การใช้ บัญชีนิติเวชตรวจสอบการทุจริตในรายงานทางการเงิน กรณีศึกษา บริษทั ปิ คนิค คอร์ ปอเรชั่น จากัด (มหาชน) ในปี พ.ศ. 2547
โดย นางสาวธาดารัตน์
ดูระยับ
51233922
นางสาวจิราภรณ์
อุดมสุ ข
51236412
นางสาวกุลนิษฐ์
วงศ์ ประทัต 51238806
นางสาวจันติมา
แสนทวีสุข
51238814
นางสาวรัมภา
แก้วมุข
51239176
ปัญหาพิเศษนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร บริหารธุรกิจบัณฑิตสาขาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2554
การใช้บญั ชีนิติเวชตรวจสอบการทุจริ ตในรายงานทางการเงิน กรณี ศึกษา: บริ ษทั ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ในปี พ.ศ. 2547 Forensic Accounting for Detecting financial Reporting Fraud Case Study: Picnic Corporation Public Company Limited in 2004
โดย นางสาวธาดารัตน์
ดูระยับ
51233922
นางสาวจิราภรณ์
อุดมสุ ข
51236412
นางสาวกุลนิษฐ์
วงศ์ประทัต
51238806
นางสาวจันติมา
แสนทวีสุข
51238814
นางสาวรัมภา
แก้วมุข
51239176
ปั ญหาพิเศษฉบับนีWเป็ นส่ วนหนึงของการศึกษาตามหลักสู ตรบริ หารธุ รกิจบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2554
ปั ญหาพิเศษ ของ นางสาวธาดารัตน์
ดูระยับ
51233922
นางสาวจิราภรณ์
อุดมสุ ข
51236412
นางสาวกุลนิษฐ์
วงศ์ประทัต
51238806
นางสาวจันติมา
แสนทวีสุข
51238814
นางสาวรัมภา
แก้วมุข
51239176
เรื อง การใช้บญั ชีนิติเวชตรวจสอบการทุจริ ตในรายงานทางการเงิน กรณี ศึกษา: บริ ษทั ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ในปี พ.ศ. 2547
ได้รับการตรวจสอบและอนุ มตั ิ ให้เป็ นส่ วนหนึงของการศึกษาตามหลักสู ตร บริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขา การบัญชีบริ หาร เมือ วันที 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
อาจารย์ทีปรึ กษาปั ญหาพิเศษ
______________________________ (อาจารย์ธิญาดา พิชญาศุภกุล , บธ.ม.)
อาจารย์ผปู ้ ระสานงานสาขาวิชา
______________________________ (อาจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์ , บธ.ม.)
(1)
กิตติกรรมประกาศ ในการศึกษาปั ญหาพิเศษเรื อง การศึกษาการใช้บญ ั ชี นิติเวชเพือตรวจสอบการทุจริ ตใน รายงานทางการเงิน กรณี ศึกษา รายงานทางการเงิน ของบริ ษทั ปิ คนิค คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ครั*งนี* สามารถประสบความสําเร็ จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี เนื องจากได้รับความอนุ เคราะห์ ความกรุ ณา และการสนับสนุนเป็ นอย่างดีจาก อาจารย์ ธิ ญาดา พิชญาศุภกุล ทีได้ให้คาํ แนะนําทีเป็ นประโยชน์ ในการศึกษาปั ญหาพิเศษฉบับนี* ตลอดทั*งให้ความเมตตาและเสี ยสละเวลาแก่คณะผูจ้ ดั ทํามาโดย ตลอด จนทําให้ปัญหาพิเศษฉบับนี*สาํ เร็ จลุล่วงด้วยดี ขอขอบพระคุณสําหรับผูท้ ีมีส่วนเกียวข้องทุกท่าน รวมทั*งแหล่งทีศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่าง ๆ อาทิเช่น หนังสื อ วารสาร บทความ วิทยานิพนธ์ และสื อทางอินเตอร์ เน็ตทีให้ทางคณะผูจ้ ดั ทําได้ใช้ เป็ นแนวทางในการศึกษาปั ญหาพิเศษ ตลอดจนเพือนร่ วมกลุ่ ม เพือนร่ วมรุ่ น ทีให้ความร่ วมมื อ ความช่วยเหลือในทุก ๆ เรื อง อีกทั*งคอยเป็ นกําลังใจให้ทางคณะผูจ้ ดั ทําตลอดมา สุ ดท้ายนี* ทางคณะผูจ้ ดั ทําขอขอบพระคุ ณและระลึ กอยู่เสมอว่าจะไม่มีความสําเร็ จใด ๆ ในชี วิตของคณะผูจ้ ดั ทํา หากปราศจากความรัก ความเข้าใจ และกําลัง ใจจากบุ คคลทีมีพ ระคุ ณ ทีคอยให้การสนับสนุนการศึกษาของคณะผูจ้ ดั ทํามาโดยตลอด ขอขอบคุณคณาจารย์ทุกท่าน และ สถาบันการศึกษาอันทรงเกียรติทีมอบโอกาสในการศึกษาหาความรู้แก่คณะผูจ้ ดั ทํา ผูจ้ ดั ทําหวังว่าปัญหาพิเศษฉบับนี* คงมีประโยชน์เป็ นอย่างมากสําหรับหน่วยงานทีเกียวข้อง ตลอดจนผูท้ ีสนใจเกี ยวกับเรื อง การศึกษาการใช้บญั ชี นิติเวชเพือตรวจสอบการทุจริ ตในรายงาน ทางการเงิน กรณี ศึกษา รายงานทางการเงิน ของบริ ษทั ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)หากมี ข้อผิดพลาดประการใด ผูจ้ ดั ทําต้องขออภัยมา ณ ทีนี*ดว้ ย คณะผูจ้ ดั ทํา กุมภาพันธ์ 2555
(2) ธาดารัตน์ ดูระยับ และคณะ 2554: รายงานทางการเงิน ปริ ญญาบริ หารธุ รกิจบัญฑิต สาขาการบัญชีบริ หาร อาจารย์ที(ปรึ กษาปัญหาวิชาพิเศษ: อาจารย์ธิญาดา พิชญาศุภกุล, บธ.บ, บช.ม 77 หน้า
การศึ ก ษาครั4ง นี4 มีจุดประสงค์ เพื(อเป็ นแนวทางในการศึ ก ษาวิธีก ารทุ จริ ตต่ าง ๆ ศึก ษา วิธีการตรวจสอบการทุจริ ตโดยใช้บญั ชี นิติเวช ศึกษาการทํางานของนักบัญชี นิติเวช ซึ( งเป็ นการ ตรวจสอบเพื(อพิสูจน์หรื อค้นพบหลักฐานประกอบข้อเท็จจริ งเกี( ยวกับการทุจริ ต ซึ( งมีลกั ษณะที( แตกต่างจากการตรวจสอบบัญชีโดยผูส้ อบบัญชี การใช้บญั ชีนิติเวชเป็ นการตรวจสอบการทุจริ ตที(เกิดขึ4นในธุ รกิจซึ( งได้ทวีความรุ นแรงมาก ขึ4นเรื( อยๆ และลดปั ญหาข้อผิดพลาดที(มีสาระสําคัญต่องบการเงินในการตรวจสอบของผูส้ อบบัญชี รับอนุญาตซึ(งอาจทําให้เกิดความล้มเหลวในการตรวจสอบรายการทุจริ ตซึ(งส่ งผลกระทบต่อธุรกิจ จากการตรวจพบการทุจริ ต ในการศึกษาวิจยั ครั4งนี4 ผวู้ ิจยั ได้เลือกศึกษาการใช้บญั ชี นิติเวช เพื(อตรวจสอบการทุจริ ตในรายงานทางการเงิน กรณี ศึกษา รายงานทางการเงิน ของบริ ษทั ปิ คนิ ค คอร์ปอเรชัน( จํากัด (มหาชน) ในปี พ.ศ. 2547 ผลการศึกษาพบว่าแนวทางในการแก้ไขปั ญหาเหล่านี4 อาจมีความจําเป็ นต้องพึ(งพาผลงานของนักบัญชี นิติเวชซึ( งมีความเชี( ยวชาญด้านการตรวจสอบการ ทุจริ ตโดยตรงเพื(อลดความผิดพลาดในการตรวจสอบการทุจริ ต เนื( องจากนักบัญชี นิติเวชเป็ นผูม้ ี ความรู้หลากหลายด้าน เช่น การบัญชี การสอบบัญชี การควบคุมภายใน กฎหมาย กฎของหลักฐาน อีกทั4งยังมีความสามารถในการสื( อสารและนําเสนอข้อมูล จากการตรวจสอบ การป้ องกันการทุจริ ต และรวบรวมพยานหลักฐาน เพื(อเป็ นประโยชน์ในชั4นศาล นอกจากนั4นนักบัญชีนิติเวชยังเป็ นพยาน ผูเ้ ชี(ยวชาญในชั4นศาลอีกด้วย
(3)
สารบัญ หน้ า กิตติกรรมประกาศ
(1)
บทคัดย่อ
(2)
สารบัญ
(3)
สารบัญตาราง
(7)
สารบัญภาพ
(8)
บทที 1 บทนํา ความสําคัญของปั ญหา
1
วัตถุประสงค์
4
วิธีการศึกษา
4
ข้อมูลและแหล่งข้อมูล
4
การวิเคราะห์ขอ้ มูล
4
ขอบเขตการวิจยั
4
ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ
5
นิยามคําศัพท์
5
บทที 2 เอกสารและงานวิจยั ทีเกียวข้อง แนวคิดเกียวกับบัญชีนิติเวช
บทบาทและคุณลักษณะของนักบัญชีนิติเวช
7 10
(4)
สารบัญ (ต่อ)
คุณสมบัติของนักบัญชีนิติเวช
หน้ า 13
มรรยาทของนักบัญชีนิติเวช
15
ความรับผิดชอบของนักบัญชีนิติเวช
16
วัตถุประสงค์ในการตรวจสอบของการบัญชีนิติเวช
16
ขอบเขตการตรวจสอบ
17
หลักการพื=นฐานของการตรวจสอบ
17
กระบวนการปฏิบตั ิงาน
18
การควบคุมภายใน
24
การประเมินความเสี ยงในการตรวจสอบกับการควบคุม
24
ภายใน
แนวคิดเกียวกับการทุจริ ตในรายงานทางการเงิน
25
การทุจริ ตทางการบริ หารในรู ปแบบรายงานทางการเงิน
27
ลักษณะสําคัญของการทุจริ ตทางรายงานทางการเงิน
29
การแสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบจากงบการเงินลวง
30
มูลเหตุแห่งการทุจริ ต
32
สัญญาณบอกเหตุการทุจริ ต
33
การรับผิดชอบต่อการทุจริ ตและข้อผิดพลาด
33
อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ
34
การตกแต่งตัวเลขทางบัญชี
35
บทที 3 กรณี ศึกษา บริ ษทั ปิ กนิก คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ประวัติและความเป็ นมา
42
(5)
สารบัญ (ต่อ)
เป้ าหมายธุรกิจ
หน้ า 44
วิสัยทัศน์และภารกิจ
44
การประกอบธุรกิจ
45
ธุรกิจค้าก๊าซปิ โตรเลียมเหลว
45
ธุรกิจด้านวิศวกรรม
45
ธุรกิจค้านํ=ามันปิ โตรเลียม
46
การกํากับดูแลกิจการ
46
นโยบายเกียวกับการกํากับดูแลกิจการ
46
สิ ทธิของผูถ้ ือหุ น้
46
สิ ทธิของผูม้ ีส่วนได้เสี ย
46
การประชุมผูถ้ ือหุ ้น
47
ภาวะผูน้ าํ และวิสัยทัศน์
47
ความขัดแย้งทางผลประโยชน์
47
จริ ยธรรมธุรกิจ
48
การถ่วงดุลของกรรมการทีไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร
48
การรวมหรื อการแยกตําแหน่ง
48
ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริ หาร
48
การประชุมคณะกรรมการ
49
คณะอนุกรรมการ
49
ระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน
49
รายงานของคณะกรรมการ
49
ความสัมพันธ์กบั ผูล้ งทุน
50
(6)
สารบัญ (ต่อ) หน้ า บทที 4 ผลการศึกษา การตรวจสอบของผูส้ อบบัญชี และนักบัญชีนิติเวช
51
การทุจริ ตของ บริ ษทั ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ภายใน ปี 2547
51 การตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชี
54
งบการเงินของบริ ษทั ปิ คนิค คอร์ปอเรชัน จํากัด
(มหาชน)
56
การตรวจสอบโดยใช้บญั ชีนิติเวช
60
งบการเงินของบริ ษทั ปิ คนิค คอร์ปอเรชัน จํากัด
(มหาชน)
69
บทที 5 สรุ ปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม ภาคผนวก
สรุ ปผลการศึกษา
73
ข้อเสนอแนะในการศึกษา
74 76
(7)
สารบัญตาราง ตารางที 4.1
หน้ า ตารางเปรี ยบเทียบรายได้สําหรับปี สิ= นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2547 และ 2546
51
(8)
สารบัญภาพ ภาพที
หน้ า
3.1
สัญลักษณ์ของบริ ษทั ปิ กนิก คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน)
42
4.1
งบกําไรขาดทุนก่อนที ก.ล.ต.ให้ทาํ การปรับปรุ ง
56
4.2
งบดุล(บางส่ วน)ก่อนที ก.ล.ต. ให้ทาํ การปรับปรุ ง
57
4.3
งบดุล(บางส่ วน)ก่อนที ก.ล.ต. ให้ทาํ การปรับปรุ ง
58
4.4
งบกระแสเงินสด(บางส่ วน)ก่อนที ก.ล.ต. ให้ทาํ การปรับปรุ ง
59
4.5
งบกําไรขาดทุนหลังที ก.ล.ต.ให้ทาํ การปรับปรุ ง
69
4.6
งบดุล(บางส่ วน)หลังจากที ก.ล.ต. ให้ทาํ การปรับปรุ ง
70
4.7
งบดุล(บางส่ วน)หลังจากที ก.ล.ต. ให้ทาํ การปรับปรุ ง
71
4.8
งบกระแสเงินสด(บางส่ วน)หลังจากที ก.ล.ต. ให้ทาํ การปรับปรุ ง
72
บทที 1 บทนํา ความสํ าคัญของปัญหา ในการดําเนินธุ รกิจภายใต้สภาพแวดล้อมทางการแข่งขันทีรุ นแรงในปั จจุบนั องค์กรต่าง ๆ ทั%งภาคราชการ รัฐวิสาหกิจ และธุรกิจภาคเอกชน จําเป็ นต้องมีการปรับตัวและพัฒนาความสามารถ ในการแข่งขันขององค์กรอยูเ่ สมอ ดังนั%นการบริ หารสมัยใหม่จะให้ความสําคัญกับระบบข้อมูลและ ระบบสารสนเทศมากขึ%น เพราะหากกิจการใดมีระบบสารสนเทศทีดีกว่าก็จะสามารถทําให้มีขอ้ มูล เพือการตัดสิ นใจทีถูกต้องรวดเร็ ว และมีประสิ ทธิ ภาพทีมากกว่า ส่ งผลให้กิจการสามารถอยูร่ อดได้ ดีกว่าคู่แข่งขัน ซึ งสารสนเทศทีมีคุณภาพ มีประโยชน์ในการบริ หารและตัดสิ นใจต้องมีลกั ษณะที สําคัญ คือ มีความถูกต้อง เชื อถือได้ สมบูรณ์ครบถ้วน ทันเวลา สามารถเข้าใจได้และเกี ยวข้องกับ การตัดสิ นใจ สารสนเทศทีมีคุณสมบัติดงั กล่าวช่ วยให้กิจการนําข้อมูลทางการเงินมาวิเคราะห์ใน ด้านต่าง ๆ ทั%งในการบริ หาร การตลาดและการเงินอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ นอกจากนี% ยงั ส่ งผลให้งบ การเงินของกิ จการเป็ นประโยชน์แก่บุคคลภายนอก ทําให้บุคคลภายนอกสามารถนําข้อมูลในงบ การเงินมาวิเคราะห์ตดั สิ นใจ เช่ น การวิเคราะห์ความเสี ยง วิเคราะห์เพือตัดสิ นใจลงทุน ซึ งถ้าหาก บุคคลภายนอกมีความเชือมันในข้อมูลงบการเงิน ก็จะส่ งผลให้กิจการได้รับการระดมทุนมากขึ%น และราคาหุ น้ เพิมสู งจนสร้างความมังคังให้กบั กิจการในทีสุ ด การทุจริ ตเป็ นปัญหาใหญ่ในหลาย ๆ องค์กร ไม่วา่ จะเป็ นองค์กรภาครัฐ หรื อ เอกชน ทําให้ องค์กรต้องสู ญเสี ยทรัพยากรจํานวนมหาศาลจากการทุจริ ต โดยการทุจริ ตอาจเกิ ดจากการกระทํา ของบุคคลภายในองค์กร ทั%งทีเป็ นพนักงานปั จจุบนั หรื อ อดีตพนักงานของบริ ษทั มากกว่าทีจะเกิด จากการกระทําของบุคคลภายนอกองค์กร ทั%งนี%อาจเป็ นเพราะบุคคลภายในองค์กรมีความรู้เกียวกับ ระบบการทํางานขององค์กรเป็ นอย่างดีจึงรู้ช่องโหว่ หรื อจุดอ่อนทีสามารถทําการทุจริ ตได้ อีกทั%งยัง รู้วิธีการหลีกเลียงการตรวจสอบและสามารถปิ ดร่ องรอยการทุจริ ตได้ โดยในปี ค.ศ. 2010 สมาคม ผูต้ รวจสอบการทุจริ ต (Association of Certified Fraud Examiners: ACFE) รายงานใน “2010 Report to the Nation on Occupational Fraud and Abuse” ว่า ธุ รกิจสู ญเสี ยประมาณ 5% ของรายได้ ในแต่ละปี ไปกับการทุจริ ต คิดเป็ นมูลค่าประมาณ 58.07 ล้านล้านดอลล่าร์ สหรัฐ สู งขึ%นจาก 99.4
2 พันล้านดอลล่าร์ สหรัฐในปี 2008 ซึ งคิดเป็ น 50.42 เท่า โดย 85% ของการทุจริ ตทั%งหมดเป็ นการใช้ สิ นทรัพย์ไปในทางมิชอบ จากการตรวจสอบของคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศ ไทย ทีผ่านมา สรุ ปได้วา่ การกระทําความผิดส่ วนใหญ่เป็ นการกระทําผิดโดยอาศัยข้อมูลทั%งทีเป็ น ข้อมูลภายในและภายนอกถือได้วา่ ข้อมูลมีความสําคัญมากในตลาดทุน โดยเฉพาะงบการเงินและ รายงานประจํา ปี ที สะท้อ นถึ ง ฐานะการเงิ น ของบริ ษ ัท จดทะเบี ย นซึ งระดมทุ น จากประชาชน เปรี ยบเสมือนกระจกบานใหญ่ทีสะท้อนถึงฐานะการเงินและผลการดําเนิ นงานของบริ ษทั อีกทั%ง เป็ นแหล่งข้อมูลทีสําคัญในการให้ผลู้ งทุนได้ใช้ติดตามว่าเงินทีได้ลงทุนไปมีผลตอบแทนเท่าไหร่ และได้ถู กใช้ไ ปในทางทีถู กต้องหรื อไม่ ทีผ่านมารายงานสรุ ปการดํา เนิ นคดี ประกอบด้วยการ เปรี ยบเทียบปรับและการกล่าวโทษผูก้ ระทําผิดตาม พ.ร.บ. หลักทรัพย์ฯ ในหลายมาตราด้วยกัน ด้านการปฏิบตั ิงานตรวจสอบบัญชีน% นั ตามมาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 240 ได้ระบุถึงปั จจัยเสี ยง ของการเกิ ดการทุจริ ตทีเป็ นสถานการณ์หรื อเหตุการณ์ ซึงเพิมความเสี ยง ได้แก่ ปั จจัยด้านความ น่ าเชื อถือและความสามารถของฝ่ ายบริ หาร ปั จจัยด้านความกดดันทีผิดปกติภายในกิ จการ ปั จจัย ด้านทีเกียวข้องกับรายการผิดปกติ โดยเฉพาะรายการทีเกิดใกล้สิ%นปี ซึ งมีผลกระทบอย่างมีนยั สําคัญ ต่อกําไร และปั ญหาในการได้มาซึ งหลักฐานการสอบบัญชีทีเพียงพอและเหมาะสม คณะกรรมการ มาตรฐาน (2542) โดยตัวอย่างปัจจัยเสี ยงดังกล่าว อาจเพิมความเสี ยงในการทุจริ ต ดังนั%นเพือทีจะทํา ให้ตรวจพบปั จจัยเสี ยงดัง กล่ าวผูส้ อบบัญชี จึง ต้องอาศัยการระบุ ปัจจัย เสี ยง ทีจะทําให้ท ราบถึ ง โอกาสทีจะเกิ ดความเสี ยงของการทุจริ ตทีมีสาระสําคัญทีมีผลกระทบต่องบการเงินโดยรวม และ ช่ วยในการประเมิ นความเสี ยงเพื อเลื อกกิ จ กรรมที มี ค วามเสี ยงสู ง จากการทุ จ ริ ต มาทํา การวาง แผนการสอบบัญชีให้รัดกุมเหมาะสมเพือตรวจสอบในขั%นต่อไป มาตรฐานการสอบบัญชีของไทย รหัส 300 ได้กาํ หนดให้ผสู้ อบบัญชีตอ้ งมีการวางแผนเพือทีจะทําให้การปฎิบตั ิงานและการรวบรวม หลักฐานตรวจสอบเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพสามารถตรวจพบสิ งทีไม่ถูกต้องอย่างมีสาระสําคัญ อันเนืองจากการทุจริ ต ซึ งถ้าหากผูส้ อบบัญชี พบว่าการทุจริ ตนั%นมีผลกระทบอย่างเป็ นสาระสําคัญ ต่องบการเงินและแผนเดิมทีวางไว้ไม่เหมาะสม ผูส้ อบบัญชีจะปรับเปลียนหรื อขยายขอบเขตของ แผนการสอบบัญชี ให้เหมาะสมตามสถานการณ์ ทั%งนี% ข% ึ นอยู่กบั ดุ ลพินิจของในการพิจารณาเพือ ปรับเปลียนหรื อขยายขอบเขตดังกล่าว นอกจากนี% เพือทีจะให้ขอ้ มูลทางการเงินสามารถนําไปใช้โดยเกิดประโยชน์สูงสุ ดและให้ ความเชื อมันกับผูถ้ ือหุ ้นและบุคคลภายนอก จําเป็ นต้องมีผตู้ รวจสอบบัญชี มาทําหน้าทีตรวจสอบ
3 ข้อมูลทางการเงิน เพือให้ความเชื อมันว่างบการเงินมีความถูกต้องตามทีควรตามหลักการบัญชี ที รับรองโดยทัวไป ซึ งสามารถนําข้อมูลดังกล่าวไปใช้ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ การสอบบัญชีจึงเป็ น กระบวนการของการรวบรวมและประเมิ นหลัก ฐานเกี ยวกับ ข้อมูล ทางการบัญชี เพือระบุ และ รายงานเกี ยวกับระดับความสอดคล้องต้องกันของข้อมูลทางการบัญชี กบั หลักการบัญชี ทีรับรอง ทัวไป อย่างไรก็ตามในการดําเนิ นธุ รกิ จในปั จจุบนั พบว่ามีการทุจริ ตเพิมมากขึ%นดังจะเห็นได้จาก กรณี ความล้มเหลวทางบัญชี การล้มละลายของบริ ษทั ในสหรัฐอเมริ กาและหลายประเทศทัวโลก และรายงานของสมาคมผูต้ รวจสอบทุจริ ตรับอนุ ญาต (ACFC) โดยทีการทุจริ ตจากกรณี ดงั กล่ าว เกิ ดขึ%นจากสาเหตุทีสําคัญ เช่น ความโลภของผูบ้ ริ หาร การขาดความรับผิดชอบของผูส้ อบบัญชี รู ปแบบการรายงานการเงินไม่ชดั เจน และการเปิ ดเผยข้อมูลทีไม่เป็ นปั จจุบนั ผูส้ อบบัญชีส่วนใหญ่ มักมองโลกในแง่ดี ดังนั%นการตรวจสอบบัญชีเพียงอย่างเดียวจึงไม่เพียงพอต่อการตรวจพบทุจริ ตที เกี ยวพัน กับ ข้อมูล ทางการเงิ น จึ ง ต้องมี ก ารตรวจสอบอี ก ประเภทหนึ ง คื อ การบัญชี นิ ติเวช (Forensic Accounting) โดยเป็ นการตรวจสอบทีมีความคล้ายคลึงกับการตรวจสอบบัญชี แต่จะเป็ น การตรวจสอบทีเน้นการสื บสวนสอบสวน ข้อมูลทางการเงินเพือพิสูจน์ หรื อ หาหลักฐานประกอบ ข้อเท็จจริ งทีเกี ยวกับการกระทําทุจริ ตโดยเฉพาะ อย่างไรก็ตาม การบัญชี นิติเวช ยังไม่มีการศึกษา อย่า งแพร่ หลายในประเทศไทยและไม่ มี ก ารนํา มาใช้สํา หรั บ องค์ก รธุ รกิ จในประเทศไทยเพื อ ตรวจสอบทุจริ ตทีเกิ ดขึ%น แตกต่างกับการสอบบัญชี ทีได้มีการถือปฏิบตั ิโดยทัวไปสําหรับองค์กร ธุ รกิ จในประเทศไทย ดังนั%นหากได้มีการศึกษาการบัญชี นิติเวชให้มากขึ%น ทั%งด้านกระบวนการ ปฎิ บตั ิงานและความแตกต่างจากการสอบบัญชี ก็จะเป็ นประโยชน์แก่ องค์กรสําหรับการนําการ บัญชี นิติเวชมาใช้ควบคู่กบั การสอบบัญชี เพือให้รายงานทางการเงินขององค์กรมีความน่ าเชื อถื อ และสามารถตรวจสอบการทุจริ ตได้ดียงขึ ิ %น ด้วยเหตุผลดังกล่าว คณะผูจ้ ดั ทําจึงมีความสนใจ เรื อง การใช้บญั ชี นิติเวชตรวจสอบการ ทุจริ ตในรายงานทางการเงิ น กรณี ศึกษา บริ ษทั ปิ คนิ ค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ในปี พ.ศ. 2547 เนื องจาก บริ ษทั ปิ กนิก คอร์ ปอเรชัน ได้จดั ตั%งขึ%นเป็ นบริ ษทั มหาชนจํากัดตามกฎหมาย และ บัญชีระหว่างปี พ.ศ. 2546-2549 การซื% อของหุ ้นของบริ ษทั ฯ เกิดการเปลียนแปลงขึ%นและลงอย่าง รุ นแรง รวมทั%งยังมีคาํ สังจากคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ให้ บริ ษทั ฯ แก้ไขงบการเงินประจําปี สิ% นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2547 จึงแสดงให้เห็นว่า การสอบบัญชี ไม่เพียงพอต่อการตรวจพบหรื อป้ องกันการทุจริ ตได้อย่างเต็มที เพราะการตรวจสอบงบการเงินของ ผูส้ อบบัญ ชี มี วตั ถุ ป ระสงค์เพือให้ผูส้ อบบัญชี ส ามารถแสดงความเห็ น ต่ องบการเงิ นว่า มี ค วาม
4 ถูก ต้องตามที ควรในสาระสํา คัญหรื อไม่ โดยไม่ไ ด้มีวตั ถุ ป ระสงค์หลักในการตรวจสอบทุจริ ต ดังนั%นหากองค์กรธุรกิจในประเทศไทยได้มีการนําหลักการของการบัญชีนิติเวชมาใช้ร่วมกับการใช้ บริ การของผูส้ อบบัญชี ผูต้ รวจสอบภายในหรื อผูท้ ีทําการตรวจสอบทุจริ ตโดยเฉพาะ ก็อาจจะช่วย ให้องค์กรดังกล่าวสามารถป้ องกันหรื อยับยั%งการทุจริ ตได้ดียงขึ ิ %น วัตถุประสงค์ 1. เพือเป็ นแนวทางในการศึกษาการตรวจสอบวิธีการทุจริ ตต่าง ๆ 2. เพือศึกษาวิธีการตรวจสอบการทุจริ ตโดยใช้บญั ชีนิติเวช 3. ศึ ก ษากรณี ก ารทุ จ ริ ต รายงานทางการเงิ น ของ บริ ษ ัท ปิ คนิ ค คอร์ ป อเรชัน จํา กัด (มหาชน) ในปี พ.ศ. 2547 วิธีการศึกษา ข้ อมูลและแหล่งข้ อมูล ข้อมูลระดับทุติยภูมิ (Secondary Data) เป็ นข้อมูลทีได้จากการศึกษาค้นคว้าจากข้อมูลที ผูว้ จิ ยั รวบรวมไว้ ทั%งจากหน่วยงานภาครัฐบาลและเอกชน เอกสาร วารสาร อินเตอร์เน็ต เอกสารทาง วิชาการ ต่าง ๆ หนังสื อ ทีเกียวข้องกับบัญชีนิติเวช การวิเคราะห์ ข้อมูล วิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) อธิ บายลักษณะทัว ๆ ไปของข้อมูลที เก็บรวบรวมได้ ขอบเขตการวิจัย ในการศึกษาปั ญหาพิเศษเรื อง การใช้บญั ชี นิติเวชตรวจสอบการทุจริ ตในรายงานทางการ เงิน กรณี ศึกษาบริ ษทั ปิ คนิค คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ในปี พ.ศ. 2547
5 โดยทําการศึกษาการตรวจสอบการทุจริ ตในรายงานทางการเงิน การตรวจสอบการทุจริ ตโดยใช้ หลักการของบัญชีนิติเวช ประโยชน์ ทคาดว่ ี าจะได้ รับ 1. ทําให้ถึงทราบถึงปั ญหา และอุปสรรคต่าง ๆ รวมถึงวิธีการตรวจสอบการทุจริ ตต่าง ๆ เพือประยุกต์ใช้ในการตรวจสอบ 2. ทําให้มีความรู้ความเข้าใจเกียวกับบัญชีนิติเวชมากขึ%น 3. ทํา ให้ ท ราบถึ ง ประเด็ น การทุ จ ริ ต ต่ า ง ๆ ของบริ ษ ัท ปิ คนิ ค คอร์ ป อเรชัน จํา กัด (มหาชน) นิยามคําศัพท์ “การสอบบัญชี ” หมายถึ ง การตรวจสอบสมุดบัญชี เอกสารประกอบการลงบัญชี และ หลักฐานอืน โดยผูส้ อบบัญชี ตามแนวทางปฏิ บตั ิงานทีวิชาชี พได้กาํ หนดเป็ นมาตรฐานไว้ เพือที ผูส้ อบบัญชี จะสามารถวินิจฉัยและเสนอรายงานอย่างมีจรรยาบรรณและเป็ นไปตามหลักการแห่ ง วิชาชีพ เพือแสดงความเห็นว่า งบการเงินทีกิจการทําขึ%นมีความถูกต้องตามทีควรในสาระสําคัญตาม หลักการบัญชีทีรับรองทัวไปหรื อไม่ เพียงใดและงบการเงินดังกล่าวได้แสดงข้อมูลทีจําเป็ นเพือให้ ผูอ้ ่านงบการเงินได้ทราบอย่างเพียงพอแล้วหรื อไม่ “การบัญชี นิติเวช” หมายถึ ง การใช้ทกั ษะด้านการเงินและแนวคิดทางด้านการสื บสวน สอบสวน เพือใช้การตรวจสอบสื บ สวนและสอบสวนข้อมูล ทางการเงิ นเพือพิสู จน์หรื อเพือหา หลักฐานประกอบข้อเท็จจริ งเกียวกับการทุจริ ตโดยเฉพาะ “การทุจริ ต” หมายถึง การกระทําโดยตนเองหรื อร่ วมมือกับบุคคลอืนเพือให้รับทรัพย์สิน ผลประโยชน์ หรื อบริ การอืนใด โดยวิธีการฉ้อโกง ปิ ดบังข้อเท็จจริ งหรื อโดยวิธีการอันมิชอบด้วย กฎระเบียบข้อบังคับขององค์กร
6 “การทุจริตในรายงานทางการเงิน” หมายถึง การแสดงจํานวนเงินหรื อเปิ ดเผยข้อมูลทีผิด ๆ การละเว้น จํา นวนเงิ น หรื อ การเปิ ดเผยข้อ มู ล ในงบการเงิ น เพื อที จะทํา ให้ผูใ้ ช้ห ลงผิด ซึ งตาม กฎหมายแพ่ง อาญา หรื อ ทางการบริ หารแล้วถือเป็ นการทุจริ ต
บทที 2 เอกสารและงานวิจัยทีเกียวข้ อง การวิจยั เรื องการบัญชีนิติเวชใช้กบั องค์กรธุ รกิจในประเทศไทย ซึ งผูว้ ิจยั ได้ศึกษาเอกสาร และงานวิจยั ทีเกียวข้อง เพือเป็ นแนวทางในการวิจยั ดังรายละเอียดต่อไปนี1. แนวคิดเกียวกับบัญชีนิติเวช 2. แนวคิดเกียวกับการทุจริ ตในรายงานทางการเงิน แนวคิดเกียวกับบัญชีนิติเวช D Larry Crumbley และ Nicholas Apostolou (2002) ได้เขียนบทความใน Ohio CPA Journal ฉบับเดือนกรกฎาคม-กันยายน 2002 ไว้วา่ ในปี ค.ศ. 1946 บุคคลคนแรกทีพูดถึงแนวคิดของ การบัญชีสืบสวน คือ Maurice E. Peloubet ในขณะนั-น Peloubet เป็ นหุ ้นส่ วนของสํานักงานบัญชี Pogson, Pelouget & Co. ในนิวยอร์ ก Peloubet ได้กล่าวว่า การบัญชีสืบสวนมักปฏิบตั ิกนั เฉพาะใน ห้องพิจารณาคดี และใช้ในบางเวลาในการจัดทํารายงานทางการเงินถึงแม้วา่ จะยังไม่มีมาตรฐานใน การปฏิบตั ิงานการตรวจสอบทุจริ ตโดยตรงออกมา แต่การให้ความสําคัญในการป้ องกันการทุจริ ต ทําให้ประเทศสหรัฐอเมริ กาได้มีการกําหนดมาตรฐานการสอบบัญชีฉบับที 99 ขึ-นในปี ค.ศ. 2002 (AICPA’s Statement on Auditing Standard No.99 : Consideration of Fraud in Financial Statement Audit) โดยสมาคมผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตแห่ งประเทศสหรัฐอเมริ กา และสําหรับประเทศไทยในปี พ.ศ. 2544 สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ออกมาตรฐานการสอบบัญชีไทย รหัส 240 เรื องการทุจริ ตและข้อผิดพลาด ซึ งระบุว่าการตรวจพบสิ งทีไม่ถูกต้องอย่างมีสาระสําคัญในงบ การเงินถือเป็ นหัวใจของการตรวจสอบ และเป็ นหน้าทีของผูส้ อบบัญชีทีจะต้องประเมินความเสี ยง ของข้อผิดพลาดทีมีสาระสําคัญอันเกิ ดจากการทุจริ ต หลักการพื-นฐานของการบัญชี สืบสวน เป็ น การตรวจสอบเพือพิสูจน์หรื อค้นพบหลักฐานประกอบข้อเท็จจริ งเกียวกับการทุจริ ต ทีมีลกั ษณะที แตกต่างจากการตรวจสอบบัญชีโดยผูส้ อบบัญชี
8 การบัญชีสืบสวนเป็ นเรื องใหม่สําหรับประเทศไทย และยังไม่มีชือเรี ยกอย่างเป็ นทางการ โดยมีคาํ ศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Forensic Accounting Fraud Auditing และ Investigative Accounting เป็ นคําทีมีความหมายครอบคลุมในวงกว้างทีมุง้ เน้นการสื บสวนทางการทุจริ ตทางการเงินซึ งส่ งผล ให้เกิดคดีความในทีสุ ด ส่ วน Fraud Auditing เป็ นส่ วนย่อยของ Forensic Accounting ทีสื บสวน เรื องการทุจริ ตโดยเฉพาะ และ Investigative Accounting ทําการสอบทานเอกสารข้อมูลทางการเงิน เพือวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึงโดยเฉพาะ ซึ งอาจเป็ นข้อมูลหลักฐานประกอบการฟ้ องร้องหรื อ การเรี ยกร้องประกันความเสี ยหายรวมทั-งคดีอาญาได้ มีผเู้ สนอชือในภาษาไทยสําหรับ Forensic Accounting ไว้หลายคําด้วยกัน ได้แก่ การบัญชี นิติเวชศาสตร์ การบัญชีนิติเวช และการบัญชีสืบสวน อย่างไรก็ตาม ผูว้ ิจยั มีความชืนชอบคําว่าการ บัญชี นิติเวชมากกว่า และเนื องจากผูป้ ฏิ บตั ิงานด้านการบัญชี นิติเวชยังไม่ปรากฏเป็ นวิชาชี พใน ประเทศไทย เมือเริ มแรก การตรวจสอบทุจริ ตในลักษณะทีเป็ นอาญชกรรมนี- กระทํากันโดยตํารวจหรื อ นักสื บ ทีมีลกั ษณะเป็ นการสื บสวน หาข้อเท็จจริ ง ตามวิธีการของตํารวจหรื อนักสื บจึงจําต้องขอ ความช่ วยเหลื อหรื อความร่ วมมือจากนักบัญชี จึงมักใช้ชือทีเกี ยวกับการตรวจสอบทุจริ ต แม้ว่า ขอบเขตของการบัญชีนิติเวชจะกว้างและครอบคลุมมากขึ-น แต่สมาคมทีเกียวข้องหลาย ๆ แห่ งก็ยงั มีชื อที สื อไปในทางตรวจสอบทุ จริ ตอยู่ดี เช่ น สมาคมผูต้ รวจสอบการทุ จริ ต (Association of Certified Fraud Examiners: ACFE) การบัญชี นิติเวช (Forensic Accounting) ได้เกิดขึ-นมานานในประเทศสหรัฐอเมริ กา แต่ จํากัดเฉพาะกลุ่ มวิชาชี พบัญชี และผูท้ ีเกี ยวข้องเท่านั-น โดยสถาบันผูส้ อบบัญชี รับอนุ ญาตแห่ ง สหรัฐอเมริ กา (The American Institute of Certified Public Accountants: AICPA) ได้แบ่งการบัญชี นิติเวชเป็ น 2 ประเภท 1. การให้บริ การสื บสวนสอบสวน (Investigative Services) แต่อาจรวมหรื อไม่รวมถึง การยืนยันอย่างเปิ ดเผยในชั-นศาล ซึ งเหมาะกับผูต้ รวจสอบการทุจริ ต โดยต้องมีความรู้ ในการตรวจสอบบัญชี การป้ องกัน การควบคุมการทุจริ ต การยักยอก และการเป็ น ตัวแทนเท็จ
9 2. การให้บริ การฟ้ องร้องดําเนิ นคดี (Litigation Services) ซึ งจะต้องมาจากกฏของนัก บัญชี ผูใ้ ห้คาํ ปรึ กษา และกฎอืน ๆ ได้อย่างผูเ้ ชียวชาญ เหมาะทั-งผูต้ รวจสอบการทุจริ ต และนักบัญชีนิติเวช ทีจะต้องประเมินสถานการณ์ และแก้ปัญหาจากประสบการณ์ สําหรับประเทศไทยมีการตีพิมพ์เป็ นครั-งแรกประมาณปี พ.ศ. 2541 โดยบทความของผูช้ ่วย ศาสตราจารย์สมชาย ศุภธาดา ได้ใช้ชือว่า การบัญชีนิติเวชศาสตร์ บทความทีมีลกั ษณะคล้ายกันของ รองศาสตราจารย์เสาวนี ย ์ ลิ ชณวัฒน์ ซึ งใช้คาํ ว่า การบัญชี สืบสวน ในปี พ.ศ. 2544 ผูช้ ่ วย ศาสตราจารย์สมชาย ศุภธาดา ได้กล่าวถึงหลักการพื-นฐานของการบัญชีนิติเวชศาสตร์ วา่ เป็ นการใช้ หลักการคิดทีอนุมานว่าจะไม่มองโลกในแง่ดี โดยจะมองว่าอาจมีการทุจริ ตเกิดขึ-น และต้องคิดหรื อ จินตนาการให้เหมือนผูก้ ระทําการทุจริ ตให้มากทีสุ ดเท่าทีจะทําได้ เพือวิเคราะห์วา่ อาจเกิดการทุจริ ต ในรู ปแบบใดได้บา้ ง โดยใช้การเรี ยนรู้จากประสบการณ์ พิจารณาจากมูลเหตุจูงใจ โอกาส และ สภาพแวดล้อมในการทําการทุจริ ต แทนการเรี ยนรู้จากตารางหรื อกระดาษทําการจากการตรวจสอบ ในปี ก่ อน ๆ โดยการทํา ทุ จริ ตสํา หรั บ พนัก งานและผูบ้ ริ ห ารในแต่ ล ะระดับ จะมี ล ัก ษณะไม่ เหมือนกันทั-งในด้าน ลักษณะของการทุจริ ต และจํานวนเงินความเสี ยหายทีเกิ ดขึ-น การทุจริ ต ทางการบัญชีมกั จะค้นพบโดยบังเอิญ และการทุจริ ตทางการเงินมักตรวจสอบพบโดยอาศัยเทคนิค วิธีการอืนทีไม่ใช่วธิ ีทีใช้โดยทัวไป การบัญ ชี นิติ เ วช หมายถึ ง การใช้ท กั ษะด้า นการเงิ นและแนวคิ ด ทางด้า นการสื บ สวน สอบสวน เพือใช้ในการตรวจสอบ สื บสวนและสอบสวนข้อมูลทางการเงินเพือพิสูจน์หรื อเพือหา หลักฐานประกอบข้อเท็จจริ งเกียวกับการทุจริ ตโดยเฉพาะ การบัญชี นิติเวชนั-น เป็ นแขนงวิชาชี พใหม่ ทีมีข- ึนมาภายหลังการสอบบัญชี ซึ งการบัญชี นิ ติเวชนั-น คือ การใช้ทกั ษะด้านการเงินและแนวคิดทางด้านการสื บสวนสอบสวนเพือใช้ในการ ตรวจสอบ สื บ สวนและสอบสวนข้อ มู ล ทางการเงิ นเพื อพิ สู จ น์ ห รื อ เพื อหาหลัก ฐานประกอบ ข้อเท็จจริ งเกียวกับการทุจริ ตโดยเฉพาะ นักบัญชีนิติเวชจึงทําหน้าทีคล้าย ๆ กับนักสื บ แต่เนืองจาก จุดเริ มต้นของการตรวจสอบนี- มาจากการตรวจสอบด้านภาษีอากรซึ งเกี ยวกับกฎหมายและมักจะ เป็ นความผิดอาญา ดังนั-น การบัญชี นิติเวชนี- จึงมองว่าเป็ นการบัญชี ทีเกียวข้องกับอาชญากรรมซึ ง สาเหตุทีทําให้การบัญชีนิติเวชเริ มมีความสําคัญขึ-นมานั-น มีสาเหตุทีสําคัญหลายประการด้วยกัน คือ
10 1. การเพิมขึ-นของการทุจริ ต 2. การทีตนมีความผูกพันกับองค์กรน้อยลง 3. การเปลี ยนแปลงคุ ณค่า ทางสัง คม ซึ งได้แก่ การที ผูค้ นเป็ นนักวัตถุ นิยม ครอบครั ว แตกแยก ไม่ให้คุณค่ากับจริ ยธรรม เป็ นต้น 4. การมีบทบาทเพิมขึ-นอย่างมากของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี นอกจากนี-การทุจริ ตก่อให้เกิดความเสี ยหายจํานวนมากต่อธุ รกิจโดยเฉพาะอย่างยิงตั-งแต่ปี ค.ศ. 1996 ทีสมาคมผูต้ รวจสอบทุจริ ตรับอนุญาต (Association of Certified Fraud Examiners: ACFE) ได้รายงานว่ามีผลเสี ยหายมูลค่ากว่าสี แสนล้านดอลลาร์ สหรัฐ ฯ และจากผลการศึกษาในปี ค.ศ. 1998 ของสํานักงานสอบบัญชี KPMG และสํานักงานสอบบัญชี EARNST & YOUNG พบว่า ส่ ว นใหญ่ เ รื องการทุ จ ริ ต จะเป็ นปั ญ หามากขึ- น ในอนาคต และการทุ จ ริ ต เกื อ บทั-ง หมดทํา โดย พนักงานในองค์กร การทุ จริ ตส่ วนใหญ่ เกิ ดจากการกระทําของฝ่ ายบริ หาร อันเนื องมาจากการ ควบคุมภายในทีไม่ดีพอ ผูบ้ ริ หารละเลยหรื อไม่ให้ความสําคัญกับการควบคุมภายใน หรื อผูบ้ ริ หาร มีความรู้เรื องการควบคุมภายในค่อนข้างน้อยจากสาเหตุทีสําคัญดังกล่าว จึงทําให้มีความต้องการใน การตรวจสอบทุจริ ตมีมากขึ-น ไม่วา่ จะเป็ นขององค์กรธุ รกิจ รัฐบาล ผูถ้ ือหุ ้น หรื อการเป็ นพยานใน ศาล ส่ งผลให้มีวชิ าชีพแขนงใหม่เกิดขึ-น คือ การบัญชีนิติเวช บทบาทและคุณลักษณะของนักบัญชีนิติเวช การทํางานของผูส้ อบบัญชี โดยทัวไปจะมีแผนการตรวจสอบทีมุ่งให้เกิ ดความเชือมันของ ผูใ้ ช้งบการเงินในขณะทีนักบัญชีนิติเวชจะทําการตรวจสอบเพือป้ องกันหรื อค้นหาการทุจริ ตทีอาจ เกิดขึ-นภายในองค์กร การทํางานจึงมักไม่กาํ หนดแผนการตรวจสอบทีชัดเจน แต่ตอ้ งเป็ นผูท้ ีมีความ ละเอียด ช่ างสังเกตเพือการค้นหาความผิดปกติทีอาจเกิ ดขึ-น โดยไม่สนใจว่าข้อมูลทางการเงินได้ จัดทําตามมาตรฐานการบัญชี หรื อไม่ การทุจริ ตจะมีลกั ษณะทีแตกต่างออกไป ขึ-นอยู่กบั โอกาส แรงจูง ใจ และ สถาณการณ์ ที เอื-ออํา นวยต่อการทุ จริ ต นอกจากการฝึ กอบรมเพือเสริ ม สร้ างการ ตรวจสอบการทุ จริ ตแล้วนักบัญชี นิติเวชต้องสามารถจิ นตนาการในโอกาสต่า ง ๆ ว่าการทุจริ ต เกิ ดขึ-นได้อย่างไร เพือใช้เป็ นแนวทางในการค้นหา นักบัญชี นิติเวชจึงต้องมีความรู้แขนงต่าง ๆ ที
11 กว้างขวางทั-งในด้านพฤติกรรมมนุษย์ ด้านกฎหมาย ด้านภาษีอากร รวมถึงการเป็ นคนช่างสังเกต มี ความคิดสร้ างสรรค์ มี ความสามารถในการวิเคราะห์ รวมถึ งการมีมนุ ษยสัมพันธ์ ทีดี เพือเข้าถึ ง ข้อมูลทีจําเป็ น นักบัญชี นิติเวชจําเป็ นต้องมีคุณลักษณะเฉพาะด้านทีได้รับจากการอบรมเพือการ ตรวจสอบการทุจริ ตโดยเฉพาะ ซึงคุณลักษณะทีนักบัญชีนิติเวชทีควรมีมี 6 ข้อดังต่อไปนี1. Creativity มีความคิดสร้างสรรค์ 2. Curiosity มีความอยากรู้อยากเห็น 3. Perseverance กัดไม่ปล่อย 4. Common sense มีสามัญสํานึก 5. Business sense เข้าใจประเด็นทางธุรกิจ 6. Confidence มีความเชือมันในตนเอง อย่างไรก็ตาม ยังมีคุณลักษณะอืน ๆ อีกทีนักบัญชีนิติเวชมี ดังทีจันทนา สาขากร (2544) ได้ ระบุไว้วา่ “ผูส้ อบบัญชีควรมีความรู้ทางด้านพฤติกรรมมนุษย์ เพือนํามาใช้กบั เทคนิคการตรวจสอบ โดยเฉพาะอย่างยิงการสัมภาษณ์ การตรวจสอบการทุจริ ตนอกจากจะใช้เทคนิ คการตรวจสอบที ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาตใช้อยูต่ ามปกติ นํ-าหนักความสําคัญของเทคนิคการสัมภาษณ์จะอยูใ่ นระดับที สู ง เนืองจากผูส้ อบบัญชีนิติเวชจะต้องคิดเยียงผูก้ ระทําการทุจริ ต (Think like a crook) ไม่คิดอยูใ่ น กรอบในระบบ (Think outside the Box) ประพฤติตนเยียงนักสื บ และมีความรู้ดา้ นพฤติกรรมมนุษย์ ดี เพือการค้นหาเบาะแสขั-นต้นของการทุจริ ต และท้ายสุ ดจะต้องฝึ กฝนตนเองให้เป็ นผูเ้ ชียวชาญใน การเป็ นพยานในศาล” นอกจากนี-นกั บัญชีนิติเวชจะต้องปฏิบตั ิตามมรรยาททีสมาคมผูต้ รวจสอบทุจริ ตรับอนุญาต กําหนด (Code of Professional Ethics of the Association of Certified Fraud Examiners) ซึ งกําหนด ในเรื องต่อไปนี-
12 1. นักบัญชีนิติเวชต้องแสดงให้เห็นถึงความเป็ นมืออาชีพและความขยันในการปฏิบตั ิงาน ของตน 2. นักบัญชีนิติเวชจะต้องไม่ประพฤติตนหรื อร่ วมกิจกรรมใด ๆ ในทางทีผิดกฎหมายและ ผิดจริ ยธรรม 3. นักบัญชี นิติเวชจะต้องแสดงให้เห็ นถึงความซื อสัตย์ในระดับสู งในการปฏิ บตั ิงานที ได้รับมอบหมาย และจะตกลงรับงานเฉพาะงานทีมีการคาดหมายอย่างสมเหตุสมผลว่า จะถูกทําให้เสร็ จสมบูรณ์ดว้ ยความสามารถเยียงผูป้ ระกอบวิชาชีพ 4. นักบัญชีนิติเวชจะต้องยอมรับในคําสังต่าง ๆ ทีถูกต้องตามกฎหมายของศาล และจะให้ การในเหตุการณ์ต่าง ๆ ทีเป็ นความจริ งและปราศจากความอคติใด ๆ 5. นักบัญชี นิติเวชเมือปฏิบตั ิงานตรวจสอบ จะต้องให้ได้มาซึ งหลักฐานหรื อเอกสารอืน ใดเพือใช้เป็ นสิ งสนับสนุนทีมีเหตุผลในการแสดงความเห็นใด ๆ ของตน และจะไม่มี ความเห็นใด ๆ ทีแสดงออกมาเกี ยวกับความผิดและความบริ สุทธิ| ของบุคคลใดหรื อ คณะใด 6. นักบัญชีนิติเวชจะไม่เปิ ดเผยข้อมูลทีเป็ นความลับใด ๆ ทีได้มาในระหว่างปฏิบตั ิงาน ตรวจสอบโดยปราศจากอํานาจหน้าทีทีเหมาะสม 7. นักบัญชีนิติเวชจะต้องเปิ ดเผยข้อมูลข้อเท็จจริ งทุกอย่างทีสามารถค้นพบมาได้ ในช่วง เวลาที อยู่ใ นการพิจารณาคดี ใ นชั-นศาล เพราะถ้า ไม่ เปิ ดเผยข้อมูล ทั-งหมด อาจเป็ น สาเหตุให้เกิดการบิดเบือนความจริ งได้ นักบัญชีนิติเวชจะต้องพยายามอย่างต่อเนื องในการเพิมความสามารถและความมีประสิ ทธิ ผลของ การปฏิบตั ิงานเยียงผูป้ ระกอบวิชาชีพทีถูกแสดงออกมาภายใต้คาํ สังทีได้รับมอบหมาย
13 คุณสมบัติของนักบัญชีนิติเวช จากความหมายและหลักการของการบัญชี สืบสวนข้างต้นสะท้อนให้เห็ นถึ งคุณสมบัติที จําเป็ นของนักบัญชีนิติเวชทีต้องมีเพือทีจะสามารถปฏิบตั ิงานได้ตามแนวทางของการบัญชีนิตเวช D Larry Crumbley และ Nicholas Apostolou (2002) ได้เปรี ยบเทียบคุณสมบัติของนักบัญชีนิติเวช ว่าเสมือนกับชั-นขนมเค้กทีมี 3 ชั-น ชั-นทีใหญ่ทีสุ ดชั-นล่าง คือ พื-นฐานทีแน่นในด้านบัญชี ชั-นกลาง ซึ งเป็ นชั-นทีเล็กรองลงมาเปรี ยบเสมือนชั-นทีเต็มไปด้วยความรู้ทางด้านการตรวจสอบ การควบคุม ภายใน การประเมินความเสี ยง และแนวทางการสื บหาการทุจริ ต และชั-นบนซึ งเป็ นชั-นทีเล็กทีสุ ด เป็ นชั-นของความรู้ความเข้าใจพื-นฐานเบื-องต้นในกฎหมายทีเกี ยวข้องและหน้าของขนมเค้กทีเป็ น ครี มนั-นเปรี ยบเสมือนกับความสามารถในการสื อสารทั-งการเขียนและการพูด องค์ประกอบทั-งหมด เป็ นสิ งทีจําเป็ นและแสดงให้เห็นว่าการทํางานของนักบัญชี นิติเวชเป็ นการทํางานทีต้องประสาน ทักษะทั-งทางด้านการสื บสวนในเรื องทีเกียวกับบัญชีและทางด้านกฎหมายเข้าด้วยกัน สมาคมผูต้ รวจสอบทุจริ ตรับอนุญาต (Association of Certified Fraud Examiners : ACFE) ได้กาํ หนดคุณสมบัติของผูท้ ีจะสามารถขึ-นทะเบียนเป็ นนักบัญชีนิติเวชไว้ ดังนี1. สําเร็ จการศึกษาปริ ญญาตรี ทางบัญชีหรื อเทียบเท่า 2. มีประสบการณ์ทาํ งานเป็ นนักบัญชีหรื อผูต้ รวจสอบบัญชี (ทั-งภายในและภายนอก) ไม่ ตํากว่า 2 ปี 3. ผ่านการทดสอบที ACFE กําหนด (Uniform CFE Examination) จากคุณสมบัติทีจําเป็ นทีนักบัญชีนิติเวชต้องมีตามทีกล่าวมาแล้ว ยังมีความรู้และทักษะที จําเป็ นสําหรับนักบัญชี สืบสวนทีได้มีการจําแนกให้เห็ นได้ชัดเจนมากขึ-นโดยสรุ ปพอสังเขปได้ ดังนี1. ทักษะในการตรวจสอบ (Auditing Skills) เป็ นทักษะทีสาคัญทีสุ ดของนักบัญชีนิติเวช เนื องจากการรวบรวมข้อมูล และการทวนสอบเป็ นลักษณะธรรมชาติของการบัญชี
14 นิติเวช การฝึ กฝนจะทําให้นกั บัญชีนิติเวช สามารถเก็บรวบรวมหลักฐานและวิเคราะห์ ข้อมูลทีเกียวข้อง นําไปสู่ หลักฐานทีดีในชั-นศาล 2. ทักษะและความรู้ในการสื บสวน (Investigation Knowledge and skills) เช่น เทคนิคใน การควบคุมดูแล ทักษะในการสัมภาษณ์ และการซักถาม นอกจากนั-นยังต้องมีทกั ษะที มากกว่าการตรวจสอบและการผสมผสานระหว่างการทุจริ ตในทางการเงินและทาง กฏหมาย 3. อาชญาวิทยา (Criminology) โดยเฉพาะการศึ กษาการทํางานของจิ ตทีเกี ยวข้อง อาชญากรรม เป็ นส่ วนสาคัญสาหรับนักบัญชีนิติเวช เนืองจากทักษะในการสื บสวนทีมี ประสิ ทธิ ภาพ ขึ-นอยู่กบั ความรู้ ใ นเรื องของมูล เหตุจูงใจและประสบการทีเป็ นสิ ง กระตุน้ ให้อาชญากรกระทําความผิด 4. ความรู้ดา้ นบัญชี (Accounting knowledge) ความรู้บญั ชีช่วยนักบัญชี นิติเวช ในการ วิเคราะห์และแปลความหมายสารสนเทศทางการเงินทีจําเป็ นเพือสร้างกรอบในการ สื บสวนทางการเงิน ถึงแม้วา่ จะเป็ นการล้มละลาย, การฟอกเงิน หรื อการยักยอกเงิน ซึ ง ความรู้ดา้ นบัญชีน- ี รวมไปถึงการควบคุมภายในทีเหมาะสม เช่น สิ งทีเกียวข้องกับการ กํากับดูแลทีดี 5. ความรู้ดา้ นกฏหมาย (Legal knowledge) ความรู้ดา้ นกฏหมายและกระบวนการในศาล จะทําให้นกั บัญชีนิติเวชระบุเหตุการณ์ทีจําเป็ นต้องการพิจารณาในชั-นศาล 6. เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information technology; IT) ความรู้และทักษะในการใช้ เทคโนโลยี ส ารสนเทศเป็ นเครื องมื อ ที จํา เป็ นของนั ก บัญ ชี นิ ติ เ วชในโลกของ อาชญากรรมไร้กระดาษ อย่างน้อยทีสุ ดนักบัญชีนิติเวชต้องรู้จุดทีควรติดต่อผูเ้ ชียวชาญ ในคอมพิวเตอร์ ท- งั ฮาร์ ดแวร์ และซอฟแวร์ รวมทั-ง ทัก ษะด้า นเทคโนโลยีใ นการ รวบรวมข้อมูล การสะกัด และแยกข้อมูลในเหมืองข้อมูล (Data Mining) การออกแบบ การควบคุมการแปลข้อมูล รวบรวมสารสนเทศสาหรับการเปรี ยบเทียบ และการ วิเคราะห์ขอ้ มูล
15 7. ทักษะในการสื อสาร (Communication skills ) ใช้เพือให้นกั บัญชีนิติเวชส่ งผลของการ ตรวจสอบ วิเคราะห์ทีถูกต้องและชัดเจนให้กบั ผูใ้ ช้งาน ซึ งเป็ นส่ วนหนึ งของการ ให้บริ การของนักบัญชีนิติเวช มรรยาทของนักบัญชีนิติเวช นัก บัญชี นิติเวชต้องปฏิ บ ตั ิ ตามมรรยาทที สมาคมผูต้ รวจสอบทุ จริ ตรั บ อนุ ญาตกํา หนด (Code of Professional Ethics of the Association of Certified Fraud Examinations) กําหนดไว้ใน เรื องดังต่อไปนี1. แสดงให้เห็นถึงความเป็ นมืออาชีพและความขยันในการปฏิบตั ิงานของตน 2. ต้องไม่ปฏิบตั ิตนหรื อร่ วมกิจกรรมใด ๆ ในทางทีผิดกฏหมายและผิดจริ ยธรรม 3. แสดงให้เห็นถึงความซื อสัตย์ในระดับสู งในการปฏิบตั ิงานทีได้รับมอบหมาย และจะ ตกลงรั บ งานเฉพาะงานที มี ก ารคาดหมายอย่า งสมเหตุ ส มผลว่ า จะถู ก ทํา ให้เ สร็ จ สมบูรณ์ดว้ ยความสามารถเยียงผูป้ ระกอบวิชาชีพ 4. ยอมรับในคําสังต่าง ๆ ทีถูกต้องตามกฏหมายของศาลและจะให้การในเหตุการณ์ต่าง ๆ ทีเป็ นความจริ งและปราศจากความอคติใด ๆ 5. เมือปฏิบตั ิงานตรวจสอบ ต้องให้ได้มาซึ งหลักฐานหรื อเอกสารอืนใด เพือใช้เป็ นสิ ง สนับสนุนทีมีเหตุผลในการแสดงความเห็นใด ๆ ของตน และจะไม่มีความเห็นใด ๆ ที แสดงออกมาเกียวกับความผิดและความบริ สุทธิ| ของบุคคลใดหรื อคณะใด 6. ไม่เปิ ดเผยข้อมูลทีเป็ นความลับใด ๆ ทีได้มาในระหว่างปฏิ บตั ิงานตรวจสอบโดย ปราศจากอํานาจหน้าทีทีเหมาะสม 7. เปิ ดเผยข้อเท็จจริ งทุกอย่างทีสามารถค้นพบ ในช่วงเวลาทีอยูใ่ นการพิจารณาในชั-นศาล เพราะถ้าไม่เปิ ดเผยข้อมูลทั-งหมด อาจเป็ นสาเหตุให้เกิดการบิดเบือนความจริ งได้
16 8. ต้องพยายามอย่างต่อเนื องในการเพิมความสามารถและความมีประสิ ทธิ ผลของการ ปฏิบตั ิงานเยียงผูป้ ระกอบวิชาชีพทีถูกแสดงออกมาภายใต้คาสังทีได้รับมอบหมายมา ความรับผิดชอบของนักบัญชีนิติเวช ความรับผิดชอบของนักบัญชี นิติเวช คือ การสื บสวนและวิเคราะห์เอกสารหลักฐานทาง การเงินทั-งหมด จากนั-นให้สือสารสิ งทีตรวจพบในรู ปแบบรายงานตารางข้อมูลทางการบัญชี และ สรุ ปผลย่อตลอดจนต้องประสานงานและให้ความช่ วยเหลื อในการสื บสวนต่อไปรวมถึ งการไป ปรากฏตัวเป็ นพยานในชั-นศาลในฐานะผูเ้ ชียวชาญอีกด้วย วัตถุประสงค์ ในการตรวจสอบของการบัญชีนิติเวช การบัญชี นิติเวชมีวตั ถุประสงค์เพือเป็ นการป้ องกันและค้นหาการทุจริ ต โดยผูท้ ีทําหน้าที ตรวจสอบการทุจริ ต ถูกเรี ยกว่านักบัญชี นิติเวช (Forensic Accountant) นอกจากนี- มาตรฐานการ สอบบัญชีของสหรัฐอเมริ กาฉบับที 82 ซึ งออกมาในปี ค.ศ. 1997 ถือว่าได้เป็ นการตอบสนองข้อวิ พากย์ทีว่าผูส้ อบบัญชี ทีจะต้องประเมินความเสี ยงของข้อผิดพลาดทีมีสาระสําคัญอันเกิ ดจากการ ทุจริ ต ซึ งในมาตรฐานการสอบบัญชี ฉบับดังกล่าวได้ระบุถึงปั จจัยต่างๆทีผูส้ อบบัญชีควรให้ความ สนใจและใส่ ต- งั แต่การวางแผนตรวจสอบซึงได้แก่ 1. การจัดการและการมีบทบาทของฝ่ ายบริ หารในการควบคุม 2. สภาพอุตสาหกรรม 3. ลักษณะการดําเนินงานและความมังคงของสถานะทางการเงิน นอกจากนี- ยงั มีการระบุถึงการรวบรวมหลักฐาน การจัดทําเอกสารและการรายงานผลด้วย อย่างไรก็ดีในทางปฏิ บตั ิ ไม่ใช่ เรื องง่ ายทีผูส้ อบบัญชี จะตรวจสอบทุจริ ตทั-งหมด โดยเฉพาะการ ทุจริ ตทีมีการร่ วมมือกันหลายฝ่ ายหรื อการทุจริ ตด้วยการปลอมแปลงเอกสาร เพราะนอกจากโดย ลัก ษณะการทุ จ ริ ต หรื อ หลัก ฐานแล้ว ในการประเมิ น ความเสี ยงจากการทุ จ ริ ต ยัง ต้อ งอาศัย วิจารณญาณทางวิชาชี พอี กด้วย ซึ งแม้ว่าจะมีก ารวางแผนอย่า งดี และมีก ารปฏิ บตั ิ ทีเหมาะสมก็
17 อาจจะไม่สามารถตรวจสอบการทุจริ ตโดยเฉพาะ ซึ งอาจจะเป็ นผูช้ าํ นาญการเฉพาะทาง เช่ นนัก บัญชี นิติเวช เพราะบุคคลเหล่ า นี- จะไม่มี สมมติฐานเกี ยวกับความซื อสัตย์ของฝ่ ายจัดการและไม่ สนใจว่างบการเงินได้จดั ทําตามมาตรฐานบัญชี แต่จะให้ความสนใจในคําถามต่อไปนี- ตัวอย่างเช่น 1. ระบบการควบคุมของกิจการนั-นมีจุดบกพร่ องทีตรงส่ วนใด 2. ระบบบัญชีทีใช้อยู่ เปิ ดโอกาสให้มีการตกแต่งตัวเลข หรื อการปฏิบตั ิทีไม่เป็ นไปตาม มาตรฐานการบัญชีทีใดบ้าง 3. ใครเป็ นผูด้ ูแลรายงานนอกงบดุล และรายการเหล่านี- ได้บนั ทึกไว้ทีไหน อย่างไร 4. วิธีการทีง่ายทีสุ ดทีสามารถลดขั-นตอนหรื อไม่ปฏิบตั ิตามระบบทีวางไว้คืออะไรและจะ สามารถผ่านหูผา่ นตาผูบ้ ริ หารระดับต่าง ๆ ไปได้อย่างไร 5. สิ งแวดล้อมในการทํางานแบบใด ทีเปิ ดโอกาสให้มีการทุจริ ตได้ง่าย ขอบเขตการตรวจสอบ นัก บัญชี นิติเวชต้องกํา หนดขอบเขตวิธี ก ารตรวจสอบที ต้องเกี ยวข้องกับ เป้ าหมายและ วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบโดยอาศัยมาตรฐานปฏิ บตั ิงานของการบัญชี นิติเวชทีกําหนดโดย สถาบันของผูต้ รวจสอบภายใน (Institute of Internal Auditors) เป็ นหลัก ซึ งขอบเขตของการ ตรวจสอบต้องครอบคลุ มในเรื องทีสําคัญ คือ ป้ องกันหรื อยับยั-งการทุจริ ต ออกแบบการควบคุ ม ภายในทีดี กําหนดระดับความเสี ยงจากการทุจริ ตขององค์กร แสดงข้อมูลทางการเงินทีผิดปกติ และ ระบุถึงข้อบ่งชี-ของการทุจริ ต หลักการพืน* ฐานของการตรวจสอบ การบัญชี นิติเวชเป็ นการตรวจสอบเพือพิสูจน์หรื อค้นพบหลักฐานประกอบข้อเท็จจริ ง เกียวกับการทุจริ ต ทีมีลกั ษณะทีแตกต่างจากการตรวจสอบบัญชีโดยผูส้ อบบัญชีภายนอก ซึ งสมชาย ศุภธาดา (2541) ได้ระบุถึงแนวทางของการตรวจสอบอย่างสังเขป ดังนี-
18 1. เป็ นการใช้หลักคิดทีอนุ มานว่าไม่ได้เป็ นการมองโลกในแง่ ดี กล่ าวคือ มองว่ามีการ ทุจริ ต และให้ค วามหมายของการทุ จริ ตว่า เป็ นการเจตนาจงใจบิดเบื อนหรื อแสดง ข้อเท็จจริ งทางการเงินผิดพลาดไม่วา่ จะมีนยั สําคัญหรื อไม่ก็ตาม โดยต้องคิดให้เหมือน ผูก้ ระทําการทุจริ ตให้มากทีสุ ดเท่าทีจะทําได้ 2. เป็ นการเรี ยนรู้จากประสบการณ์เป็ นส่ วนใหญ่แทนทีจะเรี ยนรู้จากตําราหรื อกระดาษ ทําการในปี ก่อน ๆ โดยให้พิจารณามูลเหตุจูงใจ โอกาส ประโยชน์และสภาพแวดล้อม ในการกระทําทุจริ ต 3. การกระทําทุจริ ตสําหรับพนักงานและผูบ้ ริ หารในแต่ละระดับมีลกั ษณะไม่เหมือนกัน ทั-งในด้านประเภทของการทุจริ ตและจํานวนความเสี ยหายทีเกิดขึ-น 4. การทุจริ ตทางการบัญชีมกั จะค้นพบโดยความบังเอิญ และส่ วนใหญ่ของการทุจริ ตทาง การเงินมักตรวจสอบพบโดยอาศัยเทคนิควิธีการอืนเป็ นหลักไม่ใช่ตรวจพบจากวิธีการ ตรวจสอบบัญชีทีใช้ทวไป ั 5. นักบัญชี นิติเวชต้องปฏิบตั ิงานตามแนวปฏิบตั ิงานของการบัญชีนิติเวช (General and Specific Standards for the Professional Practice of Forensic Accounting) โดยแนว ปฏิบตั ิทีถูกอ้างอิงและกําหนดขึ-นโดยสถาบันผูต้ รวจสอบภายใน (Institute of Internal Auditors) และจะต้องปฏิ บ ตั ิ ตามมรรยาทที สมาคมผูต้ รวจสอบทุ จริ ตรั บ อนุ ญาต กําหนด (CFE Code of Professional Standards) กระบวนการปฏิบัติงาน โดยทัวไปลัก ษณะของงานที ได้รั บ มอบหมายให้ต รวจสอบเชิ ง นิ ติ เ วช มี ข- นั ตอนการ ปฏิบตั ิงานโดยแบ่งออกเป็ น 4 ขั-นตอนใหญ่ดงั นี1. ขั-นตอนการรับรู้ปัญหาและการวางแผนการตรวจสอบ (Problem Recognition and Review Planning)
19 1.1 การรับรู้ปัญหา (Problem Recognition) นักบัญชีนิติเวชจะต้องพยายามทีจะตอบ คําถามว่าปั ญหาทีเกิดขึ-นมีสาเหตุมาจากอะไร นักบัญชีนิติเวชอาจค้นพบสัญญาณ นั-นด้วยตนเองหรื อจากบุคคลทีเกี ยวข้องกับปั ญหานั-น นอกจากนี- นกั บัญชีนิติเวช จะต้องสามารถระบุได้วา่ การทุจริ ตเกิดขึ-นทีไหนและเมือไร และการทุจริ ตนี- เคย เกิดขึ-นหรื อไม่และใครเป็ นผูต้ อ้ งสงสัย โดยอาจทําการตรวจสอบจากแฟ้ มประวัติ การทํางาน หรื อผังองค์กรทีมีการระบุตาํ แหน่งหน้าทีความรับผิดชอบในงานนั-นๆ ประกอบด้วยขั-นตอนดังนี1.1.1 เข้าพบกับผูบ้ ริ หารของกิจการ ระบุถึงปั ญหาทีเกิดขึ-นหรื อทีอาจจะเกิดขึ-น และติดต่อสื อสารกับผูท้ ีเกียวข้อง 1.1.2 ศึกษาในเรื องต่าง ๆ ต่อไปนี- ทีเกี ยวข้องกับผูท้ ีอาจจะมีส่วนร่ วมกับการ ทุจริ ต 1.1.2.1
ระบุตาํ แหน่งในองค์กรของบุคคลนั-น
1.1.2.2
ค้นหาความรับผิดชอบหรื ออํานาจหน้าทีทีได้รับมอบหมาย
1.1.2.3
สอบทานประวัติส่วนตัว เช่น การศึกษา ประสบการณ์ทาํ งาน
1.1.2.4
สอบทานประวัติส่วนตัว เช่น การศึกษา ประสบการณ์ทาํ งาน
1.1.2.5
ติดตามการใช้ชีวติ ส่ วนตัวทีน่าสงสัยทีอาจเกียวข้องกับการทุจริ ต
1.1.3 สรุ ป และประเมิ นข้อมูล ทีได้จากระบุปัญหาและศึก ษาในเรื องดังกล่ า ว ข้า งต้นแล้วพิจารณาว่า จะทํา การตรวจสอบต่ อไป (ในกรณี ที มี เหตุ ผ ล สนับสนุ นทีถูกต้องและน่ าเชื อถื อ) หรื อยกเลิกการตรวจสอบทุจริ ต (ใน กรณี ที เห็ น ว่า การกระทํา ดัง กล่ า วไม่ ใ ช่ ก ารทุ จ ริ ต แต่ เ ป็ นเพี ย งความ ผิดพลาดหรื อความไม่ได้ต- งั ใจ)
20 1.1.4 หากต้องมีการตรวจสอบทุจริ ตก็จะต้องใช้ทฤษฎีในการตรวจสอบทุจริ ต (The fraud theory approach) ซึงมีข- นั ตอนดังนี1.1.4.1
วิเคราะห์ขอ้ มูลทีหาได้
1.1.4.2
สร้างสมมติฐาน
1.1.4.3
ทําการทดสอบสมมติฐาน
1.1.4.4
ปรับแต่งและแก้ไขสมมติฐาน
1.2 การวางแผนตรวจทาน (Review Planning) เมือมีเหตุผลสนับสนุ นทีถูกต้องและ เชือถือได้วา่ มีการทุจริ ตเกิ ดขึ-น จึงต้องมีการตรวจสอบทุจริ ต การวางแผนของนัก บัญชี นิติเวชนั-น จะเกิ ดขึ-นก็ต่อเมือ ในขั-นตอนของการรับรู้ปัญหานั-นมีเหตุผลที น่ า เชื อถื อ ได้ว่ า การทุ จ ริ ต ได้เ กิ ด ขึ- น นัก บัญ ชี นิ ติ เ วชจึ ง จะมี ก ารวางแผนการ ปฏิ บตั ิงาน เมือมีการวางแผนงานตรวจสอบ นัก บัญชี นิติเวชจะพัฒนาแผนงาน (Review Plan) ที เชื อมโยงและเกี ยวข้องกับ ขั-นตอนการเก็ บ รวบรวมข้อมูล แผนงานทีกําหนดขึ-นนั-นจะต้องกําหนดเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ทีชัดเจน ระบุ ถึ ง ทัก ษะต่ า ง ๆ ที ต้อ งใช้ข องที ม งานแต่ ล ะคน และอาจจะรวมถึ ง การระบุ ชื อ ทีมงานแต่ละคน ว่าใครจะต้องตรวจสอบอะไร ในสถานการณ์อย่างไร ตลอดจน ประมาณต้นทุนจะคาดว่าจะเกิดขึ-นจากการตรวจสอบ โดยทีการประมาณต้นทุนที คาดว่า จะเกิ ดขึ- นจากการตรวจสอบนั-น นัก บัญชี นิติเวชจะต้องคํานึ งถึ งเสมอว่า หากการทุจริ ตไม่สามารถถูกตรวจพบและไม่สามารถยับยั-งได้ จะก่อให้เกิดความ เสี ยหายเป็ นจํานวนเท่าใด ดังนั-น แม้ว่าจะต้องเสี ยต้นทุนในการตรวจสอบ แต่ถา้ คุม้ ค่ากับความเสี ยหายของการทุจริ ตดังกล่าวก็ควรจะทํา โดยต้องมีการวางแผน ตรวจทาน ในเรื องต่อไปนี1.2.1 กําหนดวัตถุประสงค์ในกาตรวจสอบ 1.2.2 ช่วงเวลาในการทําการตรวจสอบและกําหนดบุคลากรทีใช้ตรวจสอบ
21 1.2.3 ประมาณต้นทุนทั-งหมดทีคาดว่าจะเกิดขึ-น 2. ขั-นตอนการรวบรวมหลักฐาน (Evidence Collection) ในขั-นตอนนี- เป็ นขั-นตอนทีต้อง กระทําอย่างรอบคอบ และพิถีพิถนั เพือให้ได้มาซึ งหลักฐานทีเชื อได้ โดยอาจทําการ รวบรวมจากการสื บสวนภูมิหลังของผูต้ อ้ งสงสัย หลักฐานทีมาจากพยานบุคคล หรื อ หลักฐานทีเป็ นเอกสาร เป็ นต้น ซึ งคล้ายคลึ งกับการทํางานของตํารวจฝ่ ายสื บสวน สอบสวนคดี โดยมีจุดมุ่งหมายเพือพิจารณาว่าหลักฐานทีได้ในขั-นตอนการรับรู้ปัญหา เชื อถื อได้หรื อเป็ นการเข้าใจผิด เทคนิ คหรื อเครื องมือทีใช้เพือรวบรวมหลักฐานให้ ได้มาอย่างครบถ้วนมากทีสุ ดเท่าทีจะทําได้ ได้แก่ เทคนิ คทีผูต้ รวจสอบภายในและ ผู้ส อบบัญ ชี ส อบบัญ ชี ใ ช้ ใ นหารรวบรวมหลัก ฐาน และเทคนิ ค เพิ มเติ ม จากที ผู้ ตรวจสอบภายในและผูส้ อบบัญชีใช้อยู่ เทคนิคทีผูต้ รวจสอบภายในและผูส้ อบบัญชีใช้ อยู่ ได้แก่ 2.1 การตรวจสอบประวัติ ส่ วนตั ว เป็ นการตรวจสอบประวัติ ห รื อปู ม หลั ง (Background) ของพนักงานหรื อบุคคลทีต้องสงสัยว่าอาจเกี ยวพันกับการทุจริ ต ตลอดจนลักษณะการใช้ชีวติ (Lifestyle) เพือให้ทราบถึงสิ งทีเปลียนแปลงไปทีอาจ มีส าเหตุ มาจากการทุ จริ ต เช่ น ตรวจสอบการใช้เงิ นทีมากผิดปกติ การเป็ นหนีการศึกษา ประวัติการกระทําผิดหรื ออาชญากรรม เป็ นต้น ซึ งเทคนิคนี- มกั จะอาศัย การสังเกตพฤติกรรมเป็ นหลัก แต่ท- งั นี- การตรวจสอบประวัติส่วนตัวดังกล่าวต้อง ไม่เป็ นการละเมิดสิ ทธิส่วนบุคคล 2.2 การสัมภาษณ์และการสอบสวน 2.2.1 การสัมภาษณ์ (Interview) เป็ นกระบวนการถาม-ตอบระหว่างผูส้ ัมภาษณ์ และผูถ้ ูกสัมภาษณ์ คําถามทีใช้ในการสัมภาษณ์จาํ ต้องเป็ นคําถามทีทําให้ สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์หรื อทําให้ทราบถึงสิ งทีเกียวข้องกับการทุจริ ต โดยในระหว่างทีผูส้ ัมภาษณ์ฟังคําตอบของผูถ้ ูกสัมภาษณ์อยูน่ - นั จะต้องมี การสังเกตอาการ หรื อพฤติกรรมของผูถ้ ูกสัมภาษณ์ดว้ ย(ทั-งนํ-าเสี ยงและ การแสดงออกทางกายภาพ เช่น เหงือ สายตา เป็ นต้น) การสังเกตดังกล่าว อาจจะเป็ นการยืนยันถึ งปั จจัยหรื อเงื อนไขทีได้ระบุไ ว้ก่ อนหน้านี- แล้ว
22 ในช่วงของการรับรู้ปัญหา เท่าๆกับการได้ขอ้ มูลเพิมเติมใหม่ ทีอาจทําให้ ทราบว่าคําตอบทีได้จากการสัมภาษณ์น- นั ยอมรับได้ หรื อว่าจะต้องมีการ สัมภาษณ์ หรื อทดสอบบุคคลอืนๆอีก 2.2.2 การสอบสวน (Interrogation) เป็ นกระบวนการถาม-ตอบระหว่า งผู้ สอบสวนและผูต้ อ้ งสงสัย โดยสิ งทีถาม-ตอบเป็ นสิ งทีเกียวข้องกับการถูก ใส่ ค วามหรื อ กล่ า วหาของผูต้ ้อ งสงสั ย การถาม-ตอบจะคล้า ยกับ การ สัมภาษณ์ แต่จะใช้กลยุทธ์หรื อทักษะมากกว่าการสัมภาษณ์ เช่น การสร้าง สถานการณ์ เป็ นต้น นอกจากนี- ลกั ษณะของคําถามยังแบ่งเป็ น 3 ลักษณะ ได้แก่ 2.2.2.1
คําถามทัวไป (General Question) เช่ น ชื อ ทีอยู่ หรื อคําถามอืนๆที สามารถตอบได้ง่ายไม่ได้ใช้การพิจารณาไตร่ ตรองมากนัก เป็ นต้น
2.2.2.2
คําถามเฉพาะ (Specific Question) คําถามประเภทนี- จะเกียวข้องกับ การกระทําต่างๆทีมีส่วนพัวพันกับการทุจริ ต เช่น ทําไมเงินในบัญชีถึง หายไปโดยทีคุณไม่ทราบ เป็ นต้น
2.2.2.3
คําถามทีเป็ นหลุมพราง (Bait Question) เป็ นคําถามเพือจับผิดผูต้ อ้ ง สงสัยโดยเฉพาะ
การแบ่ งคําถามเป็ น 3 ลักษณะดังกล่ าว มีวตั ถุ ประสงค์เพือให้ท ราบถึ ง ความแตกต่างของพฤติกรรมหรื ออาการของผูต้ อ้ งสงสัยระหว่างคําถามโดยทัวไป คําถามเฉพาะ และคําถามทีเป็ นหลุมพราง 3. ขั-น ตอนการประเมิ น หลัก ฐาน (Evidence Evaluation) ขั-น ตอนนี- เป็ นขั-น ตอนที มี ความสํา คัญมาก เป็ นตัวชี- ว่า จํา เป็ นต้องเก็ บ รวบรวมหลัก ฐานหรื อสัม ภาษณ์ พ ยาน เพิมเติมเพียงใด นักบัญชีนิติเวชต้องใช้ดุลพินิจเพือประเมินถึงความเพียงพอและความ ชัดเจนของหลักฐานเพือสรุ ปประเด็นในท้ายทีสุ ด นอกจากนี- สิงทีสําคัญอย่างยิง คือ ต้องเป็ นหลักฐานทีกฎหมายยอมรับได้ โดยในขั-นตอนนี-สามารถแบ่งได้เป็ น 2 ส่ วนคือ
23
3.1 ประเมินความเพียงพอและความชัดเจนของหลักฐาน 3.2 สรุ ปประเด็นเกียวกับการทุจริ ต 4. ขั-นตอนการรายงานสิ งทีค้นพบ (Report Findings) การรายงานสิ งทีค้นพบ ของนัก บัญชี นิติเวช เป็ นการรายงานผลลัพธ์ทีได้จากการตรวจสอบทีเสนอต่อผูบ้ ริ หาร หรื อ บุคคลทีเกี ยวข้องอืนภายในกิ จการ เช่ น ผูถ้ ือหุ ้น รายงานดังกล่าวเป็ นรายงานทีเสนอ ภายในกิ จการไม่มีผลต่อผูใ้ ช้รายงานภายนอก เช่น ผูล้ งทุนภายนอก เพราะการายงาน สิ งทีค้นพบมีวตั ถุ ประสงค์เพือให้กิจการได้ทราบว่า นักบัญชี นิติเวชได้ตรวจข้อเท็จ เกี ยวกับการทุจริ ตอะไรบ้าง อย่างไร ใครทีมีความเป็ นไปได้ว่าเป็ นผูท้ ุจริ ต ซึ งจะเป็ น ประโยชน์ต่อกิจการในการทราบถึงการทุจริ ต ผูก้ ระทําผิด วิธีป้องกันทุจริ ตในอนาคต ตลอดจนในไปใช้เป็ นหลักฐานในชั-นศาล นักบัญชีนิติเวชต้องเขียนรายงานผลลัพธ์ทีได้จากการตรวจสอบ โดยรายงานส่ วน ใหญ่จะประกอบด้วยลักษณะของงานทีได้รับมอบหมายให้ตรวจสอบ ขอบเขตของการ ตรวจสอบ วิธี ก ารที ใช้ตรวจสอบ ข้อ จํา กัดของขอบเขตและการค้น หาเพือตรวจสอบ รวมถึ งจะต้องมีตารางและรู ปภาพประกอบทีจําเป็ น ที สามารถเป็ นสิ งทีอธิ บ ายได้อย่า ง ชัดเจนและเหมาะสม สําหรับสิ งทีค้นพบและยังรวมถึงหลักฐานอืนนอกเหนือจากทีอยูใ่ น รู ปกระดาษ เช่น คําให้การของพยาน หรื อพยานทีเป็ นผูเ้ ชียวชาญ การรายงานผลอาจทําได้ หลายวิธี เช่น ทางวาจา หรื อ โดยลายลักษณ์อกั ษร โดยรายงานให้ผบู้ ริ หารหรื อผูท้ ีเกียวข้อง ทราบถึงสถานการณ์และหลักฐานทีได้สืบพบรวมถึงการสรุ ปผลการตรวจสอบทีได้ตรวจ พบ นอกจากนี- การรายงานอาจรวมถึงการเสนอแนะสําหรับการป้ องกันการทุจริ ตทีอาจ เกิดขึ-นและมาตรการทีอาจดําเนินการกับผูท้ ุจริ ต เป็ นต้น อย่า งไรก็ ตาม นัก บัญ ชี นิ ติ เวช ต้องเขี ย นรายงานในรู ป แบบที แตกต่ า งไปจาก รายงานปกติ เพือให้ขอ้ ความและเนื- อหาถูกสื อสารไปยังผูใ้ ช้รายงานอย่างถูกต้อง โดยไม่ เปิ ดโอกาสให้มีการตีความทีอาจนอกประเด็นทําให้ไขว้เขวได้ นอกจากนี- การายงานยัง สามารถอยูใ่ นรู ปแบบการพูดได้อีกด้วยในขั-นตอนนี-แบ่งขั-นตอนทีสําคัญได้ 2 ส่ วน คือ
24 1. ออกรายงานสิ งทีค้นพบ 2. เตรี ยมตัวเป็ นพยานในชั-นศาล การควบคุมภายใน การประเมินความเสี ยงในการตรวจสอบกับการควบคุมคายใน นักบัญชี นิติเวชเมือปฏิบตั ิงานตรวจสอบ ก็จะต้องพบความเสี ยงในการตรวจสอบเช่ นกัน แต่ความเสี ยงทีเกียวข้องกับนักบัญชีนิติเวช และให้ความสําคัญ คือ ความเสี ยงจากการทุจริ ต (Fraud Risk) ซึ งหมายถึง ความเสี ยงทีความน่ าจะเป็ นของการทุจริ ตในแต่ละสภาพแวดล้อมการทํางานมี มากขึ- น นักบัญชี นิติเวชจะต้องศึกษาและประเมินการควบคุ มภายใน นโยบายการป้ องกันทุจริ ต วิธีการปฏิบตั ิงานของกิ จการเพือให้ทราบถึงปั จจัยทีทําให้ความน่ าจะเป็ นของการทุจริ ตมีมากขึ-น โดยปัจจัยทีทําให้ความเสี ยงดังกล่าวมีมากขึ-น เช่น 1. การให้รางวัลไม่เพียงพอสําหรับพนักงาน 1.1 จ่ายเงินเดือนน้อย 1.2 ไม่มีการให้รางวัลหรื อการชมเชยเมือปฏิบตั ิงานดีเยียม 1.3 ไม่มีสวัสดิการ 2. การควบคุมการบริ หารภายในไม่ดีพอ เช่น 1.1 ไม่ มี ก ารกํา หนดอย่า งชัดเจนถึ ง มาตรฐานการปฏิ บ ตั ิ ง านและจริ ย ธรรมในการ ปฏิบตั ิงาน 1.2 บทบาท หน้าที และความรับผิดชอบในการปฏิบตั ิงานของพนักงานไม่ชดั เจน
25 2. ไม่มีการกระตุน้ ผลการปฏิบตั ิงาน เช่ น ปราศจากการให้คาํ แนะนําหรื อตักเตือน และ การดําเนิ นงานใดๆเมื อระดับผลการปฏิ บตั ิ งานและพฤติก รรมของพนักงานตํากว่า มาตรฐานทียอมรับ 3. ขาดการสนับสนุนจากผูบ้ ริ หาร เช่น ขาดแคลนทรัพยากรทีเพียงพอเพือทีจะปฏิบตั ิงาน ให้ตรงตามมาตรฐานทีกําหนดไว้ 4. การสอบทานการปฏิบตั ิงานของพนักงานไม่เพียงพอ เช่ น ขาดแคลนการตรวจสอบ ภายในทีทันเวลาและเหมาะสม 5. การแข่งขันภายในกิ จการ เช่ น การสนับสนุ นให้พนักงานแต่ละคนแข่งขันผลการ ปฏิบตั ิหรื อแข่งขันกันในแต่ละแผนก 6. แรงจูงใจทีสําคัญอืน ๆ 6.1 การให้คาํ แนะนําหรื อฝึ กอบรมเกี ยวกับกฎหมาย จริ ยธรรม และการรักษาความ ปลอดภัยไม่เพียงพอ 6.2 ไม่มีการติดตามและบังคับใช้นโยบายเกียวกับความซื อสัตย์ ความจงรักภักดีและ ความยุติธรรม 6.3 หน้าทีการงานของพนักงานมีความเครี ยดสู ง แนวคิดเกียวกับการทุจริตในรายงานทางการเงิน ได้มีผใู้ ห้ความหมายของการทุจริ ตไว้หลายท่าน จากการรวบรวมของผูว้ จิ ยั มีดงั นีเกียรติศกั ดิ| (2539: 3) การทุจริ ต หมายถึง การกระทําโดยตนเองหรื อร่ วมมือกับบุคคลอืน เพือให้รับทรั พย์สิน ผลประโยชน์หรื อบริ ก ารอืนใด โดยวิธีก ารฉ้อโกง ปิ ดข้อเท็จจริ ง หรื อโดย วิธีการอันมิชอบด้วยกฎ ระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร
26 ประสิ ทธิ| (2539: 7) การทุจริ ต หมายถึง การปฏิบตั ิหรื อละเว้นไม่ปฏิบตั ิการอย่างใดใน ตําแหน่งหรื อหน้าที หรื อใช้อาํ นาจในตําแหน่งหรื อหน้าทีเพือแสวงหาผลประโยชน์ทีมิควรได้โดย ชอบสําหรับตนเองหรื อผูอ้ ืน ศิลปะพรและธรรมรัฐ (2541: 47) การทุจริ ต (Fraud) คือ การกระทําทีไม่ซือสัตย์จงใจ หลอกลวงเพือแสวงหาผลประโยชน์ที มิ ค วรได้โดยชอบด้วยกฎหมายสํา หรั บ ตนเองหรื อผูอ้ ื น รวมทั-งการตั-งใจบิดเบือนการเสนอความจริ ง นอกจากนี- ยังอาจรวมถึงการใช้สินทรัพย์ขององค์กร ไปในทางทีผิด เพือประโยชน์ของผูบ้ ริ หาร พนักงาน หรื อบุคคลอืน กรมอาชีวศึกษา (2539: 251) การทุจริ ต หมายถึง การขโมย การยักยอก การฉ้อโกง ฉ้อฉล หลอกลวง ปลอมแปลง ปลอมปน การรับผลประโยชน์โดยมิชอบ จากความหมายของคําว่า การทุจริ ต ดังทีได้กล่าวมาแล้วข้างต้น พอสรุ ปได้ว่า การทุจริ ต เป็ นการกระทําโดนตนเอง หรื อร่ วมมือกับ บุคคลอื น เพือแสวงหาผลประโยชน์ทีมิค วรได้ โดย วิธีการขโมย ยักยอก ฉ้อโกง ฉ้อฉล หลอกลวง ปลอมแปลง ปลอมปน การบิดเบือนความจริ ง การ ปิ ดบัง ข้อเท็จจริ งอันมิชอบด้วยกฎระเบียบ ข้อบังคับขององค์กร ความหมายโดยทัวไปของคําว่า การทุจริ ต ในอดีต วงการตรวจสอบนิยมจําแนกการทุจริ ตในแนวคิดหนึง ตามกลุ่มตัวบุคคลผูก้ ระทํา การทุจริ ต 2 กลุ่ม คือ 1. การทุจริ ตโดยผูบ้ ริ หาร (Management Fraud) 2. การทุจริ ตโดยพนักงาน (Employee Fraud) การทุจริ ตโดยผูบ้ ริ หาร (Management Fraud) ในช่วงระยะแรก ๆ นิยมสื อความหมายอยูใ่ น วงแคบ ๆ ทีโดยทัวไปมักใช้กบั การออกงบการเงินลวง (Generally used in relation to deliberate distortion of financial statement) และการออกรายงานอืน ๆ ทีมีเจตนาจะทําให้ผรู้ ับรายงานเข้าใจ ผิด เกียวกับผลการดําเนิ นงานของฝ่ ายจัดการ (and other reports which are intended to mislead
27 recipients about management performance) ซึงจากผลของความเข้าใจผิดนั-น ทําให้บริ ษทั และคณะ ผูบ้ ริ หารได้รับประโยชน์ การทุจริ ตโดยผูน้ าํ องค์กร นํามาซึ งความเสี ยหายอย่างมากมายมหาศาล ทีปรากฏออกมาสู่ สายตาผูค้ นในโลกยุคใหม่น- นั หลายภาคส่ วน ล้วนเกิ ดจากการใช้อาํ นาจหน้าทีแสวงหาประโยชน์ ส่ วนตน บนความขัดแย้งแห่ งผลประโยชน์ทีนิยมเรี ยกกันว่า Conflict of Interests ทีใช้กลอุบายแยบ ยลพิสดาร จนทําให้การทุจริ ตโดยผูบ้ ริ หารองค์กรเป็ นรู ปแบบของการทุจริ ตทีน่าสะพรึ งกลัว การทุจริ ตโดยพนักงาน (Employee Fraud) ซึ งเป็ นการกระทําการทุจริ ตต่อนายจ้างของตน ทีรวมถึงการกระทําเหล่านี- เช่น การยักยอก การลักขโมยทรัพย์สิน เงินทองของกิจการ ทั-งนี-รวมถึง ความประพฤติมิชอบทีทําให้เงินสด สิ นค้า หรื อทรัพย์สินอืน ได้รับความเสี ยหายโดยทุจริ ต เจริ ญ เจษฎาวัลย์ (2553: 51) ได้ให้คาํ จํากัดความของคําว่า “การทุจริ ตทางการบริ หาร” ทีสื อ ความหมายในภาษาอังกฤษว่า “Management Fraud” ไว้ดงั นี- “การทุจริ ตทางการบริ หาร หมายถึง การทุจริ ตทีกระทําโดยผูน้ าํ ขององค์กรในระดับผูบ้ ริ หาร ทีมุ่งใช้อาํ นาจหน้าทีแสวงหาผลประโยชน์ โดยมิ ชอบในกับ องค์ก ร และ/หรื อให้กบั ส่ วนตัวของผูบ้ ริ หาร และ/หรื อพวกพ้อง ญาติมิตร ใน ประการทีทําให้รัฐหรื อบุคคลอืนได้รับความเสี ยหาย หรื อเสื อมเสี ยชือเสี ยง” การทุจริ ตเกิดขึ-นได้หลายรู ปแบบโดยการเผลอเลอหรื อบางครั-งเจตนา จึงเป็ นเรื องทีมีความ สลับซับซ้อน มีความไม่แน่นอน ครอบคลุมถึงพฤติกรรม หรื อการกระทําของผูบ้ ริ หารองค์กร ไม่วา่ ในภาครัฐ หรื อภาคเอกชนทีใช้อาํ นาจหน้าทีแสวงหาผลประโยชน์โดยทุจริ ตให้แก่องค์กรของตน หรื อให้แก่ตนเอง และพวกพ้อง ญาติมิตร ในทิศทางทีส่ งผลให้รัฐ หรื อบุคคลอืนได้รับความเสี ยหาย ทั-งทีเป็ นตัวเงิน และทีเกียวกับชือเสี ยงเกียรติคุณด้วย การทุจริตทางการบริหารในรู ปแบบรายงานทางการเงิน องค์ประกอบทีสําคัญของ “รายงานทางการเงิน” หรื อ “Financial Reporting” ก็คือ งบ การเงิน (Financial Statement) ซึ ง “งบการเงิน” ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที 1 (ปรับปรุ ง 2552) ประกอบด้วย
28 1. งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันสิ- นงวด 2. งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็ จสําหรับงวด 3. งบกระแสเงินสดสําหรับงวด 4. งบแสดงการเปลียนแปลงส่ วนของเจ้าของสําหรับงวด 5. หมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ งประกอบด้วยสรุ ปนโยบายการบัญชีทีสําคัญ ข้อมูลที ให้คาํ อธิบายอืน และ 6. งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันต้นงวดของงวดทีนํามาเปรี ยบเทียบงวดแรกสุ ดเมือกิจการ ได้นาํ นโยบายการบัญชี ใหม่มาถื อปฏิ บตั ิยอ้ นหลังหรื อการปรับงบการเงิ นย้อนหลัง หรื อเมือกิจการมีการจัดประเภทรายการในงบการเงินใหม่ นอกจากงบการเงินดังกล่าวแล้ว ยังมีรายงานอืน ๆ ของฝ่ ายจัดการของบริ ษทั โดยเฉพาะ บริ ษทั มหาชนจํากัดทีเป็ นบริ ษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ทีต้องมีรายงานแสดงความเห็นของ ผูส้ อบบัญชี และของคณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) ประกอบด้วย “รายงานทางการเงิน” หรื อ “Financial Reporting” นี- มีประโยชน์อย่างยิงต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ย นับตั-งแต่ ผูถ้ ื อหุ ้น นัก ลงทุน เจ้า หนี- หรื อเจ้าหน้าที องค์กรของรัฐที มีหน้าที ควบคุ ม กํากับกิ จการ เหล่านั-นอยู่ ถ้าหากรายงานทางการเงินทีกิจการประกาศออกมาเป็ นรายงานทางการเงินทีทุจริ ตหรื อที นิ ยมเรี ยกกันในหมู่ผูต้ รวจสอบอีกชื อหนึ งว่า “งบการเงิ นลวง” นั-น ย่อมทํา ให้นักลงทุ น หรื อ นักวิเคราะห์ตดั สิ นใจผิดพลาด อันอาจนําความเสี ยหายอย่างคาดไม่ถึงได้ เจริ ญ เจษฎาวัลย์ (2553: 52) กล่าวถึง คําว่า Fraudulent Financial Reporting หรื อรายงาน ทางการเงิ นทีทุจริ ต อาจให้คาํ จํากัดความได้ดงั นี- “การทุจริ ตทางรายงานทางการเงิน (Fraudulent Financial Reporting) เป็ นการกระทําทีตั-งใจเจตนา หรื อโดยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงที
29 เกิ ดขึ-นจากการกระทํา หรื อการละเว้นการกระทําอันส่ งผลให้งบการเงิ นผิดไปจากความเป็ นจริ ง อย่างมีนยั สําคัญ” กล่าวโดยย่อ ก็คือรายงานทางการเงินทีกิจการประกาศออกมาเป็ นรายงานทางการเงิน ทีไม่ สะท้อนความเป็ นจริ ง อย่างตรงไปตรงมาของผลการดําเนิ นงานของกิ จการ ซึ งการออกรายงาน ลักษณะนี- ส่งผลให้เกิ ดความเข้าใจผิด หรื อทําให้การตัดสิ นใจทางการเงิ นของผูม้ ีส่วนได้เสี ยเกิ ด ความผิดพลาด หรื อทําให้เกิดความเสี ยหายอย่างร้ายแรงได้ ลักษณะสํ าคัญของการทุจริตทางรายงานทางการเงิน การทุจริ ตในรู ปแบบการออกรายงานทางการเงิน มิใช่ การทุจริ ตทีกระทําในลักษณะของ การยักยอก หรื อการลักขโมยทรัพย์สิน เงินทองของกิจการ อย่างไรก็ตาม การทุจริ ตวิธีน- ี ก็อาจเป็ น วิธีหนึงทีสามารถใช้ในการปกปิ ดการทุจริ ต โดยวิธีการยักยอกเงิน หรื อทรัพย์สิน หรื อการลักขโมย เงิน หรื อทรัพย์สินของกิจการได้โดยทัวไปอาจจําแนกได้ 2 ประเภท คือ 1. การออกรายงานการเงินโดยเจตนาทุจริ ต หมายถึง การตั-งใจกระทําให้งบการเงินหรื อ รายงานทางการเงินมีความผิดปกติ ทีเรี ยกว่า Irregularities ซึ งเป็ นความผิดปกติทีมี ระดับรุ นแรงกว่าความผิดพลาดในลักษณะ Errors จนทําให้งบการเงินของกิจการ มี ความไม่ถูกต้องตรงกับความเป็ นจริ งอย่างมีนยั สําคัญในเรื องการแสดงจํานวนเงิน หรื อ การปกปิ ดรายงานทางการบัญชี ดว้ ยกลวิธีทางการบัญชี และกลการทุจริ ตต่าง ๆ โดย เจตนา 2. การละเว้นการกระทําโดยเจตนาทุจริ ต โดยการออกงบการเงิน หรื อ การออกรายงาน ทางการเงิ นของกิ จการ จะต้องถื อปฏิ บตั ิตามมาตรฐานการบัญชี ทีรับรองโดยทัวไป และตามมาตรฐานการบัญชี ที ทางการประกาศกําหนด (ในแต่ ละช่ วงเวลา) แต่ฝ่ าย จัดการของกิจการละเว้นการปฏิบตั ิบางประการ หรื อหลาย ๆ ประการ จนนํามาซึ งงบ การเงิน หรื อรายงานทางการเงินทีไม่ถูกต้องตรงกับความเป็ นจริ ง
30 การแสวงหาผลประโยชน์ โดยมิชอบจากงบการเงินลวง การเปิ ดเผยสถานะของกิจการ ในรายงานทางการเงินอันเป็ นเท็จโดยเจตนาทุจริ ต อาจแสดง งบการเงินได้ท- งั ในรู ปให้แสดงผลการดําเนินงานเลวกว่าความเป็ นจริ ง หรื อให้ดูดีกว่าความเป็ นจริ ง อย่างใดอย่างหนึงก็ได้ โดยทัว ๆ ไปการทุจริ ตทางรายงานทางการเงิ นนั-น มักสร้ างงบการเงิ นให้เห็ นว่าผลการ ดําเนิ นงาน และสถานะของกิ จการดูดีกว่าความเป็ นจริ ง เพือแสวงหาผลประโยชน์โดยมิทราบใน บางเรื องเช่น 1. ทําให้มูลค่าหุ น้ ของกิจการดูดีน่าลงทุน 2. ทําให้ผลกําไรต่อหุ ้น (Earnings Per Share) สู งกว่าความเป็ นจริ ง เพือหวังได้รับเงินปั น ผลมากขึ-น 3. ทําให้สามารถใช้ประโยชน์ ในการขอกูเ้ งินจากสถาบันการเงินได้ง่ายขึ-นหรื อได้มาก ขึ-น 4. เพือทําให้ผบู้ ริ หารบริ ษทั ได้รับโบนัสมากขึ-น 5. เพือแสดงให้เห็นว่าบริ ษทั ดําเนิ นงานประสบผลสําเร็ จตามเป้ าหมาย และนโยบายที ประกาศไว้ เจริ ญ เจษฎาวัลย์ (2553: 152) ได้จาํ แนกประเภทของการทุจริ ตว่าอาจมีได้หลายแนวทาง เช่น 1. การทุจริ ตจําแนกตามประเภทของบุคคล การทุจริ ตโดยบุคคลอาจจําแนกได้ดงั นี1.1 การทุจริ ตโดยบุคคลภายใน บุคคลภายใน หมายถึง พนักงานขององค์กร นับตั-งแต่ ผูบ้ ริ หารระดับสู ง ไล่ลงมาถึงนักการภารโรง คนทําความสะอาด หรื อยามรักษา
31 ความปลอดภัย ทั-ง นี- หมายถึ ง บุ ค คลภายในครอบครั ว ในกรณี เป็ นกิ จการของ ครอบครัว 1.2 การทุจริ ตโดยบุคคลภายนอก หมายถึง บุคคลทีไม่ใช่ลูกจ้างขององค์กร 1.3 การทุจริ ตโดยความร่ วมมือของบุคคลภายในและบุคคลภายนอก เป็ นการทุจริ ตที เกิดขึ-นโดยการสมรู้ร่วมคิดกันระหว่างบุคคลภายในทีเป็ นพนักงานขององค์กรกับ บุคคลภายนอก 2. การทุจริ ตจําแนกตามลักษณะวิธีการ ลักษณะวิธีการทุจริ ต มีได้มากมายหลายรู ปแบบ ซึ งโดยทัวไปแล้ว อาจจํา แนกอย่า งกว้า ง ๆ เช่ น การยัก ยอก การปลอมแปลง การ ปลอมปน การฉ้อโกง การฉ้อราษฎร์บงั หลวง การหลอกลวงการขู่เข็ญกรรโชก การลัก ขโมย การฟอกเงิน การรับสิ นบน การใช้อาํ นาจหน้าทีแสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ 3. การทุจริ ตจําแนกตามลักษณะของผลประโยชน์ทีได้รับ ความหมายโดยตรงของการ กรรมทีก่อการทุจริ ต ก็คือ "การกระทําใดๆก็ตามทีจงใจเจตนา ทําการหลอกลวง หรื อ ทําการปลอมแปลง หรื อทําเล่ห์เพทุบายให้ได้รับผลประโยชน์หรื อผลกําไรโดยมิชอบ ซึงการทุจริ ตนั-นมักเกียวข้องกับการยักยอกหรื อการทําผิดกฎหมายอาญา 4. การทุ จ ริ ต จํา แนกตามลัก ษณะความขัด แย้ง แห่ ง ผลประโยชน์ ความขัด แย้ง แห่ ง ผลประโยชน์ (Conflict of Interest) มักนิ ยมใช้สือความหมายในภาษไทยในแง่ ผลประโยชน์ขดั แย้งหรื อผลประโยชน์ทบั ซ้อน คําอธิ บายอย่างง่าย ก็คือการใช้อาํ นาจ หน้าทีทีมีอยูเ่ อื-อประโยชน์ให้ตนเองหรื อพวกพ้องโดยมิชอบ โดยมิควร ซึ งมีกฎหมาย หลายลักษณะทีบ่งชี-วา่ เป็ นการทุจริ ตหรื อการฉ้อราษฎร์บงั หลวง
32 มูลเหตุแห่ งการทุจริต มูลเหตุแห่งการทุจริ ตของบุคคลในองค์กร จําแนกได้ดงั นี1. มูลเหตุจูงใจจากบุคคลภายนอก ซึ งได้แก่ พ่อค้า นักธุ รกิ จทีทําธุ รกิ จกับองค์กร มักมี ส่ วนชักจูงให้เจ้าหน้าทีกระทําทุจริ ตเพือประโยชน์ในเชิงธุรกิจของตนอยูเ่ สมอ 2. มูลเหตุภายในหน่วยงาน ซึงได้แก่ 2.1 กฎ ระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ทีใช้อยูไ่ ม่รัดกุมหรื อไม่เหมาะสมกับสภาพการณ์ ในปั จจุบนั ตลอดจนการทีเจ้าหน้าทีไม่ปฏิ บตั ิตามหรื อพยายามหลี กเลียง ก็เป็ น สาเหตุทีทําให้เกิดมีช่องทางการกระทําทุจริ ตขึ-นได้ 2.2 การจัดผังการแบ่งส่ วนงาน โดยไม่มีการควบคุมซึ งกันและกัน เป็ นลักษณะของ การควบคุมภายในทีไม่ดี จึงไม่สามารถช่วยป้ องกันการทจริ ตได้ 2.3 มิได้กาํ หนดอํา นาจหน้า ทีในการปฏิ บ ตั ิงานของเจ้าหน้าที แต่ ละบุคคลไว้เป็ นที แน่ นอนและรัดกุม หรื อให้บุคคลคนเดียวกันทํางานหลายหน้าที ก็เป็ นช่ องทางที จะก่อให้เกิดการทุจริ ตได้ง่าย 2.4 ผูบ้ งั คับบัญชาขาดการติดตามตรวจสอบการปฏิบตั ิงานของผูใ้ ต้บงั คับบัญชาว่าได้ ดําเนินงานไปด้วยดีเพียงใดหรื อไม่ 3. มู ล เหตุ อื น ๆ ได้แ ก่ การที เจ้า หน้า ที หย่ อ นยานในความรู้ สึ ก รั บ ผิด ชอบ หรื อ ขาด สมรรถภาพในการปฏิ บตั ิงาน ไม่มีความซื อสัตย์สุจริ ต ตลอดจนความประพฤติและ อุ ป นิ สั ย ส่ ว นตัวไม่ เรี ย บร้ อ ย ดัง นั-น การบรรจุ บุ ค คลเข้า ทํา งานไม่ ค วรมุ่ ง รั ก ษาแต่ ประโยชน์ส่วนตนและพวกพ้อง ประวัติการทํางาน ความประพฤติ ความเป็ นอยู่ ปั ญหา ทางครอบครัวของแต่ละบุคคลเป็ นมูลเหตุทีจะก่อให้เกิดการทุจริ ตขึ-นได้
33 สั ญญาณบอกเหตุการทุจริต การประเมินวิธีก ารป้ องกันการทุจริ ตภายในองค์ก รว่าเพียงพอแล้วหรื อไม่ สามารถใช้ ประโยชน์จาก "สัญญาณบอกเหตุ " (Gaming Signal หรื อ Red Flag) ซึ งเป็ นลัก ษณะหรื อ สถานการณ์ทีต้องระมัดระวัง และสนใจกับข้อมูลทีเป็ นสัญญาณบอกเหตุอย่างละเอียด หากพบว่า สัญญาณบอกเหตุเกิ ดจากจุดอ่อนในระบบการควบคุม ต้องรายงานให้ผบู้ ริ หารทราบเพือปรับปรุ ง แก้ไขระบบการควบคุมให้ทนั ท่วงที สัญญาณบอกเหตุอาจจะเกิดขึ-นเพียงอย่างใดอย่างหนึง หรื อหลายอย่างในเวลาเดียวกัน บาง สัญญาณก็มีความเกียวโยงกับสัญญาณอืน บางครั-งก็ไม่มีความเกียวโยงกัน แต่เป็ นเครื องสนับสนุน เหตุการณ์หรื อการคาดคะเนในระดับหนึง เมื อกล่ า วถึ ง สัญญาณบอกเหตุ เดิ ม มัก จะเพ่ง เล็ง ไปที การทุ จริ ตของผูป้ ฏิ บ ตั ิ ง าน แต่ ใ น ปั จจุบ นั เป็ นทียอมรั บ กันว่าความทุ จริ ตผิดพลาดทีก่ อให้เกิ ดความเสี ยง และความเสี ย หายอย่า ง ร้ายแรงเกิ ดในระดับผูบ้ ริ หารหรื อผูท้ ีผูบ้ ริ หารระดับสู งไว้วางใจ สัญญาณบอกเหตุตลอดจนความ เสี ยงของธุ รกิ จทุกรู ปแบบทั-งทีมาจากการบริ หาร การปฏิบตั ิงาน และการบัญชี ศิลปพร และธรรม รัฐ (2541: 51-53) การรับผิดชอบต่ อการทุจริตและข้ อผิดพลาด การสอบบัญชีรหัส 240 ของสมาคมนักบัญชีรับอนุญาตแห่ งประเทศไทย และ SAS No.99 ของสหรัฐอเมริ กากําหนดว่า ผูส้ อบบัญชีมีความรับผิดชอบในการวางแผนและปฏิบตั ิงานตรวจสอบ เพือให้ได้ความเชื อมันอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินมิได้แสดงข้อมูลทีขัดกับข้อเท็จจริ งอันเป็ น สาระสําคัญอันเนืองมาจากการทุจริ ตไม่วา่ จะเกิดจาก 1. การทุจริ ตในรายงานทางการเงิน (Fraudulent Financial Reporting) 2. การใช้ทรัพย์สินของกิจการในทางทีมิชอบ (Asset Misappropriation)
34 ในกรณี ทีเกิ ดการทุ จริ ตหรื อมีขอ้ ผิดพลาด ซึ งมีผลทําให้งบการเงิ นแสดงข้อมูลที ขัดต่ อ ข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญ ผูส้ อบบัญชีควรกําหนดวิธีการตรวจสอบเพือให้ได้ความเชือมันอย่าง มีเหตุผลว่าจะตรวจพบการแสดงข้อมูลทีขัดต่อข้อเท็จจริ ง ซึ งเกิดจากการทุจริ ตและข้อผิดพลาดอัน เป็ นสาระสํา คัญต่ องบการเงิ นโดยรวมนั-น ดัง นั-น ผูส้ อบบัญชี ค วรหาหลัก ฐานการสอบบัญชี ที เพียงพอและเหมาะสมว่าการทุจริ ตและข้อผิดพลาดดังกล่าวไม่ได้เกิ ดขึ-นแล้ว หรื อหากเกิ ดขึ-น ผล ของการทุจริ ตได้แสดงไว้อย่างเหมาะสมในงบการเงินหรื อข้อผิดพลาดนั-นได้มีการแก้ไขแล้ว ความรับผิดชอบของผูบ้ ริ หาร ผูบ้ ริ หารของกิ จการมีความรับผิดชอบในการป้ องกันและ ตรวจพบการทุจริ ตและข้อผิดพลาดโดยการนําระบบบัญชีและระบบการควบคุมภายในทีเพียงพอมา ใช้อย่างต่อเนือง ซึงช่วยลดโอกาสการทุจริ ตและข้อผิดพลาด ถึงแม้ระบบดังกล่าวจะไม่สามารถขจัด การทุจริ ตและข้อผิดพลาดทีอาจเกิ ดขึ-นได้ท- งั หมดก็ตาม นอกจากนี-ผบู้ ริ หารยังควรจัดให้องค์กรมี สภาพแวดล้อมการควบคุม (Control Environment) และแนวทางปฏิบตั ิให้บรรลุเป้ าหมายทีกําหนด ไว้ ผูส้ อบบัญชี ไม่ มี ค วามรับ ผิดชอบในการป้ องกันการทุ จริ ตและข้อผิดพลาดที เกิ ดขึ- นใน องค์กร และมาตรฐานการสอบบัญชีก็ไม่อาจกําหนดให้ผสู้ อบบัญชีตอ้ งรับผิดชอบในเรื องดังกล่าว เนืองจากการตรวจสอบการทุจริ ตไม่ใช่วตั ถุประสงค์ของการสอบบัญชี แต่ผสู้ อบบัญชีควรประเมิน ความเสี ยงและกําหนดวิธีการตรวจสอบเพือให้ได้ความเชือมันอย่างมีเหตุผลว่างบการเงินมิได้แสดง ข้อมูลทีขัดต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญซึงเกิดจากการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาดนั-น อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ อาชญากรรมทางเศรษฐกิจถูกนําเสนอโดย Sutherland (1949 อ้างถึงในสถาบันกฎหมาย อาญา สํานักงานอัยการสู งสุ ด, 2546 ) ซึ งเป็ นบุคคลแรกทีทําการศึกษาเรื องเกียวกับ White-CollarCrime หรื ออาชญากรรมคอเชิ- ตขาว โดยได้เสนอรายงานการวิจยั เมือปี ค.ศ.1949 เพือเรี ยกร้องให้ คนหันมาสนใจการกระทําความผิดของบุคคลในวงสังคมชั-นสู ง ได้ให้คาํ นิ ยามว่าเป็ นความผิดที กระทําโดยบุคคลทีมีผูน้ ับหน้าถื อตา มี สถานภาพทางเศรษฐกิ จและสัง คม (Person in Upper Socioeconomic Class) ได้อาศัย ตําแหน่ งหน้าที การเงิ นของเขาเหล่ านั-น และความผิดดังกล่ า ว ก่อให้เกิ ดความเสี ยหายต่อวงการธุ รกิจตลอดจนเศรษฐกิ จของประเทศ นอกจากนี- นกั อาชญาวิทยา เชียวชาญการวิชาชีพหรื ออาชีพทีตนถนัดยังมีคุณสมบัติพิเศษต่างจากอาชญากรอาชีพอืน ๆ
35 นอกจากนั-นยังมีนกั วิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายต่าง ๆ ไว้ เช่น Edwin Sutherland นิยามว่า "อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ คือ การกระทําความผิดกฎหมายอาญา หรื อ กฎหมายอืน โดย บุคคลที มีส ถานภาพทางเศรษฐกิ จ อาศัยความสัม พันธ์ทางอาชี พของเขาเหล่ า นั-น และความผิด ดังกล่าวก่อให้เกิดความเสี ยหายต่อวงการธุ รกิจ ตลอดจนเศรษฐกิจของประเทศ" ซึ งจากความหมาย ดังกล่าวเราอาจเรี ยก อาชญากรรมเศรษฐกิ จอย่างง่าย ๆ ว่า การโกง หรื อการฉ้อฉล หลอกลวงให้ ผูอ้ ืนหลงเชือ โดยอาชญากรซึ งเป็ นผูม้ ีความรู้ มีสถานภาพในสังคม เป็ นทีนับหน้าถือตาของคนใน สังคม กระทําการโดยใช้วธิ ีการปกปิ ด บางครั-งอาจกระทําผิดโดยอาศัยอํานาจหน้าทีของตน และแม้ วิธีการกระทําความผิดอาจไม่สร้างความหวาดกลัว สะเทือนขวัญ ต่อประชาชน เช่นเดียวกับการฆ่า คนตาย หรื ออาชญากรรมอืน ๆ ทีมีการให้กาํ ลังทางกายภาพทีรุ นแรง แต่ผลของการกระทําผิดนั-น อาจสร้ างความเสี ยหายร้ายแรงต่อภาวะเศรษฐกิ จ การเงินการคลังมากกว่าฉ้อโกงธรรมดา โดยที สังคมอาจไม่ทราบถึงความเสี ยหายทีเกิดขึ-น หรื อแทบไม่รู้ตวั ว่ากําลังตกเป็ นเหยือของอาชญากรรม ประเภทนีการตกแต่ งตัวเลขทางบัญชี (Creative Accounting) วรศักดิ| ทุมนานนท์ (2546) ได้ให้ความหมายของการตกแต่ง ตัวเลขทางบัญชี ว่าเป็ น กระบวนการปรับแต่งตัวเลขทางบัญชี ของฝ่ ายจัดการโดยอาศัยข้อได้เปรี ยบจากช่ องโหว่ทีมีอยู่ใน กฎเกณฑ์ทางบัญชี และทางเลือกต่าง ๆ ในการวัดมูลค่าและเปิ ดเผยข้อมูลทางการบัญชี เพือแปลง โฉมงบการเงินจากสิ งทีควรจะเป็ น ให้ไปสู่ สิงทีฝ่ ายจัดการปรารถนาทีจะปรากฎในรายงานทางการ เงินหรื ออีกนัยหนึงคือ กระบวนการสร้างรายการทางธุ รกิจขึ-นเพือก่อให้เกิดผลลัพธ์ทางการบัญชีที ฝ่ ายจัดการของกิจการต้องการแทนทีรายงานเหตุการณ์ทางธุ รกิจในลักษณะทีเป็ นกลาง(Neutrality) และยึดหลักความสมําเสมอ (Consistency) จากวรรณกรรมทางบัญชีทีผ่านมา สรุ ปสาเหตุทีนําไปสู่ การตกแต่งทางบัญชี ได้ดงั นี1. แรงจูงใจในการให้ขอ้ มูลทีผิดพลาด การส่ งสัญญาณและแรงผลักดันทางการเงิน (Misinformation, Signalling and Financial Motives) Peasnell and Yaansah (1988 อ้างถึงใน วรศักดิ| ทุมนานนท์, 2546) พบว่าความแตกต่างระหว่างแรงจูงใจในการให้ขอ้ มูล ทีผิดพลาดและการส่ ง สัญญาณบางอย่างและแรงผลัก ดันทางด้านการเงิ นที นํา ไปสู่ ก าร
36 ตกแต่งบัญชี คือ การให้ขอ้ มูลทีผิดพลาด หมายถึง การทีกิจการพยายามเปิ ดเผยความจริ งให้ น้อยทีสุ ด โดยการรายงานข้อมูลทางการเงินอย่างถูกต้องแต่ไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ Peasnell and Yaansah มองว่าการทําการตกแต่งบัญชี ไม่ใช่เรื องของการให้ขอ้ มูลทีผิดพลาดเท่านั-น แต่ยงั เป็ นหนทางหนึงทีฝ่ ายจัดการของกิจการยินยอมทีจะรายงานหรื อเปิ ดเผยข้อมูลทีเป็ น จุดเด่นของตัวเองก็ต่อเมือรายงานข้อมูลนั-นช่วยสร้างความได้เปรี ยบให้แก่กิจการ กล่าวคือ ผูจ้ ดั ทํางบการเงินซึ งได้แก่ ฝ่ ายจัดการ (Agents) ซึ งมีหน้าทีในการจัดสรรทรัพยากรของ องค์กรย่อมมีแรงจูงใจทางด้านเศรษฐกิจและการเมือง (Economic and Political Incentives) ในอันทีจะเปิ ดเผยข้อมูลทางการเงิ นเกี ยวกับความก้าวหน้าในการบริ หารงานและฐานะ การเงิ นของกิ จการที จะนํา ไปสู่ ก ารสร้ า งความเชื อมันให้ก ับ ผูใ้ ช้ง บการเงิ น ดัง นั-นฝ่ าย จัดการจึงมีแรงจูงใจทีจะซ่อนเร้นหรื อปกปิ ดข้อมูลบางอย่างเพือให้งบการเงินออกมาดูดีใน สายตาผูใ้ ช้งบการเงิน 2. ทฤษฎีตวั แทน (The Agency Theory) Alchian and Edmsetz (1972 อ้างถึงใน วรศักดิ| ทุมนานนท์, 2546) ศึกษาและ พัฒนาทฤษฎีตวั แทนขึ-นและศึกษาเพิมเติมขยายขอบเขตทฤษฎีออกไปอีก โดย Jensen and Meckling (1976 อ้างถึงใน วรศักดิ| ทุมนานนท์, 2546) ทฤษฎีน- ี มองว่าทุกคนในองค์กรย่อม มีแรงผลักดันในอันทีจะทําทุกอย่างเพือประโยชน์ส่วนตัวด้วยกันทั-งสิ- น ดังนั-นฝ่ ายจัดการ จะพยายามหาหนทางในการสร้ างมูลค่าสู งสุ ดให้กบั กิ จการก็ต่อเมือพิจารณาแล้วเห็ นว่า หนทางนั-นเอื- ออํานวยผลประโยชน์ให้กบั ตนเอง ดังนั-นสมมติฐานทีอยู่เบื- องหลังทฤษฎี ตัวแทนก็ คื อ ผูเ้ ป็ นเจ้า ของกิ จการ (ผูถ้ ื อหุ ้น) กับ ฝ่ ายจัดการต่ า งมี ค วามขัดแย้ง ทางด้า น ผลประโยชน์ (Conflict of Interest) 3. สมมติฐานกระบวนการทางการเมือง (The Political Cost Hypothesis) นักเศรษฐศาสตร์หลายคนชือว่าแรงจูงใจในการทีฝ่ ายจัดการจําเป็ นต้องสร้างข้อมูล บางอย่างขึ-นมาในกระบวนการทางการเมืองและการทีกิจการมีตน้ ทุนตามมาจากข้อมูลนั-น ๆเป็ นตัวการสําคัญทีทําให้กฎเกณฑ์ต่างๆทีออกมาจากหน่วยงานต่าง ๆ ทีมีอาํ นาจในการ กําหนดมาตรฐานและแนวทางปฏิบตั ิทางบัญชีเกิดความลําเอียงขึ-นได้ (Asymmetric Loss) กล่ า วคื อ หากกิ จ การเกิ ด ล้ม ละลายขึ- น มาและมี ก ารตรวจสอบพบในภายหลัง ว่า มู ล ค่ า
37 สิ นทรัพย์ของกิ จการแสดงไว้สูงเกิ นกว่าความเป็ นจริ ง ในกรณี เช่ นนี- ผูร้ ่ างมาตรฐานการ บัญ ชี เ องก็ ต้อ งได้รั บ การตํา หนิ ติ เ ตี ย นตามมา ในอี ก แง่ มุ ม หนึ งหากกิ จ การประสบ ความสําเร็ จในการดําเนิ นงานและแสดงสิ นทรัพย์ไว้ตากว่ ํ าความเป็ นจริ ง ผูล้ งทุนก็จะไม่ เกิ ดความเคลือบแคลงสงสัยใด ๆ ในตัวกิ จการ ปรากฏการณ์ความลําเอียง (Asymmetric Loss) ทีเกิดขึ-นนี-ทาํ ให้ตวั ผูก้ าํ หนดมาตรฐานและแนวทางปฏิบตั ิบญั ชีจาํ เป็ นต้องหาหนทาง ที จะขจัด ต้น ตอที ทํา ให้ เ กิ ด การแสดงสิ น ทรั พ ย์ใ นจํา นวนที สู ง กว่ า ความเป็ นจริ ง ใน ขณะเดียวกันคงไว้ซึงการกําหนดให้กิจการมีการแสดงสิ นทรัพย์ดว้ ยมูลค่าทีตํากว่าความ เป็ นจริ งไว้ก่อน นอกจากนี- งานวิจยั ของ Feroz, Park, and Pastena (1991) พบว่าการ ตรวจสอบของ ก.ล.ต.จะมุ่งเน้นบริ ษทั ขนาดใหญ่มากกว่าขนาดเล็ก จากทีกล่าวมาอาจสรุ ป ได้วา่ เมือไรทีกิจการต้องเข้าไปสัมผัสกับกระบวนการทางการเมืองกิจการย่อมมีแนวโน้มที จะเลื อกนโยบายบัญชี ทีจะช่ วยลดผลประกอบการลงเพือลดความเสี ยงทางด้านการเมือง (Political Risk) ลง 4. สมมติฐานแผนการให้ผลตอบแทนแก่ผบู้ ริ หาร (The Bonus Plan Hypothesis) ภายใต้ส มมติ ฐ านแผนการให้ผลตอบแทนแกผูบ้ ริ ห าร (The Bonus Plan Hypothesis) ฝ่ ายการจัดการจะได้รับผลตอบแทนมากหรื อน้อยขึ-นอยูก่ บั ว่าการบริ การงานมี ประสิ ทธิ ภาพเพียงใด ด้วยเหตุน- ี งบการเงินจึงถูกนํามาใช้เป็ นเครื องมือในการวัดผลการ ปฏิบตั ิงานของฝ่ ายจัดการ โดยการเปรี ยบเทียบกับตัวเลขผลประกอบการทีใช้เป็ นเกณฑ์ อ้างอิงทีได้มีการระบุไว้ในสัญญาผลตอบแทนทีได้ทาํ ไว้กบั ฝ่ ายจัดการ ดังนั-นเพือให้เกิ ด ประโยชน์ ต่ อ ฝ่ ายจัด การสู ง สุ ด ฝ่ ายจัด การจึ ง มี แ นวโน้ ม ที จะรั บ เอานโยบายบัญ ชี ที หละหลวม (Liberal Accounting Policies) มาเพือสร้างผลตอบแทนให้กบั ตนเองสู งขึ-น อย่างไรก็ตาม นัยแห่ งสมมติฐานแผนการให้ผลตอบแทนแก่ผบู้ ริ หารทีกล่าวมาในข้างต้น ไม่ได้หมายความว่าฝ่ ายจัดการจะต้องมีแรงจูงใจทีจะสร้างผลประกอบการให้สูงขึ-นเสมอ ไป กล่ า วคื อ หากตัด เรื องการเปลี ยนแปลงทางบัญ ชี อ อกไปแล้ ว ในปี ใดหากผล ประกอบการของกิจการออกมาตํากว่าระดับทีได้มีการกําหนดไว้สําหรับการจ่ายเงินโบนัส ฝ่ ายจัดการย่อมมีแนวโน้มทีจะลดผลประกอบการในปี นั-นลงโดยการรับรู้ผลขาดทุนต่าง ๆ เท่าทีจะเป็ นไปได้ เพราะรู้แล้วว่าโอกาสทีจะไม่ได้รับเงินโบนัสปี นั-น ๆสู งมาก ซึ งก็คือสิ งที หลาย ๆ คนเรี ยกว่าพฤติกรรมล้างบาง (Take an Earming Bath) นันเอง การล้างบางจะช่วย ให้ฝ่ายจัดการได้รับเงินโบนัสตามทีมุ่งหวังและสร้างผลประกอบการให้สูงขึ-นในปี ถัด ๆ
38 Haely (1985 อ้างถึงใน วรศักดิ| ทุมนานนท์, 2546) ในทํานองเดียวกันในปี ใดก็ตามทีผล ประกอบการของกิ จการออกมาสู งกว่าระดับสู งสุ ดทีจะได้รับผลตอบแทนภายใต้สัญญาที ทํา ไว้ ฝ่ ายจัดการย่อมไม่มี แรงจูงใจที จะเพิมผลประกอบการให้สูง ขึ-นอีก ต่อไป ตัวเลข ประกอบการทีสู งอาจเป็ นตัวผลักดันให้ตอ้ งมีการทบทวนแก้ไขเกณฑ์วดั ผลการปฏิบตั ิงาน ในสัญญาเสี ยใหม่ โดยปรั บให้สู ง ขึ-นกว่าเดิ ม ในทางตรงกันข้า มการรั บ รู้ ผลขาดทุ นทั-ง จํานวนในงวดทีเกิดขึ-นกลับจะได้ประโยชน์มากกว่า (ตราบเท่าทีผลประกอบการหลังการ รับรู้ผลขาดทุนยังคงสู งกว่าตัวเลขผลประกอบการระดับตําสุ ดทีกําหนดไว้ในสัญญา) การ ตั-งพักเพือรับรู้เป็ นค่าใช้จ่ายในปี ถัด ๆ ไป 5. สมมติฐานเกียวกับเงือนไขการชําระหนี- (The debt Covenant Hypothesis) เป็ นทีทราบกันดีวา่ ผูถ้ ือหุ ้นและผูเ้ ป็ นเจ้าหนี- รายอืน ๆ ย่อมต้องการให้กิจการสร้าง ความเชือมันว่าจะสามารถจ่ายชําระเงินต้นและดอกเบี-ยเมือครบกําหนด ดังนั-น เพือป้ องกัน ความเสี ยงต่อการผิดนัดชําระหนี- จึงต้องกําหนดกฎเกณฑ์บางอย่างไว้ในเงือนไขของสัญญา เงินกู้ เพือใช้บงั คับกิจการเกียวกับการจ่ายเงินปั นผล การซื- อหุ ้นทุนกลับคืน การควบกิจการ การจําหน่ายสิ นทรัพย์ และการก่อหนี- ใหม่เป็ นการเพิมเติมข้อกําหนดต่าง ๆ เหล่านี- มกั อยู่ ในรู ป แบบของจํา นวนเงิ นทางบัญชี และอัตราส่ วนทางการเงิ น นอกจากนี- เงื อนไขของ สัญญาเงินกูโ้ ดยทัวไปมักกําหนดให้กิจการจําเป็ นต้องดํารงอัตราส่ วนทุนหมุนเวียน อัตรา ความสามารถในการจ่ า ยดอกเบี- ย ส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้นและตัวแปรอื น ๆ ในระดับ ทีผูก้ ู้จะ สามารถยอมรับได้ วิธีปฏิบตั ิทางบัญชีทีเป็ นทางเลือกต่าง ๆ จึงมีอิทธิ พลอย่างมากต่อการ วัดต่าง ๆ ทีกล่ าวมาและเป็ นตัวบ่งชี- ว่ากิ จการกําลังฝ่ าฝื นเงื อนไขทีกําหนดได้ในสัญญา เงินกูห้ รื อไม่ สมมติฐานเกียวกับเงือนไขการชําระหนี- (The debt Covenant Hypothesis) มองว่าฝ่ ายจัดการมีแรงจูงใจทีรับเอาแนวทางปฏิบตั ิทางบัญชีทีช่วยลดโอกาสทีกิจการจะฝ่ า ฝื นเงือนไขของสัญญาเงินกูล้ ง Watt and Zimmeman (1986 อ้างถึงใน วรศักดิ| ทุมนานนท์, 2546) นันคือ กิ จการทีมีอตั ราส่ วนหนี- ต่อส่ วนของผูถ้ ื อหุ ้นสู งย่อมมีแนวโน้มทีจะรับเอา วิธีการปฏิบตั ิทางบัญชีทีช่วยเพิมผลกําไรและฐานะของสิ นทรัพย์ในงวดปั จจุบนั มาใช้โดย ไม่คาํ นึงถึงผลเสี ยทีมีต่อตัวเลขผลประกอบการทีจะตามมาในอนาคต เช่น การตัดค่าเสื อม ราคาตามวิธีเส้นตรง (ทั-งนี-โดยสมมติฐานว่าตัดค่าเสื อมราคาตามวิธีเส้นตรงจะช่วยเพิมผล ประกอบการให้กบั กิจการ) เป็ นต้น นอกจากนี- เงือนไขของสัญญาเงินกูย้ งั เป็ นอุปสรรคต่อ การทีกิ จการจะนําเอาหลักการบัญชี ทียึดสาระสําคัญของรายการอยู่เหนื อรู ปแบบมาใช้
39 กล่าวคือ ในการจัดหาแหล่งเงินทุนเพือนํามาใช้ในการลงทุนในสิ นทรัพย์ถาวรรายการใหม่ ๆ หากอัตราส่ วนหนี- สินต่อส่ วนของผูถ้ ือหุ ้นสู งเกิ นกว่าทีกําหนดไว้ในเงือนไขของสัญญา เงินกู้ กิจการก็อาจจําเป็ นต้องหันไปสู่ การจัดทํารายงานจัดหาเงินนอกงบดุล (Off-Balance Sheet Financing) เช่น การทําสัญญาเช่าระยะยาว 6. การบริ หารงานทีขาดประสิ ทธิภาพ(Poor Management) Argenti (1976 อ้า งถึ ง ใน วรศัก ดิ| ทุ มนานนท์, 2546) เชื อว่าการตกแต่ งบัญชี (Creative accounting) เป็ นผลมาจากการบริ หารงานขององค์กรทีขาดประสิ ทธิ ภาพ การ บริ ห ารงานที ขาดประสิ ท ธิ ภ าพจะสะท้อ นให้เ ห็ น ในแง่ ข องการที หลายกิ จ การมัก จะ มองข้ามระบบสารสนเทศทางบัญชีไปและไม่สนใจทีจะตอบสนองการเปลียนแปลงต่าง ๆ ทีเกิ ดขึ-น การบริ หารงานทีขาดประสิ ทธิ ภาพมักตามมาด้วยกิ จการมีอตั ราหนี- สินต่อส่ วน ของผูถ้ ือหุ ้นสู งอย่างต่อเนื องจนกระทังกลายเป็ นวิกฤตการณ์ เช่ น Argenti เชื อว่ากิ จการ ย่อมมีแรงจูงใจทีจะเริ มหันมาให้ความสนใจกับการตกแต่งบัญชี เพือลดความสามารถใน การพยากรณ์ (Predictive Nature) ของอัตราส่ วนทางการเงินลง 7. การลดความไม่แน่นอนและความเสี ยง Fellow (1988 อ้างถึงใน วรศักดิ| ทุมนานนท์, 2546) อธิบายว่าการตกแต่งบัญชี อาจ เป็ นผลมาจาความผันผวนในองค์ประกอบต่าง ๆ ของตลาด ความผันผวนของอัตราดอกเบี-ย ความผันผวนของภาวะเงินเฟ้ อและความผันผวนของอัตราแลกเปลียนทีมีมากขึ-นเรื อย ๆ การปรั บเปลี ยนจากระบบอัตราแลกเปลี ยนที มีเสถี ย รภาพไปสู่ ระบบอัตราแลกเปลี ยน ลอยตัวตามแรงผลัก ดัน ของตลาดได้ส ร้ า งความผัน ผวนกับ อัต ราแลกเปลี ยนในอัต รา ดอกเบี-ยและอัตราแลกเปลียนทีมีมากขึ-นเรื อย ๆ ล้วนแต่เป็ นตัวจุดชนวนให้ปัญหาต่าง ๆ เกิดขึ-นตามมาในความเป็ นจริ งเชือกันว่าหากความแน่นอนของตลาดแลกเปลียนเงินตราใน แต่ละภูมิภาคยังมีอยู่ การระดมเงินทุนผ่านการออกหุ ้นกูแ้ ละหุ ้นสามัญในหลาย ๆ กิจการก็ น่ าจะยังคงเกิ ดต่อไปและแทบไม่ มีค วามจําเป็ นทีกิ จการจะต้องเข้า ไปทํา สัญญาซื- อขาย เงินตราต่างประเทศล่วงหน้า จึงเป็ นเรื องทีมองเห็นได้ชดั เจน ว่าเมือไรทีกิจการประสบกับ ความผันผวนและความไม่แน่นอน มักเกิดแรงจูงใจตามมาในอันทีจะต้องหาเครื องมือต่าง ๆ เพือมาช่วยลดความเสี ยงทีกิจการต้องเข้าไปเกียวข้อง
40
8. จุดอ่อนของแนวคิดทางบัญชีในปัจจุบนั โดยเฉพาะภายใต้ภาวะเงินเฟ้ อ Dieter and Watt (1980 อ้างถึงใน วรศักดิ| ทุมนานนท์, 2546) ให้เหตุผลว่าการที หลายกิจการในประเทศสหรัฐอเมริ กาหันมาให้ความสนใจกับการจัดการเงินนอกงบดุลกัน อย่างแพร่ หลายในช่ วงทีผ่านมาก็เพราะแนวคิดทีอยู่เบื-องหลังการบัญชีสําหรับหนี- สิน ใน ปั จจุบนั ไม่ได้มีการหล่อหลอมมาอย่างดี พอทีจะรับรองรายการจัดหารเงินนอกงบดุ ลทีมี ความซับซ้อนมากขึ-นเรื อย ๆ Stewart and Neuhausen (1986 อ้างถึงใน วรศักดิ| ทุมนานนท์, 2546) ได้มีความเห็นไปในทางเดียวกับ Dieter และWatt ว่ารายการจัดหาเงินนอกงบดุล เกิ ดขึ- นเพราะวรรณกรรมทางบัญชี ใ นช่ วงทีผ่า นมาไม่ได้มีการหยิบ ยกประเด็นเกี ยวกับ วิธีการปฏิบตั ิทางบัญชีเกียวกับการจัดหาเงินนอกงบดุลขึ-นมาอภิปรายเท่าทีควร Samuel et al. (1989 อ้างถึงใน วรศักดิ| ทุมนานนท์, 2546) ได้สาธิ ตได้เห็นว่ากิจการบางกิจการมีการ นําเอาเทคนิ คบางอย่างในการตกแต่งบัญชี มาใช้โดยอาศัยข้อได้เปรี ยบจากการทียังไม่มี มาตรฐานการบัญชี ประกาศใช้อย่างเป็ นทางการในขณะนั-น หรื อจากการทีมาตรฐานการ บัญชีกาํ หนดขึ-นโดยหน่วยงานต่าง ๆทีมีอาํ นาจเกิดการขัดแย้งกันเอง ดังนั-น หลายกิจการจึง มี แ นวโน้ม ที จะนํา เอาเครื องมื อ ในการจัด หาเงิ น นอกงบดุ ล ใหม่ ๆ มาใช้เ พื อตัก ตวง ผลประโยชน์จากการทีแนวคิดทางบัญชีทีมีอยูใ่ นขณะนั-นยังไม่เกิดการลงตัว 9. แรงกดดันจากผูล้ งทุนสถาบันรายใหญ่ แรงกดดันจากผูล้ งทุนสถาบันรายใหญ่และการหันไปสู่ การกระจายหุ ้นออกไปใน วงกว้างเพือดึงดูดผูล้ งทุนรายใหม่ ๆ ให้เข้ามาลงทุนในกิ จการมากขึ-นอาจผลักดันกิ จการ ไปสู่ การปรับแต่งผลการดําเนินงานทีช่วยให้สามารถตอบสนองความต้องการของตลาดทุน ได้มากขึ-นทั-งนี- เพราะตลาดทุนคาดหวังทีจะเห็นการเติบโตของกําไรสะสมของกิ จการที เป็ นไปอย่างสมําเสมอเพือให้เป็ นไปตามความคาดหวังของตลาดทุนทีมีต่อผลประกอบการ ของกิจการ กิจการจึงอาจต้องมีการปรับแต่งบัญชีไปโดยปริ ยาย จากแนวคิดและทฤษฎีเกี ยวกับการทุจริ ตในรายงานทางการเงินสามารถสรุ ปได้ว่า ความ รับผิดชอบในการรายงานข้อมูลของบริ ษทั จดทะเบียนนั-น เป็ นหน้าทีทีสําคัญมาก โดยผูม้ ีหน้าทีเป็ น ผูบ้ ริ หาร เป็ นตัวแทนของผูถ้ ือหุ ้นในการดําเนินงานบริ หาร และรายงานข้อมูลฐานะทางการเงิน ผล
41 การดํา เนิ นงาน และรายงานเหตุ ก ารณ์ ต่า ง ๆ ที เกิ ดขึ- นต่ อสาธารณะชน หากผูบ้ ริ หารเป็ นผูท้ ี มี ลักษณะอาชญากรเศรษฐกิ จตามทีกล่ า วไปข้างต้นและกระทํา การตกแต่ง งบการเงิ น การปกปิ ด ข้อเท็จจริ ง การไม่นาํ ส่ งงบการเงินเพือชะลอระยะเวลาในการตัดสิ นใจ ข้อมูลในรายงานทางการเงิน ทีมี ล ัก ษณะ ดัง กล่ า ว หากนํา ไปใช้ป ระกอบการตัดสิ นใจก็จะส่ ง ผลกระทบต่ อระบบเศรษฐกิ จ อย่า งเช่ น ในอดี ต ที ผ่า นมา ไม่ ว่า จะเป็ นวิก ฤตเศรษฐกิ จ ล้ม เหลวในแถบเอเชี ย ปี 2540 หรื อ ใน ต่างประเทศ เช่น ความเสี ยหายทีเกิดจากการทุจริ ตในรายงานทางการเงินของบริ ษทั เอนรอน เวิลด์ คอม เป็ นต้น สําหรับประเทศไทยก็มีปัญหาการทุจริ ตในรายงานทางการเงินมานานและเมือระบบ การตรวจสอบมีการพัฒนามากขึ-นทําให้พบว่าการทุจริ ตในรายงานทางการเงินมีความซับซ้อนมาก ขึ-นยากต่อการตรวจสอบตามไปด้วย ดังนั-น ผูว้ ิจยั เห็นว่ากรณี การกระทําผิดที ก.ล.ต.ตรวจพบและ ดําเนิ นคดีในอดีตจะสามารถนํามาศึกษาว่าข้อมูลใดทีสามารถเป็ นปั จจัยทีมีศกั ยภาพในการระบุถึง ความแตกต่างของบริ ษทั ทีมีการทุจริ ตและไม่มีการทุจริ ตในรายงายทางการเงิน
บทที 3 กรณีศึกษา บริษทั ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ประวัติและความเป็ นมา
ภาพที 3.1 สัญลักษณ์ของบริ ษทั ปิ คนิค คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ปิ คนิค คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) จัดตังขึนเป็ นบริ ษทั มหาชนจํากัดตามกฎหมาย บริ ษทั ปิ คนิค คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ปัจจุบนั ตังทีอยู่ 805 ถนนศรี นคริ นทร์ แขวงสวนหลวง เขต สวนหลวง กรุ งเทพมหานคร นับว่าเป็ นหนึ งในบริ ษทั ทีใช้ประโยชน์จากตลาดหลักทรัพย์แห่ ง ประเทศไทย (ตลท.) เพือการระดมเม็ดเงิ นลงทุน ด้วยการเสนอขายหุ ้นต่อนักลงทุนทัวไปและ ดําเนินการซื อขายหุ ้นภายใต้ชือ “PICNI” บริ ษทั ปิ คนิค คอปอร์ เรชัน จํากัด (มหาชน) หรื อ PICNI เดิ มชื อบริ ษทั บีจีอีเอส เอ็นจิเนี ยริ ง ซี สเต็มส์ จํากัด (มหาชน) แต่เดิมประกอบธุ รกิ จวิศวกรรม ประเภทรับเหมาก่อสร้าง อาทิ งานระบบปรับอากาศ ระบบไฟฟ้ าและระบบป้ องกันอัคคีภยั เป็ นต้น ต่อมาประสบปั ญหาทางการเงิ น และได้ยืนขอฟื นฟูกิจการต่อศาลล้มละลายกลาง เมือวันที 22 ตุลาคม 2544 โดยมีผลู้ งทุนรายใหม่เข้ามา คือบริ ษทั ยูเนียนแก๊ส แอนด์ เคมิคลั ส์ จํากัด เข้ามาฟื นฟู กิจการ พร้อมทังเปลียนชือบริ ษทั ใหม่เป็ นบริ ษทั ปิ คนิคแก๊ส แอนด์เคมิคลั ส์ จํากัด(มหาชน) โดย การซื อทรัพ ย์สิ นจากบริ ษ ทั ยูเนี ย นแก๊ ส แอนด์เคมิค ลั ส์ จํา กัด และเริ มประกอบธุ รกิ จค้าก๊ า ซ ปิ โตรเลี ยมเหลว เมือวันที 1 เมษายน 2546 ต่อมาบริ ษทั ได้รับคําสังจากศาลล้มละลายกลาง ให้ ยกเลิกการฟื นฟูกิจการ เมือวันที 18 กันยายน 2546 หลังจากนันได้เปลียนชือเป็ นบริ ษทั ปิ คนิคแก๊ส
43 แอนด์ เอ็นจิเนียริ ง จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ตามลําดับ การ แจ้งเกิ ดของบริ ษทั ปิ คนิ ค คอปอร์ เรชัน จํากัด(มหาชน)หรื อ PICNI ถือเป็ นการกลับมาของกลุ่ ม ตระกูลลาภวิสุทธิสิน ในฐานะผูถ้ ือหุ ้นใหญ่ และเป็ นทีทราบกันดีวา่ มีนายสุ ริยา ลาภวิสุทธิ สิน อดีต รัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงพาณิ ชย์ ในยุครัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็ นผูม้ ีอาํ นาจสังการตัว จริ งและเป็ นผูอ้ ยูเ่ บืองหลังการเปลียนแปลงต่างๆ ทังนีเส้นทางการเติบโตของบริ ษทั ปิ คนิค คอปอร์ เรชัน จํากัด (มหาชน) หรื อ PICNI ถูกวางแผนพร้อมเรื องราวต่างๆให้เติบโตแบบก้าวกระโดด โดย มีเป้ าหมายเพือผลักดันราคาหุ ้น PICNI ในตลาดหุ ้น ด้วยวิธีตงเป้ ั าหมายการเติบโตไว้อย่างสวยหรู และต่อมามีการไซฟ่ อนเงิ นออกจากธุ รกิ จหลายรู ปแบบ จนถูกดําเนิ นคดีดว้ ยมูลค่าความเสี ยหาย หลักพันล้านบาท โดยเริ มต้นขึนตังแต่วนั ที 6 กุมภาพันธ์ 2547 บริ ษทั ได้เข้าถือหุ ้นบริ ษทั เอส.เอส. ซี . เปโตร ดีเวลลอปเมนท์ จํากัด ภายหลังได้เปลียนชือเป็ นบริ ษทั ปิ คนิค อินเตอร์ เนชันแนล จํากัด ซึ งเป็ น บริ ษทั เพือการลงทุน (Holding Company) ทีได้รับใบอนุญาตเป็ นผูค้ า้ ก๊าซปิ โตรเลียมเหลว และนํามันในประเทศเวียดนามจากนันวันที 17 มีนาคม 2547 ได้จดั ตังบริ ษทั ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน (สิ งคโปร์) จํากัด เพือดําเนินกิจการค้าส่ งก๊าซปิ โตรเลียมเหลวจําหน่ายให้ประเทศต่างๆทีอยูใ่ นทวีป เอเชีย วันที 19 เมษายน 2547 ได้จดั ตังบริ ษทั ปิ คนิค มารี น จํากัด ขึนเพือดําเนินการรับขนส่ งนํามัน เชื อเพลิง ก๊าซทุกชนิด และเคมีภณ ั ฑ์ทางเรื อ วันที 26 ตุลาคม 2547 จัดตังบริ ษทั ย่อยในนาม บริ ษทั ปิ คนิ ค เอทานอล จํา กัด เพือดํา เนิ นธุ รกิ จผลิ ต และจําหน่ ายเอทานอล วันที 5 พฤศจิก ายน 2547 บริ ษทั ได้เข้าไปลงทุนในบริ ษทั เวิลด์ แก๊ส (ประเทศไทย) จํากัด วันที 17 พฤศจิกายน 2547 ซื อเครื องหมายการค้า “MP Petroleum” เพือเตรี ยมประกอบธุ รกิจค้าส่ งนํามันภายใต้เครื องหมาย การค้า "เอ็มพี ปิ โตรเลียม" วันที 11 ตุลาคม 2548 เข้าลงทุนใน Summit Surma Petroleum Company Limited (SSP) ผูป้ ระกอบกิจการค้าก๊าซปิ โตรเลียมเหลวในประเทศบังคลาเทศและวันที 8 ธันวาคม 2548 จัดตังบริ ษทั ย่อยในนามบริ ษทั ปิ คนิค พาวเวอร์ เอ็นจิเนียริ ง จํากัด เพือดําเนินกิจการผลิตและ จําหน่ายกระแสไฟฟ้ า เหล่านี เป็ นต้น บริ ษทั ปิ คนิค คอร์ เปอเรชัน (มหาชน) จํากัด ซึ งทําธุ รกิจก๊าซ LPG แบบครบวงจรโดยมีการสังซื อจากประเทศไทยเพือส่ งออกไปยังคลังสิ นค้าของบริ ษทั ในเครื อ ทีประเทศเวียดนามนัน ได้เห็นความสําคัญของธุ รกิจการเดินเรื อเพือขนส่ งสิ นค้า จึงดําเนินการเปิ ด บริ ษทั ปิ คนิค มารี น จํากัด โดย บริ ษทั ปิ คนิค คอร์ เปอเรชันฯเป็ นผูถ้ ือหุ ้น 100% ของบริ ษทั โดยใช้ เรื อของบริ ษทั ปิ คนิ ค มารี นรับจ้างขนส่ งเกื อบ 100% บริ ษทั ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) จัดตังขึนเป็ นบริ ษทั มหาชนจํากัดตามกฎหมาย โดยประกอบธุรกิจหลักดังนี
44 เป้าหมายธุรกิจ 1. บริ ษ ัท ฯ มุ่ ง มันที จะเป็ นบริ ษ ัท รั บ เหมาก่ อ สร้ า งระบบสาธารณู ป โภค ชันนํา ของ ประเทศ ซึ งงานด้านนี ส่ วนใหญ่รัฐบาลเป็ นเจ้าของโครงการ ซึ งมีศกั ยภาพทางด้าน การเงิน และจะส่ งผลให้บริ ษทั มีเสถียรภาพทางด้านการเงินด้วย 2. บริ ษ ัท ฯ ขยายการให้ บ ริ ก ารครอบคลุ ม ภาคเอกชน เนื องจากงานภาคเอกชนให้ ผลตอบแทนทีดี โดยบริ ษทั คัดเลือกการให้บริ การเฉพาะโครงการทีมีคุณภาพ และเป็ น ทีเชือถือ 3. บริ ษัท ฯ ตระหนั ก ดี ว่ า โครงการทางด้ า นพลั ง งานเป็ นปั จ จัย สํ า คัญ ต่ อ ระบบ อุตสาหกรรมการผลิต อีกทังยังเป็ นโครงการทีให้ผลตอบแทนในการลงทุนสมําเสมอ และมีอตั ราการเจริ ญเติบโตสู ง 4. บริ ษทั ฯ มุ่งจะสร้างผลกําไรสู งสุ ดจากการบริ หารจัดการทีมีประสิ ทธิ ภาพ และมีการ ควบคุมต้นทุน และค่าใช้จ่ายอย่างรัดกุม 5. บริ ษทั ฯ มุ่งมันพัฒนาระบบคุณภาพในการบริ หารจัดการเพือเป็ นทียอมรับ และเพือ โอกาสในการแข่งขัน ตามมาตรฐานสากล วิสัยทัศน์ และภารกิจ บริ ษทั ฯ ดําเนิ นธุ รกิ จก๊าซปิ โตรเลียมเหลวในฐานะผูป้ ระกอบการส่ วนกลาง (midstream) เป็ นหลักแต่ในเวลาเดี ยวกัน ก็ให้การสนับสนุ นผูป้ ระกอบการรายย่อยทีจะตังธุ รกิ จค้าปลี กก๊า ซ ปิ โตรเลียมเหลว เพือเป็ นการสนองตอบนโยบายของรัฐบาลในการส่ งเสริ มธุ รกิจขนาดกลางและ ย่อม บริ ษทั ฯจึงได้ก่อตังโครงการปิ คนิ คแก๊ส ช็อป เพือส่ งเสริ มและสนับสนุ นให้ผทู้ ีมีความสนใจ สามารถมีธุรกิจเป็ นของตนเอง ในเวลาเดียวกันก็เป็ นการพัฒนา โครงการนี จะส่ งเสริ มให้ร้านค้า ก๊าซเป็ นร้านค้าแบบยีห้อเดียว (single brand) ซึ งจนถึงปั จจุบนั นี มีร้านค้าแก๊สในโครงการประมาณ 500 ร้านทัวประเทศไทย ปิ คนิค คอร์ปอเรชัน มุ่งเน้นความเป็ นอยูท่ ีดีของประชาชน ด้วยการจัดสรร สิ นค้าและบริ การทีเป็ นเลิศในด้านความปลอดภัย สะดวก และประหยัดในราคาทีเป็ นธรรม บริ ษทั ฯ
45 ให้ความสําคัญในการรักษาและส่ งเสริ มสภาพแวดล้อมทีดี ดําเนินธุรกิจอย่างมีจริ ยธรรมและมีความ รับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน ตลอดจนผูถ้ ือหุ น้ และผูท้ ีเกียวข้องทุกฝ่ าย การประกอบธุรกิจ ธุรกิจค้ าก๊าซปิ โตรเลียมเหลว ความต้องการใช้ก๊าซปิ โตรเลียมเหลวของผูบ้ ริ โภคในครัวเรื อน ของสถานีบริ การแก๊ส และ ผูบ้ ริ โภคในภาคอุ ตสาหกรรม มีการเติบ โตอย่า งต่ อเนื อง โดยเฉพาะอย่างยิงจากราคานํามันที มี แนวโน้มราคาสู งขึนอย่าต่อเนือง และไม่มีวีแววทีจะลดลง ส่ งผลให้ผบู้ ริ โภคจํานวนมาก หันมาใช้ ก๊าซปิ โตรเลียมเหลวเพือเป็ นพลังงานทดแทน ทําให้ธุรกิจค้าก๊าซปิ โตรเลียมเหลวเป็ นธุ รกิจทีเติบโต อย่างต่อเนื องและมีอนาคตสดใสบริ ษทั ฯ ได้รับอนุ ญาตให้ประกอบธุ รกิจจําหน่ ายก๊าซปิ โตรเลียม เหลว (LPG) ภายใต้เครื องหมายการค้า“ ปิ คนิคแก๊ส” โดยเป็ นผูค้ า้ นํามันเชื อเพลิงตามมาตรา 7 แห่ ง พระราชบัญญัตินามั ํ นเชื อเพลิง พ. ศ. 2543 ซึ งอยูภ่ ายใต้การกําหนดนโยบายโดยสํานักงานโยบาย และแผนพลังงาน และการควบคุมโดยกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน โดยเริ มประกอบธุ รกิจ ค้าก๊าซปิ โตรเลี ยมเหลว ( LPG) ตังแต่วนั ที 1 เมษายน 2546 บริ ษทั ฯ สร้ างเครื อข่ายธุ รกิ จที ครอบคลุมด้านต่าง ๆ อย่างครบถ้วนเพือให้ธุรกิ จเหล่านี เกิ ดพลังประสานในการขับเคลือนธุ รกิ จ อย่างกลมกลืน ตังแต่คลังก๊าซ เรื อบรรทุกก๊าซ รถบรรทุกก๊าซ จนถึงถังบรรจุก๊าซขนาดต่าง ๆ ทีมี ครบทุกขนาด ธุรกิจด้ านวิศวกรรม ภาวะเศรษฐกิ จของไทยที มีอตั ราการเติบ โตค่อนข้างสู ง อีก ทังรัฐบาลมี แผนที จะลงทุ น ก่ อสร้ างโครงการขนาดใหญ่หลายโครงการ ทําให้ธุรกิ จด้านวิศวกรรมเป็ นธุ รกิ จ ทีเติบโตอย่า ง ต่อเนื อง และมีอนาคตสดใส จึงนับเป็ นช่วงเวลาทีเหมาะสม และเป้ นโอกาสทีดีทีบริ ษทั ฯ จะขยาย งานในธุ รกิ จส่ วนนี โดยเฉพาะอย่างยิง โครงการ การสร้ างโรงไฟฟ้ าหลายแห่ ง ในปี 2547-2552 ด้วยงบประมาณทังสิ น 260,000 ล้านบาท ซึ งโครงการทีบริ ษทั ฯ มีความเชี ยวชาญเป็ นพิเศา จาก ประสบการณ์การสร้างสถานีไฟฟ้ าและสถานีไฟฟ้ าย่อยให้กบั การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค
46 ธุรกิจค้ านํา0 มันปิ โตรเลียม ปิ คนิคฯ ได้เริ มดําเนินธุ รกิจค้านํามันปิ โตรเลียมในเดือนธันวาคม 2547 บริ ษทั ได้ทาํ สัญญา กับบริ ษทั เอ็ม พี ปิ โตรเลียม จํากัด จากการยกเลิกการควบคุมราคานํามัน และการนําระบบราคา นํามันลอยตัวอย่างเสรี มาใช้ ประกอบกับการปรับลดกฎเกณฑ์การขออนุญาตก่อสร้างสถานีบริ การ นํามันให้สะดวกมากขึน มีการเพิมจํานวนสถานี บริ การนํามัน และการลงทุนขยายวงจรธุ รกิ จใน สถานีบริ การต่างๆ ทําให้ธุรกิจค้านํามันเป็ นธุรกิจทีเติบโตอย่างต่อเนือง และมีอนาคตสดใส การกํากับดูแล นโยบายเกียวกับการกํากับดูแลกิจการ บริ ษทั ฯ ได้เล็งเห็นถึงความสําคัญของการกํากับดูแลกิ จการทีดี ต่อการเติบโตอย่างยังยืน ของธุ รกิ จ จึงได้กาํ หนดนโยบายเกี ยวกับการกํากับดูแลกิ จการ โดยมุ่งเน้นให้ความสําคัญต่อการ ปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุ ้นอย่างเท่าเทียมกัน การคํานึงถึงผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกฝ่ าย การให้ความสําคัญต่อระบบ การตรวจสอบและควบคุมภายใน การบริ หารจัดการความเสี ยง การเปิ ดเผยข้อมูลและความโปร่ งใส ในการดําเนินกิจการ สิ ทธิของผู้ถือหุ้น บริ ษทั ฯ มีนโยบายในการปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุ น้ อย่างเท่าเทียมกัน โดยเมือมีการประชุมผูถ้ ือหุ ้น บริ ษทั ได้ส่งหนังสื อเชิญประชุมพร้อมทังข้อมูลประกอบการประชุมล่วงหน้าตามทีกฎหมายกําหนด มีการบันทึกการประชุ มอย่างถูกต้อง ครบถ้วน พร้ อมทังเปิ ดโอกาสให้ผถู้ ื อหุ ้นมีสิทธิ ในการ ตรวจสอบการดําเนินการ สอบถาม และแสดงความคิดเห็นในทีประชุมโดยเท่าเทียมกันนอกจากนัน บริ ษทั ยังมีนโยบายละเว้นการกระทําทีเป็ นการจํากัดโอกาสการศึกษาสารสนเทศของบริ ษทั และ การเข้าประชุม สิ ทธิของผู้มีส่วนได้ เสี ย ทีผ่านมา บริ ษทั ฯ ให้ความสําคัญต่อสิ ทธิ ของผูม้ ีส่วนได้เสี ยทุกกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็ นกลุ่ ม พนักงาน เจ้าหนี ลูกค้า ลูกจ้าง คู่แข่ง ผูค้ า้ ผูถ้ ือหุ ้น ผูต้ รวจสอบบัญชี ผูป้ ระเมินอิสระ ภาครัฐ และ
47 ชุมชนใกล้เคียงทีโครงการของบริ ษทั ตังอยู่ นอกจากนี บริ ษทั ยังให้ความสําคัญกับสังคมโดยรวม จากการทีบริ ษทั มุ่งเน้นความความเป็ นอยูท่ ีดีของประชาชน และเลือกสรรสิ นค้าและบริ การทีเป็ น เลิ ศ ในด้านความปลอดภัย สะดวกและประหยัด ในราคาทีเป็ นธรรม รัก ษาและก่ อให้เกิ ด สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติทีดีและจะดําเนิ นธุ รกิ จอย่างมีจริ ยธรรม มีความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน ตลอดจนผูถ้ ือหุ น้ และผูอ้ ืนทีดําเนินธุรกิจร่ วมกับบริ ษทั การประชุ มผู้ถือหุ้น คณะกรรมการของบริ ษทั ได้ให้ความสําคัญต่อการประชุมผูถ้ ือหุ ้นเป็ นอย่างยิง โดยในการ ประชุ มผูถ้ ือหุ ้นของบริ ษทั จะมีกรรมการเข้าร่ วมประชุ มด้วย ตามรายชือทีเปิ ดเผยในรายงานการ ประชุ ม โดยระหว่างการประชุ ม ประธานในทีประชุมได้เปิ ดโอกาสให้ผถู้ ือหุ ้นในการตรวจสอบ การดําเนินงานของบริ ษทั สอบถาม แสดงความคิดเห็น และเสนอแนะข้อคิดเห็นหรื อแนวทางต่างๆ อย่างเท่าเทียมกัน และได้ทาํ การบันทึกประเด็นซักถามและข้อคิดเห็นทีสําคัญไว้ในรายงานการ ประชุมเป็ นทีเรี ยบร้อยแล้ว ภาวะผู้นําและวิสัยทัศน์ คณะกรรมการบริ ษทั มีส่ วนร่ วมในการกําหนดนโยบายและทิศทางการดําเนิ นงานของ บริ ษ ัท และกํา กับ ดู แ ลให้ฝ่ ายบริ หารดํา เนิ น การให้เ ป็ นไปตามนโยบายที กํา หนดไว้อ ย่า งมี ประสิ ทธิ ภาพ เพือเพิมมูลค่าทางเศรษฐกิ จสู งสุ ดแก่ กิจการ และความมันคงสู งสุ ดแก่ผูถ้ ื อหุ ้น นอกจากนี บริ ษทั ยังได้กาํ หนดขอบเขตและอํานาจหน้าทีระหว่างคณะกรรมการ คณะกรรมการ บริ หาร คณะกรรมการตรวจสอบไว้อย่างชัดเจนอีกด้วย ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริ ษทั ได้จดั ตังคณะกรรมการตรวจสอบ เพือทําหน้าทีพิจารณาการเปิ ดเผยข้อมูลของบริ ษทั ในกรณี ทีเกิ ดรายการทีเกี ยวโยงกัน หรื อรายการทีอาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้มีความ ถู ก ต้องครบถ้วน นอกจากนี คณะกรรมการบริ ษ ัท ยัง มี หน้า ที ดู แลไม่ ใ ห้เกิ ดความขัดแย้ง ทาง ผลประโยชน์ระหว่างผูม้ ีส่วนได้เสี ยของบริ ษทั อีกด้วย ทังนี รายละเอียดของรายการระหว่างกันได้
48 จริยธรรมธุรกิจ บริ ษทั อยูร่ ะหว่างจัดทําข้อกําหนดเกียวกับจริ ยธรรม (Code of Conduct) สําหรับกรรมการ และพนักงานบริ ษทั เพือให้ฝ่ายบริ หารและพนักงาน ปฏิบตั ิงานในลักษณะทีไม่ก่อให้เกิ ดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั ธุรกิจ การถ่ วงดุลของกรรมการทีไม่ เป็ นผู้บริหาร คณะกรรมการบริ ษทั มีจาํ นวน 7 ท่าน กรรมการทีเป็ นผูบ้ ริ หาร จํานวน 4 ท่าน กรรมการทีไม่ได้เป็ นผูบ้ ริ หาร จํานวน 3 ท่าน กรรมการอิสระ จํานวน 3 ท่าน ซึงคิดเป็ น 3 ใน 7 ของจํานวนกรรมการทังคณะ การรวมหรือการแยกตําแหน่ ง บริ ษทั มีก ารกํา หนดขอบเขตอํานาจของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ หาร และ กรรมการผูจ้ ดั การไว้อย่างชัดเจน โดยคณะกรรมการ มีอาํ นาจหน้าทีจัดการบริ ษทั ให้เป็ นตาม กฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ มติของทีประชุมผูถ้ ือหุ น้ ในขณะทีคณะกรรมการบริ หาร มีอาํ นาจ หน้าทีกําหนดแผนธุ รกิ จ จัดโครงสร้างองค์กรและการบริ หาร นอกจากนัน กรรมการผูจ้ ดั การ บริ หารงานตามทีได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ และกรรมการบริ หาร ค่ าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร บริ ษทั ได้กาํ หนดนโยบายค่าตอบแทนกรรมการในระดับทีใกล้เคียงกับอุตสาหกรรมซึ งอยู่ ในรู ปของบําเน็จกรรมการ สําหรับค่าตอบแทนผูบ้ ริ หารจะจ่ายตามผลการดําเนินงานของบริ ษทั และ ผลงานของผูบ้ ริ หารแต่ละท่าน โดยอยู่ในรู ปของเงินเดือนและโบนัส ซึ งค่าตอบแทนกรรมการ ได้รับอนุมตั ิจากทีประชุมผูถ้ ือหุ น้ แล้ว
49 การประชุ มคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษทั มีการประชุ มอย่างสมําเสมอ และมีการประชุมพิเศษเพิมตามความ จําเป็ น โดยมีการกําหนดวาระอย่างชัดเจน และมีวาระพิจารณาติดตามผลการดําเนินงานเป็ นประจํา บริ ษทั มีก ารจัดหนังสื อเชิ ญประชุ มพร้ อมระเบียบวาระการประชุ มและเอกสารก่ อนการประชุ ม ล่วงหน้า 7 วัน เพือให้คณะกรรมการได้มีเวลาศึกษาข้อมูลเพียงพอก่อนเข้าร่ วมประชุมและได้มีการ จดบันทึกและจัดทํารายงานการประชุมเป็ นลายลักษณ์อกั ษรทุกครัง เพือให้คณะกรรมการและผูท้ ี เกียวข้องสามารถตรวจสอบได คณะอนุกรรมการ บริ ษทั ได้มีการแต่งตังคณะกรรมการและคณะอนุ กรรมการ เพือช่ วยในการกํากับดูแล กิจการของบริ ษทั คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการทีเป็ นอิสระจํานวน 3 ท่าน โดย อย่างน้อย 1 ท่านเป็ นผูท้ ีมีความรู ดา้ นบัญชีหรื อการเงิน ระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน บริ ษทั ให้ความสําคัญกับระบบการควบคุมภายใน โดยในปั จจุบนั บริ ษทั มีคณะกรรมการ ตรวจสอบ และหน่ วยงานตรวจสอบภายใน แยกเป็ น แยกเป็ นหน่ วยงานอิสระ ซึ งจัดให้มีการ ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบเพือพิจารณา ประเมินและทบทวนระบบควบคุมของบริ ษทั รายงานของคณะกรรมการ คณะกรรมการบริ ษทั เป็ นผูร้ ับผิดชอบต่องบการเงินรวมของบริ ษทั และบริ ษทั ย่อย โดย แสดงควบคู่กบั รายงานของผูส้ อบบัญชี ไว้ในรายงานประจําปี งบการเงินดังกล่าวได้จดั ทําขึนตาม มาตรฐานการบัญชีทีรับรองทัวไปในประเทศไทย มีการเลือกใช้นโยบายบัญชีทีเหมาะสมและถือ ปฏิ บตั ิอย่างสมําเสมอ และใช้ดุลยพินิจอย่างระมัดระวังและประมาณการทีดีทีสุ ดในการจัดทํา รวมทังมีการเปิ ดเผยข้อมูลสําคัญอย่างเพียงพอในหมายเหตุประกอบงบการเงิน
50 ความสั มพันธ์ กบั ผู้ลงทุน บริ ษทั มีนโยบายในการเปิ ดเผยข้อมูลอย่างถูกต้อง โปร่ งใส และทันเวลา และมีแผนจัดตัง หน่วยงานผูร้ ับผิดชอบในการให้ขอ้ มูลของบริ ษทั (Investor Relations) โดยทําหน้าทีเป็ นตัวแทนใน การให้ขอ้ มูลข่าวสารต่อนักวิเคราะห์ นักลงทุนสถาบัน ผูถ้ ือหุ ้น และเจ้าหน้าทีภาครัฐ ทังนี จะ เปิ ดเผยข้อมูลทีครบถ้วน ตรงต่อความเป็ นจริ ง เชือถือได้ ทันเวลา
บทที 4 ผลการศึกษา การศึกษาการใช้บญ ั ชี นิติเวชเพือตรวจสอบการทุจริ ตในรายงานทางการเงิ น กรณี ศึกษา รายงานทางการเงิ น ของบริ ษทั ปิ คนิ ค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) สําหรับปี สิ) นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2547 การตรวจสอบของผู้สอบบัญชี และนักบัญชีนิติเวช การตรวจสอบบัญชี เป็ นการตรวจสอบข้อมูลทางการเงินโดยมีวตั ถุประสงค์เพือให้ผสู้ อบ บัญชีสามารถแสดงความเห็นต่องบการเงินทีตรวจสอบ สําหรับการบัญชีนิติเวช เป็ นการตรวจสอบ เพือพิสูจน์หรื อค้นพบหลักฐานประกอบข้อเท็จจริ งเกียวกับการทุจริ ต ซึ งมีลกั ษณะทีแตกต่างจาก การตรวจสอบบัญชีโดยผูส้ อบบัญชี การทุจริตของ บริษัท ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ภายในปี 2547 ในช่วงปี 2547 ราคาหุ ้นของบริ ษทั ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) มีการปรับเปลียน อย่างกระทันหัน ด้วยการแตกพาร์ หุ้นถึง 2 ครั)งในช่ วงทีห่ างกันเพียงไม่กีเดือน จากราคาพาร์ 10 บาท เหลือ 5 บาท และจาก 5 บาท เหลือ 1 บาท รายได้ หลัก รายได้จากการขายก๊าซปิ โตรเลียมเหลว รายได้จากการขายนํ)ามันปิ โตรเลียม รายได้จากงานติดตั)งและบริ การ รายได้ค่าเช่าถังบรรจุก๊าซ รายได้อืน
กําไรสุ ทธิ
2547
2546
(หน่วย : ล้านบาท)
(หน่วย : ล้านบาท)
5,160.40 397.33 1,465.53 178.44 148.82
2,094.54 269.20 85.89
735.38
265.39
มูลค่ าที อัตราการ เพิมขึน4 เพิมขึน4 (%) 3,065.86 146.37 397.33 100.00 1,196.33 444.40 178.44 100.00 62.93 73.26
469.99
ตารางที 4.1 ตารางเปรี ยบเทียบรายได้สาํ หรับปี สิ) นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2547 และ 2546
177.10
52 ในเดือนมีนาคม 2548 กรรมการผูจ้ ดั การบริ ษทั ฯ ได้แจ้งผลการดําเนินงานสําหรับปี 2547 ต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่า บริ ษทั ฯ และบริ ษทั ย่อยมีกาํ ไรสุ ทธิ เท่ากับ 735.38 ล้านบาท เพิมขึ)น 469.99 ล้านบาทจากปี ก่อน หรื อคิดเป็ นการเพิมขึ)นร้อยละ 177.10 สําหรับรายได้หลักมา จากธุรกิจค้าก๊าซปิ โตรเลียมเหลว 5,160.40 ล้านบาท เพิมขึ)นจากรอบระยะเวลาเดียวกันของปี 2546 จํานวน 3,065.86 ล้านบาท คิดเป็ นการเพิมขึ)นร้อยละ 146.37 รายได้จากธุ รกิ จวิศวกรรมจากงาน ติดตั)ง และบริ ก าร 1,465.53 ล้านบาท เพิมขึ) นจากรอบระยะเวลาเดี ย วกันของปี 2546 จํานวน 1,196.33 ล้านบาท คิดเป็ นการเพิมขึ)นร้อยละ 444.40 รายได้จากธุ รกิ จค้านํ)ามันปิ โตเลียม 397.33 ล้านบาท รายได้อืนเพิมขึ)น 241.37 ล้านบาท และ ค่าเช่าถังบรรจุก๊าซ 178.44 ล้านบาท หลังจากนั)นคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้มีคาํ สังให้บริ ษทั ฯ แก้ไขงบการเงิน ประจําปี สิ) นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2547 โดยจัดทํางบการเงินรวมกับโรงบรรจุแก๊ส 10 แห่ ง เนืองจาก มีพฤติกรรมในลักษณะทีบริ ษทั ฯ มีอาํ นาจควบคุมโรงบรรจุแก๊สดังกล่าว และให้ บริ ษทั ฯ พิจารณา ค่าความนิยมทีเกิดจากการซื) อบริ ษทั ย่อยทีซื) อมาในปี 2547 โดยให้นาํ ส่ งงบการเงินทีแก้ไขและผ่าน การตรวจสอบโดยผูส้ อบบัญชีต่อ ก.ล.ต. ภายในวันที 13 พฤษภาคม 2548 ซึ ง บริ ษทั ปิ คนิคฯ ได้ ชี) แจงว่า ไม่ได้มีอาํ นาจควบคุมโรงบรรจุแก๊ส จึงมีความเห็นว่าไม่จาํ เป็ นต้องจัดทํางบการเงิ น รวม สําหรับค่าความนิยมทีแสดงในบัญชี บริ ษทั ฯ ก็มีความเห็นว่ายังไม่สมควรมีการด้อยค่า ก.ล.ต. ได้ตรวจสอบข้อเท็จจริ งต่า ง ๆ เพิมเติมแล้ว พบว่า โรงบรรจุแก๊ สหลายแห่ ง มี ความสัมพันธ์กบั บริ ษทั ฯ ใกล้ชิดเป็ นพิเศษ โดยบางแห่ งผูท้ ีถือหุ ้นทั)งหมดหรื อเกือบทั)งหมดเป็ น พนักงานในบริ ษทั ยูเนียนแก๊ส แอนด์ เคมิคลั ส์ จํากัด ซึงเป็ นของครอบครัวผูบ้ ริ หาร บริ ษทั ปิ คนิคฯ และบางแห่ งผูท้ ีเป็ นกรรมการ และผูม้ ีอาํ นาจลงนามทั)งหมดหรื อเกื อบทั)งหมด ก็เป็ นพนักงานใน บริ ษทั ดังกล่าวด้วยการทีบริ ษทั ปิ คนิคฯ ทําธุ รกิจกับโรงบรรจุแก๊สเหล่านี) มีประเด็นพิจารณา ดังนี) 1. ได้มีการเปลียนวิธีการให้โรงบรรจุแก๊สใช้ถงั แก๊ส จากเดิมทีโรงบรรจุแก๊สเคยจ่ายเพียง ค่ามัดจําถังแก่บริ ษทั ฯ และสามารถใช้ประโยชน์จากถังแก๊สได้โดยไม่มีกาํ หนดเวลา เปลียนเป็ นให้โรงบรรจุแก๊สทําสัญญาเช่าถัง 3 ปี แต่ยงั คงจ่ายค่าเช่ารวมเป็ นจํานวนที ใกล้เคียงกับเงินค่ามัดจําเดิม ซึ งการเปลียนแปลงสัญญาดังกล่าว ทําให้โรงบรรจุแก๊ส ต้องบันทึกค่าเช่ าเป็ นค่าใช้จ่าย ในขณะทีบริ ษทั ปิ คนิ คฯ สามารถบันทึกค่าเช่ าเป็ น รายได้ในจํานวนเงินเท่ากันคือ 178 ล้านบาทในปี 2547
53 2. ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั ปิ คนิ คฯ รายหนึ งมีการจ่ายเงิ นเข้าบัญชี ของโรงบรรจุแก๊สใน ระหว่างปี 2547 เป็ นจํานวนมาก โดยบางรายการเป็ นการจ่ายให้แก่โรงบรรจุแก๊สเพือ นําไปจ่ายค่าเช่าถังแก่บริ ษทั ปิ คนิคฯ 3. บริ ษทั ฯ ขายแก๊สให้แก่โรงบรรจุแก๊สทีมีความใกล้ชิดเป็ นพิเศษนี)ในราคาขายต่อหน่วย ทีสู งกว่าราคาทีขายให้แก่โรงบรรจุแก๊สอืน โดยโรงบรรจุแก๊สเหล่ านี) ซ)ื อแก๊สเป็ น จํานวนเงินประมาณ 1,700 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 48 ของยอดขายแก๊สของบริ ษทั ปิ คนิคฯ หลังจากที ก.ล.ต. พิจารณาเอกสารหลักฐานต่าง ๆ และคําชี) แจงของบริ ษทั ปิ คนิคฯ จึงสัง การดังนี) 1. ให้ผสู้ อบบัญชีตรวจสอบเป็ นกรณี พิเศษ (Special audit) รายการทั)งหมดที บริ ษทั ฯ ทํา กับโรงบรรจุแก๊ส 10 แห่ งดังกล่าวรวมทั)งแห่ งอืน ๆ ทีมีความสัมพันธ์ใกล้ชิด เพือให้ มันใจว่า การแสดงข้อมูลในงบการเงิ นบริ ษทั ฯ เป็ นไปโดยถูกต้อง ไม่เกิ ดความ คลุมเครื อไม่ชดั เจนและกระทบต่อการตัดสิ นในการลงทุนของผูล้ งทุน พร้อมทั)งขอให้ คณะกรรมการตรวจสอบของบริ ษทั ปิ คนิคฯ ทุกท่านช่วยดูแลประเด็นนี)ให้รอบคอบ ด้วย 2. เนืองจากเนื) อหาของการให้เช่าถังแก๊สตามสัญญาเช่า ไม่ต่างจากการทีบริ ษทั ฯ รับเงิน มัดจําค่าถังในอดีต ซึ งเมือครบ 3 ปี แล้วบริ ษทั ฯ ยังคงให้โรงบรรจุแก๊สใช้ถงั ได้ต่อไป โดยไม่เก็บค่าเช่า จึงให้บริ ษทั ฯ แก้ไขงบการเงินปี 2547 โดยบันทึกการให้เช่าถังแก๊ส เหมือนเงินมัดจําตามเดิม สําหรับผลกระทบต่อกําไรปี 2547 ของบริ ษทั ฯ นั)นจะลดลง ทันทีประมาณ 178 ล้านบาทจากการปรับ ปรุ งรายการค่ าเช่ า และผลกระทบอาจมี มากกว่านี) ขึ)นอยูก่ บั ผลการตรวจสอบพิเศษของผูส้ อบบัญชี ทั)งนี) ให้บริ ษทั ฯ นําส่ ง รายงานการตรวจสอบกรณี พิเศษตามข้อ 1 และงบการเงินปี 2547 ทีแก้ไขตามข้อ 1 (หากมี) และข้อ 2 ภายใน 45 วัน (27 มิถุนายน 2548) และในการเผยแพร่ งบการเงินปี 2547 ต้องเผยแพร่ รายงานการตรวจสอบเป็ นกรณี พิเศษควบคู่กนั ไปด้วย เพือให้ผู้ ลงทุนได้รับข้อมูลทีครบถ้วน
54 3. สําหรับเรื องค่าความนิ ยมทีเกิดจากการซื) อบริ ษทั ย่อย 2 แห่ ง ในปี 2547 มูลค่า 1,049 ล้านบาท นั)น เนื องจากปรากฏข้อเท็จจริ งภายหลัง วันทีซื) อบางประการที แสดงว่า เหตุการณ์ไม่เป็ นไปตามสมมติฐานทีทําไว้ก่อนตัดสิ นใจซื) อ เช่น ความสามารถในการ ทํากําไรจากธุ รกิจปกติ และการควบคุมต้นทุน ดังนั)น จึงให้บริ ษทั ปิ คนิคฯ จัดให้มีที ปรึ กษาทางการเงินรายใหม่จดั ทําประมาณการมูลค่าของบริ ษทั ย่อยทั)ง 2 แห่ งอีกครั)ง หนึ ง ทั)งนี) หากปรากฏว่า มูลค่าทีประมาณการใหม่น้อยกว่ามูลค่าทีบันทึกบัญชี อยู่ อย่างมี นัยสําคัญบริ ษทั ปิ คนิ ค ฯ ก็จะต้องบันทึกบัญชี ด้อยค่ าสําหรั บค่าความนิ ย ม ดังกล่าวในงบการเงินงวดไตรมาสที 1 ปี 2548 การตรวจสอบโดยผู้สอบบัญชี ผูส้ อบบัญ ชี รั บ อนุ ญ าตได้ใ ห้ค วามเห็ น ต่ อรายงานทางการเงิ น ของบริ ษ ัท ปิ คนิ ค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) สําหรับปี สิ) นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2547 ของผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต (ก่อน ทําการปรับปรุ งแก้ไขงบการเงิน) ว่างบการเงินถูกต้องตามทีควรในสาระสําคัญ และให้ขอ้ สังเกต เพิมเติมเกียวกับรายได้ค่าเช่าถังบรรจุก๊าซ โดยมีมูลค่าค่าเช่าตามสัญญารวมประมาณ 900 ล้านบาท ค่าเช่ารับจากลูกค้าดลุ่มนี)ในปี 2548 เป็ นจํานวนเงินประมาณ 178 ล้านบาท ซึงกําไรจากธุรกิจค้าก๊าซ ของบริ ษทั ฯสําหรับปี สิ) นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2547 ส่ วนใหญ่มาจากรายได้จากการขายก๊าซและ รายได้ค่าเช่าถังบรรจุก๊าซกับลูกค้าโรงบรรจุก๊าซดังกล่าว จากการตรวจสอบบัญชี ของผูส้ อบบัญชี รับอนุ ญาตของบริ ษทั ฯ สําหรับปี สิ) นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2547 ไม่พบการทุจริ ตเพราะ การตรวจสอบบัญชีเป็ นการตรวจสอบเพือแสดงความเชือมัน อย่างมีเหตุผลว่างบการเงินโดยรวมไม่แสดงข้อมูลขัดต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสําคัญ ซึ งอาจมี ข้อจํากัดต่าง ๆ เช่น 1. การใช้วธิ ีทดสอบรายการ 2. ข้อจํากัดในด้านระบบบัญชี และระบบการควบคุมภายใน ตัวอย่างเช่น การสมรู้ร่วมคิด ในการทุจริ ต 3. หลักฐานการสอบบัญชีส่วนใหญ่ตอ้ งใช้ดุลยพินิจอย่างมีเหตุผลในการพิจารณาความ เชือถือได้มากกว่าทีเป็ นหลักฐานทีให้ขอ้ สรุ ปได้ในตัวเอง
55 4. การรวบรวมหลักฐานการสอบบัญชี ตัวอย่างเช่ น การตัดสิ นใจกําหนดลักษณะงาน ระยะเวลา และขอบเขตวิธีการตรวจสอบ มาตรฐานการสอบบัญชี ฉบับ ที 82 ของสมาคมผูส้ อบบัญ ชี รับ อนุ ญาตแห่ ง ประเทศ สหรัฐอเมริ กา (American Institute Certified of Public Accountant : AICPA) ซึ งออกมาในปี พ.ศ. 2540 ได้คาํ นึงถึงบทบาทของผูส้ อบบัญชีในการตรวจสอบการทุจริ ต จึงได้ระบุชดั เจนว่า การตรวจ พบสิ งทีไม่ถูกต้องในงบการเงินซึงมีสาระสําคัญ ถือเป็ นหัวใจของการตรวจสอบ และถือเป็ นหน้าที สําคัญของผูส้ อบบัญชีทีต้องประเมินความเสี ยงของข้อผิดพลาดทีอาจเกิดจากการทุจริ ต รวมถึงการ ระบุปัจจัยต่าง ๆ ทีผูส้ อบบัญชี ควรให้ความสําคัญโดยเริ มตั)งแต่วางแผนการตรวจสอบ ตลอดจน ระบุถึงการรวบรวมหลักฐาน การจัดทําเอกสาร และรายงานผลในทางปฏิบตั ิ การตรวจพบการทุจริ ตสําหรับผูส้ อบบัญชีจึงไม่สามารถกระทําได้โดยง่าย เพราะการทุจริ ต เป็ นสิ งทีเกิดจากความตั)งใจของผูก้ ระทํา จึงมีความรอบคอบและแนบเนียนพอสมควร ประกอบกับ การทํา ทุ จ ริ ค มัก จะเกิ ด จากความร่ ว มมื อ ของหลาย ๆ ฝ่ ายที มี เ จตนาจะทํา ร่ ว มกัน ดัง นั)น การ ตรวจสอบเพือค้น หาการทุ จริ ตที เกิ ดจากความตั)ง ใจนั)น ผูส้ อบบัญชี ต้องอาศัย ความชํา นาญใน วิชาชี พประกอบกับความสามารถพิเศษเฉพาะด้านเพือการค้นหา หรื ออาจต้องอาศัยความร่ วมมือ จากผูท้ ีมีความรู้เพือการตรวจสอบการทุจริ ตโดยเฉพาะ
56 งบการเงินของบริษัท ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) บริ ษัท ปิ คนิค คอร์ปอเรชัน6 จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื6อ "บริษัท ปิ คนิคแก๊ ส แอนด์ เอ็นจิเนียริ6ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย") งบกําไรขาดทุน สําหรับปี สิ +นสุดวันที6 31 ธันวาคม 2547 และ 2546 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ 2547 2546 รายได้ รายได้ จากการขายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว รายได้ จากการขายนํ +ามันปิ โตรเลียม รายได้ จากงานติดตังและบริ + การ รายได้ คา่ เช่าถังบรรจุก๊าซ รายได้ อื6น ดอกเบี +ยรับ กําไรจากการขายสินทรัพย์ กําไรจากการงดสิทธิในการเรียกร้ องหนี + กําไรจากการขายเงินลงทุน โอนกลับค่าเผื6อหนี +สงสัยจะสูญ อื6น ๆ ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนตามวิธีสว่ นได้ เสีย รวมรายได้ ค่าใช้ จ่าย ต้ นทุนขายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว ต้ นทุนขายนํ +ามันปิ โตรเลียม ต้ นทุนงานติดตังและบริ + การ ค่าใช้ จ่ายในการขายและบริหาร ค่าตอบแทนกรรมการ ส่วนแบ่งในผลขาดทุนจากเงินลงทุนตามวิธีสว่ นได้ เสีย รวมค่าใช้ จา่ ย กําไรก่อนดอกเบี +ยจ่ายและภาษี เงินได้ ดอกเบี +ยจ่าย ภาษีเงินได้ นิติบคุ คล กําไรก่อนส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้ อย ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้ อย กําไรสุทธิสําหรับปี
18
19 8
20
22
งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ 2547 2546
5,160,403,352 397,330,882 1,465,528,840 178,440,072
2,094,540,350 269,197,498 -
3,541,155,164 397,330,882 1,465,528,840 178,440,072
2,094,540,350 239,470,893 -
37,184,044 23,272,913 41,410,229 519,134 7,988,136 38,442,258 7,350,519,860
16,972,141 30,060,684 28,876,440 9,982,343 2,449,629,456
58,529,272 28,281,659 519,134 2,055,243 17,123,178 46,904,083 5,735,867,527
17,130,523 30,060,684 28,876,440 9,947,054 2,420,025,944
4,593,172,220 382,521,325 1,107,001,816 247,427,676 1,530,000 6,331,653,037 1,018,866,823 (143,613,033) (139,876,267) 735,377,523 735,377,523
1,856,575,736 207,982,381 85,849,635 130,000 2,150,537,752 299,091,704 (33,705,871) 265,385,833 82 265,385,915
3,111,993,812 382,521,325 1,107,001,816 132,101,327 1,530,000 4,735,148,280 1,000,719,247 (148,897,449) (116,444,275) 735,377,523 735,377,523
1,856,575,736 177,479,058 82,928,652 130,000 3,820,712 2,120,934,158 299,091,786 (33,705,871) 265,385,915 265,385,915
ภาพที 4.1 งบกําไรขาดทุนก่อนที ก.ล.ต. ให้ ทาํ การปรับปรุ ง แหล่งทีมา : สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย. (2554). งบการเงิน. ค้นเมือวันที 16 ธันวาคม 2554. จาก http://www.sec.or.th
57 บริ ษทั ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย (เดิมชือ "บริ ษทั ปิ คนิคแก๊ส แอนด์ เอ็นจิเนียริ ง จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ย่อย") งบดุล ณ วันที 31 ธันวาคม 2547 และ 2546 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ 2547 2546 สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี)การค้าและตัวe เงินรับ - ธุ รกิจพลังงาน ลูกหนี)การค้าและตัวe เงินรับ - ธุ รกิจให้บริ การรับเหมา รายได้ทียังไม่ถึงกําหนดชําระ หัก : ค่าเผือหนี)สงสัยจะสู ญ ลูกหนี)การค้าและรายได้ทียังไม่ถึงกําหนดชําระ - สุ ทธิ ลูกหนี)กิจการทีเกียวข้องกัน - สุ ทธิ เงินให้กยู้ ืมระยะสั)นแก่กิจการทีเกียวข้องกัน สิ นค้าคงเหลือ - สุ ทธิ สิ นทรัพย์หมุนเวียนอืน ภาษีมูลค่าเพิมค้างรับ ลูกหนี)อืน ดอกเบี)ยค้างรับจากกิจการทีเกียวข้องกัน อืน ๆ รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียน สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากธนาคารทีติดภาระคํ)าประกัน เงินคํ)าประกัน เงินลงทุนซึงบันทึกโดยวิธีส่วนได้เสี ย เงินให้กยู้ ืมระยะยาวแก่กิจการทีเกียวข้องกัน ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุ ทธิ ค่าความนิยม - สุ ทธิ เครื องหมายการค้า - สุ ทธิ สิ ทธิในการใช้เครื องหมายการค้า - สุ ทธิ สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน เงินมัดจําค่าซื)อถังบรรจุก๊าซ เงินมัดจําค่าซื)อทีดิน อืน ๆ รวมสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสิ นทรัพย์
งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ 2547 2546
978,381,926 1,203,289,878 417,392,585 793,271,516 (37,599,810) 2,376,354,169 436,078,333
1,248,646,615 703,603,983 187,330,042 169,027,343 (45,292,403) 1,014,668,965 18,520,958
688,624,460 637,875,862 417,392,585 793,271,516 (3,022,058) 1,845,517,905 4,185,924 959,500,415 365,176,048
1,243,998,043 703,603,983 184,689,969 165,701,462 (45,292,403) 1,008,703,011 15,294,081 18,520,958
5
269,204,595 32,690,767 30,560,034 4,123,269,824
92,451,209 14,844,211 2,389,131,958
253,705,904 27,590,997 22,176,346 16,721,073 4,183,199,072
92,451,209 13,932,146 2,392,899,448
7 28.6 8 5 9 8 5 1
208,577,009 31,050,438 5,247,981,057 1,020,426,879 273,698,630 95,812,785
177,622,820 31,050,438 1,334,465,795 288,708,960 -
206,874,700 31,050,438 1,780,226,287 300,000,000 3,393,689,969 273,698,630 95,812,785
174,445,234 31,050,438 1,480,866 1,334,325,354 288,708,960 -
10 11
1,221,729,395 565,000,000 20,922,708 8,685,198,901 12,808,468,725
259,056,144 12,890,318 2,103,794,475 4,492,926,433
917,870,741 565,000,000 11,318,501 7,575,542,051 11,758,741,123
259,056,144 12,571,520 2,101,638,516 4,494,537,964
4 4 4 4 4 5 5 6
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึงของงบการเงินนี)
ภาพที 4.2 งบดุล (บางส่ วน) ก่อนที ก.ล.ต. ให้ ทาํ การปรับปรุ ง แหล่งทีมา : สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย. (2554). งบการเงิน. ค้นเมือวันที 16 ธันวาคม 2554. จาก http://www.sec.or.th
58 บริษัท ปิ คนิค คอร์ปอเรชัน6 จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื6อ "บริษัท ปิ คนิคแก๊ ส แอนด์ เอ็นจิเนียริ6ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย") งบดุล (ต่อ) ณ วันที6 31 ธันวาคม 2547 และ 2546 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ 2547 2546 หนี +สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี +สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั + นการเงิน ตัวD สัญญาใช้ เงิน เจ้ าหนี +การค้ าและตัวD เงินจ่าย - ธุรกิจพลังงาน เจ้ าหนี +การค้ าและตัวD เงินจ่าย - ธุรกิจให้ บริ การรับเหมา เจ้ าหนี +ค่าถังบรรจุก๊าซ เงินกู้ยืมระยะยาวที6ถงึ กําหนดชําระภายในหนึ6งปี หนี +สินระยะยาวที6ถึงกําหนดชําระภายในหนึง6 ปี หนี +สินหมุนเวียนอืน6 เงินล่วงหน้ าจากลูกค้ า ดอกเบี +ยค้ างจ่าย ภาษีเงินได้ นิตบิ คุ คลค้ างจ่าย อืน6 ๆ รวมหนี +สินหมุนเวียน หนี +สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วนที6ถึงกําหนดชําระภายในหนึ6งปี เงินมัดจําถังบรรจุก๊าซ ค่าเผื6อต้ นทุนงานติดตังที + 6อาจเกิดขึ +น สํารองเผื6อผลขาดทุนจากเงินลงทุนตามวิธีสว่ นได้ เสีย รวมหนี +สินไม่หมุนเวียน รวมหนี +สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรื อนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 1,500 ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท (2546 : หุ้นสามัญ 150 ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 5 บาท) ทุนออกจําหน่ายและชําระเต็มมูลค่าแล้ ว หุ้นสามัญ 1,296,182,900 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท (2546 : หุ้นสามัญ 120 ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 5 บาท) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ เงินรับล่วงหน้ าค่าหุ้นสามัญ ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินต่างประเทศ กําไรสะสม จัดสรรแล้ ว - สํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้ จดั สรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี +สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
12 13
14 15
14
8
งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ 2547 2546
3,369,476,714 769,990,480 1,000,676,114 514,921,542 159,216,671 240,783,390 13,968,017
1,521,169,523 128,000,000 262,839,220 87,963,091 7,863,221 13,968,017
3,336,434,267 769,990,480 699,791,501 514,921,542 118,842,932 226,440,000 13,968,017
1,521,169,523 128,000,000 262,839,220 87,963,091 7,863,221 13,968,017
100,908,725 2,554,352 113,797,351 64,546,963 6,350,840,319
89,256,698 13,414,350 2,124,474,120
100,894,992 2,176,672 91,374,431 29,096,887 5,903,931,721
89,256,698 13,330,021 2,124,389,791
1,289,811,403 1,118,894,638 2,408,706,041 8,759,546,360
531,967,954 725,606 532,693,560 2,657,167,680
1,214,250,810 589,977,844 1,658,383 1,805,887,037 7,709,818,758
531,967,954 725,606 1,695,860 534,389,420 2,658,779,211
1,500,000,000
750,000,000
1,500,000,000
750,000,000
1,296,182,900 1,334,075,540 532,478,431 (950,782)
600,000,000 964,000,000 -
1,296,182,900 1,334,075,540 532,478,431 (950,782)
600,000,000 964,000,000 -
58,930,000 828,206,276 4,048,922,365 12,808,468,725
22,160,000 249,598,753 1,835,758,753 4,492,926,433
58,930,000 828,206,276 4,048,922,365 11,758,741,123
22,160,000 249,598,753 1,835,758,753 4,494,537,964
16
16 16
21
ภาพที 4.3 งบดุล (บางส่ วน) ก่อนที ก.ล.ต. ให้ ทาํ การปรับปรุ ง แหล่งทีมา : สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย. (2554). งบการเงิน. ค้นเมือวันที 16 ธันวาคม 2554. จาก http://www.sec.or.th
59 บริ ษัท ปิ คนิค คอร์ปอเรชัน6 จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื6อ "บริษัท ปิ คนิคแก๊ ส แอนด์ เอ็นจิเนียริ6ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย") งบกระแสเงินสด สําหรับปี สิ +นสุดวันที6 31 ธันวาคม 2547 และ 2546 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม 2547 2546 กระแสเงินสดจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน กําไรสุทธิสําหรับปี 735,377,523 265,385,915 ปรับกระทบผลกําไรสุทธิเป็ นเงินสดรับจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้ อย (82) ค่าเสื6อมราคาและตัดจําหน่าย 131,410,464 42,121,397 โอนกลับค่าเผื6อหนี +สงสัยจะสูญ (12,709,692) (28,876,440) ดอกเบี +ยตัดจ่าย 86,635,770 14,545,204 ค่าความนิยมตัดจําหน่าย 28,625,135 กําไรจากการงดสิทธิในการเรี ยกร้ องหนี + (38,442,258) (4,019,904) โอนกลับค่าเผื6อสินค้ าล้ าสมัย (1,610,431) กําไรจากการขายสินทรัพย์ถาวร (23,272,913) (6,676) โอนกลับสํารองเผื6อต้ นทุนที6อาจเกิดขึ +น (725,606) (7,751,221) กําไรจากการขายเงินลงทุนในหุ้นทุน (519,134) (30,060,684) ส่วนแบ่งขาดทุน (กําไร) จากการลงทุนตามวิธีส่วนได้ เสีย 906,379,289 249,727,078 สินทรัพย์ดําเนินงานลดลง (เพิ6มขึ +น) ลูกหนี +การค้ าและตัวD เงินรับ - ธุรกิจพลังงาน (45,838,361) (100,391,879) ลูกหนี +การค้ าและตัวD เงินรับ - ธุรกิจให้ บริ การรับเหมา (231,011,397) (663,294,348) รายได้ ที6ยงั ไม่ถึงกําหนดชําระ (624,244,173) (46,275,588) ลูกหนี +กิจการที6เกี6ยวข้ องกัน สินค้ าคงเหลือ (371,393,224) (16,620,807) ภาษีมลู ค่าเพิ6มค้ างรับ (173,533,333) (78,589,703) ดอกเบี +ยค้ างรับจากกิจการที6เกี6ยวข้ องกัน สินทรัพย์หมุนเวียนอื6น (35,886,205) (14,191,050) เงินคํ +าประกัน (31,050,438) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื6น 996,564 (2,797,883) หนี +สินดําเนินงานเพิ6มขึ +น (ลดลง) เจ้ าหนี +การค้ าและตัวD เงินจ่าย - ธุรกิจพลังงาน 446,207,836 81,328,477 เจ้ าหนี +การค้ าและตัวD เงินจ่าย - ธุรกิจให้ บริการรับเหมา 438,066,608 262,839,220 เจ้ าหนี +ค่าถังบรรจุก๊าซ 151,353,450 7,863,221 เงินล่วงหน้ าจากลูกค้ า 11,636,881 65,834,134 ดอกเบี +ยค้ างจ่าย 2,554,352 ภาษีเงินได้ นิตบิ คุ คลค้ างจ่าย 113,797,351 หนี +สินหมุนเวียนอื6น 11,715,755 12,007,109 เงินมัดจําถังบรรจุก๊าซ 98,432,460 531,967,954 กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน 699,233,853 258,355,497
งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ 2547 2546 735,377,523
265,385,915
114,444,572 (2,055,243) 86,635,770 (28,281,659) (725,606) (519,134) (46,904,083) 857,972,140
42,094,628 (28,876,440) 14,545,204 (4,019,904) (1,610,431) (6,676) (7,751,221) (30,060,684) 3,820,712 253,521,103
65,728,121 (272,917,718) (627,570,054) 11,108,157 (346,655,090) (161,254,695) (22,176,346) (30,379,924) (109,280)
(100,391,879) (660,654,276) (42,949,707) (10,857,779) (16,620,807) (78,599,920) (12,905,611) (31,050,438) (2,885,481)
436,952,281 426,958,451 110,979,711 11,638,294 2,176,672 91,374,431 15,766,866 58,009,890 627,601,907
81,352,776 262,839,220 7,863,221 65,834,134 12,384,330 531,967,954 258,846,840
ภาพที 4.4 งบกระแสเงินสด (บางส่ วน) ก่อนที ก.ล.ต. ให้ ทาํ การปรับปรุ ง แหล่งทีมา : สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย. (2554). งบการเงิน. ค้นเมือวันที 16 ธันวาคม 2554. จาก http://www.sec.or.th
60 การตรวจสอบโดยใช้ บัญชีนิตเวช จากการที ก.ล.ต. ได้มีคาํ สังให้มีผูส้ อบบัญชี ตรวจสอบเป็ นกรณี พิเศษ (Special audit) สํา หรับ งบการเงิ นที ต้องปรั บปรุ ง ใหม่ ข องบริ ษทั ปิ คนิ ค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ซึ งการ ตรวจสอบเป็ นกรณี พิเศษในประเทศไทยเป็ นการตรวจสอบทีนําหลักการของบัญชีนิติเวชมาใช้ใน การตรวจสอบ โดยทําการตรวจสอบพิเศษในประเด็นสําคัญที ก.ล.ต. ได้กาํ หนดไว้ขา้ งต้น สําหรับ การตรวจสอบของนักบัญชีนิติเวชจะไม่เพียงแต่ตรวจสอบกรณี ดงั กล่าวตามที ก.ล.ต. กําหนดแต่ยงั สามารถสื บสวนการทุจริ ตทีเกิดขึ)นในประเด็นต่าง ๆ โดยมีข) นั ตอนการปฏิบตั ิงานดังต่อไปนี) 1. การรับรู้ปัญหา (Problem Recognition) โดยปัญหาทีเกิดขึ)นของปิ คนิคนั)นเกิดจากการที ผูส้ อบบัญชี รับอนุ ญาตได้ให้ขอ้ สังเกตเกี ยวกับรายได้ค่าเช่ าถังบรรจุก๊าซกับกลุ่มโรง บรรจุก๊าซในรายงานทางการเงิ นสําหรับปี สิ) นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2547 และการ ตรวจสอบรายละเอียดเพิมเติมในเชิงลึกของ ก.ล.ต. ทีพบความผิดปกติ 2. การรวบรวมหลักฐาน (Evidence Collection) โดยทําการรวบรวมหลักฐานจากข้อมูลที ผูส้ อบบัญชี มีโดยอาศัยความร่ วมกับผูส้ อบบัญชี และการตรวจสอบเอกสารหลักฐาน และติดร่ องรอยการทุจริ ต และจากการสัมภาษณ์ 3. การประเมินหลักฐาน (Evidence Evaluation) โดยทําการประเมินหลักฐานทีได้จากการ รวบรวมซึ งมีหลายแง่ประเด็น โดยตั)งข้อสังเกตหรื อข้อสงสัยในเชิงลบจากหลักฐานที พบ หรื อจากประเด็นทีไม่สามารถตรวจพบหลักฐานได้ซึงแบ่งออกเป็ นประเด็นต่าง ๆ ดังต่อไปนี) 3.1 ประเด็นสําคัญที ก.ล.ต. ได้กาํ หนดให้ตรวจสอบ 3.1.1 ทําการปรับปรุ งรายได้ค่าเช่ าถังบรรจุก๊าซจํานวน 178,440,072 บาท จาก กลุ่มบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซ 10 แห่ ง ให้เป็ นเงินมัดจํารับ เนืองจากหลักฐาน ที กลต.ได้จากการตรวจสอบเชิ งลึกแสดงว่าบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซดังกล่าว มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับปิ คนิ ค และมีเงินทีบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซได้รับ จากผูบ้ ริ หารของปิ คนิ คเป็ นจํานวนมากจึงไม่ควรถือเป็ นรายได้ทีได้จาก
61 ตนเองจึงต้องทําการปรับปรุ งรายการดังกล่ า วส่ งผลให้รายได้ค่า เช่ าถัง บรรจุก๊าซลดลงทั)งจํานวน และมีหนี) สินจากเงินมัดจําค่าเช่ าถังบรรจุก๊าซ เพิมขึ)น 3.1.2 ผูส้ อบบัญชี ก รณี พิ เศษมิ ไ ด้ท าํ การปรั บ ปรุ ง ค่ า ความนิ ย มที เกิ ด ขึ) น จาก กิจการย่อยทั)งสองแห่ ง เนื องจากปิ คนิ คจัดให้มีทีปรึ กษาทางการเงินเพือ จัดทําประมาณการมูลค่าของบริ ษทั ย่อยทีได้ซ)ื อมาในปี 2547 ตามรายงาน ของทีปรึ กษาทางการเงินลงวันที 13 มิถุนายน 2548 มูลค่าของบริ ษทั ย่อย ดังกล่าวมีจาํ นวนสู งกว่ามูลค่าตามบัญชี จึงพิจารณาว่าไม่มีการด้อยค่าของ ค่าความนิยม 3.2 ประเด็นทีได้จากการรวบรวมหลักฐาน 3.2.1 ค่ า ความนิ ย มที เกิ ด จากการซื) อ บริ ษ ัท ย่อ ยทั)ง สองแห่ ง ที ใช้เ งิ น ลงทุ น จํานวน 1,020,426,879 บาท ซึ งในการซื) อมีการคาดการณ์วา่ บริ ษทั ทย่อย จะสามารถสร้างรายได้และกําไรให้กบั บริ ษทั ดีข) ึน แต่ผลการดําเนินงานที ออกมาไม่ ได้ดีข) ึ น ซึ งหมายความว่าบริ ษ ทั ปิ คนิ ค ฯ ยอมจ่ ายเงิ นซื) อใน ราคาที แพงมาก จึ ง มี ป ระเด็ น เกิ ด ขึ) น ว่ า กลุ่ ม ผู้ถื อ หุ ้ น ในบริ ษ ัท ย่ อ ยมี ความสัมพันธ์และเชือมโยงกับบริ ษทั ปิ คนิคฯ หรื อไม่ ถ้าหากเชือมโยงกัน ก็สามารถสันนิษฐานได้วา่ มีการผ่องถ่ายผลประโยชน์ออกจากปิ คนิคฯ 3.2.2 การขายก๊าซให้กบั โรงบรรจุก๊าซในระหว่างปี 2547 บริ ษทั ฯ ขายก๊าซให้ กลุ่มบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซซึ งมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดจํานวน 18 แห่ ง เป็ น จํานวนรวมประมาณ 2,400 ล้านบาท ราคาขายต่อหน่วยทีบริ ษทั ปิ คนิคฯ คิดจากบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซเหล่านี)สูงกว่าราคาขายทีขายให้กบั ลูกค้าทัวไป ร้อยละ 16 ถึง 19 โดยฝ่ ายบริ หารของบริ ษทั ปิ คนิคฯ ให้เหตุผลของการ ขายในราคาสู งเช่นนั)นว่าเกิ ดจากการให้เงือนไขการชําระเงินทีผ่อนปรน กับ บริ ษ ทั โรงบรรจุ ก๊า ซเหล่ า นั)น (กล่ า วคื อบริ ษ ทั โรงบรรจุ ก๊า ซได้รั บ เงือนไขการชําระเงิน 90 วันแทนเงือนไขการชําระเงิน 10 วันทีผูซ้ )ื อราย อืนได้รับ ) และเนื องจากถัง บรรจุ ก๊า ซที โรงบรรจุ ก๊ าซได้รับ จากบริ ษ ทั
62 ปิ คนิ คฯ มีสภาพใหม่ อย่างไรก็ตามรายการขายก๊าซของบริ ษทั โรงบรรจุ ก๊าซให้กบั ร้านค้าย่อยจํานวนไม่น้อยมีราคาขายตํากว่าราคาทีซื) อมาจาก บริ ษทั ปิ คนิคฯ นอกจากนี) ยงั พบว่าบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซบางแห่ งสามารถ ซื) อก๊าซชนิ ดเดียวกันจากผูข้ ายก๊าซรายอืนได้ในราคาทีตํากว่าราคาทีซื) อ จากบริ ษทั ปิ คนิ คฯมาก ซึ งหากบริ ษทั ปิ คนิ คฯ ขายก๊าซให้กบั บริ ษทั โรง บรรจุก๊าซดังกล่าวในระดับราคาเดียวกับทีขายให้ลูกค้าทัวไปแล้ว อาจทํา ให้ปิ คนิ ค มี ร ายได้ล ดลงเป็ นจํา นวนประมาณ 372 ล้า นบาทในปี 2547 กลุ่มโรงบรรจุก๊าซดังกล่ าวทําธุ รกรรมอันมีผลเป็ นการสร้างกําไรให้แก่ บริ ษัท ปิ คนิ ค ฯ ในขณะที บริ ษัท โรงบรรจุ ก๊ า ซขาดทุ น อัน เป็ นการ บิดเบือนทีกระทบต่อความถูกต้องของงบการเงิ นของบริ ษทั ฯแต่ขอ้ มูล ดัง กล่ า วไม่ ส ามารถชี) ชัดได้ว่า มี ก ารสังการบริ ษ ทั โรงบรรจุ ก๊ า ซให้ท าํ ธุ รกรรมอันมีผลเป็ นการสร้ า งกําไรให้แก่ บริ ษทั ปิ คนิ คฯ เพือบิดเบือน ความถูกต้องของงบการเงินหรื อไม่ แต่การขายก๊าซให้กบั กลุ่มบริ ษทั โรง บรรจุ ก๊ า ซดัง กล่ า วเป็ นการขายในราคาที สู ง กว่ า ปกติ เ พื อให้ง บกํา ไร ขาดทุนสะท้อนผลการดําเนิ นงานประหนึ งบริ ษ ทั ฯ ได้ทาํ การขายก๊า ซ ให้กบั กลุ่มบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซในราคาและภายใต้เงือนไขการชําระเงิน เดียวกับทีขายให้กบั ลูกค้าทัวไป จึงได้ทาํ การปรับปรุ งงบการเงินปี 2547 เพิมเติมจากทีระบุในคําสัง กลต. โดยได้โอนส่ วนต่างของราคาขายข้างต้น จํานวนประมาณ 372 ล้านบาท (ซึ งเป็ นจํานวนทีประมาณบนพื)นฐานของ ข้อมูลทีรวบรวมได้) พร้อมทั)งค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ทีเกี ยวข้องจํานวน 50 ล้านบาท ออกจากงบกําไรขาดทุนไปบันทึกเป็ นส่ วนเกินทุนในส่ วนของผู้ ถื อหุ ้นในงบดุ ล โดยถื อว่า ส่ วนต่า งดัง กล่ า วเป็ นเงิ นสนับสนุ นที ปิ คนิ ค ได้รับ จากผูถ้ ื อหุ ้นผ่า นกลุ่ ม บริ ษ ทั โรงบรรจุ ก๊า ซ มี ผลทํา ให้ก าํ ไรสุ ท ธิ สําหรับปี 2547 ของปิ คนิคลดลงอีกจํานวน 322 ล้านบาท 3.2.3 การซื) อถังบรรจุก๊าซขนาดเล็กในระหว่างปี 2547 บริ ษทั ฯ ได้ซ)ื อถังบรรจุ ก๊าซขนาดเล็กจากบริ ษทั ผูผ้ ลิ ตแห่ งหนึ งเป็ นจํานวนเงิ นประมาณ 1,321 ล้า นบาท (เพื อส่ ง ให้บ ริ ษ ัท โรงบรรจุ ก๊ า ซทํา การบรรจุ ก๊ า ซขายให้ก ับ ร้ า นค้า ย่ อ ย) ซึ งรายการซื) อ ถัง ดัง กล่ า วได้ บ ัน ทึ ก เป็ นส่ ว นหนึ งของ สิ น ทรั พ ย์ถ าวรในงบดุ ล ของปิ คนิ ค ในการนี) ผู้ผ ลิ ต ถัง ได้ส่ ง มอบถัง
63 ทั)งหมดไปให้กบั บริ ษทั โรงบรรจุก๊าซโดยตรงโดยไม่ผ่านปิ คนิ ค โดยมี ตัวแทนของบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซเป็ นผูล้ งนามรับมอบถังเพือเป็ นหลักฐาน ให้แ ก่ ปิ คนิ ค ตรวจสอบพบว่า บริ ษ ัท ผู้ผ ลิ ต ถัง ดัง กล่ า วเป็ นบริ ษ ัท ที มี ความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซ เนื องด้วยมี ผูถ้ ือหุ ้นราย ใหญ่ แ ละ/หรื อ ผูบ้ ริ ห ารร่ ว มกัน และไม่ ป รากฏหลัก ฐานว่า บริ ษ ัท โรง บรรจุก๊าซได้มีการจัดทําเอกสารหลักฐานและทะเบียนคุมปริ มาณถังทีตน ส่ งให้กบั ร้านค้าย่อย เนื องจากข้อบกพร่ องในการควบคุมถังบรรจุก๊าซจึง ไม่สามารถทีจะทําการตรวจสอบได้จึงไม่ทราบได้อย่างแน่ชดั ว่าถังบรรจุ ก๊าซของปิ คนิคอยูท่ ีร้านค้าย่อยใดบ้าง และจํานวนเท่าใด และไม่สามารถ ตรวจสอบปริ ม าณของถัง บรรจุ ก๊า ซทีอยู่ใ นการควบคุ ม ของบริ ษทั โรง บรรจุก๊าซได้ 3.2.4 การซื)อถังบรรจุก๊าซขนาดใหญ่ในระหว่างปี 2547 บริ ษทั ฯได้เข้าทําสัญญา ซื) อถังบรรจุก๊า ซขนาดใหญ่ (เพือใช้เป็ นคลังเก็บก๊าซ) จากห้างหุ ้นส่ วน จํา กัด ที เป็ นคู่ ค ้า รายใหญ่ ร ายหนึ ง ปิ คนิ ค ได้ จ่ า ยเงิ น ไปเป็ นจํา นวน ประมาณ 852 ล้านบาท ซึ งบันทึกเป็ นสิ นทรัพย์ในงบดุลของปิ คนิค ซึ งคู่ ค้ารายนี) เป็ นบริ ษทั ทีมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซแห่ ง หนึง เนืองด้วยมีผลู้ งนามในสัญญากับปิ คนิคเป็ นกรรมการของบริ ษทั โรง บรรจุก๊าซ และคู่สัญญาได้ส่งมอบถังให้แก่ปิคนิครวมมูลค่าเพียง 160 ล้าน บาท ส่ วนทีเหลืออีกจํานวน 692 ล้านบาทยังถือเป็ นเงินมัดจําเนื องจาก ปิ คนิคยังไม่ได้รับถัง เนืองจากปิ คนิคไม่มีมาตรการป้ องกันความเสี ยงเพือ รองรับเหตุการณ์ในกรณี ทีคู่สัญญาไม่สามารถปฏิบตั ิตามสัญญาได้ ด้วย เหตุน) ีจึงมีโอกาสทีปิ คนิคจะได้รับความเสี ยหายจากสัญญานี)ได้ 3.2.5 การจ่ายเงินมัดจําค่าซื)อทีดินในปี 2547 ปิ คนิคได้เข้าทําสัญญาจะซื) อจะขาย ทีดินพร้อมสิ งปลูกสร้างกับบริ ษทั แห่ งหนึง โดยบริ ษทั นั)นตกลงขายทีดิน จํานวน 17 ไร่ 1 งาน 81 ตารางวา ตั)งอยู่ที ตําบลท้ายบ้าน อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ พร้อมสิ งปลูกสร้าง (ซึ งประกอบด้วยคลังนํ)ามัน ท่า เทียบเรื อ พร้อมใบอนุญาตจากกรมเจ้าท่า) ให้กบั ปิ คนิคในราคารวม 550 ล้านบาท โดยปิ คนิคได้จ่ายเงินมัดจําให้แก่บริ ษทั นี)ไปแล้วเป็ นจํานวน 350
64 ล้านบาท ซึ งแสดงอยู่ในบัญชี เงินมัดจําในงบดุลของปิ คนิ ค ส่ วนทีเหลื อ อีกจํานวน 200 ล้านบาทจะถึงกําหนดชําระเมือผูจ้ ะขายได้ทาํ การซ่ อมท่า เทียบเรื อแล้วเสร็ จ และเมือปิ คนิคได้รับใบอนุญาตให้สร้างคลังบรรจุก๊าซ และเข้าดําเนิ นการเกี ยวกับคลังบรรจุก๊าซและท่าเทียบเรื อแล้ว โดยผูจ้ ะ ขายตกลงจะดําเนินการโอนกรรรมสิ ทธิในทีดินเมือได้รับแจ้งจากปิ คนิค จากการทําสัญญาข้างต้นไม่มีรายงานความคืบหน้าเกียวกับโครงการซ่ อม ท่าเทียบเรื อและการขอใบอนุ ญาตสร้ างคลังบรรจุก๊าซตามเงื อนไขทีกําหนดใน สัญญา และ ยังไม่มีการดําเนิ นการโอนกรรมสิ ทธิ ในทีดินให้กบั ปิ คนิ ค ปิ คนิ คมี หลักประกันเพือประกันการปฏิบตั ิตามสัญญาจากบริ ษทั นั)นโดยการยึดโฉนดทีดิน ทีไม่ ได้ติดจํานองไว้ (แต่ไ ม่ได้จดจํานอง) จากข้อเท็จจริ งดังกล่ าวทําให้เกิ ดข้อ สงสัย ว่า คู่สัญญาจะสามารถปฏิ บ ตั ิ ตามเงื อนไขที กํา หนดในสัญญาดัง กล่ า วได้ หรื อไม่ และในกรณี ไม่สามารถปฏิบตั ิได้แล้วปิ คนิคจะได้รับคืนเงินมัดจําจํานวน 350 ล้านบาทนี)หรื อไม่ ซึ งในปั จจุบนั ได้รับชําระครบแล้วทั)ง 4 ฉบับโดยฉบับที 1 ลงวันที 30 มิถุนายน 2548 จํานวน 50 ล้านบาท ฉบับที 2 ลงวันที 30 กรกฎาคม 2548 จํานวน 100 ล้านบาท และฉบับที 3 ลงวันที 30 สิ งหาคม จํานวน 100 ล้านบาท และฉบับที 4 ลงวันที 30 กันยายน 2548 จํานวน 100 ล้านบาท 3.2.6 การดําเนินธุรกิจของบริ ษทั ฯ หลังจากที ก.ล.ต. ได้มีคาํ สังให้ปิคนิคทําการ แก้ไขงบการเงิ นและให้จดั ให้มีการตรวจสอบเป็ นกรณี พิเศษและอีกทั)ง หุ น้ ของปิ คนิคถูกตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยพักการซื)อขาย ซึงมีผล ต่อแผนการจัดหาแหล่ งเงิ นทุนด้วยการเพิมทุนและออกใบสําคัญแสดง สิ ทธิในตลาดทุน จําเป็ นต้องชลอไป ตามงบดุลรวมของปิ คนิคและบริ ษทั ย่อย ณ วันที 31 ธันวาคม 2547 มีหนี)สินหมุนเวียนจํานวน 6,456 ล้านบาท และสิ นทรัพย์หมุนเวียนจํานวน 4,623 ล้านบาท และตามงบดุลรวมของ ปิ คนิคและบริ ษทั ย่อย ณ วันที 31 มีนาคม 2548 ปิ คนิคมีหนี) สินหมุนเวียน จํานวน 6,965 ล้านบาท และสิ นทรัพย์หมุนเวียนจํานวน 4,584 ล้านบาท
65 3.2.7 รายได้จากการรั บ เหมาติ ดตั)ง ระบบในปี 2547 ปิ คนิ ค มีรายได้จากค่ า รับ เหมาติ ดตั)ง ซึ งคํา นวณจากความคื บหน้าของงานจากสัญญาที ทํา กับ บริ ษทั สองแห่ งซึ งจากข้อมูลของกลต.ทราบว่าเป็ นบริ ษทั ทีเกี ยวข้องกัน และบริ ษทั ทีมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับกลุ่มบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซ คิดเป็ น จํานวนเงิน 580 ล้านบาทและ 266 ล้านบาทตามลําดับซึ งได้มีการเปิ ดเผย ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5 แล้ว 3.2.8 เอกสารทางบัญชีของกลุ่มบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซทั)ง 10 แห่ง พบว่าทีมแผนก บัญชีของกลุ่มบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซตั)งอยูท่ ีบ้านของผูถ้ ือหุ ้นหลักของกลุ่ม บริ ษ ทั โรงบรรจุ ก๊ า ซ และมี ห น้า ที จัด ทํา บัญ ชี ต ามเอกสารที ได้รั บ จาก แผนกต่าง ๆ เท่านั)น โดยไม่ได้ทาํ การตรวจสอบและกระทบยอดระหว่าง เอกสารและรายการทีเกิ ดขึ)นไม่ได้รับความร่ วมมือในการส่ งใบแจ้งยอด บัญชีเงินฝากธนาคารจากกลุ่มโรงบรรจุก๊าซ 3.2.9 รายได้จากการขายก๊าซพบว่าบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซบางแห่ งได้ขายก๊าซให้ ลูกค้าบางราย และบางครั)งขายให้บริ ษทั โรงบรรจุก๊าซในกลุ่มบางรายใน ราคาตํากว่า ต้น ทุ น ที ซื) อ มาจากปิ คนิ ค อยู่ 2-3 บาทต่ อ กิ โ ลกรั ม แต่ ท าง บริ ษ ัท โรงบรรจุ ก๊ า ซได้แจ้ง ว่า ลู ก ค้า กลุ่ ม ดัง กล่ า วมี ค วามสัม พันธ์ และ เกื) อหนุ นมาแต่ เ ดิ ม กั บ ผู้ถื อ หุ ้ น รวมทั) งยัง ยอมรั บ ถั ง เก่ า ที ได้ รั บ มาตรฐาน ส่ วนกรณี การขายระหว่างบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซนั)น ให้เหตุผลว่า เป็ นการบริ หารสภาพคล่องและเป้ าหมายการตลาด ทางผูบ้ ริ หารยืนยันว่า ก า ร โ อ น ข า ย ก๊ า ซ ร ะ ห ว่ า ง กั น ไ ม่ มี ก า ร ข า ย ตํ า ก ว่ า ร า ค า ทุ น 3.2.10 ลายเซ็นของลูกค้าบนใบกํากับภาษีขายเป็ นลายเซ็นเดียวกัน แม้วา่ ชือลูกค้า บนใบกํา กับภาษี ขายจะเป็ นคนละชื อคนละทีอยู่ และใบกํากับ ภาษีขาย ของบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซบางแห่งไม่มีลายเซ็นผูร้ ับสิ นค้าเพือเป็ นหลักฐาน ในการเรี ยกเก็บหนี) แต่ประเด็นนี) ทางบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซแจงว่ามีลูกค้า บางรายทีไม่ตอ้ งการใบกํากับภาษีจึงให้ลูกค้าจัดหารายชือมาให้ จึงทําให้ เป็ นลายเซ็นเดียวแม้ลูกค้าจะต่างรายการกัน
66 3.2.11 การตัดบัญชีลูกหนี)การค้าหลังจากได้รับการชําระเงินแล้วส่ วนใหญ่จะตัด บัญชี ลู ก หนี) เป็ นช่ วงๆ เรี ย งตามเลขที ใบกํากับภาษีข ายทั)งที เป็ นลูก หนี) การค้าต่างรายกัน ซึ งโดยปกติของธุ รกิ จจะไม่ทาํ เช่ นนั)นเพราะเป็ นสิ งที ผิดปกติวสิ ัย และทีสําคัญการตัดบัญชีลูกหนี) ดงั กล่าวมีการตัดบัญชีลูกหนี) บางรายทียังไม่ได้ชาํ ระเงินไปด้วย นอกเหนือจากนั)นรายได้จากการขาย ก๊าซโอนเงินเข้าบัญชีของผูถ้ ือหุ ้น ซึ งทางผูบ้ ริ หารแจ้งว่า ลูกค้าส่ วนหนึ ง เป็ นบุคคลธรรมดามักขายเป็ นเงินสด เมือแผนกการเงินเก็บเงินได้จะนํา เงินสดไปเข้าบัญชีธนาคารของผูถ้ ือหุ ้นหลักของกลุ่มบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซ ก่อนทีจะโอนมาเข้าบัญชีธนาคารของบริ ษทั เป็ นยอดรวมเป็ นครั)ง ๆ เพือ ตัดบัญชี ลู กหนี) ซึ งการกระทําดัง กล่ าวไม่ สามารถเจาะจงได้ว่า เป็ นการ ชําระเงินโดยลูกหนี)ตามทีระบุไว้จริ งหรื อไม่ 3.2.12 ผู้ส อบบัญ ชี ไ ม่ ไ ด้รั บ อนุ ญ าตให้ ท ํา หนัง สื อ เพื อยื น ยัน ยอดขายก๊ า ซ ปี 2547 กับลูกค้าของบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซเพือตรวจสอบความมีตวั ตนและ มูลค่าตามทีลูกค้าเหล่ านั)นซื) อก๊าซจากบริ ษทั จริ ง โดยบริ ษทั ได้ช) ี แจงว่า หากทํา เช่ น นั)น จะเกิ ด ผลกระทบต่ อ ลู ก ค้า และทํา ความเสี ย หายให้ก ับ บริ ษทั โรงบรรจุก๊าซได้ รวมทั)งระบุว่าบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซส่ วนใหญ่มี รายได้ค่าเช่ าถังจากลูกค้าในจํานวนเงินทีใกล้เคียงกับค่าเช่ าถังทีจ่ายให้ ปิ คนิค แต่ไม่มีการระบุค่าเช่าถังและเลขทีถังเพือการควบคุมและจัดเก็บค่า เช่าถัง 3.2.13 เมือเปรี ยบเทียบรายชือลูกค้าทีเช่าถังก๊าซกับลูกค้าทีซื) อก๊าซ พบว่าลูกค้าที เช่าถังหลายรายไม่มีรายชือในรายงานตามใบกํากับภาษีขาย พร้อมกันนี) ได้ สอบถามไปยังแผนกบัญชีพบว่าบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซได้นาํ ถังก๊าซทีได้รับ จากปิ คนิคทั)งหมดไปให้ลูกค้าของบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซยืมหรื อแลกเปลียน โดยไม่มีการเก็บเงินมัดจํา เมือทําการตรวจสอบรายละเอียดหลักฐานทาง แผนกบัญชี ไ ด้แจ้งว่าเอกสารทีให้ลู กค้ายืมถังก๊ าซกระจัดกระจายยังไม่ สามารถรวบรวมได้ ส่ วนใหญ่ให้ยมื เพราะความเชือใจ
67 3.2.14 ทะเบียนสิ นทรัพย์ถาวร ณ 31 ธันวาคม 2547 พบว่าบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซ บางแห่ ง ไม่ มี รายละเอี ย ดที ดิ น อาคารและอุ ป กรณ์ ห ลัก ที เกี ยวข้องกับ ทรั พ ย์สิ น ที ใช้ใ นการดํา เนิ น งานเกี ยวกับ การบรรจุ ก๊ า ซ และไม่ มี ก าร บันทึกค่าใช้จ่ายเกี ยวกับการเช่ าทรัพย์สินดังกล่ าวในปี 2547 ประเด็นนี) ทางบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซแจ้งว่าทรัพย์สินส่ วนใหญ่จดทะเบียนในนามผูถ้ ือ หุ ้นของบริ ษ ทั โรงบรรจุ ก๊า ซ นอกจากนี) บ ริ ษ ทั โรงบรรจุ ก๊า ซแห่ ง หนึ ง บัน ทึ ก เงิ น กู้ยื ม ระยะสั) นที กู้จ ากธนาคารแห่ ง หนึ งในประเทศตํากว่ า ร า ย ล ะ เ อี ย ด แ ล ะ สั ญ ญ า เ งิ น กู้ จํ า น ว น 15 ล้ า น บ า ท ซึ งสั ญ ญาเงิ น กู้ยื ม ที บริ ษ ัท โรงบรรจุ ก๊ า ซแห่ ง หนึ งทํา กับ ธนาคารใน ประเทศแห่ งหนึ ง ซึ งระบุวา่ มีหลักประกันเป็ นทีดินของบริ ษทั โรงบรรจุ ก๊าซ แต่จากการสอบทานทรัพย์สินไม่มีทีดินดังกล่าวบันทึกอยู่ในบัญชี ของบริ ษทั ดังกล่าว แต่ทางบริ ษทั แจงว่าทีดินดังกล่าวจดทะเบียนในนามผู้ ถือหุ น้ 3.2.15 ข้อจํากัดและสภาพแวดล้อมรวมทั)งข้อสังเกตทีได้ขา้ งต้นเกียวกับจุดอ่อน ของการควบคุ มภายในระบบงานต่าง ๆ ของบริ ษทั บรรจุก๊าซ ทําให้ไม่ สามารถตรวจสอบเพือยืนยันอย่างแน่ ชัดถึงความถูกต้องของงบการเงิ น และตัวเลขกําไรทีบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซรายงานไว้ในงบการเงินได้ 4. การสรุ ปผลหรื อรายงานสิ งทีพบ (Report Finding) ซึงผลสรุ ปเป็ นดังต่อไปนี) จากกรณี ของบริ ษทั ปิ คนิคฯ ซึ งทาง ก.ล.ต. ได้สังให้บริ ษทั ทําการปรับปรุ งงบการเงินใหม่ ในปี พ.ศ. 2547 ส่ งผลให้กาํ ไรปี 2547 ลดลงทันที 178,440,072 บาท ถือเป็ นการตกแต่งงบกระแส เงินสดในลักษณะการชะลอเวลารับรู้กระแสเงินสด จากการปรับปรุ งรายการรายได้ค่าเช่าในส่ วน ของงบการเงินรวม ซึ งแสดงด้วยงบกระแสเงินสดตามภาพที 4-4 และ 4-8 จะเห็นได้วา่ งบกระแส เงินสดในปี 2547 ในส่ วนของรายการปรับกระทบผลกําไรสุ ทธิ เป็ นเงินสดรับจาก (ใช้ไป) ใน กิจกรรมดําเนินงานมีความแตกต่างกันจากก่อนปรับแก้ไขแสดงด้วยจํานวน 906,379,289 บาท หลัง ปรับแก้ไขแสดงด้วยจํานวน 727,939,217 บาท โดยมีผลต่างจํานวน 178,440,072 บาท ซึ งเป็ นผลมา จากรายการปรับแก้ไขรายได้ค่าเช่าถังแก๊สตามงบกําไรขาดทุนในหมายเหตุที 18 ตามภาพที 4-5 ใน กรณี ดงั กล่าวทําให้นกั ลงทุนเข้าใจข้อมูลทีผิดพลาดในด้านผลประกอบการทีสู งกว่าความเป็ นจริ ง
68 และมีผลกระทบต่อการวิเคราะห์กระเเสเงินสดทีได้มาและใช้ไปในงบกระแสเงินสดจากกิจกรรม ดําเนินงาน จากข้อมูลทั)งหมดอาจสรุ ปได้วา่ โรงบรรจุก๊าซซื)อก๊าซจากบริ ษทั ปิ คนิคฯ มาในราคาสู งกว่า ปกติ และนํามาขายบางส่ วนในราคาสู งกว่าปกติให้กบั ลูกค้าซึ งไม่สามารถตรวจสอบได้ว่าเงินค่า ขายทีสู งกว่าปกติเป็ นการรับมาจากลูกค้าทีมีชือระบุไว้จริ งหรื อไม่ เพราะไม่สามารถขอคํายืนยันจาก ลูกค้าเหล่านั)นได้ และนอกจากนั)นยังไม่สามารถยืนยันจากลูกค้าเช่าถังก๊าซได้ จึงไม่สามารถชี) ชดั ได้ ว่ามีการสังการบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซให้ทาํ ธุรกรรมทีจะมีผลในการสร้างกําไรแก่ปิคนิค เพือบิดเบือน ความถูกต้องของงบการเงินของปิ คนิคหรื อไม่ ทว่าราคาก๊าซทีบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซซื) อจากปิ คนิคใน ราคาสู งกว่าปกติเป็ นพฤติกรรมน่ าสงสัยประเด็นสุ ดท้าย และจากข้อมูลทีเกียวกับเงินจากผูบ้ ริ หาร ของปิ คนิ คทีโอนเข้ามาในบัญชี ธนาคารของบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซ 10 แห่ ง โดยบางรายการชี) ได้ว่า เป็ นการจ่ายให้แก่โรงงานบรรจุก๊าซเพือนําไปจ่ายค่าเช่าถังก๊าซให้กบั ปิ คนิ ค ซึ งไม่สามารถชี) ชดั ได้ ว่า เงิ น ส่ ว นใหญ่ ที เหลื อ จะถู ก นํา เข้า บัญ ชี โ รงบรรจุ ก๊ า ซเพื อเป็ นค่ า ขายก๊ า ซของแต่ ล ะบริ ษ ัท หรื อไม่ ซึ งถ้าถูกนําเข้าบัญชี โรงบรรจุก๊าซเป็ นค่าขายก๊าซ ก็อาจจะเป็ นการชดเชยผลขาดทุนราคา ขายก๊าซที บริ ษทั โรงบรรจุก๊า ซซื) อมาในราคาสู ง เพือลบล้างผลขาดทุนของบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซ อย่างไรก็ตาม จากสภาพแวดล้อม ระบบงาน ระบบบัญชี และตัวเลขทางบัญชี ของโรงบรรจุก๊าซ ก่อให้เกิดข้อสงสัยในประเด็นดังกล่าว
69 งบการเงินของบริษัท ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) บริ ษัท ปิ คนิค คอร์ปอเรชัน6 จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื6อ "บริษัท ปิ คนิคแก๊ ส แอนด์ เอ็นจิเนียริ6ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย") งบกําไรขาดทุน สําหรับปี สิ +นสุดวันที6 31 ธันวาคม 2547 และ 2546 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ 2547 2546 รายได้ รายได้ จากการขายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว รายได้ จากการขายนํ +ามันปิ โตรเลียม รายได้ จากงานติดตังและบริ + การ รายได้ อื6น ดอกเบี +ยรับ กําไรจากการขายสินทรัพย์ กําไรจากการงดสิทธิในการเรียกร้ องหนี + กําไรจากการขายเงินลงทุน โอนกลับค่าเผื6อหนี +สงสัยจะสูญ อื6น ๆ ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนตามวิธีสว่ นได้ เสีย รวมรายได้ ค่าใช้ จ่าย ต้ นทุนขายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว ต้ นทุนขายนํ +ามันปิ โตรเลียม ต้ นทุนงานติดตังและบริ + การ ค่าใช้ จ่ายในการขายและบริหาร ค่าตอบแทนกรรมการ ส่วนแบ่งในผลขาดทุนจากเงินลงทุนตามวิธีสว่ นได้ เสีย รวมค่าใช้ จา่ ย กําไรก่อนดอกเบี +ยจ่ายและภาษี เงินได้ ดอกเบี +ยจ่าย ภาษีเงินได้ นิติบคุ คล กําไรก่อนส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้ อย ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้ อย กําไรสุทธิสําหรับปี
19 8
20
22
งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ 2547 2546
4,788,403,352 397,330,882 1,465,528,840
2,094,540,350 269,197,498
3,169,155,164 397,330,882 1,465,528,840
2,094,540,350 239,470,893
37,184,044 23,272,913 41,410,229 519,134 7,988,136 38,442,258 6,800,079,788
16,972,141 30,060,684 28,876,440 9,982,343 2,449,629,456
58,529,272 28,281,659 519,134 2,055,243 17,123,178 46,904,083 5,185,427,455
17,130,523 30,060,684 28,876,440 9,947,054 2,420,025,944
4,593,172,220 382,521,325 1,107,001,816 247,427,676 1,530,000 6,331,653,037 468,426,751 (143,613,033) (89,876,267) 234,937,451 234,937,451
1,856,575,736 207,982,381 85,849,635 130,000 2,150,537,752 299,091,704 (33,705,871) 265,385,833 82 265,385,915
3,111,993,812 382,521,325 1,107,001,816 132,101,327 1,530,000 4,735,148,280 450,279,175 (148,897,449) (66,444,275) 234,937,451 234,937,451
1,856,575,736 177,479,058 82,928,652 130,000 3,820,712 2,120,934,158 299,091,786 (33,705,871) 265,385,915 265,385,915
ภาพที 4.5 งบกําไรขาดทุนหลังจากที ก.ล.ต. ให้ ทาํ การปรับปรุ ง แหล่งทีมา : สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย. (2554). งบการเงิน. ค้นเมือวันที 16 ธันวาคม 2554. จาก http://www.sec.or.th
70 บริษัท ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน6 จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื6อ "บริษัท ปิ คนิคแก๊ ส แอนด์ เอ็นจิเนียริ6ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย") งบดุล ณ วันที6 31 ธันวาคม 2547 และ 2546 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ 2547 2546 สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี +การค้ าและตัวD เงินรับ - ธุรกิจพลังงาน ลูกหนี +การค้ าและตัวD เงินรับ - ธุรกิจให้ บริ การรับเหมา รายได้ ที6ยงั ไม่ถึงกําหนดชําระ หัก : ค่าเผื6อหนี +สงสัยจะสูญ ลูกหนี +การค้ าและรายได้ ที6ยงั ไม่ถึงกําหนดชําระ - สุทธิ ลูกหนี +กิจการที6เกี6ยวข้ องกัน - สุทธิ เงินให้ ก้ ยู ืมระยะสันแก่ + กิจการที6เกี6ยวข้ องกัน สินค้ าคงเหลือ - สุทธิ สินทรัพย์หมุนเวียนอื6น ภาษีมลู ค่าเพิ6มค้ างรับ ลูกหนี +อื6น ดอกเบี +ยค้ างรับจากกิจการที6เกี6ยวข้ องกัน อื6น ๆ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากธนาคารที6ตดิ ภาระคํ +าประกัน เงินคํ +าประกัน เงินลงทุนซึง6 บันทึกโดยวิธีสว่ นได้ เสีย เงินให้ ก้ ยู ืมระยะยาวแก่กิจการที6เกี6ยวข้ องกัน ที6ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ ค่าความนิยม - สุทธิ เครื6องหมายการค้ า - สุทธิ สิทธิในการใช้ เครื6 องหมายการค้ า - สุทธิ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื6น เงินมัดจําค่าซื +อถังบรรจุก๊าซ เงินมัดจําค่าซื +อที6ดนิ อื6น ๆ รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์
งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ 2547 2546
978,381,926 1,203,289,878 417,392,585 793,271,516 (37,599,810) 2,376,354,169 436,078,333
1,248,646,615 703,603,983 187,330,042 169,027,343 (45,292,403) 1,014,668,965 18,520,958
688,624,460 637,875,862 417,392,585 793,271,516 (3,022,058) 1,845,517,905 4,185,924 959,500,415 365,176,048
1,243,998,043 703,603,983 184,689,969 165,701,462 (45,292,403) 1,008,703,011 15,294,081 18,520,958
5
269,204,595 32,690,767 30,560,034 4,123,269,824
92,451,209 14,844,211 2,389,131,958
253,705,904 27,590,997 22,176,346 16,721,073 4,183,199,072
92,451,209 13,932,146 2,392,899,448
7 28.6 8 5 9 8 5 1
208,577,009 31,050,438 5,247,981,057 1,020,426,879 273,698,630 95,812,785
177,622,820 31,050,438 1,334,465,795 288,708,960 -
206,874,700 31,050,438 1,780,226,287 300,000,000 3,393,689,969 273,698,630 95,812,785
174,445,234 31,050,438 1,480,866 1,334,325,354 288,708,960 -
10 11
1,221,729,395 565,000,000 20,922,708 8,685,198,901 12,808,468,725
259,056,144 12,890,318 2,103,794,475 4,492,926,433
917,870,741 565,000,000 11,318,501 7,575,542,051 11,758,741,123
259,056,144 12,571,520 2,101,638,516 4,494,537,964
4 4 4 4 4 5 5 6
ภาพที 4.6 งบดุล (บางส่ วน) หลังจากที ก.ล.ต. ให้ ทาํ การปรับปรุ ง แหล่งทีมา : สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย. (2554). งบการเงิน. ค้นเมือวันที 16 ธันวาคม 2554. จาก http://www.sec.or.th
71 บริษัท ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน6 จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื6อ "บริษัท ปิ คนิคแก๊ ส แอนด์ เอ็นจิเนียริ6ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย") งบดุล (ต่อ) ณ วันที6 31 ธันวาคม 2547 และ 2546 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ 2547 2546 หนี +สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี +สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั + นการเงิน ตัวD สัญญาใช้ เงิน เจ้ าหนี +การค้ าและตัวD เงินจ่าย - ธุรกิจพลังงาน เจ้ าหนี +การค้ าและตัวD เงินจ่าย - ธุรกิจให้ บริการรับเหมา เจ้ าหนี +ค่าถังบรรจุก๊าซ เงินกู้ยืมระยะยาวที6ถึงกําหนดชําระภายในหนึง6 ปี หนี +สินระยะยาวที6ถึงกําหนดชําระภายในหนึ6งปี หนี +สินหมุนเวียนอื6น เงินล่วงหน้ าจากลูกค้ า ดอกเบี +ยค้ างจ่าย ภาษีเงินได้ นิติบคุ คลค้ างจ่าย อื6น ๆ รวมหนี +สินหมุนเวียน หนี +สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วนที6ถึงกําหนดชําระภายในหนึ6งปี เงินมัดจําถังบรรจุก๊าซ เงินมัดจําจากการให้ เช่าถังบรรจุก๊าซ ค่าเผื6อต้ นทุนงานติดตังที + 6อาจเกิดขึ +น สํารองเผื6อผลขาดทุนจากเงินลงทุนตามวิธีสว่ นได้ เสีย รวมหนี +สินไม่หมุนเวียน รวมหนี +สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรื อนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 1,500 ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท (2546 : หุ้นสามัญ 150 ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 5 บาท) ทุนออกจําหน่ายและชําระเต็มมูลค่าแล้ ว หุ้นสามัญ 1,296,182,900 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท (2546 : หุ้นสามัญ 120 ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 5 บาท) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ เงินรับล่วงหน้ าค่าหุ้นสามัญ ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินต่างประเทศ ส่วนเกินทุนจากราคาขายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว กําไรสะสม จัดสรรแล้ ว - สํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้ จดั สรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี +สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
12 13
14 15
14 18 8
งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ 2547 2546
3,369,476,714 769,990,480 1,000,676,114 514,921,542 159,216,671 240,783,390 13,968,017
1,521,169,523 128,000,000 262,839,220 87,963,091 7,863,221 13,968,017
3,336,434,267 769,990,480 699,791,501 514,921,542 118,842,932 226,440,000 13,968,017
1,521,169,523 128,000,000 262,839,220 87,963,091 7,863,221 13,968,017
100,908,725 2,554,352 113,797,351 64,546,963 6,350,840,319
89,256,698 13,414,350 2,124,474,120
100,894,992 2,176,672 91,374,431 29,096,887 5,903,931,721
89,256,698 13,330,021 2,124,389,791
1,289,811,403 1,118,894,638 178,440,072 2,587,146,113 8,937,986,432
531,967,954 725,606 532,693,560 2,657,167,680
1,214,250,810 589,977,844 178,440,072 1,658,383 1,984,327,109 7,888,258,830
531,967,954 725,606 1,695,860 534,389,420 2,658,779,211
1,500,000,000
750,000,000
1,500,000,000
750,000,000
1,296,182,900 1,334,075,540 532,478,431 (950,782) 322,000,000
600,000,000 964,000,000 -
1,296,182,900 1,334,075,540 532,478,431 (950,782) 322,000,000
600,000,000 964,000,000 -
33,910,000 352,786,204 3,870,482,293 12,808,468,725
22,160,000 249,598,753 1,835,758,753 4,492,926,433
33,910,000 352,786,204 3,870,482,293 11,758,741,123
22,160,000 249,598,753 1,835,758,753 4,494,537,964
16
16 16
21
ภาพที 4.7 งบดุล (บางส่ วน) หลังจากที ก.ล.ต. ให้ ทาํ การปรับปรุ ง แหล่งทีมา : สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย. (2554). งบการเงิน. ค้นเมือวันที 16 ธันวาคม 2554. จาก http://www.sec.or.th
72 บริษัท ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน6 จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (เดิมชื6อ "บริษัท ปิ คนิคแก๊ ส แอนด์ เอ็นจิเนียริ6ง จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย") งบกระแสเงินสด สําหรับปี สิ +นสุดวันที6 31 ธันวาคม 2547 และ 2546 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม 2547 2546 กระแสเงินสดจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน กําไรสุทธิสําหรับปี 234,937,451 265,385,915 ปรับกระทบส่วนเกินทุนจากราคาขายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว 322,000,000 ปรับกระทบผลกําไรสุทธิเป็ นเงินสดรับจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้ อย (82) ค่าเสื6อมราคาและตัดจําหน่าย 131,410,464 42,121,397 โอนกลับค่าเผื6อหนี +สงสัยจะสูญ (12,709,692) (28,876,440) ดอกเบี +ยตัดจ่าย 86,635,770 14,545,204 ค่าความนิยมตัดจําหน่าย 28,625,135 กําไรจากการงดสิทธิในการเรี ยกร้ องหนี + (38,442,258) (4,019,904) โอนกลับค่าเผื6อสินค้ าล้ าสมัย (1,610,431) กําไรจากการขายสินทรัพย์ถาวร (23,272,913) (6,676) โอนกลับสํารองเผื6อต้ นทุนที6อาจเกิดขึ +น (725,606) (7,751,221) กําไรจากการขายเงินลงทุนในหุ้นทุน (519,134) (30,060,684) ส่วนแบ่งขาดทุน (กําไร) จากการลงทุนตามวิธีสว่ นได้ เสีย 727,939,217 249,727,078 สินทรัพย์ดําเนินงานลดลง (เพิ6มขึ +น) ลูกหนี +การค้ าและตัวD เงินรับ - ธุรกิจพลังงาน (45,838,361) (100,391,879) ลูกหนี +การค้ าและตัวD เงินรับ - ธุรกิจให้ บริการรับเหมา (231,011,397) (663,294,348) รายได้ ที6ยงั ไม่ถึงกําหนดชําระ (624,244,173) (46,275,588) ลูกหนี +กิจการที6เกี6ยวข้ องกัน สินค้ าคงเหลือ (371,393,224) (16,620,807) ภาษีมลู ค่าเพิ6มค้ างรับ (173,533,333) (78,589,703) ดอกเบี +ยค้ างรับจากกิจการที6เกี6ยวข้ องกัน สินทรัพย์หมุนเวียนอื6น (35,886,205) (14,191,050) เงินคํ +าประกัน (31,050,438) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื6น 996,564 (2,797,883) หนี +สินดําเนินงานเพิ6มขึ +น (ลดลง) เจ้ าหนี +การค้ าและตัวD เงินจ่าย - ธุรกิจพลังงาน 446,207,836 81,328,477 เจ้ าหนี +การค้ าและตัวD เงินจ่าย - ธุรกิจให้ บริการรับเหมา 438,066,608 262,839,220 เจ้ าหนี +ค่าถังบรรจุก๊าซ 151,353,450 7,863,221 เงินล่วงหน้ าจากลูกค้ า 11,636,881 65,834,134 ดอกเบี +ยค้ างจ่าย 2,554,352 ภาษีเงินได้ นิติบคุ คลค้ างจ่าย 113,797,351 หนี +สินหมุนเวียนอื6น 11,715,755 12,007,109 เงินมัดจําถังบรรจุก๊าซ 98,432,460 531,967,954 เงินมัดจํารับจากการให้ เช่าถังบรรจุก๊าซ 178,440,072 กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน 699,233,853 258,355,497
งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ 2547 2546 234,937,451 322,000,000
265,385,915 -
114,444,572 (2,055,243) 86,635,770 (28,281,659) (725,606) (519,134) (46,904,083) 679,532,068
42,094,628 (28,876,440) 14,545,204 (4,019,904) (1,610,431) (6,676) (7,751,221) (30,060,684) 3,820,712 253,521,103
65,728,121 (272,917,718) (627,570,054) 11,108,157 (346,655,090) (161,254,695) (22,176,346) (30,379,924) (109,280)
(100,391,879) (660,654,276) (42,949,707) (10,857,779) (16,620,807) (78,599,920) (12,905,611) (31,050,438) (2,885,481)
436,952,281 426,958,451 110,979,711 11,638,294 2,176,672 91,374,431 15,766,866 58,009,890 178,440,072 627,601,907
81,352,776 262,839,220 7,863,221 65,834,134 12,384,330 531,967,954 258,846,840
ภาพที 4.8 งบกระแสเงินสด (บางส่ วน) หลังจากที ก.ล.ต. ให้ ทาํ การปรับปรุ ง แหล่งทีมา : สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย. (2554). งบการเงิน. ค้นเมือวันที 16 ธันวาคม 2554. จาก http://www.sec.or.th
บทที 5 สรุปผลการศึกษาและข้ อเสนอแนะ ในการศึกษาปั ญหาพิเศษเรื องการศึกษาบัญชี นิติเวชเพือตรวจสอบการทุจริ ตในรายงาน ทางการเงิน กรณี ศึกษา รายงานทางการเงิน ของบริ ษทั ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ในปี พ.ศ. 2547 วัตถุประสงค์เพือศึกษาการดําเนิ นงาน ปั ญหาและข้อบกพร่ องของบริ ษทั ปิ คนิ ค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ในปี พ.ศ. 2547 ศึกษาวิธีการตรวจสอบการทุจริ ตโดยใช้บญั ชีนิติเวชโดย เปรี ยบเทียบกับวิธีการตรวจสอบของผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต รวมไปถึงศึกษากรณี การทุจริ ตรายงาน ทางการเงินของ บริ ษทั ปิ คนิค คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ในปี พ.ศ. 2547 สรุ ปผลการศึกษา ปิ คนิค คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) จัดตั8งขึ8นเป็ นบริ ษทั มหาชนจํากัดตามกฎหมาย บริ ษทั ปิ คนิค คอร์ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) ปัจจุบนั ตั8งทีอยู่ 805 ถนนศรี นคริ นทร์ แขวงสวนหลวง เขต สวนหลวง กรุ งเทพมหานคร นับว่าเป็ นหนึ งในบริ ษทั ทีใช้ประโยชน์จากตลาดหลักทรัพย์แห่ ง ประเทศไทย (ตลท.) เพือการระดมเม็ดเงิ นลงทุน ด้วยการเสนอขายหุ ้นต่อนักลงทุนทัวไปและ ดํา เนิ น การซื8 อ ขายหุ ้น ภายใต้ชื อ “PICNI” การแจ้ง เกิ ด ของบริ ษ ัท ปิ คนิ ค คอปอร์ เ รชัน จํา กัด (มหาชน)หรื อ PICNI ถือเป็ นการกลับมาของกลุ่มตระกูลลาภวิสุทธิ สิน ในฐานะผูถ้ ือหุ ้นใหญ่ และ เป็ นทีทราบกันดีว่ามีนายสุ ริยา ลาภวิสุทธิ สิน อดีตรัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงพาณิ ชย์ ในยุค รัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็ นผูม้ ีอาํ นาจสังการตัวจริ งและเป็ นผูอ้ ยูเ่ บื8องหลังการเปลียนแปลง ต่าง ๆ ทั8งนี8 เส้นทางการเติบโตของบริ ษทั ปิ คนิ ค คอปอร์ เรชัน จํากัด (มหาชน) หรื อ PICNI ถูก วางแผนพร้อมเรื องราวต่าง ๆ ให้เติบโตแบบก้าวกระโดด โดยมีเป้ าหมายเพือผลักดันราคาหุ ้น PICNI ในตลาดหุ ้น ด้วยวิธีต8 งั เป้ าหมายการเติบโตไว้อย่างสวยหรู และต่อมามีการไซฟ่ อนเงินออก จากธุรกิจหลายรู ปแบบ ปั ญหาและอุปสรรคทีส่ งผลต่อรายงานทางการเงินของบริ ษทั ปิ คนิค คอปอร์ เรชัน จํากัด (มหาชน) พบว่าปั ญหาและอุปสรรคหลักเกิ ดขึ8นทางด้านรายได้จากการขายก๊าซและรายได้ค่าเช่ า ถังบรรจุก๊าซกับลูกค้าโรงบรรจุก๊าซ เนืองจากไม่สามารถตรวจสอบเอกสารได้ท8 งั หมดรวมทั8งการ
74 ทุ จ ริ ตเป็ นสิ งที เกิ ด จากความตั8ง ใจของผูก้ ระทํา จึ ง มี ค วามรอบคอบและแนบเนี ย นพอสมควร ประกอบกับการทําทุจริ ตมักจะเกิดจากความร่ วมมือของหลาย ๆ ฝ่ ายทีมีเจตนาจะทําร่ วมกัน โรง บรรจุก๊าซซื8 อก๊าซจากบริ ษทั ปิ คนิคฯ มาในราคาสู งกว่าปกติ และนํามาขายบางส่ วนในราคาสู งกว่า ปกติให้กบั ลูกค้าซึ งไม่สามารถตรวจสอบได้ว่าเงินค่าขายทีสู งกว่าปกติเป็ นการรับมาจากลูกค้าทีมี ชื อระบุไว้จริ งหรื อไม่ เพราะไม่สามารถขอคํายืนยันจากลูกค้าเหล่านั8นได้ และนอกจากนั8นยังไม่ สามารถยืนยันจากลูกค้าเช่ าถังก๊าซได้ จึงไม่สามารถชี8 ชดั ได้วา่ มีการสังการบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซให้ ทําธุรกรรมทีจะมีผลในการสร้างกําไรแก่ปิคนิค เพือบิดเบือนความถูกต้องของงบการเงินของปิ คนิค หรื อไม่ และจากข้อมูลที เกี ยวกับ เงิ นจากผูบ้ ริ หารของปิ คนิ คที โอนเข้า มาในบัญชี ธ นาคารของ บริ ษทั โรงบรรจุก๊าซ 10 แห่ ง โดยบางรายการชี8 ได้ว่าเป็ นการจ่ายให้แก่โรงงานบรรจุก๊าซเพือนําไป จ่ายค่าเช่ าถังก๊าซให้กบั ปิ คนิ ค ซึ งไม่สามารถชี8 ชดั ได้ว่าเงิ นส่ วนใหญ่ทีเหลือจะถูกนําเข้าบัญชี โรง บรรจุก๊าซเพือเป็ นค่าขายก๊าซของแต่ละบริ ษทั หรื อไม่ ซึ งถ้าถูกนําเข้าบัญชีโรงบรรจุก๊าซเป็ นค่าขาย ก๊าซ ก็อาจจะเป็ นการชดเชยผลขาดทุนราคาขายก๊าซทีบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซซื8 อมาในราคาสู งเพือลบ ล้างผลขาดทุนของบริ ษทั โรงบรรจุก๊าซ นอกจากปัญหาทีเกิดขึ8นจากการตั8งใจทุจริ ตของบริ ษทั ปิ คนิคฯ ดังกล่าวแล้ว เมือตรวจสอบ ลึกลงไปพบว่า กลุ่มโรงงานบรรจุก๊าซ มีการร่ วมกันทุจริ ตกับเหตุการณ์ทีเกิดขึ8น เนืองจากเอกสาร ทางบัญชี และแผนกบัญชีของกลุ่มโรงงานบรรจุก๊าซทั8ง 10 แห่ ง ตั8งอยูท่ ีบ้านของผูถ้ ือหุ ้นหลักของ กลุ่มโรงงานบรรจุก๊าซ และไม่มีการตรวจสอบเอกสารและกระทบยอดอีกทั8งโรงบรรจุก๊าซบางแห่ ง ไม่มีรายละเอียดเกียวกับทีดิน อาคารและอุปกรณ์หลักทีเกียวข้องกับสิ นทรัพย์ทีใช้ในการดําเนินงาน หลักเกียวกับการบรรจุก๊าซ และไม่มีค่าใช้จ่ายเกียวกับการเช่าทรัพย์สินดังกล่าว ดังนั8นแนวทางในการแก้ไขปั ญหาทีเกิ ดขึ8นจากการทุจริ ตทีเกิ ดจากความตั8งใจนั8น ผูส้ อบ บัญชี รับอนุ ญาติอาจไม่สามารถตรวจพบการทุจริ ตดังกล่าวได้ ต้องอาศัยความชํานาญในวิชาชี พ ประกอบกับความสามารถพิเศษเฉพาะด้านเพือการค้นหา หรื ออาจต้องอาศัยความร่ วมมือจากผูท้ ีมี ความรู้เพือการตรวจสอบการทุจริ ตโดยเฉพาะ ข้ อเสนอแนะในการศึกษา 1. การส่ งเสริ มให้ผบู้ ริ หารของกิ จการ ตลอดจนบุคคลทีเกี ยวข้องกับการบัญชี ตระหนักถึ ง ความสําคัญของการทุจริ ตมากขึ8น เนืองจากการทุจริ ตในองค์กรมีมากขึ8น
75
2. สนับสนุ นให้ผสู้ อบบัญชี ปฎิ บตั ิงานตรวจสอบโดยให้ความสําคัญของการทุจริ ตมากขึ8น อาจจะมีการคิดในมุมมองของผูท้ ุจริ ต 3. ในการตรวจสอบการทุจริ ตในรายงานทางการเงิ นบริ ษ ทั ปิ คนิ ค คอปอร์ เรชัน จํา กัด (มหาชน) มีการนําการปฎิบตั ิงานโดยบัญชีนิติเวชมาใช้ในการตรวจสอบการทุจริ ตนั8นเป็ น สิ งทีดีแต่มีบางส่ วนทียังไม่ได้คาํ ตอบทีแน่นอน เนืองจากระบบควบคุมภายในทีไม่อาํ นวย ซึงควรมีการตรวจสอบการควบคุมภายในอยูเ่ สมอ และควรมีการพัฒนาการควบคุมภายใน ควบคู่ไปด้วย เพือให้เกิดประสิ ทธิภาพในการตรวจสอบเพิมมากขึ8น
76
บรรณานุกรม เกียรติศกั ดิ์ จีรเธี ยรนาถ. 2539. การทุจริตในองค์ กรและอาชญากรรมทางธุรกิจ . พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุ งเทพมหานคร: บริ ษทั คู่แข่ง จากัด จันทนา สาขากร. 2544. “การบัญชีนิติเวช(Forensic Accounting) สาระสาคัญ เทคนิคการ ตรวจสอบ และการเป็ นพยานในศาล.” วารสารบริหารธุรกิจ คณะพาณิชยศาสตร์ และการ บัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ตุลาคม-ธันวาคม 2544): 9-14 เจริ ญ เจษฎาวัลย์. 2553. การทุจริตทางการบริหารชั้ นคลาสสิ ค . พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี: บริ ษทั พอดี จากัด ศิลปะพร ศรี จนั่ เพชร. 2547. “การบัญชีสืบสวน: Forensic Accounting.” วารสารจุฬาลงกรณ์ ธุรกิจปริทศั น์ . ฉบับที่ 101 (กรกฎาคม-กันยายน 2547): 1-16 สมชาย ศุภธาดา. 2541. “การบัญชีนิติเวชศาสตร์ : ถึงเวลานักบัญชีไม่อาจปฏิเสธ.” วารสารนัก บัญชี(เมษายน-กรกฎาคม 2541): 41-46 สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 240 ความรับผิดชอบของ ผูส้ อบบัญชีเกี่ยวกับการพิจารณาการทุจริ ตในการตรวจสอบงบการเงิน. สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 1 การนาเสนองบการเงิน สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ประเทศไทย. 2554. งบการเงิน (Online). www.sec.or.th, 16 ธันวาคม 2554.
77 สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. 2548. ข่ าว ก.ล.ต. ฉบับที่ 45/2548. 11 พฤษภาคม 2548. เสาวนีย ์ สิ ชฌวัฒน์. 2544. “การบัญชีสืบสวน (Forensic Accounting).” วารสารบริหารธุรกิจ คณะ พาณิชยศาสตร์ และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เมษายน-มิถุนายน 2544): 6-11 American Institute of Certified Public Accountants. Characteristics and Skills of the Forensic Accountant. Association of Certified Fraud Examiners. 2008. Report to the Nation on Occupational Fraud and Abuse. Association of Certified Fraud Examiners. 2010. Report to the Nation on Occupational Fraud and Abuse. D Larry Crumbley and Nicholas Apostolou. 2002. Ohio CPA Journal.
ภาคผนวก ก งบการเงินก่อนทําการแก้ไข
งบการเงินบางส่ วน สํ าหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2547 ก่อนที ก.ล.ต. ให้ ทาํ การปรับปรุ ง บริษัท ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย (เดิมชือ "บริ ษัท ปิ คนิคแก๊ ส แอนด์ เอ็นจิเนียริง จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย") งบดุล ณ วันที 31 ธันวาคม 2547 และ 2546 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี 'การค้ าและตัว* เงินรับ - ธุรกิจพลังงาน ลูกหนี 'การค้ าและตัว* เงินรับ - ธุรกิจให้ บริการรับเหมา รายได้ ที0ยงั ไม่ถึงกําหนดชําระ หัก : ค่าเผื0อหนี 'สงสัยจะสูญ ลูกหนี 'การค้ าและรายได้ ที0ยงั ไม่ถึงกําหนดชําระ - สุทธิ ลูกหนี 'กิจการที0เกี0ยวข้ องกัน - สุทธิ เงินให้ ก้ ยู ืมระยะสันแก่ ' กิจการที0เกี0ยวข้ องกัน สินค้ าคงเหลือ - สุทธิ สินทรัพย์หมุนเวียนอื0น ภาษีมลู ค่าเพิ0มค้ างรับ ลูกหนี 'อื0น ดอกเบี 'ยค้ างรับจากกิจการที0เกี0ยวข้ องกัน อื0น ๆ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากธนาคารที0ติดภาระคํ 'าประกัน เงินคํ 'าประกัน เงินลงทุนซึง0 บันทึกโดยวิธีสว่ นได้ เสีย เงินให้ ก้ ยู ืมระยะยาวแก่กิจการที0เกี0ยวข้ องกัน ที0ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ ค่าความนิยม - สุทธิ เครื0องหมายการค้ า - สุทธิ สิทธิในการใช้ เครื0องหมายการค้ า - สุทธิ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื0น เงินมัดจําค่าซื 'อถังบรรจุก๊าซ เงินมัดจําค่าซื 'อที0ดิน อื0น ๆ รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ0งของงบการเงินนี '
2547
2546
งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ 2547 2546
978,381,926 1,203,289,878 417,392,585 793,271,516 (37,599,810) 2,376,354,169 436,078,333
1,248,646,615 703,603,983 187,330,042 169,027,343 (45,292,403) 1,014,668,965 18,520,958
688,624,460 637,875,862 417,392,585 793,271,516 (3,022,058) 1,845,517,905 4,185,924 959,500,415 365,176,048
1,243,998,043 703,603,983 184,689,969 165,701,462 (45,292,403) 1,008,703,011 15,294,081 18,520,958
5
269,204,595 32,690,767 30,560,034 4,123,269,824
92,451,209 14,844,211 2,389,131,958
253,705,904 27,590,997 22,176,346 16,721,073 4,183,199,072
92,451,209 13,932,146 2,392,899,448
7 28.6 8 5 9 8 5 1
208,577,009 31,050,438 5,247,981,057 1,020,426,879 273,698,630 95,812,785
177,622,820 31,050,438 1,334,465,795 288,708,960 -
206,874,700 31,050,438 1,780,226,287 300,000,000 3,393,689,969 273,698,630 95,812,785
174,445,234 31,050,438 1,480,866 1,334,325,354 288,708,960 -
10 11
1,221,729,395 565,000,000 20,922,708 8,685,198,901 12,808,468,725
259,056,144 12,890,318 2,103,794,475 4,492,926,433
917,870,741 565,000,000 11,318,501 7,575,542,051 11,758,741,123
259,056,144 12,571,520 2,101,638,516 4,494,537,964
4 4 4 4 4 5 5 6
บริษัท ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย (เดิมชือ "บริ ษัท ปิ คนิคแก๊ ส แอนด์ เอ็นจิเนียริง จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย") งบดุล (ต่ อ) ณ วันที 31 ธันวาคม 2547 และ 2546 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ 2547 2546 หนี 'สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี 'สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ' นการเงิน ตัว* สัญญาใช้ เงิน เจ้ าหนี 'การค้ าและตัว* เงินจ่าย - ธุรกิจพลังงาน เจ้ าหนี 'การค้ าและตัว* เงินจ่าย - ธุรกิจให้ บริการรับเหมา เจ้ าหนี 'ค่าถังบรรจุก๊าซ เงินกู้ยืมระยะยาวที0ถึงกําหนดชําระภายในหนึ0งปี หนี 'สินระยะยาวที0ถึงกําหนดชําระภายในหนึง0 ปี หนี 'สินหมุนเวียนอื0น เงินล่วงหน้ าจากลูกค้ า ดอกเบี 'ยค้ างจ่าย ภาษีเงินได้ นิติบคุ คลค้ างจ่าย อื0น ๆ รวมหนี 'สินหมุนเวียน หนี 'สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วนที0ถึงกําหนดชําระภายในหนึง0 ปี เงินมัดจําถังบรรจุก๊าซ ค่าเผื0อต้ นทุนงานติดตังที ' 0อาจเกิดขึ 'น สํารองเผื0อผลขาดทุนจากเงินลงทุนตามวิธีสว่ นได้ เสีย รวมหนี 'สินไม่หมุนเวียน รวมหนี 'สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 1,500 ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท (2546 : หุ้นสามัญ 150 ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 5 บาท) ทุนออกจําหน่ายและชําระเต็มมูลค่าแล้ ว หุ้นสามัญ 1,296,182,900 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท (2546 : หุ้นสามัญ 120 ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 5 บาท) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ เงินรับล่วงหน้ าค่าหุ้นสามัญ ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินต่างประเทศ กําไรสะสม จัดสรรแล้ ว - สํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้ จดั สรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี 'สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ0งของงบการเงินนี '
12 13
14 15
14
8
งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ 2547 2546
3,369,476,714 769,990,480 1,000,676,114 514,921,542 159,216,671 240,783,390 13,968,017
1,521,169,523 128,000,000 262,839,220 87,963,091 7,863,221 13,968,017
3,336,434,267 769,990,480 699,791,501 514,921,542 118,842,932 226,440,000 13,968,017
1,521,169,523 128,000,000 262,839,220 87,963,091 7,863,221 13,968,017
100,908,725 2,554,352 113,797,351 64,546,963 6,350,840,319
89,256,698 13,414,350 2,124,474,120
100,894,992 2,176,672 91,374,431 29,096,887 5,903,931,721
89,256,698 13,330,021 2,124,389,791
1,289,811,403 1,118,894,638 2,408,706,041 8,759,546,360
531,967,954 725,606 532,693,560 2,657,167,680
1,214,250,810 589,977,844 1,658,383 1,805,887,037 7,709,818,758
531,967,954 725,606 1,695,860 534,389,420 2,658,779,211
1,500,000,000
750,000,000
1,500,000,000
750,000,000
1,296,182,900 1,334,075,540 532,478,431 (950,782)
600,000,000 964,000,000 -
1,296,182,900 1,334,075,540 532,478,431 (950,782)
600,000,000 964,000,000 -
58,930,000 828,206,276 3,870,482,293 12,808,468,725
22,160,000 249,598,753 1,835,758,753 4,492,926,433
58,930,000 828,206,276 3,870,482,293 11,758,741,123
22,160,000 249,598,753 1,835,758,753 4,494,537,964
16
16 16
21
บริษัท ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย (เดิมชือ "บริ ษัท ปิ คนิคแก๊ ส แอนด์ เอ็นจิเนียริง จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย") งบกําไรขาดทุน สําหรับปี สิน6 สุดวันที 31 ธันวาคม 2547 และ 2546 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ 2547 2546 รายได้ รายได้ จากการขายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว รายได้ จากการขายนํ 'ามันปิ โตรเลียม รายได้ จากงานติดตังและบริ ' การ รายได้ คา่ เช่าบรรจุถงั แก๊ ส รายได้ อื0น ดอกเบี 'ยรับ กําไรจากการขายสินทรัพย์ กําไรจากการงดสิทธิในการเรียกร้ องหนี ' กําไรจากการขายเงินลงทุน โอนกลับค่าเผื0อหนี 'สงสัยจะสูญ อื0น ๆ ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนตามวิธีสว่ นได้ เสีย รวมรายได้ ค่าใช้ จา่ ย ต้ นทุนขายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว ต้ นทุนขายนํ 'ามันปิ โตรเลียม ต้ นทุนงานติดตังและบริ ' การ ค่าใช้ จ่ายในการขายและบริหาร ค่าตอบแทนกรรมการ ส่วนแบ่งในผลขาดทุนจากเงินลงทุนตามวิธีสว่ นได้ เสีย รวมค่าใช้ จา่ ย กําไรก่อนดอกเบี 'ยจ่ายและภาษีเงินได้ ดอกเบี 'ยจ่าย ภาษีเงินได้ นิติบคุ คล กําไรก่อนส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้ อย ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้ อย กําไรสุทธิสําหรับปี กําไรต่อหุ้น กําไรต่อหุ้นขันพื ' 'นฐาน กําไรสุทธิ จํานวนหุ้นสามัญถัวเฉลีย0 ถ่วงนํ 'าหนัก (หุ้น) กําไรต่อหุ้นปรับลด กําไรสุทธิ จํานวนหุ้นสามัญถัวเฉลีย0 ถ่วงนํ 'าหนัก (หุ้น)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง0 ของงบการเงินนี '
18
19 8
20
22
งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ 2547 2546
5,160,403,352 397,330,882 1,465,528,840 178,440,072
2,094,540,350 269,197,498 -
3,541,155,164 397,330,882 1,465,528,840 178,440,072
2,094,540,350 239,470,893 -
37,184,044 23,272,913 41,410,229 519,134 7,988,136 38,442,258 7,350,519,860
16,972,141 30,060,684 28,876,440 9,982,343 2,449,629,456
58,529,272 28,281,659 519,134 2,055,243 17,123,178 46,904,083 5,735,867,527
17,130,523 30,060,684 28,876,440 9,947,054 2,420,025,944
4,593,172,220 382,521,325 1,107,001,816 247,427,676 1,530,000 6,331,653,037 1,018,866,823 (143,613,033) (139,876,267) 735,377,523 735,377,523
1,856,575,736 207,982,381 85,849,635 130,000 2,150,537,752 299,091,704 (33,705,871) 265,385,833 82 265,385,915
3,111,993,812 382,521,325 1,107,001,816 132,101,327 1,530,000 4,735,148,280 1,000,719,247 (148,897,449) (116,444,275) 735,377,523 735,377,523
1,856,575,736 177,479,058 82,928,652 130,000 3,820,712 2,120,934,158 299,091,786 (33,705,871) 265,385,915 265,385,915
1.14
0.66
1.14
0.66
646,174,196
402,976,960
646,174,196
402,976,960
0.86
0.64
0.86
0.64
853,482,932
414,868,205
853,482,932
414,868,205
23
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง0 ของงบการเงินนี '
ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2547
โอนไปสํารองตามกฎหมาย
กําไรสุทธิสําหรับปี
เงินปั นผลจ่าย
ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินต่างประเทศ
21
26 1,334,075,540
1,296,182,900
-
-
-
-
-
129,618,290
648,091,450
16.4 16.5
ออกหุ้นเพิ0มทุน
เงินรับล่วงหน้ าค่าหุ้น
-
240,457,250
48,091,450
16.3
ออกหุ้นเพิ0มทุนจากการใช้ สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ
964,000,000
600,000,000
-
-
ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2546
ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้ อยของบริ ษัทย่อยลดลง
-
21
โอนไปสํารองตามกฎหมาย
964,000,000
526,670,000 -
-
-
16.1
ส่วนเกิน มูลค่าหุ้น
73,330,000
และชําระแล้ ว
ทุนเรื อนหุ้นที0ออก
กําไรสุทธิสําหรับปี
ออกหุ้นเพิ0มทุน
ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2545
หมายเหตุ
532,478,431
-
-
-
-
532,478,431
-
-
-
-
-
-
-
-
ค่าหุ้นสามัญ
เงินรับล่วงหน้ า
(หน่วย : บาท)
(950,782)
-
-
-
(950,782)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ต่างประเทศ
58,930,000
36,770,000
-
-
-
-
-
-
22,160,000
-
13,140,000
-
-
9,020,000
828,206,276
(36,770,000)
735,377,523
(120,000,000)
-
-
-
-
249,598,753
-
(13,140,000)
265,385,915
-
(2,647,162)
ยังไม่ได้ จดั สรร
กําไร (ขาดทุน) สะสม สํารองตามกฎหมาย
งบการเงินรวม แปลงค่างบการเงิน
ผลต่างจากการ
สําหรั บปี สิน6 สุดวันที 31 ธันวาคม 2547 และ 2546
งบแสดงการเปลียนแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น
(เดิมชือ "บริษัท ปิ คนิคแก๊ ส แอนด์ เอ็นจิเนียริง จํากัด (มหาชน) และบริ ษัทย่ อย")
บริษัท ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) และบริ ษัทย่ อย
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ส่วนน้ อย
(82)
82
ส่วนของผู้ถือหุ้น
4,048,922,365
-
735,377,523
(120,000,000)
(950,782)
532,478,431
777,709,740
288,548,700
1,835,758,753
(82)
-
265,385,915
1,490,670,000
79,702,920
รวม
526,670,000
ออกหุ้นเพิ0มทุน
16.4 16.5
ออกหุ้นเพิ0มทุน
เงินรับล่วงหน้ าค่าหุ้น
โอนไปสํารองตามกฎหมาย
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ0งของงบการเงินนี '
ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2547
21
ส่วนเกิน
1,334,075,540
1,296,182,900
-
-
-
-
129,618,290
240,457,250
964,000,000
-
-
964,000,000
-
มูลค่าหุ้น
-
-
เงินปั นผลจ่าย
กําไรสุทธิสําหรับปี
-
-
ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินต่างประเทศ 26
48,091,450
16.3
ออกหุ้นเพิ0มทุนจากการใช้ สทิ ธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ 648,091,450
600,000,000
ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2546
-
โอนไปสํารองตามกฎหมาย 21
-
กําไรสุทธิสําหรับปี
16.1
73,330,000
และชําระแล้ ว
ทุนเรือนหุ้นที0ออก
ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2545
หมายเหตุ
532,478,431
-
-
-
-
532,478,431
-
-
-
-
-
-
-
ค่าหุ้นสามัญ
เงินรับล่วงหน้ า
(หน่วย : บาท)
(950,782)
(950,782)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ต่างประเทศ
แปลงค่างบการเงิน
ผลต่างจากการ
58,930,000
36,770,000
-
-
-
-
-
-
22,160,000
13,140,000
-
-
9,020,000
828,206,276
(36,770,000)
735,377,523
(120,000,000)
-
-
-
-
249,598,753
(13,140,000)
265,385,915
-
(2,647,162)
ยังไม่ได้ จดั สรร
กําไร (ขาดทุน) สะสม สํารองตามกฎหมาย
งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ
สําหรับปี สิน6 สุดวันที 31 ธันวาคม 2547 และ 2546
งบแสดงการเปลียนแปลงส่ วนของผู้ถอื หุ้น (ต่ อ)
(เดิมชือ "บริษัท ปิ คนิคแก๊ ส แอนด์ เอ็นจิเนียริง จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย")
บริษัท ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย
4,048,922,365
-
735,377,523
(120,000,000)
(950,782)
532,478,431
777,709,740
288,548,700
1,835,758,753
-
265,385,915
1,490,670,000
79,702,838
รวม
บริษัท ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย (เดิมชือ "บริ ษัท ปิ คนิคแก๊ ส แอนด์ เอ็นจิเนียริง จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย") งบกระแสเงินสด สําหรับปี สิน6 สุดวันที 31 ธันวาคม 2547 และ 2546 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม 2547 2546 กระแสเงินสดจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน กําไรสุทธิสําหรับปี ปรับกระทบผลกําไรสุทธิเป็ นเงินสดรับจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้ อย ค่าเสือ0 มราคาและตัดจําหน่าย โอนกลับค่าเผื0อหนี 'สงสัยจะสูญ ดอกเบี 'ยตัดจ่าย ค่าความนิยมตัดจําหน่าย กําไรจากการงดสิทธิในการเรียกร้ องหนี ' โอนกลับค่าเผื0อสินค้ าล้ าสมัย กําไรจากการขายสินทรัพย์ถาวร โอนกลับสํารองเผื0อต้ นทุนที0อาจเกิดขึ 'น กําไรจากการขายเงินลงทุนในหุ้นทุน ส่วนแบ่งขาดทุน (กําไร) จากการลงทุนตามวิธีสว่ นได้ เสีย สินทรัพย์ดําเนินงานลดลง (เพิ0มขึ 'น) ลูกหนี 'การค้ าและตัว* เงินรับ - ธุรกิจพลังงาน ลูกหนี 'การค้ าและตัว* เงินรับ - ธุรกิจให้ บริการรับเหมา รายได้ ที0ยงั ไม่ถึงกําหนดชําระ ลูกหนี 'กิจการที0เกี0ยวข้ องกัน สินค้ าคงเหลือ ภาษีมลู ค่าเพิ0มค้ างรับ ดอกเบี 'ยค้ างรับจากกิจการที0เกี0ยวข้ องกัน สินทรัพย์หมุนเวียนอื0น เงินคํ 'าประกัน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื0น หนี 'สินดําเนินงานเพิ0มขึ 'น (ลดลง) เจ้ าหนี 'การค้ าและตัว* เงินจ่าย - ธุรกิจพลังงาน เจ้ าหนี 'การค้ าและตัว* เงินจ่าย - ธุรกิจให้ บริการรับเหมา เจ้ าหนี 'ค่าถังบรรจุก๊าซ เงินล่วงหน้ าจากลูกค้ า ดอกเบี 'ยค้ างจ่าย ภาษีเงินได้ นิติบคุ คลค้ างจ่าย หนี 'สินหมุนเวียนอื0น เงินมัดจําถังบรรจุก๊าซ กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ0งของงบการเงินนี '
งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ 2547 2546
735,377,523
265,385,915
735,377,523
265,385,915
131,410,464 (12,709,692) 86,635,770 28,625,135 (38,442,258) (23,272,913) (725,606) (519,134) 906,379,289
(82) 42,121,397 (28,876,440) 14,545,204 (4,019,904) (1,610,431) (6,676) (7,751,221) (30,060,684) 249,727,078
114,444,572 (2,055,243) 86,635,770 (28,281,659) (725,606) (519,134) (46,904,083) 857,972,140
42,094,628 (28,876,440) 14,545,204 (4,019,904) (1,610,431) (6,676) (7,751,221) (30,060,684) 3,820,712 253,521,103
(45,838,361) (231,011,397) (624,244,173) (371,393,224) (173,533,333) (35,886,205) 996,564
(100,391,879) (663,294,348) (46,275,588) (16,620,807) (78,589,703) (14,191,050) (31,050,438) (2,797,883)
65,728,121 (272,917,718) (627,570,054) 11,108,157 (346,655,090) (161,254,695) (22,176,346) (30,379,924) (109,280)
(100,391,879) (660,654,276) (42,949,707) (10,857,779) (16,620,807) (78,599,920) (12,905,611) (31,050,438) (2,885,481)
446,207,836 438,066,608 151,353,450 11,636,881 2,554,352 113,797,351 11,715,755 98,432,460 699,233,853
81,328,477 262,839,220 7,863,221 65,834,134 12,007,109 531,967,954 258,355,497
436,952,281 426,958,451 110,979,711 11,638,294 2,176,672 91,374,431 15,766,866 58,009,890 627,601,907
81,352,776 262,839,220 7,863,221 65,834,134 12,384,330 531,967,954 258,846,840
บริษัท ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย (เดิมชือ "บริ ษัท ปิ คนิคแก๊ ส แอนด์ เอ็นจิเนียริง จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย") งบกระแสเงินสด (ต่ อ) สําหรับปี สิน6 สุดวันที 31 ธันวาคม 2547 และ 2546 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ 2547 2546 2547 2546 กระแสเงินสดจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมลงทุน เงินฝากสถาบันการเงินที0ติดภาระคํ 'าประกันเพิ0มขึ 'น (32,440,519) (156,948,315) (32,429,466) (155,453,234) เงินให้ ก้ ยู ืมระยะสันแก่ ' กิจการที0เกี0ยวข้ องกันลดลง (เพิ0มขึ 'น) 415,202 (959,500,415) เงินให้ ก้ ยู ืมระยะยาวแก่กิจการที0เกี0ยวข้ องกันเพิ0มขึ 'น (300,000,000) เงินสดจ่ายซื 'อเงินลงทุนในบริ ษัทย่อย (หมายเหตุ 8) (1,417,056,017) (1,734,310,463) (6,000,000) เงินสดรับจากการขายเงินลงทุน 2,000,000 9,150,009 2,000,000 9,150,009 ซื 'อสินทรัพย์ถาวร (2,408,275,083) (1,363,995,967) (2,205,078,933) (1,363,828,757) เงินสดรับจากการจําหน่ายสินทรัพย์ถาวร 41,133,512 6,700 229,643,959 6,700 ซื 'อเครื0องหมายการค้ า (300,000,000) (300,000,000) ซื 'อสิทธิในการใช้ เครื0องหมายการค้ า (100,000,000) (100,000,000) เงินมัดจําค่าซื 'อถังบรรจุก๊าซเพิ0มขึ 'น (1,112,205,961) (259,056,144) (808,347,307) (259,056,144) จ่ายเงินมัดจําค่าซื 'อที0ดิน (565,000,000) (565,000,000) กระแสเงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน (5,591,844,068) (2,070,428,515) (6,473,022,625) (2,075,181,426) กระแสเงินสดจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ' นการเงินเพิ0มขึ 'น ตัว* สัญญาใช้ เงินเพิ0มขึ 'น เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินเพิ0มขึ 'น หนี 'สินระยะยาวลดลง จ่ายเงินปั นผล รับเงินค่าหุ้นเพิ0มทุน กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินต่างประเทศ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ0มขึ 'น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที0 1 มกราคม หัก : เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้ นงวดของบริษัทย่อย ที0ไม่รวมในงบการเงินรวมสําหรับปี ปัจจุบนั เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที0 31 ธันวาคม ข้ อมูลกระแสเงินสดเปิ ดเผยเพิ0มเติม : เงินสดจ่ายระหว่างปี สําหรับ : ดอกเบี 'ยจ่าย ภาษีเงินได้ นิติบคุ คล โอนเงินมัดจําค่าถังบรรจุก๊าซเป็ นงานระหว่างก่อสร้ าง
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ0งของงบการเงินนี '
976,235,426 641,990,480 1,530,594,793 (120,000,000) 1,598,736,871 4,627,557,570 (950,782) (266,003,427) 1,248,646,615
1,506,624,319 128,000,000 (105,394,979) 1,479,388,380 3,008,617,720 1,196,544,702 52,150,497
1,728,628,974 641,990,480 1,440,690,810 (120,000,000) 1,598,736,871 5,290,047,135 (555,373,583) 1,243,998,043
1,506,624,319 128,000,000 (105,394,979) 1,479,388,380 3,008,617,720 1,192,283,134 51,714,909
(4,261,262) 978,381,926 -
(48,584) 1,248,646,615 -
688,624,460 -
1,243,998,043 -
191,112,252 29,533,470 149,532,710
46,507,033 3,492,317 -
162,450,056 28,843,747 149,532,710
46,507,033 3,491,417 -
ภาคผนวก ข งบการเงินหลังทําการแก้ไข
สํานั กงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ฝ่ ายงานเลขาธิการ : 0-2256-7732, 0-2256-7708 email : info@sec.or.th
ข่าว ก.ล.ต. ฉบ ับที 45/2548
ว ันพุธที 11 พฤษภาคม 2548
ั ก.ล.ต. สงแก้ งบการเงิน PICNI 8 จํากัด (มหาชน) (“PICNI”) แก ้ไขงบการเงิน สืบเนือ 8 งจาก ก.ล.ต. ได ้สัง8 ให ้บริษัท ปิ คนิค คอร์ปอเรชัน ิJ สุดวันที8 31 ธันวาคม 2547 โดยจัดทํางบการเงินรวมกับโรงบรรจุแก๊ส 10 แห่ง เนือ ประจําปี สน 8 งจากมี พฤติกรรมในลักษณะที8 PICNI มีอํานาจควบคุมโรงบรรจุแก๊สดังกล่าว และให ้ PICNI พิจารณาค่าความ J บริษัทย่อยทีซ ืJ มาในปี 2547 โดยให ้นํ าส่งงบการเงินทีแ นิยมทีเ8 กิดจากการซือ 8 อ 8 ก ้ไขและผ่านการ J จงว่า ไม่ได ้มี ตรวจสอบโดยผู ้สอบบัญชีตอ ่ ก.ล.ต. ภายในวันที8 13 พฤษภาคม 2548 ซึง8 PICNI ได ้ชีแ อํานาจควบคุมโรงบรรจุแก๊ส จึงมีความเห็นว่าไม่จําเป็ นต ้องจัดทํางบการเงินรวม สําหรับค่าความนิยมที8 แสดงในบัญชี PICNI ก็มค ี วามเห็นว่ายังไม่สมควรมีการด ้อยค่า ก.ล.ต. ได ้ตรวจสอบข ้อเท็จจริงต่าง ๆ เพิม 8 เติมแล ้ว พบว่า โรงบรรจุแก๊สหลายแห่งมีความสัมพันธ์กบ ั PICNI ใกล ้ชิดเป็ นพิเศษ โดยบางแห่งผู ้ทีถ 8 อ ื หุ ้นทังJ หมดหรือเกือบทังJ หมดเป็ นพนักงานในบริษัท ยูเนียน แก๊ส แอนด์ เคมิคัลส์ จํากัด ซึง8 เป็ นของครอบครัวผู ้บริหาร PICNI และบางแห่งผู ้ทีเ8 ป็ นกรรมการ และผู ้ มีอํานาจลงนามทังJ หมดหรือเกือบทังJ หมด ก็เป็ นพนักงานในบริษัทดังกล่าวด ้วย การที8 PICNI ทําธุรกิจกับโรงบรรจุแก๊สเหล่านีม J ป ี ระเด็นพิจารณา ดังนีJ (ก) ได ้มีการเปลีย 8 นวิธก ี ารให ้โรงบรรจุแก๊สใช ้ถังแก๊ส จากเดิมทีโ8 รงบรรจุแก๊สเคยจ่ายเพียงค่ามัดจําถัง แก่ PICNI และสามารถใช ้ประโยชน์จากถังแก๊สได ้โดยไม่มก ี ําหนดเวลา เปลีย 8 นเป็ นให ้โรงบรรจุแก๊สทํา สัญญาเช่าถัง 3 ปี แต่ยงั คงจ่ายค่าเช่ารวมเป็ นจํานวนทีใ8 กล ้เคียงกับเงินค่ามัดจําเดิม ซึง8 การ เปลีย 8 นแปลงสัญญาดังกล่าว ทําให ้โรงบรรจุแก๊สต ้องบันทึกค่าเช่าเป็ นค่าใช ้จ่าย ในขณะที8 PICNI สามารถบันทึกค่าเช่าเป็ นรายได ้ในจํานวนเงินเท่ากันคือ 178 ล ้านบาทในปี 2547 (ข) ผู ้บริหารของ PICNI รายหนึง8 มีการจ่ายเงินเข ้าบัญชีของโรงบรรจุแก๊สในระหว่างปี 2547 เป็ น จํานวนมาก โดยบางรายการเป็ นการจ่ายให ้แก่โรงบรรจุแก๊สเพือ 8 นํ าไปจ่ายค่าเช่าถังแก่ PICNI (ค) PICNI ขายแก๊สให ้แก่โรงบรรจุแก๊สทีม 8 ค ี วามใกล ้ชิดเป็ นพิเศษนีใJ นราคาขายต่อหน่วยทีส 8 งู กว่าราคา ืJ แก๊สเป็ นจํานวนเงินประมาณ 1,700 ล ้านบาท ทีข 8 ายให ้แก่โรงบรรจุแก๊สอืน 8 โดยโรงบรรจุแก๊สเหล่านีซ J อ คิดเป็ นประมาณร ้อยละ 48 ของยอดขายแก๊สของ PICNI J จงของ PICNI แล ้ว จึงสัง8 การดังนีJ ก.ล.ต. พิจารณาเอกสารหลักฐานต่าง ๆ และคําชีแ 1. ให ้ผู ้สอบบัญชีตรวจสอบเป็ นกรณีพเิ ศษ (special audit) รายการทังJ หมดที8 PICNI ทํากับโรง บรรจุแก๊ส 10 แห่งดังกล่าวรวมทังJ แห่งอืน 8 ๆ ทีม 8 ค ี วามสัมพันธ์ใกล ้ชิด เพือ 8 ให ้มัน 8 ใจว่า การแสดงข ้อมูล ั เจนและกระทบต่อการตัดสินใน ในงบการเงิน PICNI เป็ นไปโดยถูกต ้อง ไม่เกิดความคลุมเครือไม่ชด การลงทุนของผู ้ลงทุน พร ้อมทังJ ขอให ้คณะกรรมการตรวจสอบของ PICNI ทุกท่านช่วยดูแลประเด็นนีJ ให ้รอบคอบด ้วย 2. เนือ 8 งจากเนือ J หาของการให ้เช่าถังแก๊สตามสัญญาเช่าไม่ตา่ งจากการที8 PICNI รับเงินมัดจําค่าถังใน อดีต ซึง8 เมือ 8 ครบ 3 ปี แล ้ว PICNI ยังคงให ้โรงบรรจุแก๊สใช ้ถังได ้ต่อไปโดยไม่เก็บค่าเช่า จึงให ้ PICNI แก ้ไขงบการเงินปี 2547 โดยบันทึกการให ้เช่าถังแก๊สเหมือนเงินมัดจําตามเดิม สําหรับผลกระทบต่อกําไรปี 2547 ของ PICNI นัน J จะลดลงทันทีประมาณ 178 ล ้านบาทจากการ
ปรับปรุงรายการค่าเช่า และผลกระทบอาจมีมากกว่านีJ ขึน J อยูก ่ บ ั ผลการตรวจสอบพิเศษของผู ้สอบบัญชี ทังJ นีJ ให ้ PICNI นํ าส่งรายงานการตรวจสอบกรณีพเิ ศษตามข ้อ 1 และงบการเงินปี 2547 ทีแ 8 ก ้ไขตาม ข ้อ 1 (หากมี) และข ้อ 2 ภายใน 45 วัน (27 มิถน ุ ายน 2548) และในการเผยแพร่งบการเงินปี 2547 ต ้องเผยแพร่รายงานการตรวจสอบเป็ นกรณีพเิ ศษควบคูก ่ น ั ไปด ้วย เพือ 8 ให ้ผู ้ลงทุนได ้รับข ้อมูลทีค 8 รบถ ้วน J บริษัทย่อย 2 แห่ง ในปี 2547 มูลค่า 1,049 ล ้านบาท นัน 3. สําหรับเรือ 8 งค่าความนิยมทีเ8 กิดจากการซือ J ืJ บางประการทีแ เนือ 8 งจากปรากฏข ้อเท็จจริงภายหลังวันทีซ 8 อ 8 สดงว่าเหตุการณ์ไม่เป็ นไปตามสมมติฐานที8 J เช่น ความสามารถในการทํากําไรจากธุรกิจปกติ และการควบคุมต ้นทุน ดังนัน ทําไว ้ก่อนตัดสินใจซือ J จึงให ้ PICNI จัดให ้มีทป ี8 รึกษาทางการเงินรายใหม่จด ั ทําประมาณการมูลค่าของบริษัทย่อยทังJ 2 แห่งอีก ครังJ หนึง8 ทังJ นีJ หากปรากฏว่า มูลค่าทีป 8 ระมาณการใหม่น ้อยกว่ามูลค่าทีบ 8 น ั ทึกบัญชีอยูอ ่ ย่างมีนัยสําคัญ PICNI ก็จะต ้องบันทึกบัญชีด ้อยค่าสําหรับค่าความนิยมดังกล่าวในงบการเงินงวดไตรมาสที8 1 ปี 2548 นอกจากนีJ ก.ล.ต. ได ้ผ่อนผันการส่งงบการเงินไตรมาส 1 ปี 2548 ให ้ PICNI โดยให ้จัดส่งภายใน 45 วัน (27 มิถน ุ ายน 2548)
งบการเงินบางส่ วน สํ าหรับปี สิ นสุ ดวันที 31 ธันวาคม 2547 หลังจากที ก.ล.ต. ให้ ทาํ การปรับปรุ ง บริษัท ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย (เดิมชือ "บริ ษัท ปิ คนิคแก๊ ส แอนด์ เอ็นจิเนียริง จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย") งบดุล ณ วันที 31 ธันวาคม 2547 และ 2546 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี 'การค้ าและตัว* เงินรับ - ธุรกิจพลังงาน ลูกหนี 'การค้ าและตัว* เงินรับ - ธุรกิจให้ บริการรับเหมา รายได้ ที0ยงั ไม่ถึงกําหนดชําระ หัก : ค่าเผื0อหนี 'สงสัยจะสูญ ลูกหนี 'การค้ าและรายได้ ที0ยงั ไม่ถึงกําหนดชําระ - สุทธิ ลูกหนี 'กิจการที0เกี0ยวข้ องกัน - สุทธิ เงินให้ ก้ ยู ืมระยะสันแก่ ' กิจการที0เกี0ยวข้ องกัน สินค้ าคงเหลือ - สุทธิ สินทรัพย์หมุนเวียนอื0น ภาษีมลู ค่าเพิ0มค้ างรับ ลูกหนี 'อื0น ดอกเบี 'ยค้ างรับจากกิจการที0เกี0ยวข้ องกัน อื0น ๆ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินฝากธนาคารที0ติดภาระคํ 'าประกัน เงินคํ 'าประกัน เงินลงทุนซึ0งบันทึกโดยวิธีสว่ นได้ เสีย เงินให้ ก้ ยู ืมระยะยาวแก่กิจการที0เกี0ยวข้ องกัน ที0ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ ค่าความนิยม - สุทธิ เครื0องหมายการค้ า - สุทธิ สิทธิในการใช้ เครื0องหมายการค้ า - สุทธิ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื0น เงินมัดจําค่าซื 'อถังบรรจุก๊าซ เงินมัดจําค่าซื 'อที0ดิน อื0น ๆ รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง0 ของงบการเงินนี '
2547
2546
งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ 2547 2546
978,381,926 1,203,289,878 417,392,585 793,271,516 (37,599,810) 2,376,354,169 436,078,333
1,248,646,615 703,603,983 187,330,042 169,027,343 (45,292,403) 1,014,668,965 18,520,958
688,624,460 637,875,862 417,392,585 793,271,516 (3,022,058) 1,845,517,905 4,185,924 959,500,415 365,176,048
1,243,998,043 703,603,983 184,689,969 165,701,462 (45,292,403) 1,008,703,011 15,294,081 18,520,958
5
269,204,595 32,690,767 30,560,034 4,123,269,824
92,451,209 14,844,211 2,389,131,958
253,705,904 27,590,997 22,176,346 16,721,073 4,183,199,072
92,451,209 13,932,146 2,392,899,448
7 28.6 8 5 9 8 5 1
208,577,009 31,050,438 5,247,981,057 1,020,426,879 273,698,630 95,812,785
177,622,820 31,050,438 1,334,465,795 288,708,960 -
206,874,700 31,050,438 1,780,226,287 300,000,000 3,393,689,969 273,698,630 95,812,785
174,445,234 31,050,438 1,480,866 1,334,325,354 288,708,960 -
10 11
1,221,729,395 565,000,000 20,922,708 8,685,198,901 12,808,468,725
259,056,144 12,890,318 2,103,794,475 4,492,926,433
917,870,741 565,000,000 11,318,501 7,575,542,051 11,758,741,123
259,056,144 12,571,520 2,101,638,516 4,494,537,964
4 4 4 4 4 5 5 6
บริษัท ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย (เดิมชือ "บริ ษัท ปิ คนิคแก๊ ส แอนด์ เอ็นจิเนียริง จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย") งบดุล (ต่ อ) ณ วันที 31 ธันวาคม 2547 และ 2546 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ 2547 2546 หนี 'สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี 'สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ' นการเงิน ตัว* สัญญาใช้ เงิน เจ้ าหนี 'การค้ าและตัว* เงินจ่าย - ธุรกิจพลังงาน เจ้ าหนี 'การค้ าและตัว* เงินจ่าย - ธุรกิจให้ บริการรับเหมา เจ้ าหนี 'ค่าถังบรรจุก๊าซ เงินกู้ยืมระยะยาวที0ถึงกําหนดชําระภายในหนึ0งปี หนี 'สินระยะยาวที0ถึงกําหนดชําระภายในหนึง0 ปี หนี 'สินหมุนเวียนอื0น เงินล่วงหน้ าจากลูกค้ า ดอกเบี 'ยค้ างจ่าย ภาษีเงินได้ นิติบคุ คลค้ างจ่าย อื0น ๆ รวมหนี 'สินหมุนเวียน หนี 'สินไม่หมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะยาว - สุทธิจากส่วนที0ถึงกําหนดชําระภายในหนึง0 ปี เงินมัดจําถังบรรจุก๊าซ เงินมัดจําจากการให้ เช่าถังบรรจุก๊าซ ค่าเผื0อต้ นทุนงานติดตังที ' 0อาจเกิดขึ 'น สํารองเผื0อผลขาดทุนจากเงินลงทุนตามวิธีสว่ นได้ เสีย รวมหนี 'สินไม่หมุนเวียน รวมหนี 'สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 1,500 ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท (2546 : หุ้นสามัญ 150 ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 5 บาท) ทุนออกจําหน่ายและชําระเต็มมูลค่าแล้ ว หุ้นสามัญ 1,296,182,900 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 1 บาท (2546 : หุ้นสามัญ 120 ล้ านหุ้น มูลค่าหุ้นละ 5 บาท) ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ เงินรับล่วงหน้ าค่าหุ้นสามัญ ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินต่างประเทศ ส่วนเกินทุนจากราคาขายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว กําไรสะสม จัดสรรแล้ ว - สํารองตามกฎหมาย ยังไม่ได้ จดั สรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี 'สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ0งของงบการเงินนี '
12 13
14 15
14 18 8
งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ 2547 2546
3,369,476,714 769,990,480 1,000,676,114 514,921,542 159,216,671 240,783,390 13,968,017
1,521,169,523 128,000,000 262,839,220 87,963,091 7,863,221 13,968,017
3,336,434,267 769,990,480 699,791,501 514,921,542 118,842,932 226,440,000 13,968,017
1,521,169,523 128,000,000 262,839,220 87,963,091 7,863,221 13,968,017
100,908,725 2,554,352 113,797,351 64,546,963 6,350,840,319
89,256,698 13,414,350 2,124,474,120
100,894,992 2,176,672 91,374,431 29,096,887 5,903,931,721
89,256,698 13,330,021 2,124,389,791
1,289,811,403 1,118,894,638 178,440,072 2,587,146,113 8,937,986,432
531,967,954 725,606 532,693,560 2,657,167,680
1,214,250,810 589,977,844 178,440,072 1,658,383 1,984,327,109 7,888,258,830
531,967,954 725,606 1,695,860 534,389,420 2,658,779,211
1,500,000,000
750,000,000
1,500,000,000
750,000,000
1,296,182,900 1,334,075,540 532,478,431 (950,782) 322,000,000
600,000,000 964,000,000 -
1,296,182,900 1,334,075,540 532,478,431 (950,782) 322,000,000
600,000,000 964,000,000 -
33,910,000 352,786,204 3,870,482,293 12,808,468,725
22,160,000 249,598,753 1,835,758,753 4,492,926,433
33,910,000 352,786,204 3,870,482,293 11,758,741,123
22,160,000 249,598,753 1,835,758,753 4,494,537,964
16
16 16
21
บริษัท ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย (เดิมชือ "บริ ษัท ปิ คนิคแก๊ ส แอนด์ เอ็นจิเนียริง จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย") งบกําไรขาดทุน สําหรับปี สิน6 สุดวันที 31 ธันวาคม 2547 และ 2546 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม หมายเหตุ 2547 2546 รายได้ รายได้ จากการขายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว รายได้ จากการขายนํ 'ามันปิ โตรเลียม รายได้ จากงานติดตังและบริ ' การ รายได้ อื0น ดอกเบี 'ยรับ กําไรจากการขายสินทรัพย์ กําไรจากการงดสิทธิในการเรียกร้ องหนี ' กําไรจากการขายเงินลงทุน โอนกลับค่าเผื0อหนี 'สงสัยจะสูญ อื0น ๆ ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนตามวิธีสว่ นได้ เสีย รวมรายได้ ค่าใช้ จา่ ย ต้ นทุนขายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว ต้ นทุนขายนํ 'ามันปิ โตรเลียม ต้ นทุนงานติดตังและบริ ' การ ค่าใช้ จ่ายในการขายและบริหาร ค่าตอบแทนกรรมการ ส่วนแบ่งในผลขาดทุนจากเงินลงทุนตามวิธีสว่ นได้ เสีย รวมค่าใช้ จา่ ย กําไรก่อนดอกเบี 'ยจ่ายและภาษีเงินได้ ดอกเบี 'ยจ่าย ภาษีเงินได้ นิติบคุ คล กําไรก่อนส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้ อย ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้ อย กําไรสุทธิสําหรับปี กําไรต่อหุ้น กําไรต่อหุ้นขันพื ' 'นฐาน กําไรสุทธิ จํานวนหุ้นสามัญถัวเฉลีย0 ถ่วงนํ 'าหนัก (หุ้น) กําไรต่อหุ้นปรับลด กําไรสุทธิ จํานวนหุ้นสามัญถัวเฉลีย0 ถ่วงนํ 'าหนัก (หุ้น)
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึง0 ของงบการเงินนี '
19 8
20
22
งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ 2547 2546
4,788,403,352 397,330,882 1,465,528,840
2,094,540,350 269,197,498
3,169,155,164 397,330,882 1,465,528,840
2,094,540,350 239,470,893
37,184,044 23,272,913 41,410,229 519,134 7,988,136 38,442,258 6,800,079,788
16,972,141 30,060,684 28,876,440 9,982,343 2,449,629,456
58,529,272 28,281,659 519,134 2,055,243 17,123,178 46,904,083 5,185,427,455
17,130,523 30,060,684 28,876,440 9,947,054 2,420,025,944
4,593,172,220 382,521,325 1,107,001,816 247,427,676 1,530,000 6,331,653,037 468,426,751 (143,613,033) (89,876,267) 234,937,451 234,937,451
1,856,575,736 207,982,381 85,849,635 130,000 2,150,537,752 299,091,704 (33,705,871) 265,385,833 82 265,385,915
3,111,993,812 382,521,325 1,107,001,816 132,101,327 1,530,000 4,735,148,280 450,279,175 (148,897,449) (66,444,275) 234,937,451 234,937,451
1,856,575,736 177,479,058 82,928,652 130,000 3,820,712 2,120,934,158 299,091,786 (33,705,871) 265,385,915 265,385,915
0.36
0.66
0.36
0.66
646,174,196
402,976,960
646,174,196
402,976,960
0.28
0.64
0.28
0.64
853,482,932
414,868,205
853,482,932
414,868,205
23
1,334,075,540
1,296,182,900
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ0งของงบการเงินนี '
ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2547
-
โอนไปสํารองตามกฎหมาย
21
-
-
เงินปั นผลจ่าย
-
กําไรสุทธิสําหรั บปี
-
ส่วนเกินทุนจากราคาขายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลวเพิ0มขึ 'น
26
-
ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินต่างประเทศ
-
129,618,290
648,091,450
16.4
16.5
ออกหุ้นเพิ0มทุน
เงินรั บล่วงหน้ าค่าหุ้น
-
240,457,250
48,091,450
16.3
ออกหุ้นเพิ0มทุนจากการใช้ สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ
964,000,000
600,000,000
-
-
ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2546
ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้ อยของบริ ษัทย่อยลดลง
-
21
โอนไปสํารองตามกฎหมาย
964,000,000
526,670,000 -
-
มูลค่าหุ้น
ส่วนเกิน
532,478,431
-
-
-
-
-
532,478,431
-
-
-
-
-
-
-
-
ค่าหุ้นสามัญ
เงินรับล่วงหน้ า
(950,782)
-
-
-
-
(950,782)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ต่างประเทศ
แปลงค่างบการเงิน
ผลต่างจากการ
(หน่วย : บาท)
สําหรั บปี สิน6 สุดวันที 31 ธันวาคม 2547 และ 2546
งบแสดงการเปลียนแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น
73,330,000
และชําระแล้ ว
-
16.1
หมายเหตุ
ทุนเรื อนหุ้นที0ออก
กําไรสุทธิสําหรั บปี
ออกหุ้นเพิ0มทุน
ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2545
บริ ษัท ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย
322,000,000
-
-
-
322,000,000
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ปิ โตรเลียมเหลว
ราคาขายก๊ าซ
ส่วนเกินทุนจาก
งบการเงินรวม
(เดิมชือ "บริ ษัท ปิ คนิคแก๊ ส แอนด์ เอ็นจิเนียริ ง จํากัด (มหาชน) และบริ ษัทย่ อย")
33,910,000
11,750,000
-
-
-
-
-
-
-
22,160,000
-
13,140,000
-
-
9,020,000
สํารองตามกฎหมาย
352,786,204
(11,750,000)
234,937,451
(120,000,000)
-
-
-
-
-
249,598,753
-
(13,140,000)
265,385,915
-
(2,647,162)
ยังไม่ได้ จัดสรร
กําไร (ขาดทุน) สะสม
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ส่วนน้ อย
(82)
82
ส่วนของผู้ถือหุ้น รวม
3,870,482,293
-
234,937,451
(120,000,000)
322,000,000
(950,782)
532,478,431
777,709,740
288,548,700
1,835,758,753
(82)
-
265,385,915
1,490,670,000
79,702,920
73,330,000 526,670,000
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ0งของงบการเงินนี '
ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2547
1,296,182,900
-
โอนไปสํารองตามกฎหมาย
21
-
เงินปั นผลจ่าย
กําไรสุทธิสําหรับปี
-
ส่วนเกินทุนจากราคาขายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลวเพิ0มขึ 'น
26
-
-
ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินต่างประเทศ
16.5
เงินรับล่วงหน้ าค่าหุ้น
648,091,450
48,091,450
16.3
16.4
ออกหุ้นเพิ0มทุนจากการใช้ สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ
ออกหุ้นเพิ0มทุน
600,000,000
ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2546
-
โอนไปสํารองตามกฎหมาย
21
-
กําไรสุทธิสําหรับปี
16.1
ยอดคงเหลือ ณ วันที 31 ธันวาคม 2545
และชําระแล้ ว
ทุนเรื อนหุ้นที0ออก
ออกหุ้นเพิ0มทุน
หมายเหตุ
บริษัท ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย
1,334,075,540
-
-
-
-
-
-
129,618,290
240,457,250
964,000,000
-
-
964,000,000
-
มูลค่าหุ้น
ส่วนเกิน
532,478,431
-
-
-
-
-
532,478,431
-
-
-
-
-
-
-
ค่าหุ้นสามัญ
เงินรับล่วงหน้ า
(หน่วย : บาท)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
(950,782)
(950,782)
ต่างประเทศ
แปลงค่างบการเงิน
ผลต่างจากการ
322,000,000
-
-
-
322,000,000
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ปิ โตรเลียมเหลว
ราคาขายก๊ าซ
ส่วนเกินทุนจาก
งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ
สําหรับปี สิน6 สุดวันที 31 ธันวาคม 2547 และ 2546
งบแสดงการเปลียนแปลงส่ วนของผู้ถือหุ้น (ต่ อ)
(เดิมชือ "บริษัท ปิ คนิคแก๊ ส แอนด์ เอ็นจิเนียริง จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย")
33,910,000
11,750,000
-
-
-
-
-
-
-
22,160,000
13,140,000
-
-
9,020,000
สํารองตามกฎหมาย
352,786,204
(11,750,000)
234,937,451
(120,000,000)
-
-
-
-
-
249,598,753
(13,140,000)
265,385,915
-
(2,647,162)
ยังไม่ได้ จัดสรร
กําไร (ขาดทุน) สะสม
3,870,482,293
-
234,937,451
(120,000,000)
322,000,000
(950,782)
532,478,431
777,709,740
288,548,700
1,835,758,753
-
265,385,915
1,490,670,000
79,702,838
รวม
บริษัท ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย (เดิมชือ "บริ ษัท ปิ คนิคแก๊ ส แอนด์ เอ็นจิเนียริง จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย") งบกระแสเงินสด สําหรับปี สิน6 สุดวันที 31 ธันวาคม 2547 และ 2546 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม 2547 2546 กระแสเงินสดจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน กําไรสุทธิสําหรับปี ปรับกระทบส่วนเกินทุนจากราคาขายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว ปรับกระทบผลกําไรสุทธิเป็ นเงินสดรับจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้ อย ค่าเสือ0 มราคาและตัดจําหน่าย โอนกลับค่าเผื0อหนี 'สงสัยจะสูญ ดอกเบี 'ยตัดจ่าย ค่าความนิยมตัดจําหน่าย กําไรจากการงดสิทธิในการเรียกร้ องหนี ' โอนกลับค่าเผื0อสินค้ าล้ าสมัย กําไรจากการขายสินทรัพย์ถาวร โอนกลับสํารองเผื0อต้ นทุนที0อาจเกิดขึ 'น กําไรจากการขายเงินลงทุนในหุ้นทุน ส่วนแบ่งขาดทุน (กําไร) จากการลงทุนตามวิธีสว่ นได้ เสีย สินทรัพย์ดําเนินงานลดลง (เพิ0มขึ 'น) ลูกหนี 'การค้ าและตัว* เงินรับ - ธุรกิจพลังงาน ลูกหนี 'การค้ าและตัว* เงินรับ - ธุรกิจให้ บริการรับเหมา รายได้ ที0ยงั ไม่ถึงกําหนดชําระ ลูกหนี 'กิจการที0เกี0ยวข้ องกัน สินค้ าคงเหลือ ภาษีมลู ค่าเพิ0มค้ างรับ ดอกเบี 'ยค้ างรับจากกิจการที0เกี0ยวข้ องกัน สินทรัพย์หมุนเวียนอื0น เงินคํ 'าประกัน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื0น หนี 'สินดําเนินงานเพิ0มขึ 'น (ลดลง) เจ้ าหนี 'การค้ าและตัว* เงินจ่าย - ธุรกิจพลังงาน เจ้ าหนี 'การค้ าและตัว* เงินจ่าย - ธุรกิจให้ บริการรับเหมา เจ้ าหนี 'ค่าถังบรรจุก๊าซ เงินล่วงหน้ าจากลูกค้ า ดอกเบี 'ยค้ างจ่าย ภาษีเงินได้ นิติบคุ คลค้ างจ่าย หนี 'สินหมุนเวียนอื0น เงินมัดจําถังบรรจุก๊าซ เงินมัดจํารับจากการให้ เช่าถังบรรจุก๊าซ กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมดําเนินงาน หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ0งของงบการเงินนี '
งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ 2547 2546
234,937,451 322,000,000
265,385,915 -
234,937,451 322,000,000
265,385,915 -
131,410,464 (12,709,692) 86,635,770 28,625,135 (38,442,258) (23,272,913) (725,606) (519,134) 727,939,217
(82) 42,121,397 (28,876,440) 14,545,204 (4,019,904) (1,610,431) (6,676) (7,751,221) (30,060,684) 249,727,078
114,444,572 (2,055,243) 86,635,770 (28,281,659) (725,606) (519,134) (46,904,083) 679,532,068
42,094,628 (28,876,440) 14,545,204 (4,019,904) (1,610,431) (6,676) (7,751,221) (30,060,684) 3,820,712 253,521,103
(45,838,361) (231,011,397) (624,244,173) (371,393,224) (173,533,333) (35,886,205) 996,564
(100,391,879) (663,294,348) (46,275,588) (16,620,807) (78,589,703) (14,191,050) (31,050,438) (2,797,883)
65,728,121 (272,917,718) (627,570,054) 11,108,157 (346,655,090) (161,254,695) (22,176,346) (30,379,924) (109,280)
(100,391,879) (660,654,276) (42,949,707) (10,857,779) (16,620,807) (78,599,920) (12,905,611) (31,050,438) (2,885,481)
446,207,836 438,066,608 151,353,450 11,636,881 2,554,352 113,797,351 11,715,755 98,432,460 178,440,072 699,233,853
81,328,477 262,839,220 7,863,221 65,834,134 12,007,109 531,967,954 258,355,497
436,952,281 426,958,451 110,979,711 11,638,294 2,176,672 91,374,431 15,766,866 58,009,890 178,440,072 627,601,907
81,352,776 262,839,220 7,863,221 65,834,134 12,384,330 531,967,954 258,846,840
บริษัท ปิ คนิค คอร์ ปอเรชัน จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย (เดิมชือ "บริ ษัท ปิ คนิคแก๊ ส แอนด์ เอ็นจิเนียริง จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่ อย") งบกระแสเงินสด (ต่ อ) สําหรับปี สิน6 สุดวันที 31 ธันวาคม 2547 และ 2546 (หน่วย : บาท) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะของบริษัทฯ 2547 2546 2547 2546 กระแสเงินสดจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมลงทุน เงินฝากสถาบันการเงินที0ติดภาระคํ 'าประกันเพิ0มขึ 'น (32,440,519) (156,948,315) (32,429,466) (155,453,234) เงินให้ ก้ ยู ืมระยะสันแก่ ' กิจการที0เกี0ยวข้ องกันลดลง (เพิ0มขึ 'น) 415,202 (959,500,415) เงินให้ ก้ ยู ืมระยะยาวแก่กิจการที0เกี0ยวข้ องกันเพิ0มขึ 'น (300,000,000) เงินสดจ่ายซื 'อเงินลงทุนในบริ ษัทย่อย (หมายเหตุ 8) (1,417,056,017) (1,734,310,463) (6,000,000) เงินสดรับจากการขายเงินลงทุน 2,000,000 9,150,009 2,000,000 9,150,009 ซื 'อสินทรัพย์ถาวร (2,408,275,083) (1,363,995,967) (2,205,078,933) (1,363,828,757) เงินสดรับจากการจําหน่ายสินทรัพย์ถาวร 41,133,512 6,700 229,643,959 6,700 ซื 'อเครื0องหมายการค้ า (300,000,000) (300,000,000) ซื 'อสิทธิในการใช้ เครื0องหมายการค้ า (100,000,000) (100,000,000) เงินมัดจําค่าซื 'อถังบรรจุก๊าซเพิ0มขึ 'น (1,112,205,961) (259,056,144) (808,347,307) (259,056,144) จ่ายเงินมัดจําค่าซื 'อที0ดิน (565,000,000) (565,000,000) กระแสเงินสดสุทธิใช้ ไปในกิจกรรมลงทุน (5,591,844,068) (2,070,428,515) (6,473,022,625) (2,075,181,426) กระแสเงินสดจาก (ใช้ ไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสันจากสถาบั ' นการเงินเพิ0มขึ 'น ตัว* สัญญาใช้ เงินเพิ0มขึ 'น เงินกู้ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงินเพิ0มขึ 'น หนี 'สินระยะยาวลดลง จ่ายเงินปั นผล รับเงินค่าหุ้นเพิ0มทุน กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินต่างประเทศ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ0มขึ 'น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที0 1 มกราคม หัก : เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้ นงวดของบริษัทย่อย ที0ไม่รวมในงบการเงินรวมสําหรับปี ปัจจุบนั เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันที0 31 ธันวาคม ข้ อมูลกระแสเงินสดเปิ ดเผยเพิ0มเติม : เงินสดจ่ายระหว่างปี สําหรับ : ดอกเบี 'ยจ่าย ภาษีเงินได้ นิติบคุ คล โอนเงินมัดจําค่าถังบรรจุก๊าซเป็ นงานระหว่างก่อสร้ าง
หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็ นส่วนหนึ0งของงบการเงินนี '
976,235,426 641,990,480 1,530,594,793 (120,000,000) 1,598,736,871 4,627,557,570 (950,782) (266,003,427) 1,248,646,615
1,506,624,319 128,000,000 (105,394,979) 1,479,388,380 3,008,617,720 1,196,544,702 52,150,497
1,728,628,974 641,990,480 1,440,690,810 (120,000,000) 1,598,736,871 5,290,047,135 (555,373,583) 1,243,998,043
1,506,624,319 128,000,000 (105,394,979) 1,479,388,380 3,008,617,720 1,192,283,134 51,714,909
(4,261,262) 978,381,926 -
(48,584) 1,248,646,615 -
688,624,460 -
1,243,998,043 -
191,112,252 29,533,470 149,532,710
46,507,033 3,492,317 -
162,450,056 28,843,747 149,532,710
46,507,033 3,491,417 -
ภาคผนวก ค รายงานของนักบัญชีนิติเวช