Annual report of fst 2551

Page 1

รายงานประจําป 2551

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


คํานํา รายงานประจําป 2551 เลมนี้ของคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ เปนขั้นตอนหนึ่งของงานประกันคุณภาพ การศึกษาภายในของหนวยงาน โดยมีลั กษณะการรวบรวมขอมูล การดําเนิ นงานในสวนตางๆของคณะวิ ทยาศาสตร และเทคโนโลยีตามกรอบพันธกิจ 4 ดานในภาพรวม ทั้ งนี้เพื่อใหเป นฐานขอมูล ในการดํา เนิน การตรวจประเมินตาม เปาหมายและระดั บคุ ณภาพมาตรฐานที่กํ าหนดโดยสํา นัก ประกั นคุ ณภาพการศึก ษา มหาวิท ยาลั ยอิ สลามยะลาและ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา การตรวจประเมิ นผลการดํ าเนิ นงาน มหาวิทยาลัยไดแตง ตั้ง คณะกรรมการเพื่อประเมิ นคุณภาพการศึ กษา ภายใน โดยคณะกรรมการจะดํ าเนินการประเมินตัวบ งชี้ตามองค ประกอบคุณ ภาพของสํา นัก งานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา (สกอ.)และตัวบงชี้ที่มหาวิทยาลัยกําหนดขึ้น จํานวน 44 ตัวบงชี้(จากทั้งหมด 48 ตัวบงชี้) 9 องคประกอบ ไดแก องคประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนการดําเนินงาน จํานวน 3 ตัวบงชี้ องคประกอบที่ 2 การเรียนการสอน จํานวน 9 ตัวบงชี้ องคประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา จํานวน 7 ตัวบงชี้ องคประกอบที่ 4 การวิจัย จํานวน 4 ตัวบงชี้ องคประกอบที่ 5 การบริหารวิชาการแกสังคม จํานวน 4 ตัวบงชี้ องคประกอบที่ 6 การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม จํานวน 2 ตัวบงชี้ องคประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ จํานวน10 ตัวบงชี้ องคประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ จํานวน 2 ตัวบงชี้ องคประกอบที่ 9 ระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา จํานวน 3 ตัวบงชี้ ดังนั้น รายงานประจําป 2551 คณะวิท ยาศาสตรและเทคโนโลยีเล ม นี้ จึง สามารถใช เป นแนวทางในการ ติดตามสถาพการดําเนินงานตางๆที่เกิดขึ้นภายในรอบปที่ผานมาไดอยางครบถวนสมบูรณ ตามสภาพความเปนจริงทุก ประการ เพื่อใหคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ สามารถนําไปใชในการเผยแพรขอมูลการดําเนินงานทั้งหนวยงาน ภายในและภายนอก อีกทั้งสามารถเปนประโยชนตอการพัฒนาในอนาคตตอไป

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ สิงหาคม 2552


สารบัญ เรื่อง 1. ประวัติความเปนมาของคณะ และประวัติโดยยอของผูบริจาคอาคาร 2. ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน 3. คณะผูบริหารคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 4. โครงสรางองคกร 4.1 โครงสรางองคกร 4.2 โครงสรางการบริหารงาน 5. ขอมูลดานการจัดการศึกษา 5.1. หลักสูตรการศึกษา 5.2 จํานวนนักศึกษา 5.3 การพัฒนานักศึกษา 5.4 ทุนการศึกษา 5.5 ผลงานดีเดนของนักศึกษา บุคลากรและคณะฯ 6. ผลการดําเนินงานตามพันธกิจหลักของคณะฯ 6.1 งานดานการสอน 6.1.1 อาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ 6.1.2 อาจารยที่ปรึกษาโครงการนิเทศนักศึกษา 6.1.3 สรุปกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ 6.2 งานดานการวิจัยและการผลิตผลงานวิชาการ 6.2.1 ตารางแสดงงบประมาณดานการวิจัย 6.2.2 ผลการดําเนินงานวิจัย 6.2.3 การเผยแพรผลงานวิจัย 6.2.4 เอกสารประเภทสื่อการสอนประจําปการศึกษา พ.ศ. 2551 6.2.5 สรุปกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ 6.3 งานดานการบริการวิชาการแกสังคม 6.3.1 งานบริการวิชาการสูสังคมของคณะฯ 6.3.2 วิทยากร 6.3.3 อาจารยพิเศษ 6.3.4 ความรวมมือทางดานวิชาการ 6.3.4.1 สงเสริมความรวมมือทางดานวิชาการกับองคกรภายในประเทศ 6.3.4.2 สงเสริมความรวมมือทางดานวิชาการกับสถาบันการศึกษาตางประเทศ 6.3.5 สรุปกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ

หนา 1 3 5 6-7 6 7 8-13 8 9 9 12 13 14-99 14-18 14 16 18 19-24 19 20 22 23 24 25-73 26 28 58 60 60 62 63


6.4 งานดานการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 6.4.1 งานพัฒนาศักยภาพนักศึกษา(กิจกรรมนักศึกษา) 6.4.2 งานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 6.4.3 สรุปกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ 6.5 งานดานการบริหารจัดการของคณะฯ 6.5.1 สงเสริมการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนใหมีความรูและทักษะในการปฏิบัติ งานที่มีประสิทธิภาพ 6.5.2 ผลงานดีเดนของอาจารย บุคลากร และนักศึกษา 6.5.3 สงเสริมการพัฒนาทรัพยากรทางกายภาพและบรรยากาศสิ่งแวดลอมของคณะฯ  ดานการพัฒนาหองตางๆ ปรับปรุงหองเรียนใหมีมาตรฐาน ปรับปรุงหองปฏิบัติการ ปรับปรุงหองปฏิบัติงาน  ดานการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน พื้นที่ และสถานที่ตางๆของคณะฯ 6.5.4 ปจจัยสนับสนุนการเรียนการสอน  บริการหองสมุด  บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ  บริการสวัสดิการทางสุขภาพพลานามัย สถานที่ออกกําลังกาย 6.5.5 สรุปกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ 6.6 งานดานอื่นๆ 6.6.1 คณะกรรมการตางๆ 6.6.2 สรุปกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ 7. การประกันคุณภาพการศึกษา 7.1 การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 7.2 นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 7.3 แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 8. ขอมูลสารสนเทศ 8.1 ขอมูลทั่วไป 8.2 ขอมูลบุคลากรจําแนกตามสายงาน ประจําปการศึกษา พ.ศ. 2551  สายสนับสนุนวิชาการ  สายวิชาการ  ขอมูลบุคลากรเปรียบเทียบทั้ง 2 สาย

74-80 74 76 79 80-90 82 84 85 85 85 85 86 87 87 87 87 88 89 91-99 91 98 100-111 103 103 104 112-118 112 112 112 113 114


8.3 8.4 8.5 8.6 8.7 8.8 8.9

สรุปขอมูลบุคลากร ประจําปการศึกษา พ.ศ. 2551 ขอมูลบุคลากรจําแนกตามตําแหนงวิชาการ ประจําปการศึกษา พ.ศ. 2551 ขอมูลภาระงานสอน ขอมูลหลักสูตรที่เปดสอน ขอมูลสถิตินักศึกษา ประจําปการศึกษา พ.ศ. 2551 สถิติผูสําเร็จการศึกษาของคณะฯประจําปการศึกษา พ.ศ. 2547-2551 ขอมูลการใชงบประมาณรายจายประจําป พ.ศ. 2551

ภาคผนวก  อาคาร สถานที่ (หมายเลขอาคาร หอง และชื่อตางๆ)  ผูจัดทําหนังสือรายงานประจําป พ.ศ. 2551

********************************

114 114 115 115 115 115 117 119-122 119 122


1

FST-Annual Report 2008

1. ประวัติความเปนมาคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชีคกอซิม บิน มุหัมมัด อาล-ษานีย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลาเปนสถาบันอุดมศึกษาเอกชนอิสลามแหงแรกใน ประเทศไทย โดย สถาปนาขึ้นเมื่อป พ.ศ.2541 ซึ่งมีเจตนาอันแนวแนในการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการแก สังคม และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคลองกับหลักการอิสลาม โดยทําการผลิตบัณฑิตใหมีความรอบรู ศรัทธา และปฏิบัติตามอัล-กุรอานและสุนนะฮฺ มี คุณธรรม จริย ธรรมที่สู งสง มีวิ สัยทัศนที่ก วางไกล และ เปนแบบอยา งที่ ดีใ นการพัฒ นาคุณ ภาพชี วิต ทั้ง ของตนเอง ครอบครั ว และสังคม โดยผ านกระบวนการศึ กษา คนควาหาความรูในสาขาวิชาตาง ๆ ที่วางอยูบนหลักสมดุล ครอบคลุม ตอเนื่อง และบูรณาการ จากการประชุมสภาวิทยาลัยอิสลามยะลา วันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2546 ไดมีมติอนุมัติหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรนานาชาติ) สภามหาวิทยาลัยจึงไดจัดตั้ง “คณะ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ ชีคกอซิม บิน มุ หัมมัด อาล-ษานีย” เพื่อจัดการเรียนการสอน ศึกษาคนควา วิจัย ทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และวิทยาศาสตรส าขาอื่น ๆ ในแขนงวิทยาศาสตรบริสุทธิ์ วิทยาศาสตรบูร ณา การ และวิทยาศาสตรประยุกต โดยตอยอดภูมิปญญาเดิมและสรางความรูใ หมเพื่อพัฒนาการเรีย นการสอน วิจัย ทางวิทยาศาสตร และอื่น ๆ ที่มีความสอดคลองกับหลักการอิสลาม ในเบื้ อ งต น คณะวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ฯ ได จั ด ตั้ ง สาขาวิ ช าเทคโนโลยี ส ารสนเทศ (หลักสูตรนานาชาติ)เปนสาขาวิชาแรก ขึ้นในปการศึกษา พ.ศ.2547 ไดเปดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ) หลักสูตรนานาชาติ ตอมาวันที่ 5 กุมภาพันธ พ.ศ.2549 ไดจัดตั้งสาขาวิชาวิทยาศาสตร ขึ้นเปนสาขาวิชาที่ส องของคณะวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ฯ โดยเป ดสอนหลั กสูตรวิ ทยาศาสตรบั ณฑิ ต (วิทยาศาสตร) และ ในปเดีย วกันไดปรับปรุง หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ)หลั กสูตร นานาชาติ เปนหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร) หลักสูตรปรับปรุง ในปเดียวกัน ป จ จุ บั น คณะวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ฯ ได แ บ ง หน ว ยงานออกเป น 3 สาขาวิ ช าและ 1 หนวยงาน คือ สาขาวิชาเทคโนโลยีส ารสนเทศ สาขาวิชาวิท ยาศาสตร สาขาวิช าเคมี ประยุก ต และสํา นัก งาน คณะ เปด สอนหลั กสูตรในระดั บ ปริญญาตรี หลั กสูตรเทคโนโลยีบั ณฑิต (วิท ยาการคอมพิว เตอร) หลัก สูต ร นานาชาติ หลักสูต รนานาชาติ หลักสูตรวิท ยาศาสตรบัณ ฑิต (วิทยาศาสตร) และหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิ ต (เคมีประยุกต) อนึ่งแผนพัฒนาทางดานหลักสูตรระหวางพ.ศ.2551-2553 ทางคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ ไดมีการวางแผนที่จะเปดหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต(ชีววิทยาประยุกต) ในปการศึก ษา พ.ศ.2553 เพื่อรองรับ ความตองการของชุมชนและสังคมในอนาคต


2

FST-Annual Report 2008

ประวัติโดยยอ ชีค กอซิม บินมุหัมมัด อาล-ษานีย และชีคฮามัด บินคอลีฟะห อาล-ษานีย ชีค กอซิม บินมุหัมมัด อาล-ษานีย เปนผูริเริ่มกอตั้งรัฐกาตารยุคใหม ทานไดรับการแตงตั้ง ใหปกครอง รัฐ กาตาร สืบทอดจากบิดาของทาน ชีค มุหัมมัด บิน ษานีย ในปคศ. 1878 ซึ่งเชค มุหัมมัด บินษานีย นับเปน ชีคคนแรกจากตระกูลอาล-ษานียที่ปกครองรัฐกาตาร เดิมตระกูล อาล-ษานีย ซึ่งสืบเชื้อสายมาจาก เผาตะมีมตั้ง รกรากอยูแถบ Gibrin ทางตอนใต ของ Najd และไดอพยพมายังกาตาร ในชวงตน ศตวรรษที่18 ซึ่งขณะนั้ น กาตารเปนสวนหนึ่งของอาณาจักร ออตโตมัน (อุษมานียะฮฺ) ชีค มุหั มมัด บิน กอซิ ม อาล-ษานี ย ไดฉายแววความเฉลียวฉลาดและความเปนผู นําตั้ งแตเ ยาววั ย เมื่อ ไดรับการแตงตั้งใหเปนผูปกครองรัฐกาตาร ทานตองเผชิญกับอิทธิพลของสองอาณาจักรที่เกรียงไกรในอดีต คือ อาณาจักรตุรกีที่เคยครอบครองดินแดนแถบนี้ และสหราชอาณาจักรอังกฤษที่กําลังขยายอิทธิพ ลในอินเดียและ ตะวันออกกลาง แตทานก็ส ามารถประคับประคองรัฐกาตารใหกลายเปนรัฐเอกราช และไดรับการยอมรั บจาก สองมหาอํานาจในขณะนั้น หลังจากนั้นทานก็มุงสถาปนาความมั่นคง ความเปนปกแผน สรางความยุติธรรมและ ความมั่งคั่งใหแกประเทศ จนเปนที่ยอมรับวาทานเปนผูทรงกอตั้งรัฐกาตารยุคใหม และยึดเอาวันที่ทานทรงขึ้น ปกครองประเทศในวันที่ 18 ธันวาคม 1878 เปนวันชาติกาตารจนกระทั่งถึงปจจุบัน ปจจุบันรัฐกาตารปกครองและบริหารโดย ชีคฮามัด บิน คอลีฟะฮ อาล-ษานีย ซึ่งทานดํารงตําแหนงเปน ประมุขผู ปกครองรัฐ นายกรัฐ มนตรี และรัฐ มนตรี ตา งประเทศ ท านไดขึ้ นปกครองรัฐ กาตารตั้ งแตวั นที่ 26 มิถุนายน คศ.1995 ซึ่งถือวาทานเปนทายาทสืบทอดการปกครองรัฐกาตารยุคใหมคนที่ 6 จากตระกูลอาล-ษานีย ตอเนื่องมาจากชีคกอซิมบรรพบุรุษของทานซึ่งเปนผูริเริ่มสถาปนารัฐกาตารยุคใหมคนแรก ความเจริญและการ พัฒนาในดานตางๆไดดําเนินอยางรวดเร็วในสมัยของชีคฮามัด บินคอลีฟะฮ อาล-ษานีย ไมวา ในดานการเมือง เศรษฐกิจ และการศึกษา จนทําใหกาตารไดกลายเปนรัฐที่เจริญรุดหนาและมั่งคั่งที่สุดในตะวันออกกลาง รายได เฉลี่ย ประชากรสูงที่ สุดในโลก ท านไม ไดมุงพั ฒนาประเทศกาตารอยา งเดีย วเทา นั้น แตทา นไดส นใจพั ฒนาพี่ นองมุสลิมในประเทศตางๆโดยเฉพาะอยางยิ่งในดานการศึกษา การใหความชวยเหลือมหาวิทยาลัยอิสลามยะลาโดยชีคฮามัด บินคอลีฟะฮไดเริ่มตนดวยการบริจาคเพื่อ การกอสรางอาคารสํานักงานอธิการบดี และอาคารคณะอิสลามศึกษา ในป ค.ศ.2002 ดวยงบประมาณจํานวน30 ลานบาท และในป คศ.2005 ชีค ฮามัด บิน คอลีฟะฮ ไดบริจาคเพิ่มเติม อีก 30 ลานบาท เพื่อการกอสรางอาคาร วิทยาศาสตร และเพื่อซื้ออุปกรณ วัสดุ ครุภัณฑ ใช ในการบริหารและการเรียนการสอน เพื่อเปนการให เกียรติ และระลึ ก ถึ ง บรรพบุ รุ ษ ของท า นผู ก อ ตั้ ง รั ฐ กาตาร ยุ ค ใหม ท า นจึ ง ทรงอนุ ญ าตให ตั้ ง ชื่ อ อาคาร และคณะ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีวา อาคารคณะวิท ยาศาสตร และเทคโนโลยีชี คกอซิ ม บินมุหั มมั ด อาล-ษานีย ซึ่ ง นับเปนคณะวิ ทยาศาสตรฯ แหงแรก ที่ไ ดรับการสนับ สนุนจากทา นชีค ฮามัด บินคอลีฟ ะฮ ผูปกครองรัฐกาตาร ในปจจุบันและไดรับเกียรติใหใชชื่อดังกลาว


3

FST-Annual Report 2008

2. ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน พันธกิจ และวัตถุประสงค ปรัชญา (Philosophy) วิชาการคูคุณธรรม บูรณาการอิสลาม มาตรฐานสูความเปนเลิศ

ปณิธาน (Goal)

มุงมั่นผลิตบัณฑิตที่มีความรูความสามารถทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มีคุณธรรมและ จริยธรรมที่สอดคลองกับหลักการอิสลาม รับผิดชอบตอสังคม มีจิตสํานึกและศักยภาพในการพัฒนา สังคมและประเทศชาติ

วิสัยทัศน (Vision) คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯเปนแหลงความรูและความสามารถในสาขาวิชาตาง ๆ ทาง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่สอดคลองกับหลักการอิสลามและเปนที่ยอมรับของประชาคมโลก

พันธกิจ (Missions) 1) ผลิตบัณฑิตทางวิทยาศาสตรที่มีความรอบรู ศรัทธาและปฏิบัติตาม อัล-กุรอานและสุนนะฮฺ และมี ความรูความสามารถทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่สอดคลองกับหลักการอิสลามและเปนที่ยอมรับ ของประชาคมโลก 2) ศึกษาคนควา วิจัย ทั้งทางดานวิทยาศาสตรบริสุทธิ์ บูรณาการและประยุกต ใหเปนที่ยอมรับและอํานวย ประโยชนสุขตอประชาคมโลก 3) ใหบริการวิชาการวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่สอดคลองกับหลักการอิสลาม และอํานวยประโยชนตอ ประชาคมโลก 4) ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปญญาทองถิ่นที่ดีมีประโยชน และสอดคลองกับหลักการ อิสลาม 5) รวมมือ แลกเปลี่ยน พบปะ สัมพันธ วิชาการและบุคลากรทางวิทยาศาสตรกับสถาบันตาง ๆ ทั้งภายใน และภายนอกประเทศเพื่อประโยชนสุขและสันติที่ยั่งยืนแกประชาคมโลก


4

FST-Annual Report 2008

วัตถุประสงค (Objectives) 1) เพื่อผลิตและพัฒนาบัณฑิตและบุคลากรที่มีความรูความสามารถทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ สอดคลองกับหลักการอิสลาม และมีความรอบรู ศรัทธา และปฎิบัติตาม อัล-กุรอานและสุนนะฮฺ 2) เพื่อสรางผลงานวิจัย ที่สอดคลองกับ หลักการอิสลาม ทั้งทางดานวิท ยาศาสตรบริ สุทธิ์ บูรณาการ และ ประยุกต อยางตอเนื่อง และเปนที่ยอมรับของนานาชาติ โดยตอยอดภูมิปญญาเดิม และสรางองคความรู ใหม 3) เพื่อใหบริการวิชาการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่สอดคลองกับหลักการอิสลาม มีคุณภาพและได มาตรฐานสากลแกคณะและสถาบั นการศึ ก ษาทุ กระดับ ตลอดจนถา ยทอดความรูและเทคโนโลยี ที่ เหมาะสมสูสาธารณชน เพื่อการพัฒนาสังคมและประเทศชาติอยางยั่งยืน 4) เพื่อเสริมสรางบัณฑิตและบุคลากรทางวิทยาศาสตรใหทํานุบํารุงรักษาศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิ ปญญาทองถิ่นที่ดี มีประโยชนและสอดคลองกับหลักการอิสลาม พรอมกับอนุรักษส ภาพแวดลอมใหมี ความอุดมสมบูรณคงอยู และอํานวยประโยชนแกสังคมตลอดไป 5) เพื่อเปนแหล งความรูและอางอิงทางวิชาการ ดานวิทยาศาสตร เสริมสรางความรวมมือ พบปะสัมพันธ และแลกเปลี่ ย นนัก ศึ กษา อาจารย และบุ ค ลากรทางวิท ยาศาสตร กั บ สถาบัน ตา ง ๆ ทั้ งภายในและ ภายนอกประเทศ


5

FST-Annual Report 2008

3. คณะผูบริหารคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

นายซอและห ตาเละ คณบดีคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

นายซบรี หะยีหมัด รองคณบดีฝายบริหารและแผน

ดร.ซอบีเราะห การียอ รองคณบดีฝายวิชาการ

นายนุมาน สะอะ ผูชวยคณบดีฝายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา

นายอัมพร มนมิตร หัวหนาสํานักงานคณะ

นายปติ สันหีม หัวหนาสาขาวิชาวิทยาศาสตร

นายราฟาล หามะ หัวหนาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

นายอนุวัตร วอลี หัวหนาสาขาวิชาเคมีประยุกต


6

4. โครงสรางการจัดองคกร 4.1 โครงสรางองคกร

FST-Annual Report 2008


7

4.2 โครงสรางการบริหารงาน

FST-Annual Report 2008


8

FST-Annual Report 2008

5. ขอมูลดานการจัดการศึกษา 5.1 หลักสูตรการศึกษา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดจัดใหมีการศึก ษาระดับปริญญาตรีในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) และเทคโนโลยีบัณฑิต (ท.บ.) ซึ่งมีการจัดการสอนที่มุงเนน ผูเรียน สงเสริมคุณธรรม จริยธรรม โดยยึดหลักการศาสนา เปนสําคัญ ซึ่งปจจุบันไดจัดการเรียนการสอนเปนจํานวน 4 หลักสูตร ดังนี้ ที่

1

2

3 4

ชื่อ หลักสูตร หลัก สูต รวิ ท ยาศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าเทคโนโลยี สารสนเทศ (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Science , Program in Information Technology (International Program) หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Technology, Program in Computer Science (International Program) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร Bachelor of Science, Program in Science หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีประยุกต Bachelor of Science, Program in Applied Chemistry

วุฒิปริญญา

ผูรับผิดชอบ หลักสูตร

วท.บ. B.Sc. ( Information Technology)

สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ

1/2547

หลักสูตร เดิม

ทบ. B.Tech.(CS.)

สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ

1/2550

หลักสูตร ปรับปรุง

วท.บ. B.Sc. วท.บ. B.Sc.( Applied Chemistry)

สาขาวิชา วิทยาศาสตร

1/2549

-

สาขาวิชา เคมีประยุกต

2552

หลักสูตร ใหม

ปที่เปด

ดําเนินการ

หมาย เหตุ


9

FST-Annual Report 2008

5.2 จํานวนนักศึกษา สาขาวิชา

สาขาวิชาวิทยาศาสตร สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร รวม

นักศึกษา ชั้นปที่ 1 ชาย หญิง 4 31 26 48

นักศึกษา ชั้นปที่ 2 ชาย หญิง 5 14 20 27

นักศึกษา ชั้นปที่ 3 ชาย หญิง 2 26 37 33 -

นักศึกษา ชั้นปที่ 4 ชาย หญิง 16 33 -

30

25

39

16

79

41

59

33

รวม 82 119 121 322

ในปงบประมาณ พ.ศ. 2551 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีมีจํานวนนักศึกษาทั้งสิ้น 322 คน คิด

เปนนักศึกษาใหม ชั้นปที่ 1 จํานวน 109 คน โดยแบงออกเปนนักศึกษาจากสาขาวิชาวิทยาศาสตรจํานวน 35 คน และ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอรจํานวน 74 คน นักศึกษาชั้นปที่ 2 จํานวน 66 คน โดยแบงออกเปนนักศึกษา จาก สาขาวิชาวิทยาศาสตรจํานวน 19 คน และสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอรจํานวน 47 คน นักศึกษาชั้นปที่ 3 จํานวน 98 คน โดยแบงออกเปนนักศึกษาจากสาขาวิชาวิทยาศาสตรจํานวน 28 คน และสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศจํานวน 70 คน และนักศึกษาชั้นปที่ 4 จํานวน 49 คนจากสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ขอมูล ณ วันที่ 17 สิงหาคม 2551) 5.3 การพัฒนานักศึกษา การพัฒนานักศึกษาของ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีถือเปนภารกิจหลักของคณะฯ นอกจาก ผลิตนักศึกษาใหเปนบัณฑิตที่มีความรอบรูในสาขาที่ศึกษาแลว คณะยังมุงเนนที่จะสงเสริมและพัฒนานักศึกษาใหเปน ผูที่มีจริยธรรม และคุณธรรมควบคูไปดวย กิจกรรมสงเสริมไดแกการปฐมนิเทศนักศึกษาใหม การจัดกลูมศึกษาอัลกรุ อานหรือฮาลาเกาะฮฺ เพื่อเปนการปลูกฝงความรูคูคุณธรรมไปพรอมๆกับการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรตางๆ อาทิ ดาน วิชาการ ดานกีฬา ดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ดานการบําเพ็ญประโยชนใหแกสังคมและชุมชน โดยไดจัดสรร งบประมาณสนับสนุนการจัดกิจกรรมนักศึกษาทุกหลักสูตรเปนประจําทุกป


10

FST-Annual Report 2008

กิจกรรมดานพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม

การจัดกลูมศึกษาอัลกรุอานหรือฮาลาเกาะฮฺ เปนนโยบายหนึ่งที่สําคัญของคณะวิทยาศาสตรฯ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อการพัฒนา บุคลิกภาพดานคุณธรรมและจริยธรรม ซึ่งดําเนินการทุกสัปดาหละ 2 ชั่วโมงเปนประจําทุกภาคการศึกษา

โครงการอิฟฏอรสัมพันธฮิจเราะห อิจเราะหศักราช 1429 จัดโดยนักศึกษาชั้นป 4 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีฯ เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2551 ณ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วัตถุประสงคเพื่อการฟนฟูจริยวัตรของทานศาสดา

กิจกรรมดานวิชาการ

โครงการ “Islamic Science” ซึ่งจัดโดยคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ เมื่อวันที่ 29 กรกฏาคม 2550 ณ หอประชุมวันมูหัมมัดนอร มะทา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา โดยมีวัตถุประสงคใหผูเขารวมโครงการมีทศั นคติเกี่ยวกับอิสลามกับวิทยาศาสตรอยางถูกตอง


11

FST-Annual Report 2008

กิจกรรมดานกีฬา

นักศึกษาชั้นป 4 สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศกับบุคลากรคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ ไดจัด การแขงขันกีฬาเชื่อ ม ความสัมพันธระหวางกัน ในโครงการสานสายใย IT’47 สูคณาจารย เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2552 ณ สนามกีฬามหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

กิจกรรมดานสังคมและบําเพ็ญประโยชน

โครงการแบงปน รอยยิ้ม สูเด็กกํา พราและยากจน จัดโดยชมรมมุส ลิมเกาะลันตา กองทุนนิมั ตศอลีหะฮ รวมกั บสโมสร นักศึกษาคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2551 ณ โรงเรียนบานเจะหลี เกาะลันตาใหญ จ.กระบี่

โครงการพัฒนาสิ่งแวดลอม จัดโดยสโมสรนักศึกษาคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ รวมกับชุมนุมเครือขายสิ่งแวดลอม คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ เมื่อวันที่ 24 มกราคม 2552 ณ มัสยิดดารุลอามาน (บานโสรง) ม.3 ต.เขาตูม อ.ยะรัง จ.ปตตานี วัตถุประสงคเพื่อปลูกจิตสํานึกแกนักศึกษาใหมีบทบาทในการทําประโยชนแกสังคม อีกทั้งยังเปนการสรางความสัมพันธอันดีระหวาง นักศึกษากับชุมชนชาวไทยมุสลิมในทองถิ่นในการพัฒนาหรือการรวมมือบําเพ็ญประโยชนเพื่อสวนรวม


12

FST-Annual Report 2008

5.4 ทุนการศึกษา คณะฯไดจัดสรรทุนการศึกษา ใหแกนักศึกษาระดับปริญญาตรี ที่มีผลการเรียนดีและทุนชวยเหลือการศึกษา รวมเปนจํานวนรวม 29 ทุน จําแนกตามประเภท ทุน ซึ่งมีประเภทของทุนดังนี้ ประเภททุน (ระดับปริญญาตรี)

จํานวน ทุน

จํานวน เงิน

ผูใหทุน

3

1,300

2

2,000

2.ทุนมูลนิธิศาสตราจารย สังเวียน อินทรวิชัย

2

5,000

3.ทุนนักศึกษาตางชาติ

1

1,500

สมาคมยุวมุสลิมแหงประเทศไทย

4.ทุนทํางาน

1

4,000

คณะวิทยาศาสตรฯ

5.ทุนอาหารกลางวัน

10

1,000

คณะวิทยาศาสตรฯ

6.ทุนคาอุปกรณการเรียน

10

500

คณะวิทยาศาสตรฯ

1.ทุนเรียนดี(ทุนบริจาค)

อะหฺหมัด บิน อับดุลเลาะ (เมืองมาดีนะห ซาอุดีอาราเบีย) มูลนิธิศาสตราจารย สังเวียน อินทรวิชัย

รายชื่อ ผูไดรับทุน 1.นางสาวนาอีมะห ซามะ 2.นางสาวแวมีเนาะ แวดอเลาะ 3.นายซาการียา รอหมัน 1.นายซารีฟ เจะแม 2.นายอับดุลฟาตะห มะสาแม 1.นางสาวนูรียะห ไซซิง 2.นางสาวพาฏีละห หามะ 1.Mr.Sim Sen 1.นายสุกรี ซามอ -

หมายเหตุ จัดสรรจากคณะฯ (1,300 บาท/เดือน/คน) จนจบการศึกษา ป.ตรี จัดสรรจากมหาวิทยาลัย จัดสรรจากมหาวิทยาลัย จัดสรรจากคณะฯ (1,500 บาท/เดือน) จัดสรรจากคณะ (20 บาท/ชั่วโมง) จัดสรรจากคณะฯ (ตอสัปดาห) จัดสรรจากคณะฯ (500 บาท/ภาคการศึกษา)


13

FST-Annual Report 2008

5.5 ผลงานดีเดนของนักศึกษา บุคลากรและคณะฯ ลําดับ ที่

ชื่อ-สกุล

1

ดร.ซอบีเราะห การียอ

2

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา นางสาวนูรไลลาห หลังปูเตะ

3

รางวัลดีเดน บทความวิชาการ ดานงานวิจัยที่ตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติ หัวขอ Universal Polymer Dynamics Revealed by Field Cycling 1H NMR, Macromolecules 42, 5236 – 5243, (2009) โลเกียรติคุณ (ผูสนับสนุนการจัดงานมหกรรมเปดโลกการเรียนรูวิทยาศาสตร) ไดรับรางวัลชมเชย ระดับอุดมศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทานประจําปการศึกษา พ.ศ. 2551

วัน-เดือน-ป 2551

18/8/51 -

หนวยงาน Macromolecules Journal

ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษา จังหวัดยะลา สํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ


14

FST-Annual Report 2008

6. ผลการดําเนินงานตามพันธกิจหลักของคณะฯ 6.1 งานดานการสอน 6.1.1 อาจารยที่ปรึกษาสารนิพนธ ลําดับ ที่ 1 2 3

4 5 6 7 8

รายชื่อสารนิพนธ Tadeeka School Management Software

อาจารยที่ปรึกษา

รายชื่อนักศึกษา

Ms.Mujahidah Said Ms.Hanadee Mateemai Pondok Management System (PMS) Ms.Rohanee Abu Mr.Irshad Ahmad Ms.Hadiya Muso Electronic Library System : for center of Academic Mr.Rafal Hamah Ms.Laddeawan Sae-kue Resources Yala Islamic University Ms.Haifa Saemasae Ms.Ameenah Sudakaring Computer Assisted Instruction Ms.Aimee Doloh Mr.Rafal Hamah (History of Sultan Muhammad ALfatihz) Ms.Hidayu Binmamu Guideline to success in pilgrimage Ms.Suida Buenae Mr.Rafal Hamah Ms.Nurulhusna Abdullatif Online Assessment System : for faculty of Science Mr.Nael A.A.AbuRus Ms.Afifah Doloh Ms.Panida Khanadphon and Technology Yala Islamic University Web Based Dormitory management System for Mr.Tamer Nazeer Nassar Madi Ms.Budriah phanmi Yala Islamic University Ms.Asma Chemu Zakat Calculation Web Application Ms.jemeelah Dalaeboh Mr.Rafal Hamah Ms.Suwaibah Ni-uma Mr.Irshad Ahmad

รายวิชา 301-212 Information Technology Project 2 301-212 Information Technology Project 2 301-212 Information Technology Project 2 301-212 Information Technology Project 2 301-212 Information Technology Project 2 301-212 Information Technology Project 2 301-212 Information Technology Project 2 301-212 Information Technology Project 2

ปสําเร็จ การศึกษา -

2551 2551 2551 2551 2551


15

ลําดับ ที่

รายชื่อสารนิพนธ

อาจารยที่ปรึกษา

FST-Annual Report 2008

รายชื่อนักศึกษา

9

Computer Clustering Web Server

Mr. Nael A.A.AbuRus

Mr.Faosan Mapa

10

Web Based System for Heritage Dividing

Mr.Tamer Nazeer Nassar Madi Mr.Sahidan Abdulmana

11

Web Application Service for Bina Proposal

Mr. Nael A.A.AbuRus

Mr.Maroning Useng

12

Let’s Solah

Mr.Sobree Amalina

Mr.Abdulloh Yusoh

13

YIU Presentation CD

Mr.Sobree Amalina

Mr.Sopean Arwaeputeh

รายวิชา 301-212 Information Technology Project 2 301-212 Information Technology Project 2 301-212 Information Technology Project 2 301-212 Information Technology Project 2 301-212 Information Technology Project 2

ปสําเร็จ การศึกษา 2551 -


16

FST-Annual Report 2008

6.1.2 อาจารยที่ปรึกษาโครงการนิเทศกนักศึกษา ลําดับ ที่

รายชื่อสถานที่ฝกงาน

1

สํานักวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพ จ. ปทุมธานี

2

ศูนยวิจัยปาลมน้ํามันสุราษฏรธานี

3

ศูนยวิจัยพืชสวนยะลา

6 . 1 ศูนยเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช เทศบาลนครยะลา 4 . 3 5

ศูนยวิทยาศาสตรฮาลาล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

6

ศูนยวิทยาศาสตรการแพทยสงขลา

7

ศูนยศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง ฯ จ.นราธิวาส

8

สํานักงานสิ่งแวดลอมภาคที่ 16 จ.สงขลา

รายชื่อนักศึกษา นายชารีฟ เจะแม นายสุกรี ซามอ นางสาวคอดีเยาะห โตะโด นางสาวแวมีเนาะ แวดอเลาะ นางสาวนูรไอนี ดอเลาะ นางสาวไอณี โตะแว นางสาวสาบารียะ สะอะ นางสาวกาวีละห ยะลา นางสาวปาตีเมาะ สามะอาลี นางสาวสัลมา หมาดดานัง นางสาวอาซียะห วี นางสาวรีซัน ราแดง นางสาวอานีตา กูจิ นางสาวมารีเยาะ ดอเลาะ นางสาว รอฟอะ สาแมง นางสาวไมสะเราะ แกวสลํา นางสาวพาดีละ ดีสะเอะ นางสาวนูรีซัง หมัดเกม นางสาวอาซีซะ มามุ นางสาวมาดีฮะห สกุลใบ

อาจารย นิเทศกนักศึกษา

ผูจัดการรายวิชา

รายวิชา

ดร.ซอบีเราะห การียอ

อาจารยอิรฟน มะแซสาอิ

รายวิชา BI 232-124 ฝกงาน

อาจารยซูไฮมิง นายรอมสรรค เศะ

อาจารยอิรฟน มะแซสาอิ

รายวิชา BI 232-124 ฝกงาน

อาจารยสะอาด อาแซ อาจารยสุไลมาน หะยีสะเอะ

อาจารยอิรฟน มะแซสาอิ

รายวิชา BI 232-124 ฝกงาน

อาจารยสะอาด อาแซ อาจารยสุไลมาน หะยีสะเอะ

อาจารยอิรฟน มะแซสาอิ

รายวิชา BI 232-124 ฝกงาน

ดร.ซอบีเราะห การียอ

อาจารยอิรฟน มะแซสาอิ

รายวิชา CH 232-219 ฝกงาน

อาจารยปติ สันหีม

อาจารยอิรฟน มะแซสาอิ

รายวิชา BI 232-124 ฝกงาน

อาจารยอิรฟน มะแซสาอิ อาจารยรอปอะ กือจิ อาจารยปติ สันหีม

อาจารยอิรฟน มะแซสาอิ

รายวิชา BI 232-124 ฝกงาน รายวิชา ES 232-618 ฝกงาน รายวิชา ES 232-618 ฝกงาน

อาจารยอิรฟน มะแซสาอิ


17

ลําดับ ที่

รายชื่อสถานที่ฝกงาน

9

สถานีเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝงจังหวัดปตตานี

10

บริษัท การจัดการสิ่งแวดลอม หาดใหญ จํากัด

รายชื่อนักศึกษา นางสาวยาวานี วาเตะ นางสาวซูไวบะ ยือโระ นางสาวดูไซนี ซีบะ นางสาวสาปนะห บูแยยูโซะ นางสาวแวซง มามะ นางสาวมารียะ สาแม็ง นางสาวฮาซานี สะยูโซะ

FST-Annual Report 2008

อาจารย นิเทศกนักศึกษา

ผูจัดการรายวิชา

รายวิชา

อ.อดินันท หวังพิทยา อ.อับดุลรอหมาน สาลีมี

อาจารยอิรฟน มะแซสาอิ

รายวิชา BI 232-124 ฝกงาน รายวิชา ES 232-618 ฝกงาน

อาจารยปติ สันหีม

อาจารยอิรฟน มะแซสาอิ

รายวิชา ES 232-618 ฝกงาน


18

FST-Annual Report 2008

สรุปกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ ลําดับ ที่ 1 2

รายชื่อโครงการ/กิจกรรมตางๆ รายวิชา 301-212 Information Technology Project 2 (สารนิพนธ) รายวิชา BI 232-124 ฝกงาน รายวิชา ES 232-618 ฝกงาน รายวิชา CH 232-219 ฝกงาน รวมทั้งหมด

จํานวนกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ วิชาการ

กีฬาและ สงเสริมสุขภาพ

บําเพ็ญประโยชน รักษาสิ่งแวดลอม

สันทนาการ

สงเสริม ศิปวัฒนธรรม

(13)

-

-

-

-

(10)

-

-

-

-

23

-

-

-

-


19

FST-Annual Report 2008

6.2 งานดานการวิจัยและผลิตผลงานวิชาการ การวิจัย คณะถือเปนภารกิจหลักสําคัญที่ตองทําควบคูกับภาระงานสอน คณะไดกําหนดนโยบายสนับสนุนงานวิจัย มี การจัดตั้งคณะกรรมการฝายสงเสริม การวิจัยและเขีย นตํารา ประจําคณะฯเพื่อทําหนาที่สงเสริมและดําเนินการวิ จัยทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อประโยชนในการพัฒนาสังคม สิ่งแวดลอมและการพัฒนาประเทศตอไปในอนาคต โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2551 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ มีโครงการวิจัยที่ดําเนินงานผานฝายวิชาการ คณะฯ จํานวน 4 โครงการ มีมูลคา 2,093,800 บาท 6.2.1 ตารางแสดงงบประมาณดานการวิจัย ลําดับ ที่ 1 2

แหลงทุน ทุนภายใน ทุนภายนอก รวม

ปงบประมาณ 2551 จํานวน งบประมาณ โครงการ จํานวนเงิน รอยละ 26,400 1 1.26 2,067,400 3 98.74 2,093,800 4 100.00

ปงบประมาณ 2552 จํานวน งบประมาณ โครงการ จํานวนเงิน รอยละ 80,000 1 10.95 650,000 2 89.05 730,000 3 100.00

งบประมาณการดําเนินงานดานการวิจัยของคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ ประจําปการศึกษา 2551-2552 ไดจําแนกลักษณะออกเปน 2 แหลงทุน ดังนี้ (1) แหลงทุนการวิจัยภายใน และ (2) แหลงทุนการวิจัยภายนอก โดยในปการศึกษา 2551 แหลงทุนการวิจัยภายในคิดเปนรอยละ 1.26 มีมูลคารวมทั้งสิ้น 26,400 บาท ซึ่งมีจํานวน 1 โครงการวิจัย และสวนแหลงทุนการวิจัยภายนอกคิดเปนรอยละ 98.74 มีมูลคารวมทั้งสิ้น 2,067,400 บาท ซึ่งมีจํานวน 3 โครงการวิจัย


20

FST-Annual Report 2008

6.2.2 ตารางแสดงผลการดําเนินงานวิจัย ชื่อโครงการวิจัย และ สถานภาพ

ชื่อ ผูดําเนินงาน /หนวยงาน

สัด สวน

แหลงทุนจาก ภายใน

ภายนอก

ระยะเวลาดําเนิน โครงการวิจัย

งบประมาณ

สิ้นสุด

รวม

เบิกจาย รอยละการ ป2551 มีสวนรวม

19/6/51 19/1/52

85,000

85,000

85,000 (100%)

1/6/53

782,400

587,400

587,400 (100%)

1/1/53

26,400

13,200

10,560 (80%)

340,304

43,490.85 (12.78%)

เริ่ม

โครงการวิจัยใหม (ไดรับงบฯ ปงบประมาณ 2551 และมีกําหนดแลวเสร็จสิ้นปงบประมาณ 2551) 1.1 โครงการวิจั ย “การเตรีย มแผ นไม อัดจากผงขี้ เลื่ อยไม ยางพาราผสมพลาสติก รีไ ซเคิล โดยใชน้ํ า ยางธรรมชาติเปนตัวประสาน”

อาจารยอนุวัตร วอลี

-

สกว.

-

สกว.

ม.อ.ย.

-

100%

(9เดือน)

โครงการวิจัยใหม (ไดรับงบฯ ปงบประมาณ 2551 และมีกําหนดแลวเสร็จสิ้นปงบประมาณ 2552) 2.1 โครงการวิจัย 100% “ การพัฒนาสื่อและกระบวนการเรียนรูวิชาฟสิกส อาจารยปติ สันหีม ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จ.ปตตานี” 2.2 โครงการวิจัย 80% อาจารยปติ สันหีม “การพัฒนาบทเรียนผานเครือขายอินเตอรเน็ตเรื่อง ผช.นายรัมยานัสรี เจะเงาะ 20% เวกเตอรและการเคลื่อนที่ 1 มิต”ิ 2.3 โครงการวิจั ย “การพัฒนาหนังสือส งเสริมการ อานชุดพหุภาษาสําหรับผูเริ่มเรียนเพื่อพัฒนาทักษะ การสื่อสารในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต”

อาจารยรอซีดัต สาแม

12.78 %

-

สกว.

5/5/52

(12เดือน)

1/1/52 (12เดือน)

10/7/51

(16เดือน)

10/10/52 1,200,000


21

ชื่อโครงการวิจัย และ สถานภาพ

ชื่อ ผูดําเนินงาน /หนวยงาน

สัด สวน

FST-Annual Report 2008

แหลงทุนจาก ภายใน

ภายนอก

ระยะเวลาดําเนิน โครงการวิจัย เริ่ม

งบประมาณ

เบิกจาย รอยละการ แลว มีสวนรวม

สิ้นสุด

รวม

1/6/53

150,000

75,000

37,500 (50%)

1/1/53

80,000

-

-

สนง. ทรัพยากร 28/6/52 28/12/52 ธรรมชาติ (6เดือน) จ.ปตตานี

500,000

100,000

10,000 (10%)

140,000

84,000 (60%)

3. โครงการวิจัยใหม (ไดรับงบฯ ปงบประมาณ 2552 และมีกําหนดแลวเสร็จสิ้นปงบประมาณ 2552 ) 3.1 โครงการวิจัย “การแปรรูปและพัฒนา ผลิตภัณฑผาใบเคลือน้ํายางธรรมชาติในระดับ เกษตรกร”

อาจารยอนุวัตร วอลี อาจารยอิรฟน มะแซสะอิ

50% 50%

-

3.2 โครงการวิจัย “ การศึกษาอุณหภูมิและ ระยะเวลาที่มีผลตอการผลิตน้ํามันมะพราวบริสุทธิ์ ดวยวิธีการหมัก”

อาจารยรอปอะ กือจิ อาจารยอิรฟน มะแซสะอิ นางสาวอามานี สาและ นางรอกายะ ลือแบซา

25% 25% 25% 25%

ม.อ.ย.

3.3 โ ค ร งการวิ จั ย “ การจั ด การ แ ละ ฟ น ฟู ผศ.ดร.ซุกรี หะยีสาแม ทรัพยากรธรรมชาติในอาวปตตานี” อาจารยอดินันท หวังพิทยา

50% 10%

-

เครือขาย 1/6/52 วิจัยภาคใต (12เดือน) ตอนลาง

-

1/1/52

(12เดือน)

4. โครงการวิจัย ไดรับงบฯ ปงบประมาณ 2550 และมีกําหนดแลวเสร็จภายในปงบประมาณ 2551 (ขอขยายเวลาเพิ่มตออีก 1 ป ถึงปงบประมาณ 2552) 4 . 1 โ ค ร ง ก า ร วิ จั ย “ ก า ร มี ส ว น ร ว ม แ ล ะ กระบวนการเรีย นรู ในการจัดการแหล งทอ งเที่ย ว อาจารยอดินันท หวังพิทยา เชิงนิเวศนของชุมชนมุสลิม กรณีศึกษา บางปูสีสัน อาจารยซาวาวี ปะดาอามีน แดนหิ่งหอย”

60% 40%

-

เครือขาย 1/6/50 วิจัยภาคใต (12เดือน) ตอนลาง

1/6/52

150,000


22

FST-Annual Report 2008

6.2.3 การเผยแพรผลงานวิจัย รายการ

ชื่อ ผูดําเนินงาน /หนวยงาน

1. ตีพิมพในวารสารวิชาการ Universal Polymer Dynamics Revealed by Field ดร.ซอบีเราะห การียอ Cycling 1H NMR, Macromolecules 42, 5236 – 5243, (2009)

จํานวนผลงานวิจัยที่เผยแพร ปงบประมาณ ปงบประมาณ 2550 2551 -

1

ดัชนีชี้วัดความ สําเร็จ

งบ ประมาณ

-

-


23

FST-Annual Report 2008

6.2.4 เอกสารทางวิชาการประเภทสื่อการสอนประจําปการศึกษา 2551 ลําดับที่

ชื่อผลงาน

สื่อการสอน ประจําสาขาวิชาวิทยาศาสตร 1 โปรแกรมสรางกราฟ 2,3 มิติ (Archim) 2

โปรแกรมทดลองเสมือนจริงของ Crocodile “เรื่องการทดลองไฟฟากระแสสลับ”

3

โปรแกรมรางกายมนุษย 3 มิติ โปรแกรมทดลองเสมือนจริงของ Crocodile

โปรแกรมแผนที่จักรวาล(Camtasia) 4 โปรแกรมแผนที่ดูดาว โปรแกรมแผนที่ดาวบนทองฟา (Stalaliom) สื่อการสอน ประจําสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง ระบบจัดการโทรศัพทผานเครือขาย 5 (Voice over Internet Protocol : VOIP)

วิชาที่สอน

MA232-018 คณิตศาสตรพื้นฐาน 2 PS232-013 ฟสิกสทั่วไป 1 PS232-014 ปฏิบัติการฟสิกสทั่วไป 1 PS232-015 ฟสิกสทั่วไป 2 PS232-016 ปฏิบัติการฟสิกสทั่วไป 2 BI232-001 ชีววิทยาทั่วไป 1 BI232-002 ปฏิบัติการชีววิทยาทั่วไป 1 CH232-005 เคมีทั่วไป 1 CH232-006 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป 1 PS232-315ดาราศาสตร

โครงการเอกเทศดานโปรแกรมคอมพิวเตอร

ผูแตง

วัน/เดือน/ป

อ.ปติ สันหีม

12/5/51

อ.ปติ สันหีม

13/5/51

อ.ปติ สันหีม

13/5/51

อ.ปติ สันหีม

13/5/51 20/6/51 4/12/51

อ.ราฟาล หามะ

28/10/51


24

FST-Annual Report 2008

6.2.5 สรุปกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ ลําดับ ที่ 1 2

3

4

5

6

รายชื่อโครงการ/กิจกรรมตางๆ โครงการวิจัย “การเตรียมแผ นไมอัด จากผงขี้เ ลื่อยไม ยางพารา ผสมพลาสติกรีไซเคิลโดยใชน้ํายางธรรมชาติเปนตัวประสาน” โครงการวิจัย “ การพัฒนาสื่อและกระบวนการเรียนรูวิชาฟสิกส ในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จ.ปตตานี” โครงการวิจัย “การพัฒนาบทเรียนผานเครือขายอิน เตอรเน็ตเรื่องเวกเตอรและ การเคลื่อนที่ 1 มิติ” โครงการวิจัย “การพัฒนาหนังสือสงเสริมการอานชุดพหุภาษา สําหรับผูเริ่มเรียนเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารในพื้นที่ 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต” บทความวิชาการ ดานงานวิจัยที่ตีพิมพในวารสารระดับ นานาชาติ หัวขอ Universal Polymer Dynamics Revealed by Field Cycling 1 H NMR, Macromolecules 42, 5236 – 5243, (2009) เอกสารทางวิชาการประเภทสื่อการสอนประจําปการศึกษา 2551 รวมทั้งหมด

จํานวนกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ วิชาการ

กีฬาและ สงเสริมสุขภาพ

บําเพ็ญประโยชน รักษาสิ่งแวดลอม

สันทนาการ

สงเสริม ศิปวัฒนธรรม

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

(5)

-

-

-

-

-

-

10


25

FST-Annual Report 2008

6.3 งานดานการบริการวิชาการสูสังคม ทางฝา ยวิ ช าการซึ่ งเป นหนว ยงานหนึ่ ง ของคณะฯ ทํ า หน า ที่ ใ ห บ ริ ก ารวิช าการแก หน วยงาน ราชการ รัฐวิ สาหกิ จ องคกรเอกชน ชุมชนและองค กรระหวางประเทศ ลักษณะการใหบริก ารวิชาการ คือ การ เปนวิท ยากร อาจารยพิ เศษ หรือกิจกรรมอื่ นๆในดานการเผยแพรความรูสูสังคมเปนตน โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2551 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ มี (1) โครงการดานบริการวิชาการสูสังคม จํานวน 11 โครงการ ซึ่ง มีมู ลค า 449 ,720 บาท (2) วิทยากรผูถ ายทอดความรูในโครงการและกิ จกรรมตา งๆทั้งภายในและภายนอก สถาบัน จํ านวน 7 ทาน รวม 37 โครงการ/กิจ กรรม และ (3) อาจารย พิเศษในการจัด การเรีย นการสอนแก สถาบันการศึกษาอื่นๆ/หนวยงานตางๆที่เกี่ยวของ จํานวน 4 ทาน รวม 4 รายวิชา โดยแสดงรายการ ดังตาราง ตอไปนี้ ลําดับ ที่ 1 2

3

ประเภท งานบริการวิชาการสูสังคม จัดโครงการและเขารวม กิจกรรมบริการวิชาการตางๆ วิทยากรผูบรรยาย/ถายทอดความรู (รวม) 2.1 สายวิชาการ 2.2 สายสนับสนุนวิชาการ อาจารยพิเศษ (รวม) 3.1 สายวิชาการ 3.2 สายสนับสนุนวิชาการ

จํานวน โครงการ/กิจกรรม/รายวิชา กลุมเปาหมาย รวม ภายใน ภายนอก

จํานวน ผู งบประมาณ ใหบริการ

4*

11

11

-

19* 15* 2* -

37 33 4 4 3 1

37 33 4 4 3 1

7 3 4 4 3 1

หมายเหตุ * หมายถึง จํานวนผูรับบริการที่คิดรวมอยูในกลุมเปาหมายภายนอกดวยแลว

ฝาย รับผิดชอบ

449,720.00 ฝายวิชาการ ( ขอมูล ณ วันที่

ฝายวิชาการ ฝายวิชาการ ฝายวิชาการ ฝายวิชาการ ฝายวิชาการ ฝายวิชาการ 31 พ.ค. 2552 )


26

FST-Annual Report 2008

6.3.1 งานบริการวิชาการสูสังคม ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

วันเดือนป กลุมเปาหมาย ที่จัด ใน นอก

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

จัดอบรม สัมมนา โครงการและประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ 1.จัดโครงการมหาวิทยาลัยชีวิตเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง

2.จัดโครงการคายเสริมทักษะวิทยาศาสตรฯ 3.จัดโครงการ Islamic Science Camp ครั้งที่ 2

4.เขารวมแสดงนิทรรศการมหกรรมวิชาการอัดดีน 2009 “จัดแสดงซุมวิชาการทางอิสลามกับวิทยาศาสตร” 5.เขารวมแสดงนิทรรศการงานวันเด็กแหงชาติ ประจําป 2552 “จัดแสดงซุมวิชาการทางวิทยาศาสตร และดาราศาสตร”

ฝายวิชาการ

คณะวิทยาศาสตรฯ ม.อ.ย.

5/5/52

คณะวิทยาศาสตรฯ, คณะวิทยาศาสตรฯ 13-20 /4/ มูลนิธิสงเคราะหเด็ก ม.อ.ย. 52 กําพราและการกุศลยะลา ชุมนุมนักศึกษา คณะ ณ หอง 3-501 5/4/52 วิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย คณะวิทยาศาสตรและ อิสลามยะลา เทคโนโลยี โรงเรียนอิสลามบาเจาะ โรงเรียนอิสลาม วิทยามูลนิธิ อ.บันนังสตา 28-29/1/52 บาเจาะวิทยามูลนิธิ จ.ยะลา โรงเรียนศาสโนวาทวิทยา อ.ยะหา จ.ยะลา

ณ ลานกีฬา โรงเรียน ศาสโนวาทวิทยา อ.ยะหา จ.ยะลา

15-16/1/52

2,400

-

30,000

147,000

10,000

-

-

-

-

-

-

-


27

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

ศูนยวิทยาศาสตร ฮาลาล คณะสหเวชศาสตร จุฬาฯ,สนง.พัฒนาการ 6.เขารวมโครงประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ทองเที่ยวและกีฬา ,คณะ บรรยายหั วข อ ”การพั ฒนาผู ประกอบการทอ งเที่ย ว อุตสาหกรรมการเกษตร เกี่ยวกับมาตรฐานฮาลาล” มอ.หาดใหญ,ศอบต สนง. คณะกรรมการ.อิสลาม ประจํา จ.สงขลา 7.จัดโครงการฮาลาลไทยใครจะคุมครอง ฝายวิชาการ 8.เขารวมแสดงนิทรรศการงานสัปดาหสงเสริมการอาน ”จัดแสดงซุมวิชาการทางวิทยาศาสตรกับอิสลาม” 9.เขารวมแสดงมหกรรมเปดโลกการเรียนรูวิทยาศาสตร เนื่องในสัปดาหแหงชาติ 10.จัดโครงการวิทยาศาสตรอิสลาม 11.ตอนรับผูศึกษาดูงานและเยี่ยมชมคณะวิทยาศาสตรฯ เพื่ อ การศึ ก ษาแนวทางในการพั ฒ นาการศึ ก ษา วิทยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละเทคโนโลยี ในโรงเรีย น เอกชน 5 จังหวัดชายแดนใต

FST-Annual Report 2008

สถานที่จัด

ณ หองประชุมทอง จันทร คณะแพทย ศาสตร มอ.หาดใหญ

วันเดือนป กลุมเปาหมาย ที่จัด ใน นอก

งบประมาณ มอย. อื่นๆ

29/11/51

-

24,000

หอประชุมวันนอร 30/11/51 โรงเรียนหาดใหญ โรงเรียนหาดใหญวิทยาการ วิทยาการ อ.หาดใหญ 5-8/8/51 จ.สงขลา ณ ศูนยวิทยาศาสตร ณ ศูนยวิทยาศาสตร เพื่อการศึกษายะลา 18-20/8/51 เพื่อการศึกษายะลา อ.เมือง จ.ยะลา ฝายวิชาการ หอประชุมวันนอร 29/7/51 คณะวิทยาศาสตร สํานักงานสงเสริม และเทคโนโลยี วิทยาศาสตรและ 19/6/51 มหาวิทยาลัยอิสลาม เทคโนโลยี(สสวท.) ยะลา จ.ปตตานี

10,000

39,670

-

-

-

-

-

-

-

186,650

-

-


6.3.2 วิทยากร โดยบุคลากรคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

28

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

1) อาจารย ซอและห ตาเละ ตําแหนง : คณบดีคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ ฯลฯ 1.เขา รวมโครงการอบรมเชิ งปฏิ บัติ การเรื่อ งระบบการ ณ มัสยิดอัลฮารอมัยน บริ ห ารจั ด การหั ว หน า กลุ ม ศึ ก ษาอั ล กรุ อ านเชิ ญ เป น สํานักพัฒนาศักยภาพ มหาวิทยาลัยอิสลาม 23/5/52 นักศึกษา อิห มา มละหมาดอั สรี พรอ มกล าวกาลิม ะฮฺ กอซีเ ราะห ยะลา หัวขอ “หนาที่ตอสังคม” 2..เขารวมการประชุมวิชาการดานเทคโนโลยีการจัดการ คณะวิศวกรรม โรงแรม สมิหลาบิช 21-22/5/52 ทรัพยากรน้ํา ครั้งที่ 2 มอ.วิทยาเขตหาดใหญ อ.เมือง จ.สงขลา 3.บรรยายหัวข อ ”อิสลามกับวิทยาศาสตร” โครงการ คณะศิลปศาสตรและ ณ หองอภิปราย ชั้น 2 22/5/52 อบรมความรูเบื้องตนเกี่ยวกับอิสลาม สังคมศาสตร ม.อ.ย. สํานักวิทยบริการ 4.บรรยายหัวขอ”การดะวะหตอเยาวชนที่เบี่ยงเบน” สถาบันอัสสลาม ณ หองประชุม ชัน้ 3 19/5/52 โครงการอบรมวิชาการอิสลามกับปญหารวมสมัย สํานักอธิการบดี ม.อ.ย. คณะอิสลามศึกษา 5.บรรยายหัวขอ”วิถีอิสลามกับการใหบริการดวยหัว สมาคมจันทรเสี้ยว ณ หองน้ําพราว 1 16-17/5/52 ใจความเป น มนุ ษ ย ” ประชุ ม สมาคมจั น ทร เ สี้ ย ว การแพทยและสาธารณสุข โรงแรม CS ปตตานี การแพทยและสาธารณสุข ประจําป 2552 6.บรรยายหัวขอ ”ขวัญ กํ าลังใจความก าวหนาใน กองการเจาหนาที่ ณ หองประชุม ชั้น 3 การทํ างานของเจา หนาที่” โครงการพั ฒนาศัก ยภาพ สํานักงานอธิการบดี คณะอิสลามศึกษา 13/5/52 การปฏิบั ติง านบุค ลากรสายสนับ สนุ นวิ ชาการหลัก สูต ร ม.อ.ย. ม.อ.ย. “ยุทธศาสตรการทํางานใหมีประสิทธิภาพ”

-

-

-

-

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-


29

ชื่อกิจกรรม/โครงการ 7.บรรยายหัวขอ “สังคมคุณธรรม” โครงการสงเสริม คุณธรรมจริยธรรมขาราชการครูและบุคลกากรทาง การศึกษาตามหลักศาสนาอิสลามประจําป 2552 8.บรรยายหัวขอ “การจัดแผน ประจําป 2552” โครงการ อบรมจัดทําแผนดําเนินงานและแผนงบประมาณ ป 2552 9.บรรยายหัวขอ “อิสลามกับวิทยาศาสตร” โครงการ Islamic Science Camp ครั้งที่ 2 10.บรรยายหัวขอ ”บทบาทอาจารยที่ปรึกษา วิชาการในยุคสังคมปจจุบัน” โครงการประชุมเชิง ปฏิบัติการ เรื่องระบบบริหารจัดการเพื่อพัฒนาผลการ ปฏิบัติงานบุคลากรสายวิชาการ ม.อ.ย. 11.เขารวมประชุมวิชาการ World of Halal Science, Industry and Business 2009(WHASIB’09) และสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาธุรกิจฮาลาลในพื้นที่ อันดามัน”

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

สํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษายะลา เขต 1 อ.เมือง จ.ยะลา

ณ หองประชุมรายา สํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษายะลาเขต 1

ฝายบริหารและธุรการ

คณะวิทยาศาสตรและ 7-30 /4/ 52 เทคโนโลยี ม.อ.ย.

ชุมนุมนักศึกษา คณะ ณ หอง 3-501 วิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย คณะวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี อิสลามยะลา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

ศูนยวิทยาศาสตร ฮาลาล จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย

ณ หองประชุม ชั้น 3 คณะอิสลามศึกษา ณ โรงแรม Hilton Phuket Arcadia Resort,Spa และ สวนสาธารณะสะพาน หิน จ.ภูเก็ต

7-8/5/52

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

-

-

-

-

-

-

5.3

7.3, 7.4

31,500

-

5/4/52

-

-

-

-

-

4/5/52

-

-

-

-

-

30/4/523/5/52

-

-

-

-

-

-


30

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถาบันอัสสลาม 12.บรรยายหั ว ข อ “แนวคิ ด ทฤษฎี แ ละการ ปฏิ บั ติ ก ารอบรมบ ม นิ สั ย ” โครงการอิ ส ลามศึ ก ษา ม.อ.ย. รวมกับ สอ.มท. ระดับอุดมศึกษา (อามั้ลอิสลามมีย) และสถายุวมุสลิมโลกสนง. ประเทศไทย 13.บรรยายหัว ข อ “วิ ชาวิ ทยาศาสตร ” โครงการ นิทรรศการโลกมุสลิม 14.บรรยายหัวขอ”ถอดบทเรียนการเลี้ยงดูแรกเกิด ถึ ง 3ป แ ละเสี ย งสะท อ นจากลู ก โดยครอบครั ว ที่ ประสบความสํ า เร็จ ในการเลี้ ย งดู ต ามวิ ถี อิ ส ลาม โครงการสงเสริมเครือขายการเรียนรูเพื่อพัฒนาเด็กกอน วัยเรียนในพื้นที่ จังหวัดชายแดนใต 15.บรรยายเรื่อง”วิถีชี วิตมุสลิมกับป ญหาในจั งหวัด ชายแดนใต ” สัม มนาเตรี ย มความพรอ มกอ นดํา รง ตําแหนงผูพิพากษาในเขตพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต 16.บรรยายหั ว ข อ ”กระบวนการพั ฒ นาสื่ อ เพื่ อ ชุมชน” สัมมนาสมาชิกวิทยุรวมดวยชวยกัน 17.บรรยายหัวขอ”ตัซนียะห” โครงการบรรยายวิชาการศาสนธรรม ประจําป 2552

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

ณ หองประชุม ชั้น 3 คณะอิสลามศึกษา ม.อ.ย.

1/5/52

-

-

-

-

-

กศน. จ.ปตตานี

ณ หองประชุม สนง.กศน.จ.ปตตานี

8/4/52

-

-

-

-

-

-

โรงเรียนศิริราษฎรสามัคคี จ.ปตตานี

ณ หองน้ําพราว โรงแรม CS ปตตานี

19-20/3/52

-

-

-

-

-

-

ณ หองประชุม 6 ชั้น 6 ส.พัฒนาขาราชการ 13-14/3/52 ฝายตุลาการ

-

-

-

-

-

-

บริษัท INN กรุป

ณ โรงแรม CS ปตตานี

9-11/3/52

-

-

-

-

-

-

ชมรมมุสลิม ศูนยจริยธรรม โรงพยาบาลศูนยยะลา

ณ หองประชุมพยาธิ ชั้น 5 รพศ.ยะลา

19/2/52

-

-

-

-

-

-

สถาบันพัฒนาขาราชการ วิทยาลัยขาราชการตุลา การศาลยุติธรรม


31

ชื่อกิจกรรม/โครงการ 18.เสวนาหั วขอ ”บทบัญ ญัติ ศาสนากั บการสง เสริม ทันตสุขภาพ 3 จังหวัดชายแดนใต” โครงการบูรณา การองคความรูบทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสงเสริม ทันตกรรมสุขภาพ 3 จังหวัดชายแดนใต 19.บรรยายหั ว ข อ “บทบาทบั ณ ฑิ ต ในการพั ฒ นา สังคม : ดานสัง คม” โครงการปจฉิมนิเทศบัณฑิตใหม ประจําป 2550

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

สสจ.ปตตานี

ณ หองประชุมสนง. สหกรณอิบนูอัฟฟาน อ.เมือง จ.ปตตานี

11/2/52

-

-

-

สํานักกิจการนักศึกษา

ณ หอประชุมวันมูหะ หมัดนอร มะทา

28/12/51

-

28/12/51

-

26/12/51

-

29/10/51 17/9/51

วิทยาลัยอิสลามศึกษา มอ. ณ หอประชุมเช็คดาวุด ปตตานี รวมกับ อบจ. อัลฟาฏอนีย วิทยาลัย อิสลามศึกษา ปตตานีและชมรมสตรี มอ.ปตตานี มุสลิมปตตานี มูลนิธิสงเคราะหเด็ก ณ หองประชุม มูลนิธิ 21.บรรยายหัวขอ”ความสําคัญของการเปนที่ปรึกษา กําพราและการกุศลยะลา สงเคราะหเด็กกําพรา ครอบครัวในอิสลาม” โครงการอบรมอาสาสมัครที่ ต.บันนังสาเรง และการกุศลยะลา ปรึกษาปญหาครอบครัว อ.เมือง จ.ยะลา 22.บรรยายพิเศษ ”อิสลามกับภาษา” สถาบันภาษานานาชาติ ณ หองประชุม ชั้น 3 โครงการกิจกรรมคายภาษาอังกฤษและมลายู รวมกับศอบต. คณะวิทยาศาสตรฯ 23.เขารวมโครงการสัมมนา เรื่อง”ปรัชญาเศรษฐกิ จ สํานักกิจการนักศึกษา ณ หองบรรยายรวม พอเพียงสมการนําไปประยุกตใชในรัวมหาวิทยาลัย” ม.อ.ย. อาคารอิสลามศึกษา 20.บรรยายหัวขอ ”ตัร บีย ะห บุต รหลานให สํา เร็ จทั้ง ดุ น ยาและอาคี เ ราะห ” โครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพ ครอบครัวมุสลิม จ.ปตตานี

FST-Annual Report 2008

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-


32

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

24.อภิป ราย”การบูร ณาการการแกป ญหาภาคใต : ณ โรงแรม CS การเมื อง เศรษฐกิ จ สั งคมและการศึ ก ษา ประชุ ม คณะรัฐศาสตร มอ.ปตตานี ปตตานี อ.เมือง 11-12/9/51 วิช าการ รัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตรในภูมิภาค จ.ปตตานี ภาคใต ประจําป 2551 2 5 . บ ร ร ย า ย พิ เ ศ ษ ”ร อ ม ฏ อ น เ ดื อ น สู ก า ร องคการบริหารนักศึกษา ณ มัสยิดอัลฮารอมัยน 8/9/51 เปลี่ยนแปลง” โครงการรอมฏอนสัมพันธ ม.อ.ย. 26.บรรยายหั ว ข อ ”รอมฎอนเดื อ นแห ง บารอกั ต ” ชมรมมุสลิม ณ หองประชุมชั้นที่ 4 27/8/51 ประชุมวิชาการ บรรยายความรูทางศาสนาในการเตรียม ศูนยอนามัย ที่12 ศูนยอนามัย ที่12 ตัวการถือศีลอดใหถูกตอง อ.เมือง จ.ยะลา 27.บรรยายหั ว ข อ ”อิ ส ลามวิ ถี แ ห ง วิ ท ยาศาสตร ” ณ อาคารเรียนรวม 19 ชมรมมุสลิม มอ.ปตตานี 21/8/51 โครงการนิทรรศการวิชาการ”ISLAMIC SCIENCE” หอง 19107 ณ หองประชุมกังสกุล 28.บรรยายหั ว ข อ ”ความมหั ศ จรรย ข องมหา ศูนยสงเสริมอิสลามศึกษา โรงแรมยะลาแกรนด 11/8/51 คัม ภีร อัล กรุ อาน” ประชุมสั มมนาแลกเปลี่ย นเรีย นรู สํานักงานพื้นที่เขต 1 พาเลซ อ.เมือง อิสลามศึกษา จ.ปตตานี 29.บรรยายหัวขอ “มุสลีมะฮฺกับ การทํางานเปนทีม” กองการเจาหนาที่ ณ หองประชุม ชั้น1 10/8/51 เขารวมโครงการพบปะบุคลากรมุสลีมะฮฺ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สนอ. ม.อ.ย. 30.บรรยายหัวขอ ”ผูนํามุสลีมะฮฺกับบทบาทในการ ณ หองประชุม ชั้น 3 สถาบันอัสสลาม 30/7/51 สรางสรรคสังคมสันติสุขในยุคโลกาภิวัฒน” โครงการ คณะศิลปศาสตรและ อบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ สังคมศาสตร

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-


33

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

กลุมกิจกรรมสงเสริม 31.บรรยายหั ว ข อ ”บทบาทมุ ส ลี ม ะฮฺ ใ นการสร า ง คุณภาพชีวิตเครือขายสุข ครอบครัว ที่ อ บอุ น ในมุ ม มองอิ ส ลาม” โครงการ ภาวะมุสลิมไทย หนวยงาน สัม มนา”บทบาทมุส ลีม ะฮฺตอ การมี สว นรว มในการดู แล สรางเสริมสุขภาวะมุสลิม และเยาวชนใหออกหางจากยาเสพติด” ไทย คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 32.บรรยายหัวขอ”มุสลีมะฮฺกับการพัฒนคุณภาพ ชีวิตในยุคเศรษฐกิจพอเพียง” โครงการพัฒนาฯ คุณภาพชีวิตแมบาน 33.บรรยายหั ว ข อ ”ศาสนาอิ ส ลามกั บ การบริ จ าค โลหิต” โครงการรณรงคการบริจาคโลหิตในชุมชนมุสลิม

มูลนิธิจันทรเสี้ยว

โรงพยาบาลศูนยยะลา

34.บรรยายหัวข อ ”การทํ างานอย างไรที่ก อให เกิ ด ชมรมนักศึกษามุสลิมสตูล ประสิ ท ธิ ภ าพมากที่ สุ ด ”โครงการประชุ ม สามั ญ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจําป ของชมรมน.ศ.มุสลิมสตูล ประจําป 2551 จ.ปตตานี

สถานที่จัด

ณ โรงเรียนบานดอน วิทยา ต.โคกโพธ จ.ปตตานี ณ หอประชุมสถาบัน ภาษานานาชาติ มหาวิทยาลัยอิสลาม ยะลา (ปารามีแต) ณ หองประชุมบุญสิทธ เลขะกุล ชั้น 3 อาคาร ผูปวยนอกและ อุบัติเหตุ ณ หองประชุมคณะ ศิลปศาสตรและ สังคมศาสตร ม.อ.ย. จ.ปตตานี

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

20/7/51

-

-

-

-

-

-

18/7/51

-

-

-

-

-

-

15/7/51

-

-

-

-

-

-

4/7/51

-

-

-

-

-


34

ชื่อกิจกรรม/โครงการ 35.บรรยายหั ว ข อ “บุ ค ลิ ก ภาพการเป น ผู นํ า ” โครงการสัม มนาแกนนําคณะกรรมการสโมสรนักศึกษา คณะศิลปะศาสตรและสังคมศาสตร 36.บรรยายพิเศษ หัวขอ”บทบาทของชุมชนในการมี สวนรวมในการจัดการศึกษา”

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

สโมสรนักศึกษา คณะศิลปะศาสตรและ สังคมศาสตร ม.อ.ย. โรงเรียนบานยี่งอ อ.ยี่งอ จ.นราธิวาสฯ

ณ หองประชุม คณะศิลปศาสตรและ สังคมศาสตร ม.อ.ย. ณ ศูนยประสานงาน อ.ยี่งอ จ.นราธิวาสฯ

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

17/6/51

-

-

-

-

-

-

4/6/51

-

-

-

-

-

-


35

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

2) ดร.ซอบีเราะห การียอ

ตําแหนง : รองคณบดีคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ ฝายวิชาการ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ ฯลฯ 1.บรรยายหัวขอ “การติดตามการจัดทําแผนยุทธศาสตร ควบคูกับการประกันคุณภาพการศึกษา” โครงการอบรม ฝายบริหารและธุรการ จัดทําแผนดําเนินงานและแผนงบประมาณ ป 2552 ฝายวิชาการ 2.บรรยายหัวขอ “การนําเสนอผลงานเชิงวิชาการในเวที คณะวิทยาศาสตรฯ นานา ชาติ ” โคร งการ สั ม ม นาเชิ ง วิ ช าการ คณะ ม.อ.ย. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ 3.เสวนาหัวขอ “มุสลีมะฮฺ...การสงเสริมการศึกษาใน ครอบครั ว ” เวที ก ารเสวนารุ ง อรุ ณ แห ง เดื อ นเรื่ อ ง “มุสลิมะฮฺ เธอคือกุญแจสูสวรรค”

สถาบันอัสสลาม

4.บรรยายหัว ขอ “Life as a Researcher in the Academic Institutions” โครงการสัมมนาเชิงวิช าการ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ

ฝายวิชาการ คณะวิทยาศาสตรฯ ม.อ.ย.

คณะวิทยาศาสตรและ 7-30 /4/ 52 เทคโนโลยี ม.อ.ย. ณ หองสัมมนา(FST) ชั้น 4 คณะวิทยาศาสตรฯ ณ หองประชุม คณะ อิสลามศึกษา ชั้น 3 ม.อ.ย. ณ หองสัมมนา(FST) ชั้น 4 คณะวิทยาศาสตรฯ

-

-

5.3

7.3, 7.4

31,500

-

5/2/52

-

-

-

-

-

-

27/6/51

-

-

-

-

-

5/6/51

-

-

-

-

-

-


36

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

3) อ.ราฟาล หามะ

ตําแหนง : หัวหนาประจําสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ ฯลฯ 1.บรรยายหั ว ข อ “การเตรี ย มความพร อ มด า น ณ โรงแรมราชมังคลา ภาษาอังกฤษของนักศึกษาศู นยภ าษาอังกฤษ” โครงการ ศูนยภาษาอังกฤษ สถาบัน พาวิเลี่ยน บิช รีสอรท ภาษานานาชาติ พั ฒ น าห ลั ก สู ต ร เ พื่ อ ส ง เ สริ ม ศั กย ภาพการ สอ น จ.สงขลา ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัย 2.เสวนาเรื่อง “การดําเนินกิ จกรรมบนระบบเครื อขา ย มหาวิทยาลัย เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่ อ พั ฒ นาการศึ ก ษา ครั้ ง ที่ 19” ในการ เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ราชมงคลธัญบุรี ประชุมเชิงปฏิบัติการ ฝายวิชาการ ณ หองสัมมนา(FST) 3.บรรยายหัวขอ “Voice Over IP” โครงการสัมมนาเชิง คณะวิทยาศาสตรฯ ชั้น 4 วิชาการ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ ม.อ.ย. คณะวิทยาศาสตรฯ

3/1/51

-

-

-

-

-

30/6/515/7/51

-

-

-

-

-

-

5/2/52

-

-

-

-

-

-


37

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

4) อ.ปติ สันหีม

ตําแหนง : หัวหนาประจําสาขาวิชาวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ กระทรวงศึกษาธิการ 1.เข า ร ว มจั ด นิ ท รรศการกิ จ กรรมตามเนื้ อ หาชุ ด ณ โรงแรมอิมพีเรียล โครงการวิ จัย ในงานมหกรรมวิ จัยเพื่ อพั ฒนาการศึก ษา สํานักงานหนวยงาน 5 จ.นราธิวาส องคกรหลัก จังหวัดชายแดนใต ณ หองพญาตานี 2.เขารวมประชุมวิชาการ “เวทีเครือข ายนักวิจัยชาวบาน หนวยประสานงานวิจัยเพื่อ โรงแรมเซาทเทิรน วิล ทองถิ่นภาคใตตอนลาง จังหวัดชายแดนใต คุณคา พลังและความสุข” อ.เมือง จ.ปตตานี 3.บรรยายหัวขอ “การพัฒนาเครื่องมือการทดลองทาง ฟสิ กส เพื่อ ใช ในการสอนในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนา อิสลาม” โครงการสัมมนาเชิงวิชาการ คณะวิท ยาศาสตร และเทคโนโลยีฯ

ฝายวิชาการ คณะวิทยาศาสตรฯ ม.อ.ย.

ณ หองสัมมนา(FST) ชั้น 4 คณะวิทยาศาสตรฯ

3/6/52

-

-

-

-

-

-

13-14/8/51

-

-

-

-

-

10/7/51

-

-

-

-

-

-


38

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

5) อ.อนุวัตร วอลี

ตําแหนง : หัวหนาประจําสาขาวิชาเคมีประยุกต คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ องคการบริหารสวนจังหวัด ณ หองประชุม 1.เขารวมโครงการพัฒนาเยาวชนภาคฤดูรอน ปตตานี อบจ.ปตตานี ประจําป 2552 ศูนยเครือขายวิจัย โรงแรม เจบี หาดใหญ 2.เขารวมสัมมนาการเขียนขอเสนอโครงการวิจัยเครือขาย ภาคใตตอนลาง จ.สงขลา ภาคใตตอนลาง 3.บรรยายหัวขอ “การเตรียมแผนไม อัดจากผงขี้เลื่อยไม ฝายวิชาการ ยางพาราผสมพลาสติกรีไ ซเคิลโดยใช น้ํายางธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตรฯ เปนตัวประสาน” โครงการสัมมนาเชิงวิชาการ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ 4.เขารวมสัมมนา “พัฒนาการเขียนขอเสนอโครงการวิจัย ยางพารา”

สกว.กรุงเทพฯ

20/3/529/4/52

-

-

-

-

-

-

19/12/51

-

-

-

-

-

-

ณ หองสัมมนา(FST) ชั้น 4 คณะวิทยาศาสตรฯ

21/8/51

-

-

-

-

-

-

สกว.

31/7/511/8/51

-

-

-

-

-

-


39

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

6) นายอัมพร มนมิตร

ตําแหนง : หัวหนาสํานักงาน คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ 1.บรรยายหัวขอ “โครงสรางการบริหารงานคณะและการ คณะวิทยาศาสตรและ ทําความเขาใจในการใชแผนยุทธศาสตร” โครงการอบรม ฝายบริหารและธุรการ 7-30 /4/ 52 เทคโนโลยี ม.อ.ย. จัดทําแผนดําเนินงานและแผนงบประมาณ ป 2552

-

-

5.3

7.3, 7.4

31,500

-

2.กรรมการดํ าเนิ นงานโครงการประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติก าร พัฒนาศักยภาพอาจารยมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

มหาวิทยาลัยอิสลาม ยะลา

8/4/52

-

-

-

-

-

-

3.บรรยายหั วข อ “เทคนิ คการให คํา ปรึ กษาครอบครัว ” โครงการบอบรมอาสาสมัครที่ปรึกษาปญหาครอบครัว

มูลนิธิสงเคราะหเด็ก กําพราและการกุศลยะลา ต.บันนังสาเรง อ.เมือง จ.ยะลา

ณ หองประชุม มูลนิธิ สงเคราะหเด็กกําพรา และการกุศลยะลา

26/12/51

-

-

-

-

-

-


40

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

7) Mr. Muhammad Iqbal

ตําแหนง : อาจารยประจําสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ 1.บรรยายหัว ขอ “Theory & Practice Digital and คณะวิทยาศาสตรฯ Microprocessor” โครงการอบรมเสริมทักษะดิจิตอล มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา และไมโครโปรเซสเซอร

ณ หองปฏิบัติการ ฟสิกส 5-402

ณ John XXIII Conference Center

2. Participated The fifth International Conference on Elearning for Knowledge-based Society ; E-learning AP2008

กระทรวงเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

3.บรรยายหัวขอ “Chaudrayaan ; Indian Satellite” โครงการสัมมนาเชิงวิชาการ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ

ฝายวิชาการ คณะวิทยาศาสตรฯ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

ณ หองสัมมนา(FST) ชั้น 4 คณะวิทยาศาสตรฯ

วิทยาเขตสุวรรณภูมิ

22/3/525/4/52

-

-

-

-

-

-

11-12 /12/51

-

-

-

-

-

4/12/51

-

-

-

-

-

-


41

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

8) Mr. Irshad Ahmad

ตําแหนง : อาจารยประจําสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ ฝายวิชาการ คณะวิทยาศาสตรฯ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

ณ หองสัมมนา(FST) ชั้น 4 คณะวิทยาศาสตรฯ

2. Participated The fifth International Conference on Eกระทรวงเทคโนโลยี learning for Knowledge-based Society ; E-learning สารสนเทศและการสื่อสาร AP2008

ณ John XXIII Conference Center

1.บรรยายหัวขอ “Stack ; Data Structure” โครงการ สัมมนาเชิงวิชาการ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ

มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

วิทยาเขตสุวรรณภูมิ

12/2/52

-

-

-

-

-

-

11-12 /12/51

-

-

-

-

-


42

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

วันเดือนป กลุมเปาหมาย ที่จัด ใน นอก

ระดับความ พึงพอใจ

ดัชนีชี้วัด ความสําเร็จ สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

500

-

9) อาจารยซอบรี อามาลีนา

ตําแหนง : อาจารยประจําสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ ฝายประชาสัมพันธ ณ หองสัมมนา(FST) 1.บรรยายหัว ขอ “เทคนิคการออกแบบสื่อ สิ่งพิม พแ ละ คณะวิทยาศาสตรฯ ชั้น 4 วี ดิ ทั ศ น ” โครงการอบรมเทคนิ ค การออกแบบสื่ อ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คณะวิทยาศาสตรฯ สิ่งพิมพและวีดิทัศน

15/6/51

-

-

7.37.4

-


43

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

วันเดือนป กลุมเปาหมาย ที่จัด ใน นอก

ระดับความ พึงพอใจ

ดัชนีชี้วัด ความสําเร็จ สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

10) Mr. Tamer Madi ตําแหนง : อาจารยประจําสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ

ฝายวิชาการ 1.บรรยายหั ว ข อ “Global Positioning System” ณ หองสัมมนา(FST) ชั้น 4 คณะวิทยาศาสตรฯ โครงการสั ม มนาเชิ ง วิ ช าการ คณะวิ ท ยาศาสตร แ ละ คณะวิทยาศาสตรฯ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา เทคโนโลยีฯ ณ John XXIII 2. Participated The fifth International Conference on Eกระทรวงเทคโนโลยี Conference Center learning for Knowledge-based Society ; E-learning สารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ AP2008 วิทยาเขตสุวรรณภูมิ

25/12/51

-

-

-

-

-

-

11-12 /12/51

-

-

-

-

-


44

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

วันเดือนป กลุมเปาหมาย ที่จัด ใน นอก

ระดับความ พึงพอใจ

ดัชนีชี้วัด ความสําเร็จ สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

11) Mr. Nael A.A. Aburas

ตําแหนง : อาจารยประจําสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ 1. Participated The fifth International Conference on Eมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ กระทรวงเทคโนโลยี learning for Knowledge-based Society ; E-learning สารสนเทศและการสื่อสาร วิทยาเขตสุวรรณภูมิ AP2008 ฝายวิชาการ ณ หองสัมมนา(FST) 2.บรรยายหัวขอ “Mobile Marketing” โครงการสัมมนา คณะวิทยาศาสตรฯ ชั้น 4 เชิงวิชาการ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คณะวิทยาศาสตรฯ

11-12 /12/51

-

-

-

-

-

29/1/52

-

-

-

-

-

-


45

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

12) Mr. Hisham K.M. Madi

ตําแหนง : อาจารยประจําสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ ฝายวิชาการ ณ หองสัมมนา(FST) 1.บรรยายหั ว ข อ “E-business” โครงการสั ม มนาเชิ ง คณะวิทยาศาสตรฯ ชั้น 4 วิชาการ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คณะวิทยาศาสตรฯ

20/11/51

-

-

-

-


46

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

13) Mr. Manawar Ali

ตําแหนง : อาจารยประจําสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ ฝายวิชาการ ณ หองสัมมนา(FST) 1.บรรยายหัวขอ “Software Development Life Cycle” คณะวิทยาศาสตรฯ ชั้น 4 โครงการสั ม มนาเชิ ง วิ ช าการ คณะวิ ท ยาศาสตร แ ละ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คณะวิทยาศาสตรฯ เทคโนโลยีฯ

15/1/52

-

-

-

-


47

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

14) อ.อดินันท หวังพิทยา

ตําแหนง : อาจารยประจําสาขาวิชาวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ โรงแรม สมิหลาบิช 1.เขารวมการประชุมวิชาการดานเทคโนโลยีการจัดการ คณะวิศวกรรม อ.เมือง ทรัพยากรน้ํา ครั้งที่ 2 มอ.วิทยาเขตหาดใหญ จ.สงขลา 2.บรรยายหัวขอ “กระบวนการเรียนรูและการมีสวนรวม ฝายวิชาการ ของประชาชนในการจั ด การท อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศ คณะวิทยาศาสตรฯ กรณีศึกษา : บางปูสีสันแดนหิงหอย” โครงการสัมมนา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา เชิงวิชาการ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ 3.เข า ร วมโครงการสัม มนาป ญ หาและแนวทางจั ด การ สิ่งแวดลอมในภาวะวิกฤตอาหารและพลังงานของโลก

ณ คณะการจัดการ สิ่งแวดลอม มอ.หาดใหญ

4..เข า ร ว มโครงการสั ม มนาเครื อ ข า ยวิ ช าการด า น สิ่งแวดลอมภาคใต ครั้งที่ 1/2552

ณ คณะการจัดการ สิ่งแวดลอม มอ.หาดใหญ

ณ หองสัมมนา(FST) ชั้น 4 คณะวิทยาศาสตรฯ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ โรงแรมบีพี สมิหลา บิช สงขลา

21-22/5/52

-

-

-

-

-

-

3/7/51

-

-

-

-

-

-

5/8/51

-

-

-

-

-

-

-

-

-


48

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

วันเดือนป กลุมเปาหมาย ที่จัด ใน นอก

จํานวนผูรับ บริการ

ดัชนีชี้วัด ความสําเร็จ สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

15) อ.สุไลมาน ดีสะเอะ

ตําแหนง : อาจารยประจําสาขาวิชาวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ ฝายวิชาการ ณ หองสัมมนา(FST) 1.บรรยายหัวขอ “Electric Field Aligned Growth of คณะวิทยาศาสตรฯ ชั้น 4 Single-wall Carbon” โครงการสัมมนาเชิงวิชาการ คณะ ม.อ.ย. คณะวิทยาศาสตรฯ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ

27/11/51

-

-

-

-


49

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

วันเดือนป กลุมเปาหมาย ที่จัด ใน นอก

จํานวนผูรับ บริการ

ดัชนีชี้วัด ความสําเร็จ สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

16) อ.สะอาด อาแซ

ตําแหนง : อาจารยประจําสาขาวิชาวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ ฝายวิชาการ ณ หองสัมมนา(FST) 1.บรรยายหั ว ข อ “เทคนิ ค การทํ า Meta Genomic คณะวิทยาศาสตรฯ ชั้น 4 Library” โครงการสัมมนาเชิงวิชาการ คณะวิทยาศาสตร ม.อ.ย. คณะวิทยาศาสตรฯ และเทคโนโลยีฯ

12/6//51

-

-

-

-


50

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

17) อ.อิรฟน มะแซสาอิ

ตําแหนง : อาจารยประจําสาขาวิชาวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ ศูนยเครือขายวิจัย โรงแรม เจบี หาดใหญ 1.เขารวมสัมมนาการเขียนขอเสนอโครงการวิจัยเครือขาย ภาคใตตอนลาง จ.สงขลา ภาคใตตอนลาง 2.เขารวมสัมมนา “พัฒนาการเขียนขอเสนอโครงการวิจัย ยางพารา”

สกว.กรุงเทพฯ

สกว.

19/12/51

-

-

-

-

-

-

31/7/511/8/51

-

-

-

-

-

-


51

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

18) อ.สุมิตรา แสงวนิชย

ตําแหนง : อาจารยประจําสาขาวิชาวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ 1.บรรยายหั ว ข อ “พฤติ ก รรมในการซื้ อ ผลไม ข อง ฝายวิชาการ ณ หองสัมมนา(FST) ผู บ ริ โ ภคในเขตกั ว ลาลั ม เปอร ประเทศมาเลเซี ย ” คณะวิทยาศาสตรฯ ชั้น 4 โครงการสั ม มนาเชิ ง วิ ช าการ คณะวิ ท ยาศาสตร แ ละ ม.อ.ย. คณะวิทยาศาสตรฯ เทคโนโลยีฯ

17/7/51

-

-

-

-


52

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

19) อ.รอปอะ กือจิ

ตําแหนง : อาจารยประจําสาขาวิชาเคมีประยุกต คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ ฝายวิชาการ ณ หองสัมมนา(FST) 1.บรรยายหั ว ข อ “การศึ ก ษาฤทธิ์ ต า นอนุ มู ล อิ ส ระ” คณะวิทยาศาสตรฯ ชั้น 4 โครงการสั ม มนาเชิ ง วิ ช าการ คณะวิ ท ยาศาสตร แ ละ ม.อ.ย. คณะวิทยาศาสตรฯ เทคโนโลยีฯ

22/1//52

-

-

-

-


53

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

20) นายนิซอยบูลดิน นิเงาะ

ตําแหนง : เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ฝายบริหารและธุรการ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ สโมสรนักศึกษา ณ หองเรียน 5-204 1.บรรยายหั ว ข อ “หลั ก การเขี ย นหนั ง สื อ ราชการและ คณะวิทยาศาสตรฯ คณะวิทยาศาสตรฯ ความสําคัญ” โครงการขีดๆเขียน

24/7/51

-

-

-

-


54

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

21) นายอิสมาแอล หะยีเตะ

ตําแหนง : เจาหนาที่โสตทัศนอุปกรณ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ หอง Lab ฟสิกส 1.บรรยายหัว ข อ “อิเ ล็ กทรอนิ ก สเ บื้อ งตน ” โครงการ ศูนยพัฒนาวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตรฯ อบรมเชิงปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน ม.อ.ย.

14/11/51

-

-

3.2

6.17


55

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

22) นายมูหัมหมัดรอนี อาแวกาจิ

ตําแหนง : เจาหนาที่หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ โรงเรียนอุดมศาสนวิทยา ณ หองประชุมโรงเรียน 1.บรรยายอบรมหัวขอ “อบรมการใชคอมพิวเตอร ต.บุดี อ.เมือง อุดมศาสนวิทยา MS-Word ,MS-Excel” จ.ยะลา ฝายวิชาการ ณ หองสัมมนา(FST) 2.บรรยายหัว ขอ “Introduction to E-learning for คณะวิทยาศาสตรฯ ชั้น 4 Scientific Use” โครงการสั ม มนาเชิ ง วิ ช าการ คณะ ม.อ.ย. คณะวิทยาศาสตรฯ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ

15/10/51

-

-

-

-

-

-

26/6/51

-

-

-

-

-

-


56

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

23) นายรอมสรรค เศะ

ตําแหนง : นักวิทยาศาสตรชีววิทยา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ โรงเรียนนราสิกขาลัย โรงเรียนนราสิกขาลัย 1.บรรยายหัวขอ “ประสบการณ ชีวิตในมหาวิทยาลั ย อ.เมือง อ.เมือง ชี วิ ต ” กิ จ กรรมเสริ ม สร า งความเข ม แข็ ง ก อ นเข า สู รั่ ว จ.นราธิวาส จ.นราธิวาส มหาวิทยาลัย ฝายวิชาการ ณ หองสัมมนา(FST) 2.บรรยายหัวขอ “สมบัติการตานออกซิเดชั่นและการตาน คณะวิทยาศาสตรฯ ชั้น 4 จุลิ นทรี ยของเครื่องเทศ” โครงการสัม มนาเชิ งวิชาการ ม.อ.ย. คณะวิทยาศาสตรฯ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ

12/3/52

-

-

-

-

-

8/1//52

-

-

-

-

-

-


57

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

24) นางสาวนูซานา ปะกียา ตําแหนง : นักวิทยาศาสตรชีววิทยา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ 1.บรรยายเชิงปฏิบัติ การหั วขอ “กิจ กรรม + ทีม เวิ รก = องคการบริหารนักศึกษา ป ณ หองประชุม ชั้น 3 การศึกษา 2551 ม.อ.ย. คณะอิสลามศึกษา ความสําเร็จ” โครงการคายพลังงานแกนนํานักศึกษา 2. บรรยายหั ว ข อ “เทคนิ ค การทํ า Meta Genomic Library” โครงการสัมมนาเชิงวิชาการ คณะฯ

ฝายวิชาการ คณะวิทยาศาสตรฯ ม.อ.ย.

ณ หองสัมมนา(FST) ชั้น 4

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

22/8/51

-

-

-

-

-

12/6//51

-

-

-

-

-

-


58

6.3.3 อาจารยพิเศษ ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

1) อ.ปติ สันหีม

ตําแหนง : หัวหนาประจําสาขาวิชาวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ อาจารยพิเศษ โรงเรียนดรุณศาสตรวิทยา โรงเรียน อ.สายบุรี 1.อาจารยพิเศษดานการสอนวิชาฟสิกส ดรุณศาสตรวิทยา จ.ปตตานี

ปการศึกษา 2551

-

-

-

-

-

-

ปการศึกษา 51

-

-

-

-

-

-

28/3/5218/4/52

-

-

-

-

-

-

2) อ.อับดุลรอมาน สาลีมี

ตําแหนง : อาจารยประจําสาขาวิชาวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ อาจารยพิเศษ วชช. อ.เทพา จ.สงขลา 1.อาจารยพิเศษ วิชาวิทยาศาสตรเพื่อชีวิต วิทยาลัยชุมชนสงขลา

3) อ.นัจญมีย สะอะ

ตําแหนง : อาจารยประจําสาขาวิชาวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ อาจารยพิเศษ 1.โครงการค า ยเสริ ม ทั ก ษะวิ ท ยาศาสตร คณิ ต ศาสตร อังกฤษ “วิชาเคมีศึกษา ชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 5”

มูลนิธิสงเคราะหเด็ก กําพราและการกุศล อ.เมือง จ.ยะลา

ณ ศูนยสาธิตเพื่อการ พัฒนายุวชนมุสลิม


59

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

4) นายรัมยานัสรี เจะเงาะ

ตําแหนง : เจาหนาที่หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ อาจารยพิเศษ ณ อาคารเรียนคณะ สาขาวิชาเทคโนโลยี 1.อาจารยพิเ ศษรายวิชา IT232-019 Programming for วิทยาศาสตรและ สารสนเทศ Scientist (นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร ชั้นปที่ 2) เทคโนโลยีฯ ม.อ.ย. ณ อาคารเรียนคณะ สาขาวิชาเทคโนโลยี 2.อาจารยพิเศษรายวิชา GE219-501 คอมพิวเตอรเบื้องตน วิทยาศาสตรและ สารสนเทศ (นักศึกษาโครงการพิเศษ อิสลามศึกษา) เทคโนโลยีฯ ม.อ.ย.

ภาคเรียนที่ 2/2551

-

-

-

-

-

-

ภาคเรียนที่ 2/2551

-

-

-

-

-

-


60

FST-Annual Report 2008

6.3.4 ความรวมมือทางดานวิชาการ 6.3.4.1 สงเสริมความรวมมือทางดานวิชาการกับองคกรภายในประเทศ

โครงการฮาลาลไทยใครจะคุ ม ครอง ซึ่ ง จั ด โดยคณะวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ฯ ร ว มกั บ ศู น ย วิ ท ยาศาสตร ฮ าลาล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2551 ณ หอประชุมวันมูหัมมัดนอร มะทา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

โครงการอบรมมหาวิท ยาลัยชีวิตเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งจัดโดย ฝายวิชาการ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ รวมกับ มหาวิทยาลัยนอรทเชียงใหม เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2552 ณ มหาวิท ยาลัยอิสลามยะลาและมูลนิธิสงเคราะหเด็ กกําพร าและการกุศ ล ยะลา โดยมีวิทยากรผูบรรยาย อาจารยกิจจา หนูนิ่ม ผูชวยรองอธิการบดีฝายกิจกรรมพิเศษ เปนผูอบรมโครงการดังกลาว

เขา รวมแสดงมหกรรมเปด โลกการเรีย นรู วิท ยาศาสตรเ นื่อ งในสั ปดาห แหง ชาติ ณ ศูน ยวิ ทยาศาสตร เพื่ อการศึก ษายะลา อ.เมือง จ.ยะลา เมื่อวันที่ 18-20 สิงหาคม 2551 โดยฝายวิชาการ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


61

FST-Annual Report 2008

โครงการนิเทศนักศึกษาฝกงาน จัดโดยสาขาวิชาวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ มหาวิทยาลัยอิสลาม ยะลา รวมกับสํา นัก วิจัยพั ฒนาเทคโนโลยีชี วภาพ จ.ปทุม ธานี ขึ้ นในระหวาง 1 เมษายน – 20 พฤษภาคม 2552 เพื่อ นิเ ทศกนั กศึ กษา ระหวางการฝกงาน ในรายวิชาฝกงานดังกลาว

Prof.Dr.Siegfried Stapf จาก Technische Universitat Ilmenau, Germany ดร.ซอบีเราะห การียอ และ อาจารย รอปอะ กือจิ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา เขาเยื่ยมชมหนวยสรางเสริมศักยภาพ การวิจัยดานนาโนศาสตร และนาโนเทคโนโลยี โดยมี ผศ.ดร.เติมศักดิ์ ศรีคิริน ทร พาเยื่ยมชมสถานที่หองปฏิบัติการตางๆ และปรึกษาหารือ กับผศ.ดร.ศรี สุดา วรามิตร ดานการแลกเปลี่ย นนักศึ กษา ตลอดจนการรว มมือด านงานวิ จัยในอนาคตทั้ง 3 สถาบัน ณ ภาควิ ชาฟสิ กส คณะ วิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2551 ที่ผานมา

Prof.Dr.Siegfried Stapf จาก Technische Universitat Ilmenau, Germany ดร.ซอบีเราะห การียอ และ อาจารย รอปอะ กือจิ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา เขาพบ รศ.ดร.มงคล รายะนาคร คณบดีคณะวิท ยาศาสตร มหาวิทยา เชียงใหม เมื่อวัน ที่ 24 พฤศจิกายน 2551 ในโอกาสนี้ไดเขารับฟงการบรรยายพิเ ศษในหัวขอ “Nuclear Magnetic Resonance at Low Magnetic Fields-a Versatile Tool for Polymer Characterization and Reaction Monitoring” จาก Prof.Dr.Siegfried Stapf ณ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตรมหาวิทยาเชียงใหม และตัวแทนภาควิชาไดมอบของที่ระลึกหลังการบรรยายพิเศษเสร็จสิ้น


62

FST-Annual Report 2008

6.3.4.2 สงเสริมความรวมมือทางดานวิชาการกับสถาบันการศึกษาในตางประเทศ

Prof.Dr.Siegfried Stapf จาก Technische Universitat Ilmenau, Germany ไดเขาเยื่ยมชมคณะวิท ยาศาสตรและ เทคโนโลยี ฯ มหาวิท ยาลั ย อิ สลามยะลา เมื่ อ วั นที่ 16 พฤศจิ ก ายน 2551 เพื่ อ แนะนํ าเกี่ ย วกั บการจั ด การเรี ย นการสอนของ Technische Universitat Ilmenau ในโอกาสนี้ไดเขารวมโครงการสรางนักวิจัยมืออาชีพ ครั้ง ที่ 2 และบรรยายหัวขอ “Nuclear Magnetic Resonance a Versatile Tool for Polymer, Medicine, Food, etc. ’’

ภาพบรรยากาศผูบริหารของคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ไดเขาพบกับผูบริห าร ของมหาวิทยาลัย Utara Malaysia (UUM) เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2552 ที่ผานมา เพื่อตกลงในกรอบความรวมมือในโครงการ International Islamic Studies – Networking (IISN) ประจําปงบประมาณ 2552 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อปรับกระบวนทัศนของ นักศึกษาใหมีความเปนนานาชาติมากขึ้น และเพื่อเปดโอกาสใหนักศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใตไดมีโอกาสไปศึกษาและ รับ ประสบการณต รงในมหาวิ ทยาลัย ตา งประเทศ ในการนี้ท างนักศึ กษาจากคณะวิ ทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ฯ มหาวิทยาลั ย อิสลามไดรับทุนนี้เปน จํานวน 2 ทุนในทั้งหมด 18 ทุนภายใตสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต ทั้งนี้ นักศึ กษาที่ไ ดรั บทุ นดัง กล าว ได แก 1.นายอับ ดุลรอหมาน หลั งปู เตะ 2.นายอีร ฟน จะปะกี ยา นั กศึ กษาประจํ าสาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้นป 3 โดย ตองเดิ นทางไปศึกษา ณ มหาวิท ยาลัย Utara Malaysia (UUM) เปนจํานวน 1 ป การศึกษา ภายในปการศึกษา 2552 นี้


63

FST-Annual Report 2008

6.3.5 สรุปกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ ลําดับ ที่ 1 2 3 4 5

6

7 8 9 10

รายชื่อโครงการ/กิจกรรมตางๆ จัดโครงการมหาวิทยาลัยชีวิตเพือ่ เศรษฐกิจพอเพียง จัดโครงการคายเสริมทักษะวิทยาศาสตรฯ จัดโครงการ Islamic Science Camp ครั้งที่ 2 เขารวมแสดงนิทรรศการมหกรรมวิชาการอัดดีน 2009 “จัด แสดงซุมวิชาการทางอิสลามกับวิทยาศาสตร” จัดเขารวมแสดงนิทรรศการงานวันเด็กแหงชาติ ประจําป 2552 “จัดแสดงซุมวิชาการทางวิทยาศาสตรและ ดาราศาสตร” จัดเขารวมโครงประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ บรรยายหัวขอ ”การพัฒนาผูประกอบการทองเที่ยวเกี่ยวกับ มาตรฐานฮาลาล” จัดโครงการฮาลาลไทยใครจะคุมครอง เขารวมแสดงนิทรรศการงานสัปดาหสงเสริมการอาน ”จัดแสดงซุมวิชาการทางวิทยาศาสตรกับอิสลาม” เขารวมแสดงมหกรรมเปดโลกการเรียนรูวิทยาศาสตรเนื่องใน สัปดาหแหงชาติ จัดโครงการวิทยาศาสตรอิสลาม ครั้งที่ 1 รวมทั้งหมด

จํานวนกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ

ฝาย สงเสริม รับผิดชอบ สันทนาการ ศิปวัฒนธรรม

วิชาการ

กีฬาและ สงเสริมสุขภาพ

บําเพ็ญประโยชน รักษาสิ่งแวดลอม

   

-

-

-

-

-

-

-

-

ฝายวิชาการ ฝายวิชาการ ฝายวิชาการ ฝายวิชาการ ฝายวิชาการ

-

-

-

ฝายวิชาการ

 

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

10

-

ฝายวิชาการ ฝายวิชาการ ฝายวิชาการ ฝายวิชาการ


64

ลําดับ ที่ 11

รายชื่อโครงการ/กิจกรรมตางๆ

FST-Annual Report 2008

จํานวนกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ วิชาการ

กีฬาและ สงเสริมสุขภาพ

บําเพ็ญประโยชน รักษาสิ่งแวดลอม

สันทนาการ

สงเสริม ศิปวัฒนธรรม

ตอนรับผูศึกษาดูงานและเยี่ยมชมคณะวิทยาศาสตรฯ เพื่อการศึกษาแนวทางในการพัฒนาการศึกษาวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี ในโรงเรียนเอกชน 5 จังหวัด ชายแดนใต

-

-

-

-

รวมโครงการ/กิจกรรมตางๆของคณะฯ ทั้งหมด

11

-

-

-

-

13 14 15 16

เข า ร ว มโครงการอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารเรื่ อ งระบบการ บริ ห ารจั ด การหั ว หน า กลุ ม ศึ ก ษาอั ล กรุ อ านเชิ ญ เป น อิหมามละหมาดอัสรี พรอมกลาวกาลิมะฮฺกอซีเ ราะห หัว ขอ “หนาที่ตอสังคม” เข ารว มการประชุม วิชาการด านเทคโนโลยีการจัด การ ทรัพยากรน้ํา ครั้งที่ 2 เขาร วมโครงการอบรมความรูเบื้ องตน เกี่ย วกับ อิส ลาม บรรยายหัวขอ ”อิสลามกับวิทยาศาสตร” เข า รว มโครงการอบรมวิ ช าการอิ ส ลามกั บป ญ หาร ว ม สมัยบรรยายหัวขอ”การดะวะหตอเยาวชนที่เบี่ยงเบน” เข า ร ว มประชุ ม สมาคมจั น ทร เ สี้ ย วการแพทย แ ละ สาธารณสุข ประจําป 2552 บรรยายหัวขอ”วิถี อิสลามกับ การใหบริการดวยหัวใจความเปนมนุษย” รวมทั้งหมด

ฝายวิชาการ

ฝายวิชาการ

วิทยากร โดยบุคลากรคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ 12

ฝาย รับผิดชอบ

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

ฝายวิชาการ

5

2

2

-

3


65

ลําดับ ที่ 17

18

19

20 21

รายชื่อโครงการ/กิจกรรมตางๆ เข า ร ว มโครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพการปฏิ บั ติ ง าน บุ ค ล า ก ร ส า ย ส นั บ ส นุ น วิ ช า ก า ร ห ลั ก สู ต ร “ยุท ธศาสตร การทํางานใหมีป ระสิทธิภ าพ” บรรยาย หัว ขอ ”ขวั ญ กํา ลัง ใจความก าวหนา ในการทํ างานของ เจาหนาที่” เข า ร ว มโครงการส ง เสริ ม คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม ขาราชการครูและ บุคลกากรทางการศึกษาตามหลัก ศาสนาอิ สลามประจํา ป 2552 บรรยายหั วขอ “สัง คม คุณธรรม” จั ด โครงการอบรมจั ด ทํ า แผนดํ า เนิ น งานและแผน งบประมาณ ป 2552 บรรยายหัวขอ “การจัดแผน ประจําป 2552” จัด โครงการ Islamic Science Camp ครั้ งที่ 2 บรรยายหัวขอ “อิสลามกับวิทยาศาสตร” เข า รว มโครงการประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติก าร เรื่อ งระบบ บริหารจัด การเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงานบุคลากร สายวิชาการ ม.อ.ย. บรรยายหัวขอ ”บทบาทอาจารยที่ ปรึกษาวิชาการในยุคสังคมปจจุบัน” รวมทั้งหมด

FST-Annual Report 2008

จํานวนกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ วิชาการ

กีฬาและ สงเสริมสุขภาพ

บําเพ็ญประโยชน รักษาสิ่งแวดลอม

สันทนาการ

สงเสริม ศิปวัฒนธรรม

ฝายรับผิดชอบ

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

-

ฝายวิชาการ

ฝายวิชาการ

-

-

-

ฝายวิชาการ

5

1

1

1

4


66

ลําดับ ที่ 22 23

24

25

รายชื่อโครงการ/กิจกรรมตางๆ จัดโครงการอบรมจัดทําแผนดําเนินงานและแผน งบประมาณป 2552 เขารวมประชุมวิชาการ World of Halal Science, Industry and Business 2009(WHASIB’09) และสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาธุรกิจฮาลาลในพื้นที่ อันดามัน” เข า ร ว มโครงการอิ ส ลามศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษา (อามั้ลอิสลามมีย) บรรยายหัวขอ “แนวคิด ทฤษฎีและ การปฏิบัติการอบรมบมนิสัย” เขารวมโครงการนิทรรศการโลกมุสลิม บรรยายหัวขอ “วิชาวิทยาศาสตร” รวมทั้งหมด

FST-Annual Report 2008

จํานวนกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ

ฝาย รับผิดชอบ

วิชาการ

กีฬาและ สงเสริมสุขภาพ

บําเพ็ญประโยชน รักษาสิ่งแวดลอม

สันทนาการ

สงเสริม ศิปวัฒนธรรม

-

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

-

ฝายวิชาการ

4

2

1

-

1


67

ลําดับ ที่ 26

27

28 29 30

31

รายชื่อโครงการ/กิจกรรมตางๆ เขารวมโครงการสงเสริมเครือขายการเรียนรูเพื่อพัฒนา เด็กกอ นวัย เรีย นในพื้นที่ จัง หวัด ชายแดนใต บรรยาย หัวขอ”ถอดบทเรียนการเลี้ยงดูแรกเกิดถึง3ปและเสียงสะทอน จากลูกโดยครอบครัวที่ประสบความสําเร็จในการเลี้ยงดูตาม วิถีอิสลาม เขารวมสัม มนาเตรี ยมความพร อมกอ นดํารงตําแหนงผู พิ พ ากษาในเขตพื้ น ที่ 3 จั ง หวั ด ชายแดนใต บรรยาย เรื่อง”วิถีชีวิตมุสลิมกับปญหาในจังหวัดชายแดนใต” เขารวมสัมมนาสมาชิกวิทยุรวมดวยชวยกัน บรรยายหัวขอ”กระบวนการพัฒนาสื่อเพื่อชุมชน” เขารวมโครงการบรรยายวิชาการศาสนธรรม ประจําป 2552บรรยายหัวขอ”ตัซนียะห” เขารวมโครงการบูรณาการองคความรูบทบัญญัติศาสนา อิ ส ลามกั บ การส ง เสริ ม ทั น ตกรรมสุ ข ภาพ 3 จั ง หวั ด ชายแดนใต เสวนาหัวขอ”บทบัญญัติศาสนากับการสงเสริม ทันตสุขภาพ 3 จังหวัดชายแดนใต” เขารวมโครงการปจฉิมนิเทศบัณฑิตใหมประจําป 2550 บรรยายหัวขอ “บทบาทบัณฑิตในการพัฒนาสังคม : ดาน สังคม” รวมทั้งหมด

FST-Annual Report 2008

จํานวนกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ

ฝาย สงเสริม รับผิดชอบ ศิปวัฒนธรรม

วิชาการ

กีฬาและ สงเสริมสุขภาพ

บําเพ็ญประโยชน รักษาสิ่งแวดลอม

สันทนาการ

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

ฝายวิชาการ

6

2

1

-

6


68

ลําดับ ที่ 32

33

34 35 36

37 38

รายชื่อโครงการ/กิจกรรมตางๆ เข า ร ว มโครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพครอบครั ว มุ ส ลิ ม จ.ปต ตานี บรรยายหั วขอ”ตัร บีย ะหบุต รหลานใหสําเร็จ ทั้ง ดุนยาและอาคีเราะห” เข า ร ว มโครงการอบรมอาสาสมั ค รที่ ป รึ ก ษาป ญ หา ครอบครั ว บรรยายหัวข อ”ความสําคัญของการเปนที่ ปรึกษาครอบครัวในอิสลาม” เขารวมโครงการกิจกรรมคายภาษาอังกฤษและมลายู บรรยายพิเศษ ”อิสลามกับภาษา” เข า ร ว มโครงการสั ม มนา เรื่ อ ง”ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพียงสมการนําไปประยุกตใชในรั่วมหาวิทยาลัย” เข า ร ว มประชุ ม วิ ช าการ รั ฐ ศาสตร แ ละรั ฐ ประศาสน ศาสตรในภูมิภาคภาคใต ประจําป 2551 อภิปราย”การบูร ณาการการแกปญหาภาคใต : การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการศึกษา เขารวมโครงการรอมฏอนสัมพันธ บรรยายพิเศษ”รอมฏอนเดือนสูการเปลี่ยนแปลง” เข ารวมประชุมวิ ชาการ บรรยายความรู ทางศาสนาใน การเตรียมตัวการถือศีลอดใหถูกตอง บรรยายหัวขอ” รอมฎอนเดือนแหงบารอกัต” รวมทั้งหมด

FST-Annual Report 2008

จํานวนกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ

ฝาย สงเสริม รับผิดชอบ สันทนาการ ศิปวัฒนธรรม

วิชาการ

กีฬาและ สงเสริมสุขภาพ

บําเพ็ญประโยชน รักษาสิ่งแวดลอม

ฝายวิชาการ

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

ฝายวิชาการ

ฝายวิชาการ

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

ฝายวิชาการ

7

4

3

2

7


69

ลําดับ ที่ 39 40 41 42

43

44

45

รายชื่อโครงการ/กิจกรรมตางๆ เขารวมโครงการนิทรรศการวิชาการ”ISLAMIC SCIENCE” บรรยายหัวขอ”อิสลามวิถีแหงวิทยาศาสตร” เข า ร ว มประชุ ม สั ม มนาแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู อิ ส ลามศึ ก ษา บรรยายหัวขอ”ความมหัศจรรยของมหาคัมภีรอัลกรุอาน” เข า ร ว มโครงการพบปะบุ ค ลากรมุ ส ลี ม ะฮฺ บรรยายหั ว ข อ “มุสลีมะฮฺกับการทํางานเปนทีม” เขารวมโครงการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติก าร บรรยายหัวขอ ” ผูนํา มุส ลีมะฮฺกับ บทบาทในการสรางสรรคสั งคมสันติ สุขในยุ ค โลกาภิวัฒน” เขารวมโครงการสัมมนา”บทบาทมุสลีมะฮฺตอการมีสวนรวม ในการดูแลและเยาวชนใหอ อกหางจากยาเสพติด” บรรยาย หัวขอ”บทบาทมุสลีมะฮฺในการสรา งครอบครัวที่อบอุนในมุมมอง อิสลาม” เข า ร ว มโครงการพั ฒ นาฯคุ ณ ภาพชี วิ ต แม บ า น บรรยาย หัวขอ ”มุสลีมะฮฺกับการพัฒนคุณภาพชีวิตในยุคเศรษฐกิจ พอเพียง” เขารวมโครงการรณรงคการบริจาคโลหิตในชุมชนมุสลิม บรรยายหัวขอ”ศาสนาอิสลามกับการบริจาคโลหิต” รวมทั้งหมด

FST-Annual Report 2008

จํานวนกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ

ฝาย สงเสริม รับผิดชอบ ศิปวัฒนธรรม

วิชาการ

กีฬาและ สงเสริมสุขภาพ

บําเพ็ญประโยชน รักษาสิ่งแวดลอม

สันทนาการ

-

-

ฝายวิชาการ

ฝายวิชาการ

ฝายวิชาการ

-

-

ฝายวิชาการ

-

ฝายวิชาการ

-

ฝายวิชาการ

-

-

ฝายวิชาการ

7

7

3

3

7


70

ลําดับ ที่ 46

47

48

49

50 51

52

รายชื่อโครงการ/กิจกรรมตางๆ เขารวมโครงการประชุมสามัญประจําป ของชมรมน.ศ. มุ ส ลิ ม สตู ล ประจํ า ป 2551 บรรยายหั ว ข อ ”การทํ า งาน อยางไรที่กอใหเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด” เข าร วมโครงการสั มมนาแกนนําคณะกรรมการสโมสร นักศึ กษาคณะศิล ปะศาสตรและสั งคมศาสตร บรรยาย หัวขอ “บุคลิกภาพการเปนผูนํา” เขารวมบรรยายพิเศษ หัวขอ”บทบาทของชุมชนในการมี ส ว นร ว มในการจั ด การศึ ก ษา” โรงเรี ย นบ า นยี่ ง อ จ.นราธิวาส จัดโครงการอบรมจัดทําแผนดําเนินงานและแผนงบประมาณ ป 2552 บรรยายหัวขอ “การติดตามการจัดทําแผนยุทธศาสตร ควบคูกับการประกันคุณภาพการศึกษา” จัดโครงการสัมมนาเชิงวิชาการ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ เขารวมเวทีการเสวนารุงอรุณแหงเดือนเรื่อง “มุสลีมะฮฺ เธอ คือกุญแจสูสวรรค” เสวนาหัวขอ “มุสลีมะฮฺ...การสงเสริม การศึกษาในครอบครัว” เข าร วมโครงการพัฒนาหลั กสูต รเพื่อส งเสริมศั กยภาพการ สอนภาษาอังกฤษ บรรยายหัวขอ “การเตรียมความพรอมดาน ภาษาอังกฤษของนักศึกษาศูนยภาษาอังกฤษ” รวมทั้งหมด

FST-Annual Report 2008

จํานวนกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ

ฝาย รับผิดชอบ

วิชาการ

กีฬาและ สงเสริมสุขภาพ

บําเพ็ญประโยชน รักษาสิ่งแวดลอม

สันทนาการ

สงเสริม ศิปวัฒนธรรม

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

ฝายวิชาการ

7

1

1

-

6


71

ลําดับ ที่ 53

54 55 56 57 58

59

60

รายชื่อโครงการ/กิจกรรมตางๆ เขา รว มการประชุม เชิงปฏิบัติ การ เสวนาเรื่อ ง “การดํ าเนิน กิจกรรมบนระบบเครือขายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ครั้งที่ 19” เขารวมประชุมวิชาการ “เวทีเครือขายนักวิจัยชาวบานจังหวัด ชายแดนใต คุณคา พลังและความสุข” เขารวมโครงการพัฒนาเยาวชนภาคฤดูรอน ประจําป 2552 เข า ร ว มสั ม มนาการเขี ย นข อ เสนอโครงการวิ จั ย เครื อ ข า ย ภาคใตตอนลาง เข า ร ว มสั ม มนา “พั ฒ นาการเขี ย นข อ เสนอโครงการวิ จั ย ยางพารา” เข า ร ว มโครงการบอบรมอาสาสมั ค รที่ ป รึ ก ษาป ญ หา ครอบครั ว บรรยายหั ว ข อ “เทคนิ ค การให คํ า ปรึ ก ษา ครอบครัว” จัดโครงการอบรมเสริมทักษะดิจิตอลและไมโครโปรเซสเซอร บรรยายหั ว ข อ “Theory & Practice Digital and Microprocessor” Participated The fifth International Conference on Elearning for Knowledge-based Society ; E-learning AP2008 รวมทั้งหมด

FST-Annual Report 2008

จํานวนกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ

ฝาย รับผิดชอบ

วิชาการ

กีฬาและ สงเสริมสุขภาพ

บําเพ็ญประโยชน รักษาสิ่งแวดลอม

สันทนาการ

สงเสริม ศิปวัฒนธรรม

-

-

-

-

ฝายวิชาการ

ฝายวิชาการ

ฝายวิชาการ

-

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

-

ฝายวิชาการ

8

2

2

2

3


72

ลําดับ ที่ 61

62 63 64 65 66 67

68

รายชื่อโครงการ/กิจกรรมตางๆ จั ด โครงการอบรมเทคนิ ค การออกแบบสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ แ ละ วีดิทัศน บรรยายหัวขอ“เทคนิคการออกแบบสื่อสิ่งพิมพและ วีดิทัศน ” เขารวมโครงการสัมมนาปญหาและแนวทางจัดการ สิ่งแวดลอมในภาวะวิกฤตอาหารและพลังงานของโลก เขารวมโครงการสัมมนาเครือขายวิชาการดานสิ่งแวดลอม ภาคใต ครั้งที่ 1/2552 จัดโครงการขีดๆเขียน บรรยายหัวขอ “หลักการเขียนหนังสือ ราชการและความสําคัญ” จั ด โครงการอบรมเชิ ง ปฏิ บั ติ ก ารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส เ บื้ อ งต น บรรยายหัวขอ “อิเล็กทรอนิกสเบื้องตน” เขารวมบรรยายอบรมหัวขอ “อบรมการใชคอมพิวเตอร MS-Word ,MS-Excel” โรงเรียนอุดมศาสนวิทยา เข า ร ว มกิ จ กรรมเสริ ม สร า งความเข ม แข็ ง ก อ นเข า สู รั่ ว มหาวิ ท ยาลั ย บรรยายหั ว ข อ “ประสบการณ ชี วิ ต ใน มหาวิทยาลัยชีวิต” เขารวมโครงการคายพลังงานแกนนํานักศึกษา บรรยายเชิง ปฏิบัติการหัวขอ “กิจกรรม + ทีมเวิรก = ความสําเร็จ” รวมทั้งหมด

FST-Annual Report 2008

จํานวนกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ

ฝาย รับผิดชอบ

วิชาการ

กีฬาและ สงเสริมสุขภาพ

บําเพ็ญประโยชน รักษาสิ่งแวดลอม

สันทนาการ

สงเสริม ศิปวัฒนธรรม

-

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

ฝายวิชาการ

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

-

ฝายวิชาการ

ฝายวิชาการ

ฝายวิชาการ

8

3

3

2

4


73

ลําดับ ที่

รายชื่อโครงการ/กิจกรรมตางๆ

FST-Annual Report 2008

จํานวนกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ วิชาการ

กีฬาและ สงเสริมสุขภาพ

บําเพ็ญประโยชน รักษาสิ่งแวดลอม

สันทนาการ

สงเสริม ศิปวัฒนธรรม

ฝายวิชาการ

อาจารยพิเศษ โดยบุคลากรคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ 69 70 71 72 73

อาจารยพิเศษ ดานการสอนวิชาฟสิกส อาจารยพิเศษ วิชาวิทยาศาสตรเพื่อชีวิต อาจารยพิเศษ โครงการคายเสริมทักษะวิทยาศาสตร คณิตศาสตร อังกฤษ “วิชาเคมีศึกษา ชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 5” อาจารยพิเศษ รายวิชา IT232-019 Programming for Scientist (นักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร ชั้นปที่ 2) อาจารยพิเศษ รายวิชา GE219-501 คอมพิวเตอรเบื้องตน (นักศึกษาโครงการพิเศษ อิสลามศึกษา) รวมทั้งหมด

รวม จํานวนกิจกรรมดานบริการวิชาการสูสังคม ทั้งสิ้น

ฝาย รับผิดชอบ

 

-

-

-

-

-

-

-

-

ฝายวิชาการ ฝายวิชาการ

-

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

-

ฝายวิชาการ

5

-

-

-

-

68

24

17

10

41


74

FST-Annual Report 2008

6.4 งานดานการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 6.4.1 งานดานการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา (กิจกรรมนักศึกษา) ชื่อกิจกรรม/โครงการ

1.Healthy Science

ลักษณะ กิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

การดูแลสุขภาพโดยหมอมะ สโมสร(หญิง)

คณะวิทยฯ

2. 4 ป ขอสักครั้ง

ระดมความคิดเห็นแสดง ชุมนุม IT ความสามารถ (หญิง) 3.แบงปนรอยยิ้ม เยียมเยืยนเด็กกําพราบาน สโมสร(ชาย) เจะหลี 4.พิมเสน ใหความรูในการทําพิมเสน ชุมนุมวิทย อยางงาย 5.รับพี่บัณฑิต จัดซุมและของที่ระลึกใหพี่ สโมสร บัณฑิต (ชาย+หญิง) 6.เขา ร วมโครงการอบรมการ ใหความรูแกนักศึกษา งานประกัน ประกันคุณภาพการศึกษา ภายในคณะ แลกเปลี่ยมความคิดกับน.ศ. สโมสร 7.มหาวิทยาลัยสัมพันธ ตางสถาบัน (หญิง) 8.พัฒนาสิ่งแวดลอม 9.คอมพิวเตอรเพื่อนองครั้งที่ 4 10.A Walk to remember 3 11.อําลารุนพี่ จากนองIT

วันเดือนป ที่จัด

กลุมเปาหมาย

ระดับความ พึงพอใจ

ใน

นอก

อื่นๆ

20-21 /11/ 51

-

-

3.2

6.8

-

-

คณะวิทยฯ

27-28 /11/ 51

-

-

3.2

6.8

600

-

จ.กระบี่

13 /12/ 51

-

3.2

6.17

5,000

-

คณะวิทยฯ

26 /12/ 51

-

-

3.2

3.3, 6.6

2,000

1,800

ม.อ.ย.

31 /12/ 51

-

-

2.9

1.5

1,500

-

คณะวิทยฯ

13 /1/ 52

-

-

3.2

5.2, 7.1

-

-

คณะวิทยฯ

23-24 /1/ 52

-

3.2

4.5

1,500

2,740

3.2

3.8, 4.2

1,350

-

24 /1/ 52

-

สโมสร(หญิง)

30-31/1/ 52 2 /2/52

√ -

-

ชุมนุมเทคฯ

คณะวิทย

15 /2/ 52

-

-

สโมสร(ชาย)

สอนการใช Com น.ร. สรุปกิจกรรมสโมสร

ชุมนุมเทคฯ

กิจกรรมอําลา

สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

มัสยิดบาน โสรง คณะวิทย คณะวิทย

พัฒนาชุมชน

ดัชนีชี้วัด ความสําเร็จ

7.4,5.1 3.3,4.5 1,500

3.1

5.13

500

11,493 3,960

3.1

4.1

-

1,525


75

ลักษณะ กิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

12.อิสลามและเทคโนโลยี

สัมมนาการประยุกตใช เทคโนโลยี

13.เสียงสะทอนจากรหัส 47

แสดงความรูน.ศ.ป4

สาขาวิชา เทคโนโลยีฯ สาขาวิชา เทคโนโลยีฯ สาขาวิชา เทคโนโลยีฯ

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

14.สานสายใย IT 47 สู คณาจารย 15.ทัศนคติอิสลามตอ วิทยาศาสตรยุคใหม 16.เปดโลกกวางเพื่อการเรียนรู

สานสัมพันธ

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

วันเดือนป ที่จัด

กลุมเปาหมาย ใน

นอก

ระดับความ พึงพอใจ

ดัชนีชี้วัด ความสําเร็จ สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

คณะวิทย

20 /12/ 51

-

5.3

3.1

-

32,520

คณะวิทย

3 /2/ 52

-

-

3.1

6.6

-

100

คณะวิทย

27 /2/52

-

3.1

3.2, 6.1

1,000

6,200

-

2.3, 2.4

3.1

2,225

8,450

-

3.2

3.1

-

200,000

โครงการใหม

สาขาวิชา วิทยฯ

คณะวิทย

ดูงาน

สโมสร (หญิง)

ประเทศ มาเลเซีย

20 /12 51 6-7 /2/ 52 13-14 /2/52 21-24 /4/ 52


76

FST-Annual Report 2008

6.4.2 งานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

1.กิจกรรมกลุมศึกษาฯ รวมในคณะ 2.พบปะนักศึกษาทุน 3.พบปะอาจารยที่ปรึกษา 4.Leadership Motivation Camp 5.เยี่ยมเยืยนและใหกําลังใจ นักศึกษา 6.เสนทางรัก ศรัทธาชน 7.สัมมนาแกนนํานักศึกษา 8.Open House เปดบานคณะวิทย

9.แนะนําตัววาที่นายกสโมสรวิทย 10.เลือกตั้งนายกองคการ/นายกสโมสร 11.กียามุลลัยล ประจําป 2551

ลักษณะ กิจกรรม/โครงการ

วันเดือนป ที่จัด

กลุมเปาหมาย ระดับความพึง พอใจ ใน นอก

ดัชนีชี้วัด ความสําเร็จ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

ฝายพัฒนาฯ

คณะวิทยฯ

11 /11/ 51

-

3.2

สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

-

-

-

-

พบปะอธิการบดีและ คณบดี ชี้แจงเรื่องกองทุนและ สิทธิ รวมแสดงความคิดเห็น พัฒนาศักยภาพผูนํา น.ศ. เยี่ยมเยืยนบานน.ศ.ไฟ ไหม

ฝายพัฒนาฯ

คณะวิทยฯ

12 /11/ 51

-

3.4

ฝายพัฒนาฯ

คณะวิทยฯ

13 /11 51

-

-

3.3

6.12, 6.14 6.14

สํานักกิจฯ

สนอ.

15-16 /11/ 51

-

3.2

6.8

ฝายพัฒนาฯ

อ.บันนังสตา

17 /11 51

-

-

-

-

-

-

บรรยาย

มูลนิธิฯ+ ชมรม

ปารามีแต

19 /12/ 51

-

5.3

4.5

-

-

4.1

สัมมนาตัวแทนกลุม กิจกรรม แนะแนวน.ร.ทีเยี่ยมชม ตาอารุฟวาที่นายกสโม กิจกรรมวันการเลือกตั้ง

ฝายพัฒนาฯ

คณะวิทยฯ

9 /1/ 52

-

3.1

5.13

2,500

-

ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ

คณะวิทยฯ คณะวิทยฯ คณะวิทยฯ

9/2/52-31/3/.52

√ √ √

√ -

-

3.1

6.13,1.3

10,000

-

-

3.2 3.2

6.6 6.6

-

-

กียาม-ศียาม

สพน.,คณะ

คณะวิทยฯ

-

-

6.1

6.1

10,000

78,785

15 /2/ 52 17 /2/ 52 16,23 /2/ 52, 5 /3/ 52


77

ชื่อกิจกรรม/โครงการ 12.เสริ ม ทั ก ษะการดํ า เนิ น ชี วิ ต และการ ทํางานครั้งที่ 2

13.International Islamic Studies

ลักษณะ กิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

บรรยาย

ฝายพัฒนาฯ

คณะวิทยฯ

น.ศ.แลกเปลี่ยน

14.สัมมนาผูนํานักศึกษา จัดสัมมนา 15.อบรมหัวหนากลูมศึกษาอัลกรุอาน 16.สัปดาหปฐมนิเทศ 17.สโมสรพบปะผูบริหารคณะวิทย

วันเดือนป ที่จัด

กลุมเปาหมาย ระดับความพึง พอใจ ใน นอก

ดัชนีชี้วัด ความสําเร็จ สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

27 /2/ 52

-

-

5.3

6.13

6,350

-

28 /4/ 5227 /5/ 53

-

-

-

-

-

-

19-21 /5/ 52

-

3.1

5.13

25,000

86,000

23-25 /5/ 52

-

3.2

6.8

10,000

48,250

ม.อ.ย.

3/5/52 - 4/6/52

-

-

-

-

-

คณะวิทยฯ

26 /5/ 52

-

-

-

-

-

-

ม.อ.ปตตานี ม.อ.ปตตานี ,คณะวิทย ,UUM ผิดพลาด! ไมใชการ ม.อ.ย.แปซิฟก เชื่อมโยงที่ ถูกตอง ส.พ.น. ม.อ.ย.

ชี้แจงหลักสูตร แนะนําทําความรูจักกับ ส.พ.น. คณะ,ม.อ.ย. ฯลฯ ใหนโยบาย ฝายพัฒนาฯ

FST-Annual Report 2008


78

FST-Annual Report 2008


79

FST-Annual Report 2008

6.4.3 สรุปกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ ลําดับ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

รายชื่อโครงการ/กิจกรรมตางๆ

จํานวนกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ กีฬาและ สงเสริมสุขภาพ

บําเพ็ญประโยชน รักษาสิ่งแวดลอม

   

   

-

-

โครงการคอมพิวเตอรเพื่อนองครั้งที่ 4 โครงการ A Walk to remember 3 โครงการอําลารุนพี่ จากนองIT เขารวมโครงการอิสลามและเทคโนโลยี เขารวมโครงการเสียงสะทอนจากรหัส 47 เขารวมโครงการสานสายใย IT 47 สู คณาจารย โครงการทัศนคติอิสลามตอวิทยาศาสตรยุคใหม โครงการเปดโลกกวางเพื่อการเรียนรู

              

    -

รวม งานดานการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาทั้งหมด

15

8

โครงการ Healthy Science โครงการ 4 ป ขอสักครั้ง โครงการแบงปนรอยยิ้ม โครงการพิมเสน โครงการรับพี่บัณฑิต เขารวมโครงการอบรมการประกันคุณภาพการศึกษา โครงการมหาวิทยาลัยสัมพันธ โครงการพัฒนาสิ่งแวดลอม

วิชาการ

สันทนาการ

สงเสริม ศิปวัฒนธรรม

    

    

-

-

   -

      

         

7

12

15

ฝาย รับผิดชอบ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายบริหารฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายวิชาการ ฝายวิชาการ ฝายวิชาการ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ


80

ลําดับ ที่

รายชื่อโครงการ/กิจกรรมตางๆ

17

กิจกรรมกลุมศึกษาฯ รวมในคณะ

18

โครงการพบปะนักศึกษาทุน

19

โครงการพบปะอาจารยที่ปรึกษา

20 21 22 23 24 25 26

เขารวมโครงการ Leadership Motivation Camp กิจกรรมเยี่ยมเยืยนและใหกําลังใจ นักศึกษา เขารวมโครงการเสนทางรัก ศรัทธาชน โครงการสัมมนาแกนนํานักศึกษา โครงการ Open House เปดบานคณะวิทย กิจกรรมแนะนําตัววาที่นายกสโมสรวิทย กิจกรรมเลือกตั้งนายกองคการ/นายกสโมสร

27

เขารวมโครงการกียามุลลัยล ประจําป 2551

28

โครงการเสริมทักษะการดําเนินชีวิตและการทํางานครั้งที่ 2

29 30

เขารวมโครงการ International Islamic Studies เขารวมโครงการสัมมนาผูนํานักศึกษา

31

เขารวมโครงการอบรมหัวหนากลูมศึกษาอัลกรุอาน

32

เขารวมกิจกรรมสัปดาหปฐมนิเทศ

33

กิจกรรมสโมสรพบปะผูบริหารคณะวิทย

รวมงานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ทั้งหมด รวมงานดานพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและทํานุบํารุงฯ ทั้งสิ้น

FST-Annual Report 2008

จํานวนกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ วิชาการ

กีฬาและ สงเสริมสุขภาพ

บําเพ็ญประโยชน รักษาสิ่งแวดลอม

สันทนาการ

   

-

          

-

-

-

 -

-

  -

                

15

2

1

5

17

30

10

8

17

32

  -

สงเสริม ศิปวัฒนธรรม

ฝาย รับผิดชอบ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ ฝายพัฒนาฯ


81

FST-Annual Report 2008

6.5 ภาระงานดานการบริหารจัดการของคณะฯ ชื่อกิจกรรม/โครงการ

ลักษณะ กิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

1.จัดโครงการอบรมจัดทําแผนดําเนินงาน พัฒนาระบบบริหารและการ ฝายบริหาร ,ธุรการ และแผนงบประมาณ ป 2552 ปฏิบัติงาน ส ง เ ส ริ ม ก า ร พั ฒ น า 2.จัดโครงการติดตั้งระบบสาย LAN ฝายบริหาร ท รั พย า กร ท าง กาย ภา พ ,ธุรการ 3.จัดโครงการ Big Cleaning Day ,บรรยากาศสวล.ของคณะฯ

สถานที่จัด

วันเดือนป กลุมเปาหมาย ที่จัด ใน นอก

ระดับความ พึงพอใจ

ดัชนีชี้วัด ความสําเร็จ

งบประมาณ

สกอ. สมศ.

มอย.

อื่นๆ

คณะวิทยฯ

7-30 /4/ 52

-

-

5.3

7.3, 7.4

31,500

-

คณะวิทยฯ

/3-4/51

-

-

7.8,8.2

5.4

91,000

-

คณะวิทยฯ

13/2/51

-

-

-

5.6

578

-


82

FST-Annual Report 2008

6.5.1 สงเสริมการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนใหมีความรูและทักษะในการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ ชื่อกิจกรรม/โครงการ

1.จัดโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรคณะฯ 2.จั ด โครงการอบรมเทคนิ ค การสอนวิ ท ยาศาสตร แ ละ เทคโนโลยีฯ ; สําหรับบุคลากรสายวิชาการ 3.จัดโครงการอบรมบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

ฝายบริหารและ ฝายพัฒนาฯ

คณะวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีฯ

ฝายวิชาการ ม.อ.ย.

4.เขารวมโครงการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการ สถาบันอัสสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ศึกษา ครั้งที่ 1 โดยอาจารยราฟาล หามะ 5.จัดโครงการสรางนักวิจัยมืออาชีพ ครั้งที่ 2 ฝายวิชาการ 6.เขาเยื่ยมชมภาควิช าเคมี -ฟสิก ส และไดประสานความ ร ว ม มื อ ทา ง วิ ช าก า ร แ ล ะ วิ จั ย ร ะ ห ว าง ส ถ าบั น ณ มหาวิทยาลัยมหิดลและมหาวิทยาลัยเชียงใหมกับม.อ.ย. โดย ดร.ซอบีเราะห การียอ และอาจารยรอปอะ กือจิ

ฝายวิชาการ คณะ วิทยาศาสตรและ เทคโนโลยีฯ ม.อ.ย.

วันเดือนป ที่จัด

กลุมเปาหมาย ใน

นอก

ระดับความ พึงพอใจ

ดัชนีชี้วัด ความสําเร็จ

งบประมาณ

สกอ.

สมศ.

มอย.

อื่นๆ

-

12,500

-

7,11,19,25 /5/ 52

-

7.3,7.4 ,7.6 ,7.10

17 /5/ 52

-

-

2.3,7.3

5.4

915

-

13-14 /5/ 52

-

-

-

-

-

-

5 /12/51

-

-

-

-

คณะวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีฯ

16-25 /11/ 51

-

-

4.1,4.2

3.7

27,000

-

ณ ม.มหิดลและ ม.เชียงใหม

19-25/11/51

-

-

-

-

-

-

คณะวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีฯ คณะวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีฯ สถาบัน ภาษานานาชาติ


83

ชื่อกิจกรรม/โครงการ 7.เขารวมอบรมหลักสูตร “3D Games Developer” โดยอาจารยราฟาล หามะ 8.เขารวมโครงการสัมมนา “ยุทธศาสตรภาคใต” 9.เขารวมโครงการอบรมวิจัยในชั้นเรียน โดยอาจารยอับดุลรอหมาน สาลีมี 10.เข า ร ว มอบรมผู ป ระเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายใน ระดับอุดมศึกษา โดยอาจารยซบรี หะยีหมัด

หนวยงาน ที่จัด โรงเรียนอินเตอรเน็ตและ การออกแบบ (สาขาสยามสแควร) ศูนยเครือขายวิจัยภาคใต ตอนลาง โรงแรมราชมังคลา พาวิลเลี่ยน สํานักงานการอุดมศึกษา

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

วันเดือนป ที่จัด

กลุมเปาหมาย ใน

นอก

15/10/515/11/51

-

มอ.หาดใหญ

31/10/51

จ.สงขลา

26/10/51

โรงแรมเรดสัน กทม.

10-11/7/51

เขตปทุมวัน กทม.

ระดับความ พึงพอใจ

ดัชนีชี้วัด ความสําเร็จ

งบประมาณ

สกอ.

สมศ.

มอย.

อื่นๆ

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-


84

FST-Annual Report 2008

6.5.2 ผลงานดีเดนของอาจารย บุคลากรและนักศึกษา ลําดับ ที่

ชื่อ-สกุล

1

ดร.ซอบีเราะห การียอ

2

คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา นางสาวนูรไลลาห หลังปูเตะ

3

รางวัลดีเดน บทความวิชาการ ดานงานวิจัยที่ตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติ หัวขอ Universal Polymer Dynamics Revealed by Field Cycling 1H NMR, Macromolecules 42, 5236 – 5243, (2009) โลเกียรติคุณ (ผูสนับสนุนการจัดงานมหกรรมเปดโลกการเรียนรูวิทยาศาสตร) ไดรับรางวัลชมเชย ระดับอุดมศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทานประจําปการศึกษา 2551

วัน-เดือน-ป 2551

18/8/51 -

หนวยงาน Macromolecules Journal

ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษา จังหวัดยะลา สํานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ


85

FST-Annual Report 2008

6.5.3 สงเสริมการพัฒนาทรัพยากรทางกายภาพและบรรยากาศสิ่งแวดลอมของคณะฯ คณะวิ ทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีฯได พัฒ นาปรับ ปรุ งทรั พยากรทางกายภาพและสิ่ง แวดลอ มของ องค ก รอย างต อเนื่ อ งเพื่ อ ให มี ความเหมาะสมเพี ย งพอและมี ม าตรฐานคุ ณ ภาพ อาทิ มี ก ารปรั บ ปรุ ง อาคาร หองเรีย น หองปฏิบัติงาน หองกิจกรรม/สโมสรนัก ศึก ษา จัดสวนยอมทั่วทั้งคณะ ปรับปรุงทางเดิน จัดสถานที่ สําหรับอานหนังสือ เพื่อใหบรรยากาศที่เอื้อตอการศึกษา  ดานการพัฒนาหองตางๆ ปรับปรุงหองเรียนใหมีมาตรฐาน

ภาพบรรยากาศ หองเรียนและหองบรรยายตางๆ ภายในบริเวณอาคาร ชั้น 1 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโนโลยีฯ โดยมีหองบรรยาย รวมทั้งสิ้น จํานวน 2 หอง ดังนี้ FST5-301 และFST5-302

ปรับปรุงหองปฏิบัติการ

ภาพบรรยากาศ หองปฏิบัติการเคมี FS T-5102 และ FS T-5103 ภายในบริเวณอาคาร ชั้น 1 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโนโลยีฯ


86

FST-Annual Report 2008

ภาพบรรยากาศ หองปฏิบัติการจุลชีววิทยา( FS T-5204) หองปฏิบัติการชีววิทยา( FS T-5203) หองเก็บเครื่องมืออุปกรณ ( FS T-5206, FS T-5207)และหองเพาะเลี้ยงเนื้อเยื้อ (FS T-5208) ภายในอาคารชั้น 2 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโนโลยีฯ

ภาพบรรยากาศ หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร Multimedia(FST5-303)หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร Programmer (FST5-304) หอง Graphics Design (FST5-305) และหอง Advanced Networking (FST5-306) จํานวน 4 หองภายในบริเวณชั้น 3 อาคารคณะ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ

ปรับปรุงหองปฏิบัติงาน

ภาพบรรยากาศ หองปฏิบัติงานภายในบริเวณอาคารชั้น 1,2 คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ ไดแก หองคณบดี( FST5-108) หองพักอาจารย (FST5-201, FST5-202) หองสํานักงาน(FST5-101) หองประชุม(FST5-107)และ หองสัมมนา (FST5-401)


87

FST-Annual Report 2008

 ดานการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน พื้นที่ และสถานที่ตางๆของคณะฯ

6.5.4 ปจจัยสนับสนุนการเรียนการสอน บริการดานหองสมุด การบริ การดา นหอ งสมุดเปนนโยบายหนึ่งของคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ ตั้ง แตป การศึก ษา 2550 ที่มีการเริ่มเปดอาคารคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ เปนตนมาจนถึง ณ ปจจุบัน ซึ่งกําลังมีการพัฒนาสู ในอนาคตตอไป โดยมี ฝายวิ ชาการเป นผูรับผิดชอบในการจัดการและบริหารงานตางๆที่เกี่ย วของกับ งานดานนี้ โดยเฉพาะ บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ ไดมีการพัฒนาระบบบริการเทคโนโลยีสารสนเทศอยางตอเนื่อ ง โดยมีนโยบายและการวางแผนเพื่อพัฒนาระบบเครือขายภายในองคกร ใหสามารถใชระบบสารสนเทศไดอยางมี ประสิทธิภาพ รวดเร็ ว ถู กตอ ง และสนับสนุนใหมี การศึ กษา อบรมแกนักศึ กษาและบุคลากร ใหมีค วามเข าใจ เทคโนโลยีสารสนเทศในระดับที่สามารถนําไปปฏิบัติไดจริงซึ่งคณะไดจัด บริการด านเทคโนโลยีสารสนเทศให นักศึกษาและบุคลากรในองคกร ดังนี้ 1. สนับสนุนเว็ปไซตของคณะฯเพื่อใหบริการเผยแพรขอมูลขาวสารและกิจกรรมตางๆ ขององคก ร แกผูใชขอมูลทุกระดับ ทั้งบุคลากรของสถาบัน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป 2. มีระบบ E-Office ไดแก E-form E-Document E-mail Searching E-Assessment 3. มีระบบ E-Learning บทเรียนออนไลน ซึ่งเปนการใชเทคโนโลยี โดยเฉพาะอินเทอรเน็ ตเขามา สงเสริมการเรียน การสอน ใหเกิดประสิทธิผล 4. สนับสนุนระบบ Internal Communication System (ICS) อาทิเชน Web Board เปนตน ซึ่งเปน ชองทางการติดตอสื่อสารภายในองคก รแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางบุคลากรของหนวยงาน ตางๆภายในองคกรดวยกัน และสามารถรับ-สงจดหมายอิเล็กทรอนิกสได 5. การใหบริการในหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร


88

บริการสวัสดิการทางสุขภาพพลานามัย สถานที่ออกกําลังกาย

FST-Annual Report 2008


89

FST-Annual Report 2008

6.5.5 สรุปกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ ลําดับ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9

10 11 12 13

รายชื่อโครงการ/กิจกรรมตางๆ โครงการอบรมจัดทําแผนดําเนินงานและแผนงบประมาณ ป 2552 โครงการติดตั้งระบบสาย LAN โครงการ Big Cleaning Day โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรคณะฯ โครงการอบรมเทคนิคการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ ; สําหรับ บุคลากรสายวิชาการ โครงการอบรมบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ เขารวมโครงการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา ครั้งที่ 1 โครงการสรางนักวิจัยมืออาชีพครั้งที่ 2 เขาเยื่ยมชมภาควิชาเคมี-ฟสิกส และไดประสานความรวมมือทางวิชาการ และวิจัยระหวางสถาบัน ณ มหาวิทยาลัยมหิดลและ มหาวิทยาลัยเชียงใหมกับม.อ.ย. เขารวมอบรมหลักสูตร “3D Games Developer” เขารวมโครงการสัมมนา “ยุทธศาสตรภาคใต” เขารวมโครงการอบรมวิจัยในชั้นเรียน เขารวมอบรมผูประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา รวมทั้งหมด

จํานวนกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ วิชาการ

กีฬาและ สงเสริมสุขภาพ

   

-

ฝาย บําเพ็ญประโยชน สงเสริม รับผิดชอบ สันทนาการ รักษาสิ่งแวดลอม ศิปวัฒนธรรม

  

-

-

ฝายบริหารฯ ฝายบริหารฯ ฝายบริหารฯ ฝายบริหารฯ

-

-

-

-

ฝายวิชาการ

  

-

 -

-

-

ฝายบริหารฯ ฝายวิชาการ ฝายวิชาการ

-

-

-

ฝายวิชาการ

   

-

4

-

-

ฝายวิชาการ ฝายวิชาการ ฝายวิชาการ ฝายวิชาการ

13

-

-

 2


90

ลําดับ ที่

รายชื่อโครงการ/กิจกรรมตางๆ

FST-Annual Report 2008

จํานวนกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ วิชาการ

กีฬาและ สงเสริมสุขภาพ

ฝาย บําเพ็ญประโยชน สงเสริม รับผิดชอบ สันทนาการ รักษาสิ่งแวดลอม ศิปวัฒนธรรม

ผลงานดีเดนของอาจารย บุคลากรและนักศึกษา 14

15 16

ไดรับการตีพิมพในวารสารระดับนานาชาติ บทความวิชาการ ดาน งานวิจัยที่ หัวขอ Universal Polymer Dynamics Revealed by Field Cycling 1H NMR, Macromolecules 42, 5236 – 5243, (2009) โลเกียรติคุณ (ผูสนับสนุนการจัดงานมหกรรมเปดโลกการเรียนรูวิทยาศาสตร) ไดรับรางวัลชมเชย ระดับอุดมศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทานประจําป การศึกษา 2551 รวมทั้งหมด

งานดานการบริหารจัดการของคณะฯ

ฝายวิชาการ

-

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

-

ฝายวิชาการ

-

-

-

ฝายวิชาการ

3 16

-

4

-

1 3


91

FST-Annual Report 2008

6.6 งานดานอื่นๆ ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

1) อาจารย ซอและห ตาเละ

ตําแหนง : คณบดีคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ กรรมการและผูเชี่ยวชาญดานวิชาการ ฯลฯ 1.กรรมการดํ าเนิ นงานโครงการประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติก าร พัฒนาศักยภาพอาจารยมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา 2.ผูทรงคุณวุฒิใหขอเสนอแนะตอบทความ โครงการ ประชุมวิชาการเพื่อนําเสนอผลงานวิชาการ 3.กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา 4.กรรมการโครงการจัดตั้งโรงพยาบาล 5.กรรมการที่ ปรึ กษา ประเมิน คุณ ภาพการศึก ษาภาย นอกจากสมศ.รอบที่สอง 6.กรรมการอํานวยการกลางการดํ าเนิ นการสอบปลาย ภาค ประจําปการศึกษาที่ 3/2550(ภาคฤดูรอน) 7.กรรมการอํานวยการ การจัดงานมหกรรมวิชาการ 10 ป ม.อ.ย. 8.กรรมการติดตามและประเมินผลแผนกกลยุทธ (2549-2553)

8/4/52

-

-

-

-

-

-

คณะศิลปศาสตรและ สังคมศาสตร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

มหาวิทยาลัยอิสลาม ยะลา ณ หองประชุม ชั้น3 คณะศิลปศาสตรฯ ม.อ.ย. ม.อ.ย.

26-27/1/52

-

-

-

-

-

20/11/51 20/11/51

√ √

√ √

-

-

-

-

-

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

ม.อ.ย.

15/6/51

-

-

-

-

-

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

ม.อ.ย.

15/6/51

-

-

-

-

-

-

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

ม.อ.ย.

9/6/51

-

-

-

-

-

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

ม.อ.ย.

14/2/51

-

-

-

-

-

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


92

6.6.1 คณะกรรมการตางๆ ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

2) ดร.ซอบีเราะห การียอ

ตําแหนง : รองคณบดีคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ ฝายวิชาการ กรรมการและผูเชี่ยวชาญดานวิชาการ ฯลฯ 1.กรรมการดํ าเนิ นงานโครงการประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติก าร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา พัฒนาศักยภาพอาจารยมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา 2.กรรมการติดตามและประเมินผลแผนกกลยุทธ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา (2549-2553)

มหาวิทยาลัยอิสลาม ยะลา

8/4/52

-

-

-

-

-

-

ม.อ.ย.

14/2/51

-

-

-

-

-


93

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

3) อ.ซบรี หะยีหมัด

ตําแหนง : รองคณบดีคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ ฝายบริหารและแผน กรรมการและผูเชี่ยวชาญดานวิชาการ ฯลฯ กองนโยบายและแผน 1.คณะอนุกรรมการปรับปรุงแผนกลยุทธมหาวิทยาลัย 2.คณะกรรมการผูป ระเมิน คุณภาพการศึกษาภายใน ป การศึกษา 2552 ; สํานักสงเสริมการวิจัยและเขียนตํารา

สํานักประกันคุณภาพ การศึกษา สนอ. ม.อ.ย.

สํานักประกันคุณภาพ 3.คณะกรรมการผูป ระเมิน คุณภาพการศึกษาภายใน ป การศึกษา สนอ. ม.อ.ย. การศึกษา 2550 ; คณะศิลปศาสตรและสังคมศาสตร 4.ประธานคณะอนุกรรมการบรรจุขอสอบการดําเนินการ สอบปลายภาค ประจําปการศึกษาที่ 3/2550(ภาคฤดู มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา รอน) 5.เขารวมประชุมการจัดทําแผนยุทธศาสตรเครือขายวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ภาคใตตอนลางระดับจังหวัด ; จังหวัดยะลา

ม.อ.ย. ณ หองประชุมสํานัก สงเสริมการวิจัยและ เขียนตํารา

24/3/52

-

-

-

-

-

-

21/1/52

-

-

-

-

-

ณ คณะศิลปศาสตร และสังคมศาสตร

-

-

-

-

-

-

ม.อ.ย.

15/6/51

-

-

-

-

-

-

มหาวิทยาลัยราชภัฏ ยะลา

12/6/51

-

-

-

-

-

-


94

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

4) อ.ราฟาล หามะ

ตําแหนง : หัวหนาประจําสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ กรรมการและผูเชี่ยวชาญดานวิชาการ ฯลฯ 1.กรรมการดํ าเนิ นงานโครงการประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติก าร มหาวิทยาลัยอิสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา พัฒนาศักยภาพอาจารยมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ยะลา นักศึกษาสาขาวิชา 2.ผู เ ชี่ ย วชาญด า นการพั ฒ นาระบบการศึ ก ษาโครงการ คณะวิทยาศาสตร วิทยาการคอมพิวเตอร เอกเทศดา นโปรแกรมคอมพิ วเตอร เรื่ อง “ระบบจัดการ และเทคโนโลยีฯ ระดับปริญญาตรี คณะ โทรศัพทผานเครือขาย” (Voice over Internet Protocols มหาวิทยาลัยอิสลาม วิทยาศาสตรและ ;VOIP) การเกษตร ม.ราชภัฏยะลา

8/4/52

-

-

-

-

-

-

20/11/51

-

-

-

-

-

-


95

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

5) อ.ปติ สันหีม

ตําแหนง : หัวหนาประจําสาขาวิชาวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ กรรมการและผูเชี่ยวชาญดานวิชาการ ฯลฯ 1.กรรมการดํ าเนิ นงานโครงการประชุ ม เชิ ง ปฏิ บั ติก าร มหาวิทยาลัยอิสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา พัฒนาศักยภาพอาจารยมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ยะลา ศูนยประสานงานอิสลาม ณ หองประชุม ชั้น 3 2.ผูเชี่ยวชาญดานการศึกษาฟสิกส “โครงการวิจัยเชิ ง อาคาร 25 สนง. ศึกษา วัฒนธรรม ปฏิ บัติการอยางมี สวนรวมเรื่อ ง การพัฒนาเครื่องมื อการ สกว.เพื่อทองถิ่น เลขานุการ คณะ ทดลองทางฟสิก สเพื่อใชในการสอนในโรงเรียนเอกชน สนง.อธิการบดี วิทยาศาสตรและ สอนศาสนาอิสลาม จ.ปตตานี” ม.อ.ย. เทคโนโลยี มอ.ปตตานี

8/4/52

-

-

-

-

-

-

20/6/51

-

-

-

-

-


96

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

6) อ.อนุวัตร วอลี

ตําแหนง : หัวหนาประจําสาขาวิชาเคมีประยุกต คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ กรรมการและผูเชี่ยวชาญดานวิชาการ ฯลฯ 1.กรรมการดําเนินงาน โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพอาจารย มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

มหาวิทยาลัยอิสลาม ยะลา

8/4/52

-

-

-

-


97

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หนวยงาน ที่จัด

สถานที่จัด

FST-Annual Report 2008

ดัชนีชี้วัด วันเดือนป กลุมเปาหมาย ระดับความพึง ความสําเร็จ ที่จัด พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

7) อ.อับดุลรอมาน สาลีมี

ตําแหนง : อาจารยประจําสาขาวิชาวิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ กรรมการและผูเชี่ยวชาญดานวิชาการ ฯลฯ 1.คณะกรรมการผูป ระเมิ นคุณ ภาพการศึก ษาดูภ ายใน ป การศึกษา 2552

สํานักประกันคุณภาพ การศึกษา ม.อ.ย.

ณ หองประชุมสํานัก สงเสริมการวิจัยและ เขียนตํารา

19/4/52

-

-

-

-


98

FST-Annual Report 2008

6.6.2 สรุปกิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ ลําดับ ที่

รายชื่อโครงการ/กิจกรรมตางๆ

3

กรรมการดําเนินงานโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนา ศักยภาพอาจารยมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ผูทรงคุณวุฒิใหขอเสนอแนะตอบทความ โครงการ ประชุมวิชาการเพื่อนําเสนอผลงานวิชาการ กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

4

กรรมการโครงการจัดตั้งโรงพยาบาล

5

กรรมการที่ปรึกษา ประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอกจาก สมศ.รอบที่สอง กรรมการอํานวยการกลางการดําเนินการสอบปลายภาค ประจําปการศึกษาที่ 3/2550(ภาคฤดูรอน) กรรมการอํานวยการ การจัดงานมหกรรมวิชาการ 10 ป ม.อ.ย. กรรมการติดตามและประเมินผลแผนกกลยุทธ (2549-2553) คณะอนุกรรมการปรับปรุงแผนกลยุทธมหาวิทยาลัย

1 2

6 7 8 9 10

คณะกรรมการผูประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปการศึกษา 2552 ; สํานักสงเสริมการวิจัยและเขียนตํารา รวมทั้งหมด

กิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ

ฝาย สงเสริม รับผิดชอบ ศิปวัฒนธรรม

วิชาการ

กีฬาและ สงเสริมสุขภาพ

บําเพ็ญประโยชน รักษาสิ่งแวดลอม

สันทนาการ

-

-

-

-

ฝายบริหาร

-

-

-

-

ฝายบริหาร

 

-

-

-

ฝายบริหาร

-

-

-

-

-

-

-

ฝายบริหาร

-

-

-

-

ฝายบริหาร

-

-

-

-

ฝายบริหาร

-

-

-

-

ฝายบริหาร

-

-

-

-

ฝายบริหาร

-

-

-

-

ฝายบริหาร

10

-

-

-

-

ฝายบริหาร


99

ลําดับ ที่ 11 12 13 14

15

16

รายชื่อโครงการ/กิจกรรมตางๆ คณะกรรมการผูประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปการศึกษา 2550 ; คณะศิลปศาสตรและสังคมศาสตร ประธานคณะอนุกรรมการบรรจุขอ สอบการดําเนินการสอบ ปลายภาค ประจําปการศึกษาที่ 3/2550 (ภาคฤดูรอน) เขารวมประชุมการจัดทําแผนยุทธศาสตรเครือขายวิจัย ภาคใตตอนลางระดับจังหวัด ; จังหวัดยะลา ผูเชี่ยวชาญดานการพัฒนาระบบการศึกษาโครงการเอกเทศ ดานโปรแกรมคอมพิวเตอร เรื่อง “ระบบจัดการโทรศัพทผาน เครือขาย” (Voice over Internet Protocols ;VOIP) ผูเชี่ยวชาญดานการศึกษาฟสิกส “โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการ อยางมีสวนรวมเรื่อง การพัฒนาเครื่องมือการทดลองทาง ฟสิกสเพื่อใชในการสอนในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา อิสลาม จ.ปตตานี” คณะกรรมการผูประเมินคุณภาพการศึกษาดูงานภายใน ป การศึกษา 2552 รวมทั้งหมด รวมงานดานอื่นๆ ทั้งหมด

FST-Annual Report 2008

กิจกรรมการดําเนินงานดานตางๆ

ฝาย สงเสริม รับผิดชอบ ศิปวัฒนธรรม

วิชาการ

กีฬาและ สงเสริมสุขภาพ

บําเพ็ญประโยชน รักษาสิ่งแวดลอม

สันทนาการ

-

-

-

-

ฝายบริหาร

-

-

-

-

ฝายบริหาร

-

-

-

-

ฝายบริหาร

-

-

-

-

ฝาย วิชาการ

-

-

-

-

ฝาย วิชาการ

-

-

-

-

ฝาย วิชาการ

6 16

-

-

-

-


100

FST-Annual Report 2008

7. การประกันคุณภาพการศึกษา ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถาบั น ประมวลขึ้นบนพื้ นฐานแหงคั มภีร อัล -กุรอาน อันเปน ธรรมนูญแห งชี วิต มนุษย บริ บูรณด วยสรรพวิ ทยาการ รวมทั้ งระบบการควบคุม รอบดานที่ท รงประสิท ธิภ าพยิ่ง กลา วคือมีบทบัญญัติควบคุม ทั้งพฤติก รรมภายนอกและภายในจิตใจ ส งเสริมใหมีก ารควบคุ มตนเอง ควบคุม ดวย ผูอื่นหรือควบคุมซึ่ งกัน และกัน และการควบคุมโดยอัลลอฮฺซุบฮานะฮูวะตะอาลาผูท รงรอบรู ทรงแลเห็น ทรงได ยินและทรงเดชานุภาพยิ่ง ดังปรากฏในโองการตางๆ อาทิ โองการที่ 52 บทอัลอะหฺซาบ ความวา “และอัลลอฮฺทรงสอดสองมองดูเหนือทุกสิ่ง” โองการที่ 105 บทอัตเตาบะฮฺ ความวา “และจงกลา วเถิด (มุฮัมหมัด) ว า พวกทานจงดําเนิน งานเถิด แลวอัลลอฮฺจะทรงเห็นการงานของพวกทาน และรสูลของพระองคและบรรดามุอฺมินก็จะเห็นดวย...” โองการที่ 2 และ3 บทอัลอัศรฺ ความวา “แทจริงมนุษยอยูในความขาดทุน นอกจากบรรดาผู มีศรัทธา และประกอบคุณความดีตางๆ และตักเตือนกันและกันในสิ่งที่เปนสัจธรรม และตักเตือนกันใหมีความอดทน” นอกจากนั้นอัลกุรอานไดบอกแจงภาระหนาที่ตลอดชีวิตมนุษยเพื่อสรางผลงานที่ดีมีคุณภาพอยางไม ยอทอ อัลลอฮฺตรัสไวในโองการที่ 2 บทอัลมุลกฺ ความวา “(อัลลอฮฺเจา)ผูทรงใหมีความตายและใหมีความเปน เพื่อจะทดสอบพวกเจาวา ผูใดบางในหมูพวกเจาที่มีผลงานดียิ่ง” การศรั ทธา เปนสิ่ งสําคัญยิ่งซึ่ งถูกบัญญัติไวในอัลกุรอานหลายโองการในบริบทที่แตกตางกัน และ ทุก ครั้งที่อัลกุ รอานบัญ ญัติเรื่ องการศรัทธาก็จ ะระบุ การกระทํา คุณ ความดีควบคู ไว ดวยเสมอ อันเปนนัยสํา คัญ ที่ เขาใจไดวาสิ่งทั้งสองตองคูกันไมอาจแยกจากกันได กลาวคือการมีศรัทธาเพียงอยางเดียวไมเพียงพอหากปราศจาก การทําความดี ในทางกลับกันการทําความดีเพียงอยางเดียวก็ไมเพียงพอหากไรการศรัทธา และคุณความดีในที่นี่มี ความหมายกวาง ไมเฉพาะแตการปฏิบั ติศาสนกิจ เทานั้น แตยัง ครอบคลุม ถึง การดําเนิ นงานอื่นๆ ทั้ง หลายที่เปน ประโยชนอี กดว ย การยึ ดคั มภี รอัลกุร อานเปนพื้ นฐานในการกํา หนดระบบการควบคุ มการดํ าเนิน งานและการ ประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัยอิส ลามยะลา จึงมีจุด มุงหมายเพื่อนํ าหลั กการศรัท ธาตอ อัล ลอฮฺ และหลักการ ทํางานในอิสลามดังกลาวมาประยุกตใชอยางเปนระบบ และบูรณาการแนวคิดของการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองคก ร Total Quality Management - TQM และวิธีการเชิงระบบ( Systematic Approach ) เชน ระบบ CIPP ซึ่งเปนระบบ การประเมินสภาพแวดลอม ปจจัยนําเขา กระบวนการ และผลผลิต ( Context, Input, Process and Product - CIPP) ระบบ IPO ซึ่งเปนระบบการประเมินปจจัยนําเขา กระบวนการ และผลผลิต (Input, Process and Output - IPO) และระบบ IPOO ซึ่งเปนระบบการประเมินปจจัยนําเขา กระบวนการ ผลผลิต และผลลัพธ (Input, Process ,Output and Outcome - IPOO) เปนตน เพื่อใชเปนเครื่องมื อในการควบคุ ม ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการ ดําเนิ นงานตามภารกิจของสถาบัน คณะ สาขาวิชา และหนวยงานตา งๆ ของมหาวิทยาลัย โดยใหมี ชื่อเรีย กวา “YIU QA Standard ”


101

FST-Annual Report 2008

ลักษณะสําคัญโดยรวมของระบบ “YIU QA Standard ” 1. เปนระบบที่มีจุดมุงหมายเพื่อนําหลักการศรัทธาตออัลลอฮฺ (‫ ; اﻹﯾﻤﺎن ﺑﺎﷲ‬Believe in Allah ) และ หลักการทํางานในอิสลาม ( ‫ ; اﻹﺳﻼم ﻓﻲ اﻟﻌﻤﻞ‬Performance in Islam ) มาประยุกตใชในการดําเนินงาน อยาง เปนระบบและบูรณาการ 2. เปนระบบที่มีการควบคุม ( ‫ ; اﻟﻤﺮاﻗﺒﺔ‬Control ) การติดตาม ( ‫ ; اﻟﻤﺘﺎﺑﻌﺔ‬Follow up) การตรวจสอบ (‫ ; اﻟﻤﺤﺎﺳﺒﺔ‬Checking ) การประเมิ นผล ( ‫; اﻟﺘﻘﯿﯿﻢ‬Assessment ) และการใหขอ มูลปอ นกลับ ( ‫ ; اﻟﻤﺮاﺟﻌﺔ‬Feed back) เพื่อปรับปรุงแกไข ขอบกพรองในการดําเนินงานและสงเสริมผลงานที่มีคุณภาพใหมี คุณภาพยิ่งขึ้น ( ‫ ;اﻹﺻﻼح‬Improvement) 3. เปนระบบการดําเนินงานของสถาบัน ที่ประกอบดวย (1) สภาพแวดลอม (‫; اﻟﺒﯿﺌﺔ‬Context ) (2) ปจจัยนําเขา (‫ ;اﻟﻤﻮاد‬Input ) (3) กระบวนการ (‫ ;اﻟﻌﻤﻠﯿﺔ‬Process) (4) ผลผลิต (‫ ;اﻟﻨﺘﯿﺠﺔ‬Output ) (5) ผลลัพธ (‫ ; اﻟﺤﺼﯿﻠﺔ‬Outcome) 4. เปนระบบที่มีการควบคุมตนเอง (Self - Control) ดวยการควบคุมคุณภาพ (Quality Control) การ ตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit) และการประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) โดยคณะบุคคลภายในสถาบัน ในระดับคณะหรือสาขาวิชา และพรอมที่จะไดรับ การตรวจสอบคุณภาพ การประเมินคุณภาพ และการรั บรอง คุณภาพโดยคณะบุคคลจากภายนอกสถาบัน 5. เปนระบบที่ส รางวั ฒนธรรมในการทํา งานและปลูก จิตสํา นึก ที่มุ งถึ งคุ ณภาพ อาทิ ความยํา เกรง ตออัลลอฮฺ (‫ ; اﻟﺘﻘﻮى‬Piety) ความบริสุทธิ์ใจ (‫ ; اﻹﺧﻼص‬Faithfulness) ความเสียสละ (‫; اﻟﺘﻀﺤﯿﺔ‬ Sacrifice) ความมุม านะ (‫ ; اﻟﺠﮭﻮد‬Attempt) ความรับผิดชอบ ( ‫ ; اﻷﻣﺎﻧﺔ‬Responsibility) ความอดทน (‫ ; اﻟﺼﺒﺮ‬Patience) และความมีระเบียบวินัย (‫ ; اﻻﻧﺘﻈﺎم‬Discipline) 6. เปน ระบบที่ มีก ารดํ าเนินงานเปนทีม (‫ ;اﻟﺠﻤﺎﻋﺔ‬Team) บนพื้นฐานของการประชุม ปรึ กษา (‫; اﻟﺸﻮرى‬Consultation) ความรวมมือ (‫ ; اﻟﺘﻌﺎون‬Cooperation) การมีภราดรภาพ (‫ ; اﻷﺧﻮة‬Brotherhood) และ การมอบหมายตออัลลอฮฺ (‫ ; اﻟﺘﻮﻛﻞ‬God Willing ) 7. เปน ระบบที่ มีก ารบริห ารจั ดการอยางเปน ระบบ (‫ ;اﻟﻨﻈﺎم‬System) มีแผนการดํ าเนินงาน (‫ ; اﻟﺨﻄﺔ‬Plan ) และมีการกําหนดเปาหมาย ( ‫ ; اﻻھﺪاف ﺗﺤﺪﯾﺪ‬Goals) ที่จะปรับปรุงคุณภาพของระบบอยาง ตอเนื่องเพื่อใหมีคุณภาพดีขึ้น 8. เปนระบบการประกันคุณภาพที่มีการดําเนินการอยางตอเนื่อง ( ‫ ;اﻻﺳﺘﻘﺎﻣﺔ‬Continuation ) และ ครบวงจร ( ‫ ; اﻟﺸﻤﻮل‬Complete ) ทุกๆ 4-6 ป


102

FST-Annual Report 2008

แผนภาพ : แสดงระบบ YIU QA Standard การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา CONTROL&STANDARD การควบคุมและมาตรฐาน

CONTEXT 1. ศรัทธาตออัลลอฮ 2. หลักการทํางานในอิสลาม  ความยําเกรง  ความบริสุทธิ์ใจ  ความมีระเบียบวินัย  การดําเนินงานเปนทีม  การประชุมปรึกษา  ความรวมมือ  การมีภราดรภาพ  การมอบหมายตออัลลอฮ  ความเสียสละ  ความมุมานะ  ความรับผิดชอบ  ความอดทน 3. สภาพแวดลอมในการปฏิบัติงาน

INPUT 1. ปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ ภารกิจ นโยบาย 2. เปาหมาย วัตถุประสงค 3. แผนยุทธศาสตร แผนปฏิบัติงาน แผนงาน 4. บุคลากร 5. งบประมาณ 6. วัสดุ อุปกรณ 7. ระบบการบริหารจัดการ

PROCESS กระบวนการปฏิบัติงานเชิงคุณภาพ  การควบคุม  การดูแล  การติดตาม  การตรวจ  การกํากับ  การประเมิน

FEEDBACK การแกไข ปรับปรุง และพัฒนา

1. 2. 3. 4. 5. 6.

OUTPUT

IMPACT

คุณภาพ

1. ความพึงพอใจ ของอัลลอฮ 2. ความพึงพอใจของทุก คน 3. ความพึงพอใจของสถาน ประกอบการ หรอืผูใช บัณฑิต

บัณฑิต งานวิจัย การบริการวิชาการแกสังคม ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม การบริหารจัดการ การบริการอื่น ๆ


103

FST-Annual Report 2008

7.1 การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน พระราชบั ญ ญัติก ารศึ ก ษาแห ง ชาติ พ.ศ. 2542 แก ไ ขเพิ่ ม เติม (ฉบั บ ที่ 2) พ.ศ. 2545 ไดกํ า หนด จุดมุ งหมายและหลั ก การของการจัดการศึ ก ษาที่ มุ ง เน นคุ ณภาพและมาตรฐาน โดยกํ า หนดรายละเอีย ดไวใ น หมวด 6 มาตรฐานและการประกัน คุณภาพการศึกษา ซึ่ งประกอบดวย “ระบบการประกั นคุณภาพภายใน” และ “ระบบการประกั น คุ ณ ภาพภายนอก” เพื่ อ ใช เ ป น กลไกในการผดุ ง รั ก ษาคุ ณ ภาพและมาตรฐานของ สถาบันอุดมศึกษา การประกัน คุณภาพการศึกษาภายในเปนหนาที่ หลัก ประการหนึ่งของสถาบันที่จะตอ งดําเนินการ ตามกฎกระทรวงว า ด ว ยระบบ หลั ก เกณฑ และวิ ธี ก ารประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในสถานศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2546 ซึ่งสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เปนหนวยงานที่กําหนดและกํากับ ดูแลกฎกระทรวงดังกลาว 7.2 นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหามหาวิทยาลั ยอิสลามยะลาไดพิ จารณาเห็นความสํา คัญของการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่ อ สามารถสรางความเปนเลิศทางวิชาการ ทั้งในดานการเรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการแกสังคม และ การทํ านุบํ ารุงศิล ปวัฒนธรรม ใหเป นไปตามความพรอมและความเชี่ ย วชาญของแตล ะคณะ สาขาวิช า และ หนวยงานตาง ๆ ซึ่งจะเปนการเสริมสรางคุณภาพมาตรฐานชั้นนําในระดับนานาชาติได จึงไดกําหนดนโยบายการ ประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยอิสลามยะลาเพื่อเปนแนวทางในการดําเนินการดังนี้ 1. ใหมีก ารกําหนดมาตรฐานขั้นต่ํา และขั้นสู งที่มหาวิทยาลัย คณะ สถาบัน สาขาวิช า และสํา นัก ตองบรรลุถึงโดยกําหนดเงื่อนไขเวลาที่ชัดเจน 2. ใหมี การประเมินคา (Assessment) คุณภาพการศึกษาอยางรอบดาน โดยมีการระบุ ดัชนี (Index) และตัวบงชี้ (Indicators) ของคุณภาพการศึกษาแตละดาน 3. ใหมีการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึ กษา เพื่อเปนเครื่อ งมือในการรั กษา มาตรฐานการศึ กษาของมหาวิ ทยาลั ย โดยเน นหลัก การของการใหค ณะ สถาบัน สาขาวิช า และสํา นัก พั ฒนา ระบบและกลไกการควบคุ ม คุณภาพการศึ ก ษาขึ้ นภายในหนวยงาน และสรา งความพรอ มที่ จะให หนวยงาน ภายนอกหรือมหาวิทยาลัยเขาไปตรวจสอบเพื่อการรับรองคุณภาพได 4. ส งเสริ ม ใหแ ตล ะคณะ สถาบั น สาขาวิช า และสํ า นั ก จัด ตั้ง คณะกรรมการประกั น คุ ณ ภาพ การศึกษาขึ้นภายในหนวยงาน โดยมีคณะกรรมการประกัน คุณภาพการศึกษาที่มหาวิท ยาลัยแตงตั้งขึ้นเปนผูดูแล ใหคําปรึก ษา และประสานงาน เพื่ อใหก ารดํา เนินกิ จกรรมการประกั นคุ ณภาพการศึ ก ษาของคณะ สถาบั น สาขาวิชา และสํานัก เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 5. สงเสริมและสนับสนุนใหคณะ สถาบัน สาขาวิชา และสํานัก ดําเนินงานดานการประกันคุณภาพ การศึกษาอยางเปนระบบ โดยใชงบประมาณที่มีตามความจําเปน 6. สงเสริมใหหนวยงานหรือสถาบันตาง ๆ ภาครัฐและเอกชน ทั้งภายในและตางประเทไดเขา รวม ในกิจกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาของแตละคณะ สภาบัน และสํานัก เพื่อการพัฒนาและรับรองคุณภาพ


104

FST-Annual Report 2008

7. สนับสนุนใหคณะ สถาบัน สาขาวิชา และสํานัก เผยแพรกิจกรรมการประกันคุณภาพการศึก ษาที่ ไดดําเนินการไปแลวอยางมีประสิ ทธิ ภาพ ทั้ งภายในและภายนอกมหาวิทยาลั ย เพื่ อเปนการประชาสัม พันธ คุณภาพการศึกษาของแตละหนวยงาน 8. กําหนดแนวทางการปฏิบัติในการประกัน คุณภาพการศึ กษาขึ้นเพื่อเปนแนวทางเบื้องตนโดยแต ละคณะ สถาบัน สาขาวิชา และสํานัก อาจนําไปปรับปรุงหรือพัฒนาเพิ่มเติมใหเหมาะสมกับสภาพของหนวยงาน 9. ใหมีหนวยงานรองรับงานประกันคุณภาพการศึกษา โดยใชบุคลากรที่มีอยูเดิม 7.3 แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระบบการประกันคุณภาพ จุดมุ งหมายของระบบการประเมิ นคุ ณภาพการศึ ก ษาภายในก็ เพื่ อตรวจสอบและประเมิ นการ ดําเนินงานของสถาบันตามระบบและกลไกที่สถาบันนั้นๆ ไดกําหนดขึ้น ทั้งนี้ เพื่อใหสถาบันไดทราบสถานภาพที่ แทจริง อัน จะนําไปสู การกํ าหนดแนวทางและพัฒนาคุณ ภาพตามเกณฑ และมาตรฐานที่ตั้งไว อยา งตอเนื่อง การ ประเมินคุณภาพที่ประสิทธิภาพนั้น ทั้งคณะผูประเมินและสถาบันที่รับการประเมินจําเปนตองกําหนดบทบาทและ หน าที่ของตนเองอยางเหมาะสม และสอดคลองกับบทบั ญญั ติแ หงกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และ วิธี การประกันคุณภาพการศึ กษาภายในสถานศึกษา ระดับอุด มศึกษา พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ สถาบันตอ งวางแผนจัด กระบวนการประเมินคุณภาพภายในใหเสร็จกอนสิ้นปการศึกษา เพื่อประโยชนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สถาบัน ดังนี้ 1. เพื่อใหส ามารถนําผลการประเมินและขอเสนอแนะไปใชปรับปรุงและพัฒนาการจัดการศึก ษา ไดทันในปการศึกษาถัดไป และตั้งงบประมาณไดทันกอนเดือนตุลาคม (กรณีที่เปนสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ) 2. เพื่อใหสามารถจัดทํารายงานประจําปที่เปนรายงานการประเมินคุณภาพภายในสงใหสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึ กษาและเผยแพร ตอสาธารณชนไดภายใน 120 วันนับจากวั นสิ้ นปก ารศึกษาของแตละ สถาบัน เพื่ อให ก ารประกั นคุ ณ ภาพการศึ ก ษาได ป ระโยชน ดั ง ที่ ก ล า วข า งต น จึง ควรมี แ นวทางการจั ด กระบวนการประเมินคุณภาพนดังปรากฏในตาราง 2 ตารางดั งกลาวสามารถแยกไดเปน 4 ขั้นตอนตามระบบการ พัฒนาคุณภาพ PDCA คือการวางแผน (Plan) การดําเนินงานและเก็บขอมูล (Do) การประเมินคุณภาพ (Check) และการสอนแนวทางปรับปรุง(Act) โดยมีรายละเอียดดังนี้ P = กิจกรรมขอที่ 1 เริ่มกระบวนการตั้งแตตนปการศึก ษาโดยนําผลการประเมินปกอนหนานี้ มา ใช เปนขอมูลในการวางแผน D = กิจกรรมขอที่ 2 ดําเนินงานและเก็บ ขอมูลบันทึก ผลการดําเนินงานตั้งแตตนปการศึกษา คือ เดือนที่ 1– เดือนที่ 12 ของปการศึกษา (เดือนมิถุนายน – เดือนพฤษภาคม ปถัดไป) C = กิจ กรรมขอที่ 3 – 8 ประเมินกระบวนการประกัน คุณภาพภายในระดั บภาค คณะสถาบั น ระหวางเดื อนมิถุนายน – สิงหาคม ของปก ารศึ กษาถัดไป (เนื่อ งจากสมศ. กําหนดใหมีการเก็บข อมู ลในรอบป การศึกษา ตั้งแตเดือนมิถุนายน – พฤษภาคม ซึ่งเปนรอบปการศึกษา)


105

FST-Annual Report 2008

A = กิจกรรมขอที่ 9 วางแผนปรับปรุงและดําเนินการปรับปรุงตามผลการประเมินทีมหรือคณะ กรรมการบริหารของสถาบันอุดมศึกษา นําขอเสนอแนะและผลการประเมินของคณะกรรมการการประเมิน คุณภาพภายในมาวางแผนปรับปรุงการดําเนินงาน (รวมทั้งขอเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัย) มาทําแผนกลยุทธ ประจําปและเสนอตั้งงบประมาณปถัดไป หรือจัดทําโครงการพัฒนาและเสนอใชงบประมาณกลางปก็ได กรณีที่มี การเปลี่ ยนแปลงระบบประกัน คุณภาพหรื อตั วบ งชี้ หรือ เกณฑ การประเมิ นจะตอ งมี การ ประกาศให ทุก หนวยงานในสถาบั นไดรับทราบและปฏิ บัติโดยทั่ว กัน เพราะตองเก็บข อมูลยอนหลัง ตั้งแตเดือน มิถุนายนที่ผานมา สําหรับกิจกรรมขอที่ 10 ในตารางดังกลาวเปนกิจกรรมที่สถาบันอุดมศึกษาทุกแหงตองดําเนินการ ตามกฏหมายเพื่อประโยชนของสถาบันในการปรับปรุงคุณภาพ และเพื่อประโยชนของสํานักงานคณะกรรมการ อุดมศึกษาและหนวยงานตนสังกัดในการนําขอมูลมาปรับปรุงคุณภาพมาตรฐานการศึก ษาของชาติใหทัดเทียมกับ นานาอารยะประเทศและมีความเปนสากล


106

FST-Annual Report 2008

ตาราง : วงจรในการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพภายใน กิจกรรมการดําเนินการ 1. สถาบันประกาศตัว บงชี้ ปการศึกษาใหมและแจกคูมือการ จัดทํา SAR(กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงตัวบงชี้,วิธีการและ ตารางประเมินคุณภาพภายในประจําป) 2. สถาบันเก็บขอมูลระยะ 12 เดื อนตามตัวบ งชี้ที่ไดประกาศใช (มีทีมงานใหคําปรึกษากับบุคลากร/หนวยงาน/ภาควิชาในการ เก็บขอมูลพรอมทั้งพิจารณาปรับปรุงการดําเนินการตามความ เหมาะสม) 3. ภาควิ ช าการหรื อ หน ว ยงานเที ย บเท า จั ด ทํ า SAR และ เตรียมการประเมินระดับภาควิชาหรือหนวยงานเทียบเทา และ แต ง ตั้ ง กรรมการประเมิ น ระดั บ ภาควิ ช าและหน ว ยงาน เทียบเทา 4. ประเมินระดับภาควิชาหรือหนวยงานเทียบเทา

ต.ค.พ.ค.

มิ.ย.- ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. เปดเทอม


107

ตาราง : วงจรในการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพภายใน (ตอ) กิจกรรมการดําเนินการ 5. คณะนําผลการประเมิน ระดับภาควิ ชาหรือหนว ยงานเทียบเทา มาจัดทํา SAR และการประเมินระดับคณะวิชาหรือหนวยงาน เที ย บเท า และแต ง ตั้ ง กรรมการประเมิ น ระดั บ คณะและ หนวยงานเทียบเทา 6. ประเมินระดับคณะหรือหนวยงานเทียบเทา 7. สถาบันนําผลการประเมินระดับคณะหรือหนวยงานเทียบเทามา จัด ทํา SAR และเตรี ยมการประเมิ นระดับ สถาบัน และแตงตั้ง กรรมการประเมินระดับสถาบัน 8. ประเมินระดับสถาบัน 9. สถาบัน วางแผนการปรั บปรุ งและดําเนิน การปรั บปรุง ตามผล การ ทีม หรือคณะกรรมการบริห ารของสถาบันอุด มศึกษานํา ขอเสนอแนะและผลการประเมินของคณะกรรการประเมินของ คณะกรรมการการประเมินคุณภาพภายในมาวางแผนปรับปรุง การดําเนินงาน (รวมทั้งขอเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัย) มา ทําแผนกลยุท ธประจําปแ ละเสนอตั้งงบประมาณปถัด ไป หรื อ จัดทํา โครงการพั ฒนาและเสนอใชงบประมาณกลางปก็ ได ( กรณีที่ มีก ารเปลี่ ยนแปลงระบบและตั วบางชี้ห รื อเกณฑก าร ประเมิน จะตองประกาศใหทุกหนวยงานในสถาบัน ไดรับทราบ และปฏิบัติโดยทั่วไป )

FST-Annual Report 2008

ต.ค.- มิ.ย.- ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. พ.ค. เปด เทอม

ก.ย.


108

FST-Annual Report 2008

ตาราง : วงจรในการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพภายใน (ตอ) กิจกรรมการดําเนินการ 10. สงรายงานประจําปที่เปนรายงานการประเมิ นคุณภาพภายใน (ประกอบดวย SAR ระดับสถาบัน และผลการประเมินคุณภาพ ภายในระดับสถาบัน และผลการประเมินคุณภาพภายในระดับ สถาบัน ) ใหสํานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและหนวยงาน ตนสังกัด (ภายใน 120 วันนับจากสิ้นปการศึกษา )

ต.ค.- มิ.ย.- ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. พ.ค. เปด เทอม

ก.ย.


109

FST-Annual Report 2008

มาตรฐานตัวบงชี้และเกณฑประเมินคุณภาพ คณะไดกําหนดองคประกอบคุณภาพการศึก ษาตามหลักเกณฑและวิธีการประกันคถูณภาพการศึกษา ภายใน โดยใหสอดคลองกับ มาตรฐานของ สกอ. เพื่อเปนแนวทางในการควบคุม การตรวจสอบ และประเมิ น คุณภาพการศึ กษาทั้ง 9 องค ประกอบ คือ (1) ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงคและแผนการดําเนิน การ (2) การเรียน การสอน (3) กิจกรรมการพัฒนานักศึก ษา (4) การวิจัย (5 ) การบริก ารทางวิชาการแก สังคม (6) การทํ านุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม (7) การบริหารและการจัดการ (8) การเงิ นและงบประมาณ และ (9) ระบบและกลไกการประกัน คุณภาพ กลไกการประกันคุณภาพ เพื่อใหการดํ าเนินงานการประกันคุ ณภาพการศึ กษาในมหาวิทยาลัย อิส ลามยะลา เปนไปอย างมี ประสิทธิ ภาพและเกิดประสิท ธิผล จึงเห็ นสมควรกํา หนดแนวปฏิบัติเบื้องต น แก คณะ สถาบัน สํานัก สาขาวิ ชา ศูนย กอง หรือหนวยงานเทียบเทา เพื่อใชเปนแนวทางในการดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา ดังนี้ 1. แตงตั้งคณะกรรมการการดําเนิ นงานประกั นคุณภาพการศึกษา มหาวิท ยาลัย อิส ลามยะลา เป น ผูดูแลใหคําปรึก ษา ประสานงาน ตรวจสอบ และพั ฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ตลอดจน กําหนดตัว บงชี้คุณภาพการศึ กษา เพื่อใหการดําเนินกิ จกรรมการประกันคุ ณภาพการศึกษาของแตล ะคณะหรือ หนวยงานเทียบเทา เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 2. คณะหรือหนวยงานเทียบเทา ดําเนินกิจกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา โดยใชงบประมาณที่มี อยูตามความจําเปน 3. คณะหรือหนวยงานเทียบเทา แตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาขึ้นเปนการภายใน เพื่อ พัฒนาระบบและกลไกการประกัน คุณภาพการศึกษา กํ าหนดมาตรฐานขั้น ต่ําและขั้นสู ง และเงื่อนไขเวลาที่ตอ ง บรรลุ รวมทั้งกําหนดกิจกรรมการประกันคุณภาพการศึ ก ษาใหเหมาะสมกับ หนวยงาน ประชาสัมพั นธภายใน มหาวิ ท ยาลั ย อิ ส ลามยะลาและคณะหรื อหน วยงานเที ย บเท า ใหดํ า เนิ นกิ จ กรรมตา ง ๆ ขึ้ น ดํา เนินการติ ดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลคุณภาพการศึกษาภายในหนวยงาน 4. คณะหรือหนวยงานเทียบเทา จัดทําระบบขอมูลที่ทันสมัย มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ เชน ขอมูล นักศึกษา บุคลากร วัสดุอุปกรณ อาคารสถานที่ โสตทัศนูปกรณ ฯลฯ เพื่อนํามาใชในการพัฒนาการจัดการศึก ษาให มีคุณภาพและประสิทธิภาพ 5. คณะหรือหนวยงานเทียบเทามีวิ ธีการใหไดมาซึ่งผูบริหารที่มีความรูความสามารถในการบริหาร จัดการ 6. คณะหรือหนวยงานเทียบเทา มีการศึกษาความตองการ ตรวจสอบ ติดตาม และประเมินหลักสูตร อยางเปนระบบเพื่อนําผลมาใชในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรใหมีประสิทธิภาพ 7. คณะหรือหนวยงานเทียบเทา กําหนดระบบการวัดและประเมินผลประสิทธิภาพการสอนและผล การปฏิบัติงานของบุคลากรอยางเปนระบบสม่ําเสมอ


110

FST-Annual Report 2008

8. คณะหรือหนวยงานเทียบเทา มีการประเมินผลประสิทธิภาพการสอน และผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรอยางเปนระบบสม่ําเสมอ 9. สนับสนุนใหมีการพัฒนาคณาจารยและบุคลากรในหนวยงาน ทั้งดา นการเพิ่มประสิทธิภาพใน การทํางานตามหนาที่ เชน การศึกษาตอ ฝกอบรม ศึกษาดูงาน และประสบการณทางการวิจัยอยางทั่วถึงและตอเนื่อง 10. สนับ สนุนใหอาจารย และบุค ลากรผลิตผลงานทางวิ ชาการ และสื่อการเรียนรูที่มี คุณภาพอยา ง สม่ําเสมอ และใหมีการดําเนิน การวิจั ยเพื่อพัฒนาการเรีย นการสอน และพัฒนางานวิช าการที่ เกี่ยวของกับคุณภาพ การศึกษาโดยการสนับสนุนดานงบประมาณ และใหมีการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพ 11. สนั บสนุนใหมีระบบหองสมุดและระบบสารสนเทศที่ทันสมั ยอยา งตอ เนื่อ ง และพอเพียงตอ ความตองการ และมีการติดตามผลการใชและการบริการอยางสม่ําเสมอ 12. จัดระบบการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใชง านอาคารสถานที่และทรัพยากรการ เรียนรูตาง ๆ อยางสม่ําเสมอ ตลอดจนการใชงบประมาณอยางมีประสิทธิภาพ 13. มีการจัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนขอมูลเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลัย และ ระหวางมหามหาวิทยาลัย ทั้งในประเทศและตางประเทศ 14. เปดโอกาสใหหนวยงานภายนอกที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชน ไดเข ามามีสวนรวมในการ เสนอความคิดเห็นและดําเนินกิจกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา 15. มีระบบการเสริมสรางขวัญและกําลังใจแก คณาจารยและบุคลากรที่รับผิดชอบตองานพัฒนา คุณภาพการศึกษาอยางเหมาะสม 16. จัด ทํารายงานเกี่ยวกับคุณภาพการศึ กษาของคณะหรือ หนวยงานเทียบเทา เพื่อเผยแพรแ ก ประชาชนและ หนวยงานที่เกี่ยวของไดรับทราบอยางตอเนื่อง ระบบคุณภาพที่ใชในการควบคุมคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาหรือคณะที่สําคัญไดแก 1) 5ส หรือ 5S เปนกระบวนการพัฒนาองคการที่มุงเนนความเปนระเบียบเรียบรอย และการ พัฒนา ทรัพยากรมนุษย มีกิจกรรมสําคัญ 5 ประการ คือ สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ และสุขนิสัย 2) Quality Control Circle (QCC) เปนกระบวนการที่เนนการแกปญหาในองค การ โดยกลุ ม พนักงาน จํานวน 4 – 10 คน ที่รวมกันศึกษา พิจารณา และหาขอสรุปในการแกปญหาและพัฒนาคุณภาพใน องคการ 3) Systematic ไดแก CIPP , IPO , IPOO เปนการพัฒนาคุ ณภาพขององค การดวยการใช องคป ระกอบและดัชนีจากบริบท (Context) ตัวปอน (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิต หรือผลลัพ ธ (Output หรือ Outcome) 4) Quality Assurance ( QA ) เปนกระบวนการพัฒนาคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษา หรือ “การ ประกันคุณภาพการศึกษา” เนนการกําหนดนโยบายคุณภาพ การกําหนดองคประกอบและดัชนีหรือตัวบงชี้ การมี สวนรวมของบุคลากรทุกคนในองคการ การตรวจสอบและประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอก โดยเนนความ เปนอิสระและเสรีภาพทางวิชาการ


111

FST-Annual Report 2008

5) International Standard Organization - ISO เปนมาตรฐานและระบบคุณภาพสากลหรือ International Standard Quality Management – ISQM 6) Total Quality Management – TQM เปนกระบวนการบริหารองคก รที่เนนความพอใจของ ลูกคา คุณภาพของภาวะผูนํา ความตอเนื่องในการพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพ ใชขอมูลในการตัดสินใจ รวมถึงการ มีสวนรวมของบุคลากรในองคการ 7) Accreditation เปนการรับรองคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ที่เนนทั้งการรับรองสถาบันและ สาขาวิชาดวยการกําหนดดัชนีชี้วัดจากหนวยงานหรือองคกรอิสระจากภายนอก เพื่อวัดคุณภาพของสถาบันที่เสนอ รับรองโดยสมัครใจ 8) Malcolm Baldrige National Quality Award - MBNQA เปนรางวัลระดับชาติที่ใหแกองคการที่ เสนอขอรับหรือแขงขันดานคุณภาพ 9) ระบบคุณภาพอื่น ที่สถาบันอุดมศึกษา หรือคณะกําหนดขึ้นหรือนํามาใช และเรียกชื่อเองตาม ความเหมาะสม แตค วรพิจารณานําองคประกอบ 9 ดานของสํานักงานคณะกรรมการการศึ ก ษาอุด มศึกษามา ประยุกตเปนแนวทาง รวมทั้งตองมีระบบการตรวจสอบคุณภาพทั้งภายในและภายนอก (อางอิงเอกสาร : คูมือ 1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา )

ปการศึกษา พ.ศ. 2551 คณะไดดําเนินการประเมินคุณภาพภายใน โดยคณะอนุกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับสถาบัน ซึ่งประกอบดวยผูท รงคุณวุฒิจากภายนอก และคณาจารยของสถาบันทําการประเมินผลการดําเนินงานจากรายงานการ ประเมินตนเองของคณะ เมื่อวันที่ 27-28 มกราคม 2551


112

FST-Annual Report 2008

8. ขอมูลสารสนเทศ 8.1 ขอมูลทั่วไป คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ มหาวิ ทยาลัยอิสลามยะลา ตั้ง อยูที่ 135/5 หมูที่ 3 บ านโสรง ตําบลเขาตูม อํา เภอยะรัง จัง หวัดปตตานี 94160 ดวยศักยภาพที่เปดการเรีย นการสอนในระดับ ปริญ ญาตรี รวม 3 สาขาวิชา มี บุค ลากรสายวิ ชาการ จํานวน 26 คน โดยมี บุค ลากรตางชาติ จํานวน 6 คน บุค ลากรสายสนั บสนุนวิช าการ จํานวน 17 คน รวมทั้งหมด 43 คน และนักศึกษา 462 คน (ขอมูล ณ วันที่ 26 ก.ค. 2552) ที่ติดตอ (http://www.fst-yiu.ac.th) โทรศัพท 0-7341-8584 โทรสาร 0-7341-8584 8.2 ขอมูลบุคลากรจําแนกตามสายงาน ประจําปการศึกษา พ.ศ. 2551  สายสนับสนุนวิชาการ ที่ 1 2 3 4

ตําแหนง

วุฒิ ป.เอก ป.โท ป.ตรี ป.โท

อาจารยประจํา อาจารยประจํา อาจารยประจํา อาจารยพิเศษ รวม

จํานวน(คน) หมายเหตุ 1 25 ลาศึกษาตอ 1 คน,ลาออก 2 คน 2 ลาออก 1 คน 3 สิ้นสุดปการศึกษา 2551 31

อัตราสวน คุณวุฒิ ปริญญาเอก : ปริญญาโท : ปริญญาตรี = 1:26:3 กราฟ : จํานวนบุคลากรสายวิชาการ ประจําปการศึกษา 2551

25 อ.ประจํา(วุฒิป.เอก)

25

อ.ประจํา(วุฒิป.โท) อ.ประจํา(วุฒิป.ตรี)

จํานวน (คน)

20

อ.พิเศษ(วุฒิป.โท)

15 10 5

3 1

2

0 ประเภทบุคลากรสายวิชาการ


113

FST-Annual Report 2008

 สายวิชาการ ที่ 1 2 3

ตําแหนง หัวหนาสํานักงานคณะ เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ประจําสาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ประจําสาขาวิชา วิทยาศาสตร เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ประจําสาขาวิชา เคมีประยุกต เจาหนาที่หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร นักวิทยาศาสตรเคมี นักวิทยาศาสตรชีววิทยา นักวิทยาศาสตรฟสิกส เจาหนาที่โสตทัศนอุปกรณ พนักงานรักษาความสะอาด รวม

4 5 5 6 7 8 9 10

วุฒิ ป.ตรี ป.ตรี ป.ตรี

จํานวน(คน) หมายเหตุ 1 4 ลาศึกษาตอ(ภาคสมทบ) 1 คน 1

ป.ตรี

1

ป.ตรี

1

ป.ตรี ป.ตรี ป.ตรี ป.ตรี ปวส. ม.ปลาย

2 1 3 1 1 2 18

ลาออก 1 คน ลาศึกษาตอ(ภาคสมทบ) 1 คน

อัตราสวน คุณวุฒิ ปริญญาเอก : ปริญญาโท : ปริญญาตรี : ต่ํากวาปริญญาตรี = 0:0:15:3 กราฟ : จํานวนบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ ประจําปการศึกษา 2551

5 5

หัวหนาสํานักงานคณะ

4

จนท.บริหารงานทั่วไปคณะ จนท.บริหารงานทั่วไปสาขา

4 จํานวน (คน)

3

จนท.หองปฏิบัติการ คอมพิวเตอร นักวิทยาศาสตร

3 2 2 1

1

1 0 ประเภทบุคลากรสายสนับสนุน


114

FST-Annual Report 2008

 ขอมูลบุคลากรเปรียบเทียบทั้ง 2 สาย ที่ 1

ประเภทบุคลากร บุคลากรสายวิชาการ

จํานวน(คน) 31

2

บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ รวม

18 49

หมายเหตุ ลาออก 2 คน, สิ้นสุดภาระงานสอน อ.พิเศษ 3 คน ลาออก 1 คน

อัตราสวน คุณวุฒิ บุคลากรสายวิชาการ: บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ: = 0:0:31:18 กราฟ : เปรียบเทียบจํานวนบุคลากรทั้ง 2 ประเภท ประจําปการศึกษา 2551

จํานวน (คน)

40

บุคลากรสายวิชาการ

31

บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ

30 18

20 10 0 ประเภทบุคลากร

8.3 สรุปขอมูลบุคลากร ประจําปการศึกษา พ.ศ. 2551 • บุคลากรสายวิชาการทั้งหมด จํานวน 31 คน • อาจารยที่ลาศึกษาตอ จํานวน 1 คน • อาจารยที่ออก จํานวน 3 คน • อาจารยพิเศษ(สิ้นสุดภาระงานสอน) จํานวน 3 คน • บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการทั้งหมด จํานวน 18 คน • บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการที่ลาศึกษาตอ(ภาคสมทบ) จํานวน 1 คน • บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการที่ลาออก จํานวน 1 คน • อาจารยที่มีอายุการทํางานนอยกวา 6 เดือน จํานวน 4 คน 8.4 ขอมูลบุคลากรจําแนกตามตําแหนงวิชาการ ประจําปการศึกษา พ.ศ. 2551 ลําดับที่ 1 2 3 4

ตําแหนง ศาสตราจารย รองศาสตราจารย ผูชวยศาสตราจารย อาจารย รวม

จํานวน/คน 31 31

อัตราสวน ตําแหนงทางวิชาการ ศาสตราจารย : รองศาสตราจารย : ผูชวยศาสตราจารย : อาจารย = 0:0:0:31


115

FST-Annual Report 2008

8.5 ขอมูลภาระงานสอน คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ภาคการศึกษาที่ 1/2551 ภาคการศึกษาที่ 2/2551 รวม

นักศึกษาเต็มเวลา( FTES) 304.11 311.94 308.03

8.6 ขอมูลหลักที่เปดสอน

8.7 ขอมูลสถิตินักศึกษา ประจําปงบประมาณ 2551 สาขาวิชา

สาขาวิชาวิทยาศาสตร สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร รวม

นักศึกษา ชั้นปที่ 1 ชาย หญิง 4 31 26 48

นักศึกษา ชั้นปที่ 2 ชาย หญิง 5 14 20 27

นักศึกษา ชั้นปที่ 3 ชาย หญิง 2 26 37 33 -

นักศึกษา ชั้นปที่ 4 ชาย หญิง 16 33 -

30

25

39

16

79

41

59

8.8 สถิติผูสําเร็จการศึกษาของคณะฯประจําปการศึกษา พ.ศ. 2547-2551 -ไมมีผูสําเร็จการศึกษาในหลักสูตรที่เปดสอน ภายในป 2551-

33

รวม 82 119 121 322


116

FST-Annual Report 2008

จํานวน(คน)

กราฟ : จํานวนนักศึกษา ประจําสาขาวิชาวิทยาศาสตร ปการศึกษา 2551 35 30 25 20 15 10 5 0

นักศึกษา หญิง นักศึกษาชาย

31 26 14 5

4

2

ชั้นป 1

ชั้นป 2

ชั้นป 3

ชั้นป

จํานวน(คน)

กราฟ : จํานวนนักศึกษา ประจําสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ปการศึกษา 2551 50 45 40 35 30 25 20 15 10 5 0

48 นักศึกษาหญิง นักศึกษาชาย

33 26

26

16

14 5

ชั้นป 1

ชั้นป 2

2 ชั้นป 3

ชั้นป

ชั้นป 4


117

FST-Annual Report 2008

8.9 ขอมูลการใชงบประมาณรายจายประจําป พ.ศ. 2551 งบประมาณคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฯ ในปก ารศึก ษา 2551 แบง ออกเปน 2 ประเภท ซึ่ง ไดรับ การจั ดสรรจาก (1) เงิ นงบประมาณภายใน(อุ ดหนุนจากมหาวิทยาลัย) และ (2) งบประมาณภายนอก ที่ไดจัดหาเพิ่มเติม โดยมีรายละเอียดขอมูล จากตารางแหลงเงินงบประมาณดังตอไปนี้ จํานวน(บาท)

แหลงงบประมาณ

งบประมาณที่ไดรับอนุมัติ 11,215,959.80 6,913,643.02 18,129,602.82

1.งบประมาณภายใน 2.งบประมาณภายนอก รวมงบประมาณทั้งสิ้น

เบิกจายเงินแลว 5,754,167.00 6,917,002.16 12,671,169.16

กราฟ : แสดงแหลงงบประมาณ ประจําปการศึกษา 2551

6.917

7

งบประมาณภายใน งบประมาณภายนอก

6

5.754

หนวย : ลานบาท

5 4 3 2 1 0 ประเภทแหลงงบประมาณ


118

FST-Annual Report 2008

ตารางงบประมาณแยกตามผลผลิต จํานวน 6 ดาน ชื่อเดบิต (แผนการใชจาย)

เลขเดบิต

1. ดานการจัดการเรียนการสอน 2. ดานการใหบริการวิชาการแกสังคม 3. ดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม 4. ดานวิจัยเพื่อสรางองคความรู 5. ดานกิจกรรมนักศึกษา 6. ดานการบริหารจัดการ รวมงบประมาณทั้งสิ้น

3.5.1 5.4.1 6.4.1 4.4.1 9.5.1 1.13.1

จํานวน(บาท) งบประมาณที่ไดรับอนุมัติ 5,843,048.80 85,762.20 42,881.10 214,405.50 85,762.20 139,494.00 6,411,353.80

เบิกจายเงินแลว 87,273.00 15,614.00 1,672.00 6,950.00 19,721.00 131,230.00

กราฟ : จํานวนงบประมาณแยกตามผลผลิต ประจําปการศึกษา 2551

90

87.273

80

หนวย : พันบาท

70

ดานจัดการเรียนการสอน ดานบริการวิชาการแกสังคม

60

ดานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ดานวิจัย

50

ดานกิจกรรมการศึกษา ดานการบริหารจัดการ

40 30 20 10

19.721

15.614 6.95 1.672

0 ประเภทงบประมาณตามผลผลิต


119

FST-Annual Report 2008

ภาคผนวก อาคาร สถานที่ ในคราวการประชุมสภาวิทยาลัยอิสลามยะลา วันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2546 ไดมีมติอนุมัติหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสูตรนานาชาติ) ซึ่งเปนหลักสูตรแรกที่ไดจัดตั้งขึ้นใน ครั้งนั้น ภายใตการจัดตั้ง “คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชีคกอซิม บิน มุหัมมัด อาล-ษานีย” ไปพรอมๆ กัน ในโอกาสดังกลาวนั้น จึงขอความอนุเคราะหใชพื้นที่สํานักวิทยบริการ บริเวณชั้น 1 เปนพื้นที่สํานักงานใน การบริหารจัดการหลั กสูตรเพื่อ จัดการเรียนการสอนให เกิดประสิท ธิภ าพและสามารถบรรลุวัตถุ ประสงค ของ หลักสูตรดังกลาวนี้ไปดวยดีในชวงแรก ตอ มาคณะฯไดรับ การสถาปนาขึ้ นอย า งเปนทางการเมื่ อวันที่ 28 มกราคม 2550 เวลา 10.00 น. นับเปน ประวั ติศ าสตร อีก วันหนึ่ง ของมหาวิ ทยาลั ยอิ สลามยะลา ซึ่ง ได จัดพิธีเ ปด อาคารคณะวิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี ชีค กอซิม บินมุหัมมั ด อาล-ษาณีย อยางสมเกียรติ โดยฯพณฯ ไพศ็อล บิน อับดุลลอฮฺ อาลมะหฺมู ด รัฐมนตรีวาการกระทรวงศาสนสมบัติและกิจการอิสลาม ประเทศกาตาร เปนประธานในพิธี พรอมบรรดาแขกผู มีเกียรติเขารวมเปนสักขีพยานอยางคับคั่ง ในการนี้ไดทําพิธีเปดปายอาคารหลังแรกของคณะฯอยางเปนทางการ ในบริเวณเนื้อที่ 300 ไรของสถาบัน ตั้งอยูที่ 135/5 หมูที่ 3 บานโสรง ตําบลเขาตูม อําเภอยะรัง จังหวัดปตตานี ซึ่งปจจุบันคณะฯมีอาคารจํานวน 1 หลังและหอง/สถานที่ตางๆดังนี้


120

FST-Annual Report 2008


121

FST-Annual Report 2008


122

FST-Annual Report 2008

 จัดทําโดย ฝายบริหารและแผน คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชีค กอซิม บินมุหัมมัด อาล-ษาณีย


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.