Annual report of fst 2552

Page 1

รายงานประจาปี 2552

คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชีคกอซิม บินมุหัมมัด อาล-ษานีย์

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา


คานา รายงานประจาปี 2552 คณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ฯ เป็ นขั้น ตอนหนึ่ ง ของงานประกันคุ ณ ภาพ การศึกษาภายในของหน่วยงาน โดยมีลกั ษณะการรวบรวมข้อมูลการดาเนิ นงานในส่ วนต่างๆของคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีตามกรอบพันธกิจ 4 ด้านในภาพรวม ทั้งนี้ เพื่อให้เป็ นฐานข้อมูลในการดาเนิ นการตรวจประเมินตาม เป้ าหมายและระดับคุ ณภาพมาตรฐานที่กาหนดโดยสานักประกันคุ ณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลาและ สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา การตรวจประเมิ นผลการดาเนิ นงาน มหาวิทยาลัยได้แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อประเมินคุ ณภาพการศึกษา ภายใน โดยคณะกรรมการจะดาเนิ นการประเมินตัวบ่งชี้ ตามองค์ประกอบคุ ณภาพของสานักงานคณะกรรมการการ อุดมศึกษา (สกอ.) สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) และตัวบ่งชี้ ที่มหาวิทยาลัย กาหนดขึ้น จานวน 65 ตัวบ่งชี้(จากทั้งหมด 65 ตัวบ่งชี้) 10 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 ด้านปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์ และแผนการดาเนินงาน จานวน 3 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 2 ด้านการเรี ยนการสอน จานวน 17 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 3 ด้านกิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา จานวน 8 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 4 ด้านการวิจยั จานวน 8 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 5 ด้านการบริ หารวิชาการแก่สังคม จานวน 6 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 6 ด้านการทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม จานวน 4 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 7 ด้านการบริ หารและการจัดการ จานวน 12 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 8 ด้านการเงินและงบประมาณ จานวน 2 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 9 ด้านระบบและกลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา จานวน 3 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 10 ด้านนโยบายรัฐบาล ”สถานศึกษา 3D” จานวน 2 ตัวบ่งชี้ ดังนั้น รายงานประจาปี 2552 คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเล่ มนี้ จึ งสามารถใช้เป็ นแนวทางในการ ติดตามสถานการดาเนิ นงานต่างๆที่เกิดขึ้นภายในรอบปี ที่ผา่ นมาได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ ตามสภาพความเป็ นจริ ง ทุกประการ เพื่อให้ค ณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ สามารถนาไปใช้ ในการเผยแพร่ ขอ้ มูลการดาเนิ นงานทั้ง หน่วยงานภายในและภายนอก อันจะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาคณะในอนาคตต่อไป

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ สิ งหาคม 2552


สารบัญ เรื่อง 1. ประวัติความเป็ นมาของคณะ และประวัติโดยย่อของผูบ้ ริ จาคอาคาร 2. ปรัชญา ปณิ ธาน วิสัยทัศน์ 3. คณะผูบ้ ริ หารคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4. โครงสร้างองค์กร 4.1 โครงสร้างองค์กร 4.2 โครงสร้างการบริ หารงาน 5. ข้อมูลด้านการจัดการศึกษา 5.1. หลักสู ตรการศึกษา 5.2 จานวนนักศึกษา 5.3 การพัฒนานักศึกษา 5.4 ทุนการศึกษา 5.5 ผลงานดีเด่นของนักศึกษา บุคลากรและคณะฯ 6. ผลการดาเนิ นงานตามพันธกิจหลักของคณะฯ 6.1 งานด้านการสอน 6.1.1 อาจารย์ที่ปรึ กษาสารนิพนธ์ 6.1.2 อาจารย์ที่ปรึ กษาโครงการนิเทศนักศึกษา 6.1.3 สรุ ปกิจกรรมการดาเนิ นงานด้านต่างๆ 6.2 งานด้านการวิจยั และการผลิตผลงานวิชาการ 6.2.1 ตารางแสดงงบประมาณด้านการวิจยั 6.2.2 ผลการดาเนินงานวิจยั 6.2.4 เอกสารประเภทสื่ อการสอนประจาปี การศึกษา พ.ศ. 2552 6.2.5 สรุ ปกิจกรรมการดาเนิ นงานด้านต่างๆ 6.3 งานด้านการบริ การวิชาการแก่สังคม 6.3.1 งานบริ การวิชาการสู่ สังคมของคณะฯ 6.3.2 วิทยากร 6.3.3 อาจารย์พิเศษ 6.3.4 ความร่ วมมือทางด้านวิชาการ 6.3.5 สรุ ปกิจกรรมการดาเนิ นงานด้านต่างๆ 6.4 งานด้านการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม 6.4.1 งานพัฒนาศักยภาพนักศึกษา(กิจกรรมนักศึกษา) 6.4.2 งานทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม 6.4.3 สรุ ปกิจกรรมการดาเนิ นงานด้านต่างๆ

หน้ า 1 3 5 6-7 6 7 8-13 8 9 9 12 14 15-88 15-21 15 19 21 22-28 22 23 26 28 29-72 30 33 66 67 68 73-78 73 76 78


6.5 งานด้านการบริ หารจัดการของคณะฯ 6.5.1 ส่ งเสริ มการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนให้มีความรู้และทักษะในการปฏิบตั ิ งานที่มีประสิ ทธิภาพ 6.5.2 ผลงานดีเด่นของอาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา 6.5.3 ส่ งเสริ มการพัฒนาทรัพยากรทางกายภาพและบรรยากาศสิ่ งแวดล้อมของคณะฯ  ด้านการพัฒนาห้องต่างๆ ปรับปรุ งห้องเรี ยนให้มีมาตรฐาน ปรับปรุ งห้องปฏิบตั ิการ ปรับปรุ งห้องปฏิบตั ิงาน  ด้านการพัฒนาปรับปรุ งภูมิทศั น์ พื้นที่ และสถานที่ต่างๆของคณะฯ 6.5.4 ปัจจัยสนับสนุนการเรี ยนการสอน  บริ การห้องสมุด  บริ การเทคโนโลยีสารสนเทศ  บริ การสวัสดิการทางสุ ขภาพพลานามัย สถานที่ออกกาลังกาย 7. การประกันคุณภาพการศึกษา 7.1 การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 7.2 นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 7.3 แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 8. ข้อมูลสารสนเทศ 8.1 ข้อมูลทัว่ ไป 8.2 ข้อมูลบุคลากรจาแนกตามสายงาน ประจาปี การศึกษา พ.ศ. 2552  สายวิชาการ  สายสนับสนุนวิชาการ  ข้อมูลบุคลากรเปรี ยบเทียบทั้ง 2 สาย 8.3 สรุ ปข้อมูลบุคลากร ประจาปี การศึกษา พ.ศ. 2552 8.4 ข้อมูลบุคลากรจาแนกตามตาแหน่งวิชาการ ประจาปี การศึกษา พ.ศ. 2552 8.5 ข้อมูลภาระงานสอน 8.6 ข้อมูลหลักสู ตรที่เปิ ดสอน 8.7 ข้อมูลสถิตินกั ศึกษา ประจาปี การศึกษา พ.ศ. 2552 8.8 สถิติผสู้ าเร็ จการศึกษาของคณะฯประจาปี การศึกษา พ.ศ. 2547-2552 8.9 ข้อมูลการใช้งบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ. 2552 ภาคผนวก  อาคาร สถานที่ (หมายเลขอาคาร ห้อง และชื่อต่างๆ)  ผูจ้ ดั ทาหนังสื อรายงานประจาปี พ.ศ. 2552 ******************************

80-87 80 83 84 84 84 84 85 86 86 86 86 87 89-93 92 92 93 101-108 101 101 101 102 103 103 103 104 104 105 107 108 110-113 110 113


1

1. ประวัติความเป็ นมาคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชีคกอซิม บิน มุหัมมัด อาล-ษานีย์ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา 1. มหาวิทยาลัยอิสลามยะลาเป็ นสถาบันอุดมศึกษาเอกชนอิสลามแห่ งแรกใน ประเทศไทย โดยสถาปนาขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2541 ซึ่ งมีเจตนาอันแน่วแน่ในการจัดการเรี ยนการสอน การวิจยั การบริ การวิชาการ แก่สังคม และการทานุ บารุ งศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับหลักการอิสลาม โดยทาการผลิ ตบัณฑิ ตให้มีความ รอบรู้ ศรัทธา และปฏิบตั ิตามอัล-กุรอานและสุ นนะฮฺ มีคุณธรรม จริ ยธรรมที่สูงส่ ง มีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล และ เป็ นแบบอย่างที่ ดีในการพัฒนาคุ ณภาพชี วิตทั้งของตนเอง ครอบครัว และสังคม โดยผ่านกระบวนการศึ กษา ค้นคว้าหาความรู ้ในสาขาวิชาต่าง ๆ ที่วางอยูบ่ นหลักสมดุล ครอบคลุม ต่อเนื่อง และบูรณาการ 2. จากการประชุ ม สภาวิท ยาลัย อิ ส ลามยะลา วัน ที่ 27 กัน ยายน พ.ศ.2546 ได้มี ม ติ อ นุ ม ัติ หลักสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ) หลักสู ตรนานาชาติ สภามหาวิทยาลัยอิสลามยะลาจึงได้ จัดตั้ง “คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ ชีคกอซิ ม บิน มุหมั มัด อาล-ษานีย”์ เพื่อจัดการเรี ยนการสอน ศึกษา ค้น คว้า วิจ ัย ทางด้า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ และวิ ท ยาศาสตร์ ส าขาอื่ น ๆ ในแขนงวิ ท ยาศาสตร์ บ ริ สุ ท ธิ์ วิทยาศาสตร์ บูรณาการ และวิทยาศาสตร์ ประยุกต์ โดยต่อยอดภูมิปัญญาเดิมและสร้างความรู ้ใหม่เพื่อพัฒนาการ เรี ยนการสอน วิจยั ทางวิทยาศาสตร์ และอื่น ๆ ที่มีความสอดคล้องกับหลักการอิสลาม 3. ในเบื้ องต้น คณะวิท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ ได้จดั ตั้ง สาขาวิช าเทคโนโลยีส ารสนเทศ (หลักสู ตรนานาชาติ)เป็ นสาขาวิชาแรกขึ้น ในปี การศึกษา พ.ศ.2547 ได้เปิ ดสอนหลักสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ) หลักสู ตรนานาชาติ ต่อมาวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2549 ได้จดั ตั้งสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ ขึ้ นเป็ นสาขาวิชาที่ ส องของคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ โดยเปิ ดสอนหลักสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิ ต (วิทยาศาสตร์ ) และ ในปี เดี ยวกันได้ปรับปรุ ง หลักสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ)หลักสู ตร นานาชาติ เป็ นหลักสู ตรเทคโนโลยีบณ ั ฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์ ) หลักสู ตรปรับปรุ ง ในปี เดียวกัน และในปี การศึกษา 2552 คณะได้เปิ ดการเรี ยนการสอนในหลักสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมีประยุกต์) 4. ปั จจุ บนั คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ ได้แบ่ งหน่ วยงานออกเป็ น 3 สาขาวิชาและ 1 หน่ วยงาน คือ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาเคมีประยุกต์ และสานักงาน คณะ เปิ ดสอนหลักสู ตรในระดับ ปริ ญญาตรี หลักสู ตรเทคโนโลยีบณ ั ฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์ ) หลักสู ตร นานาชาติ หลักสู ตรนานาชาติ หลักสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ ) และหลักสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมีประยุกต์) 5. อนึ่ งแผนพัฒ นาทางด้า นหลัก สู ต รระหว่ า งพ.ศ.2551-2553 ทางคณะวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีฯได้มีการวางแผนที่จะเปิ ดหลักสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิต(ชีววิทยาประยุกต์) ในปี การศึกษา พ.ศ.2553 เพื่อรองรับความต้องการของชุมชนและสังคมในอนาคต


2

ประวัติโดยย่ อ ชีค กอซิม บินมุหัมมัด อาล-ษานีย์ และชีคฮามัด บินคอลีฟะห์ อาล-ษานีย์ ชีค กอซิ ม บินมุหัมมัด อาล-ษานีย ์ เป็ นผูร้ ิ เริ่ มก่อตั้งรัฐกาตาร์ ยุคใหม่ ท่านได้รับการแต่งตั้งให้ปกครอง รัฐ กาตาร์ สื บทอดจากบิดาของท่าน ชี ค มุหมั มัด บิน ษานี ย ์ ในปี คศ. 1878 ซึ่ งเชค มุหมั มัด บินษานีย ์ นับเป็ น ชีคคนแรกจากตระกูลอาล-ษานียท์ ี่ปกครองรัฐกาตาร์ เดิมตระกูล อาล-ษานี ย ์ ซึ่ งสื บเชื้ อสายมาจาก เผ่าตะมีมตั้ง รกรากอยู่แถบ Gibrin ทางตอนใต้ ของ Najd และได้อพยพมายังกาตาร์ ในช่วงต้นศตวรรษที่18 ซึ่ งขณะนั้น กาตาร์ เป็ นส่ วนหนึ่งของอาณาจักร ออตโตมัน (อุษมานียะฮฺ) ชี คมุหัมมัด บินกอซิ ม อาล-ษานี ย ์ ได้ฉายแววความเฉลี ยวฉลาดและความเป็ นผูน้ าตั้งแต่เยาว์วยั เมื่ อ ได้รับการแต่งตั้งให้เป็ นผูป้ กครองรัฐกาตาร์ ท่านต้องเผชิญกับอิทธิ พลของสองอาณาจักรที่เกรี ยงไกรในอดีต คือ อาณาจักรตุรกีที่เคยครอบครองดินแดนแถบนี้ และสหราชอาณาจักรอังกฤษที่กาลังขยายอิทธิ พลในอินเดียและ ตะวันออกกลาง แต่ท่านก็สามารถประคับประคองรัฐกาตาร์ ให้กลายเป็ นรัฐเอกราช และได้รับการยอมรับจาก สองมหาอานาจในขณะนั้น หลังจากนั้นท่านก็มุ่งสถาปนาความมัน่ คง ความเป็ นปึ กแผ่น สร้างความยุติธรรมและ ความมัง่ คัง่ ให้แก่ประเทศ จนเป็ นที่ยอมรับว่าท่านเป็ นผูท้ รงก่อตั้งรัฐกาตาร์ ยุคใหม่ และยึดเอาวันที่ท่านทรงขึ้น ปกครองประเทศในวันที่ 18 ธันวาคม 1878 เป็ นวันชาติกาตาร์ จนกระทัง่ ถึงปั จจุบนั ปัจจุบนั รัฐกาตาร์ปกครองและบริ หารโดย ชีคฮามัด บิน คอลีฟะฮ์ อาล-ษานี ย ์ ซึ่ งท่านดารงตาแหน่งเป็ น ประมุ ขผูป้ กครองรั ฐ นายกรั ฐมนตรี และรั ฐมนตรี ต่างประเทศ ท่านได้ข้ ึ นปกครองรัฐกาตาร์ ต้ งั แต่วนั ที่ 26 มิถุนายน คศ.1995 ซึ่ งถือว่าท่านเป็ นทายาทสื บทอดการปกครองรัฐกาตาร์ ยุคใหม่คนที่ 6 จากตระกูลอาล-ษานีย ์ ต่อเนื่องมาจากชีคกอซิ มบรรพบุรุษของท่านซึ่ งเป็ นผูร้ ิ เริ่ มสถาปนารัฐกาตาร์ ยุคใหม่คนแรก ความเจริ ญและการ พัฒนาในด้านต่างๆได้ดาเนิ นอย่างรวดเร็ วในสมัยของชี คฮามัด บินคอลีฟะฮ์ อาล-ษานี ย ์ ไม่วา่ ในด้านการเมือง เศรษฐกิจ และการศึกษา จนทาให้กาตาร์ ได้กลายเป็ นรัฐที่เจริ ญรุ ดหน้าและมัง่ คัง่ ที่สุดในตะวันออกกลาง รายได้ เฉลี่ ยประชากรสู งที่สุดในโลก ท่านไม่ได้มุ่งพัฒนาประเทศกาตาร์ อย่างเดี ยวเท่านั้น แต่ท่านได้สนใจพัฒนาพี่ น้องมุสลิมในประเทศต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในด้านการศึกษา การให้ความช่วยเหลือมหาวิทยาลัยอิสลามยะลาโดยชีคฮามัด บินคอลีฟะฮ์ได้เริ่ มต้นด้วยการบริ จาคเพื่อ การก่อสร้างอาคารสานักงานอธิ การบดี และอาคารคณะอิสลามศึกษา ในปี ค.ศ.2002 ด้วยงบประมาณจานวน30 ล้านบาท และในปี คศ.2005 ชี ค ฮามัด บิน คอลีฟะฮ์ ได้บริ จาคเพิ่มเติม อีก 30 ล้านบาท เพื่อการก่อสร้างอาคาร วิทยาศาสตร์ และเพื่อซื้ ออุปกรณ์ วัสดุ ครุ ภณ ั ฑ์ ใช้ในการบริ หารและการเรี ยนการสอน เพื่อเป็ นการให้เกี ยรติ และระลึ ก ถึ ง บรรพบุ รุ ษ ของท่ า นผูก้ ่ อ ตั้ง รั ฐ กาตาร์ ยุ ค ใหม่ ท่ า นจึ ง ทรงอนุ ญ าตให้ ต้ งั ชื่ อ อาคาร และคณะ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีว่า อาคารคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีชีคกอซิ ม บินมุหัมมัด อาล-ษานี ย ์ ซึ่ ง


3

นับ เป็ นคณะวิ ท ยาศาสตร์ ฯ แห่ ง แรก ที่ ไ ด้ รั บ การ สนับสนุ นจากท่านชี คฮามัด บินคอลี ฟะฮ์ ผูป้ กครองรัฐ กาตาร์ ในปั จจุบนั และได้รับเกียรติให้ใช้ชื่อดังกล่าว

2. ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ ปรัชญา (Philosophy) วิชาการคู่คุณธรรม บูรณาการอิสลาม มาตรฐานสู่ ความเป็ นเลิศ

ปณิธาน (Goal) มุ่งมัน่ ผลิตบัณฑิตที่มีความรู ้ความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มีคุณธรรมและ จริ ยธรรมที่สอดคล้องกับหลักการอิสลาม รับผิดชอบต่อสังคม มีจิตสานึกและศักยภาพในการพัฒนา สังคมและประเทศชาติ

วิสัยทัศน์ (Vision) คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯเป็ นแหล่งความรู ้และความสามารถในสาขาวิชาต่าง ๆ ทาง วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับหลักการอิสลามและเป็ นที่ยอมรับของประชาคมโลก

พันธกิจ (Missions) 1) ผลิตบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์ ที่มีความรอบรู้ ศรัทธาและปฏิบตั ิตาม อัล-กุรอานและสุ นนะฮฺ และมี ความรู ้ความสามารถทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับหลักการอิสลามและเป็ นที่ยอมรับ ของประชาคมโลก 2) ศึกษาค้นคว้า วิจยั ทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์ บริ สุทธิ์ บูรณาการและประยุกต์ ให้เป็ นที่ยอมรับและอานวย ประโยชน์สุขต่อประชาคมโลก 3) ให้บริ การวิชาการวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับหลักการอิสลาม และอานวยประโยชน์ต่อ ประชาคมโลก 4) การพัฒนาระบบบริ หารจัดการที่เข้มแข็งบนฐานธรรมาภิบาลที่สอดคล้องกับหลักการอิสลาม


4

เป้ าประสงค์ (Objectives) 1.) ผูท้ ี่ได้รับการศึกษาและบัณฑิต มีความรู้ความสามารถเพื่อตอบสนองความต้องการของสังคม และ ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ตลอดชีวติ ตามแนวทางอิสลาม 2.) มีผลงานจากการศึกษา ค้นคว้า และวิจยั ทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่มีคุณภาพ ตลอดจน ถ่ายทอดความรู ้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมสู่ ชุมชน 3.) บริ การวิชาการแก่ชุมชนและท้องถิ่นให้เกิดการเรี ยนรู ้ทางด้านวิชาการและรู ้จกั ใช้เทคโนโลยีอย่าง สร้างสรรค์ โดยเป็ นความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น 4.) พัฒ นาบุ ค ลากรให้มี ค วามรู้ ความเชี่ ย วชาญ และมี ท ัก ษะในการปฏิ บ ัติ ง าน มี จิ ต ส านึ ก ความ รับผิดชอบ และมีคุณธรรม 5.) องค์กรภายในคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมีความเข็มแข็งและได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง ด้วยวิถีอิสลาม หมายเหตุ ตามประกาศคณะ เรื่ อ ง ปรั ช ญา ปณิ ธาน วิสัย ทัศ น์ พัน ธกิ จ และเป้ าประสงค์คณะวิท ยาศาสตร์ แ ละ เทคโนโลยีฯ (ปรับปรุ ง 2552) ลงวันที่ 13 มีนาคม 2553


5

3. คณะผู้บริหารคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

นายซอและห์ ตาเละ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

นายซบรี หะยีหมัด รองคณบดีฝ่ายบริ หารและแผน

ดร.ซอบีเราะห์ การียอ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

นายนุมาน สะอะ ผูช้ ่วยคณบดีฝ่ายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา

นายอัมพร มนมิตร หัวหน้าสานักงานคณะ

นายปิ ติ สั นหีม หัวหน้าสาขาวิชาวิทยาศาสตร์

Mr.Hisham K.M .Madi หัวหน้าสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศ

นายอนุวตั ร วอลี หัวหน้าสาขาวิชาเคมีประยุกต์


6

4. โครงสร้ างการจัดองค์กร 4.1 โครงสร้ างองค์ กร


7

4.2 โครงสร้ างการบริหารงาน


8

5. ข้ อมูลด้ านการจัดการศึกษา 5.1 หลักสู ตรการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้จดั ให้มีการศึกษาระดับปริ ญญาตรี ในหลักสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) และเทคโนโลยีบณ ั ฑิต (ท.บ.) ซึ่ งมีการจัดการสอนที่มุ่งเน้นผูเ้ รี ยน ส่ งเสริ มคุณธรรม จริ ยธรรม โดยยึดหลักการศาสนา เป็ นสาคัญ ซึ่งปัจจุบนั ได้จดั การเรี ยนการสอนเป็ นจานวน 4 หลักสู ตร ดังนี้ ที่

1

2

3 4

ชื่อ หลักสูตร หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ) (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Science , Program in Information Technology (International Program) หลักสูตรเทคโนโลยีบณ ั ฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์ ) (หลักสูตรนานาชาติ) Bachelor of Technology, Program in Computer Science (International Program) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์ ) Bachelor of Science, Program in Science หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมีประยุกต์) Bachelor of Science, Program in Applied Chemistry

วุฒปิ ริญญา

ผู้รับผิดชอบ หลักสูตร

วท.บ. B.Sc. ( Information Technology)

สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ

1/2547

หลักสูตร เดิม

ทบ. B.Tech.(CS.)

สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ

1/2550

หลักสูตร ปรับปรุง

วท.บ. B.Sc. วท.บ. B.Sc.( Applied Chemistry)

สาขาวิชา วิทยาศาสตร์

1/2549

-

สาขาวิชา เคมีประยุกต์

2552

หลักสูตร ใหม่

ปี ที่เปิ ด ดาเนินการ

หมาย เหตุ


9

5.2 จานวนนักศึกษา สาขาวิชา

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาเคมีประยุกต์

สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ รวม

นักศึกษา ชั้นปี ที่ 1 ชาย หญิง 8 48 2 6 56 61

นักศึกษา ชั้นปี ที่ 2 ชาย หญิง 3 30 22 34

นักศึกษา ชั้นปี ที่ 3 ชาย หญิง 5 14 12 19

นักศึกษา ชั้นปี ที่ 4 ชาย หญิง 2 25 49 54 -

66

25

17

51

115

64

33

79

รวม 135 103 8 204 450

ในปี งบประมาณ พ.ศ. 2552 คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมีจานวนนักศึกษาทั้งสิ้ น 450 คน คิด

เป็ นนักศึกษาใหม่ ชั้นปี ที่ 1 จานวน 181 คน โดยแบ่งออกเป็ นนักศึกษาจากสาขาวิชาวิทยาศาสตร์จานวน 56 คน สาขาวิชาเคมีประยุกต์จานวน 8 คน และสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จานวน 117 คน นักศึกษาชั้นปี ที่ 2 จานวน 89 คน โดยแบ่งออกเป็ นนักศึกษา จากสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ จานวน 33 คน และสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ จานวน 56 คน นักศึกษาชั้นปี ที่ 3 จานวน 50 คน โดยแบ่งออกเป็ นนักศึกษาจากสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ จานวน 19 คน และสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์จานวน 31 คน และนักศึกษาชั้นปี ที่ 130 โดยแบ่งออกเป็ นนักศึกษาจาก สาขาวิชาวิทยาศาสตร์จานวน 27 คน และสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศจานวน 103 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 11 สิ งหาคม 2552) 5.3 การพัฒนานักศึกษา การพัฒนานักศึกษาของ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีถือเป็ นภารกิจหลักของคณะฯ นอกจาก ผลิตนักศึกษาให้เป็ นบัณฑิตที่มีความรอบรู ้ในสาขาที่ศึกษาแล้ว คณะยังมุ่งเน้นที่จะส่ งเสริ มและพัฒนานักศึกษาให้เป็ น ผูท้ ี่มีจริ ยธรรม และคุณธรรมควบคู่ไปด้วย กิจกรรมส่ งเสริ มได้แก่การปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ การจัดกลุ่มศึกษาอัลกุ รอานหรื อฮาลาเกาะฮฺ เพื่อเป็ นการปลูกฝังความรู ้คู่คุณธรรมไปพร้อมๆกับการจัดกิจกรรมเสริ มหลักสู ตรต่างๆ อาทิ ด้าน วิชาการ ด้านกีฬา ด้านทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม ด้านการบาเพ็ญประโยชน์ให้แก่สังคมและชุมชน โดยได้จดั สรร งบประมาณสนับสนุนการจัดกิจกรรมนักศึกษาทุกหลักสู ตรเป็ นประจาทุกปี


10

กิจกรรมด้ านพัฒนาคุณธรรมและ จริยธรรม

การจัดกลู่มศึกษาอัลกุรอานหรือฮาลาเกาะฮฺ เป็ นนโยบายหนึ่งที่ สาคัญของคณะวิทยาศาสตร์ ฯ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อการพัฒนา บุคลิกภาพด้ านคุณธรรมและจริ ยธรรม ซึ่ งดาเนินการทุกสัปดาห์ ละ 2 ชั่วโมงเป็ นประจาทุกภาคการศึกษา

โครงการกียามุลลัย์นักศึกษาและบุคลากรคณะวิททยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จัดโดย คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2553 ณ มัสยิดฮารอมัยยฺ โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อการฟื ้ นฟูจริ ยวัตรของท่ านศาสดา

กิจกรรมด้ านวิชาการ

โครงการ “ฮาลาลกับการคุ้มครองผู้บริโภค ครั้งที2่ ” ซึ่ งจัดโดยคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2553 ณ หอประชุมวันมูหัมมัดนอร์ มะทา มหาวิทยาลัยอิ สลามยะลา โดยมีวตั ถุประสงค์ ให้ ผ้ ูเข้ าร่ วมโครงการมีทัศนคติเกี่ยวกับฮาลาลกับการ คุม้ ครองผูบ้ ริ โภค อย่ างถูกต้ อง


11

กิจกรรมด้ านกีฬา

สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศกับบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ ได้ จัด การแข่ งขันกีฬาเชื่ อมความสัมพันธ์ ระหว่ างกัน ในโครงการกีฬาสีสัมพันธ์ เมื่อวันที่ 29-30 มกราคม 2553 ณ สนามกีฬามหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

กิจกรรมด้ านสั งคมและบาเพ็ญประโยชน์

โครงการแบ่ งปันรอยยิ้ม สู่ เด็กมุอัลลัฟ จัดโดย สโมสรนักศึ กษาชาย คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ มีนาคม 2553 ณ มัสยิดบ้ านห้ วยมะหิ นฝน จ.เชี ยงราย

เมื่อวันที่ 21-23

โครงการ คอมพิวเตอร์ เพือ่ น้ อง ครั้งที่ 5 จัดโดยชุมนุมนักศึกษาไอที คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีฯ เมื่อวันที่ 24-26 ธันวาคม 25 52 ณ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ฯ (บ้ านโสร่ ง) ม.3 ต.เขาตูม อ.ยะรั ง จ.ปั ตตานี


5.4 ทุนการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯได้จดั สรรทุนการศึกษา ให้แก่นกั ศึกษาระดับปริ ญญาตรี ที่มีผลการเรี ยนดีและทุนช่วยเหลือการศึกษา รวมเป็ นจานวนรวม 18 ทุน จาแนกตามประเภททุน ซึ่ งมีประเภทของทุนดังนี้ 5.4.1ทุนทีจ่ ดั สรรโดยหน่ วยงาน หรือองค์กรภายนอก ประเภททุน (ระดับปริญญาตรี)

จานวน ทุน 3

จานวน เงิน 38,769

1.ทุนเรี ยนดี(ทุนบริ จาค) 2 2.ทุนเรี ยนดีจากธนาคาร อิสลามแห่งประเทศไทย 3.ทุน WAMY

38,774

ผู้ให้ ทุน มูลนิธิ El-Rahmahma Charity Trust มูลนิธิ El-Rahmahma Charity Trust

3

-

ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย

2

-

WAMY

12

รายชื่อ ผู้ไดรับทุน 1.นายดนัย โส้ปะหลาง 2.นายซัรฮาน ยีการอบา 3.นายมูฮาหมาด ใบหมาดปั นจอ 1.นายมะฟายซู เจะแว 2.นายอับดุลมาเละ สะแอ 1.Mr.Tam Sakirin 2.นางสาวนูรียะห์ ไซซิง 3.นาวสาวไหมมูน๊ะ ขุนนา 1.นายมูฮาหมาด ใบหมาดปั นจอ 2.นางสาวนัฐินี แย่งคุณเชาว์

หมายเหตุ


5.4.2 ทุนทีจ่ ัดสรรโดยคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ ประเภททุน (ระดับปริญญาตรี) 1.ทุนนักศึกษาต่างชาติ 2.ทุนทางานแลกเปลี่ยน 3.ทุนการศึกษาจาก ต่างประเทศ

จานวน ทุน

จานวน เงิน

ผู้ให้ ทุน

2

1,000

คณะวิทยาศาสตร์ฯ

3

3

-

1,300-1,500

คณะวิทยาศาสตร์ฯ

คณะวิทยาศาสตร์ฯ

13

รายชื่อ ผู้ไดรับทุน 1.Mr.Loep Katary 2.Mr.Sos Dulloh 1.นางสาวซีตีอาแอเส๊าะ กาหม๊ะ 2.นางสาวเกศริ น พันธ์ทิพย์ 3.นางสาวสุพรรษา พลภักดี 1.นางสาวแวมีเนาะ แวดอเละ 2.นางสาวนาอีมะห์ สามะ 3.นางสาวซอฟี ยะห์ ลาหมุน

หมายเหตุ

จัดสรรจากคณะ (30 บาท/ชัว่ โมง/2เดือน) จัดสรรจากคณะฯ (ต่อเดือน)


5.5 ผลงานดีเด่ นของนักศึกษา บุคลากรและคณะฯ ลาดับ ที่

ชื่อ-สกุล

1

อาจารย์อนุวตั ร วอลี

2 3

นายนัซมี มาหะมะ 1.นายเอกชัย บุญเทียม 2.นายซุลกีฟลี มาลอ 3.นายมูฮาหมาด ใบหมาดปั นจอ 4.นายชารี ฟ เจ๊ะแม 5.นายอมฤทธิ์ ศรี สมุทร 6.นายอับดุลการี ม อับดุลกะเดช 7.นายอัรฟาน หะสี แม 8.นายมูฮมัดไซดี ดาโอ๊ะ 9.นายอนันต์ กะสิ รักษ์

รางวัลดีเด่ น

วัน-เดือนปี

หน่ วยงาน

ได้ รับรางวัลรองชนะเลิศ การนาเสนอผลงานวิจยั ภาคโปสเตอร์ เรื่ องการเตรี ยมผ้าใบ 26-28/5/52 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)ร่ วมกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น กันสาดจากน้ ายางธรรมชาติ(Preparation of Awing from Natural rubber Latex) ในโครงการจัดประชุมวิชาการการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ เครื อข่ายวิจยั สถาบันอุดมศึกษาทัว่ ประเทศ หัวข้อ การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากด้วยแนวคิด เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ ได้รับเกียรติบตั ร เด็กเยาวชนดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2553 9/1/53 กระทรวงศึกษาธิการ 21/3/53 บริ ษทั เครื่ องดื่มกระทิงแดง จากัด ได้ รับรางวัลชนะเลิศ “โครงการอแนวคิดแบบแผนเพือ่ สังคม”(Red Bull U spirit)

14


6. ผลการดาเนินงานตามพันธกิจหลักของคณะฯ 6.1 งานด้ านการสอน 6.1.1 อาจารย์ทปี่ รึกษาสารนิพนธ์ ลาดับ ที่

รายชื่อสารนิพนธ์

อาจารย์ ที่ปรึกษา

1

Product Expiration Alarm System

Mr.Tamer N.N Madi

2

Web-Based System for Electronic Registration

Mr.Tamer N.N Madi

3

Interactive CD for YIU

Mr.Manavver Ali

4

Faculty of Science and Technology E-Learning Mr.Irshad Ahmad System

5

Honey E-Shop

1. 2. 3. 1. 2. 3. 1. 2. 1. 2. 3. 1. 2. 3.

Mr.Mohammed K.M.Madi

15

รายชื่อนักศึกษา

รายวิชา

ปี สาเร็จ การศึกษา

Afnan Sama Sameedah Chedeh Saleehah Ing Tam Shakirin Ekalak Wangsen Abdul Fatah Masamae Mareeyae Naehayo Aishah Dopa Nisit Manakla Samri Sungyi Sim Sen Yanifar Basor Saranee Radaeng Tuandoh Etae

IT 231-213 Industrial Project

2552

IT 231-213 Industrial Project

2552

IT 231-213 Industrial Project

2552

IT 231-213 Industrial Project

2552

IT 231-213 Industrial Project

2552


รายชื่อนักศึกษา

รายวิชา

ปี สาเร็จ การศึกษา

Mr.Manavver Ali

1. Sitifatimah Bt.Mohd nawe 2. Ammika Hayeebilang 3. Ameenoh Dolah

IT 231-213 Industrial Project

2552

Electronic Voting System for Student Council at YIU

Mr.Tamer N.N Madi

IT 231-213 Industrial Project

2552

Web-Based Management of Samaddee School

Mr.Irshad Ahmad

1. 2. 3. 1.

IT 231-213 Industrial Project

2552

IT 231-213 Industrial Project

2552

ที่

รายชื่อสารนิพนธ์

6

Interactive CD: Development of Human

7

8

อาจารย์ ที่ปรึกษา

2. 3. 9

Accessory Management System

Mr.Manavver Ali

1. 2.

16

Fatimah Kornrasri Nurhuda Abdullah Salwa Punyang Akromabdulrahman Aming Subet Sani Wae-isor Waederamae Sumaiyah Benjasom Mujahidah Said


6.1.1 อาจารย์ทปี่ รึกษาสารนิพนธ์ ลาดับ ที่ 1 2 3

4 5

6 7 8

\

รายชื่อสารนิพนธ์ ศึกษาสมบัติการต้านจุลินทรี ยแ์ ละกลิ่นในยางโดยใช้ สมุนไพร การศึกษาความเป็ นไปได้ในการสังเคราะห์เอทานอลจาก น้ ามะพร้าว การตรวจหาปริ มาณจุลินทรี ยใ์ นเครื่ องดื่ม(น้ าผลไม้และ น้ าสมุนไพร) ที่ผลิตในกลุ่มแม่บา้ นที่จาหน่ายในเทศบาล ยะลา ศึกษาการต้านอนุมูลอิสระในส่วนต่างๆ ของต้นเถามวน การศึกษาความเป็ นไปได้ในการใช้กากขี้แป้ งจาก อุตสาหกรรมการแปรรู ปน้ ายางข้นเป็ นวัสดุในการขยาย จุลินทรี ยท์ ี่มีอประสิ ทธิภาพ ศึกษาแนวทางการจัดการขยะมูลฝอยภายในมหาวิทยาลัย อิสลามยะลา การชักนาการงอกเป็ นพืชต้นใหม่จากการเพาะเลี้ยง เนื้อเยือ่ กล้วยไม้ชา้ งแดง การเตรี ยมกระดาษอัดจากกระดาษที่ใช้แล้วโดยใช้น้ ายาง ธรรมชาติเป็ นตัวประสาน

อาจารย์ ที่ปรึกษา นายรอมสรรค์ เศะ นายอนุวตั ร วอลี นางสาวรอปี อ๊ะ กือจิ นายอนุวตั ร วอลี นายรอมสรรค์ เศะ

รายชื่อนักศึกษา

รายวิชา

ปี สาเร็จ การศึกษา

นางสาวคอดีเยาะหื โตะโด นางสาวแวมีเนาะ แวดอเลาะ นางสาวพาดีลา ดีสะเอะ นางสาวนูรไอนี ดอเลาะ นางสาวสาบารยะห์ สะอะ นางสาวปาตีเมาะ สามะอาลี

BI232-123โครงงานวิทยาศาสตร์

นางนัจญ์มีย ์ สะอะ นางสาวรอปี อ๊ะ กือจิ นายอนุวตั ร วอลี นายอิรฟัน มะแซสาอิ

นางสาวไอนี โต๊ะแว นางสาวรี ซนั ราแดง นางสาวมารี เยาะ ดอเลาะ นางสาวกาวียะห์ ยานยา

BI232-123โครงงานวิทยาศาสตร์

2552

BI232-123โครงงานวิทยาศาสตร์ CH232-123โครงงานวิทยาศาสตร์

2552

นางสาววาริ ษา วาแม

นางสาวมารี ยะ สาแม็ง นางสาวแวซง มามะ นางสาวดูไศวนี ซีบะ นางสาวซูไวบะ ยือโร๊ ะ นางสาวสาปี นะห์ บูแยยูโซ๊ะ นางสาวฮาซานี สะยูโซ๊ะ

ES232-617โครงงานวิทยาศาสตร์

2552

ES232-617โครงงานวิทยาศาสตร์ BI232-123 โครงงานวิทยาศาสตร์ ES232-617โครงงานวิทยาศาสตร์

2552

นายซูไฮมิน เจ๊ะมะลี นายปิ ติ สันหี ม นายอนุวตั ร วอลี

17

BI232-123โครงงานวิทยาศาสตร์ CH232-123โครงงานวิทยาศาสตร์

2552 2552

BI232-123โครงงานวิทยาศาสตร์

2552


ลาดับ ที่ 9 10 11

12

13 14 15

รายชื่อสารนิพนธ์ การประเมินคุณภารพน้ าใช้ในชุมชนบ้านโสร่ ง ต.เขาตูม อ.ยะรัง จ.ปั ตตานี การศึกษาผักป่ าหรื อผักบ้านต่างๆที่มีอยูใ่ นท้องถิ่น :กรณี ศึกษาที่ ต.พิเทน อ.ทุ่งยางแดง จ.ปั ตตานี เปรี ยบเทียบสมบัติการยับยั้งแบคทีเรี ยของสารสกัดจาก ใบ ผล เมล็ด เปลือกหุม้ เมล็ดของมะขามป้ อม ศึกษาจุลินทีรียท์ ี่ปนเปื้ อนในอาหารปรุ งสาเร็ จที่จาหน่าย ในโรงอาหาร มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา และร้านอาหาร สาเร็ จชุมชนบ้านโสร่ ง การวิเคราะห์คุณภาพน้ าในกระชังเลี้ยงปลากระพงขาวใน เขตเทศบาลตาบลยามู (คลองยามู) สมบัติการต้านแบคทีเรี ยของสารสะกัดจากเปลือกส้มโอ ด้วยเอทานอล การแปรรู ปและพัฒนาผ้าใบเคลือบน้ ายางธรรมชาติ

อาจารย์ ที่ปรึกษา นางสาววาริ ษา วาแม

รายชื่อนักศึกษา

รายวิชา

ปี สาเร็จ การศึกษา

นางสาวยาวานี วาเต๊ะ นางสาวมาดีฮะห์ สกุลใบ นางสานูรีซงั หมัดเกม

ES232-617โครงงานวิทยาศาสตร์ BI232-123 โครงงานวิทยาศาสตร์ CH232-123โครงงานวิทยาศาสตร์

2552

นางสาวสัลมา หมาดมานัง นางสาวอาซียะห์ วี

BI232-123 โครงงานวิทยาศาสตร์

2552

นางสาวรอปี อ๊ะ กือจิ นายรอมสรรค์ เศะ

นางสาวไมสะเร๊ าะ แก้วสลา นางสาวรอฟี อ๊ะ สาแม็ง

BI232-123 โครงงานวิทยาศาสตร์

2552

นายอนุวตั ร วอลี นายอิรฟัน มะแซสาอิ นายรอมสรรค์ เศะ นางสาวรอปี อ๊ะ กือจิ นายอนุวตั ร วอลี นายอิรฟัน มะแซสาอิ

นางสาอานิตา กูจิ นางสาวอาซีวซ๊ะ มามุ นายซารี ฟ เจ๊ะแม

ES232-617โครงงานวิทยาศาสตร์ BI232-123 โครงงานวิทยาศาสตร์ BI232-123 โครงงานวิทยาศาสตร์

2552

นายสุกรี ซามอ

BI232-123 โครงงานวิทยาศาสตร์

2552

นายอนุวตั ร วอลี นายซูไฮมิน เจ๊ะมะลี นางสาวรอปี อ๊ะ กือจิ นายรอมสรรค์ เศะ

18

2552

2552


6.1.2 อาจารย์ทปี่ รึกษาโครงการนิเทศนักศึกษา ที่ 1

2

3

4

5

รายชื่อสถานทีฝ่ ึ กงาน สานักงานสิ่ งแวดล้อมภาคที่ 16 ถ.กาญจนวนิช ต.เขารู ปช้าง อ.เมือง จ.สงขลา 90000 Tel. 074-311882,074313419 ต่อ 23 ศูนย์การศึกษาพัฒนาพิกลุ ทอง อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ต.กะลุวอเหนือ อ.เมือง จ.นราธิวาส 96000 Tel. 073-631033 สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าชายฝั่ง จ.ปั ตตานี 186 ม.4 ต.แหลมโพธิ์ อ.ยะหริ่ ง จ.ปั ตตานี Tel. 084-8620166,073-329352 สานักงานเทศบาลนครยะลา ถ.สุขยางค์ อ.เมืองยะลา จ.ยะลา 95000 Tel. 073-223666 ต่อ 1025 ศูนย์วจิ ยั ปาล์มน้ ามันสุราษฎร์ธานี (ฝึ ก 25 มี.ค.-29 เม.ย.) 126 ม.4 ต.ท่าอุแท อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี 84160 Tel. 077-259146,077-259101

รายชื่อนักศึกษา นางสาวศรี ประภา บุญพน นางสาวอมรา แอนุย้ นางสาวนูรฮาฟี ซา ดือเระ นางสาวซูรีนา ดอเลาะ นางสาวอูมีกือซง มะนุ นางสาวอัสมะ แวโด นายสุชาติ มามุ นายสมชาย การะเกดเฉลา นางสาวซารี นา โด นางสาวอามีเนาะ มะเระ นางสาวนูรุลยากีน คาเร็ ง นางสาวซุไรนี เจ๊ะเมาะ นางสาวอามีเนาะ สะแต

19

อาจารย์ นิเทศก์ นักศึกษา อาจารย์ปิติ สันหี ม นายรอมสรรค์ เศะ

รายวิชา รายวิชา ES 232-618 ฝึ กงาน

นายรอมสรรค์ เศะ อาจารย์ซูไฮมิน เจ๊ะมะลี

รายวิชา BI 232-124 ฝึ กงาน รายวิชา PS 232-319 ฝึ กงาน

อาจารย์อนุวตั ร วอลี อาจารย์สุไลมาน หะยี สะเอะ อาจารย์ซอบีเราะ การี ยอ อาจารย์รอบีอะ กือจิ

รายวิชา ES 232-618 ฝึ กงาน

รายวิชา BI 232-124 ฝึ กงาน

รายวิชา BI 232-124 ฝึ กงาน รายวิชา CH 232-219 ฝึ กงาน


ที่

รายชื่อสถานทีฝ่ ึ กงาน

6

สานักวิจยั และพัฒนาการเกษตร เขตที่ 7 (ฝึ ก 30 เม.ย.-20 พ.ค. 53) ตู ้ ปณ. 125 อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี 84000 tel 077-259445-61 (คุณอรพินธ์ อิ่มแก้ว ) Fax 077-259447 โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหา 138 หมู่ 6 ถนน ยะหา-ตาชี อาเภอยะหา จ.ยะลา 95120 Tel.073-291023 Fax.073-291166

นางสาวนูรุลยากีน คาเร็ งนาย นางสาวซุไรนี เจ๊ะเมาะ นางสาวอามีเนาะ สะแต น.ส.มุสลีฮะห์ หะยียะโกะ น.ส.แวคอดีเย๊าะ มะรอแม

บริษัทโชติวฒ ั น์ อุตสาหกรรมการผลิต จากัด 84/22 หมู่ 7 ถ.สายเอเชีย 43 ต.คอหงส์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110 Tel.074-200999 Fax.07420090-1

นายวิโรจน์ นิยมเดชา นายซาการี ยา เร๊ าะมัน

7

8

รายชื่อนักศึกษา

อาจารย์ นิเทศก์ นักศึกษา

รายวิชา รายวิชา CH 232-219 ฝึ กงาน

อาจารย์อนุวตั ร วอลี อาจารย์สุไลมาน

รายวิชา CH 232-219 ฝึ กงาน รายวิชา BI 232-124 ฝึ กงาน

อาจารย์ปิติ สันหี ม นายรอมสรรค์ เศะ

รายวิชา BI 232-124 ฝึ กงาน

นางสาวฟาตีฮะห์ ลาเต๊ะ

20


6.1.4สรุ ปกิจกรรมการดาเนินงานด้ านต่ างๆ ลาดับ ที่ 1 2

3

จานวนกิจกรรมการดาเนินงานด้ านต่ างๆ รายชื่อโครงการ/กิจกรรมต่ างๆ รายวิชา 301-212 Information Technology Project 2 (สารนิพนธ์) โครงงานวิทยาศาสตร์ (สารนิพนธ์) รายวิชา BI 232-124 รายวิชา ES 232-618 รายวิชา CH 232-219 รายวิชา BI 232-124 ฝึ กงาน รายวิชา ES 232-618 ฝึ กงาน รายวิชา CH 232-219 ฝึ กงาน รายวิชา PS 232-319 ฝึ กงาน รวมทั้งหมด

วิชาการ

กีฬาและ ส่ งเสริมสุ ขภาพ

บาเพ็ญประโยชน์ รักษาสิ่ งแวดล้ อม

สั นทนาการ

ส่ งเสริม ศิปวัฒนธรรม

(9)

-

-

-

-

(8)

-

-

-

-

34

-

-

-

-

(15)

21


6.2. งานด้ านการวิจัยและผลิตผลงานวิชาการ การวิจยั คณะถือเป็ นภารกิจหลักสาคัญที่ตอ้ งทาควบคู่กบั ภาระงานสอน คณะได้กาหนดนโยบายสนับสนุ นงานวิจยั มีการจัดตั้งคณะกรรมการฝ่ ายส่ งเสริ ม การวิจยั และเขียนตารา ประจาคณะฯเพื่อทาหน้าที่ส่งเสริ มและดาเนิ นการวิจยั ทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาสังคม สิ่ งแวดล้อมและการพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต โดยในปี งบประมาณ พ.ศ. 2552 คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ มีโครงการวิจัยที่ดาเนินงานผ่ านฝ่ ายวิชาการ คณะฯ จานวน 7 โครงการ มีมูลค่ า 1,185,600 บาท 6.2.1 ตารางแสดงงบประมาณด้ านการวิจัย ลาดับ ที่

แหล่ งทุน

1 2

ทุนภายใน ทุนภายนอก รวม

ปี งบประมาณ 2551 จานวน งบประมาณ โครงการ จานวนเงิน ร้ อยละ 1 0 0 1 3,405,304 100.00 2 3,405,304 100.00

ปี งบประมาณ 2552 จานวน งบประมาณ โครงการ จานวนเงิน ร้ อยละ 13,200 2 2.00 5 1,172,400 98.00 7 1,185,600 100.00

งบประมาณการดาเนินงานด้ านการวิจัยของคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ ประจาปี การศึกษา 2551-2552 ได้ จาแนกออกเป็ น 2 แหล่ งทุน ดังนี้ (1) แหล่ งทุนการวิจัยภายใน และ (2) แหล่ งทุนการวิจัยภายนอก โดยในปี การศึกษา 2552 แหล่งทุนการวิจยั ภายในคิดเป็ นร้อยละ 2.00 มีมูลค่ารวมทั้งสิ้ น 13,200 บาท ซึ่งมีจานวน 2 โครงการวิจยั และส่ วนแหล่งทุนการวิจยั ภายนอกคิดเป็ นร้อยละ 98.00 มีมูลค่ารวมทั้งสิ้ น 2,067,400 บาท ซึ่งมีจานวน 7 โครงการวิจยั

22


6.2.2 ตารางแสดงผลการดาเนินงานวิจัย

ชื่อโครงการวิจยั และ สถานภาพ

ชื่อ ผู้ดาเนินงาน /หน่ วยงาน

สั ด ส่ วน

แหล่ งทุนจาก ภายใน

ภายนอก

ระยะเวลาดาเนิน โครงการวิจยั เริ่ม

งบประมาณ

สิ้นสุ ด

รวม

1/1/53

26,400

เบิกจ่ าย ร้ อยละการ ปี 2551 มีส่วนร่ วม

1.โครงการวิจยั ใหม่ (ได้ รับงบฯ ปี งบประมาณ 2551 และมีกาหนดแล้ วเสร็จสิ้นปี งบประมาณ 2552) 1.1 โครงการวิจยั นายปิ ติ สันหี ม “การพัฒนาบทเรี ยนผ่านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตเรื่ อง นายรัมยานัสรี เจะเงาะ เวกเตอร์และการเคลื่อนที่ 1 มิติ”

80% 20%

ม.อ.ย.

-

1.2 โครงการวิจัย “การพัฒนาหนังสื อส่ งเสริ มการ อ่านชุดพหุภาษาสาหรับผูเ้ ริ่ มเรี ยนเพื่อพัฒนาทักษะ การสื่ อสารในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้”

12.78 %

-

สกว.

นางรอซีดตั สาแม

23

1/1/52 (12เดือน)

10/7/51 (16เดือน)

10/10/52 1,200,000

-

10,560 (80%)

340,304

43,490.85 (12.78%)


ชื่อโครงการวิจยั และสถานภาพ

ชื่อผู้ดาเนินงาน/ หน่ วยงาน

สั ด ส่ วน

แหล่ งทุนจาก ภายใน

ระยะเวลาดาเนิน โครงการวิจยั

งบประมาณ

สิ้นสุ ด

รวม

เบิกจ่ าย แล้ ว

ร้ อยละการ มีส่วนร่ วม

1/6/53

150,000

150,000

37,500 (50%)

1/6/53

782,400

587,400

587,400 (100%)

1/1/53

80,000

-

-

สนง. ทรัพยากร 28/6/52 28/12/52 ธรรมชาติ (6เดือน) จ.ปั ตตานี

500,000

100,000

10,000 (10%)

ภายนอก

เริ่ม

2. โครงการวิจยั ใหม่ (ได้ รับงบฯ ปี งบประมาณ 2552 และมีกาหนดแล้ วเสร็จสิ้นปี งบประมาณ 2552 ) 2.1 โครงการวิจยั “การแปรรู ปและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ผา้ ใบเคลือน้ ายางธรรมชาติในระดับ เกษตรกร” 2.2 โครงการวิจยั “ การพัฒนาสื่ อและกระบวนการเรี ยนรู ้วิชาฟิ สิ กส์ ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จ.ปั ตตานี ” 2.3 โครงการวิจยั “ การศึกษาอุณหภูมิและ ระยะเวลาที่มีผลต่อการผลิตน้ ามันมะพร้าวบริ สุทธิ์ ด้วยวิธีการหมัก” 2 .4 โ คร ง ก า ร วิ จั ย “ ก า ร จั ด ก าร แ ล ะ ฟื้ น ฟู ทรัพยากรธรรมชาติในอ่าวปั ตตานี”

เครื อข่าย 1/6/52 วิจยั ภาคใต้ (12เดือน) ตอนล่าง

นายอนุวตั ร วอลี นายอิรฟัน มะแซสะอิ

50% 50%

-

นายปิ ติ สันหี ม

100 %

-

สกว.

นางรอปี อ๊ะ กือจิ นายอิรฟัน มะแซสะอิ นางสาวอามานี สาและ นางรอกายะ ลือแบซา

25% 25% 25% 25%

ม.อ.ย.

-

ผศ.ดร.ซุกรี หะยีสาแม นายอดินนั ท์ หวังพิทยา

50% 10%

24

-

15/5/52 (12เดือน)

1/6/52 (12เดือน)


ชื่อโครงการวิจยั และสถานภาพ

ชื่อผู้ดาเนินงาน/หน่ วยงาน

สั ด ส่ วน

แหล่ งทุนจาก ภายใน

ภายนอก

ระยะเวลาดาเนิน โครงการวิจยั เริ่ม

สิ้นสุ ด

งบประมาณ เบิกจ่ าย แล้ ว

ร้ อยละการมี ส่ วนร่ วม

150,000

140,000

84,000 (60%)

-

-

-

26,400

13,200

10,560 (80%)

รวม

3. โครงการวิจยั ได้ รับงบฯ ปี งบประมาณ 2550 และมีกาหนดแล้ วเสร็จภายในปี งบประมาณ 2551 (ขอขยายเวลาเพิม่ ต่ ออีก 1 ปี ถึงปี งบประมาณ 2552) 3.1 โครงการวิจัย “ การมีส่วนร่ วมและกระบวนการ เรี ยนรู ้ ในการจัดการแหล่งท่ องเที่ ยวเชิ งนิ เวศน์ของ นายอดินนั ท์ หวังพิทยา นายซาวาวี ปะดาอามีน ชุมชนมุสลิม กรณี ศึกษา บางปูสีสนั แดนหิ่ งห้อย”

60% 40%

-

เครื อข่าย วิจยั ภาคใต้ ตอนล่าง

-

สกว.

ม.อ.ย.

-

1/6/50

1/6/52

(12เดือน)

4.โครงการวิจยั ( ได้ รับงบฯปี งบประมาณ 2551 และมีกาหนดแล้วเสร็จสิ้นปี งบประมาณ 2552) 4.1“การพัฒนาหนังสื อส่ งเสริ มการอ่านชุดพหุ ภาษา สาหรับผูเ้ ริ่ มเรี ยน เพื่อพัฒนาทักษะการสื่ อสารใน พื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้” (กาลังดาเนินการ)

นางรอซีดตั สาแม (นักวิจยั ร่ วม)

4.2 โครงการวิจยั “การพัฒนาบทเรี ยนผ่านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตเรื่ อง เวกเตอร์และการเคลื่อนที่ 1 มิติ”

นายปิ ติ สันหี ม นายรัมยานัสรี เจะเงาะ

12.78%

80% 20%

25

10/07/51 10/10/52

1/1/52 (12เดือน)

1/1/53


6.2.3 เอกสารทางวิชาการประเภทสื่ อการสอนประจาปี การศึกษา 2552 ลาดับที่

ชื่อผลงาน

สื่อการสอน ประจำสำขำวิชำวิทยำศำสตร์ 1 โปรแกรมสร้างกราฟ 2,3 มิติ (Archim) 2

โปรแกรมทดลองเสมือนจริ งของ Crocodile “เรื่ องการทดลองไฟฟ้ ากระแสสลับ”

3

โปรแกรมร่ างกายมนุษย์ 3 มิติ โปรแกรมทดลองเสมือนจริ งของ Crocodile

4 5 6 7 8

โปรแกรมแผนที่จกั รวาล(Camtasia) โปรแกรมแผนที่ดูดาว โปรแกรมแผนที่ดาวบนท้องฟ้ า (Stalaliom) Power point (กลไกต่างๆในร่ างกาย) Clip Video กลไกต่างๆในกร่ างกาย Power Point (น้ า โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮแดรท) Power Point (การนาสาราสกัดสมุนไพรไปประยุกต์ใช้) Power Point (จุลชีววิทยาทัว่ ไป)

วิชาทีส่ อน

ผู้แต่ ง

วัน/เดือน/ปี

อ.ปิ ติ สันหี ม

12/5/52

อ.ปิ ติ สันหี ม

13/5/52

อ.ปิ ติ สันหี ม

13/5/52

อ.ปิ ติ สันหี ม

13/5/52 20/6/52 4/12/52

ชีววิทยาทัว่ ไป2

อ.รอมสรรค์ เศะ

15/11/52

เคมีอาหาร เคมีผลิตถภัณฑ์ธรรมชาติ จุลชีววิทยาทัว่ ไป

อ.รอมสรรค์ เศะ อ.รอมสรรค์ เศะ อ.รอมสรรค์ เศะ

1/6/52 15/11/52 15/11/52

MA232-018 คณิ ตศาสตร์พ้นื ฐาน 2 PS232-013 ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 PS232-014 ปฏิบตั ิการฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 1 PS232-015 ฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 2 PS232-016 ปฏิบตั ิการฟิ สิ กส์ทวั่ ไป 2 BI232-001 ชีววิทยาทัว่ ไป 1 BI232-002 ปฏิบตั ิการชีววิทยาทัว่ ไป 1 CH232-005 เคมีทว่ั ไป 1 CH232-006 ปฏิบตั ิการเคมีทวั่ ไป 1 PS232-315ดาราศาสตร์

26


ลาดับที่

ชื่อผลงาน

สื่อการสอน ประจำสำขำวิชำเทคโนโลยีสำรสนเทศ 1 Power Point (MIS) + E-Book 2 Using Animated/applet file for array 3 PPT/Video /e-books 4 PPT/Video /e-books 5 Power Point (Design and Analysis Algorithm) + E-Book Power Point (Data Mining And Data Warehouse) + E6 Book 7 Power Point (Decision Support System) + E-Book

วิชาทีส่ อน

ผู้แต่ ง

วัน/เดือน/ปี

Management Information System C programming Language Digital system Microprocessor and its Applications Design and Analysis Algorithm

Mr.Irshad Ahmad Mr.Irshad Ahmad Mr.Irshad Ahmad Mr.Irshad Ahmad Mr.Manavver Ali

2552 2552 2552 2552 02/2552

Data Mining And Data Warehouse

Mr.Manavver Ali

02/2552

Decision Support System

Mr.Manavver Ali

02/2552

27


6.2.4 สรุ ปกิจกรรมการดาเนินงานด้ านต่ างๆ ลาดับ ที่ 1

2

3

5

จานวนกิจกรรมการดาเนินงานด้ านต่ างๆ รายชื่อโครงการ/กิจกรรมต่ างๆ โครงการวิจยั “ การพัฒนาสื่ อและกระบวนการเรี ยนรู ้วิชาฟิ สิ กส์ ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จ.ปั ตตานี ” โครงการวิจยั “การพัฒนาบทเรี ยนผ่านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ตเรื่ องเวกเตอร์ และ การเคลื่อนที่ 1 มิติ” โครงการวิจยั “การพัฒนาหนังสื อส่งเสริ มการอ่านชุดพหุภาษา สาหรับผูเ้ ริ่ มเรี ยนเพื่อพัฒนาทักษะการสื่ อสารในพื้นที่ 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้” เอกสารทางวิชาการประเภทสื่อการสอนประจาปี การศึกษา 2551 รวมทั้งหมด

วิชาการ

กีฬาและ ส่ งเสริมสุ ขภาพ

บาเพ็ญประโยชน์ รักษาสิ่ งแวดล้ อม

สั นทนาการ

ส่ งเสริม ศิปวัฒนธรรม

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

(5)

-

-

-

-

-

-

-

10

28


29 6.3 งานด้ านการบริการวิชาการสู่ สังคม ทางฝ่ ายวิ ช าการซึ่ งเป็ นหน่ ว ยงานหนึ่ ง ของคณะฯ ท าหน้า ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารวิช าการแก่ หน่ วยงาน ราชการ รัฐวิสาหกิ จ องค์กรเอกชน ชุ มชนและองค์กรระหว่างประเทศ ลักษณะการให้บริ การวิชาการ คือ การ เป็ นวิทยากร อาจารย์พิเศษ หรื อกิจกรรมอื่นๆในด้านการเผยแพร่ ความรู ้ สู่สังคมเป็ นต้น โดยในปี งบประมาณ พ.ศ. 2552 คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ มี (1) โครงการด้ านบริ การวิชาการสู่ สังคม จานวน 25 โครงการ ซึ่งมีมูลค่ า 566,779 บาท (2) วิทยากรผู้ถ่ายทอดความรู้ ในโครงการและกิจกรรมต่ างๆทั้งภายในและภายนอก สถาบัน จ านวน 8 ท่ าน รวม 22 โครงการ/กิจ กรรม และ (3) อาจารย์ พิเศษในการจัด การเรี ยนการสอนแก่ สถาบันการศึกษาอื่นๆ/หน่ วยงานต่ างๆที่เกี่ยวข้ อง จานวน 3 ท่ าน รวม 3 รายวิชา โดยแสดงรายการ ดังตาราง ต่ อไปนี้

ลาดับ ที่

1 2

3

ประเภท งานบริการวิชาการสู่ สังคม จัดโครงการและเข้ าร่ วม กิจกรรมบริการวิชาการต่ างๆ วิทยากรผู้บรรยาย/ถ่ ายทอดความรู้ (รวม) 2.1 สายวิชาการ 2.2 สายสนับสนุนวิชาการ อาจารย์ พเิ ศษ (รวม) 3.1 สายวิชาการ 3.2 สายสนับสนุนวิชาการ

จานวน โครงการ/กิจกรรม/รายวิชา กลุ่มเป้ าหมาย รวม ภายใน ภายนอก

จานวน ผู้ งบประมาณ ให้ บริการ

11*

16

25

-

7 4 3 -

15 15 3

22 19 3 3

8 6 2 3

3

3

3

-

-

-

หมายเหตุ * หมายถึง จานวนผูร้ ับบริ การที่คิดรวมอยูใ่ นกลุ่มเป้ าหมายภายนอกด้วยแล้ว

29

ฝ่ าย รับผิดชอบ

449,720.00 ฝ่ ายวิชาการ -

ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ


6.3.1 งานบริการวิชาการสู่ สังคม ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงาน ที่จัด

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

ณ ห้ อง 5-401 คณะวิทยาศาสตร์ ฯ

กลุ่มเป้าหมาย

งบประมาณ

ใน

นอก

มอย.

อื่นๆ

18/6/52

-

-

-

10,17/7/52

-

2,200

-

8/8/2552

31,364

75,000

17/8/52

-

800

-

จัดอบรม สัมมนา โครงการและประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ 1.โครงการสัมมนาเชิงวิชาการคณะฯ (ทุกวันพฤหัส)

ฝ่ ายวิชาการ

2.โครงการบูรณาการอิสลามกับวิทยาศาสตร์

ฝ่ ายวิชาการ

3.โครงการ วิทยาศาสตร์ อิสลาม ครัง้ ที่ 2

ฝ่ ายวิชาการ

4.โครงการสัมมนาเครื อข่ายเกษตรกรรมทางเลือก

ฝ่ ายวิชาการ

5.เข้าร่ วมอบรมการทายาหม่องสมุนไพร

ฝ่ ายวิชาการ

ศูนย์วิทยาศาสตร์ ยะลา

18/6/52

-

-

-

6.เข้าร่ วมโครงการสัมมนาวิชาการ ณ ไบเทค บางนา

ฝ่ ายวิชาการ

กทม.

18-19/6/52

-

-

-

สนง.ปลัด ศธ.

โรงแรม CS จ.ปั ตตานี

6/8/52

-

-

-

สาขาวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

11/10/52

-

-

สกว.

สาขาวิชาฯร่ วมกับฝ่ าย วิชาการและฝ่ ายบริ หารและ แผน

พื้นที่ดา้ นข้างของตึก คณะวิทยาศาสตร์ฯ

ตลอดปี การศึกษา 2552

-

-

-

7.เข้าร่ วมโครงการเสวนาแนวโน้มการพัฒนาการศึ กษา ชายแดนใต้ (อ.ปิ ติ สันหี ม) 8.ความร่ วมมือพัฒนาการเรี ยนการสอนและการจัด การศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในโรงเรี ยนเพื่อการ จัดหลักสูตรท้องถิ่นแบบองค์รวม ( อ.ปิ ติ สันหี ม)

9.แปลงทดลองเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง

ณ ห้ อง 5-401 คณะวิทยาศาสตร์ ฯ คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

30


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงาน ที่จัด

สถานที่จดั

10.วิจัยพัฒนาสื่ อและกระบวนการเรี ยนรู ้ วิชาฟิ สิ กส์ใน โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จังหวัดปั ตตานี (อ.ปิ ติ สันหี ม)

สาขาวิทยาศาสตร์

ห้องปฏิบตั ิการฟิ สิ กส์

คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

11.เข้าร่ วมฟังการบรรยายของชมรมคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค 12.ต้อนรับคณะครู และนักเรี ยน โรงเรี ยนร่ มเกล้า 13.โครงการปั นความรู ้สู่ชุมชน

ฝ่ ายพัฒนาฯ สโมสรนักศึกษาชาย

โรงเรี ยนอินทนิล/อบต.เขาตูม

14.โครงการคอมพิวเตอร์เพื่อน้อง 5

ชุมนุม IT

คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

15. โครงการComputer science camp

น.ศ.วิทยาการคอมฯ

โรงเรี ยนนูรุลอิงซาน จ.ตรัง

16.โครงการฮาลาลกับการคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค ครั้งที่ 2

ฝ่ ายวิชาการ

17.โครงการกระดาษเหลือใช้ กูภ้ ยั โลกร้อน

สาขาวิชาฯ

18.โครงการ รักโลก รักชีวติ

สาขาวิชาฯ

มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

19.โครงการสร้ างนักวิจยั มืออาชีพ ครัง้ ที่ 3

ฝ่ ายวิจยั และเขียนตารา คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี 31

คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

วันเดือน กลุ่มเป้าหมาย ปี ใน นอก ที่จัด 1820/11/52

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

สกว.

-

-

-

-

-

-

-

-

2,011

6,245

-

-

72,500

29,784

70,700

1/2/53 – 6/3/53

-

-

-

ก.พ. มี.ค. 53

-

-

-

20/5/53

-

600

-

22/11/52 30/9/52

11/12/52 2426/12/52 2426/12/52 7/2/53

10,60


ชื่อกิจกรรม/โครงการ 20.จัดโครงการติวเข้ม Summer camp 21.จัดโครงการการพัฒนาอาชีพแบบพอเพียง

22.จัดโครงการค่ายเสริ มทักษะวิทยาศาสตร์ ครั้งที่6

หน่ วยงาน ที่จัด

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

มหาวิทยาลัยสงขลานคริ น ณ ชัน้ 4 อาคาร 19มอ. 27/3/53ทร์ วิทยาเขตปั ตตานี ปั ตตานี 28/3/53 สาขาวิชาฯ ณ ห้ องปฏิบตั ิการเคมี ปี การศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ ฯ ชัน้ 1 2552 มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คณะวิทยาศาสตร์ ฯ คณะวิทยาศาสตร์ ฯ ร่วมกับ มูลนิธิสงเคราะห์เด็ก คณะวิทยาศาสตร์ ฯ 18-19/5/53 กาพร้ าและการกุศล

23.Islamic Science Camp ครัง้ ที่ 3

ชุมนุมนักศึกษาสาขาวิทย์ฯ

โรงเรี ยนบารุงอิสลาม

24.Young Muslim Computer Camp

กลุม่ นักศึกษาวิทยาการ คอมฯ

โรงเรี ยนพัฒนาวิทยา

25.เข้ าร่ วมโครงการอบรมการใช้ โปรแกรม Scorecard Cockpit Enterprise

กลุ่ม Scorecard Cockpit

โรงแรมบีพีแกรนด์ จ.สงขลา

32

22 - 31 มี.ค. 53 25-30 เม.ย. 53 01/06/52

กลุ่มเป้าหมาย

งบประมาณ มอย. อื่นๆ

ใน

นอก

-

-

37500

-

-

-

-

30,000

48,195

-

10,000

128,530

-

-

20,290

-

-

-


6.3.2 วิทยากร โดยบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

1) อาจารย์ ซอและห์ ตาเละ ตาแหน่ ง : คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ ฯลฯ 1.การอบรมหลัก สูต รพัฒนาสัม พัน ธ์ ระดับ ผู้บ ริ ห าร ฝ่ ายกิจการพลเรื อนศูนย์ (พสบ.ชจต.) ปฏิบตั ิการกองทัพบก 2.วิทยากรในหัวข้ อ สังคมสูญเสียอะไรเมื่อมุสลีมะฮฺ วิทยาลัยอิสลามศึกษา ขาดจริ ยธรรม มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปั ตตานี 3.วิทยากรในหัวข้ อ การดาเนินงานวิจยั ให้ สาเร็ จ งาน สานักงานกองทุนสนับสนุน ทางานเป็ นทีมในอิสลาม การวิจยั 4.วิทยากรในหัวข้ อ ภาวะผู้นาที่ดี อาเภอยะรัง 5.วิ ท ยากรในหัว ข้ อ แม่ มี ค วามส าคัญ อย่ า งไรใน โรงเรี ยนอัตตัรกียะห์อิสลามี อิสลาม ยะห์ 6.วิทยากรในหัวข้ อ จิตสานึกตามหลักศาสนาต่อการ ศูนย์อานามัยที่ 12 ยะลา ดูแลเด็กและผู้สงู อายุในชุมชน 7.วิท ยากรในโครงการแนะแนวการศึกษาต่อ แพทย์ สมาคมจันทร์ เสี ้ยวการแพทย์ ประจาบ้ าน ครัง้ ที่ 1 และสาธารณสุข

สถานที่จดั

โรงแรม บีพี สมิหาลา แอนด์ รี สอร์ ท วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปั ตตานี คณะศิลปศาสตร์ และ สังคมศาสตร์ มอย. ณ หอประชุมอาเภอยะรัง โรงเรี ยนอัตตัรกียะห์อิสลามี ยะห์ หอประชุม 4 ศูนย์อานามัยที่ 12 ยะลา หอประชุมใหญ่ สหกรณ์ออม ออมทรัพย์อิบนูอฟั ฟาน

33

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย ใน

นอก

9-25/6/52

-

12/7/52

-

18/7/52

-

10/8/52

-

17/8/52

ระดับความ พึงพอใจ

ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

31/8/52

-

-

-

-

-

-

1/3/53

-

-

-

-

-

-

-


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

1) อาจารย์ ซอและห์ ตาเละ ตาแหน่ ง : คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ ฯลฯ คณะวิทยาศาสตร์ ห้ องบรรยาย NML 1 8.เข้าร่ วมสัมมนาวิชาชี พวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในหัวข้อเรื่ อง “นักวิทยาศาสตร์ สาขาต่าง ๆ ได้อะไร มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ จาก พ.ร.บ. ส่ งเสริ มวิ ช าชี พวิ ท ยาศาสตร์ และ วิทยาเขตหาดใหญ่ วิทยาเขตหาดใหญ่ เทคโนโลยี พ.ศ.2551” 9.วิทยากรในหัวข้ อ ปั จจัยที่ทาให้ เกิ ดวามมัน่ คงใน มัสยิดบ้ านนาเหนือร่วมกับ สังคม สานักงานคณะกรรมการ ห้ องประชุม มัสยิดนาเหนือ อิสลามประจาจังหวัดสงขลา 10.เสวนาในหัวข้ อ การสร้ างความสมานฉันท์จงั หวัด โรงเรี ยนกิจการพลเรื อน โรงแรม เจบี หาดใหญ่ ชายแดนภาคใต้ กองทัพบก 11.วิยากรเสวนาในหัวข้ อ สัมมนาเพื่อพัฒนาศักยภาพ คณะกรรมการพัฒนา ห้ องประชุมชัน้ 3 คณะ นักศึกษา เครื อข่ายนักศึกษา อิสลามศึกษา 12.เข้ าร่ วมโครงการ รอมฏอน คุณค่า และแนวทาง ห้ องประชุมชัน้ 3 คณะศิลปศาสตร์ และ ปฏิบตั ิเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพอาจารย์ที่พงึ ประสงค์ คณะศิลปศาสตร์ และ สังคมศาสตร์ สังคมศาสตร์ 13.วิทยากรในหัวข้ อ อิสลามกับวิทยาศาสตร์ รายการ สานักงานคณะกรรมการ สานักงานคณะกรรมการ ทีวีรอมฏอน อิสลามประจาจังหวัดสงขลา อิสลามประจาจังหวัดสงขลา 14.วิ ท ยากรในหัว ข้ อ ฮิ จ รอฮ์ ยุท ธศาสตร์ ก ารสร้ าง มัสยิดบ้ านเหนือ มัสยิดบ้ านเหนือ สังคมเข้ มแข็ง 34

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย

ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ สกอ. สมศ.

ใน

นอก

ระดับความ พึงพอใจ

22/3/53

-

-

-

8/5/53

-

-

25/5/53

-

17/8/52

2/9/52

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

17/9/52

-

-

-

-

-

-

20/10/52

-

-

-

-

-

-


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

1) อาจารย์ ซอและห์ ตาเละ ตาแหน่ ง : คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ ฯลฯ วิทยาลัยอิสลามศึกษา 15.วิทยากรในหัวข้ อ มุสลีมะฮฺกบั การพัฒนาครอบครัว มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตปั ตตานี 16.วิทยากรในหัวข้ อ สหกรณ์กบั วิถีชีวิตมุสลิม กรมส่งเสริ มสหกรณ์

สถานที่จดั

หอประชุม เช็คดาวุด อัลฟาฏอนี วิทยาลัยอิสลามศึกษา โรงแรมหาดใหญ่พาราไดส์ แอนด์ รี สอร์ ท

35

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย

ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ สกอ. สมศ.

ใน

นอก

ระดับความ พึงพอใจ

31/1/53

-

-

-

27/1/53

-

-

-

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

-

-

-

-


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย

ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ สกอ. สมศ.

ใน

นอก

ระดับความ พึงพอใจ

6/8/52

-

-

-

22/3/53

-

-

20/5/53

-

29/6/52

-

26/10/52

-

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

600

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

2) ดร.ซอบีเราะห์ การียอ ตาแหน่ ง : รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ ฯลฯ 1.เข้าร่ วมโครงการเสวนาแนวโน้มการพัฒนาการศึกษา สานักกองทุนสนับสนุนการ ณ โรงแรม CS จ.ปั ตตานี ชายแดนใต้ วิจยั คณะวิทยาศาสตร์ ห้ องบรรยาย NML 1 2.เข้าร่ วมสัมมนาวิชาชี พวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในหัวข้อเรื่ อง “นักวิทยาศาสตร์ สาขาต่าง ๆ ได้อะไร มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ จาก พ.ร.บ. ส่ งเสริ มวิ ช าชี พวิ ท ยาศาสตร์ และ วิทยาเขตหาดใหญ่ วิทยาเขตหาดใหญ่ เทคโนโลยี พ.ศ.2551” ฝ่ ายวิจยั และเขียนตาราคณะ คณะวิทยาศาสตร์ และ 3.เข้ าร่วมโครงการสร้ างนักวิจยั มืออาชีพ ครัง้ ที่ 3 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เทคโนโลยี คณะอุตสาหกรรมเกษตร สถาบันอาหาร มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ 4.เข้าร่ วมสัมมนา NFI Road Show วิทยาเขตหาดใหญ่ 5.เข้าร่ วมอบรมเชิงปฏิบตั ิการเรื่ อง การใช้เทคนิค มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะวิศวกรรมศาสตร์และ วิเคราะห์ Time Domain-Magnetic Resonance (TDเทคโนโลยีอุตสาหกรรม NMR) สาหรับงานวิจยั ด้านอาหาร ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร

36


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย

ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ สกอ. สมศ.

ใน

นอก

ระดับความ พึงพอใจ

6/8/52

-

-

-

22/3/53

-

-

5/8/52

-

-

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

3) อาจารย์ ซบรี หะยีหมัด ตาแหน่ ง : รองคณบดีฝ่ายบริหารและแผน คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ ฯลฯ 1.เข้าร่ วมโครงการเสวนาแนวโน้มการพัฒนาการศึกษา สานักกองทุนสนับสนุนการ ณ โรงแรม CS จ.ปั ตตานี ชายแดนใต้ วิจยั คณะวิทยาศาสตร์ ห้ องบรรยาย NML 1 2.เข้าร่ วมสัมมนาวิชาชี พวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในหัวข้อเรื่ อง “นักวิทยาศาสตร์ สาขาต่าง ๆ ได้อะไร มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ จาก พ.ร.บ. ส่ งเสริ มวิ ช าชี พวิ ท ยาศาสตร์ และ วิทยาเขตหาดใหญ่ วิทยาเขตหาดใหญ่ เทคโนโลยี พ.ศ.2551” 3.เข้าร่ วมสัมมนาเรื่ อง พัฒนาระบบการประกันคุณภาพ สานักงานคณะกรรมการ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ อุดมศึกษา วิทยาเขตหาดใหญ่ ภายใน

37


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

สถานที่จดั

กลุ่มเป้าหมาย

ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ

ใน

นอก

ระดับความ พึงพอใจ

-

-

งบประมาณ

สกอ.

สมศ.

มอย.

อื่นๆ

-

-

-

-

-

-

4) อาจารย์ ปิติ สันหีม ตาแหน่ ง : หัวหน้ าสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ 1.เข้าร่ วมจัดนิ ทรรศการกิ จกรรมตามเนื้ อหาชุ ด กระทรวงศึกษาธิการ โรงแรมอิมพีเรี ยล โครงการวิจัย ในงานมหกรรมวิ จั ย เพื่ อ พัฒ นา สานักงานหน่วยงาน 5 จ.นราธิวาส องค์กรหลัก การศึกษาจังหวัดชายแดนใต้ 2.เข้าร่ วมประชุมเวทีเครื อข่ายนักวิจยั ภาคใต้ 3.เข้า ร่ ว มโครงการเสวนาแนวโน้ม การพัฒ นา การศึกษาชายแดนใต้ 4.เป็ นอาจารย์พิเศษโรงเรี ยนดรุ ณศาสตร์

สานักกองทุนสนับสนุน การวิจยั

โรงแรมเซาวเทินร์ ววิ จ.ปั ตตานี

สานักกองทุนสนับสนุน การวิจยั

ณ โรงแรม CS จ.ปั ตตานี โรงเรี ยนดรุ ณศาสตร์ จ.ปั ตตานี คณะศึกษาศาสตร์

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์

5.เข้าร่ วมอบรมระบบการใช้ระบบฐานข้อมูลด้าน สานักประกันคุณภาพ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประกันคุณภาพ 6.เข้าร่ วมสัมมนาสหกิจศึกษา เครื อข่ายอุดมศึกษาภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ตอนล่าง 7.วิ จั ย พัฒ นาสื่ อ และกระบวนการเรี ยนรู ้ วิ ช า ฟิ สิ กส์ในโรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จัง สาขาวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบตั ิการฟิ สิ กส์ หวัดปั ตานี

38

3/6/52

13/8/52

-

-

-

2.8, 4.1, 4.2

6/8/52

-

-

-

-

-

-

3.3

5.1

-

-

-

7.2

9.1

-

-

-

2.3

-

-

ตลอดปี 52 14/7/52 30/7/52 1820/11/52

-

2.3,3.3,6.6 2.2,2.8,4.1,4.3

-

สกว.


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จดั

กลุ่มเป้าหมาย ใน

นอก

ระดับความ พึงพอใจ

ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ สกอ. สมศ.

มอย.

อื่นๆ

2.3,3.3, 2.2,2.8, 6.6 4.1, 4.3

-

สกว

งบประมาณ

อาจารย์ ปิติ สันหีม ตาแหน่ ง : หัวหน้ าสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ ฯลฯ 8.ความร่ วมมือพัฒนาการเรี ยนการสอนและการจัด การศึ กษาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในโรงเรี ย น สาขาวิทยาศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ เพื่อการจัดหลักสูตรท้องถิ่นแบบองค์รวม คณะวิทยาศาสตร์ ห้ องบรรยาย NML 1 9.เข้าร่ วมสัมมนาวิชาชีพวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในหัวข้อเรื่ อง “นักวิทยาศาสตร์ สาขาต่าง ๆ ได้อะไร มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ จาก พ.ร.บ. ส่ ง เสริ มวิ ช าชี พ วิ ท ยาศาสตร์ แ ละ วิทยาเขตหาดใหญ่ วิทยาเขตหาดใหญ่ เทคโนโลยี พ.ศ.2551” ฝ่ ายวิจยั และเขียนตาราคณะ คณะวิทยาศาสตร์ และ 10.เข้ าร่วมโครงการสร้ างนักวิจยั มืออาชีพ ครัง้ ที่ 3 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เทคโนโลยี

39

11/10/52

22/3/53

-

-

-

-

-

-

20/5/53

-

-

-

-

600

-


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย

ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ สกอ. สมศ.

ใน

นอก

ระดับความ พึงพอใจ

22/3/53

-

-

-

20/5/53

-

-

-

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

-

-

600

-

5.)อาจารย์ รอซีดัต สาแม ตาแหน่ ง ผู้ช่วยรั กษาการหัวหน้ าสาขาวิชาเทคโนโลยีฯ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ ฯลฯ คณะวิทยาศาสตร์ ห้ องบรรยาย NML 1 1.เข้าร่ วมสัมมนาวิชาชี พวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในหัวข้อเรื่ อง “นักวิทยาศาสตร์ สาขาต่าง ๆ ได้อะไร มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ จาก พ.ร.บ. ส่ งเสริ มวิ ช าชี พวิ ท ยาศาสตร์ และ วิทยาเขตหาดใหญ่ วิทยาเขตหาดใหญ่ เทคโนโลยี พ.ศ.2551” ฝ่ ายวิจยั และเขียนตาราคณะ คณะวิทยาศาสตร์ และ 2.เข้ าร่วมโครงการสร้ างนักวิจยั มืออาชีพ ครัง้ ที่ 3 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เทคโนโลยี

40


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย ใน

นอก

-

ดัชนีชี้วดั ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

6) อาจารย์ อนุวัตน์ วอลี ตาแหน่ ง : หัวหน้ าสาขาวิชาเคมีประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ 1.เข้ า ร่ วมจั ด นิ ทรรศการกิ จกรรมตามเนื้ อหาชุ ด กระทรวงศึกษาธิการ โรงแรมอิมพีเรี ยล โครงการวิจัย ในงานมหกรรมวิจัยเพื่อพัฒนาการศึ กษา สานักงานหน่วยงาน 5 จ.นราธิวาส องค์กรหลัก จังหวัดชายแดนใต้

3/6/52

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

สานักกองทุนสนับสนุน การวิจยั

โรงแรมเซาวเทินร์ ววิ จ.ปั ตตานี

13/8/52

-

-

2.8, 4.1, 4.2

3.เข้าร่ วมโครงการเสวนาแนวโน้มการพัฒนาการศึ กษา สานักกองทุนสนับสนุน ชายแดนใต้ การวิจยั

โรงแรม CS จ.ปั ตตานี

6/8/52

-

-

-

-

-

5.9

-

2.เข้าประชุมเวทีเครื อข่ายนักวิจยั ภาคใต้

4.เป็ นวิทยากรเพื่อสังเคราะห์งานวิจยั ด้านวิทยาศาสตร์ 5.วิทยากรโครงการติวเข้มสูม้ หาลัย 6.เข้าร่ วมสัมมนาการพัฒนาเศรษฐกิจรากฐาน ด้วยแนวคิด เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์

ห้ อง 09-115 อาคารศูนย์ มหาวิทยาลัยราชภัฎ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี 28/6/52 ยะลา และวิทยาศาสตร์ ประยุกต์ โรงเรี ยนมูลนิธิอาซิซ โรงเรี ยนมูลนิธิอาซิซ 18/3/53, สถาน สถาน 26/3/53 โรงแรมโฆษะ 24-28/05/53 สานักงานคณะกรรมการ จ.ขอนแก่น การอุดมศึกษา (สกอ.)

41

-

-

-


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย

ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ สกอ. สมศ.

ใน

นอก

ระดับความ พึงพอใจ

22/3/53

-

-

-

20/5/53

-

-

22/6/52

-

27/3/5328/3/53

-

26/4/5328/4/53

-

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

-

-

-

600

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

37,500

-

-

-

-

-

6)อาจารย์ อนุวัตน์ วอลี ตาแหน่ ง : หัวหน้ าสาขาวิชาเคมีประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ คณะวิทยาศาสตร์ ห้ องบรรยาย NML 1 7.เข้าร่ วมสัมมนาวิชาชี พวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในหัวข้อเรื่ อง “นักวิทยาศาสตร์ สาขาต่าง ๆ ได้อะไร มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ จาก พ.ร.บ. ส่ งเสริ มวิ ช าชี พวิ ท ยาศาสตร์ และ วิทยาเขตหาดใหญ่ วิทยาเขตหาดใหญ่ เทคโนโลยี พ.ศ.2551” ฝ่ ายวิจยั และเขียนตาราคณะ คณะวิทยาศาสตร์ และ 8.เข้ าร่วมโครงการสร้ างนักวิจยั มืออาชีพ ครัง้ ที่ 3 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เทคโนโลยี ห้ องประชุมชีคดาวุด 9.เข้าร่ วมสัมมนาเชิ งปฏิ บตั ิการ เรื่ องอิสลามกับความ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อัลฟั ฎฎอนี วิทยาลัยอิสลาม ท้าทายของโลกสมัยใหม่ ณ ชัน้ 4 อาคาร 19 มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ 10.จัดโครงการติวเข้ม Summer camp วิทยาเขตปั ตตานี วิทยาเขตปั ตตานี 5.เข้ า ร่ วมโครงการจั ด ประชุ ม วิ ช าการน าเสนอ ผลงานวิจยั ระดับชาติ เครื อข่ายวิจยั สถาบันอุดมศึ กษา คณะเกษตรศาสตร์ ณ โรงแรมโฆษะ ทั่ว ประเทศ หัวข้อ การพัฒ นาเศรษฐกิ จฐานรากด้ว ย มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ.เมือง จ.ขอนแก่น แนวคิดเศรษฐกิจ เชิ งสร้างสรรค์ “เรื่ องการเตรี ยมผ้าใบกันสาดจากยาง ธรรมชาติ” 42


43


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย ใน

นอก

-

ดัชนีชี้วดั ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

7) อาจารย์ ราฟาล หามะ ตาแหน่ ง : อาจารย์ ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ กลุม่ งานสังเคราะห์ ศูนย์วทิ ยาศาสตร์ คุณค่างานวิจยั ด้าน เทคโนโลยี ม.ราชภัฏ 1.เป็ นวิทยากรเรื่ อง คุณค่ างานวิจยั ด้ านวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ม.ราชภัฏ ยะลา ยะลา

43

28/6/52

-

-

-


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย ใน

นอก

ดัชนีชี้วดั ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

8) อาจารย์ อดินันท์ หวังพิทยา ตาแหน่ ง : อาจารย์ ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ 1.เข้าร่ วมโครงการทาฐานข้อมูลทรัพยากรสัตว์เศรษฐกิ จ และทรัพยากรในระบบนิเวศย่อยต่างๆ ของอ่าวปั ตตานี 2.เข้าร่ วมสัมมนาเชิ งปฏิ บตั ิการร่ วมกันระหว่างนักวิจยั ที่ รับผิดชอบโครงการและนักวิจยั ชาวบ้าน 3.เข้าร่ วมประชุมเชิงปฏิบตั ิการการวัดและการประเมินผล การศึกษา 4.เข้าร่ วมโครงการกีฬาเสริ มสร้างสมานฉันท์ 5. .เป็ นอาจารย์พิเศษ วิทยาลัยชุมชนปั ตตานี

-

2.3, 2.4, 2.5

4.3

-

-

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์

ปั ตตานี

26/5/5226/10/52

คณะวิทยาศาสตร์ มอ.ปั ตตานี

ปั ตตานี

21/6/52

-

-

3.3

5.1

-

-

วชช.ปน.

หาดใหญ่

29-30/6/52

-

-

-

7.4

-

-

วชช.ปน.

สตูล วิทยาลัยชุมชน ปั ตตานี

1-2/8/52 ภาคการศึกษาที่ 1

-

-

-

7.4

-

-

-

-

-

-

-

-

วิทยาลัยชุมชนปั ตตานี

44

-


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย

ดัชนีชี้วดั ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ สกอ. สมศ.

ใน

นอก

12/9/52

-

-

-

24/9/52

-

-

-

26/05/53

-

-

20/5/53

-

-

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

3.3

5.1

-

3.3

5.1

-

-

-

600

-

9) อาจารย์ สุไลมาน ดีสะเอะ ตาแหน่ ง : อาจารย์ ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ สาขาวิทยาศาสตร์ โรงเรี ยนหาดใหญ่ 1.วิทยากรบรรยายพิเศษกวดวิชา คณะวิทยาวิทยาศาสตร์ฯ วิทยาคาร สาขาวิทยาศาสตร์ โรงเรี ยนมัธยมสุไหง 2.วิทยากรโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาฯ คณะวิทยาวิทยาศาสตร์ฯ ปาดี ศูนย์วิทยาศาสตร์ ฮาลาล โรงแรมเจบี. จ.สงขลา 3.เข้าร่ วมอบรมปฏิบตั ิการฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ ายวิจยั และเขียนตารา คณะวิทยาศาสตร์ และ 4.เข้ าร่วมโครงการสร้ างนักวิจยั มืออาชีพ ครัง้ ที่ 3 คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี เทคโนโลยี

45

-

-


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย ใน

นอก

-

ดัชนีชี้วดั ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

10) อาจารย์ สะอาด อาแซ ตาแหน่ ง : อาจารย์ ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ 1.บรรยายพิ เ ศษ "ความรู ้ ทั่ว ไปเกี่ ย วกับ การใช้ก ล้อ ง จุลทรรศน์"

ศูนย์บริ หารพัฒนามือ วิทยาศาสตร์

5-102 คณะวิทยาวิทยาศาสตร์​์ ฯ

46

14-16/6/52

-

6.6

2.2


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย ใน

นอก

ดัชนีชี้วดั ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

11 อาจารย์ อิรฟั น มะแซสะอิ ตาแหน่ ง : อาจารย์ สาขาวิชาเคมีประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ 1.บรรยายพิเศษ "ความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับสารเคมี

ศูนย์บริ หารพัฒนามือ วิทยาศาสตร์

เครื อข่ายอุดมศึกษาภาคใต้ ตอนล่าง สาขาวิชาฯ 3.จัดโครงการเพิ่ มทักษะทางเคมี วิเคราะห์ เ บื้ องต้น และ คณะวิทยาศาสตร์ ฯ เทคนิคในการเตรี ยมสารเคมี มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา 2.เข้าร่ วมสัมมนาสหกิจศึกษา

5-102 คณะวิทยาวิทยาศาสตร์ฯ

16/6/52

-

-

6.6

2.2

-

-

มอ.หาดใหญ่

30/7/52

-

-

-

-

-

-

ณ ห้ องปฏิบตั ิการเคมี ชัน้ 1 คณะวิทยาศาสตร์ ฯ

23/8/5225/8/52

-

-

-

-

-

1,500

47


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย

ดัชนีชี้วดั ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ สกอ. สมศ.

ใน

นอก

-

-

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

12) อาจารย์ อับดุลรอมาน สาลีมี ตาแหน่ ง : อาจารย์ ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ 1.เข้าร่ วมอบรมระบบการใช้ระบบฐานข้อมูลด้านประกัน สานักประกันคุณภาพ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยอิสลาม คุณภาพ

14/7/52

7.2

9.1

-

7.2

9.1

-

-

ยะลา

2.เข้าร่ วมประชุมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน

สานักประกันคุณภาพ

3.เข้าร่ วมกรรมการผูป้ ระเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก

มูลนิธิสุข-แก้ว แก้วแดง สมศ.สังกัดมูลนิธิสุข-แก้ว แก้วแดง

4.การประเมินคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 5.เข้า ร่ วมอบรมการใช้โปรแกรม Scorecard Cockpit Enterprise Silver 6.เข้า ร่ ว มอบรมรวมพลัง เพื่ อ พัฒ นาคุ ณ ภาพมาตรฐาน การศึกษาไทย ในเขตพื้นที่ภาคใต้ ประจาปี 2552 7. .เป็ นอาจารย์พิเศษ วิทยาลัยชุมชนสงขลา

กลุ่ม Scorecard Cockpit ศูนย์เครื อข่าย สมศ. ม.ราชภัฎสงขลา วิทยาลัยชุมชนสงขลา

มหาวิทยาลัยอิสลาม ยะลา จ.ยะลา อาเภอเมือง และ อาเภอรามัน โรงแรมบีพีแกรนด์ จ.สงขลา โรงแรมเจบี หาดใหญ่ วิทยาลัยชุมชน สงขลา 48

14/6/52

8-30/6/52

-

7.2

9.1

-

-

16 /11/52 18/12/52

-

5.4

7.1,7.4,8.2

-

-

01/06/52

-

-

-

-

-

-

29/06/52

-

-

-

-

-

-

ภาคการศึกษา ที่ 1 และ 2

-

-

-

-

-

-


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย

ดัชนีชี้วดั ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ สกอ. สมศ.

ใน

นอก

22/3/5326/3/53

-

-

-

20/5/53

-

-

-

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

7,077

-

-

600

-

13) อาจารย์ วาริษา วาแม ตาแหน่ ง : อาจารย์ ประจาสาขาวิชาเคมีประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ กรมส่งเสริ มคุณภาพ สถาบันฝึ กอบรมและ 1.เข้าร่ วมการฝึ กอบรมด้านสิ่ งแวดล้อม ในหัวข้อเรื่ อง สิ่ งแวดล้อม กระทรวง ถ่ายทอดเทคโนโลยี "การจัดการน้ าเสี ยชุมชน" ทรัพยากรธรรมชาติและ ด้านสิ่ งแวดล้อม สิ่ งแวดล้อม ฝ่ ายวิจยั และเขียนตารา คณะวิทยาศาสตร์ และ 2.เข้ าร่วมโครงการสร้ างนักวิจยั มืออาชีพ ครัง้ ที่ 3 คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี เทคโนโลยี

49


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

ดัชนีชี้วดั กลุ่มเป้าหมาย ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

-

-

14).นายรอมสรรค์ เศะ ตาแหน่ ง : นักวิทยาศาสตร์ (จุลชีววิทยา) วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ เครื อข่ายอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ 1.เข้าร่ วมสัมมนาสหกิจศึกษา 30/7/52 ภาคใต้ ตอนล่าง วิทยาเขตหาดใหญ่ ศูนย์วิทยาศาสตร์ ฮาลาล โรงแรมเจบี. จ.สงขลา 2.เข้าร่ วมอบรมปฏิบตั ิการฮาลาล 26/05/53 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3.ประชุวิชาการ Food Innovation Asia 2009 ,11 AgroBITEC กรุงเทพฯ FoSTAT, AIAC,และอื่นฯลฯ 18-189/6/52 Industrial Conference ฝ่ ายวิจยั และเขียนตารา คณะวิทยาศาสตร์ และ 4.เข้ าร่วมโครงการสร้ างนักวิจยั มืออาชีพ ครัง้ ที่ 3 คณะวิทยาศาสตร์ และ 20/5/53 เทคโนโลยี เทคโนโลยี

50

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

600

-

-

2.3


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

ดัชนีชี้วดั กลุ่มเป้าหมาย ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

มอย.

อื่นๆ

งบประมาณ

15) อาจารย์ ซูไฮมิน เจ๊ ะมะลี ตาแหน่ ง : อาจารย์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ เครื อข่ายอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ 1.เข้าร่ วมสัมมนาสหกิจศึกษา ภาคใต้ ตอนล่าง วิทยาเขตหาดใหญ่ ฝ่ ายวิจยั และเขียนตารา คณะวิทยาศาสตร์ และ 2.เข้ าร่วมโครงการสร้ างนักวิจยั มืออาชีพ ครัง้ ที่ 3 คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี เทคโนโลยี

51

30/7/52

-

-

-

2.3

-

-

20/5/53

-

-

-

-

600

-


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

ดัชนีชี้วดั กลุ่มเป้าหมาย ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

16) นางสาวซาฟี นะห์ บุระดาเลง ตาแหน่ ง : นักวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ 1.เข้าร่ วมสัมมนานักวิทยาศาสตร์ สาขาต่างๆได้รับอะไร สภาวิชาชีพวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ จาก พ.ร.บ. ส่งเสริ มวิชาชีพวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี วิทยาเขตหาดใหญ่ และเทคโนโลยี พ.ศ.2553 คณะอุตสาหกรรมเกษตร สถาบันอาหาร มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ 2.เข้าร่ วมสัมมนา NFI Road Show วิทยาเขตหาดใหญ่ 3.เข้าร่ วมอบรมเชิงปฏิบตั ิการเรื่ อง การใช้เทคนิค มหาวิทยาลัยศิลปากร คณะวิศวกรรมศาสตร์และ วิเคราะห์ Time Domain-Magnetic Resonance (TDเทคโนโลยีอุตสาหกรรม NMR) สาหรับงานวิจยั ด้านอาหาร ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร

52

22/3/53

-

29/6/52

26/10/52

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

ดัชนีชี้วดั กลุ่มเป้าหมาย ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

17) นางสาวอามานี สาและ ตาแหน่ ง : นักวิทยาศาสตร์ (เคมี) วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ 1.เข้าร่ วมสัมมนาการอ่านค่าและแปรผลการวิเคราะห์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ คณะอุตสาหกรรมรม ด้า นเคมี จุ ล ชี ว วิท ยา และการสอบเที ย บเครื่ อ งมื อ ใน วิทยาเขตหาดใหญ่ ศาสตร์ ห้องปฏิบตั ิการ คณะอุตสาหกรรมเกษตร สถาบันอาหาร มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ 1.เข้าร่ วมสัมมนา NFI Road Show วิทยาเขตหาดใหญ่

53

29/06/52

-

-

-

-

-

-

29/6/52

-

-

-

-

-

-


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จดั

กลุ่มเป้าหมาย ใน

นอก

-

ดัชนีชี้วดั ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

18) นางสาวอาบีร หะยีสะอิ ตาแหน่ ง : เจ้ าหน้ าทีบ่ ริหารงานทั่วไป สาขาเคมีประยุกต์ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ 1.เข้าร่ วมโครงการอบรมการเขียนหนังสื อราชการและงาน คณะวิทยาศาสตร์ร่วมกับ ห้องสัมมนา ชั้น4 สารบรรณ กองกลางสานักอธิการบดี คณะวิทยาศาสตร์

54

24/11/52

-

-

-


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย

ดัชนีชี้วดั ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ สกอ. สมศ.

ใน

นอก

24/11/52

-

ดี

2.4

3/7/52

-

ดี

9/9/52

-

ดี

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

5.9

-

1,000

-

-

-

-

-

-

-

-

19) นายนิซอยบูลดิน นิเงาะ ตาแหน่ ง : เจ้ าหน้ าทีบ่ ริหารงานทั่วไป ฝ่ ายบริหารและธุรการ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ 1.เข้าร่ วมโครงการอบรมการเขียนหนังสื อราชการและงาน คณะวิทยาศาสตร์ร่วมกับ ห้องสัมมนา ชั้น4 สารบรรณ กองกลางสานักอธิการบดี คณะวิทยาศาสตร์ ห้องสัมมนา ชั้น4 2.บรรยาย เรื่ องการเขียนโครงการและงานเอกสาร สโมสรมุสลีมะฮ์ คณะวิทยาศาสตร์ ห้องสัมมนา ชั้น4 3.บรรยาย เรื่ องการเขียนโครงการและการประเมินผล สโมสรมุสลีมีน คณะวิทยาศาสตร์

55


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย ใน

นอก

-

ดัชนีชี้วดั ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

20) นางสาวรอกายะ ลือแบซา ตาแหน่ ง : นักวิทยาศาสตร์ (ฟิ สิ กส์ ) วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ 1.เข้าร่ วมอบรมการทายาหม่องสมุนไพรเพื่อบรรเทาอาการ ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อ ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อ ที่เกิดจากโรคชิกนุ คุยา การศึกษาจังหวัดยะลา การศึกษาจังหวัดยะลา

56

18/06/52

-

-

-


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย

ดัชนีชี้วดั ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ สกอ. สมศ.

ใน

นอก

18/06/52

-

-

-

20/5/53

-

-

10/8/5211/8/52

-

ภาคเรี ยนที่ 1/52

ภาคเรี ยนที่ 2/52

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

-

-

-

600

-

-

-

-

500

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

21) อาจารย์ นัจญ์ มีย์ สะอะ ตาแหน่ ง : อาจารย์ ประจาสาขาเคมีประยุกต์ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อ 1.เข้าร่ วมอบรมการทายาหม่องสมุนไพรเพื่อบรรเทาอาการ ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อ การศึกษาจังหวัดยะลา ที่เกิดจากโรคชิกนุ คุยา การศึกษาจังหวัดยะลา อ.เมือง จ.ยะลา ฝ่ ายวิจยั และเขียนตารา คณะวิทยาศาสตร์ และ 2.เข้ าร่วมโครงการสร้ างนักวิจยั มืออาชีพ ครัง้ ที่ 3 คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี เทคโนโลยี ณ ห้ องปฏิบตั ิการ สาขาวิชาชีพครู 3.เข้าร่ วมอบรมเชิ งปฏิ บตั ิการ การผลิต E-Book และงาน คอมพิวเตอร์ 2 มหาวิทยาลัยอิสลาม ด้านกราฟิ ก เพื่อการจัดการเรี ยนการสอน คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาฯ ณ ห้ องปฏิบตั ิการเคมี คณะวิทยาศาสตร์ ฯ ชัน้ 1 4.จัดโครงการผูช้ ่วยสอนและผูช้ ่วยวิจยั มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คณะวิทยาศาสตร์ ฯ สาขาวิชาฯ ณ ห้ อง 5-301 คณะวิทยาศาสตร์ ฯ 5.จัดโครงการเพื่อนติวเพื่อน คณะวิทยาศาสตร์ ฯ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

57


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย

ดัชนีชี้วดั ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ สกอ. สมศ.

ใน

นอก

20/4/5321/4/53

-

-

-

ปี การศึกษา 2552

-

-

-

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

-

-

-

-

21) อาจารย์ นัจญ์ มีย์ สะอะ ตาแหน่ ง : อาจารย์ ประจาสาขาเคมีประยุกต์ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์ สานักวิทยบริการ 6.เข้าร่ วมอบรมหลักสู ตร การออกแบบและจัดทาเว็บไซต์ มหาวิทยาลัยอิสลาม มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา สาหรับหน่วยงานด้วย Joomla CMS ยะลา สาขาวิชาฯ ณ ห้ องปฏิบตั ิการเคมี คณะวิทยาศาสตร์ ฯ ชัน้ 1 6.จัดโครงการการพัฒนาอาชีพแบบพอเพียง มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา คณะวิทยาศาสตร์ ฯ

58


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย

ดัชนีชี้วดั ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ สกอ. สมศ.

ใน

นอก

20/5/53

-

-

-

10/8/5211/8/52

-

-

-

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

600

-

-

500

-

22) อาจารย์ รอปี อ๊ ะ กือจิ ตาแหน่ ง : อาจารย์ ประจาสาขาวิชาเคมีประยุกต์ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ ฝ่ ายวิจยั และเขียนตารา คณะวิทยาศาสตร์ และ 1.เข้ าร่วมโครงการสร้ างนักวิจยั มืออาชีพ ครัง้ ที่ 3 คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี เทคโนโลยี ณ ห้ องปฏิบตั ิการ สาขาวิชาชีพครู 2.อบรมเชิ งปฏิ บัติการ การผลิ ต E-Book และงานด้าน คอมพิวเตอร์ 2 มหาวิทยาลัยอิสลาม กราฟิ ก เพื่อการจัดการเรี ยนการสอน คณะศึกษาศาสตร์

59


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย ใน

นอก

-

ดัชนีชี้วดั ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

600

-

23) อาจารย์ สาเราะ นิยมเดชา ตาแหน่ ง : อาจารย์ ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ ฝ่ ายวิจยั และเขียนตารา คณะวิทยาศาสตร์ และ 1.เข้ าร่วมโครงการสร้ างนักวิจยั มืออาชีพ ครัง้ ที่ 3 คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี เทคโนโลยี

60

20/5/53

-

-

-


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย ใน

นอก

-

ดัชนีชี้วดั ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

600

-

24) อาจารย์ ฟารีฮาน เจะบือราเฮง ตาแหน่ ง : อาจารย์ ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ ฝ่ ายวิจยั และเขียนตารา คณะวิทยาศาสตร์ และ 1.เข้ าร่วมโครงการสร้ างนักวิจยั มืออาชีพ ครัง้ ที่ 3 คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี เทคโนโลยี

61

20/5/53

-

-

-


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

ดัชนีชี้วดั กลุ่มเป้าหมาย ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ ใน นอก สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

25) นายมูฮัมหมัดรอนี อาแวกาจิ ตาแหน่ ง : เจ้ าหน้ าทีห่ ้ องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ 1.เข้าร่ วมสัมมนานักวิทยาศาสตร์ สาขาต่างๆได้รับอะไร สภาวิชาชีพวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ จาก พ.ร.บ. ส่งเสริ มวิชาชีพวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี วิทยาเขตหาดใหญ่ และเทคโนโลยี พ.ศ.2553 ห้องปฏิบตั ิการ 2.วิทยากรโครงการอบรม Open Source Open Heart ห้องสัมมนา ชั้น4 คณะวิทย์ฯ คอมพิวเตอร์ 3.เข้าร่ ว มการอบรม หลักสู ตรการสร้ างแบบสอบถาม ศูนย์คอมพิวเตอร์ ม.ราช ศูนย์คอมพิวเตอร์ ออนไลน์ ภัฏยะลา ม.ราชภัฏยะลา สานักวิทยบริ การและ 4.เข้าร่ วมการอบรม เรี ยนรู ้เครื อข่ายคอมพิวเตอร์และการ ศูนย์คอมพิวเตอร์ ม.ราช เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.ราช ตั้งค่าอุปกรณ์ ภัฏยะลา ภัฏยะลา

62

22/3/53

-

-

-

-

-

-

15/01/53

-

-

-

-

-

-

27/0153

-

-

-

-

-

-

29/02/532/03/53

-

-

-

-

-

-


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย

ดัชนีชี้วดั ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ สกอ. สมศ.

ใน

นอก

01/06/52

-

-

-

29/06/52

-

-

-

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

-

-

-

-

26) นายอีบาดุรรอฮ์ มาน การี ตาแหน่ ง : เจ้ าหน้ าทีบ่ ริหารงานทัว่ ไป ฝ่ ายวิชาการ วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ โรงแรมบีพีแกรนด์ 1.เข้า ร่ ว มอบรมการใช้โปรแกรม Scorecard Cockpit กลุ่ม Scorecard Cockpit จ.สงขลา Enterprise Silver 2.เข้า ร่ ว มอบรมรวมพลัง เพื่ อ พัฒ นาคุ ณ ภาพมาตรฐาน ศูนย์เครื อข่าย สมศ. โรงแรมเจบี หาดใหญ่ การศึกษาไทย ในเขตพื้นที่ภาคใต้ ประจาปี 2552 ม.ราชภัฎสงขลา

63


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย

ดัชนีชี้วดั ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ สกอ. สมศ.

ใน

นอก

22/12/53

-

-

-

24/11/52

-

-

-

11-15/4/53

-

16-18/5/53

25/4/521/5/52

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

1,475

-

-

-

-

3.2

6.8

-

-

-

-

5,052

-

-

-

-

-

10,000

-

-

-

-

-

-

27) นางสาวนูรไลลา มุละซอ ตาแหน่ ง : เจ้ าหน้ าทีบ่ ริหารงานทัว่ ไป ฝ่ ายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ ห้ องสัมมนาชัน้ 4 ฝ่ ายพัฒนาศักยภาพ 1.เข้าร่ วมอบรมจิตวิทยาการให้คาปรึ กษาอาจารย์ที่ปรึ กษา นักศึกษา คณะวิทย์ฯ งานสารบรรณและธุรการ 2.เข้าร่ วมโครงการอบรมการเขียนหนังสื อราชการและงาน ห้องสัมมนา ชั้น4 กลุ่มงานบริ หารและแผน สารบรรณ คณะวิทย์ฯ คณะวิทย์ฯ ฝ่ ายพัฒนาฯ+ศูนย์ฟัตวา คณะอิสลามศึกษา 3.อาภรณ์อนั ล้ าค่า: มุสลีมะกับการปฏิวตั ิตนเองด้วยฮีญาบ คณะอิสลามาศึกษา ฝ่ ายพัฒนาฯ+ศูนย์ หาดสะกอม อ. 4.ประธานโครงการ ค่ายยุวชนจริ ยธรรมสันติสุข การศึกษาอิสลามประจา เทพา จ.สงขลา มัสยิด อ.รามัน ห้ องสัมมนาชัน้ 4 ฝ่ ายพัฒนาศักยภาพ 5.สัมมนาแกนนานักศึกษาใหม่ นักศึกษา คณะวิทย์ฯ 6.โครงการทัศนศึกษา เปิ ดโลกกว้างเพื่อการเรี ยนรู ้ ครั้งที่3

สโมสรนักศึกษามุสลีมะฮฺ

กรุงเทพฯ

64

28 ก.พ.53

มาก

7,400

-


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย ใน

นอก

-

ดัชนีชี้วดั ระดับความพึง ความสาเร็จ พอใจ สกอ. สมศ.

งบประมาณ มอย.

อื่นๆ

-

-

27) นางสาวนูรไลลา มูละซอ ตาแหน่ ง : เจ้ าหน้ าทีบ่ ริหารงานทัว่ ไป ฝ่ ายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา วิทยากรบรรยาย เสวนา อภิปราย อบรม สัมมนา ประชุมวิชาการ แสดงนิทรรศการ ฯลฯ มหาวิทยาลัยอิสลาม สานักพัฒนาศักยภาพ 7.ค่ายนักศึกษาหญิงชั้นปี สุดท้าย ยะลา นักศึกษา

65

4-7/4/53

-

-

-


6.3.3 อาจารย์พเิ ศษ หน่ วยงานที่จดั

สถานที่จดั

วันเดือนปี ที่จัด

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์

ปั ตตานี

ตลอดปี 52

2. .เป็ นอาจารย์พิเศษ วิทยาลัยชุมชน ปั ตตานี โดย อาจารย์ อบั ดุลรอมาน สาลีมี

วิทยาลัยชุมชนปั ตตานี

วิทยาลัยชุมชน ปั ตตานี

3. .เป็ นอาจารย์พิเศษ วิทยาลัยชุมชน สงขลา โดย อาจารย์ อดินันท์ หวังพิทยา

วิทยาลัยชุมชนสงขลา

วิทยาลัยชุมชนสงขลา

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ

งบประมาณ

ใน

นอก

ระดับความพึง พอใจ

-

-

3.3

5.1

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

สกอ.

สมศ.

มอย.

อื่นๆ

อาจารย์พเิ ศษ 1.เป็ นอาจารย์พิเศษโรงเรี ยนดรุ ณศาสตร์ โดย อาจารย์ ปิติ สันหีม

66

ภาค การศึกษาที่ 1 และ 2 ภาค การศึกษาที่ 1


67 6.3.4 ความร่ วมมือทางด้ านวิชาการ ส่ งเสริมความร่ วมมือทางด้ านวิชาการกับองค์ กรภายในประเทศ

โครงการฮาลาลกับการคุ้มครองผู้บริ โภค ครั้ งที่2 ซึ่ งจัดโดยคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ ร่ วมกับ ศูนย์ อานวยการบริ หารจั งหวัด ชายแดนภาคใต้ เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2553 ณ หอประชุมวันมูหัมมัดนอร์ มะทา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

โครงการอบรมมหาวิทยาลัยชีวติ เพือ่ เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่ งจัดโดย ฝ่ ายวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ ร่ วมกับ มหาวิทยาลัย นอร์ ทเชี ยงใหม่ เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยอิ สลามยะลาและมูลนิ ธิสงเคราะห์ เด็กกาพร้ าและการกุศลยะลา โดยมี วิทยากรผู้บรรยาย อาจารย์ กิจจา หนูนิ่ม ผู้ช่วยรองอธิ การบดีฝ่ายกิจกรรมพิเศษ เป็ นผู้อบรมโครงการดังกล่ าว


6.3.5 สรุ ปกิจกรรมการดาเนินงานด้ านต่ างๆ ลาดับ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8

9 10

11

จานวนกิจกรรมการดาเนินงานด้ านต่ างๆ รายชื่อโครงการ/กิจกรรมต่ างๆ โครงการสัมมนาเชิงวิชาการคณะฯ (ทุกวันพฤหัส) โครงการบูรณาการอิสลามกับวิทยาศาสตร์ โครงการ Islamic Science2nd โครงการสัมมนาเครื อข่ายเกษตรกรรมทางเลือก เข้าร่ วมอบรมการทายาหม่องสมุนไพร เข้าร่ วมโครงการสัมมนาวิชาการ ณ ไบเทค บางนา เข้าร่ วมโครงการเสวนาแนวโน้มการพัฒนาการศึกษาชายแดน ใต้ (อ.ปิ ติ สันหี ม) ความร่ วมมือพัฒนาการเรี ยนการสอนและการจัดการศึกษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในโรงเรี ยนเพื่อการจัดหลักสูตร ท้องถิ่นแบบองค์รวม (อ.ปิ ติ สันหี ม) โครงการแปลงทดลองแบบเศรษฐกิจพอเพียง โครงการวิจยั พัฒนาสื่ อและกระบวนการเรี ยนรู ้วิชาฟิ สิ กส์ใน โรงเรี ยนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จังหวัดปั ตตานี (อ.ปิ ติ สันหี ม) เข้าร่ วมฟังการบรรยายของชมรมคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค รวม

วิชาการ

กีฬาและ ส่ งเสริมสุ ขภาพ

บาเพ็ญประโยชน์ รักษาสิ่ งแวดล้ อม

ส่ งเสริม สั นทนาการ ศิลปวัฒนธรรม

      

-

-

-

-

-

-

-

-

ฝ่ าย รับผิดชอบ ฝ่ ายวิชาการ สาขาวิทย์ ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ สาขาวิทย์ ฝ่ ายวิชาการ สาขาวิทย์ ฝ่ ายวิชาการ

 

-

0

11

68

-

-

-

ฝ่ ายวิชาการ สาขาวิทย์

-

-

ฝ่ ายวิชาการ

1

0

0


ลาดับ ที่ 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

จานวนกิจกรรมการดาเนินงานด้ านต่ างๆ รายชื่อโครงการ/กิจกรรมต่ างๆ ต้อนรับคณะครู และนักเรี ยน โรงเรี ยนร่ มเกล้า โครงการปั นความรู ้สู่ชุมชน โครงการคอมพิวเตอร์เพื่อน้อง 5 โครงการComputer science camp โครงการฮาลาลกับการคุม้ ครองผูบ้ ริ โภค ครั้งที่ 2 โครงการกระดาษเหลือใช้ กูภ้ ยั โลกร้อน โครงการ รักโลก รักชีวติ โครงการสร้ างนักวิจยั มืออาชีพ ครัง้ ที่ 3 จัดโครงการติวเข้ม Summer camp จัดโครงการการพัฒนาอาชีพแบบพอเพียง เข้ าร่วมโครงการอบรมการใช้ โปรแกรม Scorecard Cockpit Enterprise ค่ายเสริ มทักษะวิทยาศาสตร์ ฯ ครัง้ ที่ 6 Islamic Science Camp ครัง้ ที่ 3 Young Muslim Computer Camp รวมโครงการ/กิจกรรมต่ างๆของคณะฯ ทั้งหมด

วิชาการ

กีฬาและ ส่ งเสริมสุ ขภาพ

บาเพ็ญประโยชน์ รักษาสิ่ งแวดล้ อม

-

-

          

ส่ งเสริม สั นทนาการ ศิลปวัฒนธรรม -

-

 

-

-

-

-

-

-

-

  

-

-

-

-

25

1

3

1

4

 -

69

  -

-

ฝ่ าย รับผิดชอบ ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ


ลาดับ ที่

จานวนกิจกรรมการดาเนินงานด้ านต่ างๆ รายชื่อโครงการ/กิจกรรมต่ างๆ

วิชาการ

กีฬาและ ส่ งเสริมสุ ขภาพ

บาเพ็ญประโยชน์ รักษาสิ่ งแวดล้ อม

สั นทนาการ

ส่ งเสริม ศิปวัฒนธรรม

ฝ่ ายวิชาการ

วิทยากร โดยบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ

9

วิ ท ยากรในหัว ข้ อ สัง คมสูญ เสี ย อะไรเมื่ อ มุ ส ลี ม ะฮฺ ข า ด จริ ยธรรม วิทยากรในหัวข้ อ การดาเนินงานวิจัยให้ สาเร็ จ งานทางาน เป็ นทีมในอิสลาม วิทยากรในหัวข้ อ ภาวะผู้นาที่ดี วิทยากรในหัวข้ อ แม่มีความสาคัญอย่างไรในอิสลาม วิทยากรในหัวข้ อ จิตสานึกตามหลักศาสนาต่อการดูแลเด็ก และผู้สงู อายุในชุมชน วิทยากรในโครงการแนะแนวการศึกษาต่อแพทย์ประจาบ้ าน ครัง้ ที่ 1 วิทยากรในหัวข้ อ ปั จจัยที่ทาให้ เกิดวามมัน่ คงในสังคม เสวนาในหัวข้ อ การสร้ างความสมานฉันท์การณ์การจังหวัด ชายแดนภาคใต้ วิทยากรเรื่ อง คุณค่างานวิจยั ด้านวิทยาศาสตร์ อ.ราฟาล หามะ

10

วิทยากรเพื่อสังเคราะห์งานวิจยั ด้านวิทยาศาสตร์

11

วิทยากรโครงการติวเข้มสู่มหาลัย

12

วิทยากรบรรยายพิเศษกวดวิชา โรงเรี ยนหาดใหญ่วทิ ยาคาร อ.สุไลมาน หะยีสะเอะ รวม

1 2 3 4 5 6 7 8

ฝ่ าย รับผิดชอบ

-

-

-

ฝ่ ายวิชาการ

-

-

-

-

ฝ่ ายวิชาการ

 

-

-

-

 

ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ

-

-

-

ฝ่ ายวิชาการ

-

-

-

ฝ่ ายวิชาการ

-

-

-

ฝ่ ายวิชาการ

-

-

-

ฝ่ ายวิชาการ

  

-

-

-

ฝ่ ายวิชาการ

-

-

-

-

-

-

-

-

-

ฝ่ ายวิชาการ

12

0

0

0

7

70

ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายวิชาการ


ลาดับ ที่

จานวนกิจกรรมการดาเนินงานด้ านต่ างๆ รายชื่อโครงการ/กิจกรรมต่ างๆ

วิชาการ

กีฬาและ ส่ งเสริมสุ ขภาพ

บาเพ็ญประโยชน์ รักษาสิ่ งแวดล้ อม

สั นทนาการ

ส่ งเสริม ศิปวัฒนธรรม

ฝ่ ายวิชาการ

วิทยากร โดยบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ 

-

-

-

-

ฝ่ ายพัฒนาฯ

-

-

-

-

ฝ่ ายวิชาการ

-

-

-

-

ฝ่ ายวิชาการ

-

-

-

-

บรรยาย เรื่ อง”การเขียนโครงการและงานเอกสาร”

-

-

-

-

บรรยาย เรื่ อง”การเขียนโครงการและการประเมินผล” วิทยากรโครงการอบรม “ Open Source Open Heart ”

-

-

-

-

-

-

-

-

ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายบริ หารและ ธุรการ ฝ่ ายวิชาการ ฝ่ ายบริ หารฝ่ าย เทคโนโลยีฯ

19

0

0

0

7

13

วิยากรเสวนาในหัวข้ อ สัมมนาเพื่อพัฒนาศักยภาพนักศึกษา

14

วิทยากรโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาฯ โรงเรี ยน มัธยมสุไหงปาดี อ.สุไลมาน หะยีสะเอะ บ ร ร ยาย พิ เ ศ ษ "ค วา ม รู ้ ทั่ ว ไ ป เ กี่ ย ว กั บ ก าร ใ ช้ ก ล้ อ ง จุลทรรศน์" บรรยายพิเศษ "ความรู ้ทวั่ ไปเกี่ยวกับสารเคมี”

15 16 17 18 19

ฝ่ ายรับผิดชอบ

รวมทั้งหมด

71


ลาดับ ที่

จานวนกิจกรรมการดาเนินงานด้ านต่ างๆ รายชื่อโครงการ/กิจกรรมต่ างๆ

กีฬาและ ส่ งเสริมสุ ขภาพ

วิชาการ

บาเพ็ญประโยชน์ รักษาสิ่ งแวดล้ อม

สั นทนาการ

ฝ่ าย ส่ งเสริม รับผิดชอบ ศิลปวัฒนธรรม ฝ่ ายวิชาการ

อาจารย์ พเิ ศษ โดยบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ 1 2 3

อาจารย์ พเิ ศษ ด้านการสอนวิชาฟิ สิ กส์ โรงเรี ยนดรุ ณศาสตร์ โดย อาจารย์ ปิติ สันหีม อาจารย์พิเศษ วิทยาลัยชุมชน ปั ตตานี โดย อาจารย์ อบั ดุลรอมาน สาลีมี อาจารย์พิเศษ วิทยาลัยชุมชน สงขลา โดย อาจารย์ อดินันท์ หวังพิทยา รวมทั้งหมด

รวม จานวนกิจกรรมด้ านบริ การวิชาการสู่ สังคม ทั้งสิ้น

-

-

-

-

ฝ่ ายวิชาการ

-

-

-

-

ฝ่ ายวิชาการ

-

-

-

-

ฝ่ ายวิชาการ

3

0

0

0

0

47

0

3

1

11

72


6.4 งานด้ านการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม 6.4.1 งานด้ านการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา (กิจกรรมนักศึกษา)

ชื่อกิจกรรม/โครงการ 1. โครงการอบรมการเขียนใบโครงการและ งานเอกสาร

ลักษณะ กิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงาน ที่จัด

สถานที่จดั

เสริ มทักษะการ เขียนใบโครงการ

สโมสรนักศึกษา หญิง

คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ

บรรยาย

ฝ่ ายพัฒนาฯ+ สาขาวิชา

2. โครงการให้ ค วามรู ้ แ ละความเข้ า ใจ

เกี่ ย วกั บ ระบบประกั น คุ ณ ภาพส าหรั บ นักศึกษา 3.โครงการ พบปะอาจารย์ที่ปรึ กษา 4.โครงการพิมเสน ครั้งที่ 2

กิจกรรมกลุ่มย่อย

ให้ความรู ้ในการทา ชุมนุมสาขาวิชา พิมเสนอย่างง่าย วิทยาศาสตร์

5.โครงการประดิ ษ ฐ์ อุ ป กรณ์ วิ ท ยาศาสตร์ ศึกษาและประดิษฐ์ ด้วยวัสดุอย่างง่าย 6.โครงการวิทยาศาสตร์ในโลกปั จจุบนั

7.โครงการเส้นทางสู่อาชีพ

ฝ่ ายพัฒนาฯ

จัดทาอบอร์ดปะระ ชาสัมพันธ์ บรรยาย

วันเดือนปี ที่จัด

ใน

3 ก.ค. 2552

ฝ่ ายพัฒนา+สาขา

8 ธ.ค. 2552

หอประชุมวันมู หะมัดนอร์ มะทา คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ

1 ก.ย. 52 27 ก.ค. 52

สโมสร (ชาย+หญิง)

คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ

ชุมนุมวิทย์ชาย

คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ

5 ธ.ค. 52

สโมสรนักศึกษา หญิง

คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ

9 ม.ค. 53

73

31 /12/ 51

ระดับ ความ พึง พอใจ

กลุ่มเป้าหมาย

  

นอก

งบประมาณ

สกอ. สมศ. มอย.

อื่นๆ

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

ดี

-

-

1,500

-

-

ดี

-

-

150

1,220

-

-

-

2.9

1.5

1,500

-

-

ดี

2.2

3.3

500

440

-

ดีมาก

3.5

6.8

1,200

720

ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

ลักษณะ กิจกรรม/โครงการ

หน่ วยงาน ที่จัด

8.โครงการ Islamic Science Camp

เยาวชนภาคฤดูร้อน ชุมนุมวิทย์ชาย+ ด้านวิทายาศาสตร์ หญิง

9.โครงการ Healthy Science 3 (Sport Close-up)

บรรยาย และ ออก กาลังกาย

10.โครงการสานึกรักษ์ โลก

ปลูกต้นไม้ รักษา คาวามสะอาด

11.โครงการ ปั นความรู ้สู่ชุมชน 12.โครงการ คอมพิวเตอร์เพื่อน้อง ครั้งที่ 5 13โครงการ .มหาวิทยาลัยสัมพันธ์ 14.โครงการ เยีย่ มเยียนเด็กมุอลั ลัฟ

สถานที่จดั โรงเรี ยนบารุ ง อิสลาม จ.ปั ตตานี

สโมสรนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ หญิง คณะวิทยาศาสตร์ ชุมนุมวิทย์หญิง และเทคโนโลยีฯ

วันเดือนปี ที่จัด

-

ดี

ดัชนีชี้วดั งบประมาณ ความสาเร็จ สม สกอ. มอย. อื่นๆ ศ. 2.3,3.2, 4.1, 10,00 128,5 3.7,5.3, 4.2, 0 30 6.2 4.4, 6.8 2,000 4,500

-

ดีมาก

3.2

-

3.2,3.7

กลุ่มเป้าหมาย ใน

นอก 

22 -31 มี.ค 53

12-13 ก.พ. 53 20 พ.ย. 52

ระดับ ความ พึง พอใจ ดี

กิจกรรมอบรม

สโมสรหญิง

ร.ร.บ้ านอินทนิล

ฝึ กทักษะขั้น พื้นฐานการใช้คอม

ชุมนุมนักศึกษา ไอที สโมสรนักศึกษา ชาย สโมสรนักศึกษา ชาย

คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ

24-26 ธ.ค. 52 -

ดีมาก ที่สุด ดี

ม.เชียงใหม่

16-20 มี.ค.53

-

ดีมาก

มัสยิดบ้านห้วยมะ 21-23 มี.ค.53 หิ นฝน เชียงราย

-

ดีมาก ที่สุด

ศึกษาดูงาน กิจกรรม

74

11 ธ.ค. 52

500

2,100

6.8

-

1,060

7.4

4.3

2,011

2,760

3.2,6.1, 6.2 3.2,3.7, 6.1,7.2, 8.2

4.1

2,000

4.1

10,00 0

11,00 0 4,260


ชื่อกิจกรรม/โครงการ

ลักษณะ กิจกรรม/โครงการ

15. โครงการ New seeds to SCINFO

รับน้องคณะ

16.โครงการปั จฉิ มนิเทศ 2552

อาลาบัณฑิตคณะ

17. โครงการBye Senior 2

กิจกรรมอาลา บัณฑิตคณะ

18. โครงการ A walk to remember 5 19.โครงการวันละหนึ่งบาทเพื่อสวัสดิการ นักศึกษา 20.โครงการ กีฬาสี FST ต้านภัยยาเสพติด ครั้งที่ 1 21.โครงการเปิ ดโลกกว้างเพื่อการเรี ยนรู ้ 3 22.โครงการ เกษตรปลอดสารพิษ

หน่ วยงาน ที่จัด

สถานที่จดั

สโมสรนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ หญิง คณะวิทยาศาสตร์ ฝ่ ายพัฒนาฯ และเทคโนโลยีฯ คณะวิทยาศาสตร์ ชุมนุมไอทีหญิง และเทคโนโลยีฯ

-

ระดับ ความ พึง พอใจ ดีมาก

-

ดี

3.1,3. 2

-

ปาน กลาง

3.2

-

ปาน กลาง

ภาคการศึกษา  ที่2 29-30 ม.ค.53 

-

ดี

วันเดือนปี ที่จัด 25-26 ม.ย. 52 26 ก.ย. 52 25 ก.พ. 53

กลุ่มเป้าหมาย ใน

นอก

ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ

งบประมาณ

สกอ. สมศ. มอย.

อื่นๆ

3,000

8,300

3.1

8,000

-

4.1

-

3,748

2,000

6,230

-

-

3.1

4.1 ,6.8 6.8

5,00

17,230

สรุ ปโครงการตลอด สโมสรนักศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ หญิง ปี การศึกษา 52 คณะวิทยาศาสตร์ ฝึ กการให้เพียงวัน ฝ่ ายพัฒนาฯ และเทคโนโลยีฯ ละ 1 บาท สโมสรนักศึกษา สนามกีฬา กีฬาสี -ภายใน มหาวิทยาลัย ชาย ระหว่างบุคลากร อิสลามยะลา และนักศึกษา สโมสรนักศึกษา กรุ งเทพฯ ศึกษาดูงาน หญิง

26 ก.พ. 53

25 เม.ย.53-1 พ.ค.53

-

-

3.2

-

2,879

-

ทาเกษตรในชุมชน พอเพียง

17 ม.ค.-31 มี.ค.53

-

-

3.2

-

-

30,000

ทีมรักษ์พอเพียง

ชุมชนจาเราะ สโตร์

75

3.2


6.4.2 งานทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม ลักษณะ กิจกรรม/ โครงการ

หน่ วยงาน ที่จัด

สถานที่จดั

วิชาการและ อบรมจริ ยธรรม

สโมสรนักศึกษา ชาย

มัสยิดอัลฮารอมัยน์

27 ก.ค. 52

2. อิฟฏอร์สมั พันธ์

ละศิลอด ร่ วมกัน

สโมสรนักศึกษา ชาย

คณะวิทยาศาสตร์ ฯ มัสยิดอัลฮารอมัยน์

31 ส.ค. 52

3. โครงการ อิฟฏอร์สมั พันธ์ชาว SCINFO

ละศิลอด ร่ วมกัน

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

1.โครงการ ขัดเกลาจิตใจ

4. โครงการ อิอฺติก๊าฟ 1430 ฮศ.

อิอฺติก๊าฟ

นอก

-

ดี

-

ดี

3.2 6.1

ใน

งบประมาณ

สกอ. สมศ. มอย.

อื่นๆ

2,051

1,350

4.1

5,000

4,000

5,000

469,300

สโมสรนักศึกษา หญิง ฝ่ ายพัฒนาฯ

โรงอาหาร ม.อ.ย.

7 ก.ย. 52

-

ดีมาก

6.1

มัสยิดอัลฮารอมัยน์

10-20 ก.ย. 52 

-

ดี

3.2

4.1,4. 4,6.8 6.8

ฝ่ ายพัฒนาฯ+ศูนย์ ฟัตวาคณะอิสลามา ศึกษา สโมสรนักศึกษา หญิง

คณะอิสลามศึกษา

28 ก.พ.53

-

ดีมาก

3.2

6.8

20,00 0 7,400

โรงเรี ยนบ้านจะแนะ

29 ม.ค.531เม.ย.53

-

ดี

3.7 5.3

3.1

2,000

49,000

หาดสะกอม อ.เทพา

11-15 เม.ย.53 -

ดี

3.2

-

-

30,000

5.อาภรณ์อนั ล้ าค่า: มุสลีมะกับการปฏิวตั ิ ตนเองด้วยฮีญาบ

บรรยาย ,Workshop

6.ค่ายอบรมจริ ยธรรมเด็กและเยาวชนภาค ฤดูร้อน

กิจกรรม วิชาการและ อบรมจริ ยธรรม ค่ายยุวชน ฝ่ ายพัฒนาฯ นักเรี ยนใน อาเภอรามัน

7.ค่ายยุวชน จริ ยธรรมนาสันติสุข

ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ

ระดับ ความพึง พอใจ

กลุ่มเป้าหมาย

วันเดือนปี ที่จัด

76

-


77


6.4.3 สรุ ปกิจกรรมการดาเนินงานด้ านต่ างๆ จานวนกิจกรรมการดาเนินงานด้ านต่ างๆ ลาดับ ที่

รายชื่อโครงการ/กิจกรรมต่ างๆ

วิชาการ √

16

โครงการอบรมการเขียนใบโครงการและงานเอกสาร โครงการให้ความรู ้ แ ละความเข้า ใจเกี่ ยวกับ ระบบประกัน คุณภาพสาหรับนักศึกษา โครงการพบปะอาจารย์ที่ปรึ กษา โครงการการพิมเสน ครั้งที่ 2 โครงการประดิษฐ์อุปกรณ์วทิ ยาศาสตร์ดว้ ยวัสดุอย่างง่าย โครงการวิทยาศาสตร์ในโลกปั จจุบนั โครงการ เส้นทางสู่อาชีพ โครงการค่ายอิสลามิกไซน์ โครงการ Healthy Science 3 (Sport Close-up) โครงการสานึกรักษ์ โลก โครงการปั นความรู ้สู่ชุมชน โครงการคอมพิวเตอร์เพื่อน้อง ครั้งที่ 5 โครงการมหาวิทยาลัยสัมพันธ์ โครงการ เยีย่ มเยียนเด็กมุอลั ลัฟ โครงการNew seeds to SCINFO โครงการปัจฉิ มนิเทศ 2552

17

โครงการBye Senior 2

18

โครงการA walk to remember 5

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

กีฬาและ ส่ งเสริมสุ ขภาพ

บาเพ็ญประโยชน์ รักษาสิ่ งแวดล้ อม

สั นทนาการ

ส่ งเสริม ศิปวัฒน ธรรม

ฝ่ ายรับผิดชอบ สโมสรหญิง ฝ่ ายพัฒนาฯ

ฝ่ ายพัฒนาฯ ชุมนุมวิทย์หญิง ชุมนุมวิทย์ชาย ชุมนุมวิทย์ชาย สโมสรหญิง ชุมนุมวิทย์หญิง สโมสรหญิง ชุมนุมวิทย์หญิง สโมสรหญิง ชุมนุม IT หญิง สโมสรชาย สโมสรชาย สโมสรหญิง ฝ่ ายพัฒนาฯ ชุมนุม IT หญิง

สโมสรหญิง

√ √ √ √ √ √ √ √ √ √

√ √ √

√ √

√ √

78


จานวนกิจกรรมการดาเนินงานด้ านต่ างๆ ลาดับ ที่ 19 20 21 22

รายชื่อโครงการ/กิจกรรมต่ างๆ โครงการวันละหนึ่งบาทเพื่อสวัสดิการนักศึกษา โครงการกีฬาสี FST ต้านภัยยาเสพติด ครั้งที่ 1 โครงการเปิ ดโลกกว้างเพื่อการเรี ยนรู ้ 3 โครงการเกษตรปลอดสารพิษ

รวม งานด้ านการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาทั้งหมด 23 24 25 26 27 28 29

โครงการอาภรณ์อนั ล้ าค่า: มุสลีมะกับการปฏิวตั ิตนเองด้วย ฮีญาบ ค่ายอบรมจริ ยธรรมเด็กและเยาวชนภาคฤดูร้อน โครงการค่ายยุวชน จริ ยธรรมนาสันติสุข โครงการขัดเกลาจิตใจ

วิชาการ

กีฬาและ ส่ งเสริมสุ ขภาพ

บาเพ็ญประโยชน์ รักษาสิ่ งแวดล้ อม

สั นทนาการ

√ √ √ √ 13

4

6

5

√ √

ฝ่ ายพัฒนาฯ สโมสรชาย สโมสรหญิง ทีมรักษ์พอเพียง ฝ่ ายพัฒนาฯ

สโมสรหญิง ฝ่ ายพัฒนาฯ สโมสรชาย

√ √ √

สโมสรชาย สโมสรหญิง ฝ่ ายพัฒนาฯ

√ √

2

0

0

0

7

15

4

6

5

10

79

ฝ่ ายรับผิดชอบ

3 √

โครงการอิฟฏอร์สมั พันธ์ โครงการอิฟฏอร์สมั พันธ์ชาว SCINFO โครงการอิอฺติก๊าฟ 1430 ฮศ.

รวมงานทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม ทั้งหมด รวมงานด้ านพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและทานุบารุ งฯ ทั้งสิ้น

ส่ งเสริม ศิปวัฒน ธรรม


6.5 งานด้ านการบริหารจัดการของคณะฯ 6.5.1 ส่ งเสริมการพัฒนาบุคลากรให้ มีความรู้ และทักษะในการปฏิบัติงานทีม่ ีประสิ ทธิภาพ

ชื่อกิจกรรม/โครงการ 1.เข้าร่ วมอบรมระบบการใช้ระบบฐานข้อมูลด้านประกัน คุณภาพ 2.เข้าร่ วมอบรมปฏิบตั ิการฮาลาล 3.เข้า ร่ ว มอบรมการใช้โ ปรแกรม Scorecard Cockpit Enterprise Silver โดยอาจารย์อบั ดุลรอมาน สาลีมี โดย นายอีบาดุรรอฮ์มาน การี 4เข้าอบรมหัวข้อ การจัดการน้ าเสี ยชุมชน โดย อาจารย์วาริ ษา วาแม 5.เข้าร่ วมอบรมการทายาหม่องสมุนไพรเพื่อบรรเทาอาการ ที่เกิดจากโรคชิกนุ คุยา โดย อาจารย์นจั ญ์มีย ์ สะอะ 6.เข้าร่ วมสัมมนาการอ่านค่าและแปรผลการวิเคราะห์ดา้ น เค มี จุ ลชี ววิ ท ยา และ การ สอ บ เที ยบเ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ห้องปฏิบตั ิการ โดย นางสาวอามานี สาและ

หน่ วยงาน ที่จัด

สถานที่จดั

สานักประกันคุณภาพ

ศึกษาศาสตร์

ศูนย์วิทยาศาสตร์ ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โรงแรมเจบี. จ.สงขลา

กลุ่ม Scorecard Cockpit

วันเดือน กลุ่มเป้าหมาย ระดับ ปี ความพึง ที่จัด พอใจ ใน นอก

ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ

งบประมาณ

สกอ.

สมศ.

มอย.

อื่นๆ

7.2

9.1

-

-

-

-

-

-

26/05/53

-

-

โรงแรมบีพีแกรนด์ จ.สงขลา

01/06/52

-

-

-

-

-

-

ศูนย์วจิ ยั และฝึ กอบรมด้าน สิ่ งแวดล้อม กรมส่งเสริ ม คุณภาพสิ่ งแวดล้อม

ศูนย์วจิ ยั และฝึ กอบรมด้าน สิ่ งแวดล้อม

20/3/53

-

-

-

-

-

-

ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อ การศึกษาจังหวัดยะลา

ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพื่อ การศึกษาจังหวัดยะลา

18/06/52

-

-

-

-

-

-

คณะอุตสาหกรรมรม ศาสตร์

มหาวิทยาลัยสงขลานคริ น ทร์ จ.สงขลา

29/06/52

-

-

-

-

-

-

80

14/7/52


ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ

ใน

นอก

ระดับ ความพึง พอใจ

20/5/53

-

-

-

-

600

-

คณะวิศวกรรมศาสตร์และ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร

26/10/52

-

-

-

-

-

-

คณะอุตสาหกรรมรม ศาสตร์

มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ จ.สงขลา

29/06/52

-

-

-

-

-

-

สถาบันอาหาร

คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

29/6/52

-

-

-

-

-

-

11.เข้า ร่ วมโครงการอบรมการเขี ย นหนั ง สื อ ราชการและงานสารบรรณ

งานสารบรรณและธุรการ กลุ่มงานบริ หารและแผน คณะวิทย์ฯ

ห้องสัมมนา ชั้น4 คณะวิทย์ฯ

24/11/52

-

-

-

-

-

-

12.เข้าร่ วมอบรมเชิ งปฏิ บตั ิการ การผลิต E-Book และงานด้านกราฟิ ก เพื่อการจัดการเรี ยนการสอน

สาขาวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยอิสลาม

ณ ห้ องปฏิบตั ิการ คอมพิวเตอร์ 2 คณะศึกษาศาสตร์

10/8/5211/8/52

-

-

-

-

500

-

ชื่อกิจกรรม/โครงการ

7.เข้ าร่วมโครงการสร้ างนักวิจยั มืออาชีพ ครัง้ ที่ 3 8.เข้าร่ วมอบรมเชิงปฏิบตั ิการเรื่ อง การใช้เทคนิค วิเคราะห์ Time Domain-Magnetic Resonance (TD-NMR) สาหรับงานวิจยั ด้านอาหาร 9.เข้า ร่ วมสั ม มนาการอ่ า นค่ า และแปรผลการ วิเคราะห์ ดา้ นเคมี จุลชี ววิทยา และการสอบเที ยบ เครื่ องมือในห้องปฏิบตั ิการ 10.เข้าร่ วมสัมมนา NFI Road Show

หน่ วยงาน ที่จัด

สถานที่จดั

ฝ่ ายวิจยั และเขียนตารา คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

คณะวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยศิลปากร

81

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย

งบประมาณ

สกอ.

สมศ.

มอย.

อื่นๆ


ชื่อกิจกรรม/โครงการ 13.เข้า ร่ ว มอบรมหลัก สู ต ร การออกแบบและ จัด ท าเว็บ ไซต์ส าหรั บ หน่ ว ยงานด้ว ย Joomla CMS โดย อาจารย์นจั ญ์มีย ์ สะอะ 14.วิทยากรโครงการอบรม Open Source Open Heart โดย นายมูฮมั หมัดรอนี อาแวกาจิ 15.เข้ า ร่ วมการอบรม หลั ก สู ตรการสร้ า ง แบบสอบถามออนไลน์ โดย นายมูฮมั หมัดรอนี อาแวกาจิ 1 6 .เ ข้ า ร่ ว ม ก า ร อ บ ร ม เ รี ย น รู ้ เ ค รื อ ข่ า ย คอมพิวเตอร์และการตั้งค่าอุปกรณ์ โดย นายมูฮมั หมัดรอนี อาแวกาจิ

หน่ วยงาน ที่จัด

สถานที่จดั

สานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยอิสลาม ยะลา

ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

ห้องปฏิบตั ิการ คอมพิวเตอร์

วันเดือนปี ที่จัด

กลุ่มเป้าหมาย ใน

นอก

20/4/5321/4/53

-

ห้องสัมมนา ชั้น4 คณะวิทย์ฯ

15/01/53

ศูนย์คอมพิวเตอร์ ม.ราชภัฏยะลา

ศูนย์คอมพิวเตอร์ ม.ราชภัฏ ยะลา

27/0153

ศูนย์คอมพิวเตอร์ ม.ราชภัฏยะลา

สานักวิทยบริ การและ เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.ราช ภัฏยะลา

29/02/532/03/53

82

ระดับความ พึงพอใจ

ดัชนีชี้วดั ความสาเร็จ

งบประมาณ

สกอ.

สมศ.

มอย.

อื่นๆ

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-


6.5.2 ผลงานดีเด่ นของอาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา ลาดับ ที่

ชื่อ-สกุล

1

อาจารย์อนุวตั ร วอลี

2 3

นายนัซมี มาหะมะ 1.นายเอกชัย บุญเทียม 2.นายซุลกีฟลี มาลอ 3.นายมูฮาหมาด ใบหมาดปั นจอ 4.นายชารี ฟ เจ๊ะแม 5.นายอมฤทธิ์ ศรี สมุทร 6.นายอับดุลการี ม อับดุลกะเดช 7.นายอัรฟาน หะสี แม 8.นายมูฮมัดไซดี ดาโอ๊ะ 9.นายอนันต์ กะสิ รักษ์

รางวัลดีเด่ น

วัน-เดือนปี

หน่ วยงาน

ได้ รับรางวัลรองชนะเลิศ การนาเสนอผลงานวิจยั ภาคโปสเตอร์ เรื่ องการเตรี ยมผ้าใบ 26-28/5/52 สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)ร่ วมกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น กันสาดจากน้ ายางธรรมชาติ(Preparation of Awing from Natural rubber Latex) ในโครงการจัดประชุมวิชาการการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ เครื อข่ายวิจยั สถาบันอุดมศึกษาทัว่ ประเทศ หัวข้อ การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากด้วยแนวคิด เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ ได้รับเกียรติบตั ร เด็กเยาวชนดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2553 9/1/53 กระทรวงศึกษาธิการ 21/3/53 บริ ษทั เครื่ องดื่มกระทิงแดง จากัด ได้ รับรางวัลชนะเลิศ “โครงการอแนวคิดแบบแผนเพือ่ สังคม”(Red Bull U spirit)

83


84

6.5.3 ส่ งเสริมการพัฒนาทรัพยากรทางกายภาพและบรรยากาศสิ่ งแวดล้อมของคณะฯ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯได้พฒั นาปรับปรุ งทรัพยากรทางกายภาพและสิ่ งแวดล้อมของ องค์ก รอย่า งต่ อเนื่ อ งเพื่ อ ให้ มี ค วามเหมาะสมเพี ย งพอและมี ม าตรฐานคุ ณ ภาพ อาทิ มี ก ารปรั บ ปรุ ง อาคาร ห้องเรี ยน ห้องปฏิ บตั ิงาน ห้องกิ จกรรม/สโมสรนักศึกษา จัดสวนย่อมทัว่ ทั้งคณะ ปรับปรุ งทางเดิน จัดสถานที่ สาหรับอ่านหนังสื อ เพื่อให้บรรยากาศที่เอื้อต่อการศึกษา  ด้ านการพัฒนาห้ องต่ างๆ ปรับปรุ งห้ องเรี ยนให้ มีมาตรฐาน

ภาพบรรยากาศ ห้ องเรี ยนและห้ องบรรยายต่ างๆ ภายในบริเวณอาคาร ชั้น 3 คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโนโลยีฯ โดยมีห้องบรรยาย รวมทัง้ สิ้น จานวน 2 ห้ อง ดังนี้ FST5-301 และFST5-302

ปรับปรุ งห้ องปฏิบัติการ

ภาพบรรยากาศ ห้ องปฏิบตั ิการเคมี FS T-5102 และ FS T-5103 ภายในบริเวณอาคาร ชั้น 1 คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโนโลยีฯ


85

ภาพบรรยากาศ ห้ องปฏิบัติการจุลชีววิทยา( FS T-5204) ห้ องปฏิบัติการชีววิทยา( FS T-5203) ห้ องเก็บเครื่องมืออุปกรณ์ ( FS T-5206, FS T-5207)และห้ องเพาะเลีย้ งเนื้อเยือ้ (FS T-5208) ภายในอาคารชั้น 2 คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโนโลยีฯ

ภาพบรรยากาศ ห้ องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ Multimedia(FST5-303)ห้ องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ Programmer (FST5-304) ห้ อง Graphics Design (FST5-305) และห้ อง Advanced Networking (FST5-306) จานวน 4 ห้ องภายในบริเวณชั้น 3 อาคารคณะ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ

ปรับปรุ งห้ องปฏิบัติงาน ปฏิบัติงาน

ภาพบรรยากาศ ห้ องปฏิบัติงานภายในบริเวณอาคารชั้น 1,2 คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ ได้ แก่ ห้ องคณบดี( FST5-108) ห้ องพักอาจารย์ (FST5-201, FST5-202) ห้ องสานักงาน(FST5-101) ห้ องประชุม(FST5-107)และ ห้ องสัมมนา (FST5-401)


86

ด้ านการพัฒนาปรับปรุ งภูมิทศั น์ พืน้ ที่ และสถานทีต่ ่ างๆของคณะฯ

6.5.4 ปัจจัยสนับสนุนการเรี ยนการสอน บริการด้ านห้ องสมุด การบริ การด้านห้องสมุดเป็ นนโยบายหนึ่ งของคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2550 ที่มีการเริ่ มเปิ ดอาคารคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ เป็ นต้นมาจนถึง ณ ปั จจุบนั ซึ่ งกาลังมีการพัฒนาสู่ ในอนาคตต่อไป โดยมีฝ่ายวิชาการเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการจัดการและบริ หารงานต่างๆที่เกี่ ยวข้องกับงานด้านนี้ โดยเฉพาะ บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ ได้มีการพัฒนาระบบบริ การเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างต่อเนื่ อง โดยมีนโยบายและการวางแผนเพื่อพัฒนาระบบเครื อข่ายภายในองค์กร ให้สามารถใช้ระบบสารสนเทศได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ รวดเร็ ว ถูกต้อง และสนับสนุ นให้มีการศึกษา อบรมแก่ นักศึ กษาและบุ คลากร ให้มีความเข้าใจ เทคโนโลยีสารสนเทศในระดับที่สามารถนาไปปฏิบตั ิได้จริ งซึ่ งคณะได้จดั บริ การด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้ นักศึกษาและบุคลากรในองค์กร ดังนี้ 1. สนับสนุนเว็ปไซต์ของคณะฯเพื่อให้บริ การเผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสารและกิจกรรมต่างๆ ขององค์กร แก่ผใู ้ ช้ขอ้ มูลทุกระดับ ทั้งบุคลากรของสถาบัน นักศึกษา และประชาชนทัว่ ไป 2. มีระบบ E-Office ได้แก่ E-form E-Document E-mail Searching E-Assessment 3. มีระบบ E-Learning บทเรี ยนออนไลน์ ซึ่ งเป็ นการใช้เทคโนโลยี โดยเฉพาะอินเทอร์ เน็ตเข้ามา ส่ งเสริ มการเรี ยน การสอน ให้เกิดประสิ ทธิ ผล 4. สนับสนุนระบบ Internal Communication System (ICS) อาทิเช่น Web Board เป็ นต้น ซึ่ งเป็ น ช่องทางการติดต่อสื่ อสารภายในองค์กรแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างบุคลากรของหน่วยงาน ต่างๆภายในองค์กรด้วยกัน และสามารถรับ-ส่ งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ได้ 5. การให้บริ การในห้องปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์


87

บริการสวัสดิการทางสุ ขภาพพลานามัย สถานทีอ่ อกกาลังกาย


88

ลาดับ ที่

จานวนกิจกรรมการดาเนินงานด้ านต่ างๆ รายชื่อโครงการ/กิจกรรมต่ างๆ

วิชาการ

กีฬาและ ส่ งเสริมสุ ขภาพ

บาเพ็ญประโยชน์ รักษาสิ่ งแวดล้ อม

ฝ่ าย ส่ งเสริม รับผิดชอบ สั นทนาการ ศิปวัฒนธรรม

ผลงานดีเด่ นของอาจารย์ บุคลากรและนักศึกษา 14

15 16

ได้ รับรางวัลรองชนะเลิศ การนาเสนอผลงานวิจยั ภาคโปสเตอร์ เรื่องการ เตรียมผ้าใบกันสาดจากนา้ ยางธรรมชาติ(Preparation of Awing from Natural rubber Latex) ในโครงการจัดประชุมวิชาการการนาเสนอ ผลงานวิจยั ระดับชาติ เครือข่ ายวิจยั สถาบันอุดมศึกษาทัว่ ประเทศ หัวข้ อ การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากด้ วยแนวคิดเศรษฐกิจเชิงสร้ างสรรค์ ได้ รับเกียรติบัตร เด็กเยาวชนดีเด่นแห่งชาติ ประจาปี 2553 ได้ รับรางวัลชนะเลิศ “โครงการอแนวคิดแบบแผนเพือ่ สังคม”(Red Bull U spirit) รวมทั้งหมด

งานด้ านการบริหารจัดการของคณะฯ

ฝ่ ายวิชาการ

-

-

-

-

ฝ่ ายวิชาการ

-

-

-

-

ฝ่ ายวิชาการ

-

-

-

-

ฝ่ ายวิชาการ

3 16

-

4

-

1 3

88


89

7. การประกันคุณภาพการศึกษา ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถาบัน ประมวลขึ้นบนพื้นฐานแห่ งคัมภีร์ อัล-กุรอาน อันเป็ นธรรมนูญ แห่งชีวติ มนุษย์ บริ บูรณ์ดว้ ยสรรพวิทยาการ รวมทั้งระบบการควบคุมรอบด้านที่ทรงประสิ ทธิ ภาพยิง่ กล่าวคือมีบทบัญญัติ ควบคุมทั้งพฤติกรรมภายนอกและภายในจิตใจ ส่ งเสริ มให้มีการควบคุมตนเอง ควบคุมด้วยผูอ้ ื่นหรื อควบคุมซึ่ งกันและกัน และการควบคุมโดยอัลลอฮฺ ซุบฮานะฮูวะตะอาลาผูท้ รงรอบรู ้ ทรงแลเห็ น ทรงได้ยินและทรงเดชานุ ภาพยิ่ง ดังปรากฏใน โองการต่างๆ อาทิ โองการที่ 52 บทอัลอะหฺ ซาบ ความว่า “และอัลลอฮฺทรงสอดส่ องมองดูเหนือทุกสิ่ ง” โองการที่ 105 บทอัตเตาบะฮฺ ความว่า “และจงกล่าวเถิด (มุฮมั หมัด) ว่าพวกท่านจงดาเนิ นงานเถิดแล้วอัลลอฮฺ จะทรงเห็นการงานของพวกท่าน และรสู ลของพระองค์และบรรดามุอฺมินก็จะเห็นด้วย...” โองการที่ 2 และ3 บทอัลอัศ รฺ ความว่า “แท้จริ งมนุ ษย์อยู่ในความขาดทุ น นอกจากบรรดาผูม้ ี ศ รั ทธาและ ประกอบคุณความดีต่างๆ และตักเตือนกันและกันในสิ่ งที่เป็ นสัจธรรม และตักเตือนกันให้มีความอดทน” นอกจากนั้นอัลกุรอานได้บอกแจ้งภาระหน้าที่ตลอดชี วิตมนุ ษย์เพื่อสร้ างผลงานที่ดีมีคุณภาพอย่างไม่ย่อท้อ อัลลอฮฺตรัสไว้ในโองการที่ 2 บทอัลมุลกฺ ความว่า “(อัลลอฮฺเจ้า)ผูท้ รงให้มีความตายและให้มีความเป็ น เพื่อจะทดสอบ พวกเจ้าว่า ผูใ้ ดบ้างในหมู่พวกเจ้าที่มีผลงานดียงิ่ ” การศรัทธา เป็ นสิ่ งสาคัญยิ่งซึ่ งถูกบัญญัติไว้ในอัลกุรอานหลายโองการในบริ บทที่แตกต่างกัน และทุกครั้ง ที่อลั กุรอานบัญญัติเรื่ องการศรัทธาก็จะระบุการกระทาคุณความดีควบคู่ไว้ดว้ ยเสมอ อันเป็ นนัยสาคัญที่เข้าใจได้วา่ สิ่ งทั้ง สองต้องคู่กนั ไม่อาจแยกจากกันได้ กล่าวคือการมีศรัทธาเพียงอย่างเดี ยวไม่เพียงพอหากปราศจากการทาความดี ในทาง กลับกันการทาความดีเพียงอย่างเดียวก็ไม่เพียงพอหากไร้การศรัทธา และคุณความดีในที่นี่มีความหมายกว้าง ไม่เฉพาะแต่ การปฏิบตั ิศาสนกิจเท่านั้น แต่ยงั ครอบคลุมถึงการดาเนินงานอื่นๆ ทั้งหลายที่เป็ นประโยชน์อีกด้วย การยึดคัมภีร์ อัลกุรอานเป็ นพื้นฐานในการกาหนดระบบการควบคุ มการดาเนิ นงานและการประกันคุ ณภาพของมหาวิทยาลัย อิสลามยะลา จึงมีจุดมุ่งหมายเพื่อนาหลักการศรัทธาต่ออัลลอฮฺ และหลักการทางานในอิสลามดังกล่าวมาประยุกต์ใช้อย่าง เป็ นระบบ และบูรณาการแนวคิดของการบริ หารคุณภาพทัว่ ทั้งองค์กร Total Quality Management - TQM และวิธีการเชิง ระบบ( Systematic Approach ) เช่น ระบบ CIPP ซึ่ งเป็ นระบบการประเมินสภาพแวดล้อม ปั จจัยนาเข้า กระบวนการ และ ผลผลิต ( Context, Input, Process and Product - CIPP) ระบบ IPO ซึ่งเป็ นระบบการประเมินปัจจัยนาเข้า กระบวนการ และ ผลผลิต (Input, Process and Output - IPO) และระบบ IPOO ซึ่ งเป็ นระบบการประเมินปั จจัยนาเข้า กระบวนการ ผลผลิต และผลลัพธ์(Input, Process ,Output and Outcome - IPOO) เป็ นต้น เพื่อใช้เป็ นเครื่ องมือในการควบคุม ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนิ นงานตามภารกิ จของสถาบัน คณะ สาขาวิชา และหน่วยงานต่างๆ ของมหาวิทยาลัย โดยให้มีชื่อ เรี ยกว่า “YIU QA Standard ”


90

ลักษณะสาคัญโดยรวมของระบบ “YIU QA Standard ” 1. เป็ นระบบที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อนาหลักการศรัทธาต่ออัลลอฮฺ (‫ ; اإليمان باهلل‬Believe in Allah ) และหลักการ ทางานในอิสลาม ( ‫ ; اإلسالم في العمل‬Performance in Islam ) มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินงาน อย่างเป็ นระบบและ บูรณาการ 2. เป็ นระบบที่มีการควบคุม ( ‫ ; المراقبة‬Control ) การติดตาม ( ‫ ; المتابعة‬Follow up) การตรวจสอบ (‫ ; المحاسبة‬Checking ) การประเมินผล ( ‫; التقييم‬Assessment ) และการให้ขอ้ มูลป้ อนกลับ ( ‫ ; المراجعة‬Feed back) เพื่อปรับปรุ งแก้ไข ข้อบกพร่ องในการดาเนิ นงานและส่ งเสริ มผลงานที่มีคุณภาพให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น ( ‫;اإلصالح‬ Improvement) 3. เป็ นระบบการดาเนินงานของสถาบัน ที่ประกอบด้วย (1) สภาพแวดล้อม (‫; البيئة‬Context ) (2) ปั จจัยนาเข้า (‫ ;المواد‬Input ) (3) กระบวนการ (‫ ;العملية‬Process) (4) ผลผลิต (‫ ;النتيجة‬Output ) (5) ผลลัพธ์ (‫; الحصيلة‬ Outcome) 4. เป็ นระบบที่มีการควบคุมตนเอง (Self - Control) ด้วยการควบคุมคุณภาพ (Quality Control) การตรวจสอบ คุณภาพ (Quality Audit) และการประเมินคุณภาพ (Quality Assessment) โดยคณะบุคคลภายในสถาบันในระดับคณะหรื อ สาขาวิชา และพร้อมที่จะได้รับการตรวจสอบคุณภาพ การประเมินคุณภาพ และการรับรองคุณภาพโดยคณะบุคคลจาก ภายนอกสถาบัน 5. เป็ นระบบที่สร้างวัฒนธรรมในการทางานและปลูกจิตสานึ กที่มุ่งถึงคุ ณภาพ อาทิ ความยาเกรงต่ออัลลอฮฺ (‫ ; التقوى‬Piety) ความบริ สุทธิ์ ใจ (‫ ; اإلخالص‬Faithfulness) ความเสี ยสละ (‫ ; التضحية‬Sacrifice) ความมุมานะ (‫ ; الجهود‬Attempt) ความรับผิดชอบ ( ‫ ; األمانة‬Responsibility) ความอดทน (‫ ; الصبر‬Patience) และความมีระเบียบ วินยั (‫ ; االنتظام‬Discipline) 6. เป็ นระบบที่มีการดาเนินงานเป็ นทีม (‫ ;الجماعة‬Team) บนพื้นฐานของการประชุ มปรึ กษา (‫الشورى‬ ;Consultation) ความร่ วมมือ (‫ ; التعاون‬Cooperation) การมีภราดรภาพ (‫ ; األخوة‬Brotherhood) และการมอบหมาย ต่ออัลลอฮฺ (‫ ; التوكل‬God Willing ) 7. เป็ นระบบที่มีการบริ หารจัดการอย่างเป็ นระบบ (‫ ;النظام‬System) มีแผนการดาเนินงาน (‫ ; الخطة‬Plan ) และมีการกาหนดเป้ าหมาย ( ‫ ; االهداف تحديد‬Goals) ที่จะปรับปรุ งคุณภาพของระบบอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีคุณภาพดีข้ ึน 8. เป็ นระบบการประกันคุณภาพที่มีการดาเนิ นการอย่างต่อเนื่ อง ( ‫ ;االستقامة‬Continuation ) และครบวงจร ( ‫ ; الشمول‬Complete ) ทุกๆ 4-6 ปี


91

แผนภาพ : แสดงระบบ YIU QA Standard การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา CONTROL&STANDARD การควบคุมและมาตรฐาน

CONTEXT 1. ศรัทธาต่ออัลลอฮ 2. หลักการทางานในอิสลาม  ความยาเกรง  ความบริสุทธิ์ใจ  ความมีระเบียบวินยั  การดาเนินงานเป็ นทีม  การประชุมปรึกษา  ความร่วมมือ  การมีภราดรภาพ  การมอบหมายต่ออัลลอฮ  ความเสียสละ  ความมุมานะ  ความรับผิดชอบ  ความอดทน 3. สภาพแวดล ้อมในการปฏิบตั ิงาน

INPUT 1. ปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ ภารกิจ นโยบาย 2. เป้ าหมาย วัตถุประสงค์ 3. แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบตั ิงาน แผนงาน 4. บุคลากร 5. งบประมาณ 6. วัสดุ อุปกรณ์ 7. ระบบการบริหารจัดการ

PROCESS กระบวนการปฏิบตั ิงานเชิงคุณภาพ  การควบคุม  การดูแล  การติดตาม  การตรวจ  การกากับ  การประเมิน

FEEDBACK การแก้ ไข ปรับปรุง และพัฒนา

91

1. 2. 3. 4. 5. 6.

OUTPUT

IMPACT

คุณภาพ

1. ความพึงพอใจ ของอัลลอฮ 2. ความพึงพอใจของทุก คน 3. ความพึงพอใจของสถาน ประกอบการ หรอืผูใ้ ช้ บัณฑิต

บัณฑิต งานวิจยั การบริการวิชาการแก่สงั คม ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม การบริหารจัดการ การบริการอื่น ๆ


92

7.1 การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน พระราชบัญ ญัติก ารศึ ก ษาแห่ ง ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไ ขเพิ่ ม เติ ม (ฉบับ ที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้ก าหนด จุ ดมุ่ ง หมายและหลัก การของการจัดการศึ ก ษาที่ มุ่ ง เน้นคุ ณภาพและมาตรฐาน โดยก าหนดรายละเอี ย ดไว้ใ น หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุ ณภาพการศึกษา ซึ่ งประกอบด้วย “ระบบการประกันคุ ณภาพภายใน” และ “ระบบการประกั น คุ ณ ภาพภายนอก” เพื่ อ ใช้ เ ป็ นกลไกในการผดุ ง รั ก ษาคุ ณ ภาพและมาตรฐานของ สถาบันอุดมศึกษา การประกันคุ ณภาพการศึกษาภายในเป็ นหน้าที่หลักประการหนึ่ งของสถาบันที่จะต้องดาเนิ นการ ตามกฎกระทรวงว่ า ด้ ว ยระบบ หลั ก เกณฑ์ และวิ ธี ก ารประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษาภายในสถานศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2546 ซึ่ งสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เป็ นหน่วยงานที่กาหนดและกากับ ดูแลกฎกระทรวงดังกล่าว 7.2 นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มหามหาวิทยาลัยอิสลามยะลาได้พิจารณาเห็ นความสาคัญของการประกันคุ ณภาพการศึกษา เพื่อ สามารถสร้างความเป็ นเลิศทางวิชาการ ทั้งในด้านการเรี ยนการสอน การวิจยั การบริ การทางวิชาการแก่สังคม และ การท านุ บ ารุ ง ศิ ล ปวัฒนธรรม ให้เป็ นไปตามความพร้ อมและความเชี่ ย วชาญของแต่ ล ะคณะ สาขาวิช า และ หน่วยงานต่าง ๆ ซึ่ งจะเป็ นการเสริ มสร้างคุณภาพมาตรฐานชั้นนาในระดับนานาชาติได้ จึงได้กาหนดนโยบายการ ประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยอิสลามยะลาเพื่อเป็ นแนวทางในการดาเนินการดังนี้ 1. ให้มีการกาหนดมาตรฐานขั้นต่าและขั้นสู งที่มหาวิทยาลัย คณะ สถาบัน สาขาวิชา และสานัก ต้องบรรลุถึงโดยกาหนดเงื่อนไขเวลาที่ชดั เจน 2. ให้มีการประเมินค่า (Assessment) คุณภาพการศึกษาอย่างรอบด้าน โดยมีการระบุดชั นี (Index) และตัวบ่งชี้ (Indicators) ของคุณภาพการศึกษาแต่ละด้าน 3. ให้มีการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุ ณภาพการศึ กษา เพื่อเป็ นเครื่ องมื อในการรั กษา มาตรฐานการศึกษาของมหาวิทยาลัย โดยเน้นหลักการของการให้ คณะ สถาบัน สาขาวิชา และสานัก พัฒนา ระบบและกลไกการควบคุ ม คุ ณภาพการศึ ก ษาขึ้ นภายในหน่ วยงาน และสร้ า งความพร้ อ มที่ จะให้ หน่ วยงาน ภายนอกหรื อมหาวิทยาลัยเข้าไปตรวจสอบเพื่อการรับรองคุณภาพได้ 4. ส่ ง เสริ ม ให้แ ต่ ล ะคณะ สถาบัน สาขาวิช า และส านัก จัด ตั้ง คณะกรรมการประกัน คุ ณ ภาพ การศึกษาขึ้นภายในหน่ วยงาน โดยมีคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้งขึ้นเป็ นผูด้ ูแล ให้ค าปรึ ก ษา และประสานงาน เพื่ อให้ก ารดาเนิ นกิ จกรรมการประกันคุ ณภาพการศึ ก ษาของคณะ สถาบัน สาขาวิชา และสานัก เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 5. ส่ งเสริ มและสนับสนุนให้คณะ สถาบัน สาขาวิชา และสานัก ดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพ การศึกษาอย่างเป็ นระบบ โดยใช้งบประมาณที่มีตามความจาเป็ น 6. ส่ งเสริ มให้หน่วยงานหรื อสถาบันต่าง ๆ ภาครัฐและเอกชน ทั้งภายในและต่างประเทได้เข้าร่ วม ในกิจกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาของแต่ละคณะ สภาบัน และสานัก เพื่อการพัฒนาและรับรองคุณภาพ


93

7. สนับสนุนให้คณะ สถาบัน สาขาวิชา และสานัก เผยแพร่ กิจกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาที่ ได้ดาเนิ นการไปแล้วอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เพื่ อเป็ นการประชาสัม พันธ์ คุณภาพการศึกษาของแต่ละหน่วยงาน 8. กาหนดแนวทางการปฏิบตั ิในการประกันคุณภาพการศึกษาขึ้นเพื่อเป็ นแนวทางเบื้องต้นโดยแต่ ละคณะ สถาบัน สาขาวิชา และสานัก อาจนาไปปรับปรุ งหรื อพัฒนาเพิ่มเติมให้เหมาะสมกับสภาพของหน่วยงาน 9. ให้มีหน่วยงานรองรับงานประกันคุณภาพการศึกษา โดยใช้บุคลากรที่มีอยูเ่ ดิม 7.3 แนวทางการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระบบการประกันคุณภาพ จุ ดมุ่ ง หมายของระบบการประเมิ นคุ ณภาพการศึ ก ษาภายในก็ เพื่ อตรวจสอบและประเมิ นการ ดาเนินงานของสถาบันตามระบบและกลไกที่สถาบันนั้นๆ ได้กาหนดขึ้น ทั้งนี้ เพื่อให้สถาบันได้ทราบสถานภาพที่ แท้จริ ง อันจะนาไปสู่ การกาหนดแนวทางและพัฒนาคุ ณภาพตามเกณฑ์และมาตรฐานที่ต้ งั ไว้อย่างต่อเนื่ อง การ ประเมินคุณภาพที่ประสิ ทธิ ภาพนั้น ทั้งคณะผูป้ ระเมินและสถาบันที่รับการประเมินจาเป็ นต้องกาหนดบทบาทและ หน้าที่ ของตนเองอย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับบทบัญญัติแห่ งกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และ วิธีการประกันคุ ณภาพการศึ กษาภายในสถานศึ กษา ระดับอุ ดมศึ กษา พ.ศ. 2546 ทั้งนี้ สถาบันต้องวางแผนจัด กระบวนการประเมินคุณภาพภายในให้เสร็ จก่อนสิ้ นปี การศึกษา เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สถาบัน ดังนี้ 1. เพื่อให้สามารถนาผลการประเมินและข้อเสนอแนะไปใช้ปรับปรุ งและพัฒนาการจัดการศึกษา ได้ทนั ในปี การศึกษาถัดไป และตั้งงบประมาณได้ทนั ก่อนเดือนตุลาคม (กรณี ที่เป็ นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ) 2. เพื่อให้สามารถจัดทารายงานประจาปี ที่เป็ นรายงานการประเมิ นคุณภาพภายในส่ งให้สานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาและเผยแพร่ ต่อสาธารณชนได้ภายใน 120 วันนับจากวันสิ้ นปี การศึกษาของแต่ละ สถาบัน เพื่ อให้ ก ารประกันคุ ณ ภาพการศึ ก ษาได้ป ระโยชน์ ดัง ที่ ก ล่ า วข้า งต้น จึ ง ควรมี แ นวทางการจัด กระบวนการประเมินคุ ณภาพดังปรากฏในตาราง 2 ตารางดังกล่าวสามารถแยกได้เป็ น 4 ขั้นตอนตามระบบการ พัฒนาคุณภาพ PDCA คือการวางแผน (Plan) การดาเนิ นงานและเก็บข้อมูล (Do) การประเมินคุณภาพ (Check) และการสอนแนวทางปรับปรุ ง(Act) โดยมีรายละเอียดดังนี้ P = กิจกรรมข้ อที่ 1 เริ่ มกระบวนการตั้งแต่ตน้ ปี การศึกษาโดยนาผลการประเมินปี ก่อนหน้านี้ มา ใช้ เป็ นข้อมูลในการวางแผน D = กิจกรรมข้ อที่ 2 ดาเนิ นงานและเก็บข้อมูลบันทึกผลการดาเนิ นงานตั้งแต่ตน้ ปี การศึกษา คือ เดือนที่ 1– เดือนที่ 12 ของปี การศึกษา (เดือนมิถุนายน – เดือนพฤษภาคม ปี ถัดไป) C = กิจกรรมข้ อที่ 3 – 8 ประเมินกระบวนการประกันคุ ณภาพภายในระดับภาค คณะสถาบัน ระหว่างเดื อนมิ ถุนายน – สิ งหาคม ของปี การศึ กษาถัดไป (เนื่ องจากสมศ. กาหนดให้มีการเก็บข้อมูลในรอบปี การศึกษา ตั้งแต่เดือนมิถุนายน – พฤษภาคม ซึ่งเป็ นรอบปี การศึกษา)


94

A = กิจกรรมข้ อที่ 9 วางแผนปรับปรุ งและดาเนินการปรับปรุ งตามผลการประเมินทีมหรื อคณะ กรรมการบริ หารของสถาบันอุดมศึกษา นาข้อเสนอแนะและผลการประเมินของคณะกรรมการการประเมิน คุณภาพภายในมาวางแผนปรับปรุ งการดาเนิ นงาน (รวมทั้งข้อเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัย) มาทาแผนกลยุทธ์ ประจาปี และเสนอตั้งงบประมาณปี ถัดไป หรื อจัดทาโครงการพัฒนาและเสนอใช้งบประมาณกลางปี ก็ได้ กรณี ที่มีการเปลี่ ยนแปลงระบบประกันคุ ณภาพหรื อตัวบ่งชี้ หรื อเกณฑ์การประเมินจะต้องมี การ ประกาศให้ทุกหน่ วยงานในสถาบันได้รับทราบและปฏิ บตั ิโดยทัว่ กัน เพราะต้องเก็บข้อมูลย้อนหลังตั้งแต่เดื อน มิถุนายนที่ผา่ นมา สาหรับกิจกรรมข้อที่ 10 ในตารางดังกล่าวเป็ นกิจกรรมที่สถาบันอุดมศึกษาทุกแห่ งต้องดาเนิ นการ ตามกฎหมายเพื่อประโยชน์ของสถาบันในการปรับปรุ งคุณภาพ และเพื่อประโยชน์ของสานักงานคณะกรรมการ อุดมศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัดในการนาข้อมูลมาปรับปรุ งคุณภาพมาตรฐานการศึกษาของชาติให้ทดั เทียมกับ นานาอารยะประเทศและมีความเป็ นสากล


95

ตาราง : วงจรในการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพภายใน กิจกรรมการดาเนิ นการ

ต.ค.พ.ค.

มิ.ย.- ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. เปิ ดเทอม

1. สถาบันประกาศตัวบ่งชี้ ปี การศึ กษาใหม่และแจกคู่ มือการ จัดทา SAR(กรณี ที่มีการเปลี่ยนแปลงตัวบ่งชี้,วิธีการและ ตารางประเมินคุณภาพภายในประจาปี ) 2. สถาบันเก็บข้อมูลระยะ 12 เดือนตามตัวบ่งชี้ทไ่ี ด้ประกาศใช้ (มีทมี งานให้คาปรึกษากับบุคลากร/หน่ วยงาน/ภาควิชาในการ เก็บข้อมูลพร้อมทัง้ พิจารณาปรับปรุงการดาเนินการตามความ เหมาะสม) 3. ภาควิช าการหรื อ หน่ ว ยงานเทีย บเท่ า จัด ท า SAR และ เตรียมการประเมินระดับภาควิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่า และ แต่ ง ตัง้ กรรมการประเมิน ระดับ ภาควิช าและหน่ ว ยงาน เทียบเท่า 4. ประเมินระดับภาควิชาหรือหน่ วยงานเทียบเท่า

95


96

ตาราง : วงจรในการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพภายใน (ต่อ) กิจกรรมการดาเนิ นการ

ต.ค.- มิ.ย.- ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. พ.ค. เปิ ด เทอม

5. คณะนาผลการประเมินระดับภาควิชาหรือหน่ วยงานเทียบเท่า มาจัดทา SAR และการประเมินระดับคณะวิชาหรือหน่ วยงาน เทีย บเท่ า และแต่ ง ตัง้ กรรมการประเมิ น ระดับ คณะและ หน่วยงานเทียบเท่า 6. ประเมินระดับคณะหรือหน่วยงานเทียบเท่า 7. สถาบันนาผลการประเมินระดับคณะหรือหน่วยงานเทียบเท่ามา จัดทา SAR และเตรียมการประเมินระดับสถาบันและแต่งตัง้ กรรมการประเมินระดับสถาบัน 8. ประเมินระดับสถาบัน 9. สถาบันวางแผนการปรับปรุงและดาเนินการปรับปรุงตามผล การ ทีมหรือคณะกรรมการบริหารของสถาบันอุดมศึ กษานา ข้อเสนอแนะและผลการประเมินของคณะกรรการประเมินของ คณะกรรมการการประเมินคุณภาพภายในมาวางแผนปรับปรุง การดาเนินงาน (รวมทัง้ ข้อเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัย) มา ทาแผนกลยุทธ์ประจาปี และเสนอตัง้ งบประมาณปี ถดั ไป หรือ จัดทาโครงการพัฒนาและเสนอใช้งบประมาณกลางปี ก็ ได้ ( กรณี ท่ีมีก ารเปลี่ยนแปลงระบบและตัวบางชี้ห รือเกณฑ์ก าร ประเมิน จะต้องประกาศให้ทกุ หน่ วยงานในสถาบันได้รบั ทราบ และปฏิบตั โิ ดยทัวไป ่ )

96

ก.ย.


97

ตาราง : วงจรในการจัดกระบวนการประเมินคุณภาพภายใน (ต่อ) กิจกรรมการดาเนิ นการ

ต.ค.- มิ.ย.- ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. พ.ค. เปิ ด เทอม

10. ส่งรายงานประจาปี ทเ่ี ป็ นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน (ประกอบด้วย SAR ระดับสถาบัน และผลการประเมินคุณภาพ ภายในระดับสถาบัน และผลการประเมินคุณภาพภายในระดับ สถาบัน ) ให้สานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและหน่ วยงาน ต้นสังกัด (ภายใน 120 วันนับจากสิ้นปี การศึกษา )

97

ก.ย.


98

มาตรฐานตัวบ่ งชี้และเกณฑ์ ประเมินคุณภาพ คณะได้กาหนดองค์ประกอบคุ ณภาพการศึ กษาตามหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุ ณภาพ การศึกษาภายใน โดยให้สอดคล้องกับมาตรฐานของ สกอ. เพื่อเป็ นแนวทางในการควบคุม การตรวจสอบ และประเมินคุณภาพการศึกษาทั้ง 10 องค์ประกอบ คือ (1) ด้านปรัชญา ปณิ ธาน วัตถุประสงค์และแผนการ ดาเนิ นการ (2) ด้านการเรี ยนการสอน (3) ด้านกิ จกรรมการพัฒนานักศึกษา (4)ด้านการวิจยั (5 ) ด้านการ บริ การทางวิชาการแก่ สังคม (6) ด้านการท านุ บารุ งศิ ลปวัฒนธรรม (7) ด้านการบริ หารและการจัดการ (8) ด้า นการเงิ นและงบประมาณ และ (9) ด้านระบบและกลไกการประกันคุ ณภาพ (10) ด้านนโยบาย รัฐบาล ”สถานศึกษา 3D กลไกการประกันคุณภาพ เพื่อให้การดาเนิ นงานการประกันคุ ณภาพการศึ กษาในมหาวิทยาลัยอิ สลามยะลา เป็ นไป อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและเกิดประสิ ทธิ ผล จึงเห็นสมควรกาหนดแนวปฏิบตั ิเบื้องต้น แก่ คณะ สถาบัน สานัก สาขาวิชา ศูนย์ กอง หรื อหน่ วยงานเทียบเท่า เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการดาเนิ นงานการประกันคุ ณภาพ การศึกษา ดังนี้ 1. แต่งตั้งคณะกรรมการการดาเนิ นงานประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา เป็ นผูด้ ูแลให้คาปรึ กษา ประสานงาน ตรวจสอบ และพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา ตลอดจนกาหนดตัวบ่งชี้ คุณภาพการศึกษา เพื่อให้การดาเนิ นกิจกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาของแต่ ละคณะหรื อหน่วยงานเทียบเท่า เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 2. คณะหรื อ หน่ วยงานเที ย บเท่ า ดาเนิ น กิ จ กรรมการประกันคุ ณ ภาพการศึ ก ษา โดยใช้ งบประมาณที่มีอยูต่ ามความจาเป็ น 3. คณะหรื อหน่วยงานเทียบเท่า แต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาขึ้นเป็ นการ ภายใน เพื่อพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุ ณภาพการศึกษา กาหนดมาตรฐานขั้นต่ าและขั้นสู ง และ เงื่ อนไขเวลาที่ตอ้ งบรรลุ รวมทั้งกาหนดกิ จกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาให้เหมาะสมกับหน่ วยงาน ประชาสัมพันธ์ภายในมหาวิทยาลัยอิสลามยะลาและคณะหรื อหน่วยงานเทียบเท่า ให้ดาเนิ นกิจกรรมต่าง ๆ ขึ้น ดาเนินการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลคุณภาพการศึกษาภายในหน่วยงาน 4. คณะหรื อหน่วยงานเทียบเท่า จัดทาระบบข้อมูลที่ทนั สมัย มีคุณภาพ และประสิ ทธิ ภาพ เช่น ข้อมูลนักศึกษา บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ อาคารสถานที่ โสตทัศนูปกรณ์ ฯลฯ เพื่อนามาใช้ในการพัฒนาการ จัดการศึกษาให้มีคุณภาพและประสิ ทธิภาพ 5. คณะหรื อหน่วยงานเทียบเท่ามีวิธีการให้ได้มาซึ่ งผูบ้ ริ หารที่มีความรู ้ความสามารถในการ บริ หารจัดการ 6. คณะหรื อหน่วยงานเทียบเท่า มีการศึกษาความต้องการ ตรวจสอบ ติดตาม และประเมิน หลักสู ตรอย่างเป็ นระบบเพื่อนาผลมาใช้ในการพัฒนาและปรับปรุ งหลักสู ตรให้มีประสิ ทธิภาพ 7. คณะหรื อหน่วยงานเทียบเท่า กาหนดระบบการวัดและประเมินผลประสิ ทธิ ภาพการสอน และผล การปฏิบตั ิงานของบุคลากรอย่างเป็ นระบบสม่าเสมอ


99

8. คณะหรื อ หน่ ว ยงานเที ย บเท่ า มี ก ารประเมิ น ผลประสิ ท ธิ ภ าพการสอน และผลการ ปฏิบตั ิงานของบุคลากรอย่างเป็ นระบบสม่าเสมอ 9. สนับ สนุ น ให้ มี ก ารพัฒ นาคณาจารย์แ ละบุ ค ลากรในหน่ ว ยงาน ทั้ง ด้า นการเพิ่ ม ประสิ ทธิ ภาพในการทางานตามหน้าที่ เช่น การศึกษาต่อ ฝึ กอบรม ศึกษาดูงาน และประสบการณ์ ทางการ วิจยั อย่างทัว่ ถึงและต่อเนื่อง 10. สนับ สนุ นให้อาจารย์ และบุ คลากรผลิ ตผลงานทางวิชาการ และสื่ อการเรี ย นรู้ ที่ มี คุณภาพอย่าง สม่าเสมอ และให้มีการดาเนินการวิจยั เพื่อพัฒนาการเรี ยนการสอน และพัฒนางานวิชาการ ที่ เกี่ ย วข้องกับ คุ ณภาพการศึ ก ษาโดยการสนับสนุ นด้านงบประมาณ และให้มีก ารบริ หารจัดการอย่างมี ประสิ ทธิภาพ 11. สนับสนุ นให้มีระบบห้องสมุด และระบบสารสนเทศที่ ทนั สมัยอย่างต่อเนื่ อง และ พอเพียงต่อความต้องการ และมีการติดตามผลการใช้และการบริ การอย่างสม่าเสมอ 12. จัดระบบการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้งานอาคารสถานที่และทรัพยากร การ เรี ยนรู ้ต่าง ๆ อย่างสม่าเสมอ ตลอดจนการใช้งบประมาณอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 13. มี การจัดกิ จกรรมการแลกเปลี่ ยนข้อมูลเกี่ ยวกับการพัฒนาคุ ณภาพการศึ กษาภายใน มหาวิทยาลัย และ ระหว่างมหามหาวิทยาลัย ทั้งในประเทศและต่างประเทศ 14. เปิ ดโอกาสให้หน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน ได้เข้ามามีส่วนร่ วม ในการ เสนอความคิดเห็นและดาเนินกิจกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา 15. มีระบบการเสริ มสร้างขวัญและกาลังใจแก่คณาจารย์และบุคลากรที่รับผิดชอบต่องาน พัฒนา คุณภาพการศึกษาอย่างเหมาะสม 16. จัดทารายงานเกี่ยวกับคุณภาพการศึกษาของคณะหรื อหน่วยงานเทียบเท่า เพื่อเผยแพร่ แก่ประชาชนและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับทราบอย่างต่อเนื่ อง ระบบคุณภาพทีใ่ ช้ ในการควบคุมคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาหรือคณะทีส่ าคัญได้ แก่ 1) 5ส หรื อ 5S เป็ นกระบวนการพัฒนาองค์การที่มุ่งเน้นความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย และการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ มีกิจกรรมสาคัญ 5 ประการ คือ สะสาง สะดวก สะอาด สุ ขลักษณะ และ สุ ขนิสัย 2) Quality Control Circle (QCC) เป็ นกระบวนการที่เน้นการแก้ปัญหาในองค์การ โดย กลุ่มพนักงาน จานวน 4 – 10 คน ที่ร่วมกันศึกษา พิจารณา และหาข้อสรุ ปในการแก้ปัญหาและพัฒนา คุณภาพในองค์การ 3) Systematic ได้แก่ CIPP , IPO , IPOO เป็ นการพัฒนาคุณภาพขององค์การด้วยการใช้ องค์ประกอบและดัชนี จากบริ บท (Context) ตัวป้ อน (Input) กระบวนการ (Process) และผลผลิตหรื อ ผลลัพธ์ (Output หรื อ Outcome) 4) Quality Assurance ( QA ) เป็ นกระบวนการพัฒนาคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษา หรื อ “การ ประกันคุณภาพการศึกษา” เน้นการกาหนดนโยบายคุณภาพ การกาหนดองค์ประกอบและดัชนี


100

หรื อตัวบ่งชี้ การมีส่วนร่ วมของบุคลากรทุกคนในองค์การ การตรวจสอบและประเมินคุณภาพทั้งภายใน และภายนอก โดยเน้นความเป็ นอิสระและเสรี ภาพทางวิชาการ 5) International Standard Organization - ISO เป็ นมาตรฐานและระบบคุณภาพสากลหรื อ International Standard Quality Management – ISQM 6) Total Quality Management – TQM เป็ นกระบวนการบริ หารองค์กรที่เน้นความพอใจ ของ ลู ก ค้า คุ ณภาพของภาวะผูน้ า ความต่ อเนื่ องในการพัฒ นาและปรั บ ปรุ งคุ ณ ภาพ ใช้ข้อมูล ในการ ตัดสิ นใจ รวมถึงการมีส่วนร่ วมของบุคลากรในองค์การ 7) Accreditation เป็ นการรับรองคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ที่เน้นทั้งการรับรอง สถาบันและสาขาวิชาด้วยการกาหนดดัชนีช้ ีวดั จากหน่วยงานหรื อองค์กรอิสระจากภายนอก เพื่อวัดคุณภาพ ของสถาบันที่เสนอรับรองโดยสมัครใจ 8) Malcolm Baldrige National Quality Award - MBNQA เป็ นรางวัลระดับชาติที่ให้แก่ องค์การที่เสนอขอรับหรื อแข่งขันด้านคุณภาพ 9) ระบบคุณภาพอื่น ที่สถาบันอุดมศึกษา หรื อคณะกาหนดขึ้นหรื อนามาใช้ และเรี ยกชื่ อ เองตามความเหมาะสม แต่ควรพิจารณานาองค์ประกอบ 10 ด้านของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา อุดมศึกษามาประยุกต์เป็ นแนวทาง รวมทั้งต้องมีระบบการตรวจสอบคุณภาพทั้งภายในและภายนอก (อ้ างอิงเอกสาร : คู่มอื 1 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา )


101

8. ข้ อมูลสารสนเทศ 8.1 ข้ อมูลทัว่ ไป คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีฯ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ตั้งอยูท่ ี่ 135/5 หมู่ที่ 3 บ้านโสร่ ง ตาบล เขาตูม อาเภอยะรัง จังหวัดปั ตตานี 94160 ด้วยศักยภาพที่เปิ ดการเรี ยนการสอนในระดับปริ ญญาตรี รวม 3 สาขาวิชา มีบุคลากรสายวิชาการ จานวน 28 คน โดยมีบุคลากรต่างชาติ จานวน 6 คน บุคลากรสายสนับสนุ น วิชาการ จานวน 17 คน รวมทั้งหมด 46 คน และนักศึกษา 450 คน (ข้ อมูล ณ วันที่ 11 ส.ค. 2553) ที่ติดต่อ (http://www.fst-yiu.net) โทรศัพท์ 0-7341-8609 โทรสาร 0-7341-8609 8.2 ข้ อมูลบุคลากรจาแนกตามสายงาน ประจาปี การศึกษา พ.ศ. 2552  สายวิชาการ ที่ 1 2 3 4 5

ตาแหน่ ง

วุฒิ ป.เอก ป.โท ป.ตรี ป.เอก ป.โท

อาจารย์ประจา อาจารย์ประจา อาจารย์ประจา อาจารย์พิเศษ อาจารย์พิเศษ รวม

จานวน(คน) 1 25 6 1 1 34

หมายเหตุ ลาศึกษาต่อ 4 คน,ลาออก 7 คน

อัตราส่ วน คุณวุฒิ ปริ ญญาเอก : ปริ ญญาโท : ปริ ญญาตรี = 2:26:6 ึ กราฟ : จานวนบุคลากรสายวิชาการ ประจาปี การศกษา 2552

25

อ.ประจา(วุฒป ิ .เอก)

25

อ.ประจา(วุฒป ิ .โท) อ.ประจา(วุฒป ิ .ตรี)

จานวน (คน)

20

อ.พิเศษ(วุฒป ิ .เอก)

15

อ.พิเศษ(วุฒป ิ .โท)

10 5

6 1

1

0 ประเภทบุคลากรสายวิชาการ

1


102

 สายสนับสนุนวิชาการ ที่ 1 2 3

ตาแหน่ ง หัวหน้าสานักงานคณะ เจ้าหน้าที่บริ หารงานทัว่ ไป เจ้าหน้าที่บริ หารงานทัว่ ไป ประจาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ เจ้าหน้าที่บริ หารงานทัว่ ไป ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ เจ้าหน้าที่บริ หารงานทัว่ ไป ประจาสาขาวิชาเคมีประยุกต์ เจ้าหน้าที่หอ้ งปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ นักวิทยาศาสตร์ (เคมี) นักวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) นักวิทยาศาสตร์ (ฟิ สิ กส์) เจ้าหน้าที่โสตทัศนูปกรณ์ พนักงานรักษาความสะอาด รวม

4 5 5 6 7 8 9 10

วุฒิ ป.ตรี ป.ตรี ป.ตรี

จานวน(คน) 1 4 1

ป.ตรี

1

ป.ตรี

1

ป.ตรี ป.ตรี ป.ตรี ป.ตรี ปวส. ม.ปลาย

2 1 2 1 1 2 17

หมายเหตุ ลาออก 1 คน

อัตราส่ วน คุณวุฒิ ปริ ญญาเอก : ปริ ญญาโท : ปริ ญญาตรี : ต่ากว่าปริ ญญาตรี = 0:0:14:3 ึ ษา 2552 กราฟ : จานวนบุคลากรสายสน ับสนุนวิชาการ ประจาปี การศก

5

หัวหนาสานัก านค

4

จนท.บริหาร านทัวไปค

4

จนท.บริหาร านทัวไปสา า

4

3

จนท.หอ ป ิบัติการ คอมพิวเตอร นักวิทยาศาสตร

2 จานวน (คน)

3

2

จนท.โสตทัศนอุปกร พนัก านรักษาความสะอา

2 1

1

1 0 ประเภทบุคลากรสายสน ับสนุน


103

 ข้อมูลบุคลากรเปรี ยบเทียบทั้ง 2 สาย ที่ 1

ประเภทบุคลากร บุคลากรสายวิชาการ

จานวน(คน) 28

2

บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ รวม

17 46

หมายเหตุ ลาออก 7 คน, อาจารย์พิเศษ 2 คน ลาออก 1 คน

อัตราส่ วน คุณวุฒิ บุคลากรสายวิชาการ: บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ: = 0:0:28 :17 กราฟ : เปรียบเทียบจานวนบุคลากรท ั้ 2 ประเภท ึ ษา 2552 ประจาปี การศก

จานวน (คน)

28 30 25 20 15 10 5 0

17

บุคลากรสายวิชาการ บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ

ประเภทบุคลากร

8.3 สรุ ปข้ อมูลบุคลากร ประจาปี การศึกษา พ.ศ. 2552 • บุคลากรสายวิชาการทั้งหมด จานวน 28 คน • อาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ จานวน 4 คน • อาจารย์ที่ออก จานวน 7 คน • บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการทั้งหมด จานวน 17 คน • บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการที่ลาศึกษาต่อ(ภาคสมทบ) จานวน 2 คน • บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการที่ลาออก จานวน 1 คน • อาจารย์ที่มีอายุการทางานน้อยกว่า 6 เดือน จานวน 0 คน 8.4 ข้ อมูลบุคลากรจาแนกตามตาแหน่ งวิชาการ ประจาปี การศึกษา พ.ศ. 2552 ลาดับที่ 1 2 3 4

ตาแหน่ ง ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ อาจารย์ รวม

จานวน/คน 28 28

อัตราส่ วน ตาแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์ : รองศาสตราจารย์ : ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ : อาจารย์ = 0:0:0:28


104

8.5 ข้ อมูลภาระงานสอน คณะ/สาขาวิชา

(SCH)

SCH (SUM)

FTES

สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

1 3,008

2 3,752

3 53

6,813

189.25

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์

2,359

2,411

24

4,794

133.17

สาขาวิชาเคมีประยุกต์

40

215

-

215

5.97

11,822

328.39

รวม

8.6 ข้ อมูลหลักที่เปิ ดสอน ที่

ชื่อหลักสู ตร

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีสารสนเทศ) (หลักสูตรนานาชาติ) 1 Bachelor of Science , Program in Information Technology (International Program) หลักสูตรเทคโนโลยีบณ ั ฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์) (หลักสูตรนานาชาติ) 2 Bachelor of Technology, Program in Computer Science (International Program) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาศาสตร์) 3 Bachelor of Science, Program in Science 4

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมีประยุกต์) Bachelor of Science, Program in Applied Chemistry

วุฒิปริญญา

ผู้รับผิดชอบ หลักสู ตร

ปี ทีเ่ ปิ ด ดาเนินการ

หมายเหตุ

วท.บ. B.Sc. ( Information Technology)

สาขาวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ

1/2547

หลักสูตร เดิม

ทบ. B.Tech.(CS.)

สาขาวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ

1/2550

หลักสูตร ปรับปรุ ง

สาขาวิชา วิทยาศาสตร์

1/2549

-

สาขาวิชา เคมีประยุกต์

2552

หลักสูตร ใหม่

วท.บ. B.Sc. วท.บ. B.Sc.( Applied Chemistry)


105

8.7 ข้ อมูลสถิตินักศึกษา ประจาปี งบประมาณ 2552 สาขาวิชา

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาวิชาเคมีประยุกต์ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ รวม

นักศึกษา ชั้นปี ที่ 1 ชาย หญิง 8 48

นักศึกษา ชั้นปี ที่ 2 ชาย หญิง 3 30

นักศึกษา ชั้นปี ที่ 3 ชาย หญิง 5 14

นักศึกษา ชั้นปี ที่ 4 ชาย หญิง 2 25

-

-

-

-

-

49

54

103

2

6

-

-

-

-

-

-

8

56

61

22

34

12

19

-

-

204

66

115

25

64

17

33

51

79

450

จานวน(คน)

48 นักศึกษา ห ิ นักศึกษาชาย

30 25 14 8

ชันป 1

135

-

ึ ษา ประจาสา าวิชาวิทยาศาสตร กราฟ : จานวนน ักศก ึ ษา 2552 ปี การศก

50 45 40 35 30 25 20 15 10 5 0

รวม

3

ชันป 2

ชันป 3

ั้ ชนปี

2

5 ชันป 4


106

60

ึ กราฟ : จานวนน ักศกษา ประจาสา าวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร ึ ปี การศกษา 2552 60 56 นักศึกษาห ิ นักศึกษาชาย

50 34

จานวน(คน)

40 30

22

19 12

20 10 0

ชันป 1

ชันป 2

ชันป 3

ั้ ชนปี

ึ ึ กราฟ : จานวนน ักศกษา ประจาสา าวิชาเคมีประยุกต ปี การศกษา 2552 6 6

นักศึกษาห ิ

5

นักศึกษาชาย

จานวน(คน)

4 3

2

2 1 0

ชันป 1

ั้ ชนปี


107 กราฟ : จานวนน ักศึกษา ประจาสา าวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2552 54 54 นักศึกษาห ิ 53 นักศึกษาชาย

จานวน(คน)

52 51 49

50 49 48 47 46

ชันป 1

ั้ ชนปี

8.8 สถิติผ้ สู าเร็จการศึกษาของคณะฯประจาปี การศึกษา พ.ศ. 2547-2551 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีจานวนนักศึกษาผูส้ าเร็ จการศึกษาในหลักสู ตรที่เปิ ดสอน ภายในปี 2552 ทั้งสิ้ นจานวน 24 คน กราฟ : สถิตผ ิ ส ุ าเร็จการศึกษา อ ค ะวิทยาศาสตรฯ ประจาปี การศึกษา 2552 20

นักศึกษาห ิ

20

18 16

นักศึกษาชาย

จานวน(คน)

14 12 10

4

8 6 4 2 0 ชันป 4

ั้ ชนปี


108

8.9 ข้ อมูลการใช้ งบประมาณรายจ่ ายประจาปี พ.ศ. 2552 งบประมาณคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ ในปี การศึกษา 2552 แบ่ง ที่ได้จดั หาเพิ่มเติม โดยมี รายละเอียดข้อมูลจากโดยแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ซึ่ งได้รับการจัดสรรจาก (1) เงินงบประมาณภายใน(อุดหนุนจากมหาวิทยาลัย) (2) งบประมาณภายนอก ตารางแหล่งเงินงบประมาณดังต่อไปนี้ จานวน(บาท)

แหล่ งงบประมาณ

งบประมาณที่ได้ รับอนุมตั ิ 2,519,724.79 0 2,519,724.79

1.งบประมาณภายใน 2.งบประมาณภายนอก รวมงบประมาณทั้งสิ้น

กราฟ : แส

3

แหล่

ึ ประจาปี การศกษา 2552

บประมา

2.5193510

หน่วย : ลานบาท

3 2 2 1 0

1 0 ประเภทแหล่

เบิกจ่ ายเงินแล้ ว 2,513,510.56 0 2,513,510.56

บประมา

บประมา

ภายใน

บประมา

ภายนอก


109

ตารางงบประมาณแยกตามผลผลิต จานวน 6 ด้ าน ชื่อเดบิต (แผนการใช้ จ่าย)

เลขเดบิต

1.ด้านการบริ หารจัดการ 2. ด้านการจัดการเรี ยนการสอน 3.ด้านการวิจยั 4. ด้านการให้บริ การวิชาการแก่สงั คม 5. ด้านทานุบารุ งศิลปวัฒนธรรม 6. ด้านกิจกรรมนักศึกษา รวมงบประมาณทั้งสิ้น

1.13.1 3.5.1 4.4.1 5.4.1 6.4.1 9.5.1

จานวน(บาท) จานวนเงินที่อนุมัตติ ามแผน งบประมาณที่ใช้ จริงตามเดบิต 1,852,710 2,313,800.77 275,000 43,406.00 40,500 0 146,000 61,948.00 121,514 29,577.00 84,000 65,198.79 2,519,724.79 2,513,510.56

กราฟ : จานวน บประมา

ึ ษา 2552 แยกตามผลผลิต ประจาปี การศก

ภาคผนวก 2,500,000

2,313,800

อาคาร สถานที่ ในคราวการประชุ มสภาวิทยาลัย อิสลามยะลา วันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2546 ได้มีมติอนุ มตั ิ 2,000,000 านจั การเรียนการสอน หลักสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิ ต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (หลักสู ตรนานาชาติ ) ซึ่ งเป็ นหลักสู ตร านบริการวิชาการแก่สั คม แรกที่ได้จดั ตั้งขึ้นในครั้งนั้น ภายใต้การจัดตั้ง “คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชีบคารุ กอซิศิมลปวั บินฒมุนธรรม หมั มัด านทานุ 1,500,000 านวิ อาล-ษานี ย”์ ไปพร้ อมๆกัน ในโอกาสดังกล่ าวนั้น จึงขอความอนุ เคราะห์ ใช้จพัย้ืนที่สานักวิทยบริ การ านกิจกรรมการศึกษา บริ เ วณชั้น 1 เป็ นพื้ น ที่ ส านัก งานในการบริ ห ารจัด การหลัก สู ต รเพื่ อ จัดานการบริ การเรี ย นการสอนให้ เ กิ ด หารจั การ 1,000,000 ประสิ ทธิ ภาพและสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ ของหลักสู ตรดังกล่าวนี้ไปด้วยดีในช่วงแรก 65,193 ต่อมาคณะฯได้รับการสถาปนาขึ้นอย่างเป็ นทางการเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2550 เวลา 10.00 29,577 น. นั บ เป็ นประวั ต ิ ศ าสตร์ อ ี ก วั น หนึ่ งของมหาวิ ท ยาลัย อิ ส ลามยะลา ซึ่ งได้จ ัด พิ ธี เ ปิ ดอาคารคณะ 500,000 61,948 วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ั มัด อาล-ษาณี ย ์ อย่างสมเกียรติ โดยฯพณฯ ไพศ็อล บิน 43,406 ชี ค กอซิ ม บินมุหม อับดุลลอฮฺ อาลมะหฺ มูด รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศาสนสมบัติและกิ จการอิสลาม ประเทศกาตาร์ เป็ น 0 ประธานในพิธี พร้อมบรรดาแขกผูม้ ีเกียรติเข้าร่ วมเป็ นสักขีพยานอย่างคับคัง่ ในการนี้ ได้ทาพิธีเปิ ดป้ าย ประเภท บประมา ตามผลผลิต อาคารหลังแรกของคณะฯอย่างเป็ นทางการ ในบริ เวณเนื้ อที่ 300 ไร่ ของสถาบัน ตั้งอยูท่ ี่ 135/5 หมู่ที่ 3 บ้านโสร่ ง ตาบลเขา


110

ภาคผนวก 

อาคาร สถานที่ ในคราวการประชุ มสภาวิทยาลัย อิสลามยะลา วันที่ 27 กันยายน พ.ศ.2546 ได้มีมติอนุ มตั ิ หลักสู ตรวิทยาศาสตรบัณฑิ ต (เทคโนโลยีสารสนเทศ) หลักสู ตรนานาชาติ ซึ่ งเป็ นหลักสู ตรแรกที่ได้ จัดตั้งขึ้นในครั้งนั้น ภายใต้การจัดตั้ง “คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชีคกอซิ ม บิน มุหมั มัด อาลษานีย”์ ไปพร้อมๆกัน ในโอกาสดังกล่าวนั้น จึงขอความอนุ เคราะห์ใช้พ้ืนที่สานักวิทยบริ การ บริ เวณ ชั้น 1 เป็ นพื้นที่สานักงานในการบริ หารจัดการหลักสู ตรเพื่อจัดการเรี ยนการสอนให้เกิ ดประสิ ทธิ ภาพ และสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ของหลักสู ตรดังกล่าวนี้ไปด้วยดีในช่วงแรก ต่อมาคณะฯได้รับการสถาปนาขึ้นอย่างเป็ นทางการเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2550 เวลา 10.00 น. นับ เป็ นประวัติ ศ าสตร์ อี ก วัน หนึ่ งของมหาวิ ท ยาลัย อิ ส ลามยะลา ซึ่ งได้จ ัด พิ ธี เ ปิ ดอาคารคณะ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชีค กอซิ ม บินมุหมั มัด อาล-ษาณี ย ์ อย่างสมเกียรติ โดยฯพณฯ ไพศ็อล บิน อับดุ ลลอฮฺ อาลมะหฺ มูด รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศาสนสมบัติและกิ จการอิสลาม ประเทศกาตาร์ เป็ น ประธานในพิธี พร้อมบรรดาแขกผูม้ ีเกียรติเข้าร่ วมเป็ นสักขีพยานอย่างคับคัง่ ในการนี้ ได้ทาพิธีเปิ ดป้ าย อาคารหลังแรกของคณะฯอย่างเป็ นทางการ ในบริ เวณเนื้ อที่ 300 ไร่ ของสถาบัน ตั้งอยูท่ ี่ 135/5 หมู่ที่ 3 บ้านโสร่ ง ตาบลเขาตูม อาเภอยะรัง จังหวัดปั ตตานี ซึ่ งปั จจุบนั คณะฯมีอาคารจานวน 1 หลังและห้อง/ สถานที่ต่างๆดังนี้


111

รายงานจานวนห้ องคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชี คกอซิม บินมุหัมมัด อาล-ษานีย์ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจาปี การศึกษา 2552


112

รายงานจานวนห้ องคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชี คกอซิม บินมุหัมมัด อาล-ษานีย์ มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ประจาปี การศึกษา 2552


113

 จัดทาโดย ฝ่ ายบริหารและแผน คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชีค กอซิม บินมุหัมมัด อาล-ษาณีย์


114


115


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.