน% คง สามารถคุม้ ครองเงินฝาก และให้บริ การธุ รกรรมทางการ เงินได้ ทั.งยังเป็ นที%เชื%อถือของประชาชน ต่อมาในเดือนสิ งหาคม 2530 ธนาคารได้รับโอนสิ นทรัพย์และหนี.สินของธนาคารสยามจํากัด มาดําเนินการ และในเดือนมิถุนายน 2532 ธนาคารเป็ นรัฐวิสาหกิจแห่งแรกที%นาํ หุ ้นเข้าจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย โดยเริ% มเปิ ดทําการซื. อขายหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย ตั.งแต่วนั ที% 2 สิ งหาคม 2532 เป็ นต้นมา ต่อมาได้จดทะเบียนแปรสภาพเป็ นบริ ษทั มหาชน จํากัด เมื%อวันที% 24 มีนาคม 2537ใช้ชื%อว่า “บมจ.ธนาคารกรุ งไทย” และใช้ชื%อย่อ KTB เลขทะเบียน บมจ.335 ซึ% งในปั จจุบนั เปลี%ยนเป็ นเลข ทะเบียน0107537000882 จํานวนและชนิดของหุ้นทีจ ําหน่ ายได้ แล้วทัMงหมดของบริษัท ณ วันที% 31 ธันวาคม 2553 ธนาคารมีทุ นจดทะเบี ยน จํานวน 57,664,098,087.50 บาท ประกอบด้วย
84 หุน้ สามัญ
จํานวน
11,191,412,250 หุน้
มูลค่าหุน้ ละ 5.15 บาท
หุน้ บุริมสิ ทธิ จาํ นวน
5,500,000 หุน้
มูลค่าหุน้ ละ 5.15 บาท
รวมจํานวน
11,196,912,250 หุน้
มีทุนที%เรี ยกชําระแล้ว จํานวน 57,604,032,350.00 บาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญ จํานวน
11,179,749,000 หุน้
มูลค่าหุน้ ละ 5.15 บาท
หุน้ บุริมสิ ทธิ จาํ นวน
5,500,000 หุน้
มูลค่าหุน้ ละ 5.15 บาท
รวมจํานวน
11,185,249,000 หุน้
ทิศทางการดําเนินงาน เสริ มสร้างความมัน% คงทางการเงินและมีผลตอบแทนต่อผูถ้ ือหุ ้นในระดับที%เหมาะสม สนับสนุนการดําเนินงานภาครัฐ โดยมีการบริ หารจัดการผลิตภัณฑ์และให้บริ การระดับชั.นนํา วิสัยทัศน์ ธนาคารแสนสะดวก สําหรับลูกค้ารายย่อย ภาคธุรกิจ ภาครัฐและสถาบัน
85 พันธกิจ เป็ นสถาบันการเงินชั.นนํา มุง่ เน้นการให้บริ การที%เป็ นเลิศ สามารถสร้างผลตอบแทนที%ดีได้อย่าง ยัง% ยืน ส่ งเสริ มการสร้างทุนทางปัญญา ยึดมัน% ในหลักการกํากับดูแลกิจการที%ดี
รู ปที 1 แผนผังโครงสร้างองค์กร บมจ.ธนาคารกรุ งไทย
86 ลักษณะการประกอบธุรกิจ ภาพรวมการประกอบธุรกิจ บมจ.ธนาคารกรุ งไทย การดําเนินงานของธนาคารในปี 2553 ภาวะเศรษฐกิจที%ฟ.ื นตัวดีข. ึน ตามการส่ งออกการบริ โภค และการลงทุนที%ขยายตัวต่อเนื%องจาก มาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจของรัฐบาล โดยเฉพาะโครงการไทยเข้มแข็งที%ใช้งบประมาณหลายแสนล้าน บาท เป็ นโอกาสให้ธนาคารกรุ งไทยใช้จุดแข็งจากการมีความสัมพันธ์อนั ดีกบั ภาครัฐมาอย่างยาวนาน และการมีฐานลูกค้ารายย่อยเป็ นจํานวนมากเร่ งขยายสิ นเชื%อแก่องค์กรภาครัฐและข้าราชการซึ% งมีความ เสี% ยงตํ%า ตลอดจนลูกค้าภาคเอกชน ทั.งรายใหญ่และรายย่อยที%ได้รับผลดี จากมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิ จ ส่ งผลให้สิ นเชื% อของ ธนาคารในปี 2553 ขยายตัวสู งสุ ดในรอบ 8 ปี นับจากปี 2545และโดดเด่นกว่าคู่เทียบ อีกทั.งธนาคาร ยังคงเดินหน้าในการเป็ นธนาคารแสนสะดวก (KTB Convenience) ในทุกมิติ ทั.งด้าน Product, People, Place, Process และ Promotion ด้วยการจับมือกับบริ ษทั ในเครื อเร่ งพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริ การร่ วมกัน เพื%อให้ลู กค้า ทุ กกลุ่ มของธนาคารทั.งลู ก ค้า รายย่อยภาคธุ รกิ จ และภาครั ฐ รั บ รู ้ และพึง พอใจใน Convenience Brand ของธนาคารอย่างต่อเนื% องส่ งผลให้ในปี 2553 ธนาคารมีกาํ ไรสุ ทธิ สูงสุ ดเป็ น ประวัติการณ์ (ไม่นบั รวมปี 2543 ซึ% งมีการโอนเงินสํารองกลับมาเป็ นรายได้ ทําให้มีกาํ ไรสุ ทธิ สูงกว่า 76,000 ล้านบาท) และมีส่วนผลักดันให้ราคาหุ ้นธนาคารกรุ งไทย ณ สิ. นปี 2553 เพิ%มขึ.นจากสิ. นปี 2552 ถึงร้อยละ 75.63สําหรับในด้านการบริ หารจัดการ ธนาคารยังคงมุ่งเน้นการเติบโตทางธุ รกิจควบคู่กบั การบริ หารความเสี% ยงที%มีประสิ ทธิภาพ และหลักการกํากับดูแลกิจการที%ดีตามนโยบายของธนาคาร โดย ได้มีการปรับเปลี%ยนโครงสร้างองค์กรเพื%อให้เหมาะสมสอดคล้องกับปั จจัยแวดล้อมที%เปลี%ยนแปลงไป ผลักดันโครงการสําคัญให้สาํ เร็ จตามเป้ าหมาย วิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริ การทางการเงินเพื%อเพิ%ม ความสะดวกสบายและความปลอดภัยให้กบั ลูกค้า รวมทั.งสนับสนุนและดูแลการดําเนินงานของบริ ษทั ในเครื อให้เติบโตอย่างมัน% คง ขณะเดียวกัน ธนาคารดําเนินธุ รกิจโดยมุ่งมัน% ที%จะแก้ปัญหาเศรษฐกิจของ ประเทศให้ฟ.ื นตัวจากภาวะวิกฤติได้อย่างต่อเนื% องและแข็งแกร่ ง อีกทั.งยังดําเนินกิจกรรมโดยคํานึ งถึง ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ% งแวดล้อมอันเป็ นพันธกิจสําคัญที%ยึดมัน% ตลอดมา ทําให้ธนาคารเติบโต
87 ไปพร้อมกับสังคมและประเทศชาติโดยรวมได้อย่างยัง% ยืนและภาคภูมิใจผลจากการทํางานที%ทุ่มเทของ กรรมการ ผูบ้ ริ หารสายงานต่าง ๆ รวมทั.งพนักงานทุกระดับ ส่ งผลให้การดําเนินงานของธนาคารในปี 2553 ประสบความสําเร็ จเป็ นอย่างดี และได้รับเกียรติจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชนหลายแห่งมอบ รางวัลในด้านต่าง ๆให้ ซึ%งเป็ นขวัญและกําลังใจที%สนับสนุนให้พนักงานมุ่งมัน% ทุ่มเทแรงกายแรงใจและ ความรู ้ความสามารถในการปฏิบตั ิหน้าที% เพื%อมอบ “บริ การสะดวก ชีวิตสบาย” ให้กบั ลูกค้าทุกกลุ่ม สร้างผลตอบแทนที%ดีให้กบั ผูถ้ ือหุน้ และเป็ นธนาคารในใจของคนไทยตลอดไป สายงานหลักของธนาคาร และโครงสร้างรายได้สายงานธุ รกิจรายย่อยและเครื อข่าย เป็ นสาย งานหลักในการให้บริ การลูกค้าและสร้างรายได้ให้กบั ธนาคาร ภารกิจและความรับผิดชอบที%สําคัญของ สายงาน คือ การให้บริ การทางการเงินทุกประเภทแก่ลูกค้าตามกลยุทธ์ของธนาคาร ทั.ง ด้านการรับฝาก เงิ น การให้สินเชื% อ การให้บริ การรับชําระค่าสิ นค้าและบริ การอื%น ๆ รวมทั.งการแนะนําและขาย ผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั ในเครื อและพันธมิตรธุ รกิจ ผ่านเครื อข่ายสาขาทัว% ประเทศของธนาคาร ซึ% ง ณ สิ. น ธันวาคม2553 มีจาํ นวนรวม 962 สาขา นอกจากนั.น ยังรับผิดชอบในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ดา้ นเงินฝาก และสิ นเชื% อรายย่อย เพื%อรองรับความต้องการของตลาดและสร้างความพึงพอใจสู งสุ ดให้กบั ลูกค้า รวมทั.งสร้างรายได้ให้กบั ธนาคาร ในปี 2553 ผลการดําเนินงานโดยรวมของสายงานฯ นับว่าประสบความสําเร็ จเป็ นที%น่าพอใจ โดยสามารถขยายสิ นเชื%อและเงินฝากได้สูงกว่าเป้ าหมาย ส่ วนการเพิ%มรายได้ค่าธรรมเนียมและการขาย ทรัพย์สินพร้อมขาย (NPA) ก็สามารถทําได้ใกล้เคียงกับเป้ าหมายท่ามกลางการแข่งขันที%รุนแรงขณะที% หนี.ที%ไม่ก่อให้เกิดรายได้ เพิ%มขึ.นจากปี ก่อนเพียงร้อยละ 0.12 ของสิ นเชื%อที%ปล่อยใหม่ท. งั หมดทั.งนี. เป็ น ผลมาจากการมุ่งรักษาฐานลูกค้ารายเก่าและเร่ งขยายฐานลูกค้ารายใหม่ที%มีศกั ยภาพ ด้วยการยกระดับ คุณภาพการให้บริ การอย่างต่อเนื% องอาทิ การรับประกันคุณภาพบริ การ (Service Level Agreement: SLA) ของสาขาทัว% ประเทศ โดยกําหนดระยะเวลาการให้บริ การ เช่น ให้บริ การหน้าเคาน์เตอร์ ภายใน 3 นาที และเปิ ดบัญชีพร้อมทําบัตร ATM ภายใน 10 นาที เป็ นต้น การให้บริ การIntelligence Queue ซึ% ง ลูกค้าสามารถทํารายการฝาก ถอน โอนเงิน โดยไม่ตอ้ งเขียนสลิป การให้บริ การเปิ ดบัญชีแบบ Smart Open Account ที%เพียงแสดงบัตรประจําตัวประชาชนและไม่ตอ้ งกรอกแบบฟอร์ ม การจัดอบรมด้าน สิ นเชื% อ การให้บริ การและการขายให้กบั พนักงานอย่างต่อเนื% อง การเพิ%มตําแหน่งรองผูจ้ ดั การลูกค้า สัมพันธ์ (CSRM) เพื%อดูแลการต้อนรับ แนะนําผลิตภัณฑ์ และแก้ไขปั ญหาให้กบั ลูกค้า การประกวด
88 Star of QA ตามโครงการประกันคุณภาพบริ การ (Quality Assurance Project: QA) เป็ นประจําทุกปี เพื%อ สนับสนุนให้สาขามีการพัฒนาคุณภาพบริ การอย่างต่อเนื%อง ส่ งผลให้ธนาคารได้รับรางวัลบริ การดีเด่น จากสํานักคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) ส่ วนทางด้านการขยายช่องทางการให้บริ การ สาย งานฯ ได้ดูแลและประสานงานในการเปิ ดสาขาใหม่รวม 78 แห่งเปิ ด Exchange Booth รวม 10 แห่ง ติดตั.งเครื% องATM ทัว% ประเทศเพิ%มอีก 1,321 เครื% อง เครื% อง ADM199 เครื% อง และปรับรู ปแบบสาขา (Renovate) รวม149 แห่ ง โดยทุ ก สาขาจะมี จุดบริ ก ารพิเศษสํา หรั บ คนพิก ารและคนชราด้วย นอกจากนั.น ได้เร่ งปรับภาพลักษณ์สาขาเดิมให้เป็ นรู ปแบบมาตรฐานซึ% งมีพ.ืนที%ตอ้ นรับลูกค้าและพื.นที% ปฏิบตั ิงานในสัดส่ วน 70:30 เน้นความทันสมัย โล่ง โปร่ ง สบายสะดวก และสะอาด อีกทั.งได้จดั รถ บริ การเคลื%อนที% (KTB on the Move) ประจําครบทุกสํานักงานเขตเพื%อให้สามารถออกรับฝาก-ถอนเงิน และให้บริ การด้าน Exchange แก่ลูกค้าได้อย่างไม่มีขีดจํากัดซึ% งนอกจากจะสร้ างรายได้ให้ธนาคาร เพิ%มขึ.นแล้ว ยังทําให้ลูกค้าได้รับความสะดวกสบายและพึงพอใจมากขึ.นด้วย ทางด้านการส่ งเสริ มการ ขาย สายงานฯ ได้จดั โครงการ ไป Shop ไป Bank เพื%อสร้างรายได้และค่าธรรมเนียมให้กบั ธนาคาร และ จัด Event ณ ที%ทาํ การสาขา หรื อหน่วยงานราชการ/รัฐวิสาหกิจเพื%อขอบคุณลูกค้าและส่ งเสริ มธุ รกิจของ ลูกค้าไปพร้อม ๆ กับการช่วยกระตุน้ เศรษฐกิจของท้องถิ%นทางด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์รายย่อย สาย งานฯได้พฒั นาผลิตภัณฑ์และบริ การต่าง ๆ ที%ทนั สมัยและสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้า ทุกกลุ่มทุกวัย พร้อมทั.งเสนอผลตอบแทนที%น่าสนใจ รวมทั.งได้จดั Promotion ในเทศกาลต่าง ๆ เพื%อ สมนาคุณแก่ลูกค้าอย่างต่อเนื%อง ทางด้านระบบงาน สายงานฯได้ร่วมกับสายงานธุ รกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และบริ การจัดการทางการเงิน พัฒนาช่องทางการให้บริ การเปิ ดบัญชีเงินฝากประจําผ่าน KTB Online เพื%อให้ลูกค้าได้รับความสะดวกสบายมากยิง% ขึ.น ในปี 2554 สายงานฯ ได้กาํ หนดกลยุทธ์ในการขยายฐานลูกค้ารายย่อย ทั.งลูกค้ารายใหม่ และ เพิ%มยอดขายจากลูกค้ารายเดิม ผ่านการจัดกิจกรรมทางการตลาดของสาขาทุกแห่ง รวมทั.งเพิ%มธุ รกรรม ด้าน Asset under Management (AUM) และ Cash Management เพื%อเพิ%มรายได้ค่าธรรมเนียมให้กบั ธนาคาร ส่ วนด้านสิ นเชื%อ จะเน้นกลุ่มลูกค้ารายย่อย ที%มีศกั ยภาพทั.งภาครัฐและภาคเอกชน นอกจากนี.จะ ยังคงพัฒนาคุณภาพการให้บริ การ โดยการจัด Training ด้านสิ นเชื%อ ด้านการปรับโครงสร้างหนี.ดา้ นการ ให้บริ การ และด้านการขาย เพื%อให้การพิจารณาสิ นเชื%อ และการให้บริ การต่าง ๆ มีคุณภาพและสร้าง ความพึงพอใจให้กบั ลูกค้าอย่างต่อเนื%องตลอดจนสานต่อโครงการประกวด Star of QA ตามโครงการ ประกันคุณภาพบริ การ (QA) พร้อมปรับภาพลักษณ์สาขาให้ทนั สมัย และขยายสาขาเพิ%มขึ.นในทําเลที%มี
89 ศักยภาพสู ง รวมทั.งเดินหน้า Relocateและติดตั.งเครื% อง ATM เพิม% เพื%อให้ลูกค้าได้รับความสะดวกสู งสุ ด เพื%อยํ.าความเป็ น Convenience Bank อีกทั.งจะดําเนิ นโครงการ KTB Fair 2011 เพื%อขอบคุณลูกค้า ขณะเดียวกันก็ช่วยส่ งเสริ มธุรกิจของลูกค้าด้วย สายงานธุ รกิจขนาดกลาง ทําหน้าที%ให้บริ การด้านสิ นเชื% อธุ รกิ จสําหรับลูกค้าที%มีวงเงิ นรวม มากกว่า10 ล้านบาท ถึง 500 ล้านบาท รวมทั.งดูแลลูกค้าวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ซึ% ง เป็ นลูกค้าเป้ าหมายหลักกลุ่มหนึ% งของธนาคาร และเป็ นกลจักรสําคัญในการขับเคลื%อนเศรษฐกิจของ ประเทศ ในปี 2553 สายงานธุ รกิจขนาดกลาง ให้บริ การสิ นเชื%อและผลิตภัณฑ์ทางการเงินต่าง ๆ แก่ ลูกค้ากลุ่มดังกล่าว โดยเฉพาะกลุ่ม SMEs ผ่านสํานักงานธุ รกิจ (BC) ที%กระจายอยูท่ ว%ั ประเทศรวม 63 แห่งโดยมีพนักงานที%มีประสบการณ์ ซึ% งได้รับการพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื%อง เป็ นผูด้ ูแลลูกค้าอย่าง ใกล้ชิดทั.งยังมุง่ ทํางานในเชิงรุ กมากขึ.น โดยมีเป้ าหมายเพื%อเพิม% ส่ วนแบ่งตลาด รายได้คา่ ธรรมเนียม และ การเป็ นผูน้ าํ ในการให้บริ การธุ รกิจ SMEs ด้วยการพัฒนาผลิตภัณฑ์สินเชื%อธุ รกิจให้สามารถตอบสนอง ความต้องการของลูกค้าอย่างต่อเนื%อง ทั.งสิ นเชื%อธุ รกิจในประเทศ เช่น เงินกูเ้ บิกเงินเกินบัญชี (O/D) เงินกูป้ ระจํา(T/L) เงินกูโ้ ดยตัวJ สัญญาใช้เงิน (P/N) และสิ นเชื%อด้านการค้าต่างประเทศ เช่น การเปิ ด Letter of Credit, Trust Receipt, Packing Credit เป็ นต้นนอกจากนั.น ยังได้ดาํ เนินโครงการที%สําคัญได้แก่ โครงการความร่ วมมือกับหน่วยงานภาครัฐตามมาตรการช่วยเหลือเงินทุนหมุนเวียนอัตราดอกเบี.ยพิเศษ ให้กบั ผูป้ ระกอบการ ทั.งภาคอุตสาหกรรม การบริ การ การค้า และการเกษตรโครงการสิ นเชื% อไทย เข้มแข็ง 2555 ซึ% งประกอบด้วยหนังสื อคํ.าประกันทันใจไทยเข้มแข็ง และสิ นเชื%อก่อสร้างไทยเข้มแข็ง เพื%อสนับสนุนแผนปฏิบตั ิการไทยเข้มแข็ง 2555 ของรัฐบาลในการกระตุน้ และฟื. นฟูเศรษฐกิจ โดยการ เปิ ดช่องทางด่วนพิเศษ (Fast Track) ในการอนุมตั ิสินเชื%อสําหรับผูป้ ระกอบการที%ประมูลงานรับเหมา ก่ อ สร้ า งภายใต้แ ผนปฏิ บ ัติ ก ารดัง กล่ า ว โครงการสนับ สนุ น การลงทุ น ด้า นพลัง งานเพื% อ เพิ% ม ประสิ ทธิภาพการผลิต และลดต้นทุนให้กบั ผูป้ ระกอบการ โครงการสิ นเชื%อธุรกิจแฟ็ กเตอริ ง (Factoring) ซึ% งเป็ นโครงการสําคัญในปี 2553ของสายงานฯ ที%จะสนับสนุนให้ SMEs ไทยมีความเข้มแข็งและ สามารถเป็ นรากฐานของการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ โดยการปล่อยสิ นเชื%อเพื%อเป็ นทุนหมุนเวียน เสริ มสภาพคล่องแก่ SMEs ที%มีหลักประกันไม่เพียงพอ โครงการช่วยเหลือผูป้ ระกอบการเมื%อประสบ วิกฤต เช่น มาตรการให้ความช่วยเหลือผูป้ ระสบอุทกภัย โดยผ่อนปรนเงื%อนไขการให้สินเชื%อ และการ
90 ชําระหนี. เป็ นต้น นอกจากนี.สายงานฯ ยังให้ความสําคัญกับการสร้างมูลค่าเพิ%มทางธุ รกิจให้แก่ลูกค้า ผ่านโครงการต่าง ๆ อาทิโครงการ SMEs Market Day เพื%อช่วยประชาสัมพันธ์ธุรกิจและสร้างรายได้ ให้กบั ลูกค้า โครงการอบรมพัฒนาธุ รกิจลูกค้า SMEs (Modern Management for SMEs) เพื%อให้ความรู ้ เชิ งธุ รกิจแก่ผปู ้ ระกอบการและช่วยสร้างเครื อข่ายธุ รกิจ (Business Matching)รวมทั.งเปิ ดโอกาสให้ ลูกค้าได้มีการแลกเปลี%ยนข้อมูลธุ รกิจระหว่างกัน ด้วยความมุ่งมัน% ในการดูแลกลุ่มลูกค้าเดิมเป็ นอย่างดี และเร่ งทําตลาดในเชิงรุ กมากขึ.น ส่ งผลให้ในปี 2553 สายงานฯ สามารถขยายสิ นเชื%อทั.งจากฐานลูกค้า เดิมและลูกค้าใหม่ได้ตามเป้ าหมาย โดยเฉพาะ การสนับสนุ นสิ นเชื% อให้แก่ผปู ้ ระกอบการรับเหมา ก่อสร้างตามโครงการไทยเข้มแข็ง 2555 และสิ นเชื%อสนับสนุนโครงการต่าง ๆของภาครัฐ ในปี 2554 สายงานธุรกิจขนาดกลาง จะยังคงให้ความสําคัญกับการขยายสิ นเชื%ออย่างมีคุณภาพ และออก ผลิ ตภัณฑ์สินเชื% อที%ตรงกับความต้องการของSMEs อย่างต่อเนื% อง เพื%อก้าวสู่ การเป็ นผูน้ าํ ในการ ให้บริ การสิ นเชื%อธุ รกิจ SMEs โดยจะเน้นสนับสนุ นให้ SMEs ขนาดเล็กสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุน ได้มากขึ.น รวมถึงสนับสนุนนโยบายรัฐในการช่วยเหลือผูป้ ระกอบการ SMEs โดยเฉพาะการให้สินเชื%อ ในภาคธุ รกิจการเกษตรที%สําคัญ และธุ รกิจพลังงาน โดยในปี 2554 มีโครงการที%สําคัญ ได้แก่ “สิ นเชื%อ เพื%อธุ รกิจการค้าครบวงจร” (KTB-Supply Chain Package)ประกอบด้วย KTB Order Financing ซึ% งเป็ น สิ นเชื% อหมุ นเวีย นให้แก่ ผูจ้ ดั หาสิ นค้า สํา หรั บซื. อวัตถุ ดิบ เพื%อผลิ ตสิ นค้า และขายให้ก บั ผูซ้ .ื อ KTB Supplier Financing เพื%อสนับสนุนทุนหมุนเวียนให้กบั ผูข้ าย ซึ% งได้ส่งมอบสิ นค้าแล้วและอยูร่ ะหว่างรอ รับเงินจากผูซ้ .ื อ สิ นเชื%อกรุ งไทยแฟ็ กเตอริ ง และ KTB Distributor Financing ซึ% งเป็ นสิ นเชื%อหมุนเวียน ให้แก่ผจู ้ ดั จําหน่ายสิ นค้าภายหลังการรับมอบสิ นค้าแล้ว และถึงกําหนดเวลาที%ตอ้ งชําระเงินให้แก่ผขู ้ าย “โครงการ KTB - SMEs ติดดาว” เป็ นโครงการที%ธนาคารร่ วมมือกับพันธมิตรสื% อสิ% งพิมพ์ ในการ คัดเลือกผูป้ ระกอบการที%มีผลการดําเนินงานโดดเด่น ทั.งด้านการตลาด การเงิน ศักยภาพการแข่งขัน และเป็ นลูกค้าที%ดีของธนาคาร เพื%อให้ได้รับ “การติดดาว” และจะได้รับการดูแลเป็ นพิเศษจากธนาคาร พร้อมทั.งได้ร่วมกิ จกรรมกับธนาคารอย่างต่อเนื% อง อาทิ การสัมภาษณ์ผูบ้ ริ หารและเผยแพร่ ในสื% อ สิ% งพิมพ์ตลอดทั.งปี เพื%อเป็ นตัวอย่างให้กบั SMEs รายอื%น ๆ และ“โครงการ KTB - MMS อบรมพัฒนา ธุ รกิจลูกค้า SMEs”(Modern Management for SMEs) ซึ% งเป็ น SMEs Customer Value Added Programs ที%ธนาคารร่ วมกับเครื อข่ายพันธมิตร จัดขึ.นอย่างต่อเนื% อง เพื%อให้ความรู ้ทางวิชาการแก่ผปู ้ ระกอบการ และสนับสนุนกิจกรรมการเสริ มสร้างศักยภาพของธุรกิจ SMEs
91 สายงานธุ รกิจขนาดใหญ่ รับผิดชอบการให้บริ การด้านสิ นเชื%อแก่ลูกค้าธุ รกิจขนาดใหญ่ท. งั ภาคเอกชน และรัฐวิสาหกิจ ที%มีวงเงินสิ นเชื%อมากกว่า500 ล้านบาทขึ.นไป ครอบคลุมทุกธุรกิจหลักของประเทศ โดย การให้บริ การและจัดหาสิ นเชื%อ และแหล่งเงินกูท้ ี%เหมาะสมกับลักษณะและความต้องการของลูกค้า เช่น สิ นเชื%อเพื%อการลงทุนในสิ นทรัพย์ถาวร สิ นเชื%อเพื%อเงินทุนหมุนเวียน สิ นเชื%อเพื%อการค้าระหว่างประเทศ รวมทั.งบริ การด้านอื%น ๆ เช่นการออกหุ ้นกูใ้ ห้แก่ลูกค้า การให้บริ การด้าน Cash Management และการ นําเสนอเครื% องมือป้ องกันความเสี% ยงด้านอัตราแลกเปลี%ยนให้แก่ลูกค้า เป็ นต้น ในปี 2553 สายงานฯได้ให้การสนับสนุ นโครงการขนาดใหญ่ ทั.งของภาครัฐ และเอกชน จํานวนมากทําให้ผลการดําเนินงานของสายงานฯ บรรลุเป้ าหมายที%กาํ หนดไว้ โดยมีโครงการที%โดดเด่น ได้แก่ โครงการไฟฟ้ าพลังความร้อนจากถ่านหิ น ในประเทศลาวโครงการสนับสนุนการลงทุนซื. อหุ ้น เพื%อดําเนินธุ รกิจเหมืองถ่านหิ นในประเทศออสเตรเลีย โครงการก่อสร้างงานโยธา และงานอาคารของ หน่วยงานราชการ และการสนับสนุนโครงการไทยเข้มแข็งเป็ นต้น ทั.งนี. โครงการที%เพิ%มขึ.นมากและ ความต้องการในธุ รกรรมทางการเงินที%หลากหลาย ทําให้ธนาคารเพิ%มสายงานสิ นเชื%อขนาดใหญ่ อีก 1 สายงานเพื%อทําหน้าที%ดูแลลูกค้าและให้คาํ ปรึ กษาด้านวานิชธนกิจ ส่ วนสายงานสิ นเชื%อขนาดใหญ่เดิมจะ เน้นการให้บริ การสิ นเชื% อเป็ นหลัก โดยปรับฝ่ ายงานใหม่ตามภาคธุ รกิ จอุตสาหกรรม คือ ธุ รกิ จ อุตสาหกรรม ธุรกิจก่อสร้าง ธุรกิจโครงการ ธุ รกิจการเกษตร ธุ รกิจพาณิ ชยกรรม และธุ รกิจบริ การ เพื%อ ให้บริ การได้รวดเร็ วและตรงตามความต้องการของลูกค้าแต่ละกลุ่ม สําหรับในปี 2554 สายงานฯจะยังคงมุ่งเน้นการขยายสิ นเชื%อแก่ลูกค้ารายเดิม และขยายฐาน ลูกค้าสิ นเชื%อรายใหม่ในภาคธุ รกิจที%สายงานดูแล โดยจะมุ่งไปในกลุ่มธุ รกิจที%มีแนวโน้มเติบโตสู งจาก นโยบายและงบประมาณภาครัฐ กลุ่มอุตสาหกรรมที%มีศกั ยภาพ และกลุ่มที%มีการขยายการลงทุนไป ต่างประเทศ เป็ นสําคัญ สายงานธุ รกิจภาครัฐ รับผิดชอบดูแลหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ ซึ% งเป็ นฐานลูกค้าราย ใหญ่ที%มีความเสี% ยงตํ%าของธนาคาร โดยให้บริ การทั.งการรับฝากเงิน การให้สินเชื%อองค์กร และการให้ สิ นเชื% อรายย่อยแก่ข ้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิ จตลอดจนการอํานวยความสะดวกในการเป็ น ตัวกลางรับและจ่ายเงิน ชําระค่าสิ นค้าและบริ การต่าง ๆระหว่างภาครัฐกับประชาชนและคู่สัญญา นอกจากนี. ยัง ดู แ ลและให้ ก ารสนับ สนุ น สิ น เชื% อ แก่ ก ลุ่ ม ชุ ม ชนและประชาชนในระดับ ฐานราก
92 (Microfinance) เพื%อให้สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนในระบบได้อย่างเท่าเทียมรวมทั.งช่วยเสริ มสร้างและ พัฒนาศักยภาพของชุมชนให้มีความเข้มแข็ง โดยการประสานความร่ วมมือกับองค์กรเครื อข่ายต่าง ๆ ทั.งภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน (NGO) และองค์กรอิสระอื%น ๆ อย่างสมํ%าเสมอ ในปี 2553 สายงานฯ ได้ขยายสิ นเชื% อองค์กร โดยการเป็ นแหล่งเงินกูใ้ ห้กบั รัฐบาลสําหรับ งบประมาณรายจ่าย เพื%อสนับสนุนการดําเนิ นงานของหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ และขยาย สิ นเชื%อรายย่อยให้แก่ พนักงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจ เพื%อเสริ มสวัสดิการที%องค์กรจัดให้ และเพิ%ม อํานาจซื. อ อันจะส่ งผลดีต่อเนื%องในการกระตุน้ เศรษฐกิจของประเทศนอกจากนี. ยังให้สินเชื%อรายย่อย ตามนโยบายรัฐ อีกหลายโครงการ อาทิ สิ นเชื%อเพื%อผูป้ ระกันตนของสํานักงานประกันสังคม สิ นเชื%อเพื%อ บรรเทาปั ญหานํ.าท่วมแก่ขา้ ราชการ และสิ นเชื%อเพื%อการแก้ไขปั ญหาหนี.สินภาคประชาชน (หนี. นอก ระบบ) เป็ นต้น อีกทั.งยังช่วยเพิ%มประสิ ทธิ ภาพการบริ การของภาครัฐและอํานวยความสะดวกให้กบั ประชาชน ผ่านบริ การจัดการทางการเงิน (Cash Management) เช่น บริ การบัตรเดบิต Tax Smart Card ที% ลูกค้าสามารถใช้ชาํ ระภาษีให้กบั กรมสรรพากรและกรมสรรพสามิตได้ และบริ การรับชําระค่าประมูล ซื.อที%ดินของกรมบังคับคดี ผ่านเครื% อง Mobile EDC ของธนาคาร บริ การรับชําระค่าบริ การของกรมที%ดิน ผ่านระบบ Internet / ATM บริ การบัตรเติมนํ.ามัน KTB Fleet Card และบริ การโอนเงินให้กบั หน่วยงาน และบุคคลต่าง ๆ เช่น การจ่ายคืนภาษีมูลค่าเพิ%มของกรมสรรพากร การโอนเงินค่าเบี.ยยังชีพคนชรา การ โอนเงินจ่ายคืนค่าประกันสิ นค้าส่ งออกของกรมศุลกากรเป็ นต้น ทางด้านการขยายเครื อข่ายบริ การ สาย งานฯยัง คงดําเนิ นการอย่างต่อเนื% อง โดยการเพิ%มจุดบริ การเคาน์เตอร์ แสนสะดวก (Convenience Counter) ในแหล่งชุมชนที%อยูห่ ่างไกลและไม่มีสาขาของธนาคารและการติดตั.งระบบบริ การจัดการทาง การเงินสหกรณ์ (KTB Co-Op)ส่ งผลให้การดําเนินงานในปี 2553 ของสายงานฯ บรรลุเป้ าหมายที%วางไว้ โดยเฉพาะด้านสิ นเชื%อองค์กรและสิ นเชื%อรายย่อยที%สูงกว่าเป้ าหมาย แผนงานสําคัญในปี 2554 สายงานฯ ยังคงมีนโยบายในการสนับสนุนโครงการแผนปฏิบตั ิการ ไทยเข้มแข็งของรัฐบาลอย่างต่อเนื%อง โดยการขยายสิ นเชื%อองค์กรให้แก่หน่วยงานภาครัฐ เพื%อรองรับ งบประมาณรายจ่าย และขยายสิ นเชื%อรายย่อยให้แก่พนักงานของรัฐเพื%อเป็ นสวัสดิการ นอกจากนี.ยงั จะ พัฒนาระบบการให้บริ การจัดการทางการเงิน(Cash Management) ร่ วมกับหน่วยงานหลักของภาครัฐ และรัฐวิสาหกิจอย่างต่อเนื% อง เช่น โครงการเติมเงิ นบัตรทางด่วน (Easy Pass) โครงการออกECertificate ของกรมพัฒนาธุ รกิจการค้า โครงการL/G Online โครงการรับชําระค่าไฟฟ้ าของการไฟฟ้ า
93 ส่ วนภูมิภาค รวมถึงการขยายการให้บริ การทางการเงินอื%น ๆ (Cross-Sell Product / Up-Sell) เช่นการ ขยายการให้บริ การบัตรชําระค่าลงทะเบียนการศึกษา (บัตร IPAC) และการให้บริ การรับสมัครสอบผ่าน ธนาคาร นอกจากนี. ยังจะดําเนินโครงการสนับสนุนนโยบายรัฐบาลอย่างต่อเนื%อง ได้แก่โครงการแก้ไข ปัญหาหนี.ภาคประชาชน (หนี.นอกระบบ) และสิ นเชื%อกองทุนหมูบ่ า้ น เป็ นต้น สายงานบริ หารการเงิน ทําหน้าที%จดั ทําแผนยุทธศาสตร์ของธนาคาร ดูแลโครงสร้างทางการเงินให้อยูใ่ น ระดับที%เหมาะสม พร้อมสร้างผลกําไรจากการบริ หารการลงทุน การปริ วรรตเงินตรา และสภาพคล่อง ส่ วนเกิ นของธนาคาร ดู แลบริ การของธนาคารที%เกี% ย วข้องกับอัตราดอกเบี.ย และอัตราแลกเปลี% ย น ตลอดจนดูแลสาขาในต่างประเทศและบริ ษทั ที%ธนาคารลงทุน นอกจากนี. ยังเป็ นศูนย์กลางข้อมูลทาง การเงิน ข้อมูลลูกค้า และข้อมูลเพื%อการบริ หารของธนาคาร เพื%อสนับสนุนการบริ หารจัดการและนํา เผยแพร่ ตอ่ นักลงทุน บริ ษทั จัดอันดับความเสี% ยงและประชาชน ในปี 2553 การดําเนินการตามแผนงานที%สําคัญมีความก้าวหน้าในระดับที%น่าพอใจ ได้แก่ ด้าน การบริ หารเงินและตลาดทุน มีการขยายตัวทั.งปริ มาณธุ รกิ จรายได้ อีกทั.งได้ออกผลิตภัณฑ์ใหม่ที% หลากหลายขึ.นโดยเฉพาะผลิตภัณฑ์เพื%อช่วยเหลือลูกค้าในการป้ องกันความเสี% ยงด้านราคาสิ นค้าโภค ภัณฑ์(Commodity Hedging) เนื%องจากในปี 2553 ราคาสิ นค้าโภคภัณฑ์ ทั.งนํ.ามัน ทองคํา และผลิตผล ทางการเกษตร มีค วามผันผวนมาก ขณะที%ด้านการบริ หารเงิ นกองทุน สามารถบริ หารสถานะ เงินกองทุนของธนาคารให้มีความแข็งแกร่ งตามแนวทางของ Basel II พร้อมทั.งหาแนวทางในการ บริ หารเงินกองทุนตามเกณฑ์ Basel III นอกจากนี. ยังได้เตรี ยมการรองรับมาตรฐานบัญชีใหม่ IAS 19 ซึ% งจะบังคับใช้ในปี 2554 และ IAS 39 สําหรับตราสารทางการเงินซึ% งจะทยอยบังคับใช้ต. งั แต่ปี 2556 เป็ นต้นไป สําหรับปี 2554 สายงานฯ มีแผนงานที%จะเน้นการยกระดับคุณภาพบริ การ และการให้คาํ แนะนํา ด้านแนวโน้มตลาด เพื%อช่วยลูกค้าให้สามารถบริ หารจัดการความเสี% ยงได้มีประสิ ทธิ ภาพยิง% ขึ.น ทั.งใน เรื% องอัตราแลกเปลี%ยน อัตราดอกเบี.ย และราคาสิ นค้าโภคภัณฑ์ โดยจะเพิ%มบริ การป้ องกันความเสี% ยงด้าน ราคาให้กบั สิ นค้าโภคภัณฑ์ที%หลากหลายประเภทยิง% ขึ.นรวมทั.งจะเพิ%มประสิ ทธิ ภาพการบริ หารการเงิน ของธนาคารในภาพรวมตลอดจนขยายขอบข่ายการบริ การในกลุ่มประเทศอินโดจีน
94 สายงานกลัน% กรองสิ นเชื% อ เป็ นหน่ วยงานที%ดาํ เนิ นงานอย่างเป็ นอิสระจากหน่วยงานอํานวย สิ นเชื%อโดยทําหน้าที% Check and Balance ในระบบงานสิ นเชื%อ ได้แก่ การกลัน% กรองสิ นเชื%อ การประเมิน ความเสี% ยง และการให้คาํ ปรึ กษาเกี%ยวกับการพิจารณาสิ นเชื%อ เพื%อให้การอํานวยสิ นเชื% อของธนาคารมี คุณภาพ สอดคล้องกับนโยบายและระเบียบของธนาคารและธนาคารแห่งประเทศไทย ในปี 2553 สายงานกลัน% กรองสิ นเชื%อ ได้ดาํ เนินการพิจารณากลัน% กรองสิ นเชื%อเพื%อให้ได้สินเชื%อ ที%มีคุณภาพ โดยนอกจากจะศึกษาและติดตามข้อมูลรอบด้านอย่างสมํ%าเสมอ ทั.งข้อมูลในภาพรวมและ รายอุตสาหกรรม เพื%อให้ทนั ต่อการเปลี%ยนแปลงของสภาพแวดล้อมและภาวะเศรษฐกิจที%จะส่ งผลต่อ คุณภาพสิ นเชื%อแล้ว สายงานฯ ได้จดั ทํา Business &Credit Models ของอุตสาหกรรมหลักต่างๆขึ.น เพื%อให้พนักงานในสายงานฯ และสายงานธุ รกิจมีขอ้ มูลภาพรวมและลักษณะธุ รกิจ เพื%อนําไปใช้ในการ ปฏิบตั ิงาน เช่นภาวะธุรกิจของอุตสาหกรรม การเปรี ยบเทียบข้อมูลด้านการตลาด อัตราส่ วนทางการเงิน หนี. คงค้าง NPL และการกําหนดเงื%อนไขเพื%อป้ องกันความเสี% ยง เป็ นต้น ซึ% งช่วยให้สายงานธุ รกิ จ ปฏิบตั ิงานได้สะดวก รวดเร็ ว และมีประสิ ทธิ ภาพมากยิง% ขึ.นนอกจากนี. สายงานฯ ได้เน้นการทํางานเชิง รุ กร่ วมกับสายงานธุรกิจ เพื%อติดตาม ทบทวน ป้ องกันมิให้สินเชื%อที%มีคุณภาพกลายเป็ นสิ นเชื%อที%มีปัญหา และมิให้สินเชื% อที%มีแนวโน้มจะเกิดปั ญหากลายเป็ นหนี.ดอ้ ยคุณภาพ โดยเมื%อพบสัญญาณบ่งบอกสาย งานฯ จะประสานความร่ วมมือกับสายงานธุ รกิจเพื%อเร่ งแก้ไขปรับปรุ งโดยเร็ ว อีกทั.งสายงานฯยังได้ พัฒนาศักยภาพการอํานวยสิ นเชื%อให้เป็ นมาตรฐานและมีประสิ ทธิภาพมากขึ.น โดยการจัดอบรมและ สัมมนาเชิงปฏิบตั ิการให้กบั พนักงานในสายงานฯและสายงานธุรกิจที%เกี%ยวข้อง เพื%อสร้างความพึงพอใจ ให้กบั ลูกค้าเพิม% ขึ.น ส่ งผลให้การดําเนินงานของสายงานในปี 2553 เป็ นไปตามเป้ าหมาย แผนงานที%สาํ คัญในปี 2554 สายงานกลัน% กรองสิ นเชื%อ มุง่ เน้นการเพิ%มคุณภาพและความรวดเร็ ว ในงานกลัน% กรอง เพื%อให้ได้สินเชื%อที%มีคุณภาพและบรรลุเป้ าหมายในการขยายสิ นเชื%อของธนาคาร โดย ร่ วมมือกับสายงานธุ รกิจจัดทําข้อมูล Business & Credit Models ของอุตสาหกรรมที%มีศกั ยภาพเพิ%มเติม จากปี ก่อน รวมทั.งปรับปรุ งข้อมูลที%มีการเปลี%ยนแปลงและมีนยั สําคัญในทุก Models ให้เป็ นปั จจุบนั อยู่ เสมอและมีแผนงานเพิ%มความรวดเร็ วในการอํานวยสิ นเชื% อโดยการกําหนดแนวทางและกรอบการ กลัน% กรองสําหรับลูกค้ากลุ่ม Fast Track รวมทั.งการปรับปรุ งกระบวนการทํางาน โดยกําหนดประเด็น และขอบเขตการกลัน% กรองสิ นเชื%อให้ชดั เจน ครบถ้วน เพื%อให้การปฏิบตั ิงานเป็ นไปด้วยความรวดเร็ วมี มาตรฐานนอกจากนั.น จะให้ความสําคัญกับการพัฒนาและเพิ%มศักยภาพบุคลากรในสายงานฯ อย่าง
95 ต่อเนื% อง เพื%อให้เกิดความชํานาญในการปฏิบตั ิงาน และสามารถพิจารณากลัน% กรองให้ได้สินเชื%อที%มี คุณภาพ ตลอดจนสามารถเป็ นวิทยากรช่วยพัฒนาบุคลากรสายงานอื%น ซึ% งจะเป็ นรากฐานสําคัญในการ สนับสนุนให้ธนาคารเติบโตได้อย่างยัง% ยืน สายงานปรับโครงสร้างหนี.และบริ หารทรัพย์สินทําหน้าที%บริ หารจัดการสิ นเชื%อด้อยคุณภาพของลูกหนี. ธุ รกิจขนาดกลางและขนาดใหญ่ โดยการแก้ไขหนี.ที%ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPLs) ให้กลับเป็ นหนี.ปกติ (PLs) เพื%อลดค่าใช้จ่ายในการกันสํารองหนี. ของธนาคาร และเพื%อให้ลูกหนี. สามารถดําเนิ นธุ รกิจได้ ตามปกติ รวมทั.งรับผิดชอบงานด้านการสร้ างรายได้ให้กบั ธนาคารจากการจําหน่ ายทรัพย์สินด้อย คุณภาพ (NPA) พร้อมทั.งบริ หารค่าใช้จ่ายและบริ หารความเสี% ยงโดยการบริ หารจัดการทรัพย์ NPA ให้ อยูใ่ นสภาพพร้อมขาย เพื%อลดภาระการถือครองทรัพย์สินที%ไม่ก่อให้เกิดรายได้ ในปี 2553 ผลการดําเนิ นงานของสายงานฯบรรลุเป้ าหมายได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดย เฉพาะงานบริ หารจัดการทรัพย์ NPA ที%สายงานฯ รับผิดชอบดูแลมาตั.งแต่เดือนกรกฎาคม 2553 จากการ ปรับโครงสร้างองค์กรของธนาคาร โดยสามารถขายNPA ได้มากกว่า 8,000 ล้านบาท สู งกว่าเป้ าหมายที% ธนาคารตั.งไว้เป็ นครั.งแรกในรอบ 6 ปี เนื%องจากสายงานฯ ได้พฒั นาระบบงานการดูแลทรัพย์ NPAให้มี ความพร้อมขาย (Clear & Clean) ประกันคุณภาพบริ การ และปรับกระบวนการทํางานเป็ นเชิงรุ ก โดย การจัดตั.งศูนย์อาํ นวยความสะดวกในการขายแบบ One Stop Service ขึ.นรวม 10 ศูนย์ทว%ั ประเทศ โดย แต่ละศูนย์รับผิดชอบเป้ าหมายในแต่ละพื.นที%นอกจากนั.นได้เพิ%มช่องทางการจําหน่ายทั.งการขายผ่าน พนักงาน ตัวแทนขาย งานมหกรรมและบริ ษทั บริ หารสิ นทรัพย์ โดยมีระบบ NPA Onlineในการ ดําเนินการ มีการส่ งเสริ มการขายโดยการประชาสัมพันธ์ผา่ นสื% อต่างๆและทาง Internet อย่างต่อเนื%อง ทั.งนี. เพื%ออํานวยความสะดวกให้แก่ผซู ้ .ื อและผูข้ าย สอดคล้องกับการเป็ น Convenience Bankของ ธนาคาร ส่ วนงานด้านการปรับโครงสร้างหนี. สายงานฯ ได้เน้นรู ปแบบการทํางานอย่างเป็ นระบบ สามารถติดตามงานได้ทุกขั.นตอน และมีการติดตามผลการผลดําเนินงานอย่างใกล้ชิดสมํ%าเสมอ ทําให้ สามารถเร่ งรัดปรับปรุ งโครงสร้างหนี.ลูกหนี.จดั ชั.นเชิงคุณภาพ และลด NPL ได้สูงกว่าเป้ าหมาย ซึ% งช่วย ลดภาระในการกันสํารองฯ ของธนาคารลงได้มาก ในปี 2554 สายงานฯ มีเป้ าหมายเชิงรุ กในการขาย NPA โดยเน้นการเป็ นกลุ่มผูน้ าํ ในการขาย NPAและการประกันคุณภาพ รวมทั.งมีเป้ าหมายในการลดNPLs ต่อเนื% องจากปี 2553 ด้วยการเร่ งรัด
96 ปรับปรุ งโครงสร้างหนี.ของลูกหนี.จดั ชั.นเชิงคุณภาพและหนี.สูญรับคืน (Write Back) เพิ%มขึ.น โดยสาย งานฯ ได้จดั ทําแผนกลยุทธ์ข. ึนรองรับ ทั.งด้านการเพิ%มประสิ ทธิ ภาพการปฏิบตั ิงาน ด้านการปรับปรุ ง กระบวนการทํางานหลัก ด้านการพนักงาน และด้าน IT เพื%อให้บรรลุเป้ าหมายดังกล่าว รวมทั.งเพื%อ ตอบสนองความต้องการและสร้างความพึงพอใจให้กบั ลูกค้า สายงานธุ รกรรมอิเล็กทรอนิ กส์และบริ การจัดการทางการเงิน รับผิดชอบในการพัฒนาผลิตภัณฑ์บตั ร ผลิตภัณฑ์และบริ การทางอิเล็กทรอนิกส์และผลิตภัณฑ์บริ การจัดการทางการเงิน (Cash Management) นอกจากนี. ยังทําหน้าที%ศึกษาและวิเคราะห์โอกาสทางการตลาด เทคโนโลยี และกลุ่มลูกค้า เพื%อกําหนด ราคาที%เหมาะสม และพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ทนั สมัย เพิ%มความสะดวกให้แก่ลูกค้าซึ% งจะส่ งผลต่อการขยาย โอกาสทางธุ รกิจ เพิ%มส่ วนแบ่งการตลาด และสร้างความสามารถในการแข่งขัน (Competitiveness Edge) ให้แก่ธนาคาร ปี 2553 สายงานฯ ได้พฒั นาผลิตภัณฑ์และคิดค้นนวัตกรรมทั.งผลิตภัณฑ์บตั ร บริ การทาง อิเล็กทรอนิกส์ และบริ การจัดการทางการเงินอย่างหลากหลาย เพื%อเพิ%มความสะดวกและจูงใจลูกค้าให้ มาใช้บริ การมากขึ.น ซึ% งมีผลให้ธนาคารครองความเป็ นผูน้ าํ ในบริ การทั.ง 3 กลุ่ม เพิ%มความพึงพอใจ ให้กบั ลูกค้า และสร้างรายได้คา่ ธรรมเนียมให้กบั ธนาคารเพิม% ขึ.น โดยผลิตภัณฑ์และบริ การที%โดดเด่นคือ กลุ่มผลิตภัณฑ์บตั ร ได้แก่ บัตร KTB Shop Smart Card (KTB Shop Smart Blue Diamond Card และ KTB Shop Smart Pearl Card) เป็ นบัตรวีซ่าเดบิตที%ออกโดยธนาคารร่ วมกับบริ ษทั ประกันภัยในเครื อ เพื%อเพิ%มสิ ทธิ ประโยชน์ดา้ นการคุม้ ครองอุบตั ิเหตุส่วนบุคคลแบบมีค่ารักษาพยาบาลให้กบั ลูกค้าที%ถือ บัตร บัตร KTB Investment Card ได้แก่KTB Oil Fund Card ที%ลูกค้าสามารถซื. อหน่วยลงทุนในกองทุน เปิ ดเคแทม ออยล์ ฟันด์ (KT-Oil) ผ่านเครื% อง ATM/ADM และสามารถขายคืนหน่วยลงทุนโดยใช้บตั ร ชําระค่านํ.ามัน ณ สถานีบริ การนํ.ามันในเครื อข่าย VISA ทัว% ประเทศ และ KTB Gold Invest Card ที% ลูกค้าสามารถซื. อหน่วยลงทุนในกองทุนเปิ ดเคแทม โกลด์ ฟันด์ (KT-Gold) และสามารถขายคืนหน่วย ลงทุนด้วยการทํารายการถอนเงิ นสดหรื อใช้ชาํ ระค่าสิ นค้า/บริ การ นับเป็ นธนาคารแรกที%ออกบัตร ประเภทนี.เพื%อเพิ%มความสะดวกสบายในการลงทุนให้กบั ลูกค้า กลุ่มผลิตภัณฑ์ e-Channelได้แก่ บริ การ แจ้งเตือนอัตโนมัติผา่ นโทรศัพท์มือถือ(SMS Alert) เมื%อบัญชีมีรายการเคลื%อนไหวตั.งแต่ 500 บาทขึ.นไป เพื%อเพิม% ความมัน% ใจให้กบั ลูกค้าในการใช้บริ การของธนาคาร บริ การ KTB Online @ Mobileบน iPhone เพื%อเพิ%มช่องทางการให้บริ การ ที%ลูกค้าสามารถทํารายการทางการเงินได้ทุกที% ทุกเวลาบริ การเงินฝาก
97 กรุ งไทยการกุศล (KTB Charity Account)เพื%ออํานวยความสะดวกให้แก่ผทู ้ ี%ตอ้ งการบริ จาคเงินเพื%อการ กุศล เพียงแจ้งชื%อผูร้ ับบริ จาคโดย ไม่ตอ้ งจดจําเลขที%บญั ชีและชื%อสาขา บริ การตรวจสอบข้อมูลเครดิต ผ่านเครื% อง ATM/ADM ที%ลูกค้าสามารถตรวจสอบประวัติทางการเงินได้ดว้ ยตนเอง การเพิ%มภาษาพม่า บน ATM Screen ของธนาคาร เพื%ออํานวยความสะดวกให้กบั ลูกค้าชาวพม่าที%ทาํ งานและอาศัยอยูใ่ น ประเทศไทย บริ การแปลงค่าสกุลเงินผ่านเครื% อง ATM (Dynamic Currency Conversion on ATM) กลุ่ม บริ การ Cash Management ได้แก่ บริ การ KTB e-Cheque ที%ลูกค้าสามารถโอนเงินผ่านระบบ อิเล็กทรอนิกส์ได้โดยมีความปลอดภัยสู ง อีกทั.งสามารถกําหนดวันโอนเงินได้ล่วงหน้าบริ การ KTB Collection Plusที%เพิ%มความสะดวกให้กบั ลูกค้า Corporate โดยให้บริ การรับฝากเช็คพร้อมบริ การเรี ยก เก็บ และบริ การรับชําระค่าบัตรโดยสารภายในประเทศของสายการบินไทยผ่านเครื% อง ATM ของ ธนาคาร ในปี 2554 สายงานฯ มีเป้ าหมายในการทํา Benchmarking เพื%อพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริ การให้ เป็ นเลิศเน้นการขายเชิงรุ ก และพัฒนาช่องทางบริ การอิเล็กทรอนิกส์เพิ%มความสะดวกสบายให้กบั ลูกค้า โดยมีแผนงานที%สําคัญ เช่น พัฒนารู ปแบบบัตรเพื%อเจาะกลุ่มลูกค้า Segment ใหม่ ๆ เพิ%มพันธมิตรและ สิ ทธิ ประโยชน์ให้แก่ผถู ้ ือบัตร พัฒนาช่องทางบริ การอิเล็กทรอนิกส์ให้เป็ น Interactive Channel และ Integrated Channel เพื%อช่วยให้ลูกค้าบริ หารจัดการชีวติ ได้ง่ายขึ.น จัดทําเครื% องมือสนับสนุนและส่ งเสริ ม การขาย Cash Managementเช่น Sale Kits ในรู ปแบบ Presentation จัดอบรมวิธีการขายและให้ความรู ้ เกี%ยวกับผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ รวมทั.งบริ การเชิงรุ กเพื%อรักษาความเป็ นผูน้ าํ ในธุ รกิจภาครัฐ และต่อยอดไปสู่ ธุรกรรมอื%น ๆ ต่อไป สายงานปฏิ บตั ิการ ทําหน้าที%สนับสนุ นหน่ วยงานที%สร้ างรายได้และเป็ นกลไกหลักในการ ขับเคลื%อนธุ รกิจของธนาคาร โดยรับผิดชอบดูแลและเป็ นศูนย์กลางปฏิบตั ิการด้านงานสนับสนุนสาขา งานปฏิบตั ิการธุ รกิจระหว่างประเทศ งานปฏิบตั ิการสิ นเชื%อ งานบริ หารด้านอาคารสถานที% งานรักษา ความปลอดภัย งานจัดซื. อจัดจ้าง รวมไปถึงการบริ การ จัดการและสนับสนุนการพัฒนาระบบงานหลัก ต่าง ๆ ของ ธนาคาร ในปี 2553 สายงานฯ ได้ดาํ เนิ นงานเชิงรุ กในการปรับปรุ งและพัฒนาระบบงานต่าง ๆ เพื%อ สนับสนุนให้การดําเนินธุรกิจของธนาคารมีประสิ ทธิภาพมากยิง% ขึ.น โดยแผนงานและโครงการที%สําคัญ
98 ได้แก่โครงการรวมศูนย์เพื%อการบริ หารจัดการงาน Loan Operation โครงการพัฒนาระบบฝาก-ถอนเงิน เพื%อรองรับการอ่าน Barcode บนเช็ค โครงการปรับปรุ งระเบียบการให้บริ การเปิ ดบัญชีแก่คนตาบอด โครงการมองทางไหนต้องเห็นตู ้ กรุ งไทย ATM & พร้อมบริ การ 24 ชม.โครงการปรับโฉมสาขาทัว% ประเทศให้มีภาพลักษณ์ที%สวยงาม และมีพ.นื ที%ให้บริ การลูกค้ามากขึ.น อีกทั.งได้ดาํ เนินการปรับปรุ งศูนย์ บริ หารจัดการธนบัตรในส่ วนภูมิภาค ให้มีประสิ ทธิ ภาพมากยิ%งขึ.น และที%สําคัญ สายงานฯ ได้ดาํ เนิ น โครงการ KTB on the Move เพื%อให้บริ การธุ รกรรมทางการเงินแก่ลูกค้าในพื.นที%ห่างไกลทัว% ประเทศ โดยการจัดรถยนต์เคลื%อนที%ให้บริ การกว่า 80 คัน รวมทั.งให้ความสําคัญกับภารกิจด้านธุ รกิจการค้า ต่างประเทศ (Trade Finance) และธุ รกิจปริ วรรตเงินตราต่างประเทศ ส่ งผลให้ในปี 2553ปริ มาณ ธุรกรรมการค้าต่างประเทศของธนาคารเพิม% ขึ.นมาก ในปี 2554 สายงานฯ ยังคงดําเนิ นโครงการรวมศูนย์เพื%อบริ หารจัดการงาน Loan Operation ต่อเนื%องจากปี 2553 โดยการเชื%อมระบบการจัดทํานิติกรรมสัญญาและการตั.งวงเงิน เข้ากับระบบ Loan Origination และขยายขอบเขตการตั.งวงเงินสําหรับลูกค้ารายเก่า รวมทั.งมีเป้ าหมายที%จะเพิ%มส่ วนแบ่ง การตลาดในธุ รกรรมต่างประเทศ ทั.งด้าน Trade Finance และธุ รกิจปริ วรรต โดยการเพิ%มช่องทางการ ให้บ ริ ก ารด้า นธุ รกรรมต่ า งประเทศและขยายจุ ด บริ ก ารให้ส อดคล้องกับ ความต้อ งการของลู ก ค้า นอกจากนั.น จะเร่ งปรับปรุ งศูนย์บริ หารจัดการธนบัตรในส่ วนภูมิภาคต่อเนื% องจากปี ก่อน อีกทั.ง มี โครงการที%สายงานฯ จะจัดทําขึ.นเพิ%มเติม อาทิ โครงการจัดตั.งศูนย์บนั ทึกข้อมูลการปรับโครงสร้างหนี. บนระบบ CBS โครงการ Imaged Cheque Clearing and Archive System (ICAS) โครงการบริ การสั%งซื. อ เช็คผ่าน E-channel โครงการปรับโฉมสาขาตาม Corporate Identity และโครงการจัดทําสถานที%เก็บ เอกสารในส่ วนภูมิภาค เป็ นต้น สายงานทรั พ ยากรบุ ค คลและบรรษัท ภิ บ าลเป็ นกํา ลัง สํ า คัญ ของธนาคารในการบริ ห าร ทรัพยากรบุคคล และดูแลเรื% องการปรับปรุ งโครงสร้ างองค์กรเพื%อสนับสนุ นให้การดําเนิ นงานของ ธนาคารเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เหมาะสม และสอดคล้องกับกลยุทธ์การดําเนินธุ รกิจของธนาคาร โดยมีภารกิ จที%สําคัญ คื อ การสรรหา บริ หารจัดการ วางแผนและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู ้ ความสามารถในงานที%รับผิดชอบและพร้อมรับการแข่งขัน ดูแลเรื% องความมีวินยั และมีจรรยาบรรณใน การปฏิบตั ิงานการสร้างขวัญและกําลังใจในการทํางาน ส่ งเสริ ม ความมีสุขภาพร่ างกายและจิตใจที% แข็งแรง และจัดให้มีสวัสดิการที%ดี ให้พนักงานอยูอ่ ย่างมีเกียรติและศักดิ ศรี มีความรักและภาคภูมิใจต่อ
99 องค์กรพร้อมทั.งส่ งเสริ มให้พนักงานตระหนักในเรื% องหลักบรรษัทภิบาลในการปฏิบตั ิงาน เพื%อเป็ นพลัง ขับเคลื%อนธนาคารให้เจริ ญก้าวหน้า เป็ นธนาคารอันดับ 1 ในใจลูกค้าให้ผลตอบแทนที%ดี และเป็ นที% ยอมรับของสังคม นอกจากนี. สายงานฯ ยังทําหน้าที%ดูแลโครงการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) ของธนาคารโดยเฉพาะโครงการส่ งเสริ มการสร้างทุนทาง ปัญญาซึ%งเป็ นพันธกิจหลักประการหนึ%งของธนาคาร ในปี 2553 สายงานฯ ได้ดาํ เนินการปรับโครงสร้างองค์กร และทบทวนภารกิจของหน่วยงาน ต่าง ๆ เพื%อให้สามารถดําเนินงานสนับสนุนกลยุทธ์และเป้ าหมายธนาคารได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ อีกทั.ง ได้สรรหาทีมงานคนรุ่ นใหม่ที%มีศกั ยภาพ คือ เป็ นคนดีและมีความสามารถ เข้ามาปฏิบตั ิงานกับธนาคาร พร้อมทั.งฝึ กอบรมและพัฒนาพนักงานให้มีทกั ษะและความรู ้ ทั.งด้านการตลาด การนําเสนอผลิตภัณฑ์ และบริ การทางการเงินส่ งเสริ มให้พนักงานทุกระดับมีการเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเอง (Self Learning) ผ่าน ระบบ e-learning ที%มีประสิ ทธิ ภาพสู งอย่างต่อเนื%องพัฒนาศักยภาพผูบ้ งั คับบัญชาให้มีการคิด ตัดสิ นใจ และทํา งานอย่ า งเป็ นระบบ เพื% อ เป็ นต้น แบบของผู ้บ ริ หารการเปลี% ย นแปลง รวมทั.ง จัด กระบวนการพัฒนาผูใ้ ต้บงั คับบัญชาให้มีประสิ ทธิภาพมากขึ.น เช่นการสอนงาน (Coaching) การพัฒนา ในงาน(On the job training) การเป็ นพี%เลี.ยง (Mentoring)และวิธีการอื%น ๆ ตามนโยบายการเป็ นองค์กร แห่งการเรี ยนรู ้ (Learning Organization) ของธนาคาร ซึ% งผลการดําเนินงานของสายงานฯ โดยรวม ในปี 2553นับว่าประสบผลสําเร็ จเป็ นอย่างดีในฐานะ Strategic Partner ของทุกสายงานเพื%อร่ วมขับเคลื%อน ธนาคารให้เป็ นธนาคารแสนสะดวก โดยผลการดําเนินงานที%สําคัญของสายงานฯ ได้แก่ การพัฒนา พนักงานให้มีความเป็ นมืออาชีพในการให้บริ การโดยยึดลูกค้าเป็ นศูนย์กลาง และมีมาตรฐานการบริ การ ในระดับเดียวกัน การส่ งเสริ มและติดตามการให้บริ การลูกค้าของสาขา เพื%อให้เป็ นไปตามที%ได้ประกาศ รับประกันคุณภาพบริ การไว้กบั สาธารณชน รวมถึงการกระตุน้ ให้พนักงานทุกหน่วยงานร่ วมกันสร้าง ValueCreation เพื%อมอบบริ การแสนสะดวก ชี วิตสบาย ให้แก่ลูกค้า การปรับปรุ งสมรรถนะในการ ปฏิบตั ิงาน(Competency) เพื%อให้เหมาะสมกับหน้าที%ความรับผิดชอบของแต่ละตําแหน่งงานและมีความ เชื%อมโยงกับกลยุทธ์องค์กร การจัดสรรพนักงานให้ปฏิบตั ิหน้าที%ตรงกับความรู ้ความสามารถ และสรร หาบุคคลภายนอกเข้าเสริ มในตําแหน่งต่าง ๆ ตามที%หน่วยงานต้องการ รวมถึงการจัดฝึ กอบรมและการ พัฒนาทักษะพนักงานให้ตรงกับหน้าที%ความรับผิดชอบของตําแหน่งงาน ตลอดจนการดูแลความเป็ นอยู่ ของพนักงาน ทั.งด้านสวัสดิการ และด้านสภาพแวดล้อม/ความปลอดภัยในการปฏิบตั ิงาน
100 ในปี 2554 สายงานฯ มี แผนงานที% สํา คัญ คื อการสนับสนุ นทุก สายงานในการสร้ า ง ประสบการณ์แสนสะดวกให้กบั ลูกค้า ใน 5 มิติ คือ Product, Process, People, Place และ Promotion โดยสายงานฯ จะเป็ นผูร้ ับผิดชอบหลักในด้าน People และ Process เพื%อมุ่งสร้างบริ การสะดวก ชีวิต สบายให้กบั ลูกค้าทุกกลุ่ม อีกทั.งยังมีแผนขับเคลื%อนธนาคารให้กา้ วสู่ การเป็ นองค์กรแห่ งการเรี ยนรู ้ (Learning Organization) อย่างยัง% ยืน ด้วยการกระตุน้ ให้พนักงานเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเองผ่านสื% อการเรี ยนรู ้ต่าง ๆที%ธนาคารจัดไว้ให้ และสนับสนุนให้มีการแลกเปลี%ยนความรู ้ ตลอดจนประสบการณ์ระหว่างกันอย่าง กว้างขวางทัว% ทั.งองค์กร พร้อมทั.งต่อยอดกิจกรรมส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ในรู ปแบบต่าง ๆ ทั.งโครงการ จัดการความรู ้(Knowledge Management: KM) โครงการพัฒนาบุคลากรในการปฏิบตั ิงานโดยวิธีการ เรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง (Self Learning) โครงการดาวเด่น ดาวปั ญญา รวมทั.งกิจกรรม Group Dynamic และ Creative Idea Center เป็ นต้น สายงานยุทธศาสตร์ ธนาคาร เป็ นสายงานที%จดั ตั.งใหม่หลังการปรับปรุ งโครงสร้างองค์กรของ ธนาคารเมื%อเดือนกรกฎาคม 2553 มีหน้าที%รับผิดชอบงานหลัก คือ การวางแผนกลยุทธ์การตลาดของ ธนาคารอย่างครบวงจร ทั.งการบูรณาการกลยุทธ์การตลาดด้วยการเปรี ยบเทียบ (Benchmarking)บริ การ หลักของธนาคารกับธนาคารคู่เทียบ การแสวงหาโอกาสทางธุ รกิจ การสร้างนวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์ และบริ การ การจัดทําสื% อการตลาด เครื% องมือการขาย การจัดกิจกรรมการตลาด และการบริ หารงาน ลูกค้าสัมพันธ์ (Customer RelationshipManagement: CRM) เพื%อสนับสนุ นและส่ งเสริ ม การขาย ผลิตภัณฑ์และบริ การของธนาคาร นอกจากนี.สายงานฯ ยังมีหน้าที%ดูแลการบริ หารภาพลักษณ์โดยรวม ของธนาคารและกลุ่มธุรกิจทางการเงิน การประชาสัมพันธ์ข่าวสารของธนาคารทั.งภายในและภายนอก เพื%อให้เกิดความเข้าใจที%ถูกต้อง และมีทศั นคติที%ดีต่อธนาคาร รวมทั.งดูแลการติดตามความเห็นและข้อ ร้องเรี ยนจากลูกค้าผ่านช่องทางต่างๆ เพื%อสร้างความพึงพอใจและประทับใจให้เกิดขึ.นในใจลูกค้า ในปี 2553 สายงานยุทธศาสตร์ธนาคาร ร่ วมกับสายงานที%เกี%ยวข้อง ได้ดาํ เนินโครงการ KTB Convenience Transformation เพื%อสร้างประสบการณ์ให้ผถู ้ ือหุ ้น ลูกค้า พนักงาน และสาธารณชน ได้ รับรู ้และจดจําการเป็ นธนาคารแสนสะดวกของธนาคาร ภายใต้แนวคิด “บริ การสะดวก ชีวิตสบาย” ทั.ง 5 ด้าน คือ Convenience Product, Convenience Place & Service, Convenience Process, Convenience People และ Convenience Communication พร้อมทั.งดําเนินงานตามแผนงานด้าน Strong Brand โดย การเตรี ยมจัดทําโครงการสํารวจความผูกพันที%ลูกค้ามีต่อธนาคาร (Customer Engagement) แผนงาน
101 สร้างความแข็งแกร่ งด้าน Brand ด้วยการจัดทําCorporate Identity และปรับปรุ งเอกลักษณ์เพื%อให้ ธนาคารและบริ ษทั ในกลุ่มธุรกิจทางการเงินมีความโดดเด่นและเป็ นมาตรฐานเดียวกัน นอกจากนั.นสาย งานฯ ได้ให้การสนับสนุนการขายด้วยแผนการตลาด ได้แก่ การสื% อสารผลิตภัณฑ์และบริ การให้เกิดการ รับรู ้และจดจําทั.งภายในและภายนอก การร่ วมมือกับพันธมิตรที%แข็งแกร่ ง เพื%อขยายฐานไปยังกลุ่มลูกค้า เป้ าหมาย และการพัฒนาระบบ Customer Relationship Management: CRM เพื%อเป็ นเครื% องมือในการ ขายให้ตรงกับความต้องการของลูกค้า และส่ งเสริ มการหารายได้ให้กบั ธนาคาร สําหรับปี 2554 สายงาน ฯ จะดําเนินการสนับสนุนหน่วยงานที%ทาํ การขายและสร้างรายได้ ให้กบั ธนาคารด้วยการสานต่อโครงการต่าง ๆ อย่างต่อเนื%อง เพื%อสร้างการรับรู ้และจดจําผ่านแผนกล ยุทธ์การตลาดอย่างครบวงจร โดยจะจัดทําแคมเปญการตลาด สื% อสารการตลาดและกิจกรรมการตลาด พร้อมสร้าง Loyalty Program เพื%อบริ หารความสัมพันธ์กบั ลูกค้า อีกทั.งยังมีแผนดําเนินการเพื%อยกระดับ คุณภาพการให้บริ การของธนาคารให้ดีย%ิงขึ.นเพื%อสร้างประสบการณ์ให้ลูกค้ารับรู ้ถึงการเป็ นธนาคาร แสนสะดวกได้อย่างต่อเนื%อง สายงานกํากับและบริ หารงานกฎหมาย ทําหน้าที%ด้านกํากับการปฏิบตั ิงานของธนาคารให้ ถูกต้องตามกฎระเบียบ กฎหมายที%บงั คับใช้ในการประกอบธุ รกิ จของธนาคาร และให้เป็ นไปตาม หลักเกณฑ์ของสถาบันที%กาํ กับดูแล ได้แก่ ธนาคารแห่งประเทศไทยสํานักงานกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจนอกจากนั.น ยังทําหน้าที%บริ หารงาน ด้านกฎหมาย การดําเนินคดี การบังคับคดี การเร่ งรัดการชําระหนี. และการแก้ต่างคดีต่าง ๆ ให้กบั ธนาคาร พนักงานรวมทั.งดําเนินคดีกบั ผูก้ ระทําการทุจริ ต เพื%อให้ธนาคารได้รับชําระหนี.และค่าเสี ยหาย คืน ปี 2553 สายงานฯได้ดาํ เนินงานตามแผนงานเชิงรุ กในงานที%รับผิดชอบด้านต่าง ๆ ตลอดจนการ แก้ไขปั ญหาในเชิ งบูรณาการ สําหรับงานด้านกํากับการปฏิบตั ิงาน ได้กาํ กับดูแลให้การดําเนิ นธุ รกิจ ธนาคารเป็ นไปตามระเบียบ กฎหมาย หลักเกณฑ์ที%มีการเปลี%ยนแปลง โดยการสื% อสารให้ความรู ้แก่ หน่วยงานที%เกี%ยวข้อง มีการติดตามและสอบทาน (Compliance Monitoring and Testing) ในการดําเนิน ธุ รกรรมที%สําคัญของธนาคาร ตลอดจนดูแลบทบาทของคณะกรรมการธนาคารให้เป็ นไปตามนโยบาย และแนวทางการกํากับดูแลกิจการที%ดี สําหรับงานเร่ งรัดหนี.ได้ดาํ เนินการติดตามทวงถามเร่ งรัดหนี.โดย
102 ผ่านระบบ Loan Collection ส่ วนงานด้านกฎหมาย ได้เร่ งดําเนินคดี บังคับคดี และเร่ งรัดการชําระหนี. ของลูกหนี.ควบคู่กบั การเจรจาปรับโครงสร้างหนี.ซ% ึ งมีผลให้คุณภาพหนี.ของธนาคารดีข. ึน และธนาคาร ได้รับชําระหนี.มากขึ.น อีกทั.งได้เร่ งดําเนินการยึดทรัพย์ เพื%อให้การขายทอดตลาดทรัพย์ลูกหนี.ที%มีปัญหา เป็ นไปโดยรวดเร็ ว ตลอดจนการเร่ งดําเนินคดีกบั ผูก้ ระทําการทุจริ ต เพื%อให้ธนาคารได้รับคืนค่าเสี ยหาย โดยเร็ ว ทั.งนี. สายงานฯ ได้มีการจัดทํารายงานผลการปฏิบตั ิงานประจําสัปดาห์(Performance Weekly Report) ตามโครงการสร้างคุณค่าต่อองค์กร (Value Creation) ในการบริ หารจัดการ ควบคุมติดตามงาน เพื%อเพิม% ประสิ ทธิภาพและคุณภาพการให้บริ การในภารกิจที%สายงานฯรับผิดชอบ ในปี 2554 สายงานฯ มีแผนงานที%สําคัญในงานด้านกํากับการปฏิบตั ิงาน โดยการพัฒนาระบบ การแจ้งเตือน (Compliance Warning System) และการจัดทําแนวทางการกํากับธุ รกรรม (Compliance Chart) เพื%อเพิ%มประสิ ทธิ ภาพงานด้านกํากับทั.งได้กาํ หนดบทบาทของหน่วยงานที%มีหน้าที%กาํ กับการ ปฏิ บตั ิ งานให้ดาํ เนิ นงานในเชิ ง รุ ก ควบคู่ไ ปกับการดํา เนิ นธุ รกิ จของธนาคาร และบทบาทของ คณะกรรมการธนาคาร เพื%อให้เกิดการกํากับดูแลกิจการที%ดีอย่างต่อเนื%อง สําหรับงานด้านกฎหมาย จะ เน้นการดูแลเพื%อสกัดกั.นสิ นเชื% อปกติ (Performing Loan: PL) ไม่ให้เป็ นสิ นเชื%อด้อยคุณภาพ (NonPerforming Loan: NPL) ด้วยการเร่ งรัดหนี.เชิงรุ ก และการพัฒนาระบบข้อมูลงานกฎหมาย (Enterprise Legal System) เพิม% เติม เพื%อให้เป็ นไปตามข้อกําหนดของหน่วยงานกํากับ และสนับสนุนการปฏิบตั ิงาน ให้มีประสิ ทธิ ภาพมากยิ%งขึ.น นอกจากนั.น ยังมีแผนงานสร้างวัฒนธรรม การทํางานด้วยการกํากับการ ปฏิบตั ิงานของตนเองที%ดี (Good Self Compliance Culture) อีกด้วย ทางด้านการปรับปรุ งคุณภาพบริ การ สายงานฯมีแผนงานเปรี ยบเทียบบริ การของธนาคารกับ ธนาคารคู่เทียบในทุกมิติ ทั.งในด้าน Product, Process, People, Place and Promotion เพื%อสนับสนุนและ เสริ มสร้าง “บริ การสะดวก ชีวติ สบาย” ซึ%งจะผลักดันให้ธนาคารก้าวสู่ การเป็ นที%หนึ%งในใจลูกค้า สายงานบริ หารความเสี% ยง ทําหน้าที%กาํ หนดนโยบาย กลยุทธ์ แผนงาน และแผนปฏิบตั ิการใน การบริ หารความเสี% ยงของธนาคาร ทั.งความเสี% ยงองค์กรโดยรวม ความเสี% ยงด้านเครดิต ความเสี% ยงด้าน ตลาดและความเสี% ยงด้านปฏิบตั ิการ ให้สอดคล้องกับกรอบข้อกําหนดของหน่วยงานกํากับดูแล อาทิ ธนาคารแห่งประเทศไทย และสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) รวมทั.งยังทําหน้าที% ส่ งสัญญาณความเสี% ยงด้านเศรษฐกิจ การเงิน และอุตสาหกรรม ตลอดจนติดตาม ค้นหาเฝ้ าระวัง ป้ องกัน
103 และแก้ไขปั ญหาการทุจริ ต และการทําธุ รกรรมที%ผิดปกติ เพื%อลดโอกาสที%จะเกิดความสู ญเสี ย หรื อที%จะ เป็ นอุปสรรคต่อการดําเนินงานของธนาคาร ในปี 2553 สายงานบริ หารความเสี% ยงให้ความสําคัญกับการบริ หารความเสี% ยงแบบบูรณาการที% เชื% อมโยงความเสี% ยงในด้านต่าง ๆ อย่างสมดุลรอบด้าน และเข้าถึงผูป้ ฏิบตั ิงานมากยิง% ขึ.น เพื%อเพิ%ม ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลของการบริ หารความเสี% ยง โดยสายงานฯ จะบริ หารความเสี% ยงองค์กรตาม กรอบข้อกําหนดของหน่วยงานกํากับ และตามแนวทางของ COSO พัฒนากระบวนการและเครื% องมือใน การบริ หารความเสี% ยงตาม Risk Management Roadmap บริ หารจัดการเงินกองทุน และเปิ ดเผยข้อมูล เกี%ยวกับการดํารงเงินกองทุนตามหลักเกณฑ์ Basel II รวมทั.งยังดูแลการเตรี ยมความพร้อมเพื%อรองรับ หลักเกณฑ์ Basel III ด้วย ด้านการบริ หารความเสี% ยงด้านสิ นเชื%อ สายงานฯ ได้พฒั นาระบบการอนุมตั ิ สิ นเชื%อ (Loan Origination) ระบบการจัดอันดับความเสี% ยงของลูกค้า (Internal Rating) ระบบการคํานวณ ราคาที%เหมาะสม(Risk Adjusted Return On Capital:RAROC) ระบบเตือนภัยสิ นเชื%อก่อนที%จะเป็ นหนี.มี ปั ญหา (Early Warning / Alert) ระบบติดตามและควบคุมไม่ให้มีการกระจุกตัวของลูกค้ารายใหญ่ (Credit Exposure Monitoring)และระบบการบริ หารพอร์ ตสิ นเชื% อด้วยแบบจําลองที%เชื% อมโยงกับการ วิเคราะห์อุตสาหกรรม เพื%อสนับสนุ นให้ธุรกรรมสิ นเชื% อของธนาคารเติบโตอย่างยัง% ยืน สําหรับการ บริ หารความเสี% ยงด้านตลาด ได้มีการจัดทํากระบวนการควบคุม Counterparty Credit Risk สําหรับการ ทําธุ รกรรม OTC Derivatives โดยจัดทําเครื% องมือ กระบวนการในการควบคุม และรายงานผ่าน ระบบงานของ Front Office เพื%อควบคุม ดูแลบริ หาร และจัดการความเสี% ยงด้านเครดิตของคู่คา้ ของ ธนาคาร ด้านการบริ หารความเสี% ย งด้านปฏิ บตั ิ การสายงานฯ ได้พฒั นาแบบจําลองการคํานวณ เงินกองทุนที%รองรับความเสี% ยงด้านปฏิบตั ิการ และพัฒนาระบบการออกผลิตภัณฑ์ เพื%อให้เป็ นไปตาม กฎเกณฑ์และแนวทางการกํากับของทางการ และเพื%อควบคุม ติดตาม ดูแลความเสี% ยงในด้านต่าง ๆที%อาจ เกิดขึ.นแก่ลูกค้าของธนาคาร ทั.งในด้านของลักษณะผลิตภัณฑ์/บริ การ ระบบงานที%เกี%ยวข้อง และ กระบวนการ Back Office ที%สนับสนุนผลิตภัณฑ์/บริ การดังกล่าว นอกจากนี. สายงานฯ ยังบูรณาการ งานวิจยั ภาวะเศรษฐกิ จ การเงิ น การธนาคาร กับกลุ่มงานวิเคราะห์ภาวะธุ รกิจ ด้วยการพัฒนา แบบจําลองIndustry Analysis Model (IAM) เพื%อเป็ นเครื% องมือที%ใช้ส่งสัญญาณความเสี% ยงจากการ เปลี% ย นแปลงของตัวแปรเศรษฐกิ จมหภาคต่อภาคธุ รกิ จที% ธ นาคารปล่ อยสิ นเชื% อ ให้ผูบ้ ริ หารและ หน่วยงานที%เกี%ยวข้องนําไปเป็ นข้อมูลประกอบการวางแผนการบริ หารความเสี% ยงต่อไป รวมทั.งยังได้ ดําเนินโครงการสํารวจความพึงพอใจของผูร้ ับบริ การของทุกหน่วยงานของธนาคาร เพื%อนําไปปรับปรุ ง
104 และยกระดับการบริ การ สร้ างความพึงพอใจให้ลูกค้าและเสริ มภาพลักษณ์ ของธนาคารให้ดีย%ิงขึ.น นอกจากนี. สายงานฯยังได้จดั ตั.งสํานักงานข้อมูลและป้ องกันข้อผิดพลาด เพื%อทําหน้าที%กาํ หนดนโยบาย และแนวทางสําหรับป้ องกันการทุจริ ต รวมถึงการพัฒนาเครื% องมือ ระบบสารสนเทศ ที%จะช่วยลดความ เสี% ยงจากการทุจริ ตและการปฏิบตั ิงานผิดพลาด อาทิ การบริ หารจัดการบัญชี คา้ ง/บัญชี พกั และการ ปรับปรุ ง Criteria/Parameter ต่าง ๆ ของระบบแจ้งเตือน เป็ นต้น ซึ% งจะส่ งผลให้ธนาคารมีการบริ หาร ความเสี% ยงที%รอบด้านและมีประสิ ทธิ ภาพยิง% ขึ.น อีกทั.ง สายงานฯยังได้นาํ ทีมออกเดินสายให้ความรู ้และ แนะนําวิธีปฏิบตั ิงานตามแนวทางและกฎเกณฑ์การบริ หารความเสี% ยงแก่เจ้าหน้าที%ในหน่วยงานต่าง ๆ รวมทั.ง รั บ ทราบปั ญหาและตอบข้อซัก ถามโดยตรง เพื% อให้ก ารบริ หารความเสี% ย งของธนาคารมี ประสิ ทธิภาพและได้ผลดีในเวลาอันรวดเร็ ว ในปี 2554 สายงานฯ ยังคงมีแผนงานต่อเนื%องในการพัฒนาการบริ หารความเสี% ยงเชิงบูรณาการ ตามกรอบข้อกําหนดของ ธปท. และ สคร. โดยมีโครงการพัฒนาเครื% องมือในการพิจารณาสิ นเชื%อ SMEs และMicrofinance พัฒนาระบบ Credit Exposure Monitoring (CEM) & Early Warning System (EWS) เพื%อเพิม% ประสิ ทธิภาพการติดตามและควบคุมความเสี% ยงด้านสิ นเชื%อ เตรี ยมความพร้อมรองรับการบังคับ ใช้ Basel III รวมทั.งมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (International Accounting Standards: IAS และ International Financial Reporting Standards: IFRS) ที%เกี%ยวกับตราสารทางการเงิน ซึ% งจะบังคับใช้ต. งั แต่ วันที% 1 มกราคม 2556 ปรับปรุ งระบบ Risk Control Self Assessment (RCSA) และ Key Risk Indicator (KRI) รวมทั.งเร่ งพัฒนา Operational Risk Reporting Tools สําหรับบริ ษทั ในกลุ่มธุ รกิจทางการเงินของ ธนาคาร อีกทั.งจะพัฒนาระบบแจ้งเตือนการกระทําทุจริ ต และพัฒนาเครื% องมือแจ้งเตือนการปฏิบตั ิงาน ผิดพลาดและบกพร่ อง นอกจากนี. สายงานฯ ยังบูรณาการบริ หารความเสี% ยงให้มีประสิ ทธิ ภาพยิง% ขึ.น ด้วยการจัดตั.งโครงการประเมินการบริ หารความเสี% ยงทุกด้านของหน่ วยงานต่าง ๆ ทัว% ทั.งธนาคาร ภายใต้ชื%อ “Risk Self-Control” เพื%อสร้างความตระหนักแก่พนักงานในการบริ หารจัดการความเสี% ยงที% เกี%ยวข้องกับหน่วยงานของตนเอง และปลูกฝังจิตสํานึกของการตระหนักในเรื% องการบริ หารความเสี% ยง ให้กบั พนัก งานทุกหน่ วยงาน โดยสายงานฯ จะมอบเกี ยรติบตั รและโล่ประกาศเกี ยรติคุณให้แก่ หน่วยงานที%มีการบริ หารความเสี% ยงดีตามเกณฑ์ที%กาํ หนด พร้อมทั.งกระตุน้ ให้ทุกหน่วยงานยกระดับการ บริ หารความเสี% ยงขึ.นสู่ ระดับมาตรฐานทัว% ทั.งองค์กร ซึ% งจะส่ งผลดีต่อการบริ หารความเสี% ยงโดยรวมของ ธนาคาร
105 สายงานตรวจสอบภายใน ดําเนินการภายใต้โครงสร้างองค์กรที%เป็ นอิสระ โดยอยูภ่ ายใต้การ กํากับดูแลและรายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ สายงานฯ มีภารกิจหลักในการให้คาํ แนะนํา ปรึ กษา และตรวจสอบ ด้วยความเป็ นอิสระเที%ยงธรรม เพื%อเพิ%มมูลค่าและปรับปรุ งการดําเนินงานของ ธนาคารให้บรรลุวตั ถุประสงค์ที%กาํ หนดไว้ โดยมีขอบเขตการปฏิบตั ิงานในการสอบทานกระบวนการ ปฏิบตั ิงาน และประเมินความเพียงพอของนโยบายระเบียบวิธีปฏิบตั ิงานในการบริ หารความเสี% ยง การ ควบคุมภายใน และการกํากับดูแล เพื%อให้เกิดความมัน% ใจว่าการปฏิบตั ิจะบรรลุวตั ถุประสงค์ได้อย่างมี ประสิ ทธิภาพ ประสิ ทธิผล และประหยัด รวมทั.งมีการปฏิบตั ิตามหลักการกํากับดูแลกิจการที%ดี และลด ความสู ญเสี ยจากการปฏิบตั ิงานที%ผิดพลาดและการทุจริ ตโดยสายงานฯ มีหลักการที%สําคัญ คือผูต้ รวจ สอบภายในจะปฏิบตั ิหน้าที%ดว้ ยทัศนคติที%ดีหลีกเลี%ยงความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ปฏิบตั ิงานภายใต้ กฎบัตรที%กาํ หนดไว้ ตลอดจนประพฤติปฏิบตั ิตนด้วยความซื% อสัตย์ เที%ยงธรรม รักษาความลับ และใช้ ความสามารถในการทําหน้าที%อย่างเต็มที% ในปี 2553 สายงานตรวจสอบภายใน มุ่งปรับกระบวนการตรวจสอบให้ครอบคลุมความเสี% ยง จากทุกธุ รกรรมหลักของธนาคาร โดยเน้นการทํางานในเชิงบูรณาการ เพื%อให้เกิดการประสานงานและ ความร่ วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั.งภายในและภายนอกธนาคาร พร้อมทั.งกําหนดแผนการพัฒนา บุคลากรให้มีความรู ้ ความชํานาญทางทักษะ เทคนิคและความสามารถทางวิชาชีพอย่างต่อเนื%อง เพื%อ สนับ สนุ นให้ก ารปฏิ บ ตั ิ ง านบรรลุ ว ตั ถุ ป ระสงค์ และเป็ นไปตามมาตรฐานการประกอบวิช าชี พ ตรวจสอบภายใน นอกจากนั.น สายงานฯ ยังให้ความสําคัญกับการติดตามกระบวนการควบคุมภายใน และการกํากับดูแลกิจการของธนาคาร เพื%อให้มน%ั ใจอย่างสมเหตุสมผลว่า ฝ่ ายบริ หารได้สร้างและรักษา สภาวะแวดล้อมของการควบคุมภายในตามแนวทางมาตรฐาน มีการส่ งเสริ มให้มีกระบวนการบริ หาร ความเสี% ยง มีการปฏิบตั ิงานที%สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ กฎหมาย ขั.นตอน และแผนงานที%กาํ หนดไว้ อีกทั.ง สามารถใช้ศกั ยภาพของทรัพยากรที%มีอยูไ่ ด้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และมีการกํากับดูแลกิจการที%ดี ซึ% งจะ เป็ นรากฐานสําคัญที% จะทํา ให้ธ นาคารสามารถบรรลุ วตั ถุ ป ระสงค์ท างธุ รกิ จ และเติ บ โตได้อย่า ง แข็งแกร่ งยัง% ยืน ตลอดจนสามารถสร้างความเชื%อมัน% ให้แก่ ผูล้ งทุน และผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกฝ่ าย ในปี 2554 สายงานตรวจสอบภายใน ยังคงมีแผนสนับสนุนกลยุทธ์หลักของธนาคารอย่าง ต่อเนื% องเพื%อให้ธนาคารมี Sustainable Growth โดยกําหนดแผนการปรับปรุ งประสิ ท ธิ ภาพการ ปฏิบตั ิงานใน 3 มุมมอง ซึ% งเป็ นการดําเนิ นการต่อเนื% องจากปี ก่อนได้แก่ การพัฒนามาตรฐานงาน
106 ตรวจสอบภายใน (Process) การพัฒนากระบวนการบริ หารบุคลากร (People) โดยเฉพาะอย่างยิง% ในเรื% อง การพัฒนาบุคลากรให้เป็ นไปตามมาตรฐานการประกอบวิชาชี พตรวจสอบภายใน และการพัฒนา รู ปแบบการทํางานให้มีลกั ษณะเชิ งบูรณาการ โดยเน้นการทํางานเป็ นทีม (Cooperation) และการ ประสานงานร่ วมกับ หน่ วยงานอื% น ๆ ทั.งภายในและภายนอกองค์ก ร เพื%อเพิ%มประสิ ทธิ ภาพการ ปฏิบตั ิงาน ภาพรวมการประกอบธุรกิจตามแนวทางการกํากับแบบรวมกลุ่มของธนาคารแห่ งประเทศไทย ธนาคารได้จดั โครงสร้างและกํากับดูแลบริ ษทั ในเครื อ ตามแนวทางการกํากับแบบรวมกลุ่ม ของธนาคารแห่งประเทศไทย โดยมี บมจ. ธนาคารกรุ งไทยเป็ นบริ ษทั แม่ ซึ% งมีนโยบายการลงทุน นโยบายการบริ หารงาน และทิศทางการดําเนินงาน สรุ ปได้ดงั นี. นโยบายการลงทุน ธนาคารมีนโยบายลงทุนในธุ รกิจต่าง ๆ ตามที%ได้รับอนุญาตจากหน่วยงาน กํากับ เพื%อสนับสนุ นธุ รกิจหลักของธนาคารและส่ งเสริ มนโยบายการเป็ นธนาคารแสนสะดวก โดย ธุรกิจที%ธนาคารลงทุนประกอบด้วย 1)
ธุรกิจการเงิน ธนาคารพิจารณาลงทุนเพื%อส่ งเสริ มธุ รกิจของธนาคารให้มีบริ การที%ครบ
วงจรยิง% ขึ.น ใน 7 ธุรกิจหลัก รวม 8 บริ ษทั คือ 1.1 ธุรกิจหลักทรัพย์จดั การกองทุน ได้แก่ บมจ. หลักทรัพย์จดั การกองทุน กรุ งไทย (KTAM) 1.2 ธุ รกิจเช่าซื. อและลีสซิ% ง ได้แก่ บจ. เคทีบี ลีสซิ% ง (KTBL) และ บจ. กรุ งไทย ไอบีเจลิสซิ% ง (KTIBJ) 1.3 ธุรกิจบัตรเครดิต ได้แก่ บมจ. บัตรกรุ งไทย (KTC)
107 1.4 ธุรกิจประกันชีวติ ได้แก่ บจ. กรุ งไทย-แอกซ่า ประกันชีวติ (KTAL) 1.5 ธุรกิจ ป ร ะ กัน วินา ศ ภัย ได้แก่ บจ. กรุ งไทยพานิชประกันภัย (KPI) 1.6 ธุรกิจหลักทรัพย์ ได้แก่ บล. เคทีซีมิโก้ (KTZMICO) 1.7 ธุรกิจที%ปรึ กษาทางการเงิน ได้แก่ บจ. เคทีบี แอดไวซ์เซอรี% (KTBA) 2)
ธุรกิจสนับสนุน ธนาคารลงทุนโดยมุง่ เน้นธุ รกิจบริ การ เพื%อรองรับการดําเนินงานของ
ธนาคารให้มีความคล่องตัว ช่วยอํานวยความสะดวกและเพิ%มประสิ ทธิ ภาพในการให้บริ การด้านต่าง ๆ ของธนาคาร เช่น ด้านกฎหมาย ระบบสารสนเทศและธุ รกิจบริ การอื%น ๆ โดยธนาคารลงทุนในธุ รกิจ สนับสนุน รวม 3 บริ ษทั ได้แก่ 2.1 บจ. กฎหมายกรุ งไทย (KLS) 2.2 บจ. กรุ งไทย คอมพิวเตอร์ เซอร์วสิ เซส(KCS) 2.3 บจ. กรุ งไทยธุรกิจบริ การ (KGS) นโยบายการบริ หารงาน ธนาคารกํากับดูแลกลุ่มธุรกิจทางการเงินตามหลักเกณฑ์การกํากับแบบ รวมกลุ่ม (Consolidated Supervision) ภายใต้การกํากับของธนาคารแห่งประเทศไทย เพื%อกํากับดูแล กลุ่มธุ รกิจทางการเงินให้มีความมัน% คง และดําเนินธุ รกิจได้อย่างเหมาะสม และเพื%อป้ องกันความเสี% ยง ต่าง ๆ จากการประกอบธุ รกิจของบริ ษทั ในกลุ่ม โดยธนาคารมีนโยบายในการมอบหมายให้ผบู ้ ริ หาร ของธนาคารเข้าไปเป็ นกรรมการบริ ษทั เพื%อประโยชน์ในการควบคุมดูแลการดําเนินงาน และกําหนดให้
108 บริ ษทั ย่อยจัดทําแผนธุรกิจ งบประมาณประจําปี และแผนการบริ หารความเสี% ยง เสนอขอความเห็นชอบ จากธนาคาร เพื%อให้นโยบายการดําเนินกิจการมีความสอดคล้องกับนโยบายของธนาคาร นอกจากนั.น ธนาคารจะควบคุมดูแลการใช้ไปของเงินทุนและการดําเนินงานของบริ ษทั ในกลุ่มธุ รกิจทางการเงินโดย ให้จดั ทําข้อมูลและรายงานผลการดําเนินงานเสนอคณะกรรมการธนาคาร และจัดส่ งรายงานดังกล่าว ให้แก่หน่วยงานกํากับ ทิศทางการดําเนิ นธุ รกิจ ธนาคารมุ่งให้บริ ษทั ในกลุ่มธุ รกิจทางการเงิน สนับสนุนธุ รกิจหลัก ของธนาคารและส่ งเสริ มนโยบายการเป็ นธนาคารแสนสะดวกโดยจะต้องมีผลิ ตภัณฑ์ทางการเงิ นที% หลากหลายและตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างครบถ้วน ขณะเดียวกัน ธนาคารก็สนับสนุน ให้บริ ษทั ในกลุ่มธุ รกิจทางการเงิน มุ่งสู่ ความเป็ นเลิศโดยการเพิ%มส่ วนแบ่งทางการตลาดจนขึ.นสู่ ลาํ ดับ ต้น ๆของแต่ละธุรกิจ โดยมีธนาคารเป็ นช่องทางในการจําหน่ายผลิตภัณฑ์ทางการเงิน
ธนาคารกสิ กรไทย จํากัด (มหาชน) ข้ อมูลทัว ไป บริ ษทั ที%ออกหลักทรัพย์
ธนาคารกสิ กรไทย จํากัด (มหาชน) ชื%อภาษาอังกฤษ "KASIKORNBANK PUBLIC COMPANY LIMITED" ชื%อย่อ “KBank”
ประกอบธุรกิจ
ธนาคารกสิ กรไทย จํากัด (มหาชน) ประกอบธุ รกิ จธนาคารพาณิ ชย์ ธุ รกิ จ หลักทรัพย์และธุ รกิจที%เกี%ยวเนื% องตามที%ได้รับอนุ ญาตไว้ในพระราชบัญญัติ ธุ รกิจสถาบันการเงินฯ และพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ฯ และประกาศที%เกี%ยวข้อง
จํานวนและชนิดของหุน้
3,048,614,697 หุ ้ น มู ล ค่ า หุ ้ น ละ 10 บาท โดยเป็ นหุ ้ น สามั ญ 3,048,614,697 หุน้ และหุน้ บุริมสิ ทธิ -0- หุน้
109 ทุนจดทะเบียน
30,486,146,970 บาท
ทุนชําระแล้ว
23,932,601,930 บาท
ที%ต.งั สํานักงานใหญ่
เลขที% 1 ซอยราษฎร์ บูรณะ 27/1 ถนนราษฎร์ บูรณะ แขวงราษฎร์ บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุ งเทพมหานคร รหัสไปรษณี ย ์ 10140
เลขทะเบียนบริ ษทั เลขที%
0107536000315 (เดิมเลขที% บมจ. 105)
โทรศัพท์
0 2222 0000
โทรสาร
0 2470 1144-5
เว็บไซต์
www.kasikornbankgroup.com
ประวัติความเป็ นมาของบริษัท ธนาคารก่อตั งขึ นเมื อวันที 8 มิถุนายน 2488 ด้วยทุนจดทะเบียนแรกเริ ม 5 ล้านบาท บริ การ ของธนาคาร เมื อเริ มก่อตั งคือ การรับฝากเงิ นและให้ดอกเบี ยแก่ประชาชนรวมทั งการให้กูย้ ืมเพื อ ประกอบธุ รกิจ โดยคิดดอกเบี ย ตามความเหมาะสม ธนาคารได้นาํ หุ ้นสามัญเข้าจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยและเริ มเข้าทําการ ซื อขายเมื อวันที 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519 และได้จด ทะเบียนแปรสภาพเป็ นบริ ษทั มหาชนจํากัด เมื อ พ.ศ. 2536 การเปลี ยนแปลงและพัฒนาการที สําคัญ และการทําธุรกิจของธนาคารกสิ กรไทยปี 2553 และทิศทางปี 2554 แม้วา่ ภาพรวมของอัตราการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจไทยในปี 2553 จะสู งขึ นจากการหดตัว ในปี 2552 แต่กม็ ีหลายเหตุการณ์ที มีผลกระทบต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจในช่วงระหว่างปี ไม่วา่ จะเป็ น
110 การชะลอตัวและปัญหาเศรษฐกิจคู่คา้ หลักของไทย เหตุไม่สงบทางการเมืองในประเทศ ปั ญหาอุทกภัย ในหลายพื นที อัตราแลกเปลี ยนค่าเงินบาทที มีแนวโน้มสู งขึ น เครื อธนาคารกสิ กรไทยซึ งดําเนินธุ รกิจ ด้วยความระมัดระวัง ภายใต้กลยุทธ์ทางธุ รกิจที ชดั เจนที มี ยุทธศาสตร์ ในการยึดลูกค้าเป็ นศูนย์กลาง (Customer Centricity) และการตอบสนองความต้องการของลูกค้า ด้วย ผลิ ตภัณฑ์และบริ การที ครบ วงจร จึงสามารถดําเนินธุรกิจอย่างประสบความสําเร็ จได้ กลยุทธ์ทางธุ รกิจที สําคัญ ซึ งได้มีการดําเนิ นการในปี 2553 ได้แก่ การปรับปรุ งการแบ่งกลุ่ม ลูก ค้าจากเดิ ม 7 กลุ่ม เป็ น 8 กลุ่ม ลู ก ค้า เพื อให้ส อดคล้องและเหมาะสม สามารถตอบสนองความ ต้องการของลูกค้ามากยิง ขึ น โดย เพิ มเติมกลุ่มลูกค้าบุคคลสิ นทรัพย์สูง (High Net Worth Individual) ซึ งมี ค วามต้อ งการบริ การทั ง ด้า นการเงิ น และ นอกเหนื อ จากบริ การทางการเงิ น ในลัก ษณะที เฉพาะเจาะจง อันจะช่วยให้ธนาคารสามารถบริ หารจัดการและกําหนดรู ปแบบของการดูแลลูกค้ากลุ่มนี
ให้มีความชัดเจนและเหมาะสมมากยิง ขึ น นอกเหนื อจากนั น ธนาคารยังดําเนิ นการเพิ มความร่ วมมือกับบริ ษทั เมืองไทยประกันชี วิต จํากัด ผ่านกระบวนการสร้างความร่ วมมือทางยุทธศาสตร์ (Strategic Integration) เพื อประสานความเชี ยวชาญ ของธนาคารและบริ ษ ทั เมืองไทยประกันชี วิต จํากัด มาใช้ในการพัฒนาผลิ ตภัณฑ์และบริ การ การ ยกระดับความร่ วมมือด้านกระบวนการ หลังการขาย รวมถึงความสามารถพื นฐานขององค์กร เพื อ ผลักดันให้เครื อธนาคารกสิ กรไทย เป็ นผูน้ าํ ในธุ รกิจประกันชีวิตผ่านช่องทางธนาคาร (Bancassurance) ดังจะเห็นได้จากการเติบโตของธุรกิจประกันชีวติ ผ่านช่องทางธนาคารซึ งเติบโตถึงร้อยละ 60 เมื อเทียบ กับปี 2552 ส่ งผลให้ธนาคารกสิ กรไทยมีส่วนแบ่งการตลาดสําหรับธุ รกิจประกันชีวิตใหม่ผา่ นช่องทาง ธนาคารเป็ นอันดับที 1 ของอุตสาหกรรม นอกจากนี ด้วยเล็ง เห็ นถึ ง โอกาสทางธุ รกิ จในต่า งประเทศ โดยเฉพาะประเทศจี นที น่า จะ รักษาการเติบโตทางเศรษฐกิจในระดับสู งได้อย่างต่อเนื อง ตามแรงสนับสนุ นจากทั งนโยบายส่ งเสริ ม การขยายตัวของเศรษฐกิจทั งของ ภาครัฐและเอกชนจีน รวมถึงการเปิ ดเสรี ทางการค้าระหว่างประเทศ เครื อธนาคารกสิ ก รไทยจึ ง ได้ส ร้ า งความสัม พันธ์ก บั หน่ วยงานราชการและพันธมิ ตรทางธุ รกิ จใน ประเทศจีน รวมถึงโครงการปล่อยกูร้ ่ วมกับธนาคารไชน่าหมินเซิ ง ทําให้ธนาคารมีความรู ้ความเข้าใจ และมัน ใจในการทําธุ รกิจ รวมถึงมองเห็นโอกาสในการทําธุ รกิจรู ปแบบต่าง ๆ ในประเทศจีนชัดเจน
111 ขึ น พร้อมกันนี ธนาคารยังได้ศึกษาและดําเนินการในหลากหลายด้าน เพื อเพิ มโอกาสทางธุ รกิจในกลุ่ม ลูกค้าต่างประเทศที เข้ามาลงทุนในประเทศ เช่น เกาหลี เป็ นต้น ทั งนี เพื อให้การดําเนินกลยุทธ์ทางธุ รกิจต่างๆ ข้างต้น ประสบผลสําเร็ จตามที มุ่งหวัง ธนาคาร ให้ค วามสํา คัญกับ การพัฒนางานสนับ สนุ นให้มี ทิ ศ ทางที ส อดประสานกัน โดยเฉพาะในมิ ติ ข อง วัฒนธรรมองค์กร ผ่านการบริ หาร จัดการงานทรัพยากรบุคคล และความพร้อมด้านเทคโนโลยี ภายใต้ โครงการ K-Transformation อย่างต่อเนื อง อันจะ ส่ งผลให้ธนาคารมีความได้เปรี ยบทางการแข่งขัน และรายรับจากลูกค้าที สูงขึ น ขณะที ความพยายามและการดําเนินการทั งหมดนี นอกจากจะส่ งผลให้ธนาคารบรรลุเป้ าหมาย ทางธุรกิจที ดีข ึนแล้ว ก็ยงั ได้รับการยอมรับจากหน่วยงานต่าง ๆ ทั งในและต่างประเทศ ดังจะเห็นได้จาก หลากหลายรางวัลที ได้รับในระหว่างปี 2553 ซึ งที สาํ คัญ ได้แก่ รางวัลด้านธุรกิจลูกค้าบรรษัท
รางวัลด้านธุรกิจลูกค้าผู้ประกอบการ
รางวัลด้านธุรกิจลูกค้าบุคคล
• รางวัล Best Debt House ประจําปี 2553 จากนิตยสาร The Asset • รางวัล Best Domestic Providers for Local Currency Products ของประเทศ ไทย ด้านผลิ ตภัณฑ์บ ริ ห ารความเสี ยง จากอัตราแลกเปลี ยน จากนิ ตยสาร Asia Money • รางวัล Best Bond House รางวัล Best Investment Bank แ ล ะ ร า ง วั ล Best Project Finance Deal of the Year in South East Asia ประจําปี 2553 จาก นิตยสาร Alpha Southeast Asia
• รางวัล Best SME Bank ซึ งเป็ นส่ วน • รางวัล Best Retail Bank in Thailand หนึ งของการประกาศผลรางวัล The 2009 จากการประกวดในโครงการ Asset Triple A Awards Transaction “การให้ บ ริ ก ารทางการเงิ น เพื อ ลู ก ค้า Banking 2010 จัด โดยนิ ตยสาร The รายย่อยยอดเยี ยม ประจําปี 2553” ที จดั Asset โดยวารสาร The Asian Banker • รางวัล MAT Awards โดยรายการ • รางวัล Best Retail Bank of the Year SME ตี แ ตก ได้รั บ รางวัล Bronze 2010 หรื อ “ธนาคารเพื อ ลูกค้ าราย Awards จากการประกวดสุ ด ยอด ย่อยแห่ งปี 2553” โดยเป็ นธนาคารที มีผู้ แ ค ม เ ป ญก าร ตล าด แ ห่ งปี ( MAT เข้าชมงาน ตัดสิ นใจเลือกใช้บริ การ Awards) ครั งที 7 ซึ งจัด โดยสมาคม มากที สุด จากผลสํารวจความคิดเห็ นผู้ การตลาดแห่งประเทศไทย เข้าชมงาน Money Expo 2010 ที จดั โดย ว า ร ส า ร ก า ร เ งิ น ธ น า ค า ร แ ล ะ มหาวิ ท ยาลัย หัว เฉี ย วเฉลิ ม พระ เกียรติ ซึ งธนาคารได้รับรางวัลนี เป็ นปี ที 3 ติดต่อกัน • รางวัล Best Local Private Bank in Thailand 20 09 จาก นิ ตยส าร Euromoney
112 สําหรับในปี 2554 นั น ท่ามกลางความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจที ยงั คงมีอยู่ เครื อธนาคารกสิ กร ไทย จึงให้ความสําคัญกับการขยายธุ รกิจให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิ จ โดยมุ่งเน้นการขยายฐาน ลู ก ค้า ในทุ ก กลุ่ ม ผ่ า นยุ ท ธศาสตร์ ก ารยึ ด ถื อ ความต้อ งการของลู ก ค้า เป็ นศู น ย์ก ลาง (Customer Centricity) และการทํางานร่ วมกันเป็ นทีม ลักษณะบริการ บมจ.ธนาคารกสิ ก รไทย ประกอบกิจ การธนาคารพาณิ ช ย์ ธุ ร กิจ หลัก ทรัพ ย์แ ละธุ ร กิจ ที% เกี %ย วเนื %อ งตามที %ไ ด้รับ อนุญ าตไว้ใ นพระราชบัญ ญัติธุ ร กิจ สถาบัน การเงิน ฯและพระราชบัญ ญัติ หลัก ทรัพ ย์แ ละตลาดหลัก ทรัพ ย์ฯ และประกาศที %เ กี %ย วข้อ ง โดยให้บ ริ ก ารผ่า นเครื อ ข่า ยสาขาทัว% ประเทศ ณ วันที% 31 ธันวาคม 2553 ธนาคารมีเครื อข่ายสาขาทัว% ประเทศ ทั.งสาขาเต็มรู ปแบบและสาขา ย่อย จํานวน 805 สาขา โดยให้บริ การแก่ลูกค้าของธนาคารและประชาชนทัว% ไปผ่านเครื% อง ATM ที%ติดตั.ง อยูใ่ นสาขาและนอกสถานที%ท. งั ในเขตกรุ งเทพมหานครและในส่ วนภูมิภาค จํานวน 7,471 เครื% อง นอกจากนี. ยงั ได้ติดตั.งเครื% องฝากเงิ นอัตโนมัติที%สาขาของธนาคาร จํานวน 1,014 เครื% อง ธนาคารยังมี สาขาในต่างประเทศอีก 4 สาขา และสํานักงานตัวแทน 4 แห่ ง โดยมีศูนย์กลางการดําเนิ นงานและ ให้บริ การที%สาํ นักงานใหญ่ การดําเนินงานด้ านธุรกิจหลัก ภาพรวมธุรกิจ ปี 2553 เครื อ ธนาคารกสิ ก รไทยยัง คงสานต่ อ ยุ ท ธศาสตร์ ที% ยึ ด มั%น ลู ก ค้า เป็ นศู น ย์ก ลาง (Customer Centricity) เพื%อให้สามารถบรรลุเป้ าหมายเชิงยุทธศาสตร์ดงั กล่าวได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพนั.น นอกจากจะมีการจัดโครงสร้างทางธุ รกิจที%ชดั เจนและเหมาะสมมากขึ.นด้วยการจําแนกกลุ่มลูกค้าใหม่ เป็ น 8 กลุ่มแล้ว ก็ยงั มุ่งเน้นการพัฒนาธุ รกิจทั.งในมิติของกลุ่มลูกค้า กลุ่มผลิตภัณฑ์ และช่องทางหลัก ในการให้บริ การลูกค้าที%สอดประสานกัน อย่างครบวงจร ดังนี.
113
รู ปที 2 เครื อธนาคารกสิ กรไทย
กลุ่มลูกค้ า กลุ่มลูกค้ าสหบรรษัทธนกิจ ปี 2553 ภาคธุ รกิ จขนาดใหญ่ของไทยต้องเผชิ ญกับ เหตุก ารณ์ ต่างๆ ที%ส่ งผลกระทบต่อการ ดําเนิ นการทั.ง ทางตรงและทางอ้อม แต่ด้วยเป้ าหมายเชิ งลึกในการเป็ นพันธมิตรทางธุ รกิจ (Trusted Partner) กับลูกค้า ธนาคารจึงได้ ปรับกระบวนการทํางานภายใน โดยเน้นการทําความเข้าใจผลิตภัณฑ์ ทางการเงิ นต่าง ๆ ที%มีอยูใ่ นตลาด ควบคู่ไปกับความเข้าใจลูกค้า เพื%อพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเงินให้ หลากหลายขึ.น และสามารถตอบสนองความต้องการทางธุ รกิจของลูกค้าและคู่คา้ ของลูกค้า (Value Chain) ได้อ ย่ า งครบวงจร ภายใต้แ นวคิ ด “ThinK: Think Through (คิ ด รอบด้า น) Innovative (คิ ด สร้ างสรรค์) Keep Commitment (ทุ่มเททํา)” อีก ทั.งยังได้วางแนวทางการพัฒนาองค์ความรู ้ จากสิ% ง ที% ที ม งานของธนาคารมี ค วามชํา นาญ คื อ การสร้ า งองค์ ก รแห่ ง ความรู ้ ใ นเรื% องพลัง งานทดแทน (Renewable Energy) ให้กบั บุคลากรทั.งภายในและภายนอกองค์กร โดยริ เริ% มทําเป็ นธนาคารแรก
114 กลุ่มลูกค้ าบรรษัทธนกิจ การให้บริ การกับกลุ่มลูกค้านี. มีการเปลี%ยนแปลงที%รวดเร็ วและมีการแข่งขันสู งระหว่างสถาบัน การเงิน ผูใ้ ห้บริ การ เครื อธนาคารกสิ กรไทยจึงร่ วมกันพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริ การทั.งด้านการเงินและ มิใช่การเงิน เพื%อให้สามารถตอบโจทย์ธุรกิจได้ครบทุกมุมมอง และเหมาะสมกับแต่ละอุตสาหกรรมที%มี ความต้องการบางส่ วนแตกต่างกัน โดยธนาคารได้เข้าไปศึกษาทําความเข้าใจวงจรการดําเนินธุ รกิจของ ลู ก ค้า เพื% อ นํา มาปรั บ ปรุ งกระบวนการภายใน ให้ ส ามารถบริ การลู ก ค้า ได้อ ย่ า งรวดเร็ ว และมี ประสิ ทธิ ภาพมากขึ.น ขณะเดียวกัน ธนาคารได้พฒั นามาตรฐานคุณภาพ ผูด้ ูแลความสัมพันธ์ลูกค้าผ่าน โครงการ Value-Added Advisory (VAA) ให้มีความรู ้ความชํานาญที%เหมาะสมกับกลุ่ม อุตสาหกรรม และพื.นที% รวมทั.งจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที%จะช่วยเพิ%มมูลค่าทางธุ รกิจของลูกค้า อาทิ กิจกรรมทางการตลาด ภายใต้โครงการ K Now หรื องานสัมมนาให้ความรู ้ดา้ นการจัดการและการบริ หารธุ รกิจ (Management Workshop) สําหรับลูกค้าระดับผูบ้ ริ หารหรื อเจ้าของกิจการ นอกจากนี. ธนาคารยังได้จดั ทําแบบสํารวจ ความคิดเห็นของลูกค้าที%มีตอ่ การใช้บริ การของเครื อธนาคารกสิ กรไทย เพื%อนําผลการวิจยั ที%ได้ไปใช้ใน การพัฒนาและปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการให้บริ การให้ดียง%ิ ขึ.น กลุ่มลูกค้ าผู้ประกอบการขนาดกลาง ในปี 2553 แม้ภาคธุรกิจไทยจะได้รับผลดีตามการทยอยฟื. นตัวของเศรษฐกิจโลก แต่ปัญหาการ แข็งค่าของเงินบาท ภัยธรรมชาติ และเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมือง ได้ส่งผลกระทบโดยตรงต่อ กลุ่มลูกค้าผูป้ ระกอบการขนาดกลางโดยเฉพาะในภาคการท่องเที%ยว ธุรกิจโรงแรม และธุรกิจค้าปลีก ซึ% ง ธนาคารมีมาตรการช่วยเหลือลูกค้า ผูป้ ระกอบการโดยผ่อนผันให้ชาํ ระเฉพาะดอกเบี.ย (Grace Period) สู งสุ ด 1 ปี และขยายระยะเวลาตัวJ สัญญาใช้เงิน (P/N T/R และ P/C) ออกไป 3 เดือน รวมถึงให้วงเงิน สิ นเชื% อเพิ%มเติม นอกจากนี. ธนาคารยังได้พฒั นาผลิตภัณฑ์สินเชื% อต่างๆ เพื%อสนับสนุ นผูป้ ระกอบการ ตามลักษณะธุ รกิจ เช่น โครงการสิ นเชื% อระหว่างประเทศอภิสิทธิ เพื%อคุณ โครงการสิ นเชื% อเพื%อการซื. อ เครื% องจักรและสิ นเชื%อเช่าทรัพย์ โครงการสิ นเชื%ออัตราดอกเบี.ยพิเศษร้อยละ 1.49 เพื%อการเช่าซื. อรถยนต์ หรื อ K SME Easy Leasing เป็ นต้น ขณะเดียวกัน ธนาคารได้จดั รายการส่ งเสริ มการขายพิเศษ รวมถึง โครงการส่ งเสริ ม ความรู ้ ในรู ป แบบต่างๆ อย่างต่อเนื% อง ทั.งการพาผูป้ ระกอบการเยี%ยมชมกิ จการที% น่าสนใจ K SME Company Visit และการจัดอบรมเชิงลึกภายใต้โครงการ K SME Academy เพื%อเสริ ม
115 ศักยภาพให้ผปู ้ ระกอบการด้านการจัดการการเงิน อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และเตรี ยมความพร้อมสู่ การ ขยายธุรกิจในอนาคต กลุ่มลูกค้ าผู้ประกอบการขนาดเล็กและขนาดย่อม ลูกค้ากลุ่มผูป้ ระกอบการขนาดเล็กและขนาดย่อม ถื อเป็ นฐานลูกค้าขนาดใหญ่ของธนาคาร ธนาคารจึงพยายามเรี ยนรู ้ และทําความเข้าใจลูกค้าให้มากขึ.นด้วยการศึกษาพฤติกรรมการใช้สินเชื% อ เพื%อให้ทราบถึงลักษณะ การดําเนินธุ รกิจ แหล่งเงินทุน และปั จจัยสําคัญที%มีผลต่อการตัดสิ นใจเลือกใช้ สิ นเชื%อของผูป้ ระกอบการ นอกจากนี. ยังศึกษาประสบการณ์และความคาดหวังของลูกค้าต่อผลิตภัณฑ์ และการบริ การของธนาคาร เพื%อให้ธนาคารสามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริ การที%ตรงกับความต้องการ ของลูกค้า ดังจะเห็นได้จากการริ เริ% มโครงการสิ นเชื% อเพื%อสนับสนุน ผูป้ ระกอบการตามลักษณะธุ รกิจ เช่น สิ นเชื% อเพื%อธุ รกิจรับเหมาก่อสร้าง สิ นเชื%อเพื%อธุ รกิจทางการแพทย์ สิ นเชื%อเพื%อธุ รกิจค้าปลีก-ค้าส่ ง สิ นเชื%อเพื%อการซื. อเครื% องจักรและสิ นเชื% อเช่าทรัพย์ สิ นเชื% อเพื%อธุ รกิจอพาร์ ทเมนท์ และโรงแรมสิ นเชื% อ เพื%อธุ รกิจฟาร์ มเลี.ยงไก่แบบประกันราคา สิ นเชื% อเกินหลักทรัพย์ค. าํ ประกันกสิ กรไทย และสิ นเชื% อเพื%อ ธุ รกิจ แฟรนไชส์กสิ กรไทย เป็ นต้น ขณะเดียวกัน ธนาคารได้จดั รายการส่ งเสริ มการขายอย่างต่อเนื%อง รวมทั.งพัฒนาโครงการ K SME Reward Plus และจัดกิจกรรมเสริ มความรู ้ต่างๆ ให้ผปู ้ ระกอบการตาม ประเภทอุตสาหกรรม กลุ่มลูกค้ าบุคคลสิ นทรัพย์สูง (High Net Worth Individual) ในปี 2553 เครื อธนาคารกสิ กรไทยได้ยกระดับลูกค้ากลุ่มย่อยในกลุ่มลูกค้าบุคคลพิเศษ (Affluent) ที% มีเงินรับฝากและ/หรื อเงินลงทุนกับเครื อธนาคารกสิ กรไทยตั.งแต่ 50 ล้านบาท เฉลี%ยระยะเวลาไม่ต%าํ กว่า 6 เดือน เป็ นกลุ่มลูกค้าบุคคลสิ นทรัพย์สูง โดยมีบริ การ KGroup Private Banking เป็ นบริ การหลัก ที%ให้ คํา ปรึ กษาด้า นการลงทุ น อย่า งรอบด้า น ทั.ง การลงทุ น พื. น ฐาน การลงทุ น ทางเลื อ ก (Alternative Investment) และการลงทุนในหลักทรัพย์ เพื%อให้สามารถ ตอบสนองลูกค้ากลุ่มที%มีรูปแบบการลงทุน ที%สลับซับซ้อน (Sophisticated Customers) ได้อย่างครบถ้วน ทั.งนี. ธนาคาร ร่ วมกับบริ ษทั เมืองไทย ประกันภัย จํากัด (มหาชน) นําเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ “ประกันของสะสมประเภทศิลปวัตถุและ อัญมณี ” (Private Collection Insurance) เพื%อตอบสนองความต้องการของกลุ่ มลู ก ค้า ที% ชอบสะสมสิ% ง ของมี ค่า
116 รวมทั.ง แนะนํา การลงทุนแบบ Passion Investment ที%ใ ห้ข ้อมูล ด้า นการลงทุ น และการประเมิ นราคา สําหรับการลงทุนในเพชร ภาพวาด และนาฬิกา เป็ นต้น โดยมีการจัดทํารายงานสรุ ปข้อมูลทางการเงิน (Consolidated Statement) ที%รวบรวมข้อมูลทางด้านการเงินและการลงทุนทั.งหมดของลูกค้าที%อยูภ่ ายใต้ การบริ หารจัดการของเครื อธนาคารกสิ กรไทย และยังได้จดั กิจกรรมทางตลาดเพื%อสร้างความแตกต่าง จากคู่แข่ง ผ่านการเป็ นผูส้ นับสนุ น (Sponsorship) การแข่งขันเทนนิ ส Thailand Open พร้อมกับเรี ยน เชิญลูกค้าชมการแข่งขันเทนนิสในรอบต่าง ๆ กลุ่มลูกค้ าบุคคลพิเศษ ธนาคารยังคงดําเนินกลยุทธ์เพื%อเพิ%มจํานวนลูกค้ากลุ่มนี. อย่างต่อเนื%อง โดยการขยายฐานลูกค้า ด้วยการออกโครงการส่ งเสริ มการขายเพื%อให้สาขานําไปเสนอแก่ลูกค้าเป้ าหมาย (Cross-Sell) การขยาย ฐานลูกค้าจากการแนะนําของลูกค้าปั จจุบนั (Referral) ผ่านการจัดกิ จกรรมในพื.นที%ภูมิภาค และการ ร่ วมมือกับพันธมิตรธุ รกิจในเครื อโรงพยาบาล รวมถึงการร่ วมมือกับกลุ่มลูกค้าผูป้ ระกอบการในการ นําเสนอผลิตภัณฑ์ และรายการส่ งเสริ มการขายพิเศษให้กบั ลูกค้าผูป้ ระกอบการ และผูบ้ ริ หารของกลุ่ม ลูกค้าสหบรรษัทธนกิจและกลุ่มลูกค้าบรรษัทธนกิจ เพื%อ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าทั.งใน ส่ ว นธุ ร กิ จ และในส่ ว นบุ ค คลอย่า งครบวงจร นอกจากนั.น ยัง ทํา การยกระดับ กลุ่ ม ลู ก ค้า บุ ค คล ระดับ กลางที% มี ศ ัก ยภาพในการเป็ นกลุ่ ม ลู ก ค้า บุ ค คลพิ เ ศษ (Up-Sell) ด้ว ยการคัด เลื อ กกลุ่ ม ลู ก ค้า เป้ าหมายที%มีคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์ และนําเสนอรายการส่ งเสริ มการขายพิเศษซึ% งมีส่วนช่วยเพิ%มการ ลงทุนในรู ปแบบกองทุน และเงินรับฝากประจําที%มีอายุต.งั แต่ 6 เดือนขึ.นไป ในขณะเดียวกัน ธนาคารได้ มุ่งเน้นการนําเสนอบริ การและสิ ทธิ ประโยชน์ใหม่ เพื%อเพิ%มความพึงพอใจสู งสุ ดสําหรับกลุ่มลูกค้าบุคคล พิเศษ อาทิ การออกแบบสมุดคู่ฝากเดอะวิสดอมสําหรับ ลูก ค้า ที%มี บตั รเครดิ ตเดอะวิส ดอม การจัดทํา รายงานสรุ ปข้อมูลทางการเงิน (Consolidated Statement) การนําเสนอผลิตภัณฑ์วงเงินสิ นเชื%อเพื%อธุ รกิจ พร้ อมอัตราดอกเบี.ยพิเศษ นอกจากนั.นยังมีการจัดรายการส่ งเสริ มการขายที%ช่วยกระตุน้ ให้ลูกค้าใช้ บริ การธนาคารเดินบัญชีทางธุ รกิจ เพื%อให้ธนาคารกสิ กรไทยเป็ นธนาคารหลักของลูกค้า นอกจากนี. ยัง ได้ขยายสิ ทธิ ประโยชน์ของกลุ่มลูกค้าบุคคลพิเศษไปยังส่ วนภูมิภาค ได้แก่ ศูนย์บริ การลูกค้าเดอะวิสด อม ณ สาขาเซ็นทรัลพลาซ่า เชียงใหม่ แอร์ พอร์ ต 2 และมีแผนที%จะขยายศูนย์บริ การดังกล่าวไปยังพื.นที% อื%นๆ ต่อไปในอนาคต โดยในส่ วนของการหาลูกค้าใหม่น. นั ธนาคารยังคงเน้นการขยายฐานลูกค้า โดย การร่ วมกับพันธมิตรธุรกิจจัดกิจกรรมการตลาดรู ปแบบต่างๆ อย่างต่อเนื%อง
117 กลุ่มลูกค้ าบุคคลระดับกลาง ธนาคารดําเนินกลยุทธ์ในการขยายฐานกลุ่มลูกค้าบุคคลระดับกลาง โดยเฉพาะกลุ่มลูกค้าที%มี เงินรับฝากและ/หรื อเงินลงทุนกับเครื อธนาคารกสิ กรไทยตั.งแต่ 2 ล้านบาทขึ.นไป โดยนําเสนอบริ การ พิเศษผ่านบริ การเดอะพรี เมียร์ กสิ กรไทยที%ให้เอกสิ ทธิ พิเศษมากมาย เช่น อัตราดอกเบี.ยพิเศษ บริ การ ห้องรับรองพิเศษ Royal Orchid Lounge และบริ การ Fitness ณ โรงแรมและสถานบริ การชั.นนํา รวมทั.ง จัดกิจกรรมทางการตลาดที%ออกแบบเฉพาะให้สอดคล้องกับการใช้ชีวิตของลูกค้ากลุ่มนี.ดว้ ย นอกจากนี. ธนาคารยังมุ่งเน้นการให้บริ การจ่ายเงินเดือนพนักงาน (Payroll) และการมอบสิ ทธิ พิเศษแก่ลูกค้าที%ใช้ บริ การ K-Salary Benefit (บริ การบัญชี เงินเดือนผ่านธนาคารกสิ กรไทย) ซึ% งเน้นลูกค้าทั.งเจ้าของบริ ษทั และพนักงานที%อยูใ่ นธุ รกิจ หรื ออุตสาหกรรมที%มีการเติบโตสู ง ตลอดจนสร้างความพึงพอใจในการใช้ บริ การของลูกค้ากลุ่มนี.อย่างต่อเนื%อง นอกจากนี. ธนาคารยังได้ร่วมกับพันธมิตรทางธุ รกิจในการพัฒนา และนําเสนอผลิตภัณฑ์ที%จะดูแลชี วิตของลูกค้าทั.งในด้านการเงินและนอกเหนือด้านการเงิน เช่น การ ออกบัตรเครดิตร่ วม การพัฒนาระบบชําระเงินแบบหลายช่องทางเพื%อเพิ%มความสะดวกสบาย และการ มอบสิ ทธิ พิเศษให้กบั คุณแม่ที%ฝากครรภ์ตาม โรงพยาบาลต่างๆ เป็ นต้น ทั.งนี. การสร้างประสบการณ์ ของบริ การที%หลากหลาย จากความเข้าใจความต้องการของลูกค้าแต่ละรู ปแบบการใช้ชีวิต (Lifestyle) และแต่ละช่วงอายุ จะช่วยให้ธนาคารมีบริ การที%แตกต่างและตอบสนอง ความต้องการของลูกค้า ซึ% งทํา ให้ธนาคารมีโอกาสขยายฐานลูกค้าและเพิม% การถือผลิตภัณฑ์ของกลุ่มลูกค้าได้เพิม% ขึ.น กลุ่มลูกค้ าบุคคลทัว ไป ธนาคารยัง คงดํา เนิ นแผนยุท ธศาสตร์ ใ นการหาลูก ค้าใหม่ที%มี ศกั ยภาพในการพัฒนาให้เป็ น ลูกค้าบุคคลระดับกลางต่อไปในอนาคต โดยมุ่งเน้นในการขยายฐานลูกค้ากลุ่มนิ สิต นักศึกษา และวัย เริ% ม ทํา งาน ขณะเดี ย วกันได้พ ฒ ั นาบริ ก ารผ่า นช่ องทางอิ เล็ก ทรอนิ ก ส์ (Electronic Channel) ซึ% ง เป็ น ช่องทางที%เพิ%มความสะดวกสบาย และเข้าได้กบั รู ปแบบการใช้ชีวิตของกลุ่มลูกค้า ทั.งเป็ นการตอกยํ.า ความเป็ นผูน้ าํ ทางด้านเทคโนโลยีของธนาคารกสิ กรไทย โดยในปี 2553 นี. ธนาคารได้ต่อยอดผลิตภัณฑ์ บัตรเดบิต K-My Debit Card ด้วยการเป็ นธนาคารแรกในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ที%พฒั นาให้บตั รเดบิต ดังกล่าวสามารถใช้ซ.ื อสิ นค้าทางอินเทอร์ เน็ตได้อย่างปลอดภัยด้วยระบบ Verified by VISA แบบ
118 รหัสผ่านใช้ครั.งเดียว (One Time Password) และปรับปรุ งเว็บไซต์ mycard.kbankcard.com ให้มีการใช้ งานร่ วมกับเว็บไซต์สังคมออนไลน์ (Social Media) ได้แก่ Facebook เพิ%มเติมอี กด้วย นอกจากนี. ธนาคารยังได้พฒั นาบริ การใหม่ K-My ATM ซึ% งเป็ นนวัตกรรมเครื% องเอทีเอ็มรู ปแบบใหม่ครั.งแรกใน ประเทศไทย เฉพาะผูถ้ ือบัตรกสิ กรไทยที%เลือกรู ปแบบพื.นหลังหน้าจอเอทีเอ็ม พร้อมบันทึกและเรี ยกดู ประเภทธุ รกรรมที%ใช้บ่อยได้ ช่วยเพิ%มความสะดวกให้แก่ผใู ้ ช้บริ การไม่ตอ้ ง จดจํารายละเอียดและทํา ธุ รกรรมได้รวดเร็ วขึ. น ขณะเดี ย วกันขยายฐานการให้บ ริ ก ารธนาคารทางโทรศัพ ท์ หรื อ K-Mobile Banking และเพิ%มจํานวนการถื อครองผลิ ตภัณฑ์ทางการเงิ นของลูกค้าให้มากขึ.น ผ่านการจัดรายการ ส่ งเสริ มการขายพิเศษที%เหมาะสมอย่างต่อเนื%อง
กลุ่มผลิตภัณฑ์ และช่ องทางการขาย กลุ่มผลิตภัณฑ์ ในปี 2553 ธนาคารริ เริ% มนวัตกรรมการให้บริ การทางการเงินใหม่ รวมทั.งปรับปรุ งผลิตภัณฑ์ และบริ การ เพื%อเป็ นเครื% องมือช่วยในการบริ หารจัดการธุรกิจของลูกค้า พร้อมกับอํานวยความสะดวกใน การทําธุ รกรรมการเงินของ ลูกค้าบุคคล ตลอดจนการจัดโครงการส่ งเสริ มการขายและการตลาด ซึ% ง สามารถสรุ ปและจําแนกตามกลุ่มผลิตภัณฑ์ 4 กลุ่ม อันได้แก่ กลุ่มฝากถอนโอนและปฏิบตั ิการ กลุ่ม ออมเงินและลงทุน กลุ่มระดมทุนและกูย้ มื รวมทั.งกลุ่มป้ องกันความเสี% ยงและสารสนเทศ ได้ดงั นี.
119 กลุ่มฝากถอนโอนและปฏิบัติการ (Operation & Transaction) รายละเอียด ก า ร นํ า เ ส น อ • การออกบั ต ร Commercial Card ให้ กั บ ตั ว แทนจํา หน่ า ยสิ น ค้ า ในเครื อข่ า ยธนกิ จ (Supply Chain) โดยร่ วมกับบริ ษทั ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน) ออกบัตรดังกล่าว ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ล ะ ให้กบั ตัวแทนจําหน่ายสิ นค้าของบริ ษทั เพื%อใช้ในการชําระค่าสิ นค้า ซึ% งธนาคารมีแผน บริการใหม่ จะขยายบริ การทางการเงินในลักษณะดังกล่าวเพิม% เติมกับบริ ษทั อื%นต่อไป
• Tax Smart Card (บริ การรั บชําระภาษีด้วยบัตร) เป็ นนวัตกรรมด้านการชําระภาษี ทางเลือกใหม่ที%ถูกพัฒนาขึ.น เพื%ออํานวยความสะดวกและเพิ%มความปลอดภัยให้แก่ผู ้ เสี ยภาษีและกรมสรรพากรในการรับชําระภาษีโดยไม่ตอ้ งเตรี ยมเงิ นสดหรื อเช็ค อีก ทั.งลูกค้าผูเ้ สี ยภาษียงั สามารถกําหนดวงเงินและจํานวนการใช้บตั รในแต่ละวันได้ดว้ ย
• การออกผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ หม่ เ พืE อ ผู้ ป ระกอบการ SME ได้แ ก่ SME Credit Calculator (บริ การคํานวณ วงเงิ นสิ นเชื% อเอสเอ็มอีเบื. องต้น) ทําให้ลูกค้าสามารถรู ้ผลประมาณ การของวงเงิ นสิ นเชื% อเพื%อธุ รกิ จก่อนยื%นเรื% องขอกูจ้ ริ ง และ K SME Sim โดยร่ วมกับ AIS ออกซิมอัจฉริ ยะสําหรับผูป้ ระกอบการที%ถือบัตรเครดิตแพลทินมั ด้วยสิ ทธิ พิเศษ ในการสํารองที% น%ังงานสัมมนา และ ค้นหาศู นย์ธุรกิ จ ลูกค้าเอสเอ็มอี ของธนาคาร พร้อมโทรปรึ กษาที% K-Biz Contact Center โดยไม่เสี ยค่าใช้จ่าย • การนําเสนอบริ การ K-Monthly Transfer (บริ การโอนเงิ นอัตโนมัติรายเดือนกสิ กร ไทย) โดยเป็ นบริ การโอนเงินภายในธนาคารกสิ กรไทยทั.งในเขตและข้ามเขตสํานักหัก บัญชีแบบอัตโนมัติ ซึ%งช่วยเพิม% ความสะดวกให้กบั การโอนเงินจากบัญชีของผูโ้ อน ไปยังบัญชี ผรู ้ ับเงินที% ผูกไว้กบั บริ การในจํานวนเงินเท่าๆ กันในเวลาเดียวกันทุกเดือน ภายใต้วงเงินสูงสุดไม่เกิน 10,000 บาท • การออกบัตรเดบิ ตใหม่ โดยร่ วมมือกับพันธมิตรทางธุรกิ จ อาทิ บริ ษทั จี เอ็มเอ็ม ไท หับ ผูผ้ ลิตภาพยนตร์ไทย บริ ษทั ทรู ดิจิตอล พลัส จํากัด ผูน้ าํ เกมออนไลน์ และ Honda Accord Club Thailand ในการออกบัตรเดบิตที%ให้สิทธิ พิเศษที%หลากหลายตอบสนอง ความต้องการของลูกค้า นอกจากนี. ยังได้พฒั นาบริ การให้ซ.ื อสิ นค้าทางอินเทอร์ เน็ต ด้วยระบบความปลอดภัยของ Verified by Visa แบบ One Time Password (OTP) เป็ น ธนาคารแรกในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ก า ร ป รั บ ป รุ ง • การพัฒนาบริ การด้ านร้ านค้ ารั บบัตร โดยพัฒนาระบบการรับบัตรให้รองรับสกุลเงิ น (DCC: Dynamic Currency Conversion) เพิ%มขึ.นเป็ น 35 สกุล พร้อมทั.งปรับปรุ งใบ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ล ะ
120 บริการ
สมัครใช้บริ การเครื% อง EDC ของธนาคารใหม่ เพื%อเปิ ดโอกาสให้ร้านค้าขนาดเล็กเข้า ร่ วมบริ การ รวมถึงปรับลดความยาวของกระดาษใบเสร็ จรับเงิน (Sales Slips) สําหรับ ส่วนของผูถ้ ือบัตรให้ส. นั ลง เพื%อลดต้นทุนและรักษาสิ% งแวดล้อม • การพัฒนาบริ การจัดการด้ านข้ อมูลเงิ นเดือนของบริ ษัท (Payroll Service Solution) โดยรวมบริ การโอนเงินเพื%อจ่ายเงินเดือนพนักงาน (KBank Payroll) เข้ากับบริ การ KSalary Benefit (โครงการสิ ทธิ ประโยชน์สาํ หรับผูม้ ีบญ ั ชีเงินเดือนผ่านธนาคารกสิ กร ไทย) ซึ% งช่ ว ยลดต้น ทุ น และประหยัด เวลาในการดํา เนิ น การ รวมถึ ง ได้รั บ สิ ท ธิ ประโยชน์อื%นๆ เพิม% เติมจากผลิตภัณฑ์ภายในเครื อธนาคารกสิ กรไทย • การให้ บริ การข้ อมูลสําคัญทางการเงิ น (BIZ Info) โดยส่ งตรงข้อมูลอัตราดอกเบี.ยเงิน รับฝาก เงิ นกู้ และอัตราแลกเปลี%ยนเงิ นตราต่างประเทศ ผ่านเว็บไซต์ของลูกค้าแบบ ทันที (Real Time) • การพัฒนาบัตรเครดิตแพลทิ นัมสําหรั บผู้ประกอบการ K SME - Business Plus โดย เพิม% สิ ทธิประโยชน์ตา่ งๆ ที%สามารถตอบสนองความต้องการทั.งในมิติของชีวิตส่ วนตัว และธุรกิจของลูกค้าได้อย่างมีประสิ ทธิภาพมากขึ.น
การปรั บ ปรุ ง และ • การเตรี ยมความพร้ อมของบริ การผู้ดูแลผลประโยชน์ ก องทุ นรวม เพื%อให้สามารถ รองรับการให้บริ การแก่ บลจ.ต่างๆ ที%เริ% มมีแนวโน้มการออกกองทุนรวมที%มีนโยบาย เพิ มประสิ ทธิภาพ การลงทุนในต่างประเทศ (FIF) ในตลาดใหม่ นอกเหนื อไปจากเกาหลีใต้ อาทิ เช่ น ของกระบวนการ อินเดีย โปรตุเกส รัสเซีย และอิสราเอล ดําเนินงาน • การพัฒนาบริ การผู้รับฝากทรั พย์ สิน เพื%อให้สามารถขายทั.งในแบบผลิตภัณฑ์เดี% ยว หรื อในลักษณะขายควบ (Product Bundling) กับผลิตภัณฑ์อื%นของธนาคาร รวมทั.งบริ ษทั ในเครื อธนาคารกสิ กรไทย อันจะช่วยให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าแต่ ละกลุม่ ในแบบครบวงจร • การมีส่วนร่ วมให้ บริ การสิ นเชืE อโครงการขนาดใหญ่ และบริ การต่ อเนืE อง ได้แก่ สิ นเชื%อ โครงการเงิ นกูร้ ่ วม เพื%อสร้างศูนย์การค้าขนาดใหญ่ที%สุดในภาคพื.นเอเชี ยตะวันออก เฉี ยงใต้ และโรงงานผลิตไฟฟ้ าขนาดกลาง 7 โรง รวมถึงการเป็ นตัวแทนหลักประกัน โครงการเงินกูร้ ่ วมของโรงไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิตย์ 34 โครงการในพื.นที% 34 จังหวัด ของไทย ตลอดจนการให้บริ การผูแ้ ทน ผูถ้ ือหุ ้นกูก้ บั ลูกค้ารัฐวิสาหกิจขนาดใหญ่ ที%ระดมทุนด้วยการออกหุ ้นกูเ้ สนอขายแก่ประชาชน ทัว% ไปเป็ นระยะเวลานานที%สุด เป็ นประวัติการณ์ 100 ปี ซึ% งธนาคารก็จะให้บริ การผูแ้ ทนผูถ้ ื อหุ ้นกู้ ดังกล่า ว สําหรับโครงการนี.เป็ นเวลา 100 ปี ด้วย
121
โครงการส่ งเสริ ม • การจัดกิ จกรรมส่ งเสริ มการขายสําหรั บลูกค้ าผู้ประกอบการ ได้แก่ โครงการ “ลูกค้า การขายและ สิ นเชื% อใหม่ ยิ%งใช้ ยิ%งคุม้ ” เพื%อกระตุน้ รายการเดิ นบัญชี เงิ นรับฝากของธนาคารตาม เงื% อนไขที% กาํ หนด และ โครงการ “Customer Solution ใช้มาก รับมาก” ให้อตั รา การตลาด ดอกเบี.ยพิเศษสําหรับเงินรับฝาก ออมทรัพย์นิติบุคคล และเงินคืนตามเงื%อนไขที% กําหนด รวมถึงโครงการ “รับเงินคืน 3 ต่อ เมื%อทําธุรกรรมโอนเงินระหว่างประเทศกับ ธนาคารกสิ กรไทย” ตลอดจนรายการส่ งเสริ มการขายและสิ ทธิ พิเศษอื%นๆ อาทิ สมุด เช็คฟรี บริ การ K-mAlert: Transaction Alert (บริ การแจ้งรายการ เดินบัญชีเงินฝาก ผ่านข้อความทางโทรศัพท์มือถือ (SMS)) K-mAlert: Cheque Alert (บริ การ แจ้ง เตือนทุกเรื% องเช็คกสิ กรไทย) และองค์ความรู ้กบั โครงการ K SME Care • การจั ดกิ จกรรมส่ งเสริ มการขายสําหรั บผลิตภัณฑ์ บัตรเดบิ ตและเอที เอ็ม ได้แก่ การ ออกบัตร เดบิต GTH รู ปลักษณ์ใหม่ตามภาพยนตร์ ที%ได้รับความนิ ยมในขณะนั.น การ จัดโครงการ K-My Debit Card: Valentine ซึ% งผูท้ ี%ทาํ บัตรเดบิตจะได้รับบัตรอีก 1 ใบ โดยไม่มีค่าใช้จ่าย และการเดินในลักษณะ “Troop” เพื%อประชาสัมพันธ์บตั รเดบิต KMax Debit Card ควบคู่ไปกับการจัดกิจกรรมส่ งเสริ มการตลาดอื%น ๆ ทั.งในรู ปแบบ ของการมอบส่ วนลด และของกํานัล เมื%อมีการใช้จ่ายผ่านบัตรเดบิตที%ร้านอาหารและ มหกรรมการท่องเที%ยว • การจั ดกิ จกรรมการตลาดเพืE อตอกยําR ความเป็ นผู้นาํ ในธุ รกิ จ SME ครบวงจร ได้แก่ SME Start-Up City โดยเป็ นธนาคารแรกที%ให้บริ การเกมจําลองการทําธุ รกิจเสมือน จริ งบน Facebook และ K SME BIZ on Web โดยร่ วมกับกูเกิ.ล (Google) สนับสนุ นให้ผูป้ ระกอบการมี เว็บไซต์เป็ นของตนเองฟรี เพื%อเพิ%มโอกาสการขยาย ธุรกิจบนโลกออนไลน์ พร้อมประชาสัมพันธ์ผา่ น AdWords ฟรี มูลค่า 2,000 บาท • การจัดกิจกรรมส่ งเสริ มการตลาดสําหรั บผลิตภัณฑ์ เงิ นโอน และบริ การชําระค่ าสิ นค้ า และบริ การ โดยธนาคารได้จดั โครงการ Midnight Transaction Free เพื%อให้ลูกค้าทราบ ถึงการขยายช่องทางของธนาคารที%สามารถทําธุรกรรมได้ตลอด 24 ชัว% โมง
122 กลุ่มออมเงินและลงทุน (Saving & Investing) รายละเอียด ก า ร นํ า เ ส น อ • การนําเสนอผลิตภัณฑ์ ใหม่ ได้แก่ K-Smart Equity Linked Note แบบ Put Spread ซึ% ง ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ล ะ เป็ นตัวJ เงินที%ให้ผลตอบแทนอ้างอิงกับราคาหุน้ หรื อดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศ ไทย วงเงินลงทุนขั.นตํ%า 10 ล้านบาท เหมาะสําหรับผูท้ ี%ตอ้ งการลงทุนระยะสั.น และมี บริการใหม่ ความรู ้ ความเข้าใจการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ฯ อี กทั.งสามารถรับความเสี% ยงได้ ค่อนข้างสู ง นอกจากนี. ยังมี Proportionate Floating Rate Note ซึ% งเป็ นตัวJ เงินที%ให้ ผลตอบแทนในลักษณะลอยตัวที%อา้ งอิงจากอัตราดอกเบี.ยเงินรับฝากประจํา และ/หรื อ อัตราดอกเบี.ยเงินกู้ และ/หรื ออัตราดอกเบี.ย THBFIX โดยผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวเหมาะ สําหรับผูล้ งทุนที%คาดการณ์วา่ อัตราดอกเบี.ยในตลาดมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ.น • การออกผลิตภัณฑ์ เงิ นรั บฝากใหม่ โดยธนาคารได้ออกผลิตภัณฑ์เงิ นรับฝากและตัวJ แลกเงินเหมาะสมกับทิศทางดอกเบี.ยขาขึ.น โดยจ่ายอัตราดอกเบี.ยแบบขั.นบันได ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ “เงิ นฝากดอกเบี.ยสู งพุง่ พรวด” (Step-up Fixed Deposit 33 Months) “เงินฝากประจํา Step-up 10 เดือน ยืดหยุน่ ” “เงินฝากประจํา Step-up 18 เดือน” และ ตัวJ แลกเงิน “K-B/E Step-up อายุ 21 เดือน” นอกจากนี. ยังมีการออกผลิตภัณฑ์ที%ตอบ โจทย์ความต้องการของลูกค้าเฉพาะกลุม่ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ “เงินฝากคุม้ ครองวัยซน” ที% เป็ นการขายพ่วงระหว่างผลิตภัณฑ์เงิ นรับฝากทวีทรัพย์ พร้อมกรมธรรม์ประกันภัย อุบตั ิเหตุส่วนบุคคลและชดเชยรายได้สาํ หรับเด็กกรณี เป็ นผูป้ ่ วยในจากอุบตั ิเหตุและ การเจ็บป่ วยเฉพาะ 6 โรคในเด็กตามเงื% อนไขที% กาํ หนด และ “เงิ นฝากประจํา คู่ ประกันเพื%อการศึกษาบุตร 5-5-5” • การออกกองทุนใหม่ โดยธนาคารได้ร่วมกับ บลจ. กสิ กรไทย จัดตั.งกองทุนรวมใหม่ ในปี 2553 รวม 114 กองทุน ซึ% งส่ วนใหญ่เป็ นกองทุนรวมตราสารหนี. ที%ลงทุนทั.งใน และต่างประเทศ ได้แก่ เกาหลีใต้ อินเดีย และตลาดเกิดใหม่ เช่น จีน ไต้หวัน รัสเซี ย อินโดนี เซี ย และตุรกี เป็ นต้น เพื%อกระจายความเสี% ยงจากการลงทุนในประเทศและมี โอกาสรับผลตอบแทนที%ดี ก า ร ป รั บ ป รุ ง • การปรั บลดค่ าธรรมเนี ยมบริ การ K-mAlert: Transaction Alert ของทั.งชุดบริ การแจ้ง ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ล ะ สรุ ปเปลี%ยนแปลงยอดบัญชีเงินรับฝากผ่าน SMS (Balance Change Alert Package) และบริ การแจ้งทุกรายการเดินบัญชีเงินรับฝากผ่าน SMS (Account Statement Alert บริการ Package) มาเหลือ 20 บาท จากเดิม 30 และ 40 บาท ตามลําดับ
123 รายละเอียด • การปรั บลดค่ าธรรมเนี ยมซื Rอ-ขายหลักทรั พย์ ของกองทุนรวม อันได้แก่ กองทุนเปิ ด K-SET50 กองทุนเปิ ด K-OIL และกองทุนเปิ ด K-GOLD จากเดิมร้อยละ 0.15 เหลือ เพียงร้อยละ 0.10 ของมูลค่าซื.อ-ขาย ซึ% งเป็ นอัตราตํ%าที%สุดในตลาด เพื%อสะท้อนต้นทุน ที%แท้จริ งและตอบสนองผูล้ งทุนที%ตอ้ งการซื.อขายเพื%อทํากําไรจากราคาหุ ้น นํ.ามัน และ ทองคําในระยะสั.น
กลุ่มระดมทุนและกู้ยมื (Funding & Borrowing) รายละเอียด ก า ร นํ า เ ส น อ • การนําเสนอผลิตภัณฑ์ K-SME Credit Solutions (สิ นเชืE อครบวงจรเพืEอธุรกิจเอสเอ็มอี กสิ กรไทย) ซึ% งรวมผลิตภัณฑ์สินเชื%อและบริ การทางการเงิ นต่างๆ ที%จาํ เป็ นสําหรับ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ล ะ ผูป้ ระกอบการเอสเอ็มอีไว้อย่างครบถ้วน ทั.งวงเงินสิ นเชื%อสําหรับธุรกิจในประเทศ บริการใหม่ และระหว่างประเทศ และสัญญาซื. อขายเงิ นตราระหว่างประเทศล่วงหน้า (Forward Contracts) โดยให้ ว งเงิ น สิ น เชื% อ ต่ อ รายสู ง สุ ด ถึ ง 100 ล้า นบาท และกํา หนด หลักประกันขั.นตํ%าร้อยละ 30 ของวงเงินสิ นเชื%อ • การนําเสนอผลิตภัณฑ์ K-Taiwan EXIM Bank Trade Credit (สิ นเชืE อเพืEอการนําเข้ า จากธนาคารเพืE อการส่ งออกและนําเข้ าไต้ หวันกสิ กรไทย) ซึ% งเป็ นสิ นเชื% อเพื%อการ นําเข้าสิ นค้าทุนผ่านการเปิ ดเลตเตอร์ ออฟเครดิ ต (L/C Loans) สกุลเงิ นบาท อัตรา ดอกเบี.ยตํ%า เพื%อสนับสนุนผูน้ าํ เข้าเครื% องจักรและอุปกรณ์จากประเทศไต้หวัน ภายใต้ เงื%อนไขที%กาํ หนด ซึ%งช่วยเพิม% ทางเลือกให้กบั ลูกค้าผูน้ าํ เข้าของธนาคาร • การนํา เสนอผลิ ตภั ณฑ์ สินเชืE อ เพืE อ ธุ ร กิ จ เฉพาะ ได้แก่ K-SME Trading Credit (สิ นเชื% อเพื%อธุรกิ จค้าปลีก-ค้าส่ งกสิ กรไทย) K-SME Medical Credit (สิ นเชื% อเพื%อ ธุรกิจทางการแพทย์กสิ กรไทย) K-SME Construction Credit (สิ นเชื%อเพื%อธุรกิ จ รับเหมาก่อสร้างกสิ กรไทย) สิ นเชื%อเพื%อธุรกิจฟาร์มเลี.ยงไก่แบบประกันราคา K SME Easy Leasing (สิ นเชื%ออัตราดอกเบี.ยพิเศษเพื%อการเช่าซื. อรถยนต์) เพื%อสนับสนุนเอส เอ็มอีในการซื.อรถใหม่สาํ หรับใช้ในธุรกิจด้วยสิ นเชื%ออัตราพิเศษ ร้อยละ 1.49 ต่อปี รวมทั.ง K-SME Franchise Credit (สิ นเชื%อเพื%อธุรกิจแฟรนไชส์กสิ กรไทย) • การออกบัตรเครดิตใหม่ THE WISDOM และ THE PREMIER ที%มีสิทธิ พิเศษเหนื อ ระดับ เพื%อขยายฐานลูกค้าระดับบนและกลุ่มลูกค้าวิชาชีพที% มีศกั ยภาพสู ง ตลอดจน
124 รายละเอียด บัตรเครดิต Japanese Card ซึ% งเป็ นบัตรเครดิตแพลทินัมใบแรกในประเทศไทย แก่ ลูกค้าชาวญี%ปุ่น • การนําเสนอวิธีการชําระเงิ นผ่ านบัตรเครดิ ตรู ปแบบใหม่ จี เอสเอ็ม โมบาย เพย์ เวฟ (GSM Mobile payWave) โดยลูกค้าสามารถใช้โทรศัพท์มือถือผ่านเข้าไปที%เครื% องอ่าน บัตร Visa payWave ก็สามารถชําระค่าสิ นค้าและบริ การได้เสมือนบัตรเครดิ ต โดยได้เริ% มให้บริ การแล้วผ่านเคาน์เตอร์สินค้าชื%อดังกว่า 40 รายการของเซ็นทรัล มาร์ เก็ตติง. กรุ๊ ป (CMG) พร้อมร้านค้าต่าง ๆ รวมจํานวน 1,500 แห่งทัว% ประเทศ ก า ร ป รั บ ป รุ ง • การปรั บ ปรุ ง เงืE อ นไขผลิ ต ภั ณ ฑ์ สิ น เชืE อ สํา หรั บ ลู ก ค้ า ผู้ ป ระกอบการให้ สามารถ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ล ะ ตอบสนอง ความต้ องการของลูกค้ าได้ อย่ างมีประสิ ทธิ ภาพมากขึนR ได้แก่ ในกรณี ของสิ นเชื% อ K-Max ธนาคารได้ขยายวงเงินสิ นเชื%อผูป้ ระกอบการขนาดเล็กจาก 10 บริการ ล้านบาท เป็ น 15 ล้านบาท และปรับเพิม% วงเงินสิ นเชื%อสูงขึ.นเป็ นร้อยละ 120 และร้อย ละ 150 ของมูลค่าหลักประกัน ภายใต้กระบวนการอนุมตั ิที%รู้ผลภายใน 2 วัน รับเงินกู้ ภายใน 10 วัน ส่วนสิ นเชื%อ K-SME Extend ก็ได้ยดื ระยะเวลาการกูจ้ าก 7 ปี เป็ น 10 ปี ด้านสิ นเชื%อ K-Privileged Trade Solution มีการอนุมตั ิ สิ นเชื%อตามความต้องการ เงิ นทุ นหมุนเวียนสู งสุ ดร้อยละ 30 ของยอดขาย โดยไม่ตอ้ งใช้หลัก คํ.าประกัน ขณะที% ได้มีการนําวิธีการให้คะแนนเครดิ ต (Credit Scoring) มาใช้ในการพิจารณา สิ นเชื%อ K-Equipment Finance เพื%อให้อนุมตั ิได้รวดเร็ วขึ.น ตลอดจนการปรับปรุ งและ ขยาย หลักเกณฑ์สินเชื% อ K-SME Apartment and Hotel Credit เพื%อให้สอดคล้องกับ ลักษณะธุรกิจมากขึ.น • การปรั บปรุ งผลิตภัณฑ์ สินเชืE อเพืEอทีE อยู่อาศัย ผ่านโครงการ “สิ นเชื%อบ้านตามใจชอบ” (K-Up-to-You Home Loan) เป็ นครั.งแรกที%ให้ลูกค้าเลือกรู ปแบบสิ นเชื%อได้ตามความ ต้องการ • การปรั บปรุ งผลิตภัณฑ์ สินเชืE อผู้บริ โภค โดยนําเสนอบริ การเงิ นสดโอนไว (Cash Direct) สําหรับลูกค้าสิ นเชื%อบุคคลที%ตอ้ งการรับเงินก้อนแรกโอนเข้าบัญชีโดยไม่ตอ้ ง รอรั บ บัต รและรหัส ประจําตัว ขณะที% บ ริ ก ารสิ น เชื% อเงิ น สดทัน ใจกสิ ก รไทย (KExpress Cash) ได้เ สนออัต ราดอกเบี. ย พิ เ ศษร้ อ ยละ 0 เป็ นเวลา 3 ปี สํา หรั บ ยอด สิ น เชื% อ ที% สู ง เกิ นกว่าร้ อ ยละ 70 ของวงเงิ น อนุ ม ัติ ขณะเดี ย วกัน ธนาคารยัง เสนอ สิ นเชื%อบุคคลเพื%อซื. อหน่วยลงทุนของกองทุน LTF/RMF แก่ลูกค้าที%มีกองทุนสํารอง เลี.ยงชีพกสิ กรไทย
125 รายละเอียด การปรั บ ปรุ ง และ • การปรั บกระบวนการดําเนินงานสําหรั บสิ นเชืE อโครงการ K-SME Credit กู้ง่าย ได้ เร็ ว เพื%อให้ ลูก ค้าสามารถทราบผลการอนุ มตั ิ เ บื. องต้นได้ทันที เมื% อ ลูกค้าแจ้ง ความ เพิ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ประสงค์ในการขอสิ นเชื%อที%ธนาคาร ของกระบวนการ • การปรั บปรุ งกระบวนการทํางานสําหรั บสิ นเชืE อผู้บริ โภค เพื%อเพิม% ความสะดวกให้กบั ดําเนินงาน ลูกค้า ทั.งขั.นตอนในการสมัครและอนุ มตั ิสินเชื% อ อีกทั.งมีโครงการสมัครคู่บตั ร เครดิ ต ที% รวมใบสมัครและเอกสารในชุ ดเดี ยวกัน นอกจากนี. ได้ขยายช่องทางการ ชําระเงินให้กว้างขวางขึ.นผ่าน พันธมิตร ได้แก่ เคาน์เตอร์ เซอร์ วิส เทสโก้โลตัส และที%ทาํ การไปรษณี ย ์ รวมถึงช่องทาง อินเทอร์เน็ตผ่าน K-Cyber Banking • มาตรการช่ วยเหลือลูกค้ าทีE ได้ รับผลกระทบจากเหตุการณ์ ความไม่ สงบทางการเมือง ตัRงแต่ เดือนเมษายน 2553 โดยสําหรับลูกค้าผูป้ ระกอบการ ธนาคารได้ให้ระยะเวลา ชําระเฉพาะดอกเบี.ย (Grace Period) แก่ลูกค้าสูงสุด 1 ปี ขยายเทอมของตัวJ การใช้เงิน (P/N T/R และ P/C) ออกไป 3 เดื อน และให้วงเงิ นกูเ้ พิ%มเติมเพื%อช่วยเหลือลูกค้า สําหรั บลูกค้าที% อยู่ในพื.นที% ที%ได้รับผลกระทบ ส่ วนลูกค้าบุ คคล ธนาคารก็ได้ออก มาตรการช่วยเหลือลูกค้าสิ นเชื% อบ้านกสิ กรไทยและลูกค้า สิ นเชื%อบัตรเครดิ ต ด้วย การผ่อนปรนเงื%อนไขการชําระคืนหนี.ตา่ งๆ โครงการส่ งเสริ ม • การพัฒนารู ปแบบรายการ “SME ตี แตก” โดยเน้นการลงพื.นที% ในต่างจังหวัด เพื%อ การขายและ เจาะลึกแนวทางการทําธุรกิจที%น่าสนใจของนักธุรกิจในภูมิภาคทัว% ประเทศ การตลาด • การจัดรายการส่ งเสริ มการขายสําหรั บลูกค้ าผู้ประกอบการ อาทิ การรับเงินคืนตาม เงื%อนไขที%กาํ หนด ภายใต้โครงการ“ลุน้ กิน บิน ช้อป กับสิ นเชื%อเอสเอ็มอีกสิ กรไทย” โครงการ“รับเงินคืนเมื%อเปิ ดเลตเตอร์ออฟเครดิตกับธนาคารกสิ กรไทย” โครงการ“K SME Reward Plus” สําหรับ ลูกค้าที%รักษายอดสิ นเชื%อคงค้างเฉลี%ยต่อเดือนตามที% กําหนด โครงการ“สิ นเชื%อเพื%อธุรกิจขนาดย่อมสําหรับสาขาเปิ ดใหม่” เมื%อลูกค้าได้รับ อนุมตั ิและตั.งวงเงินสิ นเชื%อเพื%อธุรกิจ โครงการ“ใช้โอดี มีเงินคืน” เมื%อใช้วงเงินโอดี กสิ กรไทยตามกําหนด โครงการ“บริ การโอนเงินไปจีนทันใจ... ถึงที%หมายในวัน เดียวกันช่วงที% 2 (China Direct Phase 2)” เป็ นบริ การโอนเงินสกุลดอลลาร์สหรัฐฯไป ยังทุ กมณฑลในสาธารณรั ฐประชาชนจี นได้ภายในวันเดี ย ว และโครงการ“ยิ%งใช้ ยิ%ง คุ ้ม ” เฉพาะลู ก ค้า สิ น เชื% อ ใหม่ ที% เ ดิ น บัญ ชี ต ามยอดที% ก ํา หนด นอกจากนี. ยัง มี โครงการ“Industry Solutions” ที%ให้สิทธิประโยชน์ในรู ปบัตรนํ.ามัน เมื%อได้รับอนุมตั ิ
126 รายละเอียด และตั.งวงเงินสิ นเชื%อเพื%อธุรกิจในประเภทที%กาํ หนด ตลอดจน โครงการ“Loan Plus” เติมเต็มวงเงินกูโ้ ดยไม่ตอ้ งประเมินราคาหลักประกันใหม่ • การจั ด กิ จกรรมการตลาดสําหรั บสิ น เชืE อเพืE อทีE อยู่อาศั ย โดยร่ วมกับบริ ษ ัทพัฒนา อสัง หาริ ม ทรั พ ย์ช. ันนําที% เป็ นพันธมิ ตร เปิ ดตัวโครงการพิ เศษ “ซุ ปเปอร์ แจ๋ ว” และ “มหัศจรรย์ เลข 9 (Miracle 9)” ที% เสนอเงื% อนไขยอดการผ่อนชําระต่อเดื อนและ อัตราดอกเบี. ยพิเ ศษให้กบั ลูก ค้า ขณะเดี ยวกัน ธนาคารยังได้อ อกบู ธ ในมหกรรม การตลาดและจัดรายการส่ งเสริ มการขายร่ วมกับพันธมิตร ทางธุ รกิ จต่างๆ โดย มุ่งเน้นการขยายตลาดออกสู่ ภูมิภาคมากขึ.น โดยเฉพาะในจังหวัดยุทธศาสตร์ ของ ธนาคารตามภาคต่างๆ • การจัดกิจกรรมการตลาดสําหรั บบริ การบัตรเครดิต โดยร่ วมกับพันธมิตรต่าง ๆ กว่า 50 ราย ออกโครงการ “หัวใจเต้นแรงกับชี วิต 1 แถม 1” มอบสิ ทธิ พิเศษ 1 แถม 1 ตลอดทั.งปี ในโครงการ “เที% ยว บิ น กิ น ช้อป” เพื%อกระตุน้ ยอดการใช้จ่ายผ่านบัตร เครดิ ต สร้ างภาพลักษณ์ (Brand Awareness) รวมทั.งตอบสนองความต้องการของ ผูบ้ ริ โภคในทุกมิติ ขณะเดียวกัน ก็ได้มอบสิ ทธิ พิเศษตามคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละ ประเภทบัตรสําหรับลูกค้าระดับบน เพื%อให้สอดคล้องกับ กลยุทธ์ในการมุง่ ขยายฐาน บัต รไปสู่ ลู ก ค้า ใหม่ เ ป็ นหลัก ตลอดจนปรั บ ภาพลัก ษณ์ ใ หม่ ข อง บัต รเครดิ ต รู ปแบบประชาสัมพันธ์ ตลอดจนสื% อโฆษณาประชาสัมพันธ์ทุกประเภทด้วย
กลุ่มป้องกันความเสี ยงและสารสนเทศ (Protection & Information) รายละเอียด ก า ร นํ า เ ส น อ • การนําเสนอผลิตภัณฑ์ ประกันภัยแบบเฉพาะเจาะจง เพื%อตอบสนองความต้องการ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ล ะ ของลูกค้าที% แตกต่างกัน ได้แก่ ประกันสําหรับลูกค้ากลุ่มที% มีเงิ นเดื อนประจํา (Pro Saving 1525) ซึ% งเป็ นประกันแบบสะสมทรัพย์ชาํ ระเบี.ยประกันรายเดื อน ประกัน บริการใหม่ ของสะสมประเภทศิ ลปวัตถุและ อัญมณี (Private Collection Insurance) รวมถึง ประกันภัยวัยซน (PA for Kids) คุ ม้ ครองอุบตั ิ เหตุและค่าชดเชยรายวันจากการ รักษาพยาบาล 6 โรคสําคัญในเด็ก นอกจากนี. ยังมีผลิตภัณฑ์ “เงินฝากประจําคู่ ประกันเพื%อการศึกษาบุตร 5-5-5” รวมถึงโครงการ “ฝากบ้านกับกสิ กรไทย” ในช่วง เดือนเมษายน 2553
127 รายละเอียด • การนําเสนอผลิตภัณฑ์ ประกันภัยสําหรั บธุรกิจ ได้แก่ แบบประกัน Perfect Business Smart Plus ที%สามารถปิ ดความเสี% ยงจากการกูย้ มื ของกิจการด้วยความคุม้ ครองวงเงิน สิ นเชื%อสู งสุ ดที% ทุนประกัน 400 ล้านบาทต่อหนึ% งวงเงิน และรับผลประโยชน์ เมื%อครบสัญญา โดยมีระยะเวลา รับประกันให้เลือกหลากหลายตามความต้องการ ของลูกค้า นอกจากนี. ยังได้ออกผลิตภัณฑ์การคุม้ ครองวงเงินสิ นเชื%อรู ปแบบอื%น อาทิ K-Cheque to Cash, K-Supplier Financing และ K-F&E ก า ร ป รั บ ป รุ ง • การให้ บริ การผลิตภัณฑ์ บริ หารความเสีE ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลีEยน โดยออก ผลิ ตภัณฑ์ประเภทออปชัน% อาทิ Strangle Forward และผลิ ตภัณฑ์ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ล ะ Forward ใหม่ๆ เพื%อเพิ%ม ทางเลือกในการบริ หารความเสี% ยงจากอัตราแลกเปลี%ยน บริการ อีกทั.งยังให้บริ การชําระบัญชีสาํ หรับ ธุรกรรมการค้าระหว่างประเทศด้วยเงินสกุล หยวน รวมถึงการออกผลิตภัณฑ์ Deliverable Forward สําหรับลูกค้าในประเทศเพื%อ ป้ องกันความผันผวนของค่าเงินหยวนต่อสกุลเงินบาท ขณะเดียวกัน ธนาคารยังได้ เสนอตราสารอนุพนั ธ์ที%เชื%อมโยงกับสิ นค้าประเภทสังกะสี และฝ้ าย เพื%อช่วยลดความ ผัน ผวนจากราคาสิ น ค้า โภคภัณ ฑ์ นอกจากนี. ธนาคารยัง ได้ข ยายระยะเวลา ให้บริ การด้านอัตราแลกเปลี%ยนถึง 23.00 น. พร้อมทั.งเพิ%มจํานวนดีลเลอร์ และขยาย ศูนย์บริ การด้านอัตราแลกเปลี%ยนครบวงจร (Spoke) ครอบคลุมพื.นที%ในปริ มณฑลทุก 10-20 กิโลเมตร • การเพิE มความสะดวกในการชําระเบี Rยประกัน โดยพัฒนากระบวนการทํา Top-Up Loan ให้มี ประสิ ทธิภาพมากขึ.น และเพิ%มช่องทางในการชําระเบี.ยประกันผ่านบัตร เครดิต
ช่ องทางหลักในการให้ บริการลูกค้ า เนื% องจากช่องทางหลักในการให้บริ การลูกค้า ถือเป็ นหนึ% งในองค์ประกอบที%สําคัญยิ%งในการ เชื% อมโยงระหว่า ง ผลิ ตภัณ ฑ์และบริ ก ารของเครื อธนาคารกสิ ก รไทยกับ ลู ก ค้า แต่ล ะกลุ่ ม เป้ าหมาย รวมถึ ง ส่ ง มอบประสบการณ์ จากการใช้บ ริ ก ารอันน่ า ประทับ ใจ นอกเหนื อไปจากบทบาทในการ
128 เสริ มสร้างภาพลักษณ์ให้กบั เครื อธนาคารกสิ กรไทย ดังนั.น เพื%อให้สามารถตอบสนองความต้องการของ ลูกค้าได้ภายใต้ประสิ ทธิ ภาพที%สูงขึ.น เครื อธนาคารกสิ กรไทยจึงพัฒนาช่องทางหลักในการให้บริ การ ลูกค้า ทั.งในมิติของจํานวน ขีดความสามารถ และคุณภาพของการบริ การอย่างสมํ%าเสมอ ขณะเดียวกัน เพื%อกระตุน้ ให้ ลูกค้าตระหนักและใช้บริ การในแต่ละช่องทางมากขึ.น ธนาคารยังได้นาํ เสนอโครงการ ส่ งเสริ มการขายใหม่ๆ อย่างต่อเนื%อง โดยมีรายละเอียดที%สาํ คัญ ดังนี. สาขาและศูนย์ ให้ บริการทางการเงิน ช่ องทางหลัก ในการให้ บริการลูกค้ า เครือข่ ายสาขาธนาคาร
สํานักงานแลกเปลีย นเงิน
ศู นย์ บริการธุรกิจ จุดจ่ ายเช็ค
จํานวนเครื องให้ บริการ (เครื อง) / การดําเนินการทีส ําคัญ 2553 2552 805 782 • การเปิ ดสาขาในพื R น ทีE เป้ าหมาย อาทิ ในกลุ่ ม พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ ห้ า งสรรพสิ น ค้า ไฮเปอร์ ม าร์ ท และศู น ย์ก ารค้า ชุ ม ชนครบวงจร (Community Mall) เพื%อสร้าง ภาพลักษณ์ (Branding) ให้แก่ธนาคาร เพิ%ม ความสะดวกสบายและรองรั บ ความต้องการที% หลากหลายของกลุ่ ม ลูกค้าเป้ าหมาย • การพัฒนาหลักสูตรอบรม การปฏิ บัติการ สอบวัดความรู้ และจัดการแข่ งขัน ตั.ง แต่ ระดับ พนัก งานใหม่ถึ ง ผูจ้ ัด การสาขา เพื% อกระตุน้ ให้ทุก สาขาของ ธนาคารมุง่ สู่การให้บริ การและการขายอย่างที%ปรึ กษา • การเพิEมจํานวนสาขาทีE ให้ บริ การ K-WePlan (บริ การที% ปรึ กษาด้านวางแผน การเงิน กสิ กรไทย) เป็ น 389 สาขา 100 92 • การเพิEมจํานวนสํานักงานแลกเปลีEยนเงิ น ซึ% งเน้นแหล่งท่องเที%ยวในภูมิภาค เป็ นสําคัญ • การอํานวยความสะดวกให้ กับลูกค้ าด้ วยรถแลกเปลีEยนเงิ นตราต่ างประเทศ เคลืEอนทีE (Mobile Booths) จํานวน 8 คัน ตามสถานที% จ ัดกิ จกรรมต่าง ๆ อย่างต่อเนื%อง 61 23
60 21
129 ช่ องทางหลัก จํานวนเครื องให้ บริการ (เครื อง) / การดําเนินการทีส ําคัญ กค้ า ท * 6 12 ศูในการให้ นย์ ธุรกิจบลูริกค้ารลู าบรรษั 87 ศู นย์ ธุรกิจลูกค้ าผู้ประกอบการ ** 95 หมายเหตุ: * จํานวนศูนย์ลดลงเนื%องจากมีการควบรวมกันในบางศูนย์ ** ไม่รวมศูนย์บริ การธุรกิจ
บริการ K-Contact Center
K-Contact Center
การดําเนินการทีส ําคัญในปี 2553 • การเพิE ม ความหลากหลายและความสะดวกในการให้ บริ การ K-Contact Center อาทิ การเพิ%มหมายเลขโทรศัพท์ใหม่ เพื%อให้กลุ่มลูกค้าบุคคลพิเศษ ลูกค้าเดอะพรี เมียร์ และลูกค้าญี%ปุ่น นอกจากนี. ยังมี การขยายขอบเขตการ ให้บริ การไปสู่ สังคมออนไลน์ท. งั Facebook และ Twitter ในชื% อ KBank Live ทุกวันตลอด 24 ชัว% โมง ทําให้มีจาํ นวนสมาชิกมากเป็ นอันดับ 2 และ อันดับ 4 ของโลก ตามลําดับ ในด้านจํานวนสมาชิ กที% มากที% สุดในหมวด ธนาคารและสถาบัน การเงิ น ขณะเดี ย วกัน ก็ ใ ช้เ ป็ นช่ อ งทางให้ ค วาม ช่วยเหลือลูกค้าในการใช้บริ การทางอินเทอร์ เน็ตและโทรศัพท์มือถือได้ทุก วันตลอด 24 ชัว% โมง ซึ%งช่วยตอกยํ.าความเป็ นผูน้ าํ ในโลกดิจิตอลของธนาคาร นอกเหนื อไปจากการพัฒนาบริ การ K-Contact Center ให้สามารถแนะนํา และสมัครใช้ผลิตภัณฑ์และบริ การเสริ มต่างๆ ที% สอดคล้องกับพฤติ กรรม และความต้องการของลูกค้าแต่ละรายได้อย่างมีประสิ ทธิภาพมากขึ.น • การพัฒนาศั กยภาพของช่ องทางเพืE อรองรั บการให้ บริ การลูกค้ าของเครื อ ธนาคาร กสิ ก รไทยเพิE ม เติ ม โดยขยายขอบเขตของการให้บ ริ ก าร รวมถึงนําเสนอสิ ทธิประโยชน์ผลิตภัณฑ์และบริ การของธนาคารและบริ ษทั ในเครื อธนาคารกสิ กรไทย อาทิ K-Credit Card และ K-Express Cash แก่ ลูกค้า KAsset และ KLeasing รวมถึงการทดลองเปิ ดให้บริ การรับคําสัง% ซื. อ กองทุน LTF และ RMF ของ KAsset ผ่านพนักงานที%ได้รับอนุญาตเป็ นผู ้ ติ ด ต่ อ ผู ้ล งทุ น จากสํา นัก งานคณะกรรมการกํา กับ หลัก ทรั พ ย์แ ละตลาด หลักทรัพย์ • การตอบสนองปริ มาณธุรกรรมทีE เพิE มขึนR โดยมีลูกค้ารายย่อยใช้บริ การ 02 888 8888 กว่า 27 ล้านรายการ เพิ%มขึ.นร้อยละ 18 จากปี 2552 ขณะที% ลูกค้า
130 การดําเนินการทีส ําคัญในปี 2553 กลุ่มพิเศษติ ดต่อใช้บริ การกว่า 1.1 ล้านรายการ เพิ%มขึ.นจากปี ก่อนร้อยละ 116 ซึ%งสะท้อนความสําเร็ จของการ ยกระดับคุณภาพการบริ การและการ ขายอย่า งสมํ%า เสมอ ส่ ง ผลให้ผ ลสํา รวจความ พึ ง พอใจของลู ก ค้า หลังจากได้รับบริ การทันทีในปี 2553 คงระดับสู งที% ร้อยละ 96.60 อีกทั.ง สัดส่ วนการให้บริ การที% จบในการติดต่อครั.งแรกของลูกค้าสู งขึ.นถึงร้อยละ 94.78 ซึ%งสูงกว่าค่ามาตรฐานการบริ การในตลาดเงิน
บริการธนาคารทางอิเล็กทรอนิกส์ ช่ องทางหลัก ในการให้ บริการลูกค้ า เครื องให้ บริการอัตโนมัติ • K-ATM (บริการธนาคารทาง เอทีเอ็ม กสิกรไทย)
จํานวนเครื องให้ บริการ (เครื อง) / การดําเนินการทีส ําคัญ 2553 2552 7,471 6,955 • การเปิ ดตัว “K-My ATM ตู้นีรR ้ ู ใจ เลือกได้ ตามสไตล์ คุณ” ซึ% งเป็ นนวัตกรรม เครื% อ ง เอที เ อ็ม รู ป แบบใหม่ค รั. งแรกในประเทศไทยที% ใ ห้ผูถ้ ื อ บัต ร เอที เ อ็มและบัต รเดบิ ต ธนาคารกสิ ก รไทยสามารถเลื อ กรู ป แบบพื. นหลัง หน้าจอเอทีเอ็ม พร้อมบันทึกและ เรี ยกดูประเภทธุรกรรมที%ใช้บ่อยได้ เพื%อ เพิม% ความสะดวกและความรวดเร็ วในการทํา ธุรกรรมให้แก่ผใู ้ ช้บริ การ โดย ได้ติดตั.งเครื% องเอทีเอ็มรู ปแบบดังกล่าวในพื.นที% ยุทธศาสตร์ แล้ว 2,200 เครื% อง • การจัดทําโครงการ Localized Language ตามพื.นที%กระจายตัวของฐานลูกค้า โดยเพิ%มภาษาพม่า ยาวี และลาว ที%หน้าจอเครื% องเอที เอ็ม เพื%อรองรับการใช้ บริ การของลูกค้า ชาวต่างชาติ • การจัดทําโครงการประหยัดไฟฟ้ า โครงการปรั บเปลีEยนคุณภาพ-ขนาดความ ยาวกระดาษสลิ ปเอที เอ็ม และโครงการ Peak-Time Management ที% ช่วย จัดการให้เครื% อง เอที เอ็มให้บริ การลูกค้าได้ในช่วงเวลาที% ลูกค้าต้องการ ส่ ง ผลให้ ส ามารถประหยัด ค่ า ใช้จ่ า ยได้ก ว่า 100 ล้า นบาท อี ก ทั.ง สอดคล้องกับกิจกรรมรณรงค์ลดภาวะโลกร้อน KBank Eco-Green Trip
131 ช่ องทางหลัก ในการให้ บริการลูกค้ า • K-CDM (บริการรับฝากเงินสด อัตโนมัตกิ สิกรไทย) • K-PUM (บริการปรับสมุดเงิน รับฝากอัตโนมัตกิ สิกรไทย)
จํานวนเครื องให้ บริการ (เครื อง) / การดําเนินการทีส ําคัญ 2553 2552 1,014 973
906
865
การดําเนินงานทีส ําคัญในปี 2553 อินเทอร์ เน็ตแบงก์ กงิM • K-Cyber Banking (บริการธนาคารทาง อินเทอร์ เน็ตกสิกรไทย)
• การเพิE ม ช่ อ งทางการรั บ สมัค รบริ การ ที% ส ะดวก รวดเร็ ว และไม่ ต ้อ งใช้ เอกสารผ่านเครื% องเอทีเอ็ม • การพัฒนาระบบการโอนเงิ น อาทิ การเลื อกบันทึ กข้อมูลหมายเลขบัญชี ปลายทาง และข้อมูลอื%นๆ ของผูร้ ับเงิน เพื%อความสะดวกในการทํารายการที% เพิม% ขึ.น • การพัฒนาระบบด้ านความปลอดภัยเพืEอความมัEนใจในการทําธุรกรรม โดย การเพิ% ม ข้อมู ล สําคัญ เข้า ไปเป็ นส่ ว นหนึ% ง ของข้อ ความ SMS ให้ลู ก ค้า สามารถตรวจสอบ ความถูกต้องก่อนยืนยันการทํารายการเพิ%มบัญชีบุคคล อื%น หรื อการโอนเงินไปบัญชีอื%นของธนาคารกสิ กรไทย/ต่างธนาคาร รวมถึง การเปิ ดให้ลู ก ค้า สามารถดาวน์ โ หลด ซอฟท์แ วร์ ค ้น หาและกํา จัด ไวรั ส คอมพิวเตอร์ ได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย ซึ% งเป็ นความร่ วมมื อระหว่างบริ ษทั เท รนด์ ไมโคร อิงค์ จํากัด และธนาคารพาณิ ชย์ขนาดใหญ่ 4 แห่ง
K-MOBILE BANKING (บริการธนาคารทางโทรศัพท์ มอื ถือกสิกรไทย) • K-MOBILE • การริ เริE มบริ การ i-Top Up (ไอ-ท็อป อัพ) ซึ% งเป็ นความร่ วมมือระหว่าง ธนาคารกับ บมจ. สามารถ ไอ-โมบาย เพื%อให้บริ การเติมเงินที%สะดวกยิง% ขึ.น BANKING SMS ด้วยไอคอนพิเศษ บนโทรศัพท์มือถือ i-Mobile • K-MOBILE BANKING ATM SIM
• การพั ฒ นาระบบการบริ การอย่ า งต่ อ เนืE อ ง อาทิ การให้ ลู ก ค้า สามารถ ลงทะเบียนทาง K-Contact Center เพื%อรับแจ้งผลการทํารายการ ธุรกรรมทางการเงิ นทุกรายการสําหรับใช้เป็ นหลักฐานการโอนเงิ น/ชําระ
132 การดําเนินงานทีส ําคัญในปี 2553 เงินทางอีเมล์ การเพิม% ความสะดวกให้ลูกค้าสามารถเพิม% บัญชีออมทรัพย์และ กระแสรายวันของตนเองถึง 8 บัญชี เพื%อผูกกับโทรศัพท์มือถื อที% ได้สมัคร บริ การไว้ การขอเพิ%มวงเงิ นการใช้บริ การ/วงเงิ นการโอนเงิ นได้สูงสุ ดถึ ง 2 ล้านบาทที%สาขาของธนาคารทัว% ประเทศ ตลอดจน การขยายการให้บริ การ ชําระเงินทางโทรศัพท์มือถือในรู ปแบบออนไลน์ (Push Bill Online) ด้วย การเพิ%มจํานวนร้านค้าและเครื อข่ายธนาคารพันธมิตรในการโอนเงิ นต่าง ธนาคาร • K-MOBILE BANKING PLUS
• การพัฒนาบริ การให้ สามารถใช้ ได้ กับโทรศัพท์ มือถือกลุ่ม Smart Phone ได้ อย่ าง ครอบคลุมมากขึนR ไม่วา่ จะเป็ น iPhone BlackBerry และ HTC โดยในส่ วน ของ HTC นั.น ได้ร่วมมื อกับธนาคารและไมโครซอฟท์ติดตั.ง โปรแกรม K-MOBILE BANKING PLUS บนมือถือเป็ นเจ้าแรกในประเทศ เพื%อ ให้ส ามารถเปิ ดใช้บริ การได้ง่ ายยิ%งขึ. น นอกจากนี. ยังมี การเพิ%ม เมนู สําหรับเครื% องโทรศัพท์ iPhone ในการค้นหาเครื% องเอที เอ็มและสาขาของ ธนาคารภายในรัศมีที%กาํ หนด • การพัฒนาบริ การด้ าน K Now ในรู ปแบบของ Mobile Magazine เพื%อให้เป็ น มากกว่าธนาคารทางมือถือ ด้วยการเพิ%มเนื. อหาความรู ้และสิ ทธิ ประโยชน์ ต่างๆ ให้กบั ผูใ้ ช้งานในรู ป Mobile Coupon ที%สามารถใช้แสดงกับร้านค้าที% ร่ วมรายการเพื%อขอรับ สิ ทธิประโยชน์ • การพั ฒ นาระบบการบริ การต่ าง ๆ ในลั ก ษณะเดี ย วกั บ K-MOBILE BANKING ATM SIM และการเพิม% บันทึกเมนู K-Saving Memo เพื%อบันทึก เงินออมให้ลูกค้าสามารถบันทึกรายรับ-รายจ่ายทางโทรศัพท์มือถือ
133
• K-Payment Gateway (บริการรับชําระค่ าสินค้ า และบริการทาง อินเทอร์ เน็ตกสิกรไทย)
การดําเนินงานทีส ําคัญในปี 2553 • การเปิ ดตัวเว็บไซต์ www.2010MegaSale.com ซึ% งเป็ นความร่ วมมือระหว่าง ธนาคารกับ พันธมิ ตรกว่า 20 ราย เพื% อรองรั บการซื. อขายสิ นค้าออนไลน์ ที% สอดคล้องกับไลฟ์ สไตล์ของคนรุ่ นใหม่ พร้อมประกาศความเป็ นผูน้ าํ ในบริ การรับ ชําระเงินด้วยบัตรเครดิตบนอินเทอร์เน็ต • การยกระดับความปลอดภัยของการทําธุรกรรม ด้วยบริ การ Verified by VISA (VbV) ซึ%งเป็ นบริ การที%ธนาคารร่ วมกับบริ ษทั วีซ่า อินเตอร์เนชัน% แนล นํารหัสผ่านแบบใช้ ครั.งเดียว (One-Time Password: OTP) ส่ งผ่านช่องทาง SMS ไปยังหมายเลขโทรศัพท์มือถือของผูถ้ ือบัตร ขณะทํารายการซื. อของ ออนไลน์ ซึ% งนับเป็ นธนาคารแรกในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ที%ให้บริ การใน ลักษณะดังกล่าว อีกทั.งได้รับการเผยแพร่ เป็ นตัวอย่างในเว็บไซต์ www.visaasia.com อีกด้วย • การพั ฒ นาความสามารถของระบบเพืE อ ตอบโจทย์ ลู ก ค้ าในลั ก ษณะ เฉพาะเจาะจง อาทิ ระบบที%รองรับการชําระเงินในสกุลเงินตราต่างประเทศ ได้เพิ%มขึ.นจาก 10 สกุล มาเป็ น 36 สกุลเงิ น เพื%อรองรับความต้องการของ ลูกค้าในกลุม่ อุตสาหกรรมท่องเที%ยว การพัฒนาระบบประเภท Virtual EDC เพื%อรองรับการซื. อกองทุน RMF และ LTF ด้วยวงเงิ นสิ นเชื% อที% ใช้ หลักประกันกองทุนสํารองเลี.ยงชี พกับ KAsset และการพัฒนาการรับบัตร เครดิ ต/ซื. อกองทุ นในรู ปแบบการผ่อนชําระ อันช่ วยให้ลูกค้าได้รับความ สะดวกและสิ ทธิประโยชน์ที%สูงขึ.น • การยกเว้ นค่ าธรรมเนี ยมให้ กับลูกค้ าทีE ได้ รับผลกระทบจากเหตุรุนแรงทาง การเมื อ ง โดยธนาคารร่ ว มกับ บริ ษัท ตลาด ดอท คอม จํา กัด ให้ ก าร สนับสนุนด้วยการยกเว้น ค่าธรรมเนี ยมในระบบ K-Payment Gateway ที% ใช้รับชําระเงิ นผ่านบัตรเครดิ ตทาง อิ นเทอร์ เน็ตเป็ นระยะเวลา 3 เดื อน สําหรับร้านค้าที%เข้าร่ วมโครงการและผ่านการพิจารณาเปิ ดร้านค้าออนไลน์ ในตลาด ดอท คอม
134 ฐานะทางการเงิน เงินให้ สินเชื อและเงินรับฝากของธนาคาร เงินให้ สินเชื อแยกตามกลุ่มธุรกิจลูกค้ าและกลุ่มผลิตภัณฑ์ สิ นเชื อแยกตามกลุ่มธุรกิจลูกค้ าและกลุ่มผลิตภัณฑ์ * หน่วย: ล้านบาท 31 ธ.ค. 2553
31 ธ.ค. 2552** ธุ ร กิ จ ลู ก ค้ า ธุ ร กิ จ ลู ก ค้ า ธุ ร กิ จ ลู ก ค้ า ธุ ร กิ จ ลู ก ค้ า ธุ ร กิ จ ลู ก ค้ า ธุ ร กิ จ ลู ก ค้ า ผู้ประกอบ ผู้ประกอบ บรรษัท บุคคล บรรษัท บุคคล การ การ 315,507 399,713 213,164 285,596 362,279 164,249 223,190 370,566 214,297 339,860
เงินให้ สินเชื อของธนาคาร สิ นเชื%อในประเทศ สิ นเชื% อเพื% อ การค้ า ระหว่ า ง 82,630 ประเทศ วิเทศธนกิจ 9,687 สิ นเชื%อเพื%อที%อยูอ่ าศัย
29,147
68,850
22,419
2,449 159,751
สิ นเชื%อบัตรเครดิต 36,719 สิ นเชื%อผูบ้ ริ โภค 16,694 หมายเหตุ: * ไม่รวมสิ นเชื%อที%ไม่ก่อให้เกิดรายได้ และสิ นเชื%ออื%น อาทิ สิ นเชื%อบริ ษทั ย่อย และอื%น ๆ ** เป็ นตัวเลขหลังจากมีการโอนลูกค้าในแต่ละกลุ่มลูกค้าตามผูด้ ูแลใหม่
126,708 27,021 10,520
หากพิจารณาการเปลี%ยนแปลงของยอดสิ นเชื%อที%จาํ แนกตามกลุ่มธุ รกิจลูกค้าและกลุ่มผลิตภัณฑ์ พบว่า ณ สิ. นปี 2553 สิ นเชื%อธุรกิจลูกค้าบรรษัท เพิม% ขึ.นจํานวน 29,911 ล้านบาท หรื อร้อยละ 10.47 จาก ณ สิ. นปี 2552 โดยเป็ นผลหลักจากการเพิ%มขึ.นของสิ นเชื%อเพื%อการค้าระหว่างประเทศ ซึ% งส่ วนใหญ่เป็ น สิ นเชื% อเพื%อการหมุนเวียนระยะสั.นใน อุตสาหกรรมเกษตรแปรรู ป ยานยนต์ และสิ นเชื% อระยะยาวใน ธุรกิจโรงไฟฟ้ า ขณะที%สินเชื%อธุรกิจลูกค้าผูป้ ระกอบการ ณ สิ. นปี 2553 เพิ%มขึ.นจํานวน 37,434 ล้านบาท หรื อร้อยละ 10.33 จาก ณ สิ. นปี 2552 นําโดยการเพิ%มขึ.นของสิ นเชื% อในประเทศเป็ นหลัก โดยเฉพาะ สิ นเชื%อเพื%อการหมุนเวียนระยะสั.นในธุ รกิจการค้าสิ นค้าเกษตร วัสดุก่อสร้าง เครื% องจักร ยานยนต์ และ
135 เครื% องใช้ไฟฟ้ า สําหรับสิ นเชื% อธุ รกิจลูกค้าบุคคล ณ สิ. นปี 2553 เพิ%มขึ.นจํานวน 48,915 ล้านบาท หรื อ ร้อยละ 29.78 จาก ณ สิ. นปี 2552 โดยสิ นเชื%อเพื%อที%อยูอ่ าศัยเติบโตเชิ งปริ มาณมากที%สุด อันเป็ นผลจาก มาตรการกระตุน้ อสัง หาริ มทรัพย์ของภาครั ฐในช่ วงครึ% งแรกของปี และการสร้ างความสัม พันธ์ที% ดี ต่อเนื%องกับบริ ษทั พันธมิตรอสังหาริ มทรัพย์ช. นั นําต่าง ๆ ขณะที%สินเชื%อผูบ้ ริ โภคมีอตั ราการขยายตัวสู ง ที%สุด จากการนําเสนอโครงการส่ งเสริ มการขายที%เหมาะสมตรงกลุ่มเป้ าหมาย เงินรับฝากแยกตามประเภทบัญชี เงินรับฝากของธนาคาร* หน่วย: ล้านบาท
เงินรับฝากรวม เงินรับฝากกระแสรายวัน เงินรับฝากออมทรัพย์ เงินรับฝากประจํา หมายเหตุ: * เฉพาะธนาคาร
สัดส่ วน (ร้ อยละ) 100.00 5.60 62.48 31.92
ยอดเงินรับฝาก 31 ธ.ค. 2553 1,102,229 61,698 688,650 351,881
31 ธ.ค. 2552 978,064 55,613 539,341 383,110
การเปลีย นแปลง เพิม (ลด) ร้ อยละ 124,165 12.69 6,085 10.94 149,309 27.68 (31,229) (8.15)
ยอดเงิ นรั บฝากรวมของธนาคาร ซึ% ง มาจากเงิ นรั บฝากของธุ รกิ จลู ก ค้าบรรษัท ธุ รกิ จลู ก ค้า ผูป้ ระกอบการ และธุ รกิ จลูกค้าบุค คล ณ สิ. นปี 2553 เพิ%ม ขึ.นจํานวน 124,165 ล้านบาท หรื อร้ อยละ 12.69 จาก ณ สิ. นปี 2552 จากการเพิม% ขึ.นของเงินรับฝากออมทรัพย์และเงินรับฝากกระแสรายวัน ขณะที% เงิ นรั บ ฝากประจํา ลดลงจากการครบกําหนด ซึ% ง ธนาคารได้มี การเสนอทางเลื อกการลงทุนอื% นที% ใ ห้ ผลตอบแทนสู งเป็ นการทดแทน การบริหารเงิน นอกจากการบริ หารจัดการสภาพคล่องอย่างเหมาะสมภายใต้สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจและ การเมืองที%เปลี%ยนแปลงไปในแต่ละช่วงเวลา รวมถึงสอดคล้องกับข้อกําหนดของทางการแล้ว จากการ
136 คาดการณ์ถึงแนวโน้มอัตราดอกเบี.ยในประเทศที%อยูใ่ นทิศทางปรับตัวเพิ%มขึ.น ธนาคารได้มีการปรับกล ยุทธ์การลงทุน โดยลดการลงทุนใน พันธบัตรระยะยาวลง และเพิ%มการลงทุนในพันธบัตรระยะสั.น ส่ งผลให้พนั ธบัตรที%ลงทุนนั.นมีการครบกําหนดอย่างสมํ%าเสมอ ซึ% งเป็ นผลดีต่อธนาคารเนื%องจากอัตรา ผลตอบแทนที%ได้รับจากการลงทุนเพิม% ขึ.นอย่างต่อเนื%อง ขณะเดียวกัน ในฐานะที%เป็ นสถาบันการเงินคู่คา้ (Primary Dealers) ธนาคารได้ยึดแนวทางการ บริ หารสภาพคล่องประจําวันให้มี ความยืดหยุ่นและรัดกุมมาอย่างต่อเนื% อง นอกจากนั.น ก็ยงั คงเน้น ดําเนิ นกลยุทธ์ในการเพิ%มปริ มาณธุ รกรรมกับสถาบันการเงิ นในตลาด เพื%อขยายฐานแหล่งเงิ นกูแ้ ละ แหล่ ง เงิ นให้กู้ยืม ให้ส ามารถปรั บ สภาพคล่ องกับ ตลาดเงิ นได้ดีย%ิง ขึ. น ทั.ง นี. เพื%อ รั ก ษาฐานะคู่ค ้า กับ ธนาคารแห่งประเทศไทยให้คงอยูต่ ลอดไป รายได้ หลักจากการบริหารเงิน
โครงสร้ างรายได้หลักจากการบริหารเงิน (สําหรับบัญชีเพือ การธนาคาร) รายได้ดอกเบียM รับและเงินปันผล* รายการระหว่างธนาคารและตลาดเงิน** เงินลงทุน รวม หมายเหตุ: * เป็ นตัวเลขในเชิงการจัดการ ** รวมรายการเงินให้สินเชื%อ
สั ด ส่ ว น 2553 (ร้ อยละ)
2552
หน่วย: ล้านบาท การเปลีย นแปลง เพิม (ลด) ร้ อยละ
35.97 64.03 100.00
1,584 3,961 5,545
705 114 819
2,289 4,075 6,364
44.51 2.88 14.77
ในปี 2553 ธนาคารมี รายได้หลัก จากการบริ หารเงิ นสําหรับบัญชี เพื%อการธนาคาร โดยเป็ น รายได้ดอกเบี.ยและเงิ นปั นผลทั.งสิ. นรวมเป็ นจํานวน 6,364 ล้านบาท เพิ%มขึ.นจากปี 2552 จํานวน 819 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 14.77 โดยมีสาเหตุจากสภาพคล่องที%เพิ%มขึ.นจากปี 2552 ประมาณ 77,000 ล้าน บาท ประกอบกับอัตราดอกเบี.ยที%มีการปรับขึ.นในช่วงครึ% งหลังของปี 2553
137
ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) ข้ อมูลทัว ไป ที%ต.งั สํานักงานใหญ่ เลขที% 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจกั ร เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร 10900 ประเภทธุรกิจ
ธนาคารพาณิ ชย์
จดทะเบียนเป็ นนิติบุคคลตามกฎหมายว่าด้วย บริ ษทั มหาชนจํากัด ทะเบียนเลขที% 0107536000102 เมื%อวันที% 19 กุมภาพันธ์ 2536 โทรศัพท์
0-2544-1111
โทรสาร
0-2544-2658
Website
www.scb.co.th
ศูนย์ลูกค้าสัมพันธ์ 0-2777-7777
138 ประวัติความเป็ นมา 2449 – 2475 ก่อรากฐานการธนาคารไทย ประวัติศาสตร์ หน้าแรกของธนาคารไทยพาณิ ชย์ ซึ% งนับเป็ นสถาบันการเงินแห่ งแรกของชาว สยามนั.น เริ% มต้นขึ.นในนาม "บุคคลัภย์" (Book Club) โดย พระเจ้าน้องยาเธอกรมหมื%นมหิ ศรราชหฤทัย ซึ% ง ขณะนั.นทรง ดํา รงตําแหน่ ง เสนาบดี ก ระทรวง พระคลัง มหาสมบัติใ นพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงตั.งพระทัยอย่างแน่วแน่ที%จะให้มีสถาบันการเงินของสยาม เป็ นฐานรองรับ การเติบโตทางด้านเศรษฐกิจการเงินของประเทศ จากการที%โลกตะวันตกได้ขยายเส้นทางการค้าทาง ทะเลมาสู่ ดินแดนสยามเป็ นอย่างมากในยุคนั.น ในขั.นแรกจึงทรงริ เริ% มดําเนินกิจการธนาคารพาณิ ชย์เป็ น การ ทดลองในนาม "บุคคลัภย์" (Book Club)
รู ปที 3 วันที% 4 ตุลาคม 2447 บุคคลัภย์เปิ ดทําการภายในอาคารสํานักงานพระคลังช้าง ที%ยา่ นบ้านหม้อ ใจกลางพระนครโดยมีพระสรรพการหิ รัญกิจ เป็ นผูจ้ ดั การ สํานักงานแห่งนี.ประกอบด้วยเจ้าหน้าที%ท. งั ชาวไทยและชาวต่างชาติ
ต่อมากิจการทดลองประสบความสําเร็ จเป็ นอย่างดีพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั จึง ทรงมีพระบรมราชานุ ญาตให้ต. งั เป็ นธนาคารในนาม "บริ ษทั แบงก์สยามกัมมาจล ทุนจํากัด" (Siam Commercial Bank, Limited) เมื%อวันที% 30 มกราคม พ.ศ. 2449 ประกอบธุ รกิจธนาคารพาณิ ชย์ อย่างเป็ น ทางการ นับตั.งแต่น. นั มาและได้กลายมาเป็ น "ต้นแบบธนาคารไทย" โดยริ เริ% ม นําระบบและแนวคิดของ การให้บริ การรับฝากเงินออมทรัพย์ และบริ การบัญชี กระแสรายวัน (Current Account) ถอนเงินโดยใช้
139 เช็คมาให้บริ การแก่ประชาชน พร้อมทั.งจัดตั.งสาขาขึ.นทั.งในกรุ งเทพฯ และภูมิภาคต่างๆ นอกจากนี. ธนาคารยังมีส่วนร่ วม ในการก่อกําเนิดและวางรากฐานสหกรณ์การเกษตรของประเทศ
รู ปที 4 พุทธศักราช 2454 ธนาคารเปลี%ยนมาใช้ “ตราครุ ฑพ่าห์” เป็ นตราประจําธนาคาร แทนตราอาร์มแผ่นดินในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั
2475 – 2500 มุง่ มัน% ฟันฝ่ าอุปสรรค สยามประเทศต้องเผชิ ญกับ การเปลี% ย นแปลงครั. งใหญ่ท. งั จากการเปลี% ย นแปลงระบอบการ ปกครอง และจากสงครามโลกครั.งที%2 บริ ษทั แบงก์สยามกัมมาจล ทุนจํากัด ในขณะนั.นได้เปลี%ยนชื%อ ตามนโยบาย "เชื.อชาตินิยม" ของรัฐบาลที%เปลี%ยนชื%อประเทศจาก "สยาม" เป็ น "ไทย" โดยเปลี%ยนมาเป็ น ธนาคารไทยพาณิ ชย์ พร้อมทั.งมีการเปลี%ยนแปลงโครงสร้างการบริ หารของธนาคารใหม่ให้ผบู ้ ริ หารชาว ไทยที%มีความรู ้ความสามารถได้ข. ึนเป็ นผูบ้ ริ หาร แทนที%จะเป็ นชาวตะวันตกแบบเดิม โดยธนาคารยังคง ยึดมัน% ในนโยบายความมัน% คงของธนาคารเป็ นสําคัญ และเนื%องจากธนาคาร ได้ส%ังสมความรู ้ตลอดจน ประสบการณ์ดา้ นการเงิน ธนาคารจึงมีบทบาทในการอํานวยความสะดวกด้านการเป็ นแหล่งเงินทุน และการ เป็ นตัวกลางด้านการเงินระหว่างประเทศให้กบั พ่อค้าตลอดช่วงสงครามการให้กูย้ ืมเงินเพื%อ สร้างบ้านการส่ งเสริ มพ่อค้าคนไทยในการประกอบธุ รกิจให้ได้รับความสะดวกสบาย รวมทั.งการตั.ง บริ ษทั คลังสิ นค้าเพื%อสร้างความปลอดภัยในการเก็บรักษาสิ นค้าให้แก่ลูกค้า นอกจากนี.ธนาคารได้ถวาย ความจงรักภักดีแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั และบําเพ็ญกุศลสาธารณประโยชน์ดว้ ยการถวายผ้า พระกฐินการสร้างตึกโรงพยาบาลให้แก่โรงพยาบาลศิริราช เป็ นต้น
140
รู ปที 5 วันที% 1 กุมภาพันธ์ 2485 นายเล้ง ศรี สมวงศ์ เป็ นคนไทยคนแรก ที%ดาํ รงตําแหน่งผูจ้ ดั การใหญ่ของธนาคารไทยพาณิ ชย์
2500 – 2516 หนุนเนื%องเมืองไทยพัฒนา บทบาทของธนาคารไทยพาณิ ชย์ในการเป็ นหนึ%งในฟันเฟื องที%ช่วยพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ไทยได้ดาํ เนินมาอย่างต่อเนื%องจนถึงยุคที%ความมัน% คงภายในประเทศ เป็ นเรื% องที%ตอ้ งให้ความสําคัญมาก ที%สุด โดยเฉพาะอย่างยิ%ง การระวังภัยจากลัทธิ คอมมิวนิ สต์ ธนาคารยังคงมุ่งมัน% ที%จะวางรากฐาน ทางด้านการเงิ นการธนาคารให้แข็งแกร่ ง และมัน% คงขึ.น พร้ อมที%จะเป็ นกําลังหล่อลื% นการพัฒนา เศรษฐกิ จในด้านอื%นๆ ด้วยเช่นกันโดยธนาคารได้ปรับปรุ งระบบงานของธนาคารให้ทนั สมัยและมี ประสิ ทธิ ภาพพร้อมให้บริ การลูกค้า ทําการปรับปรุ งโครงสร้างการบริ หารงานพร้อมทั.งให้ความสําคัญ แก่งานด้านทรัพยากรบุคคล ด้วยธนาคารตระหนักถึงคุณค่าความสําคัญของบุคลากรภายในธนาคารจึง จัดให้มีการพัฒนาพนักงาน ทั.งด้านการบริ การและปฏิบตั ิการจัดสวัสดิการให้แก่พนักงาน รวมทั.งการ ทํากิจกรรมเพื%อสังคม ทั.งการทํานุบาํ รุ ง และจรรโลงพระพุทธศาสนา การสนับสนุนการแพทย์ การ สาธารณสุ ขพื.นฐานซึ%งบทบาท ของธนาคาร ไทยพาณิ ชย์ในยุคนี. เปรี ยบเสมือนต้นโพธิ ที%ได้หยัง% รากลึก มีลาํ ต้นที%แข็งแรงและพร้อมจะแตก กิ%งก้านสาขาเป็ นไม้ใหญ่อย่างรวดเร็ ว และสง่างาม
141
รู ปที 6 วันที% 15 ตุลาคม 2505 ธนาคารเริ% มใช้เครื% องลงบัญชี Post – Tronic ซึ%งเป็ นระบบอิเล็กทรอนิกส์ที%นบั ว่าทันสมัยในการลงบัญชีเดินสะพัด
รู ปที 7 พุทธศักราช 2516 ธนาคารเริ% มรับพนักงานสตรี เข้าปฏิบตั ิงาน
2516 – 2531 แผ่สาขา ลํ.าหน้านวัตกรรม "มัน% คงด้วยรากฐาน บริ การด้วยนํ.าใจ" คือคําขวัญของธนาคารที%เกิดขึ.นในยุคนี. ซึ% งเป็ นยุคที%เกิด การเปลี%ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองที%สําคัญอีกครั.งหนึ%งจากเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519 แต่ก็เป็ นยุคที%ธนาคาร ก้าวไปข้างหน้า อย่างแข็งแกร่ งด้วยรากฐานที%มน%ั คงพร้อม การปรับปรุ ง และเปลี%ยนแปลงนานาประการ เพื%อเข้าสู่ ยุคธนาคารอิเล็กทรอนิ กส์ ทั.งการปรับปรุ ง โครงสร้างการบริ หารการขยายเครื อข่ายของธนาคาร ทั.งในประเทศ และต่างประเทศ โดยธนาคารได้นาํ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มาใช้ในงานด้านต่างๆ ของธนาคารทั.งที%สํานักงานใหญ่ และสาขาต่างๆเพื%อให้ การบริ การลูกค้าเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว และถูกต้องแม่นยํา พร้อมทั.งสร้ างมิติใหม่ของการให้บริ การ ธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ด้วยการเปิ ดให้บริ การ Automatic Teller -Machine (ATM) หรื อ เป็ นที%รู้จกั กันดีในขณะนั.นว่า "บริ การเงินด่วน" เป็ นธนาคารแรกในประเทศไทย รวมถึงการให้บริ การ
142 ธนาคารทางโทรศัพท์(Tele-Banking) แก่ลูกค้ารายบุคคล และอินโฟแบงกิ.ง ธนาคารเพื%อธุ รกิจ (InfoBanking) แก่ลูกค้าองค์กร นอกเหนือจากการมุ่งมัน% พัฒนา เพื%อการให้บริ การลูกค้าแล้วนั.น ธนาคารยัง มุ่งส่ งเสริ มการศึกษา ด้วยการสนับสนุนทุนการศึกษา การก่อตั.ง "พิพิธภัณฑ์ธนาคารไทย ธนาคารไทย พาณิ ชย์" รวมทั.งการ ทํานุ บาํ รุ ง และจรรโลงพระพุทธศาสนา การพัฒนาคุณภาพชี วิตชุ มชน ร่ วม อนุรักษ์และ เผยแพร่ ศิลปวัฒนธรรมของประเทศ
รู ปที 8 วิวฒั นาการการดําเนินงานของธนาคารไทยพาณิ ชย์
143 2531 – 2540 ขยายธุรกิจสร้างพันธมิตรสู่ สากล "ยุคทองของเศรษฐกิจไทย" และ "ปั ญหาเศรษฐกิจฟองสบู่" ต่างเกิดขึ.นในยุคนี. ซึ% งเป็ นยุคที% ธนาคาร และระบบสถาบันการเงิน อื%นๆในประเทศ ต่างก็เติบโตเคียงคู่ไปกับการขยายตัวของ ระบบ เศรษฐกิจและต้องเผชิญปั ญหาเมื%อประเทศเผชิ ญกับภาวะ วิกฤตใน พ.ศ. 2540 ซึ% งในยุคนี. ผลการ ดําเนินงานของธนาคารในด้านต่างๆ ได้เติบโตอย่างรวดเร็ วมีการขยายธุ รกิจอย่างรุ ดหน้า มัน% คง จน ได้รับการยกย่องจากนิตยสารการเงินธนาคารให้เป็ น "ธนาคารแห่งปี " (Bank of the Year) ถึง 4 ปี ซ้อน คือ พ.ศ. 2532–2535 ในฐานะที%เป็ นธนาคารพาณิ ชย์ที%มีผลงานเด่นสุ ดของการธนาคารพาณิ ชย์ไทยอย่าง รอบด้าน และจากการขยายตัวของธนาคาร รวมทั.งการเตรี ยมพร้ อมรองรับความเจริ ญในอนาคต ธนาคารจึงพิจารณา ย้ายที%ทาํ การจากชิดลม ไปยังสํานักงานใหญ่แห่งใหม่ที% SCB Park Plaza ในปี พ.ศ. 2539 ซึ%งอาคารสํานักงานใหญ่ แห่งใหม่ของธนาคารนับได้วา่ เป็ น อาคารอัจฉริ ยะแห่งหนึ%ง ของประเทศ ไทยต่อมาในช่วงปี พ.ศ.2540 ที%ประเทศไทย ได้เผชิญกับปั ญหาวิกฤตทางเศรษฐกิจ และปั ญหาการขาด ความ เชื%อมัน% ในสถาบันการเงินของไทย ธนาคารยังคงได้รับความไว้วางใจ และความเชื%อมัน% จากลูกค้า เป็ นอย่างสู งโดยยอด เงินฝากรวมของธนาคาร (ณ วันที% 31 ธันวาคม 2540) มีอตั ราเติบโตสู งที%สุดใน ระบบธนาคารพาณิ ชย์ ในปี เดียวกันนี.เอง ธนาคารได้ทาํ การเพิ%มทุนอีกครั.งหนึ%ง เพื%อให้เป็ น ไปตาม มาตรการของธนาคารแห่งประเทศไทย โดยที%การดําเนินงาน ของธนาคาร ทั.งทางด้านธุ รกิจและด้าน กิจกรรมองค์กร เพื%อสังคมยังคงยึดมัน% ในหลักการมุง่ ไปที%คุณภาพและได้ ประสิ ทธิผลคุม้ ค่า
รู ปที 9 สัญลักษณ์ของธนาคารไทยพาณิ ชย์
144 2541-2542 ก้าวกล้าฝ่ ามรสุ ม ผลจาก"ปั ญหาเศรษฐกิจฟองสบู่"ได้ส่งผลต่อเนื% องต่อเศรษฐกิ จของประเทศไทย แม้แต่การ ดําเนินงานของธุ รกิจธนาคารพาณิ ชย์ต่างได้รับ ผลกระทบอย่างรุ นแรง จากสภาวะเศรษฐกิจที%ซบเซา อย่างหนักและจากการดําเนินมาตรการที%เข้มงวดตามกรอบของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ซึ%งธนาคารไทยพาณิ ชย์ได้รับ ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจอย่างหลีกเลี%ยงไม่ได้จึงถือได้วา่ ยุคนี. เป็ นยุค ที%วิกฤตของ ธนาคารโดยมีปริ มาณสิ นเชื% อด้อยคุณภาพ เพิ%มขึ.นตามลําดับธนาคารจึงมุ่งแก้ปัญหาที% เกิดขึ.น โดยการพยายามรักษาความพอเพียงของเงินกองทุนการปรับปรุ งโครงสร้างหนี. การปรับปรุ ง โครงสร้างองค์กร ของธนาคารและการตัดทอนรายจ่ายต่างๆ ซึ% งได้รับความร่ วมมือร่ วมใจจากพนักงาน ของธนาคารอย่างดียง%ิ พร้อมทั.งการแก้ปัญหาในระยะยาว ของธนาคาร ด้วยการเพิ%มทุนที%สําเร็ จลุล่วง ด้วยดี ทั.งการ เสนอขายหุน้ ให้แก่ผถู ้ ือหุน้ เดิม ผูล้ งทุนในต่างประเทศ และการออกหุน้ กูท้ ี%ถือเป็ นการขาย หุน้ เพิม% ทุนครั.งใหญ่ที%สุดของไทยโดยได้รับการกล่าวถึงในฐานะ Equity Deal of the Year ในเอเชียจาก วารสารการเงินหลายฉบับ นอกจากนี. ธนาคารยังมุ่งเป็ น "ธนาคารที ดีที สุดในประเทศ" ผ่านการ ปรับปรุ งโครงสร้าง ระบบงานต่างๆ การมีกลยุทธ์ในการดําเนินธุ รกิจที% ชัดเจน รวมทั.งการบริ หารจัดการที%โปร่ งใส และ เปิ ดเผยได้ จึงนับได้วา่ ธนาคารได้ผา่ นพ้นวิกฤต และพร้อมสําหรับการก้าวไปสู่ การเติบโตอย่าง มัน% คง ในวันข้างหน้าอย่างเต็มที% 2542 – ปัจจุบนั คุณภาพ คุณธรรม ส่ องนําอนาคต "เราจะเป็ นธนาคารที% ลูกค้า ผูถ้ ือหุน้ พนักงาน และ สังคมเลือก" (Bank of Choice for Our Customers, Shareholders, Employees and Community) คือ วิสัยทัศน์ของธนาคารในการดําเนินงาน ของศตวรรษใหม่ ที%มุ่งสู่ การเป็ นธนาคารที%ทุกคนเลือก พร้อมทั.งตระหนักถึงการเป็ นสมาชิ กที%ดีของ สังคมมีการบริ หารงานด้วยหลักธรรมาภิบาล ด้วยจริ ยธรรม ตลอดจนการทําประโยชน์คืนแก่สังคม และ เพื%อให้สามารถบรรลุถึงวิสัยทัศน์ที%ต.งั ไว้
145 ธนาคารจึงกําหนดพันธกิจไว้อย่างชัดเจนว่า จะมุง่ พัฒนาสู่ การเป็ นธนาคารครบวงจรชั.นนําของ ประเทศ (The Premier Universal Bank) ซึ%งหมายถึงธนาคารที%ให้บริ การทางการเงินอย่างครบวงจร เพื%อ ตอบสนองความต้องการที%หลากหลายของลูกค้าทั.งลูกค้ารายย่อยและลูกค้าธุ รกิจ และ เพื%อให้สอดคล้อง กับทิศทางเศรษฐกิจ และการดําเนินธุ รกิจ ธนาคารจึงได้ดาํ เนิน "โครงการปรับปรุ งธนาคาร" (Change Program) ซึ% งเป็ นโครงการที%อยูเ่ บื.องหลังการเปลี%ยนแปลงและความสําเร็ จของธนาคาร รวมทั.งการ พัฒนาเครื อข่าย ในการให้บริ การอย่างครบวงจร การพัฒนาบริ การใหม่ๆ และการพัฒนาบุคลากรและ การดําเนินกิจกรรมองค์กรเพื%อสังคมอย่างต่อเนื%อง วิสัยทัศน์ สํ าหรับลูกค้ า
:
นําเสนอผลิตภัณฑ์ และบริ การที%ดี ในระดับมาตรฐานสากล
สํ าหรับผู้ถือหุ้น :
สร้างผลตอบแทนที%ดีระยะยาวอย่างสมํ%าเสมอ
สํ าหรับพนักงาน :
รักษา ดึงดูด และสร้างความสัมพันธ์ของพนักงาน
สํ าหรับสั งคม
:
ดําเนิ นการอย่างมีธรรมาภิบาลและมีส่วนร่ วมในการพัฒนาสังคมและชุมชน อย่างเต็มที%
พันธกิจ
:
ธนาคารที%ให้บริ การครบวงจรชั.นนําของประเทศ โดยมุ่งเน้นการให้บริ การใน ตลาดการเงินกลุ่มลูกค้าหลัก ด้วยการใช้ประโยชน์สูงสุ ดจากเครื อข่ายของกลุ่ม ไทยพานิชย์และมีความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างเต็มที%
ค่ านิยมหลัก มีคุณธรรม
:
โปร่ งใส ซื%อสัตย์ มีจริ ยธรรม ทั.งในฐานะบุคคลและองค์กร
146 รับผิดชอบ
:
ทํางานเป็ นทีม :
ยึดมัน% ต่อคําสัญญา รับผิดชอบทุกการกระทํา ให้คุณค่าต่อความร่ วมแรงร่ วมใจ เราจะแข็งแกร่ งที%สุดเมื%อร่ วมมือกัน
โครงสร้ างการบริหารงาน
รู ปที 10 โครงสร้างการบริ หารงานธนาคารไทยพาณิ ชย์
147 นโยบายการกํากับดูแลกิจการ คณะกรรมการธนาคารได้ตระหนักถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิจการที%ดีที%จะเสริ มสร้าง ความเชื%อมัน% แก่ผมู ้ ีส่วนได้เสี ยต่างๆ ซึ%งรวมถึงผูถ้ ือหุ ้นลูกค้า พนักงาน ตลอดจนสาธารณชน และเชื%อว่า การกํา กับ ดู แลกิ จการที% ดีจ ะช่ วยเพิ%ม มูล ค่า แก่ ผูถ้ ื อหุ ้น ดัง นั.น คณะกรรมการจึ ง มี ค วาม มุ่ง มัน% ที% จ ะ ดํา เนิ น การให้ก ารกํา กับ ดู แ ลกิ จ การของธนาคารเป็ นไปตามหลัก การธรรมาภิ บ าล ที% ก าํ หนดโดย หน่วยงานของทางการที%ควบคุมดูแล ธนาคารในฐานะธนาคารพาณิ ชย์ และบริ ษทั จดทะเบียน รวมทั.ง หลักการการกํากับดูแลกิจการที%ดีอื%นๆ ที%อาจมีมาตรฐานสู งกว่า ซึ% งคณะกรรมการพิจารณาแล้วเห็นว่า เหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจของธนาคาร นโยบายการกํากับดูแลกิจการของธนาคารมีวตั ถุประสงค์ เพื%อใช้เป็ นหลักการในการกํากับดูแล กิจการของธนาคาร โดยมีเนื.อหาครอบคลุม หลักการเรื% องโครงสร้างการกํากับดูแล สิ ทธิ ของผูม้ ีส่วนได้ เสี ย การประชุ มผูถ้ ือหุ ้น จริ ยธรรมทางธุ รกิจ การป้ องกันความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ การควบคุ ม ภายใน และการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร นอกจากนี. คณะกรรมการได้มอบหมายให้คณะกรรมการสรรหาค่าตอบแทนและธรรมาภิบาล กําหนดแผนปฏิบตั ิและมาตรการติดตาม เพื%อให้ มีการปฏิบตั ิตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการ และ ประเมินผลการปฏิบตั ิตามนโยบาย และปรับปรุ งนโยบายดังกล่าว ให้มีความเหมาะสมอย่าง สมํ%าเสมอ โครงสร้ างการกํากับดูแลกิจการ ในการดําเนิ นการของธนาคารเพื%อให้บรรลุ ถึงวิสัยทัศน์ของธนาคารในการเป็ น "ธนาคารที% ลูกค้า ผูถ้ ือหุน้ พนักงาน และสังคมเลือก" คณะ กรรมการมีภารกิจ และความรับผิดชอบตามที%ระบุไว้ใน กฎหมาย และมติที%ประชุ มผูถ้ ือหุ ้น โดยคณะกรรมการได้แต่งตั.งคณะกรรมการชุ ดย่อยเพื%อ ช่วยกํากับ ดูแลงานเฉพาะด้าน และกลัน% กรองงานดังกล่าวแทนคณะกรรมการ เพื%อให้การดําเนินธุ รกิจของธนาคาร เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพและ ประสิ ทธิผล โครงสร้างและหน้าที%และความรับผิดชอบของคณะกรรมการธนาคารและคณะกรรมการชุ ด ย่อยมีรายละเอียดดังนี.
148 1. คณะกรรมการธนาคาร 1.1
โครงสร้ าง
จํานวนของคณะกรรมการเป็ นไปตามที%ที%ประชุ มผูถ้ ือหุ ้นกําหนด และไม่น้อยกว่า 5 คน โดย กรรมการไม่นอ้ ยกว่า 3 คน หรื อหนึ%งในสี% (แล้วแต่จาํ นวนใดจะสู งกว่า) จะต้องเป็ นกรรมการอิสระและ จํานวนกรรมการที%เป็ นผูบ้ ริ หารต้องไม่เกินกว่าหนึ%งในสาม ทั.งนี. กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการที%ไม่มีธุรกิจ หรื องานใดอันเกี%ยวข้อง ซึ%งอาจมีผลกระทบต่อการ ตัดสิ นใจโดยอิสระของตน กรรมการที%มีคุณสมบัติดงั ต่อไปนี.ไม่ถือว่าเป็ นกรรมการอิสระ: (ก) ถือหุ ้นเกินกว่าร้อยละ 0.5 ของหุ ้นที%ออกจําหน่ายแล้วของธนาคาร บริ ษทั ในเครื อ บริ ษทั ร่ วม หรื อ บริ ษทั ที%เกี%ยวข้อง ทั.งนี.ให้นบั รวมถึงหุน้ ที%ถืออยูโ่ ดยผูท้ ี%เกี%ยวข้อง (ข) มีส่วนร่ วมในการบริ หารงานในธนาคาร หรื อบริ ษทั ในเครื อ บริ ษทั ร่ วม หรื อบริ ษทั ที%เกี%ยวข้อง หรื อ ผูถ้ ือหุ ้นรายใหญ่ของธนาคารหรื อได้รับเงินเดือนจากธนาคาร บริ ษทั ในเครื อ บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ที% เกี%ยวข้อง หรื อผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ของธนาคาร (ค) เป็ นที%ปรึ กษาซึ% งได้รับเงินเดือนจากธนาคาร บริ ษทั ในเครื อ บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ที%เกี%ยวข้อง หรื อผูถ้ ือ หุน้ รายใหญ่ของธนาคาร หรื อ (ง) มีผลประโยชน์ใดๆ ในทางตรงหรื อทางอ้อมในด้านการเงินและการบริ หารของธนาคาร บริ ษทั ใน เครื อ บริ ษทั ร่ วม บริ ษทั ที%เกี%ยวข้อง หรื อผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ของธนาคาร หรื อ (จ) เป็ นผูท้ ี%เกี%ยวข้องหรื อเป็ นญาติสนิทกับของผูบ้ ริ หารระดับสู งหรื อผูถ้ ือหุน้ รายใหญ่ของธนาคาร ส่ วน กรรมการที เป็ นผู้บริหาร หมายถึงกรรมการที%มีส่วนร่ วมในการบริ หารงานให้แก่ธนาคาร โดยเต็ ม เวลาและได้รั บ ผลตอบแทนจาก ธนาคารเป็ นประจํา ทุ ก เดื อ นในรู ป ของเงิ น เดื อ นหรื อ ผลตอบแทนอื%นที%เปรี ยบเสมือนเงินเดือน
149 นายกกรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ สํา หรั บ ตํา แหน่ ง นายกกรรมการ คณะกรรมการจะเลื อกกรรมการที% ไ ม่ ใ ช่ ก รรมการที% เป็ น ผูบ้ ริ หารหนึ% งคนดํารง ตําแหน่ งดังกล่าว นายก กรรมการธนาคารจึงไม่เป็ นบุคคลเดี ยวกับกรรมการ ผูจ้ ัดการใหญ่ และไม่ มี ส่ ว นร่ วมในการบริ ห ารงานประจํา ของธนาคาร โดยเป็ นไปตาม หลัก การ แบ่งแยกหน้าที%ระหว่างการกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการและการบริ หารงาน 1.2
หน้ าทีแ ละความรับผิดชอบ
(ก) กําหนดนโยบาย กลยุทธ์ และเป้ าหมายทางการเงินสําหรับธนาคารและติดตามดูแลการดําเนินการ ให้เป็ นไปตามนโยบายกลยุทธ์และเป้ าหมายทางการเงินดังกล่าว โดยมีเป้ าหมายเพื%อเพิ%มมูลค่าทาง เศรษฐกิจสู งสุ ดให้แก่ธนาคารและความมัง% คัง% สู งสุ ดให้แก่ผถู ้ ือหุน้ (ข) วางโครงสร้างและกําหนดขั.นตอน เพื%อให้มีการดําเนินการที%เป็ นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ มติของ ที%ประชุมผูถ้ ือหุน้ และมาตรฐานจริ ยธรรม ด้วยความสุ จริ ตและด้วยความระมัดระวัง (ค) วางโครงสร้างและกําหนดขั.นตอน เพื%อให้มีระบบการบริ หารความเสี% ยง การกํากับและตรวจสอบ และการควบคุมภายในที%เหมาะสม (ง) ติดตามและประเมินผลการทําหน้าที%บริ หารจัดการเพื%อให้บรรลุตามกลยุทธ์และภายใต้งบประมาณ ซึ%งได้รับอนุมตั ิจากคณะกรรมการธนาคาร (อย่างน้อยทุกครึ% งปี ) (จ) วางบรรทัดฐานและประเมินการปฏิ บตั ิหน้าที%ของกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และผูบ้ ริ หารระดับสู ง อื%นๆ (อย่างน้อยปี ละหนึ%งครั.ง) (ฉ) พิจารณาทบทวนแผนการสื บทอดตําแหน่งกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่โดยสมํ%าเสมอและต่อเนื%อง
150 (ช) ตรวจตราและดําเนิ นการให้เป็ นที%แน่ ใ จว่า ได้มีก ารปฏิ บ ตั ิตามจริ ย ธรรมของกรรมการและการ บริ หารงาน 1.3 คณะกรรมการจะมีการประเมินผลการปฏิบัติงานประจําปี ของคณะกรรมการ โดยเปรี ยบเทียบกับการปฏิบตั ิงานตามข้อกําหนดของกฎบัตร คณะกรรมการ โดยรวมถึงการ ประเมินผลงานของกรรมการแต่ละคนด้วย 1.4 การประชุ มคณะกรรมการ การประชุ มคณะกรรมการมีจาํ นวนไม่น้อยกว่า 6 ครั.งต่อปี และอาจจัดให้มีการประชุ มพิเศษ เพิ%มได้ตามความจําเป็ น โดยมีก ารกําหนด วาระประชุ มหลักไว้ล่ วงหน้าตลอดปี วาระการประชุ ม ที% สําคัญประกอบด้วย การกํา หนดแผนกลยุทธ์ แผนธุ รกิ จ และงบประมาณประจํา ปี การพิจารณางบ การเงิ นของธนาคารในแต่ละไตรมาส การติดตามความคืบหน้าของโครงการปรับปรุ งธนาคาร การ อนุมตั ิสินเชื%อ และการ ปรับโครงสร้างหนี.ที%สําคัญ การพิจารณารายการการได้มาหรื อจําหน่ายไปของ ทรัพย์สินที%สําคัญ การเปลี%ยนแปลงโครงสร้างองค์กรและ ตําแหน่งงานที%สําคัญ รวมทั.งการติดตามผล การดําเนินงานของธนาคาร เลขานุ การธนาคารมีหน้าที%จดั ทําหนังสื อเชิ ญประชุ ม พร้อมกับระเบียบวาระการประชุ มและ เอกสารเสนอให้กรรมการพิจารณาก่อนการ ประชุมล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน เพื%อให้กรรมการมีเวลาใน การพิจารณาศึกษาวาระการประชุมและเอกสารประกอบการประชุม นอกจากนี. เลขานุ การธนาคาร มีหน้าที%จดั ทํารายงานการประชุ ม เป็ นลายลักษณ์ อกั ษร และ นําเสนอคณะกรรมการพิจารณาร่ างรายงาน การประชุมดังกล่าวภายใน 7 วันหลังการประชุมแต่ละครั.ง รายงานการประชุ มจะมีการรับรองในการประชุ มครั.งต่อไป และจะถูกจัดเก็บ เพื%อพร้อมสําหรับการ ตรวจสอบจากคณะกรรมการ และหน่วยงานที%เกี%ยวข้อง กรรมการ และการบริ หารงาน
151 2. คณะกรรมการทีแ ต่ งตัMงโดยกรรมการธนาคาร 2.1 คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการได้แต่งตั.งกรรมการจํานวนหนึ% งให้เป็ น คณะกรรมการบริ หาร มีอาํ นาจหน้าที% ควบคุมดูแลกิจการของธนาคารตามที%คณะกรรมการมอบหมาย โดยแต่งตั.งกรรมการคนหนึ%งเป็ นประ ธารกรรมการบริ หารและให้ ก รรมการผู ้จ ัด การ ใหญ่ เ ป็ นกรรมการบริ หารโดยตํา แหน่ ง ทั.ง นี. กรรมการบริ หารมีวาระตามวาระที%ดาํ รงตําแหน่งกรรมการธนาคาร คณะกรรมการบริ หารมีหน้าที%และความรับผิดชอบหลัก ในการพิจารณากลัน% กรองเพื%อเสนอให้ คณะกรรมการธนาคารพิจารณาแผนกลยุทธ์ แผนธุ รกิจและงบประมาณประจําปี งบการเงิน การได้มา และจําหน่ายไปซึ% งทรัพย์สินที%สําคัญ การออกหลักทรัพย์ของธนาคาร นโยบายการบริ หารความเสี% ยง นโยบายด้านทรัพยากรบุคคล และเรื% องอื%นๆ ตามที%กาํ หนดไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการธนาคาร รวมทั.ง ร่ วมกับคณะกรรมการที%แต่งตั.งโดยคณะกรรมการธนาคารอื%นๆ พิจารณาเรื% องที%เกี%ยวข้อง นอกจากนี. คณะกรรมการบริ หารมีหน้าที%พิจารณาการให้สินเชื% อ การปรับปรุ งโครงสร้ างหนี. การลงทุนหรื อขาย หลักทรัพย์และอสังหาริ มทรัพย์ การกูย้ ืมเงิน ค่าใช้จ่ายต่างๆ และเรื% องอื%นๆตามอํานาจที%กาํ หนดไว้โดย คณะกรรมการธนาคาร 2.2 คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบมีจาํ นวนอย่างน้อย 3 คน ประกอบด้วย ประธานกรรมการตรวจสอบ 1 คน และ กรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 2 คน โดยทั.งหมดต้องมีคุณสมบัติเป็ นกรรมการตรวจสอบ ตามหลักเกณฑ์ข องตลาดหลัก ทรั พย์แห่ งประเทศไทย และต้องเป็ นกรรมการ อิ สระตามนิ ย ามของ ธนาคารแห่งประเทศไทยอย่างน้อย 2 คน นอกจากนี. ให้คณะกรรมการตรวจสอบแต่งตั.งที%ปรึ กษาได้ 1 คน และ เจ้าหน้าที%ธนาคารที%เหมาะสมเป็ นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบอีก 1 คน คณะกรรมการตรวจสอบมีวาระอยูใ่ นตําแหน่งคราวละ 2 ปี โดย 1 ปี ในที%น. ีหมายถึง ช่วงเวลา ระหว่างการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ของปี ที%ได้รับการแต่งตั.งและการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ในปี ถัดไป
152 คณะกรรมการตรวจสอบมี ห น้า ที% และความรั บ ผิดชอบ ในการสอบทานให้ธ นาคารมี ก าร รายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ มี ระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในที% เหมาะสม และมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล รวมทั.ง สอบทานให้ธ นาคารปฏิ บ ตั ิ ตามข้อกํา หนดของ ทางการและ กฎหมายที% เกี% ย วข้อง นอกจากนี. ค ณะกรรมการตรวจสอบมี หน้า ที%พิจารณา คัดเลื อก ทบทวน เสนอ แต่งตั.ง และเสนอค่า ตอบแทนผูส้ อบบัญชี ประเมินผลการปฏิบตั ิงานของธนาคารตามที%ได้รับทราบจาก รายงานของหน่วยงานที% เกี%ยวข้อง ซึ% งคณะกรรมการ ตรวจสอบเห็นว่าเป็ นเรื% องสําคัญ และรายงานต่อ คณะกรรมการธนาคาร เพื%อดําเนินการปรับปรุ งแก้ไข ดูแลการเปิ ดเผยข้อมูลของธนาคาร ให้เป็ นไปตาม กฎระเบี ย บที% เกี% ย วข้อง ในกรณี ที% เกิ ดรายการที%เกี% ย วโยงกัน หรื อรายการที% อาจเกิ ดความขัดแย้ง ทาง ผลประโยชน์ พร้อม ทั.งจัดทํารายงานการกํากับงานของคณะกรรมการตรวจสอบ และเปิ ดเผยไว้ใน รายงานประจําปี ของธนาคาร 2.3 คณะกรรมการสรรหา ค่ าตอบแทน และธรรมาภิบาล ประกอบด้วยกรรมการที%ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร จํานวนไม่นอ้ ยกว่า 3 คน โดยนายกกรรมการไม่ควร ดํา รงตํา แหน่ ง เป็ นกรรมการสรรหา ค่า ตอบ แทน และธรรมาภิ บาล และประธานกรรมการสรรหา ค่าตอบแทนและธรรมาภิบาลต้องเป็ นกรรมการอิสระ กรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล มีวาระการดํารงตําแหน่งคราวละ 2 ปี โดย 1 ปี ในที%น. ี หมายถึงช่วงเวลาระหว่างการ ประชุ มสามัญผูถ้ ือหุ ้นของปี ที%ได้รับการแต่งตั.ง และการประชุ ม สามัญผูถ้ ื อหุ ้นในปี ถัดไป ทั.งนี. ก รรมการอาจได้รับเลื อกตั.งให้กลับเข้า รับตํา แหน่ งได้อีก เพื%อความ ต่อเนื%องในการทํางาน คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทนและธรรมาภิบาลมีหน้าที%รับผิดชอบหลัก ดังนี. •
งานด้ านสรรหา
กําหนดนโยบาย หลักเกณฑ์ และวิธีการในการสรรหา ตลอดจนคัดเลือกและเสนอชื%อกรรมการ ธนาคาร กรรมการชุ ดย่อย ประธาน กรรมการบริ หาร กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ รองผูจ้ ดั การใหญ่ และ ผูช้ ่วยผูจ้ ดั การใหญ่ที%มีสายการบังคับบัญชาขึ.นตรงต่อกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ ให้คณะกรรมการธนาคาร พิจารณาและแต่งตั.ง
153 •
งานด้ านธรรมาภิบาล
กําหนดนโยบายด้านธรรมาภิบาลของธนาคาร และเสนอข้อแนะนําต่อคณะกรรมการธนาคาร เพื%อให้มีการปฏิบตั ิตามแนวทางธรรมาภิบาลในธนาคาร โดยกําหนดแผนปฏิบตั ิและมาตรการติดตาม เพื%อให้มีก ารปฏิ บตั ิ ตามนโยบายการกํากับ ดูแลกิ จการ ประเมิ นผล ปฏิ บ ตั ิตามนโยบาย รวมถึ งการ ปรับปรุ งนโยบายให้มีความเหมาะสมอย่างสมํ%าเสมอ และพัฒนางานกํากับดูแลกิ จการของธนาคาร นอกจากนี. ยังจัดให้มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการ ประกอบด้วย 1) การประเมินผล การปฏิบตั ิงานของกรรมการ รายบุคคล 2) การประเมินผลการปฏิบตั ิงานของนายกกรรมการ และ 3) การประเมินผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการ •
งานด้ านค่ าตอบแทน
นําเสนอคณะกรรมการธนาคารกําหนดนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื%น โดย มีหลักเกณฑ์ที%ชดั เจนและโปร่ งใสเพื%อ ให้กรรมการธนาคาร กรรมการชุ ดย่อยและผูบ้ ริ หารระดับสู ง ได้รับผลตอบแทนที%เหมาะสมกับหน้าที%และ ความรับผิดชอบที%ตนมีต่อ ธนาคาร รวมทั.งกําหนดแนว ทางการประเมินผลงานประจําปี ของกรรมการธนาคารและผูบ้ ริ หารระดับสู งของธนาคาร 2.4 คณะกรรมการบริหารความเสี ยง คณะกรรมการบริ ห ารความเสี% ย งมี ก รรมการผู ้จ ัด การใหญ่ เ ป็ นประธานกรรมการ และมี กรรมการประกอบด้ว ยผูบ้ ริ หารระดับ รอง ผูจ้ ัดการใหญ่และผูช้ ่ วยผูจ้ ดั การใหญ่ ก ลุ่ ม งานต่า งๆ ที% เกี% ยวข้อง รวมถึ งผูบ้ ริ หารสายบริ หารความเสี% ย งสิ นเชื% อ สายบริ หารความเสี% ย ง ด้า นตลาด และสาย บริ หารความเสี% ยงด้านปฏิบตั ิการ คณะกรรมการบริ หารความเสี% ย ง มี หน้า ที%ก าํ กับ ดูแลให้ค วามเสี% ย งของธนาคารเป็ นไปตาม นโยบายที%คณะกรรมการกําหนดไว้ และเหมาะ สมกับระดับทุนสํารองของธนาคาร กํากับดูแลให้การ บริ หารความเสี% ย งเป็ นไปตามนโยบาย และกระบวนการที% ก าํ หนด และระดับความ เสี% ยงอยู่ภายใต้ ขีดจํากัดที%กาํ หนดไว้ รวมทั.งกําหนดนโยบายในการบริ หารความเสี% ยงใหม่ๆ ที%เกิดขึ.น เพื%อให้ธนาคาร สามารถทํากําไรได้ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ภายใต้ระดับความเสี% ยงที%ยอมรับได้ และดําเนิ นการให้มีการ
154 ปรับปรุ งแก้ไขนโยบายในการบริ หารความเสี% ยงให้ สอดคล้องกับภาวะความเสี% ยงใหม่ๆ ที%เกิดขึ.น และ ผูบ้ ริ หารระดับสู งของธนาคาร 3. คณะกรรมการฝ่ ายจัดการ 3.1 คณะกรรมการกลยุทธ์ และติดตามผล คณะกรรมการกลยุทธ์และติดตามผลมี ประธานกรรมการบริ หารเป็ นประธานคณะกรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เป็ นรองประธาน และ กรรมการ ประกอบด้วยผูบ้ ริ หารระดับสู งในระดับรอง ผูจ้ ดั การใหญ่ และผูช้ ่วยผูจ้ ดั การใหญ่ หน้าที%และความรับผิดชอบหลักของ คณะกรรมการกลยุทธ์และติดตามผล คือ กําหนดนโยบาย และกลยุท ธ์ทางธุ รกิ จด้า นต่างๆ ของ ธนาคารให้สอดคล้องกับนโยบายจากคณะกรรมการธนาคาร จัดสรรทรัพยากรการเงินและบุคลากร ให้สอดคล้องกับนโยบาย และกลยุทธ์ ติดตามและประเมินผล การดําเนินงาน และทบทวนปรับนโยบายและกลยุทธ์ทางธุรกิจให้เหมาะสมกับสถานการณ์ 3.2 คณะกรรมการโครงการปรับปรุงธนาคาร คณะกรรมการโครงการปรับปรุ งธนาคารประกอบด้วย ประธานกรรมการบริ หารทําหน้าที% ประธานกรรมการ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เป็ น รองประธาน และมีคณะกรรมการประกอบด้วย ผูบ้ ริ หาร ระดับรองผูจ้ ดั การใหญ่และผูช้ ่วยผูจ้ ดั การใหญ่ที%เกี%ยวข้อง และรองผูจ้ ดั การใหญ่ โครงการปรับปรุ ง ธนาคารทําหน้าที%วางโครงสร้างของโครงการ ติดตามความคืบหน้าของแต่ละโครงการ รวมทั.งสร้าง ความสอดคล้อง กันของทุกโครงการ โดยมีผูจ้ ดั การสํานักงานบริ หารโครงการปรับปรุ งธนาคารเป็ น เลขานุการ คณะกรรมการโครงการปรับปรุ งธนาคาร มีหน้าที%และความรับผิดชอบในการกําหนดแนวทาง และผลักดันให้โครงการต่างๆ ภายใต้ โครงการปรับปรุ งธนาคารดําเนิ นการได้สําเร็ จ โดยการจัดสรร ทรัพยากร ติดตามความคืบหน้า และตัดสิ นใจประเด็นที%สําคัญ รวมทั.ง แก้ไขปั ญหาสําคัญ เพื%อให้การ ดําเนินการลุล่วง
155 3.3 คณะกรรมการโครงการปรับปรุงธนาคาร คณะกรรมการบริ หารสิ นทรัพย์และหนี. สินประกอบด้วย กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เป็ นประธาน กรรมการ และคณะกรรมการประกอบด้วย ผู ้ บริ หารระดับรองผูจ้ ดั การใหญ่และผูช้ ่วยผูจ้ ดั การใหญ่ ที% รับผิดชอบงานด้านการให้สินเชื%อ เงินฝาก การเงิน บริ หารการเงิน และบริ หาร ความเสี% ยง คณะกรรมการบริ หารสิ นทรัพย์และหนี. สินมีหน้าที%กาํ หนดนโยบายด้านการบริ หารสิ นทรัพย์ และหนี.สินประจําปี เพื%อเสนอต่อคณะกรรมการ ธนาคาร กําหนดกลยุทธ์ในการบริ หารความเสี% ยงด้าน อัตราดอกเบี.ย อัตราแลกเปลี%ยน สภาพคล่อง และด้านอื%นๆที%เกี%ยวข้องให้สอดคล้อง กับสถานการณ์ที% คาดว่าจะเกิดขึ.น รวมทั.งควบคุมการบริ หารสิ นทรัพย์และหนี.สิน ให้เป็ นไปตามแนวทางที%กาํ หนด และ รายงานต่อคณะ กรรมการธนาคาร 3.4 คณะกรรมการการลงทุน คณะกรรมการการลงทุนประกอบด้วยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่เป็ นประธานกรรมการ กรรมการ ประกอบด้วย ผูบ้ ริ หารระดับรองผูจ้ ดั การใหญ่ และผูช้ ่วยผูจ้ ดั การใหญ่ ที%รับผิดชอบด้านงานบริ หารการ ลงทุนตราสารทุน ด้านบริ หารความเสี% ยง ด้านการเงิน และผูจ้ ดั การสายบริ หาร การลงทุนตราสารทุน คณะกรรมการการลงทุนมีหน้าที%หลัก ในการกําหนดแผนงานการลงทุนในตราสารทุน เพื%อให้ สอดคล้องกับนโยบายรวมของธนาคาร ทั.ง ในด้านกลยุทธ์การทําธุรกิจ และผลตอบแทน 4. ค่ าตอบแทนของกรรมการและผู้บริหาร คณะกรรมการธนาคารมีนโยบายให้ค่าตอบแทนของกรรมการอยู่ในระดับที%เหมาะสม และ สอดคล้องกับภาระหน้าที%ของกรรมการที%ตอ้ งปฏิบตั ิ ให้เป็ นไปตามความคาดหวังของผูม้ ีส่วนได้เสี ย กลุ่มต่างๆ และเป็ นไปตามกฎหมายและระเบียบที%เกี%ยวข้อง ซึ% งทําให้ธนาคารต้องสรรหา กรรมการที%มี ประสบการณ์ และผูม้ ีคุณสมบัติเหมาะสม กรรมการมีสิทธิ ได้รับค่าตอบแทนธนาคารในรู ปของเงิ น รางวัล เบี.ยประชุม บําเหน็จ โบนัส หรื อผลประโยชน์ตอบแทนในลักษณะอื%น ตามข้อบังคับหรื อตามที% ที%ประชุมผูถ้ ือหุน้ จะพิจารณา ซึ%งอาจกําหนดเป็ นจํานวนแน่นอนหรื อ วางเป็ นหลักเกณฑ์ และจะกําหนด
156 ไว้เป็ นคราวๆ ไป หรื อจะให้มีผลตลอดไปจนกว่าจะมีการเปลี%ยนแปลงก็ได้ และนอกจากนั.นให้ได้รับ เบี.ย เลี.ยง และสวัสดิการต่างๆ ตามระเบียบของธนาคาร สําหรับค่าตอบแทนของกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และผูบ้ ริ หารระดับสู ง ที%รายงานต่อกรรมการ ผูจ้ ดั การใหญ่ คณะกรรมการธนาคารเป็ นผูก้ าํ หนด ตามข้อเสนอของคณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และธรรมาภิบาล โดยค่าตอบแทนของผูบ้ ริ หารจะพิจารณาจากขอบข่ายความรับผิดชอบ คุณค่าของงาน ที%ผบู ้ ริ หารแต่ละคนที%มีตอ่ ธนาคาร และต้องสามารถเทียบเคียงกับตลาดได้ในระดับหนึ%ง คณะกรรมการเป็ นผู ้พิ จ ารณาอนุ ม ัติ ค่ า ตอบแทนคณะกรรมการชุ ด อื% น ๆ ที% แ ต่ ง ตั.ง โดย คณะกรรมการตามข้อเสนอของคณะกรรมการสรรหาค่า ตอบแทนและธรรมาภิบาล และนําเสนอผูถ้ ือ หุน้ เพื%อทราบในการประชุมสามัญผูถ้ ือหุน้ ประจําปี 5. การสรรหาและเลือกตัMงกรรมการ คณะกรรมการสรรหา ค่าตอบแทน และธรรมาภิบ าล ทํา หน้า ที%เสนอชื% อบุค คลที% เหมาะสม เพื%อให้คณะกรรมการธนาคารพิจารณาแต่งตั.งหรื อ เสนอผูถ้ ือหุ ้นเลือกตั.งตามหลักเกณฑ์ที%กาํ หนดใน ข้อบังคับของธนาคาร โดยคณะกรรมการธนาคารได้พิจารณาถึงประสบการณ์ที%สําคัญ สําหรับการทํา หน้าที%ของคณะกรรมการธนาคาร ตลอดจนพิจารณาถึงความสามารถที%จะช่วยให้การดําเนิ นการของ คณะกรรมการเป็ นไป อย่างรอบคอบรัดกุมยิง% ขึ.น ความสามารถในการตัดสิ นใจทางธุ รกิจอย่างมีเหตุผล ความสามารถในการคิ ด เชิ ง กลยุท ธ์ ความเป็ นผูน้ ํา รวมทั.ง ความชํา นาญในวิช าชี พ ความซื% อสัต ย์ ตลอดจนคุณสมบัติส่วนบุคคลอื%นๆ ที%เหมาะสม สําหรับตําแหน่งนายกกรรมการ คณะกรรมการเลือกกรรมการที%ไม่ใช่กรรมการที%เป็ นผูบ้ ริ หาร หนึ% งคนดํารงตําแหน่งดังกล่าว นายกรรมการ ธนาคารจึงไม่เป็ นบุคคลเดียวกับกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ และไม่มีส่วนร่ วมในการบริ หารงานประจําของธนาคาร ซึ%งเป็ นไปตามหลักการแบ่ง แยกหน้าที%ระหว่าง การกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการ และการบริ หารงานประจํา
157 6. การสรรหาและเลือกตัMงกรรมการ ธนาคารจัดให้มีการปฐมนิ เทศสําหรับกรรมการใหม่ โดยจัดให้มีการบรรยายสรุ ปการดําเนิ น ธุรกิจและการดําเนินการที%สําคัญโดยผูบ้ ริ หารระดับ สู งให้แก่กรรมการที%ได้รับแต่งตั.งใหม่ และจัดคู่มือ กรรมการธนาคารไทยพาณิ ชย์ และส่ งมอบให้กรรมการที%ได้รับการแต่งตั.งใหม่ และจัดให้มี เอกสาร ดังต่อไปนี. 1. คูม่ ือกรรมการธนาคาร ซึ%งมีหวั ข้อต่างๆ ที%สาํ คัญ ได้แก่ บทบาทและหน้าที%ความรับผิดชอบ นโยบายธรรมาภิบาลของคณะกรรมการ อํานาจอนุมตั ิ และข้อห้ามการกระทําของกรรมการธนาคาร ตามกฎหมายที%เกี%ยวข้อง รวมทั.งบทบาทหน้าที%ของคณะกรรมการชุดย่อยต่างๆ 2. หนังสื อบริ คณห์สนธิและข้อบังคับของธนาคาร 3. รายงานประจําปี เล่มล่าสุ ด นอกจากนี.ธนาคารมีนโยบายในการส่ งเสริ มให้กรรมการเข้ารับการอบรมหรื อเข้าร่ วม กิจกรรม เพื% อเป็ นการเพิ% ม พูนความรู ้ ด้า นต่ า งๆที% เกี% ย วข้องกับ บทบาทหน้า ที% ที% ไ ด้รั บ มอบหมายทั.ง ในฐานะ กรรมการและกรรมการชุดย่อยชุดต่างๆเป็ นประจํา ข. สิ ทธิของผู้มีส่วนได้ เสี ย คณะกรรมการตระหนักถึงสิ ทธิ ของผูม้ ีส่วนได้เสี ยต่างๆ ที%จะให้แต่ละกลุ่มได้รับสิ ทธิ น. นั อย่าง เต็มที%บนหลักการของความเป็ นธรรม โดยการปฏิบตั ิตามข้อกําหนดของกฎหมายและระเบียบต่างๆ รวมทั.งนโยบายของธนาคารที%เกี%ยวข้อง ดังนี. ผู้ถือหุ้น: ธนาคารมุ่งมัน% ที%จะดําเนินงานให้มีผลประกอบการที%ดีและโดดเด่น โดยมีการเติบโต ของกําไรอย่างต่อเนื% อง พร้อมทั.งรักษาความเป็ นผูน้ าํ ในตลาดหลักของธนาคาร ทั.งนี. เพื%อให้มูลค่าของ ธนาคารเพิม% สู งขึ.นในระยะยาว พนักงาน: ธนาคารมุ่งมัน% ที%จะสร้างบรรยากาศในการทํางานที%ดึงดูดและรักษาไว้ซ% ึ งพนักงานที% มี คุ ณ ภาพพร้ อมทั.ง จัดให้มี ก ารพัฒ นาความสามารถและทัก ษะที% จ าํ เป็ น เพื% อให้พ นัก งานได้พ ฒ ั นา ศักยภาพและสามารถทํางานอย่างมีประสิ ทธิภาพสู งสุ ด
158 ลูกค้ า: ธนาคารมุ่งมัน% ที%จะให้ลูกค้าของธนาคารได้รับบริ การที%เปี% ยมด้วยคุณภาพและตรงกับ ความต้องการอย่างแท้จริ ง สั งคม: ธนาคารตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสังคม และให้การสนับสนุนช่วยเหลือ และ เข้าร่ วมในกิจกรรมต่างๆ ที%เป็ นประโยชน์ต่อสังคมและชุมชนในทุกท้องที%ที%ธนาคารมีการดําเนินธุ รกิจ อย่างสมํ%าเสมอ ค. การประชุ มผู้ถือหุ้น คณะกรรมการได้ให้ความสําคัญกับการประชุ มผูถ้ ือหุ ้น เพื%อผูถ้ ือหุ ้นสามารถใช้สิทธิ ในการ ตัดสิ นใจเรื% องต่างๆ ที%ได้นาํ เสนอในที%ประชุมผูถ้ ือหุ ้นได้ อย่างเต็มที% และสามารถเป็ นช่องทางในการ ติดตามผลการทํางานของฝ่ ายจัดการ ดังนั.นคณะกรรมการจึงมีนโยบายที%จะให้ผถู ้ ือหุ ้นสามารถใช้ สิ ทธิ ในการเข้าประชุ มผูถ้ ือหุ ้นได้อย่างเต็มที% และมีขอ้ มูลครบถ้วน รวมทั.งให้มีการดําเนิ นการประชุมผูถ้ ือ หุน้ เป็ นไปอย่างถูกต้องตามข้อกําหนด ของกฎหมาย คณะกรรมการจัดให้มีการประชุมผูถ้ ือหุ ้นสามัญประจําปี ภายใน 4 เดือน นับจากวันสิ. นสุ ดรอบ ปี บัญชี ธนาคารจะจัดส่ งหนังสื อบอกกล่าวเชิญ ประชุมรายละเอียดวาระการประชุม ซึ% งระบุขอ้ เท็จจริ ง และเหตุผล พร้อมทั.งความเห็นของคณะกรรมการสําหรับแต่ละวาระ รวมทั.งเอกสาร ประกอบวาระการ ประชุ ม และเอกสารประกอบการเข้าร่ วมประชุ มให้แก่ผถู ้ ือหุ ้น ได้พิจารณาล่วงหน้าก่อนการประชุ ม อย่างน้อย 14 วัน เพื%อ ทําให้ผถู ้ ือหุ ้นมีขอ้ มูลและเวลาเพียงพอในการพิจารณาลงมติในแต่ละวาระการ ประชุม ในระหว่างการประชุม นอกจากเอกสารประกอบการประชุมแล้ว ธนาคารจะนําเสนอข้อมูลใน ระบบวีดีทศั น์ เพื%อให้ผถู ้ ือหุ ้นได้รับความสะดวก มากขึ.น รวมทั.งได้จดั ให้มีการแปลเป็ นภาษาอังกฤษ ระหว่างการประชุม เพื%อให้ผถู ้ ือหุน้ ต่างชาติสามารถเข้าร่ วมประชุมได้ และประธานในที% ประชุมจะเปิ ด โอกาสให้ผูถ้ ื อหุ ้นสอบถาม และแสดงความคิ ดเห็ นและข้อเสนอแนะต่างๆ อย่า งเท่า เที ยมกัน และ กรรมการและผูบ้ ริ หารที% เกี% ยวข้องจะตอบคําถามรวมทั.งให้ขอ้ มูลต่างๆ ตามที% ผูถ้ ื อหุ ้นร้ องขออย่า ง ครบถ้วน
159 ภายหลังจากการประชุ มเสร็ จสิ. น ธนาคารจะจัดทําบันทึกรายงานการประชุ ม และบันทึกการ ออกเสี ยงในแต่ละวาระอย่างละเอียด และนําส่ ง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยภายใน 14 วัน ง. จริยธรรมทางธุรกิจ คณะกรรมการธนาคารได้จดั ทํา ข้อกําหนดจริ ยธรรมสําหรับคณะกรรมการธนาคาร โดยมุ่งที% จะปฏิ บตั ิตามมาตรฐานด้านจริ ย ธรรมที%สูงที%สุดเพื%อ ประโยชน์ข องผูถ้ ื อหุ ้นและผูม้ ีส่วนได้เสี ยอื%นๆ จริ ยธรรมกรรมการครอบคลุมหลักการสําคัญ ที%กรรมการธนาคารต้องปฏิบตั ิ อาทิ ความซื% อสัตย์ และ คุณธรรม ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ และการปฏิบตั ิตามข้อกฎหมาย นอกจากนี. ธนาคารได้จดั ทําข้อกําหนดจรรยาบรรณพนักงาน เพื%อใช้เป็ นหลักปฏิบตั ิสําหรับ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานของธนาคาร และกลุ่มบริ ษทั ธนาคารไทยพาณิ ชย์ที%จะประพฤติปฏิบตั ิในสิ% งที% ถูกต้อง ด้วยความซื% อสัตย์สุจริ ต ระมัดระวัง และรับผิดชอบ เพื%อร่ วมกันสร้าง และรักษาความ เชื% อถือ และความไว้วางใจของลูกค้า ผูถ้ ือหุน้ และสาธารณชน จ. การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการธนาคารได้รับทราบการดําเนิ นการของธนาคารในการกําหนดนโยบาย และ ขั.น ตอนการอนุ ม ัติ และดํา เนิ น การรายการที% เ กี% ย วโยงกัน และรายการที% อ าจมี ค วามขัด แย้ง ทาง ผลประโยชน์ ดังนี. การดําเนิ นธุ รกรรมที%พิจารณาแล้วว่า เป็ นรายการที%เกี% ยวโยงกันตามหลักเกณฑ์ของ ตลาดหลักทรัพย์ จะต้องมีการปฏิบตั ิตาม ข้อกําหนดของตลาด หลักทรัพย์อย่างถูกต้อง และครบถ้วน • ธนาคารมีนโยบายการทํารายการระหว่างกัน ที%ยึดหลักการประกอบธุ รกรรมตามปกติ โดยมีการคิดราคาระหว่างกันตามเงื%อนไข เช่นเดียวกับ ลูกค้าทัว% ไป ตลอดจนรายได้และค่าใช้จ่ายต่างๆ ของรายการที%เกิดขึ.นกับบุคคลที%อาจมีความขัดแย้ง เป็ นไปตามราคาตลาด ยุติธรรม (Fair Market Value) • ธนาคารมีนโยบายให้การให้สินเชื% อ หรื อลงทุนในกิจการที%มีผลประโยชน์เกี% ยวข้อง และผูถ้ ือหุ ้นต้องเป็ นไปตามหลักเกณฑ์ของ ธนาคารแห่งประเทศไทย กล่าวคือ ต้องไม่ให้สินเชื%อหรื อ ลงทุนในปริ มาณเกินสมควร และไม่มีเงื%อนไขหรื อข้อกําหนดพิเศษ ผิดไปจากปกติ การให้สินเชื%อหรื อ ลงทุนในกิจการที%มีผลประโยชน์เกี%ยวข้องและผูถ้ ือหุ ้น เป็ นอํานาจอนุ มตั ิของคณะกรรมการ ธนาคาร •
160 โดยมีมติเป็ นเอกฉันท์ และกรรมการที%มีผลประโยชน์เกี%ยวข้องต้องไม่มีส่วนร่ วมในการพิจารณา ทั.งนี. คณะกรรมการธนาคาร อาจมอบอํานาจให้คณะกรรมการบริ หารได้ตามที%เห็นสมควร • กรรมการและผูบ้ ริ หารต้องรายงานการเปลี% ยนแปลงการถื อหลักทรั พย์ธนาคารต่อ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ ตามมาตรา 59 แห่ งพระราชบัญญัติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 • ธนาคารมีระเบียบการซื. อขายหลักทรัพย์ของพนักงาน โดยได้กาํ หนดหลักเกณฑ์ วิธี ปฏิบตั ิอย่างเหมาะสมในการซื.อขายหลักทรัพย์ ของพนักงานในระดับบริ หารชั.นสู งขึ.นไป และพนักงาน ทุกคนที%สังกัดหน่วยงานที%สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลภายในเพื%อ แสวงหา ผลประโยชน์ให้แก่ตน เองหรื อผูอ้ ื%น ทั.งนี. ในระเบียบดังกล่าวได้รวมถึงบุคคลที%เกี%ยวข้องกับพนักงานด้วย ฉ. การควบคุมภายใน คณะกรรมการธนาคารถื อเป็ นนโยบายหลักที% จะสร้ า งเสริ ม ให้ธ นาคารได้พฒั นาระบบการ ควบคุมภายในให้มีประสิ ทธิภาพและแข็งแกร่ งยิง% ๆ ขึ.น เนื%องจากตระหนักดีวา่ ระบบการควบคุมภายใน ที%ดีจะนําไปสู่ ผลประกอบการที%ดี และความเจริ ญก้าวหน้าของธนาคาร โดยดําเนินการผ่านกลไก ต่างๆ ที%สาํ คัญ ได้แก่ การจัดโครงสร้างองค์กรใหม่ของธนาคารที%ชดั เจนสอดคล้องกับการดําเนินธุรกิจ • โครงการเปลี%ยนแปลงกระบวนการปฏิบตั ิงานใหม่เพื%อให้ข. นั ตอนปฏิบตั ิงานกระชับ รวดเร็ วภายใต้การควบคุมที%รัดกุม • คณะกรรมการตรวจสอบซึ% ง มี ห น้า ที% ท บทวนสอบทานนโยบายบัญชี ที% สํา คัญ การ เปิ ดเผยข้อมูล และระบบการควบคุมภายใน การปฏิบตั ิงานให้ เหมาะสมเพียงพอ • คณะกรรมการบริ หารความเสี% ยง และหน่วยงานบริ หารความเสี% ยงซึ% งวิเคราะห์ความ เสี% ยงและกําหนดแนวทางบริ หารควบคุมความ เสี% ยง ให้อยูใ่ น ระดับที%ยอมรับได้ • ระเบี ย บปฏิ บ ัติ ง านที% ก ํา หนดอํา นาจตลอดจนความรั บ ผิ ด ชอบของผู ้บ ริ ห ารและ ผูป้ ฏิบตั ิงานแต่ละระดับ รวมถึงกระบวนการควบคุม ในแต่ละขั.นตอน การปฏิบตั ิงาน •
ทั.งนี. การปฏิ บตั ิหน้าที%อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล ของฝ่ ายบริ หารและหน่ วยงาน เกี%ยวข้อง เป็ นกําลังสําคัญที%สนับสนุนให้ธนาคาร สนองตอบนโยบายการควบคุมได้บรรลุผลดี
161 ช. นโยบายการเปิ ดเผยข้ อมูล คณะกรรมการตระหนักถึงความสําคัญในการเปิ ดเผยข้อมูลของธนาคาร จึงได้อนุมตั ินโยบาย การเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร โดยมีวตั ถุประสงค์เพื%อ ให้การเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารของธนาคารต่อผูถ้ ือหุ ้น นักลงทุน และสาธารณชนทัว% ไป เป็ นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ทัว% ถึง และทันการณ์ รวมทั.ง เป็ นไปตาม กฎหมาย และระเบียบต่างๆ ที% เกี% ยวข้อง ทั.ง นี. เพื%อให้การตัดสิ นใจลงทุนในหลักทรั พย์ของธนาคาร กระทํา บนพื. น ฐาน ของข้อ มู ล ที% ค รบถ้ว น และเท่ า เที ย มกัน และธนาคารได้ก ํา หนดให้ ผูม้ ี ห น้า ที% รับ ผิดชอบในการเปิ ดเผยข้อมูล ต่อผูถ้ ื อหุ ้น นัก ลงทุ น นักวิเคราะห์ หลัก ทรัพ ย์ ประกอบด้วยนายก กรรมการ ประธานกรรมการบริ หาร กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ผูบ้ ริ หารสู ง สุ ดของกลุ่ ม การเงิ น และ ผูจ้ ดั การสาย นักลงทุนสัมพันธ์ นอกจากนี. ธนาคารได้มีการจัดตั.งสายนักลงทุนสัมพันธ์ (Investor Relations Division) สังกัด กลุ่มการเงินเพื%อรับผิดชอบในการจัดทําข้อมูล เผยแพร่ ต่อผูส้ นใจตามช่องทางต่างๆ ได้แก่ การรายงาน ต่อตลาดหลักทรั พ ย์แห่ ง ประเทศไทย เว็บไซต์ของธนาคาร (www.scb.co.th) ใน หัวข้อนัก ลงทุ น สัมพันธ์ (Investor Relations) จดหมายข่าวถึงผูถ้ ือหุ ้น การประชุ มร่ วมกับนักลงทุนและนักวิเคราะห์ หลักทรัพย์ เป็ นต้น เทคโนโลยีเสริมสํ าหรับการรักษาความปลอดภัย นอกจากมาตรการ และวิธีการรักษาความปลอดภัยโดยทัว% ไปที%กล่าวข้างต้นแล้ว ธนาคารยังใช้ เทคโนโลยีระดับสู งดังต่อไปนี.เพื%อปกป้ องข้อมูลส่ วนตัวของท่าน 1. Intrusion Detection เป็ นระบบซอฟท์แวร์ ที%ตรวจสอบและดักจับข้อมูลของ ผูท้ ี%พยามลักลอบ เข้า สู่ ระบบโดยไม่ไ ด้รับ อนุ ญาต ซึ% งธนาคารใช้ระบบที%มีป ระสิ ท ธิ ภาพสู งสุ ดและมี การ Update สมํ%าเสมอ 2. Firewall เป็ นระบบซอฟท์แวร์ ที%จะอนุญาตให้เฉพาะผูท้ ี%มีสิทธิ หรื อผูท้ ี%ธนาคาร อนุมตั ิเท่านั.น จึงจะผ่าน Fire Wall เพื%อเข้าถึงข้อมูลได้ โดยธนาคารใช้ระบบ Double Firewall Protection
162 3. Scan Virus นอกจากเครื% องคอมพิวเตอร์ ทุกเครื% องที%ให้บริ การจะมีการติดตั.ง Software ป้ องกัน Virus ที%มีประสิ ทธิ ภาพสู งและ Update อย่างสมํ%าเสมอแล้ว ธนาคารยังได้ติดตั.ง Scan Virus Software บนเครื% อง Server โดยเฉพาะอีกด้วย 4. Secured Socket Layer (SSL.) เป็ นเทคโนโลยีในการเข้าสู่ ขอ้ มูลผ่านรหัส เพื%อป้ องกันผูท้ ี%แอบ ดักจับข้อมูลขณะที%มีการส่ งผ่านเครื อข่าย Internet การเข้าสู่ ขอ้ มูลผ่านรหัสแบบนี% จะทําให้ผดู ้ กั จับไม่ สามารถเข้าใจความหมาย ของข้อมูลได้ นอกจากนี. เทคโนโลยีน. ียงั ใช้สําหรับการยืนยันความมีอยูจ่ ริ ง ของเว็บไซต์ของธนาคารได้อีกด้วย ธนาคารใช้การเข้ารหัสแบบนี.อยูท่ ี% 128 Bits (SSL.128) 5. Data Encryption ใช้สําหรับข้อมูลที'มีความสําคัญมากๆ เช่น Password ธนาคารมีมาตรการ อย่างเข้มงวดในการเก็บรักษา โดยก่อนนําข้อมูลเข้าเก็บในเครื% องคอมพิวเตอร์ ได้มีการเข้ารหัสโดยใช้ Algorithm ที%ซบั ซ้อนทําให้ ไม่มีใครสามารถรู ้ขอ้ มูลสําคัญที%เข้ารหัสแบบนี.แม้แต่พนักงานของธนาคาร 6. Cookies เป็ นไฟล์คอมพิวเตอร์ เล็กๆ ที%จะทําการเก็บข้อมูลชัว% คราวที%จาํ เป็ น ลงในเครื% อง คอมพิวเตอร์ ของผูข้ อใช้บริ การ เพื%อความสะดวกและรวดเร็ วในการติดต่อสื% อสาร อย่างไรก็ตาม ธนาคารตระหนักถึงความเป็ นส่ วนตัวของ ผูใ้ ช้บริ การเป็ นอย่างดี จึงหลีกเลี%ยงการใช้Cookies แต่ถา้ หาก มีความจําเป็ น ต้องใช้ Cookiesธนาคารจะพิจารณาอย่างรอบคอบ และตระหนักถึงความปลอดภัย และ ความเป็ นส่ วนตัวของผูข้ อรับบริ การเป็ นหลัก 7. Auto Log off ในการใช้บริ การ Internet Banking หลังจากเลิกการใช้งานควร Log off ทุกครั.ง กรณี ที%ผใู ้ ช้บริ การลืม Log off ระบบจะทําการ Log off ให้โดย อัตโนมัติภายในเวลาที%เหมาะสมของแต่ ละบริ การ ทั.งนี.เพื%อความปลอดภัยของ ผูใ้ ช้บริ การเอง
163
ธนาคารต่ างประเทศ ประวัติของธนาคารแห่ งอเมริกา ธนาคารแห่งอเมริ กาคอร์ปอเรชัน% อเมริ กนั ข้ามชาติ และการธนาคาร ให้บริ การทางการเงิน ของ บริ ษัท ที% เ ป็ นใหญ่ เ ป็ นอัน ดับ สอง ของ บริ ษัท โฮลดิ. ง ธนาคาร ในประเทศสหรั ฐ อเมริ กาโดย สิ น ทรั พ ย์ และธนาคารใหญ่เ ป็ นอัน ดับ สี% ใ นสหรั ฐ โดย มู ล ค่ า ตลาด ธนาคารที% มี สํา นัก งานใหญ่ อ ยู่ ใน Charlotte, North Carolina . ธนาคารของอเมริ ก าให้บริ ก ารลู กค้า ในกว่า 150 ประเทศและมี ความสัมพันธ์กบั 99% ของสหรัฐ ที%ติดอันดับ Fortune 500 บริ ษทั และ 83% ของFortune Global 500 บริ ษทั ที%เป็ นสมาชิกของ สหพันธ์ประกันเงินฝากคอร์ ปอเรชัน% (FDIC) และองค์ประกอบของทั.ง สองที% S & P 500 Index และ เฉลี%ยอุตสาหกรรมดาวโจนส์ ณ 2010ธนาคารแห่งอเมริ กาเป็ น บริ ษทั ที% ใหญ่ที%สุด 5 ในประเทศสหรัฐอเมริ กาโดยรายได้ท. งั หมด เช่นเดียวกับที%สอง บริ ษทั นํ.ามันที%ไม่ใช่ใหญ่ ที%สุดในสหรัฐอเมริ กา (หลังจากที% Walmart ) ในปี 2010 Forbes จดทะเบียนธนาคารแห่ งอเมริ กาเป็ น บริ ษทั ที%ใหญ่ที%สุด 3 ในโลก ของธนาคารปี 2008 เข้าซื. อกิจการของ Merrill Lynch ทําธนาคารแห่ ง อเมริ กาใหญ่ที%สุดในโลก บรรษัทบริ หารความมัง% คัง% และเป็ นผูเ้ ล่นหลักใน ธนาคารเพื%อการลงทุน ใน ตลาด บริ ษทั ฯ ถือหุ ้น 12.2% ของเงินฝากธนาคารในประเทศสหรัฐอเมริ กาที%เป็ นของเดือนสิ งหาคม 2009 และเป็ นหนึ% งใน บิ กโฟร์ ของธนาคารในประเทศสหรั ฐอเมริ กา พร้ อมกับ ซิ ต. ี ก รุ๊ ป JPMorgan Chase และ Wells Fargo - ของคู่แข่งหลัก ตาม 2010 รายงานประจําปี ของธนาคารแห่งอเมริ กาทํางาน" ในทุกรัฐ 50 โคลัมเบีย และกว่า 40 ประเทศที%ไม่ใช่ เรา" แต่ก็มี"รอยธนาคารค้าปลีก"ว่า"ครอบคลุ ม ประมาณร้อยละ 80 ของประชากรสหรัฐ" จะทําหน้าที%"ประมาณ 57 ล้านผูบ้ ริ โภคและความสัมพันธ์ทาง ธุรกิจขนาดเล็ก"ที%"5,900 ศูนย์บริ การธนาคาร"และ"18,000 ตูเ้ อทีเอ็ม " ในปี 2001 ธนาคารแห่ งอเมริ กาซี อีโอและประธาน ฮิวจ์ McColl ก้าวลงและตั.งชื% อว่า เคนลู อิส เป็ นตัวตายตัวแทนของเขาในปี 2004 ธนาคารแห่ งอเมริ กาประกาศว่าจะซื. อ Boston - based ธนาคาร FleetBoston การเงิน ราคา $ 47 พันล้านดอลลาร์ ในเงินสดและหุ ้น โดยควบรวมกับธนาคาร
164 แห่งอเมริ กาทั.งหมดของธนาคารและสาขาของธนาคารที%ได้รับโลโก้ของอเมริ กา ในขณะที%การควบรวม กิจการของ FleetBoston เป็ นธนาคารที%ใหญ่ที%สุดที%เจ็ดในสหรัฐอเมริ กาที%มี $ 197,000,000,000 ใน สิ นทรัพย์มากกว่า 20 ล้านลูกค้าและรายได้ของ $ 12,000,000,000 หลายร้อยคนงาน FleetBoston ตก งานหรื อถูกลดระดับตามที%ลูกโลกบอสตัน วันที% 30 มิถุนายน 2005 ธนาคารแห่งอเมริ กาประกาศว่าจะ ซื. อ บัตรเครดิ ต ยัก ษ์ MBNA ราคา $ 35 พันล้า นดอลลาร์ ใ นเงิ นสดและหุ ้น Federal Reserve คณะกรรมการ ให้ความเห็นชอบในขั.นสุ ดท้ายการควบรวมกิจการเมื%อวันที% 15 ธันวาคม 2005 และการ ควบรวมกิจการปิ ดเมื%อ 1 มกราคม 2006 การซื. อกิจการของ MBNA ที%ให้ธนาคารแห่งอเมริ กาเป็ นผูน้ าํ บริ ษทั ผูอ้ อกบัตรเครดิตในและต่างประเทศบัตร ของธนาคารรวมขององค์กรบริ การบัตรอเมริ การวมทั.ง ในอดีตเป็ นที% MBNA มีมากกว่า 40 ล้านบัญชีในสหรัฐอเมริ กาและเกือบ $ 140,000,000,000 ในยอด คงเหลือ ภายใต้ธนาคารแห่งอเมริ กาการดําเนินการที%ถูกเปลี%ยนชื%อ บริ การบัตร FIA ในเดือนพฤษภาคม 2006ธนาคารแห่งอเมริ กาและ ธนาคาร Banco Itaú (Investimentos Itaú SA) ลงนามในสัญญาการได้มา ซึ% ง Itaú ตกลงที%จะซื. อการดําเนินงานของ BankBoston ในบราซิ ลและได้รับสิ ทธิ ที%จะซื. อธนาคารของ การดําเนินงานของอเมริ กาใน ชิลี และ อุรุกวัย . จัดการได้ลงนามในเดือนสิ งหาคม 2006 ตามที% Itaú ตก ลงที%จะซื.อธนาคารของการดําเนินงานของอเมริ กาในประเทศชิลีและอุรุกวัย ก่อนที%จะมีการทําธุ รกรรม BankBoston การดําเนินงานของบราซิ ลรวมการจัดการสิ นทรัพย์ธนาคารเอกชนที%มีผลงานบัตรเครดิต และขนาดเล็กตลาดกลางและกลุ่มองค์กรขนาดใหญ่ มันมี 66 สาขาและ 203,000 ลูกค้าในประเทศ บราซิ ล BankBoston ในชิลีมี 44 สาขาและ 58,000 ลูกค้าและในอุรุกวัยจะมี 15 สาขา นอกจากนี.ยงั มี บริ ษทั ที%บตั รเครดิต OCA ในอุรุกวัยซึ% งมี 23 สาขาคือ BankBoston NA ในอุรุกวัยร่ วมกับ OCA ร่ วมกัน ให้บริ การลูกค้าที% 372,000 ในขณะที%ชื%อ BankBoston และเครื% องหมายการค้าที%ไม่ได้เป็ นส่ วนหนึ%งของ การทําธุรกรรมเป็ นส่ วนหนึ%งของข้อตกลงการขายที%พวกเขาไม่สามารถที%จะใช้โดยธนาคารแห่งอเมริ กา ในบราซิ ล ชิลี อุรุกวัยต่อไปนี.หรื อการทําธุ รกรรมที% ดังนั.นชื%อ BankBoston ได้หายไปจากบราซิ ล ชิลี และอุรุกวัย สต็อก Itaú ที%ได้รับจากธนาคารแห่งอเมริ กาในการทําธุ รกรรมที%มีการอนุญาตให้ธนาคาร ของหุ ้นของอเมริ กาใน Itaú ไปถึง 11.51% Bancode บอสตัน de บราซิ ลได้ก่อตั.งขึ.นในปี 1947 20 พฤศจิกายน 2006 ธนาคารแห่ งอเมริ กาประกาศการซื. อของ สหรัฐอเมริ กา บริ ษทั เชื% อถือ สําหรับ $ 3,300,000,000 จาก Charles Schwab คอร์ ป อเรชั%น สหรัฐเชื% อถื อได้ประมาณ $ 100 พันล้า น ของ สิ นทรัพย์ภายใต้การจัดการ และกว่า 150 ปี ของประสบการณ์ จัดการปิ ด 1 กรกฎาคม 2007 14 กันยายน 2007 ธนาคารแห่ งอเมริ กาได้รับรางวัลการอนุ มตั ิจาก Federal Reserve ที%จะได้รับ LaSalle Bank แห่งคอร์ ปอเรชัน% จากเนเธอร์ แลนด์ของ ABN AMRO สําหรับ $ 21,000,000,000 ด้วยการซื. อนี.
165 ธนาคารแห่งอเมริ กาครอบครอง 1,700,000,000,000 ในสิ นทรัพย์ ศาลดัตช์ที%ถูกปิ ดกั.นการขายจนกว่าจะ ได้รับการอนุมตั ิในภายหลังในเดือนกรกฎาคม การซื. อกิจการแล้วเสร็ จเมื%อ 1 ตุลาคม 2007 หลายสาขา ลาซาลล์และสํานักงานมีอยูแ่ ล้วมากกว่าธนาคารขนาดเล็กในระดับภูมิภาคภายในหนึ% งทศวรรษก่อน หน้านี.เช่นแลนซิงและดีทรอยต์ตาม มิชิแกนธนาคารแห่งชาติ การจัดการที%เพิม% ขึ.นจากการมีธนาคารของ อเมริ กาใน รัฐอิลลินอยส์ มิชิแกน และ อินเดีย โดย 411 สาขา 17,000 ลูกค้าธนาคารพาณิ ชย์ 1.4 ล้าน ลูกค้ารายย่อยและ 1,500 ตูเ้ อทีเอ็ม ธนาคารแห่งอเมริ กากลายเป็ นธนาคารที%ใหญ่ที%สุดใน ชิคาโก ตลาดที% มี สํา นัก งาน 197 และ 14% ของส่ ว นแบ่ ง การฝากเงิ น ที% เหนื อ กว่า JPMorgan Chase LaSalle Bank และ LaSalle Bank แห่งมิดเวสต์ ของสาขาธนาคารนํามาจากชื%อของอเมริ กาเมื%อวันที% 5 พฤษภาคม 2008 เคนลูอิสลาออกเป็ นวันที% 31 ธันวาคม 2009ในส่ วนหนึ%งเนื%องจากการตรวจสอบการทะเลาะวิวาท และกฎหมายที%เกี% ยวกับการซื. อ Merrill Lynch และ ไบรอัน Moynihan เป็ นประธานและซี อีโอที%มี ประสิ ทธิ ภาพ 1 มกราคม 2010 หลังจากที% Moynihan สันนิ ษฐานการควบคุ มบัตรเครดิ ตไม่ชอบ ค่าใช้จ่ายและ delinquencies ลดลงในเดือนมกราคม ธนาคารแห่งอเมริ กายังชําระคืน $45,000,000,000 ที%มนั ได้รับจากโครงการบรรเทาทุกข์สินทรัพย์ ประวัติธนาคาร Goldman Sachs Group, Inc ในปี ค.ศ. 1869-1930 Goldman Sachs ก่อตั.งขึ.นใน New York ในปี 1869 โดยเยอรมันที%เกิดใน โกลด์แมนมาร์ คสั ใน ปี ค.ศ. 1882, Goldman บุตรชายของในกฎหมายว่าด้วย ซามูเอลแมนแซคส์ ร่ วมงานกับ บริ ษทั ใน 1885 Goldman เอาลูกชายของเขาและเฮนรี% บุตรชายในกฎหมายของเขาลุดวิกรย์ฟัสเป็ นธุ รกิจและ บริ ษทั ที% นําชื%อปั จจุบนั บริ ษทั Goldman Sachs & Co บริ ษทั ฯ ได้ทาํ ชื%อสําหรับตัวเองเป็ นผูบ้ ุกเบิกการใช้งาน ของ กระดาษในเชิ ง พาณิ ช ย์ สํา หรั บ ผู ้ป ระกอบการและได้รั บ เชิ ญ ให้ เ ข้า ร่ ว ม ในนิ ว ยอร์ ก ตลาด หลักทรัพย์ (NYSE) ในปี 1896 ในช่วงศตวรรษที%20 Goldman ถูกผูเ้ ล่นในการจัดตั.งที%มี การเสนอขาย ต่อประชาชนทัว% ไป (IPO) ในตลาด จัดการมันเป็ นหนึ%งในเงื%อนไขที%ใหญ่ที%สุดในวันที% Sears, Roebuck และ บริ ษทั ในปี 1906 นอกจากนี. ยงั กลายเป็ นหนึ% งใน บริ ษทั แรกที%หนักรั บสมัค รผูท้ ี% มี ปริ ญญาโท MBA องศาจากโรงเรี ยนชั.นนําธุ รกิจ การปฏิบตั ิที%ยงั คงดําเนิ นต่อในวันนี. เมื%อ 4 ธันวาคม 1928 จะ
166 เปิ ดตัว Goldman Sachs เทรดดิ.งคอร์ป กองทุนปิ ดท้าย กองทุนที%ลม้ เหลวเป็ นผลจากการที% ชนตลาดของ 1,929 ทําร้ายชื% อเสี ยงของ บริ ษทั เป็ นเวลาหลายปี หลังจากนั.น ของกรณี น. ี และอื%น ๆ เช่น Blue Ridge คอร์ ปอเรชัน% และ Shenandoah คอร์ ปอเรชัน% John Kenneth Galbraith wrote ฤดูใบไม้ร่วงของ 1929 คือบางทีในโอกาสแรกเมื%อผูช้ ายที%ประสบความสําเร็ จในระดับมากในการหลอกลวงตัวเอง ในปี ค.ศ.1930-1980 ในปี 1930 ซี ด นี ย ์ Weinberg ถื อ ว่า บทบาทของพัน ธมิ ต รระดับ สู ง และได้ย ้า ยจุ ด เน้น ของ Goldman ห่างจากการค้าและการต่อ ธนาคารเพื%อการลงทุน มันเป็ นกระทําของ Weinberg ที%ช่วยให้การ เรี ยกคืนบางส่ วนของชื%อเสี ยงที%มวั หมองของโกลด์แมน ที%ดา้ นหลังของ Weinberg, Goldman ที%ปรึ กษา นําในที%ถูก บริ ษทั Ford Motor ของ หุ ้น IPO ในปี 1956 ซึ% งขณะนั.นเป็ นรัฐประหารที%สําคัญใน Wall Street ภายใต้ก ารปกครองของ Weinberg บริ ษ ัท ยัง เริ% ม ต้น แผนกวิจ ัย การลงทุ น และ พัน ธบัต ร เทศบาล แผนก นอกจากนี. ยงั เป็ นช่วงเวลานี. ว่า บริ ษทั กลายเป็ นผูร้ ิ เริ% มในช่วงต้นของ การเก็งกําไรมี ความเสี% ยง Gus Levy ร่ วมงานกับ บริ ษทั ในปี 1950 เป็ นผูป้ ระกอบการค้าหลักทรัพย์ซ% ึ งเริ% มมีแนวโน้มที% โกลด์แมนที%จะมีสองอํานาจทัว% ไป vying สําหรับมไหศวรรย์หนึ% งจากธนาคารเพื%อการลงทุนและหนึ% ง จากการซื. อขายหลักทรัพย์ สําหรับส่ วนมากของทศวรรษที% 1950 และปี 1960 นี. จะเป็ น Weinberg และเลวี% เก็บเป็ นผูบ้ ุกเบิกใน การซื.อขายป้ องกัน และ บริ ษทั ที%จดั ตั.งขึ.นแนวโน้มนี.ภายใต้คาํ แนะนําของ เขา เนื%องจากอิทธิ พลของหนัก Weinberg ที% บริ ษทั ที%มนั เกิดขึ.นแผนกวาณิ ชธนกิจในปี 1956 ในความ พยายามที%มีอิทธิพลต่อการแพร่ กระจายไปทัว% และไม่ได้มุง่ เน้นมันทั.งหมดใน Weinberg ในปี 1969 เลวี%เอาไปเป็ นหุ ้นส่ วนอาวุโสจาก Weinberg แฟรนไชส์และสร้างการซื. อขายโกลด์ แมนอีกครั.ง มันเป็ นเลวี%ที%เป็ นเครดิตกับปรัชญาที%มีชื%อเสี ยงของ Goldman ของการเป็ น"ระยะยาวโลภ" ซึ%งส่ อให้เห็นว่าตราบใดที%เงินจะทําในระยะยาวการสู ญเสี ยการซื. อขายในระยะสั.นไม่ตอ้ งกังวลเกี%ยวกับ การ ในเวลาเดียวกันคูค่ า้ นํากลับไปลงทุนเกือบทั.งหมดของกําไรของพวกเขาใน บริ ษทั เพื%อให้โฟกัสได้ เสมอในอนาคต ในปี เดียวกันนั.น Weinberg ออกจาก บริ ษทั อีกวิกฤตการณ์ทางการเงินสําหรับ บริ ษทั ที%เกิดขึ.นในปี 1970 เมื%อ บริ ษทั เพนน์กลางการขนส่ ง ล้มละลายมีมากกว่า $ 80,000,000 ในกระดาษเชิง พาณิ ชย์ที%โดดเด่นมากที%สุดของมันที%ออกโดย บริ ษทั Goldman Sachs โดย บริ ษทั ที%ลม้ ละลายมีขนาด
167 ใหญ่ แ ละคดี ที% เ กิ ด ขึ. น เป็ นภัย คุ ก คามทุ น เป็ นหุ ้น ส่ ว นและชี วิต ของ บริ ษ ัท มัน เป็ นที% ท าํ ให้เ กิ ด การ ล้มละลายในครั.งนี. จัดอันดับเครดิต ถูกสร้างขึ.นสําหรับ บริ ษทั ผูอ้ อกตัวJ เงินทุกวันนี.โดยให้บริ การการ จัดอันดับเครดิตหลาย ในช่วงปี 1970 ที% บริ ษทั ยังขยายตัวในหลายวิธีนอกจากนี.ยงั เป็ นผูบ้ ุกเบิก" อัศวิน สี ขาว "กลยุทธ์ในปี 1974 ในระหว่างความพยายามในการป้ องกันแบตเตอรี% ที%เก็บไฟฟ้ ากับ ครอบครอง เป็ นมิตร เสนอราคาจากนานาชาตินิกเกิลและ Goldman คู่แข่ง มอร์ แกนสแตนลีย ์ การกระทํานี.จะเพิ%ม ชื%อเสี ยงของ บริ ษทั เป็ น ที%ปรึ กษาการลงทุน เพราะมันจํานํา ที%จะไม่เข้าร่ วมในการ takeovers เป็ นมิตร John L. Weinberg (ลูกชายของ Weinberg ซี ดนีย)์ และ จอห์นซี Whitehead สันนิษฐานว่าบทบาทของ หุน้ ส่ วนร่ วมอาวุโสในปี 1976 อีกครั.งหนึ%งเน้นการเป็ นผูน้ าํ ร่ วมที% บริ ษทั หนึ%งของการริ เริ% มของพวกเขา คือสถานประกอบการของ 14 หลักการทางธุรกิจที% ที%ยงั คงใช้ไปในวันนี. ในปี ค.ศ. 1980-1990 เมื%อ 16พฤศจิกายน 1981 บริ ษทั ที%ทาํ ย้ายโดยการซื. อเจ Aron และ บริ ษทั ที%มี การซื. อขาย สิ นค้า ของ บริ ษทั ที%ควบรวมกิจการกับการแบ่งรายได้คงที%จะกลายเป็ นที%รู้จกั กันเป็ นตราสารหนี.สกุล เงินและสิ นค้าโภคภัณฑ์ เจ Aron ถูกผูเ้ ล่นในตลาดเครื% องชงกาแฟและทองและซี อีโอในปั จจุบนั ของ Goldman, Lloyd Blankfein ร่ วมงานกับ บริ ษทั เป็ นผลมาจากการควบรวมกิจการนี. ในปี 1985 มัน underwrote การเสนอขายหุ ้นสาธารณะของ ความน่ าเชื% อถื อการลงทุนด้านอสังหาริ ม ทรัพย์ ที%เป็ น เจ้า ของ Rockefeller Center แล้ว ที% ใ หญ่ที% สุ ด ใน Reit นํา เสนอในประวัติ ศ าสตร์ ให้ส อดคล้องกับ จุดเริ% มต้นของการ สลายตัวของสหภาพโซเวียต บริ ษทั ยังได้กลายเป็ นที%เกี%ยวข้องในการอํานวยความ สะดวกในการเคลื%อนไหวแปรรู ปของโลกโดย บริ ษทั ให้คาํ ปรึ กษาที%ถูกปั% นออกจากรัฐบาลผูป้ กครอง ในปี 1986 บริ ษทั ที%เกิดขึ.นการบริ หารจัดการสิ นทรัพย์ของ Goldman Sachs ซึ% งจัดการส่ วนใหญ่ของ กองทุ น รวมและ กองทุ น ป้ องกัน ความเสี% ย ง ในวัน นี. ในปี เดี ย วกัน บริ ษ ัท ยัง underwrote IPO ของ ไมโครซอฟท์ คําแนะนํา ของ บริ ษทั General Electric เกี% ยวกับการซื. อกิจการของ อาร์ ซีเอ และ ร่ วม กรุ งลอนดอน และ ตลาดหุ ้นโตเกียว 1986 ยังเป็ นปี ที%โกลด์แมนกลายเป็ นคนแรกสหรัฐอเมริ กา ธนาคารในการจัดอันดับในด้านบน 10 จาก การควบรวมกิจการ ในสหราชอาณาจักร ในช่วงทศวรรษ 1980 บริ ษทั ได้กลายมาเป็ นธนาคารแรกที%เผยแพร่ งานวิจยั การลงทุนสร้างทางอิเล็กทรอนิกส์ และการ เสนอขายหุน้ สาธารณะครั.งแรกของต้นฉบับปั ญหาลึกส่ วนลด พันธบัตร โรเบิร์ตรู บิน และ สตีเฟ่ นฟรี ด
168 แมน สันนิษฐาน Partnership Co อาวุโสในปี 1990 และให้คาํ มัน% ที%จะมุง่ เน้นไปที%โลกาภิวตั น์ของ บริ ษทั และเสริ มสร้างความเข้มแข็งการควบรวมกิจการและการได้มาและสายธุรกิจเทรดดิ.ง ในช่วงรัชสมัยของ พวกเขาซึ% งเป็ น บริ ษทั ที%นาํ การค้าไร้กระดาษไปที% New York Stock Exchange และนําไปสู่ ที%มีการ จัดการทัว% โลกครั. งแรก ที% นํา เสนอหนี. โดย บริ ษ ทั สหรั ฐ นอกจากนี. ย งั ได้เปิ ดตัว Goldman Sachs Commodity Index (GSCI) และเปิ ดสํา นัก งานปั ก กิ% ง ในปี 1994 นี. มัน เป็ นปี เดี ย วกัน กับ ที% จอน Corzine สันนิษฐานความเป็ นผูน้ าํ ของ บริ ษทั ดังต่อไปนี.ออกจากรู บินและฟรี ดแมน อีก เหตุ ก ารณ์ สําคัญยิ%ง ในประวัติศ าสตร์ ข อง Goldman ของเป็ น bailout เม็กซิ ก นั ของปี 1995 Rubin ดึงวิพากษ์วจิ ารณ์ในสภาคองเกรสสําหรับการใช้บญั ชีกรมธนารักษ์ภายใต้การควบคุมส่ วน บุคคลของเขาที%จะแจกจ่าย 20,000,000,000 $ ที%จะประกันตัวออกพันธบัตรเม็กซิ กนั ที%โกลด์แมนเป็ นผู ้ จัดจําหน่ายที%สําคัญ วันที% 22 พฤศจิกายน 1994 เม็กซิ กนั ในตลาดหลักทรัพย Bolsa ได้เข้ารับการรักษา โกลด์แมน แซคส์และเป็ นหนึ%งใน บริ ษทั อื%น ๆ ในการดําเนินงานในตลาดที% 1994 วิกฤติเศรษฐกิจใน เม็กซิโก ขูว่ า่ จะเช็ดออกมูลค่าของพันธบัตรของเม็กซิ โกที%ถือโดย บริ ษทั Goldman Sachs บริ ษทั ได้เข้า ร่ วม กับดาวิดกี.เฟลเลอร์ และคู่คา้ ในการเป็ นเจ้าของร่ วมกัน 50-50 ของ Rockefeller Center ในช่วงปี 1994 แต่ต่อมาได้ขายหุ ้นเพื%อ Tishman สเปเยอร์ ในปี 2000 ในปี 1996 Goldman เป็ นผูจ้ ดั การการจัด จํา หน่ า ยของ Yahoo ! เสนอขายครั. งแรกและในปี 1998 ก็ คื อ ผูป้ ระสานงานทั%ว โลกของ NTT DoCoMo IPO ในปี 1999 เฮนรี% Paulson เอาไปเป็ นหุน้ ส่ วนอาวุโส ในปี ค.ศ.1990 หนึ% งในกิ จกรรมที%ใหญ่ที%สุดในประวัติศาสตร์ ของ บริ ษทั ที%ถูกเสนอขายหุ ้นของตัวเองในปี 1999 การตัดสิ นใจที% จะไปสาธารณะเป็ นคนหนึ% งที%พ นั ธมิ ตรที% ถกเถี ยงกันมานานหลายทศวรรษ ใน ท้ายที%สุดGoldman ตัดสิ นใจที%จะมีเพียงส่ วนเล็ก ๆ ของ บริ ษทั ให้กบั ประชาชนที%มีบางส่ วน 48% ถือ โดยยังคงสระว่ายนํ.าเป็ นหุน้ ส่ วน 22% ของ บริ ษทั ที%จดั ขึ.นโดยพนักงานที%ไม่ใช่พนั ธมิตร และ 18% คือ ที%ถือโดยคู่คา้ ของ Goldman ออกและนักลงทุนทั.งสองมานาน ซูมิโตโม จํากัด ธนาคาร และฮาวายของ Kamehameha กิจกรรม Assn (แขนลงทุนของ โรงเรี ยน Kamehameha ) นี. เหลือประมาณ 12% ของ บริ ษทั ตามที%ถูกจัดขึ.นโดยประชาชน กับ บริ ษทั ที%เสนอขายครั.งแรก 1999 Paulson เป็ นประธานและ
169 ประธานเจ้าหน้าที%บริ หารของ บริ ษทั As of 2009 หลังจากที%การเสนอขายหุ ้นต่อประชาชน, Goldman เป็ น 67% เป็ นเจ้าของโดยสถาบันการศึกษา (เช่นกองทุนบําเหน็จบํานาญและธนาคารอื%นๆ ) ในปี 1999 Goldman มา ฮัล ล์ เ ทรดดิ. ง บริ ษัท แห่ ง หนึ% งของโลกของ บริ ษัท ที% ท ํา ตลาดชั.น นํา สํ า หรั บ $ 531,000,000 เมื%อเร็ ว ๆ นี. บริ ษทั ที%ได้รับการว่างทั.งในด้านวาณิ ชธนกิจและในกิจกรรมการซื. อขาย มัน ซื. อหอกลีดส์ และ Kellogg หนึ%งใน บริ ษทั ที%ใหญ่ที%สุดผูเ้ ชี% ยวชาญใน New York Stock Exchange สําหรับ $ 6,300,000,000 ในกันยายน 2000 นอกจากนี.ยงั ให้คาํ แนะนําเกี%ยวกับการเสนอขายตราสารหนี. สําหรับรัฐบาลของประเทศจีน และอิเล็กทรอนิกส์ที%นาํ เสนอครั.งแรกสําหรับ ธนาคารทัว% โลก ในปี 2003 ก็เอาหุ ้น 45% ในบริ ษทั ร่ วมทุนกับ JBWere ธนาคารการลงทุนของออสเตรเลีย ในปี 2009 ความมัง% คัง% แขนการบริ หารจัดการของภาคเอกชน JBWere ถู ก ขายเป็ น บริ ษ ทั ร่ วมทุ นกับ ธนาคารแห่ ง ชาติ ออสเตรเลี ย โกลด์ได้เปิ ดบริ การเต็มรู ป แบบนายหน้าตัวแทนจํา หน่ า ยในประเทศบราซิ ลในปี 2007 หลังจากที%มีการตั.งค่าการสํานักงานธนาคารเพื%อการลงทุนในปี 1996 และยังขยายการลงทุนใน บริ ษทั ที% จะรวม เบอร์เกอร์คิง McJunkin คอร์ปอเรชัน% และในเดือนมกราคม 2007 พันธมิตรแอตแลนติ ควบคู่ไป กับ การติ ดต่อสื% อ สารทัว% โลก Canwest เป็ นเจ้า ของสิ ท ธิ แต่เ พีย งผูเ้ ดี ย วที% อ อกอากาศไปยัง ทั.ง สาม ชุด CSI บริ ษทั ยังมีส่วนร่ วมอย่างมากในการซื. อขายพลังงานรวมทั.งนํ.ามันทั.งบนหลักและพื.นฐานการ เป็ นตัวแทน ในเดื อ นพฤษภาคม 2006 Paulson เหลื อ บริ ษ ทั ที% จ ะให้บ ริ ก ารเป็ น เลขานุ ก ารคลัง สหรัฐ และ Lloyd Blankfein C. คือการส่ งเสริ มให้ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที%บริ หาร อดีต พนักงานของ Goldman มีหัว New York Stock Exchange โลกธนาคารของสหรัฐที%กรมธนารักษ์ เจ้าหน้าที%ทาํ เนียบขาวและ บริ ษทั เช่น ซิต. ีกรุ๊ ป และ Merrill Lynch ประวัติธนาคาร JPMORGAN CHASE & CO. JP Morgan เป็ นผูน้ าํ ในการจัดการสิ นทรัพย์วาณิ ชธนกิจธนาคารเอกชนที%ให้บริ การทางการเงิน และ บริ ษทั หลักทรัพย์และธนาคารพาณิ ชย์ วันนี. บริ ษทั ที%ทาํ หน้าที%เป็ นหนึ%งในแฟรนไชส์ ที%ใหญ่ที%สุด ของลูกค้าในโลกรวมทั.งองค์กรนักลงทุนสถาบันกองทุนป้ องกันความเสี% ยง รัฐบาล องค์กรด้านการดูแล สุ ขภาพ สถาบันการศึกษาและบุคคลที%ร% าํ รวยในกว่า 100 ประเทศ
170 JP Morgan ได้รับการช่วยให้ลูกค้าของเราในการทําธุ รกิจชั.นแรกมานานกว่า 200 ปี ตลอด ระยะเวลาที%เราได้นาํ วิธีการที%ระยะยาวเพื%อแก้ปัญหาของลูกค้า ให้มุ่งมัน% แนะนํานวัตกรรมและความ สอดคล้องกันและการดําเนิ นการให้กบั ลูกค้าของเราทุกครั.ง เราหวังที%จะให้บริ การลูกค้าของเราด้วย บริ การชั.นแรกกว่า 200 ปี ต่อไปเป็ น บริ ษทั ที%เรามีประวัติของการแสดงความเป็ นผูน้ าํ โดยเฉพาะอย่างยิง% ในช่ วงเวลาของวิกฤตการณ์ ทางการเงิ น เรายัง คงที% จะสร้ า งแบบดั.งเดิ ม ที% นับ ตั.ง แต่แรกที%เรามี ส่ วน ร่ วมกับธุรกิจสังคมและโลกกิจการ การกระทําของเราได้รับเสมอขับเคลื%อนด้วยความต้องการที%จะทําสิ% ง ที%เหมาะสมสําหรับวันนี.และวันพรุ่ งนี.
ใน ปี 2008 JP Morgan มีบทบาทสําคัญในการช่วยให้การบริ หารจัดการวิกฤตสิ นเชื%อที%ผา่ นการ เข้าซื.อกิจการของ Bear Stearns ในปี 1996 บริ ษทั ที%นาํ ไปสู่ การร่ วมกันครั.งแรก "ศตวรรษ"พันธบัตรสําหรับผูก้ อู้ ธิ ปไตย100 ปี $ 100,000,000 ปัญหาสําหรับสาธารณรัฐประชาชนจีน ในปี 1980 บรรพบุรุษของ บริ ษทั Hambrecht & Quist (H & Q) ใช้แอปเปิ. ลคอมพิวเตอร์ สาธารณะ ในปี 1968 บริ ษทั เปิ ดตัว Euroclear, ระบบสําหรับการตั.งถิ%นฐานเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยของการ ทําธุรกรรมใน Eurobonds ในปี 1955 Chase ธนาคารแห่ งชาติควบรวมกับธนาคารของ บริ ษทั แมนฮัตตันในรู ปแบบ ธนาคาร Chase Manhattan ในปี 1929 ทั.งสองสถาบันโอไฮโอผสานกับรู ปแบบที%เมืองธนาคารแห่งชาติและเชื%อถือบรรพ บุรุษของธนาคารหนึ%ง
171 ในปี 1915 JP Morgan จัดให้มีเงินกูต้ ่างประเทศที%ใหญ่ที%สุดในประวัติศาสตร์ -- $ 500,000,000 เงินกูย้ มื แองโกล / ฝรั%งเศส ในปี 1906 JP Morgan เป็ นศูนย์กลางไปสู่ การสร้างของสหรัฐเหล็ก, GE และ AT & T ในปี 1895 เจ Pierpont มอร์ แกน, Sr จะกลายเป็ นหุ ้นส่ วนอาวุโสบริ ษทั ที%นิวยอร์ กจะถูกเปลี%ยน ชื%อ JP Morgan & Co ในปี 1893 JP Morgan เป็ นเงินทุนหลักของการรถไฟสหรัฐ ในปี 1848 ธนาคารจะเปิ ดวอบรรพบุรุษของ Chase Manhattan ธนาคาร ในปี 1824 ธนาคารของสารเคมีที%จะจัดตั.งขึ.น ในปี 1799 บริ ษทั แมนฮัตตันซึ%งเป็ นสถาบันที%บรรพบุรุษของ บริ ษทั แรกเป็ นชาร์เตอร์ด ธุรกิจหลักของJP Morgan ได้แก่ บริ ษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุน การบริ หารจัดการสิ นทรัพย์ให้สถาบันสู ง คุม้ ค่าและลูกค้านัก ลงทุนของแต่ละบุคคลที%มีคุณภาพทัว% โลกการจัดการการลงทุนสู งในตราสารทุน รายได้คงที%สินทรัพย์ จริ งกองทุนป้ องกันความเสี% ยงส่ วนบุคคลและสภาพคล่องเงินสด โดยการสร้างชื%อเสี ยงความเป็ นเลิศการ ลงทุนและการบริ การที%เหนือกว่าการจัดการสิ นทรัพย์ JP Morgan ได้กลายเป็ นหนึ%งที%ใหญ่ที%สุดผูจ้ ดั การ สิ นทรัพย์ในโลก ธนาคารเพื%อการลงทุน JP Morgan เข้าใจความท้าทายที%ซับซ้อนและโอกาสที%บุคคลและ ครอบครัวของใบหน้าของความมัง% คัง% ในฐานะที%ปรึ กษาของ JP Morgan จะช่วยให้ลูกค้าของตนในการ ป้ องกันและการเจริ ญเติบโตความมัง% คัง% ของพวกเขาข้ามรุ่ นสร้างที%มีศกั ยภาพสําหรับพวกเขาเพื%อให้
172 บรรลุ วิสัย ทัศ น์ที% พ วกเขาแสวงหาเพื% อตัวเองครอบครั ว และธุ รกิ จของพวกเขาและมรดกของพวก เขา ลู ก ค้า ได้รับ ประโยชน์จากความหลากหลายของการลงทุ นที% ค รอบคลุ ม ความเชี% ย วชาญการจัด โครงสร้างความมัง% คัง% ไว้วางใจและการวางแผนการจัดการอสังหาริ มทรัพย์ เครดิตธนาคารและความ เสี% ยง บริ การธุ รกิจหลักทรัพย์ JP Morgan เป็ นผูใ้ ห้บริ การชั.นนําหลักทรัพย์บริ การที%จะช่วยให้นกั ลงทุนสถาบันผูจ้ ดั การสิ นทรัพย์ทางเลือก ผูแ้ ทนจําหน่ายโบรกเกอร์ และส่ วนของผูอ้ อกตราสารหนี.ที%มี ประสิ ทธิภาพเพิม% ประสิ ทธิ ภาพ ลดความเสี% ยงและเพิ%มรายได้ JP Morgan ใช้ประโยชน์จากขนาดที%ไม่มี ใครเทียบของ บริ ษทั ชั.นนําด้านเทคโนโลยีและความเชี%ยวชาญในอุตสาหกรรมลึกการลงทุนในบริ การ ทัว% โลก บริ การธนารักษ์ ธนารักษ์ให้บริ การการชําระเงินนวัตกรรมการเก็บสภาพคล่องและการจัดการ การลงทุน การเงินการค้าบัตรเชิ งพาณิ ชย์และการแก้ปัญหาข้อมูลไปยังโลกของ บริ ษทั ชั.นนํารัฐบาล ธนาคารในระดับภูมิภาคและสถาบันการเงินทัว% โลก ธนาคารพาณิ ชย์ ธนาคารพาณิ ชย์ให้สินเชื% อและบริ การทางการเงินการธนาคารการลงทุนและ บริ การการจัดการการลงทุนให้มากขึ.นกว่า 30,000 ลูกค้ารวมถึง บริ ษทั เทศบาล สถาบันการเงินและนิติ บุคคลที%ไม่แสวงหาผลกําไร
71
72
71
บทที 4 ผลการศึกษา ในการศึกษารายงานทางการเงินเพื อดูรายการนอกงบดุล กรณี ศึกษา ธนาคารกรุ งไทย จํากัด (มหาชน), ธนาคารไทยพาณิ ชย์ จํากัด (มหาชน) ,ธนาคารกสิ กรไทย จํากัด (มหาชน), GOLDMAN SACHS GROUP INC , BANK OF AMERICA CORP และJPMORGAN CHASE & CO
รายงานทางการเงินของธนาคาร ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) (หน่วย:ล้านบาท) งวดงบการเงิน
งบปี 51
งบปี 52
งบปี 53
ณ วันที
31/12/2551
31/12/2552
31/12/2553
สินทรัพย์รวม
1,330,375.76
1,543,830.14
1,762,476.37
หนีส. ินรวม
1,226,747.63
1,431,302.97
1,636,688.92
103,628.13
112,527.17
125,787.45
มูลค่าหุ้นที เรียกชําระแล้ว
57,604.03
57,604.03
57,604.03
รายได้รวม
77,566.74
71,767.83
78,752.77
กําไรสุ ทธิ
12,271.75
12,189.16
14,913.24
กําไรต่ อหุ้น (บาท)
1.10
1.09
1.33
ROA (%)
1.24
1.23
1.24
ROE (%)
12.32
11.28
12.52
ส่ วนของผู้ถือหุ้น
174 15.82
16.98
18.94
30/12/2551
30/12/2552
30/12/2553
3.80
9.85
17.30
42,483.05
110,120.53
193,409.66
อัตรากําไรสุ ทธิ (%) ค่าสถิติสําคัญ ณ วันที ราคาล่ าสุ ด(บาท) มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด วันที ของงบการเงินที ใช้ คาํ นวณค่าสถิติ
30/09/2551
30/09/2552
30/09/2553
P/E (เท่ า)
4.10
9.33
13.67
P/BV (เท่ า)
0.42
1.01
1.58
มูลค่าหุ้นทางบัญชีต่อหุ้น (บาท)
9.06
9.76
10.95
อัตราส่ วนเงินปันผลตอบแทน(%)
7.89
4.47
2.31
ตารางที 1 ตารางแสดงผลการดําเนินงานของบมจ.ธนาคารกรุ งไทย
เมื อพิจารณากําไรสุ ทธิ ต่อหุ ้น (EPS) เพิ มขึQนเป็ น 1.33บาทต่อหุ ้นในปี 2553 จาก 1.09 บาท ต่อหุ ้นในปี 2552 และ 1.10 บาทต่อหุ ้นในปี 2551อัตราผลตอบแทนต่อผูถ้ ือหุ ้น (ROE) และอัตรา ผลตอบแทนต่อสิ นทรัพย์ (ROA) เพิ มขึQนเป็ นร้อยละ 12.52 และร้อย1.24 ในปี 2553 จากร้อยละ 11.28 และร้อยละ1.23 ในปี 2552 ซึ งลดลงจากร้อยละ12.32 และร้อยละ 1.24 ในปี 2551 อัตรากําไร สุ ทธิเพิม ขึQนเป็ นร้อยละ18.94 ในปี 2553 จากร้อยละ 16.98 ในปี 2552 และร้อยละ 15.82 ในปี 2551
175 รายได้รวม รายได้รวม 80,000.00 75,000.00
78,752.77
77,566.74
รายได้รวม (ล้านบาท)
70,000.00
71,767.83
65,000.00 2551
2552
2553
แผนภูมทิ ี 1 แสดงรายได้รวมของบมจ.ธนาคารกรุ งไทย
กําไรสุ ทธิ กํา ไรสุทธิ 20,000.00 15,000.00 10,000.00
12,271.75
12,189.16
2551
2552
14,913.24 ก าํ ไรสุทธิ (ล้านบาท)
5,000.00 0.00 2553
แผนภูมทิ ี 2 แสดงกําไรสุทธิของบมจ.ธนาคารกรุ งไทย
176 กําไรต่อหุน้
แผนภูมทิ ี 3 แสดงกําไรต่อหุน้ ของบมจ.ธนาคารกรุ งไทย
ROA ROA 1.245 1.24 1.235
1.24
1.24 ROA (%)
1.23
1.23
1.225 2551
2552
2553
แผนภูมทิ ี 4 แสดง ROA ของบมจ.ธนาคารกรุ งไทย
177 ROE ROE 13 12.5 12
12.52
12.32
ROE (%)
11.5 11
11.28
10.5 2551
2552
2553
แผนภูมทิ ี 5 แสดง ROE ของบมจ.ธนาคารกรุ งไทย
อัตรากําไรสุ ทธิ อัตรากําไรสุ ทธิ 20 19 18 17 16 15 14
18.94 อัตรากําไรสุ ทธิ (%)
16.98 15.82 2551
2552
2553
แผนภูมทิ ี 6 แสดงอัตรากําไรสุทธิของบมจ.ธนาคารกรุ งไทย
178 P/E
แผนภูมทิ ี 7 แสดง P/ E ของบมจ.ธนาคารกรุ งไทย
มูลค่าหุน้ ทางบัญชีต่อหุ ้น
แผนภูมทิ ี 8 แสดงมูลค่าทางบัญชีตอ่ หุน้ ของบมจ.ธนาคารกรุ งไทย
179 ธนาคารไทยพาณิชย์ งวดงบการเงิน
งบปี 51
งบปี 52
งบปี 53
ณ วันที
31/12/2551
31/12/2552
31/12/2553
สินทรัพย์รวม
1,241,639.67
1,294,046.52
1,476,763.79
หนีส. ินรวม
1,113,744.01
1,152,241.86
1,321,658.72
127,204.52
141,017.54
154,315.64
มูลค่าหุ้นที เรียกชําระแล้ว
33,991.92
33,991.92
33,991.92
รายได้รวม
89,381.18
81,712.42
86,333.84
กําไรสุ ทธิ
21,413.70
20,759.72
24,205.97
กําไรต่ อหุ้น (บาท)
9.03
6.21
7.12
ROA (%)
2.51
2.20
2.45
ROE (%)
17.99
15.48
16.39
อัตรากําไรสุ ทธิ(%)
23.96
25.41
28.04
30/12/2551
30/12/2552
30/12/2553
48.25
86.75
103.50
119,799.18
294,258.41
351,136.20
ส่ วนของผู้ถือหุ้น
ค่าสถิติสําคัญ ณ วันที ราคาล่ าสุ ด(บาท) มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด วันที ของงบการเงินที ใช้ คาํ นวณ
30/09/2551
30/09/2552
30/09/2553
ค่าสถิติ P/E (เท่ า)
7.64
14.77
15.33
P/BV (เท่ า)
1.36
2.17
2.35
35.51
40.01
44.07
มูลค่าหุ้นทางบัญชีต่อหุ้น (บาท)
180 3.17
อัตราส่ วนเงินปันผลตอบแทน(%)
1.69
2.42
ตารางที 2 ตารางแสดงผลการดําเนินงานของธนาคารไทยพาณิ ชย์
เมื อพิจารณากําไรสุ ทธิ ต่อหุ ้น (EPS) เพิ มขึQนเป็ น 7.12 บาทต่อหุ ้นในปี 2553 จาก 6.21 บาท ต่อหุ ้นในปี 2552 และ 9.03 บาทต่อหุ ้นในปี 2551 อัตราผลตอบแทนต่อผูถ้ ือหุ ้น (ROE) และอัตรา ผลตอบแทนต่อสิ นทรัพย์ (ROA) เพิ มขึQนเป็ นร้อยละ 16.39 และร้อยละ 2.45 ในปี 2553 จากร้อยละ 15.48 และร้อยละ 2.20 ในปี 2552 ซึ งลดลงจากร้อยละ 17.99 และร้อยละ 2.51 ในปี 2551 อัตรา กําไรสุ ทธิเพิม ขึQนเป็ นร้อยละ 28.04 ในปี 2553 จากร้อยละ 25.41 ในปี 2552 และร้อยละ 23.96 ในปี 2551
ร
ายได้รวม รายได้ ร วม 90,000.00
89,381.18 85,000.00
86,333.84 รายได้รวม (ล้านบาท)
80,000.00
81,712.42
75,000.00 2551
2552
2553
แผนภูมทิ ี 9 แสดงรายได้รวมของธนาคารไทยพาณิ ชย์
181 กําไรสุ ทธิ
แผนภูมทิ ี 10 แสดงกําไรสุทธิของธนาคารไทยพาณิ ชย์
กําไรต่อหุน้
แผนภูมทิ ี 11 แสดงกําไรต่อหุน้ ของธนาคารไทยพาณิ ชย์
182 ROA
แผนภูมทิ ี 12 แสดง ROA ของธนาคารไทยพาณิ ชย์
ROE
แผนภูมทิ ี 13 แสดง ROE ของธนาคารไทยพาณิ ชย์
183 อัตรากําไรสุ ทธิ
แผนภูมทิ ี 14 แสดงอัตรากําไรสุทธิของธนาคารไทยพาณิ ชย์
P/E
แผนภูมทิ ี 15 แสดง P/E ของธนาคารไทยพาณิ ชย์
184 มูลค่าหุน้ ทางบัญชีต่อหุ ้น
แผนภูมทิ ี 16 แสดงมูลค่าทางบัญชีตอ่ หุน้ ของธนาคารไทยพาณิ ชย์
ธนาคารกสิ กรไทย งวดงบการเงิน ณ วันที
งบปี 51
งบปี 52
งบปี 53
31/12/2551
31/12/2552
31/12/2553
สินทรัพย์รวม
1,303,554.49
1,358,532.09
1,551,527.57
หนีส. ินรวม
1,189,891.90
1,226,576.00
1,406,040.10
113,662.54
123,066.39
134,942.70
มูลค่าหุ้นที เรียกชําระแล้ว
23,932.60
23,932.60
23,932.60
รายได้รวม
82,776.91
83,679.10
120,686.05
กําไรสุ ทธิ
15,333.26
14,891.79
20,046.69
กําไรต่ อหุ้น (บาท)
6.41
6.22
8.38
ROA (%)
1.93
1.59
2.09
ROE (%)
14.35
12.58
15.54
ส่ วนของผู้ถือหุ้น
185 18.52
อัตรากําไรสุ ทธิ(%) 30/12/2551
ค่าสถิติสําคัญ ณ วันที
วันที ของงบการเงินที ใช้ คาํ นวณค่าสถิติ
30/12/2552
16.61 30/12/2553
45.00
85.00
125.50
107,696.71
203,427.12
300,354.15
ราคาล่ าสุ ด(บาท) มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด
17.80
30/09/2551
30/09/2552
30/09/2553
P/E (เท่ า)
6.66
14.52
16.80
P/BV (เท่ า)
0.99
1.71
2.26
มูลค่าหุ้นทางบัญชีต่อหุ้น (บาท)
45.58
49.83
55.61
อัตราส่ วนเงินปันผลตอบแทน(%)
4.44
2.35
1.99
ตารางที 3 ตารางแสดงผลการดําเนินงานของธนาคารกสิ กรไทย
เมื อพิจารณากําไรสุ ทธิต่อหุน้ (EPS) เพิม ขึQนเป็ น 8.38 บาทต่อหุ ้นในปี 2553 จาก 6.22 บาท ต่อหุ ้นในปี 2552 และ 6.41 บาทต่อหุ ้นในปี 2551อัตราผลตอบแทนต่อผูถ้ ือหุ ้น (ROE) และอัตรา ผลตอบแทนต่อสิ นทรัพย์ (ROA) เพิม ขึQนเป็ นร้อยละ 15.54 และร้อยละ 2.09 ในปี 2553 จากร้อยละ 12.58 และร้อยละ1.59 ในปี 2552 ซึ งลดลงจากร้อยละ14.35และร้อยละ 1.93 ในปี 2551 อัตรากําไร สุ ทธิลดลงเป็ นร้อยละ16.61 ในปี 2553 จากร้อยละ 17.80 ในปี 2552 และร้อยละ 18.52 ในปี 2551
186 รายได้รวม
แผนภูมทิ ี 17 แสดงรายได้รวมของธนาคารกสิ กรไทย
กําไรสุ ทธิ
แผนภูมทิ ี 18 แสดงกําไรสุทธิของธนาคารกสิ กรไทย
187 กําไรต่อหุน้
แผนภูมทิ ี 19 แสดงกําไรต่อหุน้ ของธนาคารกสิ กรไทย
ROA
แผนภูมทิ ี 20 แสดง ROA ของธนาคารกสิ กรไทย
188 ROE
แผนภูมทิ ี 21 แสดง ROE ของธนาคารกสิ กรไทย
อัตรากําไรสุ ทธิ
แผนภูมทิ ี 22 แสดงอัตรากําไรสุทธิของธนาคารกสิ กรไทย
189 P/E
แผนภูมทิ ี 23 แสดง P/E ของธนาคารกสิ กรไทย
มูลค่าหุน้ ทางบัญชี
แผนภูมทิ ี 24 แสดงมูลค่าทางบัญชีตอ่ หุน้ ของธนาคารกสิ กรไทย
190 GOLDMAN SACHS GROUP INC (GS:New York) Currency in
Nov 28
Dec 31
Dec 31
2008
2009
2010
Reclassified
Reclassified
USD
USD
USD
TOTAL REVENUES
22,222.00
45,173.00
39,161.00
GROSS PROFIT
19,224.00
42,875.00
36,880.00
EARNINGS PER SHARE
4.67
23.74
14.15
ROA (Return on Asset)
1.95
5.32
4.29
ROE (Return on Equity)
4.9
22.5
11.5
0.69
1.14
1.39
1.71
0.34
0.49
98.68
117.48
128.72
Millions of U.S. Dollars
อัตรากําไรสุ ทธิ P/E BOOK VALUE PER SHARE
ตารางที 4 ตารางแสดงผลการดําเนินงานของธนาคาร GOLDMAN SACHS GROUP INC
เมื อพิจารณากําไรสุ ทธิ ต่อหุ ้น (EPS) ลดลงเป็ น 8.38 บาทต่อหุ ้นในปี 2010 จาก 23.74 บาท ต่อหุ ้นในปี 2009และเพิ มขึQน จากปี 2008 4.67 บาทต่อหุ ้น อัตราผลตอบแทนต่อผูถ้ ื อหุ ้น (ROE) และอัตราผลตอบแทนต่อสิ นทรัพย์ (ROA) ลดลงเป็ นร้อยละ 11.5 และร้อยละ 4.29 ในปี 2010 จาก ร้อยละ 22.5 และร้อยละ5.32 ในปี 2009 และเพิ มขึQนจากปี 2008 ร้อยละ4.9 และร้อยละ 1.95 ส่ วน อัตรากําไรสุ ทธิเพิม ขึQนเป็ นร้อยละ1.39 ในปี 2010 จากร้อยละ 1.14 ในปี 2009 และร้อยละ 0.69 ในปี 2008
191
Total Revenues (Millions of U.S. Dollars)
TOTAL REVENUES Total Revenues 50,000.00
45,173.00
40,000.00
39,161.00
30,000.00
Total Revenues
22,222.00
20,000.00 10,000.00 2008
2009
2010
แผนภูมทิ ี 25 แสดงรายได้รวมของธนาคาร GOLDMAN SACHS GROUP INC
GROSS PROFIT
แผนภูมทิ ี 26 แสดงกําไรสุทธิของธนาคาร GOLDMAN SACHS GROUP INC
192 EARNINGS PER SHARE
แผนภูมทิ ี 27 แสดงกําไรต่อหุน้ ของธนาคาร GOLDMAN SACHS GROUP INC
ROA (Return on Asset)
แผนภูมทิ ี 28 แสดง ROA ของธนาคาร GOLDMAN SACHS GROUP INC
193 ROE (Return on Equity)
แผนภูมทิ ี 29 แสดง ROE ของธนาคาร GOLDMAN SACHS GROUP INC
อัตรากําไรสุ ทธิ
แผนภูมทิ ี 30 แสดงอัตรากําไรสุทธิของธนาคาร GOLDMAN SACHS GROUP INC
194 P/E
แผนภูมทิ ี 31 แสดง P/E ของธนาคาร GOLDMAN SACHS GROUP INC
BOOK VALUE PER SHARE
แผนภูมทิ ี 32 แสดงมูลค่าทางบัญชีตอ่ หุน้ ของธนาคาร GOLDMAN SACHS GROUP INC
195 BANK OF AMERICA CORP (BAC:New York) Currency in
Dec 31
Dec 31
Dec 31
2008
2009
2010
Restated
Restated
USD
USD
USD
72,782.00
119,643.00
110,220.00
4,008.00
6,276.00
(2,238.00)
EARNINGS PER SHARE
0.54
(0.29)
(0.37)
ROA (Return on Asset)
0.22
0.26
n/m
ROE (Return on Equity)
1.80
4.18
n/m
อัตรากําไรสุ ทธิ
0.44
0.27
(0.10)
P/E
51.42
(74.06)
(56.72)
BOOK VALUE PER SHARE
27.77
21.48
20.99
Millions of U.S. Dollars
TOTAL REVENUES GROSS PROFIT
ตารางที 5 ตารางแสดงผลการดําเนินงานของธนาคาร BANK OF AMERICA CORP
เมื อพิจารณากําไรสุ ทธิ ต่อหุ ้น (EPS) ลดลงเป็ นขาดทุน 0.37 บาทต่อหุ ้นในปี 2010 จาก ขาดทุน 0.29 บาทต่อหุ ้นในปี 2009 และลดลงจากปี 2008 0.54 บาทต่อหุ ้น อัตราผลตอบแทนต่อผู ้ ถือหุ ้น (ROE) และอัตราผลตอบแทนต่อสิ นทรัพย์ (ROA) ในปี 2009 ร้อยละ 4.18 และร้อยละ0.26 ซึ งเพิ มขึQนจากปี 2008 ร้อยละ1.80 และร้อยละ 0.22 ส่ วนอัตรากําไรสุ ทธิ ลดลงเป็ นขาดทุนร้อยละ 0.10 ในปี 2010 จากร้อยละ 0.27 ในปี 2009 และร้อยละ 0.69 ในปี 2008
196 TOTAL REVENUES
แผนภูมทิ ี 33 แสดงรายได้รวมของธนาคาร BANK OF AMERICA CORP
GROSS PROFIT
แผนภูมทิ ี 34 แสดงกําไรสุทธิของธนาคาร BANK OF AMERICA CORP
197 EARNINGS PER SHARE
แผนภูมทิ ี 35 แสดงกําไรต่อหุน้ ของธนาคาร BANK OF AMERICA CORP
ROA (Return on Asset)
แผนภูมทิ ี 36 แสดง ROA ของธนาคาร BANK OF AMERICA CORP
198 ROE (Return on Equity)
แผนภูมทิ ี 37 แสดง ROE ของธนาคาร BANK OF AMERICA CORP
อัตรากําไรสุ ทธิ
แผนภูมทิ ี 38 แสดงอัตรากําไรสุทธิของธนาคาร BANK OF AMERICA CORP
199 P/E
แผนภูมทิ ี 39 แสดง P/E ของธนาคาร BANK OF AMERICA CORP
BOOK VALUE PER SHARE
แผนภูมทิ ี 40 แสดงมูลค่าทางบัญชีตอ่ หุน้ ของธนาคาร BANK OF AMERICA CORP
200
JPMORGAN CHASE & CO (JPM:New York) Currency in
Dec 31
Dec 31
Dec 31
2008
2009
2010
Restated
Restated
USD
USD
USD
57,252.00
100,434.00
102,694.00
5,605.00
11,728.00
17,374.00
EARNINGS PER SHARE
1.35
2.26
3.96
ROA (Return on Asset)
0.31
0.58
0.85
ROE (Return on Equity)
4.00
6.00
10.00
อัตรากําไรสุ ทธิ
0.20
0.24
0.34
P/E
23.35
18.43
10.71
BOOK VALUE PER SHARE
36.15
39.88
43.04
Millions of U.S. Dollars
TOTAL REVENUES GROSS PROFIT
ตารางที 6 ตารางแสดงผลการดําเนินงานของธนาคาร JPMORGAN CHASE & CO
เมื อพิจารณากําไรสุ ทธิ ต่อหุ ้น (EPS) เพิ มขึQนเป็ นร้อยละ 3.96 บาทต่อหุ ้นในปี 2010 ร้อยละ 2.26 บาทต่อหุ ้นในปี 2009 และร้อยละ 1.35 ในปี 2008 อัตราผลตอบแทนต่อผูถ้ ือหุ ้น (ROE) และ อัตราผลตอบแทนต่อสิ นทรัพย์ (ROA) เพิ มขึQนเป็ นร้อยละ 10.00 และร้อยละ 0.85 ในปี 2010 จาก ร้อยละ 6.00 และร้อยละ 0.58 ในปี 2009 ร้อยละ 4.00 และร้อยละ 0.31ในปี 2008 ส่ วนอัตรากําไร สุ ทธิเพิม ขึQนเป็ นร้อยละ 0.34 ในปี 2010 จากร้อยละ 0.24 ในปี 2009 และร้อยละ 0.20 ในปี 2008
201 TOTAL REVENUES
แผนภูมทิ ี 41 แสดงรายได้รวมของธนาคาร JPMORGAN CHASE & CO
GROSS PROFIT
แผนภูมทิ ี 42 แสดงกําไรสุทธิของธนาคาร JPMORGAN CHASE & CO
202 EARNINGS PER SHARE
แผนภูมทิ ี 43 แสดงกําไรต่อหุน้ ของธนาคาร JPMORGAN CHASE & CO
ROA (Return on Asset)
แผนภูมทิ ี 44 แสดง ROA ของธนาคาร JPMORGAN CHASE & CO
203 ROE (Return on Equity)
แผนภูมทิ ี 45 แสดง ROE ของธนาคาร JPMORGAN CHASE & CO
อัตรากําไรสุ ทธิ
แผนภูมทิ ี 46 แสดงอัตรากําไรสุทธิของธนาคาร JPMORGAN CHASE & CO
204 P/E
แผนภูมทิ ี 47 แสดง P/E ของธนาคาร JPMORGAN CHASE & CO
BOOK VALUE PER SHARE
แผนภูมทิ ี 48 แสดงมูลค่าทางบัญชีตอ่ หุน้ ของธนาคาร JPMORGAN CHASE & CO
205
เปรียบเทียบรายการต่ างๆจากธนาคารกรณีศึกษา ธนาคารภายในประเทศ การเปรียบเทียบรายได้ รวม การเปรียบเทียบรายได้ รวม 140,000.00
120,686.05
120,000.00
รายได้ รวม (ล้ านบาท)
100,000.00
89,381.18
80,000.00 77,566.7482,776.91
86,333.84
83,679.1081,712.42 78,752.77 71,767.83
ธนาคารกสิ กรไทย ธนาคารไทยพาณิ ย ์
60,000.00
ธนาคารกรุ งไทย
40,000.00 20,000.00 2551
2552
2553
แผนภูมทิ ี 49 แสดงการเปรี ยบเทียบรายได้รวมของธนาคารภายในประเทศ
206 การเปรียบเทียบกําไรสุ ทธิ การเปรี ยบเทียบกําไรสุ ทธิ 30,000.00
กําไรสุ ทธิ (ล้านบาท)
25,000.00
24,205.97
20,000.00 15,000.00 10,000.00
21,413.70
20,759.72
20,046.69
15,333.26 12,271.75
14,891.79 12,189.16
14,913.24
ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงไทย
5,000.00 2551
2552
2553
แผนภูมทิ ี 50 แสดงการเปรี ยบเทียบกําไรสุทธิของธนาคารภายในประเทศ
การเปรียบเทียบกําไรต่ อหุ้น การเปรี ยบเทียบกําไรต่ อ หุ้น 10.00 9.00
9.03
8.00
8.38
กําไรต่ อหุ้น (บาท)
7.00 6.00
7.12 6.41
ธนาคารกสิกรไทย
6.22 6.21
5.00
ธนาคารไทยพาณิชย์
4.00
ธนาคารกรุงไทย
3.00 2.00 1.00
1.10
0.00 2551
1.09 2552
1.33 2553
แผนภูมทิ ี 51 แสดงการเปรี ยบเทียบกําไรต่อหุน้ ของธนาคารภายในประเทศ
207 การเปรียบเทียบ ROA การเปรี ยบเทียบ ROA 3.00 2.50
2.51
2.45
ROA (%)
2.00
2.20
2.09
1.93 1.50
ธนาคารกสิกรไทย
1.59
ธนาคารไทยพาณิชย์
1.24
1.00
1.24
1.23
ธนาคารกรุงไทย
0.50 0.00 2551
2552
2553
แผนภูมทิ ี 52 แสดงการเปรี ยบเทียบ ROA ของธนาคารภายในประเทศ
การเปรียบเทียบ ROE การเปรี ยบเทียบ ROE 20 18
17.99
16
ROE (%)
14 12
15.54
15.48
14.35 12.32
10
12.58
16.39 12.52
11.28
ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารไทยพาณิชย์
8
ธนาคารกรุงไทย
6 4 2 0 2551
2552
2553
แผนภูมทิ ี 53 แสดงการเปรี ยบเทียบ ROE ของธนาคารภายในประเทศ
208 การเปรียบเทียบอัตรากําไรสุ ทธิ การเปรี ยบเทียบอัตรากําไรสุ ทธิ 30.00
28.04
25.00
25.41
อัตรากําไรสุ ทธิ (%)
23.96 20.00 15.00
18.52
18.94
17.80
16.98
15.82
16.61
ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารกรุงไทย
10.00 5.00 0.00 2551
2552
2553
แผนภูมทิ ี 54 แสดงการเปรี ยบเทียบอัตรากําไรสุทธิของธนาคารภายในประเทศ
การเปรียบเทียบ P/E การเปรี ยบเทียบ P/E 18.00 16.00
16.80
14.00
15.33
14.52 14.77
13.67
P/E (เท่า)
12.00
ธนาคารกสิกรไทย
10.00
6.00
ธนาคารไทยพาณิช
9.33
8.00
6.66
7.64
4.00
ธนาคารกรุงไทย
4.10
2.00 0.00 2551
2552
2553
แผนภูมทิ ี 55 แสดงการเปรี ยบเทียบ P/E ของธนาคารภายในประเทศ
209 การเปรียบเทียบมูลค่ าหุ้นทางบัญชีต่อหุ้น
แผนภูมทิ ี 56 แสดงการเปรี ยบเทียบมูลค่าหุน้ ทางบัญชีตอ่ หุน้ ของธนาคารภายในประเทศ
ธนาคารต่ างประเทศ การเปรียบเทียบ TOTAL REVENUES
Total Revenues (Millions of U.S. Dollars)
การเปรี ยบเทียบ TOTAL REVENUES 140,000.00 120,000.00
119,643.00
100,000.00
100,434.00
110,220.00 102,694.00
GOLDMAN SACHS GROUP INC
80,000.00
72,782.00
60,000.00
BANK OF AMERICA CORP
57,252.00
45,173.00
40,000.00
39,161.00
JPMORGAN CHASE & CO
22,222.00
20,000.00 0.00 2008
2009
2010
แผนภูมทิ ี 57 แสดงการเปรี ยบเทียบรายได้รวมของธนาคารต่างประเทศ
210 การเปรียบเทียบกําไรสุ ทธิ การเปรี ยบเทียบกําไรสุ ท ธิ 30,000.00
กําไรสุ ทธิ (ล้านบาท)
25,000.00
24,205.97
20,000.00 15,000.00
21,413.70
20,759.72
20,046.69
15,333.26
14,891.79 12,189.16
14,913.24
ธนาคารกสิกรไทย
12,271.75
ธนาคารกรุงไทย
10,000.00 5,000.00 2551
2552
ธนาคารไทยพาณิชย์
2553
แผนภูมทิ ี 58 แสดงการเปรี ยบเทียบกําไรสุทธิของธนาคารต่างประเทศ
211 การเปรี ยบเทียบกําไรต่อหุน้ EPS
ปี 2551
ปี 2552
ปี 2553
Gold Man Bank
4.67
23.74
14.15
Bank of American
0.54
(0.29)
(0.37)
JP Morgan Bank
1.35
2.26
3.96
ตารางที 7 แสดงกําไรต่อหุน้ แต่ละปี ของธนาคารต่างประเทศ
แผนภูมทิ ี 59 แสดงการเปรี ยบเทียบกําไรต่อหุน้ ของธนาคารต่างประเทศ
212 การเปรียบเทียบ ROA การเปรี ยบเทียบ ROA (%)
ปี 2551
ปี 2552
ปี 2553
Gold Man Bank
1.95
5.32
4.29
Bank of American
0.22
0.26
n/m
JP Morgan Bank
0.31
0.58
0.85
ตารางที 8 แสดง ROA แต่ละปี ของธนาคารต่างประเทศ
แผนภูมทิ ี 60 แสดงการเปรี ยบเทียบ ROA ของธนาคารต่างประเทศ
213 การเปรียบเทียบ ROE การเปรี ยบเทียบ ROE (%)
ปี 2551
ปี 2552
ปี 2553
Gold Man Bank
4.90
22.50
11.50
Bank of American
1.80
4.18
n/m
JP Morgan Bank
4.00
6.00
10.00
ตารางที 9 แสดง ROE แต่ละปี ของธนาคารต่างประเทศ
แผนภูมทิ ี 61 แสดงการเปรี ยบเทียบ ROE ของธนาคารต่างประเทศ
214 การเปรียบเทียบอัตรากําไรสุ ทธิ การเปรี ยบเทียบอัตรากําไรสุทธิ (%)
ปี 2551
ปี 2552
ปี 2553
Gold Man Bank
0.69
1.14
1.39
Bank of American
0.44
0.27
(0.10)
JP Morgan Bank
0.20
0.24
0.34
ตารางที 10 แสดงอัตรากําไรสุทธิแต่ละปี ของธนาคารต่างประเทศ
แผนภูมทิ ี 62 แสดงการเปรี ยบเทียบอัตรากําไรสุทธิของธนาคารต่างประเทศ
215 การเปรียบเทียบ P/E การเปรี ยบเทียบ P/E (เท่า) Gold Man Bank
ปี 2551
ปี 2552
ปี 2553
1.71
0.34
0.49
Bank of American
51.02
(74.06)
(56.72)
JP Morgan Bank
23.35
18.43
10.71
ตารางที 11 แสดง P/E แต่ละปี ของธนาคารต่างประเทศ
แผนภูมทิ ี 63 แสดงการเปรี ยบเทียบ P/E ของธนาคารต่างประเทศ
216 การเปรียบเทียบมูลค่ าหุ้นทางบัญชีต่อหุ้น การเปรี ยบเทียบมูลค่าหุ้นทางบัญชีตอ่ หุ้น (บาท)
ปี 2551
ปี 2552
ปี 2553
Gold Man Bank
98.68
117.48
128.72
Bank of America
27.77
21.48
20.99
JP Morgan Bank
36.15
39.88
43.04
ตารางที 12 มูลค่าหุน้ ทางบัญชีตอ่ หุน้ แต่ละปี ของธนาคารต่างประเทศ
แผนภูมทิ ี 64 แสดงการเปรี ยบเทียบมูลค่าหุน้ ทางบัญชีตอ่ หุน้ ของธนาคารต่างประเทศ
จากการศึกษาธุ รกรรมนอกงบดุลที มีผลกระทบต่อรายงานทางการเงิ นของกลุ่มธนาคาร พาณิ ชย์ที จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ โดยได้มีการเปรี ยบเทียบ 3 ธนาคารในตลาดหลักทรัพย์ คือ ธนาคารกสิ กรไทย ธนาคารไทยพาณิ ชย์ และธนาคารกรุ งไทย
217 วิเคราะห์ ในภาพรวมที ได้จากการศึกษา การเปรี ยบเทียบรายได้รวม การเปรี ยบเทียบกําไรสุ ทธิ การ เปรี ย บเที ย บกํา ไรต่อ หุ ้น การเปรี ย บเที ย บผลตอบแทนในสิ นทรั พ ย์(ROA) การเปรี ย บเที ย บ ผลตอบแทนในส่ วนของผูถ้ ือหุน้ (ROE) อัตรากําไรสุ ทธิ การเปรี ยบเทียบอัตราส่ วนต่อหุ ้นและราคา ต่อหุน้ (P/E) และการเปรี ยบเทียบมูลค่าหุน้ ทางบัญชี พบว่าในปี 2552 มีแนวโน้มที ลดลงจากปี 2551 และเพิม ขึQนอีก ในปี 2553 ซึ งมีมูลค่ามากกว่าปี 2551 และ 2552 เป็ นแนวโน้มที มีทิศทางเดียวกันทัQง 3 รายการ จึงเป็ นข้อสังเกตว่าหากบริ ษทั มีผลประกอบการที ดีมีความโปร่ งใสในการดําเนิ นกิ จการ ย่อ มส่ ง ผลให้มี ภาพลัก ษณ์ มี ทิ ศ ทางในทางบวก มี ผ ลต่ อ ผูท้ ี ต้อ งการลงทุ น มี จาํ นวนเพิ ม สู ง ขึQ น เนื องจากผูล้ งทุนจะพิจารณาจากงบการเงินเป็ นสําคัญ ในการใช้เป็ นเครื องมือพิจารณาถึงการเลือก ลงทุนในบริ ษทั นัQนๆ สําหรับความเกี ยวข้องในเรื องการลงทุนและธุ รกรรมนอกงบดุลของธุ รกิจธนาคารพาณิ ชย์ พบว่า ธุรกรรมนอกงบดุล ของธนาคารพาณิ ชย์ จะมีรายได้ส่วนใหญ่มากจากการให้บริ การพิเศษแก่ ลูกค้า เช่น ธนาคารทําการแทนลูกค้า ในการซืQ อ-ขายปริ วรรตเงินตรา การให้การคํQาประกันในตรา สารหนีQ การคํQาประกันของหลักทรัพย์และการให้การสนับสนุนด้านสิ นเชื อ (Backup Credit Lines) เป็ นต้น รายได้รวมจึ ง ถื อเป็ นรายการหนึ งที ธุ รกรรมนอกงบดุ ล มี ผ ลกระทบ คื อทํา ให้มี รายได้ มากกว่าที ควรจะเป็ น และเมื อมีการนําไปแสดงแยกไว้เป็ นรายการอีกรายการหนึ งทําให้รายได้รวมมี มูลค่าน้อยลงตามไปด้วย สําหรับมุมมองของนักลงทุนจะเป็ นผลดีเนื องจากว่าเมื อมีการนํารายการ ธุ รกรรมนอกงบดุ ล เหล่ านีQ ไ ปแสดงแยกต่า งหากทํา ให้สามารถรั บ รู ้ ถึ ง สภาพความเป็ นจริ ง ของ ธนาคารพาณิ ชย์ที ตอ้ งการจะลงทุน และเป็ นการลดความเสี ยงจากการลงทุนอีกด้วยเหตุเพราะว่า รายการประมาณการและภาระผูกพัน ซึ งโดยลักษณะแล้วเป็ นรายการที มีความไม่แน่นอนสู งกว่า รายการอื นที บนั ทึกอยูใ่ นงบแสดงฐานะการเงิน ยกเว้นในกรณี ที ยากยิง ที จะเกิดกิจการจะสามารถ กําหนดช่วงของจํานวนรายจ่ายที น่าจะเกิดขึQนและสามารถประมาณการภาระผูกพันที เชื อถือได้อย่าง เพียงพอที จะใช้รับรู ้เป็ นประมาณการหนีQสิน
218 สําหรับมุมมองในด้านการตกแต่งบัญชี นQ นั ธุ รกรรมนอกงบดุลถือว่าเข้าข่ายในเรื องการ ตกแต่งตัวเลขในงบการเงินอย่างมีสาระสําคัญ จนทําให้นกั ลงทุนสําคัญผิด ถือว่าเป็ นการตกแต่ง ทางการบัญชีอย่างหนึ ง เนื องจากนักลงทุนจะพิจารณาถึงความครบถ้วนสมบูรณ์ของการนําเสนองบ การเงิน และในหมายเหตุประกอบงบการเงินซึ งเป็ นลักษณะเชิงคุณภาพของข้อมูลทางบัญชีที สําคัญ ยิง ซึ งจะส่ งผลกระทบต่อความโปร่ งใส และความน่าเชื อถือของรายงานทางการเงิน แต่ในปั จจุบนั ปั ญหาของการนําเสนองบการเงินของธุ รกิจ คือการพายายามตกแต่งตัวเลขในงบการเงิน ด้วยการ จัดทํา ธุรกรรมยอกงบการเงิน และการปกปิ ดซ่อนเร้นของข้อมูลที มีนยั สําคัญทางธุ รกิจ ไม่ได้มีการ เปิ ดเผยอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ทําให้ผใู ้ ช้งบการเงิ นเกิ ดความหลงผิดของข้อมูลในงบการเงินนัQน การกระทําเช่นนีQเพื อปกปิ ดรายการหนีQสินจริ งและรายการหนีQสินที อาจจะเกิดขึQนในภายหน้า และจะ เห็ นได้ว่าหากมีกิจการใดก็ตามพยายามที จะแสดง ผลรายได้ให้สูงกว่าความเป็ นจริ งในลักษณะ ดังกล่าวข้างต้น ถือได้ ว่าเป็ นการปฏิบตั ิที ขดั แย้งต่อหลักแนวคิดเกี ยวกับความระมัดระวัง รอบคอบ อย่างชัดเจน ย่อมส่ งผลเสี ยต่อผูใ้ ช้รายงานการเงิน โดยเฉพาะนักลงทุน ซึ งเป็ นผลจากการประเมิน ราคาของหลักทรัพย์ สู งกว่าความเป็ นจริ ง และ ตัดสิ นใจลงทุนซืQ อหลักทรัพย์นQ นั ๆ ในราคาที แพง เกิ นกว่ามูลค่าที แท้จริ ง (Intrinsic Value) และในที สุ ดนักลงทุนเหล่านัQนก็จะประสบปั ญหา ขาดทุน เมื อความจริ งปรากฏ ขึQนในภายหลัง และจากการศึกษาธนาคารพาณิ ชย์ที อยูใ่ นตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พบว่ารายการ ธุ รกรรมนอกงบดุ ลที มกั พบในรายงานทางการเงินคือ การรั บ อาวัล ตัuว เงิ น และการคํQา ประกัน การกู ้ยื ม เงิ น ภาระตามตัuว แลกเงิ น ค่ า สิ น ค้า เข้า ที ย งั ไม่ ค รบกํา หนด เล็ ต เตอร์ อ อฟเครดิ ต และภาระผูก พัน อื น ส่ วนรายละเอียดจะอธิบายไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ส่ วนการศึกษาทางด้านธนาคารพาณิ ชย์ในตลาดหลักทรัพย์ของประเทศสหรัฐอเมริ กานัQน ในเรื องของการสร้างภาพลักษณ์ที ดีให้องค์กร ผลกระทบที เกิดจากธุรกรรม/รายงานนอกงบดุลนัQนมี ความ คล้ายคลึงกัน เนื องจากประเทศสหรัฐอเมริ กาเป็ นประเทศต้นแบบทางด้านการวางมาตรฐาน การบัญ ชี การป้ องกัน การตกแต่ ง บัญ ชี ประเทศไทยจึ ง ได้ นํา หลัก การต่ า งๆของประเทศ สหรัฐอเมริ กามาใช้จึงทําให้มีความคล้ายคลึงกัน แต่ในส่ วนที แตกต่างกับประเทศไทยก็คือ รายงาน ทางการเงิ นของธนาคารพาณิ ชย์ใ นตลาดหลัก ทรั พย์ข องประเทศสหรัฐอเมริ กานัQน มีก ารแสดง รายละเอียดที ชดั เจนมากกว่าธนาคารพาณิ ชย์ที อยูใ่ นตลาดหลักทรัพย์ของประเทศไทย
บทที 5 สรุปผลการศึกษาและข้ อเสนอแนะ ในการศึกษาปัญหาพิเศษเรื องธุรกรรมนอกงบดุลที มีผลกระทบต่อรายงานทางการเงินของ กลุ่มธนาคารพาณิ ชย์ที จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ มีวตั ถุประสงค์เพื อศึกษาธุ รกรรมนอกงบดุล ว่ามีส่วนเกี ยวข้องกับการสร้างภาพลักษณ์ที ดีให้องค์กร ศึกษาผลกระทบที เกิดขึ-นจากรายการนอก งบดุ ล ที เ กี ย วข้อ งกับ รายงานทางการเงิ น ของธนาคารพาณิ ช ย์ และศึ ก ษารายการนอกงบดุ ล ที เกี ยวข้องกับรายงานทางการเงินของธนาคารพาณิ ชย์
สรุปผลการศึกษา ธุ ร กรรมนอกงบดุ ล นั-น มี เ กี ย วข้อ งกับ การสร้ า งภาพลัก ษณ์ ที ดี ใ ห้ อ งค์ก ร คื อ เมื อ นํา รายการธุ ร กรรมนอกงบดุ ล นํา มาแยกแสดงต่ า งหากแล้ว แสดงในหมายเหตุ ป ระกอบ งบการเงิ น สิ ง แรกที ผู ้ใ ช้ง บการเงิ น จะตระหนัก ได้คื อ ความโปร่ ง ใสขององค์ก รนั-น ๆ อี ก ทั-ง หากนํา ไปรวมในรายงานทางการเงิ น แล้ว จะทํา ให้ ผ ลประกอบการมี มู ล ค่ า ไม่ ต รงตาม ความเป็ นจริ ง รวมถึ ง ผลประกอบการที ดี เ พราะหากมี ไ ม่ มี ก ารแสดง หรื อ ปกปิ ดรายการ หนี- สินจริ งและหนี- สินที อาจจะเกิดขึ-นในภายหน้า จะทํา ให้ ผ ลประกอบการมี ภ าพลัก ษณ์ ที ดี เกิ น ความเป็ นจริ ง แต่ ห ากมี ก ารแสดงรายละเอี ย ดดัง กล่ า วไว้จ ะช่ ว ยสะท้อ นถึ ง ความเสี ย ง ที จ ะเกิ ด ขึ- น ในภายหน้ า ต่ อ ผู ้ล งทุ น ด้า นผลกระทบที เ กิ ด จากธุ ร กรรมนอกงบดุ ล จะทํา ให้ ร ายงานทางการเงิ น มี ความคลาดเคลื อ นทางตัว เลข ทํา ให้ ผู ้ใ ช้ร ายงานทางการเงิ น เกิ ด ความหลงผิ ด ได้ รวมถึ ง ได้มี ก ารประกาศจากธนาคารแห่ ง ประเทศไทยถึ ง แนวทางการปฏิ บ ัติ เ กี ย วกับ รายการ ธุ ร กรรมนอกงบดุ ล ให้ มี ก ารแยกรายการธุ ร กรรมนอกงบดุ ล มากจากรายงานทางการเงิ น แ ล ้ว แ ส ด ง ใ น ห ม า ย เ ห ตุ ป ร ะ ก อ บ ง บ ก า ร เ งิ น ด้ว ย ร ว ม ถึ ง ธ น า ค า ร แ ห่ ง ป ร ะ เ ท ศ
220 สหรั ฐ อเมริ ก าได้มี ข ้อ กํา หนดในการแสดงรายการธุ ร กรรมนอกงบดุ ล มี ค วามเหมื อ นกัน กับ ประเทศไทยอี ก ด้ว ย ทํา ให้ เ ชื อ มั น ได้ว่า ธุ ร กรรมนอกงบดุ ล นั-น มี ผ ลกระทบต่ อ รายงาน ทางการเงิ น รายการนอกงบดุ ล ที พ บในรายงานทางกรเงิ น ของธนาคารพาณิ ช ย์ใ นประเทศ ไทย ในระยะเวลา 3 ปี คื อ ตั-ง แต่ ปี 2551-2553 นั- น มัก จะมี ร ายการ การรั บ อาวัล ตั=ว เงิ น และการคํ-า ประกัน การกู้ยื ม เงิ น ภาระตามตั=ว แลกเงิ น ค่ า สิ น ค้า เข้า ที ย งั ไม่ ค รบกํา หนด เล็ ต เ ต อ ร์ อ อ ฟ เ ค ร ดิ ต แ ล ะ ภ า ร ะ ผูก พ ัน อื น ใ น ส่ ว น ข อ ง ธ น า ค า ร พ า ณิ ช ย ์ใ น ป ร ะ เ ท ศ สหรั ฐ อเมริ ก านั- น จะมี ร ายการที ก ล่ า วมาและรายการที มี ร ายละเอี ย ดอื น ๆอี ก แต่ โ ดย ส่ ว นมากที เ ป็ นประเด็ น คื อ รายการที ก ล่ า วมาข้า งต้น นี-
ข้ อ เสนอแนะในการศึ ก ษา 1.
รายงานทางการเงิ น ของธนาคารพาณิ ช ย์ใ นตลาดหลัก ทรั พ ย์ ควรจะมี ก ารแสดง
รายละเอี ย ดเกี ย วกับ ธุ ร กรรมนอกดุ ล มากกว่า นี- เนื อ งจากการศึ ก ษาธนาคารพาณิ ช ย์ข อง ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า เมื อ นํา มาเปรี ย บเที ย บกัน รายงานทางการเงิ น ของต่ า งประเทศนั-น มี ก ารนํา เสนอข้อ มู ล ที เ ปิ ดเผยละเอี ย ดอย่า งชัด เจน เพื อ การสร้ า งภาพลัก ษณ์ ที ดี ใ ห้ อ งค์ ก ร อี ก ทั-ง ยัง สร้ า งมาตรฐานที ดี ใ ห้ ก ับ รายงานทางการเงิ น ในตลาดหลัก ทรั พ ย์แ ห่ ง ประเทศ ไทย 2.
ธนาคารแห่ ง ประเทศไทยเป็ นผู ้เ กี ย วข้อ งโดยตรงในการควบคุ ม กํา กับ ดู แ ล
กิ จ การธนาคารพาณิ ช ย์ รวมถึ ง คณะกรรมการกํา กับ หลัก ทรั พ ย์แ ละตลาดหลัก ทรั พ ย์ ควร ออกกฎระเบี ย บในเรื องการแสดงรายละเอี ย ดให้ เ ข้า กับ สถานการณ์ ค วามเป็ นจริ งที เป็ นอยู่ 3.
ควรมี ก ารเผยแพร่ ใ ห้ ค วามรู ้ ใ นวงกว้า ง เพื อ ให้ เ ห็ น ถึ ง ความสํา คัญ ของธุ ร กรรม
นอกงบดุ ล เนื อ งจากข้อ มู ล ในปั จ จุ บ ัน ค่ อ นข้า งมี น้ อ ย ทํา ให้ ถู ก จํา กัด ในวงแคบ
221
บรรณานุกรม วเรศ อุปปาติก. 2539. เศรษฐศาสตร์ การเงินและการธนาคาร. 4,000 เล่ม. พิมพ์ครั งที! 4. กรุ งเทพมหานคร: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อภิชาต พงศ์สุพฒั น์. 2551. การเงินธุรกิจ. พิมพ์ครั งที! 9. กรุ งเทพมหานคร: Vachirintsarn Printing Co.; Ltd สิ ปปภาส พรสุ ขสว่าง. 2553. เศรษฐศาสตร์ ตลาดการเงินและสถาบันการเงิน. กรุ งเทพมหานคร: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สุ รักษ์ บุนนาค และวณี ฉ่อยเกียรติกุล. 2538. การเงินและการธนาคาร. พิมพ์ครั งที! 8. 3,000 เล่ม. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จํากัด. เพชรี ขุมทรัพย์. 2540. หลักการลงทุน. พิมพ์ครั งที! 11. 6,000 เล่ม. กรุ งเทพมหานคร: สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ภาพร เอกอรรถพร. 2549. แกะเงื อนงบการเงิน. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั พิมพ์ดี จํากัด. เยาวลักษณ์ สุ ขวิบูลย์. 2551. การวัดคุณภาพกําไรจากผลกระทบภาระผูกพันทางการเงินด้ วยการวัด เสถียรภาพของกําไรของกลุ่มสถาบันการเงินซึ งจะทะเบียนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์แห่ ง ประเทศไทย. คณะบัญชี. มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. จรรจา บุญจนาถบพิธ. การบัญชีหนีส4 ิ นและทุน. 2536. กรุ งเทพมหานคร: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย.
222
บรรณานุกรม(ต่ อ) ชมเพลิน จันทร์เรื องเพ็ญ. เศรษฐศาสตร์ การเงินและการธนาคาร. 2551. คณะเศรษฐศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภคินี อริ ยะ. การตกแต่ งงบการเงินทีม ีผลกระทบต่ อคุณภาพกําไร : กรณีศึกษากลุ่มสถาบันการเงินทีจ ด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย. 2547. บัญชีมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สร้อยเพชร สุ ขเสริ ม. การวิเคราะห์ คุณภาพกําไรของธนาคารของรัฐ. 2548. บัญชีมหาบัณฑิต. บัณฑิต วิทยาลัย. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ชุมพล ชีววิริยะกุล. การตัดสิ นใจลงทุนในหลักทรัพย์กลุ่มธนาคารพาณิชย์ของนักลงทุนรายย่อยใน จังหวัดเชียงใหม่ . 2543. การค้นคว้าอิสระบริ หารธุรกิจมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สถาวิชาชีพบัญชี
ธุรกรรมนอกงบดุลทีม ีผลกระทบต่ อรายงานทางการเงินของกลุ่มธนาคารพาณิชย์ ทจี ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
พ.ศ.2554